Untitled-1 2
3/24/2014 5:52:39 PM
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทภารกิจของกระทรวงยุติธรรม และความรู้ด้านกฎหมายที่จ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ จัดทำ�โดย
30,000 เล่ม เดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 กลุม่ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0-2141-5100 โทรสาร : 0-2143-8289-90 www.moj.go.th Facebook.com/Ministry of Justice, Thailand
ออกแบบและจัดพิมพ์โดย
บริษัท วงศ์สว่างพับลิชชิ่ง แอนด์ พริ้นติ้ง จำ�กัด เลขที่ 2 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 86/1 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ : 0-2880-1876 โทรสาร : 0-2879-1526 www.wswp.co.th
วิสัยทัศน์ “หลักประกันความยุติธรรม ตามมาตรฐานสากล” อ�นาจหน้าที่กระทรวงยุติธรรม มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมไว้ว่า “ให้มีอำ�นาจหน้าที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรม เสริมสร้างและอำ�นวยความยุติธรรม ในสังคม และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำ�หนดให้เป็นอำ�นาจหน้าที่ของ กระทรวงยุติธรรมหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงยุติธรรม”
พันธกิจ 1. บริหารจัดการอ�ำนวยความยุติธรรมในสังคมด้วยความยุติธรรม 2. พัฒนาคุณภาพการด�ำเนินการตามกฎหมายพันธกรณีระหว่างประเทศ และมาตรฐานระบบงานยุติธรรม 3. วิจัยและพัฒนาระบบงานยุติธรรมและกฎหมาย 4. พัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก 5. บูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 6. ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 7. บริ ห ารจั ด การระบบงานยุ ติ ธ รรมในพื้ น ที่ จั ง หวั ดชายแดนภาคใต้ ด้วยความยุติธรรม 8. ส่งเสริมการบูรณาการงานยุติธรรมและความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในและต่างประเทศ 9. เพิ่มประสิทธิภาพและการบริหารจัดการองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
กฎหมายสามัญประจำบาน
โครงสร้าง
กระทรวงยุตธิ รรม
คณะกรรมการพัฒนาการ บริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านอ�ำนวยความยุติธรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านบริหารความยุติธรรม
กรมสอบสวนคดีพิเศษ
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
กรมบังคับคดี
จัดตั้งตาม พ.ร.บ.พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 จัดตั้งตาม พ.ร.บ.สถาบันอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2550
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
กระทรวงยุติธรรม
เนติบัณฑิตยสภา สภาทนายความ
ส�ำนักงานป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงยุติธรรม กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาพฤตินิสัย
ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กรมคุมประพฤติ
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด
กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน กรมราชทัณฑ์
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตาม พ.ร.บ.เนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม และขึน้ ตรงต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม
กฎหมายสามัญประจำบาน
กระทรวงยุติธรรม
ภารกิจส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี Office of The Minister ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอรัฐมนตรี รวมทั้งเสนอความเห็นประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี สนับสนุนการ ท�ำงานของรัฐมนตรีในการด�ำเนินงานทางการเมืองระหว่างรัฐมนตรี รัฐสภา และ ประชาชน ประสานงานการตอบกระทู้ ชีแ้ จงญัตติ ร่างพระราชบัญญัติ และกิจการอืน่ ทางการเมือง ด�ำเนินการพิจารณาเรือ่ งร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอความช่วยเหลือ ต่อรัฐมนตรี ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของ ส�ำนักงานรัฐมนตรีหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย โทรศัพท์ 0-2141-6535 โทรสาร 0-2141-9883 เว็บไซต์ www.om.moj.go.th
หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม Office of The Permanent Secretary ด�ำเนินการด้านการพัฒนายุทธศาสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำ ข้อมูลเพื่อใช้ในการก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของกระทรวง แปลงนโยบายของรัฐบาลและนโยบายของรัฐมนตรีเป็นแนวทาง และแผนปฏิบัติการของกระทรวง ก�ำกับ เร่งรัด ติดตามประเมินผล รวมทั้ง ประสานการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง และพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารงานและการบริการของหน่วยงาน ดูแล งานประชาสัมพันธ์ การต่างประเทศ พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่ กิจกรรมข่าวของกระทรวง สนับสนุนการพัฒนาบุคลากร จัดสรรและบริหาร ทรัพยากรให้เกิดการประหยัดและคุ้มค่า โทรศัพท์ 0-2141-5100 โทรสาร 0-2143-8289-90, 0-2143-8242 เว็บไซต์ www.ops.moj.go.th
ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม Office of Justice Affairs ด�ำเนิ น การเกี่ ย วกั บ นโยบายและการพั ฒ นากระบวนการ ยุ ติ ธ รรม โดยการศึ ก ษาวิ จั ย การประเมิ น ผลการบั ง คั บ ใช้ กฎหมาย และน�ำผลให้คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมมีทิศทางการด�ำเนินการ ที่ ส ามารถอ�ำนวยความยุ ติ ธ รรมให้ แ ก่ ป ระชาชนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสอดรับไปในทิศทางเดียวกัน โทรศัพท์ 0-2141-3666 โทรสาร 0-2143-8933 เว็บไซต์ www.oja.go.th
กฎหมายสามัญประจำบาน
กลุ่มภารกิจด้านอ�ำนวยความยุติธรรม กรมสอบสวนคดีพิเศษ Department of Special Investigation ด�ำเนินการด้านการป้องกัน ปราบปราม สืบสวนและสอบสวน คดีความผิดทางอาญาที่ต้องด�ำเนินการสืบสวนและสอบสวน โดยวิธีการพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวนคดีพิเศษ โทรศัพท์ 0-2831-9888 โทรสาร 0-2975-9888 หรือ ศูนย์ช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ศชป.ดีเอสไอ) 0-2831-9888 ต่อ 3103 เว็บไซต์ www.dsi.go.th
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ Central Institute of Forensic Science ด�ำเนิ น การด้ า นการให้ บ ริ ก ารตรวจพิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานทาง นิติวิทยาศาสตร์ ตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลเพื่อการติดตาม บุ ค คลสู ญ หายและศพนิ ร นาม จั ด เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล สารพันธุกรรม พยานหลักฐาน เพื่อการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเกี่ยวกับการกระท�ำผิด ในด้านต่างๆ และสนับสนุนการด�ำเนินงานแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ศึกษา วิจัย สนับสนุนการศึกษาวิจัยทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ ร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรอื่น เผยแพร่ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ สร้างเครือข่ายในการจัดท�ำมาตรฐานและ พัฒนางานด้านนิติวิทยาศาสตร์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โทรศัพท์ 0-2142-3475-8 โทรสาร 0-2143-9068 เว็บไซต์ www.cifs.moj.go.th
กลุ่มภารกิจด้านบริหารความยุติธรรม กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ Rights and Liberties Protection Department ด�ำเนิ น การส่ ง เสริ ม และคุ ้ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของ ประชาชน โดยด�ำเนิ น การจ่ า ยเงิ น ช่ ว ยเหลื อ แก่ ผู ้ เ สี ย หาย เหยื่ออาชญากรรม และจ่ายเงินชดเชยทดแทนแก่จ�ำเลยที่ศาลยกฟ้องว่ามิได้เป็น ผู้กระท�ำผิด รับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชนและให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย จัดหาทนายในการช่วยเหลือต่อสู้คดี รวมถึงพิจารณาจัดเงินช่วยเหลือแก่ผู้ยากไร้ และต้องการรับความยุติธรรมในกระบวนการยุติธรรม สร้างความสมานฉันท์ และระงับข้อพิพาทในสังคม ด�ำเนินการคุ้มครองพยานและรับผิดชอบพันธกรณี ตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 โทรศัพท์ 0-2141-2794, 0-2141-2817-8 โทรสาร 0-2143-9681 เว็บไซต์ www.rlpd.moj.go.th
กรมบังคับคดี Legal Execution Department ด�ำเนินการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย และการฟื้นฟูกิจการ ของลู ก หนี้ ต ามค�ำสั่ ง ศาล ด�ำเนิ น การตรวจสอบสิ ท ธิ ท าง บัญชีของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อรับส่วนแบ่งจากคดี ตรวจสอบค่าใช้จ่ายและเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมการบังคับคดี ช�ำระบัญชีห้างหุ้นส่วน บริษัทหรือนิติบุคคล ในฐานะ ผูช้ �ำระบัญชีตามค�ำสัง่ ศาล รับวางทรัพย์จากลูกหนีห้ รือผูม้ สี ทิ ธิวางทรัพย์ ด�ำเนินการ ประเมินราคาทรัพย์ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการเดินหมายค�ำคู่ความ หนังสือ หรือ ประกาศของศาล หรือหน่วยงานในสังกัด โทรศัพท์ 0-2881-4999 โทรสาร 0-2433-0801 เว็บไซต์ www.led.go.th
กฎหมายสามัญประจำบาน
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาพฤติน ิสัย กรมคุมประพฤติ Department of Probation ด�ำเนินการสืบเสาะและพินจิ ควบคุมและสอดส่อง แก้ไข ฟืน้ ฟูและ สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดในชั้นก่อนฟ้อง ชั้นพิจารณาคดีของศาล และภายหลังทีศ่ าลมีค�ำพิพากษาตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ด�ำเนินการพืน้ ฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด ส่งเสริมสนับสนุนเกี่ยวกับการแก้ไขฟื้นฟูและสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด ในชุมชน จัดท�ำและประสานแผนงานของกรมให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บท ของกระทรวง รวมทั้งเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ในสังกัด เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานงานให้ภาคประชาสังคมเข้ามามีสว่ นร่วม และเป็นเครือข่ายในการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ศูนย์รับฟังความคิดเห็น 0-2141-4749 โทรสาร 0-2143-8822 เว็บไซต์ www.probation.go.th
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน Department of Juvenile Observation and Protection ด�ำเนินการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนที่กระท�ำ ความผิด ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและชุมชน ด�ำเนินการด้าน คดีอาญา คดีครอบครัว ก�ำกับการปกครอง บ�ำบัด แก้ไขฟื้นฟู ป้องกัน พัฒนา และ สงเคราะห์ ตลอดจนติดตามประเมินผลเด็กและเยาวชน ประสานความร่วมมือและ สร้างเครือข่ายชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนากฎหมายการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน รวมทั้ง ระบบรูปแบบวิธกี ารปฏิบตั เิ กีย่ วกับงานคดีและการปฏิบตั ติ อ่ เด็กและเยาวชน พัฒนา บุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้เข้าสู่มาตรฐานการบริหารจัดการภาครัฐ โทรศัพท์ 0-2141-6470 โทรสาร 0-2143-8472 เว็บไซต์ www.djop.moj.go.th
กรมราชทัณฑ์ Department of Corrections ด�ำเนินการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดให้เป็นไปตามค�ำพิพากษา หรือค�ำสั่งตามกฎหมาย โดยด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การราชทัณฑ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติต่อผู้ต้องขังให้ สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายของกระทรวง หลักอาชญาวิทยา และหลักทัณฑวิทยา ตลอดจนข้อก�ำหนดมาตรฐานขั้นต�่ำส�ำหรับปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และข้อเสนอแนะในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องขององค์การสหประชาชาติ ด�ำเนินการเกีย่ วกับ สวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขัง โทรศัพท์ 0-2967-2222 โทรสาร 0-2967-3305 เว็บไซต์ www.correct.go.th
กฎหมายสามัญประจำบาน
ภารกิจส่วนราชการในบังคับบัญชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรงยุติธรรม และขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด Office of The Narcotics Control Board
ด�ำเนิ น การด้ า นการประสานงาน อ�ำนวยการด้ า นนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และบู ร ณาการการปฏิ บั ติ ง านป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติด ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งประสานความร่วมมือกับ ต่างประเทศ ตรวจสอบ ยึด อายัดทรัพย์สิน ประชาสัมพันธ์ และติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สายด่วน 1386 โทรศัพท์ 0-2247-0901-19 โทรสาร 0-2245-9350 เว็บไซต์ www.oncb.go.th
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ Office of Public Sector Anti-Corruption Commission ด�ำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ตามพระราชบัญญัตมิ าตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551 โดยมีบทบาท 3 ประการ ประกอบด้วย 1) ในฐานะกลไกหลักในการขับเคลือ่ น นโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามของรัฐบาล 2) ในฐานะฝ่ายเลขานุการของ คณะกรรมการ ป.ป.ท. เพือ่ ด�ำเนินงานด้านปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และ 3) ในฐานะ ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม สายด่วน 1206 โทรศัพท์ 0-2502-6670-80 โทรสาร 0-2502-8289 เว็บไซต์ www.pacc.go.th
ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน Anti-Money Laundering Office ด�ำเนินการด้านการด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำผิดโดยเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ศึกษาและวิเคราะห์รายงาน และข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ การท�ำธุรกรรมทางการเงิน เผยแพร่ความรู้ ให้การศึกษา ฝึกอบรมในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานตามกฎหมายให้แก่ประชาชน และก�ำหนดมาตรการและ ด�ำเนินการต่างๆ เพื่อเป็นการตัดวงจรอาชญากรรมการฟอกเงิน ซึ่งเป็นผลกระทบ ร้ายแรงต่อสังคม สายด่วน 1710 โทรศัพท์ 0-2219-3600 โทรสาร 0-2219-3700 เว็บไซต์ www.amlo.go.th
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) Thailand Institute of Justice - TIJ
สถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย หรือ สธท (Thailand Institute of Justice - TIJ) เป็นองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554 โดยมีวิวัฒนาการมาจากโครงการ Enhancing Lives of Female Inmates (ELFI) ในพระด�ำริของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา มีภารกิจหลักในการส่งเสริมการอนุวัติข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อ ผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�ำและมาตรการที่มิใช่การคุมขังส�ำหรับผู้กระท�ำความผิดหญิง หรือข้อก�ำหนดกรุงเทพ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม และสนับสนุนการวิจัยและฝึกอบรมเพื่อรองรับการอนุวัติข้อก�ำหนดกรุงเทพ และ การส่งเสริมหลักนิตธิ รรม และยกระดับภาพลักษณ์กระบวนการยุตธิ รรมไทยในระดับสากล โดยท�ำงานกับภาคีทงั้ ในประเทศไทยและในภูมภิ าคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประชาคมอาเซียน โทรศัพท์ 0-2142-3672 โทรสาร 0-2143-8353 เว็บไซต์ www.tijthailand.org
กฎหมายสามัญประจำบาน
ภารกิจการท�ำงานของส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด กรณีที่ 1 การให้ข้อมูล/ค�ำปรึกษา มี 21 งานบริการ 1. การขอรับการสงเคราะห์ของผู้กระท�ำผิดหลังปล่อย 2. การขอรับค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา 3. การขอรับความช่วยเหลือทางกฎหมาย และให้ค�ำปรึกษาทางกฎหมาย (คลินิกยุติธรรม) 4. การร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยพยานในคดีอาญา 5. การรับเรื่องราวร้องทุกข์ 6. การยื่นค�ำร้องขอวางทรัพย์ 7. การขึ้นทะเบียนผู้ท�ำแผนฟื้นฟูกิจการและผู้บริหารแผน 8. การขอปล่อยตัวชั่วคราว 9. การขออนุญาตวิจัย 10. การพบญาติแบบใกล้ชิด 11. การขออนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้าชมกิจการเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน 12. การขออนุญาตเผยแพร่กิจกรรมในเรือนจ�ำ และทัณฑสถาน 13. การช่วยเหลือ สนับสนุนด้านสวัสดิการ และการสงเคราะห์ผู้ต้องขัง 14. การรับแจ้งข้อมูล เบาะแสของผู้กระท�ำความผิดทางอาญาที่เป็นคดีพิเศษตาม พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 15. การรับแจ้งบุคคลสูญหาย 16. การขอเปลี่ยนชื่อ-สกุลศพ 17. การขอรับศพคืนจากมูลนิธิสว่างอริยะธรรมสถาน 18. การขอรับใบรายงานการชันสูตรศพ 19. การรับแจ้งเบาะแสผูค้ า้ แหล่งมัว่ สุม พืน้ ทีแ่ พร่ระบาดแหล่งผลิต และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีม่ ี ส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด 20. การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนยุติธรรม 21. การจัดหาทนายความให้แก่ผู้เสียหายในคดีอาญา
กรณีที่ 2 การรับเรื่องขออนุมัติ/ขออนุญาต มี 4 งานบริการ 1. การขอรับค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลยในคดีอาญา 2. การร้องขอคุ้มครองความปลอดภัยพยานในคดีอาญา 3. การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนยุติธรรม 4. การจัดหาทนายความให้แก่ผู้เสียหายในคดีอาญา
กรณีที่ 3 การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์/รับแจ้งเบาะแส มี 3 งานบริการ 1. การรับเรื่องราวร้องทุกข์ 2. การรับแจ้งข้อมูล เบาะแสของผู้กระท�ำความผิดทางอาญาที่เป็นคดีพิเศษตาม พระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547 3. การรับแจ้งเบาะแสผู้ค้า แหล่งมั่วสุม พื้นที่แพร่ระบาดแหล่งผลิตและเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
กฎหมายสามัญประจำบาน
ข้อมูลการติดต่อ สานักงานยุติธรรมจังหวัด
ภาคเหนือ
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
1. ก�ำแพงเพชร
ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000
โทร. 0-5571-3940 - 1 โทรสาร 0-5571-3940
2. เชียงราย
ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังใหม่) ชั้น 3 ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100
โทร. 0-5315-0190 โทรสาร 0-5317-7339
3. เชียงใหม่
อาคารช้างเผือกเรสซิเดนท์ เลขที่ 25/1 ถนนช้างเผือก ซอย 2 ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทร. 0-5323-1157-8 โทรสาร 0-5323-1158
4. เชียงใหม่ สาขาฝาง
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง อาคารเลขที่ 2/8 หมู่ที่ 14 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110
โทร. 0-5338-2148 โทรสาร 0-5338-2162
5. ตาก
อาคารศาลากลางจังหวัดตาก ชั้น 2 (หลังเก่า) อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000
โทร. 0-5551-7391 โทรสาร 0-5551-6996
6. ตาก สาขาแม่สอด
อาคารเอนกประสงค์ เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สอด เลขที่ 2 ถนนราชทัณฑ์ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110
โทร. 0-5553-4387 โทรสาร 0-5553-4218
7. นครสวรรค์
อาคารฝ่ายทัณฑปฏิบัติ เรือนจ�ำกลางนครสวรรค์ ชั้น 2 เลขที่ 401 หมู่ 9 ถนนโกสีย์ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000
โทร. 0-5637-1920 โทรสาร 0-5637-1921
8. น่าน
เรือนจ�ำจังหวัดน่าน (ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ) เลขที่ 28 ถนนผากอง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000
โทร. 0-5477-5820 โทรสาร 0-5477-5820
9. พะเยา
อาคารศาลากลางจังหวัดพะเยา (หลังเก่า) ชั้น 2 ต�ำบลบ้านต๋อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000
โทร. 0-5444-9705 โทรสาร 0-5444-9706
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
10. พิจิตร
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิจิตร บริเวณทางเข้าที่ว่าการอ�ำเภอเมืองจังหวัดพิจิตร ถนนศรีมาลา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000
โทร. 0-5661-5743 โทรสาร 0-5661-5708
11. พิษณุโลก
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิษณุโลก 89/1-2 ต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
โทร. 0-5525-3420-1 โทรสาร 0-5525-3420-1
12. เพชรบูรณ์
อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ์ เลขที่ 329/18 ถนนสามัคคีชัย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000
โทร. 0-5672-6458-9 โทรสาร 0-5672-6459
13. แพร่
เรือนจ�ำจังหวัดแพร่ อาคารฝ่ายฝึกวิชาชีพ เลขที่ 20 ถนนไชยบูรณ์ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000
โทร. 0-5452-2528 โทรสาร 0-5452-1866
14. แม่ฮ่องสอน
