วารสารยุติธรรม l Justice Magazine
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
บนความเคลื่อนไหว
ก ารประชุมสร้างความรูเ้ ท่าทัน
ต่อพลวัตการควบคุมยาเสพติด ครัง้ ที่ 1 ย ตุ ธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น นำ�บริการรัฐ สูป่ ระชาชน ก ารตรวจสอบธุรกรรมทางการเงิน เชิงภาษีอากร “ โครงการพัฒนาทักษะการคุม้ ครองพยาน” สร้างบุคลากรมืออาชีพด้านการคุม้ ครองพยาน
กระทรวงยุติธรรม
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
กิจกรรมเเข่งขันวิ่ง-ปั่นจักรยาน
Ministry of Justice
“INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS”
เรื่องเล่ายุติธรรม “บังคับคดี” จัดมหกรรมไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทชัน้ บังคับคดี
สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม
สำ�นักงานรัฐมนตรี
กรมสอบสวน คดีพิเศษ
กรมคุมประพฤติ
สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ
สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์
โทรศัพท์ 0 2141 5100
สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
กรมราชทัณฑ์
นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ และ นิตเิ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุตธิ รรม
สถาบัน อนุญาโตตุลาการ
facebook.com
/Ministry of Justice, Thailand
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560
www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฏหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส
กรมบังคับคดี
คนยุตธิ รรม
การพัฒนา
เปิดมุมมอง “ปิติกาญจน์ สิทธิเดช” อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
ที่ปรึกษา
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560 สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม โทรศัพท์ 0 2141 5149 โทรสาร 0 2143 8246 เว็บไซต์ www.moj.go.th E-mail : prmoj@hotmail.com
บทบรรณาธิการ
นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ นายวิทยา สุริยะวงค์ นางกรรณิการ์ แสงทอง
ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
บรรณาธิการบริหาร
นายอุทัย ทะริยะ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง
บรรณาธิการ
นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ หัวหน้ากลุม่ งานประชาสัมพันธ์
กองบรรณาธิการ
นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ นางสาวชญาภา มงคลฉัตร นางสาวธิดาทิพย์ หอมมะลิ นายอรรถพล ปวัตน์รตั นภูมิ นางสาวอรอริญชย์ สังข์ทองด�ำรง นางสาวเสาวลักษณ์ ตั้งจิตต์วัฒนา นายปัญจกฤตย์ วารายานนท์ นางสาวอุมาภรณ์ อ่องสอาด นางสาวฐิติพร ฉิมพลีวนาศรม นางสาวปัญญาวีร์ แป้นสุวรรณ
ฝ่ายภาพและศิลปกรรม
นายกฤษดา นายชัชวาล นายพิษณุ นายอรรถโกวิท นายปรัชญา
ฝ่ายบริหารจัดการ
กลุม่ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ออกแบบ
บริษทั ยูโทเปีย มีเดีย อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด
เจ้าของ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
พิมพ์ที่
โรงพิมพ์สำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
สรวงศักดา ศิริสังข์ไชย มลแก้ว คงยิ่ง จ้างประเสริฐ
กลับมาพบกันอีกครั้งในวารสารยุติธรรมฉบับที่ 3 เรื่องราว มากมายที่ น ่ า สนใจในวารสารยุ ติ ธ รรมฉบั บ นี้ ทั้ ง เนื้ อ หาสาระ เกร็ดความรู้ และข้อกฎหมายต่าง ๆ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ คุณผูอ้ า่ น ได้ไม่มากก็นอ้ ย เพราะกฎหมายไม่ใช่เรือ่ งไกลตัว ในปัจจุบันงานนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์มีความส�ำคัญ ต่อกระบวนการยุติธรรมเป็นอย่างมาก ดังนั้นกระทรวงยุติธรรม โดยสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จึงได้จัดโครงการสัมมนา : การพัฒนา งานนิติวิท ยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์กับกระบวนการยุติธรรม และแนวทางการพัฒนาวิชาชีพนักนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ให้มกี ารพัฒนา ระบบมาตรฐานงานนิตวิ ทิ ยาศาสตร์และนิตเิ วชศาสตร์ของประเทศไทย ให้กา้ วหน้ามากยิง่ ขึน้ ติดตามอ่านได้ในคอลัมน์ “เรือ่ งจากปก” ต่ อ ด้ ว ยกิ จ กรรมเเข่ ง ขั น วิ่ ง -ปั ่ น จั ก รยาน “INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS” เนื่องในโอกาสครบ 10 ปี การด�ำเนินงานตามโครงการก�ำลังใจในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เพือ่ สนับสนุนการออกก�ำลังกาย และน�ำรายได้ ไปช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ต ้ อ งขั ง และผู ้ ด ้ อ ยโอกาสในกระบวนการยุ ติ ธ รรม โดยเฉพาะผู้ต้องขังหญิงให้สามารถกลับมาใช้ชีวิตในสังคมได้อย่าง ปกติสขุ ชมภาพบรรยากาศกิจกรรมได้ในคอลัมน์ “ก�ำลังใจ” ส่วนคอลัมน์ “เรื่องเล่ายุติธรรม” น�ำเสนอมหกรรมไกล่เกลี่ย ข้ อ พิ พ าทฯ ช่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ของกรมบังคับคดี และอีกเรือ่ งราวน่ารูเ้ กีย่ วกับภาษีอากร ทีม่ ใี ห้อา่ นกันในคอลัมน์ “บนความเคลื่อนไหว” เรื่องการตรวจสอบการเงินเชิงภาษีอากร เป็นวิธีการหนึ่งในการพิสูจน์การท�ำธุรกรรมว่ามีความน่าเชื่อถือ หรือมีการท�ำธุรกรรมทางการเงินถูกต้องแท้จริงหรือไม่ พร้อมตัวอย่าง และการอธิบายให้เข้าใจโดยง่าย ส�ำหรับคอลัมน์ “คนยุติธรรม” ในฉบับนี้ สัมภาษณ์นางสาว ปิตกิ าญจน์ สิทธิเดช อธิบดีกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพกับภารกิจ การคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน เกีย่ วกับการด�ำเนินงาน ในมิติของการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไทย ทุกกลุม่ อย่างเท่าเทียม ส� ำ หรั บ ผู ้ อ ่ า นที่ อ ยากรู ้ ว ่ า เมื่ อ นายโดนั ล ด์ ทรั ม ป์ ขึ้ น เป็ น ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาแล้ว นโยบายด้านต่างประเทศ ของเขาจะส่งผลดีและผลเสียต่ออาเซียนและประเทศไทยอย่างไรบ้าง สามารถไปอ่านได้ทคี่ อลัมน์ “รอบรูเ้ รือ่ งอาเซียน” ส่งท้ายกันด้วยเรือ่ งราวเกีย่ วกับสุขภาพ กับค�ำถามทีว่ า่ จริงหรือไม่ ? กิ น ไก่ ม าก ท� ำ ให้ เ ป็ น เกาต์ ปั ญ หาที่ ห ลายคนยั ง สั บ สนกั น อยู ่ หาค� ำ ตอบเรื่ อ งนี้ ไ ด้ ใ นคอลั ม น์ “เคล็ ด ลั บ เกร็ ด สุ ข ภาพ” แล้วคุณจะหมดข้อสงสัยอีกต่อไป แล้วพบกันใหม่ในฉบับต่อไป
หมายเหตุ : วรรณกรรม บทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารยุติธรรม เป็นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย
สารบัญ
วารสารยุติธรรม ฉบับที่ 3 ประจำ� พ.ศ. 2560 3
3 14
เรื่องจากปก การพัฒนานิตวิ ทิ ยาศาสตร์ และนิตเิ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุตธิ รรม 10 ก�ำลังใจในพระด�ำริ กิจกรรมเเข่งขันวิง่ -ปัน่ จักรยาน INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS 12 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ 14 เรือ่ งเล่ายุตธิ รรม “บังคับคดี จัดมหกรรมไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทชัน้ บังคับคดี 16 บนความเคลือ่ นไหว
42
คนยุตธิ รรม
58
26 30
ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ 32 คุยเฟือ่ งเรือ่ งยุตธิ รรม “ยุตธิ รรม” จัดประชุม ระดับชาติ ขับเคลือ่ นงาน ด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษชน 35 ก�ำแพงมิอาจกัน้ กรมราชทัณฑ์เปิด ศูนย์อบรมช่างสิบหมู่ พัฒนาฝีกมือผูต้ อ้ งขัง
26 58
38
คุม้ ครองคน คุม้ ครองสิทธิ การพัฒนาเครือข่าย ประชารัฐเพือ่ เชือ่ มโยง การช่วยเหลือเยียวยา เหยือ่ อาชญากรรมระดับพืน้ ที่
72
เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ จริงหรือไม่ กินไก่มาก เป็นเกาต์
74
ยุตธิ รรมเพือ่ ประชาชน ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน ฟันเฟืองส�ำคัญในการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืนของกองทุนยุตธิ รรม
44
คน เงิน แผน ปยป. กลไกใหม่ในการ ขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ 47 พลังคุณธรรม ยับยัง้ การทุจริต โครงการอบรมมาตรการ ป้องกันและปราบปราม การทุจริตฯ รุน่ ที่ 1-2
50
10
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน พ.ร.บ. กองทุนให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา พ.ศ. 2560
56
16
ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ ยุตธิ รรมเดินหน้าช่วยประชาชน The Choice เกมทางเลือก-ทางรอด
35
62
เรือ่ งต้องรู้ หน่วยงานของรัฐ “มีสทิ ธิ” แต่การใช้สทิ ธิสร้างความเสียหาย แก่ผอู้ นื่ ...ต้องรับผิด
64
64
ภาษายุตธิ รรม รูเ้ รือ่ งศัพท์กฎหมาย ผ่านภาพยนตร์
66
ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ
70
รูจ้ กั ไอที Windows 10
ทุกทิศทัว่ ยุตธิ รรม ยุตธิ รรมทัว่ ไทย
78
เก็บมาเล่า กรมพินจิ ฯ จัดประกวดดนตรี “สืบสานงานของพ่อ”
เรือ่ งจากปก
การพัฒนา
นิ ต ว ิ ท ิ ยาศาสตร์ และ นิตเิ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุติธรรม
ปัจจุบันงานนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์มีความสำ�คัญต่อกระบวนการยุติธรรม เป็นอย่างมาก การตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ เป็นงาน ที่ พิ สู จ น์ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น จะทำ � ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มั่ น ต่ อ ทุ ก ภาคส่ ว น ดั ง นั้ น การพั ฒ นา งานนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ของประเทศจำ�เป็นต้องดำ�เนินการอย่างเป็นระบบ ต้องอาศัยความร่วมมือและการบูรณาการจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนางาน ทัง้ ด้านการบริหารจัดการด้านมาตรฐาน วิชาการ และการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ช่วยให้กระบวนการ ยุติธรรมของประเทศไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
Justice Magazine Ministry of Justice
3
เรื่องจากปก
เมื่อวันที่ 19 มกราคม ที่ผ่านมา กระทรวงยุติธรรม โดยสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ได้จดั โครงการสัมมนาเรือ่ ง การพัฒนางานนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละนิ ติ เ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุตธิ รรม ณ โรงแรมเซ็นทารา ศูนย์ราชการ และคอนเวนชั่ น เซนเตอร์ แจ้ ง วั ฒ นะ กรุ ง เทพฯ มีผเู้ ข้าร่วมการสัมมนาจากหน่วยงานด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ นิตเิ วชศาสตร์ และกระบวนการยุตธิ รรม โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เป็นการประชุมระดมความคิดเกีย่ วกับความก้าวหน้า ทางวิชาชีพนักนิติวิทยาศาสตร์และทางนิติเวชศาสตร์ กับกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้ได้แนวทางการพัฒนา วิ ชาชี พ นั ก นิติวิทยาศาสตร์ และเพื่อให้มีก ารพั ฒ นา ระบบมาตรฐานงานนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ ของประเทศไทยในการสั ม มนาดั ง กล่ า วผู ้ บ ริ ห าร กระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ ม อบนโยบายในการพัฒนางาน ด้านนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ โดยตัวแทน จากหน่วยงานต่าง ๆ ได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะ ในหัวข้อการสัมมนาต่าง ๆ ซึง่ สามารถสรุปภาพรวมได้ ดังนี้
สอบสวนหรืออัยการ เป็นต้น ทั้งนี้อาจให้หน่วยงาน ในกระบวนการยุตธิ รรมเข้ามามีสว่ นร่วมในการศึกษาวิจยั เพื่อให้สามารถสะท้อนข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงานจริง ▶ การประชุ ม หารื อ ถึ ง การก� ำ หนดขอบเขตหน้ า ที่ และความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน รวมถึงอาจมี การพิจารณาเงือ่ นไขและเกณฑ์ของลักษณะงานหรือคดีวา่ ลั ก ษณะใดควรให้ ห น่ ว ยงานใดหน่ ว ยงานหนึ่ ง เป็ น ผู้รับผิดชอบหลัก ลักษณะใดเป็นงานที่ต้องถ่วงดุลซึ่งกัน และกัน และลักษณะใดทีส่ ามารถตรวจพิสจู น์รว่ มกัน เป็นต้น
3. แนวทางพัฒนาวิชาชีพนิติวิทยาศาสตร์ และพระราชบัญญัติวิชาชีพนิติวิทยาศาสตร์ ▶ การก� ำ หนดลั ก ษณะและค� ำ อธิ บ ายลั ก ษณะงาน ที่ ชั ด เจนของนั ก นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ใ นแต่ ล ะสาขา และในแต่ระดับ ▶ น�ำแนวทางในการปฏิบัติงานของต่างประเทศ เช่น TRIAGE มาปรับใช้ในการวางระบบการจัดแบ่งหน้าที่ รับผิดชอบของงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขา ตามลักษณะเหตุการณ์หรือคดีที่เกิดขึ้น หรือที่เรียกว่า 1. กรอบความร่วมมือทางนิติวิทยาศาสตร์ TRIAGE แต่ทั้งนี้ควรหารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ของประเทศไทย ได้แก่ ▶ การแลกเปลีย่ นข้อมูลเพือ่ คลีค่ ลายคดีทมี่ คี วามซับซ้อน อื่น ๆ ด้วย ▶ การตรวจพิสูจน์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ▶ การฝึกอบรม ศึกษาดูงานและการวิจัย ▶ ก ารก� ำ หนดขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ของแต่ละหน่วยงาน 2. แนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการ นิติวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย ▶ การสร้ า งความร่ ว มมื อ ตั้ ง แต่ ร ะหว่ า งหน่ ว ยงาน ต่อหน่วยงาน เครือข่ายภายในประเทศ เครือข่ายระดับ ภูมิภาค ไปจนถึงเครือข่ายระดับนานาชาติ ▶ ส่งเสริมงานวิจัยด้านนิติวิทยาศาสตร์ในเชิงสังคม หรือเชิงการบริหารจัดการทีม่ ผี ลกระทบในการปฏิบตั งิ าน ของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เช่น พนักงาน
4
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เรื่องจากปก
นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุติธรรม ได้กล่าวเปิดการสัมมนาในครั้งนี้ว่า “รัฐบาลให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งกระบวนการยุตธิ รรม เรื่องคุ้มครองสิทธิ สิ่งหนึ่งที่มีความส�ำคัญคือการท�ำงาน ร่วมกับหน่วยงานด้านพิสจู น์หลักฐาน กระทรวงยุตธิ รรม ไม่สามารถท�ำงานได้ตามล�ำพัง งานนิติวิทยาศาสตร์ ของกระทรวงยุติธรรม ไม่สามารถที่จะเก่ง ยอดเยี่ยม แต่เพียงล�ำพัง การท�ำงานในลักษณะของเครือข่ายทีร่ ว่ มกัน ของทุ ก หน่ ว ยงาน ผมถื อ ว่ า ท� ำ ให้ ก ารอ� ำ นวยความ ยุ ติ ธ รรมให้ กั บ พี่ น ้ อ งประชาชนมี ห ลั ก ประกั น เข้ า ถึ ง กระบวนการยุติธรรม และเป็นหลักประกันที่ประชาชน ได้ประโยชน์จากการอ�ำนวยความยุติธรรม ซึ่งในปี 2560 กระบวนการยุ ติ ธ รรมก� ำ ลั ง ถู ก เฝ้ า มองจากสั ง คม สั ง คมก� ำ ลั ง ดู ว ่ า กระบวนการยุ ติ ธ รรม จะสามารถ เป็นหลักประกันการอ�ำนวยความยุติธรรมที่มีมาตรฐาน ความภาคภูมใิ จของพวกเราทีม่ อี ยูใ่ นองค์กรทีไ่ ด้จาก การท�ำงาน เราต้องอยูอ่ ย่างคนทีเ่ ป็นมืออาชีพ การจะเกิด สิ่งเหล่านี้ขึ้นมาได้เราต้องพัฒนาทั้งวัฒนธรรมองค์กร ปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงาน งานนิติวิทยาศาสตร์ ของกระทรวงยุตธิ รรมก็เป็นแขนงหนึง่ ต้องท�ำงานร่วมกับ หน่วยงานอืน่ แม้กระทัง่ ท�ำงานร่วมกับโรงพยาบาลต่าง ๆ กด็ ี สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารจั ด การ ของกระทรวงยุติธรรม ต้องท�ำงานอย่างจริงจังร่วมกับ ภาคี การจัดประชุมสัมมนาในวันนี้เป็นสัญลักษณ์หนึ่ง ของการท�ำงาน ด้วยความเข้าใจทีด่ ตี อ่ กัน โดยมีประชาชน เป็นศูนย์กลาง”
การสั ม มนาครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น ก้ า วแรก ของการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นางาน นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละนิ ติ เ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุติธรรมอย่างบูรณาการ ซึ่ ง มี ค วามส� ำ คั ญ และเป็ น รู ป ธรรม โดยมี ก ารรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น และ ข ้ อ เ ส น อ แ น ะ จ า ก ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง า น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ จ ากหลายหน่ ว ยงาน อย่างกว้างขวาง โดยสรุปผลการสัมมนา ซึ่งที่ประชุมเห็นพ้องตรงกันว่าให้มี 1.การจัดตัง้ เครือข่ายนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย (Thailand Forensic Science Network : TFSN) โดยให้มกี ารจัดประชุมจัดตัง้ เครือข่ายขึน้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 2. การจั ด ท� ำ บั น ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU) ระหว่ า งหน่ ว ยงานให้ บ ริ ก าร ด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และจั ด ให้ มี ก ารลงนามร่ ว มกั น ในวั น ที่ มี ก ารจั ด การประชุ ม จั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ย นิติวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
Justice Magazine Ministry of Justice
5
เรื่องจากปก
การบรรยายเรื่อง เส้นทางความก้าวหน้า ของนักนิติวิทยาศาสตร์ ในต่างประเทศ
Mr. Alastair Montgomery Ross
เครือข่ายด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์มหี น่วยงานกลาง คือ International Forensic Strategic Alliance (IFSA) ท�ำหน้าที่ประสานงาน ความร่วมมือกับหน่วยงานในแต่ละภูมภิ าค โดยมุง่ เน้นการประสานงาน ในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 1. ความสามารถของบุคลากร 2. การบริหารจัดการเครื่องมือและวัสดุสิ้นเปลือง 3. กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การจัดเก็บ วัตถุพยาน การทดสอบ การแปลผล การรายงาน 4. ขั้นตอนการทดสอบความใช้ได้ของวิธี 5. การควบคุมคุณภาพ
2. สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ห้องปฏิบัติการภายในองค์กรเดียวกัน ควรมีกิจกรรมร่วมกัน เพื่อกระชับความสัมพันธ์อันดีของบุคลากรในองค์กร ซึ่งจะส่งผล ต่อการปฏิบัติงาน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารของคดีที่มี ความซับซ้อน คดีทมี่ กี ารส่งตรวจหลายห้องปฏิบตั กิ าร การบูรณาการ ตรวจพิสูจน์ระหว่างห้องปฏิบัติการ การท�ำงานวิจัยร่วมกันแบบ สหสาขาวิ ช า เป็ น ต้ น ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพ การปฏิบัติงานของบุคลากร และภาพลักษณ์ขององค์กร 3. งานข่าวกรอง ในคดีที่มีความซับซ้อนต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข ้ อ มู ล มากพอในการน� ำ มาประกอบการคลี่ ค ลายคดี ต้องมีการสืบค้นข้อมูลคดีทผี่ า่ นมาว่า คดีลกั ษณะนีเ้ คยเกิดขึน้ หรือไม่ หรือสามารถเชือ่ มโยงคดีนกี้ บั คดีใดได้บา้ ง หน้าทีห่ ลักของงานข่าวกรอง คื อ การน� ำ เอาข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าปรั บ และวิ เ คราะห์ ใ ห้ เ หมาะสม เพื่ อ ประกอบการตั ด สิ น ใจ โดยสามารถน� ำ เอาข้ อ มู ล ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และทันเวลา ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ วัตถุพยานหรือข้อมูลที่ได้ในแต่ละคดี 4. การศึกษา ผู้ปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ ควรจะต้องศึกษาหาความรู้ ตลอดเวลา เพื่อให้ร้ทู ันเทคโนโลยีที่พัฒนา ปัจจุบันมีหลายหน่วยงาน ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารศึ ก ษาออนไลน์ เ พื่ อ ความสะดวกในการเรี ย นรู ้ เช่น Monash University, Victorian Institute of Forensic Medicine, Canberra Institute of Technology (CIT) เป็นต้น
5. การวิจัย การวิจัยเกี่ยวกับงานนิติวิทยาศาสตร์ นอกจากเป็นงานวิจัย เกี่ ย วกั บ การทดสอบแล้ ว ควรมุ ่ ง เน้ น การวิ จั ย แบบผลสะท้ อ น ในเชิงสังคมเกี่ยวกับการน�ำรายงานผลไปใช้ เช่น พนักงานสอบสวน สรุปการบรรยายของ Mr. Alastair Montgomery Ross หรืออัยการมีความเข้าใจในรายงานผลหรือไม่ รายงานผลถูกน�ำไป 1. กระบวนการทางนิติวิทยาศาสตร์ ประกอบส�ำนวนหรือถูกน�ำไปใช้ในการพิจารณาคดีหรือไม่ เป็นต้น การน�ำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ควรเริ่มตั้งแต่ขั้นตอน เพื่อให้งานนิติวิทยาศาสตร์เป็นที่พึ่งของประชาชน และสนับสนุน การตรวจสถานที่ เ กิ ด เหตุ เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมี ค วามเชื่ อ มั่ น กระบวนการยุติธรรม ในงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ น�ำมาลดปัญหาอาชญากรรมในสังคม ทั้งอาชญากรรมเล็กน้อยจนถึงอาชญากรรมที่มีความซับซ้อนมาก 6. เส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ ในประเทศออสเตรเลีย การท�ำงานด้านนิติวิทยาศาสตร์จะเป็น นักนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ทไี่ ด้รบั การพัฒนาความรู้ ทักษะ และเลือ่ นระดับ ส่วนหนึ่งของกระบวนการท�ำงานที่เรียกว่า TRIAGE ซึ่งประกอบด้วย เป็นผู้จัดการห้องปฏิบัติการ จะได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติงาน ที ม ตรวจสถานที่ เ กิ ด เหตุ นั ก นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ จ ากสาขาต่ า ง ๆ ด้านบริหาร ท�ำให้สญ ู เสียนักนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถไป และพนักงานสอบสวน เพื่อบริหารจัดการคดี แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ฉะนั้ น จะต้ อ งมี แนวทางที่ จ ะพั ฒ นาให้ ผู ้ ปฏิ บัติ ง านแต่ ล ะระดับ ในแต่ละขัน้ ตอนตัง้ แต่การตรวจสถานทีเ่ กิดเหตุ การจัดเก็บวัตถุพยาน ได้ พั ฒ นาความรู ้ ค วามสามารถอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น การจั ด ให้ การทดสอบ การแปลผล จนถึงการรายงาน และหารือร่ ว มกั น ผู้ปฏิบัติงานได้เข้าร่วมโปรแกรมทดสอบความช�ำนาญ การเข้าร่วม ในกรณีที่มีวัตถุพยานที่จะตรวจพิสูจน์หลายห้องปฏิบัติการ เป็นต้น Triage การฝึกอบรม การเข้าร่วมงานประชุมสัมมนา เป็นต้น
6
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เรื่องจากปก
การอภิปราย เรื่อง ความก้าวหน้า ทางวิชาชีพนักนิติวิทยาศาสตร์ และทางนิติเวชศาสตร์กับ กระบวนการยุติธรรม ผู้ร่วมการอภิปราย ประกอบด้วย ● นายสมณ์ พรหมรส ● ศาสตราจารย์แสวง บุญเฉลิมวิภาค ● พลต�ำรวจโท กิตติพงษ์ เงามุข ● พันต�ำรวจเอก วิรุฬ ศุภศิลป์ศิริปรีชา ● Mr. Alastair Ross ผู้ด�ำเนินรายการ : ดร. ดล บุนนาค
นายสมณ์ พรหมรส ผู้อำ�นวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ยึดมั่นในสิ่งเหล่านี้ คือ 1) ความเชื่อมั่น 2) การถ่วงดุล 3) มีมาตรฐาน
“
ในการท�ำงานผมถือว่าทุกคนเป็นเพื่อนกัน ต่างคนต่างเข้าใจ บทบาทหน้าทีข่ องตน หน้าทีข่ องเรามีอย่างไรก็ทำ� ไป ขอให้ทา่ น เข้าใจเรา อย่าว่าเรา และท�ำหน้าที่ของท่านอย่างเต็มที” ่ ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ได้ ก ล่ า วถึ ง ทิ ศ ทาง การท� ำ งานของสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ แนวทางการบู ร ณาการ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ การพัฒนา มาตรฐานและองค์ความรู้ด้านนิติวิทยาศาสตร์ในแต่ละสาขาวิชา สรุปสาระส�ำคัญ ดังนี้ “ผมท�ำงานด้านกระบวนการยุติธรรมโดยดูแลเรื่องนโยบาย และทิศทางของกระทรวงยุติธรรมมานานจึงทราบปัญหาเป็นอย่างดี และเคยเสนอนโยบายว่ า งานนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่อความเป็นธรรมซึ่งส่งผลในเรื่องของความสงบเรียบร้อยของสังคม
นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ มี ห ลายหน่ ว ยงานในการด� ำ เนิ น การ และมีปัญหาระหว่างกัน ทุกครั้งที่เสนอนโยบายก็จะมี ค�ำว่าให้นำ� นิตวิ ทิ ยาศาสตร์มาใช้ในกระบวนการยุตธิ รรม และให้ด�ำเนินการบูรณาการด้านความร่วมมือเพื่อให้ เกิดการท�ำงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2545 โดยมีหลักการที่ส�ำคัญ 3 ประการคือ 1) ความเชื่อมั่น 2) การถ่วงดุล 3) มีมาตรฐาน แต่ในอดีตสถาบันฯ ไม่มี กฎหมายรองรับการท�ำงาน จนกระทัง่ เดือนสิงหาคม 2559 มี พ ระราชบั ญญั ติ ก ารให้ บริ ก ารด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ท�ำให้สถาบันฯ ขยายขอบข่ายงานมากขึ้น มีเงื่อนไข ในการให้ บ ริ ก ารที่ ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น สามารถให้ บ ริ ก าร แก่ประชาชนทั่วไปโดยไม่จ�ำเป็นต้องมีคดีเกิดขึ้นก่อน ต่อไปสถาบันนิติวิทยาศาสตร์จะน�ำบริการสู่ประชาชน ให้ทราบว่านิตวิ ทิ ยาศาสตร์คอื อะไร ก็จะเป็นการป้องปราม การเกิดอาชญากรรมไปด้วย ประการต่ อ มา คื อ งานเรื่ อ งมาตรฐานซึ่ ง ท� ำ มา ตั้งแต่ก่อตั้งสถาบันฯ ขณะนี้ก็ยังท�ำอยู่และจะพัฒนา ไปสู่มาตรฐานสากล แต่สิ่งที่ไม่สบายใจอยู่อย่างหนึ่ง คือ ตามพระราชบัญญัตกิ ารให้บริการด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2559 ก�ำหนดเงือ่ นไขว่า หากประชาชนจะมาขอรับ บริการจากสถาบันฯ จะต้องไม่อยู่ในระหว่างการตรวจ ของหน่วยงานอื่น นอกจากนี้แล้วกฎหมายยังก�ำหนดให้ ต้องมีกรรมการก�ำกับการท�ำงาน ซึ่งผมถือว่าสถาบัน นิติวิทยาศาสตร์เป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถอยู่แล้ว”
“ความรู้จริง” และ “อิสระในวิชาชีพ” หัวใจของ นิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์
“
การขับเคลือ่ นงานนิตวิ ทิ ยาศาสตร์และ นิติเวชศาสตร์ส�ำคัญคือผู้ปฏิบัติงาน จะต้อง 1) รู้จริงในสาขาวิชาชีพของตน ไม่ ใ ห้ ค วามเห็ น ที่ เ กิ น เลยไปจากสาขา ความเชี่ ย วชาญ และ 2) ต้ อ งมี อิ ส ระ ในวิชาชีพ” หากแต่ละฝ่ายรูจ้ กั บทบาทหน้าที่ ของตน ประชาชนจะได้ประโยชน์เต็มทีจ่ าก กระบวนการยุติธรรม” ศาสตราจารย์แสวง บุญเฉลิมวิภาค ผู้อ�ำนวยการศูนย์ธรรมศาสตร์ธรรมรักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Justice Magazine Ministry of Justice
7
เรื่องจากปก
การอภิปราย เรื่อง ระดมความคิด การพัฒนาความก้าวหน้าวิชาชีพทาง นิติวิทยาศาสตร์ และมาตรฐานงาน นิติวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
หน่วยงานด้านนิติวิทยาศาสตร์และนิติเวชศาสตร์ จะต้องร่วมมือกัน
“
ผมใช้นิติวิทยาศาสตร์ในการท�ำงาน สอบสวนตลอดชีวติ ของการรับราชการ” พลต�ำรวจโท กิตติพงษ์ เงามุข ผู้บัญชาการส�ำนักงานพิสูจน์ หลักฐานต�ำรวจ
ผู้ร่วมการอภิปราย ประกอบด้วย ● นายแพทย์ไตรยฤทธิ์ เตมหิวงศ์ ● Mr. Alastair Ross ● พันต�ำรวจโทหญิง วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ ● ร้อยต�ำรวจโท มนตรี ดอนฟุ้งไพร ● พันต�ำรวจเอก สาธิต ก้อนแก้ว ● พันต�ำรวจเอก ดิเรก ธนานนท์นิวาส ผู้ด�ำเนินรายการ : ดร. ดล บุนนาค
นิติเวชศาสตร์และนิติวิทยาศาสตร์ ในระดับภูมิภาค
“
สถาบั น นิ ติ เ วชวิ ท ยาจะจั ด ตั้ ง งาน นิ ติ เ วชศาสตร์ ใ นระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยแพทย์ ใ นการชั น สู ต ร พลิ ก ศพในสถานที่ เ กิ ด เหตุ และจั ด ตั้ ง งานนิติเวชศาสตร์ในระดับภาคให้บริการ ผ่าชันสูตรศพ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้กับญาติและพนักงานสอบสวนไม่ต้อง เดินทางมาไกล” พันต�ำรวจเอก วิรุฬ ศุภศิลป์ศิริปรีชา รองนายแพทย์ใหญ่โรงพยาบาลต�ำรวจ
ความเป็นกลาง (impartiality) อยู่เหนือความ อิสระ (independence)
“
องค์กรด้านนิติวิทยาศาสตร์อาจอยู่ ภายใต้การควบคุม (dependence) ของหน่วยงาน แต่ต้องรักษาความเป็น อิสระ (impartiality) ให้จงได้” Mr. Alastair Ross
8
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
นายแพทย์ไตรยฤทธิ์ เตมหิวงศ์ รองผู้อำ�นวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
“
สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ยิ น ดี ที่ จ ะให้ ก ารสนั บ สนุ น กิจกรรมและความร่วมมือในรูปแบบเครือข่าย โดยเป็น เจ้าภาพก่อตั้งเครือข่ายนิติวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (Thailand Forensic Science Network : TFSN) อยากให้แต่ละสาขาการปฏิบัติงานจัดตั้ง working group และด� ำ เนิ น กิ จ กรรมระหว่ า งกั น อย่ า งเป็ น รู ปธรรม เช่ น การเปรี ย บเที ย บผลการตรวจระหว่ า งห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร (Inter-laboratory comparison) ครั้งนี้เราประชุมกัน เพื่อหาหัวข้อที่จะพัฒนาร่วมกัน ในครั้งหน้าเราจะลงนาม MOU จัดตั้งเครือข่าย (working group) เรื่องของ MOU ไม่เพียงแต่ระดับผู้ปฏิบัติงานที่คิดจะท�ำ แม้แต่รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมก็ สั่ ง การในเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งชั ด เจน ให้ขบั เคลือ่ นนิตวิ ทิ ยาศาสตร์เพือ่ ประเทศไทย ไม่ใช่เพียงเพือ่ องค์กรใดองค์กรหนึ่ง” นายแพทย์ไตรยฤทธิ์ เตมหิวงศ์ รองผู้อ�ำนวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
เรื่องจากปก
“
แนวทางการขับเคลือ่ นงานนิตวิ ทิ ยาศาสตร์คอื ต้องสร้างภูมปิ ญ ั ญา อัจฉริยะให้กับนิติวิทยาศาสตร์ (forensic intelligence) อย่ า งไรก็ ต ามการสร้ า งสิ่ ง ใหม่ ต ้ อ งสร้ า งพร้ อ มกั บ การสร้ า ง ความไว้เนื้อเชื่อใจ (trust) ซึ่งกันและกันด้วย การเริ่มต้นสร้าง ความสัมพันธ์ไม่จ�ำกัดแต่เพียงกิจกรรมภายในห้องปฏิบัติการเท่านั้น แต่ ต ้ อ งอยู ่ ภ ายนอก เช่ น ในที่ ป ระชุ ม สั ม มนา และต้ อ งเป็ น ความสัมพันธ์ที่ค่อย ๆ เริ่มสร้างและเกิดในทุกระดับชั้นไม่เพียงแต่ ระดั บ บริ ห ารเท่ า นั้ น นอกจากนี้ แ ล้ ว สิ่ ง ที่ จ ะได้ จ ากการสั ม มนา นอกเหนือไปจากความไว้เนื้อเชื่อใจแล้ว กิจกรรมการสัมมนายังเป็น ส่วนหนึ่งของความก้าวหน้าในวิชาชีพอีกด้วย” Mr. Alastair Ross
“
กองพิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานท� ำ การจั ด เก็ บ ฐานข้ อ มู ล การตรวจพิ สู จ น์ อ าวุ ธ ปื น เป็ น จ� ำ นวนมาก น่ า จะน� ำ มาแลกเปลี่ ย น กับสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ได้ และตนอยากท�ำ เครือข่ายความร่วมมือในการตรวจพิสูจน์ อาวุธปืน” พันต�ำรวจเอก สาธิต ก้อนแก้ว รองผู้บังคับการศูนย์พิสูจน์ หลักฐาน ภาค 8
“
“
“
“
นั บ เป็ น นิ มิ ต หมายอั น ดี ที่ จ ะสร้ า ง ความไว้ เ นื้ อ เชื่ อ ใจด้ ว ยกิ จ กรรม นอกเหนื อ จากห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร แต่ ป ั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ต ้ อ งการได้ รั บ การสนั บ สนุ น คื อ งบประมาณ ปั จ จุ บั น กลุ ่ ม ผู ้ ต รวจพิ สู จ น์ ลายพิมพ์นวิ้ มือมีกจิ กรรมร่วมกันค่อนข้างน้อย อยากให้มีการลงนาม MOU กันระหว่าง สถาบันนิติวิทยาศาสตร์กับส�ำนักงานพิสูจน์ หลักฐานต�ำรวจ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างกัน และเป็นการลดข้อจ�ำกัด เกี่ยวกับกฎระเบียบที่แตกต่างกันระหว่าง หน่วยงานด้วย” พันต�ำรวจโทหญิง วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม ปั จ จุ บั น งานคดี ที่ เ กี่ ย วกั บ การตรวจ พิสูจน์มีปริมาณมาก ท�ำให้ไม่สามารถ ที่จะไปพัฒนางานการศึกษาวิจัยได้ อยากให้ หน่วยงานมีการวิจัยและพัฒนา แลกเปลี่ยน ความรู้ระหว่างกัน แต่ก็ติดขัดในเรื่องของ กฎระเบียบ ปจั จุบนั แก้ปญั หาโดยการประสานงาน อย่างไม่เป็นทางการ อยากให้ผบู้ ริหารหากลไก ในการท� ำ งานอย่ า งเป็ น ทางการเพื่ อ ให้ เกิ ด การเชื่ อ มต่ อ การท� ำ งานและการวิ จั ย ระหว่างองค์กร อีกประเด็นที่อยากฝากไว้คือ การเชิญผู้เชี่ยวชาญที่เกษียณอายุราชการ ไปแล้ ว มาช่ ว ยในการถ่ า ยทอดความรู ้ และการดูแลท่านเหล่านั้นอย่างเหมาะสม” ร้อยต�ำรวจโท มนตรี ดอนฟุ้งไพร สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม
ผมเห็ น ว่ า วั ฒ นธรรมองค์ ก รของ ต่างประเทศแตกต่างจากประเทศไทย ต่ า งประเทศแบ่ ง หน้ า ที่ กั น อย่ า งชั ด เจน อยากเห็นภาพแบบนั้นเกิดกับประเทศไทย ไม่ อ ยากมองความขั ด แย้ ง เหมื อ นในอดี ต ผมมีแนวคิด 3 ข้อคือ 1) อยากให้มีการท�ำ MOU กัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรื่อง เครื่ อ งมื อ และการวิ จั ย 2) ผลั ก ดั น ให้ มี กฎหมายการป้องกันสถานที่เกิดเหตุ และ ให้ พิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานเป็ น หนึ่ ง ในเจ้ า หน้ า ที่ ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3) อยากให้มีการตกลงในเรื่องของอ�ำนาจ หน้าที่อย่างชัดเจน ไม่ปล่อยให้เป็นหน้าที่ ของพนักงานสอบสวนแต่เพียงฝ่ายเดียว” พันต�ำรวจเอก ดิเรก ธนานนท์นิวาส รองผูบ้ งั คับการศูนย์พสิ จู น์หลักฐาน ภาค 6 อยากเห็ น การจั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ยตั้ ง แต่ วั น ที่ จั ด ประชุ ม ร่ ว มกั น นอกจาก หน่วยปฏิบัติงานด้านนิติวิทยาศาสตร์แล้ว อยากให้เชิญนักวิชาการเป็นสมาชิกเครือข่ายด้วย เนือ่ งจากมีประสบการณ์ดา้ นองค์ความรูก้ จ็ ะ ผสานกับผู้ปฏิบัติที่มีประสบการณ์ด้านการ ท� ำ งาน ภายหลั ง ประชุ ม เครื อ ข่ า ยแล้ ว อยากให้มกี ารประกาศแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ ี ของแต่ละเครือข่าย เมื่อมีมาตรฐานเดียว ก็จะเกิดประโยชน์กับศาลในการน�ำไปใช้” ดร. ดล บุนนาค ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและ ครอบครัวจังหวัดสกลนคร
Justice Magazine Ministry of Justice
9
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
10
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
กิจกรรมแข่งขันวิ่ง-ปั่นจักรยาน
“INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS” กองทุ น กำ � ลั ง ใจในพระดำ � ริ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา ร่วมกับสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. จัดกิจกรรม เเข่ ง ขั น วิ่ ง -ปั่ น จั ก รยาน “INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS” ชิงถ้วยพระราชทานพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เนือ่ งในโอกาสครบ 10 ปี การดำ�เนินงานตามโครงการ กำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-8 มกราคม 2560 ณ บริเวณไร่องุ่น SILVERLAKE เขาชีจรรย์ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี กิจกรรมดังกล่าวจัดขึน้ เพือ่ สนับสนุนการออกกำ�ลังกาย และจั ด หาทุ น สมทบทุ น กองทุ น กำ�ลั ง ใจในพระดำ�ริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เพือ่ นำ�รายได้ ไปช่วยเหลือผู้ต้องขังและผู้ด้อยโอกาสในกระบวนการ ยุตธิ รรม และสร้างกำ�ลังใจให้แก่กลุม่ ผูท้ กี่ า้ วพลาดในชีวติ โดยเฉพาะผูต้ อ้ งขังหญิงให้สามารถกลับมาใช้ชวี ติ ในสังคม ได้อย่างปกติสุข โดยวันที ่ 7 มกราคม 2560 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดการแข่งขัน Walk Rally ภายใต้ชื่องาน “Inspire run and ride by princess & friends” โดยมี กิ จ กรรมการเเข่ ง ขั น ปั่ น จั ก รยาน ระยะทาง 50 กิโลเมตร เเละระยะทาง 90 กิโลเมตร เเบ่ ง เป็ น ประเภททั่ ว ไปชายเเละหญิ ง ซึ่ ง มี ผู้ ส นใจ เข้าร่วมเเข่งขันจำ�นวนกว่า 500 คน ส่ ว นวั น ที่ 8 มกราคม 2560 เป็ น การเเข่ ง ขั น วิ่ ง มาราธอนในระยะทางต่ า ง ๆ แบ่ ง ออกเป็ น ระยะ Fun Run, 5, 10 และ 21 กิโลเมตร ซึ่งในช่วงเช้า มีการจัดกิจกรรม Walk Rally โดยมีจำ�นวนผู้แข่งขัน ทัง้ เยาวชน คนรุน่ ใหม่ ประชาชนชาวไทยและชาวต่างชาติ เข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวนมาก
Justice Magazine Ministry of Justice
11
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
ขับเคลื่อนงานคุมประพฤติ แก้ ไขฟื้นฟูผู้กระทำ�ผิดคืนสู่สังคม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการบริหาร งานยุตธิ รรมแห่งชาติวา่ ด้วยงานคุมประพฤติและยุตธิ รรม ชุมชน ครัง้ ที่ 1/2559 เพือ่ พิจารณาแนวทางการดำ�เนินงาน คุมประพฤติและยุตธิ รรมชุมชน รวมทัง้ มาตรการบูรณาการ ในการแก้ไข ฟืน้ ฟู ติดตามดูแล ช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผู้ก ระทำ�ผิ ด ในชุ ม ชนให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 1 ชัน้ 9 อาคารราชบุรี ดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ประชุมผู้บริหาร นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานการประชุมผู้บริหารกระทรวง ยุตธิ รรม ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 1 ชัน้ 9 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
อบรมหลักสูตรมาตรการป้องกันและยับยั้ง การทุจริต สำ�หรับผู้บริหาร รุ่นที่ 1 นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ในฐานะหัวหน้าศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวง ยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธเี ปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร การเสริมสร้างองค์ความรู้มาตรการป้องกันและยับยั้ง การทุจริต ผูบ้ ริหารระดับอำ�นวยการ กระทรวงยุตธิ รรม รุน่ ที่ 1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้แก่บุคลากรระดับอำ�นวยการ ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ให้มคี วามรูท้ จ่ี ำ�เป็นต่อการป้องกัน และยั บ ยั้ง การทุ จ ริ ต สามารถกำ�กั บ ดู แ ล ตลอดจน เป็ น ต้ น แบบที่ดีแ ก่ ผู้ใ ต้ บัง คั บ บั ญ ชา ในการป้ อ งกั น และยับยัง้ การทุจริตในหน่วยงาน ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิรน์ พลัส แวนดา แกรนด์ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
12
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
ให้ความช่วยเหลือชุมชนชาวเลหาดราไวย์ พันตำ�รวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการศึกษาและแก้ไขปัญหา ด้านคดีความ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ครัง้ ที่ 2/2559 เพือ่ ติดตามความคืบหน้าการดำ�เนินงานของคณะอนุกรรมการฯ รวมทั้งพิจารณาแนวทางการให้ความช่วยเหลือชุมชนชาวเล หาดราไวย์ ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 2 ชัน้ 8 อาคารราชบุรี ดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
มอบโล่ประกาศเกียรติคุณฯ ข้าราชการต้นแบบ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธมี อบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ บุคคลทีส่ มควร ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติ “ข้าราชการต้นแบบ” สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปีที่ 5 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน ผู้ ที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ใ ห้ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ ง เชิดชูเกียรติในฐานะข้าราชการต้นแบบของหน่วยงาน รวมทัง้ ให้ขา้ ราชการและเจ้าหน้าทีป่ ระพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่าง ทีด่ ตี อ่ ไป ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรี ดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ช่วยเหลือประชาชนถูกดำ�เนินคดีกรณีตัดไม้ พะยูงโดยไม่ ได้รับอนุญาตฯ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม และโฆษกกระทรวงยุ ติธ รรม ร่ ว มหารื อ แนวทาง การช่วยเหลือและถอดบทเรียนกรณีนายทองสุข พันชมภู อายุ 80 ปี และนายเดิน จันทกล อายุ 70 ปี ชาวจังหวัด มหาสารคาม กรณีถกู จับดำ�เนินคดีในข้อหาร่วมกันตัดไม้ หวงห้าม (ไม้พะยูง) และมีไม้ทอ่ นหวงห้ามอันยังมิได้แปรรูป ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ห้องประชุมไชยานุกจิ ชัน้ 3 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
Justice Magazine Ministry of Justice
13
เรื่องเล่ายุติธรรม
กองบรรณาธิการ
“บังคับคดี” จัดมหกรรมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทฯ ช่วยเหลือลูกหนี้ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ สืบเนื่องจากกรณีเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ ตั้งแต่ช่วงต้นเดือนมกราคม 2560 ที่ผ่านมา ทำ�ให้เกิดผลกระทบ กับประชาชนใน 12 จังหวัด เส้นทางคมนาคมขนส่งในหลายพื้นที่ ถูกตัดขาดด้วยกระแสน้�ำ ทำ�ให้ประชาชนในพืน้ ที่ไม่ได้รบั ความสะดวก ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันตามปกติ
14
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทั้งนี้ ผู้ประสบอุทกภัยส่วนหนึ่งมีสถานะเป็นลูกหนี้ ตามคำ�พิพากษาทีต่ อ้ งเข้าสูก่ ระบวนการบังคับคดี ซงึ่ ได้รบั ผลกระทบโดยเฉพาะความสามารถในการชำ�ระหนี้ เพือ่ เป็นการช่วยเหลือลูกหนีท้ ป่ี ระสบอุทกภัยในพืน้ ทีภ่ าคใต้ กรมบั ง คั บ คดี นำ�โดยนางสาวรื่ น วดี สุ ว รรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี จึงได้รว่ มกับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มแห่ ง ประเทศไทย (ธพว.) ธนาคารออมสิน และธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) จัดโครงการ “มหกรรมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2560 (ครัง้ ที่ 1)” เพือ่ หาแนวทางและมาตรการในการให้ ความช่วยเหลือและเพิม่ โอกาสในการชำ�ระหนีข้ องลูกหนี้ อั น จะเป็ น การลดปริ ม าณคดี ที่ เ ข้ า สู่ ก ารบั ง คั บ คดี
เรื่องเล่ายุติธรรม
ลดการถู ก ยึ ด ทรั พ ย์ สิ น อายั ด ทรั พ ย์ สิ น ของลู ก หนี้ อั น จะเป็ น การเปิดโอกาสในการเข้าสู่การไกล่เกลี่ยของลูกหนี้และเจ้าหนี้ โดยกรมบั ง คั บ คดี ได้ เ ปิ ด โครงการดั ง กล่ า ว ในพื้ น ที่ 3 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีผลการดำ�เนินการดังนี้ เมื่ อ วั น ที่ 19 มกราคม 2560 ได้ เ ปิ ด โครงการดั ง กล่ า ว ณ ห้องบงกชรัตน์ 3 โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนายสกล จันทรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็ น ประธานเปิ ด โครงการฯ และนางสาวรื่ น วดี สุ ว รรณมงคล
มหกรรมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2560 (ครั้งที่ 1)
วั น ที่ 30 มกราคม 2560 ได้ เ ปิ ด โครงการดั ง กล่ า ว ณ ห้ อ งแก้ ว สมุ ย คอนเวนชั น แก้ ว สมุ ย รี ส อร์ ท อำ�เภอเมื อ ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีนายศุภวัชร ศักดา รองผู้ว่าราชการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประธานเปิดโครงการฯ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี เป็นผู้กล่าวรายงาน ซึ่งมีลูกหนี้ ตามคำ�พิ พ ากษาของสถาบั น การเงิ น ทั้ ง สามแห่ ง เข้ า ร่ ว มจำ�นวน 175 ราย คิดเป็นทุนทรัพย์ จำ�นวน 68.75 ล้านบาท อธิบดีกรมบังคับคดี เป็นผู้กล่าวรายงาน ซึ่งมีลูกหนี้ตามคำ�พิพากษา ของสถาบันการเงินทั้งสองแห่งเข้าร่วม จำ�นวน 163 ราย คิดเป็น ทุนทรัพย์ จำ�นวน 111,175,409.07 บาท วั น ที่ 21 มกราคม 2560 ได้ เ ปิ ด โครงการดั ง กล่ า ว ณ โรงแรมหรรษา เจ.บี.หาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมีนางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี เป็นประธาน เปิ ด โครงการฯ ซึ่ ง มี ลู ก หนี้ ข องธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ที่ อ ยู่ ในชั้ น บั ง คั บ คดี เ ข้ า ร่ ว มจำ�นวน 88 ราย คิ ด เป็ น ทุ น ทรั พ ย์ รวมจำ�นวน 54,128,729.54 บาท และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มแห่ ง ประเทศไทยมี ลู ก หนี้ ที่ อ ยู่ ใ นชั้ น บังคับคดีเข้าร่วมอีก จำ�นวน 56 ราย คิดเป็นยอดทุนทรัพย์ทั้งสิ้น จำ�นวน 109,735,774.27 บาท
Justice Magazine Ministry of Justice
15
บนความเคลื่อนไหว
กองบรรณาธิการ
การประชุมสร้างความรู้เท่าทัน ต่อพลวัตการควบคุมยาเสพติด ครั้งที่ 1 รั ฐ บาลไทยให้ ค วามสํ า คั ญ และเร่ ง แก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ของประเทศ โดยกระทรวงยุติธรรมเล็งเห็นว่าการด�ำเนินงาน แก้ ไขปัญหายาเสพติด จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงการสร้างความร่วมมือ ระหว่างประเทศในการป้องกัน ปราบปราม และสกัดกั้นขบวนการ ค้ า ยาเสพติ ด ตลอดจนการบํ า บั ด และฟื ้ น ฟูผู้ ติ ด ยาเสพติ ด อย่างครบวงจร เพื่อให้สามารถแก้ ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างยัง่ ยืน
นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ประธานในพิธีเปิดการประชุม
16
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2560 สำ�นักกิจการ ในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ร่วมกับศาลฎีกา หน่วยงานความร่วมมือด้านนโยบาย ยาเสพติดระหว่างประเทศ (International Drug Policy Consortium, IDPC) ศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสำ�นักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จัดการประชุมสร้างความรู้เท่าทันต่อพลวัตการควบคุม ยาเสพติด ครั้งที่ 1 เรื่อง “การสร้างองค์ความรู้ยาเสพติด (เมทแอมเฟตามี น ): ทั ก ษะสั ง คมเพื่ อ ลดอั น ตราย (Drug Education: Social Skills for Harm Reduction)” สร้างการรับรู้และเท่าทันต่อการจัดการ ปัญหายาเสพติดในรูปแบบใหม่ และแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ ด้านดังกล่าว เพื่อนำ�มาปรับใช้ อันจะนำ�ไปสู่การแก้ไข ปั ญ หายาเสพติ ด อย่ า งยั่ง ยื น โดยมี ผู้แ ทนหน่ ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จำ�นวนกว่ า 500 คน เข้ า ร่ ว มประชุ ม ณ ห้อง Ballroom BC โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุ ติ ธ รรม ประธานในพิ ธี เ ปิ ด การประชุ ม ได้ กล่า วว่า
บนความเคลื่อนไหว
ปาฐกถาพิเศษ โดย พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี
กระทรวงยุ ติ ธ รรมในฐานะที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการแก้ ไขปั ญ หาด้ า นยาเสพติ ด และขั บ เคลื่ อ น ผลักดันภารกิจตามนโยบายของรัฐบาล จะดำ�เนินงาน ควบคู่กันไประหว่างการสร้างองค์ความรู้ด้านยาเสพติด และการบังคับใช้ทางกฎหมายอย่างจริงจัง ซึ่งการใช้ แนวทาง 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านองค์ความรู้ ยาเสพติด : ทักษะ สังคมเพื่อลดอันตราย 2) ด้านสังคม 3) ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข 4) ด้านเศรษฐกิจ และ 5) ด้านกฎหมาย และการบั ง คั บ ใช้ ตามที่ สำ�นั ก กิ จ การในพระดำ�ริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ได้เสนอ จะทำ�ให้ เ ห็ น ผลการดำ�เนิ น งานด้ า นการป้ อ งกั น และ ปราบปรามยาเสพติดชัดเจนมากขึน้ โดยเฉพาะการสร้าง องค์ความรู้ ถือเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญมาก เนื่องจาก การพัฒนาองค์ความรู้ด้านยาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม จะทำ�ให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างครอบคลุมทุกมิติ สำ�หรับการปราบปรามและการลงโทษผู้กระทำ�ความผิด ในคดียาเสพติดนัน้ จะมุง่ เน้นไปทีผ่ คู้ า้ รายใหญ่เพือ่ กำ�จัด ต้นตอสำ�คัญของปัญหายาเสพติดในประเทศให้หมดไป นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่ า วว่ า การประชุ ม ครั้ ง นี้ ถื อ ว่ า เป็ น ความตื่ น ตั ว เพื่ อ การปฏิ รู ป ระบบควบคุ ม ยาเสพติ ด ครั้ ง สำ�คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร์ ก ระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญา ของประเทศไทย ทง้ั นี ้ การจัดการกับปัญหาด้านยาเสพติดนัน้ หากจะมุ่ ง เน้ น ไปทางมิ ติ ใ ดมิ ติ ห นึ่ ง คงจะไม่ เ กิ ด ผล นอกจากมิ ติ ด้ า นการพั ฒ นากฎหมายแล้ ว ยั ง ต้ อ งมี การดำ�เนิ น การผลั ก ดั น ให้ มี ก ารดำ�เนิ น การในมิ ติ ด้านอื่น ๆ ด้วย โดยเฉพาะด้านองค์ความรู้ยาเสพติด เพราะหากทุ ก หน่ ว ยงานมี ค วามรู้ ด้ า นยาเสพติ ด ที่ถูกต้อง จะไม่ทำ�ให้เกิดการใช้กระบวนการยุติธรรม ที่ ม ากจนเกิ น ไปจนเกิ ด ปั ญ หาผู้ ต้ อ งขั ง ล้ น เรื อ นจำ� ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน สำ�หรับการประชุมดังกล่าว จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 5 - 6 มกราคม 2560 ซึ่งในวันแรก มีการนำ�เสนอวีดิทัศน์เรื่อง
ชาญฉลาดควบคุมยาเสพติดอย่างสร้างสรรค์ (Smartly Constructive Drug Control) การปาฐกถาพิเศษ เรื่ อ ง แนวทางการจั ด การยาเสพติ ด แบบบู ร ณาการ โดย พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี และเรื่อง บทบาทของศาลกับการลดจำ�นวนผู้ต้องขังคดียาเสพติด ระดับล่างและทางออก โดย นายวีระพล ตั้งสุวรรณ ประธานศาลฎี ก า ตลอดจนการแลกเปลี่ ย นความรู้ ประสบการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งองค์ ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด จากวิ ท ยากรทั้ ง ภายในประเทศ และต่างประเทศ อาทิ การบรรยาย เรื่อง การควบคุม เมทแอมเฟตามีนโดยมิติเศรษฐศาสตร์ การสรุปบทเรียน จากหนังสือ ยาเสพติด : ปัญหา – ทางออก ? บทเรียน ชี วิ ต ของ Dr. Carl L. Hart ในมุ ม มองของผู้ แ ปล และการบรรยายเรื่อง “การท้าทายทุกสิ่งที่คุณทราบ เกี่ยวกับยาเสพติดและสังคม ผ่านบทเรียนจากหนังสือ บทเรียนราคาแพง โดย Professor Dr. Carl L. Hart หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยมีการวิพากษ์และตั้งประเด็นคำ�ถาม จากผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการและองค์การ ระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนนโยบาย ยาเสพติด ในวันทีส่ อง เป็นการนำ�เสนอแนวทางการจัดการปัญหา ยาเสพติ ด ในมุ ม มองของภาคประชาสั ง คม พร้ อ มทั้ ง เสนอผลการศึกษาเรือ่ ง “จากบทเรียนอันทรงคุณค่า สูส่ งั คม อุดมปัญญา แก้ปญั หายาเสพติดอย่างสร้างสรรค์และยัง่ ยืน” โดย Mr. Pascal Tanguay และนายวีระพันธ์ งามมี กรรมการและเลขานุการมูลนิธิโอโซน นับเป็นเวทีทย่ี ง่ิ ใหญ่ทเ่ี ปิดโอกาสให้หน่วยงานต่าง ๆ ในประเทศไทย ได้ร่วมมือกันอย่างจริงจัง สร้างพลัง ทีจ่ ะสนับสนุนการแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศชาติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยไม่ปล่อยให้หน่วยงานใด หน่วยงานหนึง่ รับผิดชอบแต่เพียงลำ�พัง เพือ่ ให้ยาเสพติด หมดสิ้นไปจากประเทศไทยอย่างยั่งยืน
การประชุมสร้างความรู้เท่าทัน ต่อพลวัตการควบคุมยาเสพติด ครั้งที่ 1เรื่อง “การสร้างองค์ ความรู้ยาเสพติด (เมทแอมเฟ ตามีน): ทักษะสังคมเพื่อลด อันตราย (Drug Education: SocialSkills for Harm Reduction)”
Justice Magazine Ministry of Justice
17
กองบรรณาธิการ
บนความเคลื่อนไหว
ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน กระทรวงยุตธิ รรมมุง่ ขับเคลือ่ นนโยบาย “ยุตธิ รรมชุมชน” โดยการสร้างเครือข่ายยุตธิ รรมในชุมชนและพัฒนา เครือข่ายให้มีศักยภาพ เพื่อเป็นอีกหนึ่งความร่วมมือที่จะท�ำหน้าที่สอดส่องดูแลชุมชน ในฐานะตัวแทน ภาคประชาชน ให้สามารถเข้าถึงการอ�ำนวยความยุติธรรมได้อย่างทั่วถึง เป็นธรรม และเท่าเทียม จึ ง เป็ น ที่ ม าของโครงการ “ยุ ติ ธ รรมสู่ ห มู่ บ้ า น นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน” ที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม ให้ผู้แทนภาคประชาชน และผู้นำ�ชุมชนในพื้นที่เข้ามา มีสว่ นร่วมในกระบวนการยุตธิ รรม และทำ�ความเข้าใจเกีย่ วกับ นโยบายของกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้การดำ�เนินงาน เป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ อย่างถูกต้องในการปฏิบัติงานด้านกระบวนการยุติธรรม เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของประชาชน โดยเมื่อปี 2559 ที่ผ่านมาได้เริ่มต้นโครงการในพื้นที่ ภาคเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำ�ปาง ในพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทีจ่ งั หวัดอุดรธานีและขอนแก่น และในพื้นที่ภาคใต้ที่จังหวัดสงขลา ล่าสุดในปี 2560 โครงการ “ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริ ก ารรั ฐ สู่ ป ระชาชน” ได้ เริ่ ม ต้ น จั ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง
18
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ประธานเปิดการประชุม พร้อมกล่าวมอบนโยบาย
โดยลงพื้ น ที่ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรม ทวินโลตัส อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดการประชุม และกล่าวมอบนโยบาย พร้อมด้วยคณะผูบ้ ริหารกระทรวง
บนความเคลื่อนไหว
ยุ ติ ธ รรม หั ว หน้ า ส่ ว นราชการในสั ง กั ด และหั ว หน้ า ส่ ว นราชการในจั ง หวัด นครศรีธ รรมราช และจังหวัด สุราษฎร์ธานี ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมฯ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า โครงการยุติธรรม สู่หมู่บ้าน นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน จัดขึ้นเพื่อให้เกิด ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการทำ�งานเชิงบูรณาการ เพื่ออำ�นวยความยุติธรรมแก่ประชาชนในระดับพื้นที่ โดยมุ่งหวังให้ข้าราชการและผู้เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมแก้ไข ปั ญ หาของประชาชนอย่างมีป ระสิทธิภ าพในรูป แบบ ร่วมกันคิด รว่ มกันวางแผน ติดตามประเมินผลเน้นช่วยเหลือ ประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม ให้เข้าถึงได้งา่ ย รวดเร็ว โดยกระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ ขั บ เคลื่ อ นการดำ�เนิ น งาน ด้านการแก้ไขปัญหาความเหลือ่ มลํา้ ในสังคมการไม่ได้รับ ความเป็นธรรมในกระบวนการยุตธิ รรมพร้อมทัง้ การจัดตัง้ “กองทุ น ยุ ติ ธ รรม” เพื่ อ สนั บ สนุ น เงิ น หรื อ ค่ า ใช้ จ่ า ย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมให้ แ ก่ ป ระชาชนผู้ ย ากไร้ อย่างเสมอภาค ซึ่งประชาชนผู้เดือดร้อนสามารถขอรับ ความช่วยเหลือจากสำ�นักงานยุตธิ รรมจังหวัดทัว่ ประเทศ ปั จ จุ บั น ประชาชนสามารถเข้ า ถึ ง กระบวนการ ยุ ติ ธ รรมได้ ใ นทุ ก พื้ น ที่ โดยกระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ บู ร ณาการการทำ�งานกั บ ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยได้จดั ตัง้ ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน และสำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อให้บริการด้านงานยุติธรรมของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุตธิ รรม และช่วยเหลือประชาชนในด้านต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องปรับทัศนคติ การทำ�งานและสร้ า งการรั บ รู้ สร้ า งความเข้ า ใจเรื่ อ ง ดังกล่าวด้วย โดยรัฐบาลเน้นผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม มี ก ารทำ�งานในลั ก ษณะการขั บ เคลื่ อ นแบบเบ็ ด เสร็ จ (Single Command) และเน้นการทำ�งานโดยมีส่วนร่วม กั บ ประชาชนในรู ป แบบประชารั ฐ ซึ่ ง ข้ อ มู ล เรื่ อ ง ความเดือดร้อนของประชาชนจะถูกส่งไปยังหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและต้องได้รับการแก้ไขด้วยความรวดเร็ว ทั้ ง นี้ กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ ผนการดำ�เนิ น งาน ตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม ระยะ 20 ปี ใน 6 ด้าน ได้แก่ 1. ป้องกันและปราบปราบยาเสพติด 2. การสร้างความปลอดภัยและความสงบสุขในสังคม 3. การอำ�นวยความยุติธรรม 4. การพัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 5. การป้ อ งกั น และปราบปรามอาชญากรรม ด้านความมั่นคง 6. การเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์
กระทรวงยุติธรรม มุ่งมั่นที่จะช่วยเหลือประชาชน อย่างเต็มความสามารถ เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าและ สร้างความเป็นธรรมให้เกิดกับประชาชนทุกคนในสังคม ตามนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม การดำ�เนินงาน แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนทีก่ ล่าวมานี้ จะสำ�เร็ จ ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ ทุ ก ภาคส่ ว น ร่ ว มแรง ร่ ว มใจ อย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ ให้ ทุ ก คนในสั ง คมมี ห ลั ก ประกั น ในการได้รบั ความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ภายใต้แนวทางการดำ�เนินงานของกระทรวงยุตธิ รรมทีว่ า่ “ยุ ติ ธ รรมสู่ ห มู่ บ้ า น นำ�บริ ก ารรั ฐ สู่ ป ระชาชน” อันจะนำ�พาสังคมและประเทศชาติไปสู่ความเจริญ “มัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” ตามวิสยั ทัศน์ของรัฐบาลต่อไป Justice Magazine Ministry of Justice
19
บนความเคลื่อนไหว
การตรวจสอบ ธุรกรรมทางการเงิน เชิงภาษีอากร การตรวจสอบการเงินเชิงภาษีอากรเป็นวิธีการหนึ่ง ในการพิสูจน์การทำ�ธุรกรรมว่ามีความน่าเชื่อถือ หรือมีการทำ�ธุรกรรมทางการเงินถูกต้องแท้จริงหรือไม่
นายธวัชชัย รัตนปรีชาชัย พนักงานสอบสวนคดีพิเศษชำ�นาญการพิเศษ สำ�นักคดีความมั่นคง กรมสอบสวนคดีพิเศษ
เนื่ อ งจากธุ ร กรรมทางการเงิ น กั บ ระบบภาษี มีความสัมพันธ์กนั การทำ�ธุรกรรมทางการเงินจะบ่งบอก ให้ ต้ อ งจั ด ทำ�เอกสารทางภาษี อ ย่ า งหลี ก เลื่ ย งไม่ ไ ด้ ทั้ ง ยั ง ต้ อ งรองรั บ ความถู ก ต้ อ งแท้ จ ริ ง ของธุ ร กรรม ทีต่ อ้ งจัดทำ�เนือ่ งจากการเงินในเชิงภาษี กฎหมายกำ�หนดให้ ผู้จ่ายเงินได้ตามบางลักษณะจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามประมวลรัษฎากร จึงจำ�เป็นจะต้องมีเอกสารหลักฐาน ทางการเงินและภาษีอากรให้สอดคล้องตรงกันและพิสจู น์ ได้จริง ดังนัน้ กรณีบริษทั ฯทีจ่ ดทะเบียนนิตบิ คุ คล จำ�เป็น จะต้องดำ�เนินการให้ถูกต้องและจะต้องนำ�เงินไปใช้จา่ ย ที่เกี่ยวกับกิจการที่ก่อให้เกิดรายได้ของนิติบุคคลนั้น ๆ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ประชาชนโดยทัว่ ไปต่อความเชือ่ ถือ ในการประกอบกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ ยังให้ความเชือ่ มัน่ ต่อผูร้ ว่ มลงทุนในนิตบิ คุ คลนัน้ ๆ และก่อให้เกิดความโปร่งใส ร่วมกันของผู้ร่วมลงทุน อีกทั้งยังก่อให้เกิดภาพลักษณ์ ของบริ ษั ท ฯ ต่ อ สายตาผู้ ร่ ว มค้ า และกั บ หน่ ว ยงาน ทางราชการทีม่ หี น้าทีก่ ำ�กับดูแลเกีย่ วกับภาษีอากร ทัง้ ยัง สามารถนำ�เอกสารการทำ�ธุรกรรมทางการเงินเชิงภาษีอากร มาใช้ แ สดงความถู ก ต้ อ ง และเป็ น พยานหลั ก ฐานได้ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถสร้ า งความน่ า เชื่ อ ถื อ ต่ อ งบการเงิ น และงบกำ�ไรขขาดทุนของบริษทั ฯ อีกด้วย อันจะทำ�ให้ธรุ กิจ น่าเชื่อถือเป็นไปตามมาตราฐานทางบัญชี และสามารถ ตรวจสอบการใช้เงิน ตามหลักฐานข้อเท็จจริงเพื่อนำ�ไปสู่ การจั ด ทำ�เอกสารทางการเงิ น และบั ญ ชี ใ นการแสดง สถานะของนิตบิ คุ คลนัน้ ๆ ดังนัน้ การตรวจสอบธุรกรรม ทางการเงินเชิงภาษีอากร จะสามารถพิสูจน์พฤติกรรม และข้ อ เท็ จ จริ ง ทางการเงิ น ตามบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ของนิ ติ บุ ค คลสอบยั น กั บ ระบบภาษี หั ก ณ ที่ จ่ า ย ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล รวมทัง้ อากรแสตมป์
การพิสูจน์ กรณีการรับเงินค่าจ้าง ขั้นตอนที่ 1
โดยปกติทั่วไป การรับจ้างต่าง ๆ จะปรากฏหลักฐาน เช่น สัญญาจ้าง บันทึกข้อตกลง ตลอดเอกสารที่บ่งบอก เป็นการจ้างโดยมีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นเงิน จำ�เป็น ต้องสืบสวนสอบสวนกรณีการจ้างดังกล่าวมีการติดอากร ให้เป็นไปตามประมวลรัษฎากรหรือไม่ จึงทำ�ให้ทราบว่า มีนิติบุคคลใดมีรายได้และนิติบุคคลใดมีรายจ่าย
ขั้นตอนที่ 2
จากข้อมูล การติดอากรตามสัญญาจ้าง ขั้นตอนที่ 1 บริษัทฯ ผู้ว่าจ้างจำ�เป็นจะต้องทำ�ธุรกรรมทางการเงิน
20
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
บนความเคลื่อนไหว
เพื่อจ่ายค่าจ้างตามสัญญาให้แก่ผู้รับจ้าง ซึ่งการจ่ายเงิน ค่าจ้างดังกล่าว ประมวลรัษฎากร กำ�หนดให้ผู้จ่ายเงินได้ ต้ อ งหั ก ภาษี ณ ที่ จ่ า ย ร้ อ ยละ 3 ให้ กั บ ผู้ รั บ เงิ น ตามมาตรา 3 เตรส และนำ�ส่วนที่หักภาษี ณ ที่จ่ายนำ�ส่ง ให้กรมสรรพากร ด้วยแบบ ภ.ง.ด. 53 และนำ�ค่าจ้าง ที่ จ่ า ยไปลงบั ญ ชี เ ป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการดำ�เนิ น กิ จ การ อันจะก่อให้เกิดเอกสารทางการเงินคือหลักฐานการทำ� ธุรกรรมทางการเงิน กับเอกสารทางภาษี ภ.ง.ด. 53 สอดคล้องตรงกัน ข้อสังเกต ประมวลรัษฎากรกำ�หนดให้การจ่ายเงิน จ้างทำ�ของต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย หากไม่ดำ�เนินการ ตามกฎหมาย จะไม่ ใ ห้ ถื อ เป็ น รายจ่ า ยของนิ ติ บุ ค คล และอาจถูกตรวจสอบในการสำ�แดงรายจ่ายเป็นเท็จได้
ขั้นตอนที่ 3
จากข้ อ มู ล การจ่ า ย (ตามขั้ น ตอนที่ 2) เงิ น ของ นิ ติ บุ ค คลหนึ่ ง จ่ า ยให้ กั บ ผู้ รั บ เงิ น ดั ง นั้ น ผู้ ไ ด้ รั บ เงิ น ตามสัญญาจ้าง จะต้องออกหลักฐานการรับเงินที่เรียกว่า ใบกำ�กับภาษีเพือ่ เป็นหลักฐานให้แก่ผรู้ บั เงิน และผูร้ บั เงิน จะต้ อ งนำ�รายได้ จ ากค่ า จ้ า งภายในเดื อ นภาษี นั้ น ๆ ยื่ น แบบแสดงรายการเสี ย ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (ภ.พ.30) เพื่อยืนยันและสอบยันข้อมูล ตามขั้นตอนที่ 1 ข้อสังเกต หากไม่มีการนำ�รายได้ตามขั้นตอนที่ 2 ไปยืน่ แบบ ภ.พ. 30 อาจเป็นธุรกรรมน่าสงสัยและไม่นา่ เชือ่ ถือ อีกทั้งอาจมีความผิด กรณีเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีอีกด้วย
ขั้นตอนที่ 4
การพิสูจน์ข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่ายของบริษัท A ที่จ่ายให้กับบริษัท B สอบทานกับหลักฐานตามแบบ แสดงรายการ การเสียภาษี ภ.พ. 30 ของบริษทั B ว่ามีขอ้ มูล หรือข้อสงสัยตามยอดขายและยอดซือ้ สัมพันธ์กนั หรือไม่ ดังแสดงในตารางที่ 1
ภาพแบบแสดงรายการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภ.พ.30
ภ.ง.ด.53
ตารางที่ 1 ปี พ.ศ.
