กฎหมายสามัญประจำบ้าน ประจำปี พ.ศ.2556

Page 1


จัดท�ำโดย กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน พิมพ์ครั้งที่ 1

44,000 เล่ม

ปีที่พิมพ์

เดือนเมษายน พ.ศ. 2556

จัดพิมพ์ที่

สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ (อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์)

ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

โทรศัพท์ : 0-2141-5100

โทรสาร : 0-2143-8246

www.moj.go.th

ออกแบบและจัดพิมพ์โดย

บริษัท วงศ์สว่างพับลิชชิ่ง แอนด์ พริ้นติ้ง จำ�กัด

เลขที่ 2 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 86/1 ถนนจรัญสนิทวงศ์

แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700

โทรศัพท์ 0-2880-1876

โทรสาร 0-2879-1526

www.wswpublishing.com


ค�ำน�ำ ในช่วงเวลาที่ผ่านมาสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าของ เทคโนโลยีและความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร หรือที่เรียกว่ากระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ท�ำให้โครงสร้างทางสังคมเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่ขาดความ สมดุลในการพัฒนา ส่งผลให้สถาบันหลักทางสังคมเกิดความอ่อนแอ ภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ น�ำมาซึ่งปัญหาต่างๆ ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านอาชญากรรมที่มีสถิติสูงขึ้น ด้านยาเสพติด รวมถึงการที่ประชาชนถูกเอารัดเอาเปรียบไม่ได้รับความเป็นธรรม และมี แนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กระทรวงยุติธรรม ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ ในการอ�ำนวยความเป็นธรรม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ป้องกันและควบคุม อาชญากรรม บ�ำบัดฟื้นฟูและสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด สนับสนุนแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ ได้เห็นถึงความส�ำคัญของปัญหาดังกล่าวเป็นอย่างดี จึงมีแนวคิดที่จะ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้นที่จ�ำเป็นส�ำหรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้น จึงได้จัดท�ำหนังสือให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวันฉบับนี้ขึ้นมา ในรูปแบบภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย และเป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวันเพือ่ เป็นภูมคิ มุ้ กัน ป้องกันไม่ให้กระท�ำผิดกฎหมาย รวมทั้งช่วยเหลือผู้ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม อันจะน�ำสังคม ไปสู่การลดอาชญากรรมและเกิดความยุติธรรมในสังคมต่อไปได้ ดังนั้น กระทรวงยุติธรรม จึงได้น�ำแง่มุมของกฎหมายมาถ่ายทอดผ่านภาษา ทีเ่ ข้าใจง่าย และเป็นหลักกฎหมายเบือ้ งต้นในรูปแบบหนังสือความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมายทีจ่ �ำเป็น ในชีวิตประจ�ำวันฉบับนี้ขึ้นมา โดยได้รวบรวมบทสารคดีที่เน้นให้ความรู้เกี่ยวกับข้อกฎหมาย ที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งกระทรวงยุติธรรมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือให้ความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวันเล่มนี้ จะเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกที่อยากจะ ศึกษากฎหมายต่อไปด้วยความสนุกสนาน พร้อมทั้งจะเป็นก้าวแรกเพื่อก้าวต่อไปส�ำหรับ การเรียนรู้กฎหมายในอนาคต

กระทรวงยุติธรรม 11 กุมภาพันธ์ 2556


สารบัญ

โครงสร้างกระทรวงยุติธรรม บทบาทภารกิจกระทรวงยุติธรรม ข้อมูลการติดต่อส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ตอนที่ 1 พระราชก�ำหนด 1 ตอนที่ 2 พระราชก�ำหนด 2 ตอนที่ 3 พระราชก�ำหนด 3 ตอนที่ 4 แต่งเครื่องแบบ รด. ตอนที่ 5 แต่งเครื่องแบบชุดครุย ตอนที่ 6 แต่งเครื่องแบบมหาวิทยาลัย ตอนที่ 7 จีวรพระภิกษุสามเณร ตอนที่ 8 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 1 ตอนที่ 9 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 2 ตอนที่ 10 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 3 ตอนที่ 11 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 4 ตอนที่ 12 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 5 ตอนที่ 13 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล ตอนที่ 14 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 1 ตอนที่ 15 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 2 ตอนที่ 16 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 3 ตอนที่ 17 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 4 ตอนที่ 18 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 5 ตอนที่ 19 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 6 ตอนที่ 20 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 7 ตอนที่ 21 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 8

หน้า

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21


ตอนที่ 22 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 9 ตอนที่ 23 ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 1 ตอนที่ 24 ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 2 ตอนที่ 25 ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 3 ตอนที่ 26 ชื่อสกุลภายหลังหย่าร้าง ตอนที่ 27 ชื่อสกุลภายหลังคู่สมรสตาย ตอนที่ 28 ชื่อสกุลของเด็กในอุปการะ ตอนที่ 29 การเปลี่ยนชื่อตัวชื่อรอง ตอนที่ 30 การจดทะเบียนชื่อสกุล 1 ตอนที่ 31 การจดทะเบียนชื่อสกุล 2 ตอนที่ 32 ค�ำน�ำหน้านาม 1 ตอนที่ 33 ค�ำน�ำหน้านาม 2 ตอนที่ 34 ค�ำน�ำหน้านาม 3 ตอนที่ 35 ค�ำน�ำหน้านาม 4 ตอนที่ 36 สวมบัตรประชาชน เพื่อเปลี่ยนค�ำน�ำหน้านาม 1 ตอนที่ 37 สวมบัตรประชาชน เพื่อเปลี่ยนค�ำน�ำหน้านาม 2 ตอนที่ 38 กฎหมายกับน�้ำท่วม ตอนที่ 39 ความผิดฐานท�ำให้เกิดน�้ำท่วม 1 ตอนที่ 40 ความผิดฐานท�ำให้เกิดน�้ำท่วม 2 ตอนที่ 41 ความผิดฐานกีดขวางทางน�้ำ ตอนที่ 42 ความผิดน�้ำสาธารณูปโภค ตอนที่ 43 ความผิดเกี่ยวกับท่อระบายน�้ำ ตอนที่ 44 กฎหมายรักษาคลองประปา 1 ตอนที่ 45 กฎหมายรักษาคลองประปา 2 ตอนที่ 46 กฎหมายรักษาคลองประปา 3 ตอนที่ 47 กฎหมายรักษาคลองประปา 4 ตอนที่ 48 กฎหมายรักษาคลองประปา 5 ตอนที่ 49 กฎหมายรักษาคลองประปา 6

22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49


ตอนที่ 50 กฎหมายรักษาคลองประปา 7 ตอนที่ 51 สถานที่ที่ห้ามอาบน�้ำ ตอนที่ 52 รักษาทางน�้ำให้สะอาด 1 ตอนที่ 53 รักษาทางน�้ำให้สะอาด 2 ตอนที่ 54 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 1 ตอนที่ 55 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 2 ตอนที่ 56 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 3 ตอนที่ 57 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 4 ตอนที่ 58 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 5 ตอนที่ 59 รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 6 ตอนที่ 60 หลายหน่วยงานร่วมประสาน ตอนที่ 61 ป้องกันสาธารณภัย 1 ตอนที่ 62 ป้องกันสาธารณภัย 2 ตอนที่ 63 ป้องกันสาธารณภัย 3 ตอนที่ 64 ป้องกันสาธารณภัย 4 ตอนที่ 65 ป้องกันสาธารณภัย 5 ตอนที่ 66 ป้องกันสาธารณภัย 6 ตอนที่ 67 ป้องกันสาธารณภัย 7 ตอนที่ 68 ป้องกันสาธารณภัย 8 ตอนที่ 69 ป้องกันสาธารณภัย 9 ตอนที่ 70 ป้องกันสาธารณภัย 10 ตอนที่ 71 ป้องกันสาธารณภัย 11 ตอนที่ 72 ป้องกันสาธารณภัย 12 ตอนที่ 73 หลักความเสมอภาค 1 : นิยามความเสมอภาค ตอนที่ 74 หลักความเสมอภาค 2 : บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย ตอนที่ 75 หลักความเสมอภาค 3 : บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ตอนที่ 76 หลักความเสมอภาค 4 : ความหมายที่สอง

50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76


ตอนที่ 77 หลักความเสมอภาค 5 : สิทธิมนุษยชน ตอนที่ 78 หลักความเสมอภาค 6 : เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ตอนที่ 79 หลักความเสมอภาค 7 : เลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม ตอนที่ 80 หลักความเสมอภาค 8 : Affirmative Action ตอนที่ 81 หลักความเสมอภาค 9 : เสมอภาคในโอกาส 1 ตอนที่ 82 หลักความเสมอภาค 10 : เสมอภาคในโอกาส 2 ตอนที่ 83 หลักความเสมอภาค 11 : เสมอภาคชายและหญิง 1 ตอนที่ 84 หลักความเสมอภาค 12 : เสมอภาคชายและหญิง 2 ตอนที่ 85 หลักความเสมอภาค 13 : เสมอภาคชายและหญิง 3 ตอนที่ 86 หลักความเสมอภาค 14 : เสมอภาคชายและหญิง 4 ตอนที่ 87 หลักความเสมอภาค 15 : เลือกปฏิบัติเพราะฐานะ 1 ตอนที่ 88 หลักความเสมอภาค 16 : เลือกปฏิบัติเพราะฐานะ 2 ตอนที่ 89 หลักความเสมอภาค 17 : คนท�ำผิดอ้างไม่ได้ ตอนที่ 90 หลักความเสมอภาค 18 : ไม่ผูกพันเอกชน 1 ตอนที่ 91 หลักความเสมอภาค 19 : ไม่ผูกพันเอกชน 2 ตอนที่ 92 หลักความเสมอภาค 20 : ผูกพันเอกชน หากมีกฎหมาย 1 ตอนที่ 93 หลักความเสมอภาค 21 : ผูกพันเอกชน หากมีกฎหมาย 2 ตอนที่ 94 หลักความเสมอภาค 22 : ลูกจ้างชายหญิง 1 ตอนที่ 95 หลักความเสมอภาค 23 : ลูกจ้างชายหญิง 2 ตอนที่ 96 หลักความเสมอภาค 24 : ลูกจ้างชายหญิง 3 ตอนที่ 97 หลักความเสมอภาค 25 : การเลือกปฏิบัติอย่างสมเหตุผล 1 ตอนที่ 98 หลักความเสมอภาค 26 : การเลือกปฏิบัติอย่างสมเหตุผล 2 ตอนที่ 99 อาหารการกิน 1 : กฎหมายอาหาร ตอนที่ 100 อาหารการกิน 2 : อาหารปลอม 1 ตอนที่ 101 อาหารการกิน 3 : อาหารปลอม 2 ตอนที่ 102 อาหารการกิน 4 : อาหารปลอม 3 ตอนที่ 103 อาหารการกิน 5 : อาหารปลอม 4 ตอนที่ 104 อาหารการกิน 6 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 1

77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104


ตอนที่ 105 อาหารการกิน 7 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 2 ตอนที่ 106 อาหารการกิน 8 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 3 ตอนที่ 107 อาหารการกิน 9 : อาหารผิดมาตรฐาน ตอนที่ 108 อาหารการกิน 10 : โฆษณาเกินจริง ตอนที่ 109 อาหารการกิน 11 : มาตรา 237 ตอนที่ 110 ความผิดเกี่ยวกับการค้าประเวณี ตอนที่ 111 บังคับให้ค้าประเวณี 1 ตอนที่ 112 บังคับให้ค้าประเวณี 2 ตอนที่ 113 ค้าประเวณี 1 ตอนที่ 114 ค้าประเวณี 2 ตอนที่ 115 เร่ค้าประเวณี ตอนที่ 116 มั่วสุมค้าประเวณี ตอนที่ 117 โฆษณาการค้าประเวณี ตอนที่ 118 ผู้ซื้อมีความผิด ตอนที่ 119 ถูกบังคับไม่ผิด ตอนที่ 120 นายหน้าหาเด็ก 1 ตอนที่ 121 นายหน้าหาเด็ก 2 ตอนที่ 122 นายหน้าหาเด็ก 3 ตอนที่ 123 พ่อเล้า แมงดา 1 ตอนที่ 124 พ่อเล้า แมงดา 2 ตอนที่ 125 เอเย่นต์น้อยๆ ตอนที่ 126 คนในเครื่องแบบกับธุรกิจค้ากาม ตอนที่ 127 อนาจาร ตอนที่ 128 โทษอนาจาร ตอนที่ 129 อนาจารเด็ก

105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

วิสัยทัศน์ “หลักประกันความยุติธรรม ตามมาตรฐานสากล”

พันธกิจ 1. บริหารจัดการการอ�ำนวยความยุติธรรมในสังคมด้วยความยุติธรรม

3. วิจัยและพัฒนาระบบงานยุติธรรมและกฎหมาย 4. พัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก 5. บูรณการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กระทรวงยุติธรรม

2. พัฒนาคุณภาพการด�ำเนินการตามกฎหมาย พันธกรณีระหว่าง ประเทศและมาตรฐานระบบงานยุติธรรม

6. ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 7. บริหารจัดการระบบงานยุติธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยความยุติธรรม 8. ส่งเสริมการบูรณาการงานยุติธรรมและความร่วมมือ/กับทุก ภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง

9


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

กระทรวงยุติธรรม

โครงสร้างกระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการพัฒนาการ บริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ

สถาบันอนุญาโตตุลาการ

กระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

สำ�นักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน

เนติบัณฑิตยสภา สภาทนายความ

สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

กลุ่มภารกิจด้าน บริหารความยุติธรรม

หน่วยงานอำ�นวยการ • สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม • สำ�นักงานกิจการยุติธรรม

• สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด

• กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ • กรมบังคับคดี

กลุ่มภารกิจด้าน อำ�นวยความยุติธรรม • กรมสอบสวนคดีพิเศษ • สถาบันนิติวิทยาศาสตร์

กลุ่มภารกิจด้าน พัฒนาพฤตินิสัย

• สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ

• กรมคุมประพฤติ • กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน • กรมราชทัณฑ์

จัดตั้งตาม พ.ร.บ. พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จัดตั้งตาม พ.ร.บ. สถาบันอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2550 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัติเนติ บัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507

10

ส่วนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

ปลัดกระทรวงยุติธรรม

สำ�นักงานรัฐมนตรี

ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรมขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการไนสังกัดกระทรวงยุติธรรมขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

อ�ำนาจหน้าที่กระทรวงยุติธรรม มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมไว้ว่า “ให้มีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ บริหารจัดการกระบวนการยุติธรรม เสริมสร้างและอ�ำนวยความยุติธรรมในสังคม และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงยุติธรรม”

ส�ำนักงานรัฐมนตรี : Office of The Minister

ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอรัฐมนตรี รวมทัง้ เสนอความเห็นประกอบการวินจิ ฉัยสัง่ การของรัฐมนตรี สนับสนุนการท�ำงาน ของรัฐมนตรีในการด�ำเนินงานทางการเมืองระหว่างรัฐมนตรี รัฐสภา และประชาชน ประสานงานการตอบกระทู้ ชี้แ จงญัต ติ ร่างพระราชบั ญญั ติ และกิ จ การอื่ น ทางการเมื อ ง ด�ำเนิ น การพิ จ ารณาเรื่ อ งร้ อ งทุ ก ข์ ร้ อ งเรี ย น หรื อ ร้ อ งขอ ความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรี ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจ หน้าที่ของส�ำนักงานรัฐมนตรีหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

กระทรวงยุติธรรม

ภารกิจส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม

โทรศัพท์ 0-2141-6535 โทรสาร 0-2141-9883 เว็บไซต์ www.om.moj.go.th

11


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม : Office of The Permanent Secretary ด�ำเนินการด้านการพัฒนายุทธศาสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำ ข้อมูลเพื่อใช้ในการก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของกระทรวง แปลงนโยบายของรัฐบาลและนโยบายของรัฐมนตรีเป็นแนวทางและ แผนปฏิบัติการของกระทรวง ก�ำกับ เร่งรัด ติดตามประเมินผล รวมทั้งประสาน การปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง และพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่ อ ใช้ ใ นการบริ ห ารงานและการบริ ก ารของหน่ ว ยงาน ดู แ ลงาน ประชาสัมพันธ์ การต่างประเทศ พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่กิจกรรม ข่าวของกระทรวง สนับสนุนการพัฒนาบุคลากร จัดสรรและบริหารทรัพยากรให้ เกิดการประหยัดและคุ้มค่า

โทรศัพท์ 0-2141-5100 โทรสาร 0-2143-8289-90 เว็บไซต์ www.ops.moj.go.th

ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม : Office of Justice Affairs ด�ำเนิ น การเกี่ ย วกั บ นโยบายและการพั ฒ นากระบวนการ ยุ ติ ธ รรม โดยการศึ ก ษาวิ จั ย การประเมิ น ผลการบั ง คั บ ใช้ กฎหมาย และน�ำผลให้คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงาน ยุติธรรมแห่งชาติเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมมีทิศทาง การด�ำเนินการทีส่ ามารถอ�ำนวยความยุตธิ รรมให้แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดรับไปในทิศทางเดียวกัน

12

โทรศัพท์ 0-2141-3666 โทรสาร 0-2143-8933 เว็บไซต์ www.oja.go.th


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กลุ่มภารกิจด้านอ�ำนวยความยุติธรรม กรมสอบสวนคดีพิเศษ : Department of Special Investigation ด�ำเนินการด้านการป้องกัน ปราบปราม สืบสวนและสอบสวน คดีความผิดทางอาญาที่ต้องด�ำเนินการสืบสวนและสอบสวน โดยวิธีการพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ

โทรศัพท์ 0-2831-9888 โทรสาร 0-2975-9888 เว็บไซต์ www.dsi.go.th

สถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ : Central Institute of Forensic Science

กระทรวงยุติธรรม

ด�ำเนิ น การด้ า นการให้ บ ริ ก าร ตรวจพิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานทาง นิติวิทยาศาสตร์ ตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลเพื่อการติดตาม บุคคลสูญหายและศพนิรนาม จัดเก็บรวบรวมข้อมูลสารพันธุกรรม พยานหลักฐาน เพื่อการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเกี่ยวกับการกระท�ำผิดในด้านต่างๆ และสนับสนุนการ ด�ำเนินงานแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศึกษา วิจยั สนับสนุน การศึกษาวิจัยทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐหรือ องค์กรอื่น เผยแพร่ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรด้านนิติวิทยาศาสตร์ สร้าง เครือข่ายในการจัดท�ำมาตรฐานและพัฒนางานด้านนิติวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โทรศัพท์ 0-2142-4375-8 โทรสาร 0-2143-9068 เว็บไซต์ www.cifs.moj.go.th

13


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

กลุ่มภารกิจด้านบริหารความยุติธรรม กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ : Rights and Liberties Protection Department ด�ำเนินการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยด�ำเนิ น การจ่ า ยเงิ น ช่ ว ยเหลื อ แก่ ผู ้ เ สี ย หาย เหยื่ อ อาชญากรรมและจ่ า ยเงิ น ชดเชยทดแทนแก่ จ�ำเลยที่ ศ าลยกฟ้ อ งว่ า มิ ไ ด้ เ ป็ น ผู้กระท�ำผิด รับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชนและให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย จัดหาทนายในการช่วยเหลือต่อสู้คดี รวมถึงพิจารณาจัดเงินช่วยเหลือแก่ผู้ยากไร้ และต้องการรับความยุติธรรมในกระบวนการยุติธรรม สร้างความสมานฉันท์และ ระงับข้อพิพาทในสังคม ด�ำเนินการคุ้มครองพยานและรับผิดชอบพันธกรณีตาม สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน

สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 โทรศัพท์ 0-2141-2794 และ 0-2141-2817-8 โทรสาร 0-2143-9681 เว็บไซต์ www.rlpd.moj.go.th

กรมบังคับคดี : Legal Execution Department ด�ำเนินการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย และการฟื้นฟูกิจการ ของลู ก หนี้ ต ามค�ำสั่ ง ศาล ด�ำเนิ น การตรวจสอบสิ ท ธิ ท าง บัญชีของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อรับส่วนแบ่งจากคดี ตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายและเรียกเก็บค่าธรรมเนียม การบังคับคดี ช�ำระบัญชีห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือนิติบุคคล ในฐานะผู้ช�ำระบัญชีตามค�ำสั่งศาล รับวางทรัพย์จากลูกหนี้หรือ ผู้มีสิทธิวางทรัพย์ ด�ำเนินการประเมินราคาทรัพย์ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการเดิน หมายค�ำคู่ความ หนังสือหรือประกาศของศาลหรือหน่วยงานในสังกัด

14

โทรศัพท์ 0-2881-4999 โทรสาร 0-2433-0801 เว็บไซต์ www.led.moj.go.th


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาพฤตินิสัย กรมราชทัณฑ์ : Department of Corrections ด�ำเนินการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิดให้เป็นไปตามค�ำพิพากษาหรือ ค�ำสั่งตามกฎหมาย โดยด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการ ราชทัณฑ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ต่อผู้ต้องขังให้สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายของกระทรวง หลักอาญชวิทยาและหลักทัณฑวิทยา ตลอดจนข้อก�ำหนดมาตรฐานขั้นต�่ำส�ำหรับ ปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และข้อเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวข้องขององค์การสหประชาชาติ ด�ำเนินการเกี่ยวกับสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขัง

โทรศัพท์ 0-2967-2222 โทรสาร 0-2967-3305 เว็บไซต์ www.correct.go.th

กรมคุมประพฤติ : Department of Probation

กระทรวงยุติธรรม

ด�ำเนินการสืบเสาะและพินิจ ควบคุมและสอดส่อง แก้ไข ฟื้นฟู และสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดในชัน้ ก่อนฟ้อง ชัน้ พิจารณาคดีของศาล และภายหลั ง ที่ ศ าลมี ค�ำพิ พ ากษาตามที่ ก ฎหมายก�ำหนด ด�ำเนินการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ส่งเสริมสนับสนุนเกีย่ วกับการฟืน้ ฟูและ สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดในชุมชน จัดท�ำและประสานแผนงานของกรมให้สอดคล้อง กับนโยบายและแผนแม่บทของกระทรวง รวมทั้งเร่งรัด ติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัด เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานงานให้ ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมและเป็นเครือข่ายในการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิด ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่ กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ศูนย์รับฟังความคิดเห็น 0-2141-4749 สายด่วน 0-2419-0099 โทรสาร 0-2143-8822 เว็บไซต์ www.probation.go.th

15


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน : Department of Juvenile Observation and Protection ด�ำเนินการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนที่กระท�ำ ความผิด ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและชุมชน ด�ำเนินการด้านคดีอาญา คดีครอบครัว ก�ำกับการปกครอง บ�ำบัด แก้ไขฟืน้ ฟู ป้องกัน พัฒนา และสงเคราะห์ ตลอดจนติดตามประเมินผลเด็กและเยาวชน ประสาน ความร่วมมือและสร้างเครือข่ายชุมชน องค์การภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในและ ต่างประเทศ ศึกษาวิเคราะห์และพัฒนากฎหมายการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิเด็ก และเยาวชน รวมทั้งระบบรูปแบบวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับงานคดีและการปฏิบัติ ต่อเด็กและเยาวชน พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้เข้าสู่มาตรฐาน การบริหารจัดการภาครัฐ

โทรศัพท์ 0-2141-6470 โทรสาร 0-2143-8472 เว็บไซต์ www.djop.moj.go.th

ภารกิจส่วนราชการในบังคับบัญชารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม สังกัดกระทรวงยุติธรรม ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติด : Office of The Narcotics Control Board ด�ำเนิ น การด้ า นการประสานงาน อ�ำนวยการด้ า นนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และบูรณาการปฏิบัติงานป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด ทั้ง ภาครั ฐและเอกชน รวมทั้งประสานความร่วมมือกับ ต่างประเทศ ตรวจสอบ ยึด อายัดทรัพย์สิน ประชาสัมพันธ์ และติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

16

โทรศัพท์ 0-2247-0901-19 โทรสาร 0-2245-9350 เว็บไซต์ www.oncb.go.th


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ : Office of Public Sector Anti-Corruption Commission ด�ำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ตามพระราชบัญญัตมิ าตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551 โดยมีบทบาท 3 ประการ ประกอบด้วย 1) ในฐานะกลไกหลักในการ ขับเคลื่อนนโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามของรัฐบาล 2) ในฐานะฝ่าย เลขานุการของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เพื่อด�ำเนินงานด้านปราบปรามการทุจริต ในภาครัฐ และ 3) ในฐานะฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม โทรศัพท์ 0-2502-8301 สายด่วน 1206 โทรสาร 0-2502-8289 เว็บไซต์ www.pacc.go.th

ไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม

ด�ำเนินการด้านการด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำผิด โดยเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ รายงาน และข้ อ มู ล ต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ การท�ำธุ ร กรรมทางการเงิ น เผยแพร่ ค วามรู ้ ให้ ก ารศึ ก ษา ฝึ ก อบรม ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานตามกฎหมายให้แก่ประชาชน และก�ำหนด มาตรการและด�ำเนินการต่างๆ เพื่อเป็นการตัดวงจรอาชญากรรมการฟอกเงิน ซึ่งเป็น ผลกระทบร้ายแรงต่อสังคม

กระทรวงยุติธรรม

ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน : Anti-Money Laundering Office

โทรศัพท์ 0-2219-3600 โทรสาร 0-2219-3700 เว็บไซต์ www.amlo.go.th

17


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

งานบริการของส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด กระทรวงยุติธรรม กรณีที่ 1 การให้ข้อมูล/ค�ำปรึกษา มี 21 งานบริการ ส่วนราชการ

งานบริการ 1. การขอรับการสงเคราะห์ผู้กระทำ�ผิดหลังปล่อย 2. การขอรับค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดีอาญา 3. การขอรับความช่วยเหลือทางกฎหมาย และให้คำ�ปรึกษาทาง กฎหมาย 4. การร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยพยานในคดีอาญา 5. การรับเรื่องราวร้องทุกข์ 6. การยื่นคำ�ร้องขอวางทรัพย์ 7. การขึ้นทะเบียนผู้ทำ�แผนฟื้นฟูกิจการและผู้บริหารแผน 8. การขอปล่อยตัวชั่วคราว

สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด 9. การขออนุญาตวิจัย 10. การพบญาติแบบใกล้ชิด 11. การขออนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าชมกิจการเรือนจำ�/ ทัณฑสถาน 12. การขออนุญาตเผยแพร่กิจกรรมในเรือนจำ�และทัณฑสถาน 13. การช่วยเหลือ สนับสนุนด้านสวัสดิการ และสงเคราะห์ ผู้ต้องขัง 14. การรับแจ้งข้อมูลเบาะแสของผู้กระทำ�ความผิดทางอาญา ที่เป็นคดีพิเศษ ตาม พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 15. การรับแจ้งบุคคลสูญหาย 16. การขอเปลี่ยนชื่อ-สกุลศพ

18


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ส่วนราชการ

งานบริการ 17. การขอรับศพคืน 18. การขอรับใบรายงานการชันสูตรศพ

สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด

19. การรับแจ้งเบาะแสผู้ค้า แหล่งมั่วสุม พื้นที่แพร่ระบาด แหล่งผลิตและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด 20. การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนยุติธรรม 21. การจัดหาทนายความให้แก่ผู้ต้องหาในคดีอาญา

กรณีที่ 2 การรับเรื่องขออนุมัติ/ขออนุญาต มี 4 งานบริการ ส่วนราชการ

งานบริการ 1. การขอรับค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดีอาญา 2. การร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยพยานในคดีอาญา

สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด

4. การจัดหาทนายความให้แก่ผู้ต้องหาในคดีอาญา

กรณีที่ 3 การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์/รับแจ้งเบาะแส มี 3 งาน ส่วนราชการ

กระทรวงยุติธรรม

3. การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนยุติธรรม

งานบริการ 1. การรับเรื่องราวร้องทุกข์

2. การรับแจ้งข้อมูล เบาะแสของผู้กระทำ�ผิดทางอาญาที่เป็น สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด คดีพิเศษตาม พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 3. การรับแจ้งเบาะแสผู้ค้า แหล่งมั่วสุม พื้นที่แพร่ระบาด แหล่งผลิต และเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

19


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

20

กระทรวงยุติธรรม

โดยผู้ใช้บริการสามารถยื่นเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ หรือแจ้งเบาะแสข้อมูล ได้จ�ำนวน 3 งานบริการ ดังกล่าวนี้ ทั้งนี้ ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม มีหน้าที่รับเรื่องและพิจารณา แก้ไขปัญหาในเบื้องต้นหากเกินความสามารถให้ประสานส่งเรื่องไปยังหน่วยงาน เจ้าของเรื่องเพื่อด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่ จากนั้นศูนย์บริการร่วมกระทรวง ยุติธรรม มีหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานเจ้าของเรื่องเพื่อสอบถาม ความคืบหน้าผลการด�ำเนินงานแล้ว แจ้งให้ผใู้ ช้บริการทราบตามล�ำดับหรือหน่วยงาน เจ้าของเรื่องอาจจะแจ้งความคืบหน้าผลการด�ำเนินงานให้ศูนย์บริการร่วมกระทรวง ยุติธรรมทราบเป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม เพื่อจะได้แจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบ ต่อไป ในการแจ้งผลความคืบหน้าของการด�ำเนินงานแก่ผู้ใช้บริการทั้งในกรณีที่ 2 และกรณีที่ 3 จะต้องยึดตามแนวทางพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยเมื่อหน่วยงานเจ้าของเรื่อง ด�ำเนินการแล้วเสร็จ หรือมีเหตุจ�ำเป็นทีต่ อ้ งด�ำเนินการล่าช้ากว่าก�ำหนดจะต้องแจ้งให้ ประชาชนทราบโดยตรงหรือผ่านศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม โดยแจ้งให้ ผูใ้ ช้บริการทราบถึงสถานะของงาน ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค (ถ้ามี) ภายใน 15 วัน