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน เลขที่ 9/4 โครงการแม่ฮ่องสอนพลาซ่า ซอย 2 ถนนขุนลุมประพาส ต�ำบลจองค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000
โทร. 0-5361-2077 โทรสาร 0-5361-2077
15. ล�ำปาง
อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางล�ำปาง เลขที่ 100 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง52000
โทร. 0-5422-7768 โทรสาร 0-5422-5478
16. ล�ำพูน
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดล�ำพูน 159/7 หมู่ 10 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน 51000
โทร. 0-5352-5510 โทรสาร 0-5352-5510
17. สุโขทัย
ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย อาคาร 1 ชั้น 1 ถนนนิกรเกษม ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000
โทร. 0-5561-3483 โทรสาร 0-5561-3484
18. อุตรดิตถ์
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ เลขที่ 8 ถนนศรอัสนีย์ ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000
โทร. 0-5583-0832 โทรสาร 0-5583-0833
19. อุทัยธานี
เรือนจ�ำจังหวัดอุทัยธานี เลขที่ 23 ถนนศรีอุทัย ต�ำบลอุทัยใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000
โทร. 0-5657-1336 โทรสาร 0-5651-3805
กฎหมายสามัญประจำบาน
ข้อมูลการติดต่อ สานักงานยุติธรรมจังหวัด จังหวัด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
1. กาฬสินธุ์
ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ ชั้น 2 ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000
โทร. 0-4381-6403 โทรสาร 0-4381-6404
2. ขอนแก่น
ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ชั้น 5 (หลังใหม่) ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
โทร. 0-4324-3707 โทรสาร 0-4324-6771
3. ชัยภูมิ
อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยภูมิ ชั้น 1 ถนนบรรณาการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000
โทร. 0-4481-3452 โทรสาร 0-4481-3453
4. นครพนม
อาคารศูนย์ฟิตเนต (เรือนจ�ำเก่า) เลขที่ 394 ถนนอภิบาลบัญชา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000
โทร. 0-4251-1823 โทรสาร 0-4251-1832
5. นครราชสีมา
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 1849/7-8 ถนนร่วมเริงไชย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000
โทร. 0-4435-3955 08-4715-1999 (M) 08-1760-1431 (M) โทรสาร 0-44353955
6. บุรีรัมย์
อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ โทร. 0-4460-2309 เรือนจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ (ตรงข้ามไปรษณีย์บุรีรัมย์) ต�ำบล โทรสาร 0-4460-2308 อิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000
7. มหาสารคาม
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดมหาสารคาม เลขที่ 4 ถนนศรีสวัสดิ์ด�ำเนิน ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000
โทร. 0-4372-2077 โทรสาร 0-4372-2077
8. มุกดาหาร
ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดมุกดาหาร ซอยค่ายลูกเสือ ถนนพิทักษ์พนมเขต ต�ำบลมุกดาหาร อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000
โทร. 0-4261-4401 โทรสาร 0-4261-4402 มหาดไทย 48745, 48746
9. ยโสธร
อาคารศาลากลางหลังใหม่ ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000
โทร. 0-4572-5180 โทรสาร 0-4572-5179
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
10. ร้อยเอ็ด
ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนเทวาภิบาล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000
โทร. 0-4351-3233 โทรสาร 0-4351-3244
11. เลย
ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเลย ชั้น 1 หมูที่ 1 ถนนจรัสศรี ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย 42000
โทร. 0-4281-4737 โทรสาร 0-4281-4742
12. ศรีสะเกษ
ศาลากลางจังหวัด (หลังเก่า) ชั้น 1 ถนนเทพา ต�ำบลเมืองเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000
โทร. 0-4564-3657-8 โทรสาร 0-4564-3658
13. สกลนคร
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสกลนคร 1903 ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000
โทร 0-4271-3400 โทรสาร 0-4271-2037
14. สุรินทร์
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดสุรินทร์ เลขที่ 799 หมู่ 20 ถนนเลี่ยงเมือง ต�ำบลนอกเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000
โทร. 0-4404-0914 โทรสาร 0-4401-0915
15. สุรินทร์ สาขารัตนบุรี
ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี เลขที่ 258 หมู่ 12 ถนนรัตนบุรี-ทับใหญ่ ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 32130
โทร. 0-4459-9266 โทรสาร 0-4459-9266
16. หนองคาย
ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ชั้น 3 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลหนองกอมเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000
โทร. 0-4241-3774-6 โทรสาร 0-4241-3775
17. หนองบัวล�ำภู
อาคารส�ำนักงานบังคับคดี ชั้น 1 ศูนย์ราชการจังหวัด ต�ำบลล�ำภู อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู 39000
โทร. 0-4237-8404 โทรสาร 0-4237-8405
18. อ�ำนาจเจริญ
อาคารศาลากลางจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ชั้น 3 โทร. 0-4552-3172 ถนนชยางกูร ต�ำบลโนนหนามแท่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัด โทรสาร 0-4552-3171 อ�ำนาจเจริญ 37000
19. อุดรธานี
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุดรธานี เลขที่ 75 ถนนหมากแข้ง ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
โทร. 0-4224-9345 0-4224-9143 โทรสาร 0-4224-9345
กฎหมายสามัญประจำบาน
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
20. อุบลราชธานี
ศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ชั้น 4 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
โทร. 0-4534-4585 โทรสาร 0-4534-4585
21. บึงกาฬ
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดบึงกาฬ เลขที่ 250 ต�ำบลวิศิษฐ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000
โทร. 0-4249-1637 โทรสาร 0-4249-1724
ข้อมูลการติดต่อ สานักงานยุติธรรมจังหวัด จังหวัด
ภาคกลาง สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
1. กาญจนบุรี
ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดกาญจนบุรี เลขที่ 200/16 หมู่ 12 ถนนแม่น�้ำแม่กลอง ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
โทร. 0-3456-4175 โทรสาร 0-3456-4254
2. จันทบุรี
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดจันทบุรี เลขที่ 13/1 ถนนท่าหลวง ต�ำบลวัดใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000
โทร. 0-3930-2480 โทรสาร 0-3930-2479
3. ฉะเชิงเทรา
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา อาคารองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา (หลังเก่า) ชั้น 3 ถนนยุทธด�ำเนิน ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000
โทร. 0-3851-4375 โทรสาร 0-3851-4375
4. ชลบุรี
เรือนจ�ำกลางชลบุรี เลขที่ 135/5 หมู่ที่ 2 ถนนพระยาสัจจา ต�ำบลบ้านสวน อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
โทร. 0-3828-8932 โทรสาร 0-3828-8933
5. ชัยนาท
อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยนาท ชั้น 2 ถนนพรหมประเสริฐ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000
โทร. 0-5641-1928 0-5641-1873 โทรสาร 0-5641-2103
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
6. ตราด
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดตราด เลขที่ 1133 หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด 23000
โทร. 0-3952-4031-2 โทรสาร 0-3952-4033
7. นครนายก
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครนายก โทร.0-3731-5002 เลขที่ 74/12-15 หมู่ 7 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลบ้านใหญ่ โทรสาร 0-3731-5053 อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000
8. นครปฐม
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครปฐม เลขที่ 898/10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลห้วยจระเข้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000
โทร. 0-3421-3169 โทรสาร 0-3421-3165
9. นนทบุรี
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี (ชั้น 2) ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทร. 0-2589-0481 ต่อ 141 โทรสาร 0-2589-0481 ต่อ 141
10. ปทุมธานี
ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ชั้น 2 (หลังเก่า) ถนนปทุมธานี-สามโคก ต�ำบลบางปรอท อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทร. 0-2581-3990 - 1 โทรสาร 0-2581-3990
11. ประจวบคีรีขันธ์
ศาลากลางจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชั้น 2 (หลังเก่า) ต�ำบลประจวบคีรีขันธ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000
โทร. 0-3260-1326 โทรสาร. 0-3260-1258
12. ปราจีนบุรี
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปราจีนบุรี เลขที่ 702 ถนนปราจีนอนุสรณ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000
โทร. 0-3721-2088 โทรสาร 0-3721-1616
13. พระนครศรีอยุธยา ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เลขที่ 9/25 หมู่ 3 ต�ำบลคลองสวนพลู อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000
โทร. 0 3570 8387 0 3570 8388
14. เพชรบุรี
เรือนจ�ำกลางจังหวัดเพชรบุรี เลขที่ 69 ถนนหน้าเรือนจ�ำ ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
โทร. 0-3240-2590 โทรสาร 0-3240-2591
15. ระยอง
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดระยอง เลขที่ 144 หมู่ 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
โทร. 0-3801-1701 โทรสาร 0-3801-1702
กฎหมายสามัญประจำบาน
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
16. ราชบุรี
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดราชบุรี เลขที่ 666/4 หมู่ที่ 5 ต�ำบลเจดีย์หัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
โทร. 0-3239-1406 โทรสาร 0-3239-1407
17. ลพบุรี
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 เลขที่ 118 ถนนสีดา ต�ำบลทะเลชุบศร อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000
โทร. 0-3678-2207 โทรสาร 0-3678-2206
18. สมุทรปราการ
ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสมุทรปราการ เลขที่ 545/1 ชั้น 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270
โทร. 0-2395-3882 0-2395-3705 โทรสาร 0-2395-3882
19. สมุทรสงคราม
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสมุทรสงคราม อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรม ชั้น 1 เลขที่ 212 หมู่ที่ 3 ต�ำบลลาดใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 75000
โทร. 0-3471-8420-1 โทรสาร 0-3471-8421
20. สมุทรสาคร
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรสาคร ชั้น 3 เลขที่ 923/588 ถนนท่าปรง ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทร. 0-3442-5236 โทรสาร 0-3442-6236
21. สระแก้ว
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสระแก้ว อาคารหอประชุมชั้น 2 ศูนย์ราชการ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000
โทร. 0-3742-5320 โทรสาร 0-3742-5321
22. สระบุรี
เรือนจ�ำจังหวัดสระบุรี เลขที่ 2 ซอย 17 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18240
โทร. 0-3621-3158 โทรสาร 0-3621-3159
23. สิงห์บุรี
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสิงห์บุรี อาคารศรีประมงค์ เลขที่ 259/6 หมู่ 7 ถนนสิงห์บุรี-บางระจัน ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000
โทร.0-3652-3755-6 โทรสาร 0-3652-3755
24. สุพรรณบุรี
โทร. 0-3552-4126 อาคารบริษัทศรีพูนทรัพย์ โทรสาร 0-3552-4127 (ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุพรรณบุรี) เลขที่ 137 ถนนมาลัยแมน ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000
25. อ่างทอง
เรือนจ�ำจังหวัดอ่างทอง เลขที่ 47/25 หมู่ 2 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000
โทร. 0-3561-5787-8 โทรสาร 0-3561-5787
ข้อมูลการติดต่อ สานักงานยุติธรรมจังหวัด จังหวัด
ภาคใต้ สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
1. กระบี่
อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำจังหวัดกระบี่ เลขที่ 65/17 ถนนกระบี่ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000
โทร. 0-7562-4551-2 โทรสาร 0-7562-4551-2
2. ชุมพร
ศาลากลางจังหวัดชุมพร ชั้น 4 หมู่ที่ 1 ถนนไตรรัตน์ ต�ำบลนาชะอัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000
โทร. 0-7751-2164 โทรสาร 0-7751-2165
3. ตรัง
อาคารพุทธคุณพาหุง ศาลากลางจังหวัดตรัง ถนนพระรามหก ต�ำบลทับเที่ยง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000
โทร. 0-7521-4562 โทรสาร 0-7521-4773
4. นครศรีธรรมราช ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครศรีธรรมราช เลขที่ 259 ถนนเทวบุรี ต�ำบลโพธิ์เสด็จ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
โทร. 0-7534-4633 โทรสาร 0-7535-6139
5. นราธิวาส
โทร. 0-7353-1234-5 ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนราธิวาส (อาคารพาณิชย์) เลขที่ 156 ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต�ำบล โทรสาร 0-7353-1234 บางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000
6. ปัตตานี
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี 49/7 ถนนกะลาพอ ต�ำบลจะบังติกอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
โทร. 0-7333-4031-2 โทรสาร 0-7333-4031-2
7. พังงา
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา เลขที่ 4/2 ถนนเจริญราษฎร์ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000
โทร. 0-7648-1820 โทรสาร 0-7648-1819
8. พัทลุง
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพัทลุง เลขที่ 25 ถนนสุรินทร์ ต�ำบลคูหาสวรรค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000
โทร. 0-7461-6241 โทรสาร 0-7461-7239
9. ภูเก็ต
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดภูเก็ต เลขที่ 38/14 ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
โทร. 0-7621-5850 0-7621-5975 โทรสาร 0-7621-5850
กฎหมายสามัญประจำบาน
จังหวัด
สถานที่ตั้งและที่อยู่
หมายเลขติดต่อ
10. ยะลา
อาคารศาลากลางจังหวัดยะลา (หลังเก่า) ชั้น 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000
โทร. 0-7322-2624 โทรสาร 0-7322-2624
11. ยะลา สาขาเบตง
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา สาขาเบตง (ติดกับพิพิธภัณฑ์เมืองเบตง) ต�ำบลเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110
โทร. 08-6480-5654 0-7323-5004 โทรสาร 0-7323-5004
12. ระนอง
เรือนจ�ำจังหวัดระนอง เลขที่ 349 ถนนเรืองราษฎร์ ต�ำบลเขานิเวศน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000
โทร. 0-7782-5446 โทรสาร 0-7782-5445
13. สงขลา
ศาลากลางจังหวัดสงขลา (หลังเก่า) ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000
โทร. 0-7430-7240-1 โทรสาร 0-7430-7241
14. สตูล
ศาลากลางจังหวัดสตูล (หลังใหม่) ชั้น 1 ถนนสตูลธานี ต�ำบลพิมาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000
โทร. 0-7472-3032 โทรสาร 0-7472-3167
15. สุราษฎร์ธานี
อาคารส�ำนักงานส่วนราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตึกอัยการ ชั้น 2 ถนนดอนนก ต�ำบลมะขามเตี้ย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
โทร. 0-7728-5173 โทรสาร 0-7728-8652
16. สุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย
อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมอ�ำเภอเกาะสมุย เลขที่ 95/30 หมู่ที่ 5 ต�ำบลมะเร็ต อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84310
โทร. 0-7741-9199 โทรสาร 0-7741-8544
สารบัญ โครงสร้างกระทรวงยุติธรรม บทบาทภารกิจกระทรวงยุติธรรม ภารกิจการท�ำงานของส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ตอนที่ 1 การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร ตอนที่ 2 การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับรถ ตอนที่ 3 เมาแล้วขับ (1) ตอนที่ 4 เมาแล้วขับ (2) ตอนที่ 5 เมาแล้วขับ (3) ตอนที่ 6 เมาแล้วขับ (4) ตอนที่ 7 บรรทุกเกิน บรรทุกผิดประเภท (1) ตอนที่ 8 บรรทุกเกิน บรรทุกผิดประเภท (2) ตอนที่ 9 รถฉุกเฉิน ตอนที่ 10 การใช้รถจักรยานบนท้องถนน ตอนที่ 11 รถแท็กซี่ ตอนที่ 12 การฝึกหัดขับรถ ตอนที่ 13 ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตขับขี่ ตอนที่ 14 ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์หมดอายุ ตอนที่ 15 การสร้างถนนส่วนบุคคลลุกล�้ำเขตทางหลวง ตอนที่ 16 การปิดกั้น หรือวางวัตถุที่อาจเกิดอันตรายบนทางหลวง ตอนที่ 17 รุกล�้ำเขตทางหลวง ตอนที่ 18 ขัดขวางการรื้อถอน ท�ำลายสิ่งกีดขวางบนทางหลวง ตอนที่ 19 ปิดป้ายประกาศในที่สาธารณะ ตอนที่ 20 สัตว์เลี้ยงถ่ายสิ่งปฏิกูลในที่สาธารณะ ตอนที่ 21 ความสะอาดบนทางเท้า ตอนที่ 22 ขายของบนทางเท้า ตอนที่ 23 จ�ำหน่ายสลากกินแบ่งเกินราคา ตอนที่ 24 หอพัก (1)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
กฎหมายสามัญประจำบาน
ตอนที่ 25 หอพัก (2) ตอนที่ 26 หอพัก (3) ตอนที่ 27 ชั่ง ตวง วัด (1) ตอนที่ 28 ชั่ง ตวง วัด (2) ตอนที่ 29 ชั่ง ตวง วัด (3) ตอนที่ 30 ชั่ง ตวง วัด (4) ตอนที่ 31 การอนุญาตให้ผู้อื่นใช้เครื่องหมายของตน ตอนที่ 32 การปลอมเครื่องหมายการค้าฯ ตอนที่ 33 เลียนแบบเครื่องหมายการค้าฯ ตอนที่ 34 ลิขสิทธิ์ (1) ตอนที่ 35 ลิขสิทธิ์ (2) ตอนที่ 36 ลิขสิทธิ์ (3) ตอนที่ 37 ลิขสิทธิ์ (4) ตอนที่ 38 ลิขสิทธิ์ (5) ตอนที่ 39 ธุรกิจขายตรง (1) ตอนที่ 40 ธุรกิจขายตรง (2) ตอนที่ 41 ธุรกิจขายตรง (3) ตอนที่ 42 โรงรับจ�ำน�ำ (1) ตอนที่ 43 โรงรับจ�ำน�ำ (2) ตอนที่ 44 ข่มขู่ผู้ร่วมเสนอราคา ตอนที่ 45 ใช้อุบายล่อลวงผู้ร่วมเสนอราคา ตอนที่ 46 ทุจริตด้านราคากับหน่วยงานรัฐ ตอนที่ 47 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (1) ตอนที่ 48 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) ตอนที่ 49 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (3) ตอนที่ 50 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (4) ตอนที่ 51 เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (5) ตอนที่ 52 เหล้าเถื่อน (1) ตอนที่ 53 เหล้าเถื่อน (2) ตอนที่ 54 เหล้าเถื่อน (3)
25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54
ตอนที่ 55 น�ำเข้าสุราโดยไม่ได้รับอนุญาต ตอนที่ 56 ขนส่งสุราข้ามเขตโดยไม่มีใบอนุญาต ตอนที่ 57 สารระเหย (1) ตอนที่ 58 สารระเหย (2) ตอนที่ 59 สารระเหย (3) ตอนที่ 60 มียาเสพติดประเภท 1 ไว้ในครอบครอง ตอนที่ 61 ผลิต น�ำเข้ายาเสพติดประเภท 1 โดยมิได้รับอนุญาต ตอนที่ 62 ผลิต น�ำเข้า หรือส่งออกยาเสพติดประเภท 1 เพื่อจ�ำหน่าย ตอนที่ 63 จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่ผู้อายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ตอนที่ 64 จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบโดยไม่มีพนักงานควบคุม ตอนที่ 65 การโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตอนที่ 66 การแจกผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตอนที่ 67 ไม่แสดงฉลากบนหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตอนที่ 68 จ�ำหน่ายโดยไม่แสดงฉลากบนหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตอนที่ 69 การคุ้มครองเด็ก (1) ตอนที่ 70 การคุ้มครองเด็ก (2) ตอนที่ 71 พรากผู้เยาว์อายุไม่เกิน 15 ปี ตอนที่ 72 พรากผู้เยาว์อายุเกิน 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี ตอนที่ 73 ความผิดเกี่ยวกับเพศ (1) ตอนที่ 74 ความผิดเกี่ยวกับเพศ (2) ตอนที่ 75 กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว ตอนที่ 76 การท�ำแท้ง ตอนที่ 77 การค้าประเวณี (1) ตอนที่ 78 การค้าประเวณี (2) ตอนที่ 79 การค้าประเวณี (3) ตอนที่ 80 การค้าประเวณี (4) ตอนที่ 81 การค้าประเวณี (5) ตอนที่ 82 ค้ามนุษย์ (1) ตอนที่ 83 ค้ามนุษย์ (2) ตอนที่ 84 ตรวจคนเข้าเมือง (1)
55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84
กฎหมายสามัญประจำบาน
