กระทรวงยุติธรรม MINISTRY OF JUSTICE
หนังสือ
ความรู ดานกฎหมาย ที่จำเปน ในชีว�ตประจำวัน
จัดทำโดย กลุมงานประชาสัมพันธ กองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
กระทรวงยุติธรรม MINISTRY OF JUSTICE
หนังสือ
ความรู ดานกฎหมาย ที่จำเปน ในชีว�ตประจำวัน
จัดทำโดย กลุมงานประชาสัมพันธ กองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
หนังสือกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน บทบาทภารกิจกระทรวงยุติธรรม และความรู้ด้านกฎหมายแก่ประชาชน
• พิมพ์ครั้งที่ 1 • ปีที่พิมพ์ • จัดทำ�โดย
9,000 เล่ม เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ : 0 2141 5100 โทรสาร : 0 2143 8246 www.moj.go.th Facebook.com/Ministry of Justice, Thailand
• ออกแบบและจัดพิมพ์โดย
บริษัท ชู้สมีพริ้นแอนด์ดีไซน์ จำ�กัด 56/14 หมู่ 5 ตำ�บลบางกรวย อำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ : 0 2883 6774 โทรสาร : 0 2879 3939 Email : buriprinting@ gmail.com
วิสัยทัศน์ “หลักประกันความยุติธรรม ตามมาตรฐานสากล”
ค่านิยมร่วมขององค์กร “ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม”
พันธกิจ พัฒนาและบูรณาการกระบวนการยุติธรรมให้การพัฒนาประเทศ มีมิติด้านการยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำเกิดความเป็นธรรมในสังคม โดยเน้นการพัฒนาควบคู่กับการป้องกันและบังคับใช้กฎหมาย ให้ความ คุม้ ครองช่วยเหลือประชาชนตลอดจนปราบปรามและแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด
อ�ำนาจหน้าที่กระทรวงยุติธรรม มาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมไว้ว่า “ให้มีอ�ำนาจหน้าที่ เกี่ยวกับการบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรม เสริมสร้างและอ�ำนวย ความยุติธรรมในสังคม และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายก�ำหนดให้เป็น อ�ำนาจหน้าทีข่ องกระทรวงยุตธิ รรมหรือส่วนราชการทีส่ งั กัดกระทรวงยุตธิ รรม”
โครงสร้างกระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการพัฒนาการ บริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุติธรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านอ�ำนวยความยุติธรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านบริหารความยุติธรรม
กรมสอบสวนคดีพิเศษ
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
กรมบังคับคดี
ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม
จัดตั้งตามพระราชบัญญัติพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จัดตั้งตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 จัดตั้งตามพระราชบัญญัติสถาบันอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2550
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
กระทรวงยุติธรรม
เนติบัณฑิตยสภา สภาทนายความ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงยุติธรรม
กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาพฤตินิสัย กรมคุมประพฤติ กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน กรมราชทัณฑ์
ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการ ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กระทรวงยุติธรรม
ภารกิจส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานรัฐมนตรี : Office of The Minister ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอรัฐมนตรี รวมทั้งเสนอความเห็นประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี สนับสนุนการท�ำงาน ของรัฐมนตรีในการด�ำเนินงานทางการเมืองระหว่างรัฐมนตรี รัฐสภาและประชาชน ประสานงานการตอบกระทู้ ชีแ้ จงญัตติ ร่างพระราชบัญญัติ และกิจการอืน่ ทางการเมือง ด�ำเนินการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรี ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าทีข่ องส�ำนักงานรัฐมนตรีหรือ ตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย โทรศัพท์ 0 2141 6435 โทรสาร 0 2143 9883 เว็บไซต์ www.om.moj.go.th
หน่วยงานอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม : Office of The Permanent Secretary ด�ำเนินการด้านการพัฒนายุทธศาสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ จัดท�ำ ข้ อ มู ล เพื่ อ ใช้ ใ นการก�ำหนดนโยบายเป้ า หมายและผลสั ม ฤทธิ์ ข องกระทรวง แปลงนโยบายของรัฐบาลและนโยบายของรัฐมนตรีเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติการ ของกระทรวง ก�ำกับ เร่งรัด ติดตามประเมินผล รวมทั้งประสานการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ใช้ในการบริหาร งานและการบริการของหน่วยงาน ดูแลงานประชาสัมพันธ์ การต่างประเทศ พัฒนา กฎหมายที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่กิจกรรมข่าวของกระทรวง สนับสนุนการพัฒนา บุคลากร จัดสรรและบริหารทรัพยากรให้เกิดการประหยัดและคุ้มค่า โทรศัพท์ 0 2141 5100 โทรสาร 0 2143 8289 - 90, 0 2143 8242 เว็บไซต์ www.ops.moj.go.th
ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม : Office of Justice Affairs มี ภ ารกิ จ ในการพั ฒ นากระบวนการยุ ติ ธ รรมทั้ ง ระบบ ผ่านการศึกษา วิจัย และประเมินผลการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อเสนอให้คณะกรรมการ พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ส่งผลให้หน่วยงานต่างๆ ในกระบวนการ ยุติธรรมมีการประสานงานกันและมีประสิทธิภาพในการอ�ำนวยความยุติธรรมให้แก่ ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โทรศัพท์ 0 2141 3666 โทรสาร 0 2143 8933 เว็บไซต์ www.oja.go.th
กลุ่มภารกิจด้านอ�ำนวยความยุติธรรม กรมสอบสวนคดีพิเศษ : Department of Special Investigation เป็นหน่วยงานในการด�ำเนินการปราบปราม สืบสวน สอบสวนโดย พนักงานสอบสวนที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามกฎหมายว่าด้วยการสอบสวน คดีพิเศษ เช่น คดีที่ผู้กระท�ำผิดมีโครงข่ายโยงใยระหว่างประเทศ ลักษณะเป็นองค์กร อาชญากรรมทีม่ อี ทิ ธิพลสนับสนุนและมีความรู้ ความเชีย่ วชาญ ในเทคโนโลยีระดับสูง หรือคดีที่มีการกระท�ำความผิดก่อให้เกิดความเสียหายอย่างยิ่งต่อประเทศชาติ และประชาชนส่วนใหญ่ซึ่งแตกต่างจากคดีอาญาโดยทั่วไป โทรศัพท์ 0 2831 9888 โทรสาร 0 2975 9888 หน่วยบริการประชาชนและบริการข้อมูลข่าวสาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ สายด่วน 1202 เว็บไซต์ www.dsi.go.th
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ : Central Institute of Forensic Science เป็ น หน่ ว ยงานในการให้ บ ริ ก ารตรวจพิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานทาง นิติวิทยาศาสตร์ การตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล เพื่อติดตามบุคคลสูญหายและ ศพนิรนาม รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลสารพันธุกรรม (DNA) เข้ามาตรวจพิสูจน์ หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลเกี่ยวกับการกระท�ำความผิด ในด้านต่างๆ ส่งผลให้คดีต่างๆ คลี่คลายได้ง่ายขึ้น โทรศัพท์ 0 2142 3475-8 โทรสาร 0 2143 9068 เว็บไซต์ www.cifs.moj.go.th
กลุ่มภารกิจด้านบริหารความยุติธรรม กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ : Rights and Liberties Protection Department เป็นหน่วยงานในการส่งเสริม คุ้มครอง และสร้างหลักประกันสิทธิ และเสรีภาพตามหลักสิทธิมนุษยชน และให้ประชาชนได้รบั ความช่วยเหลือทางกฎหมาย โดยประชาชนสามารถขอรับความช่วยเหลือจากกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพในเรือ่ ง ต่าง ๆ อาทิ ขอรับเงินประกันการปล่อยตัวชัว่ คราว การจ้างทนายความ ค่าธรรมเนียม ขึน้ ศาล และค่าธรรมเนียมอืน่ ๆ จาก “กองทุนยุตธิ รรม” หรือกรณีถกู ยิง ถูกแทง ถูกฆ่า ถูกระเบิด โดนท�ำร้ายร่างกายหรือถูกข่มขืน โดยที่ตัวเองไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ กระท�ำความผิด สามารถขอรับการเยียวยาได้ตามพระราชบัญญัตคิ า่ ตอบแทนผูเ้ สียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�ำเลย ในคดีอาญา พ.ศ.2544 สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 โทรศัพท์ 0 2141 2743 และ 0 2141 2787 โทรสาร. 0 2143 9681 เว็บไซต์ www.rlpd.go.th
กรมบังคับคดี : Legal Execution Department เป็ น หน่ ว ยงานในการด�ำเนิ น การบั ง คั บ คดี แ พ่ ง คดี ล ้ ม ละลาย และการฟืน้ ฟูกจิ การลูกหนีต้ ามค�ำสัง่ ศาล การวางทรัพย์ การประเมินราคาทรัพย์สนิ โดยด�ำเนินการยึด อายัด จ�ำหน่ายทรัพย์สิน และรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ ในคดีล้มละลาย ตลอดจนมีหน้าที่ในการก�ำกับฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ เพื่อให้เจ้าหนี้ และผู้มีส่วนได้เสีย ได้รับการชดใช้จากลูกหนี้อย่างเป็นธรรม โทรศัพท์ 0 2881 4999 โทรสาร 0 2433 0801 เว็บไซต์ www.led.go.th
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาพฤตินิสัย กรมคุมประพฤติ : Department of Probation เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ภ ารกิ จ สื บ เสาะ พิ นิ จ ควบคุ ม และสอดส่ อ ง แก้ ไข ฟื้นฟูและสงเคราะห์ ผู้กระท�ำความผิดในชั้นก่อนฟ้อง ชั้นพิจารณาคดีของศาล และภายหลังที่ศาลมีค�ำพิพากษา รวมถึงการ บ�ำบัดสมรรถภาพของผู้ติดยาเสพติด อีกด้วย ศูนย์รับฟังความคิดเห็น 0 2141 4749 โทรสาร 0 2143 8822 เว็บไซต์ www.probation.go.th
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน : Department of Juvenile Observation and Protection เป็นหน่วยงานทีท่ �ำหน้าทีด่ แู ล บ�ำบัด แก้ไขฟืน้ ฟู และพิทกั ษ์คมุ้ ครอง สิทธิเด็กและเยาวชน ที่ครั้งหนึ่งเคยก้าวพลาดเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมให้กลับตน เป็นคนดีและเป็นอนาคตของชาติ โทรศัพท์ 0 2141 6470 โทรสาร 0 2143 8473 เว็บไซต์ www.djop.moj.go.th
กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาพฤตินิสัย กรมราชทัณฑ์ : Department of Corrections ท�ำหน้าที่ควบคุม ดูแลปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดตามค�ำพิพากษา ของศาล โดยมีการศึกษา ฝึกวิชาชีพ พัฒนาจิตใจ จัดสวัสดิการสงเคราะห์ผู้ต้องขัง เพื่อฟื้นฟู แก้ ไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นพลเมืองที่ดี ของสังคม โทรศัพท์ 0 2967 2222 โทรสาร 0 2967 3305 เว็บไซต์ www.correct.go.th
ภารกิจส่วนราชการในบังคับบัญชารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม
• ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด : Office of The Narcotics Control Board ด�ำเนินการด้านการประสานงาน อ�ำนวยการด้านนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และบูรณาการปฏิบัติงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ ประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ ตรวจสอบ ยึด อายัดทรัพย์สนิ ประชาสัมพันธ์ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สายด่วน 1386 โทรศัพท์ 0 2247 0901 – 19 โทรสาร 0 2245 9350 เว็บไซต์ www.oncb.go.th
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ : Office of Public Sector Anti-Corruption Commission ด�ำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ซึง่ เป็นภารกิจ โดยตรง โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ในการรับเรื่องร้องเรียนข้าราชการ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง ผูบ้ ริหารระดับต�ำ่ กว่าผูอ้ �ำนวยการกองหรือเทียบเท่าลงมา ซึง่ มีพฤติกรรมใช้ต�ำแหน่ง หน้าที่เพื่อหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและพวกพ้องกระท�ำการทุจริต ประพฤติมิชอบ สายด่วน 1206 โทรศัพท์ 0 2502 6670 - 80 โทรสาร 0 2502 6132 เว็บไซต์ www.pacc.go.th
• ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรมขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย หรื อ สธท : Thailand Institute of Justice - TIJ เป็นองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการ ยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 เมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน พ.ศ.2554 โดยมีวิวัฒนาการมาจากโครงการ Enhancing Lives of Female Inmates (ELFI) ในพระด�ำริของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา มีภารกิจหลักในการส่ง เสริมการอนุวตั ขิ อ้ ก�ำหนดสหประชาชาติวา่ ด้วยการปฏิบตั ติ อ่ ผูต้ อ้ งขังหญิงในเรือนจ�ำ และมาตรการที่มิใช่การคุมขังส�ำหรับผู้กระท�ำความผิดหญิง หรือ ข้อก�ำหนดกรุงเทพ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในกระบวนการยุตธิ รรมและสนับสนุนการวิจยั และฝึกอบรมเพื่อรองรับ การอนุวัติข้อก�ำหนดกรุงเทพ และการส่งเสริมหลักนิติธรรม และยกระดับภาพลักษณ์กระบวนการยุติธรรมไทยในระดับสากล โดยท�ำงานกับภาคี ทั้งในประเทศไทยและในภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมอาเซียน โทรศัพท์ 0 2118 9400 โทรสาร 0 2118 9425 - 26 เว็บไซต์ www.tijthailand.org
สารบัญ หน้า ตอนที่ 1
ความผิดพกพาอาวุธ
1
ตอนที่ 2
ความผิดยิงปืนโดยไม่มีเหตุ
2
ตอนที่ 3
ความผิดแสดงอาวุธขณะทะเลาะวิวาท
3
ตอนที่ 4
ท�ำความผิดอ้างว่าไม่ตั้งใจไม่ได้
4
ตอนที่ 5
ความผิดมึนเมาสุรา
5
ตอนที่ 6
ทรัพย์มรดก
6
ตอนที่ 7
การเรียกทรัพย์คืนเพราะเนรคุณ
7
ตอนที่ 8
การทวงหนี้ (1)
8
ตอนที่ 9
การทวงหนี้ (2)
9
ตอนที่ 10 การทวงหนี้ (3)
10
ตอนที่ 11 การทวงหนี้ (4)
11
ตอนที่ 12 การทวงหนี้ (5)
12
ตอนที่ 13 การทวงหนี้ (6)
13
ตอนที่ 14 การทวงหนี้ (7)
14
ตอนที่ 15 การทวงหนี้ (8)
15
ตอนที่ 16 โทษทางอาญา
16
ตอนที่ 17 การสั่งคุมประพฤติ
17
ตอนที่ 18 ปรับเพราะท�ำผิด
18
ตอนที่ 19 การฉ้อโกงประชาชน
19
ตอนที่ 20 ปลูกบ้านในที่ดินของคนอื่น
20
ตอนที่ 21 ขายที่ดินมีสิ่งปลูกสร้าง
21
ตอนที่ 22 กรรมสิทธิ์และการใช้กรรมสิทธิ์
22
หน้า ตอนที่ 23 ข้อจ�ำกัดในการใช้กรรมสิทธิ์
23
ตอนที่ 24 ปัญหาขัดแย้งกับเพื่อนบ้าน
24
ตอนที่ 25 การขุดบ่อรับน�้ำโสโครก
25
ตอนที่ 26 ที่ดินตาบอด
26
ตอนที่ 27 การท�ำนิติกรรม (1)
27
ตอนที่ 28 การท�ำนิติกรรม (2)
28
ตอนที่ 29 การท�ำนิติกรรม (3)
29
ตอนที่ 30 การช�ำระหนี้ (1)
30
ตอนที่ 31 การช�ำระหนี้ (2)
31
ตอนที่ 32 สัญญาต่างตอบแทน
32
ตอนที่ 33 สัญญามีค่าตอบแทน
33
ตอนที่ 34 สัญญาเพื่อบุคคลภายนอก
34
ตอนที่ 35 เลิกสัญญา
35
ตอนที่ 36 การช�ำระหนี้
36
ตอนที่ 37 หนี้ระบุเฉพาะเจาะจง
37
ตอนที่ 38 เงื่อนไขในการช�ำระหนี้
38
ตอนที่ 39 เป็นหนี้โดยไม่เจตนา
39
ตอนที่ 40 จ้างแรงงานต่างด้าว (1)
40
ตอนที่ 41 จ้างแรงงานต่างด้าว (2)
41
ตอนที่ 42 บังคับเด็ก ผิดกฎหมาย
42
ตอนที่ 43 การสงเคราะห์เด็ก
43
ตอนที่ 44 การส่งเสริมเด็กในทางที่ผิด
44
ตอนที่ 45 ห้ามเด็กซื้อหรือเสพสุรา/บุหรี่
45
ตอนที่ 46 รับเลี้ยงเด็กโดยไม่ได้รับอนุญาต
46
ตอนที่ 47 ความหมายของค�ำว่า “เด็ก”
47
หน้า ตอนที่ 48 คุ้มครองผู้บริโภค
48
ตอนที่ 49 ฉลากสินค้าไม่ถูกต้อง
49
ตอนที่ 50 การเอาเปรียบผู้บริโภค
50
ตอนที่ 51 การท�ำประกันภัยรถยนต์
51
ตอนที่ 52 การฟอกเงิน
52
ตอนที่ 53 ความผิดฐานฟอกเงิน
53
ตอนที่ 54 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
54
พ.ศ. 2550 (1)
ตอนที่ 55 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
55
พ.ศ. 2550 (2)
ตอนที่ 56 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (1)
56
ตอนที่ 57 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (2)
57
ตอนที่ 58 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (3)
58
ตอนที่ 59 ขับรถเสื่อมสภาพมีความผิด
59
ตอนที่ 60 ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
60
ตอนที่ 61 เมาไม่ขับ
61
ตอนที่ 62 ขับไป โทรไป แชทไป มีโทษ
62
ตอนที่ 63 การเผยแพร่ข่าวช่วงสถานการณ์ฉุกเฉิน (1)
63
ตอนที่ 64 การเผยแพร่ข่าวช่วงสถานการณ์ฉุกเฉิน (2)
64
ตอนที่ 65 งดเหล้า เข้าพรรษา
65
ตอนที่ 66 ความผิดฐานขายสุราให้กับเด็ก
66
ตอนที่ 67 ความผิดบุกรุกพื้นที่อนุรักษ์
67
ตอนที่ 68 ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด
68
ตอนที่ 69 การจอดรถบนทางหลวง
69
ตอนที่ 70 สิ่งของกีดขวางบนทางหลวง (1)
70
หน้า ตอนที่ 71 สิ่งของกีดขวางบนทางหลวง (2)
71
ตอนที่ 72 ความผิดท�ำลายรื้อถอนสัญญาณเครื่องหมายจราจร
72
ตอนที่ 73 การขุดหรือขนของบนทางหลวง
73
ตอนที่ 74 รถเสียบนทางหลวง
74
ตอนที่ 75 สิ่งปลูกสร้างในเขตทางหลวง
75
ตอนที่ 76 การควบคุมทางหลวงพิเศษ
76
ตอนที่ 77 การใช้ทางหลวงที่ยังไม่เปิดให้ใช้งาน
77
ตอนที่ 78 การบรรทุกน�้ำหนักเกินบนทางหลวง
78
ตอนที่ 79 ความผิดเกี่ยวกับการล่าสัตว์สงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง
79
ตอนที่ 80 ความผิดฐานครอบครองสัตว์สงวนหรือซากสัตว์ป่าคุ้มครอง
80
ตอนที่ 81 ค้าสัตว์สงวนหรือซากสัตว์ป่าคุ้มครอง
81
ตอนที่ 82 การค้าประเวณี (1)
82
ตอนที่ 83 การค้าประเวณี (2)
83
ตอนที่ 84 การค้าประเวณี (3)
84
ตอนที่ 85 การค้าประเวณี (4)
85
ตอนที่ 86 การฉ้อโกงประชาชน
86
ตอนที่ 87 การขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว
87
ตอนที่ 88 การฉายภาพยนตร์
88
ตอนที่ 89 ใบอนุญาตประกอบกิจการ
89
ตอนที่ 90 เครื่องมือแพทย์ (1)
90
ตอนที่ 91 เครื่องมือแพทย์ (2)
91
ตอนที่ 92 เครื่องมือแพทย์ (3)
92
ตอนที่ 93 เครื่องมือแพทย์ (4)
93
ตอนที่ 94 คลินิกความงามเถื่อน
94
ตอนที่ 95 ร้านขายยาไม่มีเภสัชกร
95
หน้า ตอนที่ 96 การสอบสวนคดีพิเศษ (1)
96
ตอนที่ 97 การสอบสวนคดีพิเศษ (2)
97
ตอนที่ 98 เปิดเผยข้อมูลผู้ป่วยทางจิต
98
ตอนที่ 99 กลั่นแกล้ง แจ้งความเท็จ
99
ตอนที่ 100 อาชีพนักแสดง (1)
100
ตอนที่ 101 อาชีพนักแสดง (2)
101
ตอนที่ 102 เลื่อยโซ่ยนต์ (1)
102
ตอนที่ 103 เลื่อยโซ่ยนต์ (2)
103
ตอนที่ 104 มรดกเลื่อยโซ่ยนต์
104
ตอนที่ 105 จ�ำหน่ายน�้ำมันปลอม
105
ตอนที่ 106 การเรี่ยไร (1)
106
ตอนที่ 107 การเรี่ยไร (2)
107
ตอนที่ 108 การเรี่ยไร (3)
108
ตอนที่ 109 จัดหางานโดยไม่มีใบอนุญาต
109
ตอนที่ 110 การพาลูกจ้างไปท�ำงานต่างประเทศ
110
ตอนที่ 111 การส่งลูกจ้างไปฝึกงานต่างประเทศ
111
ตอนที่ 112 เงินทดแทน (1)
112
ตอนที่ 113 เงินทดแทน (2)
113
ตอนที่ 114 เงินทดแทน (3)
114
ตอนที่ 115 เปิดเผยข้อมูลนายจ้าง
115
ตอนที่ 116 ธนบัตรปลอม (1)
116
ตอนที่ 117 ธนบัตรปลอม (2)
117
ตอนที่ 118 การปลอมเอกสาร (1)
118
ตอนที่ 119 การปลอมเอกสาร (2)
119
ตอนที่ 120 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (1)
120
หน้า ตอนที่ 121 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (2)