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคเหนือ จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทรศัพท์, โทรสาร

1. ก�ำแพงเพชร

ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังใหม่) ชั้น 3 ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 อาคารช้างเผือกเรสซิเดนท์ เลขที่ 25/1 ถนนช้างเผือก ซอย 2 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง อาคารเลขที่ 2/16 หมู่ที่ 14 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110 อาคารศาลากลางจังหวัดตาก ชั้น 2 (หลังเก่า) อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สอด เลขที่ 2 ถนนราชทัณฑ์ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางนครสวรรค์ เลขที่ 401 หมู่ 9 ถนนโกสีย์ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 เรือนจ�ำจังหวัดน่าน (ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ) เลขที่ 28 ถนนผากอง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000 อาคารศาลากลางจังหวัดพะเยา (หลังเก่า) ชั้น 2 ต�ำบลบ้านต๋อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000

โทร. 0-5571-3940-1 โทรสาร 0-5571-3940

2. เชียงราย 3. เชียงใหม่

4. เชียงใหม่ สาขาฝาง

6. ตาก สาขาแม่สอด 7. นครสวรรค์

8. น่าน

9. พะเยา

โทร. 0-5338-2148 โทรสาร 0-5338-2162 โทร. 0-5551-7391 โทรสาร 0-5551-6996 โทร. 0-5553-4387 โทรสาร 0-5553-4218

กระทรวงยุติธรรม

5. ตาก

โทร. 0-5315-0190 โทรสาร 0-5317-7339 โทร. 0-5323-1157-8 โทรสาร 0-5323-1158

โทร. 0-5637-1920 โทรสาร 0-5637-1921 โทร. 0-5477-5820 โทรสาร 0-5477-5820 โทร. 0-5444-9705 โทรสาร 0-5444-9706

21


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

22

กระทรวงยุติธรรม

จังหวัด 10. พิจิตร

สถานที่ตั้งและที่อยู่

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิจิตร บริเวณทางเข้า ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองจังหวัดพิจิตร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000 11. พิษณุโลก ส�ำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก (หลังเก่า) เลขที่ 83 ถนนบรมไตรโลกนารถ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 12. เพชรบูรณ์ อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์ เลขที่ 329/18 ถนนสามัคคีชัย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 13. แพร่ เรือนจ�ำจังหวัดแพร่ อาคารฝ่ายฝึกวิชาชีพ เลขที่ 20 ถนนไชยบูรณ์ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000 14. แม่ฮ่องสอน ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนขุนลุมประภาส ต�ำบลจองค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000 15. ล�ำปาง อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางล�ำปาง เลขที่ 100 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52000 16. ล�ำพูน ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดล�ำพูน 159/7 หมู่ 10 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน 51000 17. สุโขทัย ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย อาคาร 1 ชั้น 1 ถนนนิกรเกษม ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000 อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ 18. อุตรดิตถ์ เลขที่ 8 ถนนศรอัศนีย์ ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000 19. อุทัยธานี เรือนจ�ำจังหวัดอุทัยธานี เลขที่ 23 ถนนศรีอุทัย ต�ำบลอุทัยใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000

โทรศัพท์, โทรสาร โทร. 0-5661-5743 โทรสาร 0-5661-5708 โทร. 0-5524-7074-5 โทรสาร 0-5524-7074 โทร. 0-5672-6458-9 โทรสาร 0-5672-6459 โทร. 0-5452-2528 โทรสาร 0-5452-1866 โทร. 0-5361-2080 โทรสาร 0-5361-2077 โทร. 0-5422-7768 โทรสาร 0-5422-5478 โทร. 0-5352-5510 โทรสาร 0-5352-5510 โทร. 0-5561-3483 โทรสาร 0-5561-3484 โทร. 0-5583-0832 โทรสาร 0-5583-0833 โทร. 0-5657-1336 โทรสาร 0-5651-3805


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

จังหวัด 1. กาฬสินธุ์

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทร. 0-4381-6403 โทรสาร 0-4381-6404 โทร. 0-4324-3707 โทรสาร 0-4324-6771 โทร. 0-4481-3452 โทรสาร 0-4481-3453 โทร. 0-4251-1823 โทรสาร 0-4251-1832 โทร. 0-4424-6950 08-4715-1999 (M) 08-1760-1431 (M) โทรสาร 0-4424-6950 โทร. 0-4460-2309 โทรสาร 0-4460-2308

กระทรวงยุติธรรม

ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ ชั้น 2 ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 2. ขอนแก่น ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ชั้น 5 (หลังใหม่) ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 3. ชัยภูมิ อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยภูมิ ชั้น 1 ถนนบรรณาการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000 4. นครพนม อาคารศูนย์ฟิตเนต (เรือนจ�ำเก่า) เลขที่ 394 ถนนอภิบาลบัญชา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000 5. นครราชสีมา ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 1119/32 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 6. บุรีรัมย์ อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ เรือนจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ (ตรงข้ามไปรษณีย์บุรีรัมย์) ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000 7. มหาสารคาม ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดมหาสารคาม เลขที่ 82/3 ถนนนครสวรรค์ ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000

โทรศัพท์, โทรสาร

โทร. 0-4372-2077 โทรสาร 0-4372-2077

23


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

24

กระทรวงยุติธรรม

จังหวัด 8. มุกดาหาร

9. ยโสธร

สถานที่ตั้งและที่อยู่ ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดมุกดาหาร ถนนพิทักษ์พนมเขต อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000

อาคารศาลากลางหลังใหม่ ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 10. ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 11. เลย ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเลย ชั้น 1 หมู่ที่ 1 ถนนจรัสศรี ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 12. ศรีสะเกษ ศาลากลางจังหวัด (หลังเก่า) ชั้น 1 ถนนเทพา ต�ำบลเมืองเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 13. สกลนคร ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสกลนคร 1903 ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 14. สุรินทร์ ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองสุรินทร์ (หลังเก่า) ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 15. สุรินทร์ ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี สาขารัตนบุรี เลขที่ 258 หมู่ 12 ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 32130 16. หนองคาย ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ชั้น 3 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลหนองกอมเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 17. หนองบัวล�ำภู อาคารส�ำนักงานบังคับคดี ชั้น 1 ศูนย์ราชการจังหวัด ต�ำบลล�ำภู อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู 39000

โทรศัพท์, โทรสาร โทร. 0-4261-4401 โทรสาร 0-4261-4402 มหาดไทย 48745, 48746 โทร. 0-4572-5180 โทรสาร 0-4572-5179 โทร. 0-4351-3233 โทรสาร 0-4351-3244 โทร. 0-4281-4737 โทรสาร 0-4281-4742 โทร. 0-4564-3657-8 โทรสาร 0-4564-3658 โทร. 0-4271-3400 โทรสาร 0-4271-2037 โทร. 0-4451-9020 โทรสาร 0-4451-9070 โทร. 0-4459-9266 โทรสาร 0-4459-9266 โทร. 0-4241-3774-6 โทรสาร 0-4241-3775 โทร. 0-4237-8404 โทรสาร 0-4237-8405


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

จังหวัด

สถานที่ตั้งและที่อยู่

18. อ�ำนาจเจริญ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดอ�ำนาจเจริญ อาคารศูนย์ราชการจังหวัด ชั้น 3 ถนนชยางกูร ต�ำบลโนนหนามแท่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000 19. อุดรธานี อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุดรธานี เลขที่ 75 ถนนหมากแข้ง ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 20. อุบลราชธานี อาคารอเนกประสงค์ ชั้น 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ถนนสุรศักดิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 21. บึงกาฬ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดบึงกาฬ เลขที่ 500/2 หมู่ 1 ต�ำบลวิศิษฐ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000

โทรศัพท์, โทรสาร โทร. 0-4552-3172 โทรสาร 0-4552-3171 โทร. 0-4224-9345 0-4224-9143 โทรสาร 0-4224-9345 โทร. 0-4524-1708 โทรสาร 0-4524-1708 โทร. 0-4249-1639 โทรสาร 0-4249-1639

กระทรวงยุติธรรม

25


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

ข้อมูลการติดต่อ สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคกลาง จังหวัด 1. กาญจนบุรี

2. จันทบุรี 3. ฉะเชิงเทรา

4. ชลบุรี

5. ชัยนาท 6. ตราด 7. นครนายก

26

สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทรศัพท์, โทรสาร

ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดกาญจนบุรี เลขที่ 200/16 หมู่ 12 ถนนแม่น�้ำแม่กลอง ต�ำบลปากแพรก อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดจันทบุรี เลขที่ 13/1 ถนนท่าหลวง ต�ำบลวัดใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000 ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดฉะเชิงเทรา อาคารองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา (หลังเก่า) ชั้น 3 ถนนยุทธด�ำเนิน ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดชลบุรี เรือนจ�ำกลางชลบุรี เลขที่ 135/5 หมู่ที่ 2 ถนนพระยาสัจจา ต�ำบลบ้านสวน อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยนาท ชั้น 2 ถนนพรหมประเสริฐ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000 อาคารบูรณาการกระทรวงยุตธิ รรมจังหวัดตราด เลขที่ 1133 หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด 23000 ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครนายก เลขที่ 74/14-15 หมู่ 7 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลบ้านใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000

โทร. 0-3456-4175 โทรสาร 0-3456-4254 โทร. 0-3930-2480 โทรสาร 0-3930-2479 โทร. 0-3851-4375 โทรสาร 0-3851-4375

โทร. 0-3828-8932 โทรสาร 0-3828-8933 โทร. 0-5641-1928, 0-5641-1873 โทรสาร 0-5641-2103 โทร. 0-3952-4031-2 โทรสาร 0-3952-4033 โทร.0-3731-5002 โทรสาร 0-3731-5053


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

จังหวัด 8. นครปฐม

9. นนทบุรี

10. ปทุมธานี

สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทรศัพท์, โทรสาร

เรือนจ�ำกลางนครปฐม เลขที่ 5 ถนนหน้าพระ ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี (ชั้น 2) ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 0-3421-3169 โทรสาร 0-3421-3165

โทร. 0-2589-0481 ต่อ 141 โทรสาร 0-2589-0481 ต่อ 141 ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ชั้น 2 (หลังเก่า) โทร. 0-2581-3990 โทรสาร 0-2581-3991 อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทร. 0-3260-1326 โทรสาร 0-3260-1258 โทร. 0-3721-2088 โทรสาร 0-3721-1616 โทร. 0-3570-8387-8 โทรสาร 0-3532-4221

โทร. 0-3240-2590 โทรสาร 0-3240-2591

กระทรวงยุติธรรม

11. ประจวบคีรีขันธ์ ศาลากลางจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชั้น 2 (หลังเก่า) ต�ำบลประจวบคีรีขันธ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000 12. ปราจีนบุรี ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปราจีนบุรี เลขที่ 702 ถนนปราจีนอนุสรณ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000 13. พระนครศรีอยุธยา ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษพระนครศรีอยุธยา ถนนศรีสรรเพชญ ต�ำบลประตูชัย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 14. เพชรบุรี เรือนจ�ำกลางจังหวัดเพชรบุรี เลขที่ 69 ถนนหน้าเรือนจ�ำ ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 15. ระยอง สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดระยอง เลขที่ 144 หมู่ 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 16. ราชบุรี ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนเขต 2 จังหวัดราชบุรี ถนนหนองแช่เสา-หนองกระทุ่ม ต�ำบลกองหิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000

โทร. 0-3801-1701 โทรสาร 0-3801-1702

โทร. 0-3237-3373 โทรสาร 0-3232-3612

27


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

จังหวัด 17. ลพบุรี

18. สมุทรปราการ

19. สมุทรสงคราม

20. สมุทรสาคร

21. สระแก้ว

22. สระบุรี

23. สิงห์บุรี

24. สุพรรณบุรี

25. อ่างทอง

28

สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทรศัพท์, โทรสาร

อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางลพบุรี เลขที่ 88 ถนนพระปิยะ ต�ำบลทะเลชุบศร อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรปราการ เลขที่ 545/1 ชัน้ 2 ถนนสุขมุ วิท ต�ำบลปากนำ�้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270 ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสมุทรสงคราม อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรม ชั้น 1 เลขที่ 212 หมู่ที่ 3 ต�ำบลลาดใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดสมุทรสาคร ชัน้ 3 เลขที่ 923/588 ถนนท่าปรง ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสระแก้ว อาคารหอประชุมชั้น 2 ศูนย์ราชการ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000 เรือนจ�ำจังหวัดสระบุรี เลขที่ 2 ซอย 17 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000 อาคารศรีประมงค์ เลขที่ 259/6 (ตลาดคลองถม) ถนนสิงห์บุรี-บางระจัน ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000 อาคารบริษัทศรีพูนทรัพย์ เลขที่ 137 ถนนมาลัยแมน ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000 เรือนจ�ำจังหวัดอ่างทอง เลขที่ 47/25 หมู่ 2 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000

โทร. 0-3641-3991-2 โทรสาร 0-3641-3991 โทร. 0-2395-3882, 0-2395-3705 โทรสาร 0-2395-3882 โทร. 0-3471-8420-1 โทรสาร 0-3471-8421

โทร. 0-3442-5236 โทรสาร 0-3442-6236 โทร. 0-3742-5320 โทรสาร 0-3742-5321 โทร. 0-3621-3158 โทรสาร 0-3621-3159 โทร. 0-3652-3755-6 โทรสาร 0-3652-3755

โทร. 0-3552-4126 โทรสาร 0-3552-4127 โทร. 0-3561-5787-8 โทรสาร 0-3561-5787


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด

ภาคใต้ จังหวัด 1. กระบี่

สถานที่ตั้งและที่อยู่

โทร. 0-7562-4551 โทรสาร 0-7562-4552

โทร. 0-7751-2164 โทรสาร 0-7751-2165 โทร. 0-7521-4562 โทรสาร 0-7521-4773 โทร. 0-7534-4633 โทรสาร 0-7535-6139 โทร. 0-7353-1234-5 โทรสาร 0-7353-1234

กระทรวงยุติธรรม

อาคารจ�ำหน่วยผลิตภัณฑ์เรือนจ�ำจังหวัดกระบี่ เลขที่ 65/17 ถนนกระบี่-เขาทอง ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 2. ชุมพร ศาลากลางจังหวัดชุมพร ชั้น 4 หมู่ที่ 1 ถนนไตรรัตน์ ต�ำบลนาชะอัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 3. ตรัง อาคารพุทธคุณพาหุง ศาลากลางจังหวัดตรัง ถนนพระรามหก ต�ำบลทับเที่ยง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000 4. นครศรีธรรมราช ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช เลขที่ 259 ถนนเทวะบุรี ต�ำบลโพธิ์เสด็จ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 5. นราธิวาส ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนราธิวาส (อาคารพาณิชย์) เลขที่ 156 ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต�ำบลบางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 6. ปัตตานี ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี 49/7 ถนนกะลาพอ ต�ำบลจะบังติกอ อ�ำภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000 7. พังงา ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา เลขที่ 4/2 ถนนเจริญราษฎร์ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000

โทรศัพท์, โทรสาร

โทร. 0-7333-4031 โทรสาร 0-7333-4032 โทร. 0-7648-1820 โทรสาร 0-7648-1819

29


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

30

กระทรวงยุติธรรม

จังหวัด 8. พัทลุง

สถานที่ตั้งและที่อยู่

ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพัทลุง เลขที่ 25 ถนนช่วยทุกขราษฎร์ ต�ำบลคูหาสวรรค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 สถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดภูเก็ต 9. ภูเก็ต เลขที่ 38/14 ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 10. ยะลา อาคารศาลากลางจังหวัดยะลา (หลังเก่า) ชั้น 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 11. ยะลา ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา สาขาเบตง สาขาเบตง (ติดกับพิพิธภัณฑ์เมืองเบตง) ต�ำบลเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110 12. ระนอง เรือนจ�ำจังหวัดระนอง เลขที่ 349 ถนนเรืองราษฎร์ ต�ำบลเขานิเวศน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000 13. สงขลา ศาลากลางจังหวัดสงขลา (หลังเก่า) ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 14. สตูล ศาลากลางจังหวัดสตูล (หลังใหม่) ชั้น 1 ถนนสตูลธานี ต�ำบลพิมาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 15. สุราษฎร์ธานี อาคารส�ำนักงานส่วนราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตึกอัยการ ชั้น 2 ถนนดอนนก ต�ำบลมะขามเตี้ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 16. สุราษฎร์ธานี อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมอ�ำเภอเกาะสมุย สาขาเกาะสมุย เลขที่ 95/30 หมู่ที่ 5 ต�ำบลมะเร็ต อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84310

โทรศัพท์, โทรสาร โทร. 0-7461-6241 โทรสาร 0-7461-7239

โทร. 0-7621-5850 โทรสาร 0-7621-5850

โทร. 0-7322-2624 โทรสาร 0-7322-2624 โทร. 08-6480-5654 โทรสาร 08-6480-5655 โทร. 0-7782-5446 โทรสาร 0-7782-5445 โทร. 0-7430-7240-1 โทรสาร 0-7430-7241 โทร. 0-7472-3032 โทรสาร 0-7472-3032 โทร. 0-7728-8652 โทรสาร 0-7728-8652 โทร. 0-7741-9199 โทรสาร 0-7741-8544


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

1

พระราชก�ำหนด 1

กระทรวงยุติธรรม

พระราชก�ำหนดเป็นกฎหมายประเภทหนึ่ง มีศักดิ์และสิทธิเท่ากับ พระราชบั ญ ญั ติ พวกเราในฐานะประชาชนคนไทยต้ อ งเคารพและปฏิ บั ติ ตามกฎหมายที่ เ ป็ น พระราชบั ญ ญั ติ ฉั น ใด ก็ ย ่ อ มต้ อ งเคารพและปฏิ บั ติ ต าม พระราชก�ำหนดฉั น นั้ น ความแตกต่ า งของกฎหมายสองประเภทนี้ อ ยู ่ ต รงที่ หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รซึ่ ง พิ จ ารณาจั ด ท�ำยกร่ า งต่ า งกั น องค์ ก รผู ้ พิ จ ารณา พระราชบัญญัติคือรัฐสภา ส่วนพระราชก�ำหนดนั้นคือ คณะรัฐมนตรี กระนั้นก็ดี เมื่อพิจารณาร่างพระราชก�ำหนดแล้วเสร็จ น�ำขึ้นทูลเกล้าฯ ทรงลงพระปรมาภิไธย และน�ำไปลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใช้บงั คับเป็นกฎหมายแล้ว คณะรัฐมนตรี ต้องน�ำพระราชก�ำหนดฉบับนั้นไปขออนุมัติจากรัฐสภาอีกครั้งหนึ่ง 1


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

2

พระราชก�ำหนด 2

แม้พระราชก�ำหนดทีค่ ณะรัฐมนตรีจดั ท�ำขึน้ จะเป็นกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับ กับพวกเราได้เช่นเดียวกับพระราชบัญญัติก็ตาม แต่ด้วยความที่คณะรัฐมนตรี มิได้ประกอบไปด้วยผู้แทนของประชาชน ผู้เป็นเจ้าของอ�ำนาจสูงสุดหรืออ�ำนาจ อธิปไตย ดังเช่นกรณีของรัฐสภา ดังนั้นเมื่อมีการน�ำพระราชก�ำหนดลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังใช้คบั แล้ว คณะรัฐมนตรีกม็ หี น้าทีน่ �ำพระราชก�ำหนด นัน้ ไปขอความเห็นชอบจากรัฐสภาอีกคราหนึง่ โดยเสนอทีป่ ระชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร ก่อนไปทีป่ ระชุมวุฒสิ ภา หากทัง้ สองสภาเห็นชอบ พระราชก�ำหนดก็จะเป็นกฎหมาย ถาวรของแผ่นดิน ในท�ำนองเดียวกันกับพระราชบัญญัติ เพียงแต่ค�ำเรียกขานยังเป็น แบบเดิม ยังคงใช้ชื่อว่า พระราชก�ำหนดต่อไป 2


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

3

พระราชก�ำหนด 3 ทฤษฎีทางรัฐธรรมนูญที่ยอมรับกันสากลทั่วไปในนานาอารยประเทศ ทัง้ หลาย อ�ำนาจออกกฎหมาย อ�ำนาจทีส่ �ำคัญทีส่ ดุ ในบรรดาอ�ำนาจอธิปไตยทัง้ สาม จะเป็นของรัฐสภา ซึ่งประกอบไปด้วย ส.ส. และ ส.ว. หรืออีกนัยหนึ่งคือ สถาบัน ที่ มี ผู ้ แ ทนมาจากการเลื อ กตั้ ง โดยตรงของประชาชน มาร่ ว มกั น คิ ด ร่ ว มกั น ตั ด สิ น ใจออกกฎหมายแทนประชาชน แต่ บ างครั้ ง บางคราว หากจะรอให้ มี การประชุมรัฐสภาเห็นทีจะล่าช้าไม่ทันกาล จึงต้องให้ฝ่ายบริหาร คือคณะรัฐมนตรี มาช่วยคิดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า โดยการตราเป็นพระราชก�ำหนด เพื่อลด ภัยพิบัติ และป้องปัดเหตุร้ายมิให้กล�้ำกลายประชาชน มิให้ต้องผจญน�้ำท่วมกันอีก จึงได้มีการตราพระราชก�ำหนด 4 ฉบับเพื่อจัดการกับปัญหาน�้ำท่วม กระทรวงยุติธรรม 3


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 4

กระทรวงยุติธรรม

4

แต่งเครื่องแบบ รด. เวลาบ่ายๆ เย็นๆ ขับรถผ่านไปทาง ถนนวิภาวดีรงั สิต แถวๆ ดินแดง จะพบเด็กวัยรุน่ แต่งกายคล้ายทหาร  เรียกว่าเป็นนักศึกษา วิชาทหารหรือที่คุ้นหูก็คือ  รด.  เดินออกจาก โรงเรียนนักศึกษาดินแดงศูนย์กลางก�ำลังส�ำรอง ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นบริเวณใกล้เคียง เครือ่ งแบบนักศึกษา วิชาทหารหรือเครื่องแบบ รด. นี้ ก็เป็นอีกหนึ่ง ในเครื่ อ งแบบที่ มี ก ฎหมายคุ ้ ม ครองไว้ เ ป็ น การเฉพาะ  ไม่ ใ ช่ เ ครื่ อ งแต่ ง กายที่ ใ ครจะ หยิบฉวยมาแต่งกันได้ง่ายๆ ถ้าไม่ได้เรียน รด. ไม่ได้เป็นนักศึกษาวิชาทหาร แต่ทะลึ่งไปแต่ง เครื่องแบบนักศึกษาวิชาทหาร ก็อาจต้องโทษ จ�ำคุกถึง 1 ปี  ปรับสูงสุดถึง  2,000 บาท และยิ่ ง ถ้ า ไปแต่ ง ในช่ ว งที่ มี ก ารประกาศใช้ กฎอัยการศึก  ในช่วงสงคราม  หรือแต่งเพื่อ กระท�ำความผิ ด อาญาโทษจะหนั ก หนาเป็ น เท่าทวีคูณ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

5

แต่งเครื่องแบบชุดครุย

กระทรวงยุติธรรม

หลายปี ม าแล้ ว   ในช่ ว ง มหาวิทยาลัยต่างๆ จัดงานพิธพี ระราชทาน ปริญญาบัตร มีการถ่ายภาพหมู่บัณฑิต บัณฑิตถ่ายภาพกับบรรดาเครือญาติที่มา ร่วมอวยพร เคยมีคนทีไ่ ม่ได้เรียนในสถาบัน แห่งนั้น  แต่งเครื่องแบบชุดครุยมาร่วม ถ่ า ยรู ป กั บ บั ณ ฑิ ต คนอื่ น ๆ ด้ ว ย และก็ โพสต์ไว้ตามเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อประกาศ ว่ า ตนจบปริ ญ ญานี้   จากสถาบั น แห่ ง นี้ แต่ เ ดิ ม นั้ น ถ้ า ไม่ ไ ด้ ท�ำเพื่ อ หลอกลวง หวั ง จะได้ ท รั พ ย์ สิ น เงิ น ทองจากใคร แม้เป็นการโป้ปดมดเท็จ  ก็ยากเอาผิด ทางกฎหมายได้ อย่างไรก็ดี ด้วยเหตุที่ มีการร้องเรียนไปยังมหาวิทยาลัยต่างๆ หลายครั้ ง ดั ง นั้ น กฎหมายของหลาย มหาวิ ท ยาลั ย ที่ แ ก้ ไ ขใหม่   อย่ า งเช่ น มหาวิทยาลัยมหิดล จึงห้ามไว้ชัด และ ผู้ฝ่าฝืนไปแต่งชุดครุยวิทยฐานะโดยไม่มี สิทธิ ก็เสี่ยงต้องติดคุกถึง 6 เดือน

5


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 6

กระทรวงยุติธรรม

6

แต่งเครื่องแบบมหาวิทยาลัย

เครื่องแบบนิสิต นัก ศึก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ หลายแห่ ง เป็ น เครื่ อ งแต่ ง กายที่ ส งวนไว้ ใ ห้ แ ก่ นิสิต นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยแห่งนั้นเท่านั้น บุคคลอื่นๆ ทั่วไปไม่อาจน�ำมาใส่ได้ ข้อห้ามนี้ รวมไปถึงชุดครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุ ย ประจ�ำต�ำแหน่ ง และเครื่ อ งแบบ เครือ่ งแต่งกาย เครือ่ งหมายของพนักงาน มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ เหล่ า นั้ น ด้ ว ย ยกตั ว อย่ า งเช่ น ผู ้ ที่ ฝ ่ า ฝื น ไปแต่ ง เครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัย เชียงใหม่โดยทีต่ นไม่ได้ลงทะเบียน เรียนที่นั่น ถ้าการแต่งกายดังกล่าว กระท�ำไปเพื่อให้บุคคลหลงผิด คิดว่า ตนเป็นนักศึกษาของสถาบันแห่งนั้น ก็ย่อม มีความผิดตามกฎหมายต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

7

จีวรพระภิกษุสามเณร

กระทรวงยุติธรรม

จีวรพระภิกษุ สามเณรนั้น เป็นเครื่องนุ่งห่มร่างกายอีกลักษณะหนึ่ง ที่ มี ก ฎหมายห้ า มไว้ เ ป็ น การเฉพาะ ผู ้ ที่ ไ ม่ ไ ด้ อุ ป สมบทอย่ า งถู ก ต้ อ งตามหลั ก พระพุ ท ธศาสนา แม้ จ ะได้ โ กนหั ว นุ ่ ง เหลื อ งห่ ม เหลื อ งก็ ไ ม่ อ าจถื อ ว่ า เป็ น พระ หรือสามเณรจริง ถ้าหากการกระท�ำดังกล่าวกระท�ำไปโดยรู้อยู่แล้วว่าตนไม่ใช่ พระภิกษุ สามเณร แต่นุ่งเหลืองห่มเหลืองเพื่อให้บุคคลอื่นหลงเชื่อ ว่าตนเป็นพระ หรือสามเณร เช่นนี้ย่อมเป็นการฝ่าฝืนประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 208 อาจต้องรับโทษไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ อนึง่ กฎหมาย มาตรานีไ้ ม่ได้คมุ้ ครองเฉพาะพระภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนาเท่านัน้ แต่ยงั ห้าม ไปถึงการแต่งกายเลียนแบบนักพรต นักบวชในศาสนาอื่นๆ ด้วย 7


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

8

เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 1

การแต่งกายของเรานัน้ เป็นสิทธิเสรีภาพ เราอยากจะแต่งองค์ทรงเครือ่ ง ด้วยเสื้อผ้าอาภรณ์อย่างใดก็ได้ บางครั้งอาจผิดธรรมเนียมฝืนมารยาทสังคมไปบ้าง ถ้าไม่ถึงขั้นอนาจาร ไม่เป็นการแต่งเลียนแบบเจ้าพนักงาน พระภิกษุสามเณรเพื่อ ให้คนอื่นหลงเชื่อ ก็ย่อมกระท�ำได้โดยไม่ผิดกฎหมาย อย่างไรก็ดีบุคคลที่ประกอบ อาชีพบางอย่าง ซึ่งต้องติดต่อสัมพันธ์กันกับประชาชนทั่วไปเป็นประจ�ำ โดยมาก มักเป็นงานบริการ ซึ่งบางครั้งมีมิจฉาชีพแฝงตัว เข้าไปหาลู่ทางก่อเหตุร้าย อาชีพ เหล่านั้นก็เช่นคนขับรถแท็กซี่ คนขับรถรับจ้างสาธารณะ รถโดยสารทัศนาจร หรือ แม้แต่วนิ มอเตอร์ไซค์ ก็จะมีกฎหมายก�ำหนดเครือ่ งแบบการแต่งกายไว้ เพือ่ คุม้ ครอง ผู้ที่โดยสารยวดยานพาหนะเหล่านั้น และจะได้กล่าวในตอนต่อๆ ไป 8