ตอนที่ 85 ตรวจคนเข้าเมือง (2) ตอนที่ 86 ตรวจคนเข้าเมือง (3) ตอนที่ 87 แรงงานต่างด้าว ตอนที่ 88 หลักประกันสัญญาจ้างแรงงาน ตอนที่ 89 การก�ำหนดเวลาเริ่มงาน และเวลาเลิกงาน ตอนที่ 90 การประกาศวันหยุดประจ�ำปี ตอนที่ 91 วันหยุดพักผ่อนประจ�ำปี ตอนที่ 92 การจ้างแรงงานหญิงมีครรภ์ ตอนที่ 93 การเลิกจ้างแรงงานหญิงมีครรภ์ ตอนที่ 94 การหลอกลวงไม่จ่ายค่าแรง ตอนที่ 95 การประกอบโรคศิลปะ (1) ตอนที่ 96 การประกอบโรคศิลปะ (2) ตอนที่ 97 การประกอบโรคศิลปะ (3) ตอนที่ 98 อาวุธปืน (1) ตอนที่ 99 อาวุธปืน (2) ตอนที่ 100 อาวุธปืน (3) ตอนที่ 101 อาวุธปืน (4) ตอนที่ 102 อาวุธปืน (5) ตอนที่ 103 อาวุธปืน (6) ตอนที่ 104 ดอกไม้เพลิง (1) ตอนที่ 105 ดอกไม้เพลิง (2) ตอนที่ 106 ดอกไม้เพลิง (3) ตอนที่ 107 การใช้อาวุธในการต่อสู้ ตอนที่ 108 การแกล้งบอกเล่าความเท็จ ตอนที่ 109 การรับของโจร ตอนที่ 110 การฉ้อโกง ตอนที่ 111 การปล้นทรัพย์ (1) ตอนที่ 112 การปล้นทรัพย์ (2) ตอนที่ 113 การวิ่งราว ตอนที่ 114 การลักทรัพย์วัตถุทางศาสนา ตอนที่ 115 การหมิ่นประมาท
85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115
ตอนที่ 116 การปลอมแปลงเงินตรา (1) ตอนที่ 117 การปลอมแปลงเงินตรา (2) ตอนที่ 118 เก็บของป่า ตอนที่ 119 บุกรุกป่าไม้ ตอนที่ 120 มีไม้หวงห้ามในความครอบครอง ตอนที่ 121 เลือกตั้ง (1) ตอนที่ 122 เลือกตั้ง (2) ตอนที่ 123 เลือกตั้ง (3) ตอนที่ 124 เลือกตั้ง (4) ตอนที่ 125 เลือกตั้ง (5) ตอนที่ 126 เลือกตั้ง (6) ตอนที่ 127 เลือกตั้ง (7) ตอนที่ 128 เลือกตั้ง (8) ตอนที่ 129 เลือกตั้ง (9) ตอนที่ 130 เลือกตั้ง (10)
116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130
กฎหมายสามัญประจำบาน
1
ตอนที่ 1
การฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร
ผู้ใช้รถใช้ถนนทุกคน ควรมีความเข้าใจและต้องเคารพกฎจราจร หากผู้ใดฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร หรือท�ำผิดข้อบังคับเครื่องหมายจราจร ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ก�ำหนด อย่างเช่นในปัจจุบันนี้ได้มีระบบตรวจจับ รถยนต์ ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร (Red Light Camera) จะต้องได้รับ ใบสั่งจากเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ หรือหนังสือแจ้งการกระท�ำความผิดตาม พระราชบัญญัติจราจรส่งไปยังที่อยู่ของท่าน เพื่อให้ไปช�ำระค่าปรับ ตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 152 ซึง่ ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท
2
ตอนที่ 2
การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับรถ ปัจจุบันสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุขณะขับรถไม่ได้เกิดจาก การเมาแล้วขับเพียงอย่างเดียว แต่สาเหตุทสี่ �ำคัญทีท่ �ำให้เกิดอุบตั เิ หตุ บนท้องถนน คือการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างขับรถ ซึ่งส่งผล กระทบต่อปัญหาการจราจรติดขัดอีกด้วย หากผู้ขับขี่ยานพาหนะ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยมิได้ใช้อุปกรณ์เสริมส�ำหรับการสนทนา ถือเป็นการกระท�ำผิดตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 43 (9) ซึง่ มีบทก�ำหนดโทษตามมาตรา 157 ต้องระวางโทษ ปรับตั้งแต่ 400 บาท ถึง 1,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
3
ตอนที่ 3
เมาแล้วขับ (1) “ เ ม า ไ ม ่ ขั บ ” เป็นข้อความส�ำหรับเตือนสติ ผู ้ ขั บ ขี่ ย านพาหนะไม่ ใ ห้ ประมาท โดยแอลกอฮอล์ หรื อ สารมึ น เมา เมื่ อ เข้ า สู ่ ร่างกาย จะส่งผลให้สติสมั ปชัญญะ ระดับการตัดสินใจ รวมถึงการสัง่ การ ของสมองในการควบคุ ม ร่ า งกาย จะบกพร่องตามไปด้วย ส่งผลให้สมรรถภาพในการขับขี่ยานพาหนะ ลดลง การเมาสุรา จึงเป็นอีกหนึ่งสาเหตุส�ำคัญที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ บนท้องถนน และหากผู้ขับขี่เมาสุราก่อให้เกิดอุบัติเหตุจนเป็นเหตุให้ ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่ร่างกาย หรือจิตใจ ผู้เสียหายมีสิทธิ์ที่จะแจ้งความ เอาผิดผูข้ บั ขีใ่ นข้อหาหรือฐานความผิดขับรถโดยประมาทเป็นเหตุให้ผอู้ นื่ ได้รับอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 43 (2) ผู้ขับขี่ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 5 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 100,000 บาท และให้ศาล สั่งพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ของผู้นั้นโดยมีก�ำหนดไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ตามบทลงโทษ มาตรา 160 ตรี วรรค 2
4
ตอนที่ 4
เมาแล้วขับ (2) การขับขีย่ านพาหนะในขณะทีส่ ภาพจิต และสมองไม่พร้อมกับการ สั่งการในการตัดสินใจ หรือขับขี่ยานพาหนะขณะเมาสุรา นอกจากจะมี ความเสีย่ งในการเกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ยแล้ว อาจส่งผลกระทบต่อผูอ้ นื่ ให้ได้รบั อันตรายสาหัส และทรัพย์สินเสียหายหรือแม้กระทั่งถึงแก่ความตาย ผู้ขับขี่ยังต้องรับโทษตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 42 (2) ในความผิดฐานเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 6 ปี และปรับตั้งแต่ 40,000 บาท ถึง 120,000 บาท และให้ศาลสั่งพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ของผู้นั้นมีก�ำหนด ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ตามบทลงโทษมาตรา 160 ตรี วรรค 3
กฎหมายสามัญประจำบาน
5
ตอนที่ 5
เมาแล้วขับ (3)
ผูข้ บั ขีย่ านพาหนะควรมีสติ และไม่ขบั ขีด่ ว้ ยความประมาทเลินเล่อ เพราะหากเกิดความเสียหายจากอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ไม่สามารถย้อนกลับ ไปเริ่มต้นใหม่ได้เหมือนกับการเล่มเกมส์แข่งรถ หากขับขี่ยานพาหนะ ในขณะมึนเมา จนเป็นเหตุให้ผอู้ นื่ ได้รบั อันตรายถึงแก่ชวี ติ นอกจากผูข้ บั ขี่ จะได้รบั โทษตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 43 (2) ในฐานความผิดขับขี่ในขณะมึนเมาสุรา หรือของเมาอย่างอื่น เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 60,000 บาท ถึง 200,000 บาท และให้ศาลสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตขับขี่ ตามบทลงโทษมาตรา 160 ตรี (บทก�ำหนดโทษมาตรา 160 ตรี เพิ่มเติมโดยมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550) แล้ว อาจต้องรับผิดชอบค่าเสียหายนอกเหนือจากค�ำสั่งศาล ให้กับคู่กรณีอีกด้วย
��������_n.indd 10
20/3/2557 11:21:03
6
ตอนที่ 6
เมาแล้วขับ (4) กฎหมายมีขอ้ บังคับอย่างชัดเจน ห้ามไม่ให้ผขู้ บั ขีย่ านพาหานะ ดื่มเครื่องดื่มมึนเมา หรือเสพยาเสพติดให้โทษชนิดต่างๆ เพราะอาจ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัสได้ แต่หากผู้ขับขี่ฝ่าฝืนถือเป็น ความผิดฐานเป็นผูข้ บั ขีเ่ สพยาเสพติดให้โทษหรือเสพวัตถุทอี่ อกฤทธิ์ ต่ อ จิ ต และประสาท จนเป็ น เหตุ ใ ห้ ผู ้ อื่ น รั บ อั น ตรายสาหั ส ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 43 ทวิ วรรค 1 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ตั้ ง แต่ 2 ปี ถึ ง 6 ปี และ ปรั บ ตั้ ง แต่ 40,000 บาท ถึง 120,000 บาท และให้ศาล สัง่ พั ก ใช้ ใ บอนุ ญ าตขั บ ขี่ ข อง ผู้นั้นมีก�ำหนดไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ว่าด้วย บทลงโทษ มาตรา 157/1 วรรค 4
กฎหมายสามัญประจำบาน
7
ตอนที่ 7
บรรทุกเกิน บรรทุกผิดประเภท (1) ในปัจจุบันรถยนต์มีให้เลือกมากมายหลายประเภท และสามารถ ตอบสนองความต้องการของผูข้ บั ขีแ่ ต่ละบุคคล อาทิ รถยนต์นงั่ ส่วนบุคคล รถยนต์เอนกประสงค์ หรือรถบรรทุกสิ่งของ เป็นต้น ส�ำหรับยานพาหนะ ประเภทรถบรรทุกสิ่งของ ผู้ขับขี่ต้องมีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในการ ขับขี่ เนื่องจากขนาดและปริมาณสิ่งของที่บรรทุกนั้น อาจเป็นอุปสรรค ต่อการทรงตัว หรือการบังคับรถ นอกจากนี้ผู้ขับขี่รถบรรทุกจะต้องเพิ่ม ความระมัดระวังในการจัดวางของที่บรรทุกให้มีความปลอดภัย ไม่ควร มีสิ่งของยื่นออกส่วนท้ายของรถ แต่หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ควรมี สัญลักษณ์แสดงให้รถคันอื่นๆ ทราบว่ามีสิ่งของยื่นออกมานอกส่วนท้าย รถบรรทุก เช่น การใช้สญ ั ญาณผ้าสีแดงติดไว้ทสี่ ว่ นปลายของสิง่ ทีบ่ รรทุก อย่างชัดเจน เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ แต่หาก รถบรรทุกสิ่งของเกินความยาวของตัวรถ โดย ไม่ แ สดงสั ญ ญาณให้ ม องเห็ น ได้ ใ นระยะ ไม่น้อยกว่า 150 เมตร หรือไม่ปฏิบัติตาม เงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้ไฟสัญญาณ แสง หรือธงสีแดงตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ถือเป็น ความผิดตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 15 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามมาตรา 152
8
ตอนที่ 8
บรรทุกเกิน บรรทุกผิดประเภท (2)
ผู้ครอบครองยานพาหนะ หรือเจ้าของธุรกิจบริษัทขนส่งสินค้า จะต้องแจ้งจดทะเบียนพาหนะ และอุปกรณ์เสริมทีใ่ ช้ในการบรรทุกขนส่ง สิ่งของให้ครบถ้วน มิฉะนั้นจะไม่สามารถน�ำมาใช้บริการขนส่ง/รับจ้าง บรรทุกสิง่ ของได้ เพราะหากเกิดอุบตั เิ หตุสงิ่ ของทีบ่ รรทุก ตกหล่น รัว่ ไหล ส่งกลิ่น ส่องแสงสะท้อน หรือปลิวออกนอกตัวรถ ส่งผลให้ถนนหนทาง สกปรกเปรอะเปื้อน และท�ำให้เสื่อมเสียสุขภาพอนามัยแก่ประชาชน หรื อ ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายแก่ บุ ค คลหรื อ ทรั พ ย์ สิ น ถื อ เป็ น ความผิ ด ตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 20 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 500 บาท ตามมาตรา 148 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
9
ตอนที่ 9
รถฉุกเฉิน
ปัจจุบันโรงพยาบาล และหน่วยกู้ชีพ ได้จัดให้มีบริการรถฉุกเฉิน รับส่งผูป้ ว่ ย เพือ่ น�ำส่งผูป้ ว่ ยให้ถงึ มือหมอได้อย่างรวดเร็ว ซึง่ รถฉุกเฉินดังกล่าว ได้รับอนุโลม ผ่อนผันเป็นพิเศษ ให้ได้รับการยกเว้นตามพระราชบัญญัติ จราจรทางบก เช่น สามารถขับรถแซงรถอืน่ เมือ่ เข้าทีค่ บั ขันได้ หรือ สามารถแซง หรือผ่านขึ้นหน้ารถคันอื่นโดยล�้ำเข้าไปในเส้นกึ่งกลางของทางเดินรถ ทีก่ �ำหนดไว้ได้ ด้วยเหตุนหี้ ากผูข้ บั ขีย่ านพาหนะพบเห็น หรือได้ยนิ เสียงไซเรน จากรถฉุกเฉิน จึงควรหลบหลีกให้รถฉุกเฉินผ่านไปก่อน เพราะหากผูข้ บั ขี่ ไม่หลบชิดซ้าย รวมทัง้ ผูท้ เี่ ดินเท้า กีดขวางไม่หลบชิดขอบทาง หรือไม่ขนึ้ ไป บนทางเขตปลอดภัย หรือไหล่ทางทีใ่ กล้ทสี่ ดุ เพือ่ ให้รถฉุกเฉินผ่านไปก่อน ย่อมมีความผิดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 76 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามมาตรา 148
10
ตอนที่ 10
การใช้รถจักรยานบนท้องถนน ผู ้ ที่ ขั บ ขี่ ร ถจั ก รยาน ควรต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก�ำหนดของ กฎหมายเช่นเดียวกันกับผู้ขับขี่ยานพาหนะประเภทอื่น เนื่องจาก จักรยานถือเป็นยานพาหนะชนิดหนึ่ง ทั้งนี้ได้มีการจัดทางขับขี่ ให้ใช้ส�ำหรับรถจักรยานโดยเฉพาะ แต่ในบางพื้นที่ยังจัดสรรพื้นที่ ดังกล่าวไม่ได้ อาจด้วยข้อจ�ำกัดด้านพืน้ ที่ หรือการจราจรไม่เอือ้ อ�ำนวย ให้ขยายเส้นทางส�ำหรับรถจักรยานได้ แต่เมื่อใดที่ผู้ขับขี่รถจักรยาน โดยประมาท หวาดเสียวไม่จับคันบังคับ ขับคู่ขนานเกินสองคัน เว้นแต่ขับในทางที่จัดไว้ส�ำหรับรถจักรยาน หรือขับขี่แบบเกาะ หรือพ่วงรถอื่นที่ก�ำลังแล่นอยู่ จนก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลหรือ ทรัพย์สิน ถือว่าผู้ขับขี่กระท�ำความผิด ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจร ทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 83 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 500 บาท ตามมาตรา 148 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
11
ตอนที่ 11
รถแท็กซี่
รถแท็กซี่ เป็นรถโดยสารสาธารณะไม่ประจ�ำทางที่ประชาชนนิยม ใช้บริการ ปัจจุบันมีผู้ให้บริการในรูปแบบแท็กซี่ส่วนบุคคล และสหกรณ์ แท็กซี่อยู่มากมาย ซึ่งผู้ให้บริการต้องน�ำรถแท็กซี่ดังกล่าวไปขึ้นทะเบียน กับการขนส่งทางบก และคิดอัตราค่าโดยสารในการเดินทางตามอัตรา ทีก่ ฎหมายก�ำหนด รวมทัง้ ผูข้ บั ขีร่ ถแท็กซี่ ต้องไม่กระท�ำการใดๆ ในลักษณะ ทีก่ อ่ ความร�ำคาญให้แก่ผโู้ ดยสาร ตลอดจนขับขีด่ ว้ ยความสุภาพไม่ขบั แซง หรือตัดหน้ารถอื่นในลักษณะที่น่าหวาดเสียว อันจะก่อให้เกิดอันตรายได้ หากผูข้ บั ขีร่ ถแท็กซีฝ่ า่ ฝืน ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พุทธศักราช 2522 มาตรา 99 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามมาตรา 152
12
ตอนที่ 12
การฝึกหัดขับรถ ปัจจุบันมีสถานที่เอกชนเปิดให้บริการสอนขับรถมากมายหลาย สถาบัน บางแห่งมีบริการพาผูเ้ รียนขับรถไปสอบใบขับขีด่ ว้ ย อย่างไรก็ตาม ยังมีผู้หัดขับรถเป็นจ�ำนวนมากที่ฝึกหัดขับรถด้วยตนเอง ทั้งนี้การฝึกหัด ขั บ รถโดยไม่ ใช่ ส ถาบั น ฝึ ก สอนขั บ รถ ที่ถูกกฎหมาย หรือไม่มีผู้ที่ได้รับ ใบอนุ ญ าตขั บ ขี่ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า 3 ปีควบคุมการขับขี่ ถือว่า เป็นการกระท�ำผิดกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติรถยนต์ พุทธศักราช 2522 มาตรา 57 ฐานฝึ ก หั ด ขั บ รถยนต์ โ ดยไม่ มี ผูซ้ งึ่ ได้รบั ใบอนุญาตขับขีร่ ถยนต์มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปีควบคุมอยู่ด้วย ต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
13
ตอนที่ 13
ขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตขับขี่ ในการขั บ ขี่ ย านพาหนะ ทุ ก ครั้ ง ผู ้ ขั บ ขี่ ค วรเตรี ย ม สภาพร่ า งกายให้ พ ร้ อ ม และควรศึ ก ษากฎจราจร รวมทัง้ ต้องได้รบั ใบอนุญาตขับขี่ ดั ง นั้ น กฎหมายได้ ก�ำหนดให้ ผูข้ บั ขีย่ านพาหนะมีใบอนุญาตขับขี่ หากผู้ขับขี่ฝ่าฝืนขับขี่ยานพาหนะ บนท้องถนน หรือแม้กระทัง่ ในซอยเล็กๆ ถื อ เป็ น การกระท�ำผิ ด กฎจราจรตาม พระราชบั ญ ญั ติ ร ถยนต์ พุ ท ธศั ก ราช 2522 มาตรา 42 และ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามมาตรา 66 ของพระราชบัญญัติ ดังกล่าว
14
ตอนที่ 14
ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์หมดอายุ การขั บ ขี่ ย านพาหนะบนท้ อ งถนน นอกจากผู ้ ขั บ ขี่ ต ้ อ ง หมั่ น ตรวจสอบสมรรถภาพของรถให้ อ ยู ่ ใ นสภาพพร้ อ มใช้ ง าน อยู่ตลอดเวลา เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุแล้ว ผู้ขับขี่ควรพก ใบอนุญาตขับขีต่ ดิ ตัวอยูเ่ สมอ รวมทัง้ ตรวจสอบใบอนุญาตขับขีข่ องตน ว่าหมดอายุแล้วหรือไม่ เพราะเมือ่ ใดทีผ่ ขู้ บั ขีย่ านพาหนะโดยไม่มี และ ไม่พกใบอนุญาตขับขี่ หรือใบอนุญาตขับขีห่ มดอายุ ถือเป็นการกระท�ำ ผิดกฎหมาย ตามพระราชบัญญัตริ ถยนต์ พุทธศักราช 2522 มาตรา 65 ฐานขั บ รถโดยใบอนุ ญ าตขั บ รถสิ้ น อายุ ห รื อ ระหว่ า งถู ก สั่ ง พั ก ใช้ ใบอนุ ญ าตขั บ รถหรื อ ถู ก เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตขั บ รถหรื อ ถู ก ยึ ด ใบอนุญาตขับรถ มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 65 ของ พระราชบัญญัติดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจำบาน
15
ตอนที่ 15
การสร้างถนนส่วนบุคคล ลุกล�้ำเขตทางหลวง
การก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ที่พักริมทาง หรือสถานบริการต่างๆ เช่น ร้านอาหาร ปั๊มน�้ำมัน เป็นต้น ที่มีการก่อสร้างใกล้กับเขตทางหลวง เจ้าของ หรือผู้ครอบครองจะต้องเพิ่มความระมัดระวัง เพราะหากมีการ ก่อสร้างทางเข้าออก เพื่อใช้เชื่อมต่อไปยังสิ่งก่อสร้างในความรับผิดชอบ ของท่านโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือลายลักษณ์อักษร ถือเป็นการ กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติทางหลวง พุทธศักราช 2535 มาตรา 37 วรรค 1 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 72 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว
16
ตอนที่ 16
การปิดกั้น หรือวางวัตถุ ที่อาจเกิดอันตรายบนทางหลวง การปิดกัน้ หรือวางวัตถุกดี ขวางบนท้องถนน จนก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ และเป็นอันตรายต่อผู้สัญจรไปมาบนถนน ถือเป็นการกระท�ำความผิด ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พุทธศักราช 2535 มาตรา 39 ในฐาน ความผิดกระท�ำการปิดกั้นทางหลวงหรือวางวัตถุที่แหลมหรือมีคม หรือ น�ำสิ่งใดมาขวางหรือวางบนทางหลวงหรือกระท�ำการใดๆ บนทางหลวง ในลักษณะทีอ่ าจเกิดอันตรายเสียหายแก่ยานพาหนะหรือบุคคล ต้องระวางโทษ จ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น 3 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 60,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 72 ของ พระราชบัญญัติ ดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจำบาน
17
ตอนที่ 17
รุกล�้ำเขตทางหลวง
ประชาชนส่วนใหญ่นิยมก่อสร้างบ้านเรือนติดริมถนน เนื่องจาก การเดินทางสัญจรได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว แต่มีประชาชนจ�ำนวน ไม่น้อยด�ำเนินการต่อเติมอาคาร บ้านเรือน รุกล�้ำเข้าไปในพื้นที่บริเวณ ไหล่ทาง หรือ ในพื้นที่เขตทางหลวง ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พุทธศักราช 2535 มาตรา 47 วรรคหนึ่ง ก�ำหนดไว้ว่า ห้ามบุคคลใด สร้างอาคารหรือสิง่ อืน่ ใดในเขตทางหลวง หรือ รุกลำ�้ เข้าไปในเขตทางหลวง โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตเป็ น หนั ง สื อ ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรจากผู ้ อ�ำนวยการ ทางหลวง หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้อ�ำนวยการทางหลวง ผู้ฝ่าฝืน ต้องโดนจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามมาตรา 72 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว
18
ตอนที่ 18
ขัดขวางการรื้อถอน ท�ำลาย สิ่งกีดขวางบนทางหลวง อาคารบ้านเรือน และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่ก่อสร้างบริเวณ ริมถนน ต้องมีระยะห่างจากเขตทางหลวงไม่น้อยกว่า 15 เมตร ตามมาตรา 49 ของพระราชบัญญัติทางหลวง พุทธศักราช 2535 หากผูใ้ ดฝ่าฝืน ก่อสร้างอาคารหรือบ้านเรือนต่างๆ ภายในระยะ 15 เมตร จากเขตทางหลวง โดยไม่ได้รับอนุญ าตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้อ�ำนวยการทางหลวง หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย จากผูอ้ �ำนวยการทางหลวง แจ้งเป็นหนังสือไปยังเจ้าของหรือผูค้ รอบครอง สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ให้ รื้ อ ถอนภายใน 30 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ แจ้ ง หากผู้รุกล�้ำไม่ปฏิบัติตาม ถือเป็นความผิด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ท างหลวง พุทธศักราช 2535 ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับ ไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้ ง ป รั บ ต า ม บ ท ล ง โ ท ษ มาตรา 70 แห่งพระราชบัญญัติ ทางหลวง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2549
กฎหมายสามัญประจำบาน
19
ตอนที่ 19
ปิดป้ายประกาศในที่สาธารณะ ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ธุ ร กิ จ ส่ ว นใหญ่ นิ ย มใช้ ก ารโฆษณา ประชาสัมพันธ์ เพือ่ เป็นการสือ่ สาร ข้อมูลของสินค้า และบริการของ ตนสู ่ ผู ้ บ ริ โ ภค โดยผ่ า นทางสื่ อ แขนงต่างๆ อาทิ สื่อโทรทัศน์ สื่อ วิทยุกระจายเสียง สือ่ สิง่ พิมพ์ และ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ เป็ น ต้ น แต่ มี ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ�ำ น ว น ไม่ น ้ อ ยที่ น�ำป้ า ยโฆษณาสิ น ค้ า ของตนไปปิ ด ประกาศในพื้ น ที่ สาธารณะ เช่น บริเวณตู้โทรศัพท์ สาธารณะ เสาไฟฟ้า บริเวณอาณาเขตที่ขึ้นทะเบียนเป็นที่สาธารณะฯลฯ ซึ่งการกระท�ำดังกล่าวถือเป็นความผิดฐานโฆษณาด้วยการปิด ทิ้ง หรือ โปรยแผ่ น ประกาศหรื อ ใบปลิ ว ในที่ ส าธารณะโดยมิ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต ตามพระราชบัญญัตริ กั ษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง พุทธศักราช 2535 มาตรา 10 วรรค 1 มีโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท ตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัตินี้
20
ตอนที่ 20
สัตว์เลี้ยงถ่ายสิ่งปฏิกลู ในที่สาธารณะ หลายๆ ท่านมีสุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงแสนรักไว้เป็นเพื่อนคลายเหงา ในบางคราวที่พาสุนัขตัวโปรดออกไปเดินเล่นบริเวณสวนสาธารณะ และ สุนัขถ่ายมูลไว้ โดยที่เจ้าของไม่ได้เก็บกวาดท�ำความสะอาดให้เรียบร้อย ถือเป็นการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พุทธศักราช 2535 มาตรา 14 (1) ฐานความผิด ปล่อยสัตว์ น�ำสัตว์ หรือจูงสัตว์ไปตามถนนหรือเข้าไปใน บริเวณที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นได้ประกาศห้ามไว้ และ (2) ปล่อยให้สัตว์ ถ่ายมูลบนถนนและมิได้จัดมูลดังกล่าวให้หมดไป ต้องโดนปรับไม่เกิน 500 บาท ตามบทลงโทษมาตรา 52 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
21
ตอนที่ 21
ความสะอาดบนทางเท้า ทางเท้ า หรื อ ฟุ ต บาท เป็ น ทางส�ำหรั บ ผู ้ เ ดิ น เท้ า ใช้สญั จรไปมา ยกเว้นบางบริเวณ ที่ประกาศเป็นพื้นที่อนุญาต ให้ ข ายของบนทางเท้ า ได้ อย่างไรก็ตาม พ่อค้า แม่ค้า ที่ค้าขายบริเวณทางเท้าต้อง ดูแลรักษาความสะอาด ไม่ให้ มีสงิ่ สกปรกบนทางเท้า อันเป็น การรบกวนความสะดวกของ ผูใ้ ช้ทางหากพ่อค้า แม่คา้ ไม่ปฏิบตั ติ ามต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามพระราชบัญญัตคิ วามสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พุทธศักราช 2535 มาตรา 6 และ มาตรา 53
22
ตอนที่ 22
ขายของบนทางเท้า ร้ า นค้ า แบบหาบเร่ แ ผงลอย ที่ ว างขายสิ น ค้ า บนทางเท้ า สาธารณะ ซึ่งบางพื้นที่ได้จัดสรรให้พ่อค้า แม่ค้า สามารถจับจอง พื้นที่ขายสินค้าได้ แต่บางพื้นที่เป็นเขตหวงห้าม ไม่ได้รับการจัดสรร ให้สามารถวางแผงลอย หรือสินค้าหาบเร่ ซึ่งหากผู้ใดฝ่าฝืนจ�ำหน่าย สินค้าในที่ หรือทางสาธารณะ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน ท้ อ งถิ่ น ถื อ ว่ า ผู ้ นั้ น กระท�ำผิ ด กฎหมาย ตามพระราชบั ญ ญั ติ การสาธารณสุข พุทธศักราช 2535 มาตรา 41 วรรค 2 ฐานจ�ำหน่าย สินค้าในที่หรือทางสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นการจ�ำหน่ายโดยลักษณะ วิธีการจัดวางสินค้าในที่หนึ่งที่ใด เป็นปกติหรือเร่ขายโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิน่ นัน้ ๆ ต้ อ งระวางโทษปรั บ ไม่ เ กิ น 2,000 บาท ตามบท ก�ำหนดโทษ มาตรา 77 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจำบาน
23
ตอนที่ 23
จ�ำหน่ายสลากกินแบ่งเกินราคา
สลากกินแบ่งรัฐบาล จะออกสลากให้ประชาชนทั่วไปเสี่ยงโชค เดือนละ 2 ครัง้ คือ วันที่ 1 และวันที่ 16 ของทุกเดือน โดยราคาหน้าสลาก จะก�ำหนดใบละ 40 บาท และผลิตออกมาเป็นคู่ ในราคาคู่ละ 80 บาท ซึง่ ผูจ้ �ำหน่ายมักจะขายในราคาสูงกว่า คือ คูล่ ะ 100 - 110 บาท โดยอ้างว่า รับสลากมาในราคาสูง ดังนั้น หากผู้เสี่ยงโชคทั้งหลายเจอเหตุการณ์เช่นนี้ สามารถแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ได้ เพราะถือว่าผู้จ�ำหน่ายรายนั้น ท�ำผิด พระราชบัญญัตกิ ารพนัน พุทธศักราช 2478 มาตรา 9 ทวิ ในฐานความผิด เสนอขายหรือขายสลากกินแบ่งเกินกว่าราคาทีก่ �ำหนดในสลากต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 9 ตรี แห่งพระราชบัญญัตินี้
24
ตอนที่ 24
หอพัก (1) ปัจจุบันมีหอพักเปิดให้เช่าบริการเกิดขึ้นอย่างมากมาย โดยเฉพาะ บริเวณสถานศึกษา และย่านธุรกิจการค้า เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการ เดินทางระหว่างทีพ่ กั และสถานทีท่ �ำงานของผูพ้ กั อาศัย แต่หากหอพักใด ที่สร้างขึ้นโดยไม่ได้รับใบอนุญาต ถือว่า เจ้าของกิจการหอพักนั้นท�ำผิด กฎหมายตามพระราชบั ญ ญั ติ ห อพั ก พุ ท ธศั ก ราช 2507 มาตรา 7 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ในข้อหาตั้งหอพัก โดยมิใช่เป็นเจ้าของหอพัก ซึ่งได้รับ ใบอนุญาตจากนายทะเบียน
กฎหมายสามัญประจำบาน
25
ตอนที่ 25
หอพัก (2)
หอพักบางแห่ง มีลกั ษณะห้องพักแบ่งเช่าในอาคารพาณิชย์ ซึง่ ไม่มี ป้ายประกาศแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าเป็นหอพัก ซึ่งพระราชบัญญัติ หอพัก พุทธศักราช 2507 มาตรา 16 ก�ำหนดไว้วา่ หากเจ้าของหอพักไม่จดั ให้มี ป้ายแสดงค�ำว่าหอพัก ชือ่ ของหอพัก และประเภทของหอพักเป็นภาษาไทย ไว้ในที่เปิดเผย ณ หอพักให้เห็นได้ง่ายจากภายนอกอาคาร ถือเป็น การกระท�ำผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัตินี้
26
ตอนที่ 26
หอพัก (3) หอพักในสถานศึกษาจะมีขอ้ แตกต่างจากหอพักนิตบิ คุ คล หรือ เอกชนทัว่ ไป คือ จะแบ่งเป็นหอพักหญิง และหอพักชายอย่างชัดเจน และมีอาคารหรือสถานทีพ่ กั ห่างกันออกไป เพือ่ ป้องกันการเกิดปัญหา ในเชิงชู้สาว หรือพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ที่เข้าพัก แต่ยังมีนิติบุคคล หรือหอพักเอกชนบางแห่งทีเ่ ปิดให้บริการหอพักทีแ่ บ่งประเภทหอพัก ชาย - หญิงเช่นกัน ดังนัน้ หากท่านเข้าใช้บริการหอพักทีใ่ ห้บริการแยกส่วน ระหว่างหอพักหญิง และหอพักชายแล้ว แต่พบว่าผู้จัดการหอพัก มิได้ควบคุมการเข้าออกของผู้พัก โดยปล่อยปละละเลยให้ชาย เข้าหอพักหญิง หรือหญิงเข้าหอพักชายได้ ถื อ ว่ า ผู ้ จั ด การหอพั ก นั้ น ท�ำผิ ด พระราชบัญญัติหอพัก พุทธศักราช 2507 มาตรา 30 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ในฐาน ความผิดผูจ้ ดั การหอพักมิควบคุมดูแล มิให้หญิงเข้าอยู่หอพักชาย และมิให้ ชายเข้าอยู่หอพักหญิง
กฎหมายสามัญประจำบาน
27
ตอนที่ 27
ชั่ง ตวง วัด (1) การซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ในแต่ละครัง้ นอกจากผูซ้ อื้ สินค้า จะต้องตรวจสอบคุณภาพของ สินค้าให้ตรงตามมาตรฐาน และ ความต้องการแล้ว ควรสังเกต และตรวจสอบการชั่ ง ตวง วั ด น�้ ำ หนั ก ของสิ น ค้ า ที่ จ ะซื้ อ ให้มีความถูกต้อง เที่ยงตรงอีกด้วย เนื่องจากปัจจุบันมีพ่อค้า แม่ค้าบางประเภท ที่ใช้เครื่องชั่ง ตวง วัด เอาเปรียบผู้บริโภคด้วยการโกงตาชั่ง หรือโกง นำ�้ หนัก ซึง่ กฎหมายได้มบี ทลงโทษส�ำหรับผูท้ ใี่ ช้ หรือมีเครือ่ งชัง่ ตวง วัด ไว้ เพือ่ ใช้ในกิจการซือ้ ขาย หรือแลกเปลีย่ นสินค้ากับผูอ้ นื่ หรือการให้บริการ ชั่ง ตวง วัด หรือการใช้เครื่องชั่ง ตวง วัด เพื่อประโยชน์ในการค�ำนวณ ค่าตอบแทน ค่าภาษีอากรและค่าธรรมเนียม โดยรูว้ า่ เครือ่ งชัง่ ตวง วัด นัน้ มีความเสี่ยงผิดเกินอัตราเผื่อเหลือเผื่อขาดตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามพระราชบัญญัติมาตรา ชั่ง ตวง วัด พุทธศักราช 2542 มาตรา 79
28
ตอนที่ 28
ชั่ง ตวง วัด (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคนอกจากจะเป็น เรื่องของคุณภาพ และมาตรฐานที่ดีแล้ว จ�ำนวนของปริมาณที่คุ้มค่ากับ ราคาก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยส�ำคัญที่สามารถโน้มน้าวให้ผู้บริโภคเลือกซื้อ สิ น ค้ า ยี่ ห ้ อ นั้ น ดั ง นั้ น ผู ้ ผ ลิ ต ควรต้ อ ง แสดงข้ อ มู ล บนฉลากให้ ชั ด เจน เพราะหากไม่แสดงข้อมูลส่วนประกอบ ของผลิตภัณฑ์ น�้ำหนักบรรจุ และ ข้อมูลส�ำคัญต่างๆ นอกจากจะส่งผลให้ ผู ้ บ ริ โ ภคไม่ ท ราบข้ อ มู ล แล้ ว ยั ง ถื อ เป็ น การกระท�ำผิ ด ตามพระราชบัญญัตมิ าตรา ชัง่ ตวง วัด พุทธศักราช 2542 มาตรา 62 (1) ต้ อ งระวางโทษปรั บ ไม่ เ กิ น 5,000 บาท ในฐานความผิ ด ขาย หรือมีไว้ เพื่อขายซึ่งสินค้าหรือหีบห่อที่มีการแสดงปริมาณของสินค้า ที่หีบห่อตามที่รัฐมนตรีประกาศ
กฎหมายสามัญประจำบาน
29
ตอนที่ 29
ชั่ง ตวง วัด (3) ตลาดสินค้าในปัจจุบันมักจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน แต่มีหลากหลายยี่ห้อสินค้าให้ผู้บริโภคได้ตัดสินใจเลือกซื้อ โดยอาศัย ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ในด้านปริมาณ คุณสมบัติ และส่วนประกอบ เป็นสิ่งจูงใจ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าของตน ซึ่งหากผู้บริโภคตัดสินใจ ซื้อสินค้าตามคุณสมบัติที่แสดงบนฉลากแต่ปรากฏว่าสินค้า ที่ได้รับ มีคุณสมบัติไม่ตรงกับที่ระบุไว้ผู้บริโภคสามารถร้องเรียนไปยังส�ำนักงาน คุ้มครองผู้บริโภคได้ และผู้ผลิตถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติ มาตราชั่ง ตวง วัด พุทธศักราช 2542 มาตรา 84 ในฐานความผิ ด ผู ้ บ รรจุ บรรจุ สิ น ค้ า หี บ ห่ อ โดยรู ้ ว ่ า ปริ ม าณของสิ น ค้ า ที่ บรรจุในหีบห่อไม่ถูกต้องตามที่แสดง ไว้ ซึ่ ง น่ า จะเกิ ด ความเสี ย หาย แก่ผอู้ นื่ หรือประชาชน ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
30
ตอนที่ 30
ชั่ง ตวง วัด (4)
ปัจจุบนั ประชาชนส่วนใหญ่นยิ มเลือกซือ้ สินค้าอุปโภค บริโภค ที่วางจ�ำหน่ายภายในห้างสรรพสินค้า หรือร้านสะดวกซื้อ เนื่องจาก มีสินค้าให้เลือกมากมายทั้งอาหารสด อาหารแห้ง หรือแม้กระทั่ง ขนมหวานส�ำเร็จรูปพร้อมรับประทาน ที่บรรจุในกล่องสวยงาม ดึงดูดใจผู้บริโภค อย่างไรก็ตามห้างสรรพสินค้า หรือเจ้าของกิจการ ร้านสะดวกซื้อที่รับสินค้าจากผู้ผลิตมาวางจ�ำหน่ายในร้านของตน ต้องตรวจสอบคุณภาพ และปริมาณของสินค้าให้ตรงกับข้อมูลทีร่ ะบุไว้ บนฉลากก่อนน�ำมาวางขายให้ผู้บริโภค เพราะหากเจ้าของร้านรู้เห็น เป็นใจให้ผู้ผลิตน�ำสินค้าที่มีคุณภาพ และปริมาณไม่ตรงกับที่ระบุไว้ ในฉลากมาจ�ำหน่าย ถือเป็นการกระท�ำผิดตามพระราชบัญญัตมิ าตรา ชัง่ ตวง วัด พุทธศักราช 2542 มาตรา 85 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
กฎหมายสามัญประจำบาน
31
ตอนที่ 31
การอนุญาตให้ผ้อู ื่น ใช้เครื่องหมายของตน
การค้าแบบเสรีที่ไม่ได้ค�ำนึงถึงกฎหมาย หรือข้อบัญญัติว่าด้วย เครื่องหมายการค้า อาจน�ำความเดือดร้อนให้กับตัวผู้ค้าได้ เช่น ผู้ค้า ขายสินค้าทีไ่ ด้ขนึ้ ทะเบียนตราสินค้าของตนเองอย่างถูกต้องตามพระราชบัญญัติ เครื่องหมายการค้า พุทธศักราช 2534 แต่กลับอนุญาตให้บุคคลอื่น ใช้เครือ่ งหมายรับรองสินค้า หรือบริการของตนเองแทน ถือว่าผูค้ า้ รายนัน้ ท�ำผิดพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พุทธศักราช 2534 มาตรา 90 เจ้าของเครื่องหมายรับรองที่ได้จดทะเบียนแล้ว จะใช้เครื่องหมายนั้น กับสินค้าหรือบริการอื่นของตนเองไม่ได้ และจะอนุญาตให้บุคคลอื่น เป็นผูร้ บั รองโดยใช้เครือ่ งหมายนัน้ ก็ไม่ได้ ผูฝ้ า่ ฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 112 แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้
32
ตอนที่ 32
การปลอมเครื่องหมายการค้าฯ ธุรกิจทีม่ กี ารผลิต หรือท�ำขึน้ มาโดยไม่ได้จดทะเบียน หรือขอใบรับรอง เครื่องหมายการค้า แต่ใช้วิธีการปลอมเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น ที่ได้จดทะเบียนไว้ เพื่อน�ำสินค้าของตัวเองออกวางจ�ำหน่าย ถือเป็นการ กระท�ำผิดฐานปลอมเครือ่ งหมายการค้า เครือ่ งหมายบริการ เครือ่ งหมาย รั บ รอง หรื อ เครื่ อ งหมายร่ ว มของบุ ค คลอื่ น ที่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นแล้ ว ในราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัตเิ ครือ่ งหมายการค้า พุทธศักราช 2534 มาตรา 108 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 4 ปี หรือปรับไม่เกิน 400,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
กฎหมายสามัญประจำบาน
33
ตอนที่ 33
เลียนแบบเครื่องหมายการค้าฯ
ผู ้ ใ ดที่ ส ร้ า งสรรค์ เ ครื่ อ งหมายการค้ า ขึ้ น ใหม่ ควรด�ำเนิ น การ จดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้า หรือเครื่องหมายบริการอย่างถูกต้อง เพือ่ ป้องกันการลอกเลียนแบบ ทัง้ นีบ้ คุ คลใดเลียนแบบเครือ่ งหมายการค้า เครือ่ งหมายบริการ เครือ่ งหมายรับรอง หรือเครือ่ งหมายร่วมของบุคคลอืน่ ที่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นแล้ ว ในราชอาณาจั ก ร เพื่ อ ให้ ป ระชาชนหลงเชื่ อ ว่าเป็นเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง หรือ เครื่องหมายร่วมของบุคคลอื่นนั้น ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ เป็นไปตามพระราชบัญญัติ เครื่องหมายการค้า พุทธศักราช 2534 มาตรา 109
34
ตอนที่ 34
ลิขสิทธิ์ (1) ลิขสิทธิ์ คือ ทรัพย์สนิ ทีผ่ เู้ ป็นเจ้าของถือไว้ครอบครองว่ามีสทิ ธิ์ เป็นผู้ผลิต หรือเป็นผู้จ�ำหน่าย หรือ ทั้งสองอย่างแต่เพียงผู้เดียว ห้ามบุคคลอื่นที่ไม่มีใบอนุญาตท�ำซ�้ำ หรือดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อ สาธารณชนซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์ ผู้ฝ่าฝืนถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พุทธศักราช 2537 มาตรา 27 ต้องระวางโทษ ปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท ในฐานความผิดกระท�ำ อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง แก่ ง านอั น มี ลิ ข สิ ท ธิ์ โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต ตามบทลงโทษ มาตรา 69 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
35
ตอนที่ 35
ลิขสิทธิ์ (2) ลิ ข สิ ท ธิ์ ถื อ เป็ น สิ ท ธิ ใ นทาง ทรั พ ย์ สิ น (property rights) ที่ ส า ม า ร ถ ท�ำ ร า ย ไ ด ้ ใ ห ้ กั บ ผู ้ ที่ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ โดย สามารถน�ำมาสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อจัดจ�ำหน่าย หรื อ เผยแพร่ ใ นท้ อ งตลาดทั่ ว ไป ซึ่งหากผู้ผลิตสินค้าได้สร้างตราสินค้า ของตนเอง แต่มผี ลู้ อกเลียนแบบน�ำไปวางขาย ตามท้องตลาด เจ้าของลิขสิทธิ์สามารถเอาผิดกับ ผู้ที่กระท�ำการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าวได้ โดยผู้กระท�ำการละเมิดลิขสิทธิ์ หากเป็นไปเพือ่ การค้า ผูก้ ระท�ำต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ในฐาน ความผิ ด ว่ า ด้ ว ยการกระท�ำอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง แก่ ง านอั น มี ลิ ข สิ ท ธิ์ โดยไม่ได้รับอนุญาตเพื่อการค้า ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2537 มาตรา 27 ประกอบ มาตรา 69 วรรค 2
36
ตอนที่ 36
ลิขสิทธิ์ (3)
เทคโนโลยี ที่ มี ค วามทั น สมั ย มากยิ่ ง ขึ้ น ในปั จ จุ บั น กลายเป็ น ช่ อ งว่ า งให้ ผู ้ ก ระท�ำผิ ด น�ำผลงานของคนอื่ น มาตั ด ต่ อ หรื อ เพิ่ ม เติ ม ในชิน้ งาน รวมถึงการน�ำหรือสัง่ เข้ามาในราชอาณาจักร เพือ่ สร้างรายได้ให้กบั ตนเอง โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่นจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของ ลิขสิทธิ์ ซึง่ การกระท�ำดังกล่าวถือเป็นความผิด ตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พุทธศักราช 2537 มาตรา 31 วรรค 1 ในฐานความผิดละเมิดลิขสิทธิ์ มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย ให้เช่า เสนอให้เช่า ให้เช่าซื้อ หรือเสนอให้เช่าซื้อ รวมถึงเผยแพร่สาธารณชน และแจกจ่ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิด ความเสียหายแก่เจ้าของลิขสิทธิ์ ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 70
กฎหมายสามัญประจำบาน
37
ตอนที่ 37
ลิขสิทธิ์ (4) หากท่านมีโอกาสได้เข้าชมการแสดงคอนเสิรต์ รอบพิเศษ ซึง่ ยังไม่มี การบันทึกการแสดงนัน้ ๆ ภายหลังได้มกี ารน�ำมาเผยแพร่ ถือเป็นความผิด ฐานละเมิดลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนักแสดง โดยการแพร่เสียง แพร่ภาพ หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนซึ่งการแสดง บันทึกการแสดง ที่ยังไม่มีการบันทึกไว้ รวมถึงท�ำซ�้ำซึ่งบันทึกการแสดงที่มีผู้บันทึกไว้ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนักแสดงหรือสิ่งบันทึกการแสดงที่ได้รับอนุญาต เพื่อวัตถุประสงค์อื่น หรือสิ่งบันทึกการแสดงที่เข้าข้อยกเว้นการละเมิด ลิขสิทธิข์ องนักแสดง ตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พุทธศักราช 2537 มาตรา 52 ประกอบมาตรา 44 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึ ง 200,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 69 ของพระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว เว้ น แต่ จ ะเป็ น การแพร่ เ สี ย ง แพร่ ภ าพหรื อ เผยแพร่ ต ่ อ สาธารณชนจากสิ่ ง บั น ทึ ก การแสดงที่มีการบันทึกไว้แล้ว
38
ตอนที่ 38
ลิขสิทธิ์ (5)
การเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ส่งผลให้มีโอกาสเป็น พรีเซ็นเตอร์ในการโชว์สินค้าของผู้ว่าจ้าง แต่หากผู้ว่าจ้าง หรือ เจ้าของสินค้าไม่ยอมจ่ายค่าตอบแทนให้กบั นักแสดง หรือพรีเซ็นเตอร์ ที่จ้างมา ตามข้อตกลงในสัญญา หรือจ่ายต�่ำกว่าที่เจรจาตกลงกันไว้ ถือว่าผูว้ า่ จ้างกระท�ำความผิดฐานไม่จา่ ยค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมให้แก่ นักแสดง ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2537 มาตรา 52 ประกอบ 45 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 69
กฎหมายสามัญประจำบาน
39
ตอนที่ 39
ธุรกิจขายตรง (1)
ธุรกิจขายตรงในประเทศไทย มีหลากหลายประเภทธุรกิจที่เปิดให้ สมัครเข้าเป็นสมาชิก หรือตัวแทนจ�ำหน่าย โดยต้องเสียค่าธรรมเนียม การสมัครตามอัตราที่บริษัทก�ำหนด ทั้งนี้พระราชบัญญัติขายตรงและ ตลาดแบบขายตรง พุทธศักราช 2545 มาตรา 22 ห้ามมิให้ผปู้ ระกอบธุรกิจ ขายตรงเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการสมัครเข้าเป็นสมาชิก ค่าฝึกอบรม ค่าวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย หรือค่าธรรมเนียมอื่นๆ อันเกี่ยวกับ การเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการประกอบธุรกิจขายตรงจากผูจ้ �ำหน่ายอิสระ หรือตัวแทนการขายตรงที่ไม่ใช่ลูกจ้างในอัตราสูงกว่าที่คณะกรรมการ ประกาศก�ำหนด หากผู้ประกอบการรายใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัตินี้
40
ตอนที่ 40
ธุรกิจขายตรง (2) ก่ อ นที่ จ ะตั ด สิ น ใจเข้ า ร่ ว มประกอบธุ ร กิ จ ขายตรงเป็ น อาชี พ เสริ ม รายได้ นั้ น มี ธุ ร กิ จ ขายตรงบางประเภท ที่ อ าจเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย ในการสมัครเข้าเป็นสมาชิก ซึ่งเมื่อตัดสินใจจ่ายค่าสมัคร และเปลี่ยนใจ ต้องการลาออกจากธุรกิจภายใน 15 วัน ผูส้ มัครจะได้รบั เงินจ�ำนวนนัน้ คืน หากผูป้ ระกอบธุรกิจขายตรงรายใดไม่คนื เงินให้ผสู้ มัคร ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 50,000 บาท ในฐานความผิดไม่รับซื้อสินค้า วัสดุ อุปกรณ์ ส่งเสริมการขาย ชุดคูม่ อื หรืออุปกรณ์สง่ เสริม ธุ ร กิ จ คื น จากผู ้ จ�ำหน่ า ยอิ ส ระภายใน ระยะเวลา 15 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ผู ้ จ�ำ ห น ่ า ย อิ ส ร ะ ใช ้ สิ ท ธิ คื น ตามพระราชบัญญัติขายตรงและ ตลาดแบบขายตรง พุทธศักราช 2545 มาตรา 25 ประกอบ มาตรา 50
กฎหมายสามัญประจำบาน
41
ตอนที่ 41
ธุรกิจขายตรง (3)
การสั่งซื้อสินค้ากับตัวแทนขายตรง เป็นการอ�ำนวยความสะดวก ให้กบั ผูซ้ อื้ เนือ่ งจากสามารถเลือกซือ้ สินค้าผ่านแค็ตตาล็อก และสามารถ แจ้งการสัง่ ซือ้ สินค้าผ่านตัวแทนได้ทนั ที ซึง่ สินค้าจะส่งตรงถึงมือของผูซ้ อื้ โดยไม่ตอ้ งเสียเวลาในการออกไปซือ้ สินค้านอกบ้าน อย่างไรก็ตามหากผูซ้ อื้ สั่งซื้อสินค้ากับตัวแทนอิสระหรือตัวแทนขายตรงแล้วไม่ได้รับเอกสาร การสัง่ ซือ้ สินค้าหรือเอกสารการให้บริการดังกล่าว สามารถแจ้งความด�ำเนินคดี กับบุคคลเหล่านี้ได้ เพราะถือว่าท�ำผิดตามพระราชบัญญัติขายตรงและ ตลาดแบบขายตรง พุทธศักราช 2545 มาตรา 30 วรรค 1 ในฐานความผิด ผูจ้ �ำหน่ายอิสระ ตัวแทนขายตรง หรือผูป้ ระกอบธุรกิจตลาดแบบขายตรง ไม่สง่ มอบเอกสารซือ้ ขายสินค้าหรือบริการแก่ผบู้ ริโภค ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 30,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้
42
ตอนที่ 42
โรงรับจ�ำน�ำ (1) สถานธนานุบาล หรือที่รู้จักกันในชื่อโรงรับจ�ำน�ำ เป็นสถานที่ ให้บริการประชาชน โดยรับฝากหรือรับจ�ำน�ำ ซึง่ โรงรับจ�ำน�ำทัง้ ของรัฐ และเอกชนจะต้องขึ้นป้ายประกาศอัตราดอกเบี้ยอย่างชัดเจน และ ต้องเป็นไปตามอัตราทีพ่ ระราชบัญญัตโิ รงรับจ�ำน�ำ พุทธศักราช 2505 มาตรา 17 ก�ำหนดไว้ หากผู้รับจ�ำน�ำเรียกหรือรับดอกเบี้ยเกินอัตรา ทีก่ �ำหนด ถือว่าผูน้ นั้ กระท�ำผิดต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 1,000 บาท ถึง 20,000 บาท หรือจ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามก�ำหนดโทษมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
43
ตอนที่ 43
โรงรับจ�ำน�ำ (2)
การน�ำสิง่ ของไปจ�ำน�ำหรือทีเ่ รียกว่าฝากทรัพย์ ไว้กบั สถานธนานุบาล หรือโรงรับจ�ำน�ำนั้น ผู้รับจ�ำน�ำต้องออกตั๋วรับจ�ำน�ำไว้เป็นหลักฐานให้แก่ ผู้จ�ำน�ำ และติดเลขหมายที่ทรัพย์จ�ำน�ำให้ตรงกับเลขหมายตั๋วรับจ�ำน�ำ รวมทั้งตั๋วรับจ�ำน�ำให้ท�ำตามวิธีการและเงื่อนไขที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง เป็นไปตามพระราชบัญญัติโรงรับจ�ำน�ำ พุทธศักราช 2505 มาตรา 20 แต่หากผู้รับจ�ำน�ำรายใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัตินี้
44
ตอนที่ 44
ข่มขู่ผู้ร่วมเสนอราคา การน�ำเสนอราคาในปัจจุบันมีหลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการ เปิดประมูล ประกวดราคา สอบราคาหรือการเลือกพิจารณาคัดสรร ตามข้อก�ำหนดของผู้เปิดสอบราคา หรือเจ้าของกิจการในการก�ำหนด หลักเกณฑ์ให้ผู้เข้าร่วมเสนอราคา ทั้งนี้ หากผู้ร่วมน�ำเสนอราคารายใด ต้องการเป็นผู้ชนะในการแข่งขันครั้งนั้น โดยไปข่มขืนใจผู้อื่นให้จ�ำยอม ร่วมด�ำเนินการใดๆ ในการน�ำเสนอราคา หรือเป็นเหตุไม่เข้าร่วมในการ เสนอราคาแล้ว ถือว่าผูน้ นั้ ท�ำผิด พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยความผิดเกีย่ วกับ การเสนอราคาต่ อ หน่ ว ยงานของรั ฐ พุ ท ธศั ก ราช 2542 มาตรา 6 ต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 5 ปี ถึง 10 ปี และปรับร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเงิน ที่ มี ก ารเสนอราคาสู ง สุ ด ในระหว่ า งผู ้ ร ่ ว มกระท�ำความผิ ด นั้ น หรื อ ของจ�ำนวนเงินที่มีการท�ำสัญญากับหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่จ�ำนวนใดสูงกว่า ในฐานความผิด ข่มขืนใจ ผู้อื่น ให้จ�ำยอมร่วมด�ำเนินการใดๆ ในการ เสนอราคาหรือไม่เข้าร่วมในการเสนอราคาหรือ ถอนการเสนอราคาหรือต้องท�ำการเสนอราคา ตามทีก่ �ำหนด โดยใช้ก�ำลังประทุษร้ายหรือขูเ่ ข็ญ ด้วยประการใดๆ ให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อ ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของ ผู ้ ถู ก ขู ่ เข็ ญ หรื อ บุ ค คลที่ ส ามจนผู ้ ถู ก ข่ ม ขื น ใจ ยอมเช่นว่านั้น
กฎหมายสามัญประจำบาน
45
ตอนที่ 45