เดือน
แบบภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด. 53 บ.A
แบบ ภ.พ. 30 บ.B (ยอดขาย)
แบบ ภ.พ. 30 บ.B (ยอดซื้อ)
2547
กรกฎาคม
15,355,000.00
15,355,000.00
15,151,455.97
กันยายน
12,495,000.00
12,755,000.00
12,317,416.64
12,075,000.38
12,737,644.72
2548
ตุลาคม
6,450,000.00
3,142,523.36
109,636.00
พฤศจิกายน
45,100,000.00
45,327,500.00
30,294,451.00
ธันวาคม
5,140,000.00
5,140,000.00
56,182,714.29
มกราคม
59,400,000.00
-
-
กุมภาพันธ์
62,500,000.00
-
-
252,700,000.00
140,297,439.64
126,550,902.36
รวม
แสดงการเปรียบเทียบข้อมูล ภ.ง.ด. 53 และ ภ.พ. 30 ที่ ได้จากกรมสรรพากร
ข้อสังเกต รายละเอียดจากตารางที่ 1 พบข้อมูลจากการยื่นแบบ ภ.พ.30 (ยอดขาย) บ.B ไม่สอดคล้องกับแบบข้อมูลตามแบบ ภ.ง.ด. 53 ของ บ.A และข้อมูล ยอดซื้อ ก็ยังไม่สัมพันธ์กับการจ้างทำ�ของ จึงมีข้อพิรุธในทางภาษี ไม่สอดคล้อง กับทฤษฎีทางธุรกรรมทางการเงินและภาษี ดังนั้น จึงเป็นธุรกรรมต้องสงสัย
ขั้นตอนที่ 5
การพิสูจน์กิจการตามสัญญาว่ามีการดำ�เนินการที่ก่อให้เกิดผลงานตามที่ได้ ว่าจ้างจริงหรือไม่ ซึ่งต้องตรวจผลงานที่เกิดขึ้นจริงในสถานที่รับจ้าง อันจะพิสูจน์ การจ่ายเงินกันจริงและมีผลงานตามที่จ่ายเงิน หากแต่ผู้รับเงินไม่แสดงรายได้ ทางภาษี ก็จะทำ�ให้ธุรกรรมทางการเงินและทางภาษีไม่สอดคล้องกัน จึงอาจมี ความผิดฐานหลีกเลีย่ งการเสียภาษีได้ หรือ อาจมีสญ ั ญาจ้างแต่ไม่มเี นือ้ งานแสดง จึงไม่มีการจ้างงานจริงแต่นำ�เอาสัญญาไปเป็นค่าใช้จ่าย ก็เป็นการทำ�ธุรกรรม ที่เป็นไปไม่ได้ จึงเป็นธุรกรรมต้องสงสัย
ขั้นตอนที่ 6
การตรวจพิสจู น์สถานประกอบการของนิตบิ คุ คลมีสถานประกอบกิจการจริง หรือไม่ มีการจดทะเบียนประกอบกิจการ ประเภทใด ลักษณะสถานประกอบการ มีสภาพอย่างไร มีคนงานจำ�นวนเท่าใด ผลประกอบการ (รายได้) มีความสัมพันธ์ กับข้อมูลตามลักษณะของโครงสร้างนิติบุคคลหรือไม่ เพื่อชี้ความเป็นไปได้ ในเชิงธุรกิจ จากการตรวจสอบสภาพสถานประกอบการ จำ�นวนพนักงาน และเครือ่ งมือ อุปกรณ์ (งบการเงิน) จะพิสจู น์ความสามารถในการประกอบธุรกิจ ได้จริงตามข้อมูลตามตารางที่เป็นตัวอย่างหรือไม่ ข้อสังเกต ข้อมูลสถานประกอบการจะเป็นหลักฐานสำ�คัญในการรับรอง การประกอบธุ ร กิ จ จริ ง หรื อ ไม่ เ พื่ อ ต่ อ ยอดการพิ สู จ น์ ใ นขั้ น ตอนอื่ น ๆ ว่าเป็นจริงหรือเท็จ Justice Magazine Ministry of Justice
21
บนความเคลื่อนไหว
ขั้นตอนที่ 7
ต่อกรมสรรพากรว่า บริษทั ฯทีซ่ อื้ วัสดุมสี ทิ ธิออกใบกำ�กับภาษีหรือไม่ พิสูจน์ทราบจากหลักฐานของผู้รับเงิน เพื่อพิสูจน์การสั่งซื้อวัสดุ หากเป็นผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำ�กับภาษีแล้ว นำ�ภาษีซื้อมาใช้ถือว่า อุปกรณ์ ที่ได้รับจ้างจริงหรือไม่ ซึ่งสามารถตรวจสอบข้อมูลทางภาษี เป็นการนำ�ใบกำ�กับภาษีปลอมมาใช้ ตามนิยามใบกำ�กับภาษีปลอม ของ บริษัท B ช่องยอดซื้อ ว่ามีนิติบุคคลใดออกหลักฐานใบกำ�กับ ประมวลรัษฎากร มาตรา 89 (7) วรรคสองประกอบมาตรา 82/5(5) ภาษีซื้อ ทั้งยังเป็นข้อมูลการทำ�สัญญาจ้างจริงหรือไม่อีกด้วย ข้อสังเกต การแสดงยอดซือ้ ทีไ่ ม่มกี ารซือ้ จริง จึงเป็นการอำ�พราง ยอดซื้อ ที่ไม่เกิดขึ้นจริง เพื่อมีเจตนาไม่เสียภาษี หรือทำ�ให้เสียภาษี ขั้นตอนที่ 9 น้อยลง ตรวจสอบการทำ�บัญชีของนิติบุคคลผู้ว่าจ้าง โดยขอหลักฐาน การบันทึกบัญชีตามสัญญาจ้าง ว่ามีเอกสารตามบัญชีถูกต้องหรือไม่ ขั้นตอนที่ 8 ส่วนนิตบิ คุ คลผูร้ บั จ้าง มีการบันทึกบัญชีรบั และจ่ายต่าง ๆ สอดคล้อง ตรวจพิสูจน์การนำ�รายการภาษีซื้อ ตามขั้นตอนที่ 7 ไปสอบยัน สัมพันธ์กับรายได้ ตามโครงการที่ว่าจ้างหรือไม่ เช่น ค่าจ้างคนงาน ผู้อ อกใบกำ�กั บ ภาษี ซ้ือ ว่ า มี ก ารซื้อ ขายจริ ง หรื อ ไม่ ป ระกอบกั บ และวัสดุอปุ กรณ์ รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กบั สัญญาจ้าง การตรวจสอบข้อมูลทะเบียนผูป้ ระกอบการทีจ่ ดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ หรือไม่ ซึ่งจะเป็นคำ�ตอบว่ามีการประกอบการจริงหรือไม่
แผนผังแสดงการธุรกรรมเชิงภาษีอากร บริษัท A
จ่ายค่าจ้างตามแบบ ภ.ง.ด. 53 ตัง้ แต่ ก.ค. 47 – ก.พ. 48
บริษัท B
252,700,000.00 บาท
ตรวจสอบหลักฐานจาก แบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด. 53 ทีย่ น่ื ต่อกรมสรรพากร
ตรวจสอบหลักฐาน การจ่ายเงินตามแบบ ภ.ง.ด. 53 (หัก ณ ที่จ่าย 3 %)
ตรวจสอบหลักฐานการ จ่ายเงินตามแบบ ภ.พ. 30 (มูลค่าเพิม่ 7%)
ตรวจสอบหลักฐาน จากระบบ ภ.ง.ด. 50 (งบการเงิน)
สัญญาจ้างทำ�ของต้องติด อากรแสตมป์ ตามประมวล รัษฎากร
จ่ายเงินให้กับ 3 บริษัทเป็นเงิน 89,943,560 บาท
รายได้ รายจ่าย (ภาษีซื้อ) ตรวจสอบสภาพสถานประกอบการ ตรวจสอบ การทำ�ใบกำ�กับภาษี ซือ้ มาใช้ ไม่มกี ารประกอบการจริง
รายการบันทึกเป็นรายปี รับ จ่าย มีหลักฐานการบันทึกบัญชี ถูกต้องหรือไม่ และมีการ บันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายตาม ใบกำ�กับภาษีปลอมตาม ข้อมูลกรมสรรพากร
สอบทานงบการเงิน และการบันทึกบัญชี บ. C 28,015,380 จากแผนภูมิในส่วนของบริษัท B ยืนยันได้ว่า ไม่ได้ประกอบ กิจการตามโครงการดังกล่าวจริง เป็นเพียงการจัดทำ�ธุรกรรมภาษี เพื่ออำ�พรางการดำ�เนินการตาม โครงการดังกล่าว
22
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
บ. D 30,487,380
หจก.สินวัฒนา 31,440,500
บริษัทที่ไม่มีสิทธิออกใบกำ�กับภาษี (ปลอมใบกำ�กับภาษี)
สนับสนุนข้อมูล กรมสรรพากร
บนความเคลื่อนไหว
สรุป การตรวจสอบการทำ�ธุรกรรมทางการเงินกับภาษี เป็นการพิสูจน์ความน่าเชื่อถือ
ของธุรกรรมทางการเงินและภาษีว่า มีความสัมพันธ์กันถูกต้องหรือไม่ ทั้งการพิสูจน์ธุรกรรม ทางการเงินและภาษี ยังเป็นองค์ประกอบสำ�คัญ ในเชิงพยานหลักฐานในทางคดีเศรษฐกิจ ซึ่งมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำ�การพิสูจน์ตามขั้นตอนที่กล่าวข้างต้นเพื่อความแท้จริง ของข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ยั ง เป็ น การยื น ยั น การทำ�ธุ ร กรรมโดยมี ห ลั ก ฐานทางภาษี สนับสนุนธุรกรรมทางการเงินด้วย ซึ่งตารางที่นำ�เสนอเป็นตัวอย่างการพิสูจน์ในเชิงภาษี จากการยืน่ แบบของบริษทั ฯ ทจี่ า่ ยเงินกับบริษทั ฯ ผรู้ บั เงิน จึงเป็นไปไม่ได้ และไม่มคี วามสัมพันธ์ กับเส้นทางของการเงินและสอบยันกับแบบแสดงรายการเสียภาษีและการนำ�ใบกำ�กับภาษี ซือ้ มาสอบยัน ปรากฏว่า ไม่มบี ริษทั ฯ ทปี่ รากฏตามใบกำ�กับภาษี การนำ�ใบกำ�กับภาษีปลอมมาใช้ ก็เพื่อประโยชน์การเสียภาษีเท่านัน้ มิได้หมายความว่า เป็นผูป้ ระกอบการจริงเป็นเพียงช่องทาง การนำ�เงินออกจากบริษัทฯ โดยใช้ระบบภาษีอำ�พรางซ่อนเร้นการจ่ายเงินให้ดูสอดคล้อง กับงบทางการเงินของบริษทั ผูจ้ า่ ยเงิน และบริษทั ผูร้ บั เงินเท่านัน้ ดังนัน้ การทำ�สัญญาจ้างดังกล่าว เป็ น การอำ�พราง โดยมี เจตนานำ�เงิ น ออกจากบริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เพื่อสนับสนุนให้กิจกรรมอย่างใด ๆ อันมีนัยสำ�คัญโดยผ่านบริษัท B ในการอำ�พรางซ่อนเร้น ธุ ร กรรมทางภาษี อั น มี พิ รุ ธ และเป็ น ไปไม่ ไ ด้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง สำ�หรั บ ประเด็ น การพิ สู จ น์ ใบกำ�กับภาษีซอื้ ของบริษทั B ตามแบบ ภ.พ. 30 นัน้ กรมสรรพากร ในฐานะหน่วยงานของรัฐ ที่มีหน้าที่ในการรับจดทะเบียน ยืนยันว่า บริษัทฯ C,D,F ที่ออกหลักฐานใบกำ�กับภาษีให้กับ บริษทั B ไม่มกี ารประกอบการจริง การออกหลักฐานใบกำ�กับภาษี จงึ เป็นการออกใบกำ�กับภาษีปลอม ตามคำ�นิ ย ามของประมวลรั ษ ฎากร ประกอบกั บ ข้ อ มู ล การจดทะเบี ย นนิ ติ บุ ค คล สภาพสถานประกอบการ จำ�นวนพนักงานของบริษัทไม่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลรายได้ การนำ�ใบกำ�กับภาษีปลอมมาใช้กเ็ พือ่ ประโยชน์การเสียภาษีให้นอ้ ยลงเท่านัน้ มิได้หมายความเป็น ผู้ประกอบการจริง เป็นเพียงช่องทางนำ�เงินออกจากบริษัทนิติบุคคลโดยใช้ระบบภาษี อำ�พรางซ่ อ นเร้ น การจ่ า ยเงิ น ให้ ดู ส อดคล้ อ งกั บ งบทางการเงิ น ของบริ ษัท ผู้รับ เงิ น และบริษัทจ่ายเงินฯ จึงเป็นการใช้แบบภาษี อ ากรอำ�พรางการใช้ เ งิ น ของนิ ติ บุ ค คลเพื่ อ มี นัยสำ�คัญ เพื่อให้มีการนำ�เงินออกจากบริษัทฯ โดยสามารถนำ�เงินมาใช้ประโยชน์ในทางอื่น และยังนำ�เงินที่ออกมาใช้ อันมิใช่ความมุ่งหมายของนิติบุคคลมารับประโยชน์ทางภาษีอกี ด้วย ซึง่ อาชญากรรมลักษณะเช่นนี ้ จึงเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจที่ทำ�ลายระบบเศรษฐกิจ และธุรกิจโดยรวมอีกด้วย Justice Magazine Ministry of Justice
23
บนความเคลื่อนไหว
นายเอกภพ กุหลาบวงษ์ นักสืบสวนสอบสวนชำ�นาญการ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
“โครงการพัฒนาทักษะการคุ้มครองพยาน”
สร้างบุคลากรมืออาชีพด้านการคุ้มครองพยาน ส�ำนั ก งานคุ ้ ม ครองพยาน กรมคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรีภ าพ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ จั ด ฝึ ก ตามโครงการพั ฒ นาทั ก ษะ การคุม้ ครองพยานของพนักงานเจ้าหน้าทีส่ �ำนักงานคุม้ ครองพยาน ประจ�ำปี 2560 ระหว่างวันที่ 2-4 ธันวาคม ที่ผ่านมา ณ กองพัน ปฏิบัติการพิเศษ กรมรบพิเศษที่ 3 ค่ายเอราวัณ จังหวัดลพบุรี
24
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เนือ่ งจากพนักงานเจ้าหน้าทีข่ องสำ�นักงานคุม้ ครองพยาน และหน่ ว ยงานที่ มี ภ ารกิ จ คุ้ ม ครองพยานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีหน้าที่รับผิดชอบ เกี่ ย วกั บ การให้ ค วามคุ้ ม ครองพยานตามมาตรการ ทั่วไปและมาตรการพิเศษตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง พยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ซึ่งมีภารกิจในบางกรณี ที่ พ นั ก ง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ ต้ อ ง เข้ า ไ ป ดำ� เ นิ น ก า ร ให้ความคุม้ ครองความปลอดภัยแก่พยานเป็นการเร่งด่วน และพื้ น ที่ มี ค วามเสี่ ย งภั ย โดยเฉพาะพยานในคดี ผู้มีอิทธิพล พยานคดีความมั่นคงในเขตพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ดั ง นั้ น เพื่ อ รองรั บ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ คุ้ ม ครอง ความปลอดภัยแก่พยานในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยง ในหลาย ๆ รูปแบบ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบ
บนความเคลื่อนไหว
และวิธีการลอบทำ�ร้ายพยานที่มีความรุนแรงเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนได้รบั อันตรายถึงแก่ชวี ติ และยากแก่การป้องกัน จึงจำ�เป็น ต้องมีหน่วยงานทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญในด้านการใช้อาวุธปืน การรักษาความปลอดภัยแก่บุคคลซึ่งสามารถนำ�หลักการ และวิ ธี ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการปฏิ บั ติ ง านด้ า นการรั ก ษา ความปลอดภั ย มาถ่ า ยทอดให้ แ ก่ พ นั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ของสำ�นักงานคุ้มครองพยาน เพื่อนำ�องค์ความรู้ดังกล่าว มาประยุ ก ต์ ใช้ กั บ ภารกิ จ ในการคุ้ ม ครองความปลอดภั ย แก่พยานและพัฒนาทักษะความเชีย่ วชาญการคุม้ ครองพยาน การฝึ ก อบรมในครั้ ง นี้ มี ผู้ เข้ า ร่ ว มจากสำ�นั ก งาน อัยการสูงสุด สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ สำ�นักงานป.ป.ช. สำ�นักงาน กกต. กรมการปกครอง กรมสอบสวนคดีพิเศษ สำ�นักงาน ปปง. กรมคุมประพฤติ และพนักงานเจ้าหน้าที่ สำ�นักงานคุ้มครองพยานและกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมมี ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ ก ารคุ้ ม ครองพยาน โดยการฝึ ก ยิ ง ปื น
ในรูปแบบต่าง ๆ การแก้ไขปัญหากรณีเกิดเหตุการณ์ ถูกลอบทำ�ร้ายขณะพาพยานเดินทางเท้า การแก้ไขปัญหา กรณีพยานถูกลอบทำ�ร้ายทางรถยนต์ การช่วยเหลือ ผู้ได้รับบาดเจ็บและปฐมพยาบาลเบื้องต้น การนำ�พา พยานเดิ น ทางไปในพื้ น ที่ ป่ า เขาและถิ่ น ทุ ร กั น ดาร โดยมี พันเอก อินทนนท์ รัตนกาฬ ผู้บังคับการกองพัน ปฏิ บั ติ ก ารพิ เ ศษ กรมรบพิ เ ศษที่ 3 ค่ า ยเอราวั ณ จังหวัดลพบุรี และคณะเป็นวิทยากร สำ�นั ก งานคุ้ ม ครองพยาน ยั ง คงมุ่ ง มั่ น ฝึ ก ฝน บุคลากรอย่างอย่างหนักเพื่อสั่งสมความเป็นมืออาชีพ ให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติภารกิจคุ้มครอง พยานให้ได้รบั ความปลอดภัย เพือ่ ให้ประชาชนทีเ่ ข้ามา เป็นพยานมีความมัน่ ใจ และกล้าทีจ่ ะอาสามาเป็นพยาน เพื่อดำ�รงความเป็นธรรมในสังคมไทยต่อไป
Justice Magazine Ministry of Justice
25
คนยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
เปิดมุมมอง
“ปิติกาญจน์ สิทธิเดช” อธิบดีกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ กับ ภารกิจการคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน
กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ เป็นหน่วยงานทีม่ ภี ารกิจ เกี่ยวกับการคุ้มครองดูแลสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชน พึงได้รับตามกฎหมาย คอลัมน์คนยุติธรรมได้มีโอกาส สั ม ภาษณ์ น างสาวปิ ติ ก าญจน์ สิ ท ธิ เ ดช อธิ บ ดี กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ เกีย่ วกับการดำ�เนินงาน ในมิ ติ ข องการพิ ทั ก ษ์ คุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ ของประชาชนไทยทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
26
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
นางสาวปิตกิ าญจน์ฯ กล่าวถึงความเป็นมาของกรมคุม้ ครองสิทธิฯ ว่า ถูกจัดตัง้ ขึน้ จากการปฏิรปู กระบวนการยุตธิ รรม โดยการแยกศาล ออกจากกระทรวงยุตธิ รรม และการปฏิรปู ระบบราชการ ซึง่ ได้จดั ตัง้ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขึ้นมา โดยเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ทีไ่ ด้กำ�หนดเรือ่ งการคุม้ ครองสิทธิ เสรีภาพของประชาชนได้ครบถ้วนและดีที่สุดเท่าที่มีรัฐธรรมนูญมา โดยกรมคุ้มครองสิทธิฯ มีหน้าที่หลัก ได้แก่ 1. การสร้างหลักประกัน สิทธิมนุษยชน 2. การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพให้กับประชาชน 3. การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย และ 4. การไกล่เกลี่ยระงับ ข้อพิพาทในชุมชน สำ�หรั บ การสร้ า งหลั ก ประกั น สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในประเทศไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 มีพัฒนาการด้านสิทธิมนุษยชน ก้ า วหน้ า ขึ้ น เป็ น ลำ�ดั บ โดยสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ น สิ ท ธิ ที่ รั บ รอง
คนยุติธรรม
ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น ไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ส่วนการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ เป็นการคุ้มครองตามกฎหมายที่มีอยู่ ดังนั้น ภารกิจที่กรมคุ้มครองสิทธิฯ ได้รับมอบหมายคือ การดูแล สิทธิมนุษยชนของประชาชนที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งที่มีกฎหมาย รั บ รองและไม่ มี ก ฎหมายรั บ รอง อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ มอบหมาย ให้ รั บ ผิ ด ชอบกฎหมายระหว่ า งประเทศหรื อ สนธิ สั ญ ญาระหว่ า ง ประเทศด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนถึ ง 5 ฉบั บ จากทั้ ง หมด 9 ฉบั บ ประกอบด้ ว ย 1. กติ ก าระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ พ ลเมื อ ง และสิ ท ธิ ท างการเมื อ ง 2. กติ ก าระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม 3. อนุ สั ญ ญาระหว่ า ง ประเทศว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ 4. อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษ ที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือที่ยํ่ายีศักดิ์ศรี 5. อนุสัญญาระหว่าง ประเทศว่าด้วยการคุม้ ครองบุคคลทุกคนจากการถูกบังคับให้สญ ู หาย โดยไม่สมัครใจ อธิ บ ดี ก รมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ฯ กล่ า วต่ อ ว่ า การที่ เราเป็ น ภาคี สนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ต้องนำ�กฎหมายระหว่าง ประเทศมาสร้างหลักประกันพืน้ ฐานให้ประชาชนชาวไทย โดยจะต้อง สร้างหลักประกันพื้นฐานของมนุษย์ทุกคนให้มีความเท่าเทียมกัน ทั้งในเรื่องของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมถึงสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมืองต้องเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ และต้องทำ�ให้ สิ ท ธิ ท่ี รั บ รองตามกฎหมายระหว่ า งประเทศมี ค วามก้ า วหน้ า ซึง่ อาจเป็นการพัฒนากฎหมายภายในประเทศให้รองรับสิทธิประเทศต่าง ๆ เช่น การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ และอนุสัญญา ระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการถูกบังคับ ให้สูญหายโดยไม่สมัครใจ จะต้องมีกฎหมายภายในประเทศที่จะ คุ้มครองคนไม่ให้ถูกทรมานหรือถูกอุ้มหายโดยไม่สมัครใจ ซึ่งถือเป็น อี ก มาตรการหนึ่ ง ที่ จ ะยกระดั บ พั ฒ นากระบวนการยุ ติ ธ รรมไทย และสร้างหลักประกันให้คนไทยและชาวต่างชาติว่า ต่อไปนี้จะไม่มี การทรมานและอุ้ ม หายโดยไม่ ส มั ค รใจ และไม่ มี ก ารปฏิ บั ติ นอกกฎหมาย เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและ บังคับบุคคลให้สูญหาย อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.) นอกจากนี้ ต้องเผยแพร่สทิ ธิตามสนธิสญ ั ญาระหว่าง ประเทศที่เราเข้าไปเป็นภาคี รวมทั้งต้องจัดทำ�รายงานประเทศ เพื่ อ รายงานความก้ า วหน้ า การดำ�เนิ น การตามพั น ธกรณี ที่เราเข้าเป็นภาคีด้วย เมื่ อ ถามถึ ง การดำ�เนิ น งานตามแผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2557-2561) อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิฯ กล่าวว่า แผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ฉ บั บ นี้ เป็ น แผนที่ ดี ม าก เนื่ อ งจาก นำ�สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนเข้ามาร่วมด้วย
โดยได้ กำ�หนดมิ ติ ข องสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ น 11 ด้ า น ดั ง นี้ 1. ด้ า นสาธารณสุ ข 2. ด้ า นการศึ ก ษา 3. ด้ า นเศรษฐกิ จ 4. ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ ม 5. ด้ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย 6. ด้านวัฒนธรรมและศาสนา 7. ด้านข้อมูล ข่าวสาร เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 8. ด้านการขนส่ง 9. ด้านการเมือง การปกครอง 10. ด้านกระบวนการยุตธิ รรม และ 11. ด้านความมัน่ คง ทางสั ง คม และได้ พิ จ ารณากลุ่ ม เป้ า หมายที่ มี ผ ลต่ อ ความมั่ น คง ทางสังคม จำ�นวน 15 กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. กลุ่มผู้ต้องหา/ ผู้ ต้ อ งขั ง 2. กลุ่ ม ผู้ พ้ น โทษ 3. กลุ่ ม ผู้ ต้ อ งหาคดี ย าเสพติ ด ตาม พ.ร.บ.ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. 2545/กลุม่ ผูต้ ดิ ยาเสพติด และผู้ผ่านการบำ�บัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด 4. กลุ่มเหยื่อ/ ผู้ เ สี ย หาย 5. กลุ่ ม ผู้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี / เอดส์ 6. กลุ่ ม ผู้ ใช้ แรงงาน 7. กลุ่มคนจน/ผู้ได้รับผลกระทบจากการพัฒนา 8. กลุ่มเกษตรกร 9. กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ 10. กลุ่ ม เด็ ก และเยาวชน 11. กลุ่ ม สตรี 12. กลุ่มคนพิการ 13. กลุ่มผู้ไร้รัฐ ชาติพันธุ์ และกลุ่มผู้แสวงหา ทีพ่ กั พิงหรือผูห้ นีภยั การสูร้ บ 14. กลุม่ ทีร่ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ ความรุนแรง 15. กลุ่มความหลากหลายทางเพศ/อัตลักษณ์ทางเพศ ซึ่ ง เชื่ อ มั่ น ว่ า แผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ จ ะเป็ น กลไกในการ ขับเคลื่อนสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยอย่างก้าวหน้าและยั่งยืน เนือ่ งจากมีกลไกการขับเคลือ่ นอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ รัฐบาลก็เห็นชอบด้วย ดังปรากฏตามสารพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เนื่ อ งในการประกาศใช้ แ ผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 3 (พ.ศ. 2557 - 2561) ซึง่ มีใจความตอนหนึง่ ว่า “รัฐบาลให้ความสำ�คัญ กับนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน และเร่งแก้ไขปัญหาการละเมิด Justice Magazine Ministry of Justice
27
คนยุติธรรม
สิทธิมนุษยชนในทุก ๆ ด้าน การประกาศใช้แผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ ฉบับที่ 3 เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์ และสามารถ เข้าถึงสิทธิทพ่ี งึ จะได้รบั ในแต่ละเรือ่ งอย่างเท่าเทียมกัน รวมทัง้ พัฒนา ระบบงานด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ มีความก้าวหน้าทัดเทียมนานาประเทศ ขอให้หน่วยงานทุกภาคส่วน ร่ ว มกั น ขั บ เคลื่ อ นแผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห่ ง ชาติ ไ ปสู่ ก ารปฏิ บั ติ อย่างจริงจัง เพื่อส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้แก่ประชาชนในชาติ ตลอดจนเป็นการแสดงให้ประชาคมโลก เห็ น ถึ ง ความตั้ ง ใจจริ ง ของประเทศไทยที่ จ ะส่ ง เสริ ม คุ้ ม ครอง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ในเวทีโลก” ซึ่งทุกกระทรวงจะนำ�แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไปดำ�เนินการ โดยใช้ ม าตรการสร้ า งหลั ก ประกั น พื้ น ฐานให้ กั บ ประชาชน เช่ น กระทรวงยุตธิ รรมไปดำ�เนินการเรือ่ งความยุตธิ รรม กระทรวงแรงงาน ไปดำ�เนินการเรื่องแรงงาน เป็นต้น และยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้เห็นเป็นรูปธรรม จับต้องได้ และก้าวไปสู่ เป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development Goals : SDGs) นอกจากนี้ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ยังได้รับมอบหมาย ให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการรายงานสถานการณ์ละเมิดสิทธิ และเสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนภายในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งต้องทำ�งานร่วมกับกรรมการสิทธิมนุษยชนในการแก้ไขปัญหา ให้ สำ�เร็ จ ลุ ล่ ว ง และในอนาคตอาจมี ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน เพื่ อ ติ ด ตามสถานการณ์ ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ซึง่ จะเป็นหน่วยงานทีม่ ฐี านข้อมูลเกีย่ วกับเรือ่ งสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ สำ�หรับวางแผนและแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชนอย่างครอบคลุม สำ�หรั บ ภารกิ จ ในมิ ติ ก ารคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพให้ กั บ ประชาชน ได้รับมอบหมายให้ดูแลเรื่องการช่วยเหลือประชาชน
28
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทางกฎหมาย ซึง่ ได้สง่ เสริม เผยแพร่ และสร้างการรับรูใ้ ห้กบั ประชาชน ในเรื่องของสิทธิเสรีภาพทางกฎหมาย และสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง การให้ความช่วยเหลือในเรือ่ งของทนาย การประกันตัว การช่วยเหลือ ทางคดีต่าง ๆ รวมถึงการเยียวยาตาม พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยแก่ จํ า เลยในคดี อ าญา ซึ่ ง เป็ น การคุม้ ครองเหยือ่ อาชญากรรม หรือผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากการประกอบ อาชญากรรมของผู้อื่นโดยที่ตนเองไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งกฎหมาย ฉบับนีจ้ ะเยียวยาเบือ้ งต้นทางการเงิน ทัง้ ในกรณีบาดเจ็บและเสียชีวติ ในคดีประเภทความผิดต่อชีวิต ร่างกายและเพศ และยังเยียวยา ครอบคลุ ม ถึ ง กลุ่ ม จำ�เลยในคดี อ าญา คื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ จากกระบวนการยุ ติ ธ รรมที่ ผิ ด พลาด หรื อ “แพะในคดี อ าญา” ซึง่ หมายถึง กลุม่ ทีอ่ ยั การหรือศาลยกฟ้องว่าการกระทำ�ของเขาไม่ผดิ โดยจะเป็ น แพะสี ข าวหรื อ แพะเทาก็ ไ ด้ ทั้ ง นี้ ก ารได้ รั บ สิ ท ธิ ตามกฎหมายนี้ ขึน้ อยูก่ บั คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผูเ้ สียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดีอาญา ที่ประกอบด้วย ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธาน รวมทั้ ง มี ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และหน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้ อ ง โดยมี ก รมคุ้ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ เป็นฝ่ายเลขาฯ สำ�หรั บ การดำ�เนิ น งานตาม พ.ร.บ. ค่ า ตอบแทนผู้ เ สี ย หาย และค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยแก่ จำ�เลยในคดี อ าญา (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2559 กรมคุ้มครองสิทธิฯ ได้มีมาตรการเพิ่มขึ้นในส่วนของ ผู้เสียหาย คือ ให้ตำ�รวจเป็นผู้แจ้งสิทธิ ซึ่งหมายความว่า บุคคล ที่ต้องคดีอาญาจะต้องขึ้นโรงพักเพื่อแจ้งความ ตำ�รวจจะแจ้งสิทธิ ให้ ท ราบ นอกจากนี้ กรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ฯ กำ�ลั ง จะพั ฒ นาให้ มี อาสาสมัครของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ไปช่วยดูแลผู้เสียหาย พร้ อ มทั้ ง รั บ เรื่ อ ง รวบรวมพยานหลั ก ฐานและส่ ง ให้ ยุ ติ ธ รรม ประจำ�จังหวัดสรุปเรื่องและเสนอให้คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ได้กระจายอำ�นาจในการพิจารณาให้แต่ละจังหวัด พิจารณา ในส่วนของจำ�เลย ได้มอบให้หน่วยงานที่ควบคุมตัว ทั้งกรมพินิจ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน และกรมราชทั ณ ฑ์ ทำ�หน้ า ที่ เป็ น ผู้ แ จ้ ง สิ ท ธิ ซึ่ ง หวั ง ว่ า การแก้ ไขกฎหมายฉบั บ นี้ จะทำ�ให้ ผู้เสียหายได้รับทราบเกี่ยวกับสิทธิตามกฎหมายมากขึ้น ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบัน มีประชาชนยื่นคำ�ขอรับ ค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่าย ทั้งสิ้นจำ�นวน 112,665 ราย แบ่ ง เป็ น ผู้ เ สี ย หายในคดี อ าญา จำ�นวน 102,788 ราย คิดเป็น ร้ อ ยละ 91.23 และจำ�เลยในคดี อ าญา จำ�นวน 9,877 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.77 โดยคณะกรรมการฯ พจิ ารณาค่าตอบแทนฯ แล้ว ทั้ ง สิ้ น จำ�นวน 106,936 ราย อนุ มั ติ ก ารจ่ า ย 66,249 ราย เป็นเงิน 3,673,581,846.15 บาท 1 1
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560
คนยุติธรรม
อี ก ทั้ ง ยั ง มี พ.ร.บ. คุ้ ม ครองพยาน พ.ศ. 2546 เนื่ อ งจาก ปั ญ หาอาชญากรรมมี ก ารพั ฒ นามากขึ้ น เช่ น กรณี ผู้ มี อิ ท ธิ พ ล การค้ามนุษย์ หรืออาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ ซึ่งกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมต้ อ งการนำ�ผู้ ก ระทำ�ผิ ด มาลงโทษให้ ไ ด้ จึ ง ต้ อ งมี ก าร คุม้ ครองพยาน เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กบั พยานว่า เมือ่ ไปเป็นพยาน ในศาลแล้วจะได้รับการดูแล ซึ่งกฎหมายฉบับนี้ทำ�ให้สามารถนำ� กลุ่มค้ามนุษย์ กลุ่มอาชญากรรมต่าง ๆ มาลงโทษได้อย่างมากมาย นอกจากนี้ บทบาทของกรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ฯ ยั ง รั บ ผิ ด ชอบ การส่งเสริมสิทธิผู้ต้องหาในชัน้ สอบสวนคดีอาญา ตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134/1 ที่กำ�หนดไว้ว่า ประชาชน ในคดีอกุ ฉกรรจ์ เช่น ต้องโทษประหารชีวติ จะต้องมีทนายทีร่ ฐั จัดหาให้ เด็กที่มีอายุตํ่ากว่า 18 ปี ต้องมีทนายที่รัฐจัดหาให้ และคดีที่มีโทษ จำ�คุกแล้วประชาชนร้องขอรัฐต้องจัดหาทนายให้ ซึ่งเป็นภารกิจ ทีม่ คี วามสำ�คัญมากจึงจะต้องพัฒนาทนายความให้มคี ณ ุ ภาพ และสร้าง ความเชือ่ มัน่ ให้แก่ประชาชน และอีกหนึง่ ภารกิจของกรมคุม้ ครองสิทธิฯ คือ การจัดหาล่ามในชั้นสอบสวน ซึ่งมีระบุไว้ในกฎหมายมานานแล้ว แต่ยงั ไม่มกี ารพัฒนาอย่างจริงจัง ทัง้ นี้ กรมคุม้ ครองสิทธิฯ กำ�ลังพัฒนา มาตรฐานของล่ามในชัน้ สอบสวน โดยได้รว่ มมือกับมหาวิทยาลัยกว่างซี สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อร่วมกันดำ�เนินงานด้านภาษาและ งานด้านกระบวนการยุตธิ รรมในการพัฒนาล่าม การจัดทำ�พจนานุกรม คำ�ศั พ ท์ ภ าษาไทย – จี น สำ�หรั บ ล่ า มในกระบวนการยุ ติ ธ รรม ประกอบด้ ว ยบั ญ ชี คำ�ศั พ ท์ พื้ น ฐานในกระบวนการยุ ติ ธ รรม และแปลเป็นภาษาจีน ซึง่ ในอนาคตอาจจะจัดทำ�เพิม่ ขึน้ อีกหลายภาษา นอกจากนั้ น จะจั ด ให้ มี ล่ า มภาษามื อ สำ�หรั บ กลุ่ ม ผู้ พิ ก ารทางหู เพื่อเป็นการอำ�นวยความสะดวกในชั้นสอบสวน และเป็นการอำ�นวย ความยุติธรรมให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกัน
สำ�หรับภารกิจในมิติการไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท ได้มีแนวทาง ของกระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉันท์หรือยุตธิ รรมทางเลือก ทีเ่ รียกว่า ระบบการไกล่เกลีย่ ระงับข้อพิพาท โดยให้ประชาชนเข้ามาเป็นหุน้ ส่วน ทีจ่ ะจัดการความขัดแย้ง และบริหารจัดการความยุตธิ รรมด้วยตนเอง ในคดีเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ไม่จำ�เป็นต้องไปศาล โดยจะเป็นลักษณะของ อาสาสมั ค รและเครื อ ข่ า ยของกรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นตัวแทนของกรมคอยแนะนำ�ว่า ถ้าประสบปัญหาต่าง ๆ ควรทำ�อย่างไร หรือต้องติดต่อขอความช่วยเหลือที่ไหน อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากกรมคุม้ ครองสิทธิฯ เป็นหน่วยงานขนาดเล็ก การดำ�เนิ น งานจึ ง ต้ อ งบู ร ณาการการทำ�งานร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ย และหน่ ว ยงานภาคี ต่ า ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น หน่ ว ยงานของราชการ ภาคการศึ ก ษา ภาคประชาชน และภาคสั ง คมหรื อ เอ็ น จี โ อ ซึ่ ง ต้ อ งทำ�งานร่ ว มกั น เพื่อ สร้ า งหลั ก ประกั น ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ให้กบั ประชาชน โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือ ประโยชน์ของประชาชน ท้ า ยนี้ สำ�หรั บ ประชาชนที่ ต้ อ งการขอความช่ ว ยเหลื อ ด้านการคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพในกระบวนการยุตธิ รรม สามารถ ขอรับบริการได้ทคี่ ลินกิ ยุตธิ รรมของกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ส่วนกลาง ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ชั้น 2 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ และคลินิกยุติธรรม ประจำ�สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดทุกจังหวัด รวมทั้งสำ�นักงาน คุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพพืน้ ที่ 1 – 4 ได้แก่ สำ�นักงานคุม้ ครองสิทธิ และเสรีภาพ พืน้ ที่ 1 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 6958-9 สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พื้นที่ 2 จังหวัดขอนแก่น โทร. 0 4324 5611-2 สำ�นักงานคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ พืน้ ที่ 3 จังหวัดเชียงใหม่ โทร. 0 5321 7104-6 และสำ�นักงานคุม้ ครองสิทธิ และเสรีภาพ พื้นที่ 4 จังหวัดสงขลา โทร. 0 7433 3311-2 หรือสายด่วน โทร. 1111 กด 77 Justice Magazine Ministry of Justice
29
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
ปิดอบรมหลักสูตร พัฒนาบุคลากร ด้านงานวิจัยในกระบวนการยุติธรรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธีปิดการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนา ศั ก ยภาพนั ก วิ จั ย ในกระบวนการยุ ติ ธ รรม รุ่ น ที่ 2 “วิ จัย อย่ า งมื อ อาชี พ ผลั ก ดั น การปฏิ บัติ เพื่อ พั ฒ นา กระบวนการยุติธรรม” พร้อมทั้งมอบประกาศนียบัตร แก่ผผู้ า่ นการอบรมจำ�นวน 38 ท่าน และมอบรางวัลผลงาน วิจัยดีเด่น ณ วิทยาลัยกิจการยุติธรรม สำ�นักงานกิจการ ยุ ติ ธ รรม อาคารรั ฐ ประศาสนภั ก ดี ศู น ย์ ร าชการ เฉลิมพระเกียรติฯ
หารือแนวทางด้านประชาสัมพันธ์ เน้นสร้างการรับรู้แก่ประชาชน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม และโฆษกกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุม เพื่ อ หารื อ แนวทางการเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ผลการดำ�เนินงานของกระทรวงยุตธิ รรม รวมทัง้ แนวทาง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับกฎหมายให้ประชาชน รับทราบ และอำ�นวยความสะดวกให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านงานยุตธิ รรมได้โดยง่าย รวดเร็ว และเสมอภาค ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 2 ชัน้ 8 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ขับเคลื่อนสำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดทั่วประเทศ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพือ่ กำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงานของสำ�นักงานยุตธิ รรม จังหวัด ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 พร้อมทัง้ บรรยาย พิเศษในหัวข้อ “นโยบายการขับเคลือ่ นสำ�นักงานยุตธิ รรม จังหวัด” เพื่อชี้แจงนโยบายและทิศทางการดำ�เนินงาน ของกระทรวงยุ ติธ รรมที่เ กี่ย วข้ อ งกั บ ยุ ติธ รรมจั ง หวั ด ซึ่ง สอดคล้ อ งกั บ กรอบยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ร ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) และสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ แผนปฏิ บัติร าชการ 5 ปี สำ�นั ก งานยุ ติธ รรมจั ง หวั ด ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
30
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
อบรมหลักสูตรการบริหารงาน ยุติธรรมระดับกลาง รุ่นที่ 12 นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธาน เปิดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารงานยุตธิ รรมระดับกลาง รุน่ ที่ 12 ภายใต้หวั ข้อ “เสริมสร้างความรูส้ คู่ วามก้าวหน้าของ กระบวนการยุตธิ รรม” พร้อมบรรยายพิเศษหัวข้อ “ยุตธิ รรมชุมชน ทิศทางหลักของการอำ�นวยความเป็นธรรม” เพื่อเสริมสร้าง องค์ความรู้ ทักษะ และทัศนคติให้แก่นักบริหารระดับกลาง ซึง่ เป็นผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ นหน่วยงานต่าง ๆ ของกระบวนการยุตธิ รรม รวมทั้งเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการบูรณาการระหว่าง บุคลากรในกระบวนการยุติธรรม ณ วิทยาลัยกิจการยุติธรรม สำ�นักงานกิจการยุตธิ รรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
หารือแก้ ไขปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นายชาญเชาวน์ ไชยานุ กิจ ปลั ด กระทรวงยุ ติธ รรม เป็นประธานการประชุมขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ข องกระทรวงยุ ติ ธ รรมระดั บ พื้ น ที่ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อมอบนโยบายและ แผนปฏิบตั กิ ารในการขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งรับทราบการประเมิน สถานการณ์ความมัน่ คงและความเคลือ่ นไหวของกลุม่ ผูเ้ ห็นต่าง จากรัฐ ณ โรงแรมคริสตัล หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
เสริมสร้างความรู้ด้านการอำ�นวยความยุติธรรม แก่กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นวิทยากรบรรยายในโครงการฝึกอบรมหลักสูตรกำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น ประจำ�ปี 2559 ของกรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย ในหั ว ข้ อ “การอำ�นวยความยุ ติธ รรม เพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ ในสังคม” เพือ่ เสริมสร้างความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ย วกั บ สิ ท ธิ พ ลเมื อ งด้ า นการอำ�นวย ความยุตธิ รรม ให้สามารถนำ�ความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปบริหารจัดการ เพื่อให้ประชาชนทุกคนได้รับความเป็นธรรมผ่านกลไก ผู้นำ�ชุ ม ชนได้ อ ย่ า งทั่ว ถึ ง เท่ า เที ย ม และเสมอภาค ณ ห้องบรรยายโรงเรียนนายอำ�เภอ วิทยาลัยการปกครอง อำ�เภอธัญบุร ี จังหวัดปทุมธานี Justice Magazine Ministry of Justice
31
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
“ยุติธรรม” จัดประชุมระดับชาติ
ขับเคลื่อนงานด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ โครงการ กิ จ การขนาดใหญ่ หลายกรณีที่ส่งผลกระทบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน ก่อให้เกิดการเรียกร้องให้ผู้ดำ�เนินธุรกิจรับผิดชอบ ต่อผลกระทบดังกล่าว ซึง่ นำ�มาสูก่ ารตืน่ ตัวของประชาคม ระหว่ า งประเทศในการสร้ า งมาตรฐานร่ ว มกั น เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจว่าด้วยเรื่อง ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
32
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ในสถานการณ์ปัจจุบันจะเห็นได้ว่านานาประเทศ ต่างพยายามแข่งขันกันพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อยกระดับ ความเป็นอยูข่ องคนภายในประเทศ ซึง่ ผลของการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ นั้ น แม้ จ ะทำ�ให้ เ กิ ด รายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น และเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอนั ทันสมัย แต่การดำ�เนินธุรกิจ หรือกิจการขนาดใหญ่หลายกรณีส่งผลให้เกิดการละเมิด สิทธิมนุษยชนและกระทบต่อความเป็นอยู่ของชุมชน จึ ง เกิ ด การเรี ย กร้ อ งให้ ผู้ ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ รั บ ผิ ด ชอบ ต่อผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน กระทรวงยุตธิ รรม โดยกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ มีภารกิจในการส่งเสริม คุ้มครอง และสร้างหลักประกัน
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน จึงได้รว่ มกับผูแ้ ทนไทยในคณะกรรมาธิการ ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและเครือข่าย โกลบอล คอมแพ็ก ประเทศไทย จัดการประชุมระดับชาติ ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Dialogue on Business and Human Rights) ขึน้ เมือ่ วันพฤหัสบดี ที่ 22 ธัน วาคม 2559 ณ โรงแรมมิราเคิ ล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร เพื่อเปิดตัวการดำ�เนินงาน ด้ า นธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของกระทรวงยุ ติ ธ รรม อย่างเป็นทางการ โดยการสร้างความเข้าใจและตระหนักถึง ความสำ�คั ญ เกี่ ย วกั บ หลั ก การสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ย ธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ ผลการดำ�เนิ น งานด้ า นธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ของภาคส่วนต่าง ๆ และวางแผนการขับเคลื่อนงาน ด้ า นธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนร่ ว มกั บ ทุ ก ภาคส่ ว น โดยมี นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานเปิดการประชุม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่ า วว่ า จากสถิ ติ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นของสำ�นั ก งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในช่วงปีที่ผ่านมา พบว่าข้อร้องเรียนเกีย่ วกับปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในภาคธุ ร กิ จ มี จำ�นวนเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมาก ซึ่ ง รั ฐ บาล มี ค วามตระหนั ก ในเรื่ อ งนี้ รวมทั้ ง มี ค วามพยายาม ในการแก้ปัญหาดังกล่าว โดยเห็นได้จากการทบทวน
สถานการณ์ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในประเทศไทยภายใต้ กระบวนการ Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 ณ นครเจนี ว า สมาพั น ธรั ฐ สวิ ส เมื่ อ วั น ที่ 11 พฤษภาคม 2559 ประเทศไทยได้ ใ ห้ คำ�มั่ น โดยสมัครใจ (Voluntary Pledge) และยอมรับข้อเสนอแนะ จากประเทศต่ า งๆ ที่ เ สนอให้ ป ระเทศไทยพั ฒ นา จัดทำ�และดำ�เนินการตามแผนปฏิบัติการชาติว่าด้วย ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human rights - NAP) เพื่ออนุวัติ การตามหลักการ UNGP นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรี ยังได้มีมติเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เห็นชอบ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการดังนี้
Justice Magazine Ministry of Justice
33
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
การประชุมระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Dialogue on Business and Human Rights)
1) เผยแพร่ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การ UNGP 2) ผลั ก ดั น ให้ ภ าคเอกชน มี ม าตรการส่ ง เสริ ม สิทธิมนุษยชน 3) ใช้เครือ่ งมือเชิงนโยบายระบุสาระด้านสิทธิมนุษยชน หรือมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำ� NAP 4) แสดงบทบาทนำ�ในกลไกระดั บ ภู ม ิ ภ าค โดยเฉพาะอาเซียน ให้มีการรับรองหลักการ UNGP โดยในเบื้องต้น กระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภ าพ ได้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการดำ�เนิ น งานเพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การส่ ง เสริ ม สิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจต่อไป รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม กล่ า วต่ อ อี ก ว่ า การดำ�เนินการแก้ปญั หาดังกล่าวของภาครัฐนัน้ จะสำ�เร็จได้ ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว น ซึ่ ง จะต้ อ ง
34
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ร่วมกันป้องกันและเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากการพั ฒ นา หรื อ การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภาคธุ ร กิ จ จะเป็ น ภาคส่ ว นสำ�คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยลดการละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน เพื่ อ ทำ�ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาที่ ส มดุ ล และยั่ ง ยื น ต่ อ สั ง คม เศรษฐกิ จ และสิ่งแวดล้อมต่อไป โดยแนวทางในการดำ�เนินงาน ของประเทศไทยควรจะกำ�หนดเป็นรูปแบบใด หรือควรปรับใช้ มาตรการอย่างไรจึงจะเหมาะสมนัน้ ยังคงเป็นข้อท้าทาย ที่จะต้องร่วมกันพิจารณาต่อไป ซึ่งการประชุมในครั้งนี้ จะช่วยให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเป็นประโยชน์ กับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย นอกจากนี้ ยังจะช่วยพัฒนาการ ดำ�เนินงานของประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการพั ฒ นาของโลกตามที่ กำ�หนดไว้ในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ต่อไป สำ�หรับการประชุมดังกล่าว มีการบรรยายและ อภิปรายในหัวข้อ หลักการสหประชาชาติวา่ ด้วยธุรกิจ กับสิทธิมนุษยชน และการดำ�เนินงานตามหลักการ UNGP ในประเทศไทย รวมถึงการประชุมย่อยเพือ่ ระดม ความเห็นเกีย่ วกับสถานการณ์ดา้ นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ในปัจจุบนั โดยมีผแู้ ทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่าง รัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เครือข่ายโกลบอล คอมแพ็ก ประเทศไทย ผู้แทนจากองค์การระหว่าง ประเทศ ผู้ แ ทนจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ภาคธุ ร กิ จ และเครือข่ายภาคประชาสังคม เข้าร่วมประชุม
กำ�แพงมิอาจกั้น
กองบรรณาธิการ
กรมราชทัณฑ์เปิด ศูนย์อบรมช่างสิบหมู่ พัฒนาฝีมือผู้ต้องขัง กรมราชทัณฑ์มีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมและ แก้ ไขพฤตินสิ ยั ผูต้ อ้ งขังโดยมุง่ พัฒนาเป็นองค์กร พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อแก้ ไข ฟื้นฟูผู้ต้องขัง ให้กลับตนเป็นพลเมืองดี มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่หวนกลับมากระทำ�ผิดซ้� ำ ได้รบั การพัฒนาทักษะ ฝี มื อ ในการประกอบอาชี พ ที่ สุ จ ริ ต สามารถ ดำ � รงชี วิ ต ในสั ง คมภายนอกได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข และสังคมให้การยอมรับ Justice Magazine Ministry of Justice
35
กำ�แพงมิอาจกั้น
โดยเมือ่ วันที่ 26 มกราคม 2560 นายวสันต์ สิงคเสลิต รองอธิ บ ดี ก รมราชทั ณ ฑ์ เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด ศูนย์ฝกึ อบรมอาชีพด้านช่างสิบหมู ่ (TEN TECHNICIANS ACADEMY) เพื่อ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการฝึ ก อบรมและ ฝึ ก ทั ก ษะวิ ช าชี พ ด้ า นช่ า งสิ บ หมู่ ใ ห้ กั บ ผู้ ต้ อ งขั ง และเป็ น การอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของไทยไว้ มิ ใ ห้ สูญหาย ตลอดจนการสร้างมาตรฐานฝีมือแรงงานที่มี คุณภาพสูส่ งั คม และตลาดแรงงาน ณ เรือนจำ�พิเศษธนบุรี นายวสันต์ สงิ คเสลิต รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กล่าวว่า กรมราชทัณฑ์ ได้มีนโยบายพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าที่เกิดจากการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขัง (Productivity) โดยในปี พ.ศ. 2558 นำ�ร่องโครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ของผูต้ อ้ งขังหญิงในกลุม่ ทัณฑสถานหญิง จำ�นวน 8 แห่ง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตทั้งในด้าน บุ ค ลากร รู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ บรรจุ ภัณ ฑ์ มาตรฐาน การผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่อ งและยั่ง ยื น ทั้ง นี้ การส่ ง เสริ ม Productivity อีกรูปแบบหนึง่ คือการสนับสนุนให้เรือนจำ� และทัณฑสถานทีม่ ศี กั ยภาพ และมีความพร้อมด้านบุคลากร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ วิทยากร รวมทัง้ หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนทีจ่ ะให้การสนับสนุนการดำ�เนินงาน โดยจัดตัง้ เป็ น ศู น ย์ ฝึก อบรมอาชี พ (ACADEMY) เพื่อ ให้ เ ป็ น ศูนย์กลางการฝึกอบรมและการฝึกทักษะวิชาชีพ รวมถึง การสร้างมาตรฐานฝีมอื แรงงาน ตลอดจนเป็นการสร้างคนดี มีคุณภาพสู่สังคม ซึ่งในปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ได้จัดตั้ง ศูนย์ดงั กล่าวแล้ว จำ�นวน 4 ศนู ย์ ได้แก่ ทณ ั ฑสถานหญิงกลาง เปิดศูนย์อบรมอาชีพด้านการประกอบอาหาร ทัณฑสถานหญิง เชียงใหม่ เปิดศูนย์อบรมอาชีพด้านการนวดแผนไทย ทัณฑสถานหญิงธนบุรี เปิดศูนย์ฝึกอบรมอาชีพด้านการ เสริ ม สวย และเรื อ นจำ�กลางพระนครศรี อ ยุ ธ ยา เปิดศูนย์ฝกึ อบรมอาชีพด้านช่างเชือ่ ม
36
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กำ�แพงมิอาจกั้น
เช่ น ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกโรงเรี ย นกาญจนาภิ เ ษก (วิทยาลัยในวัง) มาให้ความรูแ้ ละฝึกวิชาชีพดังกล่าวให้กบั ผู้ต้องขัง อีกทั้ง ในวันเปิดศูนย์ฯ ครั้งนี้ ได้เพิ่มสาขาใหม่ ในการเรียนการสอนด้านช่างสิบหมู่ คือ การเขียนภาพ บนผ้าไหม ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนวิทยากรจากมูลนิธ ิ ณภาฯ ในพระดำ�ริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เข้าให้การอบรม และให้ความรูแ้ ก่ผตู้ อ้ งขังทีเ่ ข้าร่วมอบรม จำ�นวน 10 คน ศูนย์ฝกึ อบรมอาชีพด้านช่างสิบหมูด่ งั กล่าว จึงเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมของผู้ต้องขัง เพื่ออนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมของไทยไว้มใิ ห้สญ ู หาย และเป็นแหล่งผลิต บุคลากรด้านช่างศิลปะที่มีคุณภาพ รวมทั้งแก้ไข ฟื้นฟู พั ฒ นาพฤติ นิสัย ผู้ต้อ งขั ง ให้ ก ลั บ ตนเป็ น พลเมื อ งที่ดี สร้างจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนสามารถ นำ�ไปประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษ และอยูร่ ว่ มกับสังคม ได้อย่างปกติสขุ
นายวสันต์ สิงคเสลิต รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ เป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์ฝึกอบรมอาชีพด้านช่างสิบหมู่ (TEN TECHNICIANS ACADEMY)
นายยศพนต์ สุธรรม ผูบ้ ญ ั ชาการเรือนจำ�พิเศษธนบุรี กล่าวว่า เรือนจำ�พิเศษธนบุรี ได้ดำ�เนินการฝึกอบรมช่างสิบหมู่ หลากหลายสาขาให้กบั ผูต้ อ้ งขังอย่างต่อเนือ่ ง เช่น ช่างเขียน ช่ า งปั้ น ช่ า งหล่ อ ช่ า งลงรั ก ปิ ด ทอง ช่ า งตอกหนั ง ช่างทำ�หัวโขน ช่างบุดนุ ช่างประดับมุก การทำ�หุน่ กระบอก ศิราภรณ์ ภาพจิตรกรรมไทย ลายรดนา้ํ และช่างแทงหยวก เนื่องจากงานช่างสิบหมู่ ถือว่าเป็นงานศิลปหัตถกรรม ไทยโบราณทีค่ วรส่งเสริมอนุรกั ษ์ให้คงอยูม่ ใิ ห้สญู หาย ในครัง้ นี้ กรมราชทัณฑ์ จึงจัดตัง้ ศูนย์ฝกึ อบรมอาชีพ ด้านงานช่างสิบหมู่ (TEN TECHNICIANS ACADEMY) โดยได้ รับ การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานภายนอก เช่ น ศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบางไทร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมจัดหางาน กระทรวงพาณิชย์ กรมศิลปากร กระทรวง วัฒนธรรม และกรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ ว และกีฬา เรือนจำ�พิเศษธนบุรี ถือได้ว่าเป็นเรือนจำ�ที่เหมาะสม ในการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ฝึ ก อบรมอาชี พ ด้ า นช่ า งสิ บ หมู่ ซึง่ เปิดโอกาสให้ผตู้ อ้ งขังจากเรือนจำ�และทัณฑสถานอืน่ ๆ ที่มีความสนใจย้ายมาเข้ารับการฝึกอบรม โดยมีวิทยากร ในพื้นที่ ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านช่างสิบหมู่ Justice Magazine Ministry of Justice
37
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
นายธปภัค บูรณะสิงห์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 1 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
การพัฒนาเครือข่าย ประชารัฐเพื่อเชื่อมโยง
การช่วยเหลือเยียวยา เหยื่ออาชญากรรมระดับพื้นที่ ประชารัฐเป็นยุทธศาสตร์ประเทศที่สำ�คัญของรัฐบาลปัจจุบัน เน้นการสร้างเครือข่ายประชารัฐ ในทุกด้านของสังคม
เพื่อให้ “ประชาชน” กับ “เจ้าหน้าที่รัฐ” ทำ�งานร่วมกันเป็นกลไกเชื่อมโยง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเข้ามาด้วยกัน ให้เกิดการบริหารการจัดการ งบประมาณของรั ฐ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเกิ ด ความคุ้ ม ค่ า เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ จากยุ ท ธศาสตร์ ดัง กล่ า วทำ�ให้ ก ระทรวงยุ ติธ รรม ให้ความสำ�คัญโดยเน้ น ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานในสั ง กั ด ต้ อ งแปลงยุ ท ธศาสตร์ ไ ปสู่ การปฏิบัติภายใต้ทิศทางการทำ�งานของกระทรวงฯ ที่ว่า “ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริ ก ารรั ฐ สู่ ป ระชาชน” เป็ น การสร้ า งโอกาสเข้ า ถึ ง ความยุ ติ ธ รรมให้ แ ก่ ประชาชน ด้วยการขับเคลื่อนงานของศูนย์ยุติธรรมชุมชนในการนำ�บริการเชิงรุก เข้าสู่ประชาชนและให้ภาคประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนในการแก้ไขปัญหา ของชุมชนเอง โดยใช้เครือข่ายยุติธรรมชุมชนหรือผู้นำ�ชุมชนในตำ�บล หมู่บ้าน เข้ามามีส่วนร่วมผ่านกลไกของศูนย์ดำ�รงธรรม กระทรวงมหาดไทย ด้วยการ ให้ข้าราชการและประชาชนในพื้นที่ร่วมกันกำ�หนดความต้องการร่วมกัน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีการกำ�หนดเป้าหมายชัดเจนเพื่อตอบสนอง นโยบายกระทรวงยุติธรรมและสอดรับกับยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในปัจจุบัน เพื่ อ ให้ เ ป็ น หน่ ว ยงานกลางด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนสนั บ สนุ น ความเชื่ อ มั่ น ด้านเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ ภายใต้ภารกิจสำ�คัญ แต่ละด้าน ทั้งการส่งเสริม ป้องกันการละเมิดสิทธิฯ ไกล่เกลี่ย ระงั บ ข้ อ พิ พ าท คุ้ ม ครองเยี ย วยาเหยื่ อ อาชญากรรม และสร้างหลักประกันสิทธิแก่ประชาชน โดยการ คุ้ ม ครองเยี ย วยาเหยื่ อ อาชญากรรมมุ่ ง เน้ น
38
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
พัฒนาระบบการช่วยเหลือเยียวยาประชาชน และบูรณาการคุม้ ครอง เยียวยาผูถ้ กู ละเมิดสิทธิตามมาตรฐานสากล สนับสนุนการขับเคลือ่ น ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนให้สามารถให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมายและช่วยเหลือ เบื้ อ งต้ น ได้ ตลอดจนให้ ผู้ เ สี ย หายและจำ�เลยในคดี อ าญาได้ รั บ ความสะดวกในการบริการมากยิง่ ขึน้ จึงได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติ ค่ า ตอบแทนผู้ เ สี ย หาย และค่ า ทดแทนและค่ า ใช้ จ่ า ยแก่ จำ�เลย ในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เพิ่มเติมโดยมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติ ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดี อาญา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 มาตรา 6/1 วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า “ในคดีที่มีการร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย วิ ธี พิ จ ารณาความอาญา ให้ พ นั ก งานสอบสวนแจ้ ง ให้ ผู้ เ สี ย หาย หรือทายาทซึง่ ได้รบั ความเสียหายทีม่ าร้องทุกข์ดงั กล่าวทราบถึงสิทธิ การได้รับค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัตินี้...” โดยที่ผ่านมากรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ได้จัดทำ�บันทึก ความร่วมมือกับสำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติเพื่อให้พนักงานสอบสวน ทำ�หน้ า ที่ ใ นการแจ้ ง สิ ท ธิ ช่ ว ยรั บ คำ�ขอค่ า ตอบแทนผู้ เ สี ย หาย ในคดีอาญาและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ณ สถานีตำ�รวจ จำ�นวน กว่า 1,400 แห่งทัว่ ประเทศ ซึง่ ได้มกี ารติดตามประเมินผลการดำ�เนินงาน กรณีดังกล่าวมาตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา ผลการประเมิน ภาพรวมออกมาวั ด จากสถิ ติ ก ารยื่ น คำ�ขอรั บ ค่ า ตอบแทน ตาม พ.ร.บ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ มีแนวโน้มสูงขึ้นผ่านเกณฑ์ ทีก่ ำ�หนดไว้ในแต่ละปี แต่กย็ งั ไม่สามารถมัน่ ใจได้วา่ ประชาชนทุกคน ทีไ่ ด้รบั ความเสียหายจากการกระทำ�ผิดอาญาจากผูอ้ นื่ จะได้รบั ทราบ และเข้าถึงสิทธิที่รัฐกำ�หนดให้อย่างทั่วถึงอย่างเป็นธรรม จึงจำ�เป็น ต้องปรับปรุงเพิ่มข้อความดังกล่าวข้างต้นไว้ในกฎหมายนี้เพื่อเป็น หลักประกันสิทธิของประชาชน และจากการติ ด ตามนิ เ ทศของสำ�นั ก งานคุ้ ม ครองสิ ท ธิ และเสรี ภ าพ ภาค 1 พบว่ า พนั ก งานสอบสวนต้ อ งปฏิ บั ติ ง าน ที่ มี ป ริ ม าณสำ�นวนคดี ใ นความรั บ ผิ ด ชอบมากในช่ ว งเวลา เดี ย วกั น ทำ�ให้ บ างครั้ ง อาจหลงลื ม ในการแจ้ ง สิ ท ธิ ผู้ เ สี ย หาย หรือแจ้งสิทธิแล้วแต่ไม่สามารถกรอกรายละเอียดในใบรับคำ�ขอ ได้ โ ดยสมบู ร ณ์ ต ามแบบที่ กำ�หนดหรื อ กรอกให้ ไ ด้ แต่ ห ากมี
เวลาจำ�กั ด จึ ง ไม่ อ าจรวบรวมหลั ก ฐานตามที่ ก ฎหมายกำ�หนด ไว้ได้ให้สมบูรณ์ในช่วงเวลาที่กำ�หนดไว้ อาจทำ�ให้ผู้เสียหายเกิด เสียประโยชน์ หรือบางครัง้ ในแต่ละสำ�นวนไม่สามารถระบุเพือ่ รับรอง สิ ท ธิ ข องผู้ เ สี ย หายว่ า เป็ น ผู้ เ สี ย หายตามกฎหมายนี้ ไ ด้ ทั น ที เพราะอาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำ�ความผิด จึงไม่ได้แจ้งสิทธิ และต่อมาก็อาจหลงลืมการแจ้งสิทธิเมื่อปรากฏหลักฐานภายหลังว่า เป็นผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง จากข้อจำ�กัดดังกล่าวเป็นเพียงบางส่วน ที่พบทำ�ให้ประชาชนที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมอาจไม่ได้รับโอกาส ในการเข้าถึงความเป็นธรรม จากข้อจำ�กัดดังกล่าว กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภ าพ ได้ ดำ�เนิ น การจั ด จ้ า งผู้ ช่ ว ยปฏิ บั ติ ง านด้ า นนิ ติ ก ร ไปช่วยแจ้งสิทธิและรับคำ�ขอ ณ สถานีตำ�รวจภูธรเมือง รวม 76 แห่ง ในทุกจังหวัด เพื่อให้สามารถแจ้งสิทธิ รับคำ�ขอ รวบรวมและคัดถ่าย เอกสารให้สมบูรณ์ แต่ก็สามารถลดข้อจำ�กัดไปได้ระดับหนึ่งเท่านั้น เพราะสถานีตำ�รวจภูธรทั่วประเทศ มีจำ�นวนมากกว่า 1,400 แห่ง สำ�นักงานคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 1 ให้ความสำ�คัญกับข้อจำ�กัดนี้ จึงได้นำ�นโยบายกรมฯเพื่อขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงยุติธรรม “ยุตธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น นำ�บริการรัฐสูป่ ระชาชน” โดยได้ทำ�การศึกษากลไก เครือข่ายประชารัฐของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ทีม่ าระยะเวลาหนึง่ เพื่ อ เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยเพื่ อ บู ร ณาการทำ�งานกั บ กลไกเครื อ ข่ า ย ยุติธรรมชุมชนให้เกิดการเชื่อมโยงในการให้บริการด้านความยุตธิ รรม สู่ประชาชนในพื้นที่ให้เกิดความรวดเร็ว และเป็นธรรมมากยิ่ ง ขึ้ น และได้นำ�มาเสนอเป็นโครงการเสริมประสิทธิภาพการให้บริการ ช่วยเหลือเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมเชิงรุกในปีงบประมาณ 2560
Justice Magazine Ministry of Justice
39
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