121
ตอนที่ 122 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (3)
122
ตอนที่ 123 หนังสือเดินทาง (1)
123
ตอนที่ 124 หนังสือเดินทาง (2)
124
ตอนที่ 125 หนังสือเดินทาง (3)
125
ตอนที่ 126 ข่มขืน
126
ตอนที่ 127 ข่มขืนเด็ก
127
ตอนที่ 128 ฆ่าผู้อื่น
128
ตอนที่ 129 ฆ่าบุพการี
129
ตอนที่ 130 การท�ำแท้ง (1)
130
ตอนที่ 131 การท�ำแท้ง (2)
131
ตอนที่ 132 ลักทรัพย์ผู้อื่น
132
ตอนทีี่ 133 ลักทรัพย์พระพุทธรูปหรือวัตถุทางศาสนา
133
ตอนที่ 134 “ลักทรัพย์” กับ “วิ่งราวทรัพย์”
134
ตอนที่ 135 การกรรโชกทรัพย์
135
ตอนที่ 136 ปล้นทรัพย์
136
ตอนที่ 137 ละเมิดลิขสิทธิ์
137
ตอนที่ 138 สิทธิประโยชน์คนพิการ
138
ตอนที่ 139 การอุ้มบุญ
139
ตอนที่ 140 รับจ้างอุ้มบุญ
140
ตอนที่ 1 ความผิดพกพาอาวุธ
ประชาชนทั่ ว ไปมี สิ ท ธิ ที่ จ ะครอบครองอาวุ ธ ปื น เพื่ อ ป้ อ งกั น ชี วิ ต และทรัพย์สนิ ของตนได้ ในขณะเดียวกันทางราชการอนุญาตให้มีไว้ปอ้ งกันทรัพย์สนิ และตัวเองแล้วจะเอาโอ้อวดหรือพกพาไปตามสถานที่ต่างๆ ในเมือง หมู่บ้าน ทางสาธารณะ อย่างเปิดเผย โดยไม่มีเหตุอันสมควรไม่ ได้ แม้จะอ้างว่าพกเพือ่ ป้องกันตัว ในที่ชุมชนหรือที่มีงานรื่นเริง ทั้ ง ๆ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ห น้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ รั ก ษาความ ปลอดภัยจากเจ้าหน้าที่โดย ถูกต้อง หากเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยปกครอง ตรวจพบ แม้จะเป็นปืนมีทะเบียน ถูกต้องตามกฎหมายและเป็นเจ้าของก็ตาม ผู้พกพามีความผิดตามประมวล กฎหมายอาญามาตรา 371 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท และอาจถูกศาล สั่งให้ริบปืนเป็นของแผ่นดิน
1
ตอนที่ 2 ความผิดยิงปืนโดยไม่มีเหตุ
ปืนผาหน้าไม้ ไม่เข้าใกล้จะปลอดภัยที่สุด หากจ�ำเป็นเพราะต้องการมีไว้ ส�ำหรับป้องกันตัวและทรัพย์สินจากโจรผู้ร้าย ทั้งนี้หากผู้ใดเป็นเจ้าของจะต้องมี ใบอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองเป็นผู้ออกให้ ดั ง นั้ น เ มื่ อ มี อ ยู ่ ใ น ครอบครองแล้ว จะคึกคะนอง น�ำอาวุธปืนมายิงเล่นโดยไม่มี เหตุอันสมควร ไม่ว่าจะในบ้าน หรือชุมชนต่างๆ ซึ่งอาจท�ำให้ ประชาชนหรื อ บุ ค คลที่ อ ยู ่ ใกล้ เ คี ย งเดื อ ดร้ อ นตกใจ แม้จะไม่เกิดเหตุรา้ ย หรือเสียหาย แก่ชีวิตทรัพย์สินของบุคคลอื่น ก็ตาม ก็ถอื ว่าผูท้ ยี่ งิ ปืนโดยไม่มี เหตุอันสมควร มีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 376 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสิบวัน หรือปรับ ไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
2
ตอนที่ 3 ความผิดแสดงอาวุธขณะทะเลาะวิวาท
การทะเลาะวิวาทมักเกิดขึ้นได้เสมอ หากคนเราไม่รู้จักการยอมให้อภัย หรือยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น แต่ในเมื่อมีความคิดเห็นต่างกัน หรือ ขัดแย้งกัน จนท�ำให้เกิดการท�ำร้ายร่างกาย รวมถึงการใช้อาวุธ แต่หากเมื่อใด ฝ่ายหนึ่งแสดงอาวุธ ซึ่งอาจจะเป็นปืน หรือมีด หรือสิ่งใดๆ ที่ต้องการจะใช้เป็น อาวุธ แม้จะไม่ ได้ ใช้ท�ำร้ายคู่ต่อสู้ของตน ผู้ที่ชักอาวุธหรือแสดงอาวุธก่อน ก็มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 379 ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกินสิบวันหรือปรับไม่เกินห้าพันบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
3
ตอนที่ 4 ท�ำความผิดอ้างว่าไม่ตั้งใจไม่ได้
ในสังคมแห่งของการแข่งขันในปัจจุบนั กฎหมายได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญ ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดความวุ่นวายและเพื่อให้เกิด ความเสมอภาคในสังคม เพราะ บางครัง้ อาจมีบคุ คลทีก่ ระท�ำผิดแล้ว หาข้ อ อ้ า งเหตุ ผ ลแก้ ตั ว เพื่ อ ให้ ตนเองไม่ต้องรับผิดในสิ่งที่ท�ำไป และไม่ต้องรับโทษ เช่น นายด�ำ ตัง้ ใจจะยิงนายแดง เมือ่ เห็นนายแดง เดิ น ผ่ า นมาจึ ง ใช้ อ าวุ ธ ปื น ยิ ง แต่ ก ระสุ น เกิ ด พลาดไปโดน นายขาว ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องแทน กรณี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ถื อ ว่ า นายด�ำมี ความผิดต่อผลที่ ได้เกิดขึ้นแก่นายขาว เสมือนว่านายด�ำตั้งใจจะยิงนายขาว โดยตรง ดังนั้นนายด�ำจะมาแก้ต่างให้ตัวเองว่าไม่ตั้งใจจะยิงนายขาวแต่จะยิง นายแดง เพื่อให้ตนไม่ต้องรับผิดในสิ่งที่เกิดขึ้นกับนายขาวแบบนี้ ไม่ได้ ตามที่ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 60 บัญญัติ
4
ตอนที่ 5 ความผิดมึนเมาสุรา
การรณรงค์ ให้ประชาชนเลิกเหล้า ของมึนเมา และเพิ่มมาตรการโทษ ให้หนักขึน้ จากเดิมเพือ่ ลดปัญหาการก่อเหตุทะเลาะวิวาท หรือการสร้างความเดือดร้อน ให้แก่บุคคลอื่นนั้น ซึ่งรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการประชาสัมพันธ์ รณรงค์อย่างต่อเนื่อง แต่ยังคง พบว่ า มี ก ารดื่ ม ฉลองกั น อยู ่ ในงานสังสรรค์ตา่ งๆ ดังนัน้ จึงได้มี กฎหมายควบคุ ม พฤติ ก รรม ผู้ดื่มที่ดื่มแล้วครองตัวเองไม่ได้ แถมยังไปสร้างความเดือดร้อน หรือความเสียหายแก่ร่างกาย และทรั พ ย์ สิ น บุ ค คลอื่ น ตาม ท้ อ งถนนสาธารณะหรื อ ตาม ที่ ส าธารณะ ซึ่ ง อาจท�ำให้ ประชาชนหรือชาวบ้านเดือดร้อนร�ำคาญ โดยผู้ดื่มสุราก็อาจต้องรับโทษตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 378 โดยมีโทษปรับไม่เกินห้าพันบาทได้เช่นกัน
5
ตอนที่ 6 ทรัพย์มรดก
ทรัพย์สินของใคร ย่อมเป็นสิทธิของบุคคลนั้นที่จะจ�ำหน่ายจ่ายโอนได้ โดยชอบ และเมื่อพอใจยกให้ใครแม้ ไม่ใช่ญาติพี่น้องก็สามารถท�ำได้ หรือเรียก อีกอย่างว่า การให้ด้วยความเสน่หา แต่การให้จะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการส่งมอบ ทรัพย์สินให้แก่ผู้รับ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 521 และ มาตรา 523 ทั้งนี้ ผู้ให้ต้องเต็มใจที่จะให้และผู้รับต้องเต็มใจที่จะรับ แต่ยังมีปัญหา เกิดขึ้น คือ คนมักเข้าใจว่า เจ้าของทรัพย์สินเมื่อตายแล้วทรัพย์สินที่เขามี จะตกเป็นทรัพย์มรดกทั้งหมด และทายาทจะเป็นผู้มีสิทธิได้รับทรัพย์มรดกการ ทีเ่ จ้าของทรัพย์สนิ ขณะมีชวี ติ อยูย่ กทรัพย์สนิ ของตนให้บคุ คลอืน่ ทรัพย์นนั้ ก็ตก เป็นของบุคคลทีร่ บั ไปโดยสมบูรณ์ตงั้ แต่วนั ทีย่ กให้ซงึ่ ทายาทก็จะไม่มสี ทิ ธิไปเรียก ทรัพย์กลับคืนมาเป็นมรดกได้ เพราะทรัพย์มรดกจะเกิดขึ้น ก็ตอ่ เมือ่ เจ้ามรดกเป็นเจ้าของทรัพย์สนิ ขณะทีต่ นเองถึงแก่ความตาย ตามมาตรา 1599 หากก่อน เสี ย ชี วิ ต เจ้ า ของทรั พ ย์ สิ น ยกให้บุคคลอื่นไปแล้ว เมื่อถึง แก่ความตายทรัพย์ดังกล่าว ก็ ไม่เป็นทรัพย์มรดกแต่อย่างใด
6
ตอนที่ 7 การเรียกทรัพย์คืนเพราะเนรคุณ
สังคมไทยสอนให้มคี วาม กตัญญูต่อบุพการี หรือผู้ที่มี บุญคุณ เมือ่ ผู้ใดได้รบั ทรัพย์สนิ ของบุ ค คลอื่ น ด้ ว ยความรั ก ความเสน่หา มีหน้าที่ตอบแทน บุญคุณบ้างตามสมควร มีบางคน ยอมยกทรั พ ย์ สิ น ของตนให้ แก่บคุ คลทีต่ นรักใคร่จนหมดสิน้ แทบไม่เหลือทรัพย์สนิ ไว้เลีย้ งชีพ ตนเอง เมื่อถึงคราวเดือดร้อนก็หวังจะไปพึ่งบุคคลที่ตนยกทรัพย์สินให้ หากถูก ปฏิเสธหรือถูกบุคคลดังกล่าว ไม่ชว่ ยเหลือทัง้ ทีส่ ามารถจะช่วยได้หรือถูกกระท�ำ บางประการ เช่น ถูกผู้ที่ตนเองเคยยกทรัพย์สินให้ท�ำร้ายหรือประทุษร้ายอย่าง ร้ายแรงในคดีอาญา หรือกลับถูกเหยียดหยามหมิ่นประมาท ท�ำให้เสียชื่อเสียง อย่างร้ายแรงหรือ บุคคลผู้รับทรัพย์สินไปแล้วปฏิเสธไม่ยอมให้สิ่งของจ�ำเป็น แก่การเลีย้ งชีพ เมือ่ ผู้ให้ตกทีย่ ากไร้ทงั้ ทีผ่ รู้ บั ทรัพย์นนั้ ยังสามารถช่วยได้ บุคคล ผูท้ ยี่ กทรัพย์สนิ ให้ ก็มสี ทิ ธิเรียกคืนหรือถอนคืนการให้ดว้ ยสาเหตุผรู้ บั ประพฤติ เนรคุณได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 531
7
ตอนที่ 8 การทวงหนี้ (1)
เมื่อลูกหนี้ไม่สามารถหาเงินมาคืนให้เจ้าหนี้ได้ เนื่องจากเจ้าหนี้เรียกรับ ดอกเบี้ยในจ�ำนวนเงินที่สูงเกินกว่ากฎหมายหลายเท่า จึงท�ำให้เกิดปัญหา ขึ้นระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้ ซึ่งบางครั้งลูกหนี้มีการช�ำระเงินที่กู้ยืมไปมากกว่า จ�ำนวนเงินที่ตนได้รับ แต่เจ้าหนี้ยังไม่พอ จึงเกิดการทวงหนี้ด้วยวิธีการข่มขู่ และผิดกฎหมายต่างๆ และท�ำให้เกิดปัญหาสังคมตามมาส่งผลกระทบต่อความ เป็นอยูข่ องประชาชน ดังนัน้ รัฐจึงออกกฎหมายพระราชบัญญัตกิ ารทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ซึง่ ปัจจุบนั มีผลใช้บงั คับแล้ว ฉะนัน้ การติดตามทวงถามหนีข้ องเจ้าหนี้ กับลูกหนี้ จะต้องอยูภ่ ายใต้ กฎหมายฉบั บ นี้ และผู ้ มี ธุ ร กิ จ ติ ด ตามทวงถาม ลูกหนี้จะต้องจดทะเบียน กับนายทะเบียน ซึง่ ขึน้ ตรง ต่ อ กระทรวงมหาดไทย มิฉะนั้น จะมีความผิดและ ต้องรับโทษตามพระราช บัญญัติฉบับนี้บัญญัติไว้
8
ตอนที่ 9 การทวงหนี้ (2)
การติดตามทวงถามหนี้ของเจ้าหนี้ มีรูปแบบที่แตกต่างกันอออกไป เพือ่ ท�ำให้ลกู หนีช้ �ำระหนีต้ ามต้องการ กรณีการใช้วธิ ขี ม่ ขูท่ �ำให้เกิดความหวาดกลัว บางครั้งผู้ทวงถามหนี้ ไปทวงถามบุคคลอื่นที่รู้จักกับลูกหนี้ตามสถานที่อยู่ หรื อ ที่ ท�ำงานของลู ก หนี้ แ ละเปิ ด เผยข้ อ มู ล การเป็นหนีก้ บั บุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ลกู หนี้ เพือ่ ให้ลกู หนี้ เกิดความอับอาย เพื่อตนจะได้ รั บ การช�ำระหนี้ การกระท�ำ ดังกล่าวถือเป็นการประจานลูก หนี้ และมีความผิดตามประมวล กฎหมายอาญาด้วย ปัจจุบัน พระราชบั ญ ญั ติ ท วงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ได้ บั ญ ญั ติ ห ้ า ม ทวงถามหนี้กับบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ ลู ก หนี้ โ ดยตรงหรื อ บุ ค คลที่ ลูกหนีไ้ ม่ได้ระบุไว้ให้ในการติดตาม ทวงถาม และหากมีการกระท�ำที่ฝ่าฝืน ผู้ทวงถามหนี้อาจต้องรับโทษทางอาญา ตามมาตรา 8 ประกอบมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ซึ่งจะมีโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
9
ตอนที่ 10 การทวงหนี้ (3)
การติดตามทวงถามหนี้ เป็นสิทธิของเจ้าหนี้ที่สามารถ กระท�ำได้ แต่ก็มิใช่ว่า เจ้าหนี้ ห รื อ ผู ้ ที่ ติ ด ต า ม ท ว ง ถ า ม ลู ก หนี้ จ ะใช้ สิ ท ธิ ใ ดๆได้ ต าม อ�ำเภอใจซึ่ ง การเป็ น หนี้ นั้ น เป็ น เรื่ อ งของแต่ ล ะบุ ค คลและ เป็ น ความลั บ เพราะลู ก หนี้ ไม่ตอ้ งการให้บคุ คลอืน่ ทราบเรือ่ ง การเป็นหนีแ้ ก่บคุ คลทัว่ ไป ดังนัน้ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารทวงหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 8 (3) จึงห้ามไม่ให้ผู้ทวงถามหนี้ใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย ในหนังสือหรือ สื่อใดๆ ที่ใช้ ในการติดตามสอบถาม ซึ่งให้บุคคลอื่นเข้าใจว่าเป็นการติดตาม ทวงถามหนี้ของลูกหนี้ หากผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืนก็จะมีความผิด ตามมาตรา 39 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึง่ แสนบาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ
10
ตอนที่ 11 การทวงหนี้ (4)
การทวงถามหนี้ เจ้าหนี้หรือผู้ที่ทวงหนี้สามารถกระท�ำได้ หากไม่เป็นการ กระท�ำที่ฝ่าฝืนกฎหมาย แต่ในบางกรณีผู้ทวงถามหนี้อาจใช้วิธีข่มขู่รุนแรง หรือใช้ก�ำลังประทุษร้าย ท�ำให้ลกู หนีเ้ กิดความหวาดกลัว เพือ่ ให้ตนได้รบั ช�ำระหนี้ โดยไม่เป็นธรรม หากลูกหนีถ้ กู ท�ำร้ายได้รบั อันตรายแก่ชวี ติ ร่างกาย และทรัพย์สนิ ผู ้ ที่ ท วงถามหนี้ นอกจาก จะมี ค วามผิ ด ตามประมวล กฎหมายอาญาแล้ว อาจต้อง รั บ โทษตามพระราชบั ญ ญั ติ ทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 อีกด้วย แ ล ะ ห า ก ก า ร ก ร ะ ท�ำ เ ข ้ า องค์ประกอบความผิดตามมาตรา 11 (1) ผู้ทวงถามหนี้ใช้วิธีข่มขู่ การใช้ความรุนแรง หรือการ กระท�ำอื่ น ใดที่ ท�ำให้ ลู ก หนี้ ได้รับความเสียหายแก่ร่างกาย ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของลูกหนี้ ผู้ทวงถามหนี้ จะมีความผิดตามมาตรา 41 และมีโทษจ�ำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับอีกด้วย
11
ตอนที่ 12 การทวงหนี้ (5)
การทวงหนี้ปกติลูกหนี้มักจะเกิดความหวาดกลัว หากผู้ที่ทวงถาม ติดตามหนีเ้ ป็นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ต�ำรวจ ทหาร ลูกหนีก้ จ็ ะเกิดความหวาดกลัวมากยิง่ ขึน้ ดังนั้น เจ้าหนี้ส่วนใหญ่จึงอาจใช้วิธีให้เจ้าหน้าที่ต�ำรวจหรือทหารติดตามหนี้ ของตน โดยมีการกระท�ำทีร่ นุ แรง ใช้ก�ำลังประทุษร้าย ข่มขูต่ า่ งๆ ต่อลูกหนี้ ดังนัน้ พระราชบัญญัติทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 14 ได้บัญญัติห้ามไม่ให้ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ยกเว้นหนีท้ เี่ ป็นของตนเองหรือเป็นหนี้ ที่เป็นของสามี ภรรยา บิดา มารดา บุพการี และ ผูส้ บื สันดาน ของตนหรือกระท�ำในฐานะเจ้าหน้าที่ ของรัฐตามกฎหมายทีม่ อี �ำนาจ หากเจ้าหน้าที่ประกอบกิจการ ทวงถามหนีห้ รือรับทวงถามหนี้ ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ห นี้ ข องตนหรื อ ของ ครอบครัวตนเอง ต้องระวาง โทษจ�ำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับ ไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ตามมาตรา 42 ของ พระราชบั ญ ญั ติ ท วงถามหนี้ พ.ศ.2558
12
ตอนที่ 13 การทวงหนี้ (6)
การทวงหนี้เป็นสิทธิของเจ้าหนี้ที่สามารถกระท�ำได้โดยชอบ หากลูกหนี้ มีการผิดนัดไม่ช�ำระหนี้ของตนให้แก่เจ้าหนี้ กฎหมายตามพระราชบัญญัติการ ทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ห้ามบุคคลทีป่ ระกอบอาชีพธุรกิจทวงถามหนี้ไปติดตาม ทวงถามหนี้จากลูกหนี้โดยที่ตนเองไม่ได้จดทะเบียนกับรัฐ เพราะรัฐต้องการ ควบคุมดูแลการใช้อ�ำนาจของเจ้าหนี้หรือบุคคลที่ท�ำธุรกิจติดตามทวงถามหนี้ ให้อยู่ในกรอบของกฎหมาย ไม่สร้างความเดือดร้อนแก่สังคมและประชาชน หากบุคคลทีป่ ระกอบธุรกิจทวงถามหนี้ไม่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตทิ วงถามหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 5 จะมีความผิดตามมาตรา 39 ต้องระวางโทษไม่เกิน หนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ส�ำหรับผู้ที่เป็นทนายความ สามารถที่จะติดตามทวงถามหนี้ จากลู ก หนี้ ได้ เพราะถื อ ว่ า ทนายความกระท�ำการแทนเจ้าหนี้ ในฐานะที่ เ ป็ น ลู ก ความของตน จึ ง ไม่ จ�ำเป็ น ต้ อ งจดทะเบี ย น เหมือนบุคคลทั่วไปที่จะท�ำธุรกิจ ทวงถามหนี้
13
ตอนที่ 14 การทวงหนี้ (7)
การทวงหนี้ในกรณีที่เจ้าหนี้ ได้มอบให้บุคคลอื่นติดตามทวงหนี้ แทนตนเอง แม้ ว ่ า ตั ว แทนในการ รับทวงหนีร้ ายนัน้ ได้ท�ำการจดทะเบียน ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายแล้ ว ก็ ต าม ผู้ทวงหนี้จะต้องทวงหนี้ในลักษณะ ที่ ไม่ท�ำให้ลูกหนี้เข้าใจผิดเข้าใจว่า เป็นการกระท�ำของศาล เจ้าหน้าที่ ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ เช่น อ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของศาลหรือ ต�ำรวจ เป็นต้น เพราะการกระท�ำนั้น อาจเป็นผลให้ลูกหนี้ช�ำระหนี้ด้วยความ เกรงกลัว และหากมีการข่มขู่ของผู้ทวงหนี้โดยการแสดงออกลักษณะดังกล่าว นอกจากจะต้องรับผิดทางอาญาในข้อหากรรโชกทรัพย์แล้ว อาจต้องรับผิด ตามพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 12 (1) และมีโทษจ�ำคุก ไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 41
14
ตอนที่ 15 การทวงหนี้ (8)
โดยทั่ ว ไปทนายความมี อ�ำนาจที่ จ ะติ ด ตามทวงถามหนี้ จ ากลู ก หนี้ ได้โดยชอบ เพราะถือว่าทนายความเป็นตัวแทนของเจ้าหนี้และได้รับมอบหมาย จากเจ้าหนี้ หากลูกหนี้ไม่ช�ำระหนี้ ผู ้ ที่ เ ป็ น ทนายความก็ มี สิ ท ธิ ที่จะด�ำเนินคดีฟ้องร้องลูกหนี้ ได้ ตามกฎหมาย ดังนั้น บุคคลผู้ที่ ประกอบธุ ร กิ จ การทวงหนี้ ห รื อ การติ ด ตามทวงหนี้ หากมี ก าร แสดงโดยอ้างว่าเป็นทนายความ หรื อ เข้ า ข่ า ยว่ า เป็ น การกระท�ำ ของส�ำนั ก งานทนายความหรื อ ส�ำนักงานกฎหมาย และให้ลูกหนี้ เข้าใจผิดเชือ่ ว่าเป็นจริง ผูท้ กี่ ระท�ำการเช่นนัน้ จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ การทวงหนี้ พ.ศ. 2558 มาตรา 12 (2) มีโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกิน สามแสนบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 40
15
ตอนที่ 16 โทษทางอาญา
สมัยก่อนการลงโทษผูท้ กี่ ระท�ำความผิดอาญา จะมีการลงโทษให้ด�ำนำ�้ ลุยไฟ และหากเป็นความผิดร้ายแรงก็อาจใช้วิธีตัดแขน ตัดมือ หรือประหารชีวิตโดยวิธี ตัดศีรษะ แต่โทษทางอาญาในปัจจุบัน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 ที่ใช้การลงโทษผู้กระท�ำความผิดมี 5 ประเภท คือ 1.การประหารชีวิต ซึ่งปัจจุบัน ใช้วิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย 2.การจ�ำคุก ซึ่งโทษจ�ำคุกสูงสุดคือจ�ำคุกตลอด ชี วิ ต 3.การกั ก ขั ง 4.การปรั บ และ 5.การริบทรัพย์สิน ซึ่งโทษ ทางอาญาส่วนใหญ่ คือโทษจ�ำคุก และโทษปรั บ ส่ ว นโทษประหาร ชี วิ ต ใช้ กั บ ความผิ ด ที่ ร ้ า ยแรง ตามทีก่ ฎหมายบัญญัตไิ ว้ โทษริบ ทรัพย์สิน จะใช้ในกรณีทรัพย์นั้น เป็นทรัพย์ที่ ได้ ใช้หรือมี ไว้เพื่อใช้ ในการกระท�ำความผิด เป็นต้น ส่วนโทษกักขังก็ยงั ใช้อยู่ เช่น กรณี ผู้กระท�ำความผิดไม่ช�ำระค่าปรับ ก็จะใช้วิธีกักขังแทนค่าปรับ
16
ตอนที่ 17 การสั่งคุมประพฤติ
ก า ร ที่ ศ า ล สั่ ง ใ ห ้ ผู ้ ก ระท�ำผิ ด ไปรายงานต่ อ พนั ก งานคุ ม ประพฤติ และ ให้ ท�ำงานบริ ก ารสั ง คมหรื อ สาธารณประโยชน์ พร้ อ ม ทั้งก�ำหนดเงื่อนไขให้ผู้กระท�ำ ความผิ ด ต้ อ งปฏิ บั ติ ไม่ ใ ช่ เป็นการลงโทษตาม ประมวล กฎหมายอาญา แต่ เ ป็ น วิ ธี ที่ศาลใช้ดุลยพินิจให้รอการ ลงโทษ หรื อ รอการก�ำหนด โทษผู้กระท�ำ ความผิดเพราะไม่ใช่การลงโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้ตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 18 และเมื่อผู้กระท�ำ ความผิดตามเงื่อนไขที่ศาลก�ำหนด ไว้ครบถ้วนตามกฎหมายแล้วก็ ไม่ถอื ว่าผูท้ กี่ ระท�ำผิดนัน้ เคยต้องโทษ หรือได้รบั โทษ ทางอาญามาก่อนแต่อย่างใด โดยถือว่าเป็นการอบรมปรับพฤติกรรมและ นิสัยไปในตัว
17
ตอนที่ 18 ปรับเพราะท�ำผิด
กรณีผกู้ ระท�ำความผิดและได้รบั โทษปรับ ผูก้ ระท�ำความผิดจะต้องช�ำระเงิน ที่ก�ำหนดไว้ตามค�ำพิพากษา หากผู้กระท�ำความผิดไม่ช�ำระภายในก�ำหนด สามสิบวันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา อาจจะต้องถูกยึดทรัพย์สิน หรืออาจถูก กักขังแทนค่าปรับ โดยโทษปรับ มีทั้งกรณีที่พนักงานปกครอง หรื อ ต�ำรวจหรื อ พนั ก งาน ปกครองอื่ น ๆ สามารถปรั บ ผูก้ ระท�ำความผิดได้เอง แต่ตอ้ ง เป็นกรณีที่กฎหมายให้อ�ำนาจ ปรับได้เท่านั้น เช่น เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจสามารถปรับผู้กระท�ำ ความผิดเกี่ยวกับการจราจร หรื อ พนั ก งานสรรพสามิ ต สามารถปรับผู้กระท�ำความผิดเกี่ยวกับการกระท�ำผิดเกี่ยวกับการจ�ำหน่าย สุรา บุหรี่ หรือกรณีที่ผิดกฎหมายสรรพสามิตได้เช่นกัน