ใช้อุบายล่อลวงผู้ร่วมเสนอราคา การน�ำเสนอราคาทีม่ ลู ค่าของการว่าจ้างทีส่ งู หรือมีหลักการประมูล ทีเ่ ป็นมูลค่าเงินจ�ำนวนมาก หากพบว่าในการแข่งขันมีการใช้กลอุบาย หรือ กระท�ำการอย่างอืน่ อย่างใด ซึง่ มีผลกระทบต่อการเข้าร่วมน�ำเสนอราคาของ ผูแ้ ข่งขันรายอืน่ ถือว่าผูน้ นั้ ท�ำผิด พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยความผิดเกีย่ วกับ การเสนอราคาต่ อ หน่ ว ยงานของรั ฐ พุ ท ธศั ก ราช 2542 มาตรา 7 ในฐานความผิด ใช้อบุ ายหลอกลวง หรือกระท�ำการโดยวิธอี นื่ ใด เป็นเหตุให้ ผู้อื่นไม่มีโอกาสเข้ามาเสนอราคาอย่างเป็นธรรม หรือให้มีการเสนอราคา โดยหลงผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 5 ปี และปรับร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเงิน ที่มีการเสนอราคาสูงสุดในระหว่าง ผู ้ ร ่ ว มกระท�ำความผิ ด นั้ น หรื อ ของจ�ำนวนเงิ น ที่ มี ก าร ท�ำสัญญากับหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่จ�ำนวนใดสูงกว่า
46
ตอนที่ 46
ทุจริตด้านราคากับหน่วยงานรัฐ การประเมินงานและต้นทุนในปัจจุบนั นอกจากจะต้อง คิ ด ด้ า นจุ ด คุ ้ ม ทุ น ขององค์ ก รเป็ น หลั ก แล้ ว ยั ง ต้ อ ง ค�ำนึงถึงราคาที่น�ำเสนอต้องสามารถแข่งขันกับคู่แข่ง ในตลาดได้ อี ก ด้ ว ย เพราะหากประเมิ น ผิ ด พลาด อาจจะท�ำให้พลาดการน�ำเสนอราคาในครั้งนั้น แต่หาก ผู้เสนอราคาน�ำเสนอราคาต่อภาครัฐในราคาต�่ำสุดโดยที่ ผู้น�ำเสนอทราบ หรือรู้ด้วยตนเองว่าราคาที่ตนน�ำเสนอนั้น ต�่ำกว่าปกติจนเห็นได้ชัดแล้ว ท�ำให้ผลงานที่ผลิตออกมาไม่ตรงกับ ลักษณะ หรือไม่เป็นผลประโยชน์ต่อภาครัฐ ถือว่าผู้นั้นทุจริตในการ กระท�ำดังกล่าว โดยผู้ว่าจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญา หรือแจ้งความ เอาผิดได้ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ พุทธศักราช 2542 มาตรา 8 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 3 ปี และปรับร้อยละ 50 ของจ�ำนวนเงินที่มีการเสนอ ราคาหรือของจ�ำนวนเงินที่มีการท�ำสัญญากับหน่วยงานรัฐแล้วแต่ จ�ำนวนใดจะสูงกว่ากัน ในฐานความผิด ทุจริตท�ำการเสนอราคาต่อ หน่วยงานของรัฐโดยรู้ว่าราคาที่เสนอนั้นต�่ำกว่าปกติจนเห็นได้ชัดว่า ไม่เป็นไปตามลักษณะสินค้าหรือบริการ หรือเสนอผลประโยชน์ตอบแทน ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานของรั ฐ สู ง กว่ า ความเป็ น จริ ง ตามสิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ โดยมีวัตถุประสงค์เป็นการกีดกันการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมและ การกระท�ำเช่นนัน้ เป็นเหตุให้ไม่สามารถปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตามสัญญาได้
กฎหมายสามัญประจำบาน
47
ตอนที่ 47
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (1)
กฎหมายก�ำหนดไว้ว่า ร้านค้า หรือสถานที่จ�ำหน่ายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ จะสามารถจ�ำหน่ายให้กบั ผูซ้ อื้ ทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 20 ปี บริบรู ณ์ขนึ้ ไป หากผูป้ ระกอบการรายใดฝ่าฝืน ถือเป็นการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พุทธศักราช 2551 มาตรา 29 ว่าด้วย การห้ามมิให้ผู้ใดขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แก่บุคคล ซึ่งมีอายุต�่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ และบุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ ผู้ที่ฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 40
48
ตอนที่ 48
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (2) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือของมึนเมาชนิดต่างๆ สามารถหาซื้อได้ ตามร้านสะดวกซื้อ และห้างสรรพสินค้าทั่วไป เพื่อเป็นการอ�ำนวย ความสะดวกให้แก่ผู้บริโภค อย่างไรก็ตามกฎหมายได้ห้ามมิให้ร้านค้าใด จ�ำหน่ายเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ไว้ในบริเวณพื้นที่วัด หรือสถานที่ ส�ำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา รวมทั้งสถานีบริการน�้ำมันเชื้อเพลิง หากผูป้ ระกอบการรายใดฝ่าฝืน ถือเป็นการกระท�ำความผิด พระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พุทธศักราช 2551 มาตรา 27 ในฐานความผิด ขายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในสถานทีว่ ดั หรือสถานทีส่ �ำหรับปฏิบตั พิ ธิ กี รรม ทางศาสนา สถานีบริการน�้ำมันเชื้อเพลิง หรือสถานที่ที่รัฐมนตรีประกาศ ก�ำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ต้องจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจำบาน
49
ตอนที่ 49
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (3) ทราบหรือไม่ว่า นอกจากกฎหมาย จะห้ามมิให้มีร้านค้าจ�ำหน่ายเครื่องดื่ม ประเภทแอลกอฮอล์ใ นบริเวณพื้นที่วัด หรื อ สถานที่ ส�ำหรั บ ปฏิ บั ติ พิ ธี ก รรม ทางศาสนาแล้ว ยังมีกฎหมายทีห่ า้ มบริโภค เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในพืน้ ทีด่ งั กล่าวอีกด้วย เนือ่ งจากการดืม่ เครือ่ งแอลกอฮอล์ เป็นการ กระท�ำที่ ผิ ด ศี ล ข้ อ 5 ว่ า ด้ ว ยการเว้ น จากของเมา คือ สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้ง แห่ง ความประมาท และยังเป็นสาเหตุ แห่ ง การทะเลาะวิ ว าท และปั ญ หา อาชญากรรมอีกมากมาย พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พุทธศักราช 2551 มาตรา 31 (1) จึงได้ห้ามมิให้ผู้ใดบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในวัดหรือสถานที่ส�ำหรับปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เว้นแต่ เป็นส่วนหนึง่ ของพิธกี รรมทางศาสนา ผูฝ้ า่ ฝืนต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับเกิน 10,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัตินี้
50
ตอนที่ 50
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (4) เจ้าของธุรกิจมักหวังผลประโยชน์จากการวางจ�ำหน่ายสินค้า ให้ได้ก�ำไรสูง โดยใช้การโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อแขนงต่างๆ เป็นช่องทางในการสื่อสารไปยังผู้บริโภค แต่มีสินค้าบางชนิด เช่น เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทีก่ ฎหมาย ห้ า มเชิ ญ ชวน หรื อ แสดง เครื่ อ งหมายของเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ อันเป็นการอวดอ้าง สรรพคุ ณ หรื อ ชั ก จู ง ใจให้ ผู ้ อื่ น ดื่ ม โดยตรงหรื อ โดยอ้ อ ม หากผูป้ ระกอบการรายใดฝ่าฝืนถือเป็น การกระท�ำผิดตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัตคิ วบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พุทธศักราช 2551 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 500,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ นอกจากนี้ ต้ อ งระวางโทษปรั บ เพิ่ ม เติ ม อี ก วั น ละไม่ เ กิ น 50,000 บาท ตลอดระยะเวลาที่ ยั ง ฝ่ า ฝื น หรื อ จนกว่ า จะได้ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 43
กฎหมายสามัญประจำบาน
51
ตอนที่ 51
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (5)
การดืม่ สุรา และเครือ่ งดืม่ มึนเมา นอกจากจะส่งผลเสียต่อสุขภาพแล้ว ยังส่งผลเสียต่อสังคมอีกด้วย เพราะสิง่ ของมึนเมาเหล่านัน้ ส่งผลให้ผดู้ มื่ สูญเสียการควบคุมสติสัมปชัญญะ จนอาจน�ำไปสู่เหตุวุ่นวายในพื้นที่ สาธารณะ หรือตามถนนหนทาง ท�ำให้ผทู้ สี่ ญั จรผ่านไปมาได้รบั ความเดือดร้อน ซึ่งกฎหมายได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้เสพสุรา หรือของเมาอย่างอื่น จนเป็นเหตุให้ตนเมา ประพฤติวนุ่ วาย หรือครองสติไม่ได้ขณะอยูใ่ นถนน สาธารณะ หรือสาธารณสถาน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 378
52
ตอนที่ 52
เหล้าเถื่อน (1) หากพูดถึงสุราเถื่อน หรือเหล้าเถื่อน เชื่อว่ามีประชาชนจ�ำนวน ไม่นอ้ ยทีเ่ คยได้ยนิ ชือ่ และเคยดืม่ รวมถึงเคยต้มเหล้าเถือ่ น แต่ทราบหรือไม่วา่ การต้มเหล้าภายในบ้านเรือนโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นการกระท�ำ ความผิดตามพระราชบัญญัตสิ รุ า พุทธศักราช 2493 มาตรา 5 ฐานท�ำสุรา หรือมีภาชนะ หรือเครือ่ งกลัน่ ส�ำหรับผลิตหรือท�ำสุราโดยไม่ได้รบั อนุญาต ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือ ทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ แต่หากเป็นการท�ำสุราแช่ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 200 บาท ตามบทลงโทษมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
53
ตอนที่ 53
เหล้าเถื่อน (2)
สุราเถือ่ น หรือ เหล้าเถือ่ น เป็นทีน่ า่ ลิม้ ลองส�ำหรับคอสุรา เนือ่ งจาก ได้รบั การขนานนามว่าเป็นสุราท้องถิน่ ทีม่ รี สชาติ และความร้อนแรงไม่แพ้ สุราน�ำเข้าราคาแพง แต่ทราบหรือไม่ว่าผู้ที่ผลิตเหล้าเถื่อนเพื่อจ�ำหน่าย นอกจากจะเป็นการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัตสิ รุ า พุทธศักราช 2493 มาตรา 5 ฐานท�ำสุรา หรือมีภาชนะ หรือเครื่องกลั่นส�ำหรับผลิต หรือท�ำสุราโดยไม่ได้รับอนุญาตแล้ว ยังต้องรับผิดฐานการผลิตสุรา โดยไม่ได้รบั อนุญาตไว้ เพือ่ จ�ำหน่ายอีกด้วย ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 10,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามมาตรา 30 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว
54
ตอนที่ 54
เหล้าเถื่อน (3) ประโยคที่ว่า สุรา คือ น�้ำเปลี่ยนนิสัย เชื่อว่าหลายคนที่เคย ได้ยินต่างยอมรับในความจริงดังกล่าว เพราะฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ จะส่งผลต่อผู้ที่ดื่มเข้าไปสูญเสียการควบคุมในร่างกาย ไม่สามารถ ควบคุมสติ และการกระท�ำของตนเองได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุรา ทีม่ ปี ริมาณดีกรีจ�ำนวนมากๆ เช่น สุราเถือ่ น หรือเหล้าเถือ่ น จะยิง่ ส่งผล ให้ผู้ดื่มเกิดอาการเมามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้ที่ซื้อเหล้าเถื่อน หรือ มี เ หล้ า เถื่ อ นไว้ ค รอบครอง ถื อ เป็ น การกระท�ำผิ ด กฎหมาย ตามพระราชบั ญ ญั ติ สุ ร า พุ ท ธศั ก ราช 2493 มาตรา 5 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท แต่ ถ ้ า สุ ร านั้ น เป็นสุรากลัน่ มีปริมาณต�่ำกว่า 1 ลิ ต ร หรื อ เป็ น สุ ร าแช่ มีปริมาณต�่ำกว่า 10 ลิตร ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200 บาท ตามมาตรา 32 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจำบาน
55
ตอนที่ 55
น�ำเข้าสุราโดยไม่ได้รบั อนุญาต
สุราต่างประเทศ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่หลายๆ ท่านนิยมเลือก มาเป็นของขวัญ หรือของฝากส�ำหรับมิตรสหาย หรือเลือกซื้อเก็บไว้ เป็นของสะสมส่วนตัว แต่ทราบหรือไม่วา่ การน�ำสุราปริมาณเกินกว่า 1 ลิตร เข้ามาภายในราชอาณาจักร โดยได้ไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน สรรพสามิต ถือเป็นการกระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัตสิ รุ า (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2510 มาตรา 6 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามบทลงโทษ มาตรา 35
56
ตอนที่ 56
ขนส่งสุราข้ามเขตโดยไม่มีใบอนุญาต การรับจ้างขนส่งสินค้าเป็นธุรกิจที่ผู้รับจ้างต้องมีความระมัดระวัง เป็นอย่างยิ่ง ในการตรวจสอบสินค้าที่ท่านรับจ้างขนส่งว่ามีข้อก�ำหนด ในการขนส่งอย่างไรบ้าง เพื่อป้องกันการกระท�ำผิดกฎหมาย โดยเฉพาะ อย่างยิง่ การรับจ้างขนส่งสุราข้ามเขต หรือข้ามจังหวัด ผูร้ บั จ้างขนส่งต้อง ตรวจสอบเพิ่มเติมว่าเจ้าของสินค้ามีใบอนุญาตในการขนย้ายสุราหรือไม่ เพราะรับจ้างขนส่งสุราข้ามเขตโดยไม่มีใบอนุญาต ถือเป็นการกระท�ำผิด พระราชบั ญ ญั ติ สุ ร า มาตรา 14 ฐานขนส่งสุราทีท่ ำ� ในราชอาณาจักร ข้ามเขตที่ก�ำหนดโดยมิได้รับ ใบอนุญาต ต้องระวางโทษปรับ ต า ม ป ริ ม า ณ น�้ ำ สุ ร า เกินกว่า 1 ลิตร แต่ไม่ถึง 10 ลิตร ทีท่ ำ� การขนในอัตรา ลิตรละ 10 บาท เศษของลิตร ให้ปรับเป็น 1 ลิตร ตามมาตรา 38 ทวิ
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 61
20/3/2557 11:02:23
57
ตอนที่ 57
สารระเหย (1)
สารระเหยเป็นสารเสพติดชนิดหนึ่งในรูปแบบของเหลว มีกลิ่น เฉพาะตั ว บางชนิ ด มี ก ลิ่ น หอมระเหยที่ ใ ห้ โ ทษอย่ า งรุ น แรงไม่ แ พ้ ยาเสพติดชนิดอื่นๆ เช่น ทินเนอร์ (Thinners) แลคเกอร์ (Lacquers) กาวอินทรียส์ งั เคราะห์ (Synthetic Organic Adhesives) ทีม่ ยี างนิโอปรีน หรือสารกลุม่ ไวนิลเป็นตัวประสานกาวอินทรียธ์ รรมชาติ (Natural Organic Adhesives) ที่มียางสนหรือชันสน ยางธรรมชาติหรือสารเซลลูโลส เป็นตัวประสานและลูกโป่งวิทยาศาสตร์หรือลูกโป่งพลาสติก (Blowing Balloon) ซึ่งสินค้าเหล่านี้จะมีสารระเหยเป็นส่วนประกอบ หากผู้ขาย ขายสารระเหยเหล่านีใ้ ห้แก่ผทู้ มี่ อี ายุตำ�่ กว่าสิบแปดปี เว้นแต่เป็นการขาย โดยสถานศึ ก ษาเพื่ อ ใช้ ใ นการเรี ย นการสอน ถื อ เป็ น ความผิ ด ตามพระราชก�ำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พุทธศักราช 2533 มาตรา 15 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ตามบทลงโทษมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัตินี้
58
ตอนที่ 58
สารระเหย (2) วั ย รุ ่ น หรื อ วั ย คะนอง นิ ย มรวมกลุ ่ ม กั น เพื่ อ ท�ำกิ จ กรรม ที่ เ ป็ น การท้ า ทาย เพื่ อ สร้ า งความตื่ น เต้ น เร้ า ใจ และต้ อ งการ การยอมรับภายในกลุม่ มีวยั รุน่ จ�ำนวนไม่นอ้ ยทีห่ ลงผิด หรือถูกล่อลวง ให้ ใช้ ย าเสพติ ด หรื อ ใช้ ส ารระเหยเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการแสดง ความกล้าหาญในกลุม่ หากบุคคลใดก็ตามมาชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือ ใช้อุบายหลอกลวงให้ผู้อื่นใช้สารระเหยบ�ำบัดความต้องการของ ร่างกายหรือจิตใจ ไม่วา่ จะเป็นวิธสี ดู ดมหรือวิธอี นื่ ใด ถือว่าบุคคลนัน้ กระท�ำความผิ ด ตามพระราชก�ำหนดป้ อ งกั น การใช้สารระเหย พุทธศักราช 2533 มาตรา 18 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามบทลงโทษมาตรา 24/1 ว่ า ด้ ว ย การจูงใจ ชักน�ำ ยุยง ส่งเสริม หรือใช้อบุ าย หลอกลวงให้บุคคลอื่นใช้สารระเหยบ�ำบัด ความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่า โดยวิธีสูดดมหรือวิธีอื่นใด
กฎหมายสามัญประจำบาน
59
ตอนที่ 59
สารระเหย (3) มาตรา 12 แห่ ง พระราชก�ำหนดป้ อ งกั น การใช้ ส ารระเหย พุ ท ธศั ก ราช 2533 ก�ำหนดไว้ ว ่ า ผู ้ ผ ลิ ต สารระเหยต้ อ งจั ด ให้ มี ภ าพ เครื่องหมาย หรือข้อความที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อที่บรรจุสารระเหย เพื่อเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง หากผูใ้ ดฝ่าฝืนต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 22 ของพระราชก�ำหนดดังกล่าว
60
ตอนที่ 60
มียาเสพติดประเภท 1 ไว้ในครอบครอง
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาส�ำคัญต่อประเทศชาติ ที่ทุกภาคส่วน ในสังคมควรให้ความร่วมมือในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดไป จากประเทศไทย ซึ่งกฎหมายได้มีข้อบังคับและบทลงโทษอย่างชัดเจน ส�ำหรับผู้ที่ครอบครองยาเสพติดให้โทษประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาต และมีปริมาณค�ำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ หรือมีจ�ำหน่าย การใช้ หรือมี น�ำ้ หนักสุทธิไม่ถงึ ปริมาณทีก่ ฎหมายก�ำหนด ตามพระราชบัญญัตยิ าเสพติด ให้โทษ พุทธศักราช 2522 มาตรา 15 วรรค 3 ต้องโดนจ�ำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือ ปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 67 แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545
กฎหมายสามัญประจำบาน
61
ตอนที่ 61
ผลิต น�ำเข้ายาเสพติดประเภท 1 โดยมิได้รับอนุญาต
ยาเสพติดประเภท 1 คือ ยาเสพติดประเภททีผ่ เู้ สพเข้าไปก่อให้เกิด ผลกระทบต่อระบบประสาท และสภาพจิตใจ ซึ่งยาเสพติดประเภท 1 สามารถน�ำสารประกอบไปผลิตเป็นยารักษาโรค เช่น ยาบรรเทาอาการปวด ประเภทพาราเซตามอล แอสไพริ น เป็ น ต้ น ผู ้ ผ ลิ ต ยาเหล่ า นี้ ต ้ อ ง ขึน้ ทะเบียนเป็นผูผ้ ลิตอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพราะหากผูใ้ ดผลิต น�ำเข้า หรือส่งออก ยาเสพติดประเภท 1 โดยมิได้รับอนุญาต ถือเป็นความผิด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 มาตรา 15 ต้องจ�ำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 1 ล้านบาท ถึง 5 ล้านบาท
62
ตอนที่ 62
ผลิต น�ำเข้า หรือส่งออก ยาเสพติดประเภท 1 เพื่อจ�ำหน่าย ยาเสพติดประเภท 1 ที่เป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง มีทงั้ สิน้ 38 รายการ แต่รายการทีส่ �ำคัญ ได้แก่ เฮโรอีน แอมเฟตามีน ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นประกอบของยาบ้ า หรื อ ยาไอซ์ แมทแอเฟตามี น เอ็กซ์ตาซี และแอสเอสดี เป็นต้น ซึง่ ถ้าผูเ้ สพ เสพยาเสพติดเหล่านีเ้ ข้าไป แม้เพียงปริมาณเล็กน้อย จะก่อให้เกิดโทษต่อระบบประสาท และ สภาพจิตใจ รวมถึงบุคคลที่เป็นผู้ผลิต น�ำเข้า หรื อ ส่ ง ออกยาเสพติ ด ประเภท 1 เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจ�ำหน่ า ย ถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 มาตรา 15 ในฐานความผิดผลิต น�ำเข้า หรือส่งออก ซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 1 เพือ่ จ�ำหน่าย ต้องรับโทษ ประหารชีวติ ตามมาตรา 65 วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
63
ตอนที่ 63
จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ ให้แก่ผ้อู ายุไม่ครบ 18 ปีบริบรู ณ์
บุหรี่ หรือ ยาสูบ คือสิง่ เสพติดทีง่ า่ ยต่อการถูกชักชวน หรือท้าให้ลองกัน ภายในกลุ่มคนทั่วไป เนื่องจากคิดว่าไม่มีโทษที่รุนแรง ประกอบกับ แหล่งจ�ำหน่ายทีย่ งั ไม่มกี ารควบคุมอย่างทัว่ ถึงท�ำให้หาซือ้ ได้งา่ ย อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 4 ระบุไว้ว่าหากผู้จ�ำหน่ายรายใด จ�ำหน่าย ขาย แลกเปลี่ยน หรือให้ ผลิตภัณฑ์ยาสูบแก่บุคคลซึ่งตนรู้ว่าเป็นผู้มีอายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว
64
ตอนที่ 64
จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยไม่มีพนักงานควบคุม ปัจจุบันมีเครื่องจ�ำหน่ายสินค้าอัตโนมัติหลายประเภท เพื่อสะดวก ต่ อ การตอบสนองความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภค แต่ ส�ำหรั บ สิ น ค้ า ประเภทผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 5 ก�ำหนดไว้วา่ ห้ามมิให้ผใู้ ดขายผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยใช้เครื่องขาย ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับ ไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
65
ตอนที่ 65
การโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบ
การโฆษณาสินค้าในยุคปัจจุบันมีหลากหลายวิธี ไม่ว่าจะผ่านทาง สื่อโทรทัศน์ ที่สามารถรับชมได้ ทั้งภาพและเสียง การขึ้นป้ายโฆษณา ขนาดใหญ่ หรื อ การลงโฆษณาบนหน้ า หนั ง สื อ พิ ม พ์ เป็ น ต้ น แต่ มี กลุ่มสินค้าบางประเภทที่กฎหมายห้ามโฆษณา หรือสื่อ แสดงออกถึงการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ เช่น เหล้า และ ยาสูบ เนื่องจากสินค้าเหล่านี้ ถือว่าเป็นยาเสพติดชนิดหนึง่ จึงห้ามโฆษณาหรือแสดงเครือ่ งหมายการค้า บนสื่อต่างๆ หากผู้ประกอบการรายใดฝ่าฝืน ถือเป็นการกระท�ำผิด พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 8 วรรค 1 ในฐานความผิดโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือแสดงชื่อ หรือเครื่องหมาย ผลิตภัณฑ์ยาสูบในสิ่งพิมพ์ ทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือ สิ่งอื่นใด หรือใช้ชื่อหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบในการแสดง การแข่งขัน การให้บริการ หรือการประกอบกิจการอื่นใดโดยมิชอบ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัตินี้
66
ตอนที่ 66
การแจกผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผู้ประกอบการสินค้าโดยส่วนใหญ่นิยมแจกสินค้าตัวอย่าง ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคได้ ท ดลองใช้ ต ามสั ด ส่ ว นที่ ต ้ น สั ง กั ด ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก�ำหนดมา อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 7 ห้ามมิให้ผู้ใดแจกจ่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ ในลักษณะเป็นตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือเพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ แพร่หลายหรือเป็นการจูงใจสาธารณชนให้เสพผลิตภัณฑ์ยาสูบนั้น ทั้งนี้เว้นแต่เป็นการให้ตามประเพณีนิยม ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 18 แห่ง พระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
67
ตอนที่ 67
ไม่แสดงฉลากบนหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ การแสดงรายละเอียดและคุณสมบัติของสินค้าบนบรรจุภัณฑ์ ถือเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดในการจูงใจให้ผบู้ ริโภคตัดสินใจเลือกซือ้ หรือ หยิบขึ้นมาอ่านเพื่อเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์คู่แข่งได้ นอกเหนือจาก ข้อบังคับที่ต้องติดเพื่อประกาศตามกฎหมายของสินค้าประเภทต่างๆ ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผูผ้ ลิตหรือผูน้ �ำเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบต้องแสดงฉลาก ที่หีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ ก่อนที่จะน�ำออกจากแหล่งผลิต หรือก่อนที่จะ น�ำเข้าในราชอาณาจักรแล้วแต่กรณี เป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุม ผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 12 หากผู้ประกอบการ รายใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัตินี้
68
ตอนที่ 68
จ�ำหน่ายโดยไม่แสดงฉลาก บนหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ยาสูบ หรือบุหรี่ นอกจากจะท�ำลายสุขภาพผูส้ บู แล้ว ยังส่งผลกระทบ ต่อบุคคลข้างเคียงอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการรายงานผลของหน่วยงาน ภาครัฐที่เปิดเผยถึงจ�ำนวนผู้ป่วย ที่มีสาเหตุจากการได้รับควันบุหรี่อีก เป็นจ�ำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้ภาครัฐและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเข้ามามี บทบาทในการควบคุมการผลิต และการขายผลิตภัณฑ์ยาสูบมากขึน้ โดยมี ข้อบังคับห้ามมิให้ผใู้ ดขายผลิตภัณฑ์ยาสูบทีม่ ไิ ด้แสดงฉลากตามทีก่ �ำหนด บนหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผูฝ้ า่ ฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท เป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พุทธศักราช 2535 มาตรา 13 และมาตรา 22
กฎหมายสามัญประจำบาน
69
ตอนที่ 69
การคุ้มครองเด็ก (1)
การทารุณเด็กในความปกครอง ถือเป็นการกระท�ำผิดกฎหมาย อย่างร้ายแรง เนือ่ งจากพ่อ แม่ ผูป้ กครอง ควรเป็นผูใ้ ห้ความดูแลปกป้อง และอบรมสัง่ สอนบุตรหลานให้เติบโตเป็นคนดีของสังคม ทัง้ นีว้ ธิ กี ารอบรม สัง่ สอนต้องไม่เป็นการใช้ความรุนแรงทีเ่ กินกว่าเหตุ เพราะหากใช้ความรุนแรง ท�ำร้ายร่างกายหรือจิตใจ กังขัง ทอดทิง้ หรือลงโทษเด็กทีอ่ ยูใ่ นความปกครอง ดู แ ล โดยวิ ธี ก ารรุ น แรง ถื อ เป็ น การกระท�ำผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ คุ้มครองเด็ก พุทธศักราช 2546 มาตรา 61 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 79 แห่งพระราชบัญญัตินี้
70
ตอนที่ 70
การคุ้มครองเด็ก (2) การแอบอ้างน�ำชื่อ ภาพถ่ายของเด็กไปเผยแพร่ผ่านทาง สื่อต่างๆ เพื่อประโยชน์ทางการค้า หรือประโยชน์อื่นใด โดยไม่ได้รับ อนุญาตจากตัวเด็ก พ่อ แม่ หรือผู้ปกครอง และผลจากการเผยแพร่ ภาพเหล่านั้นน�ำมาซึ่งความเสื่อมเสีย หรือท�ำให้เกิดความเสียหาย แก่จิตใจ หรือสิทธิประโยชน์อันอื่นของเด็กโดยมิชอบ เช่น การน�ำ ภาพถ่ายของเด็กมาใช้โฆษณาสถานทีบ่ ริการบางประเภทในทางทีส่ ร้าง ความเสื่อมเสียให้แก่ตัวเด็ก ถือว่าผู้นั้นกระท�ำผิดพระราชบัญญัติ คุม้ ครองเด็ก พุทธศักราช 2546 มาตรา 27 ฐานโฆษณาหรือเผยแพร่ทาง สื่อมวลชน หรือสื่อสารสนเทศ ซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ ตั ว เด็ ก หรื อ ผู ้ ป กครอง โดยเจตนาท�ำให้ เ กิ ด ความเสียหายแก่จิตใจ ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดของเด็กหรือ เพื่อแสวงหาประโยชน์ส�ำหรับตนเอง หรือผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 79
กฎหมายสามัญประจำบาน
71
ตอนที่ 71
พรากผู้เยาว์อายุไม่เกิน 15 ปี
“เด็กหาย” เป็นปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นรายวัน ซึ่งต้องอาศัย ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ดังกล่าว โดยเฉพาะสถาบันครอบครัวที่ต้องเพิ่มความเอาใจใส่ดูแล บุตรหลานของท่านอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันอันตรายจากการล่อลวง ของกลุ่มมิจฉาชีพที่ใช้กลวิธีสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับเด็กๆ จนเด็ก ไว้วางใจและยอมไปไหนมาไหนด้วย ซึง่ กฎหมายได้มบี ทลงโทษผูท้ มี่ พี ฤติกรรม ล่อลวงเด็ก และเยาวชน โดยปราศจากเหตุอันสมควรพรากเด็กเหล่านั้น จากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึง 15 ปี และปรับตัง้ แต่ 6,000 บาท ถึง 30,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 วรรค 1 ในข้อหาพรากเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ไปเสียจากบิดา มารดา ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล โดยปราศจากเหตุอันควร
72
ตอนที่ 72
พรากผู้เยาว์อายุเกิน 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี สื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อที่หลายๆ คนนิยมใช้เป็นช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันในโลกยุคดิจิตอล ซึ่งมีผู้คนจ�ำนวนไม่น้อยที่รู้จัก และพูดคุยกันอย่างสนิทสนมผ่านสื่อดังกล่าวแต่ไม่เคยได้พบเห็นหน้าตา ทีแ่ ท้จริงของกันและกัน ด้วยเหตุนจี้ งึ เป็นอีกช่องทางหนึง่ ทีก่ ลุม่ มิจฉาชีพ มักล่อลวงเหยือ่ เพือ่ นัดเจอกัน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนทีย่ งั ขาดวุฒภิ าวะ ขาดการพิจารณาไตร่ตรองอย่างถีถ่ ว้ น จึงหลงเชือ่ กลุม่ มิจฉาชีพอันน�ำไปสู่ การก่อเหตุอาชญากรรม ซึง่ กฎหมายได้กำ� หนดบทลงโทษผูท้ พี่ รากตัวเด็ก อายุกว่า 15 ปี แต่ยงั ไม่เกิน 18 ปี ไปจากบิดา มารดา หรือผูป้ กครอง โดยทีเ่ ด็กไม่เต็มใจ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 4,000 บาท ถึง 20,000 บาท ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 318 วรรค 1 ในฐานความผิด พรากผู้เยาว์อายุเกิน 15 ปี แต่ ไ ม่ ถึ ง 18 ปี ไปเสี ย จากบิ ด ามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์นั้นไม่เต็มใจ ไปด้วย
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 77
20/3/2557 11:02:24
73
ตอนที่ 73
ความผิดเกี่ยวกับเพศ (1)
ภั ย ร้ า ยในสั ง คมปั จ จุ บั น เป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งได้ ย าก เนื่ อ งจาก กลุม่ มิจฉาชีพมักมีกลวิธใี หม่ในการก่อเหตุอยูเ่ สมอ ดังนัน้ ทุกท่านควรต้อง เพิ่ ม ความระมั ด ระวั ง ในตนเองอยู ่ เ สมอ โดยเฉพาะหญิ ง สาวที่ ต ้ อ ง ระมัดระวังตนเองเพิ่มมากยิ่งขึ้นให้รอดพ้นจากมิจฉาชีพ โดยหลีกเลี่ยง การเดินทางไปในสถานที่เปลี่ยวปราศจากผู้คน อันเป็นเหตุให้มิจฉาชีพ สามารถก่อเหตุได้ง่าย นอกจากนี้กฎหมายได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับ ผู้กระท�ำการข่มขืนกระท�ำช�ำเราผู้อื่น โดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้ ก�ำลังประทุษร้าย โดยผู้อื่นนั้นอยู่ในสภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือ โดยท�ำให้ผอู้ นื่ นัน้ เข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอืน่ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 4 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 276 วรรค 1
74
ตอนที่ 74
ความผิดเกี่ยวกับเพศ (2) หลายๆ ท่าน อาจเคยได้อ่านข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ หรือ ได้รับข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ ฯลฯ เกี่ยวกับการข่มขืนกระท�ำ ช�ำเราเด็ก ซึง่ พบเห็นได้บอ่ ยขึน้ ในปัจจุบนั และนับวันเด็กผูถ้ กู กระท�ำ ยิง่ เป็นเด็กทีอ่ ายุนอ้ ยลงไปทุกที ดังนัน้ เพือ่ เป็นการจรรโลงสังคม และ ช่วยป้องกันปัญหาดังกล่าวไม่ให้เกิดขึน้ ทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะ สถาบั น ครอบครั ว ควรช่ ว ยกั น สอดส่ อ งและดู แ ลบุ ต รหลาน ในความดูแล รวมทัง้ หากพบเห็นการทารุณ กักขัง หรือท�ำร้ายร่างกาย ของบุคคลอืน่ ควรแจ้งเจ้าหน้าทีผ่ มู้ อี �ำนาจเข้ามาดูแลให้ความช่วยเหลือ ประกอบกับกฎหมายได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับ ผู้ที่กระท�ำช�ำเราเด็กอายุไม่เกิน 13 ปี ซึ่ ง มิ ใช่ ภ รรยาหรื อ สามี ข องตน โดย เด็ ก นั้ น จะยิ น ยอมหรื อ ไม่ ก็ ต าม ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 7 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 14,000 บาท ถึง 40,000 บาท หรือจ�ำคุกตลอดชีวติ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรค 3
กฎหมายสามัญประจำบาน
75
ตอนที่ 75
กระท�ำความรุนแรงในครอบครัว “รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี” สุภาษิตไทยประโยคนี้ยังเป็นที่นิยม ในการใช้ อ บรมสั่ ง สอนบุ ต รหลานภายในครอบครั ว เพื่ อ ให้ เ ติ บ โต เป็นคนดีของสังคมต่อไป แต่หากการอบรมสัง่ สอนเป็นการกระท�ำทีเ่ กินกว่าเหตุ เช่น การทุบตี จนถึงขั้นได้รับบาดเจ็บสาหัส หรือการกักขัง หน่วงเหนี่ยว บุคคลภายในบ้าน ซึ่งเป็นการกระท�ำที่เกินกว่าเหตุ ถือเป็นการกระท�ำผิด ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พุทธศักราช 2550 มาตรา 4 ว่าด้วยฐานความผิดกระท�ำความรุนแรง ในครอบครัว ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
76
ตอนที่ 76
การท�ำแท้ง
การตั้ ง ครรภ์ โ ดยไม่ พ ร้ อ มเป็ น อี ก หนึ่ ง ปั ญ หาส�ำคั ญ ของสั ง คม ดังจะเห็นได้จากการน�ำเสนอข่าวของสื่อมวลชนผ่านสื่อต่างๆ ว่า มีการ น�ำทารกแรกเกิดไปทิง้ ไว้ตามพงหญ้า ถังขยะ หรือในโรงพยาบาล ซึง่ ปัญหา ดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และความคึกคะนองของ วัยรุ่น ที่มีความอยากรู้อยากลองในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์ จึงส่งผลให้ หาทางออกโดยการท�ำแท้ง ไม่ว่าจะด้วยวิธีการกินยาขับเลือด การไป สถานทีร่ บั ท�ำแท้งของหมอเถือ่ น ซึง่ การท�ำแท้ง ถือเป็นการกระท�ำความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 301 ฐานหญิงใดท�ำให้ตนแท้งลูก หรือยอมให้ผู้อื่นท�ำให้ตนแท้งลูก ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
กฎหมายสามัญประจำบาน
77
ตอนที่ 77
การค้าประเวณี (1)
การล่อลวงผู้อื่นไปกักขัง หน่วงเหนี่ยว หรือบังคับให้ขายบริการ ทางเพศ หรือค้าประเวณี ถือเป็นการกระท�ำผิดพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและ ปราบปรามการค้าประเวณี พุทธศักราช 2539 มาตรา 12 ต้องระวางโทษ จ�ำคุก 10 ปี ถึง 20 ปี และปรับตัง้ แต่ 200,000 บาท ถึง 400,000 บาท ฐานหน่วงเหนีย่ วกักขัง กระท�ำการด้วยประการใดๆ ให้ผอู้ นื่ ปราศจากเสรีภาพ ในร่างกาย หรือท�ำร้ายร่างกาย หรือขูเ่ ข็ญด้วยประการใดๆ ว่าจะใช้ก�ำลัง ประทุษร้ายผู้อื่น เพื่อข่มขืนใจให้ผู้อื่นนั้น กระท�ำการค้าประเวณี
78
ตอนที่ 78
การค้าประเวณี (2) การค้าประเวณีในพื้นที่สาธารณะ อาทิ ริมทางสาธารณะ สวนสาธารณะ ฯลฯ ถือเป็นการกระท�ำผิดตามพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและ ปราบปรามการค้าประเวณี พุทธศักราช 2539 มาตรา 5 ในฐานความผิด เข้าติดต่อ ชักชวน แนะน�ำตัว ติดตาม หรือรบเร้าบุคคลตามถนนหรือ สาธารณสถาน หรือกระท�ำการดังกล่าวในทีอ่ นื่ ใด เพือ่ การค้าประเวณี อันเป็นการเปิดเผย และน่าอับอายหรือเป็นที่เดือดร้อนร�ำคาญแก่ สาธารณชน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
79
ตอนที่ 79
การค้าประเวณี (3)
การบังคับขู่เข็ญทางเพศ ยังคงเป็นปัญหาที่สังคมทุกวันนี้ต้องให้ ความสนใจและใส่ใจกันมากขึน้ เพราะภัยอันตรายอยูร่ อบตัวเราตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัย ที่ท�ำงาน หรือระหว่างการเดินทาง นอกจากนี้ ยังควรเพิ่มความระมัดระวังตัวหลีกเลี่ยงการไปในสถานที่อโคจรต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้มิจฉาชีพเข้ามาท�ำร้ายเราได้ ซึ่งพระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการค้าประเวณี พุทธศักราช 2539 มาตรา 8 ได้ก�ำหนด บทลงโทษส�ำหรับผูร้ า้ ยทีก่ ระท�ำช�ำเราผูอ้ นื่ เพือ่ ส�ำเร็จความใคร่ของตัวเอง ในสถานการค้าประเวณี ต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 1 ปี ถึง 3 ปี และปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึง 60,000 บาท
��������_n.indd 84
20/3/2557 11:02:24
80
ตอนที่ 80
การค้าประเวณี (4) สถาบั น ครอบครั ว เป็ น สถาบั น ที่ ส�ำคั ญ ที่ สุ ด ในสั ง คม รวมทั้ ง เป็นเกราะป้องกันภยันอันตรายให้กบั บุตรหลาน แต่ดว้ ยวิวฒ ั นาการของโลก ทีเ่ ปลีย่ นไปส่งผลให้วฒ ั นธรรม ค่านิยม และจิตใจของคนในสังคมเปลีย่ นไป ตามที่ปรากฏเป็นข่าวในสื่อต่างๆ เป็นระยะว่า คนในครอบครัว หรือ คนใกล้ตัว เป็นผู้ท�ำร้ายหรือกระท�ำช�ำเราบุตรหลานของตนเอง ซึ่ง พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พุทธศักราช 2539 มาตรา 10 ได้มีบทลงโทษส�ำหรับบิดา มารดา หรือผู้ปกครองของ บุคคลซึ่งมีอายุยังไม่เกิน 18 ปี รู้ว่ามีการกระท�ำความผิดตามมาตรา 9 วรรค 2 วรรค 3 หรื อ วรรค 4 ต่ อ ผู ้ อ ยู ่ ใ น ความปกครองของตนและมี ส ่ ว นร่ ว ม รูเ้ ห็นเป็นใจให้มกี ารกระท�ำความผิดนัน้ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 4 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 80,000 บาท ถึง 400,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
81
ตอนที่ 81
การค้าประเวณี (5)
ท่านคงเคยได้ยินข่าวตามสื่อต่างๆ ที่น�ำเสนอกลวิธีของสถาน ประกอบการที่ลักลอบค้าประเวณี โดยการเปิดธุรกิจอื่นบังหน้า เช่น หน้าร้านเปิดเป็นร้านเสริมสวย แต่หลังร้านท�ำกิจการค้าประเวณีรว่ มด้วย ซึ่ ง ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารเหล่ า นั้ น ถื อ เป็ น การกระท� ำ ผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พุทธศักราช 2539 มาตรา 11 ในข้อหาเป็นเจ้าของกิจการการค้าประเวณี ผู้ดูแลหรือผู้จัดการกิจการ การค้าประเวณีหรือสถานการค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมกระท�ำ การค้าประเวณีในสถานการค้าประเวณี ต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 60,000 บาทถึง 300,000 บาท
��������_n.indd 86
20/3/2557 11:04:45
82
ตอนที่ 82
ค้ามนุษย์ (1) มี ป ระชาชนจ�ำนวนไม่ น ้ อ ยที่ ห ลงเชื่ อ ค�ำหลอกลวงของ นายหน้าค้าแรงงาน ว่าจะส่งไปท�ำงานขายแรงงานที่ต่างประเทศ โดยใช้ผลประโยชน์ในรูปตัวเงินค่าจ้างเป็นสิง่ จูงใจให้หลงเชือ่ แต่เมือ่ ตกลงไปท�ำงานตามค�ำบอกเล่าของนายหน้ากลับถูกขู่เข็ญให้ท�ำงาน อย่างไร้ความเป็นธรรม โดยไม่รับค่าจ้าง รวมถึงบังคับให้ค้าประเวณี อีกด้วย ซึ่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พุ ทธศั กราช 2551 มาตรา 52 วรรค 1 ได้ก�ำหนดบทลงโทษ ส�ำหรับผู้กระท�ำความผิดฐานค้ามนุษย์ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 4 ปี ถึ ง 10 ปี และปรั บ ตั้ ง แต่ 80,000 บาท ถึง 200,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
83
ตอนที่ 83
ค้ามนุษย์ (2) ปัญหาการค้ามนุษย์เป็นปัญหาส�ำคัญระดับประเทศ ทีท่ กุ ภาคส่วน ในสังคม รวมทั้งภาคีเครือข่ายระหว่างประเทศได้ร่วมมือกันป้องกัน และแก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ พุทธศักราช 2551 มาตรา 54 ได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับ ผู้ที่ขัดขวางการสืบสวน การสอบสวน การฟ้องร้อง หรือการด�ำเนินคดี ความผิดฐานการค้ามนุษย์ เพือ่ มิให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดยการให้ ขอให้ หรือรับรองว่าจะให้ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อนั ใดแก่ผเู้ สียหาย หรือ พยาน เพือ่ จูงใจให้ผนู้ นั้ ไม่ไปพบพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือข่มขู่ ใช้ก�ำลังบังคับ ขู่เข็ญ ข่มขืนใจ หลอกลวง หรือกระท�ำการอันมิชอบ เพื่อมิให้ผู้เสียหาย หรือพยานไปพบพนักงาน ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับ ไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
84
ตอนที่ 84
ตรวจคนเข้าเมือง (1)
การปรั บ อั ต ราค่ า แรงขั้ น ต�่ ำ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ที่ ต ้ อ งใช้ แรงงานเป็ น จ�ำนวนมาก จึ ง ท�ำให้ เจ้ า ของกิ จ การบางแห่ ง นิยมใช้แรงงานต่างด้าว เนื่องจากมีอัตราค่าแรงที่ต�่ำกว่าแรงงานไทย แต่ ห ากแรงงานต่ า งด้ า วรายใดลั ก ลอบเข้ า ประเทศโดยผิ ด กฎหมาย ไม่มีหนังสือเดินทาง หรือใบรับรองการขึ้นทะเบียนเป็นลูกจ้างกับธุรกิจ หรือนายจ้างรายใด ถือเป็นการกระท�ำผิดตามพระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พุทธศักราช 2522 มาตรา 12 (1) โดยพาหนะใดมีคนโดยสารซึ่งเป็น คนต่ า งด้ า ว ซึ่ ง มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า มตามมาตรา 12 (1) เข้ า มาใน ราชอาณาจักร เจ้าของพาหนะ หรือผู้ควบคุมพาหนะนั้น ต้องระวางโทษ ปรับเรียงรายตัวคนต่างด้าว คนละไม่เกิน 20,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
85
ตอนที่ 85
ตรวจคนเข้าเมือง (2)
ปัญหาการขาดแคลนแรงงานของสถานประกอบการต่างๆ ส่งผลให้ กลุ่มธุรกิจลักลอบน�ำเข้าแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายใช้เป็นช่องทาง ในการกระท�ำผิด เพราะเชื่อมั่นว่าเมื่อน�ำแรงงานเข้ามาจะมีผู้รับซื้ออย่าง แน่นอน อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พุทธศักราช 2522 มาตรา 63 ได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้ที่น�ำ หรือพาคนต่างด้าวเข้ามา ในราชอาณาจักร หรือให้การอุปการะ ช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวก แก่คนต่างด้าวให้เข้ามาในราชอาณาจักรโดยผิดกฎหมาย ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 100,000 บาท
86
ตอนที่ 86
ตรวจคนเข้าเมือง (3) ปั ญ หาการลั ก ลอบเข้ า เมื อ งของแรงงานต่ า งด้ า ว เป็ น อีกหนึ่งปัญหาส�ำคัญระดับประเทศ ที่ส่งผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ สวัสดิการ และสังคมของประชาชน ดังนัน้ พระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พุทธศักราช 2522 มาตรา 64 ได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้ที่รู้ว่า คนต่างด้าวคนใดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนกฎหมายให้ที่พัก อาศัย ซ่อนเร้น หรือช่วยเหลือด้วยประการใดๆ แก่บุคคลต่างด้าวนั้น เพือ่ ให้คนต่างด้าวนัน้ พ้นจากการจับคุม ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
87
ตอนที่ 87
แรงงานต่างด้าว
สถานประกอบการบางแห่ง นอกจากจะจ้างแรงงานชาวไทยแล้ว ยังมีการจ้างแรงงานต่างด้าว หรือแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย เนื่องจากอัตราค่าจ้างแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านต�่ำกว่า แต่สามารถ ท�ำงานได้ในปริมาณที่ใกล้เคียงกัน ทั้งนี้หากคนต่างด้าวผู้ใดประสงค์ จะท�ำงานในราชอาณาจักร ต้องได้รับใบอนุญาตท�ำงานหรือขึ้นทะเบียน คนต่างด้าวตามกฎหมายการท�ำงานของคนต่างด้าว หากฝ่าฝืนถือเป็นการ กระท�ำผิดพระราชบัญญัติการท�ำงานของคนต่างด้าว พุทธศักราช 2551 มาตรา 51 ในฐานความผิดให้คนต่างด้าวท�ำงานโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 2,000 บาท ถึง 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
88
ตอนที่ 88
หลักประกันสัญญาจ้างแรงงาน เงื่อนไขในการรับพนักงานเข้าท�ำงานในองค์กรย่อมต้องมีการ ค�ำ้ ประกันการท�ำงาน โดยอาจเป็นการค�ำ้ ประกันด้วยบุคคล หรือการเรียก หลักทรัพย์คำ�้ ประกัน หากองค์กรใดรับเงินประกัน หรือท�ำสัญญาประกัน กับลูกจ้าง เพื่อชดใช้ความเสียหายที่ลูกจ้างเป็นผู้กระท�ำ เมื่อนายจ้าง เลิกจ้าง หรือลูกจ้างลาออก หรือสัญญาประกันสิ้นอายุ ให้นายจ้างคืน เงินประกันพร้อมดอกเบี้ย ถ้ามี ให้แก่ลูกจ้างภายใน 7 วันนับแต่วันที่ นายจ้างเลิกจ้างหรือวันที่ลูกจ้างลาออกหรือวันที่สัญญาประกันสิ้นอายุ แล้วแต่กรณี เป็นไปตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 10 วรรค 2 แต่หากนายจ้างฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดดังกล่าว ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ ตามบท ก�ำหนดโทษ มาตรา 144 วรรค 1
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 93
20/3/2557 11:02:24
89
ตอนที่ 89
การก�ำหนดเวลาเริ่มงาน และเวลาเลิกงาน พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 23 ก�ำหนด ให้นายจ้างประกาศเวลาท�ำงานปกติให้ ลูกจ้างทราบ โดยก�ำหนดเวลาเริ่มต้นและ เวลาสิ้ น สุ ด ของการท�ำงานแต่ ล ะวั น ของ ลูกจ้างได้ไม่เกินเวลาท�ำงานของแต่ละประเภท งานตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง แต่วันหนึ่งต้องไม่เกิน 8 ชัว่ โมง และเมือ่ รวมเวลาท�ำงานทัง้ สิน้ แล้วสัปดาห์หนึง่ ต้องไม่เกิน 48 ชัว่ โมง เว้นแต่งานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง ที่ ก�ำหนดในกฎกระทรวง จะมี เวลาท�ำงานปกติ วั น หนึ่ ง ต้ อ งไม่ เ กิ น 7 ชั่วโมง แต่เมื่อรวมเวลาท�ำงานทั้งสิ้นแล้วสัปดาห์หนึ่งไม่เกิน 42 ชั่วโมง แต่หากนายจ้างไม่อาจประกาศก�ำหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของ การท�ำงานแต่ละวันได้ เนื่องจากลักษณะหรือสภาพของงาน ให้นายจ้าง และลูกจ้างตกลงกันก�ำหนดชั่วโมงท�ำงานแต่ละวันไม่เกิน 8 ชั่วโมง และเมื่อรวมเวลาท�ำงานทั้งสิ้นแล้วสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน 48 ชั่วโมง แต่หากนายจ้างไม่ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดข้างต้น ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 145
90
ตอนที่ 90
