วารสารยุติธรรม l Justice Magazine
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
คน
ยุติธรรม
“รื่นวดี สุวรรณมงคล” อธิบดีกรมบังคับคดี สตรีผู้บริหารภาคราชการดีเด่น กับมิติใหม่กรมบังคับคดียุค 4.0
คุยเฟื่อง
เรืกระทรวงยุ ่องยุติธรรมไทย ติธรรม
กระทรวงยุติธรรม
ยกระดับกลุ่มประเทศ CLMV พัฒนาการปฏิบัติต่อผู้กระทำ�ผิด ในชุมชน
Ministry of Justice
สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม
สำ�นักงานรัฐมนตรี
กรมสอบสวน คดีพิเศษ
กรมคุมประพฤติ
สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ
สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์
โทรศัพท์ 0 2141 5100
สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
กองทุนยุติธรรม นำ�ประชาสู่เสรี (อิสรภาพ)
กรมราชทัณฑ์
สถาบัน อนุญาโตตุลาการ
facebook.com
/Ministry of Justice, Thailand
เรื่องจากปก ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560
www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส
กรมบังคับคดี
ยุติธรรม เพื่อ ประชาชน
รมว.ยธ.นำ�คณะลงพื้นที่นราธิวาส ติดตามการดำ�เนินงาน อำ�นวยความยุติธรรม จังหวัดชายแดนใต้
30%
ฝาก
าขาย
สัญญ
15%
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
ที่ปรึกษา
ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560 สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม โทรศัพท์ 0 2141 5149 โทรสาร 0 2143 8246 เว็บไซต์ www.moj.go.th E-mail : prmoj@hotmail.com
บทบรรณาธิการ
ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒ ิ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุติธรรม บรรณาธิการบริหาร
นายอุทัย ทะริยะ ผู้อ�ำนวยการกองกลาง
บรรณาธิการ
นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ หัวหน้ากลุม่ งานประชาสัมพันธ์
กองบรรณาธิการ
นายกิตติพัทธ์ นางสาวอรวิภา นางสาวชญาภา นางสาวธิดาทิพย์ นายอรรถพล นางสาวอรอริญชย์ นางสาวเสาวลักษณ์ นายปัญจกฤตย์ นางสาวอุมาภรณ์ นางสาวฐิติพร นางสาวปัญญาวีร์
ศรีเจริญ เกือกรัมย์ ยงค์ศรี หอมมะลิ ปวัตน์รตั นภูมิ สังข์ทองด�ำรง ตั้งจิตต์วัฒนา วารายานนท์ อ่องสอาด ฉิมพลีวนาศรม แป้นสุวรรณ
ฝ่ายภาพและศิลปกรรม
นายกฤษดา นายชัชวาล นายพิษณุ นายอรรถโกวิท นายปรัชญา
สรวงศักดา ศิริสังข์ไชย มลแก้ว คงยิ่ง พิเชียรภาคย์
ฝ่ายบริหารจัดการ
กลุม่ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ออกแบบ
บริษัท ยูโทเปีย มีเดีย อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด
เจ้าของ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
พิมพ์ที่
โรงพิมพ์สำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
สวัสดีชาวยุติธรรมทุกท่าน พบกันอีกครั้งกับวารสารยุติธรรม ฉบับที่ 5 ประจ�ำปี 2560 ด้วยเรือ่ งราวทีห่ ลากหลายในแวดวงยุตธิ รรม บทความเกี่ยวกับกฎหมาย รวมไปถึงสาระรอบรู้และเรื่องราวรอบตัว ที่ท่านสามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เริม่ กันที่ “เรือ่ งจากปก” ในฉบับนี้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม น�ำคณะลงพืน้ ทีน่ ราธิวาส ติดตามการด�ำเนินงานอ�ำนวยความยุตธิ รรม จังหวัดชายแดนใต้ พบปะพูดคุยกับผูน้ ำ� ท้องถิน่ พร้อมทัง้ สร้างการรับรู้ ให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูก ต้องต่อการปฏิบัติงานของภาครัฐ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวังให้ข้าราชการและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหาของประชาชนในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อด้วยคอลัมน์ “ก�ำลังใจในพระด�ำริฯ” ส�ำนักกิจการในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ร่วมกับศูนย์วิชาการ สารเสพติดภาคเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, IDPC และส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด จั ด การประชุ ม เพื่อเปิดรายงานประจ�ำปีของคณะกรรมาธิการสากลว่าด้วยนโยบาย ยาเสพติด เพื่อแสดงให้เห็นความมุ่งมั่นเปลี่ยนนโยบายยาเสพติด ของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาจนท�ำให้นโยบาย มีความโดดเด่น และท�ำให้เห็นว่าที่ผ่านมาไทยแสดงออกต่อเวทีโลก ชัดเจนถึงการปรับเปลี่ยนนโยบายแก้ปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง ส� ำ หรั บ คอลั ม น์ “คนยุ ติ ธ รรม” ฉบับนี้ น� ำ ทุ ก ท่ า นไปพบกั บ “รืน่ วดี สุวรรณมงคล” อธิบดีกรมบังคับคดี สตรีผบ้ ู ริหารภาคราชการดีเด่น ทีพ่ ร้อมจะบอกเล่าถึงมิตใิ หม่กรมบังคับคดีในยุค 4.0 ว่าจะขับเคลือ่ น ไปในทิศทางใด ต่อด้วยเรือ่ งราวดี ๆ ในคอลัมน์ “ก�ำแพงมิอาจกัน้ ” กรมราชทัณฑ์ จัดกิจกรรมเปิด “เรือนจ�ำกีฬา” โดยมียอดนักชกมวยไทยเบอร์หนึ่ง “บั ว ขาว บั ญ ชาเมฆ” มาร่ ว มกิ จ กรรมและสร้ า งแรงบั น ดาลใจ คื น คนดี สู ่ สั ง คม เพื่ อ ให้ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ทุ ก คนกลั บ มามี ชี วิ ต ที่ ส ดใส และพร้อมกลับไปใช้ชีวิตอยู่ในสังคมภายนอกอีกครั้ง อีกเรื่องที่น่าสนใจ มาท�ำความเข้าใจกับ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการ กระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2560” เพื่อป้องปรามปัญหา สังคมจากการใช้อินเทอร์เน็ต สิ่งใดท�ำได้หรือไม่ได้ ท�ำแล้วมีโทษ อย่างไร สามารถติดตามได้ใน “คอลัมน์กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน” ปิดท้ายด้วย คอลัมน์ “เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ” เหมาะส�ำหรับ คนท� ำ งานออฟฟิ ศ ที่ ไ ม่ มี เ วลาออกก� ำ ลั ง กาย มาเรี ย นรู ้ 10 ท่ า การออกก�ำลังกายง่าย ๆ ภายในออฟฟิศ ท�ำได้โดยใช้อุปกรณ์รอบตัว เรื่องง่าย ๆ ที่จะท�ำให้ร่างกายคุณแข็งแรง แล้วพบกันใหม่ฉบับต่อไป
หมายเหตุ : วรรณกรรม บทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารยุติธรรม เป็นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย
สารบัญ
วารสารยุติธรรม ฉบับที่ 5 ประจำ� พ.ศ. 2560
3
14
47
68
39
03
เรือ่ งจากปก รมว.ยธ.น�ำคณะลงพืน้ ทีน่ ราธิวาส ติดตามการด�ำเนินงานอ�ำนวยความ ยุตธิ รรมจังหวัดชายแดนใต้ 10 ก�ำลังใจในพระด�ำริ วิพากษ์รายงานนโยบาย ยาเสพติดสากล 12 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ 14 เรือ่ งเล่ายุตธิ รรม บังคับคดีลงนาม MOU เชือ่ มโยงข้อมูลสารสนเทศ กับศาลแพ่งธนบุรฯี 16 บนความเคลือ่ นไหว 26 คุยเฟือ่ งเรือ่ งยุตธิ รรม กระทรวงยุตธิ รรมไทย ยกระดับกลุม่ ประเทศ CLMV พัฒนาการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด ในชุมชน 30 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ 32 คนยุตธิ รรม “รืน่ วดี สุวรรณมงคล” อธิบดีกรมบังคับคดี สตรีผบู้ ริหารภาคราชการดีเด่น กับมิตใิ หม่กรมบังคับคดียคุ 4.0 36 คุม้ ครองคน คุม้ ครองสิทธิ “จรรยาข้าราชการ” แนวทางการปฏิบตั ติ น ของข้าราชการทีด่ ี 39 ก�ำแพงมิอาจกัน้ กรมราชทัณฑ์เปิด “เรือนจ�ำกีฬา” “บัวขาว” ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ คืนคนดีสสู่ งั คม 42 ยุตธิ รรมเพือ่ ประชาชน กองทุนยุตธิ รรม น�ำประชาสูเ่ สรี (อิสรภาพ)
44
คน เงิน แผน ประเทศไทย 4.0
47
พลังคุณธรรม ยับยัง้ การทุจริต โครงการปลุกจิตส�ำนึก บุคลากร สป.ยธ. “ร่วมต้านการทุจริต ไม่คดิ โกง”
50
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน ป้องปรามปัญหาสังคม จากการใช้อนิ เทอร์เน็ต ผูก้ ระท�ำผิดต้องรับโทษ
56
ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ
58
ยุตธิ รรมเดินหน้าช่วยประชาชน ดอกเบีย้ เงินให้กยู้ มื กับความรับผิดทางอาญา (ตอน 2)
62
เรือ่ งต้องรู้ หนังสือแจ้งให้ผรู้ บั เงิน ส่งคืนเงินทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั ผูร้ บั เงินฟ้องศาลปกครองได้หรือไม่ ?
64
ภาษายุตธิ รรม ภาษาว่าด้วย “ทรัพย์” ตอนจบ 66 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ
68
รอบรูเ้ รือ่ งอาเซียน ประเทศไทยกับการเป็น ประธานอาเซียนในปี 2562
70
รูจ้ กั IT ทางลัดทันใจ Microsoft Windows 10 72 เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ 10 ท่าแสนง่าย ออกก�ำลังกายในออฟฟิศ 74 ทุกทิศทัว่ ยุตธิ รรม ยุตธิ รรมทัว่ ไทย
78
เก็บมาเล่า เรือ่ งเล่าจากการอบรมการเตรียมตัว เพือ่ ขอรับการทดสอบเป็นผูต้ รวจ ลายนิว้ มือแฝงของสมาคม ตรวจพิสจู น์นานาชาติ
เรือ่ งจากปก
กองบรรณาธิการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
นำ�คณะลงพื้นทีน่ ราธิวาส ติดตามการดำ�เนินงานอำ�นวยความ ยุติธรรมจังหวัดชายแดนใต้
กระทรวงยุติธรรม มีหน้าที่ในการบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรม เสริมสร้างและอำ�นวยความยุตธิ รรมสูส่ งั คม ไม่วา่ จะเป็นมิตดิ า้ นการป้องกัน ปราบปรามยาเสพติด การแก้ ไขฟื้นฟูผู้กระทำ�ผิด การบังคับใช้กฎหมาย หรือการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือประชาชน ล้วนเป็นภารกิจสำ�คัญ ในการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกับสังคม Justice Magazine Ministry of Justice
3
เรื่องจากปก
4
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เรื่องจากปก
ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ในประเด็ น ดั ง กล่ า ว กระทรวงยุตธิ รรมจึงต้องด�ำเนินการเชิกรุก เพือ่ ลดช่องว่าง ของประชาชนที่ เ ข้ า ไม่ ถึ ง การอ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรม โดยการลงพื้นที่พูดคุยกับประชาชนและผู้ปฏิบัติงาน ระดั บ พื้ น ที่ ภายใต้ โ ครงการ “ยุ ติ ธ รรมสู ่ ห มู ่ บ ้ า น น�ำบริการรัฐสู่ประชาชน” เป็นการท�ำงานเชิงบูรณาการ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในการอ� ำ นวยความยุ ติ ธ รรม แก่ ป ระชาชนในระดั บ พื้ น ที่ พร้ อ มทั้ ง สร้ า งการรั บ รู ้ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านและประชาชนให้ มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งต่ อ การปฏิ บั ติ ง านของภาครั ฐ เพื่อให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยมุ่งหวังให้ ข้ า ราชการและผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หา ของประชาชนในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน ที่ผ่านมา นายสุวพันธุ์ ตั น ยุ ว รรธนะ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้นำ� คณะผูบ้ ริหารระดับสูงของกระทรวงยุตธิ รรมลงพืน้ ที่ จังหวัดนราธิวาส ตรวจเยี่ยมการท�ำงานของหน่วยงาน ในสังกัด พบปะพี่น้องประชาชน พร้อมมอบนโยบาย การขับเคลื่อนการท�ำงานของกระทรวงยุติธรรมในพื้นที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ภายใต้ โ ครงการ “ยุ ติ ธ รรม สู่หมู่บ้าน น�ำบริการรัฐสู่ประชาชน” ครั้งที่ 4 ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยมีคณะผู้บริหารระดับสูง และหัวหน้าหน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรมในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา ปัตตานี นราธิวาส และ ยะลา เข้าร่วม ณ โรงแรม ดิ อิมพีเรียล จั ง หวั ด นราธิ ว าส พร้ อ มตรวจเยี่ ย มหน่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรมในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม กล่าวว่า การลงพืน้ ที่ จังหวัดนราธิวาสในครัง้ นี้ นอกจากมาตรวจเยีย่ มการท�ำงาน ของเจ้าหน้าที่หน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรมแล้ว ยังต้องการขับเคลือ่ นกลไกการอ�ำนวยความยุตธิ รรมในพืน้ ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งในส่วนที่เป็นยุทธศาสตร์ การท�ำงานของกระทรวงยุติธรรม และนโยบายที่ส�ำคัญ ของรั ฐ บาล โดยจะต้ อ งให้ ค วามรู ้ ท างด้ า นกฎหมาย แก่ประชาชนสร้างการรับรูใ้ ห้ประชาชนได้รถู้ งึ สิทธิทพี่ งึ ได้ รับจนน�ำไปสูก่ ารเข้าถึงงานบริการของกระทรวงยุตธิ รรม การให้ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ตลอดจนการอ�ำนวยความยุตธิ รรมให้กบั ประชาชนตัง้ แต่ ต้นทาง กลางทาง และปลายทางอย่างเป็นธรรม รวดเร็ว และเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด นอกจากนี้ จะต้องท�ำงาน ในมิติของการบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วน เพื่อให้ การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Justice Magazine Ministry of Justice
5
เรื่องจากปก
การอ�ำนวยความยุตธิ รรมในพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ นั้ น จะต้ อ งดู ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ พื้ น ที่ พิ เ ศษ เช่น การท�ำงานร่วมกับคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด และศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ เจ้ า หน้ า ที่ ของกระทรวงยุติธรรมที่อยู่ในพื้นที่ต้องมีความเข้าใจ สภาพความเป็นไปของสังคม และของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ เพราะฉะนั้นจะต้องมีการท�ำงานเชิกรุก การเข้าถึงพื้นที่ การเข้ า ถึ ง เครื อ ข่ า ยภาคประชาชนที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น จ ะ ส า ม า ร ถ ล ด ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล�้ ำ ใ ห ้ ป ร ะ ช า ช น สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ กระบวนการ ยุ ติ ธ รรมจะต้ อ งเป็ น ฝ่ า ยเดิ น เข้ า ไปหาประชาชน ไม่ใช่ให้ประชาชนเดินเข้ามาหากระบวนการยุติธรรม ซึ่ ง เขาอาจจะเดิ น มาไม่ ถึ ง ไม่ ว ่ า จะด้ ว ยเหตุ ผ ล การคมนาคม สถานการณ์ ความยากล�ำบาก เพราะฉะนัน้ เป็นหน้าที่ของกระทรวงยุติรรมที่จะต้องเดินไปให้ถึง พี่ น ้ อ งประชาชน ผ่ า นการท� ำ งานเป็ น เครื อ ข่ า ย เช่ น เครื อ ข่ า ยยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน เครื อ ข่ า ยประชาชน ที่อยู่ตามหมู่บ้าน เครือข่ายศูนย์ด�ำรงธรรม เป็นต้น สิ่ ง เหล่ า นี้ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ ส ามารถ ลดความเหลื่อมล�้ำในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ ความยุ ติ ธ รรมเป็ น พื้ น ฐานที่ จ ะท� ำ ให้ สั ง คม เกิดความสามัคคีปรองดองในอนาคตได้ การที่มีจิตอาสา เข้ามาท�ำงานแบบนีม้ าก ๆ จะเป็นข้อดี เนือ่ งจากกระทรวง ยุตธิ รรมต้องท�ำงานหนักในเรือ่ งของการน�ำความยุตธิ รรม เข้ า สู ่ ชุ ม ชน สิ่ ง ที่ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรมต้ อ งการเห็ น คือ สันติสุข และความสงบสุขเกิดขึ้นในสังคม สิ่งเหล่านี้ อาจจะต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาในการปฏิ บั ติ แต่ จ ะท� ำ ให้ เกิดความปลอดภัย ความสงบเรียบร้อยได้ในระยะยาว นอกจากการลงพื้ น ที่ เ พื่ อ เยี่ ย มเยี ย นเจ้ า หน้ า ที่ ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้น�ำคณะผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม พบปะและพูดคุย กับเครือข่ายยุติธรรมชุมชนบางนาค พร้อมเข้าร่วมพิธี ละศีลอด (ปอซอ) ณ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบลบางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส โดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม ได้กล่าวชืน่ ชมการท�ำงานของเครือข่ายยุตธิ รรม ชุ ม ชนที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ซึ่ ง แสดงถึ ง การมี น�้ ำ หนึ่ ง ใจเดียวกัน ทัง้ นี้ รัฐบาลได้มอบหมายให้กระทรวงยุตธิ รรม เพิ่มประสิทธิภาพการอ�ำนวยความยุติธรรมให้กับพี่น้อง ประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางและประชาชน จะต้องได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ดังนั้น จึงขอให้ ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด และศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน สร้างความเป็นธรรมให้กับประชาชนในพื้นที่ให้เป็นไป
6
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
อย่างเท่าเทียม ทั่วถึง รวดเร็ว และเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ซึ่งจะต้อง อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน หากพี่น้องประชาชนที่ได้รับ ความเดือดร้อน หรือไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม พร้อมให้ความช่วยเหลือสามารถติดต่อได้ทสี่ ำ� นักงานยุตธิ รรมจังหวัด ในพื้นที่ โอกาสนี้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมคณะ ได้เดินทาง ไปทีว่ ดั ประชาภิรมย์ ถนนระแงะมรรคา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เนือ่ งจากได้ให้ความส�ำคัญกับพระสงฆ์ในพืน้ ที่ โดยสร้างความเชือ่ มัน่ ว่า รัฐบาลจะไม่ทอดทิ้งพระสงฆ์และประชาชนในพื้นที่ทั้งในการใช้ชีวิต และการประกอบศาสนกิจ โดยมอบให้ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่ ง ชาติ เข้ า มาดู แ ลเรื่ อ งกิ จ การของพระสงฆ์ ทั้ ง 3 จั ง หวั ด เพื่อให้พระและวัดสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ พร้อมกล่าวย�้ำว่า ถ้าหากสิง่ ใดทีก่ ระทรวงยุตธิ รรมช่วยเหลือได้กพ็ ร้อมจะด�ำเนินการทันที
เรื่องจากปก
กระทรวงยุติธรรม ผลักดันภารกิจ 6 ด้านส�ำคัญ มุ่งเน้นอ�ำนวยความยุติธรรมให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมได้สะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรม ดังนี้ 1.ด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด มุ ่ ง เน้ น สร้ า งสั ง คมให้ มี ภู มิ คุ ้ ม กั น ปลอดภั ย จากยาเสพติ ด โดยร่ ว มมื อ กับประเทศเพื่อนบ้านสกัดกั้นยาเสพติด เช่น โครงการแม่น�้ำโขง ปลอดภัย (Safe Mekong) การด�ำเนินการบ�ำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด แนวใหม่ ทั้ ง ระบบสมั ค รใจ ระบบบั ง คั บ บ� ำ บั ด และระบบต้ อ งโทษบ� ำ บั ด โดยถ่ า ยโอนภารกิ จ ด้ า นการบ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด ให้ ก ระทรวงสาธารณสุ ข เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก และการน� ำ ชุ ม ชนเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการ ป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ตามแนวคิ ด ประชารั ฐ โดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ส. เป็นหน่วยงานก�ำกับนโยบายด้านยาเสพติด ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.ด้านการสร้างความปลอดภัยและความสงบสุขในสังคม มุ ่ ง เน้ น การสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ การแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด และการลดปริมาณอาชญากรรมในชุมชน/สังคม โดยการพัฒนา ระบบงานพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย ทั้ ง ระบบ ในส่ ว นของงานราชทั ณ ฑ์ และงานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ในส่วนของผู้กระท�ำผิด ที่ อ ยู ่ ใ นสถานที่ ค วบคุ ม และในงานคุ ม ประพฤติ ใ นส่ ว นของ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ที่ อยู่ในชุม ชน เพื่อลดการกระท�ำผิด ซ�้ำ การพั ฒ นา ทั ก ษะฝี มื อ ของผู ้ ต ้ อ งขั ง ในเรื อ นจ� ำ /ทั ณ ฑสถาน โดยร่ ว มกั บ ภาคเอกชนในการจัดหาแหล่งงาน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ก่อนคืนสู่สังคม 3.ด้านการอ�ำนวยความยุติธรรม มุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล�้ำ ในการเข้ า ถึ ง กฎหมาย และกระบวนการยุ ติ ธ รรมให้ ป ระชาชน ได้รบั บริการงานยุตธิ รรมทีม่ คี วามหลากหลาย อาทิ การให้คำ� ปรึกษา ด้านกฎหมาย การช่วยเหลือในการด�ำเนินคดีในกระบวนการยุตธิ รรม หรื อ การปล่ อ ยตั ว ชั่ ว คราว การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ผ่านกองทุนยุติธรรมและค่าตอบแทนและค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย แก่จ�ำเลยในคดีอาญา โดยการบูรณาการผ่านกลไกศูนย์ยุติธรรม ชุ ม ชน ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด และศู น ย์ ด� ำ รงธรรมจั ง หวั ด การสร้ า งมาตรฐานและผลั ก ดั น ให้ ง านด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ของกระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักของงานนิติวิทยาศาสตร์ ของประเทศ การเสริมสร้างประสิทธิภาพงานยุติธรรมในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ โดยการพัฒนามาตรการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ให้มีการบูรณาการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมในคดีความมั่นคง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 4.ด้ า นการพั ฒ นากฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรม มุ ่ ง เน้ น ในเรื่ อ งการปฏิ รู ป กฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรม ของประเทศให้ มี ค วามทั น สมั ย โดยเฉพาะการแก้ ไ ขกฎหมาย ที่ไม่เป็นธรรมกับประชาชน ส่วนกฎหมายที่มีอยู่สามารถบังคับใช้ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ประชาชนมี ก ารรั บ รู ้ ก ฎหมาย และสามารถปฏิบัติตามกฎหมาย ตลอดจนการส่งเสริมบทบาท กระบวนการยุติธรรมไทยสู่เวทีสากล 5.ด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมด้านความมัน่ คง มุ่งเน้นให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับ คดีดา้ นความมัน่ คง และการจัดการคดีความมัน่ คงมีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล โดยการสร้างระบบฐานข้อมูลอาชญากรรม ด้านความมั่นคงและใช้ประโยชน์ร่วมกัน การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการป้ อ งกั น และปราบปรามอาชญากรรมด้ า นความมั่ น คง พัฒนาระบบข่าวกรองเพื่อการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ การพัฒนา เครื่ อ งมื อ เทคโนโลยี อุ ป กรณ์ พิ เ ศษ สนั บ สนุ น การท� ำ งาน รวมทั้ ง การน� ำ นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ม าใช้ เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการสืบสวนสอบสวนคดีด้านความมั่นคง 6.ด้ า นการเสริ ม สร้ า งความปรองดองสมานฉั น ท์ มุ ่ ง เน้ น ให้สังคมมีความปรองดองสมานฉันท์ ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ โดยการน�ำหลักนิติธรรมและยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ ในการจัดการความขัดแย้ง การเยียวยา ฟื้นฟู ดูแลผู้ที่เกี่ยวข้อง และได้รบั ผลกระทบ ตลอดจนการสร้างสภาวะทีเ่ อือ้ ต่อการอยูร่ ว่ มกัน ในสังคม และเร่งรัดผลักดันการอยู่ร่วมกันอย่างสันติวิธี จากนโยบายการอ�ำนวยความยุติธรรม 6 ด้านของกระทรวง ยุติธรรมไปสู่การปฏิบัติ ผ่านกลไกระดับชาติ ได้แก่ คณะกรรมการ พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) โดยมีส�ำนักงาน ยุติธรรมจังหวัดเป็นศูนย์กลางรับนโยบายจาก กพยช. และกระทรวง ยุติธรรม ไปให้บริการประชาชนในระดับจังหวัดผ่านการบูรณาการ การท�ำงานร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอกกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งศูนย์ยุติธรรมชุมชนและอาสาสมัครยุติธรรมชุมชน
Justice Magazine Ministry of Justice
7
เรื่องจากปก
การด�ำเนินงานแก้ ไขปัญหาและพัฒนา จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกระทรวงยุติธรรม ได้ด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์และนโยบายของกระทรวงยุติธรรม ดังนี้ 1.สนับสนุนให้ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดเป็นหน่วยงานประสานระดับพื้นที่ และสร้างการรับรูง้ านกระบวนการยุตธิ รรมแก่คณะกรรมการศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน รวมถึงพัฒนาระบบเยี่ยมญาติทางไกลผ่านจอภาพ ท�ำให้ประชาชนในพื้นที่ ห่างไกลจ�ำนวนกว่า 8,608 คน เข้าถึงงานบริการเยี่ยมญาติได้ 2.สนับสนุนให้ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ซึ่งเป็นภาคประชาชน จ�ำนวน 106 คน จั ด กิ จ กรรมชุ ม ชนเชิ ง รุ ก เพื่ อ สร้ า งการรั บ รู ้ ช ่ อ งทางการบริ ก ารและขอรั บ ความช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐ รวมถึงแก้ไขปัญหาของชุมชนด้วยชุมชนเอง เพือ่ ให้ประชาชนมีความเข้มแข็ง เกิดความไว้วางใจและเชือ่ มัน่ กระทรวงยุตธิ รรม ซึ่งได้เริ่มด�ำเนินกิจกรรมในจังหวัดสงขลา 3.การพั ฒ นาระบบและเพิ่ ม ศั ก ยภาพการไกล่ เ กลี่ ย ข้ อ พิ พ าทครอบครั ว และมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาระบบยุ ติ ธ รรมทางเลื อ กที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต และวัฒนธรรม และร่วมกับวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ แ ละสร้ า งการรั บ รู ้ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชน อย่างต่อเนื่อง 4.การค้นหาความจริงในกรณีสำ� คัญเพือ่ สร้างความเข้าใจกับประชาชนในพืน้ ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมุง่ เน้นการสร้างกระบวนการค้นหาความจริงในกรณีตา่ ง ๆ ร่วมกับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ อาทิ ภาคประชาสังคม เป็นต้น 5.การเสริมสร้างความเข้าใจและทัศนคติที่ดีต่อกฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรมแก่ครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ กฎหมายเบื้ อ งต้ น แก่ ก ลุ ่ ม ครู ใ นโรงเรี ย นเอกชน สอนศาสนาอิสลามในพื้นที่ และส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ความรู้ ที่ได้รับแก่ชุมชนต่อไป นอกจากนี้ กระทรวงยุตธิ รรมได้ดำ� เนินโครงการต่าง ๆ ในพืน้ ทีภ่ าคใต้ ดังนี้ 1.ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม บูรณาการร่วมกับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การด�ำเนินคดีความมัน่ คงในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ โดยการประชุมร่วมกับ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ ต�ำรวจ อัยการ ศาล และฝ่ายความมัน่ คง ระดมความเห็น ในการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ เสนอความเห็นและรับทราบปัญหา การบังคับใช้ กฎหมาย ม.21 พ.ร.บ.ความมั่นคงฯ รวมถึงรับข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข และปรับปรุงกฎหมายดังกล่าว 2.กรมสอบสวนคดีพิเศษ ด�ำเนินงานด้านงานศูนย์ข้อมูลความมั่นคงและอาชญากรรมภัยแทรกซ้อน จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยด�ำเนินการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลความมั่นคง และอาชญกรรมภัยแทรกซ้อน จ�ำนวนกว่า 146 เรือ่ ง ตามการร้องขอของหน่วยงาน และบันทึกลงฐานข้อมูล พร้อมน�ำมาจัดท�ำรายงานวิเคราะห์ความเชือ่ มโยงรูปแบบ และเครือข่ายของ ผกร. จ�ำนวน 18 เรือ่ ง และสามารถพัฒนาข้อมูลให้เป็นพยาน หลักฐานในการด�ำเนินคดีตามเลขสืบสวน 1 เรือ่ ง
8
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
3.สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ก า ร เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร ท า ง นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และพัฒนาข้อมูล ด้านนิติวิทยาศาสตร์คดีความมั่นคงและภัยแทรกซ้อน ให้เป็นหัวข้อข่าวสาร และเป็นพยานหลักฐานในการสืบสวน สอบสวนเพือ่ อ�ำนวยความยุตธิ รรม จ�ำนวน 1,346 รายการ ซึง่ สามารถน�ำไปก�ำหนดหัวข้อข่าวสาร จ�ำนวน 34 เรือ่ ง จัดท�ำรายงานด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ (DSM) จ�ำนวน 16 เรือ่ ง 4.กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ส่ ง เสริ ม สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยการมีสว่ นร่วมของเจ้าหน้าทีร่ ฐั และภาคประชาชน จัดท�ำ หลักสูตรฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการด้านสิทธิมนุษยชน ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้และหลักสูตรการพัฒนา ประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ในพืน้ ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ มุง่ เน้นการอบรมเจ้าหน้าทีร่ ฐั ให้เป็น วิทยากรในการอบรมเจ้าหน้าทีร่ ฐั ด้วยกันเอง ซึง่ ได้ดำ� เนินการ ฝึกอบรมวิทยากรแล้ว และอยูร่ ะหว่างวางแผนการอบรม เจ้าหน้าที่ทหารหน่วยเฉพาะกิจ จ�ำนวน 1,920 คน ในเดือนมิถุนายน 2560 เป็นต้นไป และการฝึกอบรม เยาวชนหลักสูตรศาสนธรรมน�ำสันติสุขในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยการจัดท�ำหลักสูตรเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจเคารพสิทธิฯ มุง่ เน้นการอบรมเพือ่ สร้างความเข้าใจ เกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน ผ่านกระบวนการบรรยาย ศึกษาดูงาน และทดลองผลิตสื่อเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนจากมุมมอง ของตนเองแก่เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากสถาบัน การศึกษาและมูลนิธเิ อกชน อายุระหว่าง 15-25 ปี 5.กรมบังคับคดี เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการบังคับคดี การไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท และการลดความเหลื่อมล�้ำในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ โดยการจัดกิจกรรมสร้างความรูค้ วามเข้าใจ ในกระบวนการบังคับคดีแก่ประชาชน จ�ำนวน 482 คน จัดตัง้ เครือข่ายบังคับคดีภาคประชาชนและพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย จ�ำนวน 60 คน ให้สามารถเป็นตัวแทนในการ ให้คำ� ปรึกษาเบือ้ งต้นได้ รวมถึงสามารถไกล่เกลีย่ คดีทเี่ ข้าสู่ กระบวนการไกล่เกลีย่ ได้ ร้อยละ 86.95 เรือ่ ง และมีการจัด มหกรรมขายทอดตลาดในพืน้ ที่ 6.กรมคุมประพฤติ เสริมสร้างความยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในภารกิ จ กรมคุ ม ประพฤติ โดยการพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย
เรื่องจากปก
และส่งเสริมอาชีพแก่ผู้คุมประพฤติคดีความมั่นคง จ�ำนวน 18 ราย ผ่านท�ำกิจกรรมตามหลักสูตรส่งเสริม แนวทางสันติวธิ รี ว่ มกัน และขยายไปยังกลุม่ ผูต้ อ้ งขัง คดีความมั่นคงในเรือนจ�ำ เพื่อสร้างความเข้าใจและ เตรียมความพร้อมในการใช้ชวี ติ ในสังคม แก้ไขฟืน้ ฟู ผูก้ ระท�ำผิดคดียาเสพติด จ�ำนวน 520 คน ตามหลัก ศาสนาและวิถชี วี ติ รวมถึงพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานและอาสาสมัครคุมประพฤติเพื่อรองรับ ภารกิจงานและดูแลกลุม่ เป้าหมายเฉพาะ 7.กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน การเสริ ม พลั ง ชุ ม ชนและสร้ า งความเข้ ม แข็ ง แก่เยาวชนพินจิ ต้นแบบ ตามวิถี 5 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยการพัฒนาระบบและกระบวนงานแก้ไข ฟืน้ ฟูเด็กและเยาวชนตัง้ แต่การรับตัวจนถึงการเตรียม ความพร้อมก่อนปล่อย ทีม่ คี วามสอดคล้องกับวิถชี วี ติ วัฒนธรรม และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ รวมไปถึง การพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากรในการดู แ ลเด็ ก และเยาวชนภายในสถานการณ์การใช้กฎหมายพิเศษ ด้วยการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทหารและผู้น�ำชุมชน ตามหลักสูตร ซึง่ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ 8.กรมราชทัณฑ์ จัดท�ำมาตรฐานแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง คดีความมัน่ คงในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ น�ำ ไปสู่การปรับเปลี่ยนความคิดผู้ต้องขังคดีความมั่นคง โดยการออกแบบและจัดท�ำโปรแกรมแก้ไขฟื้นฟู ผู ้ ต ้ อ งขั ง คดี ค วามมั่น คงในมิติด ้านครอบครัว และ การสร้างคุณค่าในตนเอง ผ่านกระบวนการศิลปะบ�ำบัด และสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ ครอบครั ว ซึ่ ง ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการทดลองและประเมินผลการใช้โปรแกรม การให้บริการระบบเยี่ยมญาติทางไกลผ่านจอภาพ เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและทัว่ ถึง นอกจากนี้ กระทรวงยุ ติ ธ รรรมได้ ร ่ ว มกั บ สภาทนายความด� ำ เนิ น โครงการศู น ย์ นิ ติ ธ รรม สมานฉันท์จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยการจัดหา ทนายความอาสาเพื่อคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือ ทางกฎหมายและคดีแก่ประชาชน ทัง้ การให้คำ� ปรึกษา กฎหมาย ณ สถานทีส่ ำ� คัญในชุมชน การเข้าร่วมฟัง การสอบข้อเท็จจริงและแก้ตา่ งคดี การเดินทางไปเยีย่ ม ผูต้ อ้ งสงสัยร่วมกับญาติ รวมไปถึงการอบรมเผยแพร่ กฎหมายแก่เครือข่ายยุติธรรมชุมชนและผู้น�ำชุมชน
ส�ำหรับภารกิจของกระทรวงยุตธิ รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับงานอ�ำนวยความยุตธิ รรม และเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพกลุ่มภารกิจงานอ�ำนวย ความยุตธิ รรมฯ ภายใต้โครงสร้างคณะกรรมการขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (คปต.) ได้ด�ำเนินการดังนี้ 1.การเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านคดี มุ่งเน้นการพัฒนาประสิทธิภาพคดีความมั่นคงด้วยการเสริมประสิทธิภาพ การรวบรวมพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน เพือ่ น�ำตัวผูก้ ระท�ำผิดมาลงโทษ โดยเร็วและถูกต้อง รวมไปถึงลดปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันเกิดจากการ แสวงหาพยานหลักฐานของเจ้าหน้าที่รัฐ 2.การจัดระบบการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ มุ่งเน้นการจัดระบบการให้ความช่วยเหลือเยียวยาประชาชนและเจ้าหน้าที่ ของรัฐให้เกิดความเป็นธรรม ไม่ซับซ้อน 3.การปรับปรุงมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารรักษาความมัน่ คงภายใน ราชอาณาจักร พ.ศ. 2551 มุ่งเน้นให้รัฐบาลมีเครื่องมือทางกฎหมายที่เอื้อต่อการน�ำผู้หลงผิด/ผู้ที่มี ความเห็นต่างจากรัฐ กลับสู่สังคม ตามกระบวนการสันติภาพ 4.การจัดท�ำฐานข้อมูลความมั่นคง มุ ่ ง เน้ น การรวบรวมข้ อ มู ล ความมั่ น คงของหน่ วยงานกระทรวงยุติธรรม ประกอบด้วย กรมสอบสวนคดีพิเศษ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ และกรมราชทัณฑ์ ให้เป็นระบบและสามารถน�ำไปใช้ได้ง่าย และเป็นการเตรียมความพร้อมน�ำ ฐานข้อมูลความมัน่ คงของกระทรวงยุตธิ รรมไปบูรณาการกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง 5.การสนับสนุนกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข กระทรวงยุตธิ รรมมีบทบาทในกระบวนการพูดคุยเพือ่ สันติสขุ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยสนับสนุนงานด้านการอ�ำนวยความยุติธรรม ซึ่งมีประเด็นส�ำคัญ คือ การเตรียมพิจารณาพักโทษของผู้ต้องขังตามที่กลุ่มเห็นต่างร้องขอ 6.การบูรณาการงานยุติธรรมชุมชน มุ่งเน้นการขับเคลื่อนงานยุติธรรมชุมชนในระดับชุมชน หมู่บ้าน ในรูปแบบ ของศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน ให้ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ กลไกของกระทรวงมหาดไทย คื อ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรม เพื่ อ ให้ ป ระชาชนเข้ า ถึ ง งานบริ ก ารด้ า นการอ� ำ นวย ความยุติธรรมได้ในชุมชนของตนเอง การเดินทางลงพื้นที่ติดตามการด�ำเนินงาน ตลอดถึงการมอบนโยบาย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ จะน�ำไปสู่การปรับปรุงงานเกี่ยวกับความยุติธรรมในชุมชน ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทางได้มากขึ้น โดยท้ายที่สุดแล้วประชาชนย่อมได้ ประโยชน์จากความยุติธรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานอันจะน�ำพาสังคมในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ไปสู่ความสามัคคีปรองดองและสันติสุขอย่างแท้จริง
Justice Magazine Ministry of Justice
9
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
วิพากษ์รายงาน
นโยบาย ยาเสพติดสากล เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560 ส�ำนักกิจการในพระด�ำริ พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา ร ่ ว ม กั บ ศู น ย ์ วิช า ก า ร ส า ร เ ส พ ติ ด ภ า ค เ ห นื อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย เชี ย งใหม่ , IDPC และส� ำ นั ก งานป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่อ เ ป ิ ด ร า ย ง า น ป ร ะ จ� ำ ป ี ของคณะกรรมาธิการสากลว่าด้วยนโยบายยาเสพติด (Global Commission on Drug Policy) ฉบับที่ 6 ณ โรงแรมเซ็ น ทารา แกรนด์ แอท เซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
10
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
สำ�นักกิจการในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี กล่าวเปิดการประชุมว่า นางรุธ เดรฟัส (Madam Ruth Dreifuss) ประธานคณะกรรมาธิการสากล ว่าด้วยนโยบายยาเสพติด อดีตประธานาธิบดีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตัดสินใจเลือกประเทศไทยเป็นเวทีในการเปิดตัวรายงานประจ�ำปี ฉบับที่ 6 เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงผลักดันเรือ่ งการแก้ปญ ั หายาเสพติดมาตลอด และเห็นความมุง่ มัน่ เปลี่ยนนโยบายยาเสพติดของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมา จนท�ำให้นโยบายมีความโดดเด่น ทั้งนี้คณะกรรมาธิการฯ มีศักยภาพในการท�ำงานทั้งในกลุ่มประเทศยุโรปและลาตินอเมริกา จึ ง เสนอให้ ค นในภู มิ ภ าคอาเซี ย นมี โ อกาสร่ ว มเป็ น กรรมการ เพื่อให้สมาชิกที่ร่วมต่อสู้เรื่องนโยบายยาเสพติดมีความภาคภูมิใจว่า สิ่ ง ที่ ต ่ อ สู ้ ม ากกว่ า 2 ปี เป็ น สิ่ ง ที่ เ วที โ ลกจั บ ตา และที่ ผ ่ า นมา ไทยแสดงออกต่อเวทีโลกชัดเจนถึงการปรับเปลีย่ นนโยบายแก้ปญ ั หา ยาเสพติด พลเอก ไพบูลย์ฯ กล่าวว่า เราสามารถท�ำให้โลกปลอดจาก ยาเสพติ ด ได้ จ ริ ง หรื อ ไม่ หากจริ ง ก็ ท� ำ ในแบบเดิ ม ๆ คื อ ปราบและจับคนเข้าคุกเป็นแสน ๆ คน แต่หากบอกว่าไม่สามารถ ท�ำให้โลกปลอดจากยาเสพติดได้ก็ต้องเปลี่ยนวิธีคิด ประเทศไทย ท�ำสงครามยาเสพติดยาวนานมากกว่า 20 ปี สร้างความรับรู้เรื่อง ยาเสพติดว่าเป็นอาชญากรมาตลอด กระทัง่ ภูมภิ าคอาเซียนประกาศว่า นโยบายการปราบปรามยาเสพติ ด ล้ ม เหลว โดยประเทศไทย เป็ น ประเทศที่ ผ ลั ก ดั น ให้ อ าเซี ย นเขี ย นยุ ท ธศาสตร์ ใ หม่ 10 ปี
กำ�ลังใจในพระดำ�ริ
เพื่อก�ำหนดว่า เราจะอยู่กับยาเสพติดได้อย่างไร ในเมื่อไม่สามารถ ท� ำ ให้ โ ลกปลอดยาเสพติ ด ได้ การปราบปราม การป้ อ งกั น และการบ�ำบัดยังต้องคงอยู่ แต่ต้องลดทอนความเป็นอาชญากรรม ของยาเสพติ ด ลง และให้ มี ก ารพิ จ ารณาโทษอย่ า งสอดคล้ อ ง เหมาะสมและเป็นธรรม ต่อมานายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่ า วถึ ง สถานการณ์ ก ารลดทอนความเป็ น อาชญากรรม ในประเทศไทยว่า กรอบนโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพติดมี 4 กรอบ ประกอบด้ ว ย 1.เน้ น การป้ อ งกั น บ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู ไม่ ใ ห้ เ สพซํ้ า กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้เสพและผู้ค้ารายย่อย ส่วนการปราบปราม เน้นผูค้ า้ รายใหญ่และผูผ้ ลิต 2.เร่งพัฒนาระบบบ�ำบัดให้มปี ระสิทธิภาพ เข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า งจ� ำ เป็ น และเท่ า เที ย ม และบริ ก ารอย่ า งทั่ ว ถึ ง 3.น�ำกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนตามแนวคิดประชารัฐร่วมใจ มาใช้ ร ่ ว มกั น และน� ำ ผู ้ เ สพมาบ� ำ บั ด และส่ ง คื น สู ่ สั ง คม และ 4.ใช้ ม าตรการอื่ น แทนการลงโทษจ� ำ คุ ก มาใช้ กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมาย โดยการก�ำหนดโทษให้น�ำพฤติการณ์ผู้กระท�ำผิดมาประกอบการ พิ จ ารณาโทษ ทั้ ง นี้ ประเทศไทยยั ง ต้ อ งพยายามอย่ า งหนั ก เพื่ อ ด� ำ เนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามกรอบสากลของรายงานประจ� ำ ปี ของคณะกรรมาธิการฯ โดยต้องเร่งท�ำความเข้าใจเรื่องการลดทอน ความเป็นอาชญากรรมให้ชัดเจน สิ่งที่เดินหน้าไปแล้ว คือ การออก ประมวลกฎหมายยาเสพติด การแก้ไข พ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิต และประสาทและแก้ไข พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6 ) พ.ศ. 2560 ซึ่ ง เปลี่ ย นนิ ติ วิ ธี เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งการน� ำ สื บ และการลงโทษ นับเป็นความก้าวหน้าของกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดของไทย นางรุ ธ เดรฟั ส ประธานคณะกรรมาธิ ก ารสากลว่ า ด้ ว ย นโยบายยาเสพติด อดีตประธานาธิบดีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ กล่ า วว่ า กฎหมายห้ า มสิ่ ง เสพติ ด แทบไม่ มี ผ ลต่ อ อั ต ราการเสพ ระหว่างปี 2549-2556 จ�ำนวนผู้เสพทั่วโลกเพิ่มขึ้น 246 ล้านคน
หรือ 20% ขณะที่การจับกุมคุมขังในคดียาเสพติดท�ำให้มีผู้เสียชีวิต เกือบ 200,000 คนต่อปี ปัจจุบันหลายประเทศเริ่มใช้ทางเลือกอื่น แทนการลงโทษทางอาญา เช่ น การบ� ำ บั ด ทางการแพทย์ และมาตรการทางสังคม ส�ำหรับรายงานการขับเคลื่อนการปฏิรูป นโยบายยาเสพติดแนวทางใหม่ที่คณะกรรมาธิการฯ เสนอแนะ ประกอบด้วย 1.รัฐต้องยกเลิกโทษประหารชีวิตส�ำหรับทุกความผิด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด 2.รั ฐ ต้ อ งยุ ติ ก ารลงโทษทั้ ง หมด ทั้ ง ทางแพ่ ง และอาญาส� ำ หรั บ การมี ย าเสพติ ด อั น ตรายต่ อ ผู ้ อื่ น 3.รัฐต้องด�ำเนินมาตรการทางเลือกแทนการลงโทษ 4.ประเทศ สมาชิกองค์การสหประชาชาติหรือยูเอ็นต้องเพิกถอนการลงโทษ ส� ำ หรั บ การมี ย าเสพติ ด ในครอบครองตามสนธิ สั ญ ญาภายใต้ ระบบการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศ และ5.รัฐต้องศึกษา แม่แบบการควบคุมยาเสพติดผิดกฎหมายทุกประเภท
Justice Magazine Ministry of Justice
11
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
เปิดตัว “โครงการแก้ ไขหนีน้ อกระบบอย่างบูรณาการและยัง่ ยืน” พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน เปิดโครงการแก้ไขหนีน้ อกระบบอย่างบูรณาการและยัง่ ยืน ภายใต้แนวคิด “ขจัดหนี้นอกระบบเป็นศูนย์” จัดโดยกระทรวงการคลัง ร่วมกับ หน่วยงานภาคีทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อแสดงถึงเจตนารมณ์และ ความมุ่งมั่นในการขจัดหนี้นอกระบบให้หมดสิ้นไปจากประเทศไทย และประชาสัมพันธ์โครงการสินเชือ่ รายย่อยเพือ่ ทดแทนหนีน้ อกระบบ ในอัตราดอกเบีย้ ทีเ่ ป็นธรรม โดยมี นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วมฯ ณ ห้องประชุมแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี
รับเรื่องร้องเรียนขอความเป็นธรรม พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม รับเรื่องร้องเรียนจากบิดาของนางลิน ลิน อายุ 34 ปี นักท่องเทีย่ วชาวจีนเพือ่ ขอความเป็นธรรมให้กบั บุตรสาว กรณีเสียชีวติ ปริศนาบริเวณสระนํา้ ภายในบ้านพักตากอากาศ บริเวณโรงแรมเกาะสมุย เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 8 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ
วิ่งการกุศล Bangkok Ribbon Run 2017 นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานเปิดงานวิ่งการกุศล Bangkok Ribbon Run 2017 เพื่อระดมทุน ให้ แ ก่ มู ล นิ ธิ พั น ธกิ จ เรื อ นจ� ำ คริ ส เตี ย น ได้ น� ำ ไปช่ ว ยเหลื อ สงเคราะห์ ผู ้ พ ้ น โทษ รวมทั้งบุตรของผู้ต้องขังที่อยู่ในความดูแล ของมูลนิธิฯ ณ Peppermint Bike Park & Mint Café เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ
12
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
พิธีถวายพระราชสักการะ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ผูแ้ ทนกระทรวงยุตธิ รรมพร้อมคณะ ร่วมพิธวี างพานพุม่ ถวายพระราชสั ก การะพระบาทสมเด็จพระปรมิน ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช เพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติและร�ำลึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ ท รงมี ต ่ อ ปวงชนชาวไทย และทรงมีพระปรีชาสามารถด้านการช่างรวมทั้งทรงให้ ความส�ำคัญในการพัฒนาฝีมือแรงงานของช่างไทยให้มี ความเป็นมาตรฐาน ณ ห้องประชุมจอมพล ป. พิบลู สงคราม ชั้น 5 อาคารกระทรวงแรงงาน กรุงเทพฯ
โครงการการขับเคลือ่ นการอำ�นวยความยุตธิ รรม นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็ น ประธานเปิ ด โครงการการขั บ เคลื่ อ นการอ� ำ นวย ความยุติธรรม โดยการเชื่อมโยงระหว่างศูนย์ยุติธรรม ชุ ม ชนกั บ ศู น ย์ ด� ำ รงธรรม จั ง หวั ด ชลบุ รี พร้ อ มทั้ ง บรรยายพิเศษเรื่อง “การขับเคลื่อนศูนย์ยุติธรรมชุมชน ภายใต้ภารกิจกระทรวงยุตธิ รรมและกระทรวงมหาดไทย” ณ ห้องคอนเวนชั่น ซี โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี
พัฒนาเยาวชนเพือ่ ก้าวสูบ่ คุ ลากรด้านกระบวนการยุตธิ รรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาความรู้และส่งเสริมคุณธรรม แก่บคุ ลากรในงานยุตธิ รรม ครัง้ ที่ 1/2560 เพือ่ พิจารณากรอบแนวทาง การพัฒนาเยาวชนทีอ่ ยูร่ ะหว่างการศึกษาในสาขาวิชาด้านกระบวนการ ยุตธิ รรมให้มที กั ษะวิชาชีพ โดยมุง่ เน้นการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ทีเ่ กีย่ วข้องในสาขากระบวนการยุตธิ รรมในสถานศึกษา ให้มปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น รวมทั้งการจัดกิจกรรมอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตส�ำนึก รักความยุตธิ รรม อันจะน�ำไปสูก่ ารวางรากฐานของกระบวนการยุตธิ รรม ทีม่ นั่ คง ณ ห้องประชุมกรมคุมประพฤติ ชัน้ 4 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ Justice Magazine Ministry of Justice
13
เรื่องเล่ายุติธรรม
“บังคับคดี” ลงนาม MOU
เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศกับศาลแพ่งธนบุรี เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน สร้างความ ยุติธรรมให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง 14
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
ข้ อ มู ล สารสนเทศมี ค วามส� ำ คั ญ อย่างยิ่งในการด�ำเนินงานของภาครัฐ การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศระหว่าง ห น ่ ว ย ง า น จึง เ ป ็ น กุ ญ แ จ ส� ำ คั ญ ที่จะท�ำให้เกิดการท�ำงานแบบบูรณาการ อันจะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึ่ ง ในปั จ จุบั น การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล สารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นอีก หนึง่ ช่องทางทีจ่ ะช่วยอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ประชาชนและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง
เรื่องเล่ายุติธรรม
ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของเรื่ อ งดั ง กล่ า ว เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2560 กรมบังคับคดีจึงได้ร่วมกับ ศาลแพ่งธนบุรี จัดให้มีพิธีการลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ (MOU) การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศ โดยวิ ธี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การปฏิบัติงานของทั้งสองหน่วยงานในการเชื่อมโยง ข้อมูลเกี่ยวกับหมายบังคับคดีของศาลแพ่งธนบุรีให้มี ความรวดเร็ว ถูกต้อง สมบูรณ์ อันจะเป็นการอ�ำนวย ความสะดวกให้แก่ประชาชน โดยมีนางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธานสั ก ขี พ ยาน ในพิธีฯ ณ ห้องประชุม ชั้น 5 ศาลแพ่งธนบุรี ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวว่า การลงนามบันทึกข้อตกลงการเชื่อมโยงข้อมูล สารสนเทศในครัง้ นี้ ถือเป็นการปรับปรุงระบบการท�ำงาน ให้รวดเร็วขึ้น ตามกรอบการจัดอันดับความยากง่าย ในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) ของธนาคารโลก ในตัวชี้วัดที่ 9 การบังคับให้เป็นไปตาม ข้อตกลง (Enforcing Contract) โดยการเชื่อมโยง ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลหมายบังคับคดี โดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วยวิธีการส่งทางจดหมาย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-mail) ในระบบเมลกลางภาครั ฐ (MailGoThai) โดยกรมบั ง คั บ คดี ส ามารถน� ำ ข้ อ มู ล หมายบั ง คั บ คดี ไ ปด� ำเนิ น การได้ ทั น ที ซึ่ ง เป็ น การลด ขั้นตอนในการด�ำเนินการบังคับคดี และเป็นการอ�ำนวย ความสะดวกให้ กั บ ประชาชนมากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ การท� ำ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วกั บ ศาลแพ่งธนบุรีถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญในการขยาย กรอบความร่วมมือกับศาลแพ่งต่าง ๆ และเป็นการพัฒนา เพื่อเข้าสู่ Thailand 4.0 ต่อไป ด้านนายโอภาส อนันตสมบูรณ์ อธิบดีผู้พิพากษา ศาลแพ่งธนบุรี กล่าวว่า ศาลยุติธรรมและกรมบังคับคดี ถือเป็นหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาตั้งแต่ ในอดีต แม้ปจั จุบนั ศาลยุตธิ รรมจะแยกตัวเป็นองค์กรอิสระ
แต่การปฏิบัติงานยังคงต้องอาศัยข้อมูลซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะหมายและค�ำสัง่ ต่าง ๆ ของศาลในชัน้ บังคับคดี การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นอีกก้าวหนึ่งในการพัฒนากระบวนการยุติธรรม ของไทย เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน อันเป็นที่ยอมรับของนานาอารยประเทศ ทั้ ง นี้ การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล สารสนเทศโดยวิ ธี ทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการช่วยสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน และลดระยะเวลาในการส่ ง หมายบั ง คั บ คดี จ าก ศาลแพ่งธนบุรีถึงกรมบังคับคดี เพื่อเป็นการอ�ำนวย ความสะดวกแก่ประชาชน ผู้รับบริการ และเจ้าหน้าที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน รวมถึ ง ยั ง เป็ น การพั ฒ นาระบบงาน สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนสร้ า งความยุ ติ ธ รรม ให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง Justice Magazine Ministry of Justice
15
บนความเคลื่อนไหว
กองบรรณาธิการ
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา
ทรงร่วมประชุม CND สมัยที่ 60 ณ กรุงเวียนนา ออสเตรีย
จากการที่ ป ระชาคมโลกได้ แ ลกเปลี่ ย นเรีย นรู ้ และสร้ า งองค์ ค วามรู ้ ร ่ ว มกั น อยู ่ ต ลอดเวลา ในแนวทางแก้ ไขปัญหายาเสพติดสู่การพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น ท�ำให้ ป ระเทศไทยมี บ ทบาทและได้ รั บ การยอมรั บ มากขึ้น จากนานาประเทศ ในด้ า น การส่ ง เสริม ความร่ ว มมื อ ตลอดจนแนวทาง การแก้ปัญหายาเสพติดแบบยั่งยืน ตามแนวทาง พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้ทรงริเริ่มไว้
16
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จร่วมพิธีเปิด การประชุ ม คณะกรรมาธิ ก ารยาเสพติ ด ของสหประชาชาติ หรื อ ซี เ อ็ น ดี (CND) สมั ย ที่ 60 ณ ห้ อ งประชุ ม แพลนนารี (Plenary Hall) อาคารศูนย์ประชุมนานาชาติเวียนนา กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น โดยส�ำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นโอดีซี (UNODC) จัดขึน้ เป็นประจ�ำทุกปี ซึง่ ในปีนจี้ ดั ขึน้ ระหว่างวันที่ 13-17 มีนาคม 2560 โดยมี พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม นายวิทยา สุริยะวงศ์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นายศิ ริ น ทร์ ย า สิ ท ธิ ชั ย เลขาธิ ก ารคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และนายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันการยุติธรรมแห่งประเทศไทย เฝ้ารับเสด็จ
บนความเคลื่อนไหว
การประชุมในครัง้ นีป้ ระกอบด้วยประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ ประเทศสมาชิ ก สหประชาชาติ อื่ น ๆ ผู ้ แ ทนกลุ ่ ม ประเทศเอเชี ย และแปซิฟกิ สหภาพยุโรป กลุม่ ประเทศแอฟริกา กลุม่ ประเทศละติน อเมริกาและแคริเบียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสหประชาชาติ รวมทัง้ ผูแ้ ทนภาควิชาการและภาคประชาสังคม ร่วมหารือแลกเปลีย่ น ประสบการณ์และความเชีย่ วชาญเกีย่ วกับการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก รวมทั้งเพื่อส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของโลก อย่างสมดุลและบูรณาการ โดยในปีนี้ มุ่งเน้นการติดตามการปฏิบัติ ตามอนุสัญญาควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศและการปฏิบัติ ตามปฏิญญาทางการเมือง และแผนปฏิบัติการว่าด้วยความร่วมมือ ระหว่ า งประเทศในการต่ อ ต้ า นปั ญ หายาเสพติ ด ที่ ค รอบคลุ ม ทั้งด้านการลดอุปสงค์และอุปทานยาเสพติด ตลอดจนติดตามผล การด�ำเนินงานตามเอกสารผลลัพธ์การประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยพิเศษ ว่าด้วยปัญหายาเสพติดโลก ในปี ค.ศ. 2016 และในปี น้ี ป ระเทศไทยยั ง ได้ จั ด นิ ท รรศการพิ เ ศษ ภายใต้ แนวคิ ด “ศาสตร์ แ ห่ ง ความสุ ข : จากศาสตร์ ข องพระราชา… สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงยุติธรรม สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย และมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อน�ำเสนอกระบวนการพัฒนาทางเลือกในบริบทของประเทศไทย ซึ่งเป็นแนวทางที่สหประชาชาติรับรอง และยูเอ็นโอดีซี ได้ส่งเสริม
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จร่วมการประชุม เวทีสาธารณะว่าด้วยหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน
ให้นานาประเทศน�ำไปปรับใช้ เพื่อถวายเป็นราชสดุดี แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทีท่ รงส่งเสริมให้ชาวเขาท�ำการเกษตรทดแทนการปลูกฝิน่ จึงช่วยเพิม่ ทางเลือกในการประกอบอาชีพ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งด้านการจัดการแหล่งนํ้า การสาธารณสุข และการศึกษา ท�ำให้ประชาชนห่างไกล ยาเสพติด อันเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่างยั่งยืน ในโอกาสนี้ พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พัชรกิติยาภา ในฐานะทูตสันถวไมตรีของยูเอ็นโอดีซี มีพระด�ำรัสเกี่ยวกับการวางแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหา ยาเสพติ ด โดยค� ำ นึ ง ถึ ง สภาพความเป็ น อยู ่ และวิ ถี ชี วิ ต อย่ า งแท้ จ ริ ง ของผู ้ ค นในแต่ ล ะพื้ น ที่ ทั้ง นี้ ทรงยกตัว อย่ างแนวทางการพั ฒนาทางเลือ ก ตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงให้ความส�ำคัญต่อสภาพ ปัญหาและความเป็นอยู่ที่แท้จริงของราษฎรชาวไทย ภูเขา ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สูงอันห่างไกล Justice Magazine Ministry of Justice
17
บนความเคลื่อนไหว
กรมคุมประพฤติ
ผนึกกำ�ลังภาคประชาชนเชิดชู
“อาสาสมัครคุมประพฤติ” จิตอาสาเพื่อสังคม การอยู ่ ร ่ ว มกั น ในชุ ม ชนยุ ค ปั จ จุบั น ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย ความเปลีย่ นแปลงจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีและสังคม ท�ำให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา การกระท�ำผิดกฎหมาย ก็ นั บ แต่ จ ะทวี ม ากยิ่ ง ขึ้ น คนท�ำผิ ด ถู ก ด�ำเนิ น คดี ถูกคุมประพฤติมากขึ้น โดยปัจจุบันผู้ถูกคุมประพฤติ มีจ�ำนวนกว่า 4.5 แสนคน ขณะทีม่ อี าสาสมัครดูแลเพียง 2 หมื่นกว่าคน ดังนั้นการส่งเสริมผู้มีจิตอาสาต่อสังคม เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อร่วมเป็นอาสาสมัครคุมประพฤติ จึงเป็นเรื่องที่ควรได้รับเกียรติและก�ำลังใจจากสังคม เพื่อเป็นแบบอย่างทีด่ งี ามต่อไป
18
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
เมื่ อ วั น ที่ 16 มี น าคม 2560 เวลา 09.00 น. กรมคุ ม ประพฤติ จั ด โครงการอบรมอาสาสมั ค ร คุมประพฤติ เพื่อน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการแก้ไขฟื้นฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชน อั น เป็ น การพั ฒ นาทั ก ษะ ส่งเสริมความรู้และพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติ งานและการบริ ห ารงานอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ เนื่ อ งในวั น อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ประจ� ำ ปี 2560 โดยมี พั น ต� ำ รวจเอก ดร.ณรั ช ต์ เศวตนั น ทน์ อธิ บ ดี กรมคุมประพฤติ เป็นประธาน พร้อมบรรยายพิเศษ เรื่อง นโยบายกรมคุมประพฤติที่เกี่ยวข้องกับอาสาสมัคร คุมประพฤติ และแขกรับเชิญพิเศษ คุณวู้ดดี้ - วุฒิธร มิลินทจินดา พิธีกรชื่อดัง มาร่วมพูดคุยและให้ก�ำลังใจ กั บ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ และในวั น เดี ย วกั น นี้ กรมคุมประพฤติได้จัดโครงการเชิดชูเกียรติอาสาสมัคร คุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ซึ่งได้รับเกียรติจาก นายถาวร พรหมมีชยั เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานในพิธี พร้อมมอบโล่อาสาสมัคร คุมประพฤติดีเด่น จ�ำนวน 28 คน และใบประกาศ เกียรติคุณอาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ที่ ป ฏิ บั ติ ง านเป็ น ระยะเวลา 25 ปี จ� ำ นวน 66 คน ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
บนความเคลื่อนไหว
นายสกล ไหมสาสน์ (อาสาสมัครคุมประพฤติดีเด่น)
พันต�ำรวจเอก ดร.ณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดีกรมคุมประพฤติ ประธานเปิดการอบรม
พั น ต� ำ รวจเอก ดร.ณรั ช ต์ เศวตนั น ทน์ อธิ บ ดี กรมคุมประพฤติ กล่าวว่า เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559 เห็นชอบมาตรการบูรณาการ แก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ติ ด ตามดู แ ลช่ ว ยเหลื อ และสงเคราะห์ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด และมาตรการการน� ำ ชุ ม ชนเข้ า มา มี ส ่ ว นร่ ว มในการดู แ ลแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด จึ ง ต้ อ งขอความร่ ว มมื อ จากภาคประชาชนให้ เ ข้ า มา มี ส ่ ว นร่ ว มป้ อ งกั น ปั ญ หาอาชญากรรมในชุ ม ชน โดยปั จ จุ บั น มี อ าสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ทั่ ว ประเทศ เพี ย ง 23,941 ราย ซึ่ ง ถื อ ว่ า น้ อ ยเมื่ อ เที ย บกั บ จ� ำ นวนของผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ล 450,000 ราย ฉะนั้ น กรมคุ ม ประพฤติ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้องรับสมัครอาสาสมัครคุมประพฤติเพิม่ ขึน้ เพือ่ มาร่วมกัน ดูแลสงเคราะห์แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ส�ำหรับผู้ที่มีความพร้อมและมีจิตอาสาช่วยเหลือ สังคมที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป มีสุขภาพร่างกายและจิตใจ แข็งแรง มีวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไป โดยเฉพาะกลุม่ วัยเรียนวัยท�ำงาน สามารถเข้ามาร่วมเป็น อาสาสมัครคุมประพฤติ ภายใต้ชื่อ “คุมประพฤติ สังคม ชุ ม ชนปลอดภั ย ” เพื่ อ เป็ น การเฝ้ า ระวั ง ตนเองและ คนในครอบครั ว ในการป้ อ งกั น ภั ย อาชญากรรม และมีโอกาสให้ความช่วยเหลือผู้ก้าวพลาดกลับมาเป็น คนดีสู่สังคม โดยผู้ที่มีความสนใจสามารถสมัครได้ที่ www.probation.go.th หรือส�ำนักงานคุมประพฤติ ทั่วประเทศ สอบถามเพิ่มเติม โทร. 1111 กด 78
ในฐานะที่เป็นอาสาสมัครคุมประพฤติ มีหลักในการท�ำงานคือ เรามีหลักคิด ในภารกิจของการคุมประพฤติจงึ ก�ำหนดเป็นวิสยั ทัศน์ คือ ปฏิบตั ภิ ารกิจด้วยจิตอาสา พัฒนาแก้ไขฟืน้ ฟู คืนคนดีสสู่ งั คม เป็นวิสยั ทัศน์ของศูนย์ประสานงานอาสาสมัคร คุมประพฤติ อ�ำเภองาว จังหวัดล�ำปาง เมื่อเราก�ำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันจึงน�ำไปสู่ การปฏิบัติ และก�ำหนดเป็นพันธกิจว่า ศูนย์อาสาสมัครคุมประพฤติอ�ำเภองาว จะมีภารกิจอะไรบ้าง คือก�ำหนดมาตรการในการพัฒนาอาสาสมัครคุมประพฤติ ก� ำ หนดมาตรการในการที่ จ ะพั ฒ นาด้ า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตามคุ ณ ธรรม 12 ประการของรัฐบาลให้กับผู้ถูกคุมประพฤติ จากนั้นจึงมีการพัฒนาเกี่ยวกับ การท�ำงานบูรณาการกับทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ส่วนในการท�ำงาน นั้ น เราอาศั ย หลั ก การท� ำ งานแบบบู ร ณาการ คื อ ยึ ด หลั ก การมี ส ่ ว นร่ ว ม และหลักประชาธิปไตย ทุกคนที่เป็นอาสาสมัครจะต้องร่วมคิด ร่วมรับผิดชอบ ร่วมปฏิบัติ ร่วมตัดสินใจ โดยผลจากการที่ให้ทุกคนมีส่วนร่วม ท�ำให้เราสามารถ ดูแลผู้ถูกคุมประพฤติที่ได้รับมอบหมายจากส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดล�ำปาง ที่ ส ่ ง ไปให้ ใ นพื้ น ที่ อ� ำ เภองาวได้ เ ป็ น อย่ า งดี ทั้ ง ในด้ า นการรั บ รายงานตั ว การท�ำงานบริการสังคม ตลอดจนการสอดส่องดูแลช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผู้ที่ถูกคุมประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติในส่วนตัวผมเองนัน้ ได้มกี ารลงไปพบผูถ้ กู คุมประพฤติ โดยตรง ถ้าเป็นกรณีเด็กและเยาวชนก็จะมีการพบกับผู้ปกครองและพูดคุยกันว่า จากปัญหาคือสิ่งที่เด็กไปกระท�ำผิดมาตามข้อมูลของส�ำนักงานคุมประพฤติ แจ้งมาให้ เราจะดูวา่ ปัญหาจริง ๆ นัน้ เกิดจากตัวเด็ก เพือ่ น หรือสิง่ แวดล้อมรอบตัว เมื่อวิเคราะห์ได้ว่าอะไรคือสาเหตุของปัญหา จากนั้นก็จะแก้ปัญหาร่วมกัน ในที่นี้หมายถึงผู้ปกครอง ตัวเด็ก ชุมชน ญาติ และเพื่อนบ้าน เราจะช่วยกันดูแล ซึ่ ง ต้ อ งเป็ น ไปตามที่ ศ าลก� ำ หนด ว่ า ต้ อ งกี่ ค รั้ ง บริ ก ารสั ง คมกี่ ชั่ ว โมง และเมื่อด�ำเนินการให้ครบเสร็จก็จะมีการบันทึกและรายงานผลว่าเด็กท�ำครบ ตามเงื่อนไขศาล เด็กมีการท�ำงานบริการสังคมครบตามก�ำหนดและบางครั้ง โดยเฉพาะเด็กที่มีปัญหายาเสพติดเราก็จะขอเพิ่มเติม โดยก�ำหนดให้เป็นระยะ 7 วันมาพบกันครั้งหนึ่ง เด็กก็จะได้ไม่ทิ้งห่างไป แต่ไม่ยืนยันว่าจะครบ 100% แต่เชื่อมั่นว่าสิ่งที่ท�ำนั้นจะท�ำให้ผู้หลงผิดได้กลับเนื้อกลับตัว และเราก็จะคืนคนดี สู่สังคมตามเป้าหมายและอุดมการณ์ของอาสาสมัครคุมประพฤติ
Justice Magazine Ministry of Justice
19
บนความเคลื่อนไหว
นายสุกิจ ค�ำทา (อาสาสมัครคุมประพฤติดีเด่น)
งานอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ เป็ น งานที่ ท� ำ ด้ ว ยใจ เป็ น การช่ ว ยเหลื อ โดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน ไม่ ต ้ อ งไปเครี ย ดหรื อ แย่ ง ต� ำ แหน่ ง งานอะไรกั น ท� ำ สบาย ๆ ท� ำ ให้ เ ต็ ม ที่ พอได้ ช ่ ว ยเหลื อ แล้ ว ก็ ส บายใจ ซึ่ ง รางวั ล ดี เ ด่ น นี้ เจ้ า หน้ า ที่ ข องส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ เ ป็ น คนสรุ ป ท� ำ สถิ ติ ใ ห้ ผมก็ ท� ำ เต็ ม ที่ เต็มความสามารถ มีเคสมาเราก็ท�ำไป ไม่ได้สนใจจดว่าท�ำสถิติเท่าไหร่แล้ว เจ้าหน้าที่เป็นคนรวบรวมให้ ซึ่งถือเป็นความดีของเจ้าหน้าที่ที่รวบรวมให้ เราไม่มีสิทธิ์รู้ ก็ท�ำเต็มที่ และรู้สึกภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือแนะน�ำคนที่มีปัญหา โดยส่ ว นตั ว ผมมี อ าชี พ ทนายความด้ ว ย เวลาคุ ย หรื อ แนะน� ำ เรื่ อ งคดี ก็ จ ะช่ ว ยอธิ บ ายเรื่อ งต่ า ง ๆ ให้ ผู ้ ถู ก คุ ม ประพฤติ แ ละญาติ พี่ น ้ อ งเข้ า ใจ บางครั้ ง แนะน� ำ เผื่ อ เขาไปด้ ว ย รู ้ สึ ก ว่ า ท� ำ แล้ ว สบายใจ เหมื อ นกั บ ท� ำ บุ ญ ท� ำ แล้ ว ได้ บุ ญ ถ้ า ใครมี เ วลาหรื อ พอที่ จ ะสละเวลาได้ ก็ อ ยากเชิ ญ ชวน ให้มาร่วมท�ำงานด้วยกัน
ส�ำหรับหลักในการท�ำงานคือ ท�ำอะไรก็ได้ที่ท�ำให้ เขามีความสุข ซึ่งสิ่งที่ท�ำล้วนเป็นสิ่งที่ดี ๆ โดยเริ่มจาก การเป็นจิตอาสาพัฒนาชุมชน ต่อมาได้เข้ามาท�ำงานเป็น อาสาสมัครคุมประพฤติ จนถึงปัจจุบัน (งานอาสาสมัคร คุมประพฤติท�ำมาตั้งแต่ปี 2547) และคิดว่าจะท�ำต่อไป มณี ทองประเสริฐ (อาสาสมัครคุมประพฤติดีเด่น) เพราะสงสารเด็กในชุมชน โดยเราสามารถที่จะประสาน หลั ก ในการท� ำ งานคื อ เริ่ ม มาจากการที่ มี จิ ต อาสาและมี ใ จที่ อ ยาก กับหลาย ๆ หน่วยงานเพือ่ ให้การช่วยเหลือได้ เพราะบางครัง้ จะช่ ว ยเหลื อ คนที่ ห ลงผิ ด ไปแล้ ว ต้ อ งการช่ ว ยเหลื อ และสงเคราะห์ เด็ ก ในชุ ม ชนยั ง ขาดแคลนเรื่ อ งค� ำ แนะน� ำ และ อยากให้เขากลับมาเป็นคนดีในสังคม และท�ำให้สังคมยอมรับ ไม่อยากให้เขามี การเสนอแนะต่าง ๆ ในทางที่ดี ความคิ ด ในใจว่ า คนในสังคมไม่ยอมรับ เขาต่อการกระท� ำ ความผิ ด ของเขา นายอุดม จันเลน (อาสาสมัครคุมประพฤติ ส่วนบางคนทีม่ ขี อ้ ผิดพลาดจริงๆ และสังคมไม่ยอมรับ เราจะพยายามไปช่วยเหลือ ที่ปฏิบัติงานเป็นระยะเวลา 25 ปี) โดยการพูดคุยกับผู้น�ำชุมชน หรือผู้ใหญ่บ้าน เพราะเคยท�ำหน้าที่ผู้น�ำชุมชน เริ่ ม ท� ำ งานอาสาสมั ค รมาตั้ ง แต่ ป ี 2532 ซึ่ ง เป็ น มาก่อนจึงเข้าไปให้ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลือลูกบ้านให้มีโอกาสและมีความเข้าใจ การอบรมครั้ ง แรก และมาเริ่ ม งานคุ ม ประพฤติ มากยิ่งขึ้น โดยการท�ำงานที่ผ่านมา ได้รับการผลักดันจากเจ้าหน้าที่ในส�ำนักงาน โดยเป็ น เครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น ซึ่ ง มี เ พื่ อ นชั ก ชวน ที่มาถ่ายทอดประสบการณ์รวมทั้งเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อที่จะไปช่วยเหลือคนที่ มาอยู่ในเครือข่ายอาสาสมัครคุมประพฤติ ตอนนี้เป็น ขาดโอกาสต่อไปด้วย ข้าราชการบ�ำนาญ ท�ำหน้าที่รองผู้อ�ำนวยการวิทยาลัย นายสมบูรณ์ ศรีจันทร์ (อาสาสมัครคุมประพฤติดีเด่น) เทคนิ ค เชี ย งราย โดยใช้ เ วลาว่ า งหลั ง จากที่ เ ลิ ก งาน การที่ได้ท�ำงานอาสาสมัครท�ำให้ตัวเราเองมีความสุข เพราะท�ำในสิ่งที่ใจรัก ไปสืบเสาะ เข้าไปหาผู้ถูกคุมความประพฤติ ซึ่งทาง และได้ ช ่ ว ยเหลื อ บุ ค คลอื่ น โดยส่ ว นที่ ท� ำ ให้ มี โ อกาสได้ ท� ำ งานนี้ คื อ กรมคุ ม ประพฤติ จ ะส่ ง ข้ อ มู ล มาให้ ว ่ า ต� ำ บลนี้ มี กี่ ร าย 1.มีใจรัก 2.ครอบครัวให้โอกาสท�ำในสิ่งที่เราชอบ ส�ำหรับความภาคภูมิใจคือ โดย 1 ราย จะรายงานประมาณ 3-4 ครั้ง ซึ่งเมื่อก่อน เราได้ให้ความช่วยเหลือและให้ค�ำแนะน�ำเขา งานบางอย่างที่ได้รับมอบหมายมา ไม่ มี ค ่ า ตอบแทน ท� ำ ด้ ว ยใจ ท� ำ ด้ ว ยความเสี ย สละ เราสามารถเข้าถึงเด็กทีม่ ปี ญ ั หา จากทีเ่ ขาเคยมีความคิดผิด ๆ ให้กลับมาด�ำรงชีวติ ขึ้ น เขาก็ ไ ป ใกล้ ไ กลไปหมด รู ้ สึ ก อิ่ ม ใจที่ เ ราให้ เ ขา ในสังคมได้ดีขึ้น ซึ่ ง บางครั้ ง เราจะได้ ต อบแทนกลั บ มา เช่ น เวลาที่ มี อุบัติเหตุจะมีสิ่งที่มาคุ้มครองเรา และรู้สึกประทับใจ ที่ เ ราได้ ใ ห้ ค วามรั ก ความอบอุ ่ น และดี ใ จที่ เ ราได้ ไ ป ดูแลเขาถึงบ้าน ไปให้ความกระจ่าง บางคนไม่มีความรู้ เราก็อธิบายให้ฟงั บางคนต้องโทษ ต้องการค่าประกันศาล หรือค่าปรับบ้าง ซึง่ การได้ชว่ ยเหลือคนถือเป็นความภูมใิ จ อย่างหนึ่ง ขณะนี้ถึงวาระเกษียณในปี 2559 ท�ำงานมา เกือบ 40 ปีแล้ว และได้รับโล่ดีเด่นไปเมื่อปี 2550 โดยส�ำนักงานคุมประพฤติเสนอให้ได้เครื่องราชดิเรก คุณากรณ์ ซึ่งเพิ่งจะท�ำงานได้เพียง 25 ปี แต่ได้รับ เครื่ อ งราชฯ ถื อ ว่ า เป็ น เกี ย รติ สู ง สุ ด แล้ ว และดี ใ จ ที่ ปี ต ่ อ ๆ ไปจะมี อ าสาสมั ค รคุ มประพฤติ เ พิ่มมากขึ้น ซึ่งจะได้ช่วยเหลือคนอื่นได้เยอะมากขึ้นด้วย
20
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
นิตินัย นิยมวัน
บนความเคลื่อนไหว
พระกริ่งไพรีพินาศ : “พระกริ่งยุติธรรม รุ่น 1” วัตถุมงคลล้ำ�ค่า แห่งความวัฒนาสถาพร ของกระทรวงยุติธรรม ในปีที่ 126 กระทรวงยุติธรรม ถือเป็นหน่วยงานหลักของ กระบวนการยุตธิ รรมในการอำ�นวยความยุตธิ รรม แก่ ป ระชาชน ภารกิ จ ของกระทรวงเกี่ ย วข้ อ ง โดยตรงกั บ ความถู ก ต้ อ งและความดี ง าม ดังนั้น ในวาระสำ�คัญของการสถาปนาองค์กร การสร้ า งขวั ญ และกำ � ลั ง ใจให้ แ ก่ ข้ า ราชการ และเจ้ า หน้ า ที่ ด้ ว ยการมอบสิ่ ง สั ก การบู ช าคื อ พระกริ่งไพรีพินาศ จึงนับเป็นสิริมงคลยิ่ง
ในโอกาสที่กระทรวงยุติธรรม ได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร ที่ท�ำการกระทรวงยุติธรรมขึ้น เมื่อวันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งวันดังกล่าวตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนากระทรวงยุติธรรม ขึ้นเมื่อ 126 ปี ล่วงมาแล้ว และในการประกอบพิธีอันเป็นมงคลครั้งนี้ คณะผู ้ บริ ห ารกระทรวงยุ ติธ รรม ได้ มีด� ำ ริ ที่ จ ะสร้ า งสิ่ ง มงคลสักการะ มอบเป็นที่ระลึกส�ำหรับผู้มาร่วมงานดังกล่าว โดยได้มีความเห็นชอบ ที่จะจัดสร้าง พระกริ่งไพรีพินาศ : “พระกริ่งยุติธรรม รุ่น 1” โดยมี นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม นายลอยหล้า ชิตเดชะ ผู้อ�ำนวยการกองออกแบบและก่อสร้าง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และอนุศาสนาจารย์ราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์ เป็นผู้ด�ำเนินการ เมือ่ กล่าวถึง “พระกริง่ ” หลาย ๆ ท่าน คุน้ เคยกับพระเครือ่ งองค์เล็ก ๆ ที่ เ มื่ อ เขย่ า ดู แ ล้ ว จะมี เ สี ย งกรุ ๊ ก กริ๊ ก กรุ ๊ ก กริ๊ ก จากด้ า นในองค์ พ ระ คล้ า ย ๆ เสี ย งกริ่ ง ซึ่ ง ได้ มี ผู ้ ก ล่ า วไว้ ว ่ า สมเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสสฺ เทโว) สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 12 แห่ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ เคยรั บ สั่ ง เสมอว่ า ค� ำ ว่ า “กริ่ ง ” นี้ มาจากค� ำ ว่ า Justice Magazine Ministry of Justice
21
บนความเคลื่อนไหว
(วัดสามปลื้ม) จัดสร้างโดยพระพุฒาจารย์ เอกสถาน ปรี ช าฯ (มา) ซึ่ ง ทั้ ง หมดที่ ก ล่ า วมา พุ ท ธศาสนิ ก ชน ต่ า งปรารถนาที่ จ ะได้ ม าสั ก การบู ช า ด้ ว ยศรั ท ธา ในพุทธคุณของพระกริ่งอันทรงคุณวิเศษหลายประการ เชื่อว่าเกิดคุณด้านความเจริญรุ่งเรือง เมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี แคล้วคลาดปลอดภัย เกิดผลในทาง คุ้มครองรักษา ตามประวัติว่าได้เคยมีการอาราธนาคุณ พระกริ่งท�ำนํ้ามนต์ เพื่อปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยร้ายแรง ในสมัยก่อนกาลนานมาแล้ว เป็นต้น ในส่วนของกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก ของกระบวนการยุติธรรม ในการอ�ำนวยความยุติธรรม ให้ แ ก่ ป ระชาชน ภารกิ จ ของกระทรวงจึ ง เกี่ ย วข้ อ ง “กึ กุสโล” (กิง กุสะโล) อันเป็นชื่อของ อเนญชา (สภาพที่ปรุงแต่งภพอันมั่นคง โดยตรงกั บ “ความถู ก ต้ อ งและความดี ง าม” ดั ง นั้ น ไม่ ห วั่ น ไหว ได้ แ ก่ ภาวะจิ ต ที่ มั่ น คงแน่ ว แน่ ด ้ ว ยสมาธิ แ ห่ ง จตุ ต ถฌาน) คื อ “นิ พ พุ ติ ” แปลว่ า “ดั บ สนิ ท ” หมายถึ ง “พระนิ พ พาน” นั่ น เอง (ข้อมูลจาก HYPERLINK “http://www.bopunkan.com/index.php?lay =show&ac=article&Id=539085016&Ntype=12” http://www.bopunkan. com/index.php?lay =show&ac=article&Id=539085016&Ntype=12) ส�ำหรับรูปแบบองค์พระกริ่งนั้นได้ถูกจ�ำลองจากรูป “พระไภษัชยคุรุไวฑูรย ประภาตถาคต” เป็นพระพุทธเจ้าทีพ่ บเฉพาะในนิกายมหายาน พระนามของท่าน หมายถึงพระตถาคตเจ้าผู้เป็นบรมครูแห่งยารักษาโรค พระนามอื่น ๆ ของท่าน คือ พระไภษัชยคุรตุ ถาคต พระมหาแพทย์ราชาพุทธเจ้า พระมหาไภษัชยราชพุทธเจ้า ในความเชื่ อ ของชาวจี น รู ป ของพระองค์ อ ยู ่ ใ นท่ า นั่ ง สมาธิ มี รั ต นเจดี ย ์ หรือวชิระ วางบนพระหัตถ์ ในความเชือ่ ของชาวทิเบต พระองค์มกี ายสีนาํ้ เงินเข้ม นั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาถือยาสมุนไพร (นิยมเป็นเห็ดหลินจือ) พระหัตถ์ซ้าย วั ต ถุ ม งคลที่ จ ะเป็ น ขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจ ให้ แ ก่ ข ้ า ราชการ ถือบาตร หรือโถยา หรือหม้อยา วางบนพระเพลา ถือกันว่าทรงเป็นพระพุทธเจ้า และเจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงยุตธิ รรม ในโอกาสอันส�ำคัญนี้ ที่สามารถรักษาโรคทางกาย และโรคทางกรรมของสัตว์โลก โดยความเห็นชอบของคณะผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม การสร้างพระกริ่งในดินแดนสุวรรณภูมินั้น ได้รับอิทธิพลจากการเผยแผ่ ก็คือ “พระไพรีพินาศ” วัดบวรนิเวศวิหาร ของนิกายมหายาน เข้าสู่ดินแดนทิเบต จีน และกัมพูชา จึงมีคติสร้างพระกริ่ง “พระไพรีพินาศ” เป็นพระพุทธรูปศิลาขนาดย่อม เพือ่ ท�ำการสักการะบูชา โดยพบหลักฐานการสร้างพระกริง่ ทีเ่ มืองแส หรือหนองแส แบบมหายาน ประทับนั่งแบบวัชรอาสน์ (ขัดสมาธิเพชร) เรียกว่า พระกริ่งหนองแส ในสมัยพระเจ้าพีล่อโก๊ะหรือขุนบรม แห่งอาณาจักร บนปัทมาสน์ ประกอบด้วยกลีบบัวควาํ่ และกลีบบัวหงาย น่านเจ้า (ปกครองอยู่ในระหว่างปี พ.ศ. 1270-1290 มีสัมพันธไมตรีกับประเทศ มีเกสรดอกบัวประดับ ทรงแสดง วรมุทรา (ปางประทานพร) จีนและทิเบต) ซึ่งปัจจุบันคือ มณฑลฮุนหน�ำ ในประเทศจีน ตลอดจนพบ โดยหงายพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวา การจัดสร้างพระกริ่งอุบาเก็ง หรือพระกริ่งพนมบาเก็ง พระกริ่งพระปทุมสุริยวงศ์ วางหงายเหนือพระชานุ (เข่า) ด้านขวา หน้าตักกว้าง 33 ซ.ม. และพระกริ่งตั๊กแตน ในประเทศกัมพูชาด้วย และมีความสูงถึงปลายรัศมี 53 ซ.ม. ซึ่งมีผู้น�ำมาถวาย ส�ำหรับประเทศไทย เริม่ มีการสร้างพระกริง่ ในสมัยรัตนโกสินทร์ ซึง่ เจ้าต�ำรับ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 การสร้างพระกริ่งคือ วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร จัดสร้างโดยสมเด็จ เมื่อราวปี พ.ศ. 2391 ในขณะนั้นพระองค์ยังผนวชอยู่ที่ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) ซึ่งมีประวัติการสร้าง วัดบวรนิเวศวิหาร และอยู่ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระกริ่งมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2441 แต่หากจะกล่าวถึงพระกริ่งองค์แรก พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระไพรีพินาศองค์นี้ทรงแสดง ที่ ห ล่ อ ขึ้ น ในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ อั น ลื อ ชื่ อ ก็ ไ ด้ แ ก่ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร อภิ นิ ห ารให้ ป รากฏแก่ อ ริ ร าชศั ต รู ที่ คิ ด ปองร้ า ย โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงสร้างขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้มีอันเป็นไป และขนานนามว่า “พระกริ่งปวเรศ” ส่วนพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ อีกสายหนึ่งที่มี และพ่ า ยแพ้ ภั ย ตนเอง พระองค์ จึ ง โปรดเกล้ า ฯ ประวัตกิ ารสร้างทีน่ า่ สนใจตามต�ำรับโบราณคือ พระกริง่ สายวัดจักรวรรดิร์ าชาวาส ให้ ถ วายพระนามของพระพุ ท ธรู ป องค์ ส� ำ คั ญ นี้ ว ่ า
22
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
บนความเคลื่อนไหว
“พระไพรีพินาศ” โดยมีหลักฐานเป็นกระดาษซึ่งพบ ในพระไพรีพินาศเจดีย์ มีอักษรเขียนว่า “พระสถูปเจดีย์ สิลาบัลลังองค์ จงมีนามว่า พระไพรีพินาศเจดียเทิญ” และอีกด้านเขียนว่า “เพราะตั้งแต่ท�ำแล้วมา คนไพรี ก็วนุ่ วายยับเยินไปโดยล�ำดับ” (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาสน์สมเด็จ เล่ม 2 หน้า 85-116) กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ผ นวกพุ ท ธลั ก ษณะและ พุทธคุณของพระไพรีพินาศและพระกริ่ง จัดสร้างเป็น “พระกริ่งไพรีพินาศ” ด้วยเนื้อนวะโลหะ ขนาดความสูง 3.2 เซนติ เ มตร ได้ น� ำ พระดุ ล พาห (ตราสั ญ ลั ก ษณ์ กระทรวงยุติธรรม) ประดิษฐานไว้ที่ด้านหน้าฐานบัว และด้านหลังมีตราสัญลักษณ์ 126 ปี กระทรวงยุตธิ รรม ซึ่ ง อนุ ศ าสนาจารย์ ร าชทั ณ ฑ์ ได้ น� ำ ชนวนโลหะ และมวลสารมงคลจากพระเกจิ อ าจารย์ ทั่ ว ประเทศ โดยเฉพาะชนวนมงคลจากการจัดสร้างหลวงพ่อโสธร รุ ่ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา มาเป็ น มวลสารส� ำ คั ญ ในการจั ด สร้ า ง และอุ ด ก้ น กริ่ ง ฐานองค์ พ ระด้ ว ยเที ย นมหามงคล โดยได้ขนานนามพระกริ่งนี้ว่า “พระกริ่งยุติธรรม รุ่น 1” ซึง่ เจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตโฺ ต ป.ธ.9) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต เจ้ า อาวาสวั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร ได้ เ มตตาอนุ ญ าต ให้ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด สร้ า งขึ้ น เป็ น กรณี พิ เ ศษ จ�ำนวน 999 องค์ แต่ละองค์จะตอกโค้ดและมีหมายเลข ก� ำ กั บ ทุ ก องค์ พร้ อ มกั น นั้ น ได้ จั ด พิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษก ในวั น ศุ ก ร์ ที่ 24 มี น าคม 2560 เวลา 19.00 น.
ณ พระอุ โ บสถวั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร โดยมี พ ระสงฆ์ ท รงสมณศั ก ดิ์ 10 รู ป เจริ ญ พระพุ ท ธมนต์ และธรรมจั ก รกั ป ปวั ต นสู ต ร พระมหานาคสวดคาถา พุทธาภิเษก โดยเจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.9) อธิษฐานจิตเดี่ยว ซึ่งในพิธีการดังกล่าว นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวง ยุติธรรม พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ได้เข้าร่วมพิธี ดังกล่าวโดยพร้อมเพรียงกัน เช้าวันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2560 ซึ่งเป็นวันประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร ที่ท�ำการกระทรวงยุติธรรม คณะอนุศาสนาจารย์ราชทัณฑ์ ได้เชิญพระกริ่ง ไพรีพินาศ : “พระกริ่งยุติธรรม รุ่น 1” ทั้ง 999 องค์ ไปตั้งกลางแจ้งในมณฑล พิธีวางศิลาฤกษ์ เพื่อเข้าร่วมพิธีบวงสรวง โดยพระมหาราชครูพิธี ศรีวิสุทธิคุณ ประธานพระครูพราหมณ์ และเข้าร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์ โดยพระสงฆ์ ทรงสมณศักดิ์ 10 รูป ที่รับอาราธนาจากพระอารามหลวงส�ำคัญ จ�ำนวน 9 วัด ซึ่งถือเป็นการเทวาภิเษก และพุทธาภิเษกอีกวาระหนึ่ง ก่อนที่จะแจกจ่าย ให้แก่ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมทุกคนที่เข้าร่วมในพิธี กล่าวได้ว่า พระกริ่งไพรีพินาศ : “พระกริ่งยุติธรรม รุ่น 1” จัดเป็น วั ต ถุ ม งคลลํ้ า ค่ า ที่ ร ะลึ ก แห่ ง ความวั ฒ นาสถาพรของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในปีที่ 126 เป็นสิริมงคล และเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรมทีไ่ ด้รบั ไปสักการบูชา เป็นสิง่ ยึดเหนีย่ วจิตใจ ให้ตั้งมั่นใน “ความถูกต้องและความดีงาม” อันเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ ผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม ที่จัดสร้างขึ้นเพื่อสืบต่ออายุของพระพุทธศาสนา และมุ ่ ง หวั ง ให้ ทุ ก ท่ า นได้ ยึ ด มั่ น ในคุ ณ งามความดี เป็ น ผู ้ ป ระพฤติ ธ รรม ให้ถึงพร้อมด้วยไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อสิ่งดีงามจะบังเกิด แก่ทุกท่านสืบไป ดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “ธมฺโม หเว รักขติ ธมฺมจารึ ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม”
เอกสารอ้างอิง นิรันดร์ แดงวิจิตร อ้างถึงใน “ตำ�นาน “พระกริ่ง” และ “พระชัยวัฒน์” ” ค้นหาจาก http://www.bopunkan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539085016&Ntype=12 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. “สาสน์สมเด็จ เล่ม 2” กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2505 1 นักทัณฑวิทยาชำ�นาญการ กรมราชทัณฑ์
Justice Magazine Ministry of Justice
23
กองบรรณาธิการ
บนความเคลื่อนไหว
กระทรวงยุติธรรม ลงนาม MOU กับ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงฐานข้อมูลประชาชน ขับเคลื่อนแนวทางป้องกัน ปัญหาอาชญากรรม
จากแนวนโยบาย “ประเทศไทย 4.0” หรือ “ไทยแลนด์ 4.0” การขับเคลื่อนของหน่วยงาน ภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ จ�ำเป็นต้องเชื่อมโยง และบูรณาการภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน อันจะน�ำไปสู่เป้าหมาย การลดปัญหาอาชญากรรม สร้างความปลอดภัย ให้กับประชาชนในสังคม การบูรณาการข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ โดยยึดหลักความคุม้ ค่าเพือ่ ส่งเสริมการเป็น Connected Government หรื อ การเชื่ อ มโยงหน่ ว ยงานภาครั ฐ และการก� ำ หนดกรอบแนวทางการป้ อ งกั น ปั ญ หา อาชญากรรมที่มีประสิทธิภาพ เป็นนโยบายที่รัฐบาล ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากการขับเคลื่อน นโยบายดังกล่าว จะท�ำให้งานบริการประชาชนของภาครัฐ เกิ ด ความสะดวกและรวดเร็ ว พร้ อ มทั้ ง ยั ง สามารถ สร้างความปลอดภัยให้เกิดขึน้ ในสังคม เพือ่ เป็นการสร้าง
24
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
บนความเคลื่อนไหว
ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน อันจะน�ำไปสู่ทิศทาง การปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม กระทรวง ยุติธรรม โดยส�ำนักงานกิจการยุติธรรม จึงได้จัดให้มี พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ (MOU) ร่ ว มกั บ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องขึ้น ในวันที่ 9 มีนาคม 2560 ณ ห้องออดิทอเรียม โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ และคอนเวนชั น เซ็ น เตอร์ แจ้ ง วั ฒ นะ กรุ ง เทพฯ โดยมีนายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ร่วมเป็นสักขีพยาน ส� ำ หรั บ บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ที่ จั ด ให้ มี ก ารลงนาม ในครั้ ง นี้ มี ขึ้ น จ� ำ นวน 2 ฉบั บ ได้ แ ก่ 1.บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ประชาชนและ การบริการภาครัฐ ระหว่างการบูรณาการฐานข้อมูล ประชาชนและการบริ ก ารภาครั ฐ (MOI Linkage Center) กระทรวงมหาดไทย และศู น ย์ แ ลกเปลี่ ย น ข้อมูลกระบวนการยุติธรรม (Data Exchange Center) ส� ำ นั ก งานกิ จ การยุ ติ ธ รรม กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพือ่ เป็นต้นแบบการด�ำเนินงานเชือ่ มโยงข้อมูลประชาชน และบริ ก ารภาครั ฐ ส่ ง เสริ ม การเป็ น Connected Government รวมถึงเพือ่ เป็นการส่งเสริมการปฏิบตั งิ าน ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร อ� ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 และเพื่ อ เป็ น การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ของส่ ว นราชการ และหน่ ว ยงานของรั ฐ บาลโดยวิ ธี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อันจะน�ำไปสูค่ วามสะดวกรวดเร็ว และคุม้ ค่า ตามนโยบาย ประเทศไทย 4.0 โดยมี นายวัลลภ นาคบัว ผู้อ�ำนวยการ
ส� ำ นั ก งานกิ จ การยุ ติ ธ รรม กระทรวงยุ ติ ธ รรม และนายนรภัทร ปลอดทอง ทีป่ รึกษาด้านการบริหารงาน จังหวัดแบบบูรณาการ กระทรวงมหาดไทย ร่วมลงนาม 2.บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ การขั บ เคลื่ อ นกรอบแนวทาง การป้องกันอาชญากรรม ระหว่างกระทรวงมหาดไทย ส� ำ นั ก งานกิ จ การยุ ติ ธ รรม กระทรวงยุ ติ ธ รรม และกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทิศทางในการพัฒนางาน ด้านการป้องกันอาชญากรรมให้มปี ระสิทธิภาพ เชือ่ มโยง และบูรณาการภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เป็นไป ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น น� ำ ไปสู ่ เ ป้ า หมายการลดปั ญ หา อาชญากรรม และสร้างความปลอดภัยให้กับประชาชน ในสังคม โดยมีนายวัลลภ นาคบัว ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน กิจการยุตธิ รรม กระทรวงยุตธิ รรม นายนรภัทร ปลอดทอง ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการบริ ห ารงานจั ง หวั ด แบบบู ร ณาการ กระทรวงมหาดไทย และพันต�ำรวจเอก พิชยั เกรียงวัฒนศิริ รองปลัดกรุงเทพมหานคร ร่วมลงนาม นอกจากนี้ ภายในงานยั ง มี ก ารจั ด นิ ท รรศการ “แนวทางการป้องกันอาชญากรรมและการเชื่อมโยง ฐานข้ อ มู ล ประชาชนกั บ ข้ อ มู ล ด้ า นกระบวนการ ยุติธรรม” และมีการสาธิตระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูล กระบวนการยุตธิ รรม (DXC) และแนวทางการเชือ่ มโยง ฐานข้อมูลประชาชนกับข้อมูลด้านกระบวนการยุตธิ รรม เพื่อแสดงให้เห็นการสืบค้นข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ของภาครัฐ ที่สะดวก รวดเร็ว และเท่าทันเทคโนโลยี แห่ ง ยุ ค 4.0 ซึ่ ง เหมาะสมต่ อ การบู ร ณาการข้ อ มู ล ของภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Justice Magazine Ministry of Justice
25
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
กระทรวงยุติธรรมไทย
ยกระดับกลุ่มประเทศ CLMV พัฒนาการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระทำ�ผิดในชุมชน
26
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
การกำ�หนดยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ ไข ปัญหาอาชญากรรมและการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระทำ�ผิด ในกลุม่ ประเทศ ระหว่ า งการพั ฒ นา หรื อ CLMV ถื อ เป็ น อี ก ภารกิ จ สำ � คั ญ ของกระทรวงยุติธรรมไทย ที่ต้องเข้าไปมีบทบาทดำ�เนินการ เพือ่ ยกระดับการบูรณาการการทำ�งานกับประเทศสมาชิกอาเซียน ให้มปี ระสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกัน
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
โดยเมื่ อ วั น อั ง คารที่ 14 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 เวลา 09.30 น. นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานในพิธีเปิดการฝึกอบรมหลักสูตร Third Country Training Programme (TCTP) for Development of Effective Community-based Treatment of Offenders in the CLMV Countries ภายใต้ ก รอบความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการไทย-ญี่ ปุ ่ น โดยมี Mr.Hiroo Tanaka หัวหน้าคณะผู้แทนองค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศญีป่ น่ ุ นายไพศาล หรูพาณิชย์กจิ รองอธิบดีกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ บุคลากร ระดับสูงจากกลุ่มประเทศ CLMV พร้อมด้วยผู้แทน จากกรมคุมประพฤติ เข้าร่วม ณ ห้องประชุมกระทรวง ยุติธรรม 2 ชั้น 8 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ โดยการประชุมฝึกอบรมครัง้ นี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14-24 กุมภาพันธ์ 2560 กรมคุ ม ประพฤติ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ร่ ว มกั บ กรมความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ และองค์ ก ร ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศแห่ ง ญี่ ปุ ่ น (JICA) จัดการฝึกอบรมหลักสูตร Third Country Training Programme (TCTP) for Development of Effective Community-based Treatment of Offenders in the CLMV Countries ภายใต้ ก รอบความร่ ว มมื อ ทางวิชาการ ไทย-ญี่ปุ่น เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มประเทศ CLMV หรื อ กลุ ่ ม ประเทศระหว่ า งการพั ฒ นา ได้ แ ก่ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ให้มีพัฒนาการ ปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชนในประเทศของตน ยกระดับให้สามารถบูรณาการการท�ำงานและเชื่อมโยง ระบบกับประเทศสมาชิกอาเซียนต่อไปได้ในอนาคต
นายวิทยา สุริยะวงค์ กล่าวว่า การคุมประพฤติ นับเป็นมาตรการแทนการจ�ำคุกที่ส�ำคัญ ซึ่งนอกจาก จะลดผลกระทบทางลบจากเรือนจ�ำทีม่ ตี อ่ ผูก้ ระท�ำผิดแล้ว ผูก้ ระท�ำผิดยังได้รบั การแก้ไขฟืน้ ฟูให้สามารถด�ำเนินชีวติ ในสั ง คมได้ ต ามปกติ ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรฐานสากล คื อ มาตรฐานขั้ น ตํ่ า สหประชาชาติ ว ่ า ด้ ว ยมาตรการ ไม่ควบคุมตัว (United Nations Standard Minimum Rulesfor Non-custodial Measures) หรือที่รู้จักกัน ในนามข้ อ ก� ำ หนดโตเกี ย ว ซึ่ ง มี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมและการปฏิบตั ิ ต่อผู้กระท�ำผิดโดยใช้วิธีการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่การจ�ำคุก และส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้กระท�ำผิด ส�ำหรับการฝึกอบรมในครัง้ นี้ จัดขึน้ เพือ่ สนับสนุนให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนามาตรการ แบบไม่ ค วบคุ ม ตั ว ได้ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความส�ำคัญและรูปแบบทีห่ ลากหลายของมาตรการแบบ ไม่ ค วบคุ ม ตั ว และสามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ กั บ บริ บ ท ของประเทศนั้ น ๆ โดยเฉพาะในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วกั บ กฎหมาย กฎระเบียบ เพราะการริเริ่มหรือวางระบบ มาตรการแบบไม่ ค วบคุ ม ตั ว นั้ น จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย การแก้ ไ ขกฎหมายเพื่ อ น� ำ มาใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการ ก�ำหนดโครงสร้างของระบบและวิธีการด�ำเนินมาตรการ แบบไม่ ค วบคุ ม ตั ว ตลอดจนก� ำ หนดอ� ำ นาจหน้ า ที่ ของหน่วยงานที่จะเป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินมาตรการ แบบไม่ควบคุมตัว ดังนั้น การฝึกอบรมดังกล่าวจึงเป็น ส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นนโยบายของกระทรวงยุตธิ รรม ในการปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบในการแก้ไขฟื้นฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชน และสอดคล้ อ งกั บ นโยบาย ของรั ฐ บาลในการก� ำ หนดแผนงานเพื่ อ พั ฒ นา กระบวนการยุ ติ ธ รรมให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก นิ ติ ธ รรม
Justice Magazine Ministry of Justice
27
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
และปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เพื่อให้เกิดการบังคับใช้ กฎหมายอย่ า งยุ ติ ธ รรม เสมอภาค เท่ า เที ย ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งภูมิภาคอาเซียน การฝึกอบรมดังกล่าว จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 14-24 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น บุ ค ลากรระดั บ สู ง จากกลุ ่ ม ประเทศระหว่ า ง การพัฒนา หรือ CLMV และกรมคุมประพฤติ กว่า 50 คน ซึ่งได้มีการ ท�ำกิจกรรมกลุ่ม พร้อมทั้งการศึกษาดูงาน ณ ส�ำนักงานคุมประพฤติ เรือนจ�ำ รวมทัง้ สถานประกอบการเอกชนทีร่ บั ผูก้ ระท�ำผิดเข้าท�ำงาน เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมการฝึกอบรมเข้าใจและพัฒนาการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด ในชุมชนในประเทศของตน และน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 พ.ต.อ.ดร.ณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิ บ ดี ก รมคุ ม ประพฤติ ปาฐกถาพิเศษเรื่อง “ภาพรวมของงาน คุมประพฤติไทย และพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559” ในการฝึกอบรมครัง้ นี้ เพือ่ ให้กลุม่ ประเทศ CLMV ได้เห็นถึงความส�ำคัญ และมีความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งพัฒนาการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิด ในชุมชนในประเทศของตนและน�ำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
28
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 นายประสาร มหาลีต้ ระกูล รองอธิบดี กรมคุมประพฤติ เป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง “พัฒนาการระบบ คุมประพฤติของประเทศไทย” ในประเด็นของวิวฒ ั นาการระบบงาน คุมประพฤติ และพัฒนาการทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัตคิ มุ ประพฤติ พ.ศ. 2559 รวมถึงนโยบายของรัฐบาลทีใ่ ห้ การสนับสนุนงานคุมประพฤติอย่างเป็นรูปธรรม และในวันเดียวกัน นางอัญชลี พัฒนสาร รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ ได้เป็นวิทยากร บรรยายเรือ่ ง “ภารกิจของกรมคุมประพฤติดา้ นการฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด ในระบบบั ง คั บ บ� ำ บั ด ” ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ขั้ น ตอน การด�ำเนินงานและประโยชน์ของการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 กรมคุมประพฤติ น�ำผู้เข้ารับการฝึก อบรมฯ ลงพื้นที่เพื่อศึกษาดูงาน กิจกรรมการท�ำงานบริการสังคม ของผูถ้ กู คุมความประพฤติทอี่ ยูใ่ นความดูแลของส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ วัดสมณโกฏฐาราม ทั้งนี้ เพื่อให้ กลุม่ ประเทศ CLMV ซึง่ อยูใ่ นระหว่างพัฒนางานคุมประพฤติดงั กล่าว มีความเข้าใจถึงความส�ำคัญของการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชน ซึ่งการท�ำงานบริการสังคม เป็นมาตรการเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ที่ช่วยเสริมสร้างประสบการณ์และให้โอกาสผู้กระท�ำผิดได้เรียนรู้ พัฒนาความมีวินัย และความรับผิดชอบ ได้ท�ำประโยชน์เพื่อสังคม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้กระท�ำผิดเกิดจิตส�ำนึกรับผิดชอบต่อผู้อื่นและสังคม มากยิ่งขึ้น โดยในระหว่างวันที่ 19-21 กุมภาพันธ์ 2560 คณะผู้เข้ารับ การฝึกอบรมฯ ลงพืน้ ทีศ่ กึ ษางานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ณ โครงการพัฒนาดอยตุง (พืน้ ทีท่ รงงาน) อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ
คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม
มู ล นิ ธิ แ ม่ ฟ ้ า หลวง ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ จั ง หวั ด เชี ย งราย โดยได้รับเกียรติจาก ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานคณะกรรมการ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ บรรยายความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาและพลิกฟื้น ดอยตุ ง ให้ เ ป็ น เขตปลอดยาเสพติ ด โดยปลู ก พื ช ทดแทนฝิ ่ น ซึ่งเป็นโครงการต้นแบบการพัฒนาทางเลือกในการด�ำรงชีวิตที่ยั่งยืน จากนั้ น คณะผู ้ เ ข้ า ฝึ ก อบรมฯ เข้ า ศึ ก ษาดู ง านคุ ม ประพฤติ ณ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงราย โดยมีนางสุรีย์ ภู่เพชร ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดเชียงราย พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ ให้ ก ารต้ อ นรั บ และน� ำ เสนอภารกิ จ งานคุ ม ประพฤติ รวมทั้ ง เข้าสังเกตการณ์กระบวนการสืบเสาะและพินจิ ในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และลงพื้นที่เพื่อศึกษากระบวนการควบคุมและสอดส่อง กรณีศึกษา ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ใ นเขตพื้ น ที่ อ� ำ เภอเมื อ ง อ� ำ เภอแม่ จั น และอ� ำ เภอแม่ ล าว โดยมี พ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ที่ รั บ ผิ ด ชอบคดี และอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ น� ำ เสนอข้ อ มู ล ด้ า นการปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู้กระท�ำผิดในการแก้ไขฟื้นฟูและการสงเคราะห์ รวมถึงการส่งต่อ ข้อมูลระหว่างพนักงานคุมประพฤติและอาสาสมัครคุมประพฤติด้วย นอกจากนี้ ได้ เ ข้ า ศึ ก ษาดู ง านการพั ก การลงโทษและ เตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นปล่ อ ย ณ เรื อ นจ� ำ กลางเชี ย งราย โดยมี น ายพิ รุ ณ หน่ อ แก้ ว ผู ้ บั ญ ชาการเรื อ นจ� ำ กลางเชี ย งราย พร้อมด้วยเจ้าหน้าทีใ่ ห้การต้อนรับ และน�ำเสนอภารกิจของเรือนจ�ำกลาง และเข้าสังเกตการณ์การฝึกอาชีพด้านเกษตรกรรม โดยน้อมน�ำหลัก เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ตามโครงการก�ำลังใจในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ณ เรือนจ�ำชั่วคราวดอยราง จังหวัดเชียงราย
และเมื่ อ วั น ที่ 22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 กรมคุ ม ประพฤติ น� ำ ผู ้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมฯ ลงพื้ น ที่ ศึ ก ษาดู ง านด้ า นการปฏิ บั ติ ต่อผู้กระท�ำผิดต่างชาติที่เข้าสู่ระบบการคุมประพฤติไทย โดยมี นางพาณี วลั ย ใจ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สมุทรสาคร พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ให้การต้อนรับ และน�ำเสนอภารกิจ งานคุ ม ประพฤติ รวมทั้ ง เข้ า สั ง เกตการณ์ ก ระบวนการควบคุ ม และสอดส่อง กรณีศึกษาผู้ถูกคุมความประพฤติชาวเมียนมา คนงาน ในโรงงานผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง อินทัชธนากร จ�ำกัด ซึ่งอยู่ภายใต้ การดู แ ลในการแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชนของอาสาสมั ค ร คุมประพฤติ ทั้งนี้ เพื่อให้กลุ่มประเทศ CLMV ซึ่งอยู่ในระหว่าง พัฒนางานคุมประพฤติและยังไม่มรี ะบบทีเ่ ป็นทางการ ประกอบด้วย ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ได้มคี วามเข้าใจถึงความส�ำคัญของการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิดในชุมชน มากยิ่งขึ้น กระบวนการต่าง ๆ จากการฝึกอบรมหลักสูตรแบบบูรณาการ ระดับอาเซียนครั้งนี้ จึงนับเป็นก้าวส�ำคัญอีกครั้ง ในการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยน และร่วมมือระหว่างกันในภูมิภาค เพื่อการด�ำเนินการ ของระบบคุมประพฤติและการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิดในแต่ละประเทศ จะได้มีรูปแบบสอดคล้องกัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้กระท�ำผิดสามารถ ท�ำงาน ศึกษา และอยู่กับครอบครัว โดยได้รับการดูแลช่วยเหลือ จากหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพและมัน่ คง ในระดับ มาตรฐานอันเท่าเทียม
Justice Magazine Ministry of Justice
29
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
วีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์กับหน่วยงานในภูมิภาค นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมผูบ้ ริหารกระทรวงยุตธิ รรมด้วยระบบการประชุม ทางไกลผ่ า นจอภาพกั บ หน่ ว ยงานในภู มิ ภ าค ครั้ ง ที่ 2/2560 โดยได้เน้นยาํ้ ในเรือ่ งการสร้างการรับรูใ้ ห้กบั ประชาชนเกีย่ วกับบทบาท ภารกิจของกระทรวงยุตธิ รรมรวมทัง้ การด�ำเนินงานของกระทรวงยุตธิ รรม ในด้านต่าง ๆ อาทิ การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการ ขับเคลือ่ นยุตธิ รรมชุมชนให้มเี อกภาพการป้องกันการทุจริต การจัดซือ้ จัดจ้างของภาครัฐ การจัดตัง้ ศูนย์ขอ้ มูลนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ การผลักดัน การแก้ไขปัญหาหนีน้ อกระบบให้ครบวงจร ณ ห้องประชุมกระทรวง ยุตธิ รรม 1 ชัน้ 9 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
พิจารณาแนวทางการช่วยเหลือนักโทษ ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษฉบับใหม่ นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการเพื่อด�ำเนินการ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ (ฉบั บ ที่ 6) พ.ศ. 2560 ครั้ ง ที่ 2/2560 เพื่ อ พิ จ ารณาแนวทาง การช่วยเหลือผู้ต้องขังที่เข้าเกณฑ์ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติด ให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 มาตรา 5 วรรคหนึ่ง รวมทั้ ง แนวทางการติ ด ตามผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การปล่ อ ยตั ว จากเรือนจ�ำ ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 1 ชัน้ 9 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ขับเคลื่อนแนวทางป้องกันปัญหาอาชญากรรม และเชื่อมโยงฐานข้อมูลประชาชน กระทรวงยุตธิ รรมลงนามบันทึกความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ 1 การเชื่อมโยงข้อมูลประชาชนและการบริการ ภาครัฐระหว่างการบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและ การบริการภาครัฐ กระทรวงมหาดไทย กับศูนย์แลกเปลีย่ น ข้ อ มู ล กระบวนการยุ ติ ธ รรม กระทรวงยุ ติ ธ รรม และ 2 การขั บ เคลื่ อ นกรอบแนวทางการป้ อ งกั น อาชญากรรม ระหว่ า งกระทรวงยุ ติ ธ รรม กระทรวง มหาดไทย และกรุงเทพมหานคร ณ ห้องออดิทอเรียม โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
30
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
ขับเคลื่อนภารกิจ 5 ด้าน เสริมสร้างงานศูนย์ยุติธรรมชุมชน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นวิทยากร บรรยาย หัวข้อ “นโยบายกระทรวงยุติธรรม ในการขับเคลื่อน ศูนย์ยุติธรรมชุมชนเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม” ในโครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์ยุติธรรม ชุมชนเพื่อขับเคลื่อนภารกิจ 5 ด้าน ประจ�ำปีงบประมาณ 2560 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนแลกเปลี่ยนแนวทาง การขับเคลือ่ นศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนให้กบั ผูเ้ ข้ารับการอบรม ให้สามารถ น�ำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการท�ำงานอันจะน�ำไปสู่การช่วยเหลือ แนะน�ำประชาชนให้สามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม ณ โรงแรมศิลามณีรีสอร์ท อ.แม่สาย จ.เชียงราย
พัฒนาบุคลากร สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ ประเมิ น ระบบการจั ด การความรู ้ แ ละการเรี ย นรู ้ ขององค์ ก ร (KMA) และการจั ด ท� ำ แผนการจั ด การ ความรู้ (KM Plan) ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ในการประเมินระบบการจัดการความรู้และการเรียนรู้ ขององค์กรซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารจัดท�ำแผนการจัดการความรู้ ขององค์กรต่อไป ณ โรงแรม ที.เค.พาเลช กรุงเทพฯ
รับเรื่องร้องเรียนกรณีนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ถูกทำ�ร้ายจนเสียชีวิต นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรมและโฆษก กระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วยนางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ รองอธิบดี กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ รับเรือ่ งจากทนายสงกานต์ อัจฉริยะทรัพย์ ประธานเครือข่ายต่อต้านการบ่อนท�ำลายชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ พร้อมด้วยนางอารีรัตน์ ชมโลก มารดาของนายธีรพงศ์ ฐิตะฐาน นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตสารสนเทศเพชรบุ รี ซึง่ ถูกกลุม่ วัยรุน่ ในพืน้ ทีร่ มุ ท�ำร้ายจนเสียชีวติ เพือ่ ขอรับการคุม้ ครองพยาน เนือ่ งจากเพือ่ นของนายธีรพงศ์ฯ รวมทัง้ พยานในคดีนไี้ ด้รบั การข่มขู่ จากกรณีดงั กล่าว ณ บริเวณด้านหน้าศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุตธิ รรม ชัน้ 2 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพฯ Justice Magazine Ministry of Justice
31
คนยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
“รื่นวดี สุวรรณมงคล” อธิบดีกรมบังคับคดี
สตรีผู้บริหารภาคราชการดีเด่นกับ
มิติใหม่กรมบังคับคดียุค 4.0 32
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คนยุติธรรม
องค์ ก ารสหประชาชาติ ได้ ป ระกาศให้ วั น ที่ 8 มี นาคมของทุกปี เป็น วัน สตรีสากล เพื่อให้ ความสำ � คั ญ แก่ แ รงงานสตรี โดยรณรงค์ ใ ห้ ทุกภาคส่วนของสังคมได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ และคุณค่าของสตรีทำ�งาน สำ�หรับในปี 2560 กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ในฐานะองค์กร ทีม่ หี น้าดูแลคุม้ ครองแรงงานสตรี ได้จดั งานวันสตรี สากลปี 2560 ภายใต้แนวคิดหลัก “แรงงานสตรี ยุคใหม่ร่วมใจก้าวไกล สู่ ไทยแลนด์ 4.0” พร้อมทั้ง มอบรางวัลให้กับสตรีที่ ได้รับคัดเลือกเป็นสตรี ทำ � งานดี เ ด่ น จำ � นวน 27 คน ซึ่ ง ถื อ เป็ น สตรี ผู้มีคุณสมบัติโดดเด่นเป็นที่ยอมรับในด้านความรู้ ความสามารถ และเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี แ ก่ ส ตรี ทำ�งานทุกคน ซึ่งคอลัมน์ “คนยุติธรรม” ได้มี โอกาสพูดคุยกับ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิ บ ดี ก รมบั ง คั บ คดี ผู้ ได้ รั บ รางวั ล สาขา สตรีผู้บริหารภาคราชการดีเด่น ประจำ�ปี 2560 เกี่ยวกับมุมมองการบริหารงานราชการในยุค 4.0
นางสาวรืน่ วดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวถึงความรูส้ กึ ทีไ่ ด้รบั รางวัลสาขาสตรีผู้บริหารภาคราชการดีเด่น ประจ�ำปี 2560 ว่า ส�ำหรับรางวัล ที่ได้รับ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ได้ก�ำหนด หลักเกณฑ์ขึ้นมา โดยมีหัวใจส�ำคัญคือ ผลงานเชิงประจักษ์ที่สตรีผู้ได้รับคัดเลือก ได้ท�ำงานให้กับประเทศ ส�ำหรับตนคิดว่า เป็นรางวัลที่เป็นเกียรติอย่างสูงยิ่ง ทั้งต่อตนเอง และครอบครัว เนื่องจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ได้ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีประทานรางวัลด้วย ตนได้ น� ำ เสนอผลงานที่ ไ ด้ ท� ำ ร่ ว มกั บ กรมบั ง คั บ คดี ประกอบด้ ว ย 1) การเสนอร่างกฎหมายเพือ่ เปิดโอกาสให้ผปู้ ระกอบการ SMEs ทีป่ ระสบปัญหา ทางการเงิ น สามารถยื่ น แผนฟื ้ น ฟู กิ จ การได้ เ ป็ น ครั้ ง แรก เพื่ อ ให้ ส ามารถ ด�ำเนินกิจการ มีการจ้างงานต่อไปได้ และลดโอกาสการถูกฟ้องล้มละลาย 2) การเผยแพร่ความรู้ โดยการจัดท�ำคูม่ อื กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมาย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ SMEs เพื่ อ ให้ ผู ้ ป ระกอบการมี ศั ก ยภาพ และมีองค์ความรู้เพิ่มขึ้น 3) การเสนอหลักการเรื่องการก�ำหนดให้เจ้าพนักงาน พิทกั ษ์ทรัพย์เข้ารับการอบรมก่อนเข้าปฏิบตั งิ าน เพือ่ เพิม่ พูนความรูค้ วามสามารถ ในการปฏิบตั งิ าน และ 4) ริเริม่ โครงการศึกษาเรือ่ งบุคคลล้มละลายกับสิทธิมนุษยชน โดยศึกษาและหาแนวทางแก้ไขปัญหากรณีมีกฎหมายห้ามบุคคลเคยล้มละลาย ประกอบอาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลที่เคยล้มละลายสามารถเข้าท�ำงาน ในหน่วยงานต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ ได้เสนอประเด็นเชิงนโยบายต่อกระทรวงยุติธรรม เพื่อพิจารณา ซึ่งได้มอบให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพด�ำเนินการต่อไป ทั้งนี้ ตนได้น้อมน�ำ “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เป็นหลักในการท�ำงาน โดยการท�ำงานทุกอย่าง Justice Magazine Ministry of Justice
33
คนยุติธรรม
ต้ อ งมี เ หตุ มี ผ ล อยู ่ บ นพื้ น ฐานของความพอเพี ย ง และเตรียมพร้อมการบริหารความเสี่ยงในประเด็นต่าง ๆ อยู ่ เ สมอ นอกจากนี้ ได้ บ ริ ห ารงานภายใต้ ห ลั ก การมีสว่ นร่วมภายในองค์กร และบูรณาการกับทุกภาคส่วน ภายนอกองค์กรเพื่อให้การด�ำเนินงานประสบผลส�ำเร็จ ต่อข้อค�ำถามที่ว่า กรมบังคับคดีได้น�ำเทคโนโลยี มาใช้เพื่อรองรับการให้บริการประชาชน และตอบรับ นโยบาย 4.0 ของรัฐบาลอย่างไร อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวว่า กรมบังคับคดียดึ หลักการท�ำงานโดย “ประชาชน เป็นศูนย์กลาง” ซึ่งได้ก�ำหนด Road Map เพื่อมุ่งสู่ เป้าหมายในการเป็น Digital Economy ให้ทุกงาน เป็นระบบเทคโนโลยี เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ข้ อ มู ล ของกรมบั ง คั บ คดี ไ ด้ อ ย่ า งสะดวก รวดเร็ ว อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมเรื่องความโปร่งใสในการท�ำงาน ที่ ป ระชาชนสามารถตรวจสอบได้ ซึ่ ง กรมบั ง คั บ คดี ได้ น� ำ ระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ม าให้ บ ริ ก ารประชาชน ทั้งในส่วนของการจ่ายเงินให้คู่ความและผู้มีส่วนได้เสีย ทางระบบอิ เล็ก ทรอนิก ส์ (E-Payment) และล่ า สุ ด ได้ น� ำ ระบบบั ต รคิ ว อั ต โนมั ติ ม าให้ บ ริ ก ารประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการอย่างเสมอภาคตามล�ำดับ นอกจากนี้ ได้ ร ่ ว มกั บ ศาลแพ่ ง ธนบุ รี เ ชื่ อ มโยง ข้อมูลสารสนเทศโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บั ติ ง านของทั้ ง สองหน่ ว ยงาน ในการเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ หมายบั ง คั บ คดี ข อง ศาลแพ่งธนบุรีให้มีความรวดเร็ว และถูกต้อง ซึ่งสามารถ น�ำข้อมูลไปด�ำเนินการได้แบบ Real Time รวมทั้ง
34
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
การจั ด ท� ำ ระบบน� ำ ร่ อ งยื่ น ค� ำ ร้ อ งผ่ า นทางระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Filling) การประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Offering) ซึ่งขณะนี้น�ำร่องใน 4 แห่ง ได้แก่ ส�ำนักงานบังคับคดี จังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา และสงขลา เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง การประมู ล ทรั พ ย์ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยประชาชนที่ ไ ม่ ส ะดวกเดิ น ทางมายั ง สถานที่ ข ายทอดตลาด สามารถเสนอราคาผ่ า นระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ดั ง กล่ า วได้ อี ก ทั้ ง ขณะนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาแอปพลิ เ คชั น เพื่ อ อ� ำ นวย ความสะดวกให้แก่ประชาชนในการตรวจสอบสถานะคดีของตัวเอง ซึ่งจะเปิดตัวในช่วงเดือนมิถุนายน 2560 ส� ำ หรั บการด� ำ เนิ น งานด้ า นพั ฒ นากฎหมาย ขณะนี้ได้แก้ไข ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายวิ ธี พิ จ ารณา ความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ภาคบังคับคดี) ซึ่งขณะนี้ได้ผ่าน วาระ 2 และ 3 ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งการปรับปรุงกฎหมาย ฉบั บ นี้ ถื อ เป็ น การปฏิ รู ป การบั ง คั บ คดี ทั้ ง ระบบเพื่ อ ลดขั้ น ตอน การด�ำเนินการและลดโอกาสของการประวิงคดี ทัง้ นี้ เพือ่ ให้การบังคับคดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น และให้ ค วามเป็ น ธรรมแก่ คู ่ ค วามและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง
คนยุติธรรม
ส่วนด�ำเนินการตามค�ำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ 21/2560 เรือ่ ง การแก้ไขเพิม่ เติมกฎหมายเพือ่ อาํ นวยความสะดวก ในการประกอบธุรกิจ ซึง่ ก�ำหนดให้หน่วยงานห้ามขอรับส�ำเนาเอกสาร จากประชาชนในกรณีทปี่ ระชาชนมาติดต่อด้วยตนเอง โดยกรมบังคับคดี จะมีอุปกรณ์ส�ำหรับอ่านข้อมูลในบัตรประชาชน จึงถือเป็นอีกหนึ่ง ขั้นตอนที่เพิ่มความสะดวกและไม่เป็นอุปสรรคระหว่างประชาชน กับหน่วยงาน นอกจากนี้ ในค�ำสั่งดังกล่าวยังก�ำหนดให้สามารถ ส่งค�ำสัง่ หรือประกาศของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้เป็นครั้งแรก เพื่อให้เกิดความรวดเร็วแก่ประชาชนท�ำให้เจ้าหนี้ ได้ รั บ การช� ำ ระหนี้ ร วดเร็ ว ขึ้ น รวมทั้ ง ลู ก หนี้ ส ามารถพ้ น จาก การเป็นบุคคลล้มละลายได้เร็วขึ้น อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมบังคับคดี ได้ก�ำหนด วัฒนธรรมองค์กร 3 บ. “บริการด้วยรอยยิ้ม บริหารด้วยหลักการ บริบาลด้วยหลักธรรม” และสร้างค่านิยม “I AM LED” โดย I คือ Integrity หมายถึง มีความซือ่ สัตย์ A คือ Accountability หมายถึง มีความรับผิดชอบ M คือ Management หมายถึง การบริหารจัดการ L คือ Learning หมายถึง การเรียรู้ตลอดเวลา E คือ Excellence หมายถึง มีความเป็นเลิศ D คือ Digital หมายถึง การใช้เทคโนโลยี ซึง่ ต้องการสะท้อนให้เห็นว่า งานบังคับคดีเป็นงานบริการ เพือ่ อ�ำนวย
ความสะดวกให้แก่ประชาชน อีกทัง้ ได้เน้นยํา้ กับผูบ้ ริหาร ของกรมบังคับคดีทั่วประเทศว่า “ทุกข์สุขของประชาชน เป็นเรือ่ งส�ำคัญ” โดยเฉพาะเรือ่ ง “หนี”้ ผูบ้ ริหารในทุกพืน้ ที่ จะต้องท�ำงานบริหารเชิงรุก โดยการไกล่เกลี่ยหนี้ เช่น หนีค้ รัวเรือน หนีน้ อกระบบ หนีเ้ กษตรกร ซึง่ กรมบังคับคดี เป็นหน่วยงานที่มีนักกฎหมายของกรมบังคับคดีประจ�ำ ทุกพื้นที่ในต่างจังหวัด จึงเป็นจุดแข็งของกรมบังคับคดี ในการให้ ค วามรู ้ ด ้ า นกฎหมายแก่ ป ระชาชน อี ก ทั้ ง ยั ง ด� ำ เนิ น มาตรการเชิ ง รุ ก โดยลงพื้ น ที่ น อกสถานที่ ให้มากขึน้ และการท�ำงานในวันหยุด โดยขอความร่วมมือ ผู้ปฏิบัติงานให้มีการขายทอดตลาดทรัพย์ในวันเสาร์ และวั น อาทิ ต ย์ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ ผู ้ ส นใจ ประมูลทรัพย์ทไี่ ม่สามารถหยุดงานได้ในวันจันทร์-วันศุกร์ สามารถซื้ อ ทรั พ ย์ จ ากกรมบั ง คั บ คดี ไ ด้ ใ นวั น หยุ ด อี ก ทั้ ง เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ป ระมู ล ทรั พ ย์ ร ายใหม่ ๆ ได้เข้าร่วมการประมูลทรัพย์เพิ่มมากขึ้น ท้ายนี้ อธิบดีกรมบังคับคดี ได้ฝากข้อคิดให้กับ บุคลากรในงานราชการ เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ให้ ส ามารถน� ำ ไปสู ่ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ หน่ ว ยงาน และประชาชน ว่า ประการที่ 1 คือ การน�ำนโยบาย ของรัฐบาลเป็นตัวตัง้ ในการขับเคลือ่ นงาน และยึดหลัก “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ประการที่ 2 คือ การอ�ำนวย ความสะดวกให้แก่ประชาชน โดยเฉพาะหน่วยงาน ที่เป็นงานบริการ ประการที่ 3 คือ การคิดในเชิงรุก และการท�ำงานเชิงบูรณาการทั้งภายในและภายนอก องค์กร โดยเฉพาะการผสานพลังการท�ำงานภายใน องค์ ก ร ซึ่ ง ถื อ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นงาน ทุกอย่าง โดยจะต้องเกิดจากความรัก ความสามัคคี ภายในองค์กร ดังที่กรมบังคับคดีใช้ค�ำว่า “We are the Team” คื อ การท� ำ งานเป็ น ที ม ร่ ว มกั น คิ ด ร่วมกันพัฒนา การวางตนให้เหมาะสม โดยจะต้อง ไม่ ลื ม หลั ก ของความเป็ น ธรรม และยึ ด ประชาชน เป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนต่อไป
้ม “บริบริหารด้การด้วยหลัวยรอยยิ กการ
บริบาลด้วยหลักธรรม และสร้างค่านิยม “I AM LED”
”
Justice Magazine Ministry of Justice
35
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
นางสาวจรวยพร สุขสุทิตย์ นิติกรชำ�นาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานนิติการ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
“จรรยาข้าราชการ” แนวทางการปฏิบตั ติ นของข้าราชการทีด่ ี
36
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
ข้าราชการ คือ บุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละเป็นที่พ่งึ ของประชาชนและทำ�คุณประโยชน์ ต่อประเทศชาติ โดยยึดถือความถูกต้อง มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่กระทำ�ตนออกนอกลู่นอกทางหรือประพฤติตนในทางที่เสื่อมเสียต่อหน้าที่การงาน มุ่งประโยชน์ ส่วนรวมเป็นทีต่ ง้ั ให้สมเกียรติศกั ดิศ์ รีแห่งจรรยาข้าราชการทีด่ ี วั น ที่ 1 เมษายน ของทุ ก ปี จึ ง ก� ำ หนดให้ เ ป็ น วันข้าราชการพลเรือน เนือ่ งจากข้าราชการเป็นผูท้ ที่ ำ� งาน ต่างพระเนตรพระกรรณพระมหากษัตริย์ในการบริหาร ดู แ ลประชาชน ดั ง นั้ น การจะเป็นข้าราชการที่ ดี นั้ น นอกจากการเป็ น คนดี ต ามกฎหมายและสั ง คมแล้ ว ข้าราชการยังต้องมีวนิ ยั และจรรยาข้าราชการทีใ่ ห้ถอื ปฏิบตั ิ ทั้งนี้ เพื่อศักดิ์ศรีและความมีเกียรติของต�ำแหน่งซึ่งเป็น สิ่งส�ำคัญที่ถือปฏิบัติกันมาแต่อดีต ข้าราชการที่ดีนอกจากจะยึดหลักจรรยาข้าราชการ ทีก่ ำ� หนดไว้ในพระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 แล้ว ยังควรน้อมน�ำพระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชทานแก่ ข ้ า ราชการพลเรื อ น เมื่ อ วั น ที่ 30 มิถุนายน 2556 มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความว่า “ข้าราชการไม่ว่าอยู่ในต�ำแหน่งใด ระดับไหน มี ห น้ า ที่ อ ย่ า งไร ล้ ว นแต่ มี ค วามส� ำ คั ญ อยู ่ ใ นงาน ของแผ่นดินทั้งสิ้นทุกคนทุกฝ่ายจึงไม่ควรจะถือตัว แบ่ ง แยกกั น หากต้ อ งยกย่ อ งนั บ ถื อ ให้ เ กี ย รติ กั น สมัครสมาน ร่วมมือ ร่วมคิดกันให้การปฏิบัติบริหาร งานของแผ่นดินด�ำเนินไปอย่างมีเอกภาพ และได้ผล พึงประสงค์ สมบูรณ์พร้อมทุกส่วน” ปัจจุบนั จรรยาข้าราชการเป็นไปตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 หมวด 5 การ รั ก ษาจรรยาข้ า ราชการ มาตรา 78 ก� ำ หนดว่ า ข้าราชการพลเรือนสามัญ ต้องรักษาจรรยาข้าราชการ ตามที่ส่วนราชการก�ำหนดในเรื่องการยึดมั่นและยืนหยัด ท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ความซือ่ สัตย์สจุ ริตและความรับผิดชอบ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ และมุ ่ ง สั ม ฤทธิ์ ผ ล ของงาน
“จรรยาข้าราชการ” หมายถึง แนวทางในการประพฤติ ปฏิ บั ติ ต นของข้ า ราชการ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ มี ประสิทธิภาพสูงสุด และด�ำรงตนในสังคมอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน “ข้าราชการ” หมายถึง ข้าราชการพลเรือน พนักงาน ราชการ และลูกจ้างในสังกัดข้าราชการพลเรือน การท�ำงานราชการเป็นการท�ำงานเพื่อประเทศชาติ และประชาชน ซึ่งเป็นงานที่มีผลกระทบทั้งในปัจจุบัน และอนาคตต่ อ สั ง คมมากกว่ า ที่ จ ะมี ผ ลต่ อ ตนเอง และพวกพ้อง ดังนั้น อาชีพราชการในทุกชาติทุกสังคม จึงได้รับความคาดหวังจากประชาชนในประเทศชาติว่า ข้าราชการจะปฏิบตั งิ านปฏิบตั ติ นโดยยึดถือความถูกต้อง เป็นธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ เสียสละ และมีจริยธรรม ในการท�ำงานสูง ข้าราชการจึงเป็นบุคคลที่ต้องท�ำหน้าที่ ในการบริหารสาธารณประโยชน์ตอ่ ประชาชนโดยไม่เลือกข้าง และต้องน�ำนโยบายของชาติมาปฏิบตั ใิ ห้เกิดประสิทธิผล ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ให้แก่ประชาชนอย่างมีคุณภาพ จึงขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการซึ่งจะต้องมี จิ ต ส� ำ นึ ก ในหน้ า ที่ กระท� ำ ในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง เป็ น ธรรม เสียสละ และมุ่งประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ข้าราชการทุกท่านต้องรักษาจรรยาข้าราชการตามที่ ส่วนราชการก�ำหนดไว้โดยมุง่ ประสงค์ให้เป็นข้าราชการทีด่ ี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป็นข้าราชการ โดยเฉพาะ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การยึ ด มั่ น และยื น หยั ด ท� ำ ในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง ข้ า ราชการพึ ง ยึ ด มั่ น ในระบบคุ ณ ธรรม ปฏิ บัติ ห น้ า ที่ ตามกรอบนโยบายด้วยความถูกต้อง เช่น ปฏิบัติหน้าที่ โดยยึ ด ถื อ ความถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิ ช าการกฎหมาย กล้าทีจ่ ะปฏิเสธต่อข้อเสนอหรือผลประโยชน์ทไี่ ม่ถกู ต้อง และปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างถูกต้องตามค�ำสัง่ ของผูบ้ งั คับบัญชา ทีถ่ ูกกฎหมาย กฎเกณฑ์ เหตุผลอันชอบธรรม
Justice Magazine Ministry of Justice
37
คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ
2) ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และความรั บ ผิ ด ชอบ ข้าราชการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ทัง้ ต่อตนเองและผูอ้ นื่ ไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ ตระหนักและส�ำนึกในหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง หน่วยงาน และต่อสังคม เช่น ไม่ใช้เวลาราชการเพื่อไป ท�ำงานนอกที่ให้ผลประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัว ไม่มุ่งหวังหรือแสวงหาประโยชน์อันมิควรได้จากการ ปฏิ บั ติ ง าน ไม่ รั บ ของขวั ญ หรื อ ของก� ำ นั น อั น มี ค ่ า มากเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด และใช้ดุลพินิจในการ ตั ด สิ น ใจด้ ว ยความสุ จ ริ ต ใจ ตรงตามเจตนารมณ์ ของกฎหมาย 3) การปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความโปร่งใสและสามารถ ตรวจสอบได้ ข้าราชการต้องปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความโปร่งใส เปิดเผยอย่างมีเหตุผลด้วยความบริสุทธิ์ใจ พร้อมรับ การตรวจสอบ เช่น ก�ำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ของแต่ละขั้นตอน เก็บหลักฐานการปฏิบัติงานไว้พร้อม ส� ำ หรั บ การตรวจสอบ หรื อ กรณี ที่ ไ ม่ ส ามารถปฏิ บั ติ
38
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
หรือกระท�ำตามค�ำขอของผู้รับบริการ สามารถชี้แจง หรือให้เหตุผลที่เหมาะสมได้ 4) การปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยไม่เลือกปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรม ข้ า ราชการต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความเสมอภาค เป็นธรรม และปราศจากอคติ เช่น ปฏิบัติหน้าที่ต้อง กระท� ำ อย่ า งถู ก ต้ อ งบนพื้ น ฐานของความเสมอภาค มีมาตรฐานในการใช้หลักการและเหตุผลอย่างเสมอต้น เสมอปลาย ไม่ ก ระท� ำ การอั น ใดเป็ น การช่ ว ยเหลื อ อุปถัมภ์ หรือเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5) การมุง่ ผลสัมฤทธิข์ องงาน ข้าราชการต้องปฏิบตั ิ หน้าที่ด้วยความมุ่งมั่น กระตือรือร้น อย่างเต็มความ สามารถเพื่อให้งานส�ำเร็จสมบูรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ล เช่ น ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความทุ ่ ม เท สติปัญญา ความรู้ ความคิดที่มีอยู่ให้กับงานอย่างเต็มที่ มุ่งมั่นปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าหมาย โดยวิธีการ กระบวนการทีถ่ กู ต้อง และเป็นธรรม ด้วยความเป็นมืออาชีพ และพั ฒ นาตนเองให้ เ ป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ และความช�ำนาญในการปฏิบัติงาน สุดท้ายนี้ผู้เขียนมีความคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หากข้าราชการทุกท่านมีความมุ่งมั่น ตั้งใจที่จะปฏิบัติ ตามจรรยาข้ า ราชการข้ า งต้ น อย่ า งจริ ง จั ง โดยยึ ด ประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนเป็นส�ำคัญแล้ว ความดีงามทัง้ หลายจะส่งผลให้การปฏิบตั งิ านราชการ มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ มีประสิทธิภาพ คุณภาพ ของงานเพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง เป็ น ที่ ศ รั ท ธาเชื่ อ ถื อ ของประชาชน สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับหน่วยงาน และน�ำพาประเทศชาติให้มีความเจริญรุ่งเรืองต่อไป
กำ�แพงมิอาจกั้น
กองบรรณาธิการ
กรมราชทัณฑ์เปิด
“เรือนจำ�กีฬา”
“บั ว ขาว” ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ คืนคนดีสู่สังคม
โอกาสดี ๆ ในชีวิตมีให้ทุกคนเสมอ ขอเพียงแต่ ให้มีความหวังและพลังใจตั้งมั่นต่อการกระทำ� เรื่ อ งดี ง ามให้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ตนเองและต่ อ ผู้ อื่ น เช่ น เดี ย วกั บ ผู้ ต้ อ งขั ง ที่ อ ยู่ ใ นทั ณ ฑสถาน หากประพฤติดีประพฤติชอบ มีใจรักและมุ่งมั่น ในด้านกีฬา โอกาสดี ๆ ทีว่ า่ นัน้ ก็พร้อมจะโน้มลงมา ให้เขาไขว่คว้าเพื่อพลิกเปลี่ยนชีวิตของตน
ทั ณ ฑสถานวั ย หนุ ่ ม กลาง เป็ น หน่ ว ยงานภายใต้ การสังกัดกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม มีภารกิจ ในการควบคุมผู้ต้องขัง และพัฒนาพฤตินิสัยเพื่อการ คืนคนดีสู่สังคม โดยได้รับการคัดเลือกจากกรมราชทัณฑ์ เป็นเรือนจ�ำแก้ไขฟื้นฟูเฉพาะทางประเภทเรือนจ�ำกีฬา เพื่อส่งเสริมสุขภาพ พลานามัยที่แข็งแรงและต่อยอด ทักษะกีฬา โดยด�ำเนินการเรียนการสอน 5 ชนิดกีฬา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก เมื่ อ วั น ที่ 7 มี น าคม 2560 เวลา 10.00 น. นายกอบเกี ย รติ กสิ วิ วั ฒ น์ อธิ บ ดี ก รมราชทั ณ ฑ์ เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด เรื อ นจ� ำ เฉพาะทาง ประเภท เรือนจ�ำกีฬา ณ ทัณฑสถานวัยหนุม่ กลาง คลอง 6 ปทุมธานี โดยมีนายณรงค์ศักดิ์ สมพัศ ผู้อ�ำนวยการทัณฑสถาน วัยหนุม่ กลาง ให้การต้อนรับ และ สิบตรี สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย ส�ำหรับเรือนจ�ำเฉพาะทางเป็นนโยบายการพัฒนา ระบบและกระบวนการพั ฒ นาพฤติ นิ สั ยให้เหมาะสม กั บ ความต้ อ งการของผู ้ ต ้ อ งขั ง และความเชี่ ย วชาญ ของเจ้ า หน้ า ที่ ต ามความเหมาะสมทางกายภาพ Justice Magazine Ministry of Justice
39
กำ�แพงมิอาจกั้น
ของแต่ ล ะเรื อ นจ� ำ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความชั ด เจนและ เป็นรูปธรรมในการแก้ไขเฉพาะทาง ซึ่งได้มอบหมาย ให้ ทั ณ ฑสถานวั ย หนุ ่ ม กลาง เป็ น เรื อ นจ� ำ เฉพาะทาง ด้ า นกี ฬ า โดยลงนามความร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตองครักษ์ เพื่อสนับสนุน บุคลากรในการจัดท�ำหลักสูตรและการเรียนการสอน ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จ�ำนวน 5 ชนิดกีฬา ได้แก่ มวยสากลสมัครเล่น, มวยไทยสมัครเล่น, ฟุตซอล, วอลเลย์บอล และตะกร้อ เพือ่ ส่งเสริมสุขภาพ ให้ผตู้ อ้ งขัง มีความรู้และทักษะทางกีฬา ได้รับประสบการณ์แข่งขัน และความสามารถสู ่ ส าธารณชน เป็ น การสนั บ สนุ น กระบวนการในการผลิ ต นั ก กี ฬ าและฝึ ก ทั ก ษะอาชี พ แก่ ผู ้ พ ้ น โทษ ให้ มี อ าชี พ มี ร ายได้ จ ากการใช้ ค วามรู ้ ความสามารถและทั ก ษะด้ า นกี ฬ า ไม่ ห วนกลั บ ไป กระท�ำผิดซํ้าอีก นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ กล่ า วว่ า หน้ า ที่ ส� ำ คั ญ หลั ก ของกรมราชทั ณ ฑ์ คื อ ควบคุมผูต้ อ้ งขังอย่างมีประสิทธิภาพ และบ�ำบัดฟืน้ ฟูนสิ ยั ของผู้ต้องขังให้กลับคืนไปเป็นคนดีของสังคมหลังจาก
นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์
พ้นโทษออกไปเพื่อจะได้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นคนดีของสังคม สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ เลี้ยงตนเอง และครอบครัวต่อไปในภายภาคหน้าได้ ซึ่งการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ต้องขังจะไม่มีการบังคับ แล้วแต่ความสมัครใจของผู้ต้องขังเอง โดยเน้นหลักใน เรื่ อ งของกี ฬ า เพราะผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ เ ป็ น เยาวชนบางคน มีความชอบทางด้านกีฬา ทางกรมราชทัณฑ์ได้มองเห็นถึง จุดนี้จึงได้จัดตั้งโครงการนี้ขึ้น ซึ่งได้รับความร่วมมือจาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ส่งบุคลากร เข้ามาช่วยฝึกสอน และให้ความรู้กับผู้ต้องขังเป็นเวลา 9 เดื อ น ถ้ า เห็ น ว่ า ผู ้ ต ้ อ งขั ง คนไหนมี ค วามสามารถ ก็ จ ะคอยช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ ไ ด้ แ ข่ ง ขั น กี ฬ าในระดั บ อาชีพต่อไป
“ หน้าทีส่ �ำ คัญหลักของ กรมราชทัณฑ์คอื ควบคุม ผูต้ อ้ งขังอย่างมีประสิทธิภาพ และบำ�บัดฟืน้ ฟูนสิ ยั ของผูต้ อ้ งขัง ให้กลับคืนไปเป็นคนดีของสังคม หลังจากพ้นโทษออกไป ” 40
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กำ�แพงมิอาจกั้น
ด้าน “บัวขาว บัญชาเมฆ” กล่าวว่า การมีกิจกรรม ด้ า นกี ฬ าเช่ น นี้ ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ดี ที่ ไ ด้ ม อบโอกาสให้ ผู้ต้องขังทุกคนได้มีเวทีแสดงออกสิ่งที่ตนเองชื่นชอบ และถนัดในด้านกีฬา เพื่อเป็นการพิสูจน์คุณค่าในตนเอง อี ก ครั้ ง ว่ า เมื่ อ พ้ น โทษแล้ ว จะไม่ เ ป็ น ภาระของสั ง คม ได้พิสูจน์ถึงศักยภาพที่ตนเองมีและน�ำไปประกอบอาชีพ เลี้ยงดูตัวเองรวมถึงครอบครัวอีกด้วย บัวขาว กล่าวต่ออีกว่า การที่ตนเองมาร่วมกิจกรรม ในครัง้ นี้ เพือ่ ต้องการมาสร้างแรงบันดาลใจและให้กำ� ลังใจ กับผู้ต้องขังทุกคนให้กลับมามีชีวิตที่สดใสอีกครั้ง ทัง้ นี้ ทัณฑสถานวัยหนุม่ กลาง จะเป็นโครงการน�ำร่อง โดยจะคั ด เฉพาะนั ก โทษชั้ น ดี ที่ ผ ่ า นเกณฑ์ ข องทาง กรมราชทั ณ ฑ์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม พื้ น ฐานด้ า นกี ฬ า โดยมี บัวขาว บัญชาเมฆ เป็นแรงบันดาลใจในกีฬาประเภท มวยไทยสมั ค รเล่ น เพื่ อ ต่ อ ยอดสู ่ อ าชี พ หลั ง ได้ รั บ การปล่อยตัวจะได้มีช่องทางในการประกอบอาชีพ และสามารถกลับออกไปอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ได้ อ ย่ า งปกติ สุ ข สามารถปรั บ ตั ว เข้ า กั บ กฎเกณฑ์ และเงือ่ นไขของสังคมได้โดยไม่กลับไปกระท�ำผิดขึน้ อีก นายณรงค์ศักดิ์ สมพัศ ผู้อ�ำนวยการทัณฑสถาน วัยหนุ่มกลาง กล่าวว่า ทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางเป็น หน่วยงานราชการสังกัดกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม ได้มีนโยบายพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังให้เหมาะสม กับความต้องการของผู้ต้องขัง เพื่อเกิดเป็นรูปธรรม เนื่องจากผู้ต้องขังทัณฑสถานวัยหนุ่มกลางเป็นเยาวชน ที่ มี อ ายุ ไ ม่ เ กิ น 25 ปี จึ ง ต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง การศึ ก ษา และการอบรมเป็ น พิ เ ศษ รวมทั้ ง กรมราชทั ณ ฑ์ ไ ด้ มี นโยบายจั ด ท� ำ แผนฟื ้ น ฟู เ ฉพาะทาง จึ ง ได้ มี ก ารตั้ ง เรือนจ�ำเฉพาะทางด้านกีฬาขึน้ เพือ่ ด�ำเนินการจัดการเรียน การสอนในภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ ท างด้ า นกี ฬ า ให้กับผู้ต้องขัง โดยลงนามความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตองครักษ์ เพื่อสนับสนุน บุ ค ลากรในการจั ด ท� ำ หลั ก สู ต ร และจั ด การเรี ย น การสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติด้วยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์การกีฬาให้กับผู้ต้องขังของทัณฑสถาน มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ และสร้ า งเสริ ม ความรู ้ ท างด้ า นทั ก ษะทางกี ฬ า เป็ น การสนั บ สนุ น ในการผลิตนักกีฬา และฝึกทักษะอาชีพให้กับผู้ต้องขัง เมื่อพ้นโทษไปสามารถน�ำความรู้ที่มีไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กบั ตัวเองและครอบครัว เป็นคนดีของสังคม ไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซํ้าอีก Justice Magazine Ministry of Justice
41
ยุติธรรมเพื่อประชาชน
นายเทพรัตน์ สุวรรณรัต นิติกร
กองทุนยุติธรรม
นำ�ประชาสู่เสรี (อิสรภาพ)
ภารกิ จ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชน ทางกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติกองทุน ยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2558 มี อ ยู ่ 4 ประการ ดังที่ได้กล่าวไปในบทความก่อนหน้านีแ้ ล้วนัน้ หนึ่งในภารกิจส�ำคัญที่เป็นค่าใช้จ่ายหลัก ของกองทุนยุติธรรมคือ การปล่อยชั่วคราว ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลย (ประมาณร้อยละ 80 ของงบประมาณที่ให้ความช่วยเหลือทัง้ หมด) โดยที่หลักประกันในการขอปล่อยชั่วคราว ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยนั้นจะมีมูลค่าแตกต่าง กันออกไปตามพฤติการณ์ และข้อเท็จจริง ความร้ายแรงของข้อกล่าวหา หรือมูลค่า ความเสี ย หาย ซึ่ ง จะมี ตั้ ง แต่ ห ลั ก หมื่ น ถึงหลักล้านบาท
42
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยที่ครอบครัวมีฐานะ จะสามารถ ประกั น ตั ว ออกมาเพื่ อ ต่ อ สู ้ ค ดี ไ ด้ ใ นโอกาสแรก ที่ถูกควบคุมตัว เช่น ตั้งแต่ชั้นสอบสวนดังที่เห็นได้จาก ข่ า วในสื่ อ ช่ อ งทางต่ า ง ๆ เนื่ อ งจากบุ ค คลเหล่ า นั้ น มี ค วามสามารถพอที่ จ ะหาหลั ก ประกั น มู ล ค่ า ตามที่ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาลเรียกได้ แต่ ใ นทางกลั บ กั น หากเป็ น บุ ค คลที่ ห าเช้ า กิ น คํ่ า มี ร ายได้ แค่ พ อประทั ง ชี วิ ต แค่ พ อจะอุ ปการะเลี้ยงดู บุตร หรือบุพการีได้ ถ้าบุคคลเหล่านั้นเกิดก้าวพลาด ก้าวผิดจังหวะ ตกเป็นผูต้ อ้ งหาหรือจ�ำเลย บุคคลเหล่านัน้ จะหาเงินจากไหนมาประกันตัว เพื่อแลกกับอิสรภาพ ของเขาเพื่ อ ให้ ค รอบครั ว กลั บ มาอยู ่ กั น พร้ อ มหน้ า พร้อมตาได้
ยุติธรรมเพื่อประชาชน
วา่ จะเป็นค่าใช้จา่ ยทีส่ งู “แต่เถึป็งนแม้การที ร่ ฐั เข้าช่วยเหลือ ผูย้ ากไร้ เดือดร้อน ลดความ เหลือ่ มลํา้ สร้างสังคมแห่ง ความเท่าเทียม
”
การที่ ป ระชาชนไม่ ส ามารถประกั น ตั ว ออกมา ประกอบอาชีพหรือออกมาอุปการะเลี้ยงดูครอบครัว หรือหาพยานหลักฐานเพื่อมาต่อสู้คดีได้นั้น นอกจาก ท� ำ ให้ ป ระชาชนสู ญ เสี ย อิ ส รภาพ ขั ด ต่ อ หลั ก การ ตามรัฐธรรมนูญทีว่ า่ “เป็นผูบ้ ริสทุ ธิจ์ นกว่าจะมีคำ� พิพากษา ถึงที่สุด” แล้ว ยังท�ำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา ดังนี้ 1. ปัญหาคนล้นคุก ซึ่งในปัจจุบันกรมราชทัณฑ์ ต้ อ งสู ญ เสี ย งบประมาณในการดู แ ลนั ก โทษประมาณ คนละ 30,000 บาทต่อปี ซึ่งยังไม่รวมถึงค่าเสียโอกาส ที่บุคคลเหล่านั้นจะสามารถออกมาประกอบสัมมาอาชีพ ตามปกติ ที่ จ ะเป็ น การท� ำ ให้ รั ฐ สู ญ เสี ย ค่ า เสี ย โอกาส ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ทางอ้ อ มอี ก ประมาณ 80,000 บาทต่อปี
2. อาชีพนักค้าประกันอิสรภาพ หรื อ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า “ตีนโรง ตีนศาล” เมื่อชาวบ้านตกอยู่ในความทุกข์ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร เมื่อเห็นบุคคลที่แต่งตัวดี ท่าทางน่าไว้ใจ ชาวบ้านก็จะเดินเข้าไปสอบถาม ขอความช่วยเหลือ ซึง่ “ตีนโรง ตีนศาล” เหล่านีน้ นั้ ถึงแม้วา่ จะไม่ได้เป็นการกระท�ำ ที่ผิดกฎหมาย แต่ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ท�ำให้ชาวบ้านเดือดร้อน เนื่องจากการที่จะได้ หลักประกันมาจากบุคคลเหล่านี้นั้น ชาวบ้านจะต้องหาเงินมาให้ประมาณ ร้อยละ 15 ของหลักประกันที่ต้องใช้ ซึ่งเงินร้อยละ 15 นั้นชาวบ้านอาจต้องไป หยิ บ ยื ม เงิ น มาจากญาติ พี่ น ้ อ ง หรื อ ซํ้ า ร้ า ยกว่ า นั้ น ต้ อ งไปกู ้ เ งิ น นอกระบบ ท�ำให้เกิดปัญหาสังคม ปัญหาครอบครัว และปัญหาอืน่ ๆ ตามมา ซํา้ เติมความทุกข์ ของเขาเหล่านั้นมากขึ้นไปอีก การให้ความช่วยเหลือประชาชนของกองทุนยุติธรรมในกรณีการปล่อย ชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยนั้น ถึงแม้ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงแต่เป็นการที่รัฐ เข้าช่วยเหลือผูย้ ากไร้ เดือดร้อน ลดความเหลือ่ มลํา้ สร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม ซึ่งในปีงบประมาณ 2560 นั้น กองทุนยุติธรรมได้ให้ความช่วยเหลือในกรณี การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยไปแล้ว 283 ราย มูลค่าหลักประกัน กว่ า 57 ล้ า นบาท (ข้ อ มู ล ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2560) และเงิ น เหล่ า นี้ เมื่อได้จ่ายออกไป กองทุนยุติธรรมจะได้กลับคืนมาอีกครั้ง เมื่อคดีนั้นถึงที่สุด หรือคดีนนั้ ไปถึงชัน้ ศาลแต่ละชัน้ ต่อไป กล่าวคือหลักประกันทีใ่ ช้วางกับศาลชัน้ ต้น เมื่อคดีถึงศาลชั้นอุทธรณ์ กองทุนยุติธรรมจะได้รับเงินที่ใช้วางเป็นหลักประกัน ในศาลชัน้ ต้นกลับคืน นอกจากภารกิจนีจ้ ะให้อสิ รภาพกับบุคคลทีต่ กเป็นผูต้ อ้ งหา หรือจ�ำเลย ท�ำให้ครอบครัวได้กลับมาอยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา ท�ำให้มีโอกาส หาหลักฐานไปต่อสู้คดีแล้วบุคคลนั้นยังสามารถออกมาประกอบสัมมาอาชีพ ดูแลครอบครัว เป็นเสาหลักให้กับครอบครัวได้อีก กองทุนยุติธรรมยังสามารถ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระด้ า นงบประมาณของหน่ ว ยงานในกระบวนการยุ ติ ธ รรม เช่น กรมราชทัณฑ์ และกองทุนยุติธรรมยังสามารถช่วยลดค่าเสียโอกาสที่บุคคล เหล่านั้นจะสามารถออกมาประกอบสัมมาชีพตามปกติลดค่าเสียโอกาสที่รัฐ อาจสูญเสียในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจทางอ้อม Justice Magazine Ministry of Justice
43
นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คน เงิน แผน
ประเทศไทย 4.0 ประเทศไทย 4.0 เป็นคำ�ทีเ่ ริม่ ได้ยนิ กันมามากตัง้ แต่ชว่ งทีม่ ี การริเริ่มเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ และเป็นสิ่งที่ติดปาก คุ้นหูกันในวงกว้าง เพราะนายกรัฐมนตรีและผู้บริหาร หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ จะต้ อ งกล่ า วถึ ง ในแทบทุ ก งานที่ มี การมอบนโยบาย รวมทั้ง ในการทำ � แผนยุ ท ธศาสตร์ แผนปฏิบตั กิ ารในระดับต่าง ๆ มักจะมีเป้าหมายในการไปสู่ ประเทศไทย 4.0 แต่ความหมายของประเทศไทย 4.0 นั้น หมายถึงอะไรบ้าง อาจจะยังไม่มคี วามชัดเจนนัก โดยส่วนใหญ่ จะนึ ก กั น ถึ ง เรื่อ งนโยบายเศรษฐกิ จ ดิ จิทัล และการนำ � เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการบริหารจัดการหน่วยงาน และพัฒนาช่องทางในการให้บริการประชาชน
44
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
คน เงิน แผน
เมื่อมองย้อนหลังกลับถึงประเทศไทย 1.0-3.0 นั้น หมายถึ ง การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย จากประเทศไทย 1.0 ที่เน้นเกี่ยวกับภาคการเกษตร มาสู่ประเทศไทย 2.0 ที่เริ่มมีการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่ อ ทดแทนการน� ำ เข้ า และประเทศไทย 3.0 ที่ มี ก ารยกระดั บ อุ ต สาหกรรมไปสู ่ ภ าคการส่ ง ออก ซึ่ ง การพั ฒ นาในช่ ว งที่ ผ ่ า นมาส่ ง ผลให้ ป ระเทศไทย ก้ า วมาสู ่ ก ารเป็ น ประเทศรายได้ ป านกลางระดั บ สู ง แต่ยังไม่สามารถยกระดับไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูงได้ และมีแนวโน้มที่จะกลายเป็นประเทศที่ติดกับดักรายได้ ปานกลาง (Middle-income Trap) เมื่อรัฐบาลนี้ก�ำหนดให้มีการวางยุทธศาสตร์ชาติ เพือ่ เป็นกรอบในการน�ำประเทศไทยไปสูก่ ารเป็นประเทศ รายได้ ร ะดั บ สู ง หรื อ ประเทศพั ฒ นาแล้ ว จึ ง ได้ คิ ด ถึ ง การปรั บ รู ป แบบของเศรษฐกิ จ ใหม่ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง จากการเน้ น อุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่ ง ออก มาเป็ น เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value–Based Economy) หรือที่เรียกว่าประเทศไทย 4.0 นั่นเอง องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ของประเทศไทย 4.0 คื อ 1) การเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) ในปัจจุบัน ไปสู่การเกษตรแบบสมัยใหม่ ที่ เ น้ น การบริ ห ารจั ด การและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร�ำ่ รวยขึน้ และเป็นเกษตรกร แบบเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur) 2) การเปลี่ยน ผู้ประกอบการจาก Traditional SMEs หรือ SMEs
ที่ มี อ ยู ่ ที่ รั ฐ ต้ อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ อยู ่ ต ลอดเวลา ไปสู ่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ทีม่ ศี กั ยภาพสูง 3) การยกระดับการผลิตสินค้าและบริการ แบบดั้ ง เดิ ม ที่ มี ก ารสร้ า งมู ล ค่ า ค่ อ นข้ า งต�่ ำ ไปสู ่ ธุ ร กิ จ บริ ก ารที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง (High Value Services) และ 4) การเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่ำไปสู่แรงงาน ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยในระยะ ต่ อ ไปจึ ง จะต้ อ งมี ก ารเชื่ อ มโยงทั้ ง ภาคเกษตร ภาคอุ ต สาหกรรม และภาคการบริ ก ารเข้ า ด้ ว ยกั น และภาครั ฐ จะต้ อ งเป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น และอ� ำ นวย ความสะดวกในการประกอบธุรกิจ และการลงทุนต่าง ๆ เช่น มีมาตรการในการสนับสนุนการลงทุน การปรับปรุง กฎระเบียบต่าง ๆ ให้เอื้อต่อการลงทุน ซึ่งอาจจะรวมถึง การสร้างพืน้ ทีท่ ดสอบกฎเกณฑ์ (Regulatory Sandbox) เพื่อทดลองสร้างสินค้า บริการ และกฎระเบียบใหม่ ๆ โดยเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) และธุรกิจ ที่ด�ำเนินการภายใต้รูปแบบเศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) เพื่อรองรับสินค้าและบริการที่พัฒนาขึ้น ก่อนที่จะมีการด�ำเนินธุรกิจและการบังคับใช้กฎระเบียบ ดังกล่าวเป็นการทั่วไปด้วย ในการพัฒนาเศรษฐกิจไปสู่ประเทศไทย 4.0 นั้น ยังได้มีการกล่าวถึงเครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโต ทางเศรษฐกิจชุดใหม่ (New Engines of Growth) หรื อ 5 อุ ต สาหกรรมเป้ า หมายใหม่ เพื่ อ ต่ อ ยอด Justice Magazine Ministry of Justice
45
คน เงิน แผน
กลุม่ อุตสาหกรรมเดิมทีก่ ำ� ลังถึงจุดอิม่ ตัว ซึง่ อุตสาหกรรม เป้าหมายใหม่นั้นประกอบด้วย 1) กลุ ่ ม อาหาร เกษตร และเทคโนโลยี ชี ว ภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) 2) กลุ ่ ม สาธารณสุ ข สุ ข ภาพ และเทคโนโลยี ทางการแพทย์ (Health, Wellness &Bio-Med) 3) กลุ ่ ม เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ อั จ ฉริ ย ะ หุ ่ น ยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) 4) กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อ และบังคับอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยี สมองกลฝังตัว (Digital, Internet of things : IoT, Artificial Intelligence & Embedded Technology) 5) กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ วั ฒ นธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง (Creative, Culture & High Value Services) อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ป ้ า ห ม า ย ใ ห ม ่ 5 ก ลุ ่ ม นี้ เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี ใ นระดั บ สู ง และมีการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง จึงมีความ สามารถในการเติบโตต่อไปในอนาคตสูง แต่ในปัจจุบัน ยั ง มี ผู ้ ป ระกอบการน้ อ ย และยั ง ไม่ เ ข้ ม แข็ ง มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิจจึงยังไม่มากนัก ภาครัฐจึงพยายามพัฒนา มาตรการในด้านต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง
46
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ให้ ผู ้ ป ระกอบการในกลุ ่ ม นี้ ใ ห้ ขึ้ น มาเป็ น กลไกหลั ก ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต นอกจากนี้ การไปสู ่ ป ระเทศไทย 4.0 ยั ง ต้ อ งมี การแก้ ไ ขปั ญ หาที่ ส� ำ คั ญ อี ก 2 ด้ า น คื อ กั บ ดั ก ความเหลื่ อ มล�้ ำ (Inequality Trap) และกั บ ดั ก ความไม่ ส มดุ ล ของการพั ฒ นา (Imbalance Trap) ที่เกิดจากผลของการพัฒนาที่ไม่สมดุลในช่วงที่ผ่านมา ดั ง นั้ น ทิ ศ ทางการพั ฒ นาในช่ ว งต่ อ ไปจึ ง จะเป็ น การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ระดั บ ฐานรากในระดั บ ชุ ม ชน การส่งเสริมคลัสเตอร์เศรษฐกิจในระดับกลุ่มจังหวัด การส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในรูปแบบประชารัฐ การก� ำ หนดเป้ า หมายร่ ว มกั น เพื่ อ ก้ า วไปสู ่ ประเทศไทย 4.0 จึ ง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการจั ด ท� ำ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะเป็นกรอบในการพัฒนา ประเทศในระยะยาว และเป็นเป้าหมายในการปฏิรูป ประเทศในด้านต่างๆ เพื่อเปลี่ยนผ่านประเทศไทย ไปสู่วิสัยทัศน์ที่ก�ำหนดขึ้นตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ที่ ว ่ า “ประเทศไทยมี ค วามมั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น เป็ น ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ด้ ว ยการพั ฒ นาตามหลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นั่นเอง
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม
โครงการ ปลุกจิตสำ�นึกบุคลากร สป.ยธ.
“ร่วมต้านการทุจริต ไม่คิดโกง”
สวัสดีชาวยุตธิ รรม เล่มนีเ้ ป็นฉบับที่ 5 ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุตธิ รรม ขอนำ�เสนอโครงการปลุกจิตสำ�นึกบุคลากร สป.ยธ. “ร่วมต้านการทุจริต ไม่คดิ โกง” เพือ่ เป็นการปลุกจิตสำ�นึกด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ของบุคลากรสำ�นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ให้มจี ติ สำ�นึกทีด่ ีในการร่วมกันต่อต้านการทุจริต ซึง่ ได้ด�ำ เนินการจัดโครงการขึน้ ในระหว่างวันที่ 20 - 24 มีนาคม 2560 ณ พิพธิ ภัณฑ์ตา้ นโกง สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร โดยแบ่งออกเป็น 5 รุน่ ๆ ละ 30 คน ดังนี้ Justice Magazine Ministry of Justice
47
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
รุน่ ที่ 1 ส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับสูงและระดับอ�ำนวยการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม รุ่นที่ 2-5 ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม เป็ น การเชิ ญ ผู ้ บ ริ ห าร และเจ้ า หน้ า ที่ ในสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เข้ า ร่ ว มรั บ ฟั ง การบรรยายเกีย่ วกับบทบาทหน้าทีข่ องส�ำนักงาน ป.ป.ช. รู ป แบบของการทุ จ ริ ต ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากคดี การทุจริต และแนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซึ่งได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ของส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้แก่ นายพิเศษ นาคะพันธุ์ ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ และนายชฎิล ศุภวรรณกิจ นักบริหาร ทรัพยากรบุคคลเชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานพิพิธภัณฑ์ นอกจากนี้ ยั ง ได้ เ ข้ า เยี่ ย มชมในส่ ว นจั ด แสดง ของพิพิธภัณฑ์ต้านโกง ที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้จัดตั้งขึ้น โดยแบ่งออกเป็น 10 ส่วนแสดง ดังนี้ ส่วนที่ 1 ลานสนุกคิด : ให้ผชู้ มคิดวิเคราะห์พฤติกรรม ที่เคยท�ำในชีวิตประจ�ำวันว่าเสี่ยงต่อการทุจริตหรือไม่ เพื่ อ เป็ น การสร้ า งแรงจู ง ใจในการค้ น หาความหมาย ของการทุจริตโดยสื่อผ่านสถานการณ์จ�ำลอง ส่วนที่ 2 เลือกทางเดิน : วีดที ศั น์แสดงภาพรวมปัญหา การทุจริตของประเทศไทย เพื่อสะท้อนให้ทราบถึงที่มา ของปั ญ หาการทุ จ ริ ต ที่ มั ก เกิ ด ขึ้ น จากความเคยชิ น แม้จะเป็นการโกงเล็กน้อยในชีวิตประจ�ำวัน ส่ ว นที่ 3 เมื อ งมนต์ ด� ำ : สร้ า งความตระหนั ก รู ้ ให้ทราบถึงมูลค่าความสูญเสียเงินภาษีของประชาชน จ�ำนวนมหาศาลอันเกิดจากการทุจริต เพื่อปรับทัศนคติ ให้ มี ส ่ ว นร่ ว มในการดู แ ลผลประโยชน์ ส ่ ว นรวม ของคนไทย
48
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต
ส่วนที่ 4 ตีแผ่กลโกง : ให้ผชู้ มได้เรียนรูร้ ปู แบบกลโกง ในการทุจริต เพื่อให้สามารถรู้ทัน เล่ห์เหลี่ยมและชั้นเชิง การทุจริตที่มีความซับซ้อน ส่วนที่ 5 ก�ำจัดกลโกง : ให้ผู้ชมรับรู้ถึงบทบาท ภารกิจ และพัฒนาการของส�ำนักงาน ป.ป.ช. วิธีการ ท�ำงาน รายละเอียดคดีส�ำคัญ ที่เป็นผลงานของ ป.ป.ช. เพื่อตอกย�้ำให้เห็นถึงผลเสียของการโกง ส่ ว นที่ 6 วั น ชี้ ช ะตา : บทสรุ ป ของคนโกง ผ่านคดีการทุจริตที่คลองด่าน ซึ่งเกิดจากการเข้ามา มีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน ในการ ร่วมตรวจสอบการทุจริต ส่ ว นที่ 7 พลั ง คุ ณ ธรรมขั บ เคลื่ อ นสั ง คม : สร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ ผู ้ เ ข้ า ชมเห็ น แบบอย่ า งของ การท� ำ ดี มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ จากสถาบั น หลั ก ของชาติ ประกอบด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ อดีตผู้น�ำประเทศ ผู้น�ำทางศาสนา และภาคประชาสังคม ส่วนที่ 8 เมืองแห่งแสงสว่าง : เรียนรู้การด�ำเนินชีวิต ที่ ยึ ด หลั ก คุ ณ ธรรม ความซื่ อ สั ต ย์ ทั้ ง ในระดับ บุค คล ครอบครัว ชุมชน ภาคธุรกิจ ภาคการเมือง และภาครัฐ ส่วนที่ 9 พลเมืองข่าว ป.ป.ช. : กิจกรรมรายงานข่าว ทางสถานีโทรทัศน์จ�ำลอง “ACM NEWS” เพื่อเปิดโปง การโกง การแจ้งเบาะแสการทุจริต และการมีส่วนร่วม ในการป้องกันการทุจริต ส่ ว นที่ 10 รวมพลั ง สร้ า งสั ง คมไทยใสสะอาด : ภารกิจและเครือข่ายต้านโกงทั่วประเทศ เปิดโอกาสให้ ผูช้ มร่วมสมัครเป็นเครือข่าย ป.ป.ช. เพือ่ รับข้อมูลข่าวสาร และร่วมกิจกรรมกับเครือข่ายในการต่อต้านการทุจริต จากการประเมินผลการจัดโครงการ พบว่า ก่อนเข้า ร่วมโครงการ ผู้เข้าร่วมมีความรู้เฉลี่ยอยู่ที่ 3.41 คะแนน (ระดับปานกลาง) และหลังเข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าร่วม มีความรู้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยอยู่ที่ 4.41 คะแนน (ระดับมาก) จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน การจัดโครงการดังกล่าว ถือได้วา่ บรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการทีต่ งั้ ไว้ทกุ ประการ การต่อต้านการทุจริต เป็นหน้าที่ของเราทุกคน ที่จะต้องร่วมแรงร่วมใจกัน สร้างจิตส�ำนึก ในตนเอง ไม่ ส นั บ สนุ น คนโกง และสร้ า งพลั ง เครื อ ข่ า ย คอยสอดส่องดูแล เพื่อป้องกันไม่ให้มีการทุจริตเกิดขึ้น ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม ขอเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานในการสนับสนุนให้ทุกคน ตระหนั ก ถึ ง การป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต อย่างจริงจัง เพือ่ ขจัดปัญหาการทุจริตให้หมดสิน้ ไปจาก ผืนแผ่นดินไทย “รวมพลัง ยับยั้งการทุจริต” Justice Magazine Ministry of Justice
49
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
กองบรรณาธิการ
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560
ป้องปรามปัญหาสังคมจากการใช้ อินเทอร์เน็ต ผู้กระทำ�ผิดต้องรับโทษ เทคโนโลยี ใ นปั จ จุ บั น ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งไกลตั ว อี ก ต่ อ ไป โดยเฉพาะโซเชี ย ลมี เ ดี ย ที่ แ ทบจะกลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในชี วิ ต ประจำ � วั น ของทุ น คนไปแล้ ว การจะแชร์ โพสต์ข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นอะไรลงไป ควรศึกษาอย่างถี่ถ้วน มิฉะนั้น อาจเป็นโทษแก่ตัวเองได้ และเพื่อเป็นการป้องกันไว้ก่อน พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำ� ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2560 คือสิ่งที่คุณควรรู้ 50
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
วั น ที่ 24 มกราคม 2560 ราชกิ จ จานุ เ บกษา เผยแพร่ ประกาศ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระท�ำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2560 บังคับใช้หลังพ้น 120 วัน นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา นัน่ หมายความว่า พ.ร.บ.ฉบับนี้จะถูกบังคับใช้ประมาณเดือนพฤษภาคม 2560 เป็นต้นไป โดยมีสาระส�ำคัญหลายประการ อาทิ มาตรา 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองและ วรรคสามของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระท� ำ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2550 “ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ แก่บคุ คลอืน่ อันมีลกั ษณะเป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อน ร� ำ คาญแก่ ผู ้ รั บ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ห รื อ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิดโอกาสให้ผรู้ บั สามารถบอกเลิก หรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท ให้รฐั มนตรีออกประกาศก�ำหนดลักษณะและวิธกี ารส่ง รวมทั้ ง ลั ก ษณะและปริ ม าณของข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่เป็นการก่อให้เกิด ความเดื อ ดร้ อ นร� ำ คาญแก่ ผู ้ รั บ และลั ก ษณะอั น เป็ น การบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพือ่ ปฏิเสธการตอบรับ ได้โดยง่าย” มาตรา 8 ให้ ย กเลิ ก ความในมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 14 ผู้ใดกระท�ำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น ห้ า ปี ห รื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ (1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง น�ำเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอม ไม่ ว ่ า ทั้ ง หมดหรื อ บางส่ ว น หรื อ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ อั น เป็ น เท็ จ โดยประการที่ น ่ า จะเกิ ด ความเสี ย หาย แก่ ป ระชาชน อั น มิ ใ ช่ ก ารกระท� ำ ความผิ ด ฐาน หมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา (2) น�ำเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซงึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์ สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนก แก่ประชาชน (3) น�ำเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซงึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หรื อ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ การก่ อ การร้ า ยตามประมวล กฎหมายอาญา (4) น�ำเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซงึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่ มี ลั ก ษณะอั น ลามกและข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ นั้ น ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
Justice Magazine Ministry of Justice
51
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
52
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน
(5) เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรูอ้ ยูแ่ ล้ว ว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1) (2) (3) หรือ (4) ถ้าการกระท�ำความผิดตามวรรคหนึง่ (1) มิได้กระท�ำ ต่อประชาชน แต่เป็นการกระท�ำต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ผู้กระท�ำ ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดั ง กล่ า วต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น สามปี ห รื อ ปรั บ ไม่เกินหกหมืน่ บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ และให้เป็นความผิด อันยอมความได้” มาตรา 10 ให้ ย กเลิ ก ความในมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 16 ผู้ใดน�ำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชน ทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็น ภาพของผูอ้ นื่ และภาพนัน้ เป็นภาพทีเ่ กิดจากการสร้างขึน้ ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ วิ ธี ก ารอื่ น ใด โดยประการที่ น ่ า จะท� ำ ให้ ผู ้ อื่ น นั้ น เสี ย ชื่ อ เสี ย ง ถู ก ดู ห มิ่ น ถู ก เกลี ย ดชั ง หรื อ ได้ รั บ ความอับอาย ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี และปรับ ไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระท�ำตามวรรคหนึ่งเป็นการกระท�ำต่อภาพ ของผู้ตาย และการกระท�ำนั้นน่าจะท�ำให้บิดามารดา คู ่ ส มรส หรื อ บุ ต รของผู ้ ต ายเสี ย ชื่ อ เสี ย ง ถู ก ดู ห มิ่ น หรื อ ถู ก เกลี ย ดชั ง หรื อ ได้ รั บ ความอั บ อาย ผู ้ ก ระท� ำ ต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้ า การกระท� ำ ตามวรรคหนึ่ ง หรื อ วรรคสอง เป็นการน�ำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยสุจริตอันเป็นการ ติชมด้วยความเป็นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัย ของประชาชนย่ อ มกระท� ำ ผู ้ ก ระท� ำ ไม่ มี ค วามผิ ด ตามวรรคหนึง่ และวรรคสอง เป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สียหายในความผิดตามวรรคหนึง่ หรือวรรคสอง ตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรสหรือบุตร ของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย” มาตรา 15 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ชุดค�ำสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดค�ำสั่ง ที่มีผลท�ำให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ หรือชุดค�ำสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกท�ำลาย ถูกแก้ไข เปลี่ ย นแปลงหรื อ เพิ่ ม เติ ม ขั ด ข้ อ งหรื อ ปฏิ บั ติ ง าน ไม่ ต รงตามค� ำ สั่ ง หรื อ โดยประการอื่ น ตามที่ ก� ำ หนด ในกฎกระทรวง เว้ น แต่ เ ป็ น ชุ ด ค� ำ สั่ ง ไม่ พึ ง ประสงค์ ที่อาจน�ำมาใช้เพื่อป้องกันหรือแก้ไขชุดค�ำสั่งดังกล่าว ข้างต้น ทั้งนี้ รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีรูปแบบ การกระทำ�ความผิดที่มี ความซับซ้อนมากขึ้น ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก�ำหนดรายชื่อ ลักษณะ หรือรายละเอียดของชุดค�ำสั่ง ไม่ พึ ง ประสงค์ ซึ่ ง อาจน� ำ มาใช้ เ พื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ แก้ ไ ข ชุดค�ำสั่งไม่พึงประสงค์ก็ได้” มาตรา 17 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึง่ ของมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 26 ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารต้ อ งเก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล จราจร ทางคอมพิ ว เตอร์ ไ ว้ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า เก้ า สิ บ วั น นั บ แต่ วั น ที่ ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจ�ำเป็น พนักงานเจ้าหน้าทีจ่ ะสัง่ ให้ผใู้ ห้บริการผูใ้ ดเก็บรักษาข้อมูล จราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินเก้าสิบวันแต่ไม่เกินสองปี เป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้” ส� ำ หรั บ การประกาศใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว เนื่ อ งมาจากพระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการกระท� ำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีบทบัญญัติ บางประการทีไ่ ม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปราม การกระท� ำ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ ใ นปั จ จุ บั น มีรูปแบบการกระท�ำความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทัง้ มีการจัดตัง้ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีภารกิจในการก�ำหนดมาตรฐานและมาตรการในการ รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมทั้งการเฝ้าระวัง และติ ด ตามสถานการณ์ ด ้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ จึงสมควรปรับปรุงบทบัญญัตใิ นส่วนทีเ่ กีย่ วกับผูร้ กั ษาการ ตามกฎหมาย ก�ำหนดฐานความผิดขึน้ ใหม่ และแก้ไขเพิม่ เติมฐานความผิดเดิม ให้มคี วามสอดคล้องกับสภาวการณ์ ในยุคปัจจุบัน ทั้งนี้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับดังกล่าว จะท�ำให้ เกิดการป้องปรามปัญหาต่างๆ ในสังคมจากการใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต อย่ า งเท่ า ทั น กั บ ยุ ค สมั ย และจะท� ำ ให้ การตี ค วามไปจนถึ ง การบั ง คั บ ใช้ ข องกฎหมาย มีความละเอียดมากยิ่งขึ้น อันจะน�ำไปสู่การอยู่ร่วมกัน ของผูค้ นในสังคมแห่งยุคเทคโนโลยีได้อย่างผาสุกต่อไป Justice Magazine Ministry of Justice
53
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำ�ความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้ ประมาณเดือน พฤษภาคม 2560 เป็นต้นไป
ทำ�ไมต้องมีพระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่องมาจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปรามการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน ซึ่งมีรูปแบบการกระทำ�ความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้นตามพัฒนาการ ทางเทคโนโลยี ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีการจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมซึง่ มีภารกิจในการกำ�หนดมาตรฐานและมาตรการในการรักษาความมัน่ คงปลอดภัยไซเบอร์ รวมทั้งการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารของประเทศ จึงสมควรปรับปรุงบทบัญญัตใิ นส่วนทีเ่ กีย่ วกับผูร้ กั ษาการตามกฎหมาย กำ�หนดฐานความผิดขึน้ ใหม่ และแก้ไขเพิม่ เติมฐานความผิดเดิม ให้มคี วามสอดคล้องกับสภาวการณ์ ในยุคปัจจุบัน 54
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
สาระสำ�คัญของการแก้ ไขและปรับปรุงกฎหมาย
1
5
การเผยแพร่ ภาพตัดต่อ
2
6
การให้ท�ำ ลาย ภาพตัดต่อ
ความผิดฐานส่งสแปม โดยปกปิดแหล่งทีม่ า
กฎหมายเดิม = ปรับ 100,000 บาท กฎหมายใหม่ = ไม่ เ ปิ ด โอกาส ให้ ป ฏิ เ สธการตอบรั บ ได้ โ ดยง่ า ย ปรับ 200,000 บาท
การเข้าถึง/เปิดเผยวิธี การเข้าถึงระบบข้อมูล ด้านความมัน่ คง กฎหมายเดิม = ไม่มีโทษเฉพาะ กฎหมายใหม่ = กำ�นนดโทษสูงสุด คื อ จำ�คุ ก 1 – 10 ปี และปรั บ 20,000 – 200,000 บาท
3
กฎหมายเดิ ม = ผิ ด เฉพาะภาพ คนที่ยังมีชีวิต กฎหมายใหม่ = หากกระทำ�ต่อภาพ ผู้เสียชีวิตอาจมีความผิด
กฎหมายเดิม = ไม่ได้ระบุ กฎหมายใหม่ = ให้ยึดและทำ�ลาย ภาพตัดต่อได้
การนำ�เข้าข้อมูลเท็จ ทีก่ ระทบต่อความมัน่ คง
กฎหมายเดิม = เอาผิดกับการนำ�เข้าข้อมูลเท็จที่น่าจะมีผลกระทบ ดังต่อไปนี้ 1) เสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ 2) ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน กฎหมายใหม่ = เอาผิดกับการนำ�เข้าข้อมูลเท็จที่น่าจะมีผลกระทบ ดังต่อไปนี้ 1) เสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ 2) เสียหายต่อความปลอดภัยสาธารณะ 3) เสียหายต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 4) ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
4
ผู้ให้บริการที่ไม่ลบ เนือ้ หาผิดกฎหมาย
กฎหมายเดิม = รับผิดต่อเมื่อจงใจ สนับสนุน หรือยินยอม กฎหมายใหม่ = รับผิดต่อเมื่อให้ ความร่ ว มมื อ ยิ น ยอม หรื อ รู้ เ ห็ น เป็นใจ แต่ในกรณีที่ได้รับการแจ้ง เตือนแล้วลบออก ไม่ต้องรับโทษ
9
7
เนือ้ หาที่ จะถูก Block
8
ผู้ให้บริการมีหน้าที่ เก็บข้อมูลการใช้งาน
กฎหมายเดิ ม = 1) เป็ น ความผิ ด ต่ อ ความมัน่ คงของประเทศ 2) เป็นความผิด เกีย่ วกับการก่อการร้าย 3) ขัดต่อความสงบ เรียบร้อย หรือศิลธรรมอันดี กฎหมายใหม่ = 1) เป็นความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกีย่ วกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 2) เป็ น ความผิ ด ต่ อ ความมั่ น คงของ ประเทศ 3) เป็ น ความผิ ด เกี่ ย วกั บ การก่ อ การร้ า ย 4) เป็ น ความผิ ด ต่ อ กฎหมายอื่น ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรื อ ศิ ล ธรรมอั น ดี และเจ้ า หน้ า ที่ ตามกฎหมายนัน้ ร้องขอ 5) ไม่เป็นความผิด ต่อกฎหมาย แต่ขดั ต่อความสงบเรียบร้อย หรือศิลธรรมอันดี และคณะกรรมการ กลั่นกรองมีมติเอกฉันท์
กฎหมายเดิม = เก็บไม่น้อยกว่า 90 วัน กรณีจำ�เป็น สั่งให้เก็บเพิ่มได้ไม่เกิน 1 ปี กฎหมายใหม่ = เก็บไม่น้อยกว่า 90 วัน กรณีจำ�เป็น สั่งให้เก็บเพิ่มได้ไม่เกิน 2 ปี
คณะกรรมการ ตามกฎหมาย
กฎหมายเดิม = ไม่ได้ระบุ กฎหมายใหม่ = มีคณะกรรมการ 2 ชุด ได้แก่ 1) คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ แต่งตั้งโดยรัฐมนตรี มีจำ�นวน 3 คน โดย 1 ใน 3 จะต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2) คณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ไม่ผิดกฎหมาย แต่เข้าข่ายเนื้อหา ที่จะถูก Block แต่งตั้งโดยรัฐมนตรี มีได้มากกว่า 1 คณะ แต่ละคณะประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 9 คน ซึ่ง 3 ใน 9 ต้องมาจากผู้แทนภาคเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน ด้านสื่อสารมวลชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลจาก : พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550, พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 และหนังสือ ที่ คค 0210/ศทท 33 ลงวันที่ 30 ม.ค. 2560 เรือ่ ง สรุปสาระสำ�คัญตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำ�ความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 Justice Magazine Ministry of Justice
55
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประชาคมอาเซียน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ประชาคม อาเซี ย นของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ครั้ ง ที่ 1/2560 เพื่ อ พิ จ ารณา การขออนุ มั ติ แ ละปรั บ แผนโครงการการขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ ประชาคมอาเซียน โดยใช้งบประมาณจากค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ระบบกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม เพือ่ ส่งเสริมความเชือ่ มโยง ระหว่างกันในประชาคมอาเซียนของกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560 ณ ห้องประชุมกระทรวงยุติธรรม 2 ชั้น 8 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ
คณะผู้แทนไทย เสนอรายงาน การปฏิบัติตามกติกา ICCPR ฉบับที่ 2 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม เป็นหัวหน้าคณะผูแ้ ทนไทยน�ำเสนอ รายงานการปฏิบตั ติ ามกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ฉบับที่ 2 ต่อคณะกรรมการสิทธิ มนุ ษ ยชนแห่ ง สหประชาชาติ ณ Palais Wilson นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส
เปิดนิทรรศการ “จากมือที่เปื้อนบาป สู่มือที่ปั้นบุญ” ครั้งที่ 2 นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การเปิ ด นิ ท รรศการ “จากมื อ ที่ เ ปื ้ อ นบาป สู ่ มื อ ที่ ป ั ้ น บุ ญ ” ครั้ ง ที่ 2 จั ด โดยโครงการก� ำ ลั ง ใจในพระด� ำ ริ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ร่วมกับกรมราชทัณฑ์ เรือนจ�ำกลาง บางขวาง เครื อ ข่ า ยพุ ท ธิ ก าเพื่ อ พระพุ ท ธศาสนาและสั ง คม คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ตลอดจนองค์กรเพื่อสังคม และภาคเอกชน เพื่อเผยแพร่ผลงานพุทธศิลป์จากฝีมือผู้ต้องขัง ที่ ไ ด้ รั บ การอบรมการปั ้ น พระพุ ท ธรู ป ในโครงการปั ้ น ดิ น ให้เป็นบุญ ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาน อินทปัญโญ (สวนโมกข์) กรุงเทพฯ
56
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
เชิดชูเกียรติอาสาสมัครคุมประพฤติ นายถาวร พรหมมีชัย เลขานุก ารรัฐ มนตรีว ่าการกระทรวง ยุติธรรม เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการเชิดชูเกียรติอาสาสมัคร คุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม เนื่องในวันอาสาสมัครคุมประพฤติ ประจ� ำ ปี 2559 พร้ อ มมอบโล่ อ าสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ดี เ ด่ น จ�ำนวน 28 คน และใบประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรมที่ปฏิบัติงานเป็นระยะเวลา 25 ปี จ�ำนวน 66 คน เพื่ อ เป็ น ขวั ญ และก� ำ ลั ง ใจให้ กั บ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ในการปฏิบตั งิ าน ดูแลสงเคราะห์แก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิดและช่วยเหลือ ผู้ก้าวพลาดให้กลับมาเป็นคนดีสู่สังคม ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
ลงนาม MOU เชือ่ มโยงข้อมูลสารสนเทศ โดยวิธที างอิเล็กทรอนิกส์ นางกรรณิ ก าร์ แสงทอง รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมและ นายอดิศักดิ์ ปัตรวลี ประธานศาลอุทธรณ์ ภาค 9 ร่วมเป็นเกียรติ ในพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล สารสนเทศ โดยวิธที างอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีนางสาวรืน่ วดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี และนายโอภาส อนันตสมบูรณ์ อธิบดีผพู้ พิ ากษา ศาลแพ่งธนบุรี ร่วมลงนามเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน บังคับคดีให้มคี วามรวดเร็ว สมบูรณ์ และถูกต้องตามกรอบการจัดอันดับ ความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) ของธนาคารโลกและสามารถลดขั้นตอนในการด�ำเนินการบังคับคดี เพื่ อ เป็ น การอ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ ประชาชนมากยิ่ ง ขึ้ น ณ ห้องประชุม ชั้น 5 ศาลแพ่งธนบุรี เขตจอมทอง กรุงเทพฯ
แนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปตัวชี้วัด ประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธาน การประชุมคณะอนุกรรมการปฏิรปู ตัวชีว้ ดั ประสิทธิภาพกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ครั้งที่ 1/2560 โดยที่ประชุมได้ร่วมกันพิจารณา แนวทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปตัวชี้วัดประสิทธิภาพกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา พร้อมทั้งร่วมกันก�ำหนดกรอบตัวชี้วัดดังกล่าว ของกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาของไทยเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างมีเสถียรภาพ และสะท้อนประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรม ทางอาญาอย่ า งแท้ จ ริ ง ณ ห้ อ งประชุ ม กระทรวงยุ ติ ธ รรม 1 ชั้ น 9 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูน ย์ราชการเฉลิม พระเกี ย รติ ฯ กรุงเทพฯ Justice Magazine Ministry of Justice
57
พันตำ�รวจโท วิชัย สุวรรณประเสริฐ ผู้บัญชาการสำ�นักคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ ศนธ.ยธ.
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
หนี้ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม
กับความรับผิดทางอาญา (ตอน 2) เกร็ดน่ารู้เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติ ห้ามเรียกดอกเบี้ย เกินอัตรา พ.ศ. 2475 58
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2475 (ให้ ใช้เมื่อครบ 3 เดือนนับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป) ถือได้ว่าเป็นกฎหมายที่มีโทษทางอาญาฉบับแรก ที่ ล งโทษผู ้ ให้ กู ้ ยื ม เงิน ที่ คิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เกิ น กว่ า ที่กฎหมายก�ำหนด กฎหมายฉบับนี้ ได้ ใช้บังคับมาอย่าง ยาวนาน จนถูกยกเลิกไปโดยพระราชบัญญัติห้ามเรียก ดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2560 ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 เจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย เมื่อปี 2475 ได้สะท้อนสภาพปัญหาเศรษฐกิจและสังคม ในอดีตได้เป็นอย่างดี
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
ผมขอเล่าเกร็ดความรู้เกี่ยวกับกฎหมายดังกล่าว เพื่อเปรียบเทียบว่าปัญหาการเรียกดอกเบี้ยเงินกู้ยืม จากอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง คงอยู ่ แ ละมี ค วามรุ น แรง เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิมหรือไม่ การคิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมของแต่ละประเทศ ย่ อ มแตกต่ า งกั น ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ เงื่ อ นไขหรื อ ภาวะ เศรษฐกิ จ ของแต่ ล ะประเทศ ส� ำ หรั บ ประเทศไทย ในการกู้ยืมเงิน กฎหมายก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยขั้นสูงไว้ ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี ซึ่งข้อห้ามนี้เมื่อมีการฝ่าฝืน ก็มีผลในทางแพ่งเท่านั้น กล่าวคือ ถ้ามีการเรียกดอกเบี้ย เกินก็ให้ลดลงมาเหลือเพียงร้อยละ 15 ต่อปี ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 654 ซึ่งได้ประกาศ ใช้เมื่อปี 2472 เมื่ อ ปี พ.ศ. 2473 เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ต ลาดหุ ้ น วอลล์ ส ตรี ท ล่ ม ภาวะเศรษฐกิ จ ตกตํ่ า ครั้ ง ใหญ่ ที่เกิดในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ขยายวงไปยัง นานาประเทศทั่ ว โลก รวมถึ ง ประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบไปด้วยจนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี 2475 มาตรการที่ รั ฐ บาลน� ำ มาใช้ ป ระสบความล้ ม เหลว ไม่ ว ่ า จะเป็ น การยุ บ หน่ ว ยราชการ การลดจ� ำ นวน ข้ า ราชการ การจั ด เก็ บ ภาษี โ รงเรื อ นและที่ ดิ น ท� ำ ให้ บ รรดาพ่ อ ค้ า ได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นในสภาวะ ที่ ก ารค้ า ซบเซา การผลิ ต ข้ า วที่ ไ ม่ ไ ด้ ผ ลอย่ า งเต็ ม ที่ ท�ำให้ชาวนาจ�ำนวนมากยื่นฎีการ้องทุกข์ในที่สุดน�ำมาสู่ เหตุ ผ ลในการยึ ด อ� ำ นาจเปลี่ ย นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อประเทศอยู่ในภาวะข้าวยากหมากแพง ท� ำ ให้ เ กิ ด การเอารั ด เอาเปรี ย บกั น ในหลายรู ป แบบ รัฐได้เล็งเห็นว่าการให้กู้ยืมเงินโดยเรียกอัตราดอกเบี้ย สู ง เกิ น ควรที่ เ กิ ดขึ้น อย่างแพร่หลาย ย่อมจะกระทบ กระเทือนต่อเศรษฐกิจการค้า และความสงบเรียบร้อย ของประชาชน มาตรการตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 654 ไม่เพียงพอที่จะระงับยับยั้ง นายทุนเงินกู้หน้าเลือดได้ รัฐจึงได้ใช้กลไกทางกฎหมาย อาญาโดยก�ำหนดโทษทางอาญา เพื่อข่มขู่นายทุนไม่ให้ กู้ยืมเงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด โดยตราเป็นประราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2475 หากผู ้ ใ ดฝ่ า ฝื น กฎหมายนี้ จ ะได้ รั บ โทษ ทางอาญาต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ ไม่ เ กิ น 1,000 บาทหรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ (มาตรา 3) เหตุผลในการตรากฎหมายปรากฏจากค�ำแถลงการณ์ คณะกรรมการราษฎร ดังนี้
“เนื่องในการที่รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ย เกินอัตรา พุทธศักราช 2475 คณะกรรมการราษฎรเห็นสมควร ออกค�ำแถลงการณ์เพือ่ แสดงนโยบายของรัฐบาลในการออกกฎหมาย ฉบับนี้ เหตุผลที่จูงใจให้รัฐบาลออกกฎหมายฉบับนี้ คือ หวังจะบ�ำรุง การกู้ยืมให้เป็นไปในทางที่ควร การกู้ยืมนั้นโดยปกติผู้กู้ต้องการทุน เมื่อได้ทุนแล้วไปประกอบ กิจการอันใดอันหนึง่ มีผลงอกงามขึน้ ก็แบ่งผลนัน้ ใช้เป็นดอกเบีย้ บ้าง เหลือรวบรวมไว้เพื่อใช้หนี้ทุนต่อไป ดังนี้ฝ่ายเจ้าหนี้ก็ได้ดอกเบี้ย เป็นค่าป่วยการและมีโอกาสทีจ่ ะได้รบั ใช้ทนุ คืนในภายหลัง แต่ถา้ ดอกเบีย้ เรียกแรงเกินไปแล้ว ลูกหนีไ้ ด้ผลไม่พอทีจ่ ะใช้ดอกเบีย้ ได้ยอ่ มต้องย่อยยับ ไปด้ ว ยกั น ทั้ ง 2 ฝ่ า ย ด้ ว ยเหตุ นี้ ป ระเทศทั้ ง หลายและประเทศ ของเราเองจึงมีกฎหมายมาแต่โบราณกาลก�ำหนดอัตราดอกเบี้ย อย่างสูงไว้ กล่าวคือ ชัง่ ละ 1 บาทต่อเดือน (หรือร้อยละ 15 ต่อปี) อันทีจ่ ริง อัตรานี้เป็นอัตราที่ค่อนข้างสูงอยู่แล้ว แต่แม้กระนั้นยังปรากฏว่า ทุกวันนี้มีการให้กู้ยืมกันโดยอัตราสูงกว่านั้นและเจ้าหนี้กับลูกหนี้ ต่างร่วมใจร่วมมือกันหลีกเลีย่ งกฎหมายเพราะฝ่ายหนึง่ อยากได้ อีกฝ่ายหนึง่ กฎความจ�ำเป็นบังคับในที่สุดก็ได้ผลอันไม่พึงปรารถนาดังกล่าวแล้ว ก่อนที่จะร่างกฎหมายนี้ขึ้น รัฐบาลได้คิดแล้วถึงอัตราดอกเบี้ย เห็ น ว่ า เป็ น อั ต ราที่ ค ่ อ นข้ า งสู ง อยู ่ แ ล้ ว แต่ ข ้ า งฝ่ า ยลู ก หนี้ ไ ด้ ทุ น มาประกอบการด้วยตนเองได้โอกาสด�ำเนินอาชีพและมีโอกาสพอควร ที่จะหาก�ำไรมาใช้ดอกเบี้ย เหลือบ้างก็รวบรวมไว้ใช้ทุน เพราะฉะนั้น ถ้าทั้ง 2 ฝ่ายต่างคิดไปในทางที่ควรของการค้า ก็ไม่มีทางจะได้รับ ความขัดข้องเพราะกฎหมายฉบับนี้ แต่ถา้ จะด�ำเนินความคิดไปในทาง ไม่ดูทางไกลแล้ว ก็อาจจะหาเรื่องบ่นได้ เพราะฉะนัน้ เป็นการสมควรทีจ่ ะเพิม่ เติมข้อบัญญัตกิ ฎหมายขึน้ ใหม่ ดังที่ปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติฉบับนี้” ที่มา ค�ำแถลงการณ์คณะราษฎร
ผลจากการตราพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ย เกินอัตรา พ.ศ.2475
(1) กฎหมายฉบับนีท้ ำ� ให้การเรียกดอกเบีย้ เกินอัตราตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 เปลี่ยนแปลงไปเป็นใช้บังคับ เฉพาะเป็นข้อห้ามมิให้เรียกดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปีเท่านั้น แต่ผลของการเรียกดอกเบีย้ เกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปีทใี่ ห้ลดลงมาเป็น ร้อยละ 15 นั้นไม่มีผลบังคับเพราะพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ย เกินอัตรา บัญญัตใิ ห้การกูย้ มื เงินทีเ่ รียกดอกเบีย้ เกินอัตราเป็นความผิด และมี โ ทษทางอาญาเป็ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ ความสงบเรี ย บร้ อ ย และศีลธรรมอันดีของประชาชน ดังนั้นข้อตกลงในส่วนดอกเบี้ย จึงตกเป็นโมฆะทัง้ หมด ถือว่าไม่มขี อ้ ตกลงเรือ่ งดอกเบีย้ หรือข้อตกลงนัน้ เสียเปล่า เมื่อไม่มีสัญญาจะเสียดอกเบี้ย จึงไม่มีอะไรที่จะลดลง ตามมาตรา 654 บทบัญญัติที่ให้ลดดอกเบี้ยลงมาจึงไม่เกิดผลต่อไป แต่ในส่วนของต้นเงินตามสัญญากู้ยืมยังคงสมบูรณ์อยู่ Justice Magazine Ministry of Justice
59
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
ในกรณีทมี่ กี ารตกลงการคิดดอกเบีย้ เกินอัตราทีก่ ฎหมายก�ำหนด ข้ อ ตกลงนั้ น เป็ น โมฆะตามค� ำ พิ พ ากษาฎี ก า 1238 /2502 มีปัญหาว่าเป็นโมฆะแค่ไหนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 135 บัญญัติว่า “ถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดของนิติกรรมเป็นโมฆะ ท่านว่านิติกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะด้วยกันทั้งสิ้น เว้นแต่จะพึง สันนิษฐานได้โดยพฤติการณ์แห่งกรณีว่า คู่กรณีได้เจตนาจะให้ ส่ ว นที่ ส มบู ร ณ์ นั้ น แยกออกต่ า งหากจากส่ ว นที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ ก็ ไ ด้ ” เมื่อดอกเบี้ยเป็นโมฆะจึงไม่ท�ำให้สัญญากู้ส่วนที่เป็นเงินต้นเป็นโมฆะ ตามไปด้ ว ยเพราะสามารถแยกการกู ้ เ งิ น กั บ การเรี ย กดอกเบี้ ย ออกต่างหากจากกันได้ ดังนั้น สัญญากู้ยืมเงินที่เรียกดอกเบี้ยเกินร้อยละสิบห้าต่อปี ดอกเบี้ ย ทั้ ง หมด (ไม่ ใ ช่ เ ฉพาะส่ ว นที่ เ กิ น ร้ อ ยละสิ บ ห้ า ต่ อ ปี ) ตกเป็นโมฆะ ส่วนต้นเงินย่อมสมบูรณ์ แต่ถา้ เป็นสัญญาชนิดอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ สัญญากู้ยืมเงินแล้ว แม้จะตกลงเรียกดอกเบี้ยจากกันมากเพียงใด ก็ไม่มีความผิดฐานเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา (2) “ไม่ใช่กฎหมายทีช่ ว่ ยให้คนจนได้เปรียบคนมี แต่เป็นกฎหมาย ประสงค์จะคุ้มครองเศรษฐกิจของชาติมิให้ตกตํ่าลงไปเนื่องแต่การที่ บีบคั้นเอาดอกเบี้ยกันมากเกินไป” (ค�ำพิพากษาฎีกาที่ 698/2479) เนื่ อ งจากกฎหมายบั ญ ญั ติ อ อกมาเพื่ อ รั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย ของประชาชน ความผิดฐานเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นความผิด อาญาแผ่นดิน มิใช่ความผิดต่อส่วนตัวเพราะผู้กู้เป็นผู้ยินยอมให้ ผู้ให้กู้เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราถือว่ามีส่วนร่วมด้วยจึงไม่เป็นผู้เสียหาย โดยนิตินัย ท�ำให้ไม่สามารถฟ้องร้องผู้ให้กู้หรือเจ้าหนี้ในความผิด ฐานนี้ ไ ด้ ผู ้ กู ้ ห รื อ ลู ก หนี้ จึ ง ไม่ อ าจไปกลั่ น แกล้ ง ผู ้ ใ ห้ กู ้ ใ ห้ รั บ ผิ ด ทางอาญาได้ คงท�ำได้เพียงไปกล่าวโทษต่อ เจ้ า พนั ก งานต� ำ รวจ
60
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เพื่ อ ให้ ท� ำ การสื บ สวนสอบสวนเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น หากพนักงานสอบสวนท้องทีเ่ กิดเหตุพบว่า มีการกระท�ำผิด เกิดขึ้นก็จะด�ำเนินการร้องทุกข์กล่าวโทษและท�ำการ สอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อด�ำเนินคดีกับผู้ให้กู้ และท�ำความเห็นทางคดีสง่ พนักงานอัยการเพือ่ พิจารณา ฟ้องคดีต่อศาลเท่านั้น แล้วเหตุใดการกระท�ำของผูก้ ้ ู (ลูกหนี)้ จึงไม่เป็นความผิด ฐานมีส่วนร่วมเป็นตัวการผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนให้มีการ เรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา ท่านอาจารย์เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ (วารสารกฎหมายจุ ฬ าลงกรณ์ , กุ ม ภาพั น ธ์ 2528) ได้อธิบายแนวคิดทางกฎหมายว่า กฎหมายมุ่งหมาย โดยเฉพาะเจาะจง ทีจ่ ะคุม้ ครองบุคคลประเภทใดประเภทหนึง่ อาจจะตี ค วามได้ ว ่ า กฎหมายยกเว้ น ความผิ ด ให้ แ ก่ บุคคลประเภทนั้น ซึ่งเป็นเหยื่อของการกระท�ำผิดแม้ว่า บุคคลประเภทนั้นจะช่วยเหลือ ยุยง ส่งเสริม แนะน�ำ หรือชักจูงให้เกิดการกระท�ำผิดนั้นก็ตาม (3) การฟ้ อ งร้ อ งลงโทษแก่ ผู ้ ก ระท�ำ ผิ ด ฐานเรี ย ก ดอกเบี้ยเกินอัตรา ในทางอาญาเพียงแต่พิสูจน์ว่าจ�ำเลย ได้กระท�ำการกูย้ มื เงินกันจริงหรือไม่ สามารถน�ำพยานบุคคล มาสืบได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 ซึง่ ไม่เหมือนกับการฟ้องร้องบังคับคดีทางแพ่ง ที่ คู ่ ก รณี จ ะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิชย์ มาตรา 653 คือ การกู้ยืมเงินเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืม จึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้ (4) กฎหมายได้บัญญัติออกมาบังคับใช้กับนิติกรรม การกู้ยืมเงินเท่านั้น กล่าวคือ บังคับใช้ในกรณีที่ผู้กระท�ำ ได้กระท�ำการเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา หรือกระท�ำการอืน่ ๆ ตามองค์ ป ระกอบความผิ ด ที่ ก ฎหมายได้ บั ญ ญั ติ ไ ว้ โดยพิ จ ารณาข้ อ เท็ จ จริ ง ว่ า มี เ จตนาให้ กู ้ ยื ม เงิ น กั น จริงหรือไม่ (5) กฎหมายบัญญัตใิ ห้บคุ คลทีส่ ามอาจต้องรับผิดได้ เช่นเดียวกับเจ้าหนี้ได้ หากเป็นกรณีเจ้าหนี้โอนสิทธิ เรียกร้องให้กับบุคคลที่สาม โดยบุคคลที่สามรู้อยู่แล้ว ว่าสิทธินั้นได้มาโดยมิชอบแล้วพยายามถือเอาประโยชน์ แห่งสิทธินั้นจะมีความผิดและรับโทษเช่นเดียวกับผู้ให้กู้ หรือเจ้าหนี้ (มาตรา 4) วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องมาตรา 4 คื อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ผู้ให้กู้ซึ่งรู้ว่าตนไม่มีสิทธิจะเรียกดอกเบี้ยจากผู้กู้แล้ว หาทางโอนสิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งของตนให้ บุ ค คลอื่ น และให้บุคคลอื่นใช้สิทธิเรียกร้องต่อไป ท�ำให้เรียกร้อง ได้ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย เพราะตามข้อเท็จจริงแล้ว ผูไ้ ด้รบั โอนสิทธิเรียกร้องนัน้ ไม่ใช่ผใู้ ห้กู้ เมือ่ ไม่มกี ฎหมาย
ขอบคุณภาพ https://www.facebook.com/Oldsiam, http://www.tiewpakklang.com
ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน
บัญญัติแจ้งชัดให้รับผิดทางอาญาก็ย่อมลงโทษไม่ได้ พระราชบัญญัติโรงรับจำ�นำ� พ.ศ. 2505 มาตรา 17 ซึ่งบัญญัติว่าห้ามมิให้ จึงจ�ำต้องบัญญัติตามมาตรา 4 ไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้ ผู้รับจำ�นำ�เรียกหรือรับดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำ�หนดไว้ เกิดการหลีกเลีย่ งทางกฎหมาย เพราะเป็นการเอารัดเอา มาตรา 17 กำ�หนดอัตราดอกเบี้ยที่ผู้รับจำ�นำ�เรียกหรือรับได้ ดังต่อไปนี้ เปรียบผู้กู้ซึ่งโดยปกติแล้ว เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในฐานะ เสียเปรียบและไม่มีอ�ำนาจต่อรอง มาตรา เงินต้น อัตราดอกเบี้ย (6) ความหมายค�ำว่า “อัตราดอกเบี้ยที่ก�ำหนด” ตามกฎหมายฉบับนีห้ มายถึงอัตราใด ส�ำหรับการกูย้ มื เงินนัน้ กฎหมายที่ ก� ำ หนดอั ต ราดอกเบี้ ย เงิ น กู ้ ยื ม ปั จ จุ บั น 17 (1) ไม่เกิน 2,000 บาท ร้อยละ 2 ต่อเดือน มี 3 ฉบับ คือ (ร้อยละ 24 ต่อปี) ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ม าตรา 654 ซึ่งบัญญัติอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมไว้ร้อยละ 15 ต่อปี 17 (2) ส่วนที่เกิน 2,000 บาท ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ใช้บังคับในการกู้ยืมเงินทั่วไป (ร้อยละ 15 ต่อปี) พระราชบั ญ ญั ติ ด อกเบี้ ย เงิ น ให้ กู ้ ยื ม ของสถาบั น การเงิน พ.ศ. 2523 เป็นกฎหมายที่รัฐออกมาผ่อนปรน ให้ ส ถาบั น การเงิ น คิ ด ดอกเบี้ ย จากผู ้ กู ้ ยื ม ได้ สู ง กว่ า 17 วรรคสอง กรณี ไม่ครบเดือน ร้อยละ 15 ต่อปี เพื่อประโยชน์แห่งการแก้ไขภาวะ -ไม่เกิน 15 วัน -ร้อยละ 1 ต่อเดือน (ครึ่งเดือน) เศรษฐกิ จ ของประเทศ โดยสถาบั น การเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ -เกิน 15 วัน -ร้อยละ 2 ต่อเดือน (หนึง่ เดือน) การยกเว้น ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษทั หลักทรัพย์ และบริษทั เครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมาย 17 วรรคสาม กรณีรบั เงินหรือทรัพย์สนิ อืน่ ได้ ให้ถอื ว่าเงินหรือทรัพย์สนิ นัน้ ว่ า ด้ ว ยการประกอบธุ ร กิ จ เงิ น ทุ น ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย์ เนือ่ งจากการรับจ�ำน�ำนอกจาก เป็นดอกเบี้ยด้วย และธุ ร กิ จ เครดิ ต ฟองซิ เ อร์ แ ละสถาบั น การเงิ น อื่ น ดอกเบี้ย ทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังก�ำหนดโดยค�ำแนะน�ำ ของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัตินี้แม้จะใช้บังคับเป็นการทั่วไป แต่แท้จริงแล้ว เป็นการใช้บงั คับกับผูใ้ ห้กทู้ เี่ ป็นบุคคลหรือนายทุนเงินกูใ้ ห้คดิ อัตรา ดอกเบี้ยได้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี ตามมาตรา 654 เท่านั้น แต่ผใู้ ห้กทู้ เ่ี ป็นสถาบันการเงินจะได้รบั การยกเว้นโดยพระราชบัญญัติ ด อ ก เ บี้ ย เ งิ น ใ ห้ กู้ ยื ม ข อ ง ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น พ . ศ . 2 5 2 3 ให้เรียกอัตราดอกเบี้ยได้ถึงร้อยละ 28 ต่อปี แต่เมื่อผู้กู้ไม่สามารถ เข้าถึงสถาบันการเงินได้และความต้องการเงินกู้มีจำ�นวนมาก ผู้ ใ ห้ กู้ ที่ เ ป็ น นายทุ น จึ ง หารู ป แบบการอำ�พรางการกู้ ยื ม เงิ น ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ซั บ ซ้ อ นเพื่ อ เรี ย กดอกเบี้ ย หรื อ ผลตอบแทนอื่ น ในจำ�นวนทีส่ งู ให้คมุ้ กับความเสีย่ ง ดังนัน้ แม้รฐั จะได้ตราพระราชบัญญัติ ห้ า มเรี ย กดอกเบี้ ย เกิ น อั ต รา พ.ศ. 2560 ให้ ผู้ ก ระทำ�ผิ ด ต้องรับโทษสูงขึ้นก็คงแก้ไขสถานการณ์ได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น ตราบใดที่ ค วามต้ อ งการเงิ น ยั ง คงมี เ พิ่ ม มากขึ้ น การกำ�หนด อัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม โดยรัฐกำ�กับดูแลให้เกิดความเป็นธรรม ในทุ ก ขั้ น ตอนจะเป็ น การแก้ ไขปั ญ หาได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และยั่งยืน Justice Magazine Ministry of Justice
61
เรื่องต้องรู้
นายสุทธิกร จิตต์พานิชย์ พนักงานคดีปกครองชำ�นาญการ สำ�นักวิจัยและวิชาการ สำ�นักงานศาลปกครอง
หนังสือแจ้งให้ผู้รับเงิน ส่งคืนเงินที่ ไม่มีสิทธิ ได้รับ
ผูร้ บั เงินฟ้องศาลปกครอง ได้หรือไม่ ? ในการฟ้องคดีต่อศาลปกครอง เงื่อนไขสำ�คัญประการหนึ่ง คือ ผู้ฟ้องคดีจะต้องเป็นผู้ ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรื อ อาจจะเดื อ ดร้ อ นหรื อ เสี ย หายโดยไม่ อ าจหลี ก เลี่ย งได้ ตามมาตรา 42 วรรคหนึ่ ง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 หากไม่ใช่ ผูเ้ ดือดร้อนเสียหายดังกล่าว ศาลปกครองมีอ�ำ นาจไม่รบั คำ�ฟ้อง ไว้พจิ ารณาและสัง่ จำ�หน่ายคดีออกจากสารบบความ
62
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ดังเช่นอุทาหรณ์คดีปกครองที่น�ำมาฝากในฉบับนี้ เป็นกรณีท่ีผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 33 มีหนังสือ ลงวันที่ 27 เมษายน 2553 ถึงนาง ส. (นามสมมุติ) ซึง่ เป็นข้าราชการมีเนือ้ ความว่า นาง ส.ไม่มสี ทิ ธิได้รบั เงิน ช่วยเหลือค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบ�ำนาญตามมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัด บ�ำนาญ 2521 (กรณีสามีเสียชีวติ จากการปฏิบตั ริ าชการ) เนื่องจากนาง ส. ได้รับเงินเดือนจากหน่วยงานราชการ และให้นำ� เงิน ทีไ่ ด้รบั ไปโดยไม่มสี ทิ ธิสง่ คืนกรมบัญชีกลาง เพื่ อ ส่ ง คื น คลั ง นาง ส. จึ ง มี ห นั ง สื อ ขอให้ ย กเลิ ก การเรียกเงินคืน แต่ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 33 มีหนังสือลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 แจ้งว่าไม่อาจ ด�ำเนินการตามค�ำขอได้และแจ้งให้นาง ส. มาท�ำหนังสือ รับสภาพหนี้
เรื่องต้องรู้
นาง ส. เห็ น ว่ า หนั ง สื อ แจ้ ง ให้ คื น เงิ น ดั ง กล่ า ว เป็นค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงน�ำคดีมาฟ้องต่อศาล โดยฟ้องผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 33 ผู้ถูกฟ้อง คดีที่ 1 ขอให้ศาลมีค�ำพิพากษาหรือค�ำสั่งให้เพิกถอน หนังสือลงวันที่ 27 เมษายน 2553 และหนังสือลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 (คดีนี้ศาลปกครองชั้นต้นมีค�ำสั่ง เรียกให้กรมบัญชีกลางเข้าเป็นคู่กรณีด้วยการร้องสอด โดยเป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2) ปัญหา คือ นาง ส. เป็นผู้ที่ได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหายตามมาตรา 42 วรรคหนึง่ แห่งพระราชบัญญัติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิ ธี พิ จ ารณาคดี ป กครอง พ.ศ. 2542 ที่จะมีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครองหรือไม่ ? คดี นี้ ศ าลปกครองสู ง สุ ด วิ นิ จ ฉั ย ว่ า ผู ้ ฟ ้ อ งคดี เป็นผู้ไม่มีสิทธิได้รับเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัด บ� ำ นาญ ตามมาตรา 5 แห่ ง พระราชกฤษฎี ก าเงิ น ช่ ว ยค่ า ครองชี พ ผู ้ รั บ เบี้ ย หวั ด บ� ำ นาญ พ.ศ. 2521 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา เงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัดบ�ำนาญ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2523 เงินจ�ำนวน ทีผ่ ฟู้ อ้ งคดีได้รบั เกินสิทธิอยู่ จึงมีลกั ษณะเป็นลาภมิควรได้ ผู้ฟ้องคดีจึงมีหน้าที่ต้องคืนเงินจ�ำนวนดังกล่าวให้แก่ ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ตามมาตรา 406 แห่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ แต่เมือ่ พิจารณาพระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู ้ รั บ เบี้ ย หวั ด บ� ำ นาญ (ฉบั บ ที่ 3) พ.ศ. 2525 แล้ ว ไม่ปรากฏว่ามีบทบัญญัติมาตราใดก�ำหนดให้หน่วยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีอ�ำนาจออกค�ำสั่ง เรียกให้ผทู้ ไี่ ด้รบั เงินช่วยค่าครองชีพผูร้ บั เบีย้ หวัดบ�ำนาญ เกิ น สิ ท ธิ ไ ว้ เ ป็ น ลาภมิ ค วรได้ คื น เงิ น นั้ น อี ก ทั้ ง ไม่ มี บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมายใดให้ อ� ำ นาจหน่ ว ยงาน ทางปกครองหรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ให้ อ อกค� ำ สั่ ง ในลักษณะเช่นว่านี้ได้ การที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 มีหนังสือ ลงวั น ที่ 27 เมษายน 2553 และมี ห นั ง สื อ ลงวั น ที่ 27 พฤษภาคม 2553 จึงไม่ได้เป็นการกระท�ำที่อาศัย อ�ำนาจตามกฎหมายที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น ระหว่ า งผู ้ ถู ก ฟ้ อ งคดี ที่ 1 กั บ ผู ้ ฟ ้ อ งคดี จึ ง ไม่ เ ป็ น ค�ำสั่งทางปกครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ประกอบกับ เนื้อหาสาระตามหนังสือลงวันที่ 27 เมษายน 2553 เป็นเพียงหนังสือทวงถามให้ผู้ฟ้องคดีช�ำระเงินเท่านั้น และหนังสือลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 เป็นการให้ ข้ อ เท็ จ จริ ง และความเห็ น พร้ อ มทั้ ง ให้ ค� ำ แนะน� ำ ในการปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การคื น เงิ น ให้ แ ก่ ท างราชการ โดยท�ำหนังสือรับสภาพหนี้ไว้ก่อนเท่านั้น หาใช่ค�ำสั่ง
เมือ่ หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐมีหนังสือ แจ้งให้ผรู้ บั เงินคืนเงินทีร่ บั ไป อันเป็นลาภมิควรได้ โดยไม่มี กฎหมายให้อ�ำ นาจกระทำ�ได้ หนังสือดังกล่าวจึงไม่มสี ภาพเป็น “คำ�สัง่ ทางปกครอง”
ที่ มี ผ ลบั ง คั บ แต่ ป ระการใด สิ ท ธิ ข องผู ้ ฟ ้ อ งคดี ยั ง ไม่ ถู ก กระทบ ดั ง นั้ น จึ ง ยั ง ถื อ ไม่ ไ ด้ ว ่ า ผู ้ ฟ ้ อ งคดี เป็นผูไ้ ด้รบั ความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจเดือดร้อน หรื อ เสี ย หายโดยมิ อ าจหลี ก เลี่ ย งได้ อั น เนื่ อ งมาจาก การกระท�ำ หรือการงดเว้นการกระท�ำของผู้ถูกฟ้อง คดี ที่ 1 อั น เกิ ด จากหนั ง สื อ ทั้ ง สองฉบั บ ดั ง กล่ า ว ผู้ฟ้องคดีจึงยังไม่เป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามมาตรา 42 วรรคหนึ่ ง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิ ธี พิ จ ารณาคดี ป กครอง พ.ศ. 2542 (ผู ้ ที่ ส นใจสามารถศึ ก ษารายละเอี ย ด เพิ่ ม เติ ม ได้ จ ากค� ำ พิ พ ากษาของศาลปกครองสู ง สุ ด ที่ อ.1496/2559) คดีนี้ ศาลปกครองสูงสุดได้อธิบายถึงลักษณะของ “ค�ำสัง่ ทางปกครอง” ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ว่าจะต้อง เป็ น กรณี ที่ มี ก ฎหมายให้ อ� ำ นาจไว้ แ ละหน่ ว ยงาน ทางปกครอง หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ข องรั ฐ ได้ ใ ช้ อ� ำ นาจ ตามกฎหมายออกค� ำ สั่ ง ที่ มี ผ ลให้ เ ป็ น การสร้ า ง นิตสิ มั พันธ์ขนึ้ ระหว่างบุคคล ในอันทีจ่ ะก่อ เปลีย่ นแปลง โอน สงวน ระงั บ หรื อ มี ผ ลกระทบต่ อ สถานภาพ ของสิ ท ธิ ห รื อ หน้ า ที่ ข องบุ ค คล เมื่ อ หน่ ว ยงาน ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีหนังสือแจ้งให้ ผู้รับเงินคืนเงินที่รับไปอันเป็นลาภมิควรได้ โดยไม่มี กฎหมายให้อ�ำนาจกระท�ำได้ หนังสือดังกล่าวจึงไม่มี สภาพเป็ น “ค� ำ สั่ ง ทางปกครอง” ที่ จ ะมี ผ ลบั ง คั บ ในทางกฎหมายต่ อ ผู ้ ที่ รั บ เงิ น (ผู ้ รั บ หนั ง สื อ ) และในขณะเดี ย วกั น ผู ้ ที่ รั บ เงิ น (ผู ้ รั บ หนั ง สื อ ) ก็ ไ ม่ ถื อ เป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นหรื อ เสี ย หายที่ จะมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง Justice Magazine Ministry of Justice
63
ภาษายุติธรรม
กองบรรณาธิการ
ภาษาว่าด้วย
“ทรัพย์” ตอนจบ
การกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์มักพบเห็นตามสื่อต่าง ๆ อยู่ เ สมอ และคำ � ศั พ ท์ ที่ ใ ช้ เ รี ย กการกระทำ � ความผิ ด ก็ มี อยู่จำ�นวนมาก “ภาษายุติธรรม” จึงขอนำ�คำ�ศัพท์ ในภาษา อังกฤษทีม่ คี วามผิดเกีย่ วกับทรัพย์ มานำ�เสนอต่อเป็นตอนจบ เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้คลายความสงสัย ฉบั บ ที่ ผ ่ า นมา เราได้ ท� ำ ความรู ้ จั ก กับค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษในความผิดเกี่ยวกับ ทรั พ ย์ ไ ปบ้ า งแล้ ว ทั้ ง ค� ำ ว่ า “ลั ก ทรั พ ย์ ” “ชิงทรัพย์” “ปล้นทรัพย์” “กรรโชกทรัพย์” โดยภาษายุติธรรมฉบับนี้จะน�ำเสนอค�ำศัพท์ ภาษาอั ง กฤษในความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ทั้งค�ำว่า “วิ่งราวทรัพย์” “รีดเอาทรัพย์”
64
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
“ฉ้อโกงทรัพย์” “ยักยอกทรัพย์” และ “ท�ำให้ เสี ย ทรั พ ย์ ” เพื่ อ ให้ ผู ้ อ ่ า นได้ รั บ ทราบ และคลายความสงสัยต่อพฤติการณ์การกระท�ำ ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ใ นแต่ ล ะประเภท ว่าแตกต่างกันอย่างไร วิ่งราวทรัพย์ (snatching) ซึ่งความผิด ฐานวิง่ ราวทรัพย์ (Offences of Snatching) เป็ น การลั ก ทรั พ ย์ โ ดยฉกฉวยเอาซึ่ ง หน้ า หมายถึ ง เป็ น การขโมยที่ เ จ้ า ของรู ้ ตั ว และทรั พ ย์ จ ะต้ อ งอยู ่ ใ กล้ ชิ ด ตั ว เจ้า ทรัพย์ ผูก้ ระท�ำการวิง่ ราวทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 336 อย่างไรก็ตาม ถ้าการวิ่งราวทรัพย์ท�ำให้ผู้อื่น ได้รบั อันตรายหรือเสียชีวติ เช่น กระชากสร้อย จากเจ้าของแล้วสร้อยบาดคอเจ้าของสร้อย ผู้ที่กระท�ำจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นด้วย รีดเอาทรัพย์ (Blackmail) ซึ่งความผิด ฐานรีดเอาทรัพย์ (Offences of Blackmail) มีองค์ประกอบความผิดเหมือนกับความผิด ฐานกรรโชกทรัพย์ทุกประการ แตกต่างกัน แต่เพียงในความผิดฐานรีดเอาทรัพย์เป็นการ ขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับ (Disclose the secret) ไม่ได้เป็นการขู่เข็ญในเรื่องทั่ว ๆ ไป ซึ่งความลับ (Secret) หมายถึง ข้อเท็จจริง ที่ ไ ม่ ป ระจั ก ษ์ แ ก่ ค นทั่ ว ไปและเจ้ า ของ ความลั บ นั้ น ประสงค์ จ ะปกปิ ด หรื อ ให้ รู ้ ในวงจ�ำกัด เพราะฉะนัน้ สิง่ ไหนจะเป็นความลับ หรื อ ไม่ ต ้ อ งพิ จ ารณาตั ว บุ ค คลเป็ น ส� ำ คั ญ เช่น การมีภรรยาน้อย การเป็นหญิงขายบริการ การหลบเลีย่ งภาษี โดยการเปิดเผยความลับนัน้ จะท�ำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหาย และผู้กระท�ำได้กระท�ำไปโดยประสงค์จะได้ ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน ฉ้อโกง (Fraudulent) ส�ำหรับความผิด ฐานฉ้อโกง (Offences of Cheating Fraud) ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 ระบุ ว ่ า “ผู ้ ใ ดโดยทุ จ ริ ต หลอกลวงผู ้ อื่ น
ภาษายุติธรรม
ด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิด ข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งและโดยการ หลอกลวงดั ง ว่ า นั้ น ได้ ไ ปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น จาก ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือท�ำให้ ผูถ้ กู หลอกลวงหรือบุคคลทีส่ าม ท�ำ ถอน หรือ ท�ำลายเอกสารสิทธิ ผูน้ นั้ กระท�ำความผิดฐาน ฉ้อโกง ต้องระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ” ความผิดฐานฉ้อโกง ผู้กระท�ำผิดต้องมี เจตนาทุจริตหลอกลวงผู้อื่นด้วยการแสดง ข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อความจริง ซึ่ ง ควรบอกให้ แ จ้ ง ชั ด และต้ อ งมี เ จตนา มาตั้งแต่ต้น โดยผลของการหลอกลวงนั้น ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ได้ ไ ปซึ่ ง ทรั พ ย์ สิ น จากผู ้ ถู ก หลอกลวงหรือบุคคลที่สาม หรือท�ำให้ผู้ถูก หลอกลวงหรือบุคคลที่สาม ท�ำ ถอน หรือ ท�ำลายเอกสารสิทธิ แต่หากมีเจตนาทุจริต และท� ำ การหลอกลวงในภายหลั ง จาก ได้ทรัพย์สินไปแล้ว ดังนี้ ไม่เป็นความผิดฐาน ฉ้อโกง แต่อาจเป็นความผิดฐานยักยอก ยั ก ยอกทรั พ ย์ (Embezzlement, Misappropriation) ซึง่ ความผิดฐานยักยอก Offences of Criminal Misappropriation ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352 ระบุวา่ “ผูใ้ ดครอบครองทรัพย์ซงึ่ เป็นของผูอ้ นื่ หรือซึ่งผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย เบียดบัง เอาทรัพย์นั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สาม โดยทุจริต ผู้นั้นกระท�ำความผิดฐานยักยอก ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับ ไม่ เ กิ น 6,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ ถ้าทรัพย์นั้นได้ตกมาอยู่ในความครอบครอง ของผู้กระท�ำความผิด เพราะผู้อื่นส่งมอบให้ โดยส�ำคัญผิดไปด้วยประการใด หรือเป็น ทรั พ ย์ สิ น หายซึ่ ง ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด เก็ บ ได้ ผู้กระท�ำต้องระวางโทษแต่เพียงกึ่งหนึ่ง” การยักยอกทรัพย์ เป็นกรณีที่ทรัพย์นั้น ได้ตกมาอยูใ่ นความครอบครองของบุคคลหนึง่ แล้ ว บุ ค คลนั้ น ได้ ยึ ด เพื่ อ ไว้ เ ป็ น ประโยชน์
กั บ ตนเอง ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ จ้ า ของทรั พ ย์ ไ ด้ รั บ ความเสียหาย เช่น นาย ก. ยืมยางลบ นาย ข. ไว้ใช้ แต่เห็นว่าสวยดีจึงไม่คืน ในกรณีเช่นนี้ นาย ก. มีความผิดฐานยักยอกทรัพย์ ท�ำให้เสียทรัพย์ (criminal damage) ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 “ผู้ใดท�ำให้เสียหาย ท�ำลาย ท�ำให้เสื่อมค่า หรือท�ำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น หรือผูอ้ นื่ เป็นเจ้าของรวมอยูด่ ว้ ย ผูน้ นั้ กระท�ำ ความผิดฐานท�ำให้เสียทรัพย์ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ” ซึ่ ง สามารถแยกองค์ ป ระกอบความผิ ด ฐานท�ำให้เสียทรัพย์ มาตรา 358 ได้ดังนี้ 1.ผู้ใด 2.ท� ำ ให้ เ สี ย หาย ท� ำ ลาย ท� ำ ให้ เ สื่ อ มค่ า หรือท�ำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งสามารถอธิบาย การกระท�ำได้ดังนี้ 2.1 ท�ำให้เสียหาย หมายถึง ท�ำให้ทรัพย์ ช�ำรุด บุบสลาย หรือท�ำให้ทรัพย์เปลีย่ นแปลง ไปในทางที่เลวลง 2.2 ท�ำลาย คือ การท�ำให้ทรัพย์สนิ้ สภาพ ไปเลย 2.3 ท�ำให้เสื่อมค่า คือ การท�ำให้ทรัพย์ ราคาลดลง 2.4 ท�ำให้ไร้ประโยชน์ คือ ท�ำให้ทรัพย์นนั้ หมดประโยชน์ไป แม้เพียงชั่วคราวก็ตาม 3. ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้าของ ร่วมอยู่ด้วย 4. เจตนา (องค์ประกอบภายใน) จะเห็นว่า ค�ำศัพท์ทางกฎหมายไม่ได้ยาก ที่จะเรียนรู้แต่อย่างใด โดยเฉพาะค�ำศัพท์ ที่ เ กี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ซึ่ ง มี อ ยู ่ ม ากมายและ อยู่ใกล้ชิดกับผู้อ่านทุกท่าน จึงจ�ำเป็นต้อง ท�ำความเข้าใจให้กระจ่าง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ ในทางที่ ช อบด้ ว ยกฎหมายหากต้ อ ง เผชิญกับเหตุการณ์ร้าย ๆ อย่างไม่อาจ หลีกเลี่ยงในท้ายที่สุดนั่นเอง ขอบคุณข้อมูล Facebook.com/สำ�นักงานกิจการยุติธรรม https://sites.google.com/site/phasaxangkvspheuxtarwc/baeb-trwc-sxb-hnangsuxdeinthang-1/ kar-caeng-siththi-phu-txngha/phasa-xangkvs-thi-tarwc-txng-ru https://dict.longdo.com
Justice Magazine Ministry of Justice
65
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
กองบรรณาธิการ
สานพลังกองทุนหมู่บ้าน นำ�ความยุติธรรมสู่ประชาชน นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนเครือข่าย กองทุ น หมู ่ บ ้ า นและชุ ม ชนเมื อ งในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานราก พร้อมทั้งปาฐกถาพิเศษเรื่อง “การประสานพลังเครือข่ายกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมืองร่วมขับเคลื่อนเครือข่ายยุติธรรมชุมชน” จากนัน้ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ร่วมบรรยาย เรื่ อ ง “แนวทางการด� ำ เนิ น งานขั บ เคลื่ อ นยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน” ณ ห้ อ งวายุ ภั ก ษ์ แกรนด์ บอลรู ม ชั้ น 4 โรงแรมเซ็ น ทรา บายเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ถนนแจ้งวัฒนะ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ร่วมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในองค์กร นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วยนายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวง ยุติธรรม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม และข้าราชการ เจ้าหน้าทีจ่ ากหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุตธิ รรมเข้าร่วมกิจกรรมท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ ในโครงการ “เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในองค์กร” ณ บริเวณหน้าศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ
ผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ พร้อมเพิ่มช่องทางสั่งซื้อ ผ่านระบบ E – commerce นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดงานนิทรรศการผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ ประจ�ำปี 2560 ภายใต้ แ นวคิ ด “1 คน 1 ทั ก ษะ” เพื่ อ จั ด จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า และ ผลิตภัณฑ์จากฝีมอื ของผูต้ อ้ งขังทีไ่ ด้รบั การฝึกวิชาชีพภายในเรือนจ�ำ และทัณฑสถานกว่า 50 แห่งทั่วประเทศ โดยน�ำสินค้ามาจัดจ�ำหน่าย อาทิ งานแกะสลัก งานเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้าน และงานหัตถกรรม ในการนี้ได้เปิดตัวช่องทางการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ผ่านระบบ E – commerce ภายใต้แบรนด์ “Good Products, Good People” ผ่านสื่อออนไลน์ที่ www.gpgpthai.com เพื่อสอดรับกับนโยบาย ของรัฐบาลในการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ณ บริเวณสนาม หน้าเรือนจ�ำกลางคลองเปรม กรุงเทพฯ
66
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ที่นี่แจ้งวัฒนะ
เสริมสร้างความรู้ด้านการอำ�นวยความยุติธรรม นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นวิทยากรบรรยายภายใต้โครงการฝึกอบรมหลักสูตร ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น รุน่ ที่ 68/2560 จัดโดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในหัวข้อ“การอ�ำนวยความยุติธรรม เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม”เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ในด้านการอ�ำนวย ความยุตธิ รรมและน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปบริหารจัดการเกีย่ วกับ การให้บริการประชาชนในพืน้ ที่ ณ ห้องบรรยายโรงเรียน นายอ�ำเภอ วิทยาลัยการปกครอง อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี
มุ่งสร้างการรับรู้ในงานยุติธรรมให้เข้าถึงประชาชนทุกพื้นที่ นายธวั ช ชั ย ไทยเขี ย ว รองปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และโฆษกกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานการประชุมเพือ่ หารือแนวทาง การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนของกระทรวงยุติธรรม ทั้งนี้ ได้มุ่งเน้นสร้างการรับรู้ให้แก่ประชาชนในประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับภารกิจการด�ำเนินงานของแต่ละส่วนราชการที่ส่งผลกระทบ ต่อประชาชน และสังคม รวมทัง้ การสร้างการรับรูใ้ นมิตดิ า้ นกฎหมาย ที่เป็นประโยชน์ และประชาชนควรรับรู้ตลอดจนก�ำหนดแนวทาง การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ของกระทรวงยุติธรรม ณ ห้องประชุม กระทรวงยุติธรรม 2 ชั้น 8 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ
ขับเคลื่อนงานยุติธรรมชุมชนในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การประชุ ม ขั บ เคลื่ อ นงานยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนและการด� ำ เนิ น งาน ของส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 เพื่อรับฟังสรุปผลการด�ำเนินงานของศูนย์ยุติธรรมชุมชน ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ป ระจ� ำ ปี ง บประมาณ 2559 พร้อมทั้งขับเคลื่อนการด�ำเนินงานตามแผนของส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ในการอ�ำนวยความยุตธิ รรม และการให้ บ ริ ก ารประชาชนในพื้ น ที่ ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า ง ความเป็นธรรมลดความเหลื่อมลํ้าในสังคมได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียม เสมอภาค และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ณ ห้องประชุม คตป. ชั้น 9 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ Justice Magazine Ministry of Justice
67
รอบรู้เรื่องอาเซียน
นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ประเทศไทยกับการเป็น
ประธานอาเซียน ในปี 2562
ประธานอาเซียน เป็นตำ�แหน่งที่ผู้นำ�ประเทศในอาเซียน จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเป็นคราวละ 1 ปี สลับกันไป โดยการเป็ น ประธานอาเซี ย นนั้ น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งการ นัง่ หัวโต๊ะในการประชุมสุดยอดและการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง เท่านั้น แต่จะมีบทบาทในการกำ�หนดประเด็นหัวข้อหลัก (Theme) ในการประชุมต่าง ๆ และการผลักดันประเด็น ความร่ ว มมื อ ของอาเซี ย นและความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง อาเซียนกับประเทศคู่เจรจาด้วย โดยกฎบัตรอาเซียน ได้ก�ำ หนดบทบาทของประธานอาเซียนไว้ 5 ประการ ดังนี้
68
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
1. ส่งเสริมและเพิม่ พูนผลประโยชน์และความเป็นอยู่ ที่ ดี ข องอาเซี ย นอย่ า งแข็ ง ขั น รวมถึ ง ความพยายาม ในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยการริเริม่ ทางนโยบาย การประสานงานฉันทามติ และความร่วมมือ 2. ท�ำให้แน่ใจถึงความเป็นศูนย์รวมของอาเซียน 3. ท�ำให้แน่ใจถึงการตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วน หรือสถานการณ์วิกฤติที่มีผลกระทบต่ออาเซียนอย่างมี ประสิทธิภาพและทันท่วงที รวมถึงเป็นคนกลางทีน่ า่ เชือ่ ถือ และจัดให้มีการจัดการอื่นเช่นว่า เพื่อสนองตอบข้อกังวล เหล่านี้โดยทันที 4. เป็นผูแ้ ทนของอาเซียนในการเสริมสร้างและส่งเสริม ความสัมพันธ์กับหุ้นส่วนภายนอกภูมิภาคให้ใกล้ชิดขึ้น 5. ปฏิบตั ภิ ารกิจและหน้าทีอ่ นื่ ทีอ่ าจได้รบั มอบหมาย
รอบรู้เรื่องอาเซียน
ส� ำ หรั บ ประเทศไทยนั้ น ได้ เ ป็ น ประธานอาเซี ย น ครั้งล่าสุดในช่วงปี 2552 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ ดร. สุรนิ ทร์ พิศสุวรรณ ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการอาเซียน ประเทศไทยจึงได้มบี ทบาทส�ำคัญในช่วงเวลาเปลีย่ นผ่าน ที่ ก ฎบั ต รอาเซี ย นจะมี ผ ลใช้ บั ง คั บ ทั้ ง ในการอนุ วั ติ ข้อผูกพันภายใต้กฎบัตรอาเซียน การจัดท�ำแผนงาน ส� ำ หรั บ การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น (Blueprint) ของทั้ง 3 เสา เพื่อมุ่งไปสู่การรวมตัวเป็นประชาคม อาเซี ย นในปี 2558 และได้ มี ก ารจั ด ท� ำ ยุ ท ธศาสตร์ การด�ำรงต�ำแหน่งประธานอาเซียนของไทย เพื่อเป็น กรอบการด�ำเนินการภายในประเทศ จ�ำนวน 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1. สร้างความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับอาเซียนให้ประชาชน ได้รับทราบ 2. ส่งเสริมความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท ไทยในฐานะประธานอาเซียน 3. เสริมสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคง ภายในปี 2558 4. เสริมสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน ปี 2558 5. เสริมสร้างประชาคมสังคมและวัฒนธรรมภายใน ปี 2558 6. ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจาของ อาเซียน ช่วงเวลาดังกล่าว และคาบเกีย่ วมาจนถึงช่วงปี 2558 ทีเ่ ป็นการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนอย่างเป็นทางการ จึงเป็นช่วงเวลาที่มีความตื่นตัวกันอย่างมาก จนกลาย เป็นกระแสตืน่ เต้นอยูพ่ กั ใหญ่ แต่กเ็ ริม่ ห่างหาย ไปหลังจาก พบว่าการเป็นประชาคมอาเซียนไม่ได้สร้างผลกระทบ อะไรที่มีนัยส�ำคัญต่อประชาชนทั่วไป อย่ า งไรก็ ต าม ประเทศไทยจะได้ เ ป็ น ประธาน อาเซียนอีกครั้งหนึ่งในปี 2562 ต่อจากสิงคโปร์ ที่จะเป็น โอกาสส�ำคัญอีกครั้งในการก�ำหนดประเด็นความร่วมมือ ที่ ส� ำ คั ญ ของประชาคมอาซี ย นในช่ ว งเวลาดั ง กล่ า ว ซึ่ ง ได้ มี ก ารเตรี ย มการในเบื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ ช่ ว งเวลา การประชุมส�ำคัญของอาเซียน อาทิ การประชุมสุดยอด อาเซี ย น (ASEAN Summit) การประชุ ม รั ฐ มนตรี
ต่ า งประเทศอาเซี ย นอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการ (ASEAN Ministerial Meeting Retreat) การประชุมหารือระหว่าง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเลขาธิการสหประชาชาติ และประธานสมั ช ชาสหประชาชาติ และการประชุม ระดั บรั ฐมนตรี อื่ น ๆ และหน่ ว ยงานต่ า งๆ ก็ ไ ด้มีการ เตรี ย มการในหลายด้ า นเพื่ อ ร่ ว มกั น ก� ำ หนดประเด็ น หั ว ข้ อ หลั ก (Theme) ที่ ป ระเทศไทยจะผลั ก ดั น ในช่ ว งเวลาดั ง กล่ า ว โดยได้ มี ก ารน� ำ ข้ อ ริ เ ริ่ ม ของ นายกรัฐมนตรีในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่ผ่านมา และประเด็นที่มีการน�ำไปขยายผลในทางปฏิบัติแล้ว ไม่ ว ่ า จะเป็ น ศู น ย์ แ พทย์ ท หารอาเซี ย นที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในประเทศไทยตั้ ง แต่ ป ี 2558 การส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ ขนาดกลาง เล็ก และย่อยในอาเซียนที่มีการท�ำโครงการ น�ำร่องการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการไทยกับประเทศ เพื่ อ นบ้ า น (Young Entrepreneur Network Development Program: YEN-D) และการส่งเสริม ความเชื่ อ มโยงระหว่ า งวิ สั ย ทั ศ น์ ป ระชาคมอาเซี ย น ค.ศ. 2025 กับวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ของสหประชาชาติ ฯลฯ มาประมวลและจัดท�ำเป็น ข้อเสนอหัวข้อหลักของประเทศไทยในการเสริมสร้าง ประชาคมอาเซียนทีม่ คี วามมัน่ คงของมนุษย์ ประกอบด้วย หัวข้อย่อย 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. การส่งเสริมการพัฒนาแบบยั่งยืน 2. การส่ ง เสริ ม สั ง คมที่ ส นั บ สนุ น การมี ส ่ ว นร่ ว ม ของเยาวชน คนสูงอายุ และคนพิการ 3. การส่ ง เสริ ม ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นที่มี พลวั ต และนวั ต กรรม โดยเฉพาะในส่ ว นที่ จ ะเกื้ อ กู ล กับยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 4. การส่งเสริมพืน้ ทีท่ มี่ เี สถียรภาพ รวมถึงความร่วมมือ ในภูมิภาค Indo-Pacific ประเด็ น หั ว ข้ อ หลั ก และประเด็ น ย่ อ ยข้ า งต้ น ได้ มี ก ารน� ำ มาพิ จ ารณาร่ ว มกั น ในการประชุ ม คณะกรรมการอาเซี ย นแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 1/2560 เมื่ อ วั น ที่ 24 มี น าคม 2560 ซึ่ ง ได้ มี ก ารให้ ความเห็ น ชอบประเด็ น ดั ง กล่ า วแล้ ว และจะมี ก าร เพิ่มเติมรายละเอียดอื่น ๆ ต่อไป
Justice Magazine Ministry of Justice
69
รู้จัก IT
กองบรรณาธิการ
ทางลัดทันใจ
Microsoft Windows ระบบปฏิบตั กิ ารในคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั จะมีการอัพเดท รุ่นใหม่อยู่เสมอ บางรุ่นมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากมาย แต่ บางรุ่นก็มีลูกเล่นใหม่ ๆ มาให้เราได้แปลกใจและใช้เวลา ท�ำความเข้าใจอยูเ่ หมือนกันดังนัน้ หากเรารูถ้ งึ ทางลัดการ ใช้งานของระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่อย่าง Microsoft Windows 10 คงจะท�ำให้งานของเราทุน่ เวลาไปได้ ไม่นอ้ ย
จุดเด่น ไฮไลท์ของ Microsoft Windows 10 ก็คือ การออกแบบ ที่ ใ ช้ ง านง่ า ยและปลอดภั ย มากยิ่ ง ขึ้ น มี ก ารปรั บ ปรุ ง User experience เพิ่ ม เติ ม ระบบรั ก ษาความปลอดภั ย ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น และเพิ่ ม ความสามารถในการจั ด การได้ ง ่ า ยขึ้ น จากตั ว ผู ้ ใ ช้ เ อง พร้ อ มกั น นั้ น ยั ง มี ก ารกลั บ มาของปุ ่ ม Start Menu รวมไปถึ ง แอปพลิเคชันต่างๆใน Windows Store ที่สามารถเปิดใช้งาน เป็นหน้าต่างแบบปกติทยี่ อ่ ขยายได้ทำ� ให้ไม่ตอ้ งเสียพืน้ ทีเ่ ต็มหน้าจอ อีกต่อไป นอกจากนี้ Microsoft Windows 10 ยังเป็นระบบปฏิบัติ ที่ อ อกแบบมาให้ ร องรั บ หลายแพลทฟอร์ ม พร้ อ มรองรั บ กั บ อุ ป กรณ์ ทุ ก ประเภท ตั้ ง แต่ เ ครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ข นาดเล็ ก ๆ ไปจนถึงเครื่อง Xbox One และแอพพลิเคชันทุกตัวที่สร้างบน Windows 10 ที่จะสามารถท�ำงานร่วมกันได้ด้วย
70
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทางลัดการใช้งาน หลายคนคงเคยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ท� ำ งานด้ ว ยโปรแกรม Microsoft Windows 10 อยู ่ แ ล้ ว และหากจะพู ด ถึ ง ทางลั ด การใช้ ง าน เพื่ อ ให้ ต อบสนองกั บ ความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ ง าน ได้สะดวกนั้น Microsoft Windows 10 มีหลายทางลัดการใช้งาน ซึ่ ง นายนพพงษ์ ดี ไ ชย นั ก วิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ช� ำ นาญการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ได้ยกตัวอย่างการใช้งานคีย์ลัด (Keyboard Shortcuts) โดยกล่าวว่า คีย์ลัดเหล่านี้ เป็นวิธีการหนึ่ง ที่จะช่วยให้เราใช้งาน Microsoft Windows 10 ได้อย่างสะดวก รวดเร็ ว ในการท� ำ งานและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง คี ย ์ ลั ด มีหลายตัวมาก และได้ยกตัวอย่างคียล์ ดั ตัวหลัก ๆ ส�ำหรับการใช้งาน ที่น่าสนใจ ดังนี้
รู้จัก IT
1
ก ดปุ่ม Windows Logo + E เปิด My Computer
3
ก ดปุ่ม Windows Logo + R เปิดหน้าต่าง Run dialog box
5
ก ดปุ่ม Windows + break เปิดไดอะล็อคบ็อกซ์ System Properties
2
ก ดปุ่ม Windows Logo + M ทำ�การ ย่อหน้าต่างโปรแกรมที่เปิดอยู่ทั้งหมด หน้าจอจะย่อลงมาเพื่อให้เห็น Desktop
4
กดปุ่ม Windows Logo + i เปิดหน้าต่าง Setting
6
กดปุ่ม Windows + w สำ�หรับ เปิดหน้าจอการค้นหา ไฟล์โปรแกรม
ทั้งนี้ การใช้งานคีย์ลัด (Keyboard Shortcuts) ของระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 10 ยังมีอีกมากมาย ให้ผู้ใช้งานได้ทดลอง โดยคีย์ลัด ตัวไหนจะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ดีที่สุดนั้น ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งาน จะเลือกใช้ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานนั่นเอง Justice Magazine Ministry of Justice
71
เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ
กองบรรณาธิการ
10 ท่ า แสนง่ า ย ออกกำ�ลังกายในออฟฟิศ 1. ดันโต๊ะโอ๊ะโยะโย๋ ท่ า นี้ เ พื่ อ อะไร : การออกก� ำ ลั ง กาย ในท่านี้ เป็นการยืดกล้ามเนื้อบริเวณแขน บริหารพละก�ำลังแขน ให้แข็งแรงมากยิ่งขึ้น ใครที่ต้องใช้กล้ามเนื้อช่วงแขน ปวดแขน ปวดไหล่บ่อยๆ ต้องพิมพ์งาน ยกของเยอะ ๆ ลองท่านี้ดูนะคะ ท่านี้ท�ำอย่างไร : ท่านี้ท�ำได้โดยวางมือ ทั้งสองไปบนโต๊ะท�ำงาน ถอยหลังออกมา ยื น ตั ว ล� ำ ตั ว ท� ำ มุ ม เฉี ย งกั บ โต๊ ะ 45 องศา ล� ำ ตั ว ตรง แล้ ว ใช้ แ ขนยั น ขึ้ น ลงเซตละ 12 ครั้ง
การไม่ มี โ รคเป็ น ลาภอั น ประเสริ ฐ เป็ น สิ่ง ที่ทุก คนใฝ่ ห า แต่ ก ารจะทำ � ให้ ตัวเองสุขภาพดี ได้น้ัน นอกจากการ รับประทานอาหารที่ดี สุขภาพจิตใจที่ดี ที่ สำ � คั ญ สุ ข ภาพกายต้ อ งดี ไ ปด้ ว ย ถ้ า หากคุ ณ ต้ อ งการสุ ข ภาพกายที่ดี ไม่มีใครสามารถทำ�ให้ ได้ หรือว่าหาซื้อ 2. ยกหนังสืออื้อหือง่ายมาก ท่านี้เพื่ออะไร : ส�ำหรับท่ายกหนังสือนี้ ได้ ต ามท้ อ งตลาด คุ ณ ต้ อ งสร้ า ง ดี ต ่ อ การบริ ห ารกล้ า มเนื้ อ มั ด ไตรเซป ด้วยตัวเอง (Triceps) ซึ่ ง กล้ า มเนื้ อ มั ด นี้ อ ยู ่ บ ริ เ วณ การออกก� ำ ลั ง กายเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ แถมโรคแบบออฟฟิศซินโดรมก�ำลังมาแรง ท� ำ งานจนปวดหลั ง ปวดไหล่ ปวดมื อ นั่งนาน ทรมานใช่ไหมคะ แต่ถ้าคุณเป็น อีกคนทีต่ อ้ งตืน่ ตัง้ แต่ตหี า้ รีบกระวีกระวาด หั ว ฟู เ พื่ อ รี บ มาเข้ า งานให้ ทั น 8 โมง ตกเย็นกว่าจะเคลียร์งาน ท�ำโอทีนู่นนี่นั่น นาฬิกาก็เดินไปสามทุ่มแล้ว คิดในใจเวลา จะนอนยั ง แทบไม่ มี จะเอาเวลาที่ ไ หน ไปออกก�ำลังกาย วันนีเ้ ลยช่วยหาทางเลือก มาให้ พ นั ก งานออฟฟิ ศ มนุ ษย์ เงินเดื อ น ที่ท�ำงาน เร่งสร้างอนาคต แต่เดี๋ยวจะไม่ได้ ใช้เงินทีห่ ามา กลับกลายเป็นเอาเงินไปจ่าย ค่ า หมอเพราะเจ็ บ ป่ ว ยเสี ย ก่ อ น ดั ง นั้ น มาออกก�ำลังกายในออฟฟิศกันแบบง่าย ๆ ใช้อุปกรณ์ในออฟฟิศเป็นเครื่องมือได้เลย
72
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ช่ ว งท้ อ งแขน เวลาที่ แ ขนเราเหยี ย ดตึ ง กล้ามเนื้อมัดนี้จะหดตัว แต่เวลาเราพับแขน กล้ามเนื้อมัดนี้จะคลายตัว ท่านีท้ ำ� อย่างไร : เลือกหนังสือเล่มหนา ๆ มี น�้ ำ หนั ก สั ก หน่ อ ยแล้ ว น� ำ มาถื อ เอาไว้ เหนือศีรษะ จากนั้นยกขึ้น-ลง สลับกันไป ด้านหลังบริเวณล�ำคอ
3. บริหารสะบักกันสักพัก ท่ า นี้ เ พื่ อ อะไร : ท่ า นี้ ช ่ ว ยพั ฒ นา บุ ค ลิ ก ภาพของคุ ณ ได้ ดี เป็ น การช่ ว ยยื ด ให้หลังตรง ผ่อนคลายจากการนั่งท�ำงาน เป็นเวลานาน ท่านี้ท�ำอย่างไร : ง่ายกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว ท่ า นี้ เ พี ย งแค่ คุ ณ หาปากกา หรื อ ดิ น สอ ในออฟฟิ ศ มา 1 แท่ ง จากนั้ น พยายาม วางลงไปทีส่ ะบัก (เรียกง่าย ๆ ว่าปีกกลางหลัง) ใช้แรงดันสะบัก ให้บีบดินสอเอาไว้ประมาณ 10 วินาทีแล้วปล่อย จากนัน้ ท�ำซ�ำ้ แต่ถา้ ลอง ท�ำแล้วไม่ได้จริง ๆ (ส่วนใหญ่ไม่ได้จริง ๆ) ก็แค่เปิดไหล่ไปให้สุด ค้างไว้ 10 วินาที เพื่อเป็นการบริหารบริเวณสะบักก็พอค่ะ 4. ท่าน้องหมาหมอบ (Downward dog) ท่ า นี้ เ พื่ อ อะไร : ท่ า โยคะหลายท่ า นอกจากได้ เ รื่ อ งร่ า งกายแล้ ว ยั ง ช่ ว ยเรื่ อ ง จิตใจ ให้สงบ เยือกเย็นคล้ายกับการท�ำสมาธิ การหายใจเข้าออกช้า ๆ ลึก ๆ ยาว ๆ ขณะท�ำ สามารถช่ ว ยผ่ อ นคลายความตึ ง เครี ย ด จากการท�ำงานได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังได้ เสริมสร้างความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อแขน และขาด้วย ท่ า นี้ ท� ำ อย่ า งไร : ท่ า นี้ เ ป็ นท่า โยคะ พื้นฐานส�ำหรับผู้เริ่มต้น แนะน�ำท�ำช่วงพัก กลางวันนะคะ ท�ำใต้โต๊ะก็ได้ ใครมีเสื้อโยคะ สามารถเอามาปู ไ ด้ ท่ า นี้ เ ริ่ ม จากวางมื อ ทั้งสองบนพื้น ระยะห่างประมาณหัวไหล่ แล้วค่อยๆ เหยียดตัวตรง เขย่งปลายเท้า จากนัน้ ค่อย ๆ ยกตัวขึน้ เป็นลักษณะตัว V คว�ำ่ ขาทั้งสองเหยียดตึง ถ้าใครยังเหยียดตึงไม่ได้ ก็เอาเท่าที่ได้นะคะ
เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ
5. ท่าผีกองกอย (สควอทบนเก้าอี้) ท่านี้เพื่ออะไร : สาว ๆ ชอบแน่นอน การท�ำท่านีจ้ ะช่วยให้กน้ ของเราสวยงอนงาม กระชับน่าตี แถมยังได้กล้ามเนือ้ หน้าขาอีกด้วย ยอมเจ็บนิด อดทนหน่อย เฟิร์มแน่นอน ท่านี้ท�ำอย่างไร : เก้าอี้ท�ำงานของคุณ คื อทางออก ยื น ขึ้น แยกขาออกเล็ก น้อย ยื่นมือไปข้างหน้าท่าแบบผีดิบ ผีกองกอย ในหนังจีน จากนั้นค่อยๆ นั่งโดยนั่งค่อนไป ทางด้านหน้าของเก้าอี้ คือนัง่ ไม่เต็มก้นนะคะ ให้รสู้ กึ ตึงบริเวณหน้าขา จากนัน้ ท�ำซ�ำ้ ขึน้ -ลง
7. สู้หลังชนฝา ท่านี้เพื่ออะไร : ช่วยเรื่องความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อหน้าขา ท่านี้ท�ำอย่างไร : เลือกก�ำแพงเหมาะ ๆ เอาแบบสีแห้งแล้วนะคะ จะท�ำตอนพักไป ห้องน�้ำก็ยังได้ จากนั้นยืนตัวตรง ห่างออกมา จากก�ำแพงเล็กน้อย กะระยะให้ย่อขาลงไป แล้วหลังชนก�ำแพงพอดี จากนั้นลองย่อเข่า ให้ ตั้ ง ฉากกั บ พื้ น รู ้ สึ ก ตึ ง บริ เ วณต้ น ขา หลังชิดก�ำแพงเป็นอันใช้ได้
9. ยืดขาเรียกซิกแพ็ค ท่านี้เพื่ออะไร : ไม่น่าเชื่อว่าท่านี้จะได้ ส่วนกล้ามเนื้อท้อง ท�ำไปเรื่อย ๆ ซิกแพ็ค มาไม่รู้ตัว ท่านี้ท�ำอย่างไร : ง่ายแสนง่าย เพียงแค่ คุ ณ นั่ ง บนเก้ า อี้ ท� ำ งานตั ว เดิ ม เอนตั ว ไป ด้านหลังเล็กน้อยหรือพิงพนัก แล้วยกขาขึ้น 1 ข้างให้รู้สึกตึงบริเวณกล้ามท้อง ค้างไว้ 10 วิ น าที แล้ ว วางลงเกื อ บจะแตะพื้ น แต่ ไ ม่ แ ตะนะ ค้ า งไว้ จากนั้ น ท� ำ อี ก ข้ า ง สลับกัน
6. นารีอาบแดด ท่านีเ้ พือ่ อะไร : ท่านีด้ ปู กติสขุ สุด ๆ แล้วค่ะ เมื่ อ ท� ำ ในออฟฟิ ศ ได้ บ ริ ห ารกล้ า มเนื้ อ ช่วงแขน และขาไปพร้อมๆ กัน ท่ า นี้ ท� ำ อย่ า งไร : แลดู เ ซ็ ก ซี่ เ หมื อ น ทอดกายอาบแสงแดดริ ม ทะเลก็ ไ ม่ ป าน เพียงแค่คุณหันหลังให้โต๊ะท�ำงานที่ความสูง ต�ำ่ กว่าระดับเอวเล็กน้อย และเลือกทีแ่ ข็งแรง ขนาดที่พอเหมาะ ใช้ฝ่ามือทั้งสองดันโต๊ะ ให้ลำ� ตัวเฉียงออกจากโต๊ะประมาณ 45 องศา ยืดขาเหยียดตรงค่อย ๆ ย่อลงโดยใช้แขน ยันช่วยแล้วท�ำซ�้ำ
8. เขย่งไปสุดปลายฟ้า ท่านีเ้ พือ่ อะไร : ใครลองจับน่องแล้วน่องสัน่ ท่านีจ้ ดั มาเพือ่ คุณ ช่วยบริหารกล้ามเนือ้ น่อง ของเราให้ ก ระชั บ ฟิ ต เปรี๊ ย ะ แต่ ข นาด จะลดหรือไม่นี่แล้วแต่บคุ คลนะคะ แต่เชือ่ ว่า รากฐานมั่นคงแน่นอน ท่ า นี้ ท� ำ อย่ า งไร : ท่ า นี้ เ ก้ า อี้ ท� ำ งาน ใช้ ก ารได้ อี ก แล้ ว เพี ย งแต่ จั บ มั น หั น หลั ง ยื น เท้ า ชิ ด มื อ จั บ พนั ก พิ ง เก้ า อี้ ไ ว้ ใ ห้ มั่ น (ระวังเก้าอี้เลื่อน) เขย่งปลายเท้าขึ้นให้สุด จนรู ้ สึ ก ตึ ง น่ อ ง ทิ้ ง น�้ ำ หนั ก ลงบนเก้ า อี้ ค้างไว้ 10 วินาที ค่อยๆ วางส้นเท้าลงยืน ตามปกติแล้วท�ำซ�้ำ
10. แก ๆ โทรศัพท์มา ท่ า นี้ เ พื่ อ อะไร : ท่ า นี้ เ หมื อ นจะเต้ น ช่วยพัฒนาสเต็ปเท้า การลุกก้าวออกจาก เก้าอี้ ได้บริเวณข้อเท้า ได้ยืดตัว ผ่อนคลาย เปลี่ยนอิริยาบถ ท่านี้ท�ำอย่างไร : เหมือนเวลาโทรศัพท์ มาค่ะ ต้องรีบไปคุยโทรศัพท์ หรือใครท�ำงาน ที่ ต ้ อ งรั บ โทรศั พ ท์ คุ ย โทรศั พ ท์ บ ่ อ ย ๆ ก็ แ ค่ ใ ส่ Blue tooth headphone เสี ย งโทรศั พ ท์ ดั ง เมื่ อ ไร หมุ น ตั ว ลุ ก ไปคุ ย ได้ทันที นอกจากนี้ ผลล่ า สุ ด จากการวิ จั ย (จากเว็ บ ไซต์ ข อง TIME) ยั ง ระบุ ว ่ า การนัง่ นาน ๆ นัน้ ส่งผลเสียต่อสุขภาพคุณ เป็นอย่างมาก แถมยังเพิ่มความเสี่ยงต่อ การเกิดโรคมะเร็งถึง 60% รู้อย่างนี้แล้ว ใครที่ต้องท�ำงานในอิริยาบถเดิมนาน ๆ นั่งนาน ๆ อย่าลืมลุกขึ้นมาขยับร่างกาย ออกก� ำ ลั ง กายในออฟฟิ ศ ด้ ว ยท่ า ง่ า ย ๆ ทีเ่ ราน�ำมาฝากกันนะคะ ชวนเพือ่ นโต๊ะข้าง ๆ ออกด้วยก็ได้ เพือ่ นจะได้ไม่มามองเราแปลก ๆ แถมสุขภาพดี อยู่ผลิตผลงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพกันได้ยาว ๆ แบบนี้บริษัท ทีไ่ หนจะไม่ปลืม้ ทีพ่ นักงานสุขภาพแข็งแรง ไม่ค่อยป่วย ท�ำงานก็ดีจริงไหมคะ? ขอขอบคุณข้อมูลจาก https://daily.rabbit.co.th
Justice Magazine Ministry of Justice
73
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
กองบรรณาธิการ
ยุตธิ รรมทัว่ ไทย ช่วงที่ผ่านมา หน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ได้ดำ�เนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่บทบาทภารกิจ ของหน่ ว ยงาน รวมทั้ ง ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ประชาชน เพื่ อ อำ�นวยความเป็ น ธรรม ลดความเหลื่ อ มลํ้ า ให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
เผยแพร่บทบาทภารกิจด้านการอ�ำนวยความ ยุติธรรมแก่ประชาชน
▶ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดอ่างทอง ลงพื้นที่จัดกิจกรรมขับเคลื่อน กระบวนการยุติธรรม เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ครั้งที่ 7 ในโครงการพัฒนาส่งเสริมภารกิจงานยุตธิ รรมชุมชนต�ำบล กิจกรรมที่ 2 ประชารัฐร่วมใจ ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนก้าวไกล สังคมปลอดภัยอย่างยัง่ ยืน ทั้ ง นี้ ไ ด้ มี ก ารบรรยายเพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ ใ นด้ า นต่ า ง ๆ อาทิ การด�ำเนินงานศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนต�ำบล กองทุนยุตธิ รรม สิทธิผเู้ สียหาย และจ�ำเลยในคดีอาญา ประกันภัยรถยนต์ และการไกล่เกลี่ยระงับ ข้ อ พิ พ าทในชุ ม ชน ตลอดจนการเล่ น เกม the choice ทางเลือก - ทางรอด ทั้งนี้นายลิขิต ทองนาท นายอ�ำเภอโพธิ์ทอง เป็นประธานในพิธีเปิด โดยมีคณะกรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชน และประชาชนทั่ ว ไป เข้ า ร่ ว มฯ ณ หอประชุ ม อ� ำ เภอโพธิ์ ท อง จังหวัดอ่างทอง
เปิดเวทีแก้ ไขบ�ำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชน
▶ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดกาฬสินธุ์ จัดประชุมวิเคราะห์สาเหตุการกระท�ำผิด พร้อมทัง้ เสนอแนะ วิ ธี ก ารบ� ำ บั ด แก้ ไ ขฟื ้ น ฟู เ ด็ ก และเยาชนเป็ น รายบุ ค คล เพื่ อ น� ำ ไปใช้ เ ป็ น แนวทางการแก้ ไ ขบ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู แ ก่ เ ด็ ก ฯ พร้อมน�ำไปประกอบการรายงานข้อเท็จจริงเสนอต่อศาล โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ เข้าร่วม ได้แก่ ดร.กันติมาภรณ์ วิวัฒน์ตระกูล หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล รองผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ดร.อารีวัฒน์ กุดแถลง อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยนครพนม นายจิรพงศ์ แดงวันสี นักสังคม สงเคราะห์ บ้ า นพั ก เด็ ก และครอบครั ว จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ นางสาวชีวานันท์ บุญเติม นักจิตวิทยา สถานพินจิ ฯ กาฬสินธุ์ ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้ น 2 สถานพิ นิ จ ฯ อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดกาฬสินธุ์
74
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
เสริมสร้างการมีส่วนร่วมด้านการป้องกัน และแก้ ไขปัญหายาเสพติด
▶ นายพิสุทธิ์ ภู่เงิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ภาค 4 มอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนงาน ภาคประชาชนในโครงการโรงเรี ย นผู ้ น� ำ ชุ ม ชนในเขตเทศบาล เมืองนครพนม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้น�ำชุมชนมีภาวะผู้น�ำ มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรม และสร้างความรูค้ วามสามารถในการบริหาร จัดการชุมชน เพือ่ สร้างพลังมวลชนในพืน้ ทีใ่ ห้รว่ มกันเป็นพลังแผ่นดิน ในการป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด โดยมี ป ระธานชุ ม ชน และแกนน�ำชาวบ้านจาก 14 ชุมชน จ�ำนวน 112 คน เข้าร่วมฯ ณ ห้องประชุมเทศบาลเมืองนครพนม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
สื่อมวลชนดูงานเรือนจ�ำปลอดบุหรี่
▶ เรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ให้การต้อนรับสื่อมวลชน ในการเข้าเยี่ยมชมและศึกษาดูงานโครงการสิ่งแวดล้อม ปลอดบุหรี่ในเรือนจ�ำ ในฐานะเป็นเรือนจ�ำที่ประสบ ความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินโครงการสิง่ แวดล้อมปลอดบุหรี่ ในเรื อ นจ� ำ ซึ่ ง เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กรมราชทัณฑ์ กับ เครือข่ายพยาบาล เพื่อการควบคุม ยาสูบแห่งประเทศไทย โดยเรือนจ�ำกลางก�ำแพงเพชร ได้ รั บ การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจากส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ให้ เ ป็ น 1 ใน 13 เรือนจ�ำทั่วประเทศ ที่ได้เข้าร่วมโครงการ สิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ในเรือนจ�ำ
ส่งเสริมอาชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แก่ผู้ถูกคุมประพฤติ
▶ ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ชุ ม พร จั ด โครงการส่ ง เสริ ม และฝึกอาชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับผูเ้ ข้ารับการฟืน้ ฟู สมรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด และผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ที่ อ ยู ่ ในความดูแลของส�ำนักงานฯ โดยการสร้างแรงจูงใจในการประกอบ อาชี พ ตามปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง การสาธิ ต และแนะน� ำ วิ ธี การประกอบอาชีพ เช่น การท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์คุณภาพสูง การเลี้ยง หมูหลุม การเลี้ยงไก่ และการเลี้ยงไส้เดือน เป็นต้น โดยมีผู้ถูก คุมประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติ คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ และประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมฯ ณ ศูนย์เรียนรู้บ้านดอนไทรงาม หมู่ที่ 6 ต�ำบลบางหมาก อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร Justice Magazine Ministry of Justice
75
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชาชนแจ้งเบาะแส การทุจริตประพฤติมิชอบ
▶ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดโครงการฝึกอบรม หลั ก สู ต รการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยอาสาสมั ค รภาคประชาชาชน ด้ า นการเฝ้ า ระวั ง และแจ้ ง เบาะแสการทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบ เพื่อพัฒนาเครือข่ายให้มีศักยภาพด้านการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแส การทุจริตมิชอบ โดยมีหวั หน้าส่วนราชการในจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วยสือ่ มวลชน อาสาสมัครคุมประพฤติ กรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชน กรรมการ ศูนย์ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท และกรรมการสงเคราะห์ เข้าร่วมฯ ณ โรงแรม รีสอร์ทเกาะหลัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เสริมสร้างความเข้าใจบทบาทเครือข่าย ยุติธรรมชุมชน
▶ ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด อุ ด รธานี มอบหมายให้ นางสาวฬชตวรร คลังกลาง นักวิชาการยุตธิ รรมปฏิบตั กิ าร เข้าร่วมการประชุมก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อ�ำเภอประจักษ์ ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ภายใต้ โ ครงการประชาสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง รุ ก ด้ า นการสร้ า ง ความเข้ า ใจและชี้ แ จงแนวทาง วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง าน ของเครือข่ายยุติธรรมชุมชน ในการทบทวนและสร้าง ความเข้ า ใจในการปฏิ บั ติ ง านของเครื อ ข่ า ยยุ ติ ธ รรม ชุมชนและหน้าทีข่ องศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนในการช่วยเหลือ ประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีหัวหน้าส่วนราชการ ในพื้นที่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในอ�ำเภอประจักษ์ศิลปาคม เข้ า ร่ ว มฯ ณ หอประชุ ม อ� ำ เภอประจั ก ษ์ ศิ ล ปาคม อ�ำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี
76
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ทุกทิศทั่วยุติธรรม
เผยแพร่บทบาทภารกิจ
▶ ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี ร่วมกับศูนย์ยุติธรรมต�ำบลในพื้นที่อ�ำเภอ เมื อ งสิ ง ห์ บุ รี จั ด โครงการมหกรรม ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนต� ำ บลในอ� ำ เภอเมื อ ง สิงห์บุรีเคลื่อนที่บริการ เพื่อเผยแพร่บทบาท ภารกิ จ ของหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง ยุตธิ รรมผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การบรรยาย เกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น งานศู น ย์ ยุ ติ ธ รรม ชุมชนต�ำบล กองทุนยุติธรรมสิทธิผู้เสียหาย และจ� ำ เลยในคดี อ าญาการให้ ค วามรู ้ กฎหมายในชีวิตประจ�ำวันและการไกล่เกลี่ย ระงั บ ข้ อ พิ พ าทในชุ ม ชน นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมการฝึ ก อาชี พ จากหน่ ว ยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความรู้ โดยมีคณะกรรมการ ศู น ย ์ ยุ ติ ธ ร ร ม ชุ ม ช น แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น ในพื้ น ที่ เ ข้ า ร่ ว ม ฯ ณ วั ด สว่ า งอารมณ์ อ�ำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
มอบทุนประกอบอาชีพ ผู้พ้นการคุมความประพฤติ
▶ ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดเลย จัดโครงการ ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร “พั ฒ นาศั ก ยภาพ คณะกรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบล” เพื่ อ เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพคณะกรรมการ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบลในพื้นที่จังหวัดเลย ให้ มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจในโครงสร้ า ง การบริ ห ารจั ด การและบทบาทหน้ า ที่ ตลอดจนแนวทางการด�ำเนินงานโครงการ ร่วมกับศูนย์ยุติธรรมชุมชน โดยมีนายคุมพล บรรเทาทุ ก ข์ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เลย เป็ น ประธานฯ ซึ่ ง มี ส ่ ว นราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ผู้ที่เกี่ยวข้องและเครือข่ายยุติธรรมชุมชน เข้าร่วม ณ โรงแรมใบบุญแกรนด์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย Justice Magazine Ministry of Justice
77
โดย พ.ต.ท.หญิง วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ นักนิติวิทยาศาสตร์ชำ�นาญการพิเศษ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
เก็บมาเล่า
เรื่องเล่าจากการอบรมการเตรียมตัวเพื่อ
ขอรับการทดสอบเป็นผู้ตรวจลายนิ้วมือแฝง ของสมาคมตรวจพิสูจน์นานาชาติ การพิสูจน์ลายนิ้วมือ หลายคนคงเคยได้ยินจนคุ้นชินกันแล้ว หากแต่ จะรู้หรือไม่ว่า การตรวจลายนิ้วมือนั้นใครจะเป็นผู้มีคุณสมบัติในการ ตรวจสอบ และคุณสมบัตนิ น้ั ได้มาอย่างไร ต้องผ่านบททดสอบอะไรบ้าง
78
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เก็บมาเล่า
หากกล่ า วถึ ง สมาคมตรวจพิ สู จ น์ น านาชาติ (International Association for Identification : IAI) หลายท่ า นอาจไม่ ท ราบว่ า สมาคมนี้ คื อ สมาคมอะไร มีหน้าที่ใด และตั้งอยู่ที่ไหน แต่ไม่ใช่ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ ตรวจพิสจู น์ลายนิว้ มือ เพราะตัวข้าพเจ้าเองได้รจู้ กั สมาคม แห่ ง นี้ ม านั บ ร่ ว มยี่ สิ บ กว่ า ปี ในฐานะของสมาคม ทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ ซึ่งตั้งอยู่ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีอายุเก่าแก่ที่สุดในโลก นั่นคือครบ 100 ปี ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีสมาชิกทั่วโลกมากกว่า 7,000 คน ทีผ่ า่ นมา ข้าพเจ้ามีโอกาสได้เข้าร่วมประชุมประจ�ำปี กับสมาคมