วารสารยุติธรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2560

Page 1

วารสารยุติธรรม l Justice Magazine

เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine

กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

1 ทศวรรษสู่ความสำ�เร็จ แห่งระบบยุติธรรม

คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ไทยจับมือกลุ่มสมาชิกอาเซียน สร้างกลไกเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ แก้ ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน

กระทรวงยุติธรรม Ministry of Justice

ยุติธรรมเพื่อประชาชน

การเปลี่ยนผ่านหลัง ประกาศใช้พระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558

คน เงิน แผน

สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม

สำ�นักงานรัฐมนตรี

กรมสอบสวน คดีพิเศษ

กรมคุมประพฤติ

สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม

กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ

สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์

โทรศัพท์ 0 2141 5100

สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน

สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ

กรมราชทัณฑ์

facebook.com

/Ministry of Justice, Thailand

26

03 เรื่องจากปก

42

กระทรวงยุติธรรม กับการแก้ปัญหา หนี้นอกระบบ

44

ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

สถาบัน อนุญาโตตุลาการ

ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม กับความรับผิด ทางอาญา ตอน 3 ปฐมบทของการแก้ ไขกฎหมาย

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560

www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส

กรมบังคับคดี

10

58 รู้จักไอที

จะเป็นอย่างไร? หากเมืองไทย มี อินเทอร์เน็ต ในทุกพื้นที่

70



เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine

ที่ปรึกษา

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560 สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม โทรศัพท์ 0 2141 5149 โทรสาร 0 2143 8246 เว็บไซต์ www.moj.go.th E-mail : prmoj@hotmail.com

บทบรรณาธิการ

นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ นายวิทยา สุริยะวงค์ นางกรรณิการ์ แสงทอง

ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม

บรรณาธิการบริหาร

นายอุทัย ทะริยะ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง

บรรณาธิการ

นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ หัวหน้ากลุม่ งานประชาสัมพันธ์

กองบรรณาธิการ

นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ นางสาวชญาภา มงคลฉัตร นางสาวธิดาทิพย์ หอมมะลิ นายอรรถพล ปวัตน์รตั นภูมิ นางสาวอรอริญชย์ สังข์ทองด�ำรง นางสาวเสาวลักษณ์ ตั้งจิตต์วัฒนา นายปัญจกฤตย์ วารายานนท์ นางสาวอุมาภรณ์ อ่องสอาด นางสาวฐิติพร ฉิมพลีวนาศรม นางสาวปัญญาวีร์ แป้นสุวรรณ

ฝ่ายภาพและศิลปกรรม

นายกฤษดา นายชัชวาล นายพิษณุ นายอรรถโกวิท นายปรัชญา

ฝ่ายบริหารจัดการ

กลุม่ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

ออกแบบ

บริษทั ยูโทเปีย มีเดีย อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เจ้าของ

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์สำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

สรวงศักดา ศิริสังข์ไชย มลแก้ว คงยิ่ง จ้างประเสริฐ

สวัสดีผู้อ่านทุกท่านพบกันอีกครั้งกับวารสารยุติธรรม ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี 2560 ด้วยเรื่องราวที่หลากหลายในแวดวงยุติธรรมเช่นเคย หนี้ น อกระบบเป็ น อี ก หนึ่ ง สาเหตุ ข องการก่ อ อาชญากรรม ซึง่ พัฒนาจากการใช้ความรุนแรงเป็นอาชญากรรมและการหลอกลวง ทีก่ อ่ ให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจทีม่ มี ลู ค่ามหาศาล มีผเู้ สียหาย จ�ำนวนมากยังเข้าไม่ถงึ ช่องทางการช่วยเหลือเพือ่ ให้ได้รบั ความเป็นธรรม ตามกระบวนการยุติธรรม ซึ่งปัจจุบันขบวนการเหล่านี้กลายเป็น ปัญหาสังคมทีซ่ บั ซ้อนและหลายรูปแบบมากขึน้ “ศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนี้ และประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวงยุตธิ รรม (ศนธ.ยธ.)” จึ ง เป็ น ช่ อ งทางหนึ่ ง ที่ จ ะเข้ า มาช่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ ก ลุ ่ ม นี้ ใ ห้ เ ข้ า ถึ ง ความเป็นธรรม ตามครรลองของกระบวนการยุตธิ รรมอย่างเท่าเทียม ติดตามได้ในคอลัมน์เรื่องจากปก ครบรอบ 10 ปี โครงการดี ๆ จากพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในกระบวนการ ยุติธรรมไทย โดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้ต้องขังหญิงและเด็กติดผู้ต้องขัง ในคอลัมน์ “ก�ำลังใจในพระด�ำริ” ติดตามอ่านได้ที่หน้า 10 คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรมฉบับนี้ไปติดตามความเคลื่อนไหวจากการ ทีป่ ระเทศไทยจับมือกับกลุม่ สมาชิกอาเซียน สร้างกลไกเพือ่ ขับเคลือ่ น ความร่วมมือแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไปจากสังคมอย่างยั่งยืน ในการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ด้านยาเสพติด ครั้งที่ 5 ณ ประเทศ สิงคโปร์ ส่วนในหน้า 42 กับคอลัมน์ยตุ ธิ รรมเพือ่ ประชาชน เป็นเรือ่ งราว การเปลี่ยนผ่านหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 ที่มุ่งหวังให้กระบวนการยุติธรรมไทยมีประสิทธิภาพ และเคารพต่อสิทธิของประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียม รู้จักกับยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศให้มากยิ่งขึ้น ในคอลัมน์ “คน เงิน แผน” โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงอย่างมากในช่วงการบริหารของรัฐบาลนี้ รวมถึงการปฏิรูปประเทศที่ได้มีการก�ำหนดทั้ง 2 ประเด็นไว้ทั้งใน รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว และร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านประชามติ ติดตามอ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ที่หน้า 44 “รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม” สุภาษิตไทยนี้ยังคงใช้ได้ทุกยุคสมัย ซึ่ ง ในคอลั ม น์ ก ฎหมายสามั ญ ประจ� ำ บ้ า นในฉบั บ นี้ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ ง กฎหมายจราจรทีผ่ โู้ ดยสารและผูข้ บั ขีจ่ ำ� เป็นต้องรู้ ตามพระราชบัญญัติ จราจรทางบก 17 เบ็ดเตล็ด เพื่อความปลอดภัยบนท้องถนน ปิ ด ท้ า ยด้ ว ยสุ ข ภาพที่ ดี ในคอลั ม น์ เคล็ ด ลั บ เกร็ ด สุ ข ภาพ กับวิธีที่จะท�ำให้คนที่คุณรักห่างไกลโรคความจ�ำเสื่อมเพียงเริ่มจาก เรื่องง่าย ๆ ใกล้ตัวคุณ แล้วพบกันใหม่ในฉบับต่อไป

หมายเหตุ : วรรณกรรม บทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารยุติธรรม เป็นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย


สารบัญ Contents Justice Magazine ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560

47 พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

03 เรื่องจากปก

กระทรวงยุติธรรมกับการแก้ปัญหา หนี้นอกระบบ

10 กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

1 ทศวรรษสู่ความสำ�เร็จแห่งระบบ ยุติธรรม

12 ที่นี่แจ้งวัฒนะ 14 เรือ่ งเล่ายุติธรรม

ป.ป.ส. ผสานความร่วมมือ กรมที่ดิน เพิ่มประสิทธิภาพ เชื่อมโยงข้อมูล อายัดทรัพย์นักค้ายา

16 บนความเคลื่อนไหว 26 คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ไทยจับมือกลุม่ สมาชิกอาเซียน สร้างกลไก เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ แก้ไขปัญหา ยาเสพติดอย่างยั่งยืน

30 ที่นี่แจ้งวัฒนะ 32 คนยุติธรรม

ข้าราชการ ของแผ่นดิน “พยุงศักดิ์ กาฬมิค” ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ ภาค 4

36 คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

การควบคุมภายในที่ดีกับวิถี ของการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

39 กำ�แพงมิอาจกั้น

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การเพิม่ ประสิทธิภาพการแสวงหาข้อเท็จจริง การสืบสวนสอบสวน การกระทำ�ผิดเกีย่ วกับ การทุจริตและประพฤติมิชอบ

50 กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน กฎหมายจราจรน่ารู้

54 สารอวยพรปีใหม่ พุทธศักราช 2560 นายสุวพันธ์ุ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

55 สารอวยพรปีใหม่ พุทธศักราช 2560 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม

56 ที่นี่แจ้งวัฒนะ 58 ยุตธิ รรมเดินหน้าช่วยประชาชน

ดอกเบีย้ เงินให้กยู้ มื กับความรับผิดทางอาญา ตอน 3 ปฐมบทของการแก้ไขกฎหมาย

62 เรื่องต้องรู้

ประเทศไทย 4.0 คืออะไร?

64 ภาษายุติธรรม

Ponzi Scheme “แชร์ลกู โซ่” ธุรกิจมหาภัย ของคนอยากรวยเร็ว

66 ที่นี่แจ้งวัฒนะ 68 รอบรู้เรื่องอาเซียน

แผนพัฒนาประเทศในระยะยาวของประเทศ สมาชิกอาเซียน

70 รู้จักไอที

จะเป็นอย่างไร? หากเมืองไทย มี อินเทอร์เน็ต ในทุกพื้นที่

ยธ.เปิดตัว DJOP CENTER ส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ฝีมือเด็กและเยาวชน ภายใต้แบรนด์ DJOP

72 เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ

42 ยุติธรรมเพื่อประชาชน

74 ทุกทิศทั่วยุติธรรม

การเปลี่ยนผ่านหลังประกาศใช้ พระราชบัญญัติ กองทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558

44 คน เงิน แผน

ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ

สูงวัยหัวใจใหม่ ห่างไกลอัลไซเมอร์ ยุติธรรมทั่วไทย

78 เก็บมาเล่า

ความสนใจทางเพศกับการข่มขืน กระทำ�ชำ�เรา


เรือ่ งจากปก

กระทรวงยุติธรรม กับการแก้ปัญหา

หนี้นอกระบบ หนี้นอกระบบเป็นอีกหนึ่งสาเหตุของการก่ออาชญากรรม ซึ่งพัฒนาจากการใช้ความรุนแรง เป็นอาชญากรรมและการหลอกลวงที่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจที่มีมูลค่ามหาศาล มี ผู้เ สี ย หายจำ � นวนมากยั ง เข้ า ไม่ ถึง ช่ อ งทางการช่ ว ยเหลื อ เพื่อ ให้ ไ ด้ รับ ความเป็ น ธรรม ตามกระบวนการยุตธิ รรม โดยเฉพาะลูกหนีน้ อกระบบซึง่ มีจ�ำ นวนมาก และมีชอ่ งว่างทางกฎหมาย ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบลูกหนีก้ ลุม่ นี้ ส่วนใหญ่ผมู้ รี ายได้นอ้ ย หาเช้ากินค่�ำ ขาดความรูค้ วามเข้าใจ กฎหมาย เข้าไม่ถึงแหล่งทุนและกระบวนการยุติธรรม และจำ�นวนไม่น้อยถูกแก๊งหนี้นอกระบบ ตามทวงหนีอ้ ย่างโหดร้าย หลายรายได้รบั บาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สนิ ซึง่ ปัจจุบนั ขบวนการเหล่านี้ กลายเป็นปัญหาสังคมที่ซับซ้อนและหลายรูปแบบมากขึ้น “ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชน ที่ไม่ได้รบั ความเป็นธรรมกระทรวงยุตธิ รรม (ศนธ.ยธ.)” จึงเป็นช่องทางหนึง่ ทีจ่ ะเข้ามาช่วยเหลือ ลูกหนี้กลุ่มนี้ให้เข้าถึงความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียม

Justice Magazine Ministry of Justice

3


เรื่องจากปก

กระทรวงยุติธรรม ได้ก่อตั้งศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม เมื่อปี 2553 มี ภ ารกิ จ ในการอ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรมแก่ ป ระชาชน ที่ได้รับความเดือดร้อนและไม่เป็นธรรมซึ่งมีลักษณะ ซับซ้อนและจ�ำเป็นต้องมีการร่วมมือของหลายหน่วยงาน และกรณีทปี่ ระชาชนได้รบั ความเดือดร้อนเป็นจ�ำนวนมาก โดยมีการแบ่งภารกิจหลักออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านหนี้สินนอกระบบที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม 2. ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ด้านไม่ได้รับความเป็นธรรมในด้านอื่น ๆ การด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนของศูนย์ชว่ ยเหลือ ลูกหนีแ้ ละประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวง ยุตธิ รรม (ศนธ.ยธ.) ได้มแี นวทางทีช่ ดั เจนและเป็นรูปธรรม

โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา ในระดับภาพรวมของประเทศ อาทิ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต�ำรวจ ทหาร สถาบันการเงิน เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์ ธนาคารออมสิ น ภาคประชาสั ง คม และเครือข่ายองค์กรภาคเอกชน ส� ำ ห รั บ ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ป ร ะ ช า ช น จ ะ ต ้ อ ง ดู สภาพปั ญ หาและการแก้ ไ ขว่ า ขึ้ น อยู ่ กั บ ภารกิ จ ของหน่ ว ยงานใด พฤติ ก ารณ์ น ายทุ น เงิ น กู ้ ลั ก ษณะ ของความรุนแรง พื้นที่ อิทธิพล ผลกระทบต่อประชาชน เป็นตัวชี้วัดระดับของความเหลื่อมล�้ำ ซึ่งมีหลายเรื่อง ที่ต้องให้ส่วนกลางเข้าไปช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงาน ของพื้นที่เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถิติข้อมูลผู้ร้องขอความช่วยเหลือศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ และประชาชนที่ ไม่ ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ปี (พ.ศ.) 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560

เรื่องร้องเรียน

จ�ำนวนผู้ร้องเรียน

ทุนทรัพย์ (บาท)

18 81 79 114 115 183 196 53

512 91 79 114 116 408 405 57

208,577,291 78,493,561 155,297,602 6,544,460,461 104,367,785 749,399,024 296,645,606 20,552,650

*ข้อมูล ณ วันที่ 20 มกราคม 2560

การช่วยเหลืออ�ำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชนจากปัญหาหนี้นอกระบบรายใหญ่ ศนธ.ยธ. ได้ให้ความช่วยเหลือแต่ละรายเพื่อลด ที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ดังจะเห็นได้จาก อิทธิพลและความเหลื่อมล�้ำในพื้นที่ โดยเน้นบูรณาการ กรณี ที่ ป ระชนได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นเป็ น จ� ำ นวนมาก ทุ ก หน่ ว ยงานเพื่ อ สร้ า งความยั่ ง ยื น อั น เป็ น แนวทาง ดังต่อไปนี้

4

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เรื่องจากปก

1 1.กรณีชาวบ้านอ�ำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส เมือ่ ต้นเดือนตุลาคม 2559 กลุม่ ชาวบ้านอ�ำเภอสุคริ นิ จั ง หวั ด นราธิ ว าส ได้ ร ้ อ งเรี ย นผ่ า นทางโทรศั พ ท์ เพื่อขอความช่วยเหลือกรณีถูกเจ้าหนี้เงินกู้นอกระบบ ฟ้องร้องทางแพ่งให้ชดใช้เงินกู้ คณะท�ำงานศูนย์ชว่ ยเหลือ ลูกหนีแ้ ละประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวง ยุ ติ ธ รรม (ศนธ.ยธ.) ได้ ล งพื้ น ที่ จั ง หวั ด นราธิ ว าส เพื่อรับฟังปัญหา มีชาวบ้าน จ�ำนวน 22 คน มาให้ข้อมูล ซึ่ ง ได้ ป ระสานความช่ ว ยเหลื อ โดยบู ร ณาการร่ ว มกั บ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนราธิวาส นายอ�ำเภอสุคริ นิ เจ้าหน้าที่ ศู น ย์ ด�ำรงธรรม ส�ำนัก งานยุติธ รรมจังหวั ด นราธิ ว าส หน่วยทหารในพืน้ ที่ และเจ้าหน้าทีศ่ นู ย์อำ� นวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการให้ ข ้ อ มู ล ได้ ป รากฏข้ อ เท็ จ จริ ง ฟั ง ได้ ว ่ า ครอบครัวกลุ่มผู้ร้องเดิมเป็นชาวอีสานที่ย้ายภูมิล�ำเนา มาอยู ่ น ราธิ ว าสกั บ ครอบครั ว ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2518 ตามนโยบายของรัฐบาลในสมัยนัน้ โดยได้รบั จัดสรรทีด่ นิ เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการท�ำมาหากิน ส่วนมากจะประกอบอาชีพ รับจ้างกรีดยาง ร่อนทองค�ำ และรับจ้างทั่วไป มีฐานะ ความเป็ น อยู ่ ค ่ อ นข้ า งยากจน เมื่ อ ขั ด สนจึ ง ได้ กู ้ ยื ม เงินนอกระบบจากนายทุนในพืน้ ที่ โดยกูย้ มื เงินกันตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 ต่อมาเมือ่ ปลายปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลมีโครงการ ลงทะเบียนแก้ไขปัญหาหนีน้ อกระบบ โดยให้สถาบันการเงิน ของรัฐสนับสนุนในการโอนหนี้นอกระบบมาสู่ในระบบ เจ้าหนีจ้ งึ ใช้ชอ่ งทางดังกล่าวชักชวนชาวบ้านให้ทำ� สัญญา กู ้ ยื ม เงิ น เพื่ อ ไปใช้ สิ ท ธิ โ ดยการท� ำ สั ญ ญาที่ มี มู ล หนี้

สูงกว่าความจริง แต่ปรากฏว่าสถาบันการเงินไม่สามารถ อนุมตั สิ นิ เชือ่ ให้ได้ ผ่านมาประมาณ 5 ปี เจ้าหนีจ้ งึ น�ำสัญญา กู้ยืมเงินดังกล่าวมาฟ้องร้องลูกหนี้ จากข้อมูลกลุ่มผู้ร้อง ยอมรับว่าได้กยู้ มื เงินจากเจ้าหนีม้ าจริงแต่มกี ารใช้คนื แล้ว การช่วยเหลือเร่งด่วนโดยร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในพืน้ ทีเ่ จรจาไกล่เกลีย่ โดยเจ้าหนีย้ นิ ยอมลดยอดหนีแ้ ละ ขยายระยะเวลาช�ำระหนี้ให้กับลูกหนี้ จ�ำนวน 3 ราย กลุ่มลูกหนี้ที่อยู่ระหว่างฟ้องคดีชั้นศาล จ�ำนวน 6 ราย รวมทุ น ทรั พ ย์ 841,250 บาท เป็ น กลุ ่ ม ที่ พิ จ ารณา ช่วยเหลือเร่งด่วน ล่าสุดกระทรวงยุติธรรม ได้สั่งการ ให้ยตุ ธิ รรมจังหวัดนราธิวาสช่วยเหลือแต่งตัง้ ทนายความ เพื่อต่อสู้คดีตามระเบียบกองทุนยุติธรรม โดย ศนธ.ยธ. ได้ ร วบรวมหลั ก ฐานเพื่ อ ต่ อ สู ้ ค ดี ใ ห้ ลู ก หนี้ แ ต่ ล ะราย ผลคดี ใ นศาลชั้ น ต้ น ปรากฏว่ า ศาลจั ง หวั ด นราธิ ว าส มี ค� ำ พิ พ ากษายกฟ้ อ ง อยู ่ ร ะหว่ า งเจ้ า หนี้ (โจทก์ ) ยื่นอุทธรณ์ค�ำพิพากษาศาลชั้นต้น ซึ่งกองทุนยุติธรรม จะได้ช่วยเหลือด้านทนายความต่อไป นอกจากนี้ มีลูกหนี้ที่ยังไม่ถูกฟ้อง จ�ำนวน 6 ราย รวมทุนทรัพย์ จ�ำนวน 990,000 บาท และลูกหนีร้ ายอืน่ ถ้าปรากฏในภายหลังจะได้รว่ มกับศูนย์ดำ� รงธรรมจังหวัด ส�ำนักงานยุตธิ รรจังหวัด ศูนย์ดำ� รงธรรมอ�ำเภอ และหน่วยงาน ในพื้นที่ ประสานนัดเพื่อไกล่เกลี่ยและช่วยเหลือทางคดี ในกรณีเจ้าหนีย้ นื่ ฟ้องต่อศาล การด�ำเนินการช่วยเหลือในครัง้ นี้ ทาง ศนธ.ยธ. ยังได้ ประสานกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการฟื้นฟู กลุม่ ชาวบ้านทีเ่ ป็นเกษตรกร และประสานกับหน่วยงาน ในพืน้ ทีเ่ พือ่ ตรวจสอบพฤติการณ์ของเจ้าหนีร้ ายนีอ้ กี ด้วย Justice Magazine Ministry of Justice

5


เรื่องจากปก

2.กรณีชาวบ้านในจังหวัดชัยภูมิและใกล้เคียง การช่วยเหลือกลุม่ ราษฎร ต.กุดตุม้ และ ต.ลาดใหญ่ จ.ชัยภูมิ จ�ำนวนกว่า 30 ราย ถูกนายหน้าหลอกให้ท�ำ สั ญ ญาขายฝากที่ ดิ น กั บ กลุ ่ ม นายทุ น รวมทุ น ทรั พ ย์ กว่า 18 ล้านบาท ได้รอ้ งขอความช่วยเหลือกับหน่วยงานรัฐ และแจ้งความร้องทุกข์ตอ่ พนักงานสอบสวนให้ดำ� เนินคดี กับผู้กระท�ำผิดแต่ไม่มีความคืบหน้า จึงได้ร้องเรียนต่อ กระทรวงยุตธิ รรม โดยศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีแ้ ละประชาชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ที่ เพือ่ ให้ความช่วยเหลือ ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้ลงพื้นที่ กลุ่มราษฎร ตรวจสอบข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานและ ในคดี อ าญาได้ มี ก ารด� ำ เนิ น คดี กั บ กลุ ่ ม นายหน้ า ประชุมร่วมกับผูว้ า่ ราชการจังหวัดชัยภูมิ รองอธิบดีกรมทีด่ นิ ในความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน โดยศาลได้มคี ำ� พิพากษา ลงโทษจ�ำคุก 4 ปี และได้ประสานขอความช่วยเหลือ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอให้กองทุนช่วยเหลือ เกษตรกรพิจารณาปัญหาเร่งด่วนกรณีเกษตรกรจะสูญเสีย ที่ ดิ น ท� ำ กิ น จากการท� ำ สั ญ ญาขายฝาก เพื่ อ พิ จ ารณา การช่วยเหลือตามระเบียบว่าด้วยการบริหารกองทุน หมุนเวียนเพือ่ การกูย้ มื แก่เกษตรกรและผูย้ ากจน พ.ศ. 2547

2

3.กรณีชาวบ้านอ�ำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ เกษตรกร อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์ ร้องเรียนว่า ถูกนายทุนเจ้าของร้านสินค้าการเกษตรเจ้าหนี้เงินกู้ นอกระบบในพื้ น ที่ ร่ ว มกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจเข้ า ยึ ด รถไถนาและที่ ดิ น หั ก ช� ำ ระหนี้ โ ดยไม่ ยิ น ยอม กรณี นี้ ศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีแ้ ละประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงและ ฝ่ายปกครองได้ประสานกับฝ่ายทหารเข้าตรวจค้นนายทุน 2 ราย ได้ยึดเอกสารการกู้ยืมเงิน หนังสือมอบอ�ำนาจ ทีเ่ ซ็นลอยโดยไม่กรอกข้อความ เอกสารสิทธิทดี่ นิ จ�ำนวนมาก ส่งพนักงานสอบสวนด�ำเนินคดี พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวง ยุ ติ ธ รรม ในฐานะผู้อ�ำนวยการศูน ย์ช ่ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ และประชาชนที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ น ธรรม ได้ ล งพื้ น ที่ ประชุมร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ให้เร่งรัดการด�ำเนินคดี ขณะนี้คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของพนักงานอัยการ และติ ด ตามความคื บ หน้ า การช่ ว ยเหลื อ เกษตรกร ที่เดือดร้อนและไม่ได้รับความเป็นธรรม

6

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

3 การแก้ ไ ขปั ญ หาหนี้ น อกระบบในพื้ น ที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น มาตรการบังคับใช้กฎหมายเพื่อลดอิทธิพลของนายทุน และให้ ค วามคุ ้ ม ครองกั บ ชาวบ้ า นที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ ซึ่งการจะแก้ไขปัญหาให้ยั่งยืนจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง สร้างความเข้มแข็งในด้านอาชีพเพื่อไม่ให้ชาวบ้านเข้าไป พึ่ ง พานายทุ น นอกระบบอี ก จึ ง ได้ ร ่ ว มกั บ กระทรวง มหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บูรณาการช่วยเหลือ และพัฒนาศักยภาพให้กับชาวบ้านเกษตรกร อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน


เรื่องจากปก

4

4.ชาวบ้านจังหวัดอุดรธานีถูกหลอกลวง กลุม่ ราษฎรจาก อ.เมืองบ้านผือ, น�ำ้ โสม, นายูง, เพ็ญ, กุมภวาปี, บ้านดุง, ทุ่งฝน และอ�ำเภออื่นๆ ใน จ.อุดรธานี ร้องขอความช่วยเหลือ สืบเนื่องจากได้รับการชักชวน จากกลุ ่ ม บุ ค คลซึ่ ง อ้ า งว่ า เป็ น กรรมการหรื อ ตั ว แทน สหกรณ์ ให้สมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ แล้วจะมีสทิ ธิในการ กูย้ มื เงิน 100,000 บาท ปลอดดอกเบีย้ 5 ปี โดยในการสมัคร จะต้องน�ำส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน และส�ำเนา ทะเบียนบ้าน อย่างละ 1 ฉบับ พร้อมเซ็นรับรองส�ำเนาถูกต้อง และเงินค่าลงหุ้น จ�ำนวน 250 บาท และค่าด�ำเนินการ จ�ำนวน 60 บาท รวม 310 บาท มอบให้ไว้แก่กรรมการ หรือตัวแทนที่ไปชักชวน แต่ไม่ได้มีการท�ำสัญญาหรือ เซ็นเอกสารอืน่ ใด และจะต้องซือ้ ปุย๋ คนละ 2 – 10 กระสอบ โดยยังไม่ต้องช�ำระเงินค่าปุ๋ย แต่จะหักเมื่อได้รับเงินกู้ 100,000 บาท ที่จะได้รับ และต่อมากลุ่มชาวบ้านกลับถูกฟ้องต่อศาลแขวง อุดรธานี ข้อหาความผิดซือ้ ขาย ค�ำ้ ประกัน โดยทีช่ าวบ้าน ไม่เคยได้รับเงินกู้ จ�ำนวน 100,000 บาท ตามค�ำโฆษณา ของสหกรณ์ฯ แต่อย่างใด และเงินลงค่าหุน้ ตามทีส่ หกรณ์ บริ ก ารฯ ชั ก ชวน ชาวบ้ า นก็ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทน และเงินที่น�ำไปลงหุ้นแต่อย่างใด ตรวจสอบเบื้ อ งต้ น พบว่ า สหกรณ์ ก ารเกษตร คงสามัคคีได้ฟ้องชาวบ้านในหลายจังหวัด ดังนี้ ศาลแขวงอุด รธานี จ�ำนวน 33 คดี ในเบื้ อ งต้ น ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด อุ ด รธานี ไ ด้ จั ด ทนายความ

เพื่อให้ความช่วยเหลือชาวบ้านกลุ่มดังกล่าวแล้ว ศาลจังหวัดสว่างแดนดิน จ�ำนวน 16 คดี ศาลจังหวัดมหาสารคาม จ�ำนวน 10 คดี ศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ แ ละประชาชนที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความเป็นธรรม ได้ประสานการช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกร ใน 25 จังหวัด จ�ำนวนกว่า 1,000 ราย กรณีถูกสหกรณ์ คงสามัคคีฟอ้ งและเตรียมจะฟ้องร้องให้ชำ� ระเงินค่าซือ้ ปุย๋ ทุนทรัพย์รวมกว่า 57 ล้านบาท โดย ศนธ.ยธ.ลงพื้นที่ ร่วมกับสหกรณ์จงั หวัดนครราชสีมา ส�ำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์นครราชสีมา กรมวิชาการเกษตร ยุตธิ รรมจังหวัด ในเบือ้ งต้นน่าเชือ่ ว่าอดีตผูบ้ ริหารและเครือข่ายของสหกรณ์ อาจมีการกระท�ำที่มิชอบ กรณีมีการฟ้องร้องได้ประสาน ยุตธิ รรมจังหวัดทีร่ บั ผิดชอบให้การช่วยเหลือตามกฎหมาย ว่าด้วยกองทุนยุติธรรมต่อไป

ในด้านการบังคับใช้กฎหมายกับนายทุนเงินกู้นอกระบบที่ผิดกฎหมาย ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับ ความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้เสนอแก้ไข กฎหมายว่าด้วยการห้ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. ...เนือ่ งจากกฎหมาย พ.ร.บ. ห้ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. 2475 ก�ำหนดให้การกู้ยืมเงินที่เรียกดอกเบี้ย เกินกว่าอัตราที่กฎหมายก�ำหนด (ป.พ.พ.มาตรา 654 ให้เรียกดอกเบีย้ ได้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี) เป็นความผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ ปี ปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท ซึง่ ใช้บงั คับตลอด 84 ปที ผี่ า่ นมา แต่ปจั จุบนั สภาพเศรษฐกิจ และสังคมได้เปลีย่ นไปอย่างมาก การกูย้ มื เงินกลายมาเป็น หวังก�ำไรในเชิงธุรกิจการค้า มีวธิ หี ลีกเลีย่ งการเรียกดอกเบีย้ ด้วยการอ�ำพรางในรูปแบบต่าง ๆ และมีการกระท�ำ

เพือ่ หวังผลประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบองค์กรอาชญากรรม พระราชบัญญัตหิ า้ มเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ.2560 ซึง่ มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 16 มกราคม 2560 โดยสาระส�ำคัญ กฎหมายฉบับนี้ คือ การยกเลิกพระราชบัญญัติหา้ มเรียก ดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 และก�ำหนดให้ห้ามเรียก ดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายก�ำหนดไว้ เพื่อบรรเทา ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของผู ้ มี ร ายได้ น ้ อ ยจาก ภาคการเกษตร คนในสั ง คมชนบทและสั ง คมเมื อ ง อั น เนื่ อ งมาจากปั ญ หาหนี้ สิ น ที่ ถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บ อย่างไม่เป็นธรรม ซึง่ ก�ำหนดให้เจ้าหนีห้ า้ มคิดอัตราดอกเบีย้ เกินร้อยละ 15 ต่อปี หากกระท�ำความผิดจะมีโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 2 แสนบาท Justice Magazine Ministry of Justice

7


เรื่องจากปก

อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหาหนี้นอกระบบให้ได้ผลอย่างยั่งยืนนั้น ประชาชนต้องรู้เท่าทันกลโกง และมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจในเรื่ อ งของกฎหมายเบื้ อ งต้ น จะส่ ง ผลให้ ป ระชาชนรอดพ้ น จากการ ถูกเอารัดเอาเปรียบของเจ้าหนีเ้ งินกูน้ อกระบบได้ ซึง่ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะช่วยป้องกันปัญหาต่างๆ อันจะเกิดขึ้นตามมาในรูปแบบต่าง ๆ ได้