การประกาศวันหยุดประจ�ำปี เมือ่ ถึงเทศกาลวันหยุดตามประเพณี หรือวันหยุดประจ�ำปี หลายๆ คน มักจะวางแผนการเดินทาง เพื่อกลับไปเยี่ยมญาติ หรือไปพักผ่อนกับ ครอบครัว ซึง่ พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 29 ให้ น ายจ้ า งประกาศก�ำหนดวั น หยุ ด ตามประเพณี ใ ห้ ลู ก จ้ า งทราบ เป็นการล่วงหน้า ปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 13 วันโดยรวมวันแรงงานแห่งชาติ ตามที่ รั ฐ มนตรี ป ระกาศก�ำหนด และให้ น ายจ้ า งพิ จ ารณาก�ำหนด วันหยุดตามประเพณีจากวันหยุดราชการประจ�ำปี วันหยุดทางศาสนา หรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิน่ ในกรณีทวี่ นั หยุดตามประเพณี วันใดตรงกับวันหยุดประจ�ำสัปดาห์ของลูกจ้าง ให้ลูกจ้างได้หยุดชดเชย วันหยุดตามประเพณีในวันท�ำงานถัดไป รวมทั้งในกรณีที่นายจ้างไม่อาจ ให้ลูกจ้างหยุดตามประเพณีได้ เนื่องจากลูกจ้างท�ำงานที่มีลักษณะหรือ สภาพของงานตามทีก่ �ำหนดในกฎกระทรวง ให้นายจ้างตกลงกับลูกจ้างว่า จะหยุดในวันอื่นชดเชยวันหยุดตามประเพณี หรือนายจ้างจะจ่ายค่า ท�ำงานในวันหยุดให้กไ็ ด้ แต่หากนายจ้างฝ่าฝืนไม่ประกาศก�ำหนดวันหยุด ตามประเพณี ใ ห้ ลู ก จ้ า งทราบหรื อ นายจ้ า งก�ำหนด วันหยุดตามประเพณีน้อยกว่าปีละ 13 วัน หรือ เมื่ อ วั น หยุ ด ตามประเพณี ต รงกั บ วั น หยุ ด ประจ�ำสัปดาห์นายจ้างมิให้ลกู จ้างหยุดชดเชย ในวั น ถั ด ไป ต้ อ งระวางโทษปรั บ ไม่ เ กิ น 20,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษมาตรา 146
กฎหมายสามัญประจำบาน
91
ตอนที่ 91
วันหยุดพักผ่อนประจ�ำปี พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 30 ก�ำหนดไว้ว่าลูกจ้างซึ่งท�ำงานติดต่อกันมาแล้วครบ 1 ปีมีสิทธิหยุด พักผ่อนประจ�ำปี ได้ปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 6 วันท�ำงาน โดยให้นายจ้างเป็น ผู้ก�ำหนดวันหยุดดังกล่าวให้แก่ลูกจ้างล่วงหน้า หรือก�ำหนดให้ตามที่ นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน แต่หากนายจ้างหรือองค์กรใดไม่จัดให้ ลูกจ้างหยุดพักผ่อน เมือ่ ลูกจ้างรายนัน้ ท�ำงานครบ 1 ปีแล้ว ถือว่านายจ้าง ท�ำผิดกฎหมายต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 146
��������_n.indd 96
20/3/2557 11:02:25
92
ตอนที่ 92
การจ้างแรงงานหญิงมีครรภ์
สถานประกอบการบางแห่ง ด�ำเนินการผลิตสินค้าตลอด 24 ชัว่ โมง โดยมีการแบ่งระยะเวลาการเข้าท�ำงาน และเลิกงานของลูกจ้างเป็น ช่วงเวลาตามความเหมาะสม และความสมัครใจของทัง้ สองฝ่าย ทัง้ ข้อตกลง หรื อ เงื่ อ นไขของการท� ำ งานต้ อ งแจ้ ง ต่ อ นายทะเบี ย น หรื อ มี แจ้ ง ไว้ ในใบประกาศเรือ่ งเวลาเริม่ และสิน้ สุดในการท�ำงานปกติของแต่ละโรงงาน หรือแต่ละธุรกิจให้ลกู จ้างได้รบั ทราบโดยทัว่ กัน หากสถานประกอบการใด มี ลู ก จ้ า งหญิ ง มี ค รรภ์ ที่ มี ก� ำ หนดเวลาเริ่ ม งานตอนกลางคื น ตั้ ง แต่ 22.00 น. - 06.00 น. ของวันถัดไป นายจ้างต้องปรับเวลาท�ำงานของลูกจ้าง หญิงมีครรภ์นั้นมาท�ำงานในช่วงเวลากลางวันปกติ เพราะหากนายจ้าง ฝ่าฝืนให้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ท�ำงานในช่วงกลางคืนต่อไป ถือว่านายจ้าง ท�ำผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 39/1 ในฐานความผิด นายจ้างให้ลกู จ้างซึง่ เป็นหญิงมีครรภ์ทำ� งาน ระหว่างเวลา 22.00 น. - 06.00 น. ท�ำงานล่วงเวลา หรือท�ำงานในวันหยุด ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำและปรับตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 144 วรรค 1
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 97
20/3/2557 11:02:25
93
ตอนที่ 93
การเลิกจ้างแรงงานหญิงมีครรภ์
แม้ปัจจุบันชาย และหญิงมีความเสมอภาคอย่างเท่าเทียมกัน แต่กฎหมายได้ให้ความคุ้มครองส�ำหรับแรงงานหญิงมีครรภ์ให้สามารถ ลาคลอด หรือหยุดพักเพือ่ ดูแลบุตรช่วงหลังคลอดใหม่ได้ โดยไม่ถกู นายจ้าง เลิกจ้าง แต่หากนายจ้างฝ่าฝืนเลิกจ้างแรงงานหญิงมีครรภ์ ถือเป็นการ กระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 มาตรา 43 ห้ามมิให้นายจ้างเลิกจ้างซึ่งเป็นหญิงเพราะเหตุมีครรภ์ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 144 วรรค 1
��������_n.indd 98
20/3/2557 11:02:25
94
ตอนที่ 94
การหลอกลวงไม่จ่ายค่าแรง ผู ้ ที่ ท�ำงานประกอบสั ม มาชี พ ต่ า งหวั ง ได้ รั บ เงิ น ค่ า จ้ า ง เป็นการตอบแทนด้วยกันทัง้ นัน้ ถ้าหากผูว้ า่ จ้างรายใดหลอกลวงแรงงาน เพื่อให้เข้าไปท�ำงานให้ตนเองตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป โดยบอกว่าจะให้ ค่าจ้างหรือค่าแรงจากการท�ำงานเป็นจ�ำนวนเงินตามที่ตกลงกันไว้ แต่ไม่ยอมจ่ายให้หรือจ่ายให้น้อยกว่าที่ตกลงกันไว้ตั้งแต่แรก ถือว่า ผูน้ นั้ ได้กระท�ำโดยทุจริตหลอกลวงคนตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป ให้ประกอบ การงานให้แก่ตน หรือให้แก่บุคคลที่สาม โดยไม่ให้ค่าแรงงาน หรือ ค่าจ้าง หรือให้ต�่ำกว่าที่ตกลงกัน ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 6,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 344
กฎหมายสามัญประจำบาน
95
ตอนที่ 95
การประกอบโรคศิลปะ (1) การประกอบโรคศิลปะ หมายถึง การประกอบวิชาชีพ ที่ ก ระท�ำ หรื อ มุ ่ ง หมาย จะกระท�ำต่อมนุษย์เกี่ยวกับ การตรวจโรค การวิ นิ จ ฉั ย โรค การบ�ำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริม และการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่น ที่มกี ารตั้งสภาวิชาชีพเพื่อควบคุมดูแลในแต่ละวิชาชีพแล้ว ซึง่ ใบอนุญาต ประกอบโรคศิลปะออกให้โดยคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ กองการประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้การตรวจสอบ ใบอนุญาตผู้ประกอบโรคศิลปะอาจท�ำได้ไม่ทั่วถึง หรือครอบคลุมอย่าง ทันท่วงที ดังนั้นผู้ใช้บริการควรต้องตรวจสอบมาตรฐานก่อนที่จะเข้า ใช้บริการ หรือควรเลือกใช้บริการในสถานทีท่ สี่ ามารถไว้วางใจได้ ส�ำหรับ สถานประกอบโรคศิลปะทีม่ ไิ ด้ขนึ้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตอย่างถูกต้อง ถื อ เป็ น สถานบริ ก ารผิ ด กฎหมายตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบ โรคศิลปะ พุทธศักราช 2542 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 30 ประกอบ มาตรา 57 วรรค 1
96
ตอนที่ 96
การประกอบโรคศิลปะ (2) สถานรับบริการเสริมความงามบางแห่งทีผ่ ใู้ ห้บริการไม่ได้จบศาสตร์ ของโรคศิลปะเฉพาะด้าน ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้บริการ ถือว่า ผู้ให้บริการสถานเสริมความงามเหล่านั้นกระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติ การประกอบโรคศิลปะ พุทธศักราช 2542 มาตรา 30 ในฐานความผิด กระท�ำการด้วยประการใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่า ตนเป็นผู้มีสิทธิท�ำการ ประกอบโรคศิลปะโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 57 วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
97
ตอนที่ 97
การประกอบโรคศิลปะ (3)
ผูท้ ขี่ นึ้ ทะเบียนประกอบโรคศิลปะ โดยจดและแจ้งสิทธิดา้ นบริการ นวด บ�ำบัด ผ่อนคลาย แต่เมื่อเปิดให้บริการประชาชนได้มีการเพิ่มเติม บริการด้านเสริมความงามเข้าไปด้วย ถือเป็นการกระท�ำผิดเนื่องจาก ไม่ได้แจ้งจดทะเบียนการประกอบโรคศิลปะด้านเสริมความงามไว้กับ เจ้าพนักงาน ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ในฐานความผิดว่าด้วยผู้ประกอบโรคศิลปะในสาขาใด สาขาหนึ่ ง ประกอบโรคศิ ล ปะในสาขาอื่ น ที่ ต นมิ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นและ รับใบอนุญาต ตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบโรคศิลปะ พุทธศักราช 2542 มาตรา 35 ประกอบ มาตรา 58 วรรค 1
98
ตอนที่ 98
อาวุธปืน (1) การมี อ าวุ ธ ปื น ไว้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ตั ว เองและคนในครอบครั ว แต่ไม่ได้ดำ� เนินการแจ้งจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าทีพ่ นักงาน และปฏิบตั อิ ย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย ถือเป็นการกระท�ำผิดตามกฎหมาย จะต้องรับผิด ตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 7 ในฐานความผิด ท�ำ ซื้อ มี ใช้ สั่ง หรือน�ำเข้าซึ่งอาวุธปืน หรือเครื่องกระสุนปืน โดยมิได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียนท้องที่ ต้องระวางโทษจ�ำคุก ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 20,000 บาท ตามบทลงโทษมาตรา 72 วรรค 1
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 103
20/3/2557 11:02:25
99
ตอนที่ 99
อาวุธปืน (2) ทราบหรือไม่ว่า ผู้ที่ครอบครองอาวุธปืนจ�ำนวนเกินกว่าที่ได้แจ้งไว้ กับพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมถึงการมีกระสุนปืนที่ใช้ไม่ตรงกับอาวุธปืน ที่ตนครอบครองตามใบอนุญาต โดยไม่ได้แจ้งขึ้นทะเบียนเพิ่มเติม ถือว่า ผูน้ นั้ กระท�ำความผิดฐานมีเครือ่ งกระสุนปืน ซึง่ มิใช่ส�ำหรับใช้กบั อาวุธปืน ที่ตนได้รับใบอนุญาตให้มีและใช้ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน เครื่ อ งกระสุ น ปื น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม้ เ พลิ ง และสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น พุทธศักราช 2490 มาตรา 8 ประกอบมาตรา 72 ทวิ วรรค 1
100
ตอนที่ 100
อาวุธปืน (3)
การมีอาวุธปืนเพื่อพกพาออกนอกสถานที่ หรือออกไปในเมือง โดยไม่ได้รบั อนุญาตให้มอี าวุธปืนติดตัว เว้นแต่เป็นกรณีทตี่ อ้ งมีตดิ ตัว เมือ่ มี เหตุ จ�ำเป็ น และเร่ ง ด่ ว นตามสมควรแก่ พ ฤติ ก ารณ์ ถื อ เป็ น ความผิ ด ตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 8 ทวิ วรรค 1 ในฐาน พกพาอาวุธปืนติดตัวไปในเมืองหมู่บ้าน หรือทางสาธารณะ โดยมิได้รับ ใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนติดตัว ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 72 ทวิ วรรค 2 แห่งพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
101
ตอนที่ 101
อาวุธปืน (4)
ไม่ว่ากรณีใดห้ามมิให้พกพาอาวุธปืนโดยเปิดเผย หรือพาเข้าไป ในชุมชนที่มีการจัดงานมหรสพรื่นเริง เว้นแต่เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ หรื อบุ ค คลตามที่กฎหมายก�ำหนด หากฝ่าฝืนถือเป็นการกระท�ำผิด ฐานพกพาอาวุธปืนไปโดยเปิดเผย หรือพาไปในที่ชุมชนที่ได้จัดให้มีขึ้น เพื่อการนมัสการ การรื่นเริง การมหรสพ หรือการอื่นใด โดยมิได้รับ ใบอนุญาตให้มอี าวุธปืนติดตัว ต้องระวางโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 6 เดือน ถึง 5 ปี และปรับตัง้ แต่ 1,000 บาท ถึง 10,000 บาท ตามพระราชบัญญัตอิ าวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น พุทธศักราช 2490 มาตรา 8 ทวิ วรรค 2 ประกอบมาตรา 72 ทวิ วรรค 2
��������_n.indd 106
20/3/2557 11:45:27
102
ตอนที่ 102
อาวุธปืน (5)
ผู้ใดที่มีอาวุธปืนไว้ครอบครอง นอกจากจะต้องศึกษาการใช้ อย่างปลอดภัย และถูกวิธีแล้ว ผู้ครอบครองยังต้องศึกษาตัวบท กฎหมายในการครอบครองอาวุธปืนไว้ดว้ ย เพราะหากมีการสูญหาย เกิดขึ้นแล้วไม่แจ้งเหตุ และไม่ส่งมอบใบอนุญาตต่อนายทะเบียน ในท้องทีท่ ตี่ นเองอยู่ หรือท้องทีท่ เี่ กิดเหตุภายใน 15 วัน นับแต่ทราบ ว่าอาวุธปืนของตนเองสูญหายไป ถือว่าผู้ครอบครองมีความผิดฐาน ไม่แจ้งเหตุและไม่สง่ มอบใบอนุญาตต่อนายทะเบียนท้องทีซ่ งึ่ ตนเองอยู่ หรือที่เกิดเหตุภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ทราบถึงเหตุอาวุธปืน ที่ได้รับอนุญาตถูกท�ำลายหรือสูญหาย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท เป็นไปตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 21 ประกอบมาตรา 83
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 107
20/3/2557 11:02:25
103
ตอนที่ 103
อาวุธปืน (6) การค้ า อาวุ ธ ปื น อาวุ ธ สงคราม หรื อ เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต น�ำเข้าประกอบชิน้ ส่วน จะต้อง ขึน้ ทะเบียน หรือแจ้งจุดประสงค์ การประกอบกิจการต่อเจ้าหน้าที่ ทะเบียนให้ถูกต้องตามกฎหมาย แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ นั้ น อย่างเคร่งครัด แต่หากผู้ประกอบการใด หรือผู้ใด ที่รับท�ำ ประกอบ ซ่อมแซม เปลี่ยนลักษณะ โดยมิได้รับ ใบอนุญาตจากนายทะเบียนท้องที่ ถือว่าผู้นั้นกระท�ำผิดพระราชบัญญัติ อาวุธปืน เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิง่ เทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 24 ในฐานความผิด ท�ำ ประกอบ ซ่อมแซม เปลีย่ นลักษณะ สัง่ น�ำเข้า มีหรือจ�ำหน่ายซึง่ อาวุธปืนหรือเครือ่ งกระสุนปืน ส�ำหรับการค้า โดยมิได้รบั ใบอนุญาตจากนายทะเบียนท้องที่ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 4,000 บาท ถึง 40,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 73 แห่งพระราชบัญญัตินี้
104
ตอนที่ 104
ดอกไม้เพลิง (1) การน�ำเข้าดอกไม้เพลิง หรือ พลุ ดอกไม้ไฟ เพื่อจ�ำหน่าย ผู้น�ำเข้า ต้ อ งแจ้ ง เป็ น หนั ง สื อ ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ หากผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ในฐานความผิด น�ำเข้าซึง่ ดอกไม้เพลิง โดยไม่แจ้งเป็นหนังสือและไม่ส่งมอบดอกไม้เพลิงไว้แก่พนักงานศุลกากร ณ ด่านแรกที่มาถึงจากนอกราชอาณาจักร เป็นไปตามพระราชบัญญัติ อาวุธปืน เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิง่ เทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 16 วรรค 1 ประกอบมาตรา 48 และมาตรา 84
กฎหมายสามัญประจำบาน
105
ตอนที่ 105
ดอกไม้เพลิง (2)
ดอกไม้เพลิง เป็นสินค้าทีม่ ที งั้ ผูป้ ระกอบการทีจ่ ดทะเบียนประกอบ ในประเทศไทย และมีการน�ำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ ส่งผลให้มี ผูป้ ระกอบการบางรายลักลอบน�ำเข้าดอกไม้เพลิงโดยเลีย่ งการเสียภาษีเพือ่ หวังก�ำไรทีส่ งู ขึน้ จากการขาย โดยไม่ตอ้ งผ่านด่านตรวจของกรมศุลกากร ซึ่งถือเป็นการกระท�ำผิดพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิง่ เทียมอาวุธปืน พุทธศักราช 2490 มาตรา 16 วรรค 3 ประกอบมาตรา 48 ฐานน�ำเข้าซึง่ ดอกไม้เพลิงผ่านเข้ามาในท้องที่ ที่ไม่มีด่านศุลกากร ไม่แจ้งเป็นหนังสือ และไม่ส่งมอบดอกไม้เพลิงไว้แก่ นายทะเบียนท้องที่ หรือผู้กระท�ำการแทนนายทะเบียนท้องที่ที่ใกล้ที่สุด โดยไม่ชักช้า ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 84 แห่งพระราชบัญญัตินี้
��������_n.indd 110
20/3/2557 11:02:26
106
ตอนที่ 106
ดอกไม้เพลิง (3) ในช่ ว งเทศกาลแห่ ง การเฉลิ ม ฉลอง เช่ น วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ วันลอยกระทง ฯลฯ ซึง่ ต้องใช้ดอกไม้ไฟจ�ำนวนมาก ส่งผลให้เจ้าของ กิจการต้องเพิม่ ก�ำลังการผลิต โดยลักลอบผลิตดอกไม้ไฟนอกสถานที่ ซึง่ ไม่ได้ระบุไว้ในใบแจ้งเพือ่ ขออนุญาตประกอบหรือผลิตแต่อย่างใด การกระท�ำดังกล่าวถือเป็นการกระท�ำผิดพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปืน พุ ท ธศั ก ราช 2490 มาตรา 35 ประกอบมาตรา 48 ฐานซ่อมแซม เปลีย่ นลักษณะ หรือมีและจ�ำหน่าย ดอกไม้ เ พลิ ง นอกสถานที่ ซึ่ ง ร ะ บุ ไว ้ ใ น ใ บ อ นุ ญ า ต ห รื อ ย ้ า ย ส ถ า น ที่ ท�ำ ก า ร โดยมิได้รบั อนุญาตเป็นหนังสือจาก นายทะเบียนท้องทีก่ อ่ น ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 84 แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
107
ตอนที่ 107
การใช้อาวุธในการต่อสู้ การก่อเหตุทะเลาะวิวาทสามารถเกิดขึน้ ได้เสมอ หากขาดการยับยัง้ อารมณ์ ควบคุมสติ หรือหยุดการกระท�ำกิริยา หรือการแสดงออกที่เป็น สิง่ เร้า อันเป็นสาเหตุลกุ ลามน�ำไปสูก่ ารทะเลาะวิวาท จนถึงขึน้ ลงไม้ลงมือ หรือใช้อาวุธในการต่อสู้ทะเลาะวิวาท ซึ่งกฎหมายได้ก�ำหนดโทษส�ำหรับ ผูท้ ชี่ กั หรือแสดงอาวุธ ในการวิวาทต่อสู้ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 10 วัน หรือปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 379
��������_n.indd 112
20/3/2557 11:02:26
108
ตอนที่ 108
การแกล้งบอกเล่าความเท็จ
“เด็กเลี้ยงแกะ” เป็นนิทานที่หลายๆ คน คงเคยได้ยินเรื่องราวของ เด็กทีพ่ ดู ความเท็จจนไม่มใี ครหลงเชือ่ จนก่อให้เกิดผลเสียหายแก่สว่ นรวม ซึ่งเป็นอุทาหรณ์สอนใจได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามยังมีบุคคลบางกลุ่ม ที่ประพฤติตนเป็นเด็กเลี้ยงแกะ ด้วยการแกล้งบอกเล่าความเท็จจนผู้อื่น ได้รับผลกระทบเป็นวงกว้าง แม้จะกระท�ำไปด้วยความคึกคะนอง หรือ ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ กฎหมายก็ได้ก�ำหนดบทลงโทษไว้ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 384 ในฐานความผิดแกล้งบอกเล่า ความเท็จ ให้เลื่องลือ จนเป็นเหตุให้ประชาชนตื่นตกใจ
กฎหมายสามัญประจำบาน
109
ตอนที่ 109
การรับของโจร
หลายๆ ท่าน อาจเคยรับซื้อสิ่งของที่ประกาศขายตามร้านค้า ออนไลน์ หรือซื้อของจากร้านหาบเร่ แผงลอย ซึ่งยากแก่การตรวจสอบ ว่าสิ่งของที่ตนซื้อมานั้นเป็นของที่ได้มาโดยผิดกฎหมาย เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราว ผู้อื่นมาหรือไม่ หากวันใดเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดสิ่งของที่ท่าน รับซือ้ มานัน้ มีรปู พรรณสัณฐานตรงกับสิง่ ของทีม่ ผี รู้ อ้ งทุกข์ ได้แจ้งความเอาไว้ ว่าถูกลักขโมยไป ย่อมถือว่าท่านได้กระท�ำความผิดในการช่วยซ่อนเร้น ช่วยจ�ำหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับจ�ำน�ำ หรือ รับไว้โดยประการใด ซึ่งทรัพย์อันได้มาโดยการกระท�ำความผิด ถ้าความผิดนั้นเข้าลักษณะ ลักทรัพย์ วิง่ ราวทรัพย์ กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกง ยักยอก หรือ เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 357 วรรค 1 ฐานรับของโจร
��������_n.indd 114
20/3/2557 11:02:26
110
ตอนที่ 110
การฉ้อโกง ธุรกิจการท่องเที่ยว และการโรงแรม ถือเป็นธุรกิจที่สามารถ ท�ำรายได้ให้กับประเทศไทยเป็นอันดับต้นๆ แต่มีผู้ประกอบการ จ�ำนวนไม่น้อยที่ประสบปัญหาถูกลูกค้า หรือผู้ใช้บริการ หลีกเลี่ยง การจ่ายค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอันใด ก็ตาม กฎหมายจึงได้ให้การคุ้มครองผู้ประกอบการเหล่านั้น โดย ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้ที่สั่งซื้อและบริโภคอาหาร หรือเครื่องดื่ม หรือเข้าอยู่ในโรงแรม โดยรู้ว่าตนไม่สามารถช�ำระเงินค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม หรือค่าอยู่ในโรงแรมนั้น ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 345
กฎหมายสามัญประจำบาน
111
ตอนที่ 111
การปล้นทรัพย์ (1) สังคมในยุคทุนนิยมสามานย์ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการปลู ก ฝั ง แนวคิ ด แบบวั ต ถุ นิ ย มให้ กั บ ประชาชน ก่อให้เกิดความอยากได้ อยากมี ไม่จบสิ้นจนขาดสติ ยั้ ง คิ ด อั น น�ำไปสู ่ ป ั ญ หา อาชญากรรมการลั ก ทรั พ ย์ ปล้นทรัพย์ผู้อื่น เพื่อให้ได้มา เพือ่ วัตถุ ทรัพย์สนิ หรือสิง่ ของต่างๆ ที่ ต นต้ อ งการ ซึ่ ง กฎหมายได้ ก�ำหนด บทลงโทษส�ำหรั บ ผู ้ ที่ ลั ก ทรั พ ย์ โ ดยใช้ ก�ำลั ง ประทุ ษ ร้ า ย หรื อ ขู ่ เข็ ญ ว่ า ในทั น ใดนั้ น จะใช้ ก�ำลั ง ประทุ ษ ร้ า ย เพื่ อ ให้ ไ ด้ ท รั พ ย์ นั้ น มา และหากเป็นการร่วมกันกระท�ำความผิดด้วยกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ผู้นั้นกระท�ำความผิดฐานปล้นทรัพย์ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 30,000 บาท ตามประมวล กฎหมายอาญามาตรา 340 วรรค 1
112
ตอนที่ 112
การปล้นทรัพย์ (2) ความเคลื่อนไหวของข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ปัจจุบัน สะท้อน ให้ เ ห็ น ถึ ง ความโหดร้ า ยของมนุ ษ ย์ ใ นสั ง คมที่ น อกจากจะใช้ ก�ำลั ง ในการประทุษร้ายผู้อื่น เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินที่ตนเองต้องการแล้ว หากการปล้นทรัพย์นนั้ เป็นเหตุให้ผอู้ นื่ ได้รบั อันตรายสาหัส ผูก้ ระท�ำความผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต หรือจ�ำคุกตั้งแต่ 15 - 20 ปี ตามประมวล กฎหมายอาญามาตรา 340 วรรค 3 แต่หากผลของการกระท�ำส่งผล กระทบต่อผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระท�ำผิดต้องรับโทษประหารชีวิต ตามมาตรา 340 วรรค 5
กฎหมายสามัญประจำบาน
113
ตอนที่ 113
การวิ่งราว
การวิ่ ง ราว เป็ น คดี อ าชญากรรมรายวั น ที่ ย ากจะหลี ก เลี่ ย ง เพราะผู้กระท�ำผิดมักจะเฝ้าสังเกตพฤติกรรมของผู้เสียหายอยู่ตลอดเวลา จนแน่ใจว่าผู้เสียหายมีพฤติกรรมไม่ระมัดระวังตัวอย่างเพียงพอ เช่น การ เดินเล่นโทรศัพท์มอื ถือบริเวณริมทางเท้า หรือการเดินคุยโทรศัพท์ เป็นต้น ด้วยเหตุนผี้ กู้ ระท�ำผิดจึงสามารถลงมือก่อเหตุส�ำเร็จได้โดยง่าย ซึง่ กฎหมาย ได้ มี บ ทก�ำหนดโทษส�ำหรั บ ผู ้ ก ระท�ำความผิ ด ฐานวิ่ ง ราวทรั พ ย์ ผู ้ อื่ น ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น 5 ปี และปรั บ ไม่ เ กิ น 10,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 336 วรรค 1
114
ตอนที่ 114
การลักทรัพย์วตั ถุทางศาสนา การลักขโมยทรัพย์สินของผู้อื่นถือเป็นการกระท�ำความผิด ตามกฎหมาย และยังเป็นการกระท�ำผิดศีลข้อ 2 ว่าด้วยการละเว้น จากการลักทรัพย์ของผูอ้ นื่ ด้วยตนเอง และไม่ใช่ให้ผอู้ นื่ ลักทรัพย์แทน แม้จะเป็นการกระท�ำผิดทั้งทางกฎหมายและทางธรรม แต่กลุ่ม มิจฉาชีพบางกลุ่มก็ไม่ได้เกรงกลัว กลับอาจหาญลักทรัพย์วัตถุ ทางศาสนา อาทิ ลักลอบตัดเศียรพระพุทธรูป เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ กฎหมายจึงได้ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้กระท�ำผิดเข้าไปลักทรัพย์ ที่เป็นพระพุทธรูปหรือวัตถุทางศาสนา หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของ พระพุทธรูป หรือวัตถุดังกล่าว โดยไม่เกรงกลัว ต่ อ บาป และเป็ น ภั ย อย่ า งร้ า ยแรง ต่ อ ศาสนาต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ตัง้ แต่ 3 ปี ถึง 10 ปี และปรับตัง้ แต่ 6,000 บาท ถึง 20,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 ทวิ วรรค 1
กฎหมายสามัญประจำบาน
115
ตอนที่ 115
การหมิ่นประมาท การใส่ ค วามผู ้ อื่ น ต่ อ บุ ค คลที่ ส าม โดยประการที่ น ่ า จะท�ำให้ ผู้ถูกใส่ความนั้นเสื่อมเสียชื่อเสียง โดยที่เรื่องดังกล่าวไม่เป็นความจริง หรือเป็นเรื่องที่เกิดจากความเข้าใจผิดคลาดเคลื่อน แต่ส่งผลกระทบให้ ผูท้ ถี่ กู พาดพิงได้รบั ความเสียหายต่อชือ่ เสียงของตนเอง ชือ่ เสียงวงศ์ตระกูล รวมทั้งส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน หรือการประกอบอาชีพ ถือเป็น การกระท�ำความผิ ด ฐานหมิ่ น ประมาท ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 326
116
ตอนที่ 116
การปลอมแปลงเงินตรา (1)
ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้นในโลกยุคดิจิตอล ส่งผลให้ การปลอมแปลง การลอกเลียนแบบ หรือการท�ำซ�้ำ กระท�ำได้ง่าย และ เสมือนจริงมากยิ่งขึ้น ยากแก่การตรวจสอบ หรือแยกแยะความแตกต่าง โดยเฉพาะขบวนการปลอมแปลงธนบัตรของกลุ่มมิจฉาชีพ ที่ส่งผล กระทบอย่างมากต่อการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันของประชาชน ทีอ่ าจตกเป็นเหยือ่ ของมิจฉาชีพในการแลกเปลี่ยนธนบัตรเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้กฎหมาย จึงก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้ที่ท�ำปลอมขึ้นซึ่งเงินตรา ไม่ว่าจะปลอมขึ้น เพื่อให้เป็นเหรียญกระษาปณ์ ธนบัตร พันธบัตรรัฐบาล ใบส�ำคัญ ส�ำหรับ ออกดอกเบีย้ พันธบัตร หรือสิง่ อืน่ ใดซึง่ รัฐบาลออกใช้ หรือให้อ�ำนาจออกใช้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 240 จะต้องจ�ำคุกตลอดชีวิตหรือ จ�ำคุกตัง้ แต่ 10 ปี ถึง 20 ปี และปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึง 40,000 บาท
กฎหมายสามัญประจำบาน
117
ตอนที่ 117
การปลอมแปลงเงินตรา (2)
เงินตรา เป็นสิ่งส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน เพราะในการ ซื้อสินค้าอุปโภค บริโภค หรือท�ำธุรกรรมต่างๆ จ�ำเป็นต้องใช้เงินตรา เป็นสิ่งแลกเปลี่ยนทั้งสิ้น แต่ปัจจุบันมีกลุ่มมิจฉาชีพที่น�ำธนบัตรปลอม มาใช้แลกเปลีย่ นซือ้ ของ หรือท�ำธุรกรรมทางการเงิน กฎหมายจึงได้มกี าร ก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับผู้ที่น�ำธนบัตรที่รู้ว่าเป็นเงินตราปลอมออกมาใช้ ต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 30,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 244
118
ตอนที่ 118
เก็บของป่า อาชีพการเก็บของป่า เป็นอาชีพทีค่ อ่ นข้างเสีย่ งต่อการกระท�ำ ผิดกฎหมาย เนื่องจากเสี่ยงต่อการบุกรุกเข้าไปในพื้นที่ป่าหวงห้าม ซึง่ พระราชบัญญัตปิ า่ ไม้ พุทธศักราช 2484 มาตรา 29 ได้ก�ำหนดไว้วา่ ผู ้ ใ ดเก็ บ หาของป่ า หวงห้ า ม หรื อ ท� ำ อั น ตรายด้ ว ยประการใดๆ แก่ของป่าหวงห้ามในป่า ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ และต้ อ งเสี ย ค่ า ภาคหลวง กั บ ทั้ ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนด ในกฎกระทรวง หรือในการอนุญาต โดยการอนุญาตนั้น พนักงาน เจ้าหน้าที่เมื่อได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีแล้ว จะอนุญาตให้ผูกขาด โดยให้ผรู้ บั อนุญาตเสียเงินค่าผูกขาดให้แก่รฐั บาลตามจ�ำนวนทีร่ ฐั มนตรี ก�ำหนดก็ได้ นอกจากนีก้ ารอนุญาตโดยวิธผี กู ขาด ให้กระท�ำได้เฉพาะ ในกรณีทขี่ องป่าหวงห้ามเป็นของมีคา่ หรือหายากหรือเฉพาะในเขตป่า ที่ ห ่ า งไกลและกั น ดาร หรื อ มี ค วามจ� ำ เป็ น ในวิ ธี ก ารเก็ บ หา อั น จ� ำ ต้ อ งให้ อ นุ ญ าต โดยวิ ธี ผู ก ขาด หากผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น ต้ อ ง ระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทัง้ จ�ำ ทั้ ง ปรั บ ตามบทก� ำ หนดโทษ มาตรา 71 ทวิ
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 123
20/3/2557 11:04:45
119
ตอนที่ 119
บุกรุกป่าไม้ ผู้ที่มีที่ดินติดกับป่าสงวน หรือป่าหวงห้าม อาจลุกล�้ำ เข้าไปแผ้วถางป่า เพื่อขยายพื้นที่ ท�ำมาหากินของตนเอง ถือเป็นการ กระท�ำความผิดตามพระราชบัญญัติ ป่ า ไม้ พุ ท ธศั ก ราช 2484 มาตรา 54 ห้ามมิให้ผใู้ ด ก่อสร้าง แผ้วถาง หรือเผาป่า หรือ กระท�ำด้วย ประการใดๆ อันเป็นการท�ำลายป่า หรือเข้ายึดถือหรือครอบครองป่าเพือ่ ตนเอง หรือผูอ้ นื่ เว้นแต่จะกระท�ำภายในเขตทีไ่ ด้จำ� แนกไว้เป็นประเภทเกษตรกรรม และรัฐมนตรีได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือโดยได้รับใบอนุญาต จากพนักงานเจ้าหน้าที่ ทั้งนี้การขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง ผู้ใดฝ่าฝืนหรือ ไม่ปฏิบตั ติ ามต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และหากบุกรุกป่าพื้นที่เกินกว่า 25 ไร่ ต้องจ�ำคุกตั้งแต่ 2 ปี ถึง 15 ปี ปรับตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 72 ตรี
��������_n.indd 124
20/3/2557 11:02:27
120
ตอนที่ 120
มีไม้หวงห้ามในความครอบครอง การตัดไม้ท�ำลายป่า นอกจากจะเป็นการท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติแล้ว ยังเป็นการท�ำลายสมดุลของโลกอีกด้วย ซึ่งส่งผลกระทบสภาพดิน ฟ้า อากาศ น�ำ้ และก่อให้เกิดความเสียหายต่อมวลมนุษยชาติเป็นจ�ำนวนมาก แต่ ด้ วยความเห็นแก่ประโยชน์ส่ว นตัวของคนบางกลุ่มที่ไม่ค�ำนึงถึง ผลเสียดังกล่าว ยังคงลักลอบตัดไม้ โค่นไม้หวงห้าม หรือ ไม้หายาก ที่ทางการได้ประกาศสงวนเอาไว้มาเป็นของตัวเอง หรือ เพื่อลักลอบ ส่งออกตามใบสั่งต่างๆ โดยปราศจากสามัญส�ำนึกที่ดี เพราะไม้หายาก เหล่านั้นมีมูลค่าทางเงินที่บางครั้งสูงเกินกว่าประมาณได้ กฎหมายจึงได้ ก�ำหนดบทลงโทษผู้ที่มีไว้ในครอบครองซึ่งไม้หวงห้ามอันยังมิได้แปรรูป โดยไม่มีรอยตราค่าภาคหลวงหรือรอยตรารัฐบาลขาย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ได้ไม้นั้นมาโดยชอบ ด้ ว ยกฎหมาย ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามพระราชบัญญัตปิ า่ ไม้ พุทธศักราช 2484 มาตรา 69
กฎหมายสามัญประจำบาน
121
ตอนที่ 121
เลือกตั้ง (1)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 72 ได้ ก�ำหนดหน้าทีข่ องประชาชนชาวไทย ไว้วา่ บุคคลมีหน้าทีไ่ ปใช้สทิ ธิเลือกตัง้ โดยบุคคลซึ่งไปใช้สิทธิหรือไม่ไปใช้สิทธิ โดยไม่แจ้งเหตุอันสมควรที่ท�ำให้ ไม่อาจไปใช้สิทธิได้ ย่อมได้รับสิทธิหรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้การแจ้งเหตุที่ท�ำให้ไม่อาจไปเลือกตั้งได้ต้องเป็นไปตามที่กฎหมาย บัญญัติ ส�ำหรับคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มาตรา 99 ก�ำหนดว่า ต้องเป็นบุคคลผูม้ สี ญั ชาติไทย หรือถ้าแปลงสัญชาติตอ้ งได้สญั ชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี มีอายุไม่ต�่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม ของปี ทีม่ กี ารเลือกตัง้ มีชอื่ อยูใ่ นทะเบียนบ้านในเขตเลือกตัง้ ติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง และไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา 101 คือ เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิ เลือกตัง้ ต้องคุมขังอยูโ่ ดยหมายของศาลหรือโดยค�ำสัง่ ทีช่ อบด้วยกฎหมาย หรือวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
��������_n.indd 126
20/3/2557 11:02:27
122
ตอนที่ 122
เลือกตั้ง (2) ทราบหรือไม่ว่า ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ไม่ไปใช้สิทธิของตนเอง ในการลงคะแนนเสียง โดยมิได้แจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้ง หรือแจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งแล้ว แต่เหตุนั้นมิใช่เหตุ อันสมควร หรือเป็นผู้ที่มีรายชื่อในประกาศให้ถือว่าผู้นั้นเสียสิทธิ ในการยื่นค�ำร้องคัดค้านการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชิกวุฒิสภา สิทธิสมัครรับเลือกตั้งและสิทธิได้รับการเสนอชื่อ เข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิน่ และผูบ้ ริหารท้องถิน่ สิทธิสมัครรับเลือกเป็นก�ำนัน และผูใ้ หญ่บา้ นตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ เป็นไปตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิก สภาผูแ้ ทนราษฎรและการได้มาซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา พุทธศักราช 2550 มาตรา 26 ลักษณะนี้ถือว่าช่วงระหว่างเว้นว่างไม่มีการเลือกตั้ง ผู้ที่เสียสิทธิจะไม่สามารถกระท�ำ หรือปฏิบัติซึ่งแสดงออก ต้องการใช้สิทธิของตนเองได้เลย แต่สิทธิเหล่านี้ จะกลับคืนมาหลังจากทีผ่ มู้ สี ทิ ธิไปใช้สทิ ธิของตน อี ก ครั้ ง ไม่ ว ่ า จะเป็ น การเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภาหรือ สมาชิกสภาท้องถิน่ หรือผูบ้ ริหารท้องถิน่ ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้
กฎหมายสามัญประจำบาน
123
ตอนที่ 123
เลือกตั้ง (3) การเลือกตั้งเป็นหน้าที่ของประชาชนชาวไทยทุกคนที่ต้องแสดง สิ ท ธิ แ ละบทบาทหน้ า ที่ ใ นการคั ด สรรผู ้ แ ทนในการบริ ห ารประเทศ ในบางกรณี ที่ ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง อาจประสบปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ตามทะเบียนบ้านซึง่ อยูใ่ นพืน้ ทีห่ นึง่ แต่ทอี่ ยูป่ จั จุบนั อยูอ่ กี พืน้ ทีห่ นึง่ ซึง่ เมือ่ ถึงก�ำหนดต้องไปใช้สิทธิเลือกตั้งส่งผลให้ไม่สามารถไปใช้สิทธิได้ เช่น นายเอ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีชื่อ-สกุล และทะเบียนบ้านอยู่ในพื้นที่ ต่างจังหวัด แต่เข้ามาท�ำงานในกรุงเทพฯ เมือ่ ถึงก�ำหนดเลือกตัง้ นายเอ ต้องกลับไปใช้สทิ ธิในเขตพืน้ ทีต่ ามทะเบียนบ้าน โดยปกติแล้วนายจ้างจะต้อง ให้สทิ ธินแี้ ก่นายเอ แต่หากว่าผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้างผู้ใดขัดขวางหรือ หน่วงเหนี่ยวไม่ให้ความสะดวกพอสมควรต่อการไปใช้สิทธิออกเสียง ของผู้ใต้บังคับบัญชาหรือลูกจ้าง แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ เป็นไปตาม พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ออกเสี ย งประชามติ พุ ท ธศั ก ราช 2552 มาตรา 40
124
ตอนที่ 124
เลือกตั้ง (4)
การจั ด การเลื อ กตั้ ง ในแต่ ล ะครั้ ง คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง จะจัดท�ำบัญชีรายชือ่ ของผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในแต่ละเขตทีไ่ ด้รบั ผิดชอบ และ จะจัดส่งรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ในเขตนัน้ ๆ ไปยังบ้านของผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ไม่ น ้ อ ยกว่ า 15 วั น ก่ อ นการเลื อ กตั้ ง พร้ อ มกั บ จั ด ท�ำบั ญ ชี ร ายชื่ อ ปิดประกาศไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอ�ำเภอ ส�ำนักงานเทศบาล ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบล ที่ท�ำการผู้ใหญ่บ้าน หรือเขตชุมชน หนาแน่นที่เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า 20 วัน ก่อนวันเลือกตั้ง เพื่อให้ผู้ที่ มิ สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กตั้ ง ไปตรวจสอบรายชื่ อ ของตนเอง เป็ น ไปตาม พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบรั ฐ ธรรมนู ญ ว่ า ด้ ว ยการเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช 2550 มาตรา 29 ดังนัน้ ผูท้ มี่ สี ทิ ธิเลือกตัง้ จึงควรตรวจสอบความถูกต้องรายชือ่ ของตน ก่อนถึงวันเลือกตัง้ เพือ่ จะได้รกั ษาสิทธิ หากมีขอ้ ผิดพลาดไม่พบชือ่ ของเรา จะได้รีบแจ้งแก่เจ้าหน้าที่แก้ไขได้ทันเวลา
กฎหมายสามัญประจำบาน
125
ตอนที่ 125
เลือกตั้ง (5)
หากเกิ ด กรณี ผู ้ ที่ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง หรื อ เจ้ า บ้ า นในทะเบี ย นบ้ า น ไปตรวจสอบรายชื่ อ เพื่ อ ใช้ สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง แต่ ป รากฏว่ า ไม่ มี ร ายชื่ อ อยูใ่ นบัญชีรายชือ่ ผูม้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ แห่งหน่วยเลือกตัง้ ทีต่ นหรือผูน้ นั้ สมควร มีชื่ออยู่ เจ้าบ้านหรือผู้อยู่ในทะเบียนบ้าน มีสิทธิ์ยื่นค� ำร้องขอเพิ่มชื่อ ต่อคณะกรรมการการเลือกตัง้ ประจ�ำเขตเลือกตัง้ หรือผูท้ คี่ ณะกรรมการ การเลือกตัง้ มอบหมาย ก่อนวันเลือกตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 วัน ตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ การได้มาซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 วรรค 1 เพือ่ ให้ คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง ด� ำ เนิ น การตรวจสอบโดยเร็ ว และสั่ ง การ ตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไป ทั้งนี้เป็นการรักษาสิทธิโดยชอบธรรม ตามกฎหมาย มิฉะนั้นอาจเสียสิทธิเลือกตั้งตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ก็ได้
��������_n.indd 130
20/3/2557 11:02:27
126
ตอนที่ 126
เลือกตั้ง (6) บางกรณีทะเบียนบ้านที่ท่านถืออยู่มีผู้มีสิทธิในการเลือกตั้ง เพี ย งสองคน แต่ เ มื่ อ ไปตรวจสอบบั ญ ชี ร ายชื่ อ ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ปรากฏว่ามีชื่อบุคคลอื่นอยู่ในทะเบียนบ้านของตน และไม่เคย ให้ผู้ใดมีชื่อเข้ามาอาศัยในทะเบียนบ้านของตนเลย หรือที่เรียกว่า “บั ญ ชี ผี ” ส�ำหรั บ ในกรณี นี้ เ จ้ า บ้ า นมี สิ ท ธิ ด�ำเนิ น การตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิก สภาผูแ้ ทนราษฎรและการได้มาซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา พ.ศ. 2550 มาตรา 31 วรรค 3 ถ้ า เจ้ า บ้ า นผู ้ ใ ดเห็ น ว่ า ในบั ญ ชี ร ายชื่ อ ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ปรากฏชื่อบุคคลอื่นอยู่ในทะเบียนบ้านของตน โดยที่บุคคลนั้นมิได้ มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านดังกล่าวจริงเมื่อเจ้าบ้าน น�ำหลักฐานทะเบียนบ้านมาแสดงว่าไม่มบี คุ คลนัน้ ก่อนวันเลือกตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 วัน ให้คณะกรรมการ การเลื อ กตั้ ง ประจ�ำเขตเลื อ กตั้ ง หรื อ ผู ้ ที่ คณะกรรมการการเลื อ กตั้ ง มอบหมาย หรือคณะกรรมการประจ�ำหน่วยเลือกตั้ง แล้ ว แต่ ก รณี มี ค�ำสั่ ง ถอนชื่ อ บุ ค คลนั้ น ออกจากบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กฎหมายสามัญประจำบาน
127
ตอนที่ 127
เลือกตั้ง (7) ในการเลื อ กตั้ ง แต่ละครัง้ ย่ อ มมี ก ารแข่ ง ขั น กั น ระหว่ า งคู ่ แข่ ง หาก การกระท�ำนั้นไม่ขัดต่อ กฎหมายการเลื อ กตั้ ง ก็สามารถท�ำได้ แต่ในบางกรณี คู่แข่งบางรายใช้วิธี ข่มขู่ ขัดขวาง ไม่ให้ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง ทีก่ �ำหนดไว้ หรือเข้าไป สถานทีล่ งคะแนนเลือกตัง้ หรือมีเจตนาที่หน่วงเหนี่ยวให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปไม่ทันเวลาที่เลือกตั้ง การกระท�ำดั ง กล่ า วของบุ ค คลหรื อ กลุ ่ ม บุ ค คลนั้ น เป็ น ข้ อ ต้ อ งห้ า ม ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผูแ้ ทนราษฎรและการได้มาซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา พุทธศักราช 2550 มาตรา 76 ซึง่ ห้ามมิให้ผใู้ ดกระท�ำการใดโดยไม่มอี �ำนาจโดยชอบด้วยกฎหมายเพือ่ มิให้ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถใช้สิทธิได้ หรือขัดขวางหรือหน่วงเหนี่ยวมิให้ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไป ณ ที่เลือกตั้งหรือเข้าไป ณ ที่ลงคะแนนเลือกตั้งหรือ มิให้ไปถึง ณ ที่ดังกล่าวภายในก�ำหนดเวลาที่จะลงคะแนนเลือกตั้งได้ ผู้ที่ กระท�ำผิดนีจ้ ะมีโทษจ�ำคุกตัง้ แต่ 1 ปี ถึง 5 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึง 100,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ และให้ศาลมีค�ำสัง่ เพิกถอนสิทธิเลือกตัง้ มีก�ำหนด 5 ปี ตามมาตรา 152 ของพระราชบัญญัติดังกล่าว
128
ตอนที่ 128
เลือกตั้ง (8) การเลือกตั้งนั้น นอกจากกฎหมายการเลือกตั้งจะห้ามผู้ลงสมัคร เลือกตั้ง กระท�ำการจูงใจหรือหยิบยื่นทรัพย์สินใดๆ หรือประโยชน์อื่นๆ ให้แก่ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งเพื่อให้ลงคะแนนเลือกตนเองแล้ว ในส่วนของ ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ก็ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ที่ จ ะเรี ย กรั บ เงิ น หรื อ ทรั พ ย์ สิ น รวมทั้ ง ประโยชน์ ใ ดๆ ในการที่ จ ะลงคะแนนให้ ผู ้ ล งสมั ค รเลื อ กตั้ ง คนหนึ่ ง คนใดด้วย เพราะเป็นข้อห้ามตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิก วุฒสิ ภา พุทธศักราช 2550 มาตรา 77 ทีห่ า้ มมิให้ผมู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ ผูใ้ ด เรียกรับ หรือยอมจะรับเงินหรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดส�ำหรับตนเองหรือ ผูอ้ นื่ เพือ่ ลงคะแนนเลือกตัง้ หรืองดเว้นไม่ลงคะแนนเลือกตัง้ ให้แก่ผสู้ มัคร หรือพรรคการเมืองใด หากผู้ใดฝ่าฝืนจะมี ความผิดตามบทลงโทษมาตรา 152 แห่งพระราชบัญญัตนิ ี้ มีโทษจ�ำคุก ตัง้ แต่ 1 ปี ถึง 5 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท ถึง 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และให้ศาล มีค�ำสั่งเพิกถอนสิทธิการเลือกตั้ง มีก�ำหนด 5 ปี
กฎหมายสามัญประจำบาน ��������_n.indd 133
20/3/2557 11:02:27
129
ตอนที่ 129
เลือกตั้ง (9) การเลื อ กตั้ ง ในแต่ ล ะครั้ ง มี ข ้ อ ห้ า มเกี่ ย วกั บ การเลื อ กตั้ ง หลายประการ เพือ่ ให้ประชาชนในท้องถิน่ ทีเ่ ลือกตัง้ ไปใช้สทิ ธิในการลงคะแนน ตามสิทธิของตนเองอย่างเต็มทีแ่ ละมีสติสมั ปชัญญะ และเป็นการป้องกัน ไม่ให้เกิดการทะเลาะวิวาทก่อนถึงวันเลือกตัง้ กฎหมายเกีย่ วกับการเลือกตัง้ จึ ง มี ข ้ อ ห้ า มการจ�ำหน่ า ยสุ ร าและสิ่ ง มึ น เมาในเขตเลื อ กตั้ ง ไว้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู ้ แ ทนราษฎรและการได้ ม าซึ่ ง สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภา พุ ท ธศั ก ราช 2550 มาตรา 155 ผูใ้ ดขายจ�ำหน่าย จ่ายแจกหรือจัดเลีย้ งสุราทุกชนิดในเขต เลือกตัง้ ในระหว่างเวลา 18.00 น. ของวันก่อนเลือกตัง้ หนึง่ วันจนสิน้ สุด วั น เลื อ กตั้ ง ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น 6 เดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติดังกล่าว ยังห้ามไม่ให้มีการพนันเกี่ยวกับผลการเลือกตั้ง ว่าใครจะเป็นผูช้ นะเลือกตัง้ ตามมาตรา 156 หากผู ้ ใ ดเล่ น หรื อ จั ด ให้ มี ก ารเล่ น การ พนั น ขั น ต่ อ ใดๆ เกี่ ย วกั บ ผลของ การเลื อ กตั้ ง ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 5 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 100,000 บาท หรือ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ และให้ ศ าลมี ค�ำสั่ ง เพิกถอนสิทธิการเลือกตัง้ มีก�ำหนด 5 ปี
130
ตอนที่ 130
เลือกตั้ง (10) ทราบหรื อ ไม่ ว ่ า ผู ้ ที่ บ ริ จ าคเงิ น แก่ พ รรคการเมื อ งมี สิ ท ธิ น�ำจ�ำนวนเงิ น ที่ บ ริ จ าคไปหั ก เป็ น ค่ า ลดหย่ อ นตามที่ ก�ำหนด ในประมวลรัษฎากรได้ โดยให้ลดหย่อนได้ในกรณีบคุ คลธรรมดาไม่เกิน ปีละ 5,000 บาท และในกรณีนติ บิ คุ คลไม่เกินปีละ 20,000 บาท ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมสรรพากรก�ำหนด และห้ามมิให้บุคคล ธรรมดา หรือนิตบิ คุ คลบริจาคให้แก่พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึง่ เกินกว่า 10 ล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พุทธศักราช 2550 มาตรา 59 และมาตรา 61
กฎหมายสามัญประจำบาน
131 ที่ปรึกษา
ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นางสุวณา สุวรรณจูฑะ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันต�ำรวจเอกดุษฎี อารยวุฒิ พันต�ำรวจโท ดร.พงษ์ธร ธัญญสิริ
ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม
บรรณาธิการ
นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการกองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คณะผู้จัดท�ำ
นางสาวอัญญรัตน์ กัมปนานนท์ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ นางสาวดวงเดือน ศรีประจันทร์ นางสาวสิริพจน์ วิชชาภา
นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นักจัดการงานทั่วไป ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผู้เขียนบท
นายวรวุธ สิงห์ธวัช นิติศาสตรบัณฑิต และ เนติบัณฑิตไทย ประกอบวิชาชีพทนายความและเป็นทีป่ รึกษา ด้านกฎหมาย
ขอขอบคุณ
ส�ำนักกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
Cover Ministry.pdf
Untitled-1 3
1
3/18/57 BE
5:28 PM
3/24/2014 5:52:40 PM