จากการศึ ก ษาพบว่ า พ.ร.บ.ตำ�รวจแห่ ง ชาติ พ.ศ.2547 กำ�หนดให้ มี ก ารวางระบบการบริ ห ารงานตำ�รวจไว้ โ ดยให้ มี คณะกรรมการนโยบายตำ�รวจแห่งชาติ เป็นองค์กรกำ�หนดนโยบาย และยังมีคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำ�รวจ กรุงเทพมหานคร จังหวัดและสถานีตำ�รวจ (กต.ตร.กทม.จังหวัด และสน./สภ.) เพือ่ เป็นองค์กรทีใ่ ห้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของตำ�รวจในพื้นที่ โดยมีที่มาจากฐานความคิดตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กำ�หนดให้ภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามา มี ส่ ว นร่ ว มในการกำ�หนดนโยบาย การตั ด สิ น ใจทางการเมื อ ง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง รวมทัง้ การตรวจสอบ การใช้อำ�นาจรัฐทุกระดับ ประกอบกับฐานคิดทีว่ า่ ตำ�รวจมีลกั ษณะงาน ที่ เ กี่ ย วกั บ การป้ อ งกั น ปราบปราม การกระทำ�ผิ ด ทางอาญา รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยของประชาชน มคี วามเกีย่ วข้อง กับการดำ�เนินชีวิตของคนในชุมชนตลอด 24 ชั่วโมงการปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตำ�รวจจึงมีผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง ทำ�ให้ ต้ อ งมี อ งค์ ก ร กต.ตร. เข้ า มาเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชน และเชือ่ มโยงชุมชนกับตำ�รวจเพือ่ ทำ�ความเข้าใจ และร่วมมือกันในการ ป้องกันชุมชนและประชาชนให้ปลอดภัยจากภัยอาชญากรรมและ ช่วยสนับสนุนกิจการของตำ�รวจให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุผล โดยลักษณะของการมีส่วนร่วม โดยโครงสร้าง กต.ตร.สภ. จะมี คณะกรรมการจำ�นวน 10-22 คน
40
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ภาครัฐ เป็นกรรมการโดยตำ�แหน่ง ประกอบด้วย หัวหน้าสถานี ตำ�รวจ นายอำ�เภอ หรือปลัดอำ�เภอที่ได้รับมอบหมาย ข้าราชการ ตำ�รวจในแต่ละงานที่หัวหน้า สภ. มอบหมาย (จำ�นวน 3-6 คน ) ภาคประชาชน มี 3 ส่วน ด้วยกัน ส่ ว นที่ 1 ประชาชนที่ ไ ด้ รั บ การเลื อ กตั้ ง ให้ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห าร องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และกำ�นัน ได้แก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต.และกำ�นัน กลุ่มละ 1 คน ส่วนที่ 2 ประชาชนในพืน้ ทีท่ ขี่ า้ ราชการตำ�รวจใน สภ.แต่ละแห่ง เป็นผู้เลือก จำ�นวน 3-6 คน ส่วนที่ 3 ประชาชนในพืน้ ทีท่ ี่ กต.ตร. สภ.โดยตำ�แหน่งเป็นผูเ้ ลือก จำ�นวนไม่เกิน 3 คน และเมื่อกลับมาศึกษากลไกเครือข่ายประชารัฐ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ตามการบริ ก ารจากศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน จะมีองค์ประกอบตามโครงสร้าง เป็น 2 ส่วน เช่นกัน ภาครั ฐ ประกอบด้ ว ย ปลั ด อำ�เภอประจำ�ตำ�บล พั ฒ นากร ประจำ�ตำ�บล ตำ�รวจชุมชนประจำ�ตำ�บลและนิติกรหรือเจ้าหน้าที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาชน ประกอบด้วย นายกองค์การปกครองส่วนท้องถิน่ กำ�นั น ท้ อ งที่ ประธานศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน อาสาสมั ค รแรงงาน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาสาสมัคร คุมประพฤติ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมูบ่ า้ น ผูน้ ำ�อาสาพัฒนา ชุมชนระดับตำ�บล ผู้แทนสภาเกษตรกรตำ�บล ประเภทละ 1 คน ทั้งนี้ สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 1 เห็นว่าควรนำ�กลไก เครื อ ข่ า ยประชารั ฐ ของทั้ ง สองหน่ ว ยงานมาพั ฒ นาการให้ เ ป็ น จุดเชือ่ มโยงการทำ�งานในพืน้ ที่ เพราะโครงสร้างองค์ประกอบกรรมการ มีส่วนของภาคประชาชน ได้แก่ นายกองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และกำ�นันท้องทีเ่ หมือนกัน และยังมีภาคประชาชนทีเ่ ป็นอาสาสมัคร แต่ละประเภทซึ่งหนึ่งในนั้นบางส่วนเป็นกรรมการศูนย์ยุติธรรม ชุ ม ชนในพื้ น ที่ อ ยู่ ด้ ว ย และเมื่ อ กลั บ ไปศึ ก ษากลไกหลั ก ของการ บริหารราชการแผ่นดินของกระทรวงมหาดไทยทีใ่ ช้ในการขับเคลือ่ น ยุ ท ธศาสตร์ ข องรั ฐ บาลปั จ จุ บั น ได้ ใช้ ศู น ย์ ดำ�รงธรรมเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการบริหารงานระดับจังหวัดและให้การปฏิบัติงาน ของส่ ว นราชการในจั ง หวั ด สามารถให้ บ ริ ก ารประชาชน
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
ได้อย่างเสมอภาคมีคุณภาพและรวดเร็ว ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และประชาชนได้รับความพึงพอใจ ตามคำ�สั่ง คสช. ฉบับที่ 96/2557 ลงวั น ที่ 18 กรกฎาคม 2557 โดยมี ก ลไกในทุ ก ระดั บ ตั้งศูนย์ดำ�รงธรรมจังหวัด ศูนย์ดำ�รงธรรมอำ�เภอ ศูนย์ดำ�รงธรรม หมู่บ้าน/ตำ�บล ซึ่งจะเห็นได้ว่าจุดแตกหัก หรือคานงัดประเทศ ในการนำ�บริการรัฐสู่ประชาชนจะอยู่ที่ “ระดับหมู่บ้าน/ตำ�บล” โดยหมูบ่ า้ นจะมีคณะกรรมการหมูบ่ า้ นเป็นองค์กรหลักเป็นแหล่งรวม ของประชาชนที่กลุ่มจิตอาสาไว้อย่างเหนียวแน่น เพื่อทำ�หน้าที่ ในการพัฒนาและบริหารจัดการกิจกรรมในหมูบ่ า้ นร่วมกับองค์กรอืน่ ทุกภาคส่วน และศูนย์ดำ�รงธรรมระดับหมูบ่ า้ นเป็นกลไกจัดการปัญหา ในระดับพื้นที่ ดังนั้น การพัฒนาเพื่อเชื่องโยงเครือข่ายประชารัฐ ในหมูบ่ า้ นเพือ่ ให้เกิดการนำ�บริการรัฐสูป่ ระชาชน จึงจำ�เป็นต้องผ่าน บุคคลที่เป็นผู้นำ�อันเป็นตัวแทนภาครัฐและตัวแทนภาคประชาชน ในคนเดียวกัน นัน่ ก็คอื ผูใ้ หญ่บา้ นและกำ�นันก่อน ถึงจะสามารถเข้าไป บู ร ณาการให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของภาคประชาชนที่ มี จิ ต อาสา พร้ อมทำ�งานร่ ว มกับ ภาครัฐ ได้อย่างสมบูรณ์เชื่อมโยงเป็ น ระบบ มากยิ่งขึ้น ปีงบประมาณ 2560 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ จึงได้อนุมัติ ให้ดำ�เนินโครงการเสริมประสิทธิภาพการให้บริการช่วยเหลือเยียวยา เหยื่ออาชญากรรมเชิงรุก เพื่อพัฒนาให้กรรมการศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชน ในตำ�แหน่งกำ�นันท้องที่ที่เป็น กต.ตร.สภ. พร้อมอาสาสมัครคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจสามารถเป็นเครือข่าย ภาคประชาชนเข้าไปทำ�หน้าที่ช่วยกรอกแบบคำ�ขอรับค่าตอบแทน แก่ผู้เสียหายในคดีอาญา ติดตามตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น รับรอง เอกสารรายได้กรณีเป็นลูกบ้านของตนเองในพืน้ ที ่ ประสานส่งต่อคำ�ขอรับ ค่าตอบแทนให้กบั พนักงานคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพประจำ�จังหวัด และให้คำ�ปรึกษาเบื้องต้นเพื่อชี้ช่องบอกทางประสาน ส่งต่อการเยียวยาตามสิทธิอื่น ๆ ไปยังหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องโดยบูรณาการทำ�งานร่วมกับ กรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชน ที่ เ ป็ น อาสาสมั ค รใน ตำ�แหน่ ง อื่ น
อาทิ อาสาสมัครแรงงาน อาสาสมัครพัฒนาสังคมฯเพื่อให้ผู้เสียหาย เข้ า ถึ ง สิ ท ธิ อื่ น ๆ อย่ า งครบตามมาตรฐาน ตามที่ ก ฎหมาย กำ�หนดไว้และปฏิบัติงานเพื่อกำ�กับ ติดตามผลของคดีที่ต้องการ ความชัดเจนตามกฎหมายกับพนักงานสอบสวน ตามบทบาทของ กต.ตร.สภ.ที่ กำ�หนดไว้ ต ามระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อี ก ทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ผ่ า นการพั ฒ นาความรู้ จ ากโครงการฯ ไปกระจายความรู้ และเอกสารเผยแพร่ ต่ อ โดยการถ่ า ยทอดความรู้ ใ นการประชุ ม ประจำ�เดื อ นแต่ ล ะเวที ต ามกลุ่ ม เป้ า หมาย อาทิ กต.ตร.สภ. ในสถานี ตำ�รวจ ผู้ ใ หญ่ บ้ า นและประชาชนในหมู่ บ้ า นตำ�บล และกำ�นันผู้ใหญ่บ้านในอำ�เภออีกด้วย โดยปีงบประมาณถัดไป ได้ กำ�หนดแนวทางขยายการพั ฒ นาความรู้ เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย ให้ ม ากขึ้ น เพื่ อ นำ�ยุ ติ ธ รรมสู่ ห มู่ บ้ า นนำ�บริ ก ารรั ฐ สู่ ป ระชาชน ผ่านกรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชนในตำ�แหน่งอาสาสมัครต่าง ๆ ในโครงสร้างศูนย์ฯ ทีม่ คี วามรูแ้ ละพร้อมเข้าไปทำ�งานในสถานีตำ�รวจ แทนการจ้างเหมาแบบใช้งบประมาณโดยให้แรงจูงใจในรูปแบบ การเชิดชูเกียรติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เน้นเชื่อมโยงภารกิจ ของเครือข่ายอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กับ กต.ตร.สภ. ที่ผ่านการพัฒนาตามโครงการฯ นี้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการทำ�งาน ระหว่างกันในทุกสถานีตำ�รวจทั่วประเทศ โครงการนี้เป็นจุดเริ่มต้นของความพยายามในการพัฒนา เพื่ อ เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยประชารั ฐ ของแต่ ล ะหน่ ว ยงาน ให้ ส ามารถทำ�งานร่ ว มกั น ในการส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น การละเมิดสิทธิฯ และคุม้ ครองเยียวยาเหยือ่ อาชญากรรม ระดั บ พื้ น ที่ เ พื่ อ สร้ า งโอกาสการเข้ า ถึ ง ความธรรม ให้แก่ประชาชน และหากมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง จะทำ�ให้ เ กิ ด การขยายความเชื่ อ มโยงอย่ า ง เป็ น ระบบเพื่ อ บู ร ณาการเครื อ ข่ า ยภาครั ฐ เครือข่ายภาคประชาชนและองค์กรเอกชน อย่ า งครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ เชื่ อ มั่ น ว่ า “ยุ ติ ธ รรมสู่ ห มู่ บ้ า น นำ�บริการรัฐ สูป่ ระชาชน” ประสบผล สำ�เร็จได้อย่างยั่งยืนตามแนว นโยบายของกระทรวง ยุติธรรม
Justice Magazine Ministry of Justice
41
ยุติธรรมเพื่อประชาชน
เทพรัตน์ สุวรรณรัต นิติกร สำ�นักงานกองทุนยุติธรรม
ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ฟันเฟืองสำ�คัญในการพัฒนา ที่ยั่งยืนของกองทุนยุติธรรม
ในอดีตที่ผ่านมาการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมเป็นสิ่งที่ประชาชน โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ห่างไกล เข้าถึงได้ยาก เนือ่ งจากประชาชนที่ไม่มคี วามรู้ในเรือ่ งของกฎหมายนัน้ มักจะตกเป็นเครือ่ งมือ หรือตกเป็นเหยือ่ ของผู้ท่ีมีความรู้ หรือผู้มีท่ีฐานะทางสังคมและทางเศรษฐกิจมากกว่าอยู่เสมอ เช่น ผู้ต้องหาหรือจำ�เลย หลายคนไม่ได้กระทำ�ความผิด แต่ถกู เกลีย้ กล่อมให้ยอมรับสารภาพ สุดท้ายถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี จากสถิตศิ าลชัน้ ต้นทัว่ ราชอาณาจักร พ.ศ. 2558 มีคดีทเ่ี ข้าสูศ่ าลชัน้ ต้นประมาณ 1 ล้านคดี ซึง่ ตามโครงสร้างของประเทศไทย คนจน และคนชั้นกลางที่ไม่มีความสามารถทางเศรษฐกิจ เป็นคนส่วนใหญ่ของสังคม ซึ่งเมื่อคนจนเป็นคนส่วนใหญ่ของสังคม คู่ความที่ต้องใช้สิทธิ ทางศาลนัน้ ก็จะมีคนจนในอัตราทีม่ ากกว่าเช่นเดียวกัน
42
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ยุติธรรมเพื่อประชาชน
จากข้อมูลการให้ความช่วยเหลือของกองทุนยุตธิ รรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีผ้ขู อรับความช่วยเหลือ จากกองทุนยุตธิ รรม จำ�นวน 4,529 ราย ถึงแม้จะมีสถิติ ที่เพิ่มขึ้นก้าวกระโดดถึงร้อยละ 90 เปรียบเทียบก่อนที่ พระราชบัญญัตกิ องทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558 มีผลใช้บงั คับ เมือ่ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559 ก็ตาม แต่หากพิจารณา ถึงจำ�นวนคูค่ วามทีเ่ ป็นคนจนประมาณ 1 ล้านคนจากคูก่ รณี ทั้งหมด 2 ล้านคน มีเพียง 4,529 คนเท่านั้นที่เข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรม ซึง่ กองทุนยุตธิ รรมได้ให้ความช่วยเหลือ กองทุ น ยุ ติธ รรม ถึ ง แม้ จ ะถื อ กำ�เนิ ด ขึ้น มาตั้ง แต่ ปี 2549 จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลามากกว่า 10 ปี แต่มเี พียง ประชาชนส่วนน้อยเท่านัน้ ทีท่ ราบว่ามีการจัดตัง้ กองทุน ยุติธรรมและกองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลืออะไรบ้าง ซึ่ ง อาจเป็ น เพราะการประชาสั ม พั น ธ์ ท่ี ยั ง ไม่ ม ากพอ หรืออาจเป็นเพราะช่องทางทีป่ ระชาชนสามารถเข้าถึงได้นน้ั อยูห่ า่ งไกลจากทีอ่ ยูอ่ าศัย จึงไม่สามารถเดินทางมาขอรับ ความช่วยเหลือได้ จนกระทั่ ง ปี 2559 พลเอก ไพบู ล ย์ คุ้ ม ฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น ได้ดำ�ริให้ จัดตัง้ ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนขึน้ ในทุกตำ�บล หมูบ่ า้ น โดยให้ใช้ องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำ�บล ในทุกจังหวัด เป็นสถานที่ทำ�การของศูนย์ยุติธรรมชุมชน ซึง่ ทัง้ ประเทศจะมีทง้ั หมด 7,780 แห่ง โดยให้ศนู ย์ยตุ ธิ รรม ชุมชนมีอำ�นาจหน้าทีใ่ นการส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน การดำ�เนินงานของส่วนราชการเพือ่ ให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารด้านกระบวนการยุตธิ รรม เป็นต้น ด้วยเหตุนท้ี ำ�ให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรม โดยเฉพาะ กองทุนยุติธรรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ ดังเห็นได้จาก มี จั ง หวั ด ที่ เ ปิ ด ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนครบทุ ก ศู น ย์ เช่ น ในจั ง หวั ด ชั ย นาท มี ศูน ย์ ยุติธ รรมชุ ม ชนทั้ง หมด 5 แห่ง ในปี 2559 ก่อนพระราชบัญญัตกิ องทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558 มี ผ ลใช้ บัง คั บ มี ผู้ข อรั บ ความช่ ว ยเหลื อ
ประมาณ 8 รายต่ อ เดื อ น และหลั ง พระราชบั ญ ญั ติ กองทุ น ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2558 มี ผ ลใช้ บั ง คั บ และ เปิดศูนย์ยุติธรรมชุมชนครบทั้ง 5 แห่งแล้ว มีผู้ขอรับ ความช่วยเหลือ 24 รายต่อเดือน โดยสรุปแล้วมีผ้ขู อรับ ความช่วยเหลือเพิม่ ขึน้ ถึงสามเท่าตัว ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน อยู่ภายในชุมชน ตำ�บล อำ�เภอ ประชาชนจะสามารถ เดินเข้าไปขอรับความช่วยเหลือซึ่งการเดินทางสะดวก และไม่มีค่าใช้จ่าย สามารถเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรม ได้รวดเร็ว จะทำ�ให้กระบวนการยุตธิ รรมของประเทศไทย เกิดการเปลีย่ นแปลง และการให้ความช่วยเหลือประชาชน ของรัฐจะสามารถบรรลุเจตนารมณ์ในการคุ้มครองสิทธิ และเสรี ภ าพของประชาชนได้ อ ย่ า งทั่ว ถึ ง เสมอภาค และเป็นธรรม ลดความเหลือ่ มลํา้ ในสังคม จากที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ศูนย์ยุติธรรม ชุ ม ชนนั้น เป็ น ฟั น เฟื อ งของกระบวนการยุ ติธ รรมไทย ในการเข้ า ถึ ง บริ ก ารของกองทุ น ยุ ติธ รรม เห็ น ได้ จ าก สถิตผิ ขู้ อรับความช่วยเหลือทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากศูนย์ยตุ ธิ รรม ชุมชนนัน้ อยูใ่ กล้ชดิ กับประชาชน ประชาชนจึงเข้าถึงได้งา่ ย และหากในอนาคตการประชาสัมพันธ์ของกองทุนยุตธิ รรม มีความหลากหลายและเข้าถึงประชาชนได้มากขึน้ และประสาน ความร่วมมือกับศูนย์ยุติธรรมชุมชนจะสามารถทำ�งานได้ เต็มรูปแบบทัง้ 7,780 แห่ง สถิตผิ ขู้ อรับความช่วยเหลือจาก กองทุนยุติธรรมคงจะเพิ่มอีกมาก อนึ่งหากประชาชน สามารถเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมได้อย่างเท่าเทียมมากขึน้ ความเหลือ่ มลา้ ํ ในสังคมจะลดลงไปด้วย สมดังเจตนารมณ์ แห่งพระราชบัญญัตกิ องทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558
น ยุ ติ ธ รรม ไปสู่ ป ระชาชน “ทุกพืนำ�้นกองทุ ที่ทุกตารางนิ้วของประเทศไทยให้ ได้ นั่ น คื อ หน้ า ที่ ห ลั ก ถ้ า เราทำ � ได้ น่ั น คื อ ความสำ�เร็จของกองทุนยุตธิ รรมขัน้ หนึง่ ” พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม
Justice Magazine Ministry of Justice
43
คน เงิน แผน
นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ปยป. กลไกใหม่
ในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ช่วงต้นปีทผ่ี า่ นมา รัฐบาลได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดิน ตามกรอบการปฏิรูประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ (ปยป.) ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ พร้อมกับการตั้งสำ�นักงานบริหารยุทธศาสตร์เพื่อการปฏิรูปและปรองดอง ขึ้ น มาทำ � หน้ า ที่ ส นั บ สนุ น การดำ � เนิ น การของคณะกรรมการ ปยป. และคณะกรรมการระดั บ รองลงมาอี ก 4 คณะ ได้ แ ก่ คณะกรรมการ เตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี คณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ คณะกรรมการปรองดอง และคณะกรรมการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น เชิงยุทธศาสตร์ นอกจากนี้ ยังจะมีการจัดตั้งกลุ่มบริหารราชการแผ่นดิน เชิงยุทธศาสตร์ขึ้นมาขับเคลื่อนในประเด็นเฉพาะอีกด้วย
44
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คน เงิน แผน
แนวคิดในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศภายใต้ การเชื่อมประเทศไทยสู่ประชาคมโลก กลไกดั ง กล่ า ว มี ก รอบความคิ ด ในการแบ่ ง ประเด็ น การด�ำเนินการออกเป็น 3 ด้าน คือ “ซ่อม” “เสริม” การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ “สร้าง” โดยการ “ซ่อม” จะเป็นการแก้ไขปัญหาทีส่ ะสม มานาน ซึง่ จะต้องมีการริเริม่ แก้ไขปัญหาให้เห็นผลขัน้ ต้น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชิงเครือข่าย ภายใน 6-12 เดือน ส่วนการ “เสริม” จะเป็นการเสริม ความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ การด� ำ เนิ น การตามวาระปฏิ รู ป การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา ทีค่ าดหวังให้เห็นผลสัมฤทธิ์ ภายใน 2-3 ปี และการ “สร้าง” จะเป็นการวางรากฐานใหม่ ๆ เพือ่ รองรับอนาคตทีจ่ ะน�ำไปสู่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม การบรรลุวสิ ยั ทัศน์ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในการเป็น ประเทศมีความมัน่ คง มงั่ คัง่ ยงั่ ยืน เป็นประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว และการพัฒนากลไกการบริหารจัดการ ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับแนวทางการขับเคลือ่ นการปฏิรปู ในเบือ้ งต้นนัน้ ซึ่งประเด็นยุทธศาสตร์ที่จะเกี่ยวข้องกับวาระปฏิรูป ได้มีการก�ำหนดเป็น 10 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ ที่ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรมเป็ น เจ้ า ภาพ คื อ ยุ ท ธศาสตร์ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางสั ง คม ในส่ ว นของ การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 การป้องกันปราบปรามและบ�ำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด และยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นากลไกการบริ ห ารจั ด การ การสร้างวิสาหกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ในส่วนของการปฏิรูปกฎหมายและพัฒนากระบวนการ ยุตธิ รรม และการผลักดันกฎหมายเพือ่ การพัฒนาประเทศ การพัฒนาเกษตร อุตสาหกรรม ในการขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป ดั ง กล่ า วจะน� ำ เอา และภาคบริการเป้าหมาย ประเด็ น ข้ อ เสนอแนะจากภาคส่ ว นต่ า ง ๆ อาทิ รายงานข้ อ เสนอแนะของสภาขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป การเสริมความเข้มแข็งผ่าน 18 กลุ่มจังหวัด ประเทศ รายงานการศึ ก ษาของคณะกรรมาธิ ก าร และ 76 จังหวัด สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ วาระการปฏิ รู ป ของ
วาระปฏิรูปจาก สปช./สปท.
วาระปฏิรูปจาก คสช./รัฐบาล
วาระปฏิรูป จาก สนช.
▶ วาระที่เสนอซ�้ำ ▶ วาระที่ใหญ่หรือเล็กเกินไป ▶ วาระที่เป็นไปไม่ได้ ▶ วาระซ่อม ▶ วาระเสริม ▶ วาระสร้าง
Reform in Action
Justice Magazine Ministry of Justice
45
คน เงิน แผน
คณะรั ฐ มนตรี แ ละคณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ และข้อเสนอแนะจากหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งจะถูกน�ำมา คั ด กรองเพื่ อ จั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ และก� ำ หนด ประเด็ น เร่ ง ด่ ว นที่ จ ะต้ อ งด� ำ เนิ น การในปี 2560 โดยคณะกรรมการ ปยป. จะเป็นกลไกการตัดสินใจ และขับเคลื่อนการปฏิรูป (Reform in Action) การด� ำ เนิ น งานที่ จ ะมี ก ารให้ ค วามส� ำ คั ญ มากขึ้ น อีกด้านหนึ่ง คือ การสื่อสารกับสังคมเพื่อสร้างการรับรู้ และความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ แผนการปฏิ รู ป ประเทศ ในด้านต่าง ๆ และผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาดูเหมือนจะมีการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ
ออกมาไม่มากนัก และเป็นการให้ขอ้ มูลของแต่ละหน่วยงาน กันเอง ส่งผลให้ไม่เกิดการรับรูใ้ นภาพกว้างของการปฏิรปู ประเทศในช่วงเวลาที่ผ่านมา ทัง้ นี้ ผลสุดท้ายในการปฏิรปู ประเทศทีค่ าดหวัง คือ การน�ำประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 ซึ่งหมายถึง การเป็นสังคมที่มีความหวัง สังคมที่เปี่ยมสุข สังคม แห่งสมานฉันท์ และสังคมที่พอเพียง โดยมีคนชน ชัน้ กลางเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ เกิดความเท่าเทียม ในสังคมความเหลื่อลํ้าอยู่ในระดับต�่ำ มีสิ่งแวดล้อม และสุขภาพที่ดี หรือสังคมที่ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง (Inclusive Society) นั่นเอง
Thailand 4.0 สังคมที่ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง ยั่งยืน
คนไทย 4.0 พอเพียง
คนไทย 3.0 อยู่รอด
คนไทย 2.0 คนไทย 1.0
46
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เดือดร้อน
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
โครงการอบรมมาตรการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ผู้บริหารระดับอำ�นวยการ กระทรวงยุติธรรม รุ่นที่ 1-2
สวัสดีชาวยุตธิ รรม เล่มนีเ้ ป็นฉบับที่ 3 ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม ขอนำ�เสนอ โครงการอบรมมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ผูบ้ ริหาร ระดับอำ�นวยการ กระทรวงยุตธิ รรม รุน่ ที่ 1-2 โดยเป็นการจัดฝึกอบรม ความรูเ้ กีย่ วกับมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แก่ผบู้ ริหาร ระดับอำ�นวยการ ของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม หรือส่วนราชการที่ข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รวมถึงหน่วยงานทีอ่ ยูภ่ ายใต้ก�ำ กับของกระทรวงยุตธิ รรม รวมทัง้ สิน้ 12 หน่วยงาน ได้แก่
ส� ำ นั ก งานรั ฐ มนตรี แ ละส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวง ยุตธิ รรม กรมคุมประพฤติ กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กรมบังคับคดี กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมราชทั ณ ฑ์ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ ส� ำ นั ก งาน กิ จ การยุ ติ ธ รรม สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด และสถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้แก่บุคลากร ระดับอ�ำนวยการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวง ยุตธิ รรม หรือขึน้ ตรงต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม หรืออยู่ในก�ำกับของกระทรวงยุติธรรม ให้มีองค์ความรู้ ในการป้องกันและยับยัง้ การทุจริต สามารถควบคุมดูแล ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ก ารทุ จ ริ ต ตลอดจนเป็ น ต้ น แบบที่ ดี Justice Magazine Ministry of Justice
47
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
ให้แก่ผใู้ ต้บงั คับบัญชาในการป้องกันและยับยัง้ การทุจริต ในหน่วยงานได้ โดยจัดให้มีการอบรม 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ในระหว่างวันที่ 20-21ธันวาคม 2559 รุน่ ที่ 2 ในระหว่าง วั น ที่ 22-23 ธั น วาคม 2559 รวมทั้ ง สิ้ น 150 คน ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิรน์ พลัส แวนดา แกรนด์ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเนือ้ หาหลักสูตร ดังนี้ ในวันแรก ภาคเช้า เป็นการบรรยาย เรือ่ ง บทบาท ผู้บังคับบัญชาในการรักษาวินัยข้าราชการ โดยวิทยากร นายปรีชา นิศารัตน์ อดีตรองเลขาธิการ ก.พ. ภาคบ่าย เป็นการบรรยาย เรื่อง การตรวจสอบการใช้เงินและ ทรัพย์สินของส่วนราชการ โดยวิทยากร นายมณเฑียร เจริญผล รองผูว้ า่ การตรวจเงินแผ่นดิน ในวันทีส่ อง ภาคเช้า เป็นการบรรยาย เรือ่ ง การขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม การแสดงบั ญ ชี ท รั พ ย์ สิ น และหนี้ สิ น ของข้ า ราชการ โดยวิทยากร นายทินกร เขมะวิชานุรตั น์ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภาคบ่ า ย เป็ น การบรรยาย เรือ่ ง หลักการจัดตัง้ ศาลอาญาคดีทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ และวิ ธี ก ารพิ จ ารณาคดี ทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ โดยวิทยากร นายธานิศ เกศวพิทักษ์ อดีตรองประธาน ศาลฎีกา สามารถสรุปผลการด�ำเนินโครงการได้ ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับความรู้ในการป้องกัน และยับยั้งการทุจริต สามารถควบคุมดูแลป้องกันไม่ให้ มีการทุจริต ตลอดจนเป็นต้นแบบทีด่ แี ก่ผใู้ ต้บงั คับบัญชา ในการป้องกันและยับยั้งการทุจริตในหน่วยงานได้เป็น อย่างดี บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการตามที่ก�ำหนดไว้ ทุกประการ
48
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
โครงการอบรมมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ผู้บริหารระดับอำ�นวยการ กระทรวงยุติธรรม รุ่นที่ 1-2
2. จากการประเมินโดยการท�ำแบบทดสอบความรู้ ความเข้ า ใจ แบบปรนั ย จ� ำ นวน 20 ข้ อ ซึ่ ง มี เ กณฑ์ การประเมิ น ผลความรู ้ ความเข้ า ใจของโครงการ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 70 ของคะแนน (ต้องได้ไม่ตำ�่ กว่า 14 คะแนน) ปรากฏว่า หน่วยงานที่มีผลคะแนนการประเมินความรู้ ความเข้าใจสูงสุด 3 หน่วยงานแรก ได้แก่ 1. กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ (เฉลีย่ 15.80 คะแนน) 2. กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (เฉลีย่ 15.58 คะแนน) 3. กรมบังคับคดี (เฉลีย่ 15.44 คะแนน) ในการด� ำ เนิ น โครงการอบรมมาตรการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจริตผู้บริหารระดับอ�ำนวยการ กระทรวงยุตธิ รรม รุน่ ที่ 1-2 ในครัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจาก ผูม้ ปี ระสบการณ์ มีความรูค้ วามเชีย่ วชาญจากหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาเป็นวิทยากร โดยเฉพาะหัวข้อการบรรยาย เรื่อง หลักการจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ และวิ ธี ก ารพิ จ ารณาคดี ทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ โดยได้รบั เกียรติจากนายธานิศ เกศวพิทกั ษ์ อดีตรองประธาน ศาลฎีกา มาเป็นวิทยากร ทัง้ นี้ ความรูเ้ กีย่ วกับศาลอาญา คดีทุจริตและประพฤติมิชอบ และการวิธีการพิจารณา คดี ทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ถื อ เป็ น ความรู ้ ใ หม่ ที่หลายบุคคล และหลายหน่วยงาน ยังไม่มีองค์ความรู้ ในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการศึ ก ษาและ เสริ ม สร้ า งองค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ศาลอาญาคดี ทุ จ ริ ต แก่ บุ ค ลากรกระทรวงยุ ติ ธ รรม รวมถึ ง บุ ค คลทั่ ว ไป ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม จึ ง ขอน� ำ แผนภู มิ แ สดงขั้ น ตอนการด� ำ เนิ น คดี ทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบของนายธานิ ศ เกศวพิ ทั ก ษ์ มาให้ศกึ ษา ดังนี้
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำ�เนินคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ คณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ท.
อัยการสูงสุด คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประธานกรรมการ ป.ป.ช. พนักงานอัยการ
พิจารณาสำ�นวน
ฟ้องคดี
ศาลอาญาคดีทุจริต
ไต่สวนมูลฟ้อง
คดีไม่มีมูล
ยกฟ้อง
คดีมูล
ศาลประทับรับฟ้องไว้พิจารณา
ไต่สวนข้อเท็จจริง
สั่งไม่ฟ้อง สั่งคดี
สั่งฟ้อง ผู้เสียหาย
ผลของการไต่สวนมูลฟ้อง
สอบคำ�ให้การจำ�เลย
จำ�เลยให้การรับสารภาพ (อาจพิพากษาได้เลยหรือสืบพยานโจทก์ประกอบจำ�เลยสารภาพ) จำ�เลยไม่ให้การหรือให้การปฏิเสธ
นัดตรวจ พยานหลักฐาน
สืบพยานโจทก์
สืบพยานจำ�เลย ยกฟ้อง
นัดฟังคำ�พิพากษา
เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์
พิพากษา
ลงโทษ
คดีส่วนแพ่ง (บังคับคดีแพ่ง) คดีส่วนอาญา
ประหารชีวิต จำ�คุก
การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต เป็ น หน้ า ที่ ข องเราทุ ก คน ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น และคอยเป็ น หู เ ป็ น ตา สอดส่ อ งดู แ ล เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ก ารทุ จ ริ ต เกิ ด ขึ้ น ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม เป็นอีกหน่วยงานหนึง่ ทีไ่ ด้มกี ารด�ำเนินงานด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตอย่างจริงจัง ตามอ�ำนาจหน้าที่ ในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556 ตามนโยบายหรือข้อสัง่ การ ของคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (คตช.)
ควบคุม ดัดนิสัย ฝึกอาชีพ
คณะกรรมการอ�ำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ (ศอตช.) ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ร ะยะที่ 3 และนโยบาย ของรัฐบาลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้าน การทุจริต กระทรวงยุติธรรม ยังขอย�้ำปณิธานเดิมว่า เพื่ อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ประโยชน์ ข องรั ฐ และประชาราษฎร์ จั ก ด� ำ เนิ น การป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต อย่างจริงจัง และจะร่วมสนับสนุนขับเคลื่อนการแก้ไข ปัญหาการทุจริตกับทุกภาคส่วน เพื่อร่วมขจัดปัญหา การทุจริตให้หมดสิน้ จากแผ่นดินไทย Justice Magazine Ministry of Justice
49
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
พ.ร.บ.กองทุ น ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 ให้นายจ้างหักเงินเดือนใช้หนี้ ผู้กู้ยืมมีหน้าที่ต้องชำ�ระคืน
เนื่ อ งจาก พ.ร.บ.กองทุ น เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา พ.ศ. 2541 มีการบริหารจัดการและการดําเนินการ ที่มีข้อจํากัด และไม่สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา ประเทศ ดั ง นั้ น พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น ให้ กู้ ยื ม เพือ่ การศึกษา พ.ศ. 2560 จึงถูกประกาศและมีผลบังคับ ใช้แทน เพื่อให้มีมาตรการในการบริหารจัดการกองทุน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง นั บ เป็ น การบริ ห าร จั ด การและการดํ า เนิ น การของกองทุ น เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่อ การศึ ก ษา และกองทุ น เงิ น กู้ยืม เพื่อ การศึ ก ษา ที่ ผูกกับรายได้ ในอนาคต ให้เ ป็นเอกภาพอยู่ ภ ายใต้ กฎหมายเดี ย วกั น โดยมี ส าระสำ � คั ญ คื อ ให้ น ายจ้ า ง หั ก เงิ น ของลู ก จ้ า งที่ เ ป็ น ลู ก หนี้ ก องทุ น เพื่ อ ชำ � ระเงิ น กู้ยืมคืน
50
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 พระราชบัญญัติกองทุน เงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 ได้มีผลบังคับ ใช้แล้ว โดยสาระสำ�คัญระบุให้ยกเลิกพระราชบัญญัติ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 นอกจากนี้ ยังมีมาตรการเข้มงวดในการชำ�ระคืนเงินกูเ้ พือ่ การศึกษา หลังจากที่ผ่านมาประสบปัญหาผู้กู้ไม่ยอมใช้คืนคิดเป็น วงเงินมหาศาล โดย พ.ร.บ. กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา พ.ศ. 2560 ในหมวด 4 การให้ เ งิ น กู้ ยื ม เพื่อการศึกษา มาตรา 42 ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ ต้องปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมเงิน โดยเคร่งครัด เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการบริ ห ารกองทุ น และ การติดตามการชำ�ระเงินคืนกองทุน ผู้กู้ยืมเงิน มีหน้าที่ ดังนี้ (1) ให้ความยินยอมในขณะทำ�สัญญากูย้ มื เงิน เพื่ อ ให้ ผู้ มี ห น้ า ที่ จ่ า ยเงิ น ได้ พึ ง ประเมิ น ตามมาตรา 40 (1) แห่ ง ประมวลรั ษ ฎากร หักเงินได้พงึ ประเมินของตนตามจำ�นวนทีก่ องทุน แจ้งให้ทราบเพื่อชำ�ระเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา คืนกองทุน (2) แจ้งสถานะการเป็นผูก้ ยู้ มื เงินต่อหัวหน้า หน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่ตนทำ�งานด้วย ภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีเ่ ริม่ ปฏิบตั งิ าน และยินยอม ให้หักเงินได้พึงประเมินของตนเพื่อดำ�เนินการ ตามมาตรา 51
(3) ยิ น ยอมให้ ก องทุ น เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล ของตนที่อยู่ในครอบครองของบุคคลอื่น รวมทั้งยินยอม ให้กองทุนเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับการกูย้ มื เงิน และการชำ�ระเงิน คืนกองทุน ทั้งนี้ ในมาตรา 45 ระบุว่า เพื่อประโยชน์ในการ บริหารกองทุนและการติดตามการชำ�ระเงินคืนกองทุน ให้กองทุนมีอำ�นาจดำ�เนินการ ดังนี้ (1) ขอข้อมูลส่วนบุคคลของผู้กู้ยืมเงินจากหน่วยงาน หรือองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน หรือบุคคลใดซึ่งเป็น ผู้ครอบครองข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว (2) เปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับการกูย้ มื เงิน และการชำ�ระเงิน คืนกองทุนของผู้กู้ยืมเงินให้แก่หน่วยงาน หรือองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน หรือบุคคลใดตามที่ร้องขอ (3) ดำ�เนินการตามมาตรการต่าง ๆ ที่คณะกรรมการ กำ�หนดตามมาตรา 19 (14) การดำ�เนินการตาม (1) และ (2) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กำ�หนดในกฎกระทรวง มาตรา 46 เพื่อประโยชน์ ในการดำ�เนิ น การของกองทุ น ตามมาตรา 45 (1) ให้หน่วยงาน หรือองค์กรทัง้ ภาครัฐและเอกชน หรือบุคคล ใดซึ่งเป็นผู้ครอบครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้กู้ยืมเงิน จัดส่งข้อมูลให้กองทุนตามที่กองทุนร้องขอภายในเวลา อันสมควร นอกจากนี้ มาตรา 50 ระบุว่า หนี้ที่เกิดขึ้น ตาม พ.ร.บ.นี้ ให้กองทุนมีบรุ มิ สิทธิเหนือทรัพย์สนิ ทัง้ หมด ของผูก้ ยู้ มื เงินในลำ�ดับแรกถัดจากค่าเครือ่ งอุปโภคบริโภค อันจำ�เป็นประจำ�วันตามมาตรา 253 (4) แห่งประมวล
“
ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ตามสัญญากู้ยืมเงินโดยเคร่งครัด เพื่อประโยชน์ในการบริหารกองทุนฯ และการติดตามการชำ�ระเงินคืนกองทุน
”
Justice Magazine Ministry of Justice
51
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
หักเงินได้พึงประเมินของผู้กู้ยืมเงิน ซึ่งเป็นพนักงาน หรือลูกจ้าง ของผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินดังกล่าว เพื่อชำ�ระเงินกู้ยืมคืนตามจำ�นวน ที่กองทุนแจ้งให้ทราบ
52
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 51 ให้ บุ ค คล คณะบุคคล หรือนิตบิ คุ คลทัง้ ภาครัฐและเอกชน ผูจ้ า่ ยเงิน ได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร มี ห น้ า ที่ หั ก เงิ น ได้ พึ ง ประเมิ น ของผู้ กู้ ยื ม เงิ น ซึ่ ง เป็ น พนักงาน หรือลูกจ้างของผูจ้ า่ ยเงินได้พงึ ประเมินดังกล่าว เพื่อชำ�ระเงินกู้ยืมคืนตามจำ�นวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบ โดยให้นำ�ส่งกรมสรรพากรภายในกำ�หนดระยะเวลานำ�ส่ง ภาษี เ งิ น ได้ หั ก ณ ที่ จ่ า ย ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำ�หนดการ หักเงินตามวรรคหนึ่ง ต้องหักให้กองทุนเป็นลำ�ดับแรก ถัดจากการหักภาษี ณ ที่จ่าย และการหักเงินเข้ากองทุน ที่ ผู้ กู้ ยื ม เงิ น ต้ อ งถู ก หั ก ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยกองทุ น
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำ�รอง เลี้ ย งชี พ กฎหมายว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองแรงงาน และกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม เมือ่ กรมสรรพากร ได้รับเงินจากผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้นำ�ส่งกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ทีก่ รมสรรพากรกำ�หนด โดยความเห็นชอบของกระทรวง การคลัง “ถ้าผูจ้ า่ ยเงินได้พงึ ประเมินตามวรรคหนึง่ ไม่ได้หกั เงิน ได้พึงประเมิน หักและไม่ได้นำ�ส่ง หรือนำ�ส่งแต่ไม่ครบ ตามจำ�นวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบ หรือหักและนำ�ส่ง เกินกำ�หนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้จ่ายเงินได้ พึงประเมินรับผิดชดใช้เงินทีต่ อ้ งนำ�ส่งในส่วนของผูก้ ยู้ มื เงิน
ตามจำ�นวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบ และต้องจ่ายเงินเพิ่ม ในอัตราร้อยละ 2 ต่อเดือนของจำ�นวนเงินที่ผู้จ่ายเงินได้ พึงประเมินยังไม่ได้นำ�ส่ง หรือตามจำ�นวนที่ยังขาดไป แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ นับแต่วันถัดจากวันที่ครบกำ�หนด ต้องนำ�ส่งตามวรรคหนึง่ ในกรณีทผี่ จู้ า่ ยเงินได้พงึ ประเมิน ได้หักเงินได้พึงประเมินของผู้กู้ยืมเงินไว้แล้ว ให้ถือว่า ผู้ กู้ ยื ม เงิ น ได้ ชำ�ระเงิ น กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษาตามจำ�นวน ที่ได้หักไว้แล้ว” การประกาศและให้มผี ลบังคับใช้ของ พ.ร.บ.กองทุน เงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา พ.ศ. 2560 ฉบับนี้ จึงนับเป็น มาตรการในการบริ ห ารจั ด การกองทุ น ที่ เข้ ม งวด เคร่งครัด ซึ่งจะส่งผลให้การใช้หนี้คืนกองทุนของผู้กู้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Justice Magazine Ministry of Justice
53
เปรียบเทียบ พ.ร.บ. กองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 กับ พ.ศ. 2541 ทำ�ไมต้องมีพระราชบัญญัติฉบับนี้ พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา พ.ศ. 2541 มีการบริหารจัดการและการดําเนินการที่มีข้อจํากัด และไม่สอดคล้อง กับนโยบายการพัฒนาประเทศ ดังนั้น พระราชบัญญัติกองทุนให้กู้ยืม เพือ่ การศึกษา พ.ศ. 2560 จึงถูกประกาศและมีผลบังคับใช้แทน เพือ่ ให้มี มาตรการในการบริหารจัดการกองทุนที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
พ.ร.บ.กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม 2560
วัตถุประสงค์ของกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ฉบับปี 2560 = เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาด้วยการให้ เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษา ดังนี้ 1) ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ 2) ผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เป็นความต้องการหลักซึ่งมีความชัดเจน ของการผลิตกําลังคนและมีความจําเป็นต่อการพัฒนาประเทศ 3) ผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนฯ มุ่งส่งเสริมเป็นพิเศษ 4) ผู้ที่เรียนดีเพื่อสร้างความเป็นเลิศ
54
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ฉบับปี 2541 = เพื่อให้กู้ยืม เงินแก่นกั เรียน หรือนักศึกษา ที่ ข า ด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย์ เพือ่ เป็นค่าเล่าเรียน ค่าใช้จา่ ย ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การศึ ก ษา แ ล ะ ค่ า ใช้ จ่ า ย ที่ จำ� เ ป็ น ในการครองชี พ ระหว่ า ง ศึกษา
อัตราดอกเบี้ย ฉบับปี 2560 = ไม่เกินอัตรา ร้อยละ 7.5 ต่อปี
ค่าใช้จ่ายส่วนอื่น ฉบับปี 2560 = เงินของกองทุน ให้นําไปหาผลประโยชน์ได้
ฉบับปี 2541 = ตามอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ� หนึ่งปีของธนาคารออมสิน
ฉบับปี 2541 = เงินของกอง ทุนอาจนำ�ไปหาดอกผลได้
การชำ�ระเงินคืนกองทุน ฉบับปี 2560 = ให้นายจ้างมีหน้าทีห่ กั เงินได้ พึงประเมินของผูก้ ยู้ มื เพือ่ ชำ�ระเงินกูย้ มื คืน ตามจำ�นวนที่กองทุนแจ้ง ฉบับปี 2541 = ให้ผู้บริหารและจัดการ เงิ น กองทุ น ติ ด ตาม และประสานกั บ ผู้ กู้ ยื ม เงิ น เพื่ อ การชำ�ระเงิ น ที่ กู้ คื น โดยจะขอความร่ ว มมื อ จากนายจ้ า ง ให้ ช่ ว ยหั ก เงิ น เดื อ นและค่ า จ้ า งนำ�ส่ ง ผู้จัดการเงินให้กู้ยืมด้วยก็ได้
Justice Magazine Ministry of Justice
55
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดสัมมนาถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญ ต่างประเทศ โครงการจ้างทีป่ รึกษาจัดทำ�แผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุตธิ รรม และสำ�นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. 2560 – 2563 เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกระทรวงยุตธิ รรมนำ�ความรูแ้ ละประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานยุตธิ รรม โดยอาศัยเทคโนโลยี ดิจทิ ลั ซึง่ จะช่วยให้การดำ�เนินงานมีประสิทธิภาพมากขึน้ ณ ห้องประชุม บีบี 201 โรงแรมเซ็นทรา แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
อบรมหลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี รุ่นที่ 18 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการฝึกอบรมการพัฒนาข้าราชการ พลเรือนทีอ่ ยูร่ ะหว่างทดลองปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการ ส่วนที่ 3 หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี รุ่นที่ 18 เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพในการปฏิบัติงานราชการ และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับข้าราชการกระทรวงยุติธรรม พร้อมทั้ง จัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาทักษะการทำ�งานเป็นทีม ซึง่ จะช่วยให้ เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างกัน ทำ�ให้การดำ�เนินงาน มีประสิทธิภาพต่อไป ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ขับเคลื่อนการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม ระยะ 20 ปี นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการผู้บริหารระดับสูง เพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงยุตธิ รรม และการติดตามข้อสั่งการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม ครั้งที่ 1 ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 พร้อมทัง้ รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ตลอดจน ติดตามความก้าวหน้าของการนำ�นโยบายและยุทธศาสตร์ ของกระทรวงยุ ติธ รรม และข้ อ สั่ง การของรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติธ รรมไปสู่ก ารปฏิ บัติ ณ โรงแรม กรุงศรีรเิ วอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
56
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
ถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์ พ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช ผู้ แ ทนกระทรวงยุ ติ ธ รรมพร้ อ มคณะ ร่ ว มพิ ธี วางพานพุม่ ถวายเครือ่ งราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์ พ่ อ ขุ น รามคำ�แหงมหาราช เนื่อ งในโอกาสวั น พ่ อ ขุนรามคำ�แหงมหาราช เพือ่ เทิดพระเกียรติและน้อมรำ�ลึก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุณ ของพระมหากษั ต ริ ย าธิ ร าช ผู้ทรงพระคุณอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติและปวงชน ชาวไทย ณ บริ เ วณลานพระบรมราชานุ ส าวรี ย์ พ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
เสริมสร้างคุณธรรมความโปร่งใสของการดำ�เนินงาน ภายในหน่วยงาน นายวิทยา สรุ ยิ ะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธาน เปิดโครงการฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ระดับกระทรวงยุตธิ รรม เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบคุณธรรมและ ความโปร่งใสของหน่วยงาน หรือ Integrity and Transparency Assessment (ITA) และสามารถวิเคราะห์พัฒนาปรับปรุง การทำ�งานของหน่วยงาน ซึง่ จะส่งผลให้ระดับคะแนนคุณธรรม และความโปร่งใสของกระทรวงยุตธิ รรมสูงขึน้ และเป็นไปตามเกณฑ์ ทีก่ ำ�หนด ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชัน่ กรุงเทพฯ
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สร้างแนวทาง พัฒนาระบบการเข้าถึงความยุตธิ รรม ในยุค 4.0 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด และเข้ า ร่ ว มโครงการ สัมมนาทางวิชาการ “Digital Justice” ก้าวใหม่ ของกระบวนการยุตธิ รรมไทย เพือ่ ให้เกิดการเปลีย่ นเรียนรู้ เกีย่ วกับกระบวนการยุตธิ รรมในบริบทการเปลีย่ นแปลง ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล และการมุ่งสู่ประเทศไทย 4.0 อันจะทำ�ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ในการพัฒนาการบริหารงาน ยุตธิ รรมของประเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรงั สิต กรุงเทพฯ
Justice Magazine Ministry of Justice
57
พันตำ�รวจโท วิชัย สุวรรณประเสริฐ
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
The Choice
เกมทางเลือก-ทางรอด
เดิ ม ที ผ มตั้ ง ใจว่ า จะเขี ย นบทความเรื่ อ ง “ดอกเบี้ ย เงิ น ให้ กู้ ยื ม กับความรับผิดทางอาญา” ต่อจากฉบับที่แล้ว แต่ต้องขออนุญาต ที่จะแทรกบทความเรื่องนี้ก่อนเพราะเป็นช่วงเวลาที่ศูนย์ช่วยเหลือ ลูกหนี้และประชาชนที่ ไม่ ได้รับความเป็นธรรม สำ�นักงานปลัด กระทรวงยุ ติ ธ รรม “ศนธ.ยธ.”ได้ นำ � เกมออกไปเผยแพร่ ให้ กั บ ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ ผมจึ ง อยากให้ บ ทความนี้ เป็นสื่อเพื่อบอกเล่าความเป็นมาและความตั้งใจของเรา
58
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ผู้บัญชาการสำ�นักคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ ศนธ.ยธ.
โดยปกติแล้ว มาเซอร์ก็จะออกแบบเกมการเรียนรู้ สือ่ การเรียนการสอนใช้ในโรงเรียนและเครือข่ายทีผ่ า่ นมา ตอนสอนเด็กนักเรียน ถ้าใช้สอื่ เกมการเรียนรู้ เด็กจะเข้าใจ เนือ้ หาได้ด ี สนุก ดกู ระตือรือร้นมาก ซงึ่ สือ่ เกมการเรียนรูด้ ี ๆ ส่วนใหญ่จะเห็นในต่างประเทศมากกว่า ไม่คอ่ ยเห็นสือ่ เกม ของไทยทำ�เองมากนั ก พอเห็ น เกม The Choice ก็ ส ะดุ ด ตาทั้ ง ชื่ อ เกมภาษาไทย อั ง กฤษไม่ เ คยคิ ด ว่ า จะมีเกมเกีย่ วกับเรือ่ งหนีส้ นิ พออ่านคูม่ อื ดูเนือ้ หา ถูกใจมาก เกมดูไม่ซับซ้อนสวยตั้งแต่กล่องบรรจุ อุปกรณ์การเล่น ถ้าเป็นของต่างประเทศส่วนใหญ่คมู่ อื จะมีแต่ตวั หนังสือเล็ก ๆ แทบไม่มภี าพประกอบเนือ้ หาในเกมบางอย่างก็ไม่เหมาะ กับในบ้านเรา ชื่นชมเจ้าของเกม (ภาครัฐฯ) ที่มีแนวคิด ทำ�สือ่ เกมการเรียนรูท้ ดี่ มี ากรวมถึงการออกแบบเป็นเกม ที่ ใ ห้ ค วามรู้ ทั้ ง เรื่ อ งกฎหมายการเงิ น การใช้ ชี วิ ต การแก้ ปั ญ หา น่ า สนใจมาก ๆ มาเซอร์ อ ยากเอาไป เผยแพร่ให้ครู นักเรียนชั้นมัธยมฯ ผู้ปกครองทั้งโรงเรียน ในกลุ่มโยเซฟฯ และเครือข่ายมาก ๆ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของบทสั ม ภาษณ์ ม าเซอร์ เ ซลิ น ผู้บริหาร นักการศึกษา เป็นที่รักของเด็กๆนักเรียนกลุ่ม เซนต์โยเซฟฯ มากว่า 20 ปี บอกเล่าความรูส้ กึ ภายหลังจาก ได้ทำ�การทดสอบเกม หลายท่านคงอยากทราบว่าเกม The Choice มคี วาม เป็นมาอย่างไร? เป็นสือ่ สำ�หรับสอนนักเรียนอย่างเดียวหรือ? จุดเริม่ ต้นของการคิดสร้างเกมเกิดจากการดำ�เนินงาน
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
พบว่ า ปั ญ หาหนี้น อกระบบมี ค วามรุ น แรงเพิ่ม มากขึ้น ทัง้ รูปแบบการปล่อยเงินกูท้ เ่ี อารัดเอาเปรียบผิดกฎหมาย พฤติการณ์การติดตามทวงหนี้ด้วยวิธีการรุนแรง ข่มขู่ ทำ�ร้ายร่างกายโดยใช้อำ�นาจอิทธิพล สาเหตุส่วนหนึ่ง เกิดจากการที่เจ้าหนี้เอารัดเอาเปรียบในการทำ�สัญญา เช่น ทำ�สัญญากู้สูงกว่ายอดเงินที่รับจริง การให้ลงชื่อ ในสัญญาเปล่าแล้วนำ�มากรอกจำ�นวนเงินในจำ�นวนทีส่ งู กว่า ได้รบั จริง ปัญหาเฉพาะตัวของลูกหนีเ้ อง เช่น ความสามารถ ในการเข้ า ถึ ง แหล่ ง ทุ น เนื่ อ งจากการขาดคุ ณ สมบั ติ และศักยภาพด้านรายได้ ปัญหาจากการไม่รู้กฎหมาย เป็นเหตุให้ถูกเอารัดเอาเปรียบในการทำ�สัญญา จนถูก ฟ้ อ งร้ อ งคดี อ ย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม การไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ ส่งผลให้ แพ้คดีถกู ยึดบ้านทีด่ นิ ทำ�กินกลับกลายเป็นปัญหาสังคม กลยุทธ์การดำ�เนินงานของศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ จึงเน้นในสามด้าน คือ ด้านการให้คำ�ปรึกษาและช่วยเหลือ ลู ก หนี้ท่ีถูก เอารั ด เอาเปรี ย บให้ ไ ด้ รับ ความเป็ น ธรรม ด้ า นการศึ ก ษาปรั บ ปรุ ง กฎหมายและการบู ร ณาการ เพือ่ บังคับใช้กฎหมายให้มปี ระสิทธิภาพ และด้านการป้องกัน ด้วยการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชน โดยตั้งแต่ปี 2555– 2558 ศนู ย์ชว่ ยเหลือลูกหนีฯ้ ได้จดั โครงการพัฒนา ศักยภาพให้กบั ประชาชน ผนู้ ำ�ชุมชน ผนู้ ำ�ท้องถิน่ เครือข่าย กระจายไปตามพื้นที่จังหวัดที่มีความรุนแรงของปัญหา จำ�นวน 36 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประมาณ 25,697 คน เน้นการให้ความรูด้ า้ นกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับหนีส้ นิ การรูจ้ กั เข้ า ถึ ง หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ อำ�นวย ความยุ ติธ รรม และร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้ อ ง กับการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบมาร่วมให้คำ�แนะนำ� ในกิจกรรมโครงการด้วย
แนวคิ ด ของการพั ฒ นา The Choice ส่ ว นหนึ่ง เป็นผลจากงานวิจยั นโยบายการยุตธิ รรมเพือ่ แก้ไขปัญหา หนีน้ อกระบบ และผลสำ�รวจความคิดเห็นของประชาชน ทีเ่ ข้าร่วมโครงการกับศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีฯ้ ซึง่ ได้ขอ้ สรุปว่า “การให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนที่ถูกต้องจะเป็น การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบได้อย่างยั่งยืน” โดยต้องมี เครื่ อ งมื อ ที่ ส ามารถสื่ อ สารเข้ า ใจง่ า ย สร้ า งการรั บ รู้ สร้างจิตสำ�นึก ใช้เป็นสื่อเรียนรู้ได้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้รเิ ริม่ คิดค้นสือ่ การเรียนรูท้ เ่ี ป็นนวัตกรรมใหม่ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา ศูนย์ช่วยเหลือ ลูกหนีฯ้ จึงได้เริม่ หารูปแบบการให้ความรูด้ า้ นกฎหมาย ในรูปแบบใหม่ทไ่ี ม่เคยมีใช้ในเมืองไทย นัน่ คือการบูรณาการ ความรูแ้ บบองค์รวมผ่านการเล่นเกม (Integrated learning by playing) จึงเป็นจุดเริม่ ต้นของการสร้างสือ่ นวัตกรรม ในรูปแบบเกมกระดาน (Boarding Game) ที่มีช่ือว่า The Choice โดยได้รว่ มกับนักออกแบบเกมศึกษาค้นคว้า ด้วยการลงพื้นที่ศึกษาปัญหาหนี้นอกระบบทั้งในชุมชน ชนบท และ ชุมชนเมือง สัมภาษณ์ผ้ดู ้อยโอกาสที่ได้รับ ผลกระทบ เก็บข้อมูลปัญหาทีเ่ กิดและวิธกี ารแก้ไขปัญหา ในปั จ จุ บัน และความต้ อ งการของผู้มีส่ว นเกี่ย วข้ อ ง สั ม ภาษณ์ ผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิด้า นนั ก กฎหมาย นั ก การเงิ น การธนาคาร นั ก เศรษฐศาสตร์ นั ก พั ฒ นาสั ง คม นั ก ออกแบบเกม เจ้ า หน้ า ที่รัฐ ที่ป ฏิ บัติง านเกี่ย วข้ อ ง ศึกษาเกมทีเ่ กีย่ วข้องทางอ้อม เช่น เกมวางแผนทางการเงิน เกมบริหารชีวติ เพือ่ มาประมวลเป็นพืน้ ฐานในการออกแบบ การออกแบบแนวคิด (Concept design) ได้จำ�ลองชีวติ จริงของคนทีต่ กเป็น หนี้นอกระบบมาเป็นตัวละครในเกม จำ�นวน 8 เรื่อง โดยเป็นตัวอย่างของคน ในสังคมชนบท จะเรียนรูข้ อ้ กฎหมายเรือ่ งการจำ�นอง การขายฝาก การทำ�สัญญา กูย้ มื คา้ํ ประกัน ตัวอย่างคนในสังคมเมืองจะเรียนรูข้ อ้ กฎหมายในเรือ่ งการทำ�สัญญา เช่าซือ้ หนีจ้ ากบัตรเครดิต วิธกี ารเล่นเพือ่ เป้าหมายดำ�เนินชีวติ ผูเ้ ล่นจะต้องสวมบทบาทเป็นตัวละครตามเกม และดำ�เนินชีวิตของตนให้ประสบผลสำ�เร็จตามเป้าหมายที่ต้งั ไว้ด้วยการวางแผน อย่างรอบคอบ และคิดแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จำ�ลอง เปิดโอกาสให้ผ้เู ล่น ได้ลงทุนประเภทที่เสี่ยงน้อย เสี่ยงมาก หรือเล่นการพนัน สะสมสิ่งของไว้ใช้ ในยามฉุกเฉิน และจำ�ลองสถานการณ์ท่ีส่งผลดีและผลร้ายกับการดำ�เนินชีวิต โดยมีผู้สอนคอยให้คำ�แนะนำ� เกมจะมีเนื้อหาในการให้ความรู้ด้านกฎหมาย สอนให้เข้าถึงหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ช่วยเหลือและอำ�นวยความยุติธรรม ให้รู้จักวางแผนการดำ�รงชีวิต การลงทุน ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ในชีวิตจริง การดำ�เนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ท่ไี ด้คะแนนตามเป้าหมาย ครบก่อนจะเป็นผูช้ นะ เมือ่ เล่นเกมจบแล้ว โค้ชจะให้แต่ละคนถอดบทเรียนทีไ่ ด้รบั จากการเล่น ให้สมาชิกในวงร่วมแลกเปลีย่ น โดยโค้ชทำ�หน้าทีแ่ นะนำ�เพิม่ เติม Justice Magazine Ministry of Justice
59
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
ทำ�อย่างไรให้เกมเผยแพร่ ไปทั่วประเทศ
ผลงาน “The Choice เกมทางเลือก-ทางรอด” เป็นลิขสิทธิข์ องสำ�นักงาน ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ประเภทงานวรรณกรรม ลั ก ษณะงานสิ่ ง พิ ม พ์ ตามหนังสือรับรองลงวันที ่ 2 ธันวาคม 2558 หากหน่วยงานใดมีความสนใจทีจ่ ะนำ� ไปเผยแพร่สามารถติดต่อเพื่อฝึกอบรมการเป็นโค้ชสอนเกมหลังจากผ่านแล้ว ศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีฯ้ จะมอบกล่องเกมให้ไปเผยแพร่ The Choice เป็นผลงานด้านนวัตกรรมมีความโดดเด่นและน่าสนใจภายใต้ แนวคิด “วิจยั เพือ่ พัฒนาประเทศสูค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” ซึง่ คณะกรรมการ วิจยั แห่งชาติ ได้คดั เลือกให้ไปร่วมแสดงในงาน Thailand Research Exo 2016 ระหว่างวันที่ 17-21 สิงหาคม 2559 จัดขึน้ ณ กรุงเทพมหานคร
The Choice เผยแพร่ให้กับกลุ่มเป้าหมายใดบ้าง?
ในช่วงแรกทีอ่ อกแบบเกม เราต้องการทีจ่ ะให้ใช้กบั ประชาชนทัว่ ไปแต่เมือ่ ได้ไป ทดสอบเกมกับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา และทุกสาขา วิชาชีพ ผลปรากฏว่าสามารถปรับรูปแบบการเล่นให้เข้ากับคนได้ทุกกลุ่ม จึงได้ จัดแบ่งกลุม่ เป้าหมายออกเป็น 3 ประเภท ตามลำ�ดับความเร่งด่วนจนถึงการสร้าง ความต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน ประเภทแรก “กลุม่ ทีป่ ระสบปัญหาหนีส้ นิ ”ต้องดำ�เนินการควบคูโ่ ดยให้เรียนรู้ และมีสว่ นร่วมกับการแก้ไขปัญหาไปพร้อมกัน (Learning by doing) และในขณะเดียวกัน ได้สร้างกลไกเพื่อช่วยเหลือทางด้านกฎหมายให้สามารถเข้าถึงความเป็นธรรม ตามกฎหมาย ซึ่งกลุ่มเหล่านี้จะเป็นรูปแบบของการช่วยเหลือ (Best Practice) และเมือ่ มีความเข้มแข็งแล้วจะเป็นพีเ่ ลีย้ งให้กบั กลุม่ อืน่ ๆ ได้เรียนรูต้ อ่ ไป ประเภททีส่ องเป็น “กลุม่ เสีย่ ง” เน้นการป้องกันทีเ่ ข้มข้นให้กบั กลุม่ เกษตรกร กลุม่ คนทีเ่ ริม่ มีรายได้และเสีย่ งต่อการเป็นหนีน้ อกระบบในอนาคต เพือ่ ไม่ให้เข้าสู่ วงจรหนีน้ อกระบบและรูว้ ธิ กี ารแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง เมือ่ ถูกฟ้องร้องดำ�เนินคดี สามารถขอรับการช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ประเภทที่สามเป็น “กลุ่มคนวัยใส” เป็นมาตรการด้านการป้องกันให้กับ กลุ่มเด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนเข้าสู่วัยทำ�งาน ด้วยการให้ความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายเบือ้ งต้นทีเ่ กีย่ วกับหนีใ้ นชีวติ ประจำ�วัน การดำ�รงชีวติ เพือ่ สร้างภูมคิ มุ้ กัน โดยให้สอดคล้องเชือ่ มโยงกับวิชาเรียนในโรงเรียน และมหาวิทยาลัย
60
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ศู น ย์ ช่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ ฯ ได้ ต้ั ง เป้ า หมายเพื่ อ ให้ The Choice เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็ง ให้ กั บ คนยากจนผู้ ด้ อ ยโอกาส และประชาชนทั่ ว ไป ได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง จึ ง ได้ จั ด ทำ�แผนการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ ผลครอบคลุมทัง้ ประเทศภายในปี 2561 ดังนี้ การสร้างเครือข่ายให้เป็นวิทยากรตัวคูณเพื่อเป็น ผูส้ อนเกม (Coach) โดยได้สอนการเป็นผูน้ ำ�เกม (Coach) ให้ กับ เจ้ า หน้ า ที่ยุติธ รรมจั ง หวั ด โดยตั้ง เป้ า หมายว่ า สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดจะนำ�เกมไปเป็นเครื่องมือสอน ให้กบั ยุตธิ รรมชุมชนครบทุกแห่ง และผูท้ เ่ี ป็นยุตธิ รรมชุมชน จะมีหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงดูแลคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง และส่งเสริมให้เกิดความยุตธิ รรมในสังคม เราตัง้ เป้าหมายว่า จะสร้างวิทยากรตัวคูณให้กับสำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด ทุกแห่งภายในเดือนเมษายน 2560 และเป็นที่น่ายินดี ว่าที่ผ่านมาสำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดหลายแห่งได้นำ�เกม ไปเผยแพร่ให้กบั เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน โรงเรียน สถาบัน การศึกษา และเครือข่ายภาคประชาสังคมในพืน้ ทีอ่ กี ด้วย สถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขณะนี้ได้มี มหาวิ ท ยาลั ย ทั่ ว ประเทศ จำ�นวน 23 แห่ ง ได้ นำ� The Choice ไปใช้เป็นกิจกรรมหลักของกองกิจการ นักศึกษาประจำ�แต่ละมหาวิทยาลัย ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการฝึก นักศึกษาให้เรียนรู้วิถีชุมชนและร่วมนำ� The Choice ไปสอนให้กบั ชุมชนโดยเราจะขยายให้ครอบคลุมมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ สถาบันการศึกษาในระดับประถมศึกษา และมั ธ ยมศึ ก ษา เช่ น โรงเรี ย นอั ส สั ม ชั ญ คอนแวนต์ โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศกึ ษา โรงเรียนซางตาครูส้ คอนแวนท์ โรงเรียนเซนต์โยเซฟทิพวัล ได้นำ�เกมไปสอนในเนื้อหา วิชาเรียนตัง้ แต่ปี 2558 เป็นต้นมา
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
การทำ�งานเป็ น “เครื อ ข่ า ย” โดยหาแนวร่ ว ม เครื อ ข่ า ยที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ส อดคล้ อ งและเกื้ อ กู ล ร่ ว มมื อ กั น ในการต่ อ ยอดสร้ า งผู้ ส อนเกม (Coach) เพื่อนำ�ไปเผยแพร่ให้กับกลุ่มเป้าหมายขององค์กรนั้น ๆ หรือในรูปแบบของกิจกรรมเพือ่ สังคม (CSR) การร่วมมือกัน ในการพัฒนา โดยมีหน่วยงานเป้าหมายที่จะประสาน ความร่ ว มมื อ ประกอบด้ ว ย สถาบั น เพื่อ การยุ ติธ รรม แห่งประเทศไทย สถาบันการเรียนรูเ้ พือ่ ปวงชน ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสิน เป็นต้น นอกจากนี้ ศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีฯ้ ได้สอนเกมให้กบั กลุ่มเป้าหมายโดยตรง ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่มีความแตกต่าง ในด้ า นอายุ การศึ ก ษา และอาชี พ เพื่ อ ประโยชน์ ในการประเมิน รวมทั้งศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาเกม และได้จัดทำ�หนังสือสื่อการสอนเป็นภาพการ์ตูนวีดิทัศน์ และอินโฟกราฟิก ไว้ประกอบการสอนด้วย
คาดหวังกับการปรับเปลี่ยนการบริการภาครัฐอย่างไร
ศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีฯ้ ได้ปรับเปลีย่ นการให้ความรูใ้ นแบบเดิมเป็นการบริการ ภาครัฐแนวใหม่โดยมุง่ เน้นการสร้างโอกาสความเท่าเทียมกันใน 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางแรก เป็นการปรับเปลีย่ นบริการภาครัฐเดิมแบบสัง่ การจากบนลงล่าง โดยเจ้าหน้าทีร่ ฐั เป็นผูใ้ ห้ความรูก้ บั ประชาชนโดยวิธกี ารสอน อบรม สัมมนาตามรูปแบบ ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบเกม The Choice เป็นการสื่อสารที่ประชาชนทุกคน มีสว่ นร่วมในการเรียนรูม้ ากขึน้ แนวทางที่สอง การดำ�เนินการโดยรัฐก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายค่าจ้างบุคลากร และการดำ�เนินงานทีส่ งู เป็นรูปแบบทีเ่ ป็นทางการเกินไป จึงเน้นการสนับสนุนเครือข่าย ในภาคประชาสังคม ภาคประชาชน สถาบันการศึกษา เป็นผูด้ ำ�เนินการเพราะเป็น หน่วยทีใ่ กล้ชดิ และสัมผัสรับรูป้ ญ ั หาประชาชนสามารถยึดโยงสร้างการมีสว่ นร่วม กับประชาชนได้ โดยศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ฯ เป็นหน่วยงานกลางที่ประสาน ความร่วมมือกับเครือข่าย แนวทางที่ ส าม กระทรวงยุ ติธ รรมควรสร้ า งกลไกและรู ป แบบการให้ ความช่วยเหลือผู้ยากไร้ท่ไี ม่ได้รับความเป็นธรรมในระดับชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด ให้มคี วามรวดเร็วและทันท่วงที กรณีเกิดเหตุเกีย่ วพันในหลายพืน้ ทีซ่ ง่ึ จะต้องบูรณาการ หลายหน่วยงานเพือ่ แก้ไขปัญหาในองค์รวม หรือเกินขีดความสามารถของหน่วยงาน ในพื้นที่ควรจะมีหน่วยงานส่วนกลางเพื่อเข้าไปแก้ไขปัญหาโดยตรง เช่น กรณี เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำ�นวนกว่า 1,000 ราย ถูกสหกรณ์แห่งหนึง่ ฟ้องร้องให้ชำ�ระค่าปุย๋ อินทรีย์ รวมมูลหนีก้ ว่า 50 ล้านบาท โดยมีการปิดบังอำ�พราง การทำ�สัญญาและคุณภาพปุย๋ ตา่ํ กว่ามาตรฐาน จึงได้ดำ�เนินมาตรการทางอาญาและ การช่วยเหลืออำ�นวยความยุตธิ รรมทางคดีแพ่งให้กบั กลุม่ เกษตรกรควบคูก่ บั การให้ ความรูท้ างด้านกฎหมาย จะทำ�ให้ผดู้ อ้ ยโอกาสได้เข้าถึงบริการภาครัฐมากยิง่ ขึน้
อะไรคือปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ?
(1) The Choice เป็นเครือ่ งมือการเรียนรูช้ วี ติ ทีเ่ ข้าใจง่าย สามารถเข้าถึงผูเ้ ล่น ทุกกลุ่ม เนื้อหา ภาพ เทคนิค กระบวนการที่ใช้ในการเล่นและเรียนรู้ผ่านเกม เป็นการสือ่ สารข้อมูลสูผ่ เู้ ล่นได้อย่างชัดเจน ถูกต้องและสนุกสนาน ดงั นัน้ การนำ�เอา เรือ่ งราวต่าง ๆ จากผูท้ ม่ี ปี ระสบการณ์ในการเป็นหนีใ้ นรูปแบบต่าง ๆ มาใช้เป็น แกนของเกม เพือ่ ให้ผเู้ ล่นได้เรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์จริงของผูอ้ น่ื และสามารถใช้เป็น บทเรียนในการตัดสินใจในอนาคตได้ น่าจะเป็นทิศทางทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ (2) การสร้างเครือข่ายภาครัฐ สถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน ให้มสี ว่ นร่วมกับการจัดการกระบวนการเรียนรู้ “The Choice” เพือ่ ให้ผยู้ ากไร้และด้อยโอกาสได้เรียนรูเ้ พือ่ พัฒนาตัวเอง และเรียนรูใ้ นการป้องกัน (3) กลไกการให้ความเป็นธรรมของภาครัฐเชื่อมโยงชุมชน เพื่อช่วยเหลือ ผูด้ อ้ ยโอกาสทางด้านกฎหมายและการเข้าถึงความเป็นธรรมอย่างรวดเร็วและทันท่วงที
ยั่งยืนอย่างไร?