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

9

เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 2

กระทรวงยุติธรรม

เวลาที่ขึ้นรถโดยสารรถแท็กซี่ เคยสังเกตไหมว่าคนขับรถแท็กซี่นั้นจะ สวมเครื่องแบบ ซึ่งปกติที่เราเห็นมักเป็นเสื้อเชิ้ตสีฟ้า มีชื่อปักไว้อกเสื้อด้านซ้าย สวมกางเกงขายาวสีเข้ม และสวมรองเท้าหุ้มส้นหุ้มข้อ คนขับแท็กซี่ท่านใด แต่งกายตามนี้ ก็มั่นใจได้ว่าปฏิบัติตามกฎหมายจราจรทางบก และประกาศ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติแล้ว ไม่ต้องกังวลว่าจะถูกจับถูกปรับสูงสุดถึง 500 บาท อย่างไรก็ดี อันที่จริงประกาศดังกล่าวไม่ได้เจาะจงให้ใส่เสื้อสีฟ้าเท่านั้น แต่ระบุ กว้างๆ ไว้เพียงว่า คนขับรถแท็กซี่ต้องแต่งกายสะอาด สุภาพ ใส่เสื้อเชิ้ตคอพับไม่มี ลวดลาย จะแขนยาวแขนสั้นก็ได้ ข้อส�ำคัญก็คือต้องมีชื่อตัว ชื่อสกุลตัวใหญ่ ที่เห็น ได้ชัดเจนติดไว้ที่อกเสื้อด้านซ้าย 9


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 10

กระทรวงยุติธรรม

10

เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 3 เพือ่ ป้องกันและบรรเทาอาชญากรรม เพื่ อ สะดวกแก่ ก ารติ ด ตามคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ์ แ ก่ ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารรถยนต์ ส าธารณะ  ทั้ ง รถเมล์ รถบัส  รถสองแถว  รถแท็กซี่  และรถอื่นๆ ในท�ำนองเดียวกัน ประกาศตามพระราชบัญญัติ รถยนต์ และพระราชบัญญัติทางบก จึงก�ำหนด ให้ผู้ขับขี่ดังกล่าว  ต้องสวมเครื่องแบบทุกครั้ง ในเวลาที่ อ อกขั บ รถรั บ จ้ า งออกให้ บ ริ ก าร ผู้โดยสาร  โดยต้องสวมเสื้อเชิ้ตคอพับไม่มี ลวดลาย แขนสั้น แขนยาวก็ได้ สอดไว้ข้างใน กางเกงขายาว  ใส่รองเท้าหุ้มส้นสะอาดและ สุภาพ และที่ส�ำคัญเสื้อด้านซ้ายต้องมีชื่อตัว และชื่อสกุล ของผู้ขับขี่รถสาธารณะ ตัวอักษร ดังกล่าวไม่น้อยกว่า 1.50 เซนติเมตร ปรากฏ ให้เห็นเด่นชัดด้วย


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

11

เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 4

กระทรวงยุติธรรม

เครือ่ งแต่งกายของผูข้ บั ขีร่ ถโดยสาร สาธารณะทัง้ หลาย จะมีกฎหมายก�ำกับไว้หลักๆ ก็คือประกาศส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติส�ำหรับ รถแท็กซี่ และกฎกระทรวงตามกฎหมายรถยนต์ ส�ำหรับตัวอย่างเช่นมอเตอร์ไซค์รับจ้าง หรือ วินมอเตอร์ไซค์  ต้องแต่งกายสะอาด สุภาพ จะใส่ เ สื้ อ แขนยาว  หรื อ แขนสั้ น ก็ ไ ด้   ใส่ เสื้ อ เชิ้ ต หรื อ เสื้ อ ยื ดก็ไม่เป็น ไร  ไม่ได้บั งคั บ ให้ ต ้ อ งใส่ เ สื้ อ เชิ้ ต อย่ า งกรณี ค นขั บ แท็ ก ซี่ แต่ทั้งนี้วินมอเตอร์ไซค์ต้องใส่กางเกงขายาว ทรงสุ ภ าพ  และต้ อ งสวมรองเท้ า หุ ้ ม ส้ น หุ้มข้อเสมอ  และที่ส�ำคัญต้องใส่เสื้อกั๊กหรือ เสือ้ คลุม เท่าทีเ่ ห็นในกรุงเทพฯ จะเป็นเสือ้ สีสม้ สกรีนเขตท้องที่ ชื่อวิน และหมายเลขก�ำกับไว้ ตัวใหญ่ๆ ด้านหลังเสื้อ

11


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 12

กระทรวงยุติธรรม

12

เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 5 เครื่ อ งแต่ ง กายของผู ้ ขั บ ขี่ ร ถโดยสารสาธารณะทั้ ง หลายจะมี กฎหมายก�ำกับไว้ หลักๆ ก็คือประกาศ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติส�ำหรับกรณี รถแท็ ก ซี่ และกฎกระทรวงตามกฎหมายรถยนต์ ส�ำหรั บ ผู ้ ที่ ขั บ ขี่ ร ถ ประเภทอื่นๆ ตัวอย่างเช่นคนขับรถบริการธุรกิจ และคนขับรถบริการทัศนาจร ในขณะที่ขับรับจ้างต้องแต่งกายสะอาด สุ ภ าพด้ ว ยเสื้ อ เชิ้ ต คอตั้ ง หรื อ คอพั บ ไม่มีลวดลาย จะเป็นเสื้อแขนยาว หรือ แขนสัน้ ก็ได้ ใส่เสือ้ เข้าในกางเกง เว้นแต่ แบบของเสือ้ ไม่เอือ้ ให้ท�ำเช่นนัน้ กางเกง ต้ อ งเป็ น กางเกงขายาวไม่ มี ล วดลาย สีเดียวกันกับเสื้อหรือสีอื่นๆ ที่เข้มกว่า รองเท้าต้องเป็นรองเท้าหุ้มส้น หรือ หุ้มข้อแต่เหตุที่กฎหมายก�ำหนดเช่นนี้ ก็เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและ ให้เป็นจุดสังเกตส�ำหรับผู้โดยสาร


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

13

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล

กระทรวงยุติธรรม

ชื่ อ นั้ น ส�ำคั ญ ไหม ถ้ า ไม่ ส�ำคั ญ แล้ ว เหตุ ไ ฉน เวลามี ส มาชิ ก ใหม่ ในครอบครัว จึงต้องวิ่งวุ่น หาต�ำราการตั้งชื่อ พยัญชนะตัวนี้เป็นมงคล หรือสระ ตัวนี้เป็นกาลกิณี ไม่เหมาะกับการตั้งชื่อผู้ที่เกิดในวันนี้ เดือนนี้ ปีนี้ บางท่าน ถึงขนาดต้องหาครูบาอาจารย์ หรือไม่ก็หมอดู พระภิกษุผู้ช�ำนาญโหรามาตั้งชื่อให้ ว่ากันว่าชื่อดีก็มีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว หรือหากจะพูดกันแบบสมัยใหม่ ชื่อเป็นค�ำ เรียกขานให้รู้ตัวบุคคลที่เราก�ำลังกล่าวถึงเพราะคนแต่ละคนเป็นผู้ทรงสิทธิหน้าที่ ตามกฎหมายเป็นเจ้าของทรัพย์สิน เป็นสมาชิกของสังคม ดังนั้น เพื่อให้จ�ำแนก แยกแยะคนแต่ละคนออกจากกันได้ ทุกประเทศจึงมีกฎหมายว่าด้วยชื่อของบุคคล อย่างของคนไทยเราก็มชี อื่ ตัว ชือ่ รองและชือ่ สกุล ตามทีก่ �ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ชื่อบุคคลพุทธศักราช 2505

13


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

14

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 1

ก่อนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จะทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติขนานนามสกุลพระพุทธศักราช 2456 พี่น้องคนไทยในสมัยก่อนๆ ถ้ารับราชการมีบรรดาศักดิ์ จะเรียกขานกัน ตามราชทินนามที่ได้รับพระราชทาน เช่น พระยาปัญจนึกพินาถ หรือถ้าเป็น คนธรรมดาก็จะเรียกขานกันตามชื่อ ถ้าชื่อซ�้ำกันก็จะอาศัยลักษณะเฉพาะของ บุคคล หรือพื้นเพที่อยู่มาช่วยขยายความให้ชัดเจนว่าหมายถึงใคร เช่น นายจันทร์ หนวดเขี้ยว นางนาคพระโขนง เป็นต้น แต่เมื่อผู้คนเพิ่มจ�ำนวน สังคมขยายวงกว้าง ก็จ�ำเป็นจะต้องมีระบบเรียกขานให้ชัดเจน อันจะช่วยเป็นหลักฐานการสืบเชื้อสาย นับพี่ นับน้อง นับญาติ ได้อย่างถูกต้อง และนี่ก็เป็นเหตุผลที่มาของการตรา กฎหมายขนานนามสกุล ในปี 2546 14


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

15

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 2 เมื่อประมาณ 99 ปีที่แล้ว ที่สยามประเทศนับวันจะมีแต่ประชากร เพิ่มมากขึ้น ชื่อเสียงเรียงนามของผู้คนก็ซ�้ำซ้อน ยากแก่การจ�ำแนกแยกแยะ ตัวบุคคล ทัง้ ยังยากต่อการนับญาติ การสืบเสาะเชือ้ สายวงศ์ตระกูล พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตราพระราชบัญญัตขิ นานนามสกุลพระพุทธศักราช 2456 ขึน้ ใช้บงั คับ พร้อมกันนัน้ พระองค์ก็ทรงพระราชทานนามสกุลให้บรรดาข้าราชบริพาร บุคคลต่างๆ ผู้ท�ำ คุณประโยชน์แก่ชาติ และผู้ประกอบสัมมาอาชีพทั้งหลาย ตลอดจนพสกนิกรทั่วไป รวม 6464 นามสกุล เกิดเป็นธรรมเนียมประเพณีโดยมีกฎหมายรองรับ ให้พวกเรา ได้มี ได้ใช้นามสกุลกันถ้วนทั่วทุกตัวคน จวบจนปัจจุบัน กระทรวงยุติธรรม 15


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

16

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 3

พระราชบัญญัติชื่อบุคคลพุทธศักราช 2505 ได้ก�ำหนดไว้ว่า บุคคล ทุกคนที่มีสัญชาติไทย จะต้องมีชื่อตัว และชื่อสกุล สองชื่อนี้ ชื่อตัวคือชื่อประจ�ำ บุคคล ชื่อของคนแต่ละคน และชื่อสกุลก็คือชื่อประจ�ำวงศ์สกุล เทือกเถาเหล่ากอ ของบุคคลที่เป็นญาติพี่น้องกัน อย่างไรก็ดียังมีชื่ออีกประเภทหนึ่ง ซึ่งแม้กฎหมาย รับรองไว้ แต่อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ นั่นก็คือชื่อรอง หรือชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว ซึ่งคนส่วนใหญ่ไม่นิยมใช้กัน เท่าที่พอเคยเห็นมักจะเป็นผู้หญิง ใช้นามสกุลเดิม ของตนเป็นชือ่ รอง หลังจากทีจ่ ดทะเบียนสมรส และเลือกเปลีย่ นไปใช้นามสกุลของ สามีแล้ว แต่ส�ำหรับชื่อเล่นที่มีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ในบรรดาคนในครอบครัว หรือในหมูเ่ พือ่ นสนิทนัน้ เป็นเพียงธรรมเนียมปฏิบตั ทิ วั่ ไปไม่มบี ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย 16


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

17

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 4

กระทรวงยุติธรรม

เมื่อครอบครัวใดมีสมาชิกใหม่ผู้เป็นพ่อเป็นแม่ก็มักจะเลือกสรรถ้อยค�ำ ที่มีความหมายดีๆ เป็นมงคลและถูกโฉลกกับสมาชิกตัวน้อยๆ คนนั้น มาใช้ตั้ง เป็นชื่อ ซึ่งจะว่าไปแล้ว การตั้งชื่อ ทั้งชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล จะตั้งกันอย่างไร ก็ได้เป็นสิทธิเสรีภาพของพวกเราทุกคน และแม้วา่ จะแจ้งชือ่ ต่อเจ้าหน้าที่ หรือแม้แต่ ออกเอกสารเป็นทางการแล้ว ก็ยงั สามารถเปลีย่ นชือ่ ได้เรือ่ ยๆ โดยเสียค่าธรรมเนียม ตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และรักษาไว้ซึ่งศีลธรรม อันดีงามของชนในชาติ พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช 2505 จึงห้ามมิให้ มีการใช้ชอื่ ตัวทีพ่ อ้ งเสียง หรือมุง่ หมายให้คล้ายคลึงพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และราชทินนาม อีกทั้งยังต้องไม่มีค�ำ หรือความหมายที่หยาบคายอีกด้วย

17


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 18

กระทรวงยุติธรรม

18

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 5 แม้ว่าการตั้งชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุล จะเป็นสิทธิเสรีภาพของเรา อยากจะตัง้ ชือ่ อย่างไรก็ได้ แม้จะมีความหมายในแง่ลบไม่เป็นศิรมิ งคลแก่ตวั เจ้าของ ชื่อ ก็อาจจะกระท�ำได้ กระนั้นก็ดีกฎหมายชื่อบุคคลก�ำหนดกรอบบางอย่างไว้ที่จะ ก้าวล่วงไม่ได้ นัน่ ก็คอื ชือ่ ตัว ชือ่ รอง หรือชือ่ สกุล จะพ้องเสียง หรือมุง่ หมายให้คล้ายคลึง กับพระปรมาภิไธย ซึ่งก็คือพระนาม หรือชื่อขององค์พระมหากษัตริย์ ตามที่จารึก ในพระสุพรรณบัฏหรือแผ่นทองจารึกพระนามพระมหากษัตริย์ มิได้ จะคล้ายคลึง กับพระนามของพระราชินี และราชทินนามต่างๆ ที่พระมหากษัตริย์พระราชทาน ไว้ก็มิได้ รวมทั้งจะต้องไม่มีค�ำ หรือความหมายหยาบคาย อาทิ จะน�ำเอาค�ำเรียก อวัยวะเพศ ไม่ว่าจะของชาย หรือของหญิง มาตั้งชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุล ไม่ได้


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

19

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 6

กระทรวงยุติธรรม

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช 2505 ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ ข้อห้ามการตัง้ ชือ่ ตัวของบุคคลต่างๆ ไว้แล้ว คือจะต้องไม่พอ้ งเสียง หรือมุง่ หมายให้ คล้ายคลึงกับพระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี และพระราชทินนาม รวมทั้ง ต้องไม่มีค�ำ หรือความหมายที่หยาบคาย พ้นไปจากเงื่อนไขและข้อห้ามต่างๆ แล้ว ต้องถือว่าการตั้งชื่อบุคคล เป็นสิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ ที่เรียกเป็นการ เฉพาะว่า สิทธิสว่ นบุคคล ดังนัน้ ถ้าไม่เข้าด้วยข้อห้ามต่างๆ ดังกล่าว เราจะตัง้ ชือ่ ของ เราอย่างไรก็ได้ อาทิ แม้กายเป็นชาย แต่ชอบและเลือกใช้ชอื่ ทีม่ คี วามหมายเป็นหญิง ก็กระท�ำได้ ชือ่ จะเป็นค�ำถอดเสียงจากภาษาต่างประเทศมาสะกดตามตัวอักษรไทย ก็กระท�ำได้ ไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นชื่อที่มีความหมายในภาษาไทยเท่านั้น แต่อย่างใด

19


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

20

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 7

รัฐธรรมนูญได้รับรองสิทธิส่วนบุคคลของพวกเราไว้ ซึ่งรวมไปถึงสิทธิ ในการเลือกใช้ชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุลของเราด้วย ดังนั้นพวกเราจึงมีสิทธิที่จะ เลือกใช้ชอื่ อย่างไรก็ได้ ตราบเท่าทีไ่ ม่เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอืน่ เช่น จะไปเอาชื่อสกุลของคนอื่นมาใช้ โดยที่เจ้าของนามสกุลไม่ยินยอมด้วยไม่ได้ และ ต้องไม่ขัดกับสิ่งที่พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พระพุทธศักราช 2505 ห้ามไว้ พ้นไป จากเงื่อนไขข้อห้ามต่างๆ ดังกล่าวแล้ว แม้อาจจะไม่เหมาะสม ดูไม่ดี ฟังไม่ไพเราะ ในสายตาของคนส่วนใหญ่ แต่กห็ าใช่ขอ้ ห้ามการตัง้ ชือ่ ของพวกเรา เช่นทีม่ กั จะมีคน เช้าใจผิดคิดว่าชื่อตัวต้องไม่เกิน 5 พยางค์ ชื่อต้องมีความหมายตรงกับเพศ หรือชื่อ ต้องเป็นค�ำที่มีความหมายในภาษาไทยเหล่านี้ไม่มีระบุห้ามไว้ในกฎหมาย จึงเป็น เสรีภาพที่เราเลือกใช้ได้ 20


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

21

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 8

กระทรวงยุติธรรม

ชือ่ ของบุคคลธรรมดา ที่ ก ฎหมายรั บ รองนั้ น ได้ แ ก่ ชื่ อ ตั ว ชื่ อ รอง และชื่ อ สกุ ล ชื่ อ รองนั้ น ก็ คื อ ชื่ อ ประกอบ ถัดจากชือ่ ตัว ซึง่ แม้คนส่วนใหญ่ ไม่ ค ่ อ ยนิ ย มใช้ กั น นั ก แต่ กฎหมายก็ ไ ด้ รั บ รองไว้ และ ทุ ก คนสามารถใช้ ไ ด้ ภ ายใต้ เงื่อนไขต่อไปนี้ หนึ่ง ต้องไม่พ้อง หรือคล้ายคลึงกับพระปรมาภิไธย พ ร ะ น า ม ข อ ง พ ร ะ ร า ชิ นี แ ล ะ ราชทิ น นาม สอง ต้ อ งไม่ มี ค�ำหรื อ ความหมายหยาบคาย และสามต้องไม่พ้อง กับนามสกุลของบุคคลอืน่ เว้นแต่เป็นกรณีคสู่ มรส สามี หรือภรรยา อาจเลือกใช้นามสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งเป็นชื่อรองได้หากได้รับ ความยินยอมจากฝ่ายทีเ่ ป็นเจ้าของนามสกุลนัน้ แล้ว หรือไม่เช่นนัน้ ก็เป็นกรณีทบี่ ตุ ร เลือกใช้นามสกุลเดิมของพ่อ หรือแม่ เป็นชื่อรอง นอกจากนี้ ผู้ที่ได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์ อาจใช้บรรดาศักดิ์ดังกล่าวเป็นชื่อรองของตนก็ได้

21


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

22

พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 9

เงื่อนไขการใช้ชื่อสกุล ซึ่งเบื้องต้นก็เป็นแบบเดียวกับชื่อตัว และชื่อรอง คือต้องไม่พอ้ ง พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี ต้องไม่มคี �ำหรือความหมาย หยาบคาย คล้ายๆ กับราชทินนามของบุคคลอื่นที่ไม่ใช่บุพการีของตน ตลอดจน ต้องไม่ซ�้ำกับนามสกุลที่ได้รับพระราชทาน หรือนามสกุลที่ได้มีการจดทะเบียนไว้ ก่อนหน้านั้นแล้ว และที่ส�ำคัญชื่อสกุลนั้นจะมีพยัญชนะเกินกว่า 10 ตัวอักษรไม่ได้ ย�้ำว่ากฎหมายนับเฉพาะพยัญชนะไม่ได้นับรวมสระหรือวรรณยุกต์ด้วย แต่ทั้งนี้ ก็มีข้อยกเว้น ส�ำหรับกรณีที่ใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล และมีพยัญชนะเกินกว่า 10 ตัวอักษร ก็ให้ใช้เป็นชื่อสกุลได้

22


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

23

ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 1 แต่ ก ่ อ นแต่ ไ รมา พระราชบั ญ ญั ติ ชื่ อ บุ ค คล พ.ศ. 2505 ก�ำหนด บังคับไว้ว่า หญิงมีสามีต้องใช้นามสกุลของสามีเท่านั้น จะใช้นามสกุลเดิมของตน ก่อนสมรสไม่ได้ หรือแม้จะใช้นามสกุลอื่นให้ผิดแผกแตกต่างไปจากนามสกุลที่สามี ใช้อยู่ก็ไม่ได้ ทางออก ณ ขณะนั้นก็คือ หญิงมีสามีทั้งหลายเลี่ยงไปใช้นามสกุลเดิม ของตนในฐานะที่เป็นชื่อรอง อย่างไรก็ดี เมื่อปี 2546 ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัย แล้วว่า บทบังคับให้หญิงมีสามีต้องใช้นามสกุลของสามีดังกล่าว เข้าข่ายเป็นการ เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อสตรี เพราะจัดให้มีสถานะทางกฎหมายที่ด้อยกว่า สามี เป็นการเลือกปฏิบัติระหว่างหญิงกับชาย ขัดต่อหลักความเสมอภาค จึงเป็น อันใช้บังคับมิได้ และนับแต่นั้นมา ผู้หญิงก็มีทางเลือกมากขึ้น กระทรวงยุติธรรม 23


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 24

กระทรวงยุติธรรม

24

ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 2 เมื่ อ ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ ได้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า พระราชบั ญ ญั ติ ชื่ อ บุ ค คล พ.ศ. 2505 มาตราที่ก�ำหนดบังคับให้หญิงมีสามีต้องใช้ชื่อสกุลของสามีขัดหรือ แย้ ง ต่ อ รั ฐ ธรรมนู ญ เพราะละเมิ ด หลั ก ความเสมอภาคระหว่ า งชายและหญิ ง ค�ำวิ นิ จ ฉั ย ดั ง กล่ า วก็ น�ำมาสู ่ ก ารแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม กฎหมายชื่ อ บุ ค คลกั น อี ก ครั้ ง เมื่อปี 2548 เปลี่ยนแปลงให้สิทธิแก่ทั้งหญิงและชายได้มีทางเลือกมากยิ่งขึ้นดังนี้ ไม่ว่าชายหรือหญิงเมื่อจดทะเบียนสมรสแล้ว จะใช้นามสกุลใด อย่างไร ให้เป็นไป ตามที่ทั้งคู่เลือกและตกลง ซึ่งก็มีอยู่ 3 ทางเลือก ทางแรก ต่างฝ่ายต่างใช้นามสกุล เดิมของตนก่อนสมรส ไม่เปลี่ยนแปลง ทางที่สอง เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามี หรือไม่ก็ทางเลือกที่สามคือคู่สมรสทั้งสองฝ่ายเลือกใช้นามสกุลของภรรยา


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

25

ชื่อสกุลของหญิงมีสามี 3

กระทรวงยุติธรรม

กฎหมายชือ่ บุคคลของไทยทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั นับว่าเป็นหนึง่ ในกฎหมาย ที่ก้าวหน้า เพราะว่าให้สิทธิเสรีภาพแก่สตรีเท่าเทียมบุรุษ ในการเลือกใช้นามสกุล ภายหลังการสมรส แตกต่างจากเดิมที่บังคับให้หญิงมีสามีต้องใช้นามสกุลของสามี เท่านั้น แต่กฎหมายปัจจุบัน ให้คู่สมรสทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกันได้ว่า จะใช้ นามสกุลของฝ่ายใด หรือแม้แต่ ต่างฝ่ายต่างใช้นามสกุลเดิมของตนเองก็ได้ การตกลง ของคู่สมรสเพื่อเลือกใช้นามสกุลเช่นนี้ จะตกลงตั้งแต่แรกเริ่มเมื่อครั้งจดทะเบียน สมรส หรือตกลงกันในภายหลัง และก็อาจเปลี่ยนใจเปลี่ยนข้อตกลงเดิมเมื่อใดก็ได้ เช่น ตอนจดทะเบียนสมรส ทั้งคู่เลือกใช้นามสกุลของสามี แต่ต่อมา ทั้งคู่เปลี่ยนใจ เปลี่ยนไปใช้นามสกุลของภรรยา หรืออาจจะตกลงกันใหม่ต่างฝ่ายต่างใช้นามสกุล เดิมของใครของมันก็ได้

25


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 26

กระทรวงยุติธรรม

26

ชื่อสกุลภายหลังหย่าร้าง กฎหมายไทยในปัจจุบัน เปิดโอกาสให้คู่สามีภรรยาสามารถเลือกใช้ นามสกุลได้อย่างเสรี จะเลือกใช้ของสามี ของภรรยา หรือต่างคนต่างใช้นามสกุล ของใครของมันก่อนจดทะเบียนสมรสก็ได้ อย่างไรก็ดี หากการสมรสดังกล่าว มิได้ราบรื่นอีกต่อไป ต้องจบลงด้วยการเลิกราไม่ว่าจะเป็นเพราะจดทะเบียนหย่า โดยความสมั ค รใจของทั้ ง คู ่ หย่ า ตามค�ำพิ พ ากษาให้ เ พิ ก ถอนการสมรส เช่ น การสมรสโมฆะ เพราะการสมรสซ้อน เหล่านี้ หากคู่สมรสดังกล่าวเคยตกลงที่จะใช้ นามสกุลของฝ่ายใดร่วมกันแล้ว เมื่อหย่าร้างหรือศาลเพิกถอนการสมรส ข้อตกลง ใช้นามสกุลร่วมกันก็เป็นอันสิ้นสุด และแต่ละฝ่ายก็ต้องเปลี่ยนกลับไปใช้นามสกุล เดิมของตนก่อนจดทะเบียนสมรส


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

27

ชื่อสกุลภายหลังคู่สมรสตาย

กระทรวงยุติธรรม

กฎหมายไทย ในปั จ จุ บั น เปิ ด โอกาสให้ คู ่ ส ามี ภ รรยาสามารถเลือก ใช้นามสกุลได้อย่างเสรี จะ เลือกใช้ของสามี ของภรรยา หรือต่างคนต่างใช้นามสกุล ของตนต่อไปก็ได้ อย่างไรก็ดี หากคู ่ ส มรสฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง ถึ ง แก่ ค วามตายเป็ น เหตุ ใ ห้ การสมรสดั ง กล่ า วสิ้ น สุ ด ลง ตัวอย่างเช่น นายสมชาย หอมจับจิต สมรสกับนางสาวสมหญิง หอมสุดใจ ทั้งคู่ตกลงร่วมกันใช้นามสกุลของสามี สมหญิงจึงเปลี่ยนนามสกุลเป็น หอมจับจิต ตามนามสกุลของสมชาย ต่อมา สมชายถึงแก่ความตาย เช่นนี้ สมหญิงมีสองทางเลือกคือ จะใช้นามสกุลหอมจับจิต ของอดีตสามีต่อไปก็ได้ และใช้ได้ตลอดไปตราบเท่าที่สมหญิงไม่ได้สมรสใหม่ หรือ สมหญิงอาจจะเลือกเปลี่ยนกลับไปใช้นามสกุลเดิมของตนก่อนการสมรสก็ได้

27


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 28

กระทรวงยุติธรรม

28

ชื่อสกุลของเด็กในอุปการะ เด็กบางคนเกิดมาอาภัพ บ้างทั้งพ่อและแม่ต่างเสียชีวิตทั้งคู่ ไม่มีญาติ อุ ป การะเลี้ ย งดู บ้ า งก็ ถู ก พ่ อ แม่ ท อดทิ้ ง รั ฐ จึ ง มี ห น้ า ที่ ต ามหลั ก มนุ ษ ยธรรม น�ำเด็กเหล่ านั้นไปอุปการะ ให้การศึกษา ในสถานเลี้ยงเด็ กก�ำพร้า บางครั้ง เด็กเหล่านี้ไม่มีแม้แต่นามสกุล จะสืบเสาะหาญาติพี่น้อง ก็ไม่พบใคร ด้วยเหตุนี้ พระราชบั ญ ญั ติ ชื่ อ บุ ค คล พ.ศ. 2505 จึ ง เปิ ด ช่ อ งให้ ผู ้ อุ ป การะเลี้ ย งดู เ ด็ ก เจ้าของสถานพยาบาล สถานสงเคราะห์ หรือสถานอุปการะเลี้ยงดูเด็ก สามารถ จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลของเด็กที่ อยูใ่ นความอุปการะหรือความดูแล ดังกล่าวได้ ในการนี้ อาจตั้งไว้ หลายนามสกุ ล ก็ ไ ด้ แ ละเมื่ อ ใด ก็ตาม มีเด็กสัญชาติไทยซึ่งไม่มี นามสกุลเข้ามาอยู่ในความดูแล ของสถานที่ แ ห่ ง นั้ น ก็ ส ามารถ เลื อก ก�ำ หนดชื่ อสกุ ลใ ห ้ แ ก่ เด็กคนนั้นได้


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

29

การเปลี่ยนชื่อตัวชื่อรอง

กระทรวงยุติธรรม

เวลาครอบครัวใดมีสมาชิกใหม่ ทางโรงพยาบาลที่จัดการท�ำคลอด หลายแห่ ง มั ก ถื อ เป็ น ธุ ร ะ อ�ำนวยความสะดวกประสานงานกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ทะเบียนราษฎร เพื่อออกสูติบัตรรองรับการเกิดของสมาชิกตัวน้อยๆ คนนั้น ซึ่งก็จะระบุข้อมูลเกี่ยวกับชื่อของเด็ก บิดามารดา สถานที่เกิด อย่างไรก็ดีการตั้งชื่อ ในช่วงนี้ ถ้าไม่มเี ตรียมไว้ อาจเลือกใช้ชอื่ เล่น เขียนในสูตบิ ตั รไปพลางก่อน และต่อมา ก็ขอเปลี่ยนชื่อในภายหลังได้ หรือบางท่านโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว ถูกท�ำนายทายทักว่า ชือ่ เสียงเรียงนามทีใ่ ช้มา ไม่ถกู กับชะตาของตน เป็นเหตุผลให้ตอ้ งขอเปลีย่ นชือ่ ใหม่ ก็สามารถกระท�ำได้ โดยให้ไปยืน่ ค�ำขอทีท่ ที่ �ำการเขต ทีว่ า่ การอ�ำเภอ หรือทีเ่ ทศบาล ในท้องที่ที่ตนมีชื่อในทะเบียนบ้าน จากนั้นนายทะเบียนก็จะออกหนังสือรับรอง การเปลี่ยนชื่อ