3

ช่องทางการติดต่อ ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้ และประชาชนที่ ไม่ ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม

1 ติดต่อด้วยตนเอง

3 โซเชียลมีเดีย

เฟสบุ๊คศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชน ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม www.facebook.com/LADVIMOJ/

8

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

88 หมู่ 3 อาคารศูนย์ฝึกอบรมชั้น 4 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

2 โทรศัพท์

0-2575-3344 หรือสามารถติดต่อ ทางโทรสาร 0-2575-3355


เรื่องจากปก

Justice Magazine Ministry of Justice

9


โครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

1

ทศวรรษ สู่ความสำ�เร็จ แห่ง ระบบยุติธรรม ครบ 10 ป ี โครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาสในกระบวนการยุติธรรมไทย โดยมุ่งเน้น ไปที่กลุ่มผู้ต้องขังหญิงและเด็กติดผู้ต้องขัง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ได้แรงบันดาลใจ ในการทรงงานจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ที่ต้องการให้มีโครงการให้ความช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคมไทย โดยพบว่ า ปั ญ หาอย่ า งหนึ่ ง ของประเทศ คื อ การด� ำ เนิ น งาน ของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งหลายต่อหลายครั้งที่บุคคลด้อยโอกาส มักเข้าถึงกระบวนการได้ค่อนข้างยาก อีกทั้งพระองค์ท่านยังเห็นว่า ในบางเวลาทุกคนก็ตอ้ งการก�ำลังใจและเราต่างก็สามารถเป็นก�ำลังใจ ให้กันและกันได้

10

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

โครงการก�ำลังใจฯ ได้ทำ� งานในเชิงลึก รับทราบปัญหา และความต้องการของผูต้ อ้ งขัง พร้อมทัง้ แสวงหากิจกรรม ทีจ่ ะช่วยพัฒนาชีวติ ของพวกเขา รวมทัง้ พัฒนาแนวทางใหม่ ๆ ให้ผู้ต้องขังมีการปรับพฤติกรรมให้ดีขึ้น โดยการลงพื้นที่ ไปสัมผัสปัญหาของผู้ต้องขังทั้งหญิงและชายในเรือนจ�ำ ก่อนจะน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งในเรื่องการ จัดท�ำมาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง ที่รู้จักกัน ในชื่อ “ข้อก�ำหนดกรุงเทพฯ” อีกทั้งผลักดันให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงทางด้านนโยบาย น�ำไปสูก่ ารปรับปรุง แก้ไข กฎหมายหรือแก้ไขระเบียบต่าง ๆ ทีพ่ ยายามเป็นอย่างยิง่ ในการส่ ง คนเข้ า สู ่ เ รื อ นจ� ำ ให้ น ้ อ ยลงและกลั่ น กรอง เฉพาะกลุม่ ทีเ่ ป็นอาชญากรอย่างแท้จริงเท่านัน้ ทั้งนี้ยังมีการจัดการประชุม “ก�ำลังใจฯ 1 ทศวรรษ สู่นวัตสังคมไทย” ขึ้น เมื่อเดือนตุลาคม 2559 ที่ผ่านมา ซึ่ ง การประชุ ม ในครั้ ง นั้ น ได้ มี ก ารระดมความคิ ด เห็ น ของผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อหาแนวทาง การด�ำเนินงานในอนาคต รวมทัง้ สรุปถึงปัญหาข้อขัดข้อง ตลอดระยะเวลาด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมาในลั ก ษณะของ “เหลี ย วหลั ง แลหน้ า ” พร้ อ มทั้ ง มี ก ารตั้ ง ข้ อ สั ง เกต ถึงหลักการด�ำเนินงานต่าง ๆ ว่าสามารถขยายขอบเขตไป ในส่วนใดอีกได้บ้าง

โดยพระด�ำริของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภาในครั้งนั้น ยังมีแนวคิดให้ผู้ที่ผ่านโครงการ ก� ำ ลั ง ใจฯ ไปแล้ ว ได้ มี โ อกาสกลั บ มารวมตั ว กั น ท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คม และแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ สมาชิ ก ใหม่ ใ ห้ ก ลั บ ไปยื น อยู ่ ใ นสั ง คม ได้อย่างสง่างาม มากไปกว่านั้นยังพยายามเสริมสร้างความรู้ให้แก่ สังคมไทยผ่านการท�ำกิจกรรม การศึกษาข้อมูลวิชาการ จากภายในและต่างประเทศแล้วน�ำมาค้นคว้าวิจัย ในประเด็นที่น่าสนใจต่าง ๆ พร้อมด้วยการจัดท�ำ โครงการน� ำ ร่ อ งส� ำ หรั บ ทดลองปฏิ บั ติ จ ริ ง เพื่ อ ให้ หน่วยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบเรือ่ งนัน้ ๆ ได้รบั ไปด�ำเนินงาน ต่ออย่างเป็นรูปธรรมอีกด้วย

Justice Magazine Ministry of Justice

11


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

เสริมศักยภาพบุคลากรในงานกองทุนยุติธรรม นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธาน เปิดโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารคูม่ อื การปฏิบตั งิ านกองทุน ยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ ย วกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ก องทุ น ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2558 โดยภายในงานได้รับเกียรติจาก นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม บรรยายพิ เ ศษในหั ว ข้ อ “การละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนกั บ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ ย ากจน และการช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับ ผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน” โดยมีผเู้ กีย่ วข้อง เข้าร่วมฯ ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี

“ยุติธรรม” ให้ความรู้แก่เยาวชน ด้านการบำ�บัดฟื้นฟูผู้กระทำ�ผิด นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านการบำ�บัดฟื้นฟูผ้กู ระทำ�ผิด ในการประชุมวิชาการของเยาวชน “TIJ Youth Forum on Justice and the Rule Of Law 2016” โดยมีตวั แทนเยาวชนจากประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ จำ�นวน 42 คน เข้าร่วม ณ ห้องอบรม สถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย ชน้ั 15 (อาคารบี) อาคารจีพเี อฟ ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ

“ยุติธรรม” จับมือ ธรรมศาสตร์ และ Amway ประเทศไทย ลดขยะบรรจุภัณฑ์น้ำ�ดื่ม นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ร่วมแถลงข่าวการขยายโครงการลดขยะบรรจุภัณฑ์นํ้าดื่ม รอบสนามหลวงเป็นศูนย์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยร่วมกับ ผศ.ดร. ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พลตำ�รวจตรี วิชาญญ์วัชร์ บริรักษ์กุล ผู้บังคับการตำ�รวจนครบาล 1 นายยุทธพันธ์ มีชยั เลขานุการผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร นายกิจธวัช ฤทธีราวี กรรมการผู้จัดการบริษัท Amway ประเทศไทย นำ�เครื่องกรองนํ้าไปติดตั้งและให้บริการ ที่บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรอบสนามหลวง

12

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

“ยุติธรรม” กำ�หนดแนวทางคุมตัวผู้ต้องขังในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมกำ�หนดแนวทางการปฏิบตั ติ อ่ ผูต้ อ้ งขังคดีความมัน่ คงในพืน้ ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อให้การควบคุมตัวผู้ต้องขังเป็นไปในทิศทาง เดี ย วกั น และหลี ก เลี่ ย งปั ญ หาความละเอี ย ดอ่ อ นในพื้ น ที่ โดยมี ผู้ ต รวจราชการกรมราชทั ณ ฑ์ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจำ�ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ รวมถึ ง ผู้ แ ทนจากส่ ว นนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ จังหวัดชายแดนภาคใต้ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรมเข้าร่วมประชุม ณ เรือนจำ�กลางสงขลา จังหวัดสงขลา

ยธ.รับเรื่องร้องทุกข์ขอความเป็นธรรมจากประชาชน พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ได้รับเรื่องร้องทุกข์ขอความเป็นธรรมจากประชาชนผู้ได้รับ ความเดือดร้อน ณ ห้องท�ำงานกระทรวงยุติธรรม ชั้น 8 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ โดยมีนายทิพย์ ศิลปเทพ เข้าร้องทุกข์กรณีถูกคุกคามจาก อดี ต ภรรยาให้ ต กลงค่ า ใช้ จ ่ า ยและทรั พ ย์ สิ น ทางแพ่ ง และนายสุวทิ ย์ อากาศโชติ ร้องทุกข์กรณีถกู ศาลตัดสินจ�ำคุก 15 ปี 6 เดือน ข้อหาปล้นทรัพย์และมีความผิดต่อเจ้าพนักงาน โดยเหตุ เ กิ ด เมื่ อ วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน 2556 ในพื้ น ที่ อ�ำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ยธ.รับเรื่องร้องทุกข์ คดีอุ้มเด็กชายวัยรุ่นหายตัว ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และโฆษกกระทรวงยุ ติ ธ รรม รั บ หนั ง สื อ ร้ อ งทุ ก ข์ จ าก ทนายสงกานต์ อัจฉริยะทรัพย์ ประธานเครือข่ายต่อต้านการ บ่อนท�ำลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เพือ่ เร่งรัดให้พจิ ารณา รับคดีบุตรชายของนายเผชิญ ศรีคะโชติ ซึ่งถูกชายฉกรรจ์ อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจปราบปรามยาเสพติด อุม้ หายตัวไป เป็นคดีพเิ ศษ เนือ่ งจากผูต้ อ้ งหาเป็นผูม้ อี ทิ ธิพลในพืน้ ที่ ซึง่ หาก มีความล่าช้าอาจสร้างความเสียหายต่อกระบวนการยุติธรรม ณ บริเวณหน้าศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคาร ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ Justice Magazine Ministry of Justice

13


เรื่องเล่ายุติธรรม

กองบรรณาธิการ

ป.ป.ส. ผสาน ความร่วมมือ กรมที่ดิน

เพิ่มประสิทธิภาพ เชื่อมโยงข้อมูล อายัดทรัพย์นักค้ายา

ที่ผ่านมาสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ในฐานะ หน่วยงานทีม่ บี ทบาทหน้าทีใ่ นการป้องกันและ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ของประเทศได้ ทำ � ทุกวิถีทางเพื่อเสาะหาวิธีการต่าง ๆ มากมาย ในการตรวจค้น จับกุม กวาดล้างยาเสพติด ให้หายไปจากสังคมไทย โดยการทำ�งานของสำ�นั ก งาน ป.ป.ส. จะมี การตรวจสอบ ยึ ด และอายั ด ทรั พ ย์ ที่ ไ ด้ ม าจาก การกระทำ�ความผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรการ ในการปราบปรามผู้กระทำ�ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 ซึ่งที่ผ่านมา กระบวนการระหว่างหน่วยงาน ในการส่ ง ข้ อ มู ล หลั ก ฐานที่ อ าจนำ�ไปสู่ ก ารจั บ กุ ม ในรู ป แบบเอกสารคำ�ขอข้ อ มู ล นั้ น สั ง เกตเห็ น ว่ า มี ความล่าช้าอยู่พอสมควร ในปั จ จุ บั น ยุ ค สมั ย ที่ เ ทคโนโลยี เข้ า มามี บ ทบาท ในชี วิ ต ประจำ�วั น ในหลายด้ า น หน่ ว ยงานที่ ค อย สอดส่ อ งดู แ ลเรื่ อ งยาเสพติ ด อย่ า งสำ�นั ก งาน ป.ป.ส. จึ ง เกิ ด ความคิ ด ในการนำ�เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ มาช่ ว ยสื บ หา ติ ด ตามผู้ ก ระทำ�ผิ ด ซึ่ ง เป็ น ที่ ม า ของความร่วมมือกับกรมที่ดินในครั้งนี้

$

14

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เรื่องเล่ายุติธรรม

การลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลง (MOU) ว่ า ด้ ว ยการขอใช้ ประโยชน์ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การถื อ กรรมสิ ท ธิ์ แ ละสิ ท ธิ ค รอบครอง ในอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2559 ที่ผ่านมานั้น มีขึ้นเพื่อให้การดำ�เนินการด้านการตรวจสอบ ยึด อายัดทรัพย์สิน เกิ ด ความคล่ อ งตั ว และป้ อ งกั น การยั ก ย้ า ยทรั พ ย์ สิ น รวมถึ ง การถ่ า ยโอนทรั พ ย์ สิ น โดยไม่ สุ จ ริ ต ของนั ก ค้ า ยาเสพติ ด ตลอดจนการนำ�ข้ อ มู ล ไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ สื บ สวนขยายผล การจับกุมคดียาเสพติด ซึ่ ง ทั้ ง สองหน่ ว ยงานได้ ร่ ว มกั น หารื อ ถึ ง แนวทางด้ า นเทคนิ ค การเชื่ อ มโยงระบบคอมพิ ว เตอร์ ใ นลั ก ษณะของเว็ บ เซอร์ วิ ส (Web Service) เพื่ อ ลดขั้ น ตอนกระบวนการทำ�งานให้ มี ความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยผ่ า นการพิ จ ารณาอนุ ญ าตจากคณะกรรมการพิ จ ารณา ข่ า วสารข้ อ มู ล ของกรมที่ ดิ น ให้ สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. สามารถ เชื่ อ มโยงใช้ ง านได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การถื อ กรรมสิ ท ธิ์ แ ละสิ ท ธิ ค รอบครองในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมที่ดิน และนำ�ไปใช้ในภารกิจราชการ รวมถึงในการสืบสวนขยายผลการจับกุม โดยทุกครั้งที่มีการจับกุม นั ก ค้ า ยาเสพติ ด หรื อ ผู้ ร่ ว มขบวนการจะถู ก อายั ด ทรั พ ย์ สิ น ทั้งหมด โดยสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพย์สินต่าง ๆ เหล่านัน้ จะถูกนำ�เข้าสู่กองทุนป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพือ่

ใช้ประโยชน์และสนับสนุนในภารกิจอื่น ๆ ต่อไป การลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงครั้ ง นี้ จึ ง นั บ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการพัฒนากระบวนการทำ�งานร่วมกันของทั้งสองหน่วยงาน ที่ น อกจากจะสามารถช่ ว ยให้ ก ารทำ�งานสะดวกรวดเร็ ว ขึ้ น ยังสามารถช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินการ ต่ อ ทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ก ระทำ�ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด บรรลุ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย และนำ�พาประเทศไทยไปสู่เมือง ที่ขาวสะอาดปราศจากยาเสพติดได้ในที่สุด

Justice Magazine Ministry of Justice

15


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเปิด “ห้องสมุดพร้อมปัญญา”

กระทรวงยุติธรรมมีบทบาทในการพัฒนาผู้ต้องขัง ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าภายหลังพ้นโทษ ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ผ่านสื่อสารสนเทศ และน้อมนำ�เอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ในชีวิตประจำ�วัน

พลเอก นิวตั ร มีนะโยธิน ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวงยุตธิ รรม ตลอดจนผูบ้ ริหาร ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ เฝ้ารับเสด็จฯ

16

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเปิด “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” ณ เรือนจำ� พิเศษมีนบุรี กรุงเทพมหานคร และทัณฑสถานบำ�บัดพิเศษขอนแก่น เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 และวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ตามลำ�ดับ โดยมี พลเอก นิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวง ยุ ติ ธ รรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุ กิ จ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ ตลอดจนผู้บริหาร ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ เฝ้ารับเสด็จฯ


บนความเคลื่อนไหว

“ห้องสมุดพร้อมปัญญา” ณ ทัณฑสถานบำ�บัดพิเศษ ขอนแก่น

“ห้องสมุดพร้อมปัญญา” ณ เรือนจำ�พิเศษมีนบุรี กรุงเทพมหานคร

ตัง้ อยูบ่ ริเวณชัน้ 2 อาคารฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิตใจ เรือนจำ�พิเศษมีนบุร ี มพี น้ื ที ่ 560 ตารางวา เป็นห้องสมุดกลาง และมีหอ้ งสมุดสาขาประจำ�แดนต่าง ๆ เป็นแหล่งรวบรวม สือ่ สารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ กว่า 10,000 รายการ โดยได้รบั การสนับสนุนการดำ�เนินงานจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ ยังมีการดำ�เนินโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามแนวพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แก่ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ กระดาษ เขี ย นจดหมาย สมุ ด บั น ทึ ก การ์ ตู น ภาพเคลื่ อ นไหว พร้อมทั้งได้จัดมุมเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้ผู้ต้องขังได้ศึกษา และเรียนรู้ เพื่อนำ�ไปปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันภายหลัง พ้นโทษ ซึ่งเรือนจำ�พิเศษมีนบุรีเป็นเรือนจำ�ที่ควบคุม ผู้ต้องขังที่มีกำ�หนดโทษไม่เกิน 15 ปี ปัจจุบันมีผู้ต้องขัง จำ�นวนทั้งสิ้น 5,005 คน มีภารกิจหลักในการควบคุม ควบคู่ กั บ การแก้ ไ ขพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย ให้ ก ลั บ ตน เป็นพลเมืองดีและไม่เป็นภาระต่อสังคม

ก่อสร้าง ในปี พ.ศ. 2548 มหี อ้ งสมุดกลางและห้องสมุด สาขาประจำ�ในแต่ละแดน เป็นแหล่งเรียนรู้หลักในการ ให้บริการผู้ต้องขังอย่างทั่วถึง โดยใช้ระบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ปรับปรุงระบบสืบค้นข้อมูลให้ได้มาตรฐาน เช่นเดียวกับห้องสมุดภายนอก ซึ่งห้องสมุดเหล่านี้ได้รับ การสนับสนุนสื่อสารสนเทศจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนหลายแห่ง นอกจากนี ้ ทณ ั ฑสถานฯ ได้มกี ารจัดการศึกษาในทุกระดับ อาทิ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย การฝึ ก ทั ก ษะอาชี พ การพัฒนาจิตใจเพื่อส่งเสริมจริยธรรม และยังได้น้อมนำ� แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาจัดเป็นมุมการเรียนรูใ้ ห้ผตู้ อ้ งขังได้ศกึ ษา เพือ่ พัฒนาตนเอง ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าต่อไป

Justice Magazine Ministry of Justice

17


บนความเคลือ่ นไหว

กองบรรณาธิการ

การประชุมอาเซียน

ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรม และความยุติธรรมทางอาญา ครั้งที่ 1 (ACCPCJ) พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน

เพื่อก้าวสูค่ วามเป็นผูน้ �ำด้านกระบวนการยุตธิ รรมในระดับนานาชาติ ประเทศไทยได้จดั เวทีการประชุมแลกเปลีย่ นประสบการณ์และความคิดเห็น เกีย่ วกับกระบวนการยุตธิ รรมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อประสิทธิภาพและศักยภาพในการต่อสูก้ บั ปัญหาข้ามชาติรว่ มกันอย่างยัง่ ยืน

อี ก หนึ่ ง ความสำ�เร็ จ ในการก้ า วสู่ ค วามเป็ น ผู้ นำ� ด้านกระบวนการยุติธรรมของอาเซียน หลังจากสถาบัน เพือ่ การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (TIJ) กระทรวงยุตธิ รรม ได้จดั การประชุมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรม และความยุตธิ รรมทางอาญา ครัง้ ที่ 1 (The 1st ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice) หรือ ACCPCJ เมือ่ วันที่ 9-11 พฤศจิกายน 2559 เพือ่ เป็นเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแนวทางการปฏิบตั ิ ที่ ดี ร ะหว่ า งประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นในการป้ อ งกั น อาชญากรรมข้ า มชาติ แ ละการส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ

18

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ทางกฎหมาย โดยเฉพาะด้านความยุติธรรมทางอาญา เพือ่ ยกระดับมาตรการป้องกันให้มปี ระสิทธิภาพ และนำ�ไปสู่ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ง ยื น ของประชาคมอาเซี ย น โดยมี ผูบ้ ริหารกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยงาน ด้ า นกระบวนการยุ ติ ธ รรมในอาเซี ย น ผู้ เชี่ ย วชาญ และนั ก วิ ช าการตลอดจนผู้ แ ทนสถาบั น เครื อ ข่ า ย สหประชาชาติดา้ นอาชญากรรมและความยุตธิ รรมทางอาญา รวมกว่า 200 คน เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องนภาลัยบอลลูม โรงแรมดุ สิ ต ธานี โดยมี พ ลเอก ไพบู ล ย์ คุ้ ม ฉายา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานเปิดการประชุมฯ


บนความเคลื่อนไหว

พลเอก ไพบู ล ย์ คุ้ม ฉายา กล่ า วว่ า การประชุ ม ครัง้ นี้ สืบเนือ่ งมาจากการเข้าร่วมประชุมเจ้าหน้าทีอ่ าวุโส อาเซียนด้านกฎหมาย ครัง้ ที่ 16 และ การประชุมรัฐมนตรี กฎหมายอาเซียน ครัง้ ที่ 9 ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ เดือนตุลาคม 2558 ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ซึ่งที่ประชุมมีมติให้กระทรวง ยุติธรรม โดยสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) เป็ น เจ้ า ภาพจั ด การประชุ ม อาเซี ย นว่ า ด้ ว ย การป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ครัง้ ที่ 1 เพือ่ เป็นเวทีสำ�คัญในการเสริมสร้างความร่วมมือ ด้านการป้องกันอาชญากรรมและการพัฒนากระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ถือเป็นการก้าวสู่บทบาท ผู้ นำ�ด้ า นกระบวนการยุ ติ ธ รรมในระดั บ นานาชาติ ของประเทศไทย ดร.กิ ต ติ พ งษ์ กิ ต ยารั ก ษ์ ผู้ อำ�นวยการสถาบั น เพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่า รัฐบาลไทย ได้ เ สนอให้ มีเวที ก ลางระดั บ อาเซี ย นเพื่อ แลกเปลี่ย น ประสบการณ์และความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการ ยุ ติธ รรมทั้ง ระบบ เนื่อ งจากการประชุ ม ครั้ง ที่ผ่า นมา ไม่ ส ามารถบู ร ณาการงานด้ า นกระบวนการยุ ติ ธ รรม ได้ท้ังหมดเพราะอาเซียนมีหน่วยงานด้านกฎหมายและ กระบวนการยุตธิ รรมต่างกัน จึงนำ�ไปสูก่ ารจัดการประชุม คล้ายกับการประชุมของสหประชาชาติท่ีเปิดโอกาสให้ นักวิชาการและเอ็นจีโอ เข้ามามีส่วนร่วมแสดงแนวคิด ที่เป็นแนวปฏิบัติท่ีดีในเรื่องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง ในกระบวนการยุตธิ รรมสามารถเข้ามารับฟังและนำ�ไปปรับ ใช้ตามความเหมาะสม หั ว ข้ อ การประชุ ม ในครั้ง นี้ป ระกอบด้ ว ยประเด็ น ทีอ่ าเซียนให้ความสนใจ ได้แก่ 1. มาตรการรองรับภัยคุกคามใหม่ ด้ านการลั ก ลอบการค้าสัต ว์ป่าและค้าไม้ผิด กฎหมาย ในภูมภิ าคอาเซียน 2. ยุทธศาสตร์การป้องกันอาชญากรรม ในกลุม่ เด็กและเยาวชนในเขตเมือง และ 3. มาตรการฟืน้ ฟู ผู้กระทำ�ผิดและการปฏิรูประบบราชทัณฑ์ให้ตอบสนอง ต่ อ กลุ่ ม เปราะบาง โดยได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ

จากพระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา องค์ประธานคณะทีป่ รึกษาพิเศษสถาบันเพือ่ การยุตธิ รรม แห่ ง ประเทศไทย เสด็ จ เข้ า ร่ ว มประชุ ม และประทาน พระดำ�รัสในประเด็นดังกล่าวด้วย นอกเหนือจากการพูดคุยและแลกเปลีย่ นประสบการณ์ ในหัวข้อทัง้ 3 ทีป่ ระชุมยังจัดให้มเี วทีวชิ าการเพือ่ นำ�เสนอ ผลการศึกษาวิจัยในประเด็นเกี่ยวข้อง อาทิ บทบาท ของผูห้ ญิงในกระบวนการยุตธิ รรม และ การแนะนำ�ผลงาน ของสถาบันในเครือข่ายแผนงานสหประชาชาติ ด้านการ ป้องกันอาชญากรรมและความยุตธิ รรมทางอาญา(UN-PNI) นอกจากนี้ ได้จัดเวทีค่ขู นาน “TIJ Youth Forum on Justice and the Rule of Law 2016” ระหว่าง วันที่ 6-12 พฤศจิกายน 2559 เพื่อให้ตัวแทนเยาวชน จากประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จำ�นวน 42 คน ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และระดมความคิดเห็น ในด้านการป้องกันอาชญากรรม ภายใต้หัวข้อ “การป้องกันอาชญากรรมเพื่อการพัฒนา ทีย่ ง่ั ยืน” พร้อมทัง้ นำ�เสนอผลการประชุมของเวทีเยาวชน เพื่อให้ท่ีประชุมใหญ่รับทราบความคิดเห็นของเยาวชน รุ่นใหม่ อันเป็นการวางรากฐานกระบวนการยุติธรรม ของอาเซียนให้มน่ั คงและยัง่ ยืน Justice Magazine Ministry of Justice

19


บนความเคลือ่ นไหว

กองบรรณาธิการ

การประชุมระดับ รมว. ด้านยาเสพติด 3 ประเทศ ไทย ลาว กัมพูชา ณ จ.อุบลราชธานี ป.ป.ส. สานต่อความส�ำเร็จ!

เดินหน้าปฏิบัติการแม่น�้ำโขงปลอดภัย ตอนล่าง จับมือลาว กัมพูชา สแกนเข้ม ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่บั่นทอนความมั่นคง ที่ยากต่อการแก้ ไข เนื่องจากสาเหตุของปัญหาไม่ ได้ อยู่ภายในรัฐใดรัฐหนึ่งเท่านั้น ทั้งกระบวนการผลิต แหล่งวัตถุดิบและการค้า มีลักษณะเป็นปัญหา ข้ามชาติ ดังนั้น ความร่วมมือระหว่างประเทศ จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการแก้ ไขอย่างมีประสิทธิภาพ วันที่ 14 - 15 ธันวาคม 2559 ณ จงั หวัดอุบลราชธานี สำ�นักงาน ป.ป.ส. จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีวา่ ด้วยความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดระหว่างกัมพูชา ลาวและไทย เพือ่ เดินหน้าปฏิบตั กิ ารแม่นา้ํ โขง ปลอดภัยตอนล่าง 3 ประเทศ โดยหัวหน้าคณะผูแ้ ทนไทย พลเอก นิวตั ร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมระดับรัฐมนตรี นายศิรนิ ทร์ยา สิทธิชยั เลขาธิการ ป.ป.ส.