18
ตอนที่ 19 การฉ้อโกงประชาชน
บุคคลที่แสวงหาผลประโยชน์ โดย การโฆษณาชักจูงหลอกลวงประชาชนให้ เข้าร่วมลงทุนในรูปแบบต่างๆ แล้วจะจ่าย ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์กลับคืนให้ สูงเกินกว่าดอกเบี้ยตามกฎหมายก�ำหนด หลายเท่า และหากเข้าร่วมเป็นสมาชิกแล้ว ให้ผู้ที่เข้าร่วมลงทุนไปหาสมาชิกเพิ่มต่อ และสามารถหาสมาชิ ก มาเพิ่ ม มากขึ้ น ผลตอบแทนสูงตามขึน้ มากเท่านัน้ จากกลโกง ดังกล่าวท�ำให้ประชาชนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรืออยากได้เงินผลตอบแทนสูงสูญ เสียเงินทองจ�ำนวนมาก และเกิดการฟ้องร้องกันเมือ่ ทราบว่าตนเองอาจถูกหลอก และผู้ชักชวนไม่ตอบแทนผลประโยชน์ตามที่ ได้เจรจาตกลงกัน กรณีดังกล่าว บุคคลทีก่ ระท�ำการหาผลประโยชน์เช่นนี้ ถูกเจ้าหน้าทีต่ �ำรวจจับกุมด�ำเนินคดีแล้ว หลายคดี ในข้อหากูย้ มื เงินอันเป็นการฉ้อโกงประชาชน ตามพระราชก�ำหนดการ กูย้ มื เงินอันเป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 เพราะไม่มใี ครทีย่ อมลงทุนกูย้ มื เงิน โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่สูงมากกว่ากฎหมายหลายเท่าอย่างแน่นอน ดังนัน้ หากมีใครมาชักชวนลงทุนเสนอผลประโยชน์ทสี่ งู ต้องไตร่ตรองให้รอบคอบ และควรปรึกษาผู้ที่มีความรู้เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายขึ้นในอนาคต
19
ตอนที่ 20 ปลูกบ้านในที่ดินของคนอื่น
คนทัว่ ไปมักจะเข้าใจว่าบ้านหรือสิง่ ปลูกสร้างทีป่ ลูกในทีด่ นิ บ้านและสิง่ ปลูก สร้างนัน้ จะเป็นของเจ้าของทีด่ นิ แต่ไม่ใช่ทกุ กรณีเสมอไป เพราะหากผูท้ เี่ ป็นเจ้าของบ้าน มีสิทธิปลูกบ้านในที่ดินบุคคลอื่น โดยเจ้าของที่ดินยินยอม บ้านนั้นย่อมไม่เป็น ส่วนควบของที่ดิน เช่น การเช่าที่ดินโดยเจ้าของยินยอมให้ปลูกบ้านพักอาศัย ตามระยะเวลาการเช่า และเมือ่ ครบสัญญาผูเ้ ช่าก็มสี ทิ ธิรอื้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างออกไปได้ แต่ถ้าเป็นกรณีบุกรุกเข้าไปปลูกบ้านในที่ดินของคนอื่นโดยผิดกฎหมาย ต่อมา เมือ่ เจ้าของทีด่ นิ ใช้สทิ ธิอา้ งกรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ ผูท้ บี่ กุ รุกเข้าไปปลูกสร้าง ทัง้ นีห้ าก มีการต่อสู้ฟ้องร้องคดีและแพ้คดี จะไปรื้อถอนบ้านที่ก่อสร้างย่อมไม่สามารถรื้อ ถอนได้ เพราะผู้บุกรุกไม่มีสิทธิใดๆ ในสิง่ ปลูกสร้าง ดังนัน้ การไปปลูกสร้าง ในที่ ดิ น คนอื่ น โดยเจ้ า ของเขา ไม่ยนิ ยอม บ้านหรือสิง่ ทีป่ ลูกสร้างนัน้ จึ ง ตกเป็ น ส่ ว นควบของที่ ดิ น ตามกฎหมาย ตามหลักประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 144 ประกอบมาตรา 146
20
ตอนที่ 21 ขายที่ดินมีสิ่งปลูกสร้าง
หากเราต้องการจะขายที่ดิน เจ้าพนักงานที่ดินจะสอบถามว่า ที่ดิน มีสงิ่ ปลูกสร้างหรือไม่ เพราะถ้ามีสงิ่ ปลูกสร้าง ทีด่ นิ นัน้ ก็จะมีราคาสูงขึน้ โดยเจ้าหน้าที่ จะได้ก�ำหนดราคาประเมินเพื่อค�ำนวณในการเสียภาษี เพราะตามหลักการ ซือ้ ขายอสังหาริมทรัพย์ทกุ ชนิด จะต้องท�ำเป็นหนังสือและต้อง จดทะเบี ย นต่ อ พนั ก งาน เจ้าหน้าที่ มิฉะนัน้ จะตกเป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 456 วรรคหนึ่ง แต่บางกรณีมีการ ซื้ อ ขายระบุ เ ฉพาะที่ ดิ น โดย ไม่ได้ระบุบา้ นหรือสิง่ ปลูกสร้าง ที่ปลูกอยู่ในที่ดินไว้ด้วย กรณีดังกล่าว บ้านและสิ่งปลูกสร้างนั้นย่อมตกเป็น เจ้าของใหม่ด้วยตามหลักของส่วนควบ ซึ่งไม่ต้องท�ำหนังสือและไปจดทะเบียน ต่อพนักงานเจ้าหน้าทีอ่ กี เพราะบ้านหรือสิง่ ปลูกสร้างนัน้ เป็นส่วนควบของทีด่ นิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 144 ประกอบ มาตรา 146
21
ตอนที่ 22 กรรมสิทธิ์และ การใช้กรรมสิทธิ์ เมื่อเรามีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ย่อมมีสิทธิโดยชอบที่จะด�ำเนินการใดๆ ในทรัพย์สนิ นัน้ ได้โดยชอบ เช่น การขาย การจ�ำหน่ายจ่ายโอน การหวงแหนปกป้อง ไม่ให้บุคคลอื่นเข้ามารบกวน การครอบครอง รวมทั้งมีสิทธิที่จะติดตามเอาคืน ทรัพย์สนิ นัน้ จากบุคคลอืน่ ที่ไม่มสี ทิ ธิม์ ากล่าวอ้างได้อกี ด้วย เนือ่ งจากกรรรมสิทธิ์ เป็ น สิ่ ง ส�ำคั ญ ที่ สุ ด ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ ท ธิ ทั้ ง หมด เพราะกรรมสิ ท ธิ์ เป็ น สิ ท ธิ ที่ อ ยู ่ เ หนื อ ทรั พ ย์ สิ น เจ้าของสามารถใช้อ้าง แ ล ะ ต ่ อ สู ้ บุ ค ค ล อื่ น ได้เสมอ เช่น มีที่ดินอยู่ แปลงหนึ่ง เจ้าของที่ดิน ผูม้ กี รรมสิทธิ์ สามารถทีจ่ ะ จ�ำหน่ายจ่ายโอน ใช้สอย รวมทัง้ ได้ดอกผลในการใช้ทดี่ นิ นัน้ การ ได้ดอกผล เช่น น�ำไปให้บุคคลอื่นเช่า และได้ค่าตอบแทนเป็นค่าเช่า เป็นต้น ซึง่ เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์มาตรา 1336
22
ตอนที่ 23 ข้อจ�ำกัดในการใช้กรรมสิทธิ์
แม้กรรมสิทธิจ์ ะเป็นสิทธิท์ สี่ �ำคัญ โดยเจ้าของกรรมสิทธิส์ ามารถด�ำเนินการ ตามสิ ท ธิ์ ข องตนได้ ก็ ต าม แต่ ใ นการใช้ สิ ท ธิ์ ใ นกรรมสิ ท ธิ์ ข องตนจะต้ อ ง ไม่ท�ำความเดือดร้อนแก่บคุ คลอืน่ เกินสมควร เพราะไม่เช่นนัน้ ทุกคนทีม่ กี รรมสิทธิ์ ก็ จ ะอ้ า งหลั ก กรรมสิ ท ธิ์ ของตนเพือ่ ด�ำเนินการต่างๆ จนเกิดความเดือดร้อนวุน่ วาย ขึน้ ในสังคมทีอ่ าศัยอยูร่ ว่ มกัน ดั ง นั้ น เจ้ า ของกรรมสิ ท ธิ์ อาจต้ อ งตกอยู ่ ใ นสภาพที่ ไม่อาจใช้ทรัพย์สนิ ของตัวเอง ได้เต็มที่ เช่น เจ้าของที่ดิน มีทดี่ นิ อยูใ่ นพืน้ ทีล่ มุ่ ก็จะต้อง ยิ น ยอมรั บ น�้ ำ ซึ่ ง ไหลตาม ธรรมดาจากที่ ดิ น สู ง มา ในทีด่ นิ ของตน และผูอ้ ยูใ่ นทีด่ นิ ซึง่ อยูบ่ นพืน้ ทีส่ งู กว่า ก็ตอ้ งยินยอมให้นำ�้ จากทีส่ งู มายังทีต่ ำ�่ ตามความจ�ำเป็นและสามารถกันนำ�้ ไว้เพียงทีจ่ �ำเป็นแก่ทดี่ นิ ของตนเอง ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1339
23
ตอนที่ 24 ปัญหาขัดแย้งกับเพื่อนบ้าน
จ�ำนวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วส่งผลให้มกี ารก่อสร้างบ้านพักอาศัย หรือโรงเรือนในที่ดินเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยในบางครั้งการก่อสร้างที่พักอาศัย หรื อ สิ่ งก่ อสร้างต่างๆ แม้จ ะกระท�ำในที่ดินของเจ้าของที่ดินซึ่งเป็นเจ้าของ กรรมสิทธิเ์ องก็ตาม หากสิง่ ปลูกสร้างนัน้ มีหลังคาทีส่ ร้างขึน้ เป็นสาเหตุให้สายฝน ที่ตกลงมาไหลไปยังที่ดินหรือทรัพย์สินของ บุคคลอืน่ ซึง่ อยูต่ ดิ ต่อกัน เจ้าของทีด่ นิ ที่ปลูกสร้างที่มีหลังคาลักษณะ ดังกล่าวจะต้องด�ำเนินการ แก้ ไ ขไม่ ใ ห้ น�้ำ ฝนตกไหลไป ยั งที่ ดินหรือทรัพย์สินของ บุ ค คลอื่ น เพราะเป็ น การ สร้ า งความเสี ย หายแก่ บุ ค คลอื่ น ดั ง ที่ ป ระมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1341 ประกอบ มาตรา 1337 บัญญัติไว้
24
ตอนที่ 25 การขุดบ่อรับน�้ำโสโครก
การขุดบ่อรับน�้ำโสโครก หรือบ่อขยะมูลฝอย เจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ควรระมัดระวังให้อยู่ในเขตจ�ำกัดภายในพื้นที่ของตน เพราะน�้ำโสโครกจะซึมลงสู่ พืน้ ดินและซึมในชัน้ ใต้ดนิ ซึง่ อาจท�ำให้พนื้ ดินทีต่ ดิ อยูใ่ กล้เคียงได้รบั ความเสียหาย สกปรกเน่าเหม็นไปด้วย ดังนั้น หากเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินมีความประสงค์ ขุดบ่อรับน�ำ้ โสโครกในทีด่ นิ ของตน มีขอ้ ก�ำหนดไว้วา่ จะขุดในระยะ 2 เมตร จากแนวเขต ที่ดินไม่ได้ โดยถือเป็นข้อที่จ�ำกัดการใช้กรรมสิทธิ์ของเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 1341
25
ตอนที่ 26 ที่ดินตาบอด
หากทางเดิ น ในซอย เป็ น ที่ ดิ น ตาบอดโดนปิ ด กั้ น ล้ อ มรอบ หรื อ บ้ า นอยู ่ ลึ ก สุดซอยนั้น จ�ำเป็นต้องใช้ทาง ร่วมเล็กๆในการสัญจรเข้าออก ทุกวัน ซึง่ ย่อมเป็นปัญหา ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ เ สมอในกรณี ที่เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินหรือ เจ้ า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่อยู่รอบนอกจะต้องยินยอม ให้บุคคลอื่นใช้ทางเดินสัญจรเข้า-ออก ผ่านในที่ดินของตนตามความจ�ำเป็น เนื่องจากที่ดินของผู้ที่ใช้สิทธิผ่านไม่มีทางสัญจรเข้า-ออก สู่ถนนสาธารณะและ ถูกล้อมรอบด้วยที่ดินแปลงอื่นทุกด้าน กฎหมายจึงให้สิทธิแก่เจ้าของที่ดินที่ถูก ล้อมรอบ รวมทั้งบริวารมีสิทธิ์ผ่านที่ดินที่ล้อมรอบแปลงใดแปลงหนึ่งที่ใกล้ทาง สาธารณะทีส่ ดุ ออกไปสูท่ างสาธารณะได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1349 และมาตรา 1350
26
ตอนที่ 27 การท�ำนิติกรรม (1)
ส�ำหรั บ ประชาชนที่ ถู ก หลอก ให้กยู้ มื เงินจากสถาบันการเงินหลากหลาย รู ป แบบ โดยผู ้ กู ้ ยื ม เงิ น จะถู ก หลอก ให้ท�ำนิติกรรมเพื่อเป็นหลักประกันในการ กูย้ มื เงิน โดยการน�ำหลักทรัพย์มาคำ�้ ประกัน เช่น กรณีตกลงกันว่าให้น�ำทีด่ นิ มาจ�ำนอง แต่เมื่อมีการกู้ยืมเงินแล้วกลายเป็นขาย ที่ดินให้ผู้ ให้กู้ยืมเงิน ซึ่งผิดเจตนาของ ผูก้ ยู้ มื เงิน ดังนัน้ ในการท�ำนิตกิ รรมใดๆ หรือผู้ใดจะท�ำนิตกิ รรมเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ของตน ควรให้ผู้ที่มีความรู้ช่วยตรวจสอบจะได้ ไม่ตกเป็นเหยื่อของนายทุนต่างๆ ที่หาโอกาสหลอกลวงเพื่อผลหาประโยชน์ เพราะการท�ำนิติกรรม หมายถึง การ กระท�ำใดๆ ที่ท�ำโดยชอบด้วยกฎหมายด้วยความสมัครใจ มุ่งโดยตรงต่อการ ผูกนิตสิ มั พันธ์ขนึ้ ระหว่างบุคคล เพือ่ จะก่อ เปลีย่ นแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิ์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 149 หากผู้กระท�ำนิติกรรมไม่มี เจตนากระท�ำนิติกรรมอย่างหนึ่งแต่คู่สัญญาใช้วิธีหลอกลวงด้วยเล่ห์กลต่างๆ ไปท�ำนิติกรรมอีกอย่าง ผู้ถูกหลอกลวงอาจฟ้องร้องตามกฎหมาย ซึ่งเป็นการ ยากล�ำบากในทางพิสจู น์และอาจแพ้คดีได้ ทางทีด่ กี อ่ นท�ำนิตกิ รรมใดๆ ควรตรวจ สอบให้ชัดเจนเสียก่อน ไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสียหายขึ้น
27
ตอนที่ 28 การท�ำนิติกรรม (2)
ในชีวิตประจ�ำวันโดยทั่วไปประชาชนมักมีการตกลงหรือท�ำนิติกรรม ต่าง ๆ ร่วมกัน เมื่อประชาชนไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมาย ท�ำให้ประสบปัญหา การท�ำนิ ติ ก รรมเป็ น อย่ า งมาก ซึ่ ง เกิ ด จากการเข้ า ใจผิ ด หรื อ ส�ำคั ญ ผิ ด ตามกฎหมายแล้วจะต้องเป็นการเข้าใจผิดทีต่ นเองไม่ได้ประมาทในการท�ำนิตกิ รรมนัน้ มิฉะนั้นจะน�ำมาเป็นข้อแก้ตัวไม่ได้ เช่น กรณีตั้งใจจะท�ำสัญญาจ�ำนองแต่กลับ ไปท�ำสัญญาขายฝาก กรณีนถี้ อื ว่าเป็นโมฆะ หรือในกรณีตงั้ ใจทีจ่ ะยกทีด่ นิ ให้คนหนึง่ แต่กลับยกที่ดินให้อีกคนหนึ่งโดยการเข้าใจผิด กรณีดังกล่าวถือว่าส�ำคัญผิด ในตั ว บุ ค คล หรื อ ส�ำคั ญ ผิ ด ในตั ว ทรั พ ย์ ที่ ท�ำนิ ติ ก รรมนั้ น หรื อ กรณี ตั้ ง ใจ จะซื้อที่ดินแปลงหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ติดถนนแต่ผู้ขายโอนที่ดินแปลงอื่นให้ซึ่งไม่ใช่ที่ดิน ระบุ กั น ไว้ กรณี นี้ ถื อ ว่ า ส�ำคั ญ ผิ ด ในตัวทรัพย์ซงึ่ เป็นส่วนส�ำคัญกฎหมาย ก็ถอื ว่าเป็นโมฆะเช่นกัน ตามประมวล กฎหมายแพ่งพาณิชย์มาตรา 156 อย่างไรก็ดี ก่อนการท�ำนิติกรรม ใดๆ ก็ต้องตรวจสอบความถูกต้อง ให้ชัดเจนก่อน เพราะการพิสูจน์ ให้การท�ำนิตกิ รรมทีท่ �ำขึน้ เป็นโมฆะนัน้ ไม่ใช่เป็นเรื่องง่าย
28
ตอนที่ 29 การท�ำนิติกรรม (3)
คนเรายามเดือดร้อนท�ำได้ทกุ วิถที างเพือ่ ให้คนอืน่ เมตตาและช่วยเหลือตน หรือไปขอความช่วยเหลือโดยกูห้ นีย้ มื สินบุคคลอืน่ แล้วเอาหลักทรัพย์คำ�้ ประกันไว้ พอถึงคราวต้องใช้คืน กลับไม่ชดใช้ บางครั้งก็ยอมโอนทรัพย์สินให้กับบุคคลอื่น ไปก่อน เพือ่ หลอกลวงไม่ให้เจ้าหนีย้ ดึ ทรัพย์ทคี่ ำ�้ ประกันไว้ซงึ่ การโอนให้กนั นัน้ ท�ำกัน หลอกๆ ไม่ได้โอนให้จริง และ ผู้รับโอนก็รู้เห็นด้วย ดังนั้น การโอนดังกล่าวจึงถือเป็น โมฆะ ตามประมวลกฎหมาย แพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 155 วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติ ไว้ว่า การแสดงเจตนาลวง โดยสมรู้กับคู่กรณีอีกฝ่าย หนึ่ ง เป็ น โมฆะซึ่ ง เจ้ า หนี้ ที่ ต ้ อ งเสี ย หายจากการที่ ลู ก หนี้ โ อนทรั พ ย์ สิ น ไป อาจใช้ สิ ท ธิ ฟ ้ อ งเพิ ก ถอนการโอนทรั พ ย์ สิ น ที่ ส มรู ้ กั น ได้ เพื่ อ ให้ ท รั พ ย์ สิ น กลับมาเป็นของลูกหนี้แล้วบังคับคดีต่อไป
29
ตอนที่ 30 การช�ำระหนี้ (1)
การท�ำสัญญากู้ยืมเงิน บางครั้งผู้กู้กับเจ้าหนี้ไม่ได้ระบุรายละเอียดของ ดอกเบี้ยไว้ ในหนังสือสัญญา เมื่อลูกหนี้เบี้ยวหนี้ โดยไม่จ่ายเงินในส่วนของ ดอกเบี้ยให้ในวันครบก�ำหนดช�ำระเงินคืนทั้งหมดเจ้าหนี้ หรือผู้ให้กู้ ก็จะมีสิทธิ เรียกร้องดอกเบี้ยได้แต่จะสามารถเรียกดอกเบี้ยได้เพียงร้อยละ7.5 ต่อปี เท่านั้น ตามมาตรา 7 ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ก�ำหนดไว้ ตามมาตรา 7 และมาตรา 224
30
ตอนที่ 31 การช�ำระหนี้ (2)
หนี้ที่เกิดจากการพนัน การขายยาเสพติด เกิดจากสิ่งผิดกฎหมาย หรือการซือ้ หวยใต้ดนิ เมือ่ เจ้าหนี้ไม่คนื หนีท้ เี่ กิดขึน้ ให้กบั ลูกหนี้ หรือเจ้าหนี้ได้หนีหายไป กรณีดังกล่าวถือเป็นหนี้ที่ ไม่มีผลทางกฎหมาย และไม่สามารถบังคับได้ตาม กฎหมายเพราะกฎหมายถือว่าไม่มีมูลนี้ต่อกัน หากผู้ที่เป็นหนี้ได้ช�ำระหนี้ไปแล้ว จะมาเรียกร้องคืน หรือมาฟ้องร้องต่อศาลไม่ได้ซงึ่ ศาลจะไม่บงั คับให้ ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 407 และมาตรา 411 บัญญัติไว้
31
ตอนที่ 32 สัญญาต่างตอบแทน
เมื่ อ ลู ก หนี้ แ ละเจ้ า หนี้ ไ ด้ ท�ำสั ญ ญาอย่ า งถู ก ต้ อ งกั น ทั้ ง สองฝ่ า ย และในสัญญาระบุวา่ ทัง้ สองฝ่ายยินยอมและตกลงปฏิบตั ติ ามข้อตกลงที่ได้ท�ำไว้ ในสัญญา กรณีนเี้ รียกว่า สัญญาต่างตอบแทน เช่น การท�ำสัญญา ซือ้ ขายทีด่ นิ ระบุวา่ ผู้ขายมีหน้าที่ต้องไปจดทะเบียนโอนที่ดินและรับภาระในส่วนของค่าธรรมเนียม ต่างๆ ในการส่งมอบที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ และผู้ซื้อมีหน้าที่ต้องช�ำระเงินราคาที่ดิน ให้แก่ผู้ขายตามราคาที่ตกลงกัน ในวันที่ผู้ขายได้ด�ำเนินการ ดังนั้น หากฝ่ า ยหนึ่ ง ฝ่ า ยใดไม่ ท�ำตาม ข้อตกลง โดยผู้ขายไม่ยอมออก ค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามทีต่ กลงกัน ฝ่ า ยผู ้ ซื้ อ ก็ ย ่ อ มมี สิ ท ธิ์ ป ฏิ เ สธ การซือ้ -ขายนัน้ ได้ หรือกรณีผซู้ อ้ื ไม่ยอมวางเงินมัดจ�ำตามเงื่อนไข ในสัญญานัน้ ทางผูข้ ายก็อา้ งสิทธิ์ ปฏิเสธในการด�ำเนินการธุรกรรม กั บ กรมที่ ดิ น ได้ เ ช่ น กั น กรณี นี้ ถือเป็นสัญญาต่างตอบแทน
32
ตอนที่ 33 สัญญามีค่าตอบแทน
สัญญามีค่าตอบแทน คือ คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างได้รับค่าตอบแทน ซึ่งกันและกันจากการท�ำสัญญานั้น เช่น กรณีสัญญาการซื้อขาย ผู้ขายย่อม ได้รับเงินจากราคาของทรัพย์สินที่ตนเองขายจากผู้ซื้อ และผู้ขายจะต้องส่งมอบ ทรัพย์สินที่ขายนั้นให้แก่ผู้ซื้อ และฝ่ายผู้ซื้อก็จะได้รับทรัพย์จากผู้ขาย โดยต้อง ช�ำระราคาค่าทรัพย์สินที่ซื้อให้ผู้ขายด้วย เป็นต้น
33
ตอนที่ 34 สัญญาเพื่อบุคคลภายนอก
สัญญาเพือ่ บุคคลภายนอก คือ การท�ำสัญญาทีร่ ะบุเงือ่ นไข ผลประโยชน์ ที่จะได้รับในอนาคตให้กับบุคคลที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในเนื้อรายละเอียดที่ระบุไว้ ในสัญญา เช่น นายด�ำ ได้ท�ำสัญญาประกันชีวติ ยก ค่าสินไหมชดเชยทัง้ หมดของตน ให้กับภรรยา คือ นางแดง โดยทีน่ างแดงไม่ตอ้ งมาช�ำระ หนีแ้ ทน หรือชดใช้หนีค้ า่ งวด ใดๆ ให้กับบริษัทประกันชีวิต แต่อย่างใด แต่เมื่อนายด�ำ สามีของนางแดงได้เสียชีวติ ลง ดั ง นั้ น บริ ษั ท ประกั น ชี วิ ต ดังกล่าว ก็ตอ้ งช�ำระหนีห้ รือ ชดเชยค่าสินไหมตามเงือ่ นไข ในสั ญ ญาที่ ไ ด้ ต กลงไว้ กั บ นายด�ำตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ ซึง่ กรณีดงั กล่าวนางแดง คือ บุคคลภายนอกตามสัญญาทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในประมวล กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 374
34
ตอนที่ 35 เลิกสัญญา
การบอกเลิ ก สั ญ ญาสามารถกระท�ำได้ เมื่ อ คู ่ สั ญ ญาอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือผิดเงื่อนไขที่ ได้ระบุไว้ ในรายละเอียดของสัญญา โดยท�ำให้ คู ่ สั ญ ญา อี ก ฝ่ า ยได้ รั บ ความ เสียหาย ฉะนัน้ คูส่ ญ ั ญา ที่ได้รับความเสียหาย จึงมีสิทธิ์บอกเลิกและ เรียกร้องให้คู่สัญญา ที่ผิดสัญญายินยอม ปฏิบัติตามข้อตกลง โดยฟ้ อ งด�ำเนิ น คดี ตามกฎหมาย พร้อมทัง้ เ รี ย ก ค ่ า เ สี ย ห า ย ชดเชยได้ หรืออาจใช้ สิทธิ์บอกเลิกสัญญา ที่ท�ำกันหรือจะใช้สิทธิฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายอย่างเดียวก็สามารถท�ำได้
35
ตอนที่ 36 การช�ำระหนี้
การไม่เป็นหนี้ ถือเป็นลาภอันประเสริฐแต่เมื่อเป็นหนี้แล้วก็ต้องปฏิบัติตน ในการช�ำระหนี้ให้ครบถ้วนตรงต่อเงื่อนไขและเวลาซึ่งปกติแล้วประชาชนทั่วไปจะ เข้าใจว่า การช�ำระหนี้ คือ การน�ำเงินหรือทรัพย์สินไปช�ำระหนี้ให้เจ้าหนี้หรือการ ท�ำการอย่างหนึง่ อย่างใดให้แก่เจ้าหนีเ้ ท่านัน้ แต่หนีต้ ามกฎหมายมีอยู่ 3 กรณี คือ 1.หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน เช่น นายองอาจท�ำสัญญาขายเครื่องตัดหญ้า ให้ น ายนั ก รบ ดั ง นั้ น นายองอาจเป็ น ลู ก หนี้ ก็ จ ะต้ อ งส่ ง มอบเครื่ อ งตั ด หญ้ า ให้แก่นายนักรบ 2.หนี้ กระท�ำการ เช่น รับจ้าง วาดภาพให้ บุ ค คลอื่ น วั ต ถุ แ ห ่ ง ห นี้ ก็ คื อ วาดภาพ และ 3.หนีง้ ดเว้น กระท�ำการ เช่น ตกลงกัน ว่ า จะไม่ ท�ำการแข่ ง ขั น การค้าต่อกัน (หมายถึง สิ น ค้ า เดี ย วกั น หรื อ ธุรกิจเหมือนกัน) ฝ่ายที่ถูกห้ามไม่ให้แข่งขันการค้า เรียกว่า ช�ำระหนี้โดยงดเว้น กระท�ำการดังกล่าว เป็นต้น
36
ตอนที่ 37 หนี้ระบุเฉพาะเจาะจง
หนีร้ ะบุเฉพาะเจาะจง คือ การระบุรายละเอียดชัดเจนว่า จะชดใช้ดว้ ยวิธใี ด แบบไหน เช่น กรณีตกลงซื้อขายม้าชื่อสีหมอก ซึ่งมีคุณสมบัติที่วิ่งเร็วมากและ เป็นม้าแข่ง ฉะนั้นผู้ขายก็จะต้องส่งมอบม้าสีหมอก ที่ระบุไว้เฉพาะเจาะจงเท่านั้น โดยจะส่งม้าตัวอื่นทดแทนไม่ได้โดยเด็ดขาด นอกจากคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะ ยินยอมและรับได้ กรณีดังกล่าวถือเป็นการยอมรับช�ำระหนี้อย่างอื่นแทนวัตถุ หนี้เฉพาะเจาะจงที่ ได้ระบุไว้ในเงื่อนไข ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 321 วรรคหนึ่ง
37
ตอนที่ 38 เงื่อนไขในการช�ำระหนี้
เมื่ อ มี ก ารกู ้ ยื ม หนี้ สิ น บุ ค คลอื่ น มาแล้ว เงื่อนไขการ ช�ำระหนี้ คื น มี ห ลายรู ป แบบ แล้วแต่เงือ่ นไข รายละเอียดทีร่ ะบุไว้ ในสัญญา เช่น นายมีไปกูย้ มื เงิน เฮี ย ฮวดเพื่ อ จะน�ำมาท�ำนา จ�ำนวน 10,000 บาท โดยระบุ ในสัญญาว่า เมือ่ ขายข้าวได้แล้ว จะน�ำเงินมาชดใช้คนื ให้ แต่เฮียฮวด ได้ ร ะบุ ใ นสั ญ ญาเพิ่ ม เติ ม ว่ า หากนายมีไม่มเี งินมาชดใช้ให้ตามจ�ำนวนและระยะเวลาก�ำหนดไว้ในสัญญาก็ยนิ ดี ให้นายมี น�ำข้าวเปลือกมาชดใช้แทนได้ โดยขอให้มีมูลค่าเทียบเท่ากับจ�ำนวนเงิน ที่ได้กยู้ มื ไป และเมือ่ ถึงเวลานายมีมเี งินไม่เพียงพอทีจ่ ะช�ำระหนี้ จึงเอาข้าวเปลือก มาชดใช้แทน เจ้าหนีจ้ ะปฏิเสธไม่รบั ช�ำระไม่ได้ เพราะหากเจ้าหนี้ไม่รบั ช�ำระหนีถ้ อื ว่า เจ้าหนี้ผิดนัด เจ้าหนี้อาจไม่มีสิทธิเรียกร้องดอกเบี้ยหรือค่าเสียหายใดๆ ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 198 และมาตรา 207