29


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

30

การจดทะเบียนชื่อสกุล 1

ถ้ า ต้ อ งการจะเปลี่ ย นนามสกุ ล และไม่ อ ยากล�ำบากจดทะเบี ย น ตั้งนามสกุลของตนเองขึ้นมาใหม่ ก็อาจขอใช้นามสกุลร่วมกับผู้อื่นได้ ซึ่งในกรณีนี้ จะต้องให้เจ้าของนามสกุลดังกล่าวยินยอมพร้อมใจด้วย ซึ่งปกติผู้ที่ให้ความ ยิ น ยอมได้ ก็ คื อ ผู ้ จ ดทะเบี ย นตั้ ง ชื่ อ สกุ ล นั้ น กั บ ทางการ อย่ า งไรก็ ดี บางชื่ อ บางนามสกุลได้จดทะเบียนไว้หลายสิบปี ผู้จดทะเบียนจากโลกนี้ไปแล้ว เช่นนี้ ก็ต้องให้ผู้สืบสันดาน ลูก หลาน เหลน ของผู้จดทะเบียนในล�ำดับชั้นที่ใกล้ชิดที่สุด เช่น ถ้ามีลูกและหลาน ต้องให้ลูกเป็นผูอ้ นุญาต ข้อส�ำคัญก็คือ ผู้จะอนุญาตไม่ว่าลูก หรือหลาน จะต้องใช้นามสกุลนั้นอยู่ด้วย เช่น ถ้าผู้สืบสันดานชั้นลูก มีชีวิตอยู่เพียง หนึ่งคนแต่ได้เปลี่ยนไปใช้นามสกุลอื่นแล้ว เช่นนี้ คงต้องให้หลานที่ใช้นามสกุลนั้น เป็นผู้อนุญาตให้ใช้นามสกุลร่วม 30


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

31

การจดทะเบียนชื่อสกุล 2 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. 2505 ได้รับรองสิทธิของบุคคลผู้มี สัญชาติไทยที่จะจดทะเบียนจัดตั้งชื่อสกุลของตนเองได้ หากเป็นไปตามเงื่อนไข ที่กฎหมายก�ำหนดไว้ โดยให้ยื่นเรื่องต่อนายทะเบียนราษฎรในเขตท้องที่ที่ท่าน อาศัยอยู่ อาทิ ที่ท�ำการเขต ที่ว่าการอ�ำเภอ หรือเทศบาล อย่างไรก็ดี หาก นายทะเบียนปฏิเสธไม่รบั จดทะเบียนชือ่ สกุลไม่วา่ จะด้วยเหตุใดๆ ท่านก็มสี ทิ ธิทจี่ ะ อุทธรณ์ค�ำสัง่ ของนายทะเบียนต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับทราบค�ำสั่งโดยยื่นเรื่องผ่านนายทะเบียนในท้องที่ที่ท่านอาศัยอยู่ อนึ่ง เมื่อรัฐมนตรีวินิจฉัยแล้ว หากท่านยังไม่เห็นด้วย ท่านก็สามารถฟ้องคดีต่อ ศาลปกครองได้ แม้กฎหมายจะระบุว่า ให้ค�ำวินิจฉัยของรัฐมนตรีเป็นที่สุดก็ตาม กระทรวงยุติธรรม 31


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 32

กระทรวงยุติธรรม

32

ค�ำน�ำหน้านาม 1 นอกจากชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุลตามที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ชื่อบุคคล พ.ศ. 2505 แล้ว ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นเครื่องประกอบของชื่อ นั่นก็คือ ค�ำน�ำหน้านาม ค�ำน�ำหน้านามที่ใช้อยู่ในปัจจุบันก็มี เด็กชาย เด็กหญิง นาย นาง และนางสาว แต่ในอดีตนั้น ค�ำน�ำหน้านามมีหลากหลาย ใช้จ�ำแนกทั้งเพศชายและ เพศหญิง และใช้จ�ำแนกสถานะทางสังคมของแต่ละคน เป็นต้นว่า ผูช้ ายสามัญทีเ่ ป็น ไพร่ ไร้บรรดาศักดิ์ ก็จะมีค�ำน�ำหน้าว่านาย หากเป็นหญิง เรียกค�ำน�ำหน้าว่าอ�ำแดง นอกจากนี้ ยังมีค�ำน�ำหน้า อ้ายและอี ใช้กบั ข้าทาสหรือเชลยชายหญิง ตราบจนสมัย รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นฉบับหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2460 ก�ำหนดให้ใช้ค�ำน�ำหน้านามตามแบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

33

ค�ำน�ำหน้านาม 2

กระทรวงยุติธรรม

กฎหมายที่ใช้อยู่ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ถ้าไม่ถูกยกเลิกหรือ แก้ไข ก็ยังคงมีผลใช้สืบเนื่องมาตราบจนปัจจุบัน อย่างเช่นพระราชกฤษฎีกา ฉบับหนึ่งซึ่งตราขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 ก�ำหนดเกี่ยวกับค�ำน�ำหน้านาม ก็ยังคงใช้ ต่อเนือ่ งมา มีหลักเกณฑ์วา่ ผูท้ อี่ ายุไม่ถงึ 15 ปีบริบรู ณ์ เพศชาย ใช้ค�ำน�ำหน้านามว่า เด็กชาย ถ้าเป็นหญิง ใช้ค�ำน�ำหน้าว่า เด็กหญิง เมื่อครบ 15 ปีผู้ชายเปลี่ยนไปใช้ ค�ำน�ำหน้าว่า นาย ส่วนผู้หญิงก็ใช้ นางสาว เป็นค�ำน�ำหน้า ตามพระราชบัญญัติ ค�ำน�ำหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 และก็สามารถใช้ค�ำว่านางสาวได้ตลอดไป แม้ ภายหลังจะได้จดทะเบียนสมรสก็ตาม ทั้งนี้ หญิงที่สมรสแล้วอาจสมัครใจเลือกใช้ ค�ำว่า นาง แทนค�ำว่า นางสาว ก็ได้

33


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 34

กระทรวงยุติธรรม

34

ค�ำน�ำหน้านาม 3 ก่อนหน้าที่พระราชบัญญัติค�ำน�ำหน้านามหญิง พ.ศ. 2551 มีผล ใช้บังคับ ในเดือนกรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยประมาณ เป็นช่วงเวลาของผู้หญิง ที่อายุ 15 ปี จะใช้ค�ำน�ำหน้านามว่า นางสาว ตลอดไปจนกว่าจะได้สมรสแล้ว ก็จะเปลี่ยนเป็นนาง และจะคงเป็นนางไปตลอด แม้ภายหลังจะขาดจากการสมรส ก็ตาม แต่หลังจากการตรากฎหมายค�ำน�ำหน้านามหญิงดังกล่าวแล้ว ผู้หญิงก็มี ทางเลือกมากขึน้ แม้จะสมรสแล้ว ก็สามารถใช้ค�ำว่า นางสาว เป็นค�ำน�ำหน้านามได้ หรือจะเปลีย่ นไปใช้ค�ำว่า นาง ก็ได้ แม้เลือกใช้ค�ำน�ำหน้าว่า นาง ไปแล้ว จะเปลีย่ นใจ กลั บ ไปใช้ ค�ำว่ า นางสาว เมื่ อ ใดก็ ไ ด้ เช่ น เดี ย วกั น เมื่อการสมรสยุติลง จะคงใช้ ค�ำว่า นาง ต่อไป หรือจะใช้ ค�ำว่า นางสาว ก็ได้ ซึ่งจะ เห็ น ได้ ว ่ า อ�ำนาจสิ ท ธิ ข าด ใ น เ รื่ อ ง นี้ อ ยู ่ ที่ ตั ว ส ต รี เป็นส�ำคัญ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

35

ค�ำน�ำหน้านาม 4

กระทรวงยุติธรรม

นายสมัย เป็นชายหนุ่มรูปร่างท่าทางคล้ายสตรี แม้มีสภาพร่างกาย เป็นชายแต่จิตใจนั้นหญิง ด้วยความตั้งใจจริง จึงได้ละทิ้งสัญลักษณ์ความเป็นชาย เข้าผ่าตัดร่างกาย เปลีย่ นจากชายเป็นหญิง และขอให้ทางการเปลีย่ นค�ำน�ำหน้านาม จากนาย  เป็น  นางสาว  ส�ำนักงานเขตปฏิเสธ  เป็นเหตุให้นายสมัย  ผู้อยาก เปลี่ยนไปเป็นนางสาวสมร  ต้องฟ้องไปยังศาล  คดีไปถึงชั้นศาลฎีกา  ศาลท่าน วินิจฉัยว่า กฎหมายรับรองเพศของบุคคลตามลักษณะที่ถือก�ำเนิดมา มิใช่ลักษณะ ที่เปลี่ยนแปลงกันได้ในภายหลัง ค�ำปฏิเสธของส�ำนักงานเขตจึงชอบแล้ว นายสมัย ไม่มีสิทธิเปลี่ยนไปใช้ค�ำน�ำหน้าว่านางสาวได้ ข้อเท็จจริงที่ว่ามานี้อยู่ในค�ำพิพากษา ฎีกาที่ 157/2524

35


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

36

สวมบัตรประชาชน เพื่อเปลี่ยนค�ำน�ำหน้านาม 1

กฎหมายไทย ณ ปัจจุบัน ยอมรับเฉพาะผู้ที่มีสภาพร่างกายแต่ก�ำเนิด เป็นผู้หญิงเท่านั้น ที่จะใช้ค�ำน�ำหน้านามว่า นาง หรือ นางสาวได้ ฉันใดก็ฉันนั้น ค�ำน�ำหน้าว่า นาย จะใช้ได้ก็แต่เฉพาะผู้ที่มีร่างกายเป็นชายมาแต่ก�ำเนิดเช่นกัน ดังนั้น ผู้ที่มีกายเป็นชายแต่ใจเป็นหญิง หรือกายเป็นหญิงแต่ใจเป็นชาย แม้จะ ได้ผ่านการผ่าตัดแปลงเพศให้เป็นตรงกันข้ามกับเพศสภาพที่มีมา ณ ขณะเกิด แล้วก็ตาม ก็ไม่อาจเปลี่ยนค�ำน�ำหน้านามของตนที่มีมาแต่เดิมได้ ต่างจากกฎหมาย ของหลายประเทศที่เริ่มยินยอมผ่อนปรนให้เปลี่ยนค�ำน�ำหน้านามกันได้บ้างแล้ว ข้อจ�ำกัดทางกฎหมายดังกล่าว เป็นสาเหตุหนึ่งให้ชายที่แปลงเพศเป็นหญิงจ�ำนวน ไม่น้อยเลือกเดินเส้นทางที่ผิดกฎหมาย สวมบัตรประชาชนของผู้ตายเพียงเพื่อ ให้ได้ชื่อว่าเป็นนางสาวเท่านั้น 36


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

37

สวมบัตรประชาชน เพื่อเปลี่ยนค�ำน�ำหน้านาม 2

กระทรวงยุติธรรม

ไม่ ว ่ า ชายที่ แ ปลงเพศเป็ น หญิ ง หรื อ หญิ ง ที่ แ ปลงเพศเป็ น ชาย กฎหมายไทยมิได้เปิดช่องให้พวกเขาเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงค�ำน�ำหน้านามให้ แตกต่างไปจากค�ำน�ำหน้านามที่ใช้มาแต่ก�ำเนิดได้ ดังนั้น จึงมีหลายคนเลือก เดินทางผิด สมรู้ร่วมคิด ยอมจ่ายเงินให้กับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทุจริต ท�ำการสวม บัตรประชาชนของบุคคลอื่น อาทิ ชายที่ผ่าตัดแปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ก็จะสวม บั ต รประชาชนของผู ้ ห ญิ ง ที่ อ ายุ อ านามใกล้ เ คี ย งกั น ที่ ไ ด้ เสียชีวิตไปแล้ว พูดง่ายๆ คือการสวมบัตรคนตาย เพี ย งเพื่ อ จะให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ค�ำน�ำหน้ า ว่า  นางสาว  การกระท�ำดังกล่าว เป็ น ความผิ ด ตามกฎหมาย บั ต รประชาชนต้ อ งระวาง โทษจ�ำคุ ก สู ง สุ ด ถึ ง สามปี นอกจากนั้นยังมีความผิด ตามกฎหมายทะเบี ย น ราษฎร์ เ พิ่ ม เข้ า ไปอี ก ฉบับหนึ่งด้วย

37


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

38

กฎหมายกับน�้ำท่วม

ในปี พ.ศ. 2554 พี่ น ้ อ งประชาชนแทบทุ ก ภู มิ ภ าคของไทยต้ อ ง ประสบเคราะห์อุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิบปี กินพื้นที่กว่า 150 ล้านไร่ ผู้ประสบภัย 4 ล้านครัวเรือน กว่า 13 ล้านคน ตลอดระยะเวลาต่อเนื่องยาวนาน กว่า 170 วัน ดังนั้น ช่วงเวลาประมาณ 1 เดือนจากนี้ไป หนังสือกฎหมายสามัญ ประจ�ำบ้าน ความร่วมมือของกระทรวงยุติธรรมและคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จะน�ำเสนอสาระกฎหมายที่เกี่ยวกับน�้ำท่วม เพื่อเป็นอุทธาหรณ์ให้ เตรียมพร้อมรับมือกับภัยธรรมชาตินี้ เริ่มจากประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 228 ที่ก�ำหนดความผิด มีโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 5 ปี ส�ำหรับผู้ที่กระท�ำการใดๆ เพื่อให้เกิด อุทกภัย เช่น การท�ำลายประตูระบายน�้ำ อ่างเก็บน�้ำ ย่อมมีความผิดตามมาตรานี้ 38


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

39

ความผิดฐานท�ำให้เกิดน�้ำท่วม 1 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 228 ก�ำหนดความผิ ด ส�ำหรั บ ผู ้ ที่ กระท�ำการใดๆ เพื่อให้เกิดอุทกภัย หรือภัยน�้ำท่วม เป็นต้นว่า การระเบิดท�ำลาย ท�ำนบเขื่อน อ่างเก็บน�้ำ ประตูระบายน�้ำ การปิดกั้นล�ำคลองสาธารณะ ก็อาจ เป็นความผิดตามมาตรานี้ได้ ถ้าการกระท�ำนั้นน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่น บ้านเรือนที่พักอาศัยหรือทรัพย์สมบัติอื่นใดของผู้อื่น เพียงแค่การกระท�ำดังกล่าว เพียงแค่น่าจะเป็นอันตรายก็เสี่ยงต่อโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 5 ปีแล้ว ยิ่งถ้ามีใครได้รับ อันตรายจากการกระท�ำดังกล่าวจริง มีทรัพย์สินเสียหายจริง โทษทัณฑ์ความผิดใน ฐานนี้ก็สูงสุดถึง 7 ปี โดยมีโทษขั้นต�่ำที่ 6 เดือน นอกจากนั้น ยังมีโทษปรับสูงสุด ถึงหนึ่งหมื่นสี่พันบาทอีกด้วย กระทรวงยุติธรรม 39


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

40

ความผิดฐานท�ำให้เกิดน�้ำท่วม 2

ทีน่ าของนายเขียวอยูต่ ดิ กับคลองส่งน�ำ้ สาธารณะและอยูส่ งู กว่าทีน่ าของ นายแดง ซึ่งมีสภาพตามธรรมชาติเป็นที่ลุ่มรองรับน�้ำ นายเขียวได้ท�ำร่องระบายน�้ำ ในที่นาของตนเพื่อให้น�้ำไหลลงสู่ที่ต�่ำได้เร็วขึ้นกว่าการไหลผ่านคลองสาธารณะ ตามธรรมชาติ ผลก็คือ ที่นาของนายแดงกลายเป็นที่ซึ่งมีน�้ำท่วมขังตลอดทั้งปี นายแดงจึงถมที่ ท�ำให้ร่องระบายน�้ำของนายเขียวไม่อาจระบายน�้ำได้อีกต่อไป นายเขียวจึงมาฟ้องร้องให้เอาผิดนายแดงฐานกระท�ำการให้เกิดอุทกภัย ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 228 อย่างไรก็ดีศาลท่านกลับยกฟ้อง เพราะเห็นว่า การที่นายแดงถมที่ไม่ได้มีเจตนาจะท�ำให้เกิดน�้ำท่วมที่ดินของใคร เพียงแต่ถมดิน ให้สูงขึ้นเพื่อป้องกันที่นาของตนมิให้น�้ำท่วม จึงไม่มีความผิด 40


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

41

ความผิดฐานกีดขวางทางน�้ำ

กระทรวงยุติธรรม

ในอดีตนั้น กรุงเทพมหานครของเราเคยได้ชื่อว่าเป็นเวนิสตะวันออก มี คู ค ลองน้ อ ยใหญ่ การขึ้ น เหนื อ ล่ อ งใต้ ก็ อ าศั ย แม่ น�้ ำ เป็ น เส้ น ทางสั ญ จร ไปมาหลั ก ของผู ้ ค น จวบจนมี ร ถยนต์ แ ละถนนหนทาง การเดิ น ทางด้ ว ยเรื อ และแพตามทางน�้ำ ก็ลดความส�ำคัญลง ปัจจุบัน เหลือแค่เพียงใช้เพื่อขนส่ง สินค้าเสียมากกว่า กระนั้นก็ดี กฎหมายก็ยังถือว่า ทางน�้ำเป็นเส้นทางสัญจร สาธารณะ และห้ า มมิ ใ ห้ ใ ครคนใด มาท�ำให้ ท างน�้ ำ ประตู น�้ ำ ท�ำนบกั้ น น�้ ำ เขื่อน อันเป็นส่วนหนึ่งของทางน�้ำนั้นๆ จนน่าจะเป็นอันตรายแก่การสัญจรไปมา เช่น จะปลูกแปลงผักบุ้ง ผักกระเฉด หรือท�ำกระชังปลาลงไปในแม่น�้ำจนกีดขวาง ทางสัญจร และน่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อการจราจรในทางน�้ำนั้นๆ มิได้ ผู้ฝ่าฝืนอาจมีความผิดต้องรับโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 5 ปี

41


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 42

กระทรวงยุติธรรม

42

ความผิดน�้ำสาธารณูปโภค ล�ำน�้ำคูคลองต่างๆ บ้างก็มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ บ้างก็เป็นคลองที่ มนุษย์เราสร้างขึ้น เพื่อส่งน�้ำไปใช้ในการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ หรือเพื่อการอุปโภค บริโภค ด้วยเหตุนี้ จึงจ�ำเป็นต้องมีกฎหมายคุ้มครองป้องกัน มิให้ใครคนใดคนหนึ่ง ฉกฉวยใช้นำ�้ เพือ่ ประโยชน์ของตนแต่โดยล�ำพัง เช่น ถ้าไปปิดกัน้ ล�ำคลองคูนำ�้ ชักน�ำ้ เข้าที่ดินของตนเอง เจาะท่อส่งน�้ำเพื่อดูดน�้ำไปใช้ ท�ำให้ก�ำลังน�้ำอ่อนแรงลง สร้างความขัดข้องแก่การใช้น�้ำซึง่ เป็นสาธารณูปโภค จนเป็นเหตุให้ประชาชนทั่วไป ขาดความสะดวก หรือน่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ประชาชน ผู้กระท�ำการ ดังกล่าวก็เสี่ยงจะมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา อาจต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

43

ความผิดเกี่ยวกับท่อระบายน�้ำ

กระทรวงยุติธรรม

น�้ำทิ้ง สิ่งโสโครกสิ่งปฏิกูลทั้งหลายที่เป็นของเหลวเมื่อผ่านบ่อบ�ำบัด ในบ้านเรือน โรงงาน หรือเรือกสวนไร่นาของท่านแล้ว ก็จะไหลลงสู่รางระบายน�้ำ ร่ อ งน�้ ำ หรื อ ท่ อ ระบายของโสโครกสาธารณะ จากนั้ น ก็ จ ะไหลไปรวมกั น ใน คูคลองสาธารณะ ไหลลงสู่แม่น�้ำ และไหลลงทะเลในที่สุด ฉะนั้น การบ�ำรุงรักษา ท่อระบายน�้ำ ร่องน�้ำ หรือท่อระบายของโสโครกต่างๆ จึงจ�ำเป็นต้องท�ำอยู่เสมอๆ ดั ง ที่ มั ก จะมี ก ารลอกท่อกัน ทุก ๆ ปี ต้อนรับ หน้า ฝน หน้ า น�้ ำ หลาก ในการนี้ ประมวลกฎหมายอาญามีบทบัญญัติมาตราหนึ่ง ซึ่งแม้เป็นเพียงความผิดลหุโทษ ปรั บ ไม่ เ กิ น 500 บาท แต่ ก็ มุ ่ ง หมายป้ อ งปรามมิ ใ ห้ ใ ครไปท�ำให้ ร างน�้ ำ หรื อ ท่อระบายน�้ำสาธารณะขัดข้อง เช่น การทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูลลงในท่อ ท�ำให้ท่ออุดตัน เช่นนี้ ย่อมมีความผิด

43


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 44

กระทรวงยุติธรรม

44

กฎหมายรักษาคลองประปา 1 ในอดีต ผู้คนอาศัยน�้ำจากแม่น�้ำล�ำคลองเป็นน�้ำกินน�้ำใช้ในครัวเรือน หลายๆ ครั้งน�้ำตามแหล่งธรรมชาติเหล่านั้นไม่สะอาดและเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค เช่น โรคห่าหรืออหิวาตกโรคที่ระบาดในฤดูร้อน ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงทรงมีพระราชด�ำริจัดให้มีน�้ำประปา ที่สะอาด ปลอดภัยแก่พสกนิกร ได้มีการจัดซื้อที่ดิน ขุดคลองส่งน�้ำจากเชียงราก เข้ามาจนถึงคลองสามเสน สร้างท�ำนบประตูน�้ำ และสร้างโรงกรองน�้ำจืดที่สามเสน ซึง่ มาจัดสร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงทรงตราพระราชบัญญัตริ กั ษาคลองประปา พระพุทธศักราช 2456 ขึน้ เพือ่ ป้องกัน มิให้ผู้ใดท�ำอันตรายแก่คันคลองและน�้ำในคลองดังกล่าว


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

45

กฎหมายรักษาคลองประปา 2

กระทรวงยุติธรรม

คลองประปาที่เปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ใช้เป็นเส้นทางล�ำเลียง น�้ำดิบมาผลิตเป็นน�้ำประปาแจกจ่ายให้กับพี่น้องประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ตอนในนั้น มีกฎหมายคุ้มครองป้องกันมิให้ผู้ใดท�ำอันตรายแก่คันคลองและน�้ำ ในคลองประปามาแต่สมัยรัชกาลที่ 6 หรือพุทธศักราช 2456 กฎหมายดังกล่าว ได้มีการปรับปรุงกันครั้งใหญ่ จัดท�ำขึ้นใหม่เป็นพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 กฎหมายนี้ไม่ได้คุ้มครองเฉพาะคลองประปาที่ชักน�้ำมาจากเชียงราก เท่านั้น แต่ยังรวมถึงคลองอื่นๆ ที่เป็นเส้นทางน�ำน�้ำดิบมาใช้ ท�ำเป็นน�้ำประปา ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยก�ำหนด มีทั้งคลองประปา คลองรับน�้ำ คลองขังน�้ำ ซึ่งจะมีการปักหลักเขต ป้าย หรือเครื่องหมายระบุเขตคลองหรือเขต หวงห้ามไว้อย่างชัดเจน

45


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

46

กฎหมายรักษาคลองประปา 3

คลองที่ เ ป็ น แนวตรงยาวจากเชี ย งรากมาจนถึ ง โรงกรองน�้ ำ จื ด ที่สามเสนนั้น คือ คลองประปา เปรียบได้กับเส้นเลือดใหญ่ที่ใช้ผลิตน�้ำประปา หล่อเลี้ยงคนที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครตอนใน เพื่อให้น�้ำที่ไหลในคลอง ประปานี้สะอาด และเพียงพอส�ำหรับการใช้ผลิตน�้ำประปาตลอดทั้งปี จึงได้มี การตราพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 ขึ้น กฎหมายฉบับนี้ ห้ามมิให้ผู้ใดชักน�้ำหรือวิดน�้ำในคลองประปา โดยใช้เครื่องสูบน�้ำ ระหัด แครง หรือ เครื่องมือใดๆ เป็นเหตุท�ำให้น�้ำในคลองประปารั่วไหล ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ อย่างไรก็ดี ส�ำหรับ การตักน�้ำไปใช้เพื่ออุปโภคหรือบริโภคในครัวเรือนตามปกติวิสัยนั้นไม่ได้เป็น ความผิดแต่อย่างใด 46


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

47

กฎหมายรักษาคลองประปา 4 คลองประปา และคลองต่างๆ ที่เป็นแหล่งส่งน�้ำเข้าสู่คลองประปา อันได้แก่ คลองรับน�้ำและคลองขังน�้ำนั้นเมื่อได้มีการประกาศเป็นเขตหวงห้ามแล้ว การจะไปสูบน�้ำจากคลองดังกล่าวเพื่อไปใช้ในโรงงาน ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น ธุรกิจโรงแรม สนามกอล์ฟ ย่อมไม่อาจกระท�ำได้ และผู้ฝ่าฝืนย่อมมีความผิด ตามกฎหมายรักษาคลองประปา อย่างไรก็ดี มีข้อยกเว้นไม่ถือเป็นความผิดอยู่ สองกรณี ได้แก่ 1) การตักน�้ำไปใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคตามครัวเรือน และ 2) การสูบน�้ำหรือชักน�้ำที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากการประปานครหลวงหรือ การประปาส่วนภูมิภาค แล้วแต่ว่า คลองดังกล่าวอยู่ในความดูแลของหน่วยงานใด และผู้ได้รับอนุญาตได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้แล้วอย่างเคร่งครัด กระทรวงยุติธรรม 47


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

48

กฎหมายรักษาคลองประปา 5

คลองประปา คลองรับน�้ำ และคลองขังน�้ำ เป็นเขตหวงห้าม มิให้ผู้ใด ขุ ด หรื อ ขยายคลองประปา สร้ า งเขื่ อ น ท�ำนบหรื อ ปลู ก สร้ า งสิ่ ง ก่ อ สร้ า งใดๆ ลงในเขตคลองดังกล่าว ห้ามมิให้เดินเรือในคลอง ห้ามมิให้ผู้ใดชักน�้ำหรือวิดน�้ำ ในคลองประปา โดยใช้เครื่องสูบน�้ำ ระหัดวิดน�้ำ เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ จากการประปานครหลวง หรือการประปาส่วนภูมิภาคที่เป็นผู้ดูแลคลองดังกล่าว นอกจากนี้ พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 ยังห้ามมิให้ผู้ใดใช้ถ่อค�้ำ หรือจอดเรือในบริเวณที่มีป้ายหรือเครื่องหมายของการประปาแสดงว่าเป็นบริเวณ ที่ฝังท่อส่งน�้ำดิบอีกด้วย ข้อห้ามต่างๆ เหล่านี้ก�ำหนดขึ้นเพื่อให้น�้ำในคลองประปา สะอาด และมีเพียงพอส�ำหรับการใช้ผลิตน�้ำประปาได้ตลอดทั้งปี 48


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

49

กฎหมายรักษาคลองประปา 6 คลองประปาเป็ น คลองที่ ล�ำเลี ย งน�้ ำ ดิ บ เข้ า สู ่ โ รงกรองน�้ ำ เพื่ อ ท�ำ น�้ำประปาให้พวกเราได้ใช้อุปโภคบริโภค ดังนั้นจึงมีกฎหมายคุ้มครองรักษาคลอง ประปาและสิง่ ปลูกสร้างต่างๆ อันเป็นส่วนหนึง่ ของคลองประปา อันได้แก่ คันคลอง ประตูนำ�้ ท�ำนบหรือเขือ่ น ท่อส่งนำ�้ ดิบ หรือท่อผ่านคลอง สะพานข้ามคลองประปา ข้ามคลองรับน�้ำ หรือคลองขังน�้ำเหล่านี้ ห้ามมิให้ใครมาท�ำลาย ท�ำให้เสียหาย หรือ ท�ำให้สิ่งต่างๆ ช�ำรุด บกพร่องจนไม่อาจใช้งานได้ตามปกติ ผู้ใดฝ่าฝืนย่อมมี ความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 ต้องระวางโทษจ�ำคุก สูงสุดถึงสามปี ปรับมากถึงหกหมื่นบาท ทั้งยังต้องชดใช้ค่าเสียหายและค่าใช้จ่าย ต่างๆ เพื่อซ่อมแซมสิ่งของดังกล่าวให้กลับคืนสภาพเดิมและให้ใช้งานได้ตามปกติ อีกด้วย กระทรวงยุติธรรม 49


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 50

กระทรวงยุติธรรม

50

กฎหมายรักษาคลองประปา 7 เพื่อรักษาคลองประปา ซึ่งเป็นคลองที่ล�ำเลียงน�้ำดิบเข้าสู่โรงกรองน�้ำ ให้มีความสะอาด และมีปริมาณเพียงพอที่จะใช้ผลิตน�้ำประปาให้พวกเราได้ใช้ อุปโภคบริโภคตลอดทั้งปี พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 จึง ก�ำหนดข้อห้ามไว้หลายข้อ อันได้แก่ ห้ามน�ำหรือปล่อยสัตว์ใดๆ เช่น วัว ควาย หรือ สั ต ว์ เ ลี้ ย ง ลงไปในคลองประปา ห้ า มทิ้ ง เทสิ่ ง ใดๆ ระบายน�้ ำ หรื อ ปล่ อ ยให้ น�้ำโสโครกปนเปื้อนลงไปในคลองประปา ห้ามทิ้งซากสัตว์ ขยะมูลฝอย หรือ สิง่ ปฏิกลู ลงในเขตคลอง ประปา ห้ามเพาะปลูก พื ช ชนิ ด หนึ่ ง ชนิ ด ใด ในคลองประปา ห้ า มซั ก ผ้ า ซั ก ล้ า ง ห รื อ อ า บ น�้ ำ ใ น เ ข ต คลองตลอดจนห้ามจับ สัตว์น�้ำในคลองประปา คลองรั บ น�้ ำ หรื อ เขต หวงห้าม


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

51

สถานที่ที่ห้ามอาบน�้ำ

กระทรวงยุติธรรม

ภาพที่เราเคยเห็นในภาพยนตร์หรือในละครย้อนยุค ที่มีฉากริมแม่น�้ำ ล�ำคลอง ที่ผู้คนอาศัยอยู่ริมน�้ำจะอาบน�้ำ ช�ำระชะล้างคราบไคลสิ่งสกปรกจาก ร่างกาย อาศัยนำ�้ จากแม่นำ�้ ล�ำคลองนัน้ ๆ ภาพเช่นนีน้ บั วันยิง่ จะหาดูได้ยากขึน้ ทุกที ส่วนหนึง่ นัน้ เป็นเพราะมีนำ�้ ประปาทีส่ ะอาดและสะดวกใช้งานยิง่ กว่า แต่อกี ส่วนหนึง่ ก็เป็นเพราะคุณภาพน�้ำในแหล่งน�้ำต่างๆ นั้นเองที่สกปรก ปนเปื้อน ไม่สะอาด เพียงพอแก่การอุปโภคบริโภค ประกอบกับยังมีกฎหมายหลายฉบับที่ห้ามมิให้ผู้ใด อาบน�ำ้ ในทางน�ำ้ สาธารณะ เช่น ห้ามอาบนำ�้ ในคลองประปา หรือห้วย หนอง คลอง บึงต่างๆ ที่ทาง กทม. เทศบาล อบจ. หรือ อบต. ได้ประกาศห้ามไว้ และผู้ฝ่าฝืน ก็เสี่ยงต่อโทษปรับสูงสุดถึง 1,000 บาทเลยทีเดียว

51


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

52

รักษาทางน�้ำให้สะอาด 1

กฎหมายรั ก ษาความสะอาดและความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยของ บ้านเมือง ให้อ�ำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ กทม. องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) เทศบาล และเมืองพัทยา มีอ�ำนาจก�ำหนดเขตทางน�้ำที่ห้ามไม่ให้ไล่ต้อน จูงสัตว์ลงไปในน�้ำ ทั้งที่เป็นแม่น�้ำ ล�ำราง อ่างเก็บน�ำ้ ห้วย หนอง คลอง บึง หรือแม้แต่หา้ มไม่ให้คนลงไปอาบนำ�้ ช�ำระ ซักล้างท�ำความสะอาดใดๆ ในนั้น ซึ่งจะมีการประกาศก�ำหนดห้ามไว้อย่างชัดแจ้ง ทางน�้ำที่ห้ามไว้ส่วนใหญ่มักจะเป็นแหล่งน�้ำส�ำรองเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค เช่น ใช้ผลิตประปาหมู่บ้าน และโทษทัณฑ์ส�ำหรับการฝ่าฝืนไปอาบน�้ำต้องห้ามนั้น คือ โทษปรับ 500 บาท ส่วนการไล่ต้อนสัตว์ลงไปในน�้ำโทษปรับจะสูงกว่าคือ ไม่เกิน 2,000 บาท 52


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

53

รักษาทางน�้ำให้สะอาด 2 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 ได้ก�ำหนดเป็นความผิดส�ำหรับผู้ใดก็ตาม ที่เท ปล่อย หรือระบายอุจจาระจากอาคารหรือยานพาหนะลงทางนำ�้ ปล่อย หรือทิง้ เท สิง่ ปฏิกลู ของโสโครก ของเน่าเสีย ของมีกลิ่นเหม็น ขยะมูลฝอย เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร ขี้เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ เศษซากสิง่ ของทีเ่ ก็บกวาดจากถนน ตลาด ทีเ่ ลีย้ งสัตว์ ปล่อยน�ำ้ โสโครกลงในทางน�ำ้ ไม่ว่าจะเป็น ทะเล ทะเลสาบ หาดทรายชายทะเล อ่างเก็บน�้ำ แม่น�้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง คู ล�ำราง หรือแม้แต่ท่อระบายน�้ำ โดยผู้กระท�ำความผิดนั้นต้องระวาง โทษปรับสูงสุดถึงหนึ่งหมื่นบาท กระทรวงยุติธรรม 53


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 54

กระทรวงยุติธรรม

54

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 1 กฎหมายจัดตัง้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต่าง ๆ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร (กทม.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) เทศบาล และเมืองพัทยา และกฎหมายรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง ได้ให้อ�ำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ดูแลรักษา ทางน�้ำ ไม่ว่าจะเป็น ทะเล ทะเลสาบ หาดทราย ชายทะเล อ่างเก็บน�้ำ แม่น�้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง คู ล�ำราง และท่อระบายน�้ำ ในเขตท้องที่ของตน ให้สะอาด ปราศจากมลพิ ษ ไม่ ตื้น เขิน น�้ำไหลและระบายน�้ำได้ส ะดวก ตลอดจนบ�ำรุ ง รักษาประตูน�้ำ ตลิ่ง คันคลองให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี โดยเฉพาะในฤดูฝน หน้านำ�้ หลากและหน้านำ�้ ทะเลหนุนทีก่ �ำลังจะมาถึงนี้ หน่วยงานท้องถิน่ ทุกแห่งน่าจะ ก�ำลังเร่งรีบบ�ำรุงรักษาทางนำ�้ สาธารณะ เพือ่ พร้อมรับมืออุทกภัยทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

55

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 2

กระทรวงยุติธรรม

ในฤดู ฝ น หน้ า น�้ ำ หลากและหน้ า น�้ ำ ทะเลหนุ น ที่ ก�ำลั ง จะมาถึ ง นี้ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 ก็เป็นกฎหมายอีกฉบับหนึง่ ทีอ่ าจน�ำมาใช้เพือ่ บ�ำรุงรักษาป้องกันทางนำ�้ ทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็น แม่น�้ำ ล�ำคลอง ห้วย หนอง คู บึง ล�ำราง และท่อระบายน�้ำ มิให้ติดขัดตื้นเขิน น�้ำไหลไม่สะดวก เป็นอุปสรรคต่อการระบายน�้ำในช่วงน�้ำท่วม น�้ำหลาก และน�้ำทะเลหนุน เป็นต้นว่า กฎหมายฉบับนี้ได้ก�ำหนดโทษปรับไว้ สูงสุดถึง 10,000 บาท ส�ำหรับประชาชนคนใดทีท่ งิ้ เทกรวด หิน ดิน เลน ทราย หรือ เศษวัตถุก่อสร้างลงในทางน�้ำ ปล่อยกองทิ้งไว้ริมตลิ่ง ทิ้งเทสิ่งปฏิกูลมูลฝอยลงไป ในทางน�้ำ หรือกระท�ำด้วยประการใดๆ ให้วัตถุดังกล่าวไหลหรือตกลงไปในทางน�้ำ

55


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 56

กระทรวงยุติธรรม

56

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 3 พระราชบัญญัตริ กั ษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง พ.ศ. 2535 ได้ให้อ�ำนาจเจ้าพนักงานท้องถิ่น เช่น ผู้ว่า กทม. นายก อบจ. นายกเทศมนตรี มีอ�ำนาจดูแลบ�ำรุงรักษาทางน�้ำให้ไหลได้อย่างสะดวกมิให้ตื้นเขิน โดยเฉพาะในฤดูน�้ำหลากที่ก�ำลังจะมาถึงนี้ หากมีประชาชนผู้ใดฝ่าฝืนกฎหมาย ทิง้ เทกรวด หิน ดิน เลน ทราย หรือเศษวัสดุกอ่ สร้างลงในทางนำ�้ ปล่อยกองไว้ทรี่ มิ ตลิง่ หรือกระท�ำการใดๆ ท�ำให้วัตถุดังกล่าวไหลหรือตกลงไปในทางน�้ำ เจ้าพนักงาน ท้องถิน่ ย่อมมีอ�ำนาจสัง่ ให้ผฝู้ า่ ฝืนกฎหมายแก้ไขเยียวยาให้ทางนำ�้ สาธารณะดังกล่าว กลับคืนสู่สภาพเดิม หากผู้นั้นยังคงฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม ก็ย่อมมีความผิดฐาน ขั ด ค�ำสั่ ง เจ้ า พนั ก งานตามประมวลกฎหมายอาญาและยั ง มี ค วามผิ ด เฉพาะ ตามกฎหมายฉบับนี้อีกด้วย


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

57

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 4

กระทรวงยุติธรรม

กฎหมายอีกฉบับหนึ่งที่ทางภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรมชลประทาน อาจน�ำมาใช้เป็นเครือ่ งไม้เครือ่ งมือในการบ�ำรุงรักษาทางน�ำ้ ต่างๆ มิให้ตดิ ขัดตืน้ เขิน เป็นอุปสรรคต่อการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยน�้ำท่วมที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ในฤดู ฝ น หน้ า น�้ ำ หลากและน�้ ำ ทะเลหนุ น เฉกเช่ น มหาอุ ท กภั ย ครั้ ง ใหญ่ เ มื่ อ ปลายปีที่แล้ว นั่นก็คือพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 กฎหมาย ฉบับนี้จะใช้กับทางน�้ำชลประทานทั้งหลาย มีข้อก�ำหนดบทข้อห้ามหลายข้อ อาทิ ห้ามปลูกสร้างต่อเติมสิ่งก่อสร้าง ปลูกปักสิ่งใดๆ ลงในทางน�้ำชลประทาน เพาะปลูก รุกล�้ำทางน�้ำชลประทาน ชานคลอง เขตคันคลอง หรือเขตพนังกั้นน�้ำ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากนายช่างชลประทาน ทั้งนี้ ผู้ฝ่าฝืนข้อห้าม ต่างๆ ดังกล่าวอาจต้องโทษจ�ำคุกสูงสุดถึงสามเดือนและยังมีโทษปรับอีกด้วย

57


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

58

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 5

ในเขตพืน้ ทีช่ ลประทานหลายล้านไร่  โดยเฉพาะในเขตทีร่ าบภาคกลาง จะมีสิ่งก่อสร้างหลายอย่าง  ทั้งคลองส่งน�้ำ  ชานคลอง  คันคลอง  ประตูน�้ำ ท�ำนบ  ฝาย  เขื่อนระบาย  ประตูระบาย  ท่อเชื่อม  สะพานทางน�้ำ  ปูม  และ พนั ง กั้ น น�้ ำ  สิ่ ง ก่ อ สร้ า งเหล่ า นี้ มี ป ระโยชน์ ไม่ เ พี ย งแต่ ใ ช้ ใ นการผั น น�้ ำ เข้ า สู ่ พืน้ ทีก่ ารเกษตรทีร่ บั ประโยชน์จากการชลประทานเท่านัน้ หากแต่ในยามทีม่ อี ทุ กภัย ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ จ�ำเป็ น ต้ อ งใช้ เ พื่ อ การระบายน�้ ำ และบั ง คั บ น�้ ำ ให้ ไ หลไปในทิ ศ ทาง ที่ต้องการได้  ดังนั้น  ใครผู้ใดก็ตามที่ไปท�ำให้สิ่งก่อสร้างเหล่านั้นช�ำรุดเสียหาย เกิดอันตราย  หรือขัดข้องในการใช้งาน  ก็ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติ การชลประทานหลวง  พ.ศ. 2485  และเสี่ยงต่อโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 5 ปี โทษปรับ มากถึง 20,000 บาท  แล้วแต่ว่าไปท�ำให้สิ่งก่อสร้างอันใดช�ำรุดเสียหาย 58


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

59

รักษาทางน�้ำให้ใช้งานได้ 6

กระทรวงยุติธรรม

ในทางน�้ ำ ชลประทานซึ่ ง อยู ่ ใ นความดู แ ลของกรมชลประทานนั้ น นับว่าเป็นทางน�้ำที่ส�ำคัญต่อการป้องกัน แก้ไข และบรรเทาปัญหาภัยน�้ำท่วมที่ อาจจะเกิดขึ้นได้ในทุกๆ ปี ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าแม่น�้ำล�ำคลองสาธารณะที่มีอยู่แล้ว ตามธรรมชาติ ในช่วงเวลานี้ กรมชลประทานคงได้บ�ำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นคลอง ชานคลอง คันคลอง ประตูน�้ำ ท�ำนบ ฝาย เขื่อนระบาย ประตู ระบาย ท่อเชื่อม สะพานทางน�้ำ ปูม และพนังกั้นน�้ำ ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี พร้อมรับมือภัยน�้ำท่วม และหากมีใครไปปลูกสร้างสิ่งใดๆ ในทางน�้ำ เขตคันคลอง เขตพนัง หรือกระท�ำการใดๆ อันเป็นการกีดขวางทางน�้ำ เจ้าหน้าที่ก็อาจร้องขอต่อ ศาลให้สงั่ รือ้ ถอนได้ แต่ทงั้ นี้ หากเป็นกรณีฉกุ เฉิน นายช่างชลประทานก็ยอ่ มมีอ�ำนาจ ที่จะด�ำเนินการต่างๆ ตามที่จ�ำเป็น เช่น รื้อถอนสิ่งกีดขวางทางน�้ำได้ในทันที โดย ไม่ต้องไปร้องขอต่อศาลก่อนด�ำเนินการ

59


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 60

กระทรวงยุติธรรม

60

หลายหน่วยงานร่วมประสาน กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน กระทรวงยุตธิ รรม ได้น�ำเสนอสาระกฎหมาย ที่เกี่ยวกับทางน�้ำทั้งหลาย ทั้งที่เป็นทางน�้ำสาธารณะตามธรรมชาติ เช่น แม่น�้ำ ล�ำคลอง ทางน�้ำเพื่อการประปา และทางน�้ำเพื่อการชลประทาน ซึ่งท่านผู้อ่านคง เข้าใจแล้วว่า มีหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานเข้ามาเกีย่ วข้องทัง้ กรมชลประทาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ที่ทางน�้ำนั้นๆ ไหลผ่าน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตที่ ดูแลเขื่อนขนาดใหญ่  ควบคุมการปล่อยน�้ำ  รวมทั้งคณะกรรมการอีกหลายชุด หน่วยงานต่างๆ ทั้งหลายต่างก็ได้พยายามอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันอุทกภัยที่อาจ เกิ ด ขึ้ น ได้ ต ามขอบข่ า ยอ�ำนาจหน้ า ที่ ข องตน  แต่ ก ระนั้ น ก็ ดี   ในกรณี ฉุ ก เฉิ น ที่ มี ภั ย พิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น ยั ง มี ก ฎหมายอี ก ฉบั บ ที่ ส�ำคั ญมาก  นั่ น ก็ คื อ กฎหมายป้ อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภัยซึ่ง จะได้ ก ล่ า วถึ ง ในตอน ต่อๆ ไป


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

61

ป้องกันสาธารณภัย 1

กระทรวงยุติธรรม

ช่วงเวลาที่เกิดภัยพิบัติในประเทศ ทั้งที่เป็นอัคคีภัย ภัยแล้ง พายุ โรคระบาดไม่ว่าต่อคนต่อสัตว์ รวมทั้งอุทกภัย น�้ำท่วมใหญ่ที่ครอบคลุมหลายสิบ จังหวัดในช่วงปลายปีที่ผ่านมา เครื่องไม้เครื่องมือส�ำคัญส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปกครองคือ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด นายอ�ำเภอ และหน่วยงาน ท้องถิ่น ได้แก่ เทศบาล อบต. เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร ที่จะใช้ป้องกัน และแก้ไขภัยพิบัติดังกล่าวได้ก็คือ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ซึ่งมีมาตรการหลายอย่าง เป็นต้นว่า หากเกิดสาธารณภัย เจ้าหน้าที่ สามารถดัดแปลงท�ำลาย เคลื่อนย้ายสิ่งก่อสร้าง วัสดุ หรือทรัพย์สินของใคร ก็ตาม ที่เป็นอุปสรรค แก่ ก ารบ�ำบั ด ปั ด ป้ อ ง ภยั น ตรายได้ ต ามที่ จ�ำเป็น  เช่น  อาจทุบ ท�ำลายสิ่ ง ก่ อ สร้ า งที่ กี ด ขวางทางน�้ ำ และ เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การ ระบายน�้ำได้

61


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

62

ป้องกันสาธารณภัย 2

หากเกิดสาธารณภัยต่อประชาชนทั่วไป เช่น เหตุการณ์น�้ำท่วมใหญ่ ครอบคลุมหลายสิบจังหวัดในภาคเหนือตอนล่างและตลอดพืน้ ทีภ่ าคกลางอย่างเช่น ในช่วงปลายปีที่แล้ว พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ก็ได้ให้อ�ำนาจแก่เจ้าหน้าที่ เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอ�ำเภอ และบุคลากรอื่นๆ มีอ�ำนาจด�ำเนินการต่างๆ ที่จ�ำเป็นเพื่อป้องกันและบรรเทาอุทกภัย เช่น สามารถ เข้าไปในอาคารและสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ที่เกิดภัยสั่งให้มีการขนย้าย ทรัพย์สินที่อาจก่อให้เกิดสาธารณภัย เช่น สั่งให้ย้ายสารเคมีที่อาจรั่วไหลปนเปื้อน กับน�้ำที่ก�ำลังจะไหลเข้ามาในพื้นที่ กลายเป็นมลพิษ ออกจากโกดังกักเก็บ และ ถ้าเจ้าของโกดังไม่อยู่หรือไม่ยอมด�ำเนินการ กฎหมายฉบับนี้ก็ให้อ�ำนาจเจ้าหน้าที่ จัดการขนย้ายได้เอง 62


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

63

ป้องกันสาธารณภัย 3

กระทรวงยุติธรรม

พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 นั้นถือเป็น เครื่ อ งไม้ เ ครื่ อ งมื อ ส�ำคั ญ ที่ ท างภาครั ฐ จะน�ำมาใช้ เ พื่ อ ป้ อ งปั ด บรรเทามิ ใ ห้ สาธารณภัยทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย วาตภัย หรืออุทกภัย ลุกลามใหญ่โต สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน มาตรการที่กฎหมาย เปิดช่องไว้  ได้แก่  การสั่งให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยอพยพออกนอก พื้นที่ หากเจ้าหน้าที่เห็นว่า มีความจ�ำเป็นต้องสั่งการเช่นนั้น เพื่อป้องกันภยันตราย ที่อาจเกิดแก่ตัวประชาชน หรืออาจเป็นอุปสรรคกีดขวางการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ และยิ่งถ้าเป็นกรณีร้ายแรงก็อาจออกประกาศห้ามมิให้บุคคลใดๆ เข้าไปอยู่อาศัย หรือกระท�ำกิจการใดๆ ในพื้นที่ดังกล่าว พูดง่ายๆ ก็คือ ให้คนในอพยพออก และ ห้ามคนนอกเข้าไปข้างในได้นั่นเอง

63


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

64

ป้องกันสาธารณภัย 4

กฎหมายได้ ใ ห้ อ�ำนาจแก่ เ จ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ เพื่ อ การป้ อ งกั น และ บรรเทาสาธารณภัย เช่น น�้ำท่วม ไว้หลายประการทีเดียว ได้แก่ (1) การจัดให้มี สถานทีช่ วั่ คราวเพือ่ ให้ผปู้ ระสบภัยอยูอ่ าศัยหรือรับการปฐมพยาบาล  และการรักษา ทรัพย์สินของผู้ประสบภัย (2) จัดระเบียบการจราจรชั่วคราวในพื้นที่ที่เกิดอุทกภัย และพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง (3) การสั่ ง ปิ ด กั้ น มิ ใ ห้ ผู ้ ไ ม่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งเข้ า ไปในพื้ น ที่ ที่เกิดอุทกภัย (4) จัดให้มีการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้องกันโจรผู้ร้าย ก่อเหตุในช่วงที่ผู้คนก�ำลังเดือดร้อนและอพยพออกนอกพื้นที่ (5) ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยและช่วยขนย้ายทรัพย์สิน  เมื่อเจ้าของร้องขอความช่วยเหลือ  อนึ่ง แม้ว่าภาครัฐจะมีหน้าที่ต่างๆ  ดังกล่าว  แต่การร่วมแรงร่วมใจของประชาชน ทั้งตัวผู้ประสบภัยเอง  อาสาสมัคร  และบุคคลอื่นๆ  นั้นถือว่าส�ำคัญที่สุด 64


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

65

ป้องกันสาธารณภัย 5

กระทรวงยุติธรรม

เมือ่ เขตท้องทีใ่ ดเกิดสาธารณภัยหรือคาดหมายได้วา่ จะเกิดสาธารณภัย เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง อาทิ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอ�ำเภอ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล นายกเทศมนตรี นายกเมืองพัทยา และผูว้ า่ กทม. ก็ยอ่ มมีอ�ำนาจหน้าทีร่ ะดมสรรพก�ำลังทุกส่วนของหน่วยงานภาครัฐ ในเขตท้องที่เข้ามาร่วมด�ำเนินการ เช่น สั่งให้ข้าราชการพลเรือน และเจ้าหน้าที่ ของรัฐทั้งหลาย ไม่ว่าสังกัดหน่วยงานใดปฏิบัติการตามจ�ำเป็นเพื่อป้องกันและ บรรเทาภัย ใช้อาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ และยานพาหนะ ของหน่วยงานของรัฐหรือแม้แต่ของเอกชน ตลอดจนสัง่ ห้ามเข้าหรือให้ออกจากพืน้ ที่ อาคารหรือสถานที่ที่ก�ำหนด ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งหรือขัดขวางการปฎิบัติ หน้าที่ย่อมมีความผิดตามกฎหมายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อาจต้องระวาง โทษจ�ำคุกสูงสุดถึงสามเดือน

65


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 66

กระทรวงยุติธรรม

66

ป้องกันสาธารณภัย 6 เมื่อเกิดภัยพิบัติต่างๆ  เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชนก็จะร่วมมือกันเพือ่ ระงับสาธารณภัยอันนัน้   เพือ่ คุม้ ครองชีวติ และป้องกันภยันตรายที่อาจเกิดแก่ประชาชน  ในการนี้  เจ้าหน้าที่อาจดัดแปลง ท�ำลาย  หรือเคลื่อนย้ายสิ่งก่อสร้าง  วัสดุ  หรือทรัพย์สินที่อาจเป็นอุปสรรคแก่ การป้องกันภยันตรายนั้นๆ  ได้เท่าที่จ�ำเป็น  อย่างไรก็ดี ในระหว่างด�ำเนินการ ดังกล่าว  หากมีใครเข้าไปกีดกัน  หน่วงเหนี่ยว  ขัดขวางการด�ำเนินงานของ เจ้าหน้าที่  คนๆ นั้นก็ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย  พ.ศ. 2550  อาจต้องระวาง โทษจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น หนึ่ ง ปี   ปรั บ ไม่ เ กิ น สองหมื่นบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

67

ป้องกันสาธารณภัย 7

กระทรวงยุติธรรม

เมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐจ�ำเป็นต้องใช้อ�ำนาจตามกฎหมายป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ออกค�ำสั่งปิดกั้นมิให้ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันภัย เช่น ไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่ดับเพลิงส�ำหรับกรณีอัคคีภัย หรือผู้ที่ไม่ใช่พยาบาลหรือ อาสาสมัครที่จ�ำเป็นต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย เข้าไปในเขตพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติ และพื้นที่ใกล้เคียง หากคนอื่นที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ฝ่าฝืนแอบเข้าไปในพื้นที่ ที่ปิดกั้น โดยไม่มีอ�ำนาจตามกฎหมายหรือไม่ได้เป็นไปตามค�ำสั่งของเจ้าหน้าที่ ผู้นั้นก็อาจต้องโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 3 เดือน ปรับสูงถึง 6,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ อย่างไรก็ดี หากผู้ที่ฝ่าฝืนเข้าเขตปิดกั้นดังกล่าวนั้นเป็นเจ้าของหรือ ผูค้ รอบครองอาคารบ้านเรือนในพืน้ ที่ เจ้าหน้าทีอ่ าจเลือกไม่ด�ำเนินคดีแต่เรียกผูน้ นั้ มาว่ากล่าวตักเตือนแทนก็ได้

67


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 68

กระทรวงยุติธรรม

68

ป้องกันสาธารณภัย 8 เมื่ อ เกิ ด หรื อ อาจจะเกิ ด สาธารณภั ย เช่ น อุ ท กภั ย น�้ ำ ท่ ว มใหญ่ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 หากเจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การปล่อยให้ประชาชนอาศัย อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยต่อไปอาจเป็นอันตรายหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบตั งิ านป้องกัน และบรรเทาภัย ก็อาจมีค�ำสั่งให้อพยพประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงภัยออกนอก พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วได้ ในทางกลั บ กั น หากการอยู ่ อ าศั ย หรื อ ด�ำเนิ น การกิ จ การใดๆ ในพื้นที่อาจเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง เจ้าหน้าที่จะประกาศห้ามเข้าไปอยู่อาศัย หรือด�ำเนินกิจการใดในพื้นที่ดังกล่าวก็ได้ ผู้ใดก็ตามที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ค�ำสัง่ อพยพท�ำให้เกิดอุปสรรคกีดขวางการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ หรือผูท้ ฝี่ า่ ฝืนค�ำสัง่ ห้ามเข้าไปอาศัยในพื้นที่ ผู้นั้นอาจต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

69

ป้องกันสาธารณภัย 9

กระทรวงยุติธรรม

ในช่วงที่ผู้คนก�ำลังเดือดร้อนเพราะเหตุสาธารณภัยทั้งหลาย ทั้งไฟไหม้ น�้ำท่วมใหญ่ หรือภัยพิบัติอื่นๆ ที่คนบางคนจิตใจหยาบช้า ฉกฉวยโอกาสที่ผู้คน ก�ำลังตกทุกข์ได้ยากนัน้ ซ�ำ้ เติมความทุกข์ลงไปอีกด้วยการเข้าไปลักทรัพย์ขโมยของ ตามบ้านเรือนของผูป้ ระสบภัย โดยมากมักจะแฝงตัวไปในคราบอาสาสมัครทัง้ หลาย ท�ำทีเข้าไปช่วยเหลือแล้วก็หาโอกาสฉกฉวยทรัพย์สินส่งผลให้บรรดาอาสาสมัคร ตัวจริง ผู้มีจิตใจเสียสละเพื่อส่วนรวมจริงๆ ต้องพลอยมัวหมองตามไปด้วย ดังนั้น พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 จึงบัญญัติห้าม การแต่งกาย ประดับเครื่องหมายของอาสาสมัครหรือขององค์การสาธารณกุศล และเข้าไปในพื้นที่ที่เกิดสาธารณภัย โดยที่ผู้นั้นมิได้เป็นอาสาสมัครจริงๆ ผู้กระท�ำ การดังกล่าวย่อมมีความผิดอาจต้องโทษจ�ำคุกสูงสุดถึงสามเดือน

69


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

70

ป้องกันสาธารณภัย 10

ในเหตุการณ์ที่ผู้คนประสบ สาธารณภัยทั้งหลาย เช่น เหตุน�้ำท่วม ใหญ่เมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 นับเป็น เวลาที่ประชาชนคนไทยร่วมจิตร่วมใจ บริจาคสิง่ ของอันจ�ำเป็นเพือ่ การยังชีพ ของผูป้ ระสบภัยรวมทัง้ เงินทองทีจ่ ะใช้ เพือ่ การบรรเทาความรุนแรงจากภัยนำ�้ ท่วมด้วย แต่กไ็ ม่นา่ เชือ่ เหมือนกันว่า จะมีบางคน จิตใจหยาบช้าฉกฉวยโอกาสหาผลประโยชน์โดยมิชอบแก่ตนเอง เช่นการแอบอ้าง เรี่ยไรทรัพย์สินเงินทอง หลอกลวงว่าจะน�ำไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย แต่ที่จริง กลั บ เบี ย ดบั ง เป็ น ของตนเอง ถ้ า การกระท�ำดั ง กล่ า วเกิ ด จากการแสดงตนว่ า เป็นอาสาสมัคร เป็นเจ้าหน้าที่ หรือพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวกับการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย หรือแอบอ้างใช้ชอื่ ของหน่วยงานดังกล่าวไปเพือ่ การเรีย่ ไร แม้ยังไม่ทันได้ทรัพย์สินเงินทองอะไรไป แต่เพียงแค่การแอบอ้างชื่อเรี่ยไรเท่านั้น ผู้กระท�ำการดังกล่าวก็มีความผิดแล้ว และก็อาจต้องโทษจ�ำคุกสูงสุดถึงหนึ่งปี

70


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

71

ป้องกันสาธารณภัย 11

กระทรวงยุติธรรม

ในการใช้อ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อันเป็นเครื่องมือเครื่องไม้ส�ำคัญที่หน่วยงานภาครัฐ สามารถน�ำมาใช้ป้องกัน ภยันตรายต่างๆ ที่อาจเกิดแก่ประชาชนในเหตุการณ์สาธารณภัย เช่น น�้ำท่วมใหญ่ เมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 เป็นไปได้เหมือนกันที่เจ้าหน้าที่จะเสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้อง เช่น หากสั่งให้ทุบท�ำลายสิ่งก่อสร้างที่เป็นอุปสรรคต่อการระบายน�้ำเพื่อป้องกัน น�้ำท่วม เจ้าของสิ่งก่อสร้างก็อาจมาฟ้องให้รับผิด ดังนั้น เพื่อคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ให้กล้าปฏิบัติงานอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ กฎหมายฉบับนี้จึงก�ำหนดว่า หากการด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าทีไ่ ด้กระท�ำไปพอสมควรแก่เหตุและมิได้ประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง ก็ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นพ้นจากความผิดและความรับผิดทั้งปวง แต่ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ตัดสิทธิของเจ้าของทรัพย์สินผู้เสียหายที่จะเรียกร้องเอา ค่าชดเชยจากทางภาครัฐแต่อย่างใด

71


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

72

ป้องกันสาธารณภัย 12

ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย โรคระบาด  และภัยพิบัติอื่นๆ  ไม่ว่าเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเป็นผลมาจาก น�้ ำ มื อ ของมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกั น   พระราชบั ญ ญั ติ ป ้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย พ.ศ. 2550 ได้ให้อ�ำนาจแก่เจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ปัดป้องบรรเทาความร้ายแรงของภยันตราย ดังกล่าวไว้หลายประการด้วยกัน  และในระหว่างการท�ำหน้าที่นั้น  เป็นไปได้ เหมือนกันว่าเจ้าหน้าที่และบุคคลอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อาจจะได้มาซึ่งความลับ บางอย่างหากเจ้าหน้าที่น�ำความลับดังกล่าวไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว  เช่น หากก�ำลังจะมีโรคระบาด  จึงบอกให้ญาติไปซื้อยามากักตุนเก็งก�ำไร  หรือเปิดเผย แก่ผู้อื่นที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตามกฎหมายและอาจจะท�ำให้เกิดความเสียหายแก่ บุคคลใดๆ เช่น เปิดเผยรายชื่อที่อยู่ของผู้ป่วยที่เป็นพาหะน�ำโรค เช่นนี้แล้วละก็ ย่อมมีความผิดอาจต้องโทษจ�ำคุกถึง 6 เดือน 72


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

73

หลักความเสมอภาค 1 : นิยามความเสมอภาค

กระทรวงยุติธรรม

ท่านผู้อ่านคงเคยได้ยินได้ฟังค�ำว่า “ความเสมอภาค” กันอยู่บ่อยครั้ง ความเสมอภาคนี้มาจากความเชื่อที่ว่า คนทุกคน ไม่ว่ายากดีมีจนแค่ไหน ไม่ว่า จะมีเผ่าพันธุ์ผิวสีใด ชาติตระกูลของคนผู้นั้นจะเป็นเช่นไร จะเป็นชายเป็นหญิง จะมีร่างกายสมบูรณ์ดีพร้อมหรือเป็นผู้พิการทุพพลภาพ ถิ่นฐานบ้านเกิดจะอยู่ แห่งหนต�ำบลไหน จะเว้าลาว อู้ก�ำเมือง แหล่งใต้หรือใช้ภาษาไทยกลาง ไม่ว่า จะนับถือศาสนาใด ทั้งพุทธ พราหมณ์ อิสลาม คริสต์ และไม่ว่าจะจบการศึกษา ประถม มัธยม หรือปริญญา ต่างก็เป็นมนุษย์เหมือนๆ กัน มีศักดิ์มีศรีเท่าเทียมกัน และรัฐก็ต้องเคารพและคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของมนุษย์ทุกคนอย่างเสมอภาคกัน นี่ก็คือ นิยามสั้นๆ ของความเสมอภาค

73


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

74

หลักความเสมอภาค 2 : บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย หากท่านผูอ้ า่ นมีรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช 2550 อยู่ในมือ  ลองเปิดดูที่มาตรา 30  ท่านจะพบว่ารัฐธรรมนูญรับรองหลักความ เสมอภาคอยู่ในนั้น  จ�ำแนกออกได้เป็นสองระดับ  คือ  (1) บุคคลย่อมเสมอกัน ในกฎหมาย  และ  (2) บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ในระดับแรกหมายความว่า  กฎหมายทั้งพระราชบัญญัติ  พระราชก�ำหนด  และ ประกาศคณะปฏิวัติบางฉบับ  ตลอดจนกฎเกณฑ์อื่นๆ  ที่มีลักษณะทั่วไป  เช่น พระราชกฤษฎีกา  กฎกระทรวงจะต้องเขียนรับรองสิทธิเสรีภาพของบุคคลต่างๆ ไว้ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น   ในทาง กลั บ กั น   หากจะลิ ด รอนสิ ท ธิ เสรีภาพ เช่น ก�ำหนดให้มีหน้าที่ ต้องเสียภาษี ก็ต้องบัญญัติไว้ใน ลักษณะทีเ่ สมอหน้าเท่าเทียมกัน สรุ ป ง่ า ยๆ  ก็ คื อ   บุ ค คลย่ อ ม เสมอกันในกฎหมาย  หมายถึง เนื้ อ หาในกฎหมายลายลั ก ษณ์ อั ก ษรจะต้ อ งรั บ รองสิ ท ธิ ห รื อ หน้าที่อย่างเท่าเทียมกันนั่นเอง

74


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

75

หลักความเสมอภาค 3 : บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน

กระทรวงยุติธรรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 ได้บัญญัติ รั บ รองหลั ก ความเสมอภาคของบุ ค คล ทั้งหลายไว้สองระดับ  คือ  (1) กฎหมาย ที่ ภ าครั ฐ บั ญ ญั ติ ขึ้ น นั้ น จะต้ อ งรั บ รอง สิทธิหรือก�ำหนดหน้าที่ให้แก่บุคคลต่างๆ อย่างเสมอกัน  และ  (2) บุคคลต่างๆ ย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย เท่าเทียมกัน  ในระดับที่สองนี้เป็นการ ป้องกันไม่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อ�ำนาจ ตามอ�ำเภอใจ  เพราะแม้กฎหมายบัญญัติ ไว้อย่างเสมอภาค  เป็นต้นว่าผูป้ ระสบภัย น�้ำท่วมจะได้รับเงินช่วยเหลือ 20,000 บาท  เนื้อหากฎหมายเช่นนี้ย่อมเสมอภาค เพราะคนทุกคนที่ประสบภัยน�้ำท่วมจะได้รับความช่วยเหลือ  แต่ปัญหาอาจจะ เกิดขึ้นในทางปฏิบัติก็คือในการบังคับใช้กฎหมายจริงๆ  เจ้าหน้าที่อาจเลือก ใช้บังคับ  ให้เงินช่วยเหลือแก่บางคน  ไม่ให้บางคน  ทั้งๆ ที่ก็เป็นผู้ประสบภัย เหมือนกัน  ดังนัน้   จึงต้องมีหลักทีว่ า่   บุคคลย่อมได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมาย เท่าเทียมกันก�ำกับไว้อีกชั้นหนึ่ง

75


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

76

หลักความเสมอภาค 4 : ความหมายที่สอง

หลักความเสมอภาคนั้นเปรียบได้กับเหรียญสองหน้า  ด้านหนึ่งก็คือ ต้องปฏิบตั ติ อ่ คนทุกคนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน  หากบุคคลเหล่านัน้ มีคณ ุ สมบัติ เหมือนกัน  ข้อเท็จจริงคล้ายกัน  และอยูภ่ ายใต้สถานการณ์เดียวกัน  ซึง่ หลายท่าน คงพอทราบกันดีอยู่แล้ว  กลับอีกด้านหนึ่งคือ  ถ้าคุณสมบัติต่างกัน  ข้อเท็จจริง ต่างกัน  และสถานการณ์ต่างกันจะปฏิบัติต่อบุคคลเหล่านั้นแบบเดียวกันก็ไม่ได้ ตั ว อย่ า งเช่ น   การแข่ ง ขั น กี ฬ าของผู ้ ใ หญ่   จะแบ่ ง แยกหญิ ง ชาย  และบาง ประเภทกีฬาเช่น  ยกน�้ำหนัก  หรือมวย  ก็จะแยกย่อยไปตามน�้ำหนักตัวอีกด้วย การแบ่งแยกเช่นนี้สอดคล้องกับหลักความเสมอภาคในด้านที่สอง  เพราะในการ แข่งขันกีฬา  สภาพร่างกายคือปัจจัยส�ำคัญทีช่ ขี้ าดผลการแข่งขัน  แตกต่างไปจาก การสอบเข้าเรียนมหาวิทยาลัย  สอบเข้ารับราชการ  ไม่มีการแบ่งแยกชายหญิง ไม่ มี ก ารแบ่ ง แยกน�้ ำ หนั ก ตั ว   เพราะสิ่ ง ที่ วั ด จากการสอบนั้ น ก็ คื อ ความรู ้ แ ละ สติปัญญา 76


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

77

หลักความเสมอภาค 5 : สิทธิมนุษยชน

กระทรวงยุติธรรม

หลักความเสมอภาคนั้นมาจากพื้นฐานความคิดที่ว่า คนทุกคน ไม่ว่า สถานะใด มีสภาพร่างกายจิตใจอย่างไร ก็เป็นคนเหมือนกัน มีสิทธิเสรีภาพ และมีหน้าที่เท่าเทียมกัน หลักการข้อนี้ถือเป็นหนึ่งในหลักการสากลที่เรียกว่า หลักสิทธิมนุษยชน ใช้กับทุกชาติ ทุกภาษา ทุกศาสนา มีรับรองไว้ในตราสาร ด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศหลายฉบับ อาทิ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุษยชนแห่งสหประชาชาติ และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง และที่ส�ำคัญคือ รับรองไว้ในมาตรา 4 และมาตรา 30 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งที่ผ่านมา ศาลไทย โดยเฉพาะศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง ต่างก็ได้น�ำหลักความเสมอภาคนี้ มาใช้ควบคุมก�ำกับการใช้อ�ำนาจรัฐทั้งหลายมิให้เป็นไปตามอ�ำเภอใจ และมิให้ใช้ อ�ำนาจแบบเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลต่างๆ

77


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

78

หลักความเสมอภาค 6 : เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม

เมื่อเราพูดถึงหลักความเสมอภาค ค�ำๆ นึงที่จะมาคู่กันเสมอนั่นก็คือ การเลือกปฏิบัติ หลักความเสมอภาคนี้ปฏิเสธ ไม่ให้รัฐหน่วยงานของรัฐ และ ตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้อ�ำนาจรัฐแบบเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็น เพราะถิ่นฐานบ้านเกิดของผู้นั้น เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ สภาพร่างกาย ความพิการ สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมความเชื่อ ทางศาสนา การศึกษาอบรม และความคิดเห็นทางการเมือง สิ่งเหล่านี้ถือเป็นเหตุ ที่ห้ามรัฐน�ำไปใช้อ้างเพื่อเลือกปฏิบัติ ตัวอย่างล่าสุดเช่นศาลรัฐธรรมนูญได้มี ค�ำวินิจฉัยว่า การห้ามผู้พิการทุพพลภาพมิให้มีสิทธิสมัครสอบเข้ารับราชการ เป็นผู้พิพากษา ซึ่งเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา 26 (10) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 นั้น ขัดแย้งต่อหลัก ความเสมอภาค จึงเป็นอันใช้บังคับไม่ได้ 78


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

79

หลักความเสมอภาค 7 : เลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม

กระทรวงยุติธรรม

รัฐธรรมนูญบัญญัติห้ามการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล เพราะเหตุต่างๆ  เช่น  ร่างกาย  เชื้อชาติ  ภาษา  เพศ  อายุ  หรือศาสนา ห้ามเฉพาะการเลือกปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เป็นธรรม  แต่ถา้ เป็นการเลือกปฏิบตั ทิ เี่ ป็นธรรมคือ มีความจ�ำเป็นจะต้องท�ำเช่นนัน้ เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม  เช่น  อายุ 18 ปีสามารถขอ ใบขับขีร่ ถยนต์สว่ นบุคคลได้ แต่จะไม่สามารถขอใบขับขีร่ ถยนต์สาธารณะได้จนกว่า จะมีอายุครบ 22 ปี  เช่นนี้  แม้เป็นการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ทางอายุ  แต่เป็นการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม  เนื่องจากสถิติการเกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนนก็บ่งชี้ว่า  ผู้ขับขี่อายุน้อยมักจะ เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งกว่า ก็ในเมื่อ ใบขั บ ขี่ ร ถยนต์ ส าธารณะมี ไ ว้ ส�ำหรั บ ผู ้ ขั บ รถรั บ จ้ า งขนส่ ง ผู้โดยสาร  รัฐจึงจ�ำเป็นต้อง ก�ำหนดเงื่ อ นไขทางอายุ ใ ห้ เข้มงวดขึ้นกว่าปกติ  ทั้งนี้ ก็เพื่อลดโอกาสเสี่ยงภัยของ ผู้โดยสารรถยนต์สาธารณะ ทั้งหลาย

79


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

80

หลักความเสมอภาค 8 : Affirmative Action ก่อนหน้านี้สัก 50–60 ปี  ในสหรัฐอเมริกานั้น  มีการกีดกันสีผิว แบ่งชนชั้นคนขาว  คนด�ำ  อย่างเด่นชัด  โดยเฉพาะในรัฐทางใต้  มีโรงเรียนเด็ก คนขาว โรงเรียนเด็กคนด�ำ เก้าอี้บนรถบัส มีที่นั่งเฉพาะคนขาว ที่นั่งเฉพาะคนด�ำ จะนั่งล�้ำกันไม่ได้  มิเช่นนั้นอาจถูกจับติดคุก  นี่คือสิ่งที่เคยเขียนห้ามเป็นกฎหมาย อย่างไรก็ดี  ต่อมากฎหมายเหล่านั้นถูกยกเลิกไป  หลังจากศาลฎีกาสหรัฐได้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า   การกี ด กั น สี ผิ ว ในรู ป แบบต่ า งๆ  ขั ด ต่ อ หลั ก ความเสมอภาคและ ขัดต่อรัฐธรรมนูญ  และด้วยเหตุผลทางประวัติศาสตร์ท�ำให้ในสหรัฐมีสิ่งหนึ่งที่ เรียกว่า  มาตรการทีส่ ง่ เสริมให้บคุ คลสามารถใช้สทิ ธิได้เท่าเทียมกับบุคคลอืน่   หรือ Affirmative Action เพื่อส่งเสริมให้คนผิวด�ำที่เคยถูกกีดกันมาช้านานได้มีโอกาส พัฒนาตนเองได้เท่าเทียมกับ คนผิวขาว เช่น มีการก�ำหนด คะแนนเพิ่ ม พิ เ ศษให้ ค นด�ำ สามารถแข่ ง ขั น เข้ า เรี ย น มหาวิทยาลัย  หรือมีโควต้า เข้าท�ำงานในภาครัฐ เป็นต้น

80


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

81

หลักความเสมอภาค 9 : เสมอภาคในโอกาส 1

กระทรวงยุติธรรม

เมื่ อ ไม่ น านมานี้   ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ ได้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า   กฎหมายระเบี ย บข้ า ราชการ ฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ห้ามผู้มีกายหรือจิตใจ ไม่เหมาะสมเป็นข้าราชการตุลาการ พูดให้ชัดๆ ก็ คื อ   ห้ า มผู ้ พิ ก ารทุ พ พลภาพไม่ ใ ห้ เ ข้ า สอบ เข้ า รั บ ราชการเป็ น ผู ้ พิ พ ากษานั้ น ถื อ เป็ น การ เลื อ กปฏิ บั ติ โ ดยไม่ เ ป็ น ธรรมต่ อ บุ ค คลเพราะเหตุ แห่ ง ความพิ ก าร  ขั ด แย้ ง ต่ อ หลั ก ความเสมอภาค ตามรัฐธรรมนูญ  บทกฎหมายในส่วนดังกล่าวจึงตกเป็น อันใช้บังคับไม่ได้ คล้ายๆ เป็นโมฆะ หลักความเสมอภาค ในส่วนนีถ้ า้ พูดเจาะจงลงไปก็คอื   ความเสมอภาคในโอกาส คือ ไม่ว่าคนที่มีร่างกายครบถ้วน 32 ประการหรือผู้พิการ ทุพพลภาพ  ถ้ามีคณ ุ สมบัตอิ นื่ ๆ ครบถ้วน  คนผูน้ นั้ ก็ยอ่ ม มีสทิ ธิสมัคร มีโอกาสทีจ่ ะเข้าสอบแข่งขันเป็นผูพ้ พิ ากษา ได้เท่าเทียมกันกับคนอื่น  แต่ท้ายที่สุด  จะได้เป็นหรือ ไม่ได้เป็นผู้พิพากษานั้น  ขึ้นอยู่กับผลการสอบของ คนๆ นั้น

81


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

82

หลักความเสมอภาค 10 : เสมอภาคในโอกาส 2 หลักความเสมอภาคที่บัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไทยนั้น  ถ้าจะ พูดกันแบบเจาะจงลงไปให้ชัดก็คือ  คนทุกคนย่อมมีสิทธิเสรีภาพและโอกาสที่จะ ใช้สิทธิเสรีภาพ ที่จะพัฒนาตนเองอย่างเท่าเทียมกัน อย่ า งเช่ น   แม้ เ ป็ น ผู ้ พิ ก ารทุ พ พลภาพแต่ ถ ้ า มี สติปัญญาดี เรียนจบปริญญากฎหมาย สอบได้เนติ บัณฑิตไทย  มีประสบการณ์การท�ำงานครบถ้วน ไม่เคยประพฤติตนเสื่อมเสียในทางใดๆ อายุครบ 25 ปี แ ล้ ว   ก็ ย ่ อ มมี สิ ท ธิ มี โ อกาสที่ จ ะสมั ค ร เข้าสอบแข่งขันเป็นผูพ้ พิ ากษาได้เท่าเทียมกับ คนที่ มี อ วั ย วะครบถ้ ว น  32  ประการ ส่ ว นผลลั พ ธ์   ผู ้ พิ ก ารคนที่ เ ข้ า สอบ จะได้เป็นหรือไม่ได้เป็นผูพ้ พิ ากษานัน้ ก็ จ ะเป็ น ไปตามผลการสอบ  และ นี่ คื อ หลั ก ใหญ่ ใ จความของความ เสมอภาค  อย่างไรก็ดี ณ ปัจจุบัน ยังคงมีกฎหมายไทยอีกหลายฉบับ ที่ ตั ด โอกาสผู ้ พิ ก ารในท�ำนองนี้ อยู ่ อี ก   ซึ่ ง คงต้ อ งได้ รั บ การแก้ ไ ข ในโอกาสต่อๆ ไป

82


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

83

หลักความเสมอภาค 11 : เสมอภาคชายและหญิง 1

กระทรวงยุติธรรม

ทั้งรัฐธรรมนูญ  2550  และรัฐธรรมนูญ  2540  ต่างก็ได้รับรอง ความเสมอภาคของหญิงและชายไว้ในมาตรา  30  วรรคสอง  เหมือนๆ กัน แต่เดิมนั้นพระราชบัญญัติชื่อบุคคล  พ.ศ. 2505  ก�ำหนดบังคับว่า  หญิงมีสามี ต้ อ งใช้ น ามสกุ ล ของสามี เ ท่ า นั้ น   จะใช้ น ามสกุ ล เดิ ม ของตนก่ อ นสมรสไม่ ไ ด้ เป็นผลให้มีการเสนอค�ำร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเมื่อปี 2546  และศาลท่านได้ วินิจฉัยว่าบทบัญญัติดังกล่าวขัดต่อหลักความเสมอภาคระหว่างชายและหญิง ทั้งยังเป็นการเลือกปฏิบัติต่อหญิงเพราะเหตุแห่งสถานะของบุคคล คือ น�ำเอา สถานภาพการสมรส มาเป็นเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ บทกฎหมายนี้จึงขัดต่อ รัฐธรรมนูญเป็นอันใช้บังคับไม่ได้ และหลังจากนั้นไม่นานก็ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายให้ สิ ท ธิ ห ญิ ง มี ส ามี ส ามารถ เลือกใช้นามสกุลของ ตนเองหรือ นามสกุลของ สามีก็ได้

83


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

84

หลักความเสมอภาค 12 : เสมอภาคชายและหญิง 2 ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คล ธรรมดาเป็นภาษีทจี่ ดั เก็บ แบบก้าวหน้า  คือยิ่งมี เงิ น เดื อ น  มี ร ายได้ ทั้งหลายสูงเท่าใด ก็ยิ่ง ต้องจ่ายภาษีในอัตราสูง ขึ้นไปเป็ น ขั้ น บั น ไดตามที่ ก�ำหนดไว้ในประมวลรัษฎากร เช่น เงินได้ 150,000 บาทแรก ไม่ต้องเสียภาษี จาก 150,001 ถึง 500,000 บาท  เสีย  10 เปอร์เซ็นต์ ช่วง 500,001  ถึง  1 ล้านบาท  เสีย  20 เปอร์เซ็นต์  เป็นขั้นๆ ไปจนถึงอัตรา สูงสุด 37 เปอร์เซ็นต์  ปกติการค�ำนวณภาษีกค็ ดิ ของใครของมัน แต่ละคนก็ยนื่ แบบ เสียภาษีของตน  อย่างไรก็ดี  ส�ำหรับคู่สามีภรรยาตามกฎหมายตัวสามีกลับถูก บังคับให้ต้องน�ำเงินได้แทบทุกประเภทของภรรยามารวมค�ำนวณด้วย  ปัญหา ก็คือ  เมื่อน�ำเงินได้ของสามีมาบวกกับเงินได้ของภรรยา  ท�ำให้มีเงินได้พึงประเมิน ที่เป็นฐานภาษีสูงขึ้นอัตราภาษีสูงขึ้น  และเงินภาษีที่ต้องจ่ายก็มากขึ้น  ดังนั้น จึงมีการโต้แย้งไปยังศาลรัฐธรรมนูญว่า ข้อก�ำหนดเช่นนี้ ขัดต่อหลักความเสมอภาค ระหว่างหญิงชาย เป็นการเลือกปฏิบตั เิ พราะเหตุความแตกต่างทางสถานะ  ซึง่ ศาล รัฐธรรมนูญจะตัดสินเช่นใด  มีค�ำตอบในตอนหน้า

84


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

85

หลักความเสมอภาค 13 : เสมอภาคชายและหญิง 3

กระทรวงยุติธรรม

เคยมี ก ารอ้ า งหลั ก ความเสมอภาคโต้ แ ย้ ง บทบั ญ ญั ติ ใ นประมวล รัษฎากรไปยังศาลรัฐธรรมนูญ 2 ครั้ง ในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับให้น�ำเงินได้ แทบทุกประเภทของภรรยาไปรวมกับเงินได้ของสามี เพื่อคิดค�ำนวณเป็นภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดาทีส่ ามีภรรยาคูน่ นั้ จะต้องช�ำระให้แก่กรมสรรพากร ในคราวแรก เมื่อปี  2545  ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญท่านได้วินิจฉัยว่า  ไม่ขัดหลักความเสมอภาค แต่ เ มื่ อ เวลาผ่ า นไปได้   10 ปี   ข้ อ โต้ แ ย้ ง นี้ ก ลั บ ขึ้ น สู ่ ศ าลอี ก ครั้ ง   มาคราวนี้ เปลี่ยนรัฐธรรมนูญใหม่แล้ว  ตัวตุลาการก็เปลี่ยนชุดใหม่จึงกลับค�ำวินิจฉัยเดิม พร้อมกับตัดสินว่า  ข้อก�ำหนดให้สามีภรรยาน�ำเงินได้พงึ ประเมินมาค�ำนวณรวมกัน เพื่อยื่นแบบเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น  ขัดต่อหลักความเสมอภาคและ เป็ น การเลื อกปฏิบัติเพราะเหตุแ ห่งความแตกต่า งเรื่ อ งสถานะบุ ค คล  ขั ด ต่ อ รัฐธรรมนูญ จึงเป็นอันใช้บังคับไม่ได้

85


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

86

หลักความเสมอภาค 14 : เสมอภาคชายและหญิง 4 เมื่ อ ไม่ น านมานี้ ศาลรัฐธรรมนูญมีค�ำวินจิ ฉัยว่า ประมวลรั ษ ฎากรในส่ ว นที่ บั ง คั บ ให้ ส ามี ภ รรยาน�ำเงิ น ได้พึงประเมินมารวมกันเพื่อ เสี ย ภาษี เ งิ น ได้ ใ นแต่ ล ะปี นั้ น ขัดต่อหลักความเสมอภาคตาม รัฐธรรมนูญ  เป็นอันใช้บงั คับไม่ได้ น่าสนใจมากก็ตรงเหตุผลของศาล ที่ ว ่ า   หลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วท�ำให้ สามีภรรยาทีม่ รี ายได้ประเภทอืน่ นอกเหนื อ จากเงิ น เดื อ นและ ค่าจ้าง  ต้องเสียภาษีสงู กว่าสามีภรรยา  ทีภ่ รรยามีรายได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง แต่ประเภทเดียว และยังท�ำให้หญิงมีสามีต้องเสียภาษีสูงกว่าหญิงโสดที่มีเงินได้ พึงประเมินในกลุ่มประเภทเดียวกันนั้น ส่งผลต่อเนื่องให้ชายหญิงไม่นิยมสมรส ให้ถูกต้องตามกฎหมาย  เพราะเกรงต้องรับภาระภาษีในอัตราที่สูงขึ้น  หรือที่ สมรสกันแล้วก็อาจวางแผนภาษีโดยจดทะเบียนหย่า  พูดง่ายๆ ก็คือ  หลักเกณฑ์ ข้อนี้ไม่ได้มุ่งเสริมสร้างให้สถาบันครอบครัวมั่นคงขึ้นแต่อย่างใด

86


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

87

หลักความเสมอภาค 15 : เลือกปฏิบัติเพราะฐานะ 1

กระทรวงยุติธรรม

หลั ก ความเสมอภาคที่ รั บ รองไว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ ไทยนั้ น ห้ า มมิ ใ ห้ มีการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งความแตกต่างทางเพศ เชื้อชาติ ภาษา อายุ ศาสนาสถานะของบุคคล ตลอดจนฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ตัวอย่างเช่น เมื่ อหลายปี ที่ ผ ่านมาคณะกรรมการกฤษฎีก าเคยให้ ค วามเห็ น ว่ า หลั ก เกณฑ์ การรับเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตแห่งหนึ่ง ที่เปิดให้รับ “บุตรของผู้ท�ำประโยชน์ ต่อโรงเรียน” และ “เด็กของผูฝ้ ากทีส่ �ำคัญจากส่วนราชการต่างๆ ทีใ่ ห้การสนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรียน” นั้นมิได้เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต มิ ไ ด้ พิ จารณาตามความรู้ความสามารถของเด็ก ทั้ ง ยั ง เปิ ด โอกาสให้ โ รงเรี ย น ใช้ดุลพินิจได้ตามอ�ำเภอใจ อันเป็นการเลือกปฏิบัติให้ เป็นคุณแก่บุคคลบางกลุ่ม เท่านั้น ไม่เป็นธรรม ต่อเด็กนักเรียนคนอื่นๆ ที่สมัครสอบคัดเลือก ถือว่าขัดต่อความเสมอภาค ตามรัฐธรรมนูญ

87


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

88

หลักความเสมอภาค 16 : เลือกปฏิบัติเพราะฐานะ 2

รั ฐ ธรรมนู ญ ไทยรั บ รองหลั ก ความเสมอภาคไว้ พ ร้ อ มๆ กั บ การ บัญญัติห้ามมิให้มีการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งความแตกต่างทางเพศ เชื้อชาติ ภาษา อายุ ศาสนา สถานะของบุคคล ตลอดจนฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ตัวอย่างเช่น เมื่อหลายปีที่ผ่านมา คณะกรรมการกฤษฎีกาเคยให้ความเห็นว่า หลักเกณฑ์การรับพนักงานของรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งซึ่งก�ำหนดคุณสมบัติเบื้องต้น ในการรับสมัคร แต่กลับมีข้อยกเว้นเรื่องอายุและเกรดเฉลี่ยเมื่อจบการศึกษาให้แก่ ลูกของพนักงานและลูกอดีตพนักงานของรัฐวิสาหกิจแห่งนั้น แม้บุคคลดังกล่าว จะต้องผ่านการสอบคัดเลือกเช่นเดียวกับบุคคลภายนอก แต่ก็เป็นการเลือกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลบางกลุ่ม โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร จึงเป็นการเลือก ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ขัดต่อหลักความเสมอภาคที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ 88


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

89

หลักความเสมอภาค 17 : คนท�ำผิดอ้างไม่ได้

กระทรวงยุติธรรม

เวลาทีม่ กี ารฝ่าฝืนกฎหมาย  ผูก้ ระท�ำความผิดชอบอ้างกันหนักหนาว่า ยังมีคนอืน่ ๆ อีกทีท่ �ำผิดกฎหมายเช่นเดียวกันกับตน  ท�ำไมต�ำรวจไม่ไปจับ  อย่างนี้ เลือกปฏิบัติใช่หรือไม่  ข้ออ้างเช่นนี้  ศาลปกครองท่านจะเห็นว่าอย่างไร  สมมุติ เอาเป็นนายแดงประกอบกิจการสุสานเอกชน  หรือฮวงซุ้ยให้ญาติๆ  ของคนตาย น�ำศพมาฝัง  พร้อมเรียกเก็บค่าเช่าหน้าดินมาก็หลายปี  วันดีคืนดีเทศบาลตรวจ พบว่า  เป็นสุสานเอกชนทีไ่ ม่ได้ขออนุญาตประกอบการกับภาครัฐ  ตามทีก่ ฎหมาย ก�ำหนดไว้   จึ ง ออกค�ำสั่ ง ให้ รื้ อ ถอน  นายแดงโต้ เ ถี ย งกลั บ ว่ า ในเขตเทศบาล เดียวกันนั้นยังมีฮวงซุ้ยเอกชนอีก 2 เจ้า  ที่ไม่มีใบอนุญาต แต่เทศบาลเลือกจับ เฉพาะตน  ไม่จับรายอื่น  จึงถือเป็นการเลือกปฏิบัติไม่เป็นธรรม  ศาลปกครอง สูงสุดท่านตัดสินว่าข้ออ้างนี้ฟังไม่ขึ้น  และท่านย�้ำด้วยว่า  คนที่จะอ้างหลัก ความเสมอภาคได้นั้น คือ ผู้ที่มีสิทธิตามกฎหมาย และผู้กระท�ำความผิดจะมาอ้าง ข้างๆ คูๆ แบบนี้ไม่ได้

89


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

90

หลักความเสมอภาค 18 : ไม่ผูกพันเอกชน 1

หลักความเสมอภาคที่บัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญนั้นจะใช้บังคับ กับหน่วยงานของรัฐ เช่น ส่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ผูกพันการใช้อ�ำนาจของเจ้าหน้าทีใ่ นหน่วยงานของรัฐเหล่านัน้ ให้ ป ฏิ บั ติ ต ่ อเราทุ ก คนที่เป็น ประชาชนอย่างเสมอภาค ไม่ อ าจใช้ อ�ำนาจตาม อ�ำเภอใจได้ อย่างไรก็ดี หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญนี้ ไม่อาจน�ำมาใช้ กล่าวอ้างระหว่างประชาชนคนธรรมดาด้วยกันเองได้ ตัวอย่างเช่น บริษทั บ้านจัดสรร เอกชนอาจเลือกขายบ้านให้แก่บางคน บางสาขาอาชีพก็ได้ ถ้าไม่พอใจผู้จะซื้อ รายใด จะไม่ขายให้โดยไม่ต้องอธิบายเหตุผลใดๆ เลยก็ได้ เพราะบริษัทเอกชนนั้น มีเสรีภาพที่จะเลือกคู่สัญญา ต่างจากการเคหะแห่งชาติซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ การจะขายบ้านหรือไม่ขายบ้านให้แก่ใคร จะต้องมีหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับ หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญ 90


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

91

หลักความเสมอภาค 19 : ไม่ผูกพันเอกชน 2

กระทรวงยุติธรรม

ห ลั ก ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค ตามรั ฐ ธรรมนู ญ นั้ น   มี ผ ลผู ก พั น การใช้อ�ำนาจของหน่วยงานของ รัฐทั้งปวง แต่ไม่ผูกพันการใช้ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของปั จ เจกชน บุคคลแต่ละคน เช่น ท่านผู้อ่าน ทั้ ง หลายอยากติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กับใคร อยากเข้าท�ำนิติกรรมสัญญา กับใคร หรือไม่อยากท�ำกับใคร ท่านมี สิทธิเลือกได้เต็มที่ ตัวอย่างเช่น เจ้าของ บริษัทเอกชนอาจจะไม่รับคนเข้าท�ำงาน เพียงเพราะว่าสัมภาษณ์แล้วรู้สึกไม่ชอบ ขี้หน้าก็ได้ เพียงเพราะพูดไทยไม่ชัดก็ได้ และคนที่ ต กสั ม ภาษณ์ จ ะมาอ้ า งว่ า การไม่ รั บ ตนเข้าท�ำงานเป็น การเลือก ปฏิบตั ทิ ไี่ ม่เป็นธรรมเพราะความแตกต่าง ทางถิน่ ก�ำเนิดและภาษา ขัดต่อหลักความเสมอภาค ไม่ได้แตกต่างไปจากการจะรับ หรือไม่รบั คนเข้าท�ำงานในหน่วยงานภาครัฐ เจ้าหน้าทีผ่ ดู้ �ำเนินการจะต้องเคารพต่อ หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญอย่างเคร่งครัด

91


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

92

หลักความเสมอภาค 20 : ผูกพันเอกชน หากมีกฎหมาย 1

โดยหลักการแล้ว บุคคลผู้เป็นประชาชนทั้งหลายย่อมไม่สามารถ ยกเอาหลักความเสมอภาคมากล่าวอ้าง มาใช้บังคับกับประชาชนด้วยกันเองได้ เป็นต้นว่า ร้านตัดผมบางร้านอาจเลือกตัดผมให้เฉพาะผู้ชาย ไม่ตัดให้ผู้หญิง ฝ่ายผู้หญิงจะมากล่าวอ้างว่า ร้านตัดผมร้านนี้ละเมิดหลักความเสมอภาคระหว่าง หญิ ง ชายที่ รั ฐ ธรรมนู ญ รั บ รองไว้ ไ ม่ ไ ด้ เพราะช่ า งตั ด ผมมี เ สรี ภ าพที่ จ ะเลื อ ก ตั ว ลู ก ค้ า ได้ เค้ า ไม่ อ ยากได้ เ งิ น จากผู ้ ห ญิ ง ก็ เ ป็ น สิ ท ธิ ข องเค้ า ไปบั ง คั บ หรื อ ห้ามเค้าก็ไม่ได้  เพราะเค้าเป็นเอกชน  เค้าไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องเคารพ ต่อหลักความเสมอภาคทุกครัง้ ทีใ่ ช้อ�ำนาจรัฐกับประชาชน  อย่างไรก็ด ี ในบางเรือ่ ง หากรัฐสภาเห็นว่า มีความส�ำคัญจึงออกกฎหมายที่เป็นพระราชบัญญัติต่างๆ มาบังคับให้เอกชนต้องเคารพต่อหลักความเสมอภาค  เช่นนี้ก็สามารถท�ำได้ 92


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

93

หลักความเสมอภาค 21 : ผูกพันเอกชน หากมีกฎหมาย 2

กระทรวงยุติธรรม

หลั ก ความเสมอภาคและการห้ า มเลื อ กปฏิ บั ติ โ ดยไม่ เ ป็ น ธรรม เพราะเหตุต่างๆ  ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญไทย  อาทิ  ห้ามเลือกปฏิบัติ เพราะความแตกต่างทางเพศ  เชื้อชาติ  ภาษา  ศาสนา  การศึกษาและอื่นๆ นั้น เป็นหลักการที่ผูกพันรัฐ หน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ไม่ใช้บังคับ ระหว่างประชาชนด้วยกันเอง อย่างไรก็ดี บางเรื่องบางอย่าง มีความส�ำคัญมาก เป็นปัญหาเรื้อรังในสังคมไทย เป็นต้นว่า ในการจ้างงานของภาคเอกชน ลูกจ้าง ผู้หญิงมักจะถูกเลือกปฏิบัติจากนายจ้าง โดยให้ได้รับเงื่อนไขการจ้าง เช่น ค่าแรง น้อยกว่าลูกจ้างผู้ชาย ด้วยเหตุนี้ ในปี 2541 รัฐสภาจึงตรากฎหมาย คุม้ ครองแรงงาน ก�ำหนดบทบังคับให้นายจ้าง ต้องปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและ หญิงอย่างเท่าเทียมกัน และ โดยผลแห่งพระราชบัญญัติ นี้เอง หลักความเสมอภาค จึ ง ผู ก พั น นายจ้ า งที่ เ ป็ น เอกชนด้วย

93


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

94

หลักความเสมอภาค 22 : ลูกจ้างชายหญิง 1

ในสมัยก่อนจะมีพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 นั้น บริษัทห้างร้านหลายๆ แห่งมักจะปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและลูกจ้างหญิงแตกต่างกัน เป็นต้นว่า ให้ลูกจ้างชายเกษียณได้ที่อายุ 60 ปี ในขณะที่ลูกจ้างหญิงให้เกษียณ ตั้งแต่อายุเพียง 55 ปีเท่านั้น สมัยก่อนอาจกระท�ำได้ เพราะแม้รัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่ ณ เวลานั้น จะมีบทบัญญัติรับรองความเสมอภาคระหว่างชายและหญิงไว้ก็ตาม แต่รัฐธรรมนูญก็ไม่ใช้บังคับกับนายจ้างที่เป็นเอกชน อย่างไรก็ดี นับแต่วันที่ 19 สิงหาคม 2541 วันที่พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มีผลใช้บังคับเรื่อยมา ข้อก�ำหนดการจ้าง ที่ให้ชายเกษียณที่ 60 ปีหญิงเกษียณที่ 55 ปี ดังที่ยกตัวอย่าง ข้างต้นนั้น ย่อมขัดต่อหลักความเสมอภาค ถือเป็นการปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและ หญิงอย่างไม่เท่าเทียมกัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรจึงตกเป็นโมฆะ เสียเปล่า ใช้บังคับไม่ได้ 94


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

95

หลักความเสมอภาค 23 : ลูกจ้างชายหญิง 2

กระทรวงยุติธรรม

พระราชบั ญ ญั ติ คุ ้ ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ได้ บั ญ ญั ติ รั บ รอง ความเสมอภาคของลูกจ้างชายและหญิงไว้ในมาตรา 15 ความว่า  “ให้นายจ้าง ปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน  เว้นแต่ลักษณะ หรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้”  ตัวอย่างเช่น  หากลักษณะงาน คุณภาพงาน  และปริมาณงานของลูกจ้างชายและหญิงมีเท่าๆ  กัน  นายจ้างจะต้อง ก�ำหนดอัตราค่าจ้าง  และค่าล่วงเวลาให้ลกู จ้างหญิงและชายเท่าเทียมกัน  อย่างไรก็ดี ลักษณะหรือสภาพของงานบางอย่างที่เสี่ยงภัย  เช่น  งานในเหมือง งานก่อสร้าง ทีท่ �ำใต้ดนิ   ใต้นำ  �้ ในอุโมงค์  หรืองานเช็ดกระจกตามตึกสูงทีต่ อ้ งขึน้ นัง่ ร้านสูงเกิน 10 เมตร  งานผลิตหรือขนส่งวัตถุระเบิด  วัตถุไวไฟ  งานเหล่านี้  กฎหมาย ห้ามนายจ้างไม่ให้บังคับลูกจ้างหญิงให้ท�ำงาน  เหตุที่กฎหมายก�ำหนดเช่นนี้ก็เพื่อ คุ้มครองลูกจ้างหญิง  และไม่ถือว่าขัดต่อหลักความเสมอภาคแต่อย่างใด

95


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

96

หลักความเสมอภาค 24 : ลูกจ้างชายหญิง 3

กฎหมายคุ้มครองแรงงานก�ำหนดให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและ หญิงอย่างเท่าเทียมกันในการจ้างงาน และศาลฎีกาเคยตัดสินว่า ข้อบังคับบริษัท แห่งหนึ่งที่ให้ลูกจ้างชายเกษียณที่อายุ 55 ปี ส่วนลูกจ้างหญิงเกษียณที่อายุ 50 ปีนั้น ขัดต่อบทกฎหมายดังกล่าว ตกเป็นโมฆะ แต่อย่างไรก็ดี ถ้าหลักเกณฑ์ การเกษียณอายุเป็นไปตามต�ำแหน่งงาน มิใช่ตามเพศ อาทิ ให้ลกู จ้างคนงานชายหญิง เกษียณอายุ 50 ปี โฟร์แมนชายหญิงเกษียณอายุ 55 ปี และหัวหน้าโฟร์แมนชาย หญิงเกษียณอายุ 57 ปี เช่นนี้ เป็นการก�ำหนดโดยอาศัยต�ำแหน่งงานของลูกจ้างว่า ลูกจ้างในต�ำแหน่งใดจะเกษียณอายุเมือ่ ใด มิใช่การเอาความแตกต่างทางเพศมาเป็น ข้อก�ำหนด ลูกจ้างในต�ำแหน่งเดียวกันไม่ว่าชายหรือหญิงก็ต้องเกษียณอายุตาม หลักเกณฑ์เดียวกันนี้ ดังนัน้ จึงไม่ขดั กับกฎหมายคุม้ ครองแรงงานและไม่ตกเป็นโมฆะ 96


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

97

หลักความเสมอภาค 25 : การเลือกปฏิบัติอย่างสมเหตุผล 1

กระทรวงยุติธรรม

นายสมปองจบปริญญาโท จากประเทศอินเดียมาสมัครเข้ารับ ราชการ ถูกบรรจุให้ได้รับอัตรา เงินเดือนต�ำ่ กว่าคนทีจ่ บปริญญาโท ในประเทศไทย 1 ขัน้   นายสมปอง เห็นว่า หลักเกณฑ์ข้อนี้เป็นการ เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม จึงได้ มาฟ้ อ งคดี ต ่ อ ศาล  อย่ า งไรก็ ดี ศาลท่ า นมิ ไ ด้ เ ห็ น ด้ ว ยเช่ น นั้ น เนื่ อ งจากระบบการศึ ก ษาของ อินเดียแตกต่างจากของไทย  คือ เรียนปริญญาตรีที่อินเดียใช้เวลา 3 ปี ปริญญาโท 2 ปี รวมเป็น 5 ปี ในขณะที่เรียนปริญญาตรีในไทยใช้เวลา 4 ปี ปริญญาโท 2 ปี รวม 6 ปี มีเหตุผลอันชอบธรรมที่อธิบายได้ว่าท�ำไมจึงปฏิบัติต่อ คนที่จบจากอินเดียไม่เท่าเทียมกับคนที่จบในไทย และหลักเกณฑ์ข้อนี้ก็ใช้กับ คนที่จบจากประเทศอื่นๆ ที่มีระยะเวลาเรียนน้อยกว่าของไทยด้วย ไม่ได้ใช้เฉพาะ แต่อินเดีย จึงไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมแต่อย่างใด

97


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

98

หลักความเสมอภาค 26 : การเลือกปฏิบัติอย่างสมเหตุผล 2 เป็ น ธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ ม าช้ า นาน ทุ ก วโรกาสส�ำคั ญ ของบ้ า นเมื อ ง รัฐบาลมักจะทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานอภัยโทษแก่ผตู้ อ้ งราชทัณฑ์ทงั้ หลายเพือ่ ให้ โอกาสแก่บคุ คลเหล่านัน้ กลับตนเป็นพลเมืองดี ในการนี้ จะตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ก�ำหนดหลั ก เกณฑ์ ก ารลดหย่ อ นผ่ อ นปรนโทษ หลั ก เกณฑ์ ข ้ อ หนึ่ ง ที่ มั ก มี มาเสมอๆ ก็คือ ไม่อภัยโทษแก่ผู้กระท�ำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ท�ำให้ผู้ต้องโทษ ในฐานความผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด กลุ ่ ม หนึ่ ง ฟ้ อ งคดี ต ่ อ ศาลปกครองสู ง สุ ด ว่ า การยกเว้นไม่อภัยโทษแก่ผู้กระท�ำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติ โดยไม่เป็นธรรมขัดต่อรัฐธรรมนูญ แต่อย่างไรก็ดี ศาลท่านกลับมิได้เห็นด้วย และตั ด สิ น ว่ า ยาเสพติ ด เป็ น ภั ย ร้ า ยแรงต่ อ สั ง คม รั ฐ จึ ง มี เ หตุ ผ ลและความ จ�ำเป็ น ที่ ต ้ อ งบั ง คั บ ใช้ กฎหมายอย่ า งเข้ ม งวด ไม่ควรผ่อนปรน มีเหตุผล อั น ควรแก่ ก ารรั บ ฟั ง ยิ่ ง ไม่ถอื เป็นการเลือกปฏิบตั ทิ ี่ ไม่เป็นธรรมแต่อย่างใด

98


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

99

อาหารการกิน 1 : กฎหมายอาหาร

กระทรวงยุติธรรม

กฎหมายเป็นหลักเกณฑ์ข้อก�ำหนดให้เราปฏิบัติตามหรือเป็นข้อห้าม ห้ า มไม่ ใ ห้ ก ระท�ำ และประเทศไทยของเรานั้ น ก็ มี ก ฎหมายครอบคลุ ม ทุ ก มิ ติ การใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวั น อย่ า งเรื่ อ งอาหารการกิ น นี้ ก็ ใ ช่ มี ก ฎหมายหลายฉบั บ ก�ำกับอยู่ นับตั้งแต่ประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายการสาธารณสุข และที่ส�ำคัญ กฎหมายอาหาร กฎหมายฉบับนี้ครอบคลุมทุกมิติที่เกี่ยวกับอาหาร ว่ากันมาตั้งแต่ วัตถุดิบที่ใช้ผลิตอาหารกันเลย ทั้งส่วนผสม วัตถุเจือปน วัตถุกันเสีย ภาชนะบรรจุ เครื่องมือการเก็บรักษาและถนอมอาหาร โรงงานสถานที่ผลิตอาหาร ฉลากอาหาร อาหารไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ อาหารปลอม อาหารผิดมาตรฐาน ซึ่งห้ามน�ำเข้า ห้ า มส่ ง ออก และห้ า มจ�ำหน่ า ย การขึ้นทะเบียนอาหาร การโฆษณา อาหาร ที่ส�ำคัญ ผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย ฉบับนี้มีความผิดอาจต้องโทษถึงขั้น จ�ำคุกทีเดียว

99


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

100

อาหารการกิน 2 : อาหารปลอม 1

ความผิดฐานหนึ่งในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ที่มักจะมา พร้อมๆ กับการกระท�ำผิด ละเมิดเครื่องหมายการค้าของคนอื่นก็คือ ความผิด ฐานขายอาหารปลอม ที่มักจะเห็นเป็นคดีบ่อยๆ ก็พวก น�้ำปลา ซีอิ๊วขาว เต้าเจี้ยว ซอสหอยนางรม โดยจะปลอมฉลาก และเครื่องหมายการค้ายี่ห้อดัง ที่ชาวบ้าน นิยมหามาไว้ติดครัวใช้ประกอบอาหาร ตัวน�้ำปลา ซีอิ๊ว และซอสข้างในขวด มักจะใช้ของด้อยคุณภาพบรรจุใส่แทน เจ้าของผลิตภัณฑ์ตัวจริงไม่แค่กระทบ ยอดขายเท่านั้นแต่กระเทือนไปถึงความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ดีไม่ดีผู้ซื้อเข้าใจว่า ของปลอมเป็นของจริง เห็นว่าด้อยคุณภาพ พาลจะเลิกซือ้ ยีห่ อ้ นัน้ ตลอดไปเลยก็ได้ ดังนั้น กฎหมายจึงเอาผิดทั้งการผลิตและการจ�ำหน่ายอาหารปลอม มีโทษจ�ำคุก ตั้งแต่ 6 เดือนถึง 10 ปี และปรับสูงสุด 100,000 บาท

100


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

101

อาหารการกิน 3 : อาหารปลอม 2

กระทรวงยุติธรรม

ทั้ ง การผลิ ต และการจ�ำหน่ า ยอาหารปลอมนั้ น ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ความผิดตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ผู้กระท�ำความผิดต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี ปรับตั้งแต่ 5,000 ถึง 100,000 บาท อาหารปลอม นั้นก็ได้แก่ อาหารที่ถูกสับเปลี่ยนเนื้อในของอาหาร เช่น ซอสหอยนางรมติดฉลาก ยี่ห้อนึง แต่จริงๆ เนื้อในเป็นซอสหอยนางรมที่เจ้าของร้านผลิตเองกรอกใส่ขวดเอง ไม่ใช่ของแท้จากโรงงาน อาหารเทียมแต่มาปิดฉลากขายเป็นอาหารแท้ เช่น สารสั ง เคราะห์ เ ลี ย นแบบ เนื้ อ หมู จะมาติ ด ฉลากเป็ น เนือ้ หมูไม่ได้ อาหารทีป่ รุงแต่ง ปกปิ ด ความด้ อ ยคุ ณ ภาพ ก็พวกไก่หยองหมูหยองที่ท�ำ จากเนื้ อ ไก่ เ น่ า เนื้ อ หมู เ น่ า ต่อมาก็คือ อาหารที่มีฉลาก ลวงให้ ผู ้ ซื้ อ เข้ า ใจผิ ด และ ประเภทสุดท้ายก็คือ อาหาร ที่ ผ ลิ ต มี คุ ณ ภ า พ ต�่ ำ ก ว ่ า มาตรฐานกลางที่ ภ าครั ฐ ก�ำหนดไว้

101


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 102

กระทรวงยุติธรรม

102

อาหารการกิน 4 : อาหารปลอม 3 ความผิดฐานผลิตและจ�ำหน่ายอาหารปลอมตามพระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522 นัน้   ไม่ได้มเี พียงแต่เฉพาะการสอดไส้ใส่อาหารปลอมลงในภาชนะบรรจุ อาหารจริง เอาสิ่งเทียมเลียนแบบมาหลอกขายเป็นอาหาร หรือเอาไก่เน่าหมูเน่า มาปรุงเป็นไก่ยอ หมูยอ หลอกขายประชาชนเท่านั้น แต่อาหารปลอมยังรวมถึง อาหารที่ผลิตขึ้นโดยมีคุณภาพต�่ำกว่ามาตรฐานที่ภาครัฐก�ำหนดเพื่อเอามาขาย แก่ประชาชนอีกด้วย เป็นต้นว่า น�้ำปลานั้นจะต้องมีปริมาณไนโตรเจนซึ่งช่วย เสริมสร้างโปรตีนให้ร่างกายตั้งแต่ร้อยละ 30 ถึงร้อยละ 70 แต่โรงงานน�้ำปลา ยีห่ อ้ หนึง่ ผลิตน�ำ้ ปลาทีม่ คี า่ ไนโตรเจนตำ�่ กว่ามาตรฐานกลางมาก แม้นำ�้ ปลาดังกล่าว จะไม่ได้ก่อให้เกิดโทษหรือเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคก็ตาม แต่การผลิตและมีไว้เพื่อ จ�ำหน่ายอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานมากเกินร้อยละ 30 ของค่ามาตรฐานเพียงเท่านี้ ก็ถือว่ามีความผิดในฐานที่เกี่ยวกับอาหารปลอมแล้ว


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

103

อาหารการกิน 5 : อาหารปลอม 4

กระทรวงยุติธรรม

อาหารที่ติดฉลากลวง ท�ำให้ผู้ซื้อเข้าใจผิดนั้น ถือว่าเป็นความผิดฐาน ผลิตและจ�ำหน่ายอาหารปลอมในรูปแบบหนึ่งตามที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522 เนือ้ หาในฉลากลวงทีพ่ ยายามให้ผซู้ อื้ เข้าใจผิดนีจ้ ะต้องเป็นเรือ่ ง คุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานที่และประเทศที่ผลิต หรือลักษณะพิเศษ เฉพาะอื่นๆ ของอาหารแต่ละประเภท ฉลากที่ลวงคุณภาพก็เช่นบอกว่าผลิตจาก เนื้อเกรดเอ แต่จริงๆ ไม่ใช่ ฉลากลวงปริมาณก็เช่น ติดฉลากไว้ 100 กรัม แต่จริงๆ มีเพียง 80 กรัม ฉลากลวงประโยชน์เป็นต้นว่า อวดอ้างสรรพคุณ อาหารนี้ช่วยลด ความอ้วนได้ แต่จริงๆ ไม่เกี่ยวกันเลย หรือปิดฉลากว่าเป็นไวน์น�ำเข้าจากฝรั่งเศส แต่ที่ไหนได้ หมักบ่มในบ้านเรานี่แหละ และนี่คือฉลากลวงเกี่ยวกับประเทศที่ผลิต อาหารที่มีฉลากลวงในเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ล้วนแต่ถือว่าเป็นอาหารปลอมมีความผิด ตามกฎหมายทั้งสิ้น

103


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 104

กระทรวงยุติธรรม

104

อาหารการกิน 6 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 1 ท่านผู้อ่านได้ท�ำความรู้จักกับความผิดฐานอาหารปลอมซึ่งทั้งผู้ผลิต และผูจ้ �ำหน่ายอาหารปลอมย่อมต้องรับโทษตามพระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522 กันไปแล้ว  จึงว่ากันต่อด้วยเรื่องอาหารไม่บริสุทธิ์  อาหารไม่บริสุทธิ์นั้นมีอยู่ มากมายหลายลักษณะ  ไล่เรียงไปตัง้ แต่อาหารทีเ่ จือปนไปด้วยสิง่ ทีอ่ าจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพของผู้บริโภค  หรือมีสารเคมีที่แม้ไม่ถึงขนาดเป็นอันตรายแต่ก็เจือปน ในอาหารมากจนกระทั่งท�ำลายคุณภาพของอาหารไป  อาหารที่ผลิต/บรรจุหรือ เก็บรักษาโดยไม่ถกู สุขลักษณะ  อาหารทีผ่ ลิตจากสัตว์เป็นโรคและอาจลุกลามติดต่อ ไปยังผู้คนได้ และประการสุดท้ายอาหารที่บรรจุในภาชนะที่มีส่วนประกอบอาจเป็น อันตรายต่อผู้บริโภค เหล่านี้คืออาหารไม่บริสุทธิ์ ซึ่งมีความผิดตามกฎหมาย ทั้งผู้ผลิตและผู้ขายอาจต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี  ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

105

อาหารการกิน 7 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 2

กระทรวงยุติธรรม

ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ จ�ำหน่ า ยอาหารไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ นั้ น ย่ อ มมี ค วามผิ ด ตาม พระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522 อาจต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เ กิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์อาหารปลาเกล็ดขาว ทอดกรอบบรรจุกระป๋องยี่ห้อหนึ่ง สภาพภายในโรงงานที่ผลิตไม่สะอาด กรรมวิธี การผลิตไม่ดพี อ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขตรวจสอบพบว่า ในอาหารมีคา่ ปริมาณตะกัว่ และเชือ้ ราปนเปือ้ นมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ประกาศก�ำหนดไว้ เช่นนี้ เจ้าของผลิตภัณฑ์ย่อมมีความผิดฐานอาหารไม่บริสุทธิ์ อย่างไรก็ดีถ้าปริมาณสารปนเปื้อนสูงเกินกว่าร้อยละ 30 ของค่ามาตรฐาน หรือมี ผูบ้ ริโภครับประทานเข้าไปแล้วเกิดอาการท้องร่วง อาหารเป็นพิษ เช่นนี้ อาจเข้าข่าย ความผิดฐานอาหารปลอม ซึ่งจะมีอัตราโทษสูงกว่าความผิดฐานอาหารไม่บริสุทธิ์

105


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

106

อาหารการกิน 8 : อาหารไม่บริสุทธิ์ 3 อาหารไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ซึ่ ง เป็ น ความผิ ด ตามกฎหมายนั้ น มี หลากหลายลักษณะ หนึ่งในนั้น ก็ คื อ อาหารปนเปื ้ อ นสิ่ ง ที่ อ าจ เป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพของ ผู้บริโภค เป็นต้นว่า ปลากระป๋อง ยี่ ห ้ อ ห นึ่ ง มี พ ย า ธิ ช นิ ด ห นึ่ ง เจื อ ปนอยู ่ ใ นเนื้ อ ปลากระป๋ อ ง เพราะบรรดาปลาที่เป็นวัตถุดิบ น�ำมาใช้ ผ ลิ ต นั้ น เป็ น โรคพยาธิ อาจเป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพ และติด ต่ อ ลุก ลามมายัง ผู้ ค นได้ แม้ตัวพยาธิในเนื้อปลากระป๋อง อาจตายไปแล้ว และไม่ได้ก่ออันตรายใดๆ จริง แต่ล�ำพังเพียงแค่ผลิตอาหาร จากสัตว์ทเี่ ป็นโรคและอาจติดต่อได้ถงึ คน ก็หนักหนาเพียงพอทีจ่ ะเอาผิดในฐานผลิต หรือจ�ำหน่ายอาหารไม่บริสุทธิ์ได้แล้ว และโทษทัณฑ์ส�ำหรับความผิดนี้ก็คือ จ�ำคุก ไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

106


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

107

อาหารการกิน 9 : อาหารผิดมาตรฐาน

กระทรวงยุติธรรม

อาหารผิ ด มาตรฐานนั้ น คื อ อาหารที่ มี คุ ณ ภาพไม่ ถู ก ต้ อ งตรงตาม มาตรฐานที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดขึ้นตามพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522 ซึ่งบางครั้งก็ใกล้เคียงกับความผิดฐานอาหารปลอมมากทีเดียว ตัวอย่างเช่น นมข้นหวานยี่ห้อหนึ่งมีปริมาณแบคทีเรียสะสมอยู่เกินกว่าเกณฑ์ มาตรฐานที่ภาครัฐก�ำหนดไว้คือ ต้องไม่เกินจ�ำนวน 10,000 ต่อนม 1 กรัม ดังนั้น ผู้ผลิตนมข้นหวานยี่ห้อนี้อาจมีความผิดในฐานอาหารผิดมาตรฐานหรือมีความผิด ฐานอาหารปลอมก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่า การผิดแปลกแตกต่างจากค่ามาตรฐานนั้น สูงเกินกว่าร้อยละ 30 หรือไม่ หรือท�ำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคหรือไม่ ถ้าไม่ถึง ร้อยละ  30  และไม่มี อั น ตรายต่ อ ผู ้ บ ริ โ ภค ก็ จ ะเป็ น ความผิ ด ฐาน อาหารผิ ด มาตรฐาน ซึ่ ง โทษทั ณ ฑ์ ไ ม่ ถึ ง ขั้ น จ�ำคุก มีแต่เพียงโทษปรับ ไม่ เ กิ น 50,000 บาท

107


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

108

อาหารการกิน 10 : โฆษณาเกินจริง การโฆษณาตามสื่อต่างๆ นั้น วัตถุประสงค์ก็เพื่อให้ผู้ชม ผู้ฟัง ผู้อ่าน ผูร้ บั สารสนใจซือ้ หาสินค้าและบริการนัน้ ๆ มาใช้  บางครัง้ เจ้าของผลิตภัณฑ์กต็ งั้ ใจ จะชักจูงใจ จะล่อใจบรรดาผู้ซื้อมากเกินไป สรรหาถ้อยค�ำมาพรรณนาสรรพคุณ แบบเกินจริง อย่างเช่น เคยได้ฟังโฆษณาน�้ำมันร�ำข้าวและจมูกข้าวยี่ห้อหนึ่ง ซึ่งโฆษณาซะโอเว่อร์ ช่วยบรรเทารักษาได้สารพัดโรค ตั้งแต่โรคมะเร็ง หัวใจ รูมาตอยด์ ภูมิแพ้ อัมพฤกษ์ เบาหวาน ความดัน เช่นนี้ เป็นไปไม่ได้ จริงอยู่ น�้ำมันร�ำข้าวและจมูกข้าวมีสารอาหารที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้ร่างกายได้ แต่การอ้างว่ารักษาได้สารพัดโรคนั้นย่อมเป็นการโฆษณาคุณประโยชน์  คุณภาพ ห รื อ ส ร ร พ คุ ณ อ า ห า ร เกินความจริง  เข้าข่าย เป็นการหลอกลวงผูบ้ ริโภค อ า จ มี ค ว า ม ผิ ด ต า ม พระราชบั ญ ญั ติ อ าหาร พ.ศ. 2522 อาจต้องระวาง โทษจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น 3 ปี ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

108


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

109

อาหารการกิน 11 : มาตรา 237

กระทรวงยุติธรรม

ความผิ ด ในประมวลกฎหมายอาญาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อาหารการกิ น ฐานความผิดแรกเป็นเรื่องการน�ำสิ่งเป็นพิษเจือปนในอาหาร  ตามมาตรา 237 มาตรานี้บัญญัติไว้ว่า ผู้ใดเอาของที่มีพิษหรือสิ่งอื่นที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพ เจือลงในอาหาร  หรือในน�ำ้ ซึง่ อยูใ่ นบ่อ สระหรือทีข่ งั นำ�้ ใดๆ  และอาหารหรือนำ�้ นัน้ ได้มีอยู่หรือจัดไว้เพื่อประชาชนบริโภค  ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 10 ปี  และปรับตั้งแต่ 1,000 บาท  ถึง 20,000 บาท  กับอีกฐานความผิดหนึ่ง ตามมาตรา 345  เรียกกันเล่นๆ ว่า  ความผิดฐานกินแล้วเบี้ยว  กินแล้วชิ่ง กินแล้วไม่จา่ ย  ก็บรรดาพวกคนทีส่ งั่ อาหารและกินอาหาร  โดยทีร่ ทู้ งั้ รูม้ าแต่แรกว่า ตนไม่มีสตางค์จ่ายค่าอาหารแน่ๆ  แต่ก็ยังสั่งอาหารมารับประทานอีก  เช่นนี้ มีความผิด  อาจต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 500 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ

109


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 110

กระทรวงยุติธรรม

110

ความผิดเกี่ยวกับการค้าประเวณี เรื่ อ งของโสเภณี ห รื อ หญิ ง ที่ ข ายบริ ก ารทางเพศนี่ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ แต่เป็นปัญหาที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านานแล้ว ยิ่งทุกวันนี้สภาพการณ์มันน่ากลัว กว่าแต่ก่อน มีโรคภัยไข้เจ็บ มีการบังคับข่มขืนใจทั้งเด็กทั้งผู้หญิง หรือแม้แต่ ทั้งผู้ชายให้ค้าประเวณี และที่ส�ำคัญอาชีพนี้ก็ยังได้ระบาดเข้าไปในบรรดานักเรียน นิสิต นักศึกษาด้วย แม้จะมีกฎหมายก�ำหนดว่า การเตร็ดเตร่ ชักชวน รบเร้าบุคคล ตามถนนหนทางสาธารณะ  เพื่อค้าประเวณีอย่างเปิดเผยนั้น  เป็นสิ่งที่น่าอับอาย และก็เป็นความผิด  แต่ถ้าท่านผู้อ่านได้ลองขับรถวนรอบสวนสาธารณะชื่อดัง กลางกรุงเวลาตั้งแต่สามสี่ทุ่มเป็นต้นไป ภาพอะไรหลายๆ อย่างก็จะชัดเจนขึ้น


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

111

บังคับให้ค้าประเวณี 1

กระทรวงยุติธรรม

ถึงแม้ว่าในระยะนี้จะไม่มีข่าวเจ้าหน้าที่บุกทลายซ่องนรก  บังคับหญิง ค้าประเวณีให้ได้ยินได้ฟังกันบ่อยครั้งดังเช่นเมื่อก่อน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ขบวนการเหล่านี้จะหมดไป  ยิ่งในปัจจุบันภยันตรายเช่นนี้ได้คืบคลานเข้าหาเด็ก ทั้ ง ชายและหญิ ง ด้ ว ยแล้ ว   ก็ ยิ่ ง ต้ อ งขอให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ทุ ก ฝ่ า ยเข้ ม งวดกวดขั น ปราบปรามเอาตัวผู้กระท�ำผิดมาลงโทษให้ได้  โดยกฎหมายปรามการค้าประเวณี ก�ำหนดว่าผูท้ หี่ น่วงเหนีย่ ว  กักขัง  ท�ำให้เสียเสรีภาพ  ท�ำร้ายร่างกาย  หรือขูเ่ ข็ญ ว่าจะท�ำร้าย  เพือ่ ข่มขืนใจให้ผอู้ นื่ นัน้ ท�ำการค้าประเวณี  ต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 10 ปี  ถึง  20 ปี  และปรับตั้งแต่สองแสนถึงสี่แสนบาท และนี่ก็เป็นโทษทัณฑ์ ส�ำหรับพ่อเล้าแมงดาที่บังคับให้มีการค้าประเวณี

111


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 112

กระทรวงยุติธรรม

112

บังคับให้ค้าประเวณี 2 หลายปี ที่ ผ ่านมา  มีข่าวการบุก ทลายซ่องนรกในจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ซึ่งมักจะมีนักท่องเที่ยวประเทศเพื่อนบ้านแวะเวียนมาใช้บริการ ว่ากันว่า ซ่องนี้หลอกเด็กสาวมาจากเหนือและอีสานบังคับให้ค้ากาม  ถ้าไม่ยอมก็จะใช้ ก�ำลังทุบตี  ขังไว้ในห้อง  ไม่ยอมให้เห็นเดือนเห็นตะวัน  ที่แย่กว่านั้นบางคน แม้ขณะตั้งครรภ์  ยังบังคับให้ขายบริการจนกระทั่งแท้งลูก  บางคนพยายาม หลบหนีจึงถูกทุบตีเจียนตาย  และที่ตายไปแล้วก็คงมีพฤติกรรมของบรรดาพ่อเล้า แม่เล้า  แมงดา  หากินกับหยาดนำ�้ ตาของผูห้ ญิง  เช่นนี ้ โทษขัน้ ต�ำ่ สุดก็คอื   จ�ำคุก ตลอดชีวิต  เพราะถือว่าท�ำให้ได้รับอันตรายสาหัสและถึงขั้นมีคนตายด้วยละก็ ผู้กระท�ำความผิดก็มีโทษถึงขั้นประหารชีวิต


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

113

ค้าประเวณี 1

กระทรวงยุติธรรม

ท่ า นผู ้ อ ่ า นหลายๆ  ท่ า นอาจจะเคยสงสั ย และตั้ ง ค�ำถามว่ า การค้าประเวณีนั้นเป็นความผิดตามกฎหมายไทยหรือไม่  นักกฎหมายบางคน ก็บอกว่าเป็น  แต่บางคนกลับบอกว่าไม่  นั่นก็แล้วแต่มุมมองและการตีความ กฎหมายของแต่ละคน  แต่อย่างน้อยระบบกฎหมายแพ่งของไทยไม่ยอมรับการค้า ประเวณีแน่ๆ เช่น ถ้ามีการตกลงซือ้ ขายบริการทางเพศ ตกลงราคากันเรียบร้อยแล้ว ต่อมามีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดสัญญาไม่ว่าจะเป็นฝ่ายผู้ซื้อหรือผู้ขาย  ก็ไม่สามารถน�ำ ข้อตกลงหรือสัญญาซื้อขายบริการทางเพศนั้นไปฟ้องคดีในศาลได้  เพราะถือว่า ข้ อ ตกลงดั ง กล่ า วขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ยและศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน ตกเป็นโมฆะเสียเปล่าใช้การไม่ได้ตั้งแต่แรกทีเดียว

113


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 114

กระทรวงยุติธรรม

114

ค้าประเวณี 2 ดังที่เคยเรียนให้ทราบไปในตอนที่แล้วว่า การตกลงซื้อขายบริการ ทางเพศหรือการค้าประเวณีนั้น ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดข้อตกลง เช่น ไม่ยินยอม มีอะไรด้วย หรือไม่ยอมจ่ายสตางค์ก็ไม่สามารถไปฟ้องร้องบังคับกันได้ นั่นก็เป็น มาตรการทางแพ่งที่ไม่ยอมรับการค้าประเวณี และก็แน่นอนคงไม่มีใครบ้าจี้ น�ำเรื่ อ งนี้ ไ ปฟ้ อ งร้ อ งให้ เ สี ย ชื่ อ ตั ว เองหรอก แต่ พ อมาถึ ง กฎหมายอาญา หากจะถามว่า คนที่ขายบริการทางเพศไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง หรือผู้ซื้อบริการ ทางเพศนั้นมีความผิดอาญาหรือไม่ ในเบื้องต้นคงตอบว่า กฎหมายได้ก�ำหนดว่า การกระท�ำดังกล่าวเป็นความผิด ดังนั้น จึงไม่สามารถเอาโทษได้


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

115

เร่ค้าประเวณี

กระทรวงยุติธรรม

โดยปกติ แม้วา่ ในสายตาของกฎหมายจะไม่คอ่ ยยอมรับการค้าประเวณี สักเท่าไหร่  ดังเช่นที่ก�ำหนดให้การตกลงซื้อขายเป็นโมฆะ  ไม่สามารถฟ้องร้อง บังคับกันได้  แต่ก็ไม่ถึงขนาดก�ำหนดว่า  การซื้อขายบริการทางเพศ  ทั้งผู้ซื้อและ ผู้ขายมีความผิดอาญาต้องรับโทษไปเสียทุกกรณี  เพราะผู้ขายบริการทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิงที่มีพฤติกรรมเข้าไปติดต่อชักชวน  แนะน�ำตัว  ติดตาม รบเร้ า ให้ ค นอื่ น ซื้ อ บริ ก ารทางเพศตามถนนหนทางที่ ส าธารณะ หรื อ ที่ อื่ น ๆ โดยมีลักษณะเปิดเผยโจ่งแจ้งเป็นการน่าอับอาย  หรือเป็นที่เดือดร้อนร�ำคาญ แก่ประชาชนทัว่ ไป ผูค้ า้ ประเวณีทมี่ พี ฤติกรรมเช่นนี้ จึงจะมีความผิดต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท

115


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 116

กระทรวงยุติธรรม

116

มั่วสุมค้าประเวณี การซื้อขายบริการทางเพศนั้น มิใช่ว่าผู้ซื้อและผู้ขายจะมีความผิด ทางอาญาต้องรับโทษไปเสียทุกกรณี เฉพาะแต่ผู้ขายบริการทางเพศที่มีพฤติกรรม บางอย่างเท่านั้นจึงจะมีความผิด เช่น คนที่เข้าไปชักชวนรบเร้าค้าประเวณีในที่ทาง สาธารณะอย่างเปิดเผยน่าอับอาย ก่อความเดือดร้อนร�ำคาญอย่างนี้ก็มีความผิด ต้องโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท แต่ถ้ามีพฤติกรรมมั่วสุมในสถานการค้าประเวณี เพื่ อ ให้ ต นหรื อ คนอื่ น ได้ ค ้ า ประเวณี เช่ น เข้ า ไปมั่ ว สุ ม กั น ในซ่ อ ง โรงน�้ ำ ชา คลั บ บาร์ ต ่ า งๆ เพื่ อ ค้ า ประเวณี ผู ้ ข ายบริ ก ารทางเพศที่ มี พ ฤติ ก รรมเช่ น นี้ ก็มีความผิดอาจจะต้องโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

117

โฆษณาการค้าประเวณี

กระทรวงยุติธรรม

การที่ผู้ขายบริการทางเพศที่มีพฤติกรรมออกเร่ชักชวน รบเร้าให้ บุคคลต่างๆ ซื้อบริการทางเพศในที่ทางสาธารณะ ก่อความเดือดร้อนร�ำคาญ แก่ประชาชนทัว่ ไป หรือทีม่ วั่ สุมกันในสถานการค้าประเวณีเพือ่ ขายบริการทางเพศ นั้นถือว่ามีความผิดทางกฎหมาย และยิ่งไปเผยแพร่โฆษณา ชักชวน แนะน�ำ เรียกร้อง ติดต่อขายบริการทางเพศทั้งตนเองและผู้อื่น โดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์ หรือ สื่ อ อื่ น ๆ ที่ ส ามารถท�ำให้ แ พร่ ห ลายกระจายสู ่ ส าธารณชนได้ เช่ น เว็ บ ไซต์ ในอินเทอร์เน็ต การติดประกาศโฆษณาตามตู้โทรศัพท์หรือตามหนังสือนิตยสาร บางฉบับ อย่างนี้มีโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 10,000 บาท ถึง 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

117


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 118

กระทรวงยุติธรรม

118

ผู้ซื้อมีความผิด ตามกฎหมายไทยนั้ น ผู ้ ซื้ อ บริการทางเพศไม่มีความผิดอาญา แต่อย่างไรก็ตาม ขอเตือนบรรดา คนรักสนุกทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็น หญิงหรือชายไว้ตรงนี้ว่า  การมี เพศสัมพันธ์ หรือการกระท�ำใดๆ เพือ่ ส�ำเร็จความใคร่ของตนเองหรือ ผู ้ อื่ น ที่ ก ระท�ำต่ อ บุ ค คลซึ่ ง มี อ ายุ ไม่เกิน  18  ปี  ในสถานการค้า ประเวณี นั้ น มี ค วามผิ ด กฎหมาย ทั้ ง สิ้ น   โดยไม่ ต ้ อ งค�ำนึ ง ว่ า บุ ค คลนั้ น จะยิ น ยอมด้ ว ยหรื อ ไม่ และยิ่ ง ถ้ า เป็ น เด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น 15  ปี   แล้ ว ละก็   โทษยิ่ ง หนั ก ขึ้นไปอีกเท่าคือมีโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี  ถึง  6 ปี  และปรับตั้งแต่  40,000  บาท  ถึง  120,000  บาท  และ ก็ขอเตือนต่ออีกว่าโรคภัยไข้เจ็บที่มาทางเพศสัมพันธ์อย่างเอดส์นั้น  ยังไม่มียา รักษาให้หายขาดได้


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

119

ถูกบังคับไม่ผิด

กระทรวงยุติธรรม

คนที่เข้าไปมั่วสุมในสถานการค้าประเวณี เช่น ในซ่อง ในโรงน�้ำชา ในคลับบาร์ต่างๆ เพื่อให้ตนหรือคนอื่นๆ ได้ค้าประเวณีย่อมมีความผิด อาจจะ ต้องโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ อย่างไรก็ตาม ถ้าคนคนนั้นไม่ได้เต็มใจเข้าไปมั่วสุมเพื่อค้าประเวณี เช่น ถูกหลอก มาขายซ่อง ถูกบังคับให้ค้าประเวณีหรือแม้แต่ถูกบังคับให้เสพยาเสพติด แล้วใช้ ยาเสพติดล่อจนต้องยอมค้าประเวณี กรณีเหล่านี้ย่อมถือว่าผู้ที่มั่วสุมค้าประเวณี ที่ไม่ได้เต็มใจนั้นไม่มีความผิด เพราะเขาเหล่านั้นเป็นผู้เสียหาย และที่ส�ำคัญคนที่ บังคับให้ผู้อื่นค้าประเวณีนั้นมีโทษถึงขั้นจ�ำคุกแน่นอน

119


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 120

กระทรวงยุติธรรม

120

นายหน้าหาเด็ก 1 ในวงจรธุรกิจค้าน�้ำกามนั้น มีบุคคลจ�ำนวนหนึ่งที่จะไม่กล่าวถึงเลย คงไม่ได้ เพราะถ้าไม่มีคนกลุ่มนี้แล้ว ธุรกิจค้าน�้ำกามก็คงไม่เติบใหญ่แพร่กระจาย ขยายตัวทุกทั่วสารทิศเช่นนี้ คนกลุ่มนี้ คือ นายหน้า พ่อค้าคนกลาง หรือเอเย่นต์ ที่ ท�ำหน้ า ที่ จั ด ส่ ง เด็ ก ไปตามตู ้   ไปตามซ่ อ ง ไปตามผั บ ตามบาร์ ร้ า นน�้ ำ ชา คาราโอเกะ บ้างก็จัดส่งไปให้แล้วขายขาด บ้างก็ส่งไปประจ�ำที่นั่นแล้วก็คอยเรียก เก็บหัวคิว ชักเปอร์เซ็นต์จากค่าเหนื่อยที่เด็กเหล่านั้นได้ ผู้ที่มีพฤติกรรมเป็นธุระ จัดหา ล่อไป หรือชักพาให้คนอื่นๆ ไปค้าประเวณีแม้ว่าคนคนนั้นจะเต็มใจยินยอม ด้ ว ยก็ ต าม ก็ ย ่ อ มมี ค วามผิ ด ตามกฎหมาย มี โ ทษจ�ำคุ ก ตั้ ง แต่ ห นึ่ ง ปี ถึ ง สิ บ ปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

121

นายหน้าหาเด็ก 2

กระทรวงยุติธรรม

จากการพู ด คุ ย ของหญิ ง สาวรายหนึ่ ง ที่ เ ล่ า เรื่ อ งของเธอให้ เ ราฟั ง เมื่อไม่นานมานี้ต้องทนทุกข์ทรมานในการขายบริการในต่างประเทศ มีอยู่ว่า ในตอนแรกเธอเป็น หมอนวดในกรุงเทพฯ ต่อมามี ค นมาชวนให้ ไ ปท�ำที่ ญี่ปุ่ น บอกว่ารายได้ดีกว่าที่นี่เสียอีก ค่าใช้จ่ายต่างๆ ยังไม่ต้องออก เดี๋ยวค่อยหักจาก ค่าจ้าง เดี๋ยวเดียวก็หมด แต่พอไปถึงที่นั่น กลับต้องค้าประเวณีถึง 7 ปี กว่าจะได้ เป็นไทยแก่ตวั เงินทีถ่ กู เจียดมาให้บา้ งก็แทบจะไม่เหลือหลออะไร นีก่ เ็ ป็นอุทาหรณ์ ส�ำหรั บ หลายๆ คนที่คิด ว่าจะไปหากิน ในต่างประเทศ และส�ำหรั บบุ ค คลที่ มี พฤติกรรมเป็นธุระจัดหา ล่อไปชักพาคนไปค้าประเวณียงั ต่างประเทศนัน้ แม้วา่ การ กระท�ำบางอย่างจะเกิดขึน้ นอกเขตแดนไทยแต่กส็ ามารถเอาผิดตามกฎหมายไทยได้

121


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

122

นายหน้าหาเด็ก 3

ใครก็ตามที่คิดว่าจะไปท�ำงานต่างประเทศหวังไว้ว่าอดทนล�ำบากไม่กี่ปี จะมีบ้านมีรถให้ครอบครัวได้อยู่กันอย่างสบายไม่ต้องยากล�ำบาก  ก็ขอให้ทบทวน และตรวจสอบข้อมูลต่างๆ  กับทางราชการให้ดีเสียก่อนโดยเฉพาะบรรดาผู้หญิง ทัง้ หลาย  ได้ยนิ ได้ฟงั มาหลายครัง้ แล้ว  บ้างก็วา่ ให้ไปท�ำงานในโรงเย็บเสือ้   บ้างก็ ให้ไปเป็นแม่บ้านไปเลี้ยงเด็ก  ไปดูแลคนแก่คนป่วย  แต่เอาเข้าจริงๆ  กลับถูกจับ ไปขายซ่อง  ถูกบังคับให้ค้าประเวณี  ต้องทนทุกข์ทรมานนานหลายปี  ดีไม่ดี อาจจะกลายเป็นศพไม่ได้กลับมาเหยียบบ้านเกิดอีก  และส�ำหรับผู้ที่ใช้อุบาย ล่อลวงเป็นธุระจัดหา  ชักพาให้คนอื่นไปค้าประเวณีนั้นต้องรับโทษหนักกว่าปกติ เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งในสาม 122


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

123

พ่อเล้า แมงดา 1

กระทรวงยุติธรรม

ในขบวนการค้าประเวณีที่มีเงินสะพัดปีๆ  หนึ่งหลายพันหลายหมื่น ล้านบาทนั้น  ผลประโยชน์ส่วนใหญ่ตกอยู่กับบรรดาเจ้าของสถานบริการ  พ่อเล้า แม่เล้า แมงดา ผู้หากินกับน�้ำกามบนคราบน�้ำตาของหลายๆ คน แม้ว่ากฎหมาย ปัจจุบันก�ำหนดโทษส�ำหรับบุคคลผู้เป็นเจ้าของกิจการค้าประเวณี ผู้ดูแล หรือ ผูจ้ ดั การสถานการค้าประเวณี  และผูท้ คี่ วบคุมคนทีค่ า้ ประเวณีให้มโี ทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 3 ปี ถึง 5 ปี และปรับตั้งแต่ 60,000 บาท ถึง 300,000 บาท ซึ่งนับว่าเป็นโทษ ที่ค่อนข้างหนัก แต่อย่างไรก็ตาม กลับดูประหนึ่งว่าโทษดังกล่าวเล็กน้อยมาก เมื่อเทียบกับผลประโยชน์ที่ได้รับ ท�ำให้ในความเป็นจริงมีสถานการค้าประเวณี กลาดเกลื่อนเมืองดังเช่นทุกวันนี้

123


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน 124

กระทรวงยุติธรรม

124

พ่อเล้า แมงดา 2 แม้วา่ กฎหมายปรามการค้าประเวณีจะก�ำหนดโทษส�ำหรับผูฝ้ า่ ฝืนทีเ่ ป็น เจ้าของซ่องเป็นพ่อเล้าแม่เล้า หรือแมงดาดูแลควบคุมกิจการสถานการค้าประเวณี ไว้ค่อนข้างสูง และยิ่งถ้ามีเด็กอายุต�่ำกว่า 18 ปี เป็นผู้ค้าประเวณีรวมอยู่ด้วย โทษยิ่งหนักขึ้นเป็นทวีคูณ เช่น ถ้ามีเด็กชายเด็กหญิงอายุ 13-14 ปี ค้าประเวณี ขั้นต�่ำก็จ�ำคุก 10 ปี และปรับอีก 200,000 บาท ขั้นสูงก็จ�ำคุก 20 ปี และปรับถึง 400,000 บาท แต่อย่างไรก็ตาม โทษที่สูงขนาดนั้นกลับมิได้ท�ำให้ เจ้ า ของสถานการค้ า ประเวณี เกรงกลัว ว่ากันว่าถ้าถูกจับก็จ้าง คนไปติดคุกแทน หรือไม่อย่างนั้น ก็จ่ายส่วยใต้โต๊ะให้กับเจ้าหน้าที่ จะได้ไม่ต้องมีคดีความ เรื่องอย่างนี้ จะจริ ง หรื อ ไม่ นั้ น คงต้ อ งฝาก เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐให้ชว่ ยกันกวดขัน ไม่ให้มันเกิดขึ้น


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

125

เอเย่นต์น้อยๆ

กระทรวงยุติธรรม

ข่าวที่เริ่มจะปรากฏถี่ขึ้นในระยะนี้ เกี่ยวกับพฤติกรรมไม่ดีของวัยรุ่นไทย ในทางเพศ ยิ่งมีการส�ำรวจวิจัยโดยส�ำนักโพลบ่อยครั้งขึ้นเท่าใดผลที่ออกมายิ่ง ท�ำให้เศร้าใจมากยิ่งขึ้น พวกสถิติตัวเลขเหล่านี้เป็นการสุ่มตัวอย่างย่อมมีความ คลาดเคลือ่ นอยูบ่ า้ ง แต่ส�ำหรับพฤติกรรมของวัยรุน่ ทีว่ า่ กันว่ามีเด็กบางคนตัง้ ตนเป็น เอเย่นต์ ชักพาเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ คนที่รู้จักที่หน้าตาดีหน่อยเข้าวงการขายบริการ ทางเพศ หาเงินมาตอบสนองความฟุ้งเฟ้อในทางวัตถุ พฤติกรรมเช่นนี้เป็นความผิด ตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี มีโทษถึงขัน้ ติดคุก และขอเตือน ผ่านไปยังน้องๆ เหล่านี้ว่าขอให้คิดถึงคุณค่าของตนเองและจิตใจของพ่อแม่ด้วย

125


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

126

คนในเครื่องแบบกับธุรกิจค้ากาม

คงปฏิเสธไม่ได้ว่า ในการประกอบธุรกิจผิดกฎหมายต่างๆ ทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็นหวย บ่อน ซ่อง รีดไถ เก็บค่าคุ้มครอง ค้ายาเสพติด เรื่อยไปจนถึง ค้าขายมนุษย์นั้น ได้มีคนในเครื่องแบบหรือคนมีสีเข้าไปเกี่ยวข้อง ส่วนจะเกี่ยวข้อง มากน้อยระดับใดนั้นก็สุดแท้แต่ระดับศีลธรรมของแต่ละคน แต่ส�ำหรับธุรกิจ ค้าน�้ำกามโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีการบังคับข่มขืนใจหน่วงเหนี่ยว กักขัง ทุบตี เพือ่ ยอมให้คา้ ประเวณีนนั้ ถ้าผูก้ ระท�ำผิดหรือผูส้ นับสนุนเป็นเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปกครอง เป็นต�ำรวจ หรือ เป็นเจ้าหน้าทีต่ ามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี เสียเอง ผู้นั้นก็มีโทษหนักกว่าปกติคือจ�ำคุกตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 300,000 ถึง 400,000 บาท 126


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

127

อนาจาร ความผิดอาญาเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศนั้น  มีอยู่ข้อหาหนึ่ง ที่ใกล้เคียงกับความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา  และความผิดฐานกระท�ำช�ำเรา เด็กหญิง  นั่นคือ  ความผิดฐานอนาจาร  การอนาจารนั้น  ได้แก่  กระท�ำให้ อับอายขายหน้าในทางเพศ  โดยกระท�ำต่อเนือ้ ตัวร่างกายโดยตรง  เช่น  การกอด ปล�้ำ  สัมผัสจับต้องอวัยวะเพศ  จับๆ ถูๆ ตามร่างกาย  เช่น  จับหน้าอก หรือ บางคนโรคจิตวิตถารชอบให้คนอื่นมาจับต้องของของตน อย่างนี้ก็เป็นผิดอนาจาร ได้เหมือนกัน  ข้อส�ำคัญก็คือต้องเป็นการขู่เข็ญ  โดยเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายมิได้ สมัครใจยินยอมซึ่งอาจเกิดจากการใช้ก�ำลัง  การมอมเมา  ใช้ยาสลบ  หรือท�ำให้ เข้าใจผิดว่าเป็นคนอื่นจึงเผลอใจยินยอม  เช่นนี้ก็ถือว่าผิดอนาจารได้เช่นกัน กระทรวงยุติธรรม 127


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

128

โทษอนาจาร

ความผิดฐานอนาจาร เช่น การกอด ปล�้ำ สัมผัสจับต้องอวัยวะเพศ จับๆ ถูๆ ตามร่างกาย ไม่ว่าชายกระท�ำต่อหญิง หญิงกระท�ำต่อชาย ชายกระท�ำ ต่อชาย หรือแม้แต่หญิงกระท�ำต่อหญิง ถ้าเป็นการขู่เข็ญโดยเหยื่อผู้เคราะห์ร้าย มิได้สมัครใจยินยอม เพราะมีการใช้ก�ำลังท�ำร้าย การมอมเหล้า มอมยาสลบ หรือ ท�ำให้เข้าใจผิดว่าเป็นคนอื่น อย่างนี้ถือว่ามีความผิดฐานอนาจารทั้งสิ้น ซึ่งผู้กระท�ำ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และขอเตือนไปยังบรรดาเจ้านายเฒ่าหัวงูทงั้ หลายทีช่ อบลวนลามลูกน้องในทีท่ �ำงาน ระวังตัวไว้ให้ดี เสี่ยงทั้งคุกตะราง เสี่ยงทั้งชื่อเสียงหน้าที่การงาน ทั้งอับอายไปถึง ลูกหลานด้วย 128


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

129

อนาจารเด็ก สังคมทีม่ แี ต่การพัฒนาด้านวัตถุโดยลืมการพัฒนาจิตใจก็มกั จะมีปญ ั หา สังคมตามมามากมาย ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้หญิง และเด็กที่มีมากขึ้นในสังคมไทยก็เป็นส่วนหนึ่งที่สะท้อนความผุกร่อนของสังคมเรา ได้ชัดเจนทีเดียว ยิ่งเมื่อไม่กี่วันก่อน ได้ฟังข่าวฝรั่งต่างชาติเอาขนมเอาของเล่นมา ใช้ลอ่ ลวงเด็กชายอายุ 8-10 ขวบ หลายคนให้เข้าไปในบ้านเช่าของตนแล้วก็กระท�ำ มิดีมิร้ายกับเด็กเหล่านั้น การกระท�ำเช่นนี้เป็นความผิดฐานอนาจารตามประมวล กฎหมายอาญามาตรา 279  ทั้งนี้  ไม่ค�ำนึงว่าเด็กจะยินยอมด้วยหรือไม่ก็เป็น ความผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ กระทรวงยุติธรรม 129


สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดกับกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กระทรวงยุติธรรม

ที่ปรึกษา นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ : นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ : นางสุวณา สุวรรณจูฑะ : นายธวัชชัย ไทยเขียว : พันตำ�รวจเอกดุษฎี อารยวุฒิ : พันตำ�รวจโทพงษ์ธร ธัญญสิริ :

ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ที่ปรึกษาเฉพาะด้านนโยบาย และการบริหารงานยุติธรรม

บรรณาธิการบริหาร นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ :

นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ รักษาราชการแทน ผู้อำ�นวยการกองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

คณะผู้จัดทำ�

นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ : นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ นายปิยะศักดิ์ โชคอำ�นวย : นักประชาสัมพันธ์

ผู้เขียนบท อาจารย์ณรงค์เดช สุรโฆษิต : ผู้ช่วยอธิการบดีและ อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 130


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.