20

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


บนความเคลื่อนไหว

เป็ น ประธานการประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ อาวุ โ ส คณะผู้แทนจากกัมพูชา นำ�โดย ฯพณฯ เกา คอนดารา รองประธานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติดกัมพูชา (NACD) หรือรองประธานคณะกรรมการ ป.ป.ส.กัมพูชา และพลตำ�รวจเอก เมียะส์ วิฤทธิ์ เลขาธิการ ป.ป.ส.กัมพูชา พร้อมทัง้ พลเอก ชุม โสเจียต รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงกลาโหมกัมพูชา และคณะผูแ้ ทนจากลาว นำ�โดย ฯพณฯ กุ จันสินา ประธานสำ�นักงานคณะกรรมการแห่งชาติ เพื่อตรวจตราและควบคุมยาเสพติด (LCDC) พร้อมด้วย ท่านพุดสะหวาด สูนทะลา รองเลขาธิการ ป.ป.ส.ลาว การประชุมฯ ดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ ระดับอาวุโสและรัฐมนตรีทก่ี ำ�กับดูแลงานการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดพิจารณาและรับรองแผนปฏิบัติการแม่น้าํ โขง ปลอดภัยตอนล่าง 3 ประเทศ เพือ่ ใช้เป็นกรอบการดำ�เนินงาน และแนวทางในการปฏิบตั ิ เพือ่ การปราบปรามและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงตอนล่าง ทั้งยัง ได้พิจารณาและรับรองแนวทางการดำ�เนินงานโครงการ หมู่บ้า นคู่ข นานแนวพื้น ที่ช ายแดนไทย-กั ม พู ช า-ลาว เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ใิ นการเสริมสร้างความเข้มแข็งต่อต้าน การแพร่ระบาดของยาเสพติด ทง้ั นี ้ แผนปฏิบตั กิ ารฯ ดังกล่าว เป็นส่วนหนึง่ ของแนวคิดในการปิดล้อมสามเหลีย่ มทองคำ� ของพลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา องคมนตรี (อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุตธิ รรม) ทีม่ งุ่ เน้นการสกัดกัน้ ยาเสพติด จากแหล่ ง ผลิ ต ในพื้ น ที่ ส ามเหลี่ ย มทองคำ� สกั ด กั้ น เคมีภัณฑ์และสารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดไม่ให้ ลักลอบลำ�เลียงไปสูแ่ หล่งผลิตในพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มทองคำ�

ผลการประชุม

ที่ประชุมเห็นชอบกับแผนปฏิบัติการแม่น้าํ โขงปลอดภัย ตอนล่าง 3 ประเทศ ระยะเวลา 2 ปี (2560-2561) ระหว่าง ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรไทย โดยทั้งสามประเทศเห็นพ้องกัน ที่จะผนึกกำ�ลังการทำ�งานร่วมกันแบบบูรณาการตามแผน ปฏิบตั กิ ารแม่นา้ํ โขงปลอดภัยตอนล่าง 3 ประเทศ ฯ ดังกล่าว และกำ�หนด 8 เมืองที่เชื่อมต่อกันเป็นเป้าหมายที่สำ�คัญ เพือ่ สกัดกัน้ เคมีภณ ั ฑ์และสารตัง้ ต้นทีใ่ ช้ในการผลิตยาเสพติด รวมทั้งยาเสพติดทั้งทางบกและทางน้ํา ซึ่งอยู่ภายใต้แผน ปฏิบตั กิ ารแม่นา้ ํ โขงปลอดภัย 6 ประเทศ ระยะเวลา 3 ปี (2559-2561) ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ราชอาณาจักร กัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและราชอาณาจักรไทย

มาตรการสำ � คั ญ ที่ จ ะดำ � เนิ น การภายใต้ แ ผน ปฏิบัติการแม่น้ำ�โขงปลอดภัยตอนล่าง 3 ประเทศ

ประกอบด้วย 4 มาตรการสำ�คัญ คือ การปราบปราม ความร่วมมือพัฒนาหมูบ่ า้ นคูข่ นาน การประสานงานโดยใช้กลไก สำ�นักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (BLO) และการบริหารจัดการโครงการ โดยจะเน้นหนักทีก่ ารปราบปราม โดยใช้กลไกที่มีอยู่ให้เข้มข้นยิ่งขึ้น เช่น การตั้งด่าน/จุดตรวจ ในพืน้ ทีท่ ร่ี ว่ มกันกำ�หนด และความร่วมมือพัฒนาหมูบ่ า้ นคูข่ นาน เพือ่ ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชน พร้อมทัง้ เพิม่ กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับยาเสพติด เช่น การเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในชุมชน หมูบ่ า้ นและการบำ�บัดรักษาผูต้ ดิ ยาเสพติดในชุมชน เป็นต้น Justice Magazine Ministry of Justice

21


บนความเคลือ่ นไหว

กองบรรณาธิการ

ปลัดยธ. ลงพื้นที่สงขลา

“โครงการยุติธรรมสู่หมู่บ้าน น�ำบริการรัฐสู่ประชาชน” ประชาชนทุกคนจะต้องสามารถเข้าถึงการอ�ำนวยความยุตธิ รรม อย่างเท่าเทียม ภาครัฐต้องสามารถให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม เสริมสร้างให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องกฎหมายเพิ่มขึ้น เปลี่ยนแนวคิดและการด�ำเนินงาน สู่การเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน หลังจากกระทรวงยุติธรรมได้ลงพื้นที่รับฟังปัญหา และตรวจเยี่ยมประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือ ที่จังหวัด เชียงใหม่และจังหวัดลำ�ปางเมื่อเดือนกันยายน 2559 และในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดอุดรธานี และขอนแก่นเมื่อเดือนตุลาคม 2559 ก็ได้เร่งดำ�เนิน โครงการอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในพื้ น ที่ ภ าคใต้ โดยเมื่ อ วั น ที่ 18 พฤศจิกายน 2559 กระทรวงยุติธรรมได้จัดโครงการ “ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน ครั้งที่ 2” ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อส่งเสริมให้ภาคประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม

22

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ในกระบวนการยุตธิ รรมของชุมชนหรือ “ยุตธิ รรมชุมชน” ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ ห้ ป ระชาชนทุ ก คนสามารถ เข้ า ถึ ง การอำ�นวยความยุ ติ ธ รรมอย่ า งเท่ า เที ย ม รวมถึงการพัฒนาเครือข่ายยุติธรรมชุมชนให้มีศักยภาพ เพื่ อ ให้ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ประชาชนได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั่วถึงและเป็นธรรม โดยมีนายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธเี ปิด พร้อมด้วย นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ตลอดจนหัวหน้าส่วนราชการ เครือข่ายยุติธรรมชุมชน ในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้และผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้าร่วม


บนความเคลื่อนไหว

บริการเชิงรุกสู่ประชาชน

ปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า การพัฒนาประเทศ มีสงิ่ สำ�คัญอยู่ 2 ประการ ได้แก่ การดำ�เนินงานนัน้ จะต้อง นำ�บริการไปให้ถงึ มือประชาชน และประชาชนต้องได้รบั ผล ของการใช้ จ่ า ยงบประมาณอย่ า งคุ้ ม ค่ า ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมา กระทรวงยุตธิ รรม ได้ดำ�เนินการตามนโยบายของรัฐบาล และยึดหลักการดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ใน 4 ประเด็น ได้แก่ 1. รัฐและประชาชนต้องทำ�งานร่วมกัน และต้องตอบสนองต่อประชาชนหรือเรียกว่า “ประชารัฐ” 2. แนวทางการพัฒนาในยุคใหม่หรือประเทศไทย 4.0 ที่ เ น้ น คำ�ว่ า “ยั่ ง ยื น ” กระทรวงยุ ติ ธ รรมเห็ น ว่ า การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ได้ นั้ น จะต้ อ งมาจากรากฐานก็ คื อ “ชุมชน” โดยแนวคิดดังกล่าวเป็นแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงที่กระทรวงยุติธรรมได้ดำ�เนินการมากว่าสิบปี และยึ ด หลั ก การสร้ า งให้ ชุ ม ชนเกิ ด ความเข้ ม แข็ ง 3. ส่วนราชการจะต้องเปลี่ยนวิธีคิดจากเดิมที่เคยทำ�งาน ตามกฎหมายและอำ�นาจหน้าที่เพียงอย่างเดียวก็จะต้อง คิดใหม่โดยการแปลงอำ�นาจหน้าที่มาเป็นงานบริการ และนำ�งานบริการนัน้ ไปสูป่ ระชาชนให้ได้ และ 4. หน่วยงาน จะต้ อ งมี เ ป้ า หมายการทำ�งานที่ ชั ด เจนและต่ อ เนื่ อ ง ในระยะยาว โดยต้องมุ่งให้เกิดผลสำ�เร็จ ทั้งนี้เพื่อมุ่งสู่ การทำ�งานทีเ่ ข้าถึงประชาชนได้อย่างแท้จริง อันจะก่อให้เกิด ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนในประเทศ

แนวทางการดำ�เนิ น งานของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในอนาคต จะเน้ น การสร้ า งโอกาสในการเข้ า ถึ ง ความยุติธรรมให้แก่ประชาชน โดยการผลักดันการนำ� บริ ก ารเชิ ง รุ ก ไปสู่ ป ระชาชนของศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน และให้ภาคประชาชน/ชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการแก้ไข ปัญหาของชุมชนเอง ทั้งนี้กระทรวงยุติธรรม มีเป้าหมาย ในการมุง่ ผลสัมฤทธิใ์ น 3 ประเด็น ประเด็นแรก ประชาชน ต้องสามารถปกป้องคุ้มครองสิทธิของตัวเองได้ ประเด็น ที่สอง ชุมชน/หมู่บ้านในตำ�บล จะต้องปลอดภัยจาก อาชญากรรมและปัญหายาเสพติด และประเด็นที่สาม ข้อพิพาท หรือข้อขัดแย้งในชุมชน ประชาชนจะต้อง สามารถจัดการและแก้ไขได้ดว้ ยตนเอง โดยภาครัฐจะต้อง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรูค้ วามเข้าใจเรือ่ งกฎหมาย เพิม่ ขึน้ และจะต้องคัดเลือกกฎหมายทีจ่ ำ�เป็นต่อการพัฒนา คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชน มาเน้นยา้ํ ให้เกิดความเข้าใจ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การดำ�เนินงานของกระทรวงยุติธรรม จะมี สำ�นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด เป็ น หน่ ว ยงานผู้ แทน ระดับกระทรวงในพื้นที่ ทำ�หน้าที่บูรณาการหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตามแผนบู ร ณาการของจั ง หวั ด เพื่ อ ลด ความเหลื่อมลํ้าให้แก่ประชาชน โดยใช้เครือข่ายยุติธรรม ชุมชน หรือผูน้ ำ�ชุมชนในตำ�บล/หมูบ่ า้ น เข้ามามีสว่ นร่วม ในกลไกของศู น ย์ ดำ�รงธรรมระดั บอำ�เภอ และระดั บ จังหวัด ซึ่งการทำ�งานจะไม่เน้นการบริหารจากระดับ บนลงมาระดับล่างเพียงอย่างเดียว แต่จะให้ข้าราชการ และประชาชนในพื้นที่ร่วมกำ�หนดความต้องการด้วยกัน จึงขอให้ข้าราชการเปลี่ยนวิธีคิดและวิธีทำ�งานโดยการ ทำ�งานในชุ ม ชน ข้ า ราชการจะต้ อ งเป็ น นั ก วางแผน และนักบริหารจัดการในชุมชน และต้องไม่แค่ทำ�ตามอำ�นาจ หน้าที่หรือตามกฎหมาย แต่จะต้องทำ�งานในการอำ�นวย ความยุติธรรมเพื่อให้บริการแก่ประชาชนอย่างแท้จริง Justice Magazine Ministry of Justice

23


บนความเคลือ่ นไหว

“ยุติธรรม”

รวมพลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

กระทรวงยุติธรรมมีภารกิจหลัก ในการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้น ในสังคม และปราบปรามการทุจริต คอร์รัปชั่นจะส�ำเร็จได้ต้องอาศัย ความร่วมมือจากหน่วยงานในทุกภาคส่วน

กองบรรณาธิการ

กระทรวงยุ ติธ รรมและภาคี ท่ีเ กี่ย วข้ อ ง เพื่อ ประกาศ เจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยมีผ้แู ทนจาก หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และตัวแทนจาก ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต จำ�นวน 35 หน่วยงาน ณ โรงแรมเบสท์ เวสเทิ ร์น พลั ส แวนด้ า แกรนด์ จังหวัดนนทบุรี กิจกรรมในงานประกอบด้วย การเสวนา ทางวิชาการหัวข้อ “ทิศทางการส่งเสริมคุณธรรม เพือ่ ต่อต้าน การทุจริต” การนำ�เสนอแนวทางการส่งเสริมคุณธรรม และป้องกันการปราบปรามการทุจริต การจัดนิทรรศการเผยแพร่ องค์ความรู้และแสดงผลงานด้านการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม การเปิดเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น เพือ่ ส่งเสริม กระบวนการพัฒนาการมีสว่ นร่วมในการรณรงค์การต่อต้าน การทุจริตคอร์รปั ชัน่ และประกาศเจตนารมณ์ในการต่อต้าน การทุจริตของหน่วยงานของกระทรวงยุตธิ รรม

แนวทางปฏิบตั สิ �ำ คัญของกระทรวงยุตธิ รรมในปี 2560

วันพุธที่ 7 ธันวาคม 2559 กระทรวงยุตธิ รรมเปิดโครงการ มหกรรมพลังคุณธรรมยับยั้งการทุจริต ภายใต้แนวคิด “สุจริตตามรอยพ่อ ขอทำ�ดีเพื่อแผ่นดิน” โดยมุ่งเน้น การรณรงค์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม โดยนายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัด กระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการฯ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบตั ริ าชการ การแสดงพลังของหน่วยงานในสังกัด

24

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

1) การให้หวั หน้าส่วนราชการ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ กระทรวงยุตธิ รรม หลีกเลีย่ งการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่รบั หรือถามถึงการให้หรือรับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อน่ื ใด จากบุคคล เว้นแต่ประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมายหรือ กฎข้อบังคับทีอ่ อกโดยอาศัยอำ�นาจตามกฎหมาย 2) การต้ อ นรั บ ข้ า ราชการชั้ น ผู้ ใ หญ่ ผู้ บ ริ ห าร ของกระทรวงยุตธิ รรม ให้ตอ้ นรับโดยสมควร การจัดทีพ่ กั การเลี้ยงรับรองให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายในการเดินทางไปราชการ 3) งดให้ของขวัญแก่ขา้ ราชการชัน้ ผูใ้ หญ่ ผูบ้ งั คับบัญชา นอกเหนื อ จากกรณี ป กติ ห รื อ ประเพณี นิ ย มที่ จ ะให้ ของขวัญแก่กัน และควรใช้บัตรอวยพรหรือบัตรแสดง ความยินดีในการลงนามอวยพร


บนความเคลื่อนไหว

สถาบันนิตวิ ิทยาศาสตร์ และกรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ ลงนาม MOU แก้ ไขปัญหา สถานะบุคคลแก่คนไร้ที่พึ่ง

การให้ความช่วยเหลือและจัดระเบียบบุคคล ไร้ที่พึ่งอย่างเป็นระบบจะช่วยเสริมสร้าง ความมั่นคงด้านการพัฒนาสังคม สวัสดิการรัฐ เศรษฐกิจ และมนุษยธรรม ซึ่งน�ำไปสู่ความมั่นคงของชาติในที่สุด 8 ธันวาคม 2559 นายสมณ์ พรหมรส ผู้อำ�นวยการ สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ และนายพุฒพิ ฒ ั น์ เลิศเชาวสิทธิ์ อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ร่วมลงนามบันทึก ข้อตกลง (MOU) ว่าด้วยความร่วมมือด้านการให้บริการ ตรวจทางนิตวิ ทิ ยาศาสตร์อำ�นวยความยุตธิ รรม ช่วยเหลือ สังคมและมนุษยธรรม ณ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรุงเทพฯ เพื่อประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา สถานะบุ ค คลของผู้ ไ ม่ มี ส ถานะทางทะเบี ย นราษฎร หรือบุคคลที่ถูกทอดทิ้ง เร่ร่อน พลัดหลงในที่สาธารณะ และไม่สามารถให้ขอ้ มูลตนเองได้ รวมทัง้ บุคคลทีน่ ำ�เด็กมา เร่ร่อนหรือขอทาน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิทธิในการรักษา พยาบาล การประกอบอาชีพ สิทธิการได้รบั ความช่วยเหลือ จากรัฐ โดยการลงนามบันทึกข้อตกลงครั้งนี้ กรมพัฒนา

สังคมและสวัสดิการ จะดำ�เนินการคัดกรองคนไร้ที่พึ่ง เพือ่ ให้ความช่วยเหลือตามกระบวนการของสถานคุม้ ครอง คนไร้ที่พึ่ง หากพบว่ามีบุคคลที่จำ�เป็นต้องดำ�เนินการ ตรวจทางนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ จ ะแจ้ ง รายชื่ อ ให้ ส ถาบั น นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ เข้ า สู่ ก ระบวนการพิ สู จ น์ บุ ค คล การยืนยันความสัมพันธ์ทางสายโลหิต สำ�หรับใช้เป็นหลักฐาน ประกอบการจั ด ทำ�ฐานข้ อ มู ล ทะเบี ย นประวั ติ บุ ค คล ในการติดตามครอบครัว โดยสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จะตรวจสอบสถานะบุ ค คลจากการพิ ม พ์ ล ายนิ้ ว มื อ หรือฝ่ามือ เพื่อให้การช่วยเหลือ คุ้มครองกลุ่มเป้าหมาย ให้ มี ห ลั ก ฐานประกอบการจั ด ทำ�ฐานข้ อ มู ล บุ ค คล การติดตามญาติ เพื่อการวางแผนให้การคุ้มครองอย่าง เหมาะสม รวมถึงการช่วยเหลือให้รบั สิทธิสวัสดิการทีพ่ ง่ึ ได้ นายสมณ์ พรหมรส กล่ า วตอนหนึ่ ง ว่ า สถาบั น นิติวิทยาศาสตร์ ได้สานต่อนโยบายของรัฐบาลด้วยการ ประสานความร่วมมือกับกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นคนไร้ที่พึ่ง และยินดีที่กฎหมาย ของเรามีการขยายขอบเขตไปกว้างขวาง หากกรมพัฒนา สังคมและสวัสดิการร้องขอจะให้สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ดำ�เนินการอืน่ ใดนอกเหนือจากการจัดทำ�บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือครัง้ นี้ อันจะเกิดประโยชน์ตอ่ การดำ�เนินการ ในภาพรวม ทั้ ง เรื่ อ งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ หรื อ ด้ า น มนุษยธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อความมั่นคงของชาติ สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์พร้อมที่จะช่วยกันพัฒนาสังคมให้ไปสู่ เป้าหมายร่วมกันต่อไป Justice Magazine Ministry of Justice

25


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ไทยจับมือกลุ่มสมาชิกอาเซียน สร้างกลไกเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ แก้ ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน ประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ด้านยาเสพติด ครั้งที่ 5 ณ ประเทศสิงคโปร์ เพื่อหารือ “แผนปฏิบัติการอาเซียนปลอดภัย จากยาเสพติด ปี 2559-2568” เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2559 พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้มอบหมายให้พลเอก นิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวงยุติธรรม เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทย เข้ า ร่ ว มการประชุ ม รั ฐ มนตรี อ าเซี ย นด้ า นยาเสพติ ด ครั้ ง ที่ 5 ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ โดยในพิ ธี เ ปิ ด การประชุ ม นายจั น มุ กั ม กาศิ วิ ส วั น นาธั น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและกฎหมายแห่งสาธารณรัฐ สิ ง คโปร์ ประธานการประชุ ม ได้ ก ล่ า วแสดงความเสี ย ใจ

26

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กองบรรณาธิการ


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ต่อการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมทั้งกล่าวว่าไม่ใช่เป็นเพียง การสู ญ เสี ย ของประเทศไทยเท่ า นั้ น แต่ ยั ง เป็ น การสู ญ เสี ย ของประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น พระองค์ ทรงเป็ น ต้ น แบบในการแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ท า ง เ ลื อ ก เพื่อลดความยากจนของประชาชน และแก้ไขปัญหา การปลู ก ฝิ่ น ขอให้ ป ระเทศสมาชิ ก อาเซี ย นยึ ด ถื อ เป็ น แบบอย่ า งในการแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ต่ อ ไป ซึ่งหัวหน้าคณะผู้แทนทุกประเทศได้แสดงความเสียใจ กับประเทศไทยด้วยเช่นกัน ในคำ�กล่าวของประธานการประชุมฯ และหัวหน้าคณะ ผู้แทนจากประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่ได้กล่าวถึง กลไกความร่วมมือด้านยาเสพติดที่สำ�คัญของอาเซียน เช่ น โครงการสกั ด กั้ น ยาเสพติ ด ณ ท่ า อากาศยาน สากลในอาเซี ย น (AAITF) ที่ ริ เริ่ ม โดยประเทศไทย โครงการสกัดกั้นยาเสพติด ณ ท่าเรือสากลในอาเซียน (SITF) ที่ ริ เ ริ่ ม โดยประเทศอิ น โดนี เซี ย โครงการ สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. อาเซี ย น (ASEAN-NARCO) และโครงการเครื อ ข่ า ยอาเซี ย นเฝ้ า ระวั ง ยาเสพติ ด ที่ริเริ่มโดยประเทศไทย โดยที่ประชุมฯ ได้มีมติ ดังนี้ 1. ที่ ป ระชุ ม ได้ ร่ ว มกั น รั บ รองแผนปฏิ บั ติ ก าร อาเซี ย นเพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงให้ อ าเซี ย นปลอดภั ย จากยาเสพติ ด ปี 2016-2025 ซึ่ ง มี แ ผนงานย่ อ ย ที่ สำ�คั ญ คื อ การแก้ ปั ญ หายาเสพติ ด ในสามเหลี่ ย ม ทองคำ� ซึ่ ง เป็ น แนวทางที่ พ ลเอก ไพบู ล ย์ คุ้ ม ฉายา รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ก ล่ า วเรี ย กร้ อ ง ในพิ ธี เ ปิ ด การประชุ ม เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ สอาเซี ย น

ด้านยาเสพติด (ASOD) ครั้งที่ 37 ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา คือ ให้ประเทศในอาเซียน ให้ความสำ�คัญกับการแก้ไขปัญหาในสามเหลี่ยมทองคำ� และบรรจุลงในแผนปฏิบัติการอาเซียนฯ ระยะ 10 ปี การประชุมในครั้งนี้ ประเทศไทยได้เสนอเอกสาร แนวคิ ด ความร่ ว มมื อ อาเซี ย นในการแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติ ด ในสามเหลี่ ย มทองคำ� ซึ่ ง ได้ รั บ การชื่ น ชม จากที่ ป ระชุ ม และได้ รั บ ความเห็ น ชอบและสนั บ สนุ น จากประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศเป็นอย่างดี ทั้ ง นี้ ที่ ป ระชุ ม ได้ ม อบให้ ร ะดั บ เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส อาเซี ย นด้ า นยาเสพติ ด (ASOD) ไปจั ด การประชุ ม กลุ่มย่อยเพื่อหารือในรายละเอียดของการดำ�เนินงาน ที่ ประเทศอาเซี ย นจะมี ค วามร่ ว มมื อ ในการแก้ ปัญหา ยาเสพติดในสามเหลี่ยมทองคำ�ตามแนวคิดที่เสนอโดย ประเทศไทยดังกล่าวเป็นการเฉพาะ เพื่อดำ�เนินการ ต่อไป และการเข้ามาให้ความช่วยเหลือของประเทศ อาเซี ย นที่ มี ศั ก ยภาพ ซึ่ ง จะทำ�ให้ แ ต่ ล ะประเทศ สามารถพิ จ ารณาให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ได้ อ ย่ า งชั ด เจน ประเทศไทย โดยสำ�นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จึงรับเป็นเจ้าภาพ จั ด การประชุ ม เพื่ อ จั ด ทำ�แผนปฏิ บั ติ ก ารด้ า นความ ร่ ว มมื อ ในการแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ในสามเหลี่ ย ม ทองคำ� ซึ่ ง จะเป็ น การประชุ ม ระดั บ เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส คื อ หั ว หน้ า หน่ ว ยงานยาเสพติ ด ของอาเซี ย น ประมาณต้นเดือนมกราคม 2560 2. ที่ประชุมฯ รับทราบความคืบหน้าการพิจารณา บทบาทและอำ�นาจหน้ า ที่ (TOR) ของโครงการ ความร่ ว มมื อ อาเซี ย น-จี น (ACCORD) ซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม ASOD ครั้งที่ 37 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อเดือนสิงหาคม 2559 ณ กรุงเทพฯ ได้ให้การรับรองแล้ว Justice Magazine Ministry of Justice

27


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

3. ที่ ป ระชุ ม ฯ ได้ เ ห็ น ชอบที่ จ ะยื น ยั น จุ ด ยื น ของอาเซี ย น คื อ ยั ง คงยึ ด มั่ น ในการเป็ น เขตปลอด ยาเสพติ ด และใช้ ม าตรการไม่ อ ดกลั้ น ต่ อ ยาเสพติ ด (zero-tolerance) และความสมดุ ล ระหว่ า ง ด้านลดอุปสงค์และลดอุปทานยาเสพติด แต่จะเคารพ ในอำ�นาจอธิ ป ไตยของแต่ ล ะประเทศในการกำ�หนด นโยบายที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศของตนในการแก้ ไข ปั ญ หายาเสพติ ด ตามที่ ไ ด้ ป ระกาศแสดงจุ ด ยื น ไว้ ใ น เวที ค ณะกรรมาธิ ก ารยาเสพติ ด แห่ ง สหประชาชาติ (CND) สมัยที่ 59 และที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมั ย พิ เ ศษว่ า ด้ ว ยปั ญ หายาเสพติ ด โลก ค.ศ. 2016 (UNGASS 2016) ที่ผ่านมา 4. ที่ ป ระชุ ม ฯ ยั ง มอบหมายให้ เจ้ า หน้ า ที่ อ าวุ โ ส อาเซี ย นด้ า นยาเสพติ ด (ASOD) เตรี ย มการสำ�หรั บ การรายงานผลการปฏิ บั ติ ต ามแผนแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติดของสหประชาชาติ ระยะ 10 ปี ซึ่งจะสิ้นสุดลง ในปี ค.ศ. 2019 และให้เตรียมจัดทำ�ท่าทีของอาเซียน ร่ ว มกั น สำ�หรั บ การประชุ ม ระดั บ สู ง ของการประชุ ม คณะกรรมาธิการยาเสพติดแห่งสหประชาชาติ (CND) ที่จะจัดขึ้นในปี ค.ศ. 2019 (พ.ศ. 2562) เหมือนเช่น

28

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ที่อาเซียนมีท่าทีร่วมกันในการประชุมคณะกรรมาธิการ ย า เ ส พ ติ ด แ ห่ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ส มั ย ที่ 5 9 และการประชุม UNGASS 2016 และให้มีการรายงาน ความคืบหน้าผลการเตรียมการสำ�หรับการจัดทำ�ท่าที ดังกล่าวในการประชุม AMMD ครั้งที่ 6 ซึ่งประเทศ เวียดนามจะเป็นเจ้าภาพในปี ค.ศ. 2018 5. ที่ ป ระชุ ม ฯ เห็ น ชอบกั บ ถ้ อ ยแถลงสรุ ป ผล การประชุม AMMD ครั้งที่ 5 ของประธานที่ประชุม ซึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง กลไกความร่ ว มมื อ ที่ มี อ ยู่ ข้ อ เสนอ แนวคิ ด ความร่ ว มมื อ อาเซี ย นในการแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติ ด ของประเทศไทย และข้ อ ห่ ว งกั ง วลของ ประเทศอาเซี ย นต่ อ ปั ญ หายาเสพติ ด ในภู มิ ภ าค และในสามเหลี่ยมทองคำ� รวมทั้งจุดยืนของอาเซียนต่อ ปัญหายาเสพติด 6. ประเทศเวียดนามจะเป็นเจ้าภาพในการประชุม ครั้งที่ 6 ในปี พ.ศ. 2561 ในการกล่ า วถ้ อ ยแถลงก่ อ นปิ ด การประชุ ม พลเอก นิ วั ต ร มี น ะโยธิ น ผู้ ช่ ว ยรั ฐ มนตรี ป ระจำ� กระทรวงยุติธรรม ได้ขอบคุณทุกประเทศที่สนับสนุน ให้ มี แ ผนการแก้ ไ ขปั ญ หาในสามเหลี่ ย มทองคำ� และเชิ ญ ให้ รั ฐ มนตรี ป ระเทศอาเซี ย นมาเยี่ ย มชม

ศู น ย์ ป ระสานงานแม่ นํ้ า โขงปลอดภั ย ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ นอกจากนี้ ประเทศไทยนำ�โดยผู้ ช่ ว ย รั ฐ มนตรี ป ระจำ�กระทรวงยุ ติ ธ รรม ยั ง ได้ ห ารื อ นอกรอบกั บ รั ฐ มนตรี หั ว หน้ า คณะผู้ แ ทนประเทศ ลาว เมียนมา มาเลเซีย และสิงคโปร์ โดยเรียกร้องให้ ประเทศมาเลเซี ย และสิ ง คโปร์ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ การแก้ ปั ญ หายาเสพติ ด ในสามเหลี่ ย มทองคำ� โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การช่ ว ยเหลื อ ประเทศเมี ย นมา และลาว ซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ข้ อ สั ง เกตจากการประชุ ม ฯ ครั้ ง นี้ มี ว าระ ข้ อ เ ส น อ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า ยาเสพติ ด ในสามเหลี่ ย มทองคำ�เป็ น วาระเดี ย วที่ เ ป็ น ข้ อ เสนอใหม่ (initiative) ซึ่ ง สร้ า งความโดดเด่ น ใ น ก า ร เ ป็ น ผู้ นำ� ใ น ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า ย า เ ส พ ติ ด ในอาเซี ย นของประเทศไทย ในเวที ป ระชุ ม ระดั บ รัฐมนตรีอาเซียนด้านยาเสพติด แต่อย่างไรก็ตาม สิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ นัน้ คือ การจับมือกัน ของกลุ่มสมาชิกอาเซียนในการสร้างกลไกเพื่อขับเคลื่อน ความร่วมมือแก้ไขปัญหายาเสพติดบนเวทีการประชุม ครั้ ง นี้ ซึ่ ง นั บ เป็ น อี ก ครั้ ง ที่ ป ระสบความสำ�เร็ จ และ จะต้องดำ�เนินต่อไปอย่างยั่งยืน

Justice Magazine Ministry of Justice

29


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

ยธ. ร่วมจัดกิจกรรมรวมพลังแห่งความภักดี นายวี ร ะพล ตั้ ง สุ ว รรณ ประธานศาลฎี ก า เป็ น ประธานในกิ จ กรรมรวมพลั ง แห่ ง ความภั ก ดี ซึ่งจัดขึ้นโดยกระทรวงยุติธรรม ร่วมกับส�ำนักงานอัยการ สูงสุด ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม และบริษัทธนารักษ์ พัฒนาสินทรัพย์ จ�ำกัด เพือ่ แสดงพลังแห่งความจงรักภักดี ต่อพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ทุกพระองค์ และร่วมร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ ปีที่ 89 โดยการถวายสัตย์ปฏิญาณตน และร่วมร้องเพลง สรรเสริญพระบารมีอย่างพร้อมเพรียง

ขับเคลื่อนนโยบาย “ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน” ในพื้นที่ภาคใต้ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ในพิธเี ปิดโครงการ “ยุตธิ รรมสูห่ มูบ่ า้ น น�ำบริการรัฐสูป่ ระชาชน ครัง้ ที่ 2” เพือ่ มอบนโยบายการท�ำงานเชิงบูรณาการด้านการอ�ำนวยความยุตธิ รรม แก่ประชาชนในระดับพืน้ ที่ ตลอดจนรับทราบผลการด�ำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นจาก ภาคประชาชนและส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมพืน้ ทีภ่ าคใต้ ทงั้ นี้ เพื่อให้ส่วนราชการน�ำไปปฏิบัติและปรับปรุงการปฏิบัติราชการให้มี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อประชาชน สังคม และประเทศชาติอย่างยัง่ ยืน

ต้อนรับผู้แทน OHCHR พร้อมหารือเรื่องสิทธิมนุษยชน นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับ นายโลคอง เมย์ยอง รักษาการผู้แทนส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิ มนุษยชนแห่งองค์การสหประชาชาติ (OHCHR) ส�ำนักงานภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมคณะ ในโอกาสเข้าเยีย่ มคารวะและหารือเกีย่ วกับ ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย โดยมีนางสาวปิตกิ าญจน์ สทิ ธิเดช อธิบดีกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ พันต�ำรวจเอก ไพสิฐ วงศ์เมือง อธิบดี กรมสอบสวนคดีพิเศษ พร้อมด้วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมฯ ณ ห้องรับรองชั้น 2 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ

30

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ให้ความช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย นางสาวปิตกิ าญจน์ สิทธิเดช อธิบดีกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนทางกฎหมาย และบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทาง วิชาการ ระหว่างกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ ส�ำนักงานกองทุน ยุตธิ รรม คณะนิตศิ าสตร์มหาวิทยาลัยต่าง ๆ และสมาคมบัณฑิตสตรี ทางกฎหมายแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินปู ถัมภ์ เพือ่ ร่วมกัน พัฒนาระบบ กลไก มาตรการ และมาตรฐาน ให้ประชาชนได้รบั บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการให้คำ� ปรึกษาและช่วยเหลือประชาชน

ปิดอบรมหลักสูตรผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น (บธต.) นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน ในพิ ธี มอบประกาศนี ย บั ต ร เข็ มวิ ท ยฐานะและปิ ด การฝึกอบรม หลักสูตรผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น (บธต.) รุ่นที่ 26 โดยมี ข้า ราชการในสั งกัดกระทรวงยุติธ รรมที่ส� ำเร็จ การฝึกอบรมและ เข้ารับประกาศนียบัตร จ�ำนวน 40 ราย ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความรู้ และสมรรถนะเบื้องต้นในการเป็นผู้บริหาร รวมทั้งเป็นก�ำลังหลัก ในการขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ในภาพรวมของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ณ โรงแรมอมารี แอร์พอร์ต ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร

ร่วมกิจกรรมรวมพลังส่งเสริมสุขภาพ สร้างพลังสุขในการทำ�งาน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม น�ำคณะผู้บริหาร ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่กระทรวง ยุตธิ รรม ร่วมกิจกรรมออกก�ำลังกายเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ทุกคนให้มีสุขภาพร่างกายที่ดีและมีความผ่อนคลาย จากการท� ำ งาน พร้ อ มมุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาการท� ำ งาน เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ความยุ ติ ธ รรมอย่ า งทั่ ว ถึ ง และเท่ า เที ย ม ณ บริ เ วณลานหน้ า ทางเข้ า อาคาร กระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ Justice Magazine Ministry of Justice

31


กองบรรณาธิการ

คนยุตธิ รรม

ข้าราชการ ของ

แผ่นดิน “พยุงศักดิ์ กาฬมิค” ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 4

32

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


คนยุติธรรม

ในช่วงที่ผ่านมา เชื่อว่าหลายๆ ท่าน คงเคยได้เห็นภาพถ่าย “เด็กน้อยทีค่ กุ เข่าโน้มตัวเข้าไปก้มกราบพระบาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช” นับเป็นภาพทีส่ ร้างความประทับใจ ให้คนไทยหลาย ๆ คน และคอลัมน์ “คนยุตธิ รรม” ฉบับนี้ ได้มโี อกาส พูดคุยกับ “เด็กชาย” ในภาพถ่ายพระราชกรณียกิจ “ในหลวง รั ช กาลที่ 9” ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ได้ เ ติ บ โตเป็ น ข้ า ราชการของแผ่ น ดิ น ในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 4 กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม “นายพยุงศักดิ ์ กาฬมิค” เกี่ยวกับการดำ�เนินงานในฐานะข้าราชการของแผ่นดินตามรอย เบือ้ งพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช นายพยุงศักดิ์ เล่าให้ฟงั ว่า ตนเกิดทีจ่ งั หวัดยะลา แต่ปจั จุบนั อาศัย อยู่ในจังหวัดสงขลา เนื่องจากดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 4 ซึ่งมีสถานที่ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา โดยรับผิดชอบภารกิจเกี่ยวกับเรื่องสิทธิและเสรีภาพที่ประชาชน พึงได้รบั ตามกฎหมาย โดยการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรูเ้ รือ่ งสิทธิ และเสรีภาพ การคุ้มครองพยาน การช่วยเหลือเยียวยาเบื้องต้นแก่ ผูเ้ สียหายและจำ�เลยในคดีอาญา การไกล่เกลีย่ ระงับข้อพิพาทในชุมชน รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ให้คำ�ปรึกษากฎหมาย ตลอดจนดูแล คุม้ ครองหลักประกันสิทธิและเสรีภาพให้เกิดแก่ประชาชนในพืน้ ทีภ่ าคใต้ เมือ่ ถามถึงทีม่ าของภาพแห่งความประทับใจของคนไทยหลาย ๆ คน นายพยุงศักดิ์เล่าว่า คุณพ่อของตนรับราชการทหาร สมัยเด็กจึงได้ อาศัยอยู่ในค่ายอิงคยุทธบริหาร อำ�เภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี อยู่ข้างสนามบินบ่อทอง ที่ซึ่งไปรอเฝ้ารับเสด็จกับคุณแม่ ตอนนั้น ในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จมาบ่อยครั้ง จึงทำ�ให้มโี อกาสไปรอรับเสด็จค่อนข้างบ่อย คุณแม่ของตนเคยบอกให้ไป ถวายความจงรักภักดีอยูบ่ อ่ ยครัง้ ในตอนไปรับเสด็จ จนกระทัง่ วันหนึง่ มีโอกาสไปรับเสด็จอีกจึงเข้าไปกราบพระบาทในหลวงรัชกาลที่ 9 ทัง้ นี้ ด้วยเหตุที่เป็นครอบครัวทหารจึงซึมซับความจงรักภักดีมาโดยตลอด ประกอบกับการที่อยู่ในสภาพแวดล้อมของค่ายทหาร ทำ�ให้เห็นถึง ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์เสมอมา

ผมเห็นภาพนี้มาตั้งแต่เด็ก ๆ... รู้สึกว่าตนเอง ช่างโชคดีที่สุดในชีวิต ที่ได้กราบพระบาทในหลวงอันเป็นที่รัก ของชาวไทย และถือเป็นโชคดีอีกครั้ง ที่ได้รับราชการทำ�งานเพื่อแผ่นดิน ในการช่วยเหลือประชาชน

Justice Magazine Ministry of Justice

33


คนยุตธิ รรม

34

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


คนยุติธรรม

“ต่างคนต่างมีหน้าที่ แต่ก็ ไม่ได้หมายความว่าแต่ละคนที่ต่างคน ต่างมีหน้าที่ทำ�เฉพาะหน้าที่นั้น เพราะว่าถ้าคนหนึ่งคนใดทำ�หน้าที่ เฉพาะในเรื่องนั้น ไม่มองไม่แลคนอื่น งานก็ดำ�เนินไปไม่ได้ เพราะเหตุว่า งานทุกงานจะต้องพาดพิงกัน จะต้องเกี่ยวโยงกัน ฉะนั้น แต่ละคน ก็ต้องมีความรู้ถึงงานของผู้อื่นแล้วก็ช่วยกันทำ�” พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2533

Justice Magazine Ministry of Justice

35


คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

นางสาวเปรมยุดา ตันติกนกพร หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

การควบคุมภายในที่ดี

กับวิถีของการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพมีพันธกิจในการส่งเสริม คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและหลักการสิทธิมนุษยชน โดยการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีความสมานฉันท์ ได้รับการคุ้มครอง และมีหลักประกันด้านสิทธิเสรีภาพในระดับสากล ซึง่ เป็นภารกิจหลักทีก่ รมคุม้ ครองสิทธิฯ ได้รบั ผิดชอบอย่างเต็มความสามารถตามอำ�นาจ หน้าที่มาตั้งแต่ พ.ศ. 2545 โดยมีกระบวนการทำ�งานหลายกระบวนงานในความรับผิดชอบ ตัง้ แต่กระบวนงานส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพ การจัดทำ�และพัฒนาแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ การให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย การรับเรื่องราวร้องทุกข์ การส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องหา ชั้นสอบสวนในคดีอาญา การช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำ�เลยในคดีอาญา การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตลอดจนการไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท

36

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

เห็นได้ว่าภารกิจจำ�นวนไม่น้อยที่กรมคุ้มครองสิทธิฯ รับหน้าทีด่ แู ลและบริการประชาชนมาตลอดนัน้ ล้วนเป็น ภารกิจอันใหญ่หลวง ซึ่งข้อผิดพลาดเพียงเล็กน้อยอาจ ส่งผลกระทบต่อสิทธิทปี่ ระชาชนพึงได้รบั ได้ โดยทีผ่ า่ นมา ทุกกระบวนการปฏิบัติยังมีกระบวนการที่เรียกได้ว่าเป็น หัวใจสำ�คัญในการทำ�งานมาโดยตลอด คือ “การควบคุม ภายใน” หรือ “การจัดวางระบบการควบคุมภายใน” ที่หลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับภารกิจหลัก จำ�กั ด ความของการควบคุ ม ภายในนั้ น คื อ กระบวนการปฏิบตั งิ านทีจ่ ดั ให้มขี นึ้ ในองค์กรเพือ่ ให้บรรลุ ภารกิจอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เป็นปัจจัยสำ�คัญ ที่จ ะช่ ว ยป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ย งจากการผิ ด พลาด ความเสียหาย ไม่วา่ จะในรูปของความสิน้ เปลือง ความสูญเปล่า ของการใช้ทรัพย์สิน หรือการกระทำ�อันเป็นการทุจริต การจัดวางระบบการควบคุมภายใน ต้องมีการเลือกใช้ ให้ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะและขนาดของหน่ ว ยงาน อาจเน้นหนักไปในบางเรือ่ งทีเ่ หมาะสมกับรูปแบบองค์กร ซึ่งหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ในปัจจุบันโดยส่วนมากจะมี การควบคุมภายในอยู่แล้ว โดยดำ�เนินการตามมาตรฐาน การควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เกี่ยวกับการควบคุมภายในกำ�หนดไว้ โดยให้รายงานผล ต่ อ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น คณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมิ น ผลภาคราชการเกี่ ย วกั บ การควบคุมภายในปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วันนับจาก วันสิ้นปีงบประมาณของทุกปี

สำ�หรับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีการจัดวาง ระบบการควบคุ ม ภายในให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ตามมาตรฐานการควบคุมภายในที่สำ�คัญอย่างครบถ้วน ทั้ง 5 องค์ประกอบ คือ 1. สภาพแวดล้ อ มของการควบคุ ม (Control Environment) โดยกรมสร้างสภาพแวดล้อมที่ทำ�ให้ บุคลากรในกรมมีความรับผิดชอบและเข้าใจขอบเขต อำ�นาจหน้ า ที่ ข องตนเอง มี ค วามรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำ�เป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับ มอบหมาย นอกจากนี ้ กรมได้กำ�หนดนโยบายและแนวทาง การปฏิบตั งิ าน รวมถึงข้อกำ�หนดด้านจริยธรรม โดยเฉพาะ ในเรื่ อ งความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เกี่ ย วกั บ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การควบคุมดูแล และการติดตามผล ให้บุคลากรของกรมยึดถือ ยอมรับและปฏิบัติตาม

Justice Magazine Ministry of Justice

37


คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

2.การประเมินความเสีย่ ง (RiskAssessment) เป็นการระบุ ปั จ จั ย เสี่ย ง และวิ เ คราะห์ ค วามเสี่ย งอย่ า งเป็ น ระบบ ในการปฏิบตั งิ านประจำ�วันและการบริหารโครงการทีก่ รม ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ จะต้องมีการวิเคราะห์ระดับ ความเสีย่ งอย่างสมา่ํ เสมอ จากการประเมินโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ และผลกระทบทีไ่ ด้รบั และกำ�หนดวิธกี ารจัดการความเสีย่ ง ทีจ่ ะมีผลกระทบทำ�ให้การดำ�เนินงานไม่สำ�เร็จ 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กรมวางระบบให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลในขณะปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสียหาย ความผิดพลาดทีอ่ าจเกิดขึน้ เช่น จะต้อง แบ่งแยกหน้าทีง่ านภายในกรมอย่างชัดเจน ไม่มอบหมายงาน ให้ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบปฏิ บั ติ ง าน ที่สำ�คัญหรืองานที่เสี่ยงต่อความเสียหายตั้งแต่ตน้ จนจบ แต่ถา้ มีความจำ�เป็นให้กำ�หนดกิจกรรมทีเ่ หมาะสมทดแทน 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) กรมจัดให้มีข้อมูลและสารสนเทศ อย่างเพียงพอเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานในรูปแบบ

Risk Con กิจกร

trol

รมกา

A

ระเมิน sses ความ sm เสี่ยง en t

การป

Acti

รควบ

คุม

Con

trol

สภาพ nviro แวดล nm อมขอ en งการค t วบคุม

vitie

Mo

การต nitor ิดตาม ing ประเม ินผล

s Info

rma

tion

and

E

Com

mun

สารส

icati

ละการ ons สื่อสา ร

นเทศแ

38

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ทีเ่ หมาะสม ทันสมัยและทันเวลา และสื่อสารให้บคุ ลากร ทุ ก ระดั บ สามารถเข้ า ถึ ง และนำ�ไปใช้ ป ระโยชน์ ในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพได้ 5. การติ ด ตามประเมิ น ผล (Monitoring) กรมมีระบบการติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน และการประเมินผลรายครั้งอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า ระบบการควบคุมภายในทีว่ างไว้เพียงพอ เหมาะสม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง และการควบคุ ม ภายในได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำ�ให้ เป้าหมายการทำ�งานสำ�เร็จได้เป็นอย่างดี จากการที่ ก รมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพได้ มี การนำ�มาตรฐานการควบคุมภายในที่กำ�หนดมาใช้ เพือ่ ให้กระบวนการทำ�งานเกิดประสิทธิผลสูงสุด เช่นนัน้ แล้ว ประชาชนจึงมั่นใจได้ว่าจะได้รับผลผลิตหรือบริการ จากการปฏิบัติภารกิจของกรม ที่จะคุ้มครองสิทธิและ เสรี ภ าพอั น พึ ง มี พึ ง ได้ ตามกฎหมายและหลั ก การ สิทธิมนุษยชนที่สมบูรณ์และคุ้มค่าอย่างแน่นอน


กำ�แพงมิอาจกัน้

กองบรรณาธิการ

ยธ.เปิดตัว DJOP CENTER ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ ฝีมือเด็กและเยาวชน ภายใต้แบรนด์ DJOP เด็กและเยาวชนทีอ่ ยูใ่ นสถานพินจิ ฯ แม้วา่ จะได้ รับ การบำ � บั ด แก้ ไ ข ตลอดจนถึ ง การเตรียมความพร้อมทุกอย่างเพื่อให้ กลั บ ออกไปดำ � เนิ น ชี วิต อย่ า งปกติ ช น คนทั่วไป แต่ถึงกระนั้นก็ ใช่ว่าจะราบรื่น ด้วยต้องดิ้นรนในการหาเลี้ยงชีพและ ครอบครั ว การเกิ ด ขึ้น ของ DJOP CENTER จึงน่าจะเป็นการนำ�พวกเขา กลับสู่สังคมได้อย่างเต็มภาคภูมิ

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน มีหน้าที่ควบคุมดูแลเด็ก และเยาวชนทัง้ ทีศ่ าลยังไม่มคี ำ�พิพากษา และทีศ่ าลมีคำ�พิพากษาแล้ว โดยเน้นการบำ�บัดแก้ไขฟืน้ ฟูทง้ั ด้านการให้การศึกษาวิชาสามัญ การฝึก วิชาชีพระยะสั้น การพัฒนาพฤตินิสัย การดูแลสุขภาพร่างกายและ การเยียวยาสภาพจิตใจ การดำ�เนินชีวติ สงเคราะห์ชว่ ยเหลือ ตลอดจน การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยเด็กและเยาวชน การจัดทำ�แผนการ ภายหลังปล่อยร่วมกันระหว่างเด็กและเยาวชน และผูป้ กครอง ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ มุง่ ทีจ่ ะคืนเด็กดีสสู่ งั คม อย่างไรก็ตาม แม้วา่ เด็กและเยาวชนจะได้รบั การบำ�บัดแก้ไขฟืน้ ฟู และเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยทุกราย ซึง่ เด็กและเยาวชนต่างมุง่ มัน่ Justice Magazine Ministry of Justice

39


กำ�แพงมิอาจกัน้

ตัง้ ใจทีจ่ ะกลับตนเป็นคนดี และคาดหวังว่าจะดำ�เนินชีวติ อย่าง ปกติสุข แต่เมื่อกลับไปดำ�เนินชีวิตจริงในสังคม พบว่า ส่วนใหญ่มีสภาพครอบครัวที่ต้องดิ้นรน ประกอบอาชีพ หาเลีย้ งครอบครัว เพือ่ ต่อสูก้ บั ค่าครองชีพทีส่ งู ขึน้ กอปรกับ ก่อนถูกจับกุมเด็กและเยาวชนมักจะออกจากระบบการศึกษา เมือ่ ปล่อยตัวไป ต้องเข้าสูต่ ลาดแรงงานหากเด็กและเยาวชน ที่มีพ้นื ฐานการศึกษาและมีความสามารถพิเศษก็อาจจะ หางานได้งา่ ย ส่วนเด็กและเยาวชนทีไ่ ด้รบั การปล่อยตัวแล้ว ยังไม่ได้ประกอบอาชีพเป็นกิจจะลักษณะ ประสบปัญหาว่างงาน จึงเป็นสาเหตุหนึง่ ทีน่ ำ�ไปสูก่ ารกระทำ�ผิดซํา้ จากเหตุผลดังกล่าวเป็นแรงผลักดันให้กรมพินิจและ คุม้ ครองเด็กและเยาวชน จุดประกายนโยบายและแนวความคิด ในการสร้างนวัตกรรมเพือ่ เป็นการต่อยอดให้เด็กและเยาวชน สามารถประกอบอาชีพ หรือสร้างรายได้ในช่องทางและ รูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของแรงงาน และ ความเจริญเติบโตของโลกยุคโลกาภิวตั น์ ซึง่ มีตน้ ทุนวิทยาการ องค์ความรู้ ทักษะฝีมือ ความชำ�นาญ จากการฝึกฝน ฝึกปฏิบตั ขิ องเด็กและเยาวชนในการฝึกอาชีพแขนงต่างๆ จากสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน หรือศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน ซึง่ สอดรับกับนโยบายเร่งด่วน ของกระทรวงยุตธิ รรม ภายใต้แผนแม่บทบริหารกระบวนการ ยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2558-2561) ในการ

40

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ขับเคลือ่ นกระบวนการยุตธิ รรมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เรื่อง“การพัฒนาระบบแก้ไขฟื้นฟูผ้กู ระทำ�ความผิดและ การช่ ว ยเหลื อ ผู้พ้น โทษ” กรมพิ นิจ และคุ้ม ครองเด็ ก และเยาวชน จึงได้จดั ทำ�โครงการ DJOP Center ขึน้ โครงการ DJOP Center มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็ก และเยาวชนได้มคี วามภาคภูมใิ จ เห็นคุณค่าตนเองจากการ ใช้ความรู้ความสามารถ ทักษะความชำ�นาญจากการ ฝึกวิชาชีพมาใช้ประกอบอาชีพและหารายได้ สามารถ ประกอบอาชีพและมีรายได้ผา่ นระบบและรูปแบบของ DJOP Center เพือ่ ให้กรมพินจิ ฯ เกิดนวัตกรรมในการลดการกระทำ� ความผิดซา้ํ ของเด็กและเยาวชนทีไ่ ด้รบั การปล่อยตัว และ เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์หรือการบริการของเด็กและเยาวชนของ กรมพินิจฯ ภายใต้แบรนด์ DJOP จาก DJOP Center เป็นทีร่ จู้ กั และมีสว่ นแบ่งทางการตลาด โดยกลุม่ เป้าหมายเป็นเด็กหรือเยาวชนในความควบคุม ของกรมพินจิ ฯ ทีไ่ ด้รบั การฝึกวิชาชีพ ฝึกทักษะการให้บริการ ในหลั ก สู ต รที่ มี ก ารรองรั บ จากสถาบั น การศึ ก ษา หรือสถานประกอบการทีเ่ ข้าร่วมการดำ�เนินงานของ DJOP Center ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-60 จำ�นวน 5,000 คน โดยมีเด็กหรือเยาวชนทีไ่ ด้รบั การปล่อยตัวจากกรมพินจิ ฯ เข้ า ร่ ว มการดำ�เนิ น งาน ในปี ง บประมาณเดี ย วกั น จำ�นวน 2,000 คน


ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั จากโครงการนีค้ อื เด็กและเยาวชน มีความภาคภูมใิ จ เห็นคุณค่าของตนเองจากการใช้ความรู้ ความสามารถ ทักษะความชำ�นาญจากการฝึกวิชาชีพ มาใช้ประกอบอาชีพและหารายได้อย่างยั่งยืน กรมพินิจ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนมีสถิตใิ นการกระทำ�ความผิดซา้ํ ของเด็กและเยาวชนลดลงเหลือร้อยละ 10 ผลิตภัณฑ์ หรื อ การบริ ก ารของเด็ ก และเยาวชนของกรมพิ นิจ ฯ ภายใต้แบรนด์ DJOP จาก DJOP Center เป็นที่ร้จู ัก และเป็นทีต่ อ้ งการของตลาด นางกิง่ กาญจน์ บุญประสิทธิ์ รองอธิบดีกรมพินจิ และคุ้ม ครองเด็ ก และเยาวชน กล่ า วในการประชุ ม “คณะกรรมการจัดตัง้ และบริหารงานศูนย์จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ฝีมือเด็กและเยาวชน (DJOP SHOP)” เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องประชุมกรมพินจิ และคุม้ ครองเด็ก และเยาวชน ว่ากรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนมี นโยบายในการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างอาชีพและรายได้ ให้แก่เด็กและเยาวชนที่อยู่ในความดูแล รวมทั้งเด็กและ เยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวแล้ว ให้มีความรู้และทักษะ ด้ า นต่ า งๆ จากการพั ฒ นาพฤติ นิสัย สามารถนำ�ไป ประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว อย่างยัง่ ยืน โดยไม่หวนกลับมากระทำ�ความผิดซา้ํ ปัจจุบนั การดำ�เนิ น นโยบายดั ง กล่ า วมี ค ณะกรรมการจั ด ตั้ ง

และบริหารงานศูนย์จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ฝมี อื เด็กและเยาวชน (DJOP) เป็นหน่วยขับเคลือ่ น และดำ�เนินการด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือและผลิตภัณฑ์ ฝีมือเด็กและเยาวชน โดยการสำ�รวจและรวบรวมข้อมูล ผลิตภัณฑ์ของเด็กและเยาวชนในแต่ละศูนย์ฝกึ และอบรมเด็ก และเยาวชน และสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย 1) กลุม่ ผลิตภัณฑ์ฝมี อื เช่น เครือ่ งจักสาน กรอบรูปงานไม้ 2) กลุม่ ผลิตภัณฑ์ทางช่างฝีมอื เช่น ช่างไม้ 3) กลุม่ ทักษะความสามารถของเด็กและเยาวชน 2. ด้านการส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์ฝีมือเด็กและเยาวชน โดยจัดให้มีการประกวด ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แสดงถึงผลิตภัณฑ์ฝมี อื เด็กและเยาวชน และศูนย์ DJOP รวมถึงการจัดทำ�เว็บเพจ/เฟสบุค๊ เป็นต้น เพือ่ ประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์และศูนย์ DJOP ให้ประชาชนทัว่ ไปรับทราบ 3. ด้านการบริหารจัดการศูนย์จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ฝมี อื เด็ก และเยาวชน ปัจจุบนั มีการเตรียมความพร้อมในการจัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ฝมี อื เด็กและเยาวชนในช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ จำ�หน่ายสินค้าออนไลน์ การจัดหาสถานทีจ่ ดั จำ�หน่าย เป็นต้น การดำ�เนินงานของ DJOP CENTER จึงถือเป็นการส่งเสริม และสร้างภูมคิ ม้ ุ กันให้เด็กและเยาวชนทีอ่ ยูใ่ นการดูแลของ กรมพินจิ ฯ ให้กลับสูส่ งั คมภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ Justice Magazine Ministry of Justice

41


ยุตธิ รรมเพือ่ ประชาชน

ว่าที่ร้อยโท ชีวีวัฒน์ หวานอารมย์ นิติกรชำ�นาญการ หัวหน้ากลุ่มงานช่วยเหลือประชาชนสำ�นักงานกองทุนยุติธรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

การเปลี่ยนผ่านหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 “คุกมีไว้ขงั คนจน” กลายเป็นคำ�พูดติดปากของคนในสังคม เมือ่ เกิดบทสนทนา หรือประเด็นทีเ่ กีย่ วกับกระบวนการยุตธิ รรมไทย แสดงให้เห็นถึงความรูส้ กึ ทีเ่ กิดจากความเหลือ่ มล้�ำ ทางสังคมระหว่าง “คนจน” และ “คนรวย” ได้อย่างชัดเจน ข้อมูลสำ�คัญที่จำ�เป็นต้องทราบคือ ประเทศไทยได้จัดตั้งกองทุน ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่ต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมภายใต้ชื่อ “กองทุนยุติธรรม” ซึ่งมีสถานะเป็นนิติบุคคลหลังจากที่รัฐบาลเสนอ กฎหมายผ่ านสภานิ ติบัญ ญัติแ ห่งชาติอนุมัติเป็น พระราชบั ญญั ติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการตั้งแต่ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา เพื่อช่วยเหลือประชาชน ในด้านการดำ�เนินคดีการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน การให้ความรู้ ทางกฎหมายแก่ ป ระชาชน รวมถึ ง ยื่ น ขอรั บ ความช่ ว ยเหลื อ เพื่อขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำ�เลยซึ่งการช่วยเหลือที่กล่าวมา หลังสุดนี้เองคือประเด็นน่าสนใจที่หยิบยกมาคุยกันในฉบับนี้

42

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ยุติธรรมเพื่อประชาชน

หากยั ง จำ�กั น ได้ หนึ่ ง ในคดี ท่ี ไ ด้ รั บ การจั บ ตามองและเป็ น ที่ ส นใจจากสั ง คม เป็ น อย่ า งมากเมื่อ พ.ศ. 2559 ที่ผ่า นมา คือ “คดีหญิงไก่” ซึ่งกองทุนยุติธรรมได้รับ คำ�ขอรับความช่วยเหลือกรณีขอปล่อยชัว่ คราว ผู้ต้อ งหาหรื อ จำ�เลยจำ�นวนทั้ง สิ้น 4 ราย โดยปรากฏตัวผูเ้ สียหายรายเดียวกันคือหญิงไก่ ซึง่ แจ้งข้อหาลักทรัพย์ในเคหสถานกับผูต้ อ้ งหา ผูข้ อรับความช่วยเหลือประกอบด้วย นางสาว ก. นามสมมุติ 3 คดี ยื่นขอรับความช่วยเหลือ เพื่อใช้ปล่อยชั่วคราวในชั้นสอบสวนให้แก่ นายชู . นามสมมุ ติ (บิ ด า) และนาง ป. นามสมมุ ติ (มารดา)และยื่น ขอให้ ต นเอง จำ�นวนเงินคนละ 1 แสนบาท ซึ่งสำ�นักงาน กองทุ น ยุ ติธ รรม ได้ ย่ืน หลั ก ทรั พ ย์ จำ�นวน ดังกล่าวแก่สถานีตำ�รวจนครบาลประชาชื่น ซึง่ กรณีของนางสาว ก. นามสมมุติ อยูใ่ นเขต อำ�นาจศาลเยาวชนและครอบครั ว กลาง ปัจจุบัน ทั้ง 3 คนยังอยู่ในชั้นของพนักงาน อั ย การเพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล ในการสั่ ง ฟ้ อ ง หรือไม่ฟอ้ ง ต่อมาคือ นางสาว ว.นามสมมุติ ยืน่ ขอรับความช่วยเหลือเพือ่ ขอปล่อยชัว่ คราว

ในศาลชั้นต้นแก่นางสุ นามสมมุติ (มารดา) วงเงินประกัน 5 แสนบาท ศาลมีคำ�สัง่ อนุญาต ให้ ป ล่ อ ยชั่ ว คราวโดยใช้ ห ลั ก ทรั พ ย์ ข อง กองทุนฯ จำ�นวนเงิน 2 แสนบาทปัจจุบัน ผูข้ อความช่วยเหลือทัง้ หมดยังคงมารายงานตัว จากคดี ท่ีย กตั ว อย่ า งเห็ น ได้ ชัด เจนว่ า คนจนมีโอกาสถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี อาญามากกว่าคนรวย เพราะโดยส่วนมาก คนรวยจะสามารถหาเงิ น ประกั น มาวาง เป็นหลักทรัพย์เพื่อได้รับการปล่อยชั่วคราว ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว จนกลายเป็ น ช่ อ งโหว่ แ ละ ความเหลือ่ มลํา้ ในกระบวนการยุตธิ รรม จริงอยู่ ที่การเกิดขึ้นของกองทุนยุติธรรมจะสามารถ ช่วยเหลือคนจนให้เข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมได้ แต่ตอ้ งไม่ลมื ว่า แม้กองทุนจะได้รบั การปฏิรปู ให้มงี บประมาณมหาศาลเพียงใด ทว่าต้นเหตุ ของปัญหากลับอยู่ท่ตี ัวกระบวนการยุติธรรม เสี ย เองไม่ ว่ า จะเป็ น การละเลยเพิ ก เฉย ต่อความเป็นจริง ความล่าช้าของกระบวนการ ดำ�เนินงานที่ย่งุ ยากระบบอุปถัมภ์ท่ฝี ังรากลึก การทุ จ ริ ต คอร์ รัป ชั่น การรั บ สิ น บน ฯลฯ สิ่งเหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขงบประมาณ ที่เพิ่มขึ้นของกองทุนยุติธรรมเพื่อช่วยเหลือ ประชาชน คงเป็นได้เพียงเรื่องฝันกลางวัน ปัญหาของคนจนในการเข้าถึงกระบวนการ ยุ ติธ รรมก็ จ ะยิ่ง กลายเป็ น ดิ น พอกหางหมู มิ ห นำ� ซํ้ า ภ า ร ะ ค่ า ใช้ จ่ า ย ข อ ง ภ า ค รั ฐ ยิ่งมีแต่จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น ต้นเหตุท่ตี ้องได้รับ การแก้ ไขอย่ า งเร่ ง ด่ ว นก็ คื อ การทำ�ให้ กระบวนการยุ ติ ธ รรมมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเคารพต่ อ สิ ท ธิ ข องประชาชนทุ ก คน อย่างเท่าเทียม

สถิติกรณีขอยื่นคำ�ขอ เพื่อปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาและจำ�เลย มีจำ�นวนทั้งสิ้น 1,250 ราย ซึ่งในเดือนเมษายน - ตุลาคม 2559 ได้อนุมัติช่วยเหลือ จำ�นวน 626 ราย คิดเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 129,301,400 บาท

อ้างอิงข้อมูลจาก : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มงานช่วยเหลือประชาชน สำ�นักงานกองทุนยุติธรรม

Justice Magazine Ministry of Justice

43


คน เงิน แผน

นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงอย่างมากในช่วง การบริหารของรัฐบาลนี้ รวมถึงการปฏิรปู ประเทศที่ได้มกี ารกำ�หนดประเด็นไว้ ทั้งในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว และร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่านประชามติ แต่รายละเอียดของทั้ง 2 เรื่องดังกล่าวกลับไม่มีการรับรู้กันมากนัก ทั้งนี้เนื่องจากว่าในปัจจุบันยังไม่ได้มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ฉบับจริง มีเพียงการจัดท�ำร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติที่จัดท�ำโดย คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติซ่ึงแต่งตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี วันที ่ 30 มถิ นุ ายน 2558 และมีการจัดท�ำร่างกฎหมายยุทธศาสตร์ชาติ และร่ า งกฎหมายก� ำ หนดแผนและขั้ น ตอนการปฏิ รู ป ประเทศ เพือ่ ให้เป็นไปตามบทบัญญัตขิ องร่างรัฐธรรมนูญทีผ่ า่ นประชามติเท่านัน้ อย่ า งไรก็ ต าม สภาขั บ เคลื่ อ นการปฏิ รู ป ประเทศ (สปท.) ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญในการจัดท�ำข้อเสนอเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศ ในด้านต่าง ๆ ก็ได้มกี ารจัดท�ำรายงานข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์ชาติ และการจัดท�ำกฎหมายก�ำหนดแผนและขั้นตอน การปฏิรูปประเทศไว้แล้ว จึงขอน�ำมาเล่าสู่กันฟัง ณ ที่นี้ ข้อเสนอการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติของ สปท. นัน้ ก็ได้นำ� เอาข้อมูล ยุทธศาสตร์ชาติที่นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ได้เคยจัดท�ำมาอย่างต่อเนื่องมากกว่า 50 ปี มาพิจารณาร่วมกับ ตัวอย่างยุทธศาสตร์ชาติของประเทศต่าง ๆ รวมทั้งกรอบแนวคิด ในการจัดท�ำร่างกฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติของสภาปฏิรูป แห่งชาติ (สปช.) ได้ท�ำเอาไว้ในปี 2558 จนออกมาเป็นข้อสรุปว่า การจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาตินั้นจะเป็นการก�ำหนดเป้าหมายแห่งชาติ ร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยจะต้องมี สาระส�ำคัญอย่างน้อย 12 ด้าน ได้แก่ ด้านความมั่นคงทางทหาร ด้านการเมือง ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม ด้านการปกครองท้องถิ่น ด้านการศึกษา และการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ด้ า นเศรษฐกิ จ การเกษตร การอุตสาหกรรม การบริการ การเงิน การคลัง และงบประมาณ ด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการผังเมือง ด้ า นสาธารณสุ ข ด้ า นการคมนาคมและเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร

44

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


คน เงิน แผน

การจัดทำ� ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นการกำ�หนด เป้าหมายแห่งชาติ ร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชนโดย จะต้องมีสาระสำ�คัญ อย่างน้อย 12 ด้าน

ด้านสังคม ศิลปะ และวัฒนธรรม และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และอื่น ๆ ที่จ�ำเป็น ส�ำหรับกลไกการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาตินั้น สปท. ได้เสนอให้มี กลไกใน 3 ระดับ ได้แก่ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติทเี่ ป็นผูก้ ำ� หนด นโยบาย แนวทางการบริหาร และก�ำกับติดตามการด�ำเนินงาน คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์ชาติทเี่ ป็นกลไกการบริหารและผลักดัน ให้มีการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ชาติ และส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายยุทธศาสตร์ชาติทเี่ ป็นหน่วยงานสนับสนุนคณะกรรมการทัง้ 2 คณะ ข้างต้น โดยเป็นองค์กรของรัฐทีไ่ ม่ใช่สว่ นราชการ มีสถานะเทียบเท่ากรม วิ ธี ก ารจั ด ท� ำ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ที่ สปท. เสนอจะคล้ า ยคลึ ง กับกระบวนการจัดท�ำแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่จัดท�ำโดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) และการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติของนักศึกษา วปอ. กล่าวคือ จะมีการส�ำรวจความต้องการและความคิดเห็นของทุกภาคส่วน และวิเคราะห์ปจั จัยแวดล้อมต่าง ๆ ของประเทศในห้วงเวลาของแผน และก� ำ หนดผลประโยชน์ ข องชาติ แ ละเป้ า หมายหลั ก ของชาติ ในแผนดังกล่าว จากนัน้ ก็จะมีการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น ในรูปแบบเวทีเสวนา และการรับฟังความเห็นสาธารณะผ่านสือ่ ต่าง ๆ แต่สิ่งที่แตกต่างออกไป คือ ยุทธศาสตร์ชาติที่จัดท�ำขึ้นจะมีการเสนอ ต่ อ รั ฐ สภา และเมื่ อ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาแล้ ว จะมี ผ ล ผู ก พั น รั ฐ สภา คณะรั ฐ มนตรี และหน่ ว ยงานของรั ฐ ทั้ ง หมด โดยคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ จ ะเป็ น ผู ้ ก� ำ หนดแนวทาง การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรของประเทศให้เป็นไปตาม เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในแต่ละห้วงเวลาด้วย

Justice Magazine Ministry of Justice

45


คน เงิน แผน

ส่วนการจัดท�ำร่างกฎหมายก�ำหนดแผนและขั้นตอนการปฏิรูป ประเทศนั้ น สปท. ได้ น� ำ บทบั ญ ญั ติ ข องร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ที่ ผ ่ า น ประชามติ ในมาตรา 257-261 ที่มีสาระเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศ ในด้านต่างๆ และก�ำหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอน การปฏิรูปประเทศ โดย สปท. ได้เสนอให้น�ำเป้าหมายของการปฏิรูป ประเทศ 3 ด้าน ตามมาตรา 257 มาเป็นกรอบในการก�ำหนด เป้าหมายของแผนการปฏิรูปประเทศ โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ และความสัมพันธ์กับระบบการบริหารราชการ แผ่ น ดิ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น การจั ด สรรงบประมาณรายจ่ า ยประจ� ำ ปี การจัดท�ำแผนบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และการจัดท�ำแผน ปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการต่าง ๆ และสร้างกระบวนการมีสว่ นร่วม ของประชาชนในการให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ การด� ำ เนิ น การปฏิ รู ป ประเทศ รวมถึ ง การเข้ า มาร่ ว มตั ด สิ น ใจ ในประเด็นต่าง ๆ ทงั้ นี ้ ในการด�ำเนินการตามแผนการปฏิรปู ประเทศนัน้ รัฐบาลที่เข้ามาบริหารในแต่ละช่วงเวลาจะเป็นผู้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ และวิธีการในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามที่ก�ำหนดไว้ ในแผนการปฏิรูปประเทศ รวมถึงพิจารณาทบทวนแผนการปฏิรูป ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

46

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กลไกในการบริหารจัดการแผนการปฏิรูปประเทศนั้น สปท. ได้ เ สนอแนะให้ มี อ งค์ ก รการปฏิ รู ป ประเทศ 2 ระดั บ ได้ แ ก่ คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศ และคณะกรรมการเฉพาะด้ า น ซึง่ อาจก�ำหนดตามตามกลุม่ ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ดา้ น หรือกรอบการปฏิรปู ประเทศ 7 ด้ า น ตามมาตรา 258 ของร่ า งรั ฐ ธรรมนู ญ ก็ ไ ด้ และในการติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนการปฏิรูปนั้น สปท. ได้เสนอแนะแนวทางการออกแบบกระบวนการไว้ 2 แนวทาง เช่นกัน คือ การก�ำหนดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมินผลที่เป็น เอกเทศ หรือก�ำหนดให้คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ เป็นผู้ติดตาม ประเมินผลโดยอาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะด้านขึ้นมาก็ได้ การด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละแผนการปฏิ รู ป ประเทศข้างต้นนัน้ จะมีรายละเอียดทีแ่ ท้จริงอย่างไรนัน้ คงต้องรอให้ ร่างรัฐธรรมนูญทีผ่ า่ นประชามติได้ประกาศใช้เสียก่อน และหลังจากนัน้ ประมาณ 4 เดือน (120 วัน) กฎหมายยุทธศาสตร์ชาติและกฎหมาย ว่าด้วยแผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศก็จะประกาศใช้ตามมา จากนั้ น จึ ง จะมี ก ารจั ด ท� ำ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละแผนการปฏิ รู ป ประเทศในด้านต่าง ๆ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งก็คงต้องติดตามกันต่อไปว่า จะมีความเกี่ยวข้องกับกระทรวงยุติธรรมอย่างไร


พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

โครงการ

สืบสวน สอบสวน

คดีทุจริต

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิภาพการแสวงหาข้อเท็จจริง การสืบสวนสอบสวน การกระทำ�ผิดเกี่ยวกับ การทุจริตและประพฤติมิชอบ โครงการฝึกอบรมบุคลากรของกระทรวงยุติธรรมเพื่อสร้าง ภู มิ คุ้ ม กั น จากการทุ จ ริ ต เริ่ ม จากบรรยายอบรม เข้ า ร่ ว ม กิจกรรมเสวนาศึกษาปัญหาผ่านกรณีจริง แสดงความคิดเห็น ในกลุ่มระดมความคิด และต่อยอดไปสู่การสร้างเครือข่าย เฝ้าระวังการทุจริต

กองบรรณาธิการ

สวัสดีชาวยุติธรรม เล่มนี้เป็นฉบับที่ 2 ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุ ติ ธ รรม ขอน� ำ เสนอโครงการฝึ ก อบรม เชิงปฏิบตั กิ าร หลักสูตร การเพิม่ ประสิทธิภาพการแสวงหา ข้อเท็จจริงการสืบสวนสอบสวน การกระท�ำผิดเกี่ยวกับ การทุจริตและประพฤติมิชอบ หรือที่เรียกว่า “โครงการ สืบสวนสอบสวนคดีทุจริต” โดยเป็นการจัดฝึกอบรม เจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านด้านวินยั หรือเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ าน ด้านการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรม จ�ำนวน 60 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้ ความเข้าใจกฎหมาย กฎ ระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการแสวงหาข้อเท็จจริง สืบสวน สอบสวน กระท�ำผิดเกีย่ วกับการทุจริตและประพฤติมชิ อบ และน�ำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม - 2 กันยายน 2559 รวมจ�ำนวน 4วัน โดยปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ได้มอบหมายนายสมณ์ พรหมรส ทีป่ รึกษาเฉพาะด้านนโยบายและการบริหารงานยุตธิ รรม ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม (ในขณะนั้ น ) Justice Magazine Ministry of Justice

47


พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

นายกล้านรงค์ จันทิก สมาชิกสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.)

นายสรรเสริญ พลเจียก เลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช.

นายภูมิวัฒน์ รัตนผล ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช.

48

เป็นประธานกล่าวเปิดโครงการฯ และมีเจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญจากส�ำนักงาน ป.ป.ช. มาเป็นวิทยากรฝึกอบรม ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เป็นการรับฟังการบรรยายภาคทฤษฎี โดยช่วงเช้าเป็นการบรรยายเรือ่ ง หลักการแสวงหาและรวบรวมพยาน หลั ก ฐาน โดยนายทิ น กร เขมะวิ ช านุ รั ต น์ ผู ้ ช ่ ว ยเลขาธิ ก าร คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในฐานะผูแ้ ทนเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นวิทยากร ส�ำหรับช่วงบ่ายเป็นการบรรยาย เรื่อง กฎหมาย และระเบี ย บอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสื บ สวน สอบสวน โดยศาสตราจารย์(พิเศษ) วิชา มหาคุณ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตกรรมการ ป.ป.ช. เป็นวิทยากร ในการนี้ ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากนางสาวปิ ติ ก าญจน์ สิ ท ธิ เ ดช ผู ้ ต รวจราชการ กระทรวงยุ ติ ธ รรม (ในขณะนั้ น ) มาเข้ า ร่ ว มรั บ ฟั ง การบรรยาย ในครั้งนี้ด้วย วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เป็นการรับฟังการบรรยายภาคทฤษฎี โดยช่ ว งเช้ า เป็ น การบรรยาย เรื่ อ ง เทคนิ ค และประสบการณ์ ในงานสืบสวนสอบสวนความผิดเกีย่ วกับการทุจริตและประพฤติมชิ อบ โดยนายกล้านรงค์ จันทิก สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) อดีตกรรมการคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นวิทยากร ส�ำหรับช่วงบ่าย เป็นการบรรยาย เรื่อง ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงาน ของรัฐและการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและส่วนร่วม โดยนายภูมิวัฒน์ รัตนผล ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นวิทยากร ส�ำหรับวันที่ 1 - 2 กันยายน 2559 เป็นการฝึกปฏิบัติทักษะ

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ศ. (พิเศษ) วิชา มหาคุณ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

นายทินกร เขมะวิชานุรตั น์ ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป.ป.ช.

นางสาวปิติกาญจน์ สิทธิเดช ผูต้ รวจราชการ กระทรวงยุติธรรม


พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

การต่อต้านการทุจริต เป็นหน้าที่ของเราทุกคน ที่จะต้องร่วมแรงร่วมใจกัน และคอยเป็นหูเป็นตา สอดส่องดูแล เพื่อ ป้องกันไม่ให้มี การทุจริตเกิดขึ้น ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตกระทรวงยุติธรรม เป็นหน่วยงาน ที่ ไ ด้ มี ก ารดำ � เนิ น งานด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต อย่างจริงจัง ตามอำ�นาจหน้าทีใ่ นกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม

เบื้องต้นในการแสวงหาข้อเท็จจริงและการรวบรวมพยานหลักฐาน โดยคณะทีมวิทยากรนายสรรเสริญ พลเจียก เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่ ง ได้ น� ำ เอาหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมพนั ก งานไต่ ส วนของ ส� ำ นั ก งาน ป.ป.ช. มาปรั บ เป็ น หลั ก สู ต รระยะสั้ น ในโครงการฯ เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นการแสวงหาข้อเท็จจริงและการรวบรวม พยานหลักฐาน เกีย่ วกับการกระท�ำความผิดทุจริตและประพฤติมชิ อบ พิ ธี ป ิ ด โครงการฯ และมอบวุ ฒิ บั ต รแก่ ผู ้ ผ ่ า นการฝึ ก อบรม ในวันสุดท้ายของโครงการฯ โดยนายวีระยุทธ สุขเจริญ หัวหน้าผูต้ รวจ ราชการกระทรวงยุติธรรม (ในขณะนั้น) เป็นประธานมอบวุฒิบัตร และกล่าวปิดโครงการฯ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฯ ได้ รั บ ความรู ้ มี ค วามเข้ า ใจกฎหมาย กฎ ระเบี ย บหลั ก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมทั้ ง เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การแสวงหาข้ อ เท็ จ จริ ง สื บ สวนสอบสวน กระท� ำ ผิ ด เกี่ ย วกั บ การทุจริตและประพฤติมิชอบ และสามารถน�ำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ในการปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ที่ได้ก�ำหนดไว้ทุกประการ การต่อต้านการทุจริต เป็นหน้าที่ของเราทุกคนที่จะต้องร่วมแรง ร่วมใจกัน และคอยเป็นหูเป็นตาสอดส่องดูแล เพื่อป้องกันไม่ให้มี

การทุจริตเกิดขึน้ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุตธิ รรม เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ได้มีการด�ำเนินงานด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต อย่างจริงจัง ตามอ�ำนาจหน้าที่ในกฎกระทรวง แบ่ ง ส่ ว นราชการส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ. 2556 ตามนโยบายหรือข้อสั่งการของคณะกรรมการต่อต้าน การทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ (คตช.) คณะกรรมการอ� ำ นวยการต่ อ ต้ า น การทุจริต แห่งชาติ (ศอตช.) ยุทธศาสตร์ชาติระยะที่ 2 (ในขณะนั้น) และนโยบายของรัฐบาลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม ยังขอย�้ำ ปณิธานเดิมว่า เพือ่ รักษาไว้ซงึ่ ประโยชน์ของรัฐและประชาราษฎร์ จั ก ด� ำ เนิ น การป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต อย่ า งจริ ง จั ง และจะร่ ว มสนั บ สนุ น ขั บ เคลื่ อ นการแก้ ไ ขปั ญ หาการทุ จ ริ ต กับทุกภาคส่วน เพื่อร่วมขจัดปัญหาการทุจริตให้หมดสิ้นจาก ผืนแผ่นดินไทย Justice Magazine Ministry of Justice

49


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

กฎหมาย จราจร

น่ารู้

50

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก ลักษณะที่ 17 เบ็ดเตล็ด มีขอ้ กฎหมายจราจรทีส่ �ำ คัญหลายประการ โดยมี เ กร็ ด น่ า รู้ ที่ ผู้ขั บ ขี่ ร ถยนต์ รถจั ก รยานยนต์ รวมไปถึงคนโดยสารจำ�เป็นต้องรู้ เพือ่ ความปลอดภัย บนท้องถนน ดังนี้


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

มาตรา 120 ห้ า มมิ ใ ห้ ผู้ ขั บ ขี่ ขั บ รถถอยหลั ง ในลักษณะทีไ่ ม่ปลอดภัยหรือเป็นการกีดขวางการจราจร ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 500 บาท (พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522) มาตรา 121 ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ต้องนั่งคร่อม บนอานที่ จั ด ไว้ สำ�หรั บ ผู้ ขั บ ขี่ และหากพนั ก งานหรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ไ ด้ กำ�หนดในใบคู่ มื อ จดทะเบี ย นให้ บ รรทุ ก คนโดยสารได้ คนโดยสารจะต้องนั่งซ้อนท้ายผู้ขับขี่และ นัง่ บนอานทีจ่ ดั ไว้สำ�หรับคนโดยสารหรือนัง่ ในทีน่ ง่ั พ่วงข้าง ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 500 บาท (พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522) มาตรา 122 (1) ผู้ ขั บ ขี่ ร ถจั ก รยานยนต์ แ ละ คนโดยสารรถจั ก รยานยนต์ ต้ อ งสวมหมวกที่ ทำ�ขึ้ น โดยเฉพาะเพื่อป้องกันอันตรายขณะขับขี่และโดยสาร ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 500 บาท (พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522)

สำ�หรับเฉพาะท้องทีท่ ไ่ี ด้กำ�หนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา ความในวรรคหนึง่ ระบุให้มผี ลใช้บงั คับเมือ่ พ้นกำ�หนด 5 ปี นั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ ช้ บั ง คั บ ลั ก ษณะ และวิธีการใช้หมวกเพื่อป้องกันอันตรายตามวรรค 1 ตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ บทบัญญัติตามมาตรานี้ ไม่ใช้บังคับแก่ภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช หรือผู้นับถือลัทธิศาสนาที่ใช้ ผ้ า โพกศี ร ษะตามประเพณี นิย ม หรื อ บุ ค คลที่กำ�หนด ในกฎกระทรวง มาตรา 123 (2) ห้ามผูอ้ นื่ ทีม่ ใิ ช่ผขู้ บั ขีร่ ถยนต์นงั่ ทีน่ งั่ ตอนหน้าแถวเดียวกับผูข้ บั ขีเ่ กิน 2 คน และผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ ต้องรัดเข็มขัดนิรภัยไว้กบั ทีน่ ง่ั ขณะขับขีร่ ถยนต์ ขณะเดียวกัน ต้องจัดให้คนโดยสารซึ่งนั่งที่น่ังตอนหน้าแถวเดียวกับ ผู้ขับขี่ร ถยนต์ รั ด ร่ า งกายไว้ กั บ ที่ นั่ ง ด้ ว ยเข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย ขณะโดยสารรถยนต์ นอกจากนีค้ นโดยสารรถยนต์ดงั กล่าว ในที่นั่งอื่นต้องรัดร่างการด้วยเข็มขัดนิรภัยไว้กับที่นั่ง Justice Magazine Ministry of Justice

51


วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


Justice Magazine Ministry of Justice


สารอวยพรปีใหม่ พุทธศักราช 2560 นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในปีพุทธศักราช 2559 ที่ผ่านมา ถือเป็นปีที่ประเทศชาติ และพสกนิกรชาวไทยได้ประสบกับ ความสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ่จากการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช “พระมหากษัตริย์” ผู้ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรัก ความเมตตา อย่างสูงสุดแก่พสกนิกรของพระองค์ และเนือ่ งในอภิลกั ขิตสมัยขึน้ ปีใหม่ พุทธศักราช 2560 ขอเชิญชวนข้าราชการชาวกระทรวงยุตธิ รรม และครอบครัวพร้อมด้วยพีน่ อ้ งประชาชนทุกท่าน น้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ แห่งพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่มีต่อปวงชนชาวไทย และพร้อมใจกันถวายพระพรชัยมงคล แด่ ส มเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ์ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ด้วยการตั้งจิตอธิษฐานอาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัย และอำ�นาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากล โปรดอภิบาลประทานชัยมงคลให้ทุกพระองค์ ทรงพระเจริญสิริสวัสดิ์ ทรงพระเกษมสำ�ราญ พระบารมีแผ่ไพศาล ทรงสถิตเป็นพระมิ่งขวัญร่มเกล้า เหล่าพสกนิกรตราบกาลนิรันดร สำ�หรับในปีพุทธศักราช 2560 นี้ ขอเป็นกำ�ลังใจให้ทุกท่านปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างเต็มกำ�ลัง ความสามารถ เพือ่ ร่วมกันพัฒนางานด้านยุตธิ รรมของประเทศจนบรรลุผลสัมฤทธิอ์ ย่างเป็นรูปธรรม ภายใต้กรอบของกฎหมาย ตลอดจนสร้างความเข้าใจกับสังคมให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อบทบาท หน้าที่การปฏิบัติงานของกระทรวงยุติธรรมในการอำ�นวยความยุติธรรมสู่ประชาชน โดยยึดมั่นใน หลักนิติธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีสติรอบคอบ มีความตั้งใจ เสียสละ อดทนโดยน้อมนำ� หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง พระราชดำ�รั ส และ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการประพฤติ ปฏิบตั ติ นเพือ่ ยังประโยชน์ทงั้ แก่ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติสบื ต่อไป รวมทัง้ ขอขอบคุณ พี่น้องประชาชนที่ได้ช่วยเหลือและสนับสนุนในกิจการต่าง ๆ ของกระทรวงยุติธรรมเป็นอย่างดี สุดท้ายนี้ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทุกท่านเคารพนับถือ จงดลบันดาลประทานพรให้ข้าราชการเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและครอบครัว พร้อมทั้ง พี่น้องประชาชนทุกท่านประสบแต่ความสุข เจริญก้าวหน้าทั้งในชีวิตส่วนตัวและหน้าที่การงาน สมบูรณ์พร้อม ด้วยกำ�ลังกาย กำ�ลังใจ และกำ�ลังสติปญ ั ญา ให้สามารถบรรลุผลสำ�เร็จในการปฏิบตั หิ น้าที่ เพือ่ ผลประโยชน์สงู สุดของประชาชนและประเทศชาติ ตลอดจนสัมฤทธิผลในสิง่ อันพึงปรารถนาทุกประการ

(นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

54

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


สารอวยพรปีใหม่ พุทธศักราช 2560 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม

เนื่องในศุภวารดิถีขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2560 ผมในนามของผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม ขอส่งความปรารถนาดีมายังข้าราชการ และเจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมครอบครัว รวมทั้งพี่น้องประชาชนทุกท่านด้วยใจจริง ในรอบปีที่ผ่านมา ขอขอบคุณเพื่อนข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรม ทุกท่านด้วยความจริงใจทีไ่ ด้ทมุ่ เทปฏิบตั งิ านในหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของตนด้วยความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ อดทน และเสียสละ เพือ่ ขับเคลือ่ นการดำ�เนินงานตามนโยบายของรัฐบาล และกระทรวง ยุติธรรมจนเกิดผลสัมฤทธิ์ ในด้านการอำ�นวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน และสังคม ทั้ ง นี้ ขอให้ ทุ ก ท่ า นมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านต่ อ ไปอย่ า งเต็ ม กำ�ลั ง ความสามารถ ควบคู่ กับการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องในการทำ�งาน เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อการพัฒนาประเทศภายใต้กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรม และยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการอำ�นวยความยุติธรรม และตอบสนองบริการ ด้านงานยุติธรรม สู่ประชาชนในระดับฐานรากได้อย่างแท้จริง ในโอกาสขึน้ ปีใหม่ พุทธศักราช 2560 ผมขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทั้ ง หลายที่ ทุ ก ท่ า นเคารพนั บ ถื อ จงดลบั น ดาลประทานพรให้ ทุ ก ท่ า นและครอบครั ว ประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีกำ�ลังกาย กำ�ลังใจ และกำ�ลังสติปัญญาที่เข้มแข็ง คิดสิ่งใด ให้สมความมุ่งมั่นในสิ่งอันพึงปรารถนา ตลอดจน สร้างประโยชน์และความสุขให้เกิดแก่ตนเอง ครอบครัว ประชาชน และชาติบ้านเมืองสืบไป

(นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ) ปลัดกระทรวงยุติธรรม

Justice Magazine Ministry of Justice

55


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

“ยุติธรรม” รับเรื่องจากกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ จังหวัดบุรีรัมย์ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม และโฆษกกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วยพันต�ำรวจเอก ดุ ษ ฎี อารยวุ ฒิ รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และ พันต�ำรวจโท วิชยั สุวรรณประเสริฐ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้าน คดี พิ เ ศษและเลขานุ ก ารศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ลู ก หนี้ แ ละ ประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวงยุตธิ รรม รับเรือ่ งจากตัวแทนกลุม่ เกษตรกรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดบุรรี มั ย์ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากกรณีถกู ฟ้องให้ชำ� ระค่าปุย๋ ภายใต้ โครงการส่งเสริมอาชีพของคนบุรรี มั ย์ ปี 2555-2558

“ยุติธรรม” Kick off สิทธิทางกฎหมายเพื่อความเสมอภาค ในงานมหกรรม “อารยสถาปัตย์ และนวัตกรรมสุขภาพ เพื่อคนทั้งมวล” ครั้งที่ 1 นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ในฐานะผูแ้ ทน รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธานในพิ ธี Kick off สิทธิทางกฎหมายเพือ่ ความเสมอภาค ในงานมหกรรม “อารยสถาปัตย์ และนวัตกรรมสุขภาพ เพือ่ คนทัง้ มวล” ครัง้ ที่ 1 (1st Thailand Friendly Design Expo 2016) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การด�ำเนินงานของกระทรวงยุตธิ รรม ในการส่งเสริมสิทธิทางกฎหมาย ในมิติด้านอารยสถาปัตย์ รวมทั้งการอ�ำนวยความยุติธรรมเพื่อลด ความเหลือ่ มล�ำ้ และสร้างความเท่าเทียมให้เกิดขึน้ แก่สมาชิกทุกกลุม่ ในสังคม

“ยุตธิ รรม” เปิดมหกรรมพลังคุณธรรมยับยัง้ การทุจริต นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการมหกรรมพลังคุณธรรมยับยั้ง การทุจริต กระทรวงยุติธรรม เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นการเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นที่แพร่หลายในส่วนราชการ รวมทัง้ เป็นการแสดงพลังของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมและภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกาศเจตนารมณ์ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ภายใต้แนวคิด “สุจริตตามรอยพ่อ ขอท�ำดีเพื่อแผ่นดิน” โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรมและตัวแทนจากศูนย์ปฏิบัติการต่อต้าน การทุจริต 35 หน่วยงาน เข้าร่วมประชุม

56

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเปิด “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” ณ เรือนจำ�พิเศษมีนบุรี สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปิด “ห้องสมุดพร้อมปัญญา” โดยมี พลเอก นิวัตร มีนะโยธิน ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงยุติธรรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม นายวิทยา สุรยิ ะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดี กรมราชทัณฑ์ นายสมภพ สังคุตแก้ว ผู้บัญชาการเรือนจ�ำพิเศษ มีนบุรี และผู้บริหารกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ตลอดจน ผู้เกี่ยวข้องเฝ้าฯ รับเสด็จ

ปลัด ยธ. ร่วมเสวนา “สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน” นายชาญเชาวน์ ไชยานุ กิ จ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เข้าร่วมพิธีเปิดงาน “วันสิทธิมนุษยชนสากล 10 ธันวาคม 2559 : สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยมีนายวัส ติงสมิตร ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นประธาน ในพิธีเปิดฯ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ได้เสวนาร่วมกับ ดร.เสรี นนทสูตร ผู้แทนประเทศไทย ในคณะกรรมาธิการระหว่าง รั ฐ บาลอาเซี ย นว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน นายบรรจง นะแส ประธานคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน และ นายปรีดา เตียสุวรรณ์ ประธานกรรมการบริษทั แพรนด้าจิวเวลรี่ จ�ำกัด (มหาชน) ในประเด็น “สิทธิมนุษยชนกับการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน”

รับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม และโฆษกกระทรวงยุติธรรม รับเรื่องจากทนายสงกานต์ อัจฉริยะทรัพย์ ประธานเครือข่ายต่อต้านการบ่อนท�ำลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พร้อมด้วยนางวิกุล โพธิ์ไชย ชาวจังหวัดมุกดาหาร เพื่อขอให้กระทรวงยุติธรรมสืบสวน สอบสวนขบวนการตัง้ โรงงานแปรรูปไม้เถือ่ น และช่วยเหลือ สามีของนางวิกุลฯ ที่ถูกหลอกลวงให้รับจ้างติดคุกแทน นายทุนในคดีตั้งโรงงานแปรรูปไม้เถื่อน นอกจากนี้ยังน�ำ ผู ้ เ สี ย หายในอี ก 2 คดี ซึ่ ง เป็ น คดี อั น มิ ช อบเกี่ ย วกั บ พฤติกรรมของต�ำรวจกับผู้ต้องหาและเจ้าหน้าที่อุทยานฯ กับประชาชน มาร้องทุกข์กับกระทรวงยุติธรรม Justice Magazine Ministry of Justice

57


พันตำ�รวจโท วิชัย สุวรรณประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านคดีพิเศษ และเลขานุการ ศนธ.ยธ.

ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

ดอกเบี้ย

เงินให้กู้ยืม กับความรับผิด

ทางอาญา

ตอน 3 ปฐมบทของการแก้ไขกฎหมาย เดิมทีผมตั้งใจที่จะเขียนบทความเรื่องดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมกับความรับผิดทางอาญา โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน เรียงลำ�ดับตามความเป็นมาของเรื่อง แต่ปรากฏว่าเนื้อหาในตอนที่ 3 เป็นเรื่องเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติ ห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2560 ผมเห็นว่าเป็นเรื่องที่มี ความสำ�คัญเร่งด่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตของผู้คนจำ�นวนมาก และกฎหมายที่แก้ไขใหม่จะเป็นเครื่องมือหนึ่งในการ แก้ไขบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของผู้มีรายได้น้อยจากภาคการเกษตร คนในสังคมชนบท และสังคมเมือง อันเนื่องมาจากปัญหาหนี้สินที่ถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างไม่เป็นธรรม จึงอยากบอกเล่าความเป็นมา ของการแก้ไขกฎหมายเพื่อเป็นเกร็ดความรู้ในลำ�ดับแรก จุดประกายความคิด ผมเชือ่ ว่าคนทีไ่ ม่เคยประสบปัญหาหรือสัมผัสกับคนทีม่ ปี ญั หา หนีส้ นิ ทีถ่ กู เอารัดเอาเปรียบอย่างไม่เป็นธรรม อาจจะยากกับการเข้าใจ รับรูส้ ภาพปัญหาและความรูส้ กึ ได้อย่างถ่องแท้ บางคนอาจจะมอง ว่าเป็นเรือ่ งทางแพ่งทีจ่ ะต้องว่ากล่าวกันตามกฎหมายนัน้ ๆ เหตุใด จึงเอามาตรการทางอาญามาใช้บงั คับ อยากจะบอกเล่าถึงสาเหตุ ทีต่ อ้ งคิดเสนอแก้ไขพระราชบัญญัตหิ า้ มเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. 2475 เนือ่ งจากการทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนี้ และประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม (ศนธ.ยธ.) ตัง้ แต่ปี 2553 ทำ�ให้ได้สมั ผัสปัญหาของชาวบ้าน ทีเ่ ป็นหนีถ้ กู เจ้าหนีซ้ ง่ึ มีโอกาสและฐานะทีส่ งู กว่าเอารัดเอาเปรียบ ทางด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม มูลเหตุจูงใจของ เจ้าหนี้เพื่อมุ่งหวังผลประโยชน์ท่เี กิดจากดอกเบี้ยในอัตราที่สูง เกินส่วนด้วยวิธีการที่หลีกเลี่ยงกฎหมาย รูปแบบของการกู้ยืม ทีไ่ ม่ได้เป็นการอาศัยพึง่ พากันเหมือนสังคมสมัยก่อน แต่แปรเปลีย่ น เป็นมุง่ หวังผลประโยชน์ตอบแทนในเชิงการค้าและธุรกิจ จากการรั บ รู้จึง นำ�ไปสู่ก ารจั ด สั ม มนาวิ ช าการในหั ว ข้ อ “วิ ก ฤติ ห นี้น อกระบบ - ทางออกสั ง คมไทย?” เมื่อ วั น ที่

58

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

17 ธันวาคม 2555 โดยมีผเู้ ข้าร่วมประกอบด้วยหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ เอกชนทีอ่ ยูใ่ นแวดวง สรุปผลการประชุมมีข้อเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา ในหลายมิติท้งั ด้านการบังคับใช้กฎหมายกับเจ้าหนี้เงินกู้ นอกระบบให้ได้อย่างเด็ดขาดและมีประสิทธิภาพ การอำ�นวย ความยุติธรรมและมาตรการเชิงรุกในการสนับสนุนส่งเสริม ให้ประชาชนเข้าถึงความเป็นธรรม การสนับสนุนให้ประชาชน เข้าถึงแหล่งทุน การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวติ และการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา ซึง่ เป็นกฎหมายทีค่ วบคุมอัตราดอกเบีย้ เงินให้กยู้ มื ก็เป็นเรือ่ ง สำ�คัญประเด็นหนึง่ จากนัน้ ได้มกี ารรายงานเสนอคณะรัฐบาล โดยรองนายกรัฐมนตรี (ร้อยตำ�รวจเอก เฉลิม อยู่บำ�รุง) เห็นชอบเมือ่ วันที่ 27 มกราคม 2556 ให้กระทรวงยุตธิ รรม ดำ�เนินการปรับปรุงกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ไขกฎหมายว่าด้วย การเรียกดอกเบีย้ เกินอัตราทีบ่ งั คับใช้มาเกือบ 80 ปี คณะทำ�งาน ปรับปรุงกฎหมายได้เริ่มต้นค้นคว้าจากตำ�รา บทความ แนวคำ�พิพากษา การศึกษางานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องเปรียบเทียบ


กับข้อเท็จจริงที่ได้จากการรับเรื่องร้องเรียน ประสบการณ์ จากการทำ�งานและข้อมูลทีส่ ำ�คัญ คือ งานวิจยั เรือ่ งนโยบาย การยุตธิ รรมเพือ่ แก้ไขปัญหาหนีน้ อกระบบ ซึง่ ศูนย์ชว่ ยเหลือ ลูกหนีฯ้ ได้รว่ มกับคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำ�การศึกษาวิจัยขึ้น ประกอบกับการรับฟังความคิดเห็น ของหน่วยงานและภาคส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง จึงได้เสนอร่าง พระราชบั ญ ญั ติห้า มเรี ย กดอกเบี้ย เกิ น อั ต รา พ.ศ.... รายงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2558 จากนั้นได้เข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณา ร่างกฎหมายของกระทรวงยุตธิ รรม แก้ไขปรับปรุงอีกสองครัง้ เสร็ จ แล้ ว รายงานรั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวงยุ ติธ รรม 5. กำ�หนดให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม เป็นผูร้ กั ษาการ ให้ความเห็นชอบพร้อมนำ�เสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณา ตามกฎหมายฉบั บ นี้ ซึ่ง กฎหมายฉบั บ เดิ ม ไม่ มีผู้รัก ษาการ ตามกฎหมาย คณะรัฐมนตรีพิจารณารับหลักการ เหตุผลที่จะให้เชื่อว่ามาตรการนี้จะสามารถแก้ไขปัญหา สำ�หรั บ เหตุ ผ ลของกระทรวงยุ ติธ รรมในการเสนอ หรือข้อบกพร่องนัน้ ได้ เนือ่ งจากจะเป็นการอุดช่องว่างในกรณี ร่างกฎหมายก็เพื่อควบคุมการกู้ยืมเงินให้ได้อย่างเหมาะสม ที่มีก ารโต้ แ ย้ ง ว่ า ธุ ร กิ จ ที่ต นดำ�เนิ น การนั้น มิ ใช่ ก ารกู้ยืม เงิ น สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม และการกระทำ�ทีแ่ อบแฝงในรูปแบบอืน่ ๆ ในอนาคต การแก้ไข และสร้างกระบวนการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างมี ให้ต้องรับโทษหนักขึ้นในลักษณะของการกระทำ�ความผิดและ ประสิ ท ธิ ภ าพ ความจำ�เป็ น ที่ต้อ งทำ�ภารกิ จ เนื่อ งจาก พฤติการณ์ดังกล่าว จะเป็นการช่วยให้การบังคับใช้กฎหมาย พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 เกิ ด ผลเป็ น การระงั บ ยั บ ยั้ง มากขึ้น ทั้ง นี้เ ป็ น การคุ้ม ครอง ใช้ บั ง คั บ มานานแล้ ว เนื้ อ หาของกฎหมายมิ ไ ด้ มี ก าร ผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากปัญหาหนี้นอกระบบที่ไม่เป็นธรรม เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพสังคมในปัจจุบัน นอกจากนี้ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามเรียกดอกเบีย้ ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ทั้งในเรื่องอัตราโทษ ลักษณะ เกินอัตรา ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นกลไก และพฤติการณ์การกระทำ�ความผิด ทำ�ให้การบังคับใช้ ให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ กฎหมายไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า ที่ ค วร ผู้ ท่ี ก ระทำ�ผิ ด คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษา เมือ่ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 ไม่เกรงกลัวต่อกฎหมาย ดังนั้นเพื่อควบคุมและส่งเสริม ลงมติอนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ย การกู้ยืมให้เป็นไปในทางที่ควรและเกิดความเป็นธรรม เกินอัตรา พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงยุติธรรมเสนอ และส่งให้ จึงจำ�เป็นต้องยกเลิกพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ย สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาต่อไป เกินอัตรา พ.ศ. 2475 และตราพระราชบัญญัติห้ามเรียก ดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. .... ขึน้ ใหม่ โดยมีสาระสำ�คัญ ดังนี้ ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 12) 1.ปรับฐานความผิดและอัตราโทษการกูย้ มื เงินนอกระบบ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 12) ได้ตรวจพิจารณา ทีฝ่ า่ ฝืนกฎหมายให้สงู ขึน้ และมีบทลงโทษในลักษณะฉกรรจ์ แล้วได้ปรับปรุงแก้ไขเพิม่ เติมร่างกฎหมายโดยมีสาระสำ�คัญ ดังนี้ 2. การเพิม่ โทษเจ้าหน้าทีข่ องรัฐซึง่ เป็นผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง 1. ให้กฎหมายใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา หรือเป็นผูก้ ระทำ�ความผิดเสียเอง นุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผลเนื่องจากไม่มีความจำ�เป็นต้องออก 3. นำ�มาตรการเพือ่ ความปลอดภัยตามประมวลกฎหมาย ระเบียบเพือ่ รองรับกฎหมายก่อนใช้บงั คับ อาญามาตรา 39 ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการเรียกประกันทัณฑ์บน 2. ตัดบทบัญญัติท่เี กี่ยวข้องกับ “คณะกรรมการป้องกัน และการห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง มาปรับใช้เพิ่มเติม และปราบปรามการเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา” ตามที่กระทรวง กับผูก้ ระทำ�ความผิดด้วย ยุตธิ รรมเสนอ เนือ่ งจากเห็นว่าเป็นกลไกในทางบริหารอาจจะไม่ 4. แต่ ง ตั้ง คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปราม สอดคล้องกับหลักการเหตุผลในการเสนอร่างกฎหมาย เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ตัดข้อยกเว้นไม่ให้กฎหมายมีผลใช้บังคับหนี้กู้ยืมกับ เพื่ อ กำ�หนดกรอบแนวทางการแก้ ไขปั ญ หาอย่ า งเป็ น สถาบันการเงิน ผูป้ ระกอบธุรกิจสินเชือ่ ส่วนบุคคล และผูป้ ระกอบ องค์รวม ซึ่งจะทำ�ให้เกิดนโยบายในการบังคับใช้กฎหมาย ธุรกิจสินเชือ่ บัตรเครดิต ออกไปทัง้ มาตรา เหตุผลเพือ่ ให้รา่ งกฎหมาย และการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉบับนีม้ ผี ลใช้บงั คับกับหนีก้ ยู้ มื ทัง้ นอกระบบและในระบบสถาบัน และเกิดความเป็นเอกภาพเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน การเงิน (การกู้ยืมเงินในระบบสถาบันการเงินได้มีการควบคุม Justice Magazine Ministry of Justice

59


อัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ตามพระราชบัญญัตดิ อกเบีย้ เงินให้กยู้ มื ของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523) 4. กำ�หนดเพิ่มเติมให้การปล่อยเงินกู้ท่มี ีลักษณะฉกรรจ์ มี ลัก ษณะเป็ น องค์ ก รอาชญากรรม มี น ายทุ น อยู่เ บื้อ งหลั ง การแอบแฝงอำ�พรางในธุรกิจ ให้เป็นความผิดมูลฐานตามกฎหมาย ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินตามความเห็น ของผูแ้ ทนสำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 5. นอกจากนี้ มีการปรับแก้ไขถ้อยคำ�ในมาตราอืน่ ๆ ให้มี ความครบถ้วนสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ ในการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 12) นบั ว่า มีความสำ�คัญอย่างยิง่ เนือ่ งจากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒไิ ด้ให้ คำ�แนะนำ�และอธิบายเหตุผลของการใช้กฎหมายให้มคี วามชัดเจน และยังปรับปรุงร่างกฎหมายให้มคี วามครบถ้วนสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จากนั้นได้นำ�เสนอที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 54/2559 วันพฤหัสบดีท่ี 1 กันยายน 2559 ลงมติรบั หลักการ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติห้า มเรี ย กดอกเบี้ย เกิ น อั ต รา พ.ศ. .... ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 169 เสียง ไม่เห็นด้วย ไม่มี งดออกเสียง 3 เสียง และตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามัญขึน้ คณะหนึง่ จำ�นวน 18 คน โดยมีคณะกรรมาธิการวิสามัญ สัดส่วนของคณะรัฐมนตรี จำ�นวน 3 คน ประกอบด้วย นายธานิศ เกศวพิทกั ษ์ นายปรีดเิ ทพ บุนนาค และพันตำ�รวจโท วิชยั สุวรรณประเสริฐ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้เลือกนายมนตรี ศรีเอีย่ มสะอาด เป็นประธานคณะกรรมาธิการ วิสามัญ ในการพิจารณาได้เชิญหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุตธิ รรม สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคมูลนิธิ เพือ่ ผูบ้ ริโภค สมาคมลิสซิง่ ไทย เป็นต้น โดยส่วนใหญ่เห็นด้วย กับการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายในครัง้ นี้ สำ�หรั บ การพิ จ ารณาของคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ มีการอภิปรายอย่างกว้างขวาง ผลการประชุมมีมติเห็นชอบ กับร่างกฎหมายแต่มมี ติให้ตดั ร่างกฎหมายบางมาตรา ดังนี้ 1. ตัดบทบัญญัตทิ ก่ี ำ�หนดเหตุฉกรรจ์กรณีการให้กโู้ ดยเรียก ดอกเบีย้ เกินอัตรา ทีม่ ลี กั ษณะเป็นการสมคบกันตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป โดยปกปิดวิธดี ำ�เนินการ หรือกระทำ�ในลักษณะทีแ่ อบแฝงหรือ

60

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

อำ�พรางในธุรกิจ หรือกระทำ�ด้วยวิธกี ารอืน่ ใดทีข่ ดั ต่อความสงบ เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน โดยคณะกรรมาธิการ วิสามัญเสียงข้างมากเห็นว่าเป็นการกระทำ�ทีเ่ ข้าองค์ประกอบ ฐานเป็นอัง้ ยีต่ ามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 209 2. ตั ด บทบั ญ ญั ติท่ีกำ�หนดให้ เ ป็ น ความผิ ด มู ล ฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เพราะหากดำ�เนินคดีฐานเป็นอั้งยี่ก็จะเข้าความผิดมูลฐาน ฟอกเงินโดยอัตโนมัติ 3. ตัดบทบัญญัติท่กี ำ�หนดโทษเจ้าหน้าที่รัฐกระทำ�ผิด ต้องได้รบั โทษสูงขึน้ กว่าบุคคลทัว่ ไป แม้จะมีการพิจารณาปรับ ถ้อยคำ�เป็นความผิดเฉพาะเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีก่ ระทำ�ผิดโดยอาศัย หรือยอมให้ผอู้ น่ื อาศัยตำ�แหน่งหน้าทีข่ องตนเพือ่ ประโยชน์ ในการกระทำ�ความผิด โดยคณะกรรมาธิการวิสามัญเสียงข้างมาก เห็นว่าไม่เป็นธรรมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั รายเล็กรายน้อยทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบจากการให้กยู้ มื เงินและมีกฎหมายอืน่ ทีก่ ำ�กับดูแล เจ้าหน้าทีร่ ฐั อยูแ่ ล้วจึงไม่ควรบัญญัตเิ พิม่ โทษในเรือ่ งนีอ้ กี คณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้รายงานเสนอต่อสภา นิตบิ ญั ญัตแิ ห่งชาติเมือ่ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 ต่อมา ทีป่ ระชุมสภานิตบิ ญั ญัตแิ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 75/2559 เมือ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 ได้พิจารณาแล้วมีมติโดยสรุป ดังนี้ การพิจารณาวาระที่ 2 พิจารณารายมาตรา ทีป่ ระชุม สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ มีมติดงั นี้ 1. ทีป่ ระชุมเห็นชอบ มาตรา 1 พระราชบัญญัตนิ ใ้ี ห้เรียกว่า “พระราชบัญญัติ ห้ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. … มาตรา 2 พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัด จากวันประกาศในราชกิจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัตหิ า้ มเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พุทธศักราช 2475 มาตรา 5 บุคคลใดให้บคุ คลอืน่ กูย้ มื เงินหรือกระทำ�การใด ๆ อันมีลักษณะเป็นการอำ�พรางการกู้ยืมเงิน โดยมีลักษณะ อย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จำ�ทัง้ ปรับ (1) เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำ�หนดไว้ (2) กำ�หนดข้อความอันเป็นเท็จในเรื่องจำ�นวนเงินกู้ หรือเรือ่ งอืน่ ๆ ไว้ในหลักฐานการกูย้ มื หรือตราสารทีเ่ ปลีย่ นมือ ได้เพือ่ ปิดบังการเรียกดอกเบีย้ เกินอัตราทีก่ ฎหมายกำ�หนด หรือ (3) กำ�หนดจะเอาหรือรับเอาซึง่ ประโยชน์อย่างอืน่ นอกจาก ดอกเบีย้ ไม่วา่ จะเป็นเงิน หรือสิง่ ของ หรือโดยวิธกี ารใด ๆ จนเห็น ได้ชดั ว่าประโยชน์ทไ่ี ด้รบั นัน้ มากเกินอัตราดอกเบีย้ ทีก่ ฎหมาย กำ�หนดอันสมควรตามเงือ่ นไขแห่งการกูย้ มื เงิน (ปรับเป็นมาตรา 4) มาตรา 8 บุคคลใดได้มาซึง่ สิทธิเรียกร้องจากบุคคลอืน่ โดยรูว้ า่ เป็นสิทธิทไ่ี ด้มาจากการกระทำ�ความผิดตามมาตรา 4


และใช้สิทธิน้นั หรือพยายามถือเอาประโยชน์แห่งสิทธิน้นั ต้องระวางโทษดังทีบ่ ญั ญัตไิ ว้ในมาตรา 4 (ปรับเป็นมาตรา 5) มาตรา 9 เมื่อ ศาลพิ พ ากษาว่ า จำ�เลยมี ค วามผิ ด แต่ ร อการกำ�หนดโทษหรื อ รอการลงโทษไว้ ไ ม่ ว่ า จะมี คำ�ขอหรื อ ไม่ ศาลอาจนำ�วิ ธี ก ารเพื่ อ ความปลอดภั ย ตามมาตรา 39 (3)และ (5) แห่งประมวลกฎหมายอาญา มาใช้บงั คับโดยอนุโลม (ปรับเป็นมาตรา 6) และมาตรา 10 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี (ปรับเป็นมาตรา 7) 2. ที่ป ระชุ ม สภานิ ติบัญ ญั ติแ ห่ ง ชาติ เห็ น ชอบให้ ตัดร่างมาตรา 4 บทนิยามคำ�ว่าเจ้าหน้าทีร่ ฐั ด้วยมติเห็นด้วย 123 เสียง ไม่เห็นด้วย 68 เสียง งดออกเสียง 8 เสียง 3. ทีป่ ระชุมเห็นชอบให้ตดั ร่างมาตรา 6 บทกำ�หนดความผิด ในลักษณะฉกรรจ์และความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ด้วยมติเห็นด้วย 140 เสียง ไม่เห็นด้วย 45 เสียง งดออกเสียง 6 เสียง 4. ทีป่ ระชุมเห็นชอบให้ตดั ร่างมาตรา 7 บทกำ�หนดความผิด เจ้าหน้าทีร่ ฐั ดว้ ยมติเห็นด้วย 169 เสียง ไม่เห็นด้วย 14 เสียง งดออกเสียง 7 เสียง

การอำ�พราง เช่น เงินกูต้ ามโฆษณาในสังคมออนไลน์ ให้กเู้ งินด่วน ตามประกาศทีต่ ดิ ในทีส่ าธารณะหรือเสาไฟฟ้า เป็นต้น (3) อัตราโทษสูงขึ้นจากเดิม “จำ�คุกไม่เกินหนึ่งปีหรือ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท” เป็น “จำ�คุกไม่เกินสองปีหรือ ปรับไม่เกินสองแสนบาท” เป็นผลให้คดีอยู่ในอำ�นาจศาล จังหวัด ทำ�ให้พนักงานสอบสวนมีระยะเวลาในการสอบสวน มากกว่าเดิมและสามารถสอบสวนขยายผลได้ (4) อัตราโทษตามกฎหมายใหม่ระวางโทษ “จำ�คุก การพิจารณาวาระที่ 3 ไม่เกินสองปี” แต่หากมีการกระทำ�ผิดหลายกรรมต่างกัน ที่ ป ระชุ ม สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ เ ห็ น ชอบกั บ ร่ า ง ศาลสามารถลงโทษทุกกรรมเป็นกระทงความผิดไปตาม พระราชบัญญัตหิ า้ มเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. .... เห็นด้วย ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 91 โดยรวมโทษทุกกระทง 182 เสียง ไม่เห็นด้วย 3 เสียง และงดออกเสียง 5 เสียง แล้วโทษจำ�คุกทัง้ สิน้ ต้องไม่เกินสิบปี (5) ให้ศาลนำ�วิธกี ารเพือ่ ความปลอดภัย มาตรา 39 (3) สรุปสาระสำ�คัญของกฎหมาย เรียกประกันทัณฑ์บน มาตรา 39 (5) ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง เมื่อ พระราชบั ญ ญั ติห้า มเรี ย กดอกเบี้ย เกิ น อั ต รา มาบังคับใช้ไม่วา่ จะมีคำ�ขอหรือไม่ เพือ่ ป้องการกระทำ�ความผิดซํา้ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่วนั ที่ 16 มกราคม 2560 ทำ�ให้พระราชบัญญัตหิ า้ มเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ. 2475 บทส่งท้าย ถู ก ยกเลิ ก หลั ง จากบั ง คั บ ใช้ ม ายาวนานเกื อ บ 84 ปี กฎหมายฉบับนีน้ บั ได้วา่ มีความสำ�คัญเพราะเป็นกฎหมาย โดยกฎหมายฉบับใหม่มสี าระสำ�คัญดังนี้ ที่มีโทษทางอาญา ส่งผลให้การเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา (1) เป็นกฎหมายกลางทีบ่ งั คับใช้กบั การกูย้ มื เงินทุกประเภท เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายข้อตกลง ถือเป็นโมฆะเสียเปล่า ไม่ว่าจะเป็นหนี้นอกระบบหรือหนี้ในระบบสภาบันการเงิน การที่ลูกหนี้ทำ�สัญญาและยอมเสียดอกเบี้ยเกินอัตรา ซึง่ อัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ทัว่ ไปบัญญัตไิ ว้ในประมวลกฎหมายแพ่ง ในกฎหมายด้วยความสมัครใจ ทำ�ให้ลกู หนีไ้ ม่เป็นผูเ้ สียหาย และพาณิชย์มาตรา 654 ให้เรียกอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมได้ โดยนิตินัย และประการสำ�คัญเป็นกฎหมายเกี่ยวกับ ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี ส่วนการกู้ยืมเงินในระบบสถาบัน ความสงบเรี ย บร้ อ ยและศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน การเงินได้รับการยกเว้นให้เรียกดอกเบี้ยมากกว่าได้ตาม จึงเป็นบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ งั คับใช้กฎหมาย ในการนำ�ไปใช้ พระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน เป็นเครือ่ งมือเพือ่ รักษาความสงบเรียบร้อยของสังคมและ พ.ศ. 2523 หากมีการฝ่าฝืนเรียกดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเกินกว่า ปกป้องคุม้ ครองสิทธิของประชาชน นับได้วา่ เป็นโจทย์สำ�คัญ ทีก่ ฎหมายกำ�หนดจะเป็นความผิดตามกฎหมายฉบับนี้ ของกระทรวงยุตธิ รรมในฐานะเป็นผูร้ กั ษาการตามกฎหมาย (2) มาตรา 4 บัญญัตคิ ำ�ว่า “...อันมีลกั ษณะเป็นการ ในฉบั บ หน้ า ผมจะได้ พู ด คุ ย เรื่ อ งนี้ ต่ อ พร้ อ มเนื้ อ หา อำ�พรางการกู้ยืมเงิน” เป็นการบัญญัติเพื่ออุดช่องว่างของ ของกฎหมายและบทวิเคราะห์วา่ ประชาชนจะได้รบั ประโยชน์ กฎหมายฉบับเดิมให้ครอบคลุมการปล่อยเงินกูท้ ม่ี ลี กั ษณะเป็น จากกฎหมายฉบับนี้อย่างไร? Justice Magazine Ministry of Justice

61


เรื่องต องรู

กองบรรณาธิการ

ประเทศไทย

4.0

คืออะไร?

ในช วงระยะเวลาหลายเดือนที่ผ านมา คุณอาจเคยได ยินหรือผ านหูผ านตาคําว า “ประเทศไทย 4.0” หรือ “ไทยแลนด 4.0” มาบ างแล ว แต เชื่อว าหลายท านยังไม เข าใจถึงความหมายของคําดังกล าว ซึ่งคอลัมน เรื่องต องรู จะพาท านไปรู จักกับ “ประเทศไทย 4.0” หรือ “ไทยแลนด 4.0”

ประเทศไทย 4.0 เปนวิสยั ทัศนเชิงนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจ ของรัฐบาล ภายใตการบริหารประเทศของพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหนาคณะรักษาความมัน่ คง แห ง ชาติ (คสช.) โดยมี ยุท ธศาสตร สํา คั ญ ที่เ น น เรื่อ ง การพัฒนาสู “ความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” ดวยการสราง “ความเขมแข็งจากภายใน” ตามแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง” เมื่ อ ภายในประเทศมี ค วามเข ม แข็ ง แล ว การเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายในประเทศกับเศรษฐกิจโลก จึงเปนการปรับเปลีย่ นและพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา สามารถรั บ มื อ กั บ โอกาสและภั ย คุ ก คามแบบใหม ๆ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 ได โดยคําอธิบายเบื้องตนที่สามารถขยายความคําวา “ประเทศไทย 4.0” ใหเห็นภาพไดบา ง คือ เนือ่ งจากในอดีต ทีผ่ า นมา ประเทศไทยมีการพัฒนาดานเศรษฐกิจอยางตอเนือ่ ง

62

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ตัง้ แตยคุ แรก หรือเรียกวา ประเทศไทย 1.0 เนนภาคการเกษตร เปนหลัก เชน การผลิตและขาย พืชไร พืชสวน เปนตน ต อ มาในยุ ค ที่ ส อง หรื อ เรี ย กว า ประเทศไทย 2.0 เนนอุตสาหกรรมเบา เชน การผลิตและขายรองเทา เครื่องหนัง เครื่องดื่ม เครื่องประดับ เครื่องเขียน กระเปา เครื่องนุงหม เปนตน ถัดมาในยุคปจจุบัน หรือเรียกวา ประเทศไทย 3.0 เนนการอุตสาหกรรมหนักและการสงออก เชน การผลิตและขายสงออกเหล็กกลา การผลิตรถยนต การกลัน่ นํา้ มัน การแยกกาซธรรมชาติ ปูนซีเมนต เปนตน ซึ่งขณะนี้ประเทศไทยกําลังตกอยูในสภาวะของประเทศ กําลังพัฒนาทีต่ อ งเผชิญกับดักสําคัญ คือ “กับดักประเทศ รายไดปานกลาง” โดยเห็นไดจากในชวง 50 ปที่ผานมา ประเทศไทยไมสามารถพัฒนาตัวเองใหไปสูประเทศที่มี รายไดสูง จึงเปนประเด็นสําคัญที่ทําใหรัฐบาลตองสราง โมเดลใหม ขึ้ น มา เรี ย กว า ประเทศไทย 4.0 หรื อ


เรื่องต องรู

ไทยแลนด 4.0 ซึ่งเปน “เศรษฐกิจใหม” (New Engines of Growth) เพือ่ ปฏิรปู เศรษฐกิจ ของประเทศไทยใหเปนประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว และนํ า พาประชาชนทั้ ง ประเทศไปสู ผู ที่ มี รายไดสงู โดยมีเปาหมายในการพัฒนาใหเกิดขึน้ ภายในระยะเวลา 3-5 ป มีการปรับเปลี่ยน โครงสร า งเศรษฐกิ จ ไปสู Value-Based Economy หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน ดวยนวัตกรรม” แตเนื่องจากประเทศไทย ยั ง ติ ด อยู กั บ รู ป แบบเศรษฐกิ จ ที่ เ น น “ทํามากไดนอ ย” จึงทําใหตอ งมีการปรับเปลีย่ น รูปแบบของเศรษฐกิจใหเปน “ทํานอยไดมาก” ตั ว อย า งเช น เปลี่ ย นจากการผลิ ต สิ น ค า “โภคภัณฑ” ไปสูสินคาเชิง “นวัตกรรม” เปลี่ ย นจากการขั บ เคลื่ อ นประเทศด ว ย ภาคอุ ต สาหกรรม ไปสู ก ารขั บ เคลื่ อ น ด ว ยเทคโนโลยี ความคิ ด สร า งสรรค และนวัตกรรม เปลีย่ นจากการเนนภาคการผลิต สินคา ไปสูการผลิตที่เนนภาคบริการมากขึ้น ทัง้ นี้ ประเทศไทย 4.0 จะเปนการเปลีย่ นผาน ทั้งระบบใน 4 องคประกอบสําคัญ คือ 1. เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (traditional Farming) ในป จ จุ บั น ไปสูการเกษตรสมั ย ใหม ที่ เ น น การบริ ห าร จัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรตองรํา่ รวยขึน้ และเปนเกษตรกร แบบเปนผูประกอบการ (Enterpreneur) 2. เปลี่ ย นจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ไปสูก ารเปน Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง 3. เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่ ง มี ก ารสร า งมู ล ค า ค อ นข า งตํ่ า ไปสู High Value Services 4. เปลี่ยนจากแรงงานทักษะตํ่า ไปเปน แรงงานทีม่ คี วามรู ความเชีย่ วชาญและทักษะสูง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาว หมายถึง การสราง “เครือ่ งยนตเพือ่ ขับเคลือ่ นการเติบโต ทางเศรษฐกิ จ ชุ ด ใหม ” (New Engines of Growth) ดวยการแปลง “ความไดเปรียบ เชิ ง เปรี ย บเที ย บ” ของประเทศที่ มี อ ยู 2 ดาน คือ “ความหลากหลายเชิงชีวภาพ”

และ “ความหลากหลายเชิ ง วั ฒ นธรรม” ให เ ป น “ความได เ ปรี ย บในเชิ ง แข ง ขั น ” โดยการพัฒนาวิทยาการ ความคิดสรางสรรค นวัตกรรม วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจยั และพัฒนา แลวสามารถตอยอดความไดเปรียบ เชิงเปรียบเทียบ ออกเปน “5 กลุม เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเปาหมาย” คือ 1. กลุมอาหาร เกษตร และเทคโนโลยี ชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) 2. กลุ ม สาธารณสุ ข สุ ข ภาพ และ เทคโนโลยี ท างการแพทย (Health, Wellness & Bio-Med) 3. กลุ ม เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ อั จ ฉริ ย ะ หุ น ยนต และระบบเครื่ อ งกลที่ ใช ร ะบบ อิเล็กทรอนิกสควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) 4. กลุมดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตที่ เชื่ อ มต อ และบั ง คั บ อุ ป กรณ ต า งๆ ป ญ ญา ประดิ ษ ฐ แ ละเทคโนโลยี ส มองกลฝ ง ตั ว (Digital, IoT, Artificial Intelligence & Embedded Technology) 5. กลุม อุตสาหกรรมสรางสรรค วัฒนธรรม และบริการทีม่ มี ลู คาสูง (Creative, Culture & High Value Services) สําหรับ 5 กลุม เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เป า หมาย จะเป น รู ป แบบในการสร า ง “New Startups” ในดานตางๆ อาทิ กลุ ม ที่ 1 เทคโนโลยี ก ารเกษตร (Agritech) เทคโนโลยีอาหาร (Foodtech)

แหลงที่มา : ไขรหัส “ประเทศไทย 4.0” สรางเศรษฐกิจใหม กาวขามกับดักรายไดปานกลาง หนังสือพิมพไทยรัฐ 2 พ.ค. 2559

กลุม ที่ 2 เทคโนโลยีสขุ ภาพ (Healthtech) เทคโนโลยีการแพทย (Meditech) สปา กลุม ที่ 3 เทคโนโลยีหนุ ยนต (Robotech) กลุม ที่ 4 เทคโนโลยีดา นการเงิน (Fintech) อุ ป กรณ เชื่ อ มต อ ออนไลน โ ดยไม ต อ งใช คน (IoT) เทคโนโลยีการศึกษา (Edtech) อี – มาร เ ก็ ต เพลส (E–Marketplace) อี–คอมเมิรซ (E–Commerce) กลุ ม ที่ 5 เทคโนโลยี ก ารออกแบบ (Designtech) ธุรกิจไลฟสไตล (Lifestyle Business) เทคโนโลยี ก ารท อ งเที่ ย ว (Traveltech) การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การบริการ (Service Enhancing) ทัง้ นี้ 5 กลุม เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม เปาหมาย จะเปนสวนหนึง่ ของ “10 อุตสาหกรรม แหงอนาคต” (5 อุตสาหกรรมทีเ่ ปน Extending S-Curve บวก 5 อุ ต สาหกรรมที่ เ ป น New S-Curve) กลาวคือ ใน “10 อุตสาหกรรม แห ง อนาคต” จะมี บ างกลุ ม อุ ต สาหกรรม และเทคโนโลยี ที่ ยั ง ต อ งพึ่ ง พิ ง การลงทุ น จากตางประเทศเปนหลัก อาทิ อุตสาหกรรม การบิน (Aviation) สวนใน 5 กลุม เทคโนโลยี หลักและอุตสาหกรรมเปาหมาย จะเปนสวนที่ ตองพัฒนาดวยตนเองเปนหลัก และตอยอด ดวยเครือขายความรวมมือจากตางประเทศ ซึง่ สอดรับกับ “บันได 3 ขัน้ ” ของหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง คือ “การพึ่งพาตนเอง พึง่ พากันเอง และรวมกันเปนกลุม อยางมีพลัง” นั่นเอง Justice Magazine Ministry of Justice

63


กองบรรณาธิการ

ภาษายุติธรรม

Ponzi Scheme ‘แชร์ลูกโซ่’ ธุรกิจมหาภัยของคนอยากรวยเร็ว

PONZI WARNING SCHEME

“แชร์ลูกโซ่” เริ่มเป็นคำ�คุ้นหูใครหลายคนมากขึ้นในช่วงที่ผ่านมา จากข่าวคราวและเหตุการณ์ ในสังคมที่เกิดปรากฏการณ์การ “ต้มตุ๋น” ในรูปแบบเครือข่ายธุรกิจที่เหมือนร่ายเวทมนตร์ให้คน “อยากรวยเร็ว” ตัดสินใจควักทรัพย์สนิ เงินทองมาร่วมลงทุน ท้ายทีส่ ดุ ก็ตกเป็นเหยือ่ สิน้ เนือ้ ประดาตัว ไปหลายราย คอลัมน์ภาษายุติธรรมฉบับนี้ จึงขอแนะนำ�ให้รู้จักกับธุรกิจแชร์ลูกโซ่เพื่อไม่ให้ ผู้ตกเป็นเหยื่อมีปริมาณเพิ่มขึ้น และรู้เท่าทันถึงกลโกงอันฉาบฉวยในเบื้องต้นของเหล่ามิจฉาชีพ

64

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ภาษายุติธรรม

ประวัติศาสตร์คร่าว ๆ ของ “แชร์ลูกโซ่” (Ponzi scheme) เริ่มมาจาก ชาร์ลส์ พอนซี่ (CharlesPonzi) ชายชาวอิตาลี (ค.ศ. 1877-1949) เด็กล้างจานทีไ่ ด้เลือ่ นขัน้ เป็นบริกร แต่กถ็ กู ไล่ออกเพราะ นิสัยลักขโมย ความฉลาด (แกมโกง) ของเขาน�ำมาซึ่งพฤติกรรมผิด ๆ ทัง้ ปลอมเอกสาร ลักลอบพาคนต่างด้าวเข้าเมืองและอืน่ ๆ อีกมากมาย จนเขาถูกจับไปนอนห้องขังบ่อยครั้ง ซึ่งแผนรวยทางลัด (Ponzi scheme) ของเขาทีใ่ ช้หลอกล่อชาวบ้านในยุคนัน้ คือ ประกาศเชิญชวน คนทีต่ อ้ งการก�ำไรงาม ๆ ร้อยละ 50 จากเงินลงทุนในเวลาเพียง 3 เดือน พร้อมให้สัญญาเรื่องผลตอบแทน เขาด�ำเนินการทุกวิถีทางจนมีเงินหลั่งไหลเข้ามามากมายจาก คนอยากรวยและก็มากพอในการตัง้ บริษทั หลักการง่าย ๆ ของเขาคือ เมื่อได้รับเงินจากเหยื่อรายใหม่ เขาก็จะน�ำส่วนหนึ่งไปจ่ายดอกเบี้ย ให้เหยือ่ รายเก่าทีห่ ลงเชือ่ ลงทุนไว้ จากนัน้ ก็นำ� อีกส่วนมาเป็นค่าใช้จา่ ย ในการต้มตุ๋น แน่นอนว่าเงินส่วนที่เหลือเขากอบโกยเข้ากระเป๋า ตนเอง จึงไม่แปลกที่ฐานะของเขาดีขึ้นในเวลาไม่กี่เดือน และจะดีขึ้น อีกเรื่อย ๆ ตราบที่ยังมี “เหยื่อรายใหม่” เกิดขึ้น แต่ทุกอย่างก็ หยุดชะงักลงในปี ค.ศ.1920 เพราะเขาไม่ใช่นักต้มตุ๋นที่รอบคอบนัก มูลค่าความเสียหายที่สูงกว่า 20 ล้านเหรียญ ส่งผลให้สถาบันการเงิน ล้มลงถึง 6 แห่ง ผู้เสียหายนับพันราย และเขาถูกจ�ำคุกด้วยความผิด ฐานฉ้อโกงประชาชน

ปัจจุบัน แชร์ลูกโซ่มีวิวัฒนาการมากขึ้นภายใต้หลักการเดียวกัน แบ่งคร่าว ๆ ได้เป็น 3 กลุ่มหลักตามลักษณะกลุ่มผู้ตกเป็นเหยื่อ คือ • ประชาชนระดับรากหญ้า แชร์ลูกโซ่มักแฝงตัวมาในรูปแบบ การฌาปนกิจสงเคราะห์ • ประชาชนทั่ ว ไป แชร์ ลู ก โซ่ มั ก แฝงตั ว มาในรู ป แบบของ การร่วมลงทุนในสินค้าหรือบริการ • กลุ่มผู้มีเงินทุน และมีความรูค้ อ่ นข้างสูง แชร์ลกู โซ่พฒ ั นารูปแบบ เป็นการซื้อขายเงินตราต่างประเทศ หรือลงทุนในทองค�ำหรือหุ้น

ข้อสังเกตการลงทุนแบบไหนที่เข้าข่าย “แชร์ลูกโซ่” ได้บ้าง? 1. มีการชักชวนคนมาลงทุนเป็นสมาชิกเพิ่ม โดยผูท้ ชี่ กั ชวนมา จะได้รบั เงินตอบแทนเพิ่มเติม 2. จ่ายผลตอบแทนสูงเกินความเป็นจริง สังเกตง่าย ๆ คือ มีการลงทุน มากกว่า 20% ขึ้นไปต่อปี และจ่ายผลตอบแทนบ่อยมาก 3. ข้อมูลหรือแหล่งทีม่ าไม่นา่ เชือ่ ถือ ใช้ภาษาทีม่ ศี พั ท์เทคนิค แต่ไม่ สามารถหาความชัดเจนได้ ไม่มเี อกสารหรืองบการเงินแสดงให้ดู 4. รับเงินได้ไม่จำ� กัด ต้องเข้าใจว่าการระดมทุนในจ�ำนวนเท่าใดก็ได้ ในการท�ำธุรกิจ...ไม่สามารถเป็นไปได้ 5. มีการกระตุน้ อารมณ์ให้รว่ มลงทุนมากเป็นพิเศษ เช่น เชิญชวนให้ซอื้ อย่างไม่ลดละ เรียกง่าย ๆ คือ “ตือ๊ ” 6. แม้มเี อกสารทางกฏหมายชัดเจนก็ตอ้ งตรวจสอบ เพราะ“แชร์ ลูกโซ่” ไม่เหมือน“ธุรกิจเครือข่ายขายตรง” ทุกอย่างต้องมีทมี่ าทีไ่ ปของรายได้ที่ ชัดเจน กระทรวงยุติธรรมมีนโยบายให้กรมสอบสวน คดีพิเศษ (DSI) ดำ�เนินการเชิงรุกเพื่อป้องกัน และปราบปรามผู้กระทำ�ผิด โดยเร่งสอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานอีกหลายคดี โดย ขอเตื อ นพี่น้อ งประชาชนที่นิย มการลงทุ น ประเภทนี้ใ ห้ ระมั ดระวั ง ยั้งคิด ตรวจสอบ อย่างละเอียดรอบคอบ ก่อนลงทุนใด ๆ หรือ หากได้รบั ความเสียหาย มีเรือ่ งปรึกษา ร้องเรียน แจ้ ง เบาะแสการกระทำ�ผิ ด ในลั ก ษณะ แชร์ ลูก โซ่ สามารถติ ด ต่ อ ได้ ผ่า นช่ อ งทาง กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ เลขที่ 128 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุง่ สองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทร. 1202 หรือ www.dsi.go.th แหล่งข้อมูลอ้างอิง https://daily.rabbit.co.th http://www.engtest.net/mainoffice. php?status=detail&&type=03-03&&topic_id=3619 http://www.moneymartthai.com/knowledge/index.php?cat=dd5c07036f2975ff4bce568b6511d3bc&know_id=31 http://amonjou.blogspot.com/2013/11/ ponzis-scheme-pyramid-scheme.html

Justice Magazine Ministry of Justice

65


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

พิธีมอบประกาศเกียรติคุณแก่หน่วยงานที่ผ่านการ รับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ร่วมเป็นเกียรติในพิธมี อบประกาศเกียรติคณ ุ ให้แก่หน่วยงาน ทีผ่ า่ นการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน ซึง่ จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยมีนายธงทอง จันทรางศุ ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) เป็นประธานในพิธเี ปิด โดยมีหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมได้รบั ประกาศเกียรติคณ ุ ประกอบด้วย กรมคุมประพฤติ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และกรมราชทัณฑ์ ณ ห้องประชุมวายุภกั ษ์ อาคารศูนย์ประชุม วายุภกั ษ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพมหานคร

ประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการคอร์รัปชั่น พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี เปิดงานวันต่อต้านคอร์รัปชั่นสากล (ประเทศไทย) และประกาศ เจตนารมณ์ในการต่อต้านการคอร์รัปชั่น เพื่อกระตุ้นให้ทุกภาคส่วน ในสังคมตระหนักในผลเสียที่เกิดจากการทุจริตคอร์รัปชั่น รวมทั้ง ประสานความร่วมมือระหว่างองค์กร ภาคีเครือข่ายป้องกันการทุจริต และลดปัญหาการคอร์รัปชั่น สร้างกลุ่มเครือข่ายป้องกันการทุจริต ที่ยั่งยืนสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศ โดยมีนายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วยนางสาวรืน่ วดี สวุ รรณมงคล อธิบดี กรมบังคับคดี และผูแ้ ทนหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม เข้าร่วมฯ ณ หอประชุมมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม

รับเรื่องขอความเป็นธรรมจากประชาชน นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และโฆษกกระทรวงยุ ติ ธ รรม รั บ เรื่ อ งจากนางสาว นงนุ ช พิ นิ จ เขี ย น นายอนุ ม าส นุ ่ น ทะสอน และ นางล� ำ จวน วงศ์ เ ณร ซึ่ ง ถู ก ด� ำ เนิ น คดี ใ นความผิ ด ฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังฯ ณ บริเวณหน้าศูนย์บริการร่วม กระทรวงยุ ติ ธ รรม ชั้ น 2 อาคารราชบุ รี ดิ เ รกฤทธิ์ ศู น ย์ ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ โดยกระทรวงยุ ติ ธ รรม จะด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อให้ความช่วยเหลือ ในด้านกระบวนการยุติธรรมต่อไป

66

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

ต้อนรับปลัดกระทรวงยุตธิ รรมญีป่ นุ่ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับ นายฮิ โ รมุ คุ โ รกาวะ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมญี่ ปุ ่ น พร้ อ มคณะ ในโอกาสเข้าเยีย่ มคารวะและหารือข้อราชการในประเด็นความร่วมมือ กับหน่วยงานในกระบวนการยุตธิ รรมของไทย ณ ห้องรับรองกระทรวง ยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสนี้ยังได้หารือความร่วมมือในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม สหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรม และความยุติธรรม ทางอาญา สมัยที่ 14 (UN Crime Congress) ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้น ในปี พ.ศ. 2563 ณ ประเทศญี่ปุ่น

การประชุมระดับรัฐมนตรีว่าด้วยความร่วมมือ ด้านยาเสพติด 3 ประเทศ ที่อุบลราชธานี พลเอก นิวตั ร มีนะโยธิน ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง ยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธานเปิ ด การประชุ ม ระดั บ รั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปราม ยาเสพติ ด ระหว่ า งประเทศไทย ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ณ ห้องทับทิม สยาม 4 โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ คอนแวนชัน เซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี

แถลงข่าวกิจกรรม วิ่ง-ปั่น Inspire Run and Ride by Princess & Friends นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วยนาวาโท เอกสิทธิ์ เอี่ยมยิ้ม รองประธานจัดงาน Inspire Run and Ride by Princess & Friends ร่วมแถลงข่าวโครงการจัดการแข่งขัน วิ่ง-ปั่นจักรยาน เนื่ อ งในโอกาสครบรอบ 10 ปี การด� ำ เนิ น งานตาม โครงการก�ำลังใจในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พั ช รกิ ติ ย าภา จั ด โดยกองทุ น ก� ำ ลั ง ใจในพระด� ำ ริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ร่วมกับส�ำนักงาน กองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ณ โรงแรมพูลแมน Justice Magazine Ministry of Justice

67


รอบรู้เรื่องอาเซียน

นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

แผนพัฒนาประเทศ ในระยะยาวของประเทศ สมาชิกอาเซียน

ในแต่ละประเทศให้ความสำ�คัญไปที่แผนการพัฒนาประเทศ ในระยะยาวบนกรอบเวลาทีแ่ ตกต่างกัน พร้อมกับมีการจัดทำ� เป็นแผนการพัฒนาระยะกลาง 5 ปี ควบคูไ่ ปกับแผนการพัฒนา ประเทศในระยะยาว ช่วงนี้หลายหน่วยงานในประเทศไทยได้มีส่วนร่วม ในการจัดทำ�ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพือ่ เป็นแผนระยะยาว ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งผู้คนในสังคมก็เริ่มคุ้นชินกับ การกล่าวถึงยุทธศาสตร์ชาติกันแล้ว แต่มีข้อสงสัยกันว่า การจั ด ทำ�แผนพั ฒ นาประเทศในระยะยาวนั้ น ยั ง มี ความเหมาะสมกั บ ยุ ค สมั ย ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ในเรื่องต่าง ๆ อย่างรวดเร็วหรือไม่ และมีข้อสงสัยว่า ประเทศอืน่ ๆ มีการจัดทำ�แผนระยะยาวในลักษณะเดียวกันนี้ หรือไม่ ซึง่ ก็ได้มโี อกาสเห็นข้อมูลบางส่วนจากการประชุม ระหว่างหน่วยงานวางแผนระดับประเทศในสมาชิกอาเซียน (ASEAN High-Level Development Planning Conference) ระหว่างวันที่ 29-30 กันยายน 2559 โดยสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

68

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

แห่งชาติเป็นเจ้าภาพจัดไปทีโ่ รงแรมแชงกรีลา กรุงเทพมหานคร จึงขอนำ�ข้อมูลบางส่วนมาถ่ายทอดต่อ ณ ทีน่ ้ี การประชุมดังกล่าวมีผบู้ ริหารระดับสูงจากหน่วยงาน วางแผนในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 8 ประเทศ ได้ แ ก่ กั ม พู ช า เมี ย นมา ลาว มาเลเซี ย เวี ย ดนาม ฟิลปิ ปินส์ บรูไน และไทย เข้าร่วมการประชุม (ขาดสิงคโปร์ และอิ น โดนี เซี ย ) ซึ่ง มี ร ายละเอี ย ดของแต่ ล ะประเทศ โดยสังเขป ดังนี้ กัมพูชา กำ�ลังมีการจัดทำ�ร่างวิสยั ทัศน์ 2050 เพือ่ ให้ไปสู่ การเป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับสูง และประเทศ พัฒนาแล้ว โดยกำ�หนดแนวทางสำ�คัญ 4 ด้าน คือ 1) การรักษา การเติบโตทางเศรษฐกิจให้คงที่ในอัตรา ร้อยละ 7 ต่อปี 2) การสร้างงานและสร้างอาชีพ โดยเฉพาะในกลุม่ เยาวชน 3) การลดความยากจนอย่างน้อย ร้อยละ 1 ต่อปี และ 4) การ เสริมสร้างความสามารถทางกลไกสถาบันและการปกครอง เมี ย นมา กำ�หนดแผนพั ฒ นาประเทศ 20 ปี (2011-2030) เป็นกรอบการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยเน้นการปฏิรปู โครงสร้างเศรษฐกิจ และการดำ�เนินการ


รอบรู้เรื่องอาเซียน

ตามวิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียน และเป้าหมายการพัฒนาที่ ยัง่ ยืนของสหประชาชาติ โดยแบ่งการดำ�เนินงานออกเป็น 5 ปี 4 ระยะ เหมือนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาฯ 5 ปี ของประเทศไทย โดยระยะที่ 1 (2011-2015) เน้นการปฏิรปู ทางการเมือง สร้างเสถียรภาพและความมัน่ คง ระยะที่ 2 (2016-2020) เพิม่ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาการค้าชายแดน การพัฒนาระบบเกษตรสมัยใหม่ และการเพิม่ ระบบการส่งกระแสไฟฟ้า ระยะที ่ 3 (2021-2025) เน้นการพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานคมนาคมขนาดใหญ่ และสร้างนวัตกรรมเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน และกระจายอำ�นาจการบริการสู่ท้องถิ่น และระยะที่ 4 (2026-2030) จะเป็ น การส่ ง เสริ ม การลงทุ น พั ฒ นา ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม และการเกษตร โดยนำ�เทคโนโลยีชน้ั สูงมาปรับใช้ ลาว ก็กำ�หนดวิสัยทัศน์ไว้ในปี 2030 เช่นกันโดยตั้ง เป้าหมายให้พน้ จากการเป็นประเทศด้อยพัฒนาน้อยทีส่ ดุ (Least developed country; LDC) การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเพิ่มการมีส่วนร่วม ในการรวมกลุม่ ระดับภูมภิ าคและระดับโลก มาเลเซีย เป็นทีร่ กู้ นั แพร่หลายว่ามีการกำ�หนดวิสยั ทัศน์ 2020 (Wawasan 2020) เพือ่ มุง่ สูก่ ารเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึง่ ในการจัดทำ�แผนการพัฒนาประเทศก็ได้ใช้เป็นแผน 5 ปี เหมือนกับประเทศไทย โดยปัจจุบนั อยูใ่ นห้วงแผนฉบับที่ 11 ที่มุ่งเน้น 1) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพื่อมุ่งสู่สังคม ที่เป็นธรรมและเท่าเทียม 2) การปรับปรุงความเป็นอยู่ ของประชาชนทุกภาคส่วน 3) การพัฒนาทุนมนุษย์เพือ่ การเป็น ประเทศพั ฒ นาแล้ ว 4) การส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ สี เขี ย ว เพือ่ ความยัง่ ยืน 5) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของโครงสร้าง พืน้ ฐาน และ 6) การปรับเปลีย่ นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคบริการ เพื่อนำ�ไปสู่ความมั่งคั่ง เวียดนาม กำ�หนดเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาปี 2035 โดยเน้นความต่อเนือ่ งในการปฏิรปู และ การพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างมีธรรมาภิบาล การสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การยึดหลักนิติธรรม การใช้ทรัพยากรอย่างเต็มศักยภาพ และยัง่ ยืน การใช้เทคโนโลยีชน้ั สูงในการผลิต การพัฒนา เศรษฐกิจฐานความรู้ การพัฒนากฎหมายรองรับการแข่งขัน ที่เป็นธรรม การส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม และการปฏิรปู เศรษฐกิจเพือ่ ยกระดับอุตสาหกรรม การผลิต และบริการทีม่ มี ลู ค่าสูง

ฟิ ลิป ปิ น ส์ กำ�หนดวิ สัย ทั ศ น์ ร ะยะยาวระหว่ า งปี 2017-2040 โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา 4 ด้าน คือ 1) การรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ลดความยากจน และความเหลือ่ มลา้ํ ในสังคม 2) การเพิม่ บริการสาธารณสุข และหลักประกันให้ประชาชนเข้าถึง 3) การส่งเสริมโอกาส ในการเรี ย นรู้แ ละสนั บ สนุ น การใช้ เ ทคโนโลยี และ 4) การสร้างความสามัคคีในความหลากหลายของคนในชาติ บรูไน กำ�หนดวิสัยทัศน์บรูไน 2035 ใช้ควบคู่กับ แผนการพัฒนาระยะ 5 ปี โดยให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา เศรษฐกิจทีน่ อกเหนือจากทรัพยากรนํา้ มันและก๊าซธรรมชาติ เพื่อปรับเปลี่ยนจากการพึ่งพาน้าํ มันไปสู่การมีโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจทีห่ ลากหลาย จะเห็นได้ว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ต่างก็มแี ผนการพัฒนาประเทศในระยะยาวซึง่ แม้จะมีชว่ งเวลา ทีแ่ ตกต่างกัน แต่กเ็ ป็นการวางเป้าหมายในระยะยาวและ มักจะมีการจัดทำ�เป็นแผนการพัฒนาระยะกลาง 5 ปี ควบคู่ ไปกับแผนการพัฒนาระยะยาว ซึง่ ก็นา่ เสียดายทีไ่ ม่มผี แู้ ทน จากสิงคโปร์ และอินโดนีเซียมาเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว จึงยังไม่มกี ารนำ�เสนอข้อมูลทีค่ รบทัง้ 10 ประเทศ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยน่าจะเห็นแนวทางการพัฒนา หลายด้านทีส่ อดคล้องกันในหลายประเทศและอาจเห็น ตัวอย่างบางประการทีส่ ามารถนำ�มาปรับใช้ในกระบวนการ จั ด ทำ�แผนยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ท่ีกำ�ลั ง จะมี ข้ึน ภายหลั ง ร่างรัฐธรรมนูญทีผ่ า่ นประชามติได้ประกาศใช้และมีการจัดทำ� กฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติมากำ�หนดกระบวนการ และขัน้ ตอนในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ชาติตอ่ ไป

Justice Magazine Ministry of Justice

69


รู้จัก IT

กองบรรณาธิการ

หากเมืองไทย มี อินเทอร์เน็ต ในทุกพื้นที่ จะเป็นอย่างไร?

70

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


รู้จัก IT

ทุกวันนี้ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเมืองใหญ่ อาจทำ�ให้ผู้คนสัมผัส ได้ว่าชีวิตเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร มีความสะดวกสบายขึ้นเพียงใด แต่คงไม่เคยมีใครคาดคิด มาก่อนว่า หากการเติบโตแบบไม่หยุดยั้งของเทคโนโลยีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขยายผลไปสู่ ทัว่ ทุกพืน้ ที่ และเชือ่ มโยงทุกแห่งหนเข้าด้วยกันแล้วจะมีความเปลีย่ นแปลงอะไรทีน่ า่ สนใจเกิดขึน้ บ้าง พั น เอก ดร.เศรษฐพงค์ มะลิ สุ ว รรณ ประธาน กรรมการกิจการโทรคมนาคมและรองประธาน กสทช. ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นการสื่ อ สารโทรคมนาคม คาดการณ์ ถึงประเทศไทยในอนาคตก่อนปี ค.ศ. 2025 หรือใน ทศวรรษถั ด ไปว่ า เมื่ อ เทคโนโลยี สื่ อ สารเคลื่ อ นที่ 4G/5G อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงไปถึงทั่วทุกหมู่บ้าน และ Internet of Things (IoTs) สามารถเชื่อมโยงกันได้ อย่างสมบูรณ์แล้ว สังคมไทยอาจจะได้สมั ผัสกับสิง่ เหล่านี้ • เมื่ อ ต้ น ทุ น และราคาอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทุกชนิดถูกลงมาก คนไทยทุกคนจะมีโอกาสได้เป็นเจ้าของ อุปกรณ์ดงั กล่าวมากขึน้ สามารถหาซือ้ ได้งา่ ยและสะดวกขึน้ ไม่ว่าจะเป็นกล้องวงจรปิด (CCTV) สมาร์ทโฟน แทปเล็ต และอื่น ๆ • ใบขับขีแ่ ละป้ายทะเบียนรถทีก่ ำ�ลังขับอยูบ่ นถนน จะเชื่อมกับ CCTV ทั้งของรัฐ ประชาชน และเครื่องรับ สั ญ ญาณของตำ�รวจจราจรที่ กำ�ลั ง ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ยู่ เพื่อส่งข้อมูลไปยังศูนย์ควบคุมอาชญากรรมและจราจร แสดงผลแบบ Real time ช่ ว ยเพิ่ ม ความปลอดภั ย และปราบปรามอาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ • กล้ อ ง CCTV ที่ เชื่ อ มต่ อ กั บ 4G/5G ของ ประชาชนโดยการส่ ง เสริ ม จากรั ฐ ให้ ที่ อ ยู่ อ าศั ย และ ร้านค้าทุกแห่งมีไว้ในครอบครองในราคาตํ่า โดยแนะนำ� ให้โรงเรียนอาชีวะผลิตเพื่อใช้ในประเทศและลดภาษี นำ�เข้ า เทคโนโลยี ที่ จำ�เป็ น เพื่ อ การขยายเครื อ ข่ า ย และพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยขึน้ เองโดยประชาชน • ระบบการฝึ ก อบรมและการศึ ก ษาออนไลน์ จะได้รับการยอมรับ และรับรองวิทยฐานะเทียบเท่า การเรียนในห้องเรียน เพราะเทคโนโลยีจะทำ�ลายอุปสรรค ในเรื่ อ งเวลา สถานที่ ระยะทาง ส่ ง ผลให้ ก ารศึ ก ษา ในชนบทมีโอกาสเติบโตเท่าเทียมกับในเมือง • ตำ�แหน่งงานมากมายจะถูกยอมรับให้สามารถ ทำ�ได้จากที่บ้านหรือที่ใดก็ได้ เวลาใดก็ได้ และวัดผลจาก

ประสิ ท ธิ ภ าพและผลงานแทน การจ้ า งงานชั่ ว คราว ในบุคลากรทีเ่ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านจะเกิดขึน้ เป็นจำ�นวนมาก • e-Commerce และ m-Commerce จะเฟือ่ งฟู ทีส่ ดุ จากการร่วมกันพัฒนาโดยภาคธุรกิจและประชาชน ด้ ว ยการสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม จากภาครั ฐ เช่ น ป้ า แช่ ม ขายทุ เ รี ย นหลงลั บ แลข้ า งสถานี ร ถไฟที่ อุ ต รดิ ต ถ์ โดยมี LINE กลุ่ ม สำ�หรั บ ลู ก ค้ า ทั่ ว ประเทศ ลู ก ค้ า จึงสามารถสั่งสินค้าตรงกับป้าแช่มโดยปราศจากพ่อค้า คนกลางได้ ทำ�ให้ปา้ แช่มส่งทุเรียนขึน้ รถไฟไปยังจังหวัดต่าง ๆ ด้วยตัวเองได้ทุกวัน หรือสามารถส่งสินค้าในระยะใกล้ ด้วยจักรยานยนต์รับจ้างได้ • กลุ่มผู้ผลิตคอนเทนต์ต่าง ๆ จะแปรรูปเป็น สื่ อ ดิ จิ ทั ล ทั้ ง หมด หนั ง สื อ จะถู ก แทนที่ ด้ ว ย e-Book และ e-Magazine คล้ายกับในอดีตทีไ่ ม่มใี ครเชือ่ ว่า DVD จะถูกแทนด้วย Mobile Streaming แต่อนาคตจะมี แอพลิเคชัน Real Time Broadcasting ที่ทรงอิทธิพล และมีประสิทธิภาพกว่าที่มีอยู่ในปัจจุบันหลายเท่ามาใช้ ในวงการสื่อและการศึกษาอย่างแพร่หลาย • เทคโนโลยี Real Time Social Media และ Real Time Broadcasting จะก้าวหน้าไปจนถึงจุดสูงสุด และใช้ กัน อย่ า งแพร่ ห ลาย อุ ปกรณ์ สื่ อ สารขนาดเล็ก ติดตามตัว (Wearable Device) จะสามารถช่วยตรวจสอบ สุขภาพได้ตลอดเวลา เวลานัน้ ธุรกิจสถานพยาบาลรวมถึง ประกันภัยอาจะได้รับผลกระทบหากไม่ปรับตัว ท้ายที่สุด การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและอุปกรณ์ สือ่ สารอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงสิง่ ของรอบตัวเรา จะก้าว ไปจนถึงจุดทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกันทุกชิน้ ได้เกือบทัง้ หมด และเชือ่ ว่าในทศวรรษต่อไป การแชร์โครงสร้างพืน้ ฐาน และการแชร์ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร คื อ แนวคิ ด หลั ก ของ การบริหารจัดการของโลกในอนาคต โดยประชาชน จะกลายเป็ น จุ ด ศู น ย์ ก ลางในการบริ ห ารประเทศ และการบริหารธุรกิจอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้อย่างแน่นอน Justice Magazine Ministry of Justice

71


เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ

กองบรรณาธิการ

สูงวัย หัวใจใหม่

ห่างไกล อัลไซเมอร์ 72

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ

ถึงแม้ว่าโรคอัลไซเมอร์จะยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ทว่าหากได้รับการรักษา ในระยะเริ่มต้นเมื่อตรวจพบ ก็จะมีโอกาสสามารถช่วยชะลอพร้อมทั้งป้องกันความรุนแรง ที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่ในขณะเดียวกันเราสามารถป้องกันได้เพียงเริ่มจากเรื​ื่องง่าย ๆ ใกล้ตัว จริงอยูท่ รี่ ะบบร่างกายของคนเรามีการเสือ่ มถอย ตามกาลเวลา วิธีดูแลสุขภาพผ่านการรับประทาน อาหารอย่างเลือกสรรหมัน่ ออกก�ำลังกายและใช้ชวี ติ ให้สมดุล จึงเป็นกุญแจดอกส�ำคัญที่ท�ำให้เรื่องอายุ เป็นเพียงตัวเลขเท่านั้น สมองและระบบประสาท ของเราก็เช่นกัน เมื่อก้าวเข้าสู่ช่วงวัยสูงอายุ อาการหลง ๆ ลืม ๆ อาจเริ่มถามหา บางรายหนักถึงขั้นความทรงจ�ำ หายไป เรารู้จักอาการเหล่านี้ดีในชื่อ “อัลไซเมอร์” หรื อ โรคสมองเสื่ อ ม ซึ่ ง มั ก เกิ ด ขึ้ น กั บ ผู ้ สู ง อายุ ในจ�ำนวนทีม่ ากขึน้ เรือ่ ย ๆ นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิ บ ดี ก รมการแพทย์ กล่ า วว่ า อั ล ไซเมอร์ เกิดจากหลายปัจจัย ทั้งอายุที่เพิ่มขึ้น พันธุกรรม และสิง่ แวดล้อม ผูป้ ว่ ยโรคนีค้ วามสามารถในการจดจ�ำ จะลดลง มั ก หลงลื ม จ� ำ เหตุ ก ารณ์ ห รื อ ค� ำ พู ด ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่ได้ สับสนในสิ่งต่าง ๆ จนน�ำไปสู่ ปั ญห าก า รพู ด แ ล ะต า ม ม า ด ้ ว ย พฤ ติ กร ร ม ที่คนในครอบครัวเป็นกังวล เช่น ออกนอกบ้าน แล้ ว หาทางกลั บ บ้ า นไม่ ถู ก เป็ น ต้ น บางราย อาจไม่สามารถใช้ชีวิตได้ปกติ แม้อัลไซเมอร์ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่การรักษาระยะเริ่มต้นเมื่อตรวจพบก็สามารถ ช่วยชะลอและป้องกันความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เริ่มจากเรื่องใกล้ ๆ ตัว เช่น รับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ ลด ละ เลี่ยงรสหวาน มัน เค็ม เลือกผัก ผลไม้หลากสีให้เป็นเมนูโปรด เพราะมีประโยชน์ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ สมองอุ ด มด้ ว ยวิ ต ามิ น สารพั ด ชนิ ด เช่ น สี ม ่ ว งครามน�้ ำ เงิ น จากองุ ่ น บลู เ บอร์ รี่ หรื อ หอมแดง สี เ ขี ย วจากผั ก ผลไม้ ต ่ า ง ๆ เช่ น

ที่มาข้อมูล http://www.matichon.co.th/news/103163 http://www.hed.go.th/menu/253

แอปเปิ้ลเขียว กีวี องุ่นเขียว สีเหลืองจากมะม่วงสุก หรือสีส้ม สีแสดและแดงจากผลแครอท แตงโม พริ ก แดง มะเขื อ เทศ แอปเปิ ้ ล แดงฯ ควบคู ่ กั บ การออกก� ำ ลั ง กายสม�่ ำ เสมอเพื่ อ ให้ ก ลไก ร่างกายท�ำงานกันอย่างสอดประสาน นอกจากนี้ การฝึกบริหารสมองด้วยการหมั่นใช้ ความคิดและความจ�ำบ่อย ๆ ก็ถอื เป็นรหัสผ่านส�ำคัญ ศ.พญนันทิกา ทวิชาชาติ ภาควิชา จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย แนะน� ำ การออกก� ำ ลั ง กายสมองยอดนิ ย มจาก ต่างประเทศที่เรียกว่า “นิวโรบิก เอกเซอร์ไซร์” (Neurobics Exercise) เรียกง่าย ๆ ว่า ฝึกสมอง ผ่าน 5 ประสาทสัมผัส ทั้งมองเห็น ได้ยิน สัมผัส ได้ ก ลิ่ น ลิ้ ม รส และสั ม ผั ส ที่ 6 คื อ อารมณ์ ผ่ า นกิ จ กรรมง่ า ย ๆ เช่ น เรี ย นรู ้ ค อมพิ ว เตอร์ เล่นดนตรี วาดรูป ท�ำสวน ใช้งานแอพพลิเคชั่นแชท ยอดนิยมอย่างไลน์ (Line) คุยกับลูกหลาน ฝึกเขียน หนังสือข้างที่ไม่ถนัด ใช้มือคล�ำทดแทนการมองเห็น เป็ น ต้ น กิ จ กรรมเหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยกระตุ ้ น สมอง และระบบประสาทให้คนุ้ ชินต่อการตืน่ ตัว เพือ่ ใช้งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามช่วงวัย จากข้อมูลของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งได้ คาดการณ์ไว้ว่าในปี พ.ศ. 2563 จ�ำนวนผู้สูงอายุ ของประชากรไทยจะเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 16.8 นีจ่ งึ ไม่ใช่เรือ่ งทีค่ วรนิง่ นอนใจ เพราะการดูแลสุขภาพ ระบบสมองและระบบประสาทให้ดีเสียตั้งแต่วันนี้ ทั้งตัวคุณเองและผู้สูงอายุในครอบครัวย่อมส่งผล ให้สังคมผู้สูงอายุที่เริ่มจะขยายตัวขึ้นในอนาคต นั้นมีคุณภาพที่ดี ห่างไกลอัลไซเมอร์ เพื่อพบเจอ แต่ความทรงจ�ำดี ๆ ในสังคม

Justice Magazine Ministry of Justice

73


กองบรรณาธิการ

ทุกทิศทั่วยุติธรรม

ยุติธรรมทั่วไทย ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง ยุ ติ ธ รรมดำ�เนิ น กิ จ กรรมต่ า ง ๆ มากมาย เพื่ อ เผยแพร่ บทบาทภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน รวมทั้ง ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ ป ระชาชนเพื่ อ อำ�นวยความเป็ น ธรรม ลดความ เหลื่อมลํ้าทางสังคมอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

หน่วยบริการเคลื่อนที่

สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี พร้อมด้วยหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ลงพืน้ ทีใ่ ห้บริการประชาชนประจำ�ปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยร่วมกับหน่วยบริการจังหวัดเคลือ่ นที่ จั ง หวั ด ปั ต ตานี ประชาสั ม พั น ธ์ บ ทบาท ภารกิ จ บริ ก าร ของสำ�นั ก งานฯ และให้ คำ�ปรึ ก ษาข้ อ กฎหมายต่ า ง ๆ แก่ประชาชนในพื้นที่ ณ โรงเรียนบ้านบางมะรวด หมู่ท่ี 1 ตำ�บลบ้านกลาง อำ�เภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

เสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมายสู่ประชาชน

สำ�นักงานกิจการยุติธรรม (สกธ.) ร่วมจัดนิทรรศการให้ความรู้ ด้ า นกฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรมแก่ ป ระชาชน เนื่ อ งใน “วันไลออนส์สากลบริการ” เพื่อเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ บทบาทภารกิจ และสร้างโอกาสการเข้าถึงงานบริการด้านยุติธรรม แก่ประชาชน รวมทั้งเพื่ออำ�นวยความยุติธรรม ลดความเหลื่อมลํ้า ในสังคม ณ ศูนย์การค้าสุพรีม คอมเพล็กซ์ สามเสน กรุงเทพฯ ทั้งนี้ ภายในงานมีการจัดกิจกรรมบริการสังคมมากมาย อาทิ บริการ ตรวจคัดกรองผูป้ ว่ ยตาต้อกระจก การรับบริจาคโลหิต บริจาคแว่นสายตา ข้าวสาร และเครื่องยังชีพ บริการตัดผม และมอบทุนการศึกษา แก่เด็กนักเรียน เป็นต้น

74

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

มาตรฐานสหประชาชาติ

สถานพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน จังหวัดแพร่ จัดประชุมคณะกรรมการประเมินผล การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน ตามมาตรฐาน ขององค์การสหประชาชาติ โดยกำ�หนดวัตถุประสงค์ การประชุมคือ เพือ่ เปิดโอกาสให้องค์กรภายนอก เข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแลคุณภาพชีวติ ของเด็ก และเยาวชน และพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในการดำ�เนินงานของสถานควบคุม ด้านการบริการ ในเรือ่ งการดูแลสภาพความเป็นอยู่ ของเด็กและเยาวชน อนั ได้แก่ อาหาร ความเป็นอยู่ การศึกษา สภาพแวดล้อม การเคลื่อนย้ายเด็ก หรือเยาวชน การรักษาพยาบาล ณ ห้องคลินิก ให้คำ�ปรึกษาครอบครัวอบอุ่น ชั้น 2 สถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดแพร่

พัฒนาสาธารณประโยชน์

แจ้งสิทธิผู้เสียหาย

สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ภาค 2 มอบหมายให้ นายปิยะณัฐ บุญหลาย ผู้ช่วยปฏิบัติงานด้านนิติกร ลงพื้นที่ ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง กรณี พ บศพเด็ ก ชาย อายุ 6 ขวบ เสียชีวิตในพื้นที่อำ�เภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น เพื่อแจ้งสิทธิ ตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ ค่าใช้จา่ ยแก่จำ�เลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 แก่ทายาทของเด็กชาย เมือ่ วันที ่ 11 ตลุ าคม 2559 โดยได้รบั ความร่วมมือจากบ้านพักเด็ก และครอบครั ว จั ง หวั ด ขอนแก่ น สำ�นั ก งานพั ฒ นาสั ง คมและ ความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัดขอนแก่น และโรงพยาบาลมัญจาคีรี ในนามสหวิชาชีพและศูนย์พึ่งได้ (OSCC) จังหวัดขอนแก่น

เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 ประชาสังคมนครปฐม ร่วมกับคณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร นักศึกษา นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จัดกิจกรรม พานักศึกษาเข้าศึกษาและเก็บข้อมูลสถาปัตยกรรมภายใน เรือนจำ�กลางนครปฐม (หลังเก่า) ทั้งนี้ เพื่อนำ�ข้อมูลที่ได้ ไปประมวลผลการออกแบบตามหลักวิชาการ ประเมินคุณค่า ทางสถาปัตยกรรม คุณค่าทางประวัติศาสตร์ และเรื่องราว ท้องถิ่นที่มีความเชื่อมโยงกับการบูรณะองค์พระปฐมเจดีย์ และการสร้างเมืองนครปฐม รวมทั้ง คุณค่าต่อการพัฒนา พื้นที่เรือนจำ�ให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะในอีกหลายมิติ โดยผลการศึกษาเชิงวิชาการทั้งหมด คณะผู้ดำ�เนินงาน จะมอบคืนให้แก่ชาวนครปฐม เพื่อนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ แก่สาธารณะต่อไปในอนาคต

Justice Magazine Ministry of Justice

75


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

ความรู้สู่ผู้นำ�ชุมชน

นายนรินทร์ พรหมสาขา ณ สกลนคร นักวิชาการยุตธิ รรม ชำ�นาญการ รักษาการในตำ�แหน่งยุติธรรมจังหวัดขอนแก่น นำ�คณะเจ้ า หน้ า ที่ สำ�นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ขอนแก่ น บรรยายให้ความรูเ้ กีย่ วกับบทบาทภารกิจของศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน แก่ผนู้ ำ�ชุมชน จำ�นวน 95 ชุมชน ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ณ ห้องประชุมเป็งจาล เทศบาลนครขอนแก่น อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

กฎหมายสำ�หรับผู้ประกอบการฯ

สำ�นักงานบังคับคดีจงั หวัดนครสวรรค์ จัดโครงการ ให้ความรู้เรื่องกฎหมายสำ�หรับผู้ประกอบการธุรกิจ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (SMEs) และกฎหมายฟืน้ ฟูกจิ การของธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) รุน่ ที่ 7 โดยมีนายพีระ อัครวัตร หัวหน้าผูต้ รวจราชการกรมบังคับคดี เป็นประธานในพิธเี ปิด และได้รบั เกียรติฯ จากนายเชษฐ์ชฎิล กาญจนอุดมการณ์ หัวหน้าส่วนกฎหมายสำ�นักงานฟืน้ ฟูกจิ การของลูกหนี้ มาเป็นวิทยากรในการบรรยาย โดยมีประธานหอการค้า นครสวรรค์ ผูจ้ ดั การธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME Bank) สาขานครสวรรค์ ผูจ้ ดั การ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขานครสวรรค์ ผู้เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไป เข้าร่วมโครงการฯ กว่า 120 คน พร้อมกันนี้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME Bank) ได้ออกร้านเพือ่ ให้บริการ ข้อมูลและคำ�ปรึกษาแก่ประชาชน และผูป้ ระกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการฯ ด้วย ณ โรงแรมแกรนด์ฮิลล์ รีสอร์ทแอนด์สปา จังหวัดนครสวรรค์

76

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

ส่งเสริมระงับข้อพิพาท

สำ�นั ก งานยุ ติธ รรมจั ง หวั ด ระนองร่ ว มกั บ กรมคุ้ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ จั ด โครงการ ประชุมการขับเคลื่อน สรุปและถอดบทเรียน กิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม การระงั บ ข้ อ พิ พ าท ในชุ ม ชน จั ง หวั ด ระนอง ประจำ�ปี 2559 ณ โรงแรมไฮเฟลอินน์ อำ�เภอเมือง จังหวัดระนอง

บริการสังคม

นายสายยนต์ ปัญญาทา ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุมประพฤติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นำ�ผู้ถูกคุมความประพฤติร่วมกิจกรรม ทำ�งานบริ ก ารสั ง คมแบบกลุ่ ม ทำ�ความสะอาด พั ฒ นาสถานที่ และปรับภูมิทัศน์ ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และบริเวณสถานทีร่ าชการโดยรอบ โดยมีวา่ ที่ ร.ต.อภินนั ท์ เผือกผ่อง ปลัดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กล่าวเปิดกิจกรรม พร้อมให้โอวาท และให้ กำ�ลั ง ใจแก่ ผู้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ในครั้งนี้ด้วย

Justice Magazine Ministry of Justice

77


ศาสตราจารย์นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล ศาสตราจารย์ระดับ 11 ผู้ทรงคุณวุฒิภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เก็บมาเล่า

ความสนใจทางเพศ

กับการข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา

บทความนี้มาจากการศึกษาวิจัยเรื่อง “เยาวชนกระทำ�ความผิด คดีข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา” ซึ่งเป็นการเขียนตอนที่ 2 ในตอนแรกอยู่ในวารสาร ประจำ�เดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2559 สำ�หรับบทความนี้ผู้เขียนจะให้ ความสำ�คัญทีค่ วามสนใจทางเพศ ซึง่ กำ�หนดให้เป็นตัวแปรอิสระตัวแปรหนึง่ ของการวิจัยครั้งนี้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เยาวชน ผู้กระทำ�ความผิดคดีข่มขืนกระทำ�ชำ�เราที่รับสารภาพ ซึ่งคดีขึ้นสู่ศาล เยาวชนและครอบครัวภาค 1 รวมจำ�นวนกลุ่มตัวอย่าง 140 คน ผู ้ ใ หญ่ โ ดยทั่ ว ไปมั ก มี มุ ม มองว่ า เด็ ก และเยาวชนเป็ น กลุ ่ ม เสี่ ย งต่ อ การกระท�ำ ผิ ด เนื่องจากมีความอ่อนด้อยทางความคิด มีวุฒิภาวะต�่ำ ขาดประสบการณ์ ขาดความรู้สึก ผิดชอบชั่วดี และขาดความรู้เท่าทันบุคคลรอบข้าง โดยเฉพาะคนที่มุ่งร้ายต่อพวกเขา ด้วยธรรมชาติและความต้องการของเยาวชน ช่วงวัยรุน่ จึงเป็นวัยทีก่ ระท�ำผิดโดยง่าย ซึง่ จะได้ กล่าวถึงการกระท�ำความผิดด้วยการข่มขืนกระท�ำช�ำเรา ข้อมูลทางสถิตปิ ี พ.ศ. 2556 มีคดีขม่ ขืนสูก่ ารพิจารณาในศาลชัน้ ต้นประมาณ 4,000 คดี ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นการข่มขืนกระท�ำช�ำเราเด็กหญิงอายุไม่เกิน 15 ปี ประมาณ 2,500 คดี ขณะที่ การส�ำรวจข้อมูลสถิตภิ าคประชาชนในปี 2555 พบว่า กลุม่ ตัวอย่างประมาณ 0.05% ตกเป็น เหยื่อในคดีข่มขืน และหากค�ำนวณเทียบจ�ำนวนประชากรทั่วประเทศพบว่า เกิดคดีข่มขืน ขึน้ จริงกว่า 3,000 คดีในแต่ละปี หรือเกิดขึน้ 1 คดี ทุก ๆ 15 นาที เท่ากับว่ามีคดีขม่ ขืนทีไ่ ม่ได้ มีการแจ้งความกับต�ำรวจถึง 87%

78

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เก็บมาเล่า

ก่ อ นอื่ น ผู ้ เ ขี ย นใคร่ ข อกล่ า วถึ ง ทฤษฎี ที่ บ อกถึ ง สาระ ส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ เพศ ซึ่ ง เป็ น ที่ ม าของบุ ค ลิ ก ภาพของคน ทฤษฎี จิ ต วิ เ คราะห์ (Psychoanalysis Development) เจ้ า ของทฤษฎี คื อ ซิ ก มั น ต์ ฟ รอยด์ อธิ บ ายว่ า พฤติ ก รรมต่ า ง ๆ ของมนุ ษ ย์ ความรู ้ สึ ก นึ ก คิ ด อารมณ์ แ ละการกระท� ำ ต่ า ง ๆ ของคนเกิ ด จากแรงผลั ก ดั น ความต้ อ งการโดยสั ญ ชาตญาณ ทางเพศ (Sexual Drive) ซึ่ ง เกิ ด จากโครงสร้ า งทางจิ ต ใจ ที่ เ รี ย กว่ า อิ ด (Id) การท� ำ งานของจิ ต ใจระดั บ นี้ จ ะเป็ น แบบ ท�ำตามความต้องการของตนเองโดยปราศจากเหตุผลเปรียบเป็น การท� ำ งานของจิ ต ใจขั้ น ปฐมภู มิ การแสดงออกหรื อ พฤติ ก รรม การกระท� ำ โดยปราศจากเหตุ ผ ล การท�ำให้ตนเองพอใจและมีความสุข ความพอใจทางเพศจึงเป็นการระบาย ทางเพศที่ออกมาอย่างถูกต้องและ ไม่ถูกต้อง การข่มขืนกระท�ำช�ำเรา จึงเป็นทางออกอย่างหนึ่งที่ไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย ก่ อ นอื่ น ผู ้ เ ขี ย นขอกล่ า วถึ ง ฟรอยด์วา่ เขาได้แบ่งการท�ำงานของ จิตใจออกเป็นอิด (Id) อีโก้ (Ego) และซุปเปอร์อโี ก้ (Super Ego) แต่ใน บทความนี้ขอกล่าวเฉพาะอิด (Id) ซึง่ เป็นส่วนประกอบด้วยความต้องการ ตามสั ญ ชาตญาณตามธรรมชาติ (Instinctual drive) ผูเ้ ขียนขอเสนอ ทฤษฎี ก ารวิ วั ฒ นาการของบุ ค คล โดยฟรอยด์ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ไปที่ อวัยวะเพศ เขาได้แบ่งพัฒนาการของบุคคล เป็ น ช่ ว งล� ำ ดั บ อายุ มี 5 ขั้ น ล� ำ ดั บ อายุ ต ามแนวที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความพอใจทางเพศ สรุปได้ดังนี้ ระยะปากเริ่มตั้งแต่เกิดถึงอายุ 1 ขวบ แนวที่ก่อให้เกิดความพอใจทางเพศ คือ ปาก เด็กจะได้รับ ความพอใจเมื่ อ มี อ ะไรมากระตุ ้ น ที่ ป าก เช่ น การดู ด การกั ด การมีอะไรเข้ามาใส่ปาก ต่อมาเป็นระยะทวาร ช่วงอายุ 1-3 ขวบ เด็กจะได้รบั ความพอใจ เมือ่ มีอะไรมากระตุน้ เยือ่ บุทวาร มีการสัมผัส เสียดสีบริเวณทวาร เมื่ออายุ 3-5 ขวบ เป็นระยะเพศตอนต้นที่ก่อ ให้เกิดความพอใจทางเพศ คือ อวัยวะสืบพันธุใ์ นเด็กผูช้ าย คือ เพนนิส และเด็กผูห้ ญิง คือ คริตอริส เด็กจะได้รบั ความพอใจจากการลูบคล�ำ หรือการที่มีอะไรมากระตุ้นอวัยวะสืบพันธุ์ตอ่ มาอายุตงั้ แต่ 7-14 ปี เป็นระยะเกิดปรากฏการณ์กบั เด็กผูช้ ายทีม่ คี วามรูส้ กึ ทางเพศ มีความรัก และผูกพันกับแม่ ขณะเดียวกันก็มคี วามรูส้ กึ เกลียดพ่อ โดยคิดไปว่า

พ่อจะมาแย่งความรักจากแม่ไป ส�ำหรับเด็กผู้หญิงก็จะมีความรัก ความผูกพันกับพ่อ และในขณะเดียวกันก็เกลียดแม่ ซึง่ เป็นผูม้ าแย่ง ความรักจากพ่อไป ความรูส้ กึ ดังกล่าวเด็กผูช้ ายและเด็กผูห้ ญิงในวัยนี้ จะค่อย ๆ หายไปในระยะสุดท้ายตั้งแต่วัยรุ่นจนตาย ที่ส�ำคัญคือ ในระยะวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ เช่น ผู้หญิง มีประจ�ำเดือน ผู้ชายเริ่มมีน�้ำกาม บุคลิกจะมีอารมณ์อ่อนไหวง่าย แรงผลักดันทางสัญชาตญาณรุนแรงขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความรูส้ กึ ทางเพศ สรุปได้วา่ พฤติกรรมการกระท�ำของมนุษย์ตามแนวคิดของฟรอยด์ มาจากเพศเป็นส�ำคัญ สัญชาตญาณทางเพศเป็นการเกิดขึน้ มาโดยเป็น พื้นฐานของบุคคล การพัฒนาการ บุคลิกภาพของบุคคลควรเป็นไปตาม ล�ำดับตามช่วงอายุ ถ้ามีการหยุดชะงัก หรือหยุดอยู่กับที่ ตรึงแน่น คนนั้น ก็ จ ะมี บุ ค ลิ ก ภาพที่ มี ป ั ญ หา เช่ น การหมกหมุ ่ น ทางเพศ หรื อ สนใจ เรื่องทางเพศมากเกินไป จนในที่สุด ควบคุมไม่ได้ ไม่สามารถระบายออกไป ให้ถกู ทาง จึงต้องข่มขืนกระท�ำช�ำเรา ซึง่ อธิบายได้วา่ ความต้องการทางเพศ จะสะสมมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงจ�ำเป็น ต้องหาทางระบายความรูส้ กึ ทางเพศ ซึ่ ง รวมถึ ง การข่ ม ขื น กระท� ำ ช� ำ เรา ในรูปแบบหนึง่ ทีส่ ามารถระบายได้ เมื่ อ พิ จ ารณาภาพรวมการ เปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมถื อ ว่ า เป็ น การเปลี่ ย นแปลงโดยธรรมชาติ ซึง่ เป็นไปตามวันเวลาย่อมเปลีย่ นแปลง ไม่ ว ่ า จะเป็ น ปั จ เจกชนหรื อ สั ง คม และประเทศชาติ การเปลี่ยนแปลง จึงเป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ ปัจจัยทีเ่ ป็นสาเหตุการเปลีย่ นแปลงอย่างหนึง่ คือ นวัตกรรม (Innovation) เป็นการค้นพบสิง่ ใหม่ ๆ ขึน้ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็นสิง่ ทีเ่ ราสามารถค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ทางอินเตอร์เน็ต ผลทีต่ ามมา เกิดทัง้ ประโยชน์และโทษ เกิดความเสียหายคือ การกระท�ำผิดอาจเกิดจาก การเรียนรูท้ มี่ กี ารติดต่อกันทางสือ่ เนือ่ งจากข้อมูลต่าง ๆ ติดต่อไปถึงกัน แบบไร้พรมแดนในยุคโลกาภิวตั น์ (Globalization) การใช้อนิ เทอร์เน็ต ท�ำให้เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมจากต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศตะวันตก ประเพณีแบบสังคมเปิด เช่น การมีพฤติกรรมทางเพศระหว่างชายหญิง เป็นเรื่องธรรมดา การแสดงออกค�ำพูดและกอดจูบในที่สาธารณะ ตลอดจนการแต่งกาย ท�ำได้โดยอิสระและเปิดเผยนอกจากนัน้ เทคโนโลยี ทางเพศมีรปู แบบกระตุน้ แรงขับทางเพศค่านิยมของเยาวชนในยุคปัจจุบนั ต้องการอิสระเสรีภาพกล้าแสดงออกทั้งความคิดและการกระท�ำ Justice Magazine Ministry of Justice

79


เก็บมาเล่า

แต่ไร้ศลี ธรรม คนในสังคมขาดความเชือ่ ทีถ่ กู ต้องดีงาม ขาดความยึดเหนีย่ ว ต่อศาสนาและครอบครัว มีพฤติกรรมเบีย่ งเบนจนไม่สามารถควบคุมได้ สังคมลักษณะนีเ้ รียกว่า “ANOMIE” Anomic is a breakdown in culture unity that results from a lack of clear social norms. ผลทีต่ ามมาจากการทีส่ งั คมไร้ระเบียบ ท�ำให้คณ ุ ภาพทางจิตใจตกต�ำ่ เยาวชนจ�ำนวนไม่นอ้ ยหมกหมุน่ กับอบายมุขมีการดืม่ สุรา เทีย่ วกลางคืน และการคบหาสมาคมส�ำส่อนทางเพศโดยเฉพาะเยาวชนทีม่ ธี รรมชาติ และความต้องการทางเพศในช่วงวัยรุ่นอยู่แล้ว จึงมีการรวมตัว ที่สถานเริงรมย์และบ้านเพื่อนเช่น เต้นร�ำในจังหวะเร่งเร้าทางเพศ มีการใกล้ชดิ สัมผัสเสียดสีอวัยวะทางเพศ ข้อมูลทีป่ รากฏจากการวิจยั เยาวชนที่กระท�ำความผิดคดีข่มขืนกระท�ำช�ำเราและรับสารภาพ คดีขนึ้ สูศ่ าลเยาวชนและครอบครัว ซึง่ เป็นศาลอยูใ่ นเขตภาค 1 เยาวชน กลุม่ ตัวอย่างมีความสนใจทางเพศ โดยมีพฤติกรรมแสดงออกต่าง ๆ เยาวชนทั้ง 140 คน เมื่อค�ำนวณออกมาเป็นค่าเฉลี่ย ข้อค�ำถาม มีทงั้ หมด 15 ข้อ ความสนใจทางเพศโดยมีพฤติกรรมแสดงออกมากทีส่ ดุ 5 อันดับแรก เรียงล�ำดับ คือ ชอบดูวีดีโอ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.90 ชอบดูภาพยนตร์ทางเพศ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.88 ชอบดูอินเทอร์เน็ต เกีย่ วกับเพศ ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 1.88 ชอบไปเทีย่ วสถานเริงรมย์มคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 1.76 อันดับสุดท้ายชอบเบียดเสียดผูห้ ญิงทีแ่ ต่งตัวโป๊เมือ่ มีโอกาส ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 1.75

ความสนใจทางเพศรองลงมา ได้แก่ ชอบดูขาอ่อนผูห้ ญิง ชอบติดภาพ ผู้หญิงแต่งตัวโป๊ในห้องพักส่วนตัว และชอบซื้อนิตยสาร “ผู้หญิง” มี จ� ำ นวนค่ า เฉลี่ ย ใกล้ เ คี ย งกั น ส� ำ หรั บ ค่ า เฉลี่ ย ที่ มี จ� ำ นวนต�่ ำ คื อ ชอบสะสมชุดชั้นในผู้หญิง ชอบถ่ายรูปผู้หญิงแต่งตัวโป๊ และชอบใช้ กล้องส่องทางไกลขยายดูอวัยวะเพศของผู้หญิง อย่างไรก็ตามข้อมูล ทีน่ า่ สนใจเยาวชนกลุม่ ตัวอย่าง 140 คน ดังกล่าวจะชอบพูดคุยกับเพือ่ น เกี่ยวกับการมีความสัมพันธ์ทางเพศ และมีการแลกเปลี่ยนทัศนะกัน ในการสนทนา ซึ่งมีการคุยกันบ่อยครั้งกับเพื่อนในกลุ่มที่คบกัน แสดงว่าการพูดคุยเกีย่ วกับเพศดังกล่าวผูเ้ ขียนเห็นว่ายิง่ เป็นการกระตุน้ เร่งเร้า ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารกระท�ำความผิดด้วยการข่มขืนกระท�ำช�ำเราในทีส่ ดุ ขั้นสุดท้ายของการวิจัยเชิงปริมาณจากการพิสูจน์สมมติฐานพบว่า ความสนใจทางเพศมีผลต่อรูปแบบการข่มขืนกระท�ำช�ำเรา ซึง่ หมายถึง จ�ำนวนคนทีร่ ว่ มกันข่มขืน คนเดียว หรือ มากกว่านัน้ ทัง้ นีโ้ ดยมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ .046 และที่รุนแรงกว่านั้นการพิสูจน์สมมติฐานพบว่า ความสนใจทางเพศมีผลต่อการข่มขืนกระท�ำช�ำเราที่มีการใช้อาวุธ โดยมีระดับนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ี่ .032 สดุ ท้ายนีผ้ เู้ ขียนใคร่ขอให้ทกุ ๆ คนเห็นว่า เด็กและเยาวชนคือ “อนาคตของชาติ” ผลจากการวิจยั เชิงปริมาณท�ำให้ทราบว่าความสนใจ ทางเพศของเยาวชนมีทมี่ าจากทางใด ถ้าสามารถเข้าถึงต้นเหตุหรือสาเหตุ ของปัญหาความสนใจทางเพศของเยาวชนผูก้ ระท�ำความผิด กล่าวได้วา่ ไม่เฉพาะแต่พ่อ แม่ ผู้ปกครอง จะเป็นผู้รับผิดชอบในการกระท�ำ ของเยาวชนเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง ผูท้ ม่ี อี ำ� นาจในการออกกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ในการใช้เป็นแนวทางในการป้องกันหรือแก้ไข ให้เยาวชนผูก้ ระท�ำความผิดมีจติ ส�ำนึกทีด่ ี คิดปรับปรุงตัวเองให้ดขี นึ้ โดยทุกฝ่ายควรตระหนักว่า “เด็กวันนี้ คือ ผูใ้ หญ่ในวันหน้า” บรรณานุกรม รศ.นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล, อาชญาวิทยาคลีนคิ , สำ�นักพิมพ์โอเดียนสโตร์ กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ พ.ศ. 2557 Freud Sigmund, “The Ego and The Id” in the Complete Psycholocal Work of Sigmund Freud Vol. 19 London : The Hogarth Press, 1961 Mark Findlay, The globalization of Crime, United Kingdom, Cambridge Press, 2000 Neil J. Smelser, Sociology, New jersey, Prentice Hall Englewood Clift 1984 Wall David, Crime and Internet, London : Routledge, 2001 ศาสตราจารย์ระดับ 11 ผูท้ รงคุณวุฒิ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกลาง สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ 2557 Freud Sigmund, “The Ego and the Id” in The Complete Psychological Work of Sigmund Freud Vol.19 London : Hogarth Press, 1961, p.12 Sydney M. gourard, Ted Landsman, Healthy Personality, London Macmillan Publishing Inc, 1980, pp. 329-333 รศ.นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล, อาชญาวิทยาคลีนคิ , สำ�นักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. 2535, หน้า 19-22 Neil J. Smelser Sociology, New jersey, Prentice Hall Englewood Clift 1984 p.25 Wall David, Crime and Internet, London : Rontledge, 2001, p.3 Mark Findlay, The globalization of Crime, United Kingdom, Cambridge Press, 2000, p.62

80

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม



วารสารยุติธรรม l Justice Magazine

เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine

กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

1 ทศวรรษสู่ความสำ�เร็จ แห่งระบบยุติธรรม

คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

ไทยจับมือกลุ่มสมาชิกอาเซียน สร้างกลไกเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ แก้ ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน

กระทรวงยุติธรรม Ministry of Justice

ยุติธรรมเพื่อประชาชน

การเปลี่ยนผ่านหลัง ประกาศใช้พระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558

คน เงิน แผน

สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม

สำ�นักงานรัฐมนตรี

กรมสอบสวน คดีพิเศษ

กรมคุมประพฤติ

สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม

กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ

สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์

โทรศัพท์ 0 2141 5100

สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน

สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ

กรมราชทัณฑ์

facebook.com

/Ministry of Justice, Thailand

26

03 เรื่องจากปก

42

กระทรวงยุติธรรม กับการแก้ปัญหา หนี้นอกระบบ

44

ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

สถาบัน อนุญาโตตุลาการ

ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม กับความรับผิด ทางอาญา ตอน 3 ปฐมบทของการแก้ ไขกฎหมาย

ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 ประจำ�ปี 2560

www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส

กรมบังคับคดี

10

58 รู้จักไอที

จะเป็นอย่างไร? หากเมืองไทย มี อินเทอร์เน็ต ในทุกพื้นที่

70


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.