38
ตอนที่ 39 เป็นหนี้โดยไม่เจตนา
หนีท้ เี่ กิดขึน้ โดยไม่เจตนา ส่วนใหญ่เกิดจากการรับทรัพย์สนิ มรดกจากญาติ ที่ เ สี ย ชี วิ ต โดยที่ ก ่ อ นเสี ย ชี วิ ต ญาติ ไ ด้ ก ่ อ หนี้ ห รื อ ก่ อ เหตุ สุ ด วิ สั ย มาก่ อ น เช่น ลุงยวน เป็นเจ้าของมรดกได้เสียชีวิตลง โดยได้มอบทรัพย์มรดกให้นายขาว ซึ่งเป็นทายาท แต่ก่อนเสียชีวิตลุงยวนเป็นหนี้กับบุคคลอื่น ดังนั้น เมื่อนายขาว ซึ่ ง เป็ น ทายาทรั บ มรดกไป ก็จะต้องรับไปทัง้ สิทธิและหน้าที่ ของเจ้ า ของมรดกไปด้ ว ย โดยไม่ ได้เจตนาและตั้งใจที่จะ เป็นหนี้ อย่างไรก็ตาม นายขาว ซึง่ เป็นทายาทก็ไม่ตอ้ งรับผิดชอบ หนี้ท้ังหมดจะรับผิดแค่มูลค่า ที่ต นได้รับมรดกจากลุงยวน มาเท่านัน้ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1603
39
ตอนที่ 40 จ้างแรงงานต่างด้าว (1)
ปัจจุบันคนไทย นิยมจ้างแรงงานต่างด้าว กันมากขึน้ เนือ่ งจากค่าจ้าง ราคาถู ก จึ ง ท�ำให้ เ กิ ด ปัญหาเรือ่ งการขึน้ ทะเบียน แรงงานต่างด้าวอย่างถูกต้อง โดยตามพระราชบัญญัติ การท�ำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 แห่งราชอาณาจักร และใบอนุ ญ าตจะมี อ ายุ ไม่ เ กิ น สองปี นั บ ตั้ ง แต่ วันที่ออกใบอนุญาต และสามารถต่อใบอนุญาตได้ ทั้งนี้ หากแรงงานต่างด้าว ทีท่ �ำงานโดยไม่ได้รบั ใบอนุญาตจะมีโทษทางอาญา ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 51
40
ตอนที่ 41 จ้างแรงงานต่างด้าว (2)
กรณีที่นายจ้างให้แรงงานต่างด้าวท�ำงานไม่ตรงตามที่ ได้ตกลงกันไว้ ถือว่านายจ้างมีความผิด โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตกิ ารท�ำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ซึ่งก�ำหนดโทษไว้ในมาตรา 54 ประกอบมาตรา 27 กรณีว่าจ้าง คนต่างด้าวท�ำงานไม่ตรงกับประเภทหรือลักษณะของงานที่ระบุไว้ในในอนุญาต ณ ท้องที่ที่ระบุไว้ ซึ่งมีโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
41
ตอนที่ 42 บังคับเด็ก ผิดกฎหมาย
ปัญหาสังคมเกี่ยวกับเด็ก ทั้งแก๊งล่อลวง ลักพาตัว หรือการ บังคับใช้แรงงานเด็ก รวมถึงการ ขู ่ เ ข็ ญ ให้ เ ด็ ก มานั่ ง ขอทาน ยั ง มี ให้เห็นอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากในปัจจุบนั โดยที่ไม่เกรงกลัวกฎหมาย ดังนั้น ผู้ใดท�ำการบังคับ ขู่เข็ญ ส่งเสริม ยินยอม และใช้เด็กเป็นเครื่องมือ ในการขอทาน เพือ่ แสวงหารายได้ หรื อ ผลประโยชน์ เ ข้ า ตนเอง จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ คุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (5) ซึง่ จะมีโทษจ�ำคุกไม่เกินสามเดือนหรือปรับ ไม่เกินสามหมืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับตามมาตรา 78 และหากครบองค์ประกอบ ความผิดกฎหมายอื่นก็จะต้องรับผิดตามกฎหมายฉบับนั้นอีกด้วย
42
ตอนที่ 43 การสงเคราะห์เด็ก
หากท่านใดพบเด็กเร่ร่อน หรือเด็กก�ำพร้าที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง ที่ใดที่หนึ่ง ท่านสามารถเข้าไปช่วยเหลือเด็กเหล่านี้ได้ โดยหากเด็กพูดคุยรู้เรื่อง ให้ ถ ามชื่ อ พ่ อ แม่ และเลขที่ บ ้ า น แล้วช่วยพาเด็กกลับบ้าน แต่หากเด็ก คนนั้น หนีออกมาด้วยพฤติกรรม ของผูป้ กครองมีอาชีพที่ไม่เหมาะสม อันอาจจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ ทางร่างกาย การทารุณกรรม หรือ ตกอยู่ในภาวะอื่นใดอันอาจเป็นเหตุ ให้ เ ด็ ก มี ค วามประพฤติ เ สื่ อ มเสี ย ในทางศีลธรรมอันดี หรือเป็นเหตุ ให้ เ กิ ด อั น ตรายแก่ ก ายและจิ ต ใจ ก็สามารถช่วยเหลือเด็กได้ โดยการ แจ้งให้เจ้าพนักงานที่เกี่ยวข้องรับทราบ ให้เข้ามาช่วยเหลือดูแลตามกระบวนการ ทางกฎหมายของพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
43
ตอนที่ 44 การส่งเสริมเด็กในทางที่ผิด
โรงเรียนหรือสถานศึกษาทุกแห่งจะมีกฎ ระเบียบ ส�ำหรับให้นักเรียน ประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อให้เป็นผู้ที่มีวินัยและศีลธรรมอันดีงาม ถ้าหากมีบุคคล ใดกระทําการอันเป็นการยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือ นักศึกษา ไม่ประพฤติปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษาทีว่ างไว้ ก็จะมีความผิดต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ ตามมาตรา 85 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
44
ตอนที่ 45 ห้ามเด็กซื้อ หรือเสพสุรา/บุหรี่ 45
ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 จะห้าม เด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น 18 ปี ซื้ อ หรื อ เสพสุ ร าหรื อ บุ ห รี่ หรื อ เข้ า ไป ในสถานที่เฉพาะเพื่อการจ�ำหน่าย หรือเสพสุราหรือบุหรีอ่ ย่างเด็ดขาด เพราะไม่ ต ้ อ งการให้ สิ่ ง เสพติ ด ดังกล่าว มามอมเมาเยาวชนของชาติ ทั้งนี้ หากเด็กยังฝ่าฝืนและเข้าไป เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่ คุ ้ ม ครองสวั ส ดิ ภ าพเด็ ก ตาม 62 มาตรา 24 ก็ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กรับเด็ก กลับไปดูแล ตามมาตรา 44 วรรคสอง หรือวางข้อก�ำหนดอื่นใดเพื่อแก้ ไขหรือ ป้องกันมิให้เด็กกระท�ำความผิดซ�้ำ
45
ตอนที่ 46 รับเลี้ยงเด็กโดยไม่ได้รับอนุญาต
ในบางครั้งพ่อแม่ที่อยู่ในระหว่างวัยท�ำงานและมีลูกวัยแรกเกิดถึงห้าขวบ มักจะมีความกังวลเกีย่ วกับการเลือกสถานรับเลีย้ งเด็กให้กบั ลูก เนือ่ งจากตนเอง ต้องท�ำงานไม่มเี วลาดูแล จึงต้อง น�ำบุตรไปอยู่ในความดูแลของ คนอืน่ ดังนัน้ ก่อนจะเลือกสถาน เลี้ยงเด็กให้กับลูก พ่อแม่ต้อง ตรวจสอบให้ดีว่า สถานเลี้ยง เด็ ก นั้ น ๆ มี ใ บอนุ ญ าตรั บ รอง หรือไม่ ทัง้ นี้ หากผู้ใดจัดตัง้ หรือ ด�ำเนินกิจการสถานรับเลีย้ งเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ ตามมาตรา 82 โดยมิ ไ ด้ รั บ อนุญาตหรือใบอนุญาตถูกเพิก ถอนหรือหมดอายุ จะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
46
ตอนที่ 47 ความหมายของค�ำว่า “เด็ก”
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลอันมีคุณค่าของประเทศ เพราะเด็กเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคต ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีการก�ำหนดให้มีวันเด็ก และ ถือเป็นวันส�ำคัญของชาติวนั หนึง่ ด้วยตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ.2546 ไ ด ้ ใ ห ้ นิ ย า ม ค�ำ ว ่ า “เด็ ก หมายถึ ง บุ ค คล ซึ่งมีอายุต�่ำกว่าสิบแปดปี บริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่ บรรลุ นิ ติ ภ าวะด้ ว ยการ สมรส “เด็กเร่รอ่ น” หมายถึง เด็ ก ที่ ไม่ มี บิ ด ามารดา หรื อ ผู ้ ป กครอง หรื อ มี แต่ไม่เลีย้ งดูหรือไม่สามารถ เลี้ยงดูได้จนเป็นเหตุให้เด็กต้องเร่ร่อนไปในที่ต่างๆ หรือ “เด็กก�ำพร้า” หมายถึง เด็กทีบ่ ดิ ามารดาเสียชีวติ เด็กที่ไม่ปรากฏบิดามารดาหรือไม่สามารถสืบหาบิดา มารดาได้ เป็นต้น อนาคตของประเทศจะเป็นอย่างไรต่อไปขึ้นอยู่กับบิดา มารดา หรือผู้ปกครองที่ต้องรับผิดชอบเลี้ยงดูบุตร
47
ตอนที่ 48 คุ้มครองผู้บริโภค
การโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆ เช่น สื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ สื่อสังคม 48 ออนไลน์ สามารถเข้าถึงกลุม่ ผูบ้ ริโภคได้ทกุ เพศทุกวัย แต่บางครัง้ การโฆษณาอาจ จะบิดเบือนหรือปิดบังข้อมูลที่แท้จริงของตัวสินค้า เพราะความเห็นแก่ตัวและ เพื่ อ ต้ อ งการท�ำก�ำไรให้กับ เจ้าของกิจการหรือเจ้าของ สิ น ค้ า โดยลื ม ค�ำนึ ง ถึ ง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและ เป็ น อั น ตรายต่ อ ผู ้ บ ริ โ ภค ซึ่งหากผู้ประกอบการรายใด ขายสินค้าที่คณะกรรมการ คุม้ ครองผูบ้ ริโภคสัง่ ห้ามขาย เพราะสิ น ค้ า นั้ น อาจเป็ น อั น ต ร า ย แ ก ่ ผู ้ บ ริ โ ภ ค ตามมาตรา 36 แห่งพระราชบั63 ญญัตคิ มุ้ ครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. 2522 ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 56
48
ตอนที่ 49 ฉลากสินค้าไม่ถูกต้อง
ผูบ้ ริโภคควรให้ความส�ำคัญและใส่ใจในการอ่านฉลากสิน้ ค้าก่อนซือ้ ทุกครัง้ เพื่อให้ ได้สินค้าที่ดี มีคุณภาพ เพราะจะท�ำให้ผู้บริโภคได้รับทราบรายละเอียด เกี่ยวกับตัวสินค้านั้นๆ เช่น ชื่อ สถานที่ของผู้ผลิต หรือผู้ที่ได้รับอนุญาตเลขที่ อนุญาตให้ผลิต ส่วนประกอบ การเก็บรักษา วันผลิต และวันหมดอายุ ที่ส�ำคัญ ได้รับอนุญาต หรือผ่านการตรวจสอบจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยาหรือไม่ ทั้งนี้ หากผู้ ใด รับจ้างท�ำฉลากที่ ไม่ถูกต้อง ตามกฎหมาย หรือรับจ้างติด ตรึ ง ฉลากที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งตาม กฎหมายกับสินค้าโดยรู้หรือ ควรรูอ้ ยูแ่ ล้วว่าฉลากดังกล่าว นั้ น ไม่ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย จะต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท ตามมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้บริโภค พ.ศ. 2522
49
ตอนที่ 50 การเอาเปรียบผู้บริโภค 50
64 ปัจจุบันในการเลื อกซื้อสินค้าอุปโภคและบริโภค ตามห้างสรรพสินค้า หรือในร้านค้าทั่วไป จะต้องตรวจสอบสินค้าที่จะซื้อโดยละเอียด ทั้งนี้ หากสงสัย ว่าอาจได้รับความเดือนร้อน หรือถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ผลิต หรือพ่อค้า ที่ไม่ซื่อตรง เช่น ได้รับความเดือนร้อนจากราคาอาหาร ยา หรือเครื่องส�ำอาง ประชาชนสามารถร้องเรียนได้ทสี่ �ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข หรือกรณีที่ ได้รับความเดือดร้อนเกี่ยวกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมสามารถร้องเรียนได้ทสี่ �ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น
50
ตอนที่ 51 การท�ำประกันภัยรถยนต์
รถยนต์ เป็ น ปั จ จั ย ส�ำคั ญ ในการด�ำรงชี พ ของผู ้ ค นในยุ ค ปั จ จุ บั น เมื่อรถยนต์ถูกน�ำมาใช้งานกันมากขึ้น และในบางครั้งผู้ขับขี่ขาดความระมัดระวัง ส่งผลให้เกิดอุบตั เิ หตุบอ่ ยครัง้ ส่งผลให้สญ ู เสียทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างทีป่ รากฏ ตามสื่อต่างๆ ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันคุ้มครองผู้ที่ประสบภัยที่เกิดจากรถ ให้ ได้รับการเยียวยาความเสียหาย บุคคลผู้เป็นเจ้าของรถจะต้องจัดท�ำประกัน ความเสียหายส�ำหรับผู้ประสบภัยกับบริษัทประกันภัย ตามมาตรา 7 ทั้งนี้ ผู้ใดหากฝ่าฝืนจะมีโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ตามมาตรา 37 แห่งพระราช บัญญัตคิ มุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 และหากฝ่าฝืนใช้รถที่ไม่ได้มกี าร ประกันความ เสียหาย ตาม มาตรา 11 ก็จะมีโทษปรับไม่ เกินหนึ่งหมื่นบาทตามมาตรา 39 เช่ น กั น ดั ง นั้ น การใช้ ร ถ ใช้ถนน ควรเคารพกฎจราจร อย่างเคร่งครัด และขับขี่อย่าง ระมั ด ระวั ง เพื่ อ ป้ อ งกั น การ สูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นได้
51
ตอนที่ 52 การฟอกเงิน
การฟอกเงิน คือ การน�ำเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาโดยผิดกฎหมายหรือ ได้มาจากการกระท�ำความผิดตามที่กฎหมายระบุไว้ เช่น เงินที่ได้มาจากการค้า ยาเสพติด เงินที่มาจากการเป็นธุระจัดหาการค้าประเวณี เงินหรือทรัพย์สินที่ได้ มาจากความผิดข้อหาฉ้อโกงประชาชน หรือแม้แต่เงินหรือทรัพย์สินใดๆ ก็ตาม ที่ไม่สามารถแสดงแหล่งทีม่ าของเงินโดยชอบด้วยกฎหมายได้ แล้วผูก้ ระท�ำการ โอน รับโอน หรือเปลี่ยนสภาพทรัพ ย์สินเหล่านั้น หรือเพื่อซุกซ่อน ปกปิด แหล่งที่มา 52 อย่างแท้จริง หรือเพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ไม่วา่ ก่อนกระท�ำ ขณะกระท�ำ หรือหลังกระท�ำ ความผิดของทรัพย์สินที่ได้มา ผูก้ ระท�ำมีความผิดฐานฟอกเงิน ตามมาตรา 5 แห่ ง พระราช บัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปราม การฟอกเงิ น พ.ศ.2542 ต้ อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ตั้ ง แต่ หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่ สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามมาตรา 60
71
52
ตอนที่ 53 ความผิดฐานฟอกเงิน 53
การฟอกเงิ น เป็ น ภัยที่ส่งผลกระทบต่อความ มัน่ คงของประเทศ เป็นความ เสียหายที่ไม่สามารถประเมิน ค่ า ได้ ดั ง นั้ น ผู ้ ที่ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น ผู ้ ก ระท�ำความ ผิดฐานฟอกเงิน จะมีโทษที่ รุนแรงกว่าความผิดอาญา ประเภทอื่นๆ ดังนั้น ผู้กระท�ำ การสนับสนุนหรือช่วยเหลือผูก้ ระท�ำความผิดฐานฟอกเงิน หรือจัดหา หรือให้เงิน หรือทรัพย์สิน ยานพาหนะ สถานที่ หรือช่วยเหลือผู้กระท�ำความผิดหลบหนี เพื่อไม่ให้ถูกลงโทษ หรือเพื่อให้ ได้รับผลประโยชน์ ใดๆ ในการกระท�ำความผิด ผู้กระท�ำนั้น ถือว่าเป็นผู้สนับสนุนผู้กระท�ำความผิดฐานฟอกเงิน ตามมาตรา 7 ซึ่งจะต้องรับโทษเช่นเดียวกับตัวการที่กระท�ำความผิดฐานฟอกเงิน โดยมีโทษ จ�ำคุ ก ตั้ ง แต่ ห นึ่ ง ปี ถึ ง สิ บ ปี หรื อ ปรั บ ตั้ ง แต่ ส องหมื่ น บาทถึ ง สองแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับตามมาตรา 60 ของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน พ.ศ. 2542
53
ตอนที่ 54 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (1)
คอมพิวเตอร์ถือเป็นอุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญในการท�ำงาน รวมถึงการ 54 คปัจจุบันมากขึ้น บางครั้งข้อมูลที่บันทึก จัดเก็บบันทึกข้อมูลต่างๆ ของคนในยุ เป็ น ความลั บ หรื อ เป็ น ข้ อ มู ล สาธารณะ แล้วแต่ประเภทของ การใช้เก็บฐานข้อมูลของแต่ละ บุ ค คล เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ รั ฐ จึ ง ได้ ตราพระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ย การกระท�ำความผิด เกี่ย วกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสีย หายทั้ ง ในส่ ว นรวมและส่ ว น บุ ค คล ซึ่ ง หากมี ผู ้ ห นึ่ ง ผู ้ ใ ด กระท�ำความผิดตามที่บัญญัติ ไว้ก็ต้องรับโทษตามที่ก�ำหนด ไว้เช่นกัน 72
54
ตอนที่ 55 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (2) 55
โดยส่วนใหญ่นิยมเก็บข้อมูลการ ท�ำงาน ประวัติ หรือบันทึกต่างๆ ไว้ ในคอมพิวเตอร์ แต่หาก มีผอู้ นื่ มากระท�ำการใดๆ เพือ่ ให้ข้อมูลเสียหาย โดยมี เจตนาให้ เ จ้ า ของข้ อ มู ล นั้ น ได้ รั บ ความเสี ย หาย ก็ จ ะมี ค วามผิ ด และมี โ ทษ ค่อนข้างสูง ตามที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 9 ที่บัญญัติไว้ว่า ผู้ใดท�ำให้ 73 เสียหาย ท�ำลาย แก้ ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่ ง ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ข องผู ้ อื่ น โดยมิ ช อบ ต้ อ งระวางโทษไม่ เ กิ น ห้ า ปี ห รื อ ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
55
ตอนที่ 56 ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (1) การมี ค วามรู ้ ห รื อ มี ค วามเชี่ ย วชาญทางด้ า นเทคโนโลยี โดยเฉพาะ คอมพิวเตอร์น้ันถือว่าเป็นสิ่งที่ดี เพราะสามารถน�ำมาสร้างคุณประโยชน์ แก่ตนเองและครอบครัว หรือประเทศชาติได้ แต่หากใช้ความสามารถที่ตัวเอง มีอยู่ไปใช้ ในทางที่ผิด จะน�ำทุกข์เข้ามาหาตัวเองได้ โดยเฉพาะการแอบเข้าไป ใช้คอมพิวเตอร์ของ ผู ้ อื่ น โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุญาตและตัวเองก็ ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ ของผูอ้ นื่ จะต้องระวาง โ ท ษ จ�ำ คุ ก ไ ม ่ เ กิ น หกเดื อ น หรื อ ปรั บ ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
56
ตอนที่ 57 ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (2)
กรณี ก ารเข้ า ไปใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ที่ เ ราไม่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งซึ่ ง นอกจาก จะเป็นการกระท�ำผิดแล้ว ถ้าหากมีการดักรับข้อมูลข่าวสารของผูอ้ นื่ ทีอ่ ยูร่ ะหว่าง การส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลนั้นไม่ได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือ มี ไว้เพื่อให้บุคคลอื่นทั่วไปน�ำไปใช้ ได้ การกระท�ำดังกล่าวเข้าข่ายกระท�ำผิด เช่นกันซึ่งต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
57
ตอนที่ 58 ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (3) การโพสต์ข้อความ การส่งต่อข้อความ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ แก่บคุ คลอืน่ โดยปกปิดแหล่งทีม่ าของการส่งข้อมูลดังกล่าว หรือการปลอมแปลง แหล่งทีม่ าของการส่งข้อมูล และเป็นเหตุท�ำให้ไปรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของบุคคลอืน่ การกระท�ำดังกล่าวถือว่ามีความผิด ซึง่ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท ตามมาตรา 11 ของบทบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยว 62 กับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
76
58
ตอนที่ 59 ขับรถเสื่อมสภาพมีความผิด
เมื่อความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีก้าวไปอย่างไม่หยุดยั้ง ควบคู่กับ การเพิม่ ขึน้ ของประชากร พร้อมกับการเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ ท�ำให้สภาพแวดล้อม ตกอยู ่ ใ นสภาพเสื่ อ มโทรมอย่ า งรวดเร็ ว ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ ต่ า งๆ ตามมา ดังนั้น กฎหมายควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อมจึงมีส่วนส�ำคัญที่จะชะลอและยับยั้ง สิ่งแวดล้อมไม่ให้ถูกท�ำลายไปมากกว่าที่เป็นอยู่ สิ่งที่ใกล้ตัวที่สุดคือยานพาหนะ ทีน่ �ำออกมาใช้จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดมลภาวะเกินกว่ามาตรฐานการควบคุมทีร่ ฐั ก�ำหนดไว้ หากเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่ามีการใช้ยานพาหนะที่ก่อให้เกิดมลภาวะ เจ้าหน้าที่ ก็มีสิทธิให้เจ้าของยานพาหนะแก้ ไขปรับปรุงหรือระงับใช้ หรืออาจมีค�ำสั่งห้ามใช้ เด็ดขาดก็ ได้ ทัง้ นีห้ ากเจ้าของยานพาหนะซึง่ ถูกห้ามใช้ยงั ฝ่าฝืนและน�ำยานพาหนะ มาใช้ อี ก ก็ จ ะมี ค วามผิ ด และมี โ ทษปรั บ ไม่เกินห้าพันบาท ตามพระราช บัญญัติส่งเสริมและรักษา คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม แห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 102 ประกอบ มาตรา 55 มาตรา 64 และมาตรา 65
59
ตอนที่ 60 ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
ปั จ จุบันเทคโนโลยีมีความเจริญก้า วหน้า และพัฒ นาอย่างต่อเนื่อง มีแอพพลิเคชั่นต่างๆ เข้ามาช่วยให้การติดต่อสื่อสารมีความรวดเร็วมากขึ้น ดั ง นั้ น หากผู ้ ใ ดที่ ไ ม่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ การสื่ อ สารของบุ ค คลสองคน หรือข้อความที่ส่งตอบโต้กันในกลุ่ม แต่กลับกระท�ำการล่วงรู้ถึงข้อความข่าวสาร 59 ของบุ ค คลอื่ น ที่ ติ ด ต่ อ ถึ ง กั น โดยน�ำไปเปิ ด เผยต่ อ สาธารณชนและส่ ง ผล ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ผู ้ อื่ น ดังนั้นการกระท�ำดังกล่าวถือว่า การมี ค วามผิ ด ฐานเปิ ด เผย ความลับ โดยจะต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไม่ เ กิ น หนึ่ ง พั น บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำ ทั้งปรับ ตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 322 74
60
ตอนที่ 61 เมาไม่ขับ 60
ในช่วงเทศกาลต่างๆ มักจะมีข่าวประชาสัมพันธ์ ในเรือ่ งการรณรงค์ “เมาไม่ขบั ก ลั บ บ ้ า น ป ล อ ด ภั ย ” เพราะสถิ ติ ก ารเสี ย ชี วิ ต ของประชาชนส่ ว นใหญ่ เกิดจากอุบตั เิ หตุจากการขับขี่ ยวดยานบนท้องถนน โดยเฉพาะในช่วงวันหยุดติดต่อ กันหลายวัน หลายคนทีเ่ ข้ามาท�ำงานในเมื องหลวง หรือตามแหล่งท่องเทีย่ วต่างๆ 75 ได้เดินทางกลับบ้าน บางรายมีการดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างขับรถ จึงเกิดอุบัติเหตุ อยู่บ่อยครั้ง บางทีไม่ใช่แค่คนขับจะเกิดอุบัติเหตุ แต่ยังท�ำให้คนอื่นเดือนร้อนจาก พฤติกรรมของตนเองอีก ซึ่งในกรณีดังกล่าวหากผู้ใดดื่มแอลกอฮอล์และขับรถ จะมีความผิดตามตามมาตรา 43 (2) แห่งพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 โดยมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับตั้งแต่ห้าพันบาท ถึงสองหมื่นบาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ และให้ศาลสั่งพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ชองผู้นั้นมีก�ำหนดไม่น้อยกว่า หกเดือน หรือเพิกถอนใบอนุญาต ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 160 ตรี
61
ตอนที่ 62 ขับไป โทรไป แชทไป มีโทษ
การติดต่อสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์มือถือในระหว่างการขับรถส่วนใหญ่ ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนเป็นประจ�ำ ซึ่งสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและ ทรัพย์สินเป็นจ�ำนวนมากทั้งนี้เกิดจากผู้ขับขี่มีความประมาท หรือไม่ใช้อุปกรณ์ เสริมส�ำหรับการสนทนา ซึ่งตามกฎหมายถือว่ามีความผิดตามมาตรา 43(9) แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ซึ่งจะมีโทษปรับตั้งแต่สี่ร้อยบาท ถึงหนึ่งพันบาท ตามมาตรา 157
62
ตอนที่ 63 การเผยแพร่ข่าวช่วง สถานการณ์ฉุกเฉิน (1) ในช่วงที่บ้านเมืองอยู่ในสถานการณ์วิกฤติ เช่น เกิดการปฏิวัติ ปรับปรุง การปกครอง หรือรัฐบาลต้องการเผยแพร่ข่าวสาร รัฐบาลจะขอความร่วมมือ 63ไปยังสถานีวิทยุโทรทัศน์ทุกช่อง เพื่อขอความร่วมมือปรับการเผยแพร่ข่าวสาร ให้เหมือนกัน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการเสนอข่าวที่มีข้อความอันอาจท�ำให้ประชาชน เกิดความหวาดกลัว หรือเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร จนกระทบต่อความมัน่ คง ของรั ฐ หรื อ ความสงบ เรี ย บร้ อ ยทั้ ง ในเขตพื้ น ที่ ทีป่ ระกาศสถานการณ์ฉกุ เฉิน หรือทั่วราชอาณาจักร ตาม มาตรา 9 ของพระราชก�ำหนด ก า ร บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ใ น สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น พ.ศ. 2548 77
63
ตอนที่ 64 การเผยแพร่ข่าวช่วง สถานการณ์ฉุกเฉิน (2) 64
ในช่ ว งประเทศชาติ ต้องตกอยูใ่ นสถานการณ์ฉกุ เฉิน อย่างเช่นทีผ่ า่ นมา การสือ่ สาร ผ่านช่องทางต่างๆ หรือการ เผยแพร่ ข ่ า วสารผ่ า นสื่ อ ทุ ก ประเภท นายกรั ฐ มนตรี จะมี อ�ำนาจออกข้ อ ก�ำหนด เพื่ อ ห้ า มเสนอข่ า วหรื อ การ จ�ำหน่าย หรือเผยแพรหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือสื่ออื่นใด ซึ่งมีข้อความที่อาจท�ำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว หรือเจตนาบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร78ท�ำให้เกิดความเข้าใจผิดในสถานการณฉ กุ เฉิน จนกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ หรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน ทัง้ ในเขตพืน้ ทีท่ ป่ี ระกาศสถานการณฉ กุ เฉินหรือทัว่ ราชอาณาจักร ก็ ได้ ตามมาตรา 9 (3) แห่งพระราชก�ำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548
64
ตอนที่ 65 งดเหล้า เข้าพรรษา
ในช่ ว งเทศกาลวั น เข้ า พรรษาของทุ ก ปี มี ก ารจั ด กิ จ กรรมงดเหล้ า เข้าพรรษา เพือ่ ให้ประชาชนไม่ถกู มอมเมาด้วยสิง่ เสพติด โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ ดื่มสุรา ซึ่งเป็นสิ่งเสพติดที่ซื้อหาได้ง่าย ดังนั้น กฎหมายได้ก�ำหนดให้มีพื้นที่ ละเว้นการจ�ำหน่ายสุราตามสถานทีต่ า่ งๆ โดยเด็ดขาด เช่น วัดหรือสถานทีป่ ฏิบตั ิ พิธกี รรมทางศาสนา สถาน ที่ ร าชการ หอพั ก ตาม กฎหมายว่าด้วยการศึกษา สถานีบริการน�้ำมัน สวน สาธารณะของทางราชการ สถานบริการสาธารณสุข ของรัฐ หรือสถานที่อื่นใด ทีร่ ฐั มนตรีประกาศก�ำหนด โดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการนโยบายเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม แฮลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 หากผู้ใดผ่าฝืนต้องระวางโทษจ�ำคุกไมเ กินหกเดือน หรือ ปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 39 ทั้งนี้ ผู้ขายจะต้อง ค�ำนึงถึงศีลธรรม และแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วย
65
ตอนที่ 66 ความผิดฐานขายสุรา ให้กับเด็ก ปั จ จุ บั น เยาวชนมี แ นวโน้ ม การ ดื่มแอลกอฮอล์สูงขึ้น ซึ่งเกิดความเสี่ยง ต่ อ การเกิ ด ปั ญ หาสั ง คม ในหลายๆ ด้าน ดังนั้น เพื่อ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพ ร่างกายเยาวชนให้แข็งแรง ทั้ ง ร ่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต ใ จ เป็นก�ำลังของชาติพ่อ แม่ ผู ้ ป กครอง ควรเข้ ม งวด ให้บุตรหลานห่างไกลจาก เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ทุกชนิด และส�ำหรับผู้ที่จ�ำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แก่เยาวชนที่มีอายุต�่ำกว่า ยี่สิบปีบริบูรณ์ หรือบุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ ถือว่าบุคคลนั้น มีความผิดตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 40
66
ตอนที่ 67 ความผิดบุกรุกพื้นที่อนุรักษ์
การอนุรักษ์เขตพื้นที่ ป่าเขาที่มีต้นน�้ำล�ำธาร และ ระบบนิเวศน์ทเี่ ป็นแหล่งต้นนำ�้ รั ฐ อาจก�ำหนดเขตพื้ น ที่ คุ ้ ม ครองสิ่ ง แวดล้ อ ม และ ประกาศห้ามไม่ให้ผู้ ใดเข้าไป บุ ก รุ ก หรื อ ท�ำกิ จ กรรม ซึง่ อาจจะเป็นการท�ำลายระบบ นิเวศน์ของธรรมชาติให้เสียหาย หากมี บุ ค คลเข้ า ไปบุ ก รุ ก หรือเข้าไปครอบครองที่ดินของรัฐโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เข้าไปท�ำลาย ท�ำให้ เสียหายแก่ธรรมชาติ หรือก่อให้เกิดมลพิษอันมีผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อม ในเขตพืน้ ทีค่ มุ้ ครองสิง่ แวดล้อมทีก่ �ำหนดไว้ ตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 จะมีความผิดและมีโทษ ตามมาตรา 99 จ�ำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกิน ห้าแสนบาทหรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
67
ตอนที่ 68 ขับรถเร็วเกินกว่า ที่กฎหมายก�ำหนด “ทางหลวง” เป็นเส้นทางที่ประชาชนใช้ ในการเดินทาง รวมถึงติดต่อ ท�ำธุรกิจค้าขายซึง่ กันและกัน พาหนะทีใ่ ช้เดินทางบนทางหลวงนัน้ มีหลากหลายชนิด เช่น รถบรรทุก รถยนต์ส่วนตัว รถโดยสาร ดังนั้นรัฐจ�ำเป็นต้องเข้าไปก�ำกับ ควบคุมดูแลบ�ำรุงรักษา เพื่อให้ระยะเวลาการใช้ทางหลวงมีความคงทนถาวร และป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ประชาชนผู้ใช้ยานพาหนะ โดยมีมาตรการต่างๆ เช่น การจ�ำกัดความเร็วของรถชนิดต่างๆ ซึ่งอาจไม่เท่ากัน เช่น บนทางหลวง อาจก�ำหนดรถบรรทุกขับได้ ไม่เกินแปดสิบกิโลเมตรต่อชั่วโมง รถยนต์ส่วนตัว ขับความเร็วได้ ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบกิโลเมตรต่อชั่วโมง ตามที่ก�ำหนดไว้ ใน กฎกระทรวง หากผูใ้ ดฝ่าฝืน ไม่ปฏิบตั ติ ามจะมีความผิด แ ล ะ ต ้ อ ง รั บ โ ท ษ ป รั บ ไ ม ่ เ กิ น ห ้ า พั น บ า ท ตามมาตรา 69 ประกอบ มาตรา 5 พระราชบัญญัติ ทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549
68
ตอนที่ 69 การจอดรถบนทางหลวง
การขั บ ขี่ ย านพาหนะไปตามทางหลวง จะมี เ จ้ า หน้ า ที่ ท างหลวง คอยตรวจสอบควบคุมดูแลให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะใช้ความระมัดระวังเพื่อไม่ให้ เกิดอันตรายแก่ชีวิตทรัพย์สิน ดังนั้น หากเจ้าพนักงานทางหลวงมีความสงสัย ในการใช้ ย านพาหนะของ ผูข้ บั ขี่ เจ้าหน้าทีก่ จ็ ะมีอ�ำนาจ เรียกตรวจสอบและมีค�ำสั่ง ให้ ผู ้ ขั บ ขี่ ย านพาหนะหยุ ด จอดรถเพื่ อ ตรวจสอบได้ ตามสมควรตามพระราช บัญญัตทิ างหลวง พ.ศ.2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 23 (2) ดั ง นั้ น เมื่ อ เจ้ า หน้ า ที่ สั่ ง ให้ ห ยุ ด เพือ่ ตรวจสอบแล้วผูข้ บั ขีฝ่ า่ ฝืนไม่หยุดตามค�ำสัง่ ผูข้ บั ขีย่ านพาหนะก็จะมีความผิด มีโทษตามมาตรา 70 จ�ำคุกไม่เกินสามเดือนหรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ
69
ตอนที่ 70 สิ่งของกีดขวาง บนทางหลวง (1) ทางหลวงมี ไว้ เ พื่ อ ให้ ประชาชนไว้ สั ญ จรขั บ ขี่ ย าน พาหนะขั บ ขี่ เ พื่ อ ความสะดวก ในการท�ำด�ำเนิ น กิ จ การต่ า งๆ ดังนั้น หากมีสิ่งหนึ่งใดมาติดตั้ง วาง หรื อ กองอยู ่ บ นทางหลวง ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้ ยานพาหนะและท�ำให้ผู้อื่นเสียหาย ทั้ ง ชี วิ ต ทรั พ ย์ สิ น ได้ ดั ง นั้ น เจ้าหน้าที่ทางหลวงจึงมีหน้าที่ควบคุมรักษาและสงวนเขตทางหลวงไม่ให้มีวัสดุ หรือสิ่งของมากีดขวางทางหลวง ซึ่งหากมีบุคคลใดน�ำสิ่งของมาติดตั้ง แขวน วาง หรือกองสิ่งใดๆ ในเขตทางหลวงในลักษณะที่เป็นการกีดขวางหรืออาจ เป็นอันตรายแก่ยานพาหนะ หรือเสียหายแก่ทางหลวงหรือไม่สะดวกแก่ทาง ผู้นั้นก็จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 38 วรรคหนึ่ง มีโทษตามมาตรา 72 จ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
70
71
ตอนที่ 71 สิ่งของกีดขวาง บนทางหลวง (2)
ประชาชนทุ ั จรบนทางหลวงได้โดยชอบ หากมีบคุ คลใด 81กคนสามารถใช้สญ กระท�ำการโดยมี ลั ก ษณะที่ ห วงกั น ไม่ ใ ห้ บุ ค คลอื่ น ใช้ แ ละผ่ า นทางหลวงนั้ น ไม่สามารถกระท�ำได้ และหากเป็นการกระท�ำทีม่ ลี กั ษณะกีดขวางการใช้ทางหลวง ของบุคคลอื่น หรือกระท�ำโดยการปิดกั้นวางวัตถุที่แหลมคมขวางบนทางหลวง ในลักษณะเกิดอันตรายหรือเสียหายแก่ยานพาหนะหรือบุคคลอื่น ผู้นั้นก็จะมี ความผิดตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 39 มีโทษตามมาตรา 72 จ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
71
ตอนที่ 72 ความผิดท�ำลายรื้อถอน สัญญาณเครื่องหมายจราจร บนทางหลวงจะมีสัญญาณหรือป้ายเครื่องหมายที่เจ้าหน้าที่ติดตั้งไว้ เพื่อให้ผู้ขับขี่ใช้ยานพาหนะปฏิบัติตามเพื่อความปลอดภัยในการใช้ทางร่วมกัน ดังนัน้ ป้ายเครือ่ งหมาย72 หรือสัญญาณไฟ และอุปกรณ์ จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญทีป่ ระชาชน จะต้องช่วยกันดูแลรักษาร่วมกันกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งนี้ หากมีผู้หนึ่งผู้ ใด มาท�ำให้เสียหาย ท�ำลาย ซ่อนเร้น เปลี่ยนแปลง ขีดเขียน เคลื่อนย้าย รื้อถอน หรื อ ท�ำให้ ไ ร้ ป ระโยชน์ ซึ่ ง เครื่ อ งหมาย ป้ า ยจราจร เครื่ อ งหมายสั ญ ญาณ เครื่องหมายสัญญาณไฟฟ้า เครื่องแสดงสัญญาณ เครื่องหมายอุปกรณ์ เพื่ อ ความปลอดภั ย รั้ ว หลักเขตหลักส�ำรวจผู้นั้น ก็จะมีความผิดตามพระราช บัญญัตทิ างหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 40 มี โ ทษตาม มาตรา 73 จ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น ห ก เ ดื อ น ป รั บ ไ ม ่ เ กิ น หนึ่ ง หมื่ น บาทหรื อ ทั้ ง จ�ำ ทั้งปรับ
82
72
ตอนที่ 73 การขุดหรือขนของ บนทางหลวง การแอบขุดถนน หรือขนของที่วางไว้ ใช้งานหรือก่อสร้างบนทางหลวง โดยไม่ ไดรับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้อ�ำนวยการทางหลวงหรือผู้ซึ่งไดรับ 73 มอบหมายจากผู้อ�ำนวยการทางหลวง ถือเป็นความผิด เนื่องจากทางหลวง เป็นเส้นทางสาธารณที่ประชาชนทุกคนใช้สัญจรไปมาโดยชอบตามกฎหมาย ซึ่ ง การกระท�ำดั ง กล่ า วท�ำให้ ทางหลวงเกิ ด ความเสี ย หาย และอาจก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตราย ต่อประชาชนได้ หากผู้ ใดฝ่าฝืน จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติ ทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 43 และ มี โ ทษตามมาตรา 73/1 มี โ ทษ จ�ำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกิน ห้าพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ 83
73
ตอนที่ 74 รถเสียบนทางหลวง 74 กรณี ร ถเสี ย ระหว่ า งการใช้ เ ส้ น ทางอยู ่ บ นทางหลวง ผู ้ ขั บ ขี่ ร ถหรื อ ยานพาหนะนัน้ ต้องรีบน�ำรถเข้าชิดขอบทางหรือเข้าจอดบนไหล่ทางโดยเร็ว มิฉะนัน้ รถหรื อ ยานพาหนะคั น อื่ น ที่ ใ ช้ ถ นนร่ ว มทาง ไม่ ทั น สั ง เกตเห็ น และ ไม่ได้ระมัดระวัง อาจท�ำ ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ขึ้ น ได้ แต่หากกรณีเจ้าของรถ เพิ ก เฉยรถเสี ย จุ ด ไหน จอดรถทิ้ ง ไว้ ต รงนั้ น โดยไม่ มี ที่ กั้ น หรื อ บอก สัญญาณให้รถคันอื่นๆ ทราบ จนเป็นเหตุก่อให้ เกิ ด อั น ตรายและเสี ย หายแก่ บุ ค คลอื่ น จะมี ค วามผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ทางหลวง พ.ศ.2535 แก้86 ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 42 วรรค 1 มีโทษปรับ ไม่เกินห้าพันบาท ตามมาตรา 69
74
ตอนที่ 75 สิ่งปลูกสร้างในเขตทางหลวง
บนไหล่ทางหลวง สิ่งที่จะพบเห็นจนชินตาในขณะเดินทางไปยังสถานที่ 75 ต่างๆ คือ เพิงร้านค้าขายอาหารต่างๆ ที่ตั้งเรียงรายตามไหล่ทางหลายสาย และ บางครั้งก็มีการรุกล�้ำเข้ามาในเขตทางหลวงที่มียานพาหนะสัญจรผ่านไปมาและ ท�ำให้เกิดอันตราย อย่างไร ก็ตาม ในบางกรณีที่มีความ จ�ำเป็นจะต้องมีสิ่งปลูกสร้าง หรือร้านค้าไว้ส�ำหรับผู้ขับขี่ ทีเ่ ดินทางไกลๆ เพือ่ ซือ้ อาหาร ระหว่างเดินทาง จะต้องได้ รั บ อนุ ญ าตจากเจ้ า หน้ า ที่ มิ ฉ ะนั้ น ผู ้ ท่ี ก ่ อ สร้ า งสิ่ ง ใด ในเขตทางหลวงจะมีความผิด ตามพระราชบัญญัตทิ างหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 47 วรรค 1 และมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 89 สามปี ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 72
75
ตอนที่ 76 การควบคุมทางหลวงพิเศษ
บนทางหลวงประชาชนสามารถขับยีย่ านพาหนะได้ทกุ ประเภท ไม่วา่ จะเป็น รถขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ รถบรรทุกหรือรถยนต์ส่วนบุคคลแต่มีทางหลวง อีกประเภทหนึง่ ทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ใช้กบั ยานพาหนะบางประเภท ซึง่ ทางหลวงประเภทนี้ เรี ย กว่ า “ทางหลวงพิ เ ศษ” โดยจะห้ า มรถบางชนิ ด ที่ มี ค วามเร็ ว ช้ า เช่ น รถสามล้อเครือ่ ง รถจักรยาน 76หรือรถจักยายนต์ เป็นต้น หรือทางหลวงพิเศษทีห่ า้ ม รถบรรทุกขนาดใหญ่ผ่าน เพราะอาจท�ำให้ช�ำรุดเสียหาย ทั้งนี้ ทางหลวงพิเศษ จะมีป้าย หรือสัญญาณ เตื อ นห้ า มยานพาหนะ ประเภทนั้ น ๆ ขั บ ขี่ โ ดย แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ซึ่ ง หากผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น น�ำ ยานพาหนะผิ ด ประเภท ขึน้ ไปใช้บนทางหลวงพิเศษ ก็ จ ะ มี ค ว า ม ผิ ด ต า ม พระราชบัญญัตทิ างหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 54 มีโทษจ�ำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 73/1
76
ตอนที่ 77 การใช้ทางหลวง ที่ยังไม่เปิดให้ใช้งาน ทางหลวง เป็นถนนทีก่ อ่ สร้างไว้เพือ่ ให้ประชาชน ใช้ประโยชน์ในการจราจร สาธารณะทางบก ทั้งนี้หากทางหลวงใดก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง หรืออาจ 77 มีการก่อสร้างแล้วเสร็จในบางช่วง หรือสร้างเสร็จแล้วทัง้ หมด แต่หากรัฐยังไม่เปิด อนุญาตให้ ใช้ ประชาชนก็ ไม่สามารถ ใช้ทางหลวงนั้นได้ จนกว่าจะเปิดใช้อย่าง เป็นทางการ และหากมีผู้ใดฝ่าฝืนเข้าไปใช้ ทางหลวงที่ยังไม่เปิดให้ใช้งาน จะมี ค วามผิ ด ตามพระราช บัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไ ขฉบั บ ที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 60 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน สามเดือน ปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทัง้ จ�ำทงั้ ปรับ ตามมาตรา 73/1
77
ตอนที่ 78 การบรรทุกน�้ำหนักเกิน บนทางหลวง ทางหลวงคือถนนซึ่งจัดไว้เพื่อประโยชน์ คือ ถนนซึ่งจัดไว้เพื่อประโยชน์ ในการจราจรสาธารณะ ซึง่ ในแต่ละวันมีประชาชน ผู้ใช้รถ ใช้ถนนสัญจรผ่านไปมา จ�ำนวนมาก จึงจ�ำเป็นต้องมีการควบคุมดูแล และบ�ำรุงรักษาเพื่อให้มีระยะเวลา ใช้งานที่ยาวนาน รัฐบาลจึงมีกฎหมายควบคุมการใช้ทางหลวงอย่างเคร่งครัด เพราะทางหลวงจะต้องรับน�้ำหนักยานพาหนะที่สัญจรตลอดเวลา ส่งผลให้ อาจเกิดการช�ำรุดเสียหายได้โดยเร็ว และต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซมจ�ำนวนมาก ดังนั้น รัฐจึงก�ำหนดน�้ำหนักรถบรรทุกขนาดใหญ่ ที่ใช้ขับขี่บนทางหลวงไว้ โดยรถบรรทุกที่ใช้ทางหลวง จะต้องเข้าชั่งน�้ำหนักตามที่ก�ำหนดไว้ตามเส้นทาง 78 เสมอและหากผู้ใดใช้ยานพาหนะทีม่ นี ำ�้ หนักบรรทุกหรือนำ�้ หนักเกินกว่าทีก่ �ำหนด ซึ่ ง อาจท�ำให้ ท างหลวงเสี ย หาย ผู้นั้นจะมีความผิดตามพระราช บัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ ไขฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 มาตรา 61 วรรค 1 และมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน หกเดือน ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามมาตรา 73/2
78
ตอนที่ 79 ความผิดเกี่ยวกับการล่าสัตว์สงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครอง
การบุ ก รุ ก ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละการล่ า สั ต ว์ ป ่ า โดยเฉพาะสั ต ว์ ป่าสงวน หรือสัตว์ป่าคุ้มครอง ส่งผลให้ปริมาณสัตว์ป่าจ�ำนวนลดน้อยลง ถึงแม้ จะมีกฎหมายและมีบทลงโทษค่อนข้างรุนแรงต่อผู้กระท�ำผิดก็ตาม ดังนั้นทุกคน ควรช่วยกันดูแลอนุรักษ์เพื่อไม่ให้สัตว์เหล่านั้นสูญพันธุ์ ทั้งนี้ หากผู้ใดฝ่าฝืน กระท�ำความผิดโดยการล่าหรือพยายามล่าสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครอง ผู้นั้นก็จะมีความผิดตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 มาตรา 47 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 16
79
ตอนที่ 80 ความผิดฐานครอบครองสัตว์สงวน หรือซากสัตว์ป่าคุ้มครอง สัตว์ปา่ บางชนิดใกล้จะสูญพันธุ์ หรือมีจ�ำนวนน้อยลง รัฐจึงจ�ำเป็นต้องมี มาตรการคุ้มครองป้องกัน โดยหากผู้ใดมีสัตว์ ซากสัตว์ป่าสงวน หรือซากสัตว์ ป่าคุ้มครองไว้ในครอบครอง โดยไม่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมป่าไม้ และไม่ได้ ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดในกฎกระทรวงและเงื่อนไขที่ก�ำหนดไว้ในใบอนุญาต ผู้ที่ ฝ่าฝืนจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 มาตรา 47 ประกอบมาตรา 19 วรรค 1 มีโทษจ�ำคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกิน สี่หมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
80
ตอนที่ 81 ค้าสัตว์สงวนหรือ ซากสัตว์ป่าคุ้มครอง 81
การป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี ก าร ล่ า สั ต ว์ ป ่ า สงวน หรื อ สั ต ว์ ป ่ า คุ ้ ม ครอง โดยด�ำเนิ น การทาง กฎหมายกั บ ผู ้ ที่ รั บ ซื้ อ ซากสั ต ว์ หรือค้าสัตว์ เพราะหากไม่มผี รู้ บั ซือ้ หรื อ แหล่ ง รั บ ซื้ อ ความต้ อ งการ ล่ า สั ต ว์ ย ่ อ มจะน้ อ ยลงไปด้ ว ย ดังนั้น กฎหมายจึงห้ามไม่ให้มีการ ค้าสัตว์ ซากสัตว์ปา่ ทีส่ งวน สัตว์ปา่ คุ้มครอง หรือผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจาก ซากสั ต ว์ ป ่ า ดั ง กล่ า ว หากผู ้ ใ ด ฝ่าฝืนก็จะมีความผิดตามพระราชบัญญัตสิ งวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2535 มาตรา 50 ประกอบมาตรา 20 วรรค 1 มีโทษจ�ำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
81
ตอนที่ 82 การค้าประเวณี (1) 82
การใช้ชีวิตแบบฟุ่มเฟือย และยึดติดกับวัตถุนยิ ม ท�ำให้บางคน หาเงิ น มาสนองความต้ อ งการ ของตนเอง และยอมท�ำทุกสิ่งเพื่อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น เงิ น ทอง ซึง่ บางครัง้ ยอมท�ำผิดประเพณีหรือ ศีลธรรมอันดีงาม โดยยอมเสนอ ตั ว เพื่ อ แลกกั บ เงิ น ตราหรื อ ค้ า ประเวณี อย่างไรก็ตามการกระท�ำ ดังกล่าวนอกจากจะผิดศีลธรรม อั น ดี ง ามแล้ ว ยั ง เป็ น ความผิ ด ตามกฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ ป ้ อ งกั น และ ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539มาตรา 5 ซึ่งถ้าผู้กระท�ำในลักษณะเข้า ติดต่อ ชักชวน แนะน�ำตัว ติดตาม รบเร้าบุคคลตามถนนหรือสาธารณะสถานหรือ กระท�ำการดังกล่าวในที่อื่นใดเพื่อการค้าประเวณีเป็นการเปิดเผยและน่าอับอาย หรือเป็นที่เดือดร้อนร�ำคาญแก่สาธารณชน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
82
ตอนที่ 83 การค้าประเวณี (2)
83
การค้าประเวณีถือเป็นการกระท�ำที่ผิดกฎหมาย ซึ่งยังพบว่ามีการ ค้าประเวณีตามแหล่งสถานบริการในหลายพื้นที่ หรือบางครั้งใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ต ่ า งๆ ในการติ ด ต่ อ เพื่อค้าประเวณี การกระท�ำดัง กล่าวถือว่าเป็นการกระท�ำผิด กฎหมาย ดังนั้น หากมีบุคคลใด กระท�ำการโดยโฆษณาชักชวน หรือแนะน�ำด้วยเอกสาร สิง่ พิมพ์ หรื อ กระท�ำให้ เ ผยแพร่ ด ้ ว ย วิ ธี ใ ดไปยั ง สาธารณะ หรื อ เป็ น การเรี ย กร้ อ ง ติ ด ต่ อ เพือ่ การค้าประเวณี บุคคลดังกล่าว ย่ อ มมี ค วามผิ ด ตามพระราช บัญญัติป้องกันและ ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 มาตรา 7 มีโทษ จ�ำคุกตัง้ แต่หกเดือนถึงสองปี ปรับตัง้ แต่หนึง่ หมืน่ ถึงสีห่ มืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ
83
ตอนที่ 84 การค้าประเวณี (3)
การเปิดสถานบริการค้าประเวณี ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการ ผู้ดูแล ผูจ้ ดั การ หรือแม้แต่ผคู้ วบคุมผูค้ า้ ประเวณีในสถานบริการค้าประเวณี จะมีความผิด และมีอัตราโทษสูง เนื่องจากเป็นการประกอบอาชีพต้องห้ามตามกฎหมาย และได้ทรัพย์สินเงินทองบนความทุกข์ยากของคนอื่น ซึ่งถือว่าประกอบอาชีพ ที่ไม่สจุ ริต หากผู้ใดกระท�ำการดังกล่าว จะมีความผิดตามพระราชบัญญัตปิ อ้ งกัน และปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. 2539 มาตรา 11 วรรคหนึ่ง จ�ำคุกตั้งแต่ สามปีถงึ สิบห้าปี และปรับตัง้ แต่หกหมืน่ บาทถึงสามแสนบาท หากผูก้ ระท�ำความผิด เกี่ยวกับสถานการค้าประเวณีที่มีบุคคลอายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปี ต้อง ระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปี และปรั บ ตั้ ง แต่ ห นึ่ ง แสนบาทถึ ง สามแสนบาทตามมาตรา11วรรคสอง และหากผู้กระท�ำความผิดเกี่ยวกับ สถานการค้าประเวณีมีเด็กอายุไม่ เกิน 15 ปี ท�ำการค้าประเวณีอยู่ ด้วย จะมีโทษจ�ำคุกตั้งแต่สิบปีถึง ยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาท ถึงสีแ่ สนบาท ตามมาตรา 11 วรรค สาม
84
ตอนที่ 85 การค้าประเวณี (4)
การกักขังหน่วงเหนี่ยว ท�ำให้ ผู ้ อื่ น ปราศจากเสรี ภ าพ จะมีโทษตามประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 310 แต่ถ้ากรณี ทีบ่ คุ คลใดมีการกักขัง หน่วงเหนีย่ ว โดยท�ำให้ผอู้ นื่ ปราศจากเสรีภาพ ในร่างกาย หรือท�ำร้ายร่างกาย ขู่เข็ญด้วยประการใดๆ ว่าจะใช้ ก�ำลั ง ประทุ ษ ร้ า ยผู ้ อื่ น เพื่ อ ข่ ม ขื น ใจให้ ผู ้ อื่ น กระท�ำการ ค้าประเวณี ถือว่าเป็นความผิดทีม่ ผี ลโดยตรงต่อความสงบสุขและศีลธรรมอันดี ของประชาชน ดังนั้น จึงมีอัตราโทษสูงและรุนแรงกว่าประมวลกฎหมายอาญา จะมีโทษตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2539 มาตรา 12 วรรคหนึ่ง โทษจ�ำคุกตั้งแต่สิบปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาท ถึงสี่แสนบาท
85
ตอนที่ 86 การฉ้อโกงประชาชน 86
มิจฉาชีพที่มีลักษณะแต่ง ตัวดี ดูนา่ นับถือ หรือพูดจานุม่ นวล เพื่อชักชวนให้ประชาชนหลงเชื่อ แล้ ว หลอกลวงเงิ น ในรู ป แบบ ต่างๆ เช่น การจัดตั้งบริษัทขึ้นมา แล้วโฆษณาชวนเชื่อให้ประชาชน ร่ ว มลงทุ น ในรู ป แบบสมาชิ ก โดยชักจูงให้ผลตอบแทนมากกว่า สถาบันการเงินก�ำหนดหลายเท่าตัวหรือชักชวนให้หาสมาชิกมาร่วมลงทุนเพิ่ม เป็นทอดๆ และน�ำเงินหรือทรัพย์สินจากผู้ที่มาร่วมลงทุนรายใหม่มาจ่ายให้แก่ ผูท้ เี่ ป็นสมาชิกทีอ่ ยูก่ อ่ นในลักษณะหมุนเวียน ซึง่ ผูเ้ ป็นสมาชิกรายแรกๆ อาจจะได้ ผลตอบแทนตามที่มีการโฆษณาจริงแต่ภายหลังเมื่อไม่มีสมาชิกเพิ่มเข้ามา กลุ่มบุคคลหรือบริษัทนั้นๆ ก็ ไม่สามารถน�ำเงินมาช�ำระให้แก่สมาชิกที่เพิ่มขึ้นได้ ในกรณีดงั กล่าวถือว่าบุคคลหรือบริษทั ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ด�ำเนินการในลักษณะแชร์ลกู โซ่ ซึง่ เป็นการกระท�ำความผิดฐานกูย้ มื เงินทีเ่ ป็นการฉ้อโกงประชาชน ตามมาตรา 4 แห่งพระราชก�ำหนดการกูย้ มื ทีเ่ ป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 โดยผูก้ ระท�ำ ผิดจะมีโทษจ�ำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ ตามมาตรา 12
86
ตอนที่ 87 การขึ้นทะเบียน แรงงานต่างด้าว ปัจจุบันแรงงานเป็นปัญหาหนึ่ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั งคม นายจ้างส่วนใหญ่ ต้องการที่จะจ่ายค่าแรงให้กับแรงงาน จ�ำนวนน้อยจึงใช้วิธีจ้างแรงงานจาก คนต่างด้าวแทนแรงงานที่เป็นคนไทย อย่างไรก็ตามการจ้างบุคคลต่างด้าวนัน้ ผู ้ เ ป็ น นายจ้ า งจะต้ อ งด�ำเนิ น การ ขึ้ น ทะเบี ย นให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารท�ำงาน ของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 โดยแรงงาน ต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานจะต้องมีใบอนุญาตการท�ำงานในประเทศไทยและต้อง ท�ำงานตามประเภทลั ก ษณะของงานตามสถานที่ ห รื อ ท้ อ งที่ ก�ำหนดไว้ ด ้ ว ย ซึง่ ใบอนุญาตท�ำงานจะมีอายุไม่เกินสองปีนบั แต่วนั ทีอ่ อกใบอนุญาตโดยสามารถ ต่อใบอนุญาตได้
87
ตอนที่ 88 การฉายภาพยนตร์
ผู้ประกอบกิจการโรงภาพยนตร์ จะต้องด�ำเนินการขอจดทะเบียนต่อ เจ้าหน้าทีใ่ ห้ถกู ต้อง และในกรณีที่ได้เปิดกิจการมาแล้วและมีการเปิดฉายภาพยนตร์ ที่มาจากต่างประเทศ มีสัดส่วนน้อยกว่าภาพยนตร์จากประเทศไทย ตามที่ คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดที ศั น์แห่งชาติประกาศก�ำหนดไว้ ตามมาตรา 9(4) แห่งพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์ และวีดีทัศน์ พ.ศ.2551 จะถือว่าเจ้าของ โรงภาพยนตร์ มี ค วามผิ ด โดยต้ อ งช�ำระค่ า ปรั บ ทางปกครองตามอั ต ราที่ นายทะเบียนกลางประกาศก�ำหนด ไม่เกินสามแสนบาท ตามมาตรา 68
88
ตอนที่ 89 ใบอนุญาตประกอบกิจการ 89
เจ้าของกิจการทุกประเภทจะต้องติดใบอนุญาตประกอบกิจการแสดงไว้ให้ เห็นอย่างชัดเจน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบอย่างถูกต้องว่า สถานที่ประกอบ การนั้นๆ ได้แจ้งจดประเภทธุรกิจตรงและถูกต้องหรือไม่ กรณีโรงภาพยนตร์ มักจะจัดสร้างให้ทบึ และค่อนข้างมืด และมีการใช้พนื้ ทีโ่ ฆษณาหนังมากกว่าการให้ ความส�ำคัญในการติดใบอนุญาตประกอบกิจการ ดังนั้นหากโรงภาพยนตร์ใด ไม่ด�ำเนินการมีความผิดตามพระราชบัญญัตภิ าพยนตร์และวีดที ศั น์ พ.ศ. 2551 มาตรา 41 เช่นกัน
89
ตอนที่ 90 เครื่องมือแพทย์ (1)
ผู้ประกอบกิจการคลินิกเสริมความงามที่ผลิตและน�ำเข้าเครื่องมือแพทย์ ผิดกฎหมาย ถือว่ามีความผิด เนือ่ งจากบุคคลใดผลิต หรือน�ำเข้าเครือ่ งมือแพทย์ โดยไม่จดทะเบียนสถานประกอบการต่อผู้อนุญาตถือว่ากระท�ำผิดตามพระราช บัญญัตเิ ครือ่ งมือแพทย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 15 วรรคหนึง่ ต้องจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 85
90
ตอนที่ 91 เครื่องมือแพทย์ (2)
เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ใช้ ในการ ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ จึงมีมิจฉาชีพแสวงหาผลประโยชน์ ให้ตนเอง เช่ น เปิ ด เป็ น สถานที่ ผ ลิ ต และน�ำเข้ า เครื่ อ งมื อ แพทย์ โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตจาก เจ้าหน้าทีห่ รือจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นการกระท�ำ ดั ง กล่ า วถื อ ว่ า มี ค วามผิ ด ตามพระราชบัญญัติเครื่อง มือแพทย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 17 วรรคหนึ่ ง ต้ อ งระวาง โทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 86 วรรคหนึ่ง
91
ตอนที่ 92 เครื่องมือแพทย์ (3)
ปัจจุบนั มีการซือ้ ขายสินค้าทางสือ่ สังคมออนไลน์ ได้รบั ความนิยมมากขึน้ เนื่องจากมีความสะดวกสบาย สามารถสั่งซื้อสินค้าได้ตลอดเวลา แต่ยังมีสินค้า บางประเภทที่ รั ฐ ไม่ อ นุ ญ าต ให้มีการขาย ได้แก่ เครื่องมือ แพทย์ ซึ่ ง หากผู ้ ใ ดจ�ำหน่ า ย เครื่ อ งมื อ แพทย์ โ ดยไม่ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าต ถื อ ว่ า ผู ้ นั้ น กระท�ำผิดตามพระราชบัญญัติ เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 24 วรรคหนึ่ ง ต้ อ ง จ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจ�ำ ทั้ ง ปรั บ ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 89 วรรคหนึ่ง
92
ตอนที่ 93 เครื่องมือแพทย์ (4)
ปัจจุบันตลาดเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ในประเทศมีแนวโน้ม สู ง ขึ้ น ตามความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ท างการแพทย์ และความ ต้องการของตลาดทีต่ อบสนอง ต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต และปั ญ หา สุขภาพของประชาชน ดังนั้น หากผู ้ ป ระกอบการใดผลิ ต เครือ่ งมือแพทย์ โดยได้แจ้งจด สินค้าส่งออกยังต่างประเทศ แต่กลับน�ำมาขายในประเทศไทยแทน ถือว่าผู้ประกอบการรายนั้น ได้กระท�ำผิด พระราชบัญญัติ เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2551 131 มาตรา 34 วรรคสอง ต้องจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษมาตรา 94 วรรคสอง 93
93
ตอนที่ 94 คลินิกความงามเถื่อน
ปั จ จุ บั น คลิ นิ ก เสริ ม งามเป็ น ที่ นิ ย มอย่ า งมาก เพราะผู ้ ค นส่ ว นใหญ่ หันมาให้ความสนใจกับสรีระร่างกายตนเองมากขึน้ กว่าเดิมไม่วา่ จะเป็นการเสริม จมูก คาง ทรวงอก ตา การดูดไขมัน หรือการลบรอยเหี่ยวย่นบนใบหน้า เป็นต้น ท�ำให้มีมิจฉาชีพฉกฉวยโอกาสเข้ามาหารายได้ จากการให้บริการเสริมความ งามในรูปแบบคลินกิ เถือ่ นที่ไม่ได้มาตรฐานและไม่ได้รบั อนุญาตอย่างถูกต้องตาม กฎหมาย ท�ำให้กลุ่มผู้บริโภคที่หลงเชื่อและตกเป็นเหยื่อเข้าไปใช้บริการจนได้รับ ความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สิน94 และต่อสุขภาพร่างกาย หรืออาจร้ายแรงถึงขั้น เสียชีวิตได้ หากตรวจสอบพบว่าผู้ใดเปิดคลินิก โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 จะต้องโทษจ�ำคุกสามปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หกหมื่ น บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และศาลจะ สั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใช้ในการ ประกอบกิจการสถานพยาบาล ด้วยก็ ได้ ตามมาตรา 57 132
94
ตอนที่ 95 ร้านขายยาไม่มีเภสัชกร
95 หากเกิดอาการเจ็บป่วยแต่ ไม่ ไปพบแพทย์ที่คลินิกหรือโรงพยาบาล ที่ มี แ พทย์ ป ระจ�ำอยู ่ แต่ ก ลั บ หาซื้ อ ยาเองจากร้ า นขายยาแผนปั จ จุ บั น มา รับประทาน ข้อควรระวัง คือ ควรตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่ามีร้านมีใบอนุญาต และเลขจดทะเบี ย น อนุ ญ าตให้ ข ายยาได้ หรือไม่ หรือร้านขายยานัน้ มีเภสัชกรประจ�ำร้าน หรือไม่ เนื่องจากถ้าใช้ ยาไม่ถูกต้องอาจท�ำให้ เกิดอันตรายได้ ดังนั้น ถ้าท่านไม่ซอื้ ยาโดยตรง จากเภสั ช กร อาจมี ผลกระทบจากการใช้ยาไม่ถูกต้องได้ หากพบว่า ร้านขายยาไม่มีเภสัชกร 133 อยูป่ ระจ�ำร้านตลอดเวลาทีร่ า้ นยาเปิดให้บริการ ถือว่ามีความผิดตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. 2550 และมีโทษปรับตัง้ แต่หนึง่ พันบาทถึงห้าพันบาท ตามมาตรา 109
95
ตอนที่ 96 การสอบสวนคดีพิเศษ (1)
กรมสอบสวนคดีพิเศษ ถือว่าเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีบทบาทในการช่วย เหลือ และตรวจสอบในการพิสจู น์หาหลักฐานในคดีตา่ งๆ ซึง่ เป็นไปในลักษณะของ การสืบค้นหาผูก้ ระท�ำผิด หรือ เสาะหาเบาะแสของผูต้ อ้ งหาทีต่ อ้ งการอ�ำพรางคดี ที่ได้กอ่ ไว้ เช่น นายสุจริต เป็นเจ้าพนักงานของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ได้รบั ค�ำสัง่ ให้หาข้อมูลการกระท�ำผิดของผู96 ้ต้องหารายหนึ่ง แต่นายสุจริตได้ปกปิดข้อมูล ทีแ่ ท้จริง หรือไม่รายงานข้อเท็จจริงให้ผบู้ งั คับบัญชารับทราบ เนือ่ งจากผูต้ อ้ งหา ในคดี ที่ ต นสอบสวนอยู ่ เ ป็ น ญาติกัน กรณีดังกล่าวถือว่า นายสุ จ ริ ต ได้ ก ระท�ำผิ ด ตาม พระราชบัญญัติการสอบสวน คดีพเิ ศษ พ.ศ. 2547 มาตรา 40 ทั้ ง นี้ นายสุ จ ริ ต ในฐานะเป็ น เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้กระท�ำผิด ซึง่ เป็นความผิดอาญา โดยต้อง ระวางโทษ เป็ น สองเท่ า ของ บทก�ำหนดโทษที่ ได้ก�ำหนดไว้ ส�ำหรับความผิดนั้น 53
96
ตตอนที อนท่ี 9977 กการสอบสวนคดี ารสอบสวนคดพ ี เิศศษ ษ ((2) 2)
กการเก็ ารเกบ็บขข้อ้อมมูลูลหหรืรอือรรายละเอี ายละเอยียดดเกี เกย่ี่ยววกั กบับคคดี ดตีตา่่างงๆ ๆ ขของพนั องพนกักงงานสอบสวน านสอบสวน คคดี ดพ ี พเิิเศศษ ษ ถถือือเเป็ ปน็นคความลั วามลบับออันันสสูงูงสสุดุดใในการประกอบพิ นการประกอบพจิจาารณาคดี รณาคดขีขอองศาล งศาล โโดยจะ ดยจะ ตต้อ้องงส่ สง่งขข้อ้อมมูลูลททีเ่ีเ่ ปป็น็นขข้อ้อเเท็ ทจ็จจจริรงิงแและ ละ ตต้อ้องงมี มกีกาารกลั รกลน่ัน่ กกรองเรี รองเรยียบบร้รอ้อยยแล้ แลว้ว ททั้ัง้งนนี้ี ้ หหากข้ ากข้ออมมููลลดดัังงกกล่ ล่าาววมี มีกกาารร เป เปิดดเผยออกไปสู เผยออกไปสู ส่ สาธารณชน าธารณชน โโดยคดี ด ย ค ดี คคววามยั า ม ยั งงไไม่ ม ่ สส้ิ นิ้ นสสุุ ดด เเช่ ช ่ นน นายดำา ป ็ นนนนัั กกขข่่ าาววที ท่ี ม่ มี หี หนน้้ าาทที่ี ่ นายด� ำ เเป็ ทำา เ ก่ี ย่ ยววกั กั บบคคดี ดี ตต่ า่ างงๆ ๆ แแอบ อบ ท� ำขข่่ าาววเกี เเอาข้ อ า ข ้ ออมมูู ลลลลัั บบทที่ี ก่ กรรมสอบสวน มสอบสวน คคดี ดพีพเิเศิ ศษก� ษกำา สาะหาขอ้อเเท็ ทจ็จจจริรงิง ำลลังังสสืบืบเเสาะหาข้ อยู าเปดดเผย อยูแ่และนำา ละน�ำมมาเปิ เผย โดยไม โดยไม่ไไดด้ รรับับออนุ นญ ุ ญาาตและเห็ ตและเหน็นชชอบจากหน่ อบจากหนว่วยยงานก่ งานกอ่อนนกกรณี รณดีดงังั กกล่ ลา่าววถถือือวว่า่านนายด� ายดำา ระทำาด ำกกระท� ำผผิิ ด เเนื นอ่ือ่ งงจากเปิ จากเปดิดเเผยข้ ผยขอ้อมมูลูลขข่า่าววสารตามพระราชบั สารตามพระราชบญ ั ญญ รสอบสวนคดพ ี พเิเิศศษ ษ พพ.ศ. .ศ. ญัตัตกิกิ าารสอบสวนคดี 22547 547 มมาตรา าตรา 2266 โโดยมี ดยมโีโททษจ� ษจำา ตส่สาามปี มปถีถงึงึ หห้า้าปปีี หหรืรอือปปรัรบับตตัง้ัง้ แแต่ ตห่หกกหมื หมน่ืน่ บบาท าท ำคคุกุกตตัง้ัง้ แแต่ ถถึงึงสสามแสนบาท ามแสนบาท หหรืรอือททัง้ั้งจจ�ำา ามมาตรา 3399 ำททัง้ั้งปปรัรบับ ตตามมาตรา
97
ตอนที่ 98 เปิดเผยข้อมูลผู้ป่วยทางจิต
ปัจจุบนั แนวโน้มประชาชนมีปญ ั หาด้านสุขภาพจิต และมีความเครียดเพิม่ มากขึ้น เนื่องจากปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม บางครั้งก็ ไปปรึกษาจิตแพทย์ หรื อ นั ก จิ ต วิ ท ยา เพื่ อ ขอ ค�ำปรึกษาและรักษาอาการ ทางจิต ทั้งนี้ ข้อมูลต่างๆ ของผู ้ ที่ ไ ปรั บ ค�ำปรึ ก ษา ถื อ เป็ น ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล และต้องเก็บเป็นความลับ ทั้ ง นี้ ห ากจิ ต แพทย์ หรื อ นักจิตวิทยา น�ำข้อมูลด้าน สุขภาพของผูป้ ว่ ยไปเผยแพร่ ส่งผลอาจท�ำให้เกิดความ เสียหายแก่ผู้ป่วย จะมีความผิดตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 โดยจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือปรับไม่เกินสองหมืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามมาตรา 50 วรรคหนึ่ง
98
ตอนที่ 99 กลั่นแกล้ง แจ้งความเท็จ
นายด�ำ กับนายแดง เป็นเพือ่ นบ้านกันแต่มเี หตุตอ้ งผิดใจ เนือ่ งจากนายด�ำ เมื่ออยู่ในบ้านคนเดียวจะชอบเปิดเพลงเสียงดังและท�ำเสียงอึกทึกครึกโครม อยู่เสมอ แต่เมื่อออกมาอยู่ภายนอกบ้าน นายด�ำจะกลายเป็นคนสุขุมเงียบขรึม พฤติกรรมของนายด�ำ ท�ำให้นายแดง เข้าใจว่านายด�ำเป็นคนวิตกจริต และเพื่อ เป็นการดัดนิสัยนายด�ำที่ชอบเปิดเพลงเสียงดังน่าร�ำคาญ นายแดงจึงเข้าไปแจ้ง ความต่อเจ้าพนักงาน ว่า นายด�ำ มีอาการทางจิต มีพฤติกรรมก้าวร้าว แต่เมื่อ ทางเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบพบว่า นายด�ำ มีอาการทางจิตปกติทุกอย่างไม่ส่อ อาการใดๆ ตามทีน่ ายแดง แจ้งเรือ่ งไว้ เหตุดงั กล่าวจึง ท�ำให้นายด�ำไม่ยอมความ นายแดง เนื่องจากท�ำให้ ตนเองได้รับความอับอาย จากเหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า ว นายแดงได้ ก ระท�ำผิ ด ในฐานแจ้งข้อความ เป็ น เท็ จ ต่ อ เจ้ า พนั ก งาน ต้ อ งจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น หนึ่ ง ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น สองหมื่ น บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 มาตรา 23 และมาตรา 51
99
ตอนที่ 100 อาชีพนักแสดง (1)
ดารานั ก แสดงที่ มี ชื่ อ เสี ย งและเป็ น ที่ ชื่ น ชอบ ของประชาชน จะน�ำมาซึ่ ง ชื่อเสียงและเงินทอง ดังนั้น สิ่ ง ส�ำคั ญ ที่ ด ารานั ก แสดง ทุกคนควรให้ตอ้ งความส�ำคัญ คื อ ความรู ้ ด ้ า นกฎหมาย เพราะบางครั้ ง อาจจะถู ก ละเมิดสิทธิ์จากผู้อื่นได้ เช่น กรณี ก ารเผยแพร่ ค ลิ ป หรือภาพ โดยไม่ได้รบั อนุญาต จากดารานักแสดงผู้เป็นเจ้าของภาพนั้น ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 52 ประกอบมาตรา 44 มีโทษปรับตัง้ แต่สองหมืน่ บาท ถึงสองแสนบาท ตามมาตรา 69
100
ตอนที่ 101 อาชีพนักแสดง (2)
อาชี พ ดาราได้ รั บ ความนิ ย มเป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากเป็ น อาชี พ ที่ มี รายได้สูง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นดาราที่มีชื่อเสียงนอกเหนือจากการแสดงละครแล้ว หน่วยงานต่างๆ ก็จะมีการจ้างถ่ายโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ แต่ บ างโอกาสนั ก แสดงได้ รั บ ค่ า จ้ า งอย่ า งไม่ เ ป็ น ธรรม หรื อ ไม่ เ ป็ น ไปตาม ข้อตกลง กรณีดงั กล่าว ถือว่าผูว้ า่ จ้างได้กระท�ำผิด มีโทษปรับตัง้ แต่สองหมืน่ บาท ถึ ง สองแสนบาท ตามพระราชบั ญ ญั ติ ลิ ข สิ ท ธิ์ พ.ศ.2537 หมวด 2 สิทธิ์ของนักแสดง
101
ตอนที่ 102 เลื่อยโซ่ยนต์ (1)
เลื่อยโซ่ยนต์ เป็นเครื่องมือส�ำหรับใช้ตัดไม้หรือแปรรูปไม้ที่มีฟันเลื่อย ติดกับโซ่ซงึ่ ขับเคลือ่ นด้วยก�ำลังเครือ่ งจักรกล และให้ หมายความรวมถึงส่วนหนึง่ ส่ ว นใดที่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบของ เครื่องมือดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ ตามที่ รั ฐ มนตรี ก�ำหนด ในกฎกระทรวง หากผู้ใด ต ้ อ ง ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ น�ำเข้ า เลื่ อ ยโซ่ ย นต์ จากต่างประเทศ ต้องได้ รั บ อ นุ ญ า ต จ า ก นายทะเบียนเลื่อยโซ่ยนต์ ก่ อ นทุ ก ครั้ ง หากไม่ ป ฏิ บั ติ ตามถือว่า มีความผิดตามพระราช บัญญัตเิ ลือ่ ยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 มาตรา 4 วรรคหนึง่ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 17
102
ตอนที่ 103 เลื่อยโซ่ยนต์ (2)
การดัดแปลงเลื่อยโซ่ยนต์โดยไม่ได้รับอนุญาต เพื่อให้สามารถใช้งาน ได้มากขึ้น โดยการดัดแปลงให้มีก�ำลังเครื่องยนต์ที่มีอยู่เพิ่มขึ้นจากที่ระบุไว้ ในใบอนุญาต โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนเลื่อยโซ่ยนต์ตามมาตรา 4 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 ถือว่าผู้นั้นมีความผิด ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท และต้องแก้ ไขให้เลื่อยโซ่ยนต์นั้นมีก�ำลัง เครื่องจักรกลเท่าที่ขออนุญาต ไว้เดิมภายในเวลาที่ศาลก�ำหนด หากไม่ปฏิบัติตาม ให้ศาลสั่งริบเลื่อยโซ่ยนต์นั้น
103
ตอนที่ 104 มรดกเลื่อยโซ่ยนต์
เลื่ อ ยโซ่ ย นต์ ถื อ เป็ น อุ ป กรณ์ ทีต่ อ้ งตกทอดเป็นมรดกให้ถกู ต้อง ต า ม ก ฎ ห ม า ย ดั ง นั้ น เมื่อเจ้าของเดิมเสียชีวิตลง ท า ย า ท ผู ้ รั บ ม ร ด ก ต้ อ งขอขึ้ น ทะเบี ย นการ ครอบครองเลื่อยโซ่ยนต์ กั บ นายทะเบี ย น ทั้ ง นี้ หากทายาทผู้รับมรดก ที่ ได้รับใบอนุญาตให้มี เลื่ อ ยโซ่ ย นต์ ไม่ แ จ้ ง การเสียชีวิตและการครอบครองต่อนายทะเบียนภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ทราบ การตายของผู้ ได้รับใบอนุญาตเดิม ถือว่ามีความผิด ตามมาตรา 11 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. 2545 โดยมีโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท ตามมาตรา 22
104
ตอนที่ 105 จ�ำหน่ายน�้ำมันปลอม
สถานีบริการน�ำ้ มันทีม่ กี ารจ�ำหน่ายน�ำ้ มันปลอมให้กบั ผูข้ บั ขีย่ านพาหนะ นอกจากจะไม่ซื่อสัตย์ต่ออาชีพของตนเองแล้ว ยังถือว่าเจ้าของกิจการสถานี บริ ก ารแห่ ง นั้ น เอารั ด เอาเปรี ย บผู ้ บ ริ โ ภคอี ก ด้ ว ย ซึ่ ง หากมี ก ารตรวจพบ สารปลอมปน หรือการกระท�ำอย่างใดอย่างหนึ่งอันเข้าข่ายในลักษณะหรือท�ำให้ คุ ณ ภาพของน�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ที่ จ�ำหน่ า ยแตกต่ า งไปจากที่ ก�ำหนดไว้ ถื อ ว่ า ผูก้ ระท�ำการปลอมปนน�ำ้ มันรายนัน้ มีความผิด ต้องจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ ไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตาม มาตรา 49 วรรคหนึ่ง แห่งพระราช บัญญัตกิ ารค้านำ�้ มันเชือ้ เพลิง พ.ศ. 2543 และถ้าเป็นการ กระท�ำของผู ้ ค ้ า น�้ ำ มั น ผู ้ ข นส่ ง น�้ ำ มั น โดยตรง ต้องโทษจ�ำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับตัง้ แต่หา้ หมืน่ บาท ถึ ง ห้ า แสนบาท หรื อ ทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามพระราช บัญญัติการค้าน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 มาตรา 49 วรรคสอง
105
ตอนที่ 106 การเรี่ยไร (1)
กลุ่มมิจฉาชีพที่มีการหลอกลวงโดย การเรี่ยไรเงินอ้างว่าท�ำเพื่อประโยชน์ราชการ เทศบาลหรื อ หน่ ว ยงาน สาธารณะต่ า งๆ แล้ ว น�ำ ท รั พ ย ์ สิ น ที่ ไ ด ้ ม า เข้ากระเป๋าตัวเอง หากพบเห็น ต้ อ งช่ ว ยกั น แจ้ ง ความ ให้เจ้าหน้าที่เพื่อด�ำเนินคดี เพราะการกระท�ำการเรีย่ ไร ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตจาก คณะกรรมการควบคุ ม การเรีย่ ไร ถือว่าบุคคลนัน้ มีความผิด ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค ว บ คุ ม การเรี่ยไร พ.ศ. 2487 มาตรา 6 วรรคหนึ่ง และบทก�ำหนดโทษมาตรา 17 ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท หรือจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ
106
ตอนที่ 107 การเรี่ยไร (2)
การเดินเรีย่ ไรขอรับบริจาคเงินสมทบกองทุนต่างๆ เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม 107หรือเป็นตัวแทนจากหน่วยงานที่ ได้รับอนุญาตโดยเฉพาะผู้ที่ ได้รับมอบหมาย จะต้องได้รบั การอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรีย่ ไรจากหน่วยงานของ รัฐก่อน และจะต้องติดบัตร แสดงตนหรือมีใบอนุญาต ในขณะที่ท�ำการเรี่ยไรนั้น ด้ ว ยทุ ก ครั้ ง เพื่ อ แสดง ความบริสทุ ธิใ์ นการกระท�ำ จะได้ไม่เข้าข่ายข้อหาแอบอ้าง กระท�ำการหลอกลวง ต้ ม ตุ ๋ น คนอื่ น ได้ แต่ ห าก บุ ค คลใดมี ใ บอนุ ญ าต ให้ ท�ำการเรี่ ย ไรได้ แ ล้ ว และออกท�ำการเรี่ ย ไร ตามค�ำสัง่ หรือตามหน้าที่ แต่กลับไม่พกใบอนุญาตในขณะท�ำการ กรณีแบบนีถ้ อื ว่า เจ้าหน้าทีผ่ นู้ นั้ มีความผิด โดยมีโทษปรับไม่เกินหนึง่ ร้อยบาท ตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการเรี่ยไร พ.ศ. 2487 มาตรา 12 และบทก�ำหนดโทษมาตรา 18
107
ตอนที่ 108 การเรี่ยไร (3)
คนไทยมี นิ สั ย ชอบท�ำบุ ญ และมั ก จะบริ จ าคสิ่ ง ของ หรื อ ทรั พ ย์ สิ น เพือ่ ช่วยเหลือผูต้ กทุกข์ ได้ยากอยูเ่ สมอ ดังนัน้ ผูท้ เี่ ป็นตัวแทนจากหน่วยงานที่ได้รบั อนุญาตให้มาท�ำการเรี่ยไรเงินหรือทรัพย์สินจากผู้บริจาค จ�ำเป็นจะต้องชี้แจง และอธิบายถึงวัตถุประสงค์ ในการเรี่ ย ไรแต่ ล ะครั้ ง ให้ ผู ้ บ ริ จ าคทราบด้ ว ย วาจาทีส่ ภุ าพ และนุม่ นวล ไม่ควรแสดงท่าทีหยาบ กระด้างหรือ ใช้ถ้อยค�ำ และวิ ธี ก ารที่ เ ป็ น การ บั ง คั บ หรื อ ท�ำให้ ผู ้ ที่ จะท�ำการบริ จ าคนั้ น รู ้ สึ ก หวาดกลั ว ก่ อ นจะ บริจาคทรัพย์ ให้ เพราะ หากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าว ถือว่าผูเ้ รีย่ ไรรายนัน้ มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการเรีย่ ไร มาตรา 16 โดยมีปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท หรือจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 20
108
ตอนที่ 109 จัดหางานโดยไม่มีใบอนุญาต
การจับกุมสถานประกอบการทีป่ ระกอบธุรกิจจัดหางานซึง่ ตัง้ ขึน้ โดยไม่มี ใบอนุญาตอย่างถูกต้อง เนื่องจากสร้างความเดือดร้อนให้กับผู้ค้าแรงงาน เป็นอย่างมาก เพราะเมื่อผู้ค้าแรงงานหลงกลเข้าไปวางหลักทรัพย์หรือเงินทอง มักจะไม่ได้ท�ำงานตามที่ตกลงกันไว้ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้มีให้เห็นค่อนข้างมาก และได้มกี ารเข้าไปร้องทุกข์ เพือ่ ให้ด�ำเนินคดีและขอคืนหลักทรัพย์ หรือเงินที่ได้วาง ประกั น งานไปจากผู ้ ค ้ า แรงงาน ต่อหน่วยงานหรือสถานที่ที่เปิด ให้บริการเหล่านั้น ซึ่งหากตรวจ พบว่ า สถานที่ ดั ง กล่ า วไม่ มี ใบอนุญาตที่ถูกต้องตามพระราช บั ญ ญั ติ จั ด หางานและคุ ้ ม ครอง คนหางาน พ.ศ. 2528 มาตรา 8 วรรคหนึ่ง จะมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน สามปี หรือปรับไม่เกินหกหมืน่ บาท หรื อ ทั้ ง จ�ำทั้ ง ปรั บ ตามมาตรา 73 (ปรับปรุงแก้ ไขบทก�ำหนดโทษ มาตรา 73 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2537)
109
ตอนที่ 110 การพาลูกจ้างไปท�ำงาน ต่างประเทศ ก ร ณี น า ย จ ้ า ง พาลู ก จ้ า งหรื อ พนั ก งาน ของตนไปท�ำงานในต่างประเทศ เพือ่ เพิม่ ทักษะและแลกเปลีย่ น ประสบการณ์และสวัสดิการ ทีด่ ขี องหน่วยงานแต่การกระท�ำ ดั ง กล่ า ว นายจ้ า งรายนั้ น ต้องแจ้งให้กบั อธิบดีจดั หางาน ทราบและอนุ ญ าตก่ อ นที่ ด�ำเนิ น การพาลู ก จ้ า งของ ตนเองไปท�ำงานในต่างประเทศได้ เพราะหากนายจ้างรายใดที่อยู่ในประเทศไทย แล้วพาลูกจ้างของตนไปท�ำงานในต่างประเทศ โดยมิได้รบั อนุญาตถือว่านายจ้าง รายดังกล่าว กระท�ำผิดกฎหมายตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติจัดหางาน และคุม้ ครอง คนหางาน พ.ศ. 2528 โดยมีโทษจ�ำคุกสามปีถงึ สิบปี หรือปรับตัง้ แต่ หกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท ตามมาตรา 82
110
ตอนที่ 111 การส่งลูกจ้างไปฝึกงาน ต่างประเทศ การเดิ น ทางออกนอก ราชอาณาจักรของบุคคลต่างๆ ต้องมีเหตุผลในการเดินทาง บาง ครัง้ เดินทางเพือ่ ศึกษาต่อ บางครัง้ เดิ น ทางเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว และการส่งลูกจ้างไปฝึกงานยัง ต่ า งประเทศ ในกรณี ข องการ เดินทางออกนอกราชอาณาจะต้อง มีแจ้งและระบุเวลาในการเดินทาง อย่างชัดเจน ยิ่งเป็นกรณีการ ส่ ง ท�ำงานหรื อ ส่ ง ฝึ ก งานของ นายจ้าง ยิง่ ต้องรีบด�ำเนินการแจ้งให้อธิบดีกรมการจัดหางานทราบและอนุญาต ก่อนส่งลูกจ้างเดินทางออกนอกราชอาณาจักร เพราะหากนายจ้างรายใด ส่งลูกจ้างไปฝึกงานเป็นระยะเวลาไม่เกิน 45 วัน และไม่ได้แจ้งต่อกรมการจัดหางาน ถือว่ามีความผิดตามมาตรา 49 ทวิ แห่งพระราชบัญญัตจิ ดั หางาน และคุม้ ครอง คนหางาน พ.ศ. 2528 ต้องโทษจ�ำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบปี หรือค่าปรับตั้งแต่ หกหมื่นถึงสามแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 82
111
ตอนที่ 112 เงินทดแทน (1)
การดู แ ลสวั ส ดิ ก ารลู ก จ้ า งในองค์ ก ารใดๆ ถื อ เป็ น เรื่ อ งพื้ น ฐานของ ข้อบังคับที่นายจ้างพึงมีและพึงกระท�ำให้กับลูกจ้าง เพราะนายจ้างมีหน้าที่ต้อง ดูแลลูกจ้างของตนเองให้ดี เมื่อมีสวัสดิการดี ลูกจ้างได้รับการดูแล จากนายจ้าง ดีแล้ว ลูกจ้างก็พร้อมที่จะทุ่มเทแรงงานและความสามารถต่างๆ โดยท�ำงาน ให้กับนายจ้างอย่างเต็มความสามารถ แต่ยังมีนายจ้างบางรายที่คอยเอารัด เอาเปรียบลูกจ้างของตนเอง นอกเหนือจากการจ่ายค่าแรงงานอย่างเดียว แต่ ไ ม่ มีสวัสดิการอื่นตอบแทน ให้กบั ลูกจ้าง ซึง่ กรณีลกู จ้างเกิด ประสบอุ บัติเ หตุ หรือเจ็บป่วย ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล แต่นายจ้างไม่ดูแลให้ความช่วย เหลือตามสิทธิที่ลูกจ้างพึงได้รับ ถือว่านายจ้างผู้นั้นมีความผิด ตามพระราชบัญญัตเิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 มาตรา 13 โดยมีโทษ จ�ำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำ ทั้งปรับ ตามมาตรา 62
112
ตอนที่ 113 เงินทดแทน (2)
เงินทดแทนที่มีให้กับลูกจ้างมี 4 ประเภท คือ 1) ค่าทดแทนกรณีลูกจ้าง ไม่สามารถท�ำงานได้ติดต่อกันเกิน 3 วัน จากการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย 2) ค่าทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะบางส่วนของร่างกาย 3) ค่าทดแทนกรณี ทุพพลภาพ และ 4) ค่าทดแทนกรณีตายหรือสูญหาย ซึ่งจ�ำนวนเงินค่าทดแทน เหล่ า นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ นายจ้ า งรั บ ลู ก จ้ า งเข้ า มาท�ำงานและหั ก เงิ น บางส่ ว น ตามกฎหมายก�ำหนดน�ำส่งประกันสังคม เพือ่ เป็นสวัสดิการให้กบั ลูกจ้าง โดยลูกจ้าง จะได้รบั เงินทดแทนเหล่านี้ ในกรณีที่ได้กล่าวมาข้างต้น และหาก ในกรณีทลี่ กู จ้าง 113 เสียชีวติ โดยปราศจากญาติในขณะทีป่ ฏิบตั หิ น้าที่ ผูท้ เี่ ป็นนายจ้างจะต้องรับภาระ หน้าที่จัดการศพให้กับลูกจ้างรายนั้น เพราะหากนายจ้างไม่ด�ำเนินการถือว่า นายจ้างผู้นั้นได้กระท�ำผิด ตามมาตรา 17 แห่งพระ ราชบั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน พ.ศ. 2537 ต้ อ งระวาง โทษจ�ำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึง่ หมืน่ บาท ตามบทก�ำหนดโทษมาตรา 62
113
ตอนที่ 114 เงินทดแทน (3)
ลู ก จ้ า งทุ ก คนต้ อ ง ได้ รั บ การคุ้มครองในด้าน ส วั ส ดิ ก า ร ต ่ า ง ๆ จ า ก กฎหมายที่บังคับให้นายจ้าง พึงกระท�ำและแสดงแบบการ ขึ้ น ทะเบี ย นลู ก จ้ า งไว้ เ ป็ น หลักฐาน รวมถึงการแสดง แบบการหักเงินจากค่าจ้าง ของลู ก จ้ า งเพื่ อ น�ำส่ ง เป็ น เงินสมทบในแต่ละเดือนด้วย นายจ้างรายใดซึง่ มีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายและน�ำส่งเงินสมทบ ต้องยืน่ แบบแสดงรายการ แสดงรายชื่อลูกจ้างตามแบบที่ก�ำหนดไว้และภายในระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนด หากนายจ้างรายใดไม่ปฏิบตั ติ าม ถือว่านายจ้างรายนัน้ มีความผิด ตามมาตรา 44 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน พ.ศ. 2537 ต้ อ งจ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น หกเดื อ น หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามบทก�ำหนดโทษมาตรา 62
114
ตอนที่ 115 เปิดเผยข้อมูลนายจ้าง
นางสาวสมใจ ท�ำงานอยู่บริษัทแห่งหนึ่งในต�ำแหน่งเจ้าพนักงานฝ่าย บุคคล โดยมีหน้าที่รับผิดชอบจัดท�ำระบบเงินเดือน และสรุปรายงานเงินทดแทน ของพนักงานและบุคลากรในบริษัททุกวัน และวันหนึ่งนางสาวสมใจได้ลาออก จากบริษัทและน�ำเอาข้อมูลต่างๆ ของบริษัทเดิมที่ตนเองรับผิดชอบในขณะ ปฏิบัติหน้าที่ติดตัวออกไปด้วย และน�ำข้อมูลเหล่านั้นไปเปิดเผยให้กับบริษัท ใหม่ ที่ น างสาวสมใจ ยื่ น เรื่ อ งสมั ค รงาน กรณี ดั ง กล่ า วถื อ ว่ า นางสาวสมใจ ได้กระท�ำผิดมาตรา 65 ตามพระราชบัญญัติ เงิ น ทดแทน พ.ศ. 2537 ฐานความผิ ด เปิ ด เผยข้ อ เท็ จ จริ ง ใดๆ เกี่ยวกับข้อมูลของนายจ้าง ซึง่ ได้รมู้ าเนือ่ งจากการปฏิบตั หิ น้าที่ หากผู้ ใดกระท�ำการดังกล่าวจะมีโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกิน สองพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
115
ตอนที่ 116 ธนบัตรปลอม (1)
ธนบัตร และเหรียญกระษาปณ์ หรือพันธบัตรรัฐบาลต่างๆ ที่ใช้ช�ำระ หนี้ ได้ตามกฎหมาย จะถูกผลิตขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐให้กับประชาชนได้ แลกเปลี่ยน ซื้อขายกัน แต่หากบุคคลใดได้ท�ำการปลอมขึ้น ไม่ว่าจะปลอมขึ้น เพื่ อ ให้ เ ป็ น ธนบั ต ร เหรี ย ญกษาปณ์ หรือพันธบัตรรัฐบาล ใบส�ำคัญ ส�ำหรับรับดอกเบีย้ พันธบัตร หรื อ สิ่ ง อื่ น ใด ซึ่ ง รั ฐ บาล ออกใช้ ห รื อ ให้ อ�ำนาจ ออกใช้ ถือว่าบุคคลผู้นั้น ก ร ะ ท�ำ ค ว า ม ผิ ด ท า ง อาญามาตรา 240 ว่าด้วย ความผิดฐานปลอมเงินตรา โดยมีโทษจ�ำคุกตลอดชีวิตหรือ จ�ำคุกตัง้ แต่สบิ ปีถงึ ยีส่ บิ ปี และปรับตัง้ แต่ สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ตามมาตรา 240
116
ตอนที่ 117 ธนบัตรปลอม (2)
ปัจจุบันยังมีธนบัตรปลอมแพร่ระบาดอยู่เป็นระยะ เนื่องจากยังมีพวก มิ จ ฉาชี พ ลั ก ลอบท�ำเครื่ อ งผลิ ต ธนบั ต รปลอม เพื่ อ น�ำขายต่ อ ในราคาถู ก ให้กับบุคคลอื่นหรือน�ำมาใช้จ่ายตามสถานที่ต่างๆ การกระท�ำดังกล่าวถือ เป็นความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ตามมาตรา 246 แห่งกฎหมาย ประมวลอาญา ซึ่งระบุว่าหาก ผู ้ ใดท�ำเครื่ อ งมื อ หรื อ วั ต ถุ ส�ำหรับปลอมหรือแปลงเงินตรา ไมว่าจะเป็นเหรียญกระษาปณ์ ธนบัตร หรือสิ่งใดๆ ซึ่งรัฐบาล ออกใช้หรือให้อ�ำนาจให้ออกใช้ หรื อ ส�ำหรั บ ปลอมหรื อ แปลง พันธบัตรรัฐบาลหรือใบส�ำคัญ ส�ำหรับรับดอกเบีย้ พันธบัตรนัน้ ๆ หรือมีเครือ่ งมือ หรือวัตถุเช่นว่านัน้ เพื่ อ ใช้ ใ นการปลอมหรื อ แปลง ต อ งระวางโทษจ�ำคุ ก ตั้ ง แต่ ห ้ า ปี ถึ ง สิ บ ห้ า ปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท
117
ตอนที่ 118 การปลอมเอกสาร (1)
118
การปลอมแปลงเอกสารข้ อ มู ล ของบุคคลอื่นหรือของหน่วยงานอื่น ที่ไม่ใช่ของตนเอง มีให้เห็นอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ๆ ทีใ่ นปัจจุบนั ได้มหี ลายหน่วยงาน ได้ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ถึ ง วิ ธี ก าร ป้องกันการน�ำเอกสารส่วนตัวไป ใช้ในกรณีตา่ งๆ และความผิดเกีย่ วกับ การปลอมเอกสาร แต่กลุม่ มิจฉาชีพ ที่ เ ห็ น ประโยชน์ ส ่ ว นตั ว มากกว่ า ความเดือดร้อนของคนอืน่ ยังคงกระท�ำ การปลอมขึน้ ทัง้ ฉบับหรือแต่สว่ นหนึง่ ส่วนใด เติมหรือ ตัดทอนข้อความ หรือแกไข ด้วยประการใดๆ ในเอกสารที่แท้จริง หรือประทับตราปลอม หรือลง ลายมือชื่อ ปลอมในเอกสาร โดยประการทีน่ า่ จะเกิดความเสียหายแกผอู้ นื่ หรือประชาชน ถ้า ได้กระท�ำเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง ผู้นั้นกระท�ำความผิด ฐานปลอมเอกสาร โดยมีโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามประมวลอาญามาตรา 264 วรรคหนึ่ง
118
ตอนที่ 119 การปลอมเอกสาร (2)
การปลอมเอกสารสิทธิอนั เป็นเอกสารราชการ พินยั กรรม ใบหุน้ ใบหุน้ กู้ หรือใบส�ำคัญของใบหุน้ หรือใบหุน้ กู้ ตัว๋ เงิน หรือบัตรเงินฝาก ขึน้ มาแทนฉบับจริง กฎหมายอาญาถื อ ว่ า ผู ้ นั้ น มี ค วามผิ ด ฐานปลอมเอกสาร ต้ อ งโทษจ�ำคุ ก ตัง้ แต่หนึง่ ปีถงึ สิบปี และปรับตัง้ แต่สองหมืน่ บาทถึงสองแสนบาท ตามมาตรา 266 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
119
ตอนที่ 120 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (1)
การใช้บตั รอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บัตรเครดิต บัตร ATM และบัตรทางการเงิน อื่นๆ ได้เป็นที่นิยมอย่างมาก เพราะสะดวก รวดเร็ว ดังนั้น จึงท�ำให้มิจฉาชีพ ฉกฉวยโอกาสท�ำการปลอมแปลงบัตรอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ท�ำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน หากผู้ ใดกระท�ำการ ปลอมแปลงบัตรอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น จะทั้งฉบับ หรือบางส่วน ตามกฎหมายถือว่า มีความผิดฐานปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ มีโทษจ�ำคุกตัง้ แต่หนึง่ ปีถงึ ห้าปี และปรับ ตัง้ แต่สองหมืน่ บาทถึ 120งหนึง่ แสนบาท ตามมาตรา 269/1 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
120
ตอนที่ 121 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (2)
การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มบุคคลที่ได้คิดประดิษฐ์หรือได้จัดท�ำ เครือ่ งมือทีใ่ ช้เพือ่ การปลอมข้อมูลอันแท้จริงของบุคคลอืน่ ไม่วา่ จะเป็นบัตรเอทีเอ็ม บั ต รเครดิ ต บั ต รกดเงิ น สด หรือบัตรใดๆ ก็ตามทีส่ ามารถ น�ำมาใช้ ช�ำระค่ า สิ น ค้ า และ บริการแทนเงินสด แล้วค่อย ช�ำ ร ะ คื น เ มื่ อ ถึ ง ก�ำ ห น ด ระยะเวลาแก่ เ จ้ า ของผู ้ ใ ห้ บริ ก ารบั ต รตามเงื่ อ นไข ข้อตกลงของบัตรต่างๆ แทน เจ้ า ของบั ต รตั ว จริ ง ถื อ ว่ า ผูก้ ระท�ำการดังกล่าว มีความผิด ทางอาญาในความผิดเกีย่ วกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ต้องจ�ำคุกตัง้ แต่หนึง่ ปีถงึ ห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท ตามมาตรา 269/2 แห่งประมวล กฎหมายอาญา
121
ตอนที่ 122 บัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม (3)
สถาบันการเงินผู้ให้บริการ บั ต รอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ่ า งๆ ได้มีมาตรการการป้องกัน การแอบอ้างการใช้บัตร อิเล็กทรอนิกส์ เช่น บัตร สมาชิกต่างๆ บัตรเครดิต ประเภทวีซา่ มาสเตอร์การ์ด หรือ บัตรเดบิต บัตรกดเงินสด เพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ มิ จ ฉาชี พ แอบอ้ า งเอาบั ต รไปใช้ ห รื อ ก่ อ ให้ เกิดความเสียหายแก่ผู้ถือบัตร โดยการ ให้ยืนยันข้อมูลส่วนบุคคลในการยืนยันเปิดใช้บัตรในครั้งแรก หรือ การส่งรหัส ข้อความเพือ่ ปลดล็อค ทางหมายเลขโทรศัพท์ทแี่ จ้งให้กบั ผู้ให้บริการ เพือ่ ป้องกัน ข้อมูลรั่วไหลและการแอบอ้างได้ เพราะหากผู้ใดแอบอ้างเอาบัตรของบุคคลอื่น มาใช้โดยมิชอบ และก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เป็นเจ้าของบัตรอิเล็กทรอนิกส์ หรือบุคคลอืน่ ถือว่าการกระท�ำ ดังกล่าว เป็นความผิดฐานใช้บตั รอิเล็กทรอนิกส์ ของผู้อื่น มีโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 269/5 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
122
ตอนที่ 123 หนังสือเดินทาง (1)
ในแต่ ล ะวั น มี ผู ้ เ ดิ น ทาง ผ่ า นเข้ า -ออก ประเทศ เป็ น จ�ำนวนมาก ทั้ ง ถู ก กฎหมายและผิดกฎหมาย ดังนั้น เหล่ามิจฉาชีพ จึ ง ท�ำพาสปอร์ ต หรื อ หนังสือเดินทางปลอม ให้ กั บ บุ ค คลต่ า งด้ า ว ที่ลักลอบเข้ามาในประเทศ แบบผิดกฎหมาย ทั้งนี้หากผู้ใด ท�ำหนังสือเดินทางปลอมขึน้ ทัง้ ฉบับ หรือ แต่สว่ นหนึง่ ส่วนใด เติมหรือตัดทอนข้อความหรือแก้ไขด้วยประการใดๆ โดยน่าจะ เกิดความเสียหายแก่ผู้เป็นเจ้าของหนังสือเดินทางที่แท้จริงหรือประชาชน เพื่อให้ ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นหนังสือเดินทางฉบับจริง ถือว่าผู้นั้นกระท�ำความผิด ฐานปลอมหนังสือเดินทาง ต้องจ�ำคุกตัง้ แต่หนึง่ ปีถงึ สิบปี และปรับตัง้ แต่สองหมืน่ บาท ถึงสองแสนบาท ตามกฎหมายอาญา มาตรา 269/8 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
123
ตอนที่ 124 หนังสือเดินทาง (2)
หนั ง สื อ เดิ น ทาง เป็ น เอกสารที่ รั บ รองเอกลั ก ษณ์ และสั ญ ชาติ ข อง ผู้ถือครองส�ำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ หากเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง ท�ำการตรวจค้นแล้วพบว่า บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางตัวจริงกับข้อมูลใน หนังสือเดินทางไม่ตรงกัน ซึ่งบุคคล นั้ น ได้ ใ ช้ ห นั ง สื อ เดิ น ทางของ ผู้อื่นโดยมิชอบในประการ น่ า จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายให้ แ ก่ ผู ้ อ่ื น ห รื อ ป ร ะ ช า ช น จะต้องได้รบั โทษจ�ำคุก ไม่เกินสิบปี และปรับ ไม่ เ กิ น สองแสนบาท ตามมาตรา 269/11 วรรคหนึ่ง แห่งประมวล กฎหมายอาญา
124
ตอนที่ 125 หนังสือเดินทาง (3)
มาตรการการป้องกันบ่อนท�ำลายชาติ จากคนต่างด้าวที่เข้าประเทศ อย่างผิดกฎหมายถือเป็นมาตรการที่ต้องเข้มงวด เพราะการตรวจตราเบื้องต้น คือ เอกสารแสดงหลักฐานต่างๆ ของบุคคลที่ต้องการจะเข้าหรือออกนอก อาณาจักร เพราะฉะนั้นหาก ด่านตรวจคนเข้าเมืองในแต่ละจุด เข้ ม งวดในการตรวจตรา หลักฐานของคนทีเ่ ข้าเมือง และ หากพบว่ามีบคุ คลใดได้ท�ำการ ปลอมดวงตรา รอยตรา หรือ แผ่ น ปะตรวจลงตรา อั น ใช้ ในการตรวจลงตราส�ำหรับการ เดินทางระหว่างประเทศ ในหนังสือเดินทางระหว่างประเทศ จะต้ อ งด�ำเนิ น คดี ทั น ที เ พราะ มีความผิดทางอาญา ต้องจ�ำคุกตัง้ แต่หนึง่ ปีถงึ สิบปี และปรับตัง้ แต่สองหมืน่ บาท ถึงสองแสนบาท ตามมาตรา 269/12 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
125
ตอนที่ 126 ข่มขืน
การข่มขืน เป็นพฤติกรรมกระท�ำทารุณทางเพศ และถือเป็นภัยอันตราย ต่อสังคมที่รุนแรงอีกกรณีหนึ่ง สาเหตุของการข่มขืนอาจจะเกิดมาจากหลาย กรณีที่เป็นมูล เพราะหากเกิดกรณีดังกล่าว กฎหมายถือว่าผู้กระท�ำการนั้น ได้กระท�ำความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเราผู้อื่น ตามมาตรา 276 วรรคหนึ่ง ที่ได้บัญญัติว่า ผู้ใดข่มขืนกระท�ำช�ำเราผู้อื่นโดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้ ก�ำลังประทุษร้าย โดยผู้อื่นนั้น อยูใ่ นภาวะที่ ไมสามารถขัดขืน ได ห รื อ โดยท�ำให้ ผู ้ อื่ น นั้ น เข้ า ใจผิ ด ว่ า ตนเป็ น บุ ค คล อืน่ ถือว่ามีความผิดฐาน ข่มขืนกระท�ำช�ำเราผูอ้ นื่ ต้องโทษจ�ำคุกตั้งแต่ สีป่ ถี งึ ยีส่ บิ ปี และปรับ ตั้ ง แต่ แ ปดพั น บาท ถึงสี่หมื่นบาท
126
ตอนที่ 127 ข่มขืนเด็ก
คดีขม่ ขืนถือเป็นภัยทางเพศ ทีร่ นุ แรง และอาจจะเกิดขึน้ ได้ อย่างที่ ไม่คาดคิด กรณี ทีเ่ กิดขึน้ เด็กทีช่ ว่ ยเหลือ ตนเองไม่ได้ อายุไม่เกิน 13 ปี โดยการหลอก หรือการมอมยาให้สลบ จากคนร้าย หรือมิจฉาชีพ ที่ ส วมรอยเข้ า มาตี ส นิ ท แม้แต่ใกล้ชิดในครอบครัว เช่น พ่อ พ่อเลี้ยง ปู่ ตา น้า น้องชาย รวมไปถึงบุคคลที่ได้รบั การเคารพนับถือ เพราะการ ก่อเหตุการณ์แบบนีถ้ อื ว่าเป็นคดีทางอาญา ดังนัน้ กฎหมายจึงก�ำหนดมาตรการ ลงโทษต่อผู้กระท�ำช�ำเราเด็กอายุไม่เกินสิบสามปี ต้องโทษจ�ำคุกตั้งแต่เจ็ดปี ถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนสี่หมื่นบาทถึงสี่แสนบาท หรือจ�ำคุกตลอดชีวิต ตามมาตรา 277 วรรคสาม แห่งประมวลกฎหมายอาญา
127
ตอนที่ 128 ฆ่าผู้อื่น
การฆ่าผูอ้ นื่ ทัง้ โดยเจตนา แม้จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม หากผูก้ ระท�ำความผิด โดยรู้ส�ำนึกในการกระท�ำ และผู้กระท�ำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผล ถึงการกระท�ำนั้น ถือว่าผู้นั้นมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา ต้องระวางโทษ ประหารชีวติ จ�ำคุกตลอดชีวติ หรือจ�ำคุกตัง้ แต่สบิ ห้าปีถงึ ยีส่ บิ ปี ตามบทก�ำหนดโทษ มาตรา 288 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
128
ตอนที่ 129 ฆ่าบุพการี
บุคคลใดที่ฆ่า พ่อ แม่ บุพการี ของตนเอง ถือว่าบุคคลนั้นใจคอโหดเหี้ยม อ�ำมหิตมาก และไม่มคี วามส�ำนึกกตัญญูกตเวทีทจี่ ะตอบแทนผูท้ ใี่ ห้ก�ำเนิดเลีย้ งดู การกระท�ำการดังกล่าว ตามกฎหมายจะต้องได้รบั โทษประหารชีวติ ตามมาตรา 289 (1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา
129
ตอนที่ 130 การท�ำแท้ง (1)
ปัญหาการท�ำแท้งลูก มั ก จะพบในช่ ว งอายุ ข อง ผู้หญิง ระหว่าง 12 ถึง 18 ปี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ในเรื่องของเพศศึกษาหรือ ขาดวิ ธี ก ารป้ อ งกั น เมื่ อ มี เพศสั ม พั น ธ์ รวมถึ ง การ ตั้ ง ครรภ์ ใ นขณะที่ ต นเอง ไม่พร้อม รวมถึงอาจจะโดน กระท�ำช�ำเราแล้ ว ไม่ ก ล้ า บอกให้ ผู ้ ป กครองของ ตนเองทราบ เพื่อแจ้งความ ด�ำเนินคดีกับผู้ที่กระท�ำผิด จึงหาทางแก้ปัญหา ด้ ว ยการท�ำแท้ ง ด้ ว ยตนเอง หรื อ ไปหาผู ้ อื่ น ให้ ช ่ ว ยท�ำแท้ ง ให้ ถื อ ว่ า การ กระท�ำดังกล่าวเป็นความผิดฐานท�ำให้แท้งลูก ต้องรับโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี ปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตามมาตรา 301 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
130
ตอนที่ 131 การท�ำแท้ง (2)
การท�ำแท้ง ถือเป็นการกระท�ำทีผ่ ดิ กฎหมาย ดังนัน้ หากผู้ใดท�ำให้หญิงแท้งลูก แม้หญิงนั้นจะยินยอมก็ตาม ถือว่าผู้นั้นกระท�ำความผิดฐานท�ำให้หญิงแท้งลูก ต้องรับโทษจ�ำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึง่ หมืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ ตาม มาตรา 302 วรรคหนึง่ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ทัง้ นี้ หากการกระท�ำนัน้ เป็น เหตุให้หญิงทีต่ งั้ ครรภ์ ได้รบั อันตรายสาหัสอย่างอืน่ ด้วย จะต้องมีโทษจ�ำคุก ไม่เกิน เจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 302 วรรคสอง
131
ตอนที่ 132 ลักทรัพย์ผู้อื่น
การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์สินของบุคคลอื่นหรือที่ตนเป็นเจ้าของ ร่วมกับบุคคลอื่นไปโดยทุจริต เช่น นายด�ำ ได้ขโมยโทรศัพท์ของนายขาว เพื่ อ ไปขายและน�ำเงิ น ไปใช้ จ ่ า ยส่ ว นตั ว ซึ่ ง การกระท�ำดั ง กล่ า วของนายด�ำ ถือว่ากระท�ำผิดต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินหกพันบาท ตามมาตรา 334 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
132
133
ตอนทีี่ 133 ลักทรัพย์พระพุทธรูป หรือวัตถุทางศาสนา การลั ก ขโมยพระพุ ท ธรู ป ห รื อ วั ต ถุ ท า ง ศ า ส น า ถือเป็นการบ่อนท�ำลายชาติ ที่ร้ายแรงคดีหนึ่ง ยิ่งเป็น พระพุ ท ธรู ป หรื อ วั ต ถุ ท า ง ศ า ส น า ที่ ห า ย า ก และคู ่ ค วรต่ อ การอนุ รั ก ษ์ แต่ ไ ม่ ว ่ า ลั ก ทรั พ ย์ จ ากบ้ า น หรื อ จากวั ด วาอารามก็ ต าม ก็ถือว่าบุคคลนั้น ได้กระท�ำผิดอาญา มาตรา 335 ทวิ วรรคหนึ่ง ต้องจ�ำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หกพัน บาทถึงสองหมืน่ บาท และหากเป็นกระท�ำในส�ำนักสงฆ์ หรือสถานอันเป็นทีเ่ คารพ ในทางศาสนา โบราณสถานอันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน สถานที่ราชการหรือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ต้องโทษจ�ำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่ หนึ่งหมื่นบาทถึงสามหมื่นบาท ตามมาตรา 335 ทวิ วรรคสอง
133
ตอนที่ 134 “ลักทรัพย์” กับ “วิ่งราวทรัพย์”
ลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นโดยทุจริต เช่น การแอบเอาสิ่งของ ทีบ่ คุ คลอืน่ ได้วางไว้ไปขาย โดยผูท้ กี่ ระท�ำความผิดฐานลักทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษ จ�ำคุ ก ไม่ เ กิ น สามปี และปรั บ ไม่ เ กิ น หกพั น บาท และหากการลั ก ทรั พ ย์ นั้ น ได้กระท�ำในช่วงเวลากลางคืน หรือในบริเวณที่มีเหตุ เพลิงไหม้ การระเบิด หรือ ในบริเวณทีม่ อี บุ ตั เิ หตุ ผูท้ เี่ ข้าไปลักทรัพย์ในบริเวณดังกล่าว จะต้องถูกระวางโทษ หนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ ในช่วงเหตุการณ์ปกติ ทั้งนี้เพราะเหตุการณ์หรือ ช่วงเวลาดังกล่าว เจ้าของทรัพย์ก�ำลังได้รบั ความเดือดร้อนและไม่สามารถทีจ่ ะดูแล ทรัพย์ของตนเองได้และการกระท�ำในเหตุการณ์หรือช่วงเวลาดังกล่าวเป็นการ กระท�ำที่ซ�้ำเติมเจ้าของทรัพย์ที่ก�ำลังได้รับความเดือดร้อน วิ่งราวทรัพย์ คือ การลักทรัพย์ของผูอ้ นื่ โดยฉกฉวยเอาไปซึง่ หน้า โดยเจ้าของทรัพย์สนิ นัน้ อยูใ่ นสภาวะ ตกใจด้วย ถือว่าเป็นการกระท�ำที่อุกอาจกว่าการ ลักทรัพย์ธรรมดา เช่น การกระชากสร้อยคอ ผูอ้ นื่ ในขณะเดินเล่น เป็นต้น ซึง่ ผูก้ ระท�ำการ วิ่งราวทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท อย่างไรก็ตาม ถ้าหากการวิ่งราวทรัพย์ ท�ำให้ผอู้ นื่ ได้รบั บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ผูท้ ี่ กระท�ำผิดจะต้องถูกระวางโทษหนักขึน้ ด้วย
134
ตอนที่ 135 การกรรโชกทรัพย์
การแสดงพฤติ ก รรม การขู ่ ก รรโชก หรื อ มี พ ฤติ ก รรมที่ ก ้ า วร้ า ว เพื่อให้ ได้มาซึ่งทรัพย์สินของผู้อื่น เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และถือเป็นภัย ต่อสังคมอย่างหนึง่ ถึงแม้วา่ ผูถ้ กู ขูก่ รรโชกทรัพย์ ไม่กล้าเข้าแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ เพราะเกรงกลัวบารมี หรือภัยอันตรายจะตามมาถึงตัว ตามกฎหมายหากผู้ใด กระท�ำ หรือมีพฤติกรรมดังกล่าว ถื อ ว่ า ผู ้ นั้ น มี ค วามผิ ด ฐานกรรโชกทรั พ ย์ หากเป็นการกรรโชก จะต้ อ งโทษจ�ำคุ ก ไม่เกินห้าปี และปรับ ไม่เกินหนึง่ หมืน่ บาท ตามมาตรา 337 แห่งประมวลกฎหมาย อาญา
135
ตอนที่ 136 ปล้นทรัพย์
การปล้นทรัพย์ เป็นการ ชิ ง ทรั พ ย์ โ ดยเกิ ด จากการ กระท�ำความผิดของบุคคล ได้กระท�ำร่วมกัน ตั้งแต่ 3 คนขึ้ น ไป ซึ่ ง ให้ ได้ ทรั พ ย์ สิ น ของคนอื่ น มา เป็นของตนเอง เช่น การ ปล้ น ธนาคาร ถื อ เป็ น การ กระท�ำความผิดฐานปล้นทรัพย์ ตามมาตรา 340 แห่งประมวลกฎหมาย อาญา จะต้องโทษจ�ำคุกตั้งแต่สิบปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาท ถึงสามหมื่นบาท หากการปล้นนั้นผู้กระท�ำคนใดคนหนึ่งมีอาวุธติดตัวไปด้วย ผู้กระท�ำต้องระวางโทษจ�ำคุกตั้งแต่สิบสองปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแต่สองหมื่น สี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาท ตามมาตรา 340 วรรคสอง หรือในการปล้นเป็นเหตุ ให้เจ้าทรัพย์หรือบุคคลอืน่ เสียชีวติ ผูก้ ระท�ำการปล้นทรัพย์ ต้องโทษประหารชีวติ ตามมาตรา 340 วรรคห้า
136
ตอนที่ 137 ละเมิดลิขสิทธิ์
การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ หมายถึ ง การน�ำผลงานของผู ้ อื่ น มาใช้ เผยแพร่ ดั ด แปลง ท�ำซ�้ ำ เสนอขาย ให้เช่า เสนอให้เช่า หรือให้เช่าซื้อเพื่อหาก�ำไร โดยผู้เป็นเจ้าของผลงาน ไม่ อ นุ ญ าต หรื อ ไม่ ไ ด้ รั บ ทราบ เช่ น นายแดง ได้ น�ำเสื้ อ ผ้ า ที่ มี ลิ ข สิ ท ธิ์ ไปขายตามตลาดนัด โดยไม่ได้ รั บ อนุ ญ าตจากเจ้ า ของ ลิขสิทธิใ์ นราคาทีส่ งู เกินจริง ถือว่าการกระท�ำดังกล่าวมีความผิดตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 ต้องระวาง โทษจ�ำคุกตัง้ แต่สามเดือนถึงสองปี หรือปรับตัง้ แต่หา้ หมืน่ บาท ถึงสี่แสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ ตามมาตรา 70
137
ตอนที่ 138 สิทธิประโยชน์คนพิการ
คนพิการ ถือเป็นบุคคลทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวัน หรื อ เข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มทางสั ง คม เนื่ อ งจากมี ค วามบกพร่ อ งทางการได้ ยิ น การมองเห็น การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา และการเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ดังนั้น เพื่อคุ้มครองสิทธิของคนพิการ ตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2550 และอนุ บั ญ ญั ติ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาส�ำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ได้ก�ำหนด ให้คนพิการได้รบั สิทธิทสี่ �ำคัญอย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ ครอบคลุมวิถชี วี ติ คนพิการ ตัง้ แต่เกิดจนตาย รวมอย่างน้อย 9 ประการ ได้แก่ 1. เบีย้ คนพิการ 2. บริการฟืน้ ฟู สมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์ 3. บริ ก ารจั ด การศึ ก ษา 4. บริ ก าร จ้ า งงานคนพิ ก าร 5.บริ ก าร สิ่งอ�ำนวยความสะดวก 6.บริการ เงินกู้ 7.บริการสวัสดิการสังคม 8.บริการล่ามภาษามือ 9.การลด หย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ เพื่ อ เป็ น การ ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการให้ดีขึ้น
138
ตอนที่ 139 การอุ้มบุญ
การอุม้ บุญ หมายถึง การตัง้ ครรภ์ดว้ ยการน�ำตัวอ่อนทีป่ ฏิสนธิภายนอก ร่างกายของแม่ไปฝากไว้ในมดลูกของผู้หญิงที่รับอุ้มท้องแทน “การอุ้มบุญแท้” คือ การใช้น�้ำเชื้อจากฝ่ายชายของคู่ที่ต้องการมีบุตร ผสมกับไข่ของแม่ผู้อุ้มบุญ และฉีดฝังในมดลูกของคุณแม่อุ้มบุญ จะเห็นได้ว่าไม่มี กระบวนการใดเกี่ยวข้องทางชีวภาพกับผู้หญิงที่ต้องการมีบุตรเลย อาจเนื่อง มาจากการผ่าตัดน�ำรังไข่ออกไป หรือมีปญ ั หา รังไข่ไม่สามารถผลิตไข่ที่สมบูรณ์ ได้ คุณแม่ ผู้อุ้มบุญแท้คือผู้ที่ให้ทั้งไข่และมดลูก “อุ ้ ม บุ ญ เที ย ม” คื อ การที่ ใ ช้ น�้ ำ เชื้ อ และไข่จากคูค่ ณ ุ พ่อคุณแม่ทแี่ ท้จริง แล้วจึงฝากไข่ ทีร่ บั การผสมเรียบร้อยแล้วเข้าไปในตัวของคุณ แม่อุ้มบุญ ผู้จะท�ำหน้าที่เป็นผู้ตั้งครรภ์แทนจนกว่าทารกจะคลอด ในกรณีนี้ เด็กทารกจะไม่มคี วามเกีย่ วข้องทางพันธุกรรมใดๆ กับคุณแม่ผอู้ มุ้ บุญเลย แม่อมุ้ บุญ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นเพียงผู้ให้ยมื มดลูกเท่านัน้ ซึง่ ปัจจุบนั การอุม้ บุญเทียมเป็นทางเลือก ที่ได้รับความนิยมมากกว่าการอุ้มบุญ ดังนั้น เพื่อเป็นการช่วยเหลือสามีภรรยา ที่มีประสบปัญหาการมีบุญยาก กระทรวงสาธารณสุขจึงก�ำหนดกฎหมาย “พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558” ออกมาบังคับใช้แล้วในปัจจุบัน
139
ตอนที่ 140 รับจ้างอุ้มบุญ
ปัจจุบันจะพบว่ามีการ รั บ จ้ า งอุ ้ ม บุ ญ กั น มากขึ้ น เนื่ อ งจากสามี ภ รรยา หลายๆ คู่ ประสบปัญหา ก า ร มี บุ ต ร ย า ก แ ล ะ ต้องการมีทายาทมาสืบสกุล โดยเฉพาะชาวต่ า งชาติ ที่ต้องการมีบุตร จึงเดินทาง เข้ า มาหาแม่ อุ ้ ม บุ ญ ซึ่ ง เป็ น ผู้หญิงไทย โดยการจ้างให้ผู้หญิง ที่ มี ค วามประสงค์ อุ ้ ม บุ ญ แทน ซึ่ ง การ กระท�ำดังกล่าวถือว่าผิดกฎหมาย เพราะการรับจ้างตัง้ ครรภ์ผดิ ทัง้ ทางจริยธรรม ศีลธรรม และกฎหมาย ดังนัน้ หากผู้ใดกระท�ำการรับจ้างอุม้ บุญ ถือว่ามีความผิด ตามมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 จะต้องโทษจ�ำคุกสิบปี และปรับ ไม่เกินสองแสนบาท ตามมาตรา 48
140
ที่ปรึกษา
นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันตำ�รวจเอกดุษฎี อารยวุฒิ นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ นายวิทยา สุริยะวงค์
: : : : :
ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
บรรณาธิการบริหาร นายอุทัย ทะริยะ : ผู้อำ�นวยการกองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
บรรณาธิการ นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ : นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คณะผู้จัดท�ำ
นางสาวอัญญรัตน์ กัมปนานนท์ : นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ : นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ
ผู้เขียนบท นายวรวุธ สิงห์ธวัช : นิติศาสตร์บัณฑิต และ เนติบัณฑิตไทย ประกอบวิชาชีพทนายความและเป็นที่ปรึกษา ด้านกฎหมาย
ศิลปกรรม บริษัท ชู้สมีพริ้นแอนด์ดีไซน์ จำ�กัด
ขอขอบคุณ สำ�นักกฎหมาย สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
กระทรวงยุติธรรม
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุร�ดิเรกฤทธิ์ ถนนแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท : 0 2141 5100 โทรสาร : 0 2143 8289-90 www.moj.go.th facebook.com/Ministry of Justice,Thailand