การสร้างเครือข่ายเพือ่ นำ�เกมไปขยายผลต่อในพืน้ ทีโ่ ดยภาคประชาชนมีสว่ นร่วม จะเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน เรายังคงเฝ้าติดตามประเมินผล เพื่อพัฒนาเกมและรูปแบบการให้ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องเพื่อนำ�ไปแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดในอนาคต ทีก่ ล่าวมาเป็นความคาดหวังต่อ The Choice เกมทางเลือก-ทางรอด ซึง่ เราอยากให้เป็นเกมสือ่ การเรียนรูข้ องคนทัง้ ประเทศ Justice Magazine Ministry of Justice
61
เรื่องต้องรู้
นางสาวปรานี สุขศรี ผู้อำ�นวยการกลุ่มเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการ และวารสารสำ�นักวิจัยและวิชาการ สำ�นักงานศาลปกครอง
หน่วยงานของรัฐ “มีสิทธิ” แต่การใช้สิทธิ สร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น...ต้องรับผิด !! เป็นโอกาสอันดีทส่ี �ำ นักงานศาลปกครองได้มสี ว่ นร่วมในการเผยแพร่ ความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมายปกครอง จากคดีพพิ าททางปกครองซึง่ เป็น ข้อพิพาททีอ่ ยู่ในอำ�นาจของ “ศาลปกครอง” ใน “วารสารยุตธิ รรม” คอลัมน์ “เรือ่ งต้องรู”้ นั บ แต่ นี้ ต่ อ ไป สำ�นั ก งานศาลปกครองจะได้ นำ�ความรู้ ที่ มี เ นื้ อ หาสาระ เกี่ยวกับข้อพิพาททางปกครองที่ศาลปกครองได้มีคำ�พิพากษาแล้ว มานำ�เสนอ ในรู ป แบบ “อุ ท าหรณ์ จ ากคดี ป กครอง” ที่ ผู้ อ่ า นสามารถทำ�ความเข้ า ใจ ได้ง่ายและนำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ทั้งในด้านการปกป้องคุ้มครองสิทธิของตน จากการใช้อำ�นาจของฝ่ายปกครอง และหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐสามารถนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการที่ดีเพื่อให้การบริหาร ราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับการคุ้มครองสิทธิ อย่างถูกต้องและเป็นธรรม ดังเช่นอุทาหรณ์จากคดีปกครองเรือ่ งแรกทีจ่ ะนำ�มาฝากในฉบับนี ้ เป็นข้อพิพาท อันเกิดจากการทีอ่ งค์การบริหารส่วนจังหวัด (หน่วยงานทางปกครอง ตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542) ใช้อำ�นาจดำ�เนินกิจการตามพระราชบัญญัตอิ งค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 โดยก่อสร้างคลองส่งนํ้าในพื้นที่สาธารณะ แต่ทำ�ให้เอกชนซึ่งเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์
62
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ในที่ ดิ น ได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นเสี ย หายจากนํ้า ท่ ว มขั ง พื้นที่ทำ�นาและพืชผลทางการเกษตร ทั้งยังทับเส้นทาง เดิ น ที่ ผ่ า นเข้ า ออกสู่ ท างสาธารณะเนื่ อ งจากคลอง มีความสูงจากระดับพื้นดินปกติประมาณ 2 เมตร เมื่อเอกชนผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ให้ดำ�เนินการแก้ไข แต่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ไม่ ดำ�เนิ น การแก้ ไข จึ ง นำ�คดี ม าฟ้ อ งต่ อ ศาลปกครอง โดยฟ้ อ งองค์ ก าร บริหารส่วนจังหวัด เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด เป็ น ผู้ ถู ก ฟ้ อ งคดี ที่ 2 และมี คำ�ขอให้ ศาลปกครองมีคำ�พิพากษาให้ผ้ถู ูกฟ้องคดีจัดทำ�เส้นทาง สั ญ จร และแก้ ไขคลองพิ พ าทโดยวางท่ อ ระบายนํ้ า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร ค ดี นี้ มี ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ที่ รั บ ฟั ง เ พื่ อ ยุ ติ เ กี่ ย ว กั บ การดำ�เนินการแก้ไขปัญหา คือ • องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้แต่งตัง้ คณะกรรมการ เสนอแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ น และต่อมาคณะกรรมการฯ ได้รายงานว่าคลองพิพาท มีแนวคันดินยกระดับสูงประมาณ 1 เมตรถึง 2 เมตร
เรื่องต้องรู้
ยาว 710 เมตร ไม่มีการวางท่อระบายนํ้าเป็นเหตุให้ นํ้ า ท่ ว มพื้ น ที่ ทำ�นาของราษฎรด้ า นเหนื อ นํ้ า จริ ง เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถระบายนํ้ า ได้ แ ละเจ้ า ของพื้ น ที่ รายอื่ น ไม่ ยิ น ยอมให้ ถ มคลองพิ พ าททำ�เป็ น ถนน แต่ เ ห็ น ควรซ่ อ มแซม จั ด หาระบบส่ ง นํ้ า และวางท่ อ ลอดแนวคันดินเพื่อระบายนํ้า • ผูอ้ ำ�นวยการกองช่างได้รายงานผลการตรวจสอบ ข้ อ เท็ จ จริ ง ว่ า ปั จ จุ บั น คลองพิ พ าทมี ส ภาพชำ�รุ ด ใช้ ป ระโยชน์ ไ ม่ ไ ด้ เนื่ อ งจากราษฎรทุ บ ขุ ด เจาะ เพื่อระบายนํ้าท่วมขังในพื้นที่ทำ�นา • องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ตั้งงบประมาณ รายจ่ า ยเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ เป็ น ค่ า ปรั บ ปรุ ง ระบบส่ ง นํ้ า โดยในส่ ว นของงานวางท่ อ คอนกรี ต อั ด แรงกำ�หนด เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ 0.60 เมตร ต่อมาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดได้ยกเลิกโครงการ โดยผู้ฟ้องคดีได้คัดค้านว่า แนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเป็นแนวทางที่ไม่อาจ แก้ ไ ขปั ญ หานํ้ า ท่ ว มขั ง ในพื้ น ที่ ข องผู้ ฟ้ อ งคดี ไ ด้ แต่ ผู้ ฟ้ อ งคดี ก็ ไ ม่ ไ ด้ เ สนอแนวทางการแก้ ไขปั ญ หา ตามที่ผู้ฟ้องคดีประสงค์ ปั ญ หา คื อ การที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ก่ อ ส ร้ า ง ค ล อ ง พิ พ า ท เ ป็ น ก า ร ก ร ะ ทำ� ล ะ เ มิ ด ต่อผู้ฟ้องคดีหรือไม่ หากเป็นการกระทำ�ละเมิด องค์การบริหารส่วนจังหวัด ต้ อ งดำ�เนิ น การอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง เพื่ อ แก้ ไขเยี ย วยา ความเดือดร้อนเสียหายให้แก่ผู้ฟ้องคดีหรือไม่ ? ทั้งที่การดำ�เนินการก่อสร้างคลองส่งนํ้าเพื่อจัดให้ มี ร ะบบส่ ง นํ้ า เป็ น อำ�นาจหน้ า ที่ ข ององค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นจั ง หวั ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ อ งค์ ก ารบริ ห าร ส่ ว นจั ง หวั ด พ.ศ. 2540 ในที่ ส าธารณประโยชน์ และผู้ ฟ้ อ งคดี ไ ด้ คั ด ค้ า นการซ่ อ มแซมคลองพิ พ าท ดังกล่าว ศาลปกครองสู ง สุ ด วิ นิ จ ฉั ย ว่ า เมื่ อ ปรากฏ ข้อเท็จจริงว่า ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นฟ้องศาลจังหวัดเพื่อขอให้ เจ้ า ของที่ ดิ น ที่ ต นเองใช้ เ ป็ น ทางเดิ น ผ่ า นเข้ า ออก
สู่ ท างสาธารณะเปิ ด ทางจำ�เป็ น ให้ และต่ อ มาได้ มี ก ารจดทะเบี ย นภาระ จำ�ยอมในโฉนดที่ ดิ น ของเจ้ า ของที่ ดิ น ดั ง กล่ า ว โดยผู้ ฟ้ อ งคดี ส ามารถใช้ เป็ น ทางเข้ า ออกสู่ ส าธารณะได้ ประกอบกั บคลองพิ พ าทได้ ก่ อ สร้า งบริเวณ แนวเขตที่ดินที่มิใช่ที่ดินของเจ้าของที่ดินที่ผู้ฟ้องคดีได้จดทะเบียนภาระจำ�ยอม การก่ อ สร้ า งคลองพิ พ าทจึ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผลทำ�ให้ ผู้ ฟ้ อ งคดี ไ ม่ ส ามารถเข้ า ออก สู่ทางสาธารณะได้ แต่ เ มื่ อ รั บ ฟั ง ได้ ว่ า การก่ อ สร้ า งคลองพิ พ าทส่ ง ผลให้ เ ป็ น การปิ ด กั้ น ทางนํ้ า ไหล และไม่ ไ ด้ จั ด ทำ�ท่ อ ระบายนํ้ า เพื่ อ ระบายนํ้ า จากที่ สู ง ลงสู่ ที่ ตํ่ า โดยสะดวก เป็ น เหตุ ทำ�ให้ นํ้ า ท่ ว มนาข้ า วและพื ช ผลทางการเกษตร ของผู้ ฟ้ อ งคดี แ ละราษฎรรายอื่ น เสี ย หาย จึ ง เป็ น การใช้ สิ ท ธิ ที่ มี แ ต่ จ ะให้ เกิ ด ความเสี ย หายแก่ บุ ค คลอื่ น อั น เป็ น การกระทำ�อั น มิ ช อบด้ ว ยกฎหมาย ตามมาตรา 421 แห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ จึ ง เป็ น การ ละเมิ ด ต่ อ ผู้ ฟ้ อ งคดี แต่ เ มื่ อ ผู้ ฟ้ อ งคดี ไ ม่ ไ ด้ เ สนอเอกสารพยานหลั ก ฐาน ต่ อ ศาลเกี่ ย วกั บ แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา จึ ง รั บ ฟั ง ได้ ว่ า แนวทาง การแก้ ปั ญ หาที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด เสนอสามารถแก้ ไขปั ญ หาได้ จึ ง เห็ น ควรให้ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ดำ�เนิ น การวางท่ อ ระบายนํ้ า เพื่ อ มิ ใ ห้ นํ้ า ไหลท่ ว มที่ ดิ น ของผู้ ฟ้ อ งคดี โดยวางท่ อ ระบายนํ้ า ให้ มี ขนาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางท่ อ ไม่ น้ อ ยกว่ า 0.60 เมตร ตามแนวทาง ที่ อ งค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด เสนอ (คำ�พิ พ ากษาศาลปกครองสู ง สุ ด ที่ อ.1848/2559) คำ�พิพากษาศาลปกครองสูงสุดในคดีนี้ ถือว่าเป็นบรรทัดฐานการปฏิบัติ ราชการที่ ดี เ กี่ ย วกั บ การดำ�เนิ น การตามอำ�นาจหน้ า ที่ ข องหน่ ว ยงานของรั ฐ ซึ่ ง แม้ ว่ า กฎหมายจะอนุ ญ าตให้ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะดำ�เนิ น การอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดได้ เพื่อประโยชน์สาธารณะก็ตาม แต่การใช้สิทธินั้นจะต้องคำ�นึงถึงความเสียหาย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น แก่ เ อกชนด้ ว ย เพราะถึ ง แม้ ว่ า จะมี สิ ท ธิ ดำ�เนิ น การได้ แต่ ห าก การใช้สิทธินั้นไปกระทบต่อสิทธิของผู้อื่น ทำ�ให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นนั้น ย่ อ มถื อ ได้ ว่ า เป็ น การกระทำ�ละเมิ ด และต้ อ งชดใช้ ค่ า เสี ย หายให้ แ ก่ ผู้ เ สี ย หาย นอกจากนี้ คดี นี้ ยั ง เป็ น อุ ท าหรณ์ ที่ ดี สำ�หรั บ เอกชนที่ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นเสี ย หายว่ า จะต้ อ งแสดงพยานหลั ก ฐานที่ เ ห็ น ว่ า สำ�คั ญ เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยของศาลด้วย เพราะในการดำ�เนินคดีปกครอง ในศาลปกครอง กระบวนพิจารณาจะทำ�ในรูปลายลักษณ์อกั ษร พยานหลักฐาน อั น เป็ น เอกสารที่ โ ต้ ต อบระหว่ า งคู่ ก รณี ใ นสำ�นวนคดี ถื อ ว่ า มี ค วามสำ�คั ญ อย่างมาก แม้ว่ากระบวนวิธีพิจารณาคดีของศาลปกครองจะใช้ “ระบบไต่สวน” (ซึ่ ง แตกต่ า งจากกระบวนวิ ธี พิ จ ารณาคดี ใ นศาลยุ ติ ธ รรมซึ่ ง ใช้ “ระบบ กล่ า วหา”) โดยตุ ล าการจะเป็ น ผู้ ทำ�หน้ า ที่ แ สวงหาข้ อ เท็ จ จริ ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ เท็ จ จริ ง ในคดี โ ดยครบถ้ ว น ไม่ ยึ ด ติ ด อยู่ กั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง เพี ย งเท่ า ที่ คู่ ก รณี (คู่ ค วาม) นำ�เสนอหรื อ กล่ า วอ้ า งเท่ า นั้ น ก็ ต าม แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ระบบ วิ ธี พิ จ ารณาคดี ข องศาลปกครองก็ ยั ง เปิ ด โอกาสให้ คู่ ก รณี มี สิ ท ธิ โ ต้ แ ย้ ง คัดค้านการนำ�เสนอหรือกล่าวอ้างของคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งเสมอตามหลักการ รั บ ฟั ง ความสองฝ่ า ย ดั ง นั้ น หากคู่ ก รณี มี พ ยานหลั ก ฐานที่ ค วรโต้ แ ย้ ง หรื อ สนั บ สนุ น ความเห็ น อั น เป็ น ประโยชน์ ต่ อ ผลคดี ก็ ส มควรที่ จ ะเสนอ ต่ อ ศาลให้ ป รากฏในสำ�นวนคดี เ พื่ อ ให้ ศ าลใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณา เพื่อความเป็นธรรมต่อไป Justice Magazine Ministry of Justice
63
ภาษายุติธรรม
กองบรรณาธิการ
รู้เรื่องศัพท์กฎหมาย
ผ่านภาพยนตร์
โลกของภาพยนตร์สามารถจำ�แนกได้หลายประเภท ใครมีรสนิยม แบบไหนก็เลือกทำ�เลือกดูได้ตามใจปรารถนา โดยหนึ่งในประเภทของ ภาพยนตร์ซึ่งเป็นแนวที่นิยมสร้าง มีกลุ่มคนดูจำ�นวนมาก และโดดเด่น บนเวทีภาพยนตร์ระดับสากลตลอดมาคือ ประเภทสืบสวนสอบสวน อันมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมในรูปแบบต่าง ๆ นั่นเอง ผู้อ่านหลาย ๆ ท่าน ที่ชื่นชอบการชมภาพยนตร์ ทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วข้องกับกฎหมาย กระบวนการยุตธิ รรม การดำ�เนินคดีในชั้นศาล อาจจะเคยได้ยินคำ�ศัพท์ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ ดังกล่าว ดังนั้น เพื่อเป็นการเอาใจท่านผู้อ่านที่เป็น คอภาพยนตร์ ก ฎหมาย คอลั ม น์ ภ าษายุ ติ ธ รรม จึ ง ได้ ร วบรวมคำ�ศั พ ท์ บ างส่ ว นที่ มั ก พบได้ บ่ อ ย ในภาพยนตร์ ที่ มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม มาบอกเล่าไว้ในที่นี้ เริ่มจากภาพยนตร์เรื่อง The Lincoln Lawyer1 ซึ่งจากชื่อเรื่องในคำ�ว่า Lawyer (อ่านว่า ลอ’เยอะ) เป็นคำ�นาม หมายถึง ทนายความ จึงเป็นที่ค่อนข้าง จะแน่ชัดว่า ภาพยนตร์ดังกล่าว เป็นเรื่องราวของ ทนายจำ�เลยในคดีอาชญากรรม ทต่ี ลอดชีวติ การทำ�งาน ของเขาเป็ น ทนายความแก้ ต่ า งให้ กั บ อาชญากร มากหน้าหลายตา หลากคดี แต่นอกจากคำ�ว่า Lawyer ยังมีคำ�ว่า attorney-at-law (อ่านว่า อะเทอ’ นี แอทลอ) เป็นคำ�นาม มีความหมายว่า ทนายความ เช่นเดียวกัน เรือ่ งต่อไปคือ The Client2 เป็นภาพยนตร์เกาหลี ระทึกขวัญ เนื้อหาเกี่ยวกับทนายความที่พยายาม จะปกป้องคนที่ถูกกล่าวหาอย่างไม่ยุติธรรม โดยชาย ทีช่ อื่ ว่า “ฮัน” ต้องตกเป็นผูต้ อ้ งหาฆาตรกรรมภรรยา ของตัวเอง พร้อมทัง้ ตกเป็นเหยือ่ การฉ้อฉลของระบบ อัยการทีจ่ ะเป็นคนชีเ้ ป็นชีต้ ายให้กบั คดี และการตามล่า หาความจริงการต่อสูใ้ นชัน้ ศาลเพือ่ ทำ�ให้เขาหลุดพ้น จากเรื่องร้ายที่ไม่ได้เป็นผู้ก่อ
64
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
จากเรื่องย่อของ The Client จะพบคำ�ศัพท์หลัก ที่น่าสนใจคือ คำ�ว่า murder (อ่านว่า เมอ’เดอะ) เป็นคำ�นามที่มีความหมายว่า ฆาตกรรม แต่หากเป็น คำ�กริยา (v.) คือ กระทำ�ฆาตกรรม ฆ่าคน ทำ�ลาย สั ง หาร ส่ ว นคำ�ว่ า murderer เป็ น คำ�นามที่ มี ความหมายว่า ฆาตกร, คนร้าย, มือสังหาร, นักฆ่า นอกจากนี้ ภาพยนตร์ดังกล่าวยังเป็นเรื่องที่มี ฉากเกี่ยวกับการว่าความในศาลและระบบอัยการ ซึ่งมีคำ�ศัพท์ที่น่าสนใจอีกมากมาย อาทิ คำ�ว่ า prosecutors (อ่ า นว่ า พรอส เซอร์ คิ้ว เตอร์) หมายถึง อัยการ และ proceeding (อ่ า นว่ า พระซี ’ ดิ ง ) เป็นคำ�นาม ซึง่ หมายถึง กระบวนการพิจารณาในศาล หรือการพิจารณาคดี และยั ง พบคำ�ว่ า court (อ่ า นว่ า คอร์ ท ) เป็นคำ�นาม แปลว่า ศาล อยู่บ่อยครั้งในภาพยนตร์ ที่มีฉากเกี่ยวกับการว่าความหรือพิพากษาของศาล ทั้งนี้ ยังมีคำ�ว่า federal court หรือ trial court หมายถึ ง ศาลชั้ น ต้ น คำ�ว่ า court of appeal หมายถึง ศาลอุทธรณ์ และคำ�ว่า supreme court หมายถึง ศาลฎีกา ส่วนภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ที่หยิบยกมานำ�เสนอนั้น คือ Anatomy of a Murder3 เป็นภาพยนตร์ว่าด้วย คดีฆาตกรรม ด้วยความแค้นที่ชายหนุ่มเจ้าของบาร์ ข่ ม ขื น ภรรยาตั ว เอง ฝ่ า ยจำ�เลยพยายามอ้ า งว่ า ขณะก่อเหตุจิตฟั่นเฟือน ซึ่งทนายฝ่ายจำ�เลยก็ต้อง พยายามพิ สู จ น์ ใ ห้ ไ ด้ ว่ า เหตุ ข่ ม ขื น เกิ ด ขึ้ น จริ ง
ภาษายุติธรรม
ความเข้มข้นในศาลจึงดุเดือดมากเพราะทั้งทนาย และอั ย การโต้ แ ย้ ง กั น แน่ น ด้ ว ยพยานแวดล้ อ ม พยานบุคคล พยานผู้เชี่ยวชาญและข้อกฎหมาย มาว่ า กั น ถึ ง คำ�ศั พ ท์ จ ากภาพยนตร์ เ รื่ อ งนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับ crime (อ่านว่า ไครมฺ) ซึ่งเป็นคำ�นาม แปลว่า อาชญากรรม และมีคำ�ที่โดดเด่นในเรื่องของ “พยาน” witness (อ่านว่า วิท’นิส) เป็นคำ�นาม หมายถึง พยาน หรือ พยานบุคคล evidence (อ่านว่า เอฟ’วิเดินซฺ) เป็นคำ�นาม แปลว่า พยานเอกสาร หรือ หลักฐาน แต่หากเป็น การสืบพยาน, ไต่ สวน, รับฟังพยาน คือ hearing of evidence ส่วนคำ�ว่า suppression of evidence จะหมายถึง การหักล้างพยาน testify (อ่ า นว่ า เทส’ทะไฟ) เป็ น คำ�กริ ย า แปลว่า ให้การเป็นพยาน preponderance (อ่านว่า พรีพอน’เดอะเรินซฺ) เป็นคำ�นาม หมายถึง การชั่งนํ้าหนักพยาน อย่างไรก็ตาม หากเป็นภาพยนตร์ที่มีเรื่องราว เกี่ยวกับการว่าความพิจารณาคดีในศาล คำ�ศัพท์ ที่ได้ยินอยู่บ่อยครั้ง คือ defendant (อ่านว่า ดิเฟน’เดินทฺ) เป็นคำ�นาม แปลว่า จำ�เลย plaintiff (อ่ า นว่ า เพลน’ทิ ฟ ) เป็ น คำ�นาม หมายถึง โจทก์ หรือ ผู้ร้องทุกข์ lawsuit (อ่านว่า ลอ’ซูท) เป็นคำ�นาม หมายถึง คดีความ, การฟ้องร้องคดี judgment (อ่านว่า จัดจฺ’เมินทฺ) เป็นคำ�นาม หมายถึ ง การตั ด สิ น , การพิ จ ารณา, คำ�ตั ด สิ น , คำ�พิพากษา คำ�ศั พ ท์ ที่ ค อลั ม น์ ภ าษายุ ติ ธ รรมหยิ บ ยกมา นำ�เสนอนั้ น เป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ของคำ�ศั พ ท์ ที่ มั ก พบได้ บ่ อ ยในภาพยนตร์ เ กี่ ย วกั บ กฎหมาย คดีความ การพิพากษาของศาลตามกระบวนการ ยุติธรรม ซึ่งยังมีคำ�ศัพท์ในหมวดต่างๆ ที่น่าสนใจ อี ก มากมาย โดยสามารถติ ด ตามได้ ใ นวารสาร ยุติธรรมฉบับต่อ ๆ ไป ข้อมูลจาก 1 http://movie.kapook.com/view25894.html 2 http://www3.mampost.com/movie/inter/view/The-Client/ 3 https://pantip.com/topic/30254855 https://dict.longdo.com http://www.csel.ago.go.th/index.php/th/2014-08-20-03-34-10/110-public-prosecutor https://www.facebook.com/permalink.php?id=275405659233451&story_fbid=291282697645747 https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/2/2f/AnatomyMurder2.jpg http://www.bloggang.com/data/g/goldie/picture/1318345048.jpg
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
บรรยายพิเศษ “การอำ�นวยความยุติธรรม และลดความเหลื่อมล้ำ�ในสังคม” นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม บรรยายพิเศษหัวข้อ “การอำ�นวยความยุติธรรมและ ลดความเหลือ่ มลา้ํ ในสังคม” ในโครงการฝึกอบรมการพัฒนา ข้าราชการพลเรือนทีอ่ ยูร่ ะหว่างทดลองปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการ ส่วนที่ 3 หลักสูตรการเป็นข้าราชการทีด่ ี รุน่ ที่ 18 เพือ่ ให้ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับแนวทาง การปฏิบตั ริ าชการ และสามารถนำ�ความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปประยุกต์ ใช้ในการปฏิบตั งิ านได้อย่างเหมาะสม ณ โรงแรม เดอะไทด์ รีสอร์ท อำ�เภอเมือง จังหวัดชลบุรี
ต้อนรับเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจำ�ประเทศไทย นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุตธิ รรม ให้การต้อนรับ H.E.Mr.Glyn T. Davies เอกอัครราชทูต สหรัฐอเมริกาประจำ�ประเทศไทย พร้อมคณะ เข้าเยี่ยม คารวะเนื่องในโอกาสที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เข้ารับตำ�แหน่งหน้าทีใ่ หม่ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ประชุมคณะอนุกรรมการปฏิรูปกิจการตำ�รวจ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการปฏิรูปกิจการ ตำ�รวจ ครัง้ ที่ 1/2560 เพือ่ พิจารณาผลการศึกษาเกีย่ วกับ การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคล การพัฒนาระบบ ค่าตอบแทน และข้อเสนอในการปฏิรูปกิจการตำ�รวจ ของคณะกรรมการ คณะกรรมาธิการสำ�นักงานตำ�รวจ แห่งชาติ ณ ห้องประชุมกระทรวงยุติธรรม 2 ชั้น 8 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
66
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
ร่างแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 5 นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยติธรรม ในฐานะผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ประจำ�กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดการสัมมนา ประชาพิจารณ์ (ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. 2560 - 2563 (แผนปฏิบตั กิ ารดิจทิ ลั กระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. 2560 - 2564) เพือ่ เปิดการรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ณ ห้องประชุมบีบี 201 ชัน้ 2 โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
จัดเวิร์กช็อปทำ�ผลงานเพื่อเสนอรับรางวัล บริการภาครัฐแห่งชาติ และรางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารจัดทำ�ผลงานเพือ่ เสนอ รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และรางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม ประจำ�ปี พ.ศ. 2560 จากสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อันเป็น การแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ณ โรงแรมเทวาบูตคิ โฮเทล ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
ประชุมคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ครั้งที่ 1/2560 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ครั้งที่ 1/2560 ซึ่งที่ประชุมได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ กรอบโครงสร้างอัตรากำ�ลังสำ�นักงาน กองทุ น ยุ ติธ รรม การกำ�หนดแนวทางสรรหาพนัก งาน กองทุนยุติธรรม การพิจารณาหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ ผู้ถูก ละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนฯ โครงการด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศฯ และการจัดสรรเงินงบบริหารให้สำ�นักงาน ยุตธิ รรมจังหวัด ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 1 ชัน้ 9 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
Justice Magazine Ministry of Justice
67
นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
รอบรู้เรื่องอาเซียน
ทรัมป์ กับ อาเซียน
จับตานโยบายของโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีคนใหม่ ของสหรัฐอเมริกา กับผลกระทบ ในด้านเศรษฐกิจ ความมั่นคง รวมไปถึง กรอบความร่วมมืือต่าง ๆ ต่อประชาคมอาเซียน ภายหลังจากทราบผลการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกาในเดือนพฤศจิกายน 2559 ที่ผ่านมา ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความกั ง วลกั น อย่ า งมากเกี่ ย วกั บ แนวนโยบายการต่างประเทศที่นายโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ ป ระกาศเอาไว้ ว่ า จะถอนตั ว จากความตกลง หุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจภาคพืน้ แปซิฟกิ (Trans-Pacific Partnership : TPP) แล้วหันไปทำ�ข้อตกลงการค้า เป็ น รายประเทศแทน โดยยึ ด ถื อ ผลประโยชน์ ของแรงงานชาวอเมริกนั เป็นสำ�คัญ เนือ่ งจากมองว่า TPP ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและ จะทำ�ให้คนอเมริกนั ตกงานมากยิง่ ขึน้ และเมือ่ เข้ามา ดำ�รงตำ�แหน่งประธานาธิบดีในเดือนมกราคม 2560 นายโดนัลด์ ทรัมป์ก็ได้ลงนามในคำ�สั่งฝ่ายบริหาร (executive order) เพื่อถอนตั ว ออกจาก TPP ไปเรี ย บร้ อ ยแล้ ว และในช่ ว งเวลาใกล้ เ คี ย งกั น ก็มกี ารเสนอร่างกฎหมาย American Sovereignty Restoration Act of 2017 โดย ส.ส. รัฐอลาบามา ชือ่ นายไมค์ โรเจอร์ เพือ่ ปรับลดการให้เงินสนับสนุน แก่องค์การสหประชาชาติ ซึง่ ก็นำ�มาสูก่ ารพูดถึงการ ถอนตั ว ออกจากสหประชาชาติ หรื อ Amexit อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา นอกจากนี้ ยังได้มี การสั่ ง ให้ เ ริ่ ม ก่ อ สร้ า งกำ�แพงกั้ น ตลอดแนว ชายแดนระหว่างสหรัฐอเมริกากับเม็กซิโก เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพให้แก่นโยบายควบคุมพรมแดนและ
68
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ผูอ้ พยพผิดกฎหมายอีกด้วย ซึง่ ล้วนแต่เป็นการดำ�เนินการ ทีส่ ร้างกระแสวิพากษ์วจิ ารณ์ไปทัว่ ประเทศและทัว่ โลก ท่าทีของสหรัฐอเมริกาที่เปลี่ยนแปลง 180 องศา ในการดำ�เนินความสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ จากการ ส่งเสริมความร่วมมือในรูปแบบเขตการค้าเสรี มาเป็น การลดบทบาทในภูมภิ าคต่าง ๆ ลง และพร้อมจะถอนตัว จากความตกลงต่าง ๆ ทันทีหากเห็นว่าสหรัฐอเมริกา เสียเปรียบนั้นก็นำ�มาซึ่งความปั่นป่วน และสงสัยถึงผล ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ไปในอนาคต รวมถึ ง สถานะของ กรอบความร่วมมืออื่น ๆ ซึ่งขณะนี้อาจยังไม่สามารถ จะบอกอะไรได้ ม ากนั ก แต่ เ ท่ า ที่ไ ด้ สำ�รวจความเห็ น จากบทความต่ า ง ๆ ก็ มี ท้ั ง ที่ เ ห็ น ว่ า จะเป็ น โอกาส ของอาเซี ย นในการขยายขอบเขตความร่ ว มมื อ ไปสู่ อาเซียน +6 หรือความตกลงหุน้ ส่วนทางเศรษฐกิจระดับ ภู มิ ภ าค (RCEP) และมี ท่ี เ ห็ น ว่ า อาเซี ย นอาจเสี ย ผลประโยชน์จากการลดความช่วยเหลือของสหรัฐอเมริกา และจีนก็จะเข้ามามีอทิ ธิพลในประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน มากยิง่ ขึน้ ซึง่ จะทำ�ให้การถ่วงดุลอำ�นาจในภูมภิ าคเสียไป รวมทัง้ ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาเกีย่ วกับโรฮิงญา ก็ จ ะหายไปเช่ น กั น แต่ ยั ง มี ค วามเห็ น อี ก ด้ า นหนึ่ ง ทีม่ องว่า อาจไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงอะไรมากนักเนือ่ งจาก สหรั ฐ อเมริ ก ายั ง คงต้ อ งคงความสั ม พั น ธ์ กั บ อาเซี ย น ไว้ เ พื่ อ ถ่ ว งดุ ล จี น โดยเฉพาะกั บ 4 ประเทศที่ มี ก าร เรียกร้องสิทธิในหมูเ่ กาะต่าง ๆ ในทะเลจีนใต้ (เวียดนาม
รอบรู้เรื่องอาเซียน
มาเลเซีย บรูไน และฟิลปิ ปินส์) และยังต้องรักษาการค้า และการลงทุนในอาเซียนเอาไว้ รวมทัง้ กรอบความร่วมมือ ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นการประชุมสุดยอดระหว่างอาเซียนกับ สหรัฐอเมริกา และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) ที่สหรัฐอเมริกาได้มา เข้าร่วมด้วยก็จะยังคงอยูต่ อ่ ไป เพียงแต่การดำ�เนินการต่าง ๆ อาจเป็นในระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสเป็นหลัก สำ�หรับประเทศไทยนัน้ อาจไม่ได้รบั ผลกระทบมากนัก เนื่องจากประเทศไทยยังไม่ได้เข้าร่วม TPP และอาจได้ รับผลดีเสียด้วยซํา้ จากการทีป่ ระเทศเวียดนาม สิงคโปร์ บรู ไ น และมาเลเซี ย ที่เข้ า ร่ ว ม TPP จะไม่ ไ ด้ รับ สิ ท ธิ ประโยชน์ ใ นการส่ ง ออกสิ น ค้ า ไปยั ง สหรั ฐ อเมริ ก า มากไปกว่ า ประเทศไทย และประเทศไทยก็ ยั ง มี ข้อได้เปรียบในการเป็นศูนย์กลางในการเชือ่ มโยงภูมภิ าค และการกดดั น เกี่ ย วกั บ ประเด็ น สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และประชาธิปไตยในประเทศไทยที่เคยถูกนำ�มาใช้เป็น ส่วนหนึง่ ของการกีดกันทางการค้าก็นา่ จะลดลง หลายฝ่าย จึงมองว่าประเทศไทยเองน่าจะได้ประโยชน์จากนโยบาย ของนายโดนัลด์ ทรัมป์มากกว่าจะเสียประโยชน์ ซึ่งเห็น ได้จากการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้กล่าวว่า สิ่งที่จะดำ�เนินการต่อจากนี้ คือ การผลักดันความตกลง หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ที่เริ่มต้น กันมาตัง้ แต่ปี 2555 เป็นกรอบการเจรจาทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก ในขณะทีค่ วามสัมพันธ์กบั สหรัฐอเมริกาจะมุง่ ไปในกรอบ ข้อตกลงการค้าและการลงทุนสหรัฐอเมริกา (Trade and Investment Framework Agreement-TIFA) แทน สำ�หรับความเห็นจากในภาคเอกชนนั้น ส่วนใหญ่ จะมองว่ายังคาดการณ์อะไรได้ไม่มากนัก เพราะการที่ สหรัฐอเมริกาจะขึ้นภาษีสินค้านำ�เข้าเพื่อลดการขาดดุล การค้ า อาจจะส่ ง ผลให้ ป ระเทศไทยส่ ง สิ น ค้ า ไปยั ง สหรัฐอเมริกาได้น้อยลง แต่ถ้าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ขยายตัวสูงขึ้น ก็จะทำ�ให้มีกำ�ลังซื้อสูงขึ้นและอาจนำ�เข้า สิ น ค้ า มากขึ้ น แม้ ว่ า สิ น ค้ า จะมี ร าคาแพงขึ้ น ก็ ต าม ซึ่ ง ผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น นั้ น ก็ น่ า จะขึ้ น อยู่ กั บ ศั ก ยภาพของ ผูป้ ระกอบการแต่ละรายเอง
ทั้งนี้ สิ่งที่จะต้องทำ�ในช่วงนี้น่าจะเป็นการติดตาม การเปลีย่ นแปลงนโยบายต่าง ๆ อย่างใกล้ชดิ และจุดยืน หนึ่ ง ที่ ห ลายฝ่ า ยมองเห็ น ตรงกั น คื อ การจั บ มื อ กับประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนเพื่อสร้างอำ�นาจต่อรอง กับสหรัฐอเมริกา ย่อมดีกว่าการแยกตัวออกจากอาเซียน เพือ่ ไปสร้างความสัมพันธ์ในแบบทวิภาคี ซึง่ ประเทศไทย น่าจะเสียเปรียบอย่างมาก แต่การทำ�ความเข้าใจจุดยืน หรื อ ท่ า ที ข องสหรั ฐ อเมริ ก าในแต่ ล ะประเด็ น ก็ น่ า จะ เป็ น ไปได้ ง่า ยขึ้ น เพราะนั ก วิ ช าการส่ ว นใหญ่ ม องว่ า นายโดนัลด์ ทรัมป์ น่าจะตัดสินใจจากการชั่งน้ําหนัก ระหว่ า งผลได้ ผ ลเสี ย ในเรื่ อ งต่ า ง ๆ โดยไม่ นำ�เอา ค่านิยม หรือแนวคิดเชิงอุดมการณ์มาเป็นองค์ประกอบ อย่ า งไรก็ ต ามหากพิ จ ารณาในภาพรวมจะกลายเป็ น ภาพของความไม่ แ น่ น อนทางนโยบายต่ า งประเทศ และท่าทีต่อประเทศและภูมิภาคต่าง ๆ ที่จะแปรผัน ไปตามผลประโยชน์ ท่ี เ ป็ น รายละเอี ย ดปลี ก ย่ อ ย ในแต่ละเรื่อง ซึ่งน่าจะเป็นเรื่องที่ต้องทำ�ความคุ้นเคย กันใหม่ดว้ ยเช่นกัน
Justice Magazine Ministry of Justice
69
รู้จัก IT
เปลี่ยนแปลงและดีกว่า กับ Anniversary Update
วินโดวส์ 10
ปั จ จุ บั น นั บ เป็ น ยุ ค ของเทคโนโลยี ที่ ก้ า วล้ำ � มุ่ ง เน้ น ตอบสนอง ความต้องการของมนุษย์เป็นสำ�คัญ เช่นเดียวกับ “ไมโครซอฟท์” บริษัทชั้นนำ�แห่งวงการไอที ที่ ได้ต่อยอดความเป็นผู้นำ�ระดับโลก ด้ ว ยการพั ฒ นาระบบปฏิ บั ติ ก ารไมโครซอฟท์ ซึ่ ง ได้ รั บ ความไว้วางใจในการใช้งานจากคนและหน่วยงานองค์กรทัว่ โลกมาแล้ว กว่า 350 ล้านเครื่อง ด้วยการอัปเดต วินโดวส์ 10 ระบบปฏิบัติการ เวอร์ชั่นล่าสุดที่เต็มด้วยประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับการใช้งาน และตอบโจทย์คณ ุ ภาพชีวติ ในยุคเทคโนโลยีกา้ วไกลอย่างไม่หยุดนิง่
ที่มา : https://news.microsoft.com
70
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
บริษทั ไมโครซอฟท์ (Nasdaq “MSFT” @Microsoft) ผู้นำ�ระดับโลกในด้านการพัฒนาแพลตฟอร์มและบริการ ที่มุ่งเสริมประสิทธิภาพการสร้างสรรค์ในโลกยุคโมบาย และคลาวด์ เพื่อขับเคลื่อนทุกคนและทุกองค์กรทั่วโลก ให้บรรลุผลสำ�เร็จทีด่ ี โดยไม่หยุดนิง่ ในการทำ�งานร่วมกับ หน่วยงานภาครัฐและพันธมิตรอย่างต่อเนือ่ ง ในการนำ�พลัง ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุด กับประเทศไทย โดยล่าสุดไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น เปิดตัวอัปเดทสำ�หรับวินโดวส์ 10 ในวาระครบรอบ 1 ปี พร้อมตอกยํ้าความสำ�เร็จของแพลตฟอร์มวินโดวส์ 10 ซึ่ ง มี อั ต ราการเติ บ โตของฐานผู้ ใช้ สู ง ที่ สุ ด ในวิ น โดวส์ ทุกเวอร์ชน่ั ครอบคลุมดีไวซ์แล้วกว่า 350 ล้านเครือ่ งทัว่ โลก วินโดวส์ 10 Anniversary Update ฟีเจอร์ใหม่ ใน Windows 10 Creators Update เมษายน 2560 มาพร้ อ มกั บ นวั ต กรรมมากมายที่ จ ะเสริ ม ศั ก ยภาพ ให้ ผู้ ใ ช้ ม ากกว่ า ปลอดภั ย กว่ า ในโลกออนไลน์ และเพลิ ด เพลิ น ไปกั บ ประสบการณ์ ก ารใช้ ง าน ทีแ่ ปลกใหม่ โดยเมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2560 ไมโครซอฟท์ ได้ปล่อย Windows 10 preview build (15002) ออกมาให้ผู้ที่สนใจได้ทดลองใช้งานกัน โดยได้เพิ่มฟีเจอร์ และลู ก เล่ น เช่ น ฟั ง ก์ ชั น ใหม่ สำ�หรั บ การเขี ย น และวาดภาพด้ ว ยปากกากั บ Windows Ink และเว็ บ เบราว์ เซอร์ Microsoft Edge ซึ่ ง จะปล่ อ ย ออกมาให้ ใช้ ง านจริ ง ใน Windows 10 Creators Update เช่ น Tab Previewใน Microsoft Edge สำ�หรั บ ดู ห น้ า เว็ บ ของแต่ ล ะแท็ บ โดยที่ ไ ม่ ต้ อ งคลิ ก เปลี่ ย นแท็ บ โดยจะช่ ว ยให้ เ ห็ น ตั ว อย่ า งแท็ บ อื่ น ได้
รู้จัก IT
โดยไม่ ต้ อ งเปิ ด หน้ า เบราเซอร์ ขึ้ น มา การเซฟแท็ บ และรีสโตร์แท็บคืนมา หากเผลอปิดทั้งหมดหรือรีสตาร์ท เครื่องโดยไม่ได้ตั้งใจ Microsoft Edge สามารถ Save และ Restore แท็บ หลังปิด แท็บ หรือปิด โปรแกรม แ ล ะ ร อ ง รั บ M i c r o s o f t W a l l e t สำ� ห รั บ ชำ�ระเงินผ่าน Microsoft Account และยังสามารถ ปรับความละเอียดหน้าจอและ DPI ได้สะดวกกว่าเดิม การปรั บ ปรุ ง ระบบ Share ให้ ส ะดวกขึ้ น การหยุ ด Windows Update นานสุด 35 วัน และข้ามการอัพเดต ไดรเวอร์ได้ ฟีเจอร์ความปลอดภัยล่าสุด สำ�หรับวินโดวส์รุ่นที่ ปลอดภัยที่สุด : วินโดวส์ 10 Anniversary Update มาพร้อมกับฟังก์ชนั ใหม่ใน Windows Hello ระบบล็อกอิน ด้วยการจดจำ�ใบหน้า และ Windows Defender โปรแกรม ต้ า นมั ล แวร์ ที่ ติ ด ตั้ ง มาให้ ใ นตั ว ผู้ ใช้ ส ามารถใช้ ร ะบบ ไบโอเมทริ ก ส์ ข อง Windows Hello เพื่ อ ล็ อ กอิ น เข้ า สู่ แ อพและเว็ บ ไซต์ ที่ ร องรั บ ได้ โ ดยไม่ ต้ อ งใช้ พาสเวิร์ด แต่ยังมีมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่ากับ ระดับองค์กร ผ่านทาง Microsoft Edge เบราเซอร์ รายแรกและรายเดียวที่รองรับการรักษาความปลอดภัย ด้ ว ยนวั ต กรรมไบโอเมทริ ก ส์ ซึ่ ง จะปกป้ อ งผู้ ใ ช้ จากมัลแวร์ดว้ ยฟีเจอร์ใหม่ทเ่ี พิม่ ทางเลือกในการเปิดสแกน เครื่ อ งพี ซี อั ต โนมั ติ เ ป็ น ครั้ ง คราว พร้ อ มแจ้ ง เตื อ น สรุ ป ผลเมื่ อ สิ้ น สุ ด การสแกนหรื อ ค้ น พบสิ่ ง ผิ ด ปกติ ในเครื่อง สำ�หรับผู้ใช้ระดับองค์กร วินโดวส์ 10 Anniversary Update ยังต่อยอดระบบความปลอดภัยของ Windows
Defender ด้วยอีกสองฟีเจอร์ใหม่ ได้แก่ Windows Defender Advanced Threat Protection ที่ ค อยตรวจจั บ และตอบสนองต่ อ การจู่ โ จมของ ผู้ ป ระสงค์ ร้ า ยด้ ว ยข้ อ มู ล จากเครื อ ข่ า ยเซนเซอร์ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลก และ Windows Information Protection หรื อ Enterprise Data Protection จะช่วยป้องกันข้อมูลทางธุรกิจไม่ให้รั่วไหล ด้วยการ แยกข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว และข้ อ มู ล ขององค์ ก รออกจากกั น อย่างเป็นสัดส่วน นอกจากนี้ ยังมีฟเี จอร์เล็กน้อยอืน่ ๆ อีกพอสมควร โดยไมโครซอฟท์จะปล่อย Windows 10 Creators Update ให้ ไ ด้ ใช้ ง านกั น ในเดื อ นเมษายน 2560 และจากความเคลื่ อ นไหวในเรื่ อ งนี้ ผู้ ใ ช้ ง าน ไมโครซอฟท์ จ ะได้ สั ม ผั ส กั บ นวั ต กรรมอี ก มากมาย ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ การปกป้ อ งจากการใช้ ง านออนไลน์ อย่ า งปลอดภั ย ขณะเดี ย วกั น ก็ เ พลิ ด เพลิ น ไปกั บ ประสบการณ์ ก ารใช้ ง านที่ แ ปลกใหม่ ร่ ว มสมั ย อยู่เสมอ
การใช้งานจากผู้คนและ หน่วยงานองค์กรทั่วโลก มาแล้วกว่า 350 ล้านเครื่อง ด้วยการอัปเดตวินโดวส์
Justice Magazine Ministry of Justice
71
เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ
จริงหรือไม่? กินไก่มากเป็น
“โรคเกาต์”
กองบรรณาธิการ
วันก่อนที่ออฟฟิศมีปาร์ตี้ค่ะ เด็กๆ แต่ละคนมะรุม มะตุ ้ ม แย่ ง กั น หยิ บ ไก่ ท อดทานกั น อย่ า งเอร็ ด อร่ อ ย แต่ มี พี่ อ าวุ โ สอยู ่ ค นหนึ่ ง ที่ นั่ ง นิ่ ง ไม่ ไ หวติ ง ไม่ มี ที ท ่ า จะลุ ก ไปหยิ บ อาหารทาน สอบถามแล้ ว ปรากฏว่ า ไม่กินไก่ เพราะ “กลัวเป็นเกาต์” นั่นเอง... จริง ๆ แล้ว ทานไก่มากๆ เสี่ยงโรคเกาต์จริงหรือไม่ เรามีค�ำตอบค่ะ โดย ผศ.พญ.อัจฉรา กุลวิสุทธิ์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เขียนบทความเกี่ยวกับโรคเกาต์เอาไว้ ดังนี้ค่ะ
หลายคนคงเคยได้ยินคนใกล้ตัวหรือเพื่อนฝูงบางคนบ่นถึงอาการ โรคเกาต์ คืออะไร? เป็ น โรคข้ อ ซึ่ ง เกิ ด จากภาวะกรดยู ริ ก เจ็บปวดตามข้อ และโบกมือบ๊ายบายให้กบั บางเมนูอาหาร ทัง้ ทีอ่ ยาก ในเลืโรคเกาต์ อดสูงเป็นระยะเวลานานจนตกตะกอน ท�ำให้เกิดโรค จะรับประทานใจจะขาดแต่กต็ อ้ งฝืนทน ด้วยเกรงกลัวว่าอาการเจ็บ ข้ออักเสบ ซึ่งโรคนี้รักษาหายขาดได้ หากได้รับการดูแล ปวดตามข้อทีค่ นทัว่ ไปเรียกว่า “เป็นเกาต์” จะกำ�เริบจนเกินเยียวยา รักษาที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่อง ซึง่ แท้จริงแล้ว ความเข้าใจเกีย่ วกับ “โรคเกาต์” จะถูกผิดอย่างไรนัน้ เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพฉบับนีจ้ ะพาไปทำ�ความรูจ้ กั ให้ลกึ ซึง้ ยิง่ ขึน้
อาการของโรคเกาต์ อาการของโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ▶ ระยะข้ อ อั ก เสบเฉี ย บพลั น มั ก เกิ ด ที่ ข ้ อ หั ว แม่ เ ท้ า หรือข้อเท้า ข้อปวดบวมแดงรุนแรงใน 24 ชั่วโมงแรก หากไม่รักษาสามารถหายได้เองใน 5-7 วัน และส่วนใหญ่ จะเป็นซ�้ำๆ ▶ ระยะไม่ มี อ าการ หลั ง จากข้ อ อั ก เสบหาย ผู ้ ป ่ ว ย จะไม่มีอาการใด ๆ ▶ ระยะเรื้อรัง หลังจากมีอาการซ�้ำ 3-5 ปี ข้ออักเสบ จะมี จ� ำ นวนมากขึ้ น ลามมาที่ ข ้ อ อื่ น ๆ และเกิ ด ก้ อ น จากผลึกของกรดยูริกขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ อาจแตกเห็น เป็นผงขาวนวลคล้ายชอล์ก กรดยูริก คืออะไร? กรดยูริก ส่วนใหญ่ร่างกายสร้างเอง มีเพียงส่วนน้อย ไม่ถึงร้อยละ 20 ที่ได้รับจากอาหาร คนปกติค่าในเลือด จะอยู่ในระดับไม่เกิน 7 มิลลิกรัม/เดซิลิตรในเพศชาย และหญิงวัยหลังหมดประจ�ำเดือน ส่วนหญิงในวัยที่ยังมี
72
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ
ของข้ออักเสบในระยะยาวจนกว่าจะคุมระดับกรดยูริก ในเลือดได้ ยาควบคุ ม ระดั บ กรดยู ริ ก ประกอบด้ ว ย ยาลด การสร้ า งกรดยู ริ ก ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ ยาอั ล โลพิ ว ริ น อล และยาเพิม่ การขับกรดยูรกิ ทางไต ได้แก่ ยาโปรเบ็นนาซิด, ยาเบนโบรมาโรน และ ยาซัลฟินไพราโซน แพทย์จะเริม่ ยา กลุม่ นีเ้ มือ่ ข้ออักเสบหายดี และปรับขนาดยาจนคลุมระดับ กรดยูรกิ ในเลือดได้ในระดับ 5-6 มลิ ลิกรัม/เดซิลติ ร และให้ยา ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ การใช้ยาจึงควรใช้อย่างระมัดระวัง และเลือกใช้เฉพาะรายโดยแพทย์เฉพาะทาง เนื่องจากมี ผลข้างเคียงและอาจมีผลกระทบต่อระดับยาบางชนิดได้ อย่างไรก็ตาม การรักษาตั้งแต่ระยะแรกของโรค จะได้ผลการรักษาดีมาก หากเริ่มรักษาช้า ต้องอาศัย ระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปีเพื่อให้ได้ผลดี และก้อนยุบลง ข้ออักเสบจะหายได้ และก้อนตะปุม่ ตะป�ำ่ จะยุบราบเป็นปกติได้
ประจ� ำ เดื อ นจะมี ร ะดั บ ไม่ เ กิ น 6 มิ ล ลิ ก รั ม /เดซิ ลิ ต ร ค่าที่สูงเกินกว่าระดับดังกล่าวถือว่ามีภาวะกรดยูริกสูง ภาวะกรดยูริกสูงนี้สัมพันธ์กับภาวะอ้วน, พันธุกรรม ในครอบครั ว , ยาบางชนิ ด เช่ น ยาขั บ ปั ส สาวะ และยาแอสไพริน, โรคร่วม เช่น ความดันโลหิตสูง, อาหาร ที่มีกรดยูริกสูง และเหล้าเบียร์ ดังนั้น ควรลดน�้ำหนักตัว งดเหล้าเบียร์ และลดปริมาณอาหารที่มีกรดยูริกสูงลง คนที่ มี ร ะดั บ กรดยู ริ ก สู ง จนท� ำ ให้ เ กิ ด โรคมี เ พี ย ง ข้อควรปฏิบัติส�ำหรับผู้ป่วยมีดังนี้ ร้อยละ 10-20 เท่านั้น โดยเป็นโรคเกาต์ และ/หรือ ▶ พบแพทย์อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อติดตามผลการรักษา เป็นนิ่วในไต กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการเท่านั้นที่จ�ำเป็นต้อง ▶ หลีกเลีย่ งสิง่ กระตุน้ ได้แก่ การหยุดยาเอง/รับประทาน ได้รับการรักษา ยาไม่สม�่ำเสมอ การดื่มเหล้าเบียร์ ในรายที่อาหารที่มี กรดยู ริ ก สู ง บางชนิ ด ที่ ก ระตุ ้ น การก� ำ เริ บของโรคควร อาหารที่ท�ำให้มีกรดยูริกสูง ได้แก่ หลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว การนวด/บีบข้อ เป็นต้น ▶ เหล้าและเบียร์ ▶ รั ก ษาโรคร่ ว มและดู แ ลสุ ข ภาพ ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ ▶ เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ ไต สมอง โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันสูง โรคหัวใจ ▶ อาหารทะเล นิ่วไต โรคอ้วน และควรงดสูบบุหรี่ ▶ อาหารที่มีไขมันสูง เช่น ขนมเค้ก ขนมปัง น�้ำหวาน ▶ ไม่ห้ามอาหารใดๆ ยกเว้นในบางรายที่มีข้ออักเสบ น�้ำผลไม้ที่มีรสหวาน เมื่ อ รั บ ประทานอาหารบางชนิ ด แนะน� ำ หลี ก เลี่ ย ง ส่วนสัตว์ปีก และสัตว์เนื้อแดงที่มีปริมาณไขมันน้อย อาหารดังกล่าวชั่วคราว แต่เมื่อคุมระดับกรดยูริกได้แล้ว ไม่จ�ำเป็นต้องงด ยกเว้นในผู้ป่วยรายที่มีประวัติว่ามี จะรับประทานอาหารได้ทุกประเภท การก� ำ เริ บ ชั ด เจนหลั ง รั บ ประทานอาหารดั ง กล่ า ว ส�ำหรับอาหารมังสวิรตั แิ ละผักส่วนใหญ่มปี ริมาณกรดยูรกิ ทีนี้ก็เข้าใจตรงกันแล้วนะ คราวหน้าไม่ว่าไปเจอ ค่อนข้างน้อย สามารถรับประทานได้ตามปรกติ ไก่ทอดที่ไหนหยิบทานได้เลย ไม่ต้องกังวลอีกแล้วค่ะ เพียงแต่อย่าทานมากเกินไปก็แล้วกันเนอะ ยารักษาโรคเกาต์ ยาที่ใช้รักษามี 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1. ยาควบคุมอาการข้ออักเสบ เพื่อป้องกันการก�ำเริบ ของข้ออักเสบ ได้แก่ ยาโคลชิซีน 2. ยาต้านการอักเสบที่ ไม่ ใช่สเตียรอยด์ ควรให้ ในระยะสั้นจนข้ออักเสบหายดี โดยแพทย์จะพิจารณาให้ ในขนาดที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากอาจมี ข้อห้ามในผูป้ ว่ ยบางราย ยาในกลุม่ นีโ้ ดยเฉพาะยาโคลชิซนี สามารถให้ในขนาดต�่ำเพื่อลดและควบคุมการก�ำเริบ ขอขอบคุณ ข้อมูล : คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และ www.sanook.com
Justice Magazine Ministry of Justice
73
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
ยุติธรรมทั่วไทย
ช่วงที่ผ่านมาหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ได้ดำ�เนิน กิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่ อ เผยแพร่ บ ทบาทภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือประชาชน เพื่ออำ�นวยความยุติธรรม ลดความเหลื่อมลํ้าให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
ประชารัฐร่วมใจแก้ ไขปัญหายาเสพติด
▶ สำ�นักงาน ป.ป.ส.ภาค 2 จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชารั ฐ ร่ ว มใจแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ระดั บ อำ�เภอ ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ 23-24 มกราคม 2560 เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความรู้ ความเข้าใจในทุกมาตรการตามเจตนารมณ์และเป้าหมายที่กำ�หนด ของแผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมูบ่ า้ น/ชุมชนมัน่ คง ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ.2559-2560 โดยมี ผู้ เข้ า ร่ ว มประกอบด้ ว ย ข้ า ราชการ เจ้ า หน้ า ที่ สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. ภาค 2 พร้ อ มด้ ว ยปลั ด อำ�เภอ ที่รับผิดชอบงานยาเสพติดในพื้นที่ 67 อำ�เภอ และผู้แทนตำ�รวจ จากจังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดระยอง ณ โรงแรมเดอะไทด์ รีสอร์ท บางแสน จังหวัดชลบุรี
74
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
เสริมความรู้เรื่องกองทุนยุติธรรม
▶ สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี โดยกลุ่มอำ�นวย ความยุติธรรมและนิติการ จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับ กองทุนยุติธรรมแก่บุคลากรสำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุน ยุ ติ ธ รรม สามารถประชาสั ม พั น ธ์ แ ละให้ คำ�แนะนำ� แก่ ป ระชาชนได้ ณ ห้ อ งประชุ ม สำ�นั ก งานยุ ติ ธ รรม จังหวัดปัตตานี
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
ตรวจสารเสพติด
▶ สถานพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชนจั ง หวั ด สตู ล ตรวจสารเสพติ ด ในปั ส สาวะเด็ ก และเยาวชน ประจำ�เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นการป้องกันเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติด จากการตรวจไม่พบสารเสพติดในเด็กและเยาวชนทุกคน
1 ตำ�บล 1 นักไกล่เกลี่ย
▶ นายเกิดโชค เกษมวงศ์จิตร ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้ า นส่ ง เสริ ม การระงั บ ข้ อ พิ พ าท เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โครงการพั ฒ นา ศักยภาพกลไกการขับเคลื่อนการไกล่เกลี่ย และระงั บ ข้ อ พิ พ าทในชุ ม ชน (หนึ่ ง ตำ�บล หนึง่ ผูไ้ กล่เกลีย่ และการนำ�หลักศาสนสัมพันธ์ สร้างสรรค์ สามัคคี ปรองดอง) หลักสูตร การไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาทในชุมชน (ระดับต้น) รุ่นที่ 1 เพื่อสร้างนักไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาท อย่างน้อย 1 ตำ�บล 1 นกั ไกล่เกลีย่ ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนให้เครือข่าย ภาคประชาชนและทุกภาคส่วน ได้มสี ว่ นร่วม ในการลดความเหลือ่ มลํา้ เข้าถึงกระบวนการ ยุ ติ ธ รรมอย่ า งทั่ ว ถึ ง เป็ น ธรรม โดยการใช้ กลไกการระงั บ ข้ อ พิ พ าทของคนในชุ ม ชน เพื่ อ จั ด การกั บ ความขั ด แย้ ง อย่ า งสั น ติ วิ ธี จัดโดย สำ�นักงานคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพภาค2 ณ โรงแรมเดอะ คอนวีเนีย่ น จังหวัดขอนแก่น Justice Magazine Ministry of Justice
75
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
มอบนโยบายเรือนจำ�
▶ นายทวีรัตน์ นาคเนียม ผู้ตรวจราชการกรมราชทัณฑ์ ตรวจเยี่ ย มเรื อ นจำ�กลางกำ�แพงเพชร เพื่ อ มอบ นโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งรับฟัง ปัญหาและอุปสรรคในการทำ�งาน เพื่อเป็นขวัญกำ�ลังใจ ให้กับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
ตรวจสถานบริการ
▶ นายเจริ ญ น้ อ ยพิ นิ จ ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได้มอบหมายเจ้าหน้าที่สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เข้าร่วมตรวจสถานบริการหรือสถานประกอบการที่เปิดให้บริการ ในลักษณะคล้ายสถานบริการ และการจัดระเบียบสังคมในพื้นที่ อำ�เภออุทัย โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง เจ้าหน้าที่ทหาร ในพืน้ ที่ และเจ้าหน้าทีจ่ ากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมในพืน้ ที่
ตรวจราชการ สยจ. ขอนแก่น
▶ พันโท เอนก ยมจินดา ผู้ตรวจราชการกระทรวง ยุติธรรม พร้อมคณะ ประชุมหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ขอนแก่ น โดยมี หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดขอนแก่น ร่วมนำ�เสนอผลงาน ของหน่วยงานในรอบปีทผี่ า่ นมา ณ ห้องประชุมสำ�นักงาน ยุติธรรมจังหวัดขอนแก่น
76
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
ฟื้นฟูฯ ผู้ติดยาเสพติด
▶ นางสาวดุษสิยา วงศ์วาสนา ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุมประพฤติ จังหวัดชุมพร เปิดโครงการอบรมป้องกันการเสพซํ้าสำ�หรับผู้เข้ารับ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และผู้ถูกคุมความประพฤติ ในคดียาเสพติด พร้อมทัง้ บรรยายความรูใ้ นหัวข้อ “การปฏิบตั ริ ะหว่าง การฟืน้ ฟูฯ การให้การช่วยเหลือสงเคราะห์ และโทษของการไม่ปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขคุมประพฤติ” ณ วัดทุ่งไผ่ ตำ�บลบางหมาก อำ�เภอเมือง จังหวัดชุมพร
สงเคราะห์ด้านการประกอบอาชีพ
▶ พั น เอก ศุ ภ ณั ฏ ฐ์ หนู รุ่ ง ผู้ อำ�นวยการสำ�นั ก งาน คุมประพฤติจงั หวัดอ่างทอง และยุตธิ รรมจังหวัดอ่างทอง ร่วมกับสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ จังหวัดอ่างทอง องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางเสด็จ และกำ�นันตำ�บลบางเสด็จ รวมถึงอาสาสมัครคุมประพฤติ อำ�เภอป่ า โมก ได้ เข้ า ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ สงเคราะห์ ด้ า นการประกอบอาชี พ ให้ แ ก่ น ายบุ ญ เทิ ศ ต้ อ งจิ ต ต์ ผูท้ อ่ี ยูร่ ะหว่างการคุมประพฤติ และพักอาศัยอยูก่ บั มารดา ซึ่งตาบอดทั้งสองข้างเพียงลำ�พังในเขตตำ�บลบางเสด็จ อำ�เภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง Justice Magazine Ministry of Justice
77
เก็บมาเล่า
กรมพินิจฯ จัดประกวดดนตรี
“สืบสานงานของพ่อ”
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นคีตกวีและนักดนตรีที่ชาวโลกยกย่อง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด ตลอดจน ทรงเชี่ยวชาญในศิลปะแขนงต่าง ๆ อย่างแท้จริง ดังที่พสกนิกรชาวไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระราช สมัญญาว่า “อัครศิลปิน” แปลตามศัพท์วา่ “ผูม้ ศี ิลปะอันเลอเลิศ” หรือ “ผูเ้ ป็นใหญ่ในศิลปิน” พระองค์ ทรงเป็นเลิศในศิลปะทัง้ มวล ทรงได้รบั การยกย่องสดุดพี ระเกียรติคณ ุ ทัง้ จากพสกนิกรและศิลปินทัว่ โลก ในพระปรีชาสามารถอย่างหาที่เปรียบมิ ได้ และทรงเป็นเอตทัคคะในศิลปะหลายสาขา และเพื่อเป็น การน้อมรำ�ลึกถึงพระอัจฉริยภาพทางดนตรี “ในหลวงรัชกาลที่ 9” อัครศิลปินในดวงใจของพสกนิกร ชาวไทยทัว่ ทัง้ ประเทศ กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน ในฐานะเป็นองค์กรทีน่ �ำ ดนตรีเข้ามามีสว่ นร่วม ในการแก้ ไขบำ�บัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมอย่างต่อเนื่องเสมอมา กรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจึงได้มอบหมายให้ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธรดำ�เนินการ จัดโครงการเพือ่ รำ�ลึกถึงพระอัจฉริยภาพทางดนตรีของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ผ่านกิจกรรมการแสดงดนตรีของเด็กและเยาวชนทั่วทั้งประเทศ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและ เยาวชนให้เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ให้สามารถเติบโตเป็นพลเมืองที่ดีเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนา ประเทศชาติในอนาคต 78
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เก็บมาเล่า
ผลการแข่งขัน
โครงการประกวดดนตรีสืบสานงานของพ่อ รอบชิงชนะเลิศ ระดับประเทศ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2560 โดยมี ศาสตราจารย์พเิ ศษวิศษิ ฏ์ วิศษิ ฏ์สรอรรถ อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการประกวดดนตรีสืบสานงานของพ่อ รอบชิง ชนะเลิศระดับประเทศ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ซึ่งจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 26 – 27 มกราคม 2560 ณ หอประชุมใหญ่ อาคารสุชพี ปุณญานุภาพ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย อำ�เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยมีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธร เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน เพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และพระอัจฉริยภาพทางดนตรีของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านดนตรีแก่เด็ก และเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพติด ตลอดจนเพื่อพัฒนาทักษะกิจกรรมดนตรีบำ�บัดให้แก่ผ้ปู ฏิบัติหน้าที่ สอนดนตรี หรื อ จั ด กิ จ กรรมด้ า นดนตรี สำ�หรั บ เด็ ก และเยาวชน ของกรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนต่อไป ทัง้ นี้ คณะผูบ้ ริหาร รวมทั้งข้าราชการและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธีเปิดพร้อมทั้งให้กำ�ลังใจ เยาวชนทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขันดนตรีในครัง้ นีด้ ว้ ย โดยการแข่ ง ขั น โครงการประกวดดนตรี สืบ สานงานของพ่ อ รอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และประเภท บทเพลงที่ น้ อ มรำ�ลึ ก ถึ ง พระบาทพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช และในพิธีปิดและการมอบรางวัล เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 ศาสตราจารย์พเิ ศษวิศษิ ฏ์ วศิ ษิ ฏ์สรอรรถ อธิบดีกรมพินจิ และคุม้ ครอง เด็กและเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม ได้กล่าวให้ขอ้ คิดมีใจความสำ�คัญ ตอนหนึง่ ว่า
1. รางวัลมือกีตาร์ยอดเยีย่ ม ได้แก่ เยาวชนชายจาก ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 อุบลราชธานี 2. รางวัลมือเบสยอดเยีย่ ม ได้แก่ เยาวชนชายจาก ศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 อุบลราชธานี 3. รางวัลมือกลองยอดเยีย่ ม ได้แก่ เยาวชนชาย จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 เชียงใหม่ 4. รางวัลมือคียบ์ อร์ดยอดเยีย่ ม ได้แก่ เยาวชนชาย จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 5 อุบลราชธานี 5. รางวัลนักร้องยอดเยีย่ ม ได้แก่ เยาวชนหญิง จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 11 ลพบุรี 6. รางวัลนักดนตรีขวัญใจกรรมการ ได้แก่ เยาวชนชาย จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 6 นครสวรรค์ ผลการแข่งขันประเภท ก บทเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช 1. รางวัลชมเชยอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 11 ลพบุรี 2. รางวัลชมเชยอันดับ 2 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 6 นครสวรรค์ 3. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ วงดนตรี จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนสิรนิ ธร 4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรี จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนบ้านอุเบกขา 5. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรี จากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 เชียงใหม่ ผลการแข่งขันประเภท ข บทเพลงน้อมรำ�ลึก ถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช 1. รางวัลชมเชยอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนบ้านอุเบกขา 2. รางวัลชมเชยอันดับ 2 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 4 ขอนแก่น 3. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 เชียงใหม่ 4. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชนสิรนิ ธร 5. รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ วงดนตรีจากศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน เขต 11 ลพบุรี Justice Magazine Ministry of Justice
79
เก็บมาเล่า
“ในชีวติ จริงของคนเรานัน้ มักจะหลีกเลีย่ งการแข่งขันไปไม่ได้ ไม่ว่าเราจะอยากแข่งหรือไม่อยากแข่งก็ตาม แต่ถ้าเราได้แข่ง ในสิง่ ทีช่ อบจะเป็นสิง่ หนึง่ ทีท่ ำ�ให้เรามีความสุข ฉะนัน้ การแข่งขัน กั น ทำ�ความดี แข่ ง กั น ทำ�งาน แข่ ง กั น ดู แ ลสั ง คม เป็ น สิ่ง ที่ดี สิง่ หนึง่ ทีอ่ ยากจะฝากไว้ คือ การให้รางวัลนัน้ ผมเชือ่ ว่ากรมพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนกำ�ลังพยายามทำ�ให้ทุกคนมองเห็น ความเป็นธรรม เพราะความเป็นธรรมเป็นเรือ่ งทีด่ มี าก เป็นส่วนหนึง่ ของการทำ�ความดี การแข่งขันระหว่างวันที่ 26 – 27 มกราคม 2560 นี้ ทำ�ให้เห็นศักยภาพของเด็กและเยาวชนหลายคน สำ�หรับคนที่ ไม่ได้รบั รางวัล หรือได้รบั รางวัลชมเชยไม่ตอ้ งคิดมาก เพราะการที่ เราได้มีโอกาสมาแสดงบนเวทีน้ที ำ�ให้ทุกคนได้เห็นความสามารถ และพัฒนาการของตัวเรา พร้อมทั้งขอขอบคุณคณะกรรมการ และครูทุกท่านที่ฝึกสอนให้เด็กและเยาวชน คำ�ว่า “ครู” นั้น อาจไม่ได้หมายถึงผู้ท่ีมีตำ�แหน่งเป็นครู แต่เมื่อเราสอนแล้วเด็ก และเยาวชนได้รบั ฟังแล้วนำ�มาพัฒนา นัน่ แสดงถึงว่า เราได้เข้าไป ในใจเขา ได้เข้าไปพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนเหล่านัน้ ได้จริง ขอขอบคุ ณ ครู ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ก รุ ณ ามาดู แ ลเด็ ก ๆ ในวั น นี้ และขอขอบคุ ณ เยาวชนชายหญิ ง ทุ ก ที ม วั น นี้ เราได้ แ สดง ให้เห็นถึงศักยภาพทีพ่ วกเรามีให้ทกุ คนได้เห็นแล้ว” และในโอกาสนี้ กระทรวงยุ ติ ธ รรม โดยกรมพิ นิ จ และ คุ้มครองเด็กและเยาวชน ขอขอบคุณอาจารย์สุธน สีหตระกูล หัวหน้าภาคดนตรี/ศิลปะสากล วิทยาลัยนาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิต พั ฒ นศิ ล ป์ อาจารย์ อ ลิ ส า วั ช รประภาพงศ์ อาจารย์ ป ระจำ� สาขาวิชาการแสดงดนตรี คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิ ล ปากร อาจารย์ พ ลธรายุ ท ธ ทิ พ ยุ ท ธ อาจารย์ ส าขาวิ ช า ดนตรี ส มั ย นิ ย ม วิ ท ยาลั ย ดุ ริย างคศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล อาจารย์ ถ าวร หวานชะเอม ครู ชำ�นาญการพิ เ ศษ โรงเรี ย น สิรินธรราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม ดร.ภัทรภร ผลิตากุล อาจารย์ ป ระจำ�สาขาวิ ช าการแสดงดนตรี แ ละสาขาสั ง คี ต วิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ‘ปิงปอง’ ศิรศักดิ์ อิทธิพลพาณิชย์ ศิลปิน นักร้อง นักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์ช่อื ดังของเมืองไทย มาร่วมเป็นกรรมการตัดสิน ผลการแข่งขัน รวมทัง้ ผูใ้ ห้การสนับสนุนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชนผ่านการเล่นดนตรี การขั บ ร้ อ ง เพื่อ เพิ่ม พู น ประสบการณ์ ก ารแสดงและทำ�งาน ร่ ว มกั บ ผู้อ่ืน สิ่ง เหล่ า นี้ถือ เป็ น หั ว ใจสำ�คั ญ ในการพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนให้รู้จักความรับผิดชอบต่อหน้าที่ท้ังกายและจิตใจ รวมทั้ ง เป็ น การสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ เ ด็ ก และเยาวชนรู้ จั ก ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และนำ�ไปใช้ในการดำ�รงชีวิตและ ประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป
80
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
วารสารยุติธรรม l Justice Magazine
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
บนความเคลื่อนไหว
ก ารประชุมสร้างความรูเ้ ท่าทัน
ต่อพลวัตการควบคุมยาเสพติด ครัง้ ที่ 1 ย ตุ ธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น นำ�บริการรัฐ สูป่ ระชาชน ก ารตรวจสอบธุรกรรมทางการเงิน เชิงภาษีอากร “ โครงการพัฒนาทักษะการคุม้ ครองพยาน” สร้างบุคลากรมืออาชีพด้านการคุม้ ครองพยาน
กระทรวงยุติธรรม
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
กิจกรรมเเข่งขันวิ่ง-ปั่นจักรยาน
Ministry of Justice
“INSPIRE RUN & RIDE BY PRINCESS & FRIENDS”
เรื่องเล่ายุติธรรม “บังคับคดี” จัดมหกรรมไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทชัน้ บังคับคดี
สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม
สำ�นักงานรัฐมนตรี
กรมสอบสวน คดีพิเศษ
กรมคุมประพฤติ
สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ
สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์
โทรศัพท์ 0 2141 5100
สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
กรมราชทัณฑ์
นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ และ นิตเิ วชศาสตร์ กับกระบวนการยุตธิ รรม
สถาบัน อนุญาโตตุลาการ
facebook.com
/Ministry of Justice, Thailand
ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 ประจำ�ปี 2560
www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฏหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส
กรมบังคับคดี
คนยุตธิ รรม
การพัฒนา
เปิดมุมมอง “ปิติกาญจน์ สิทธิเดช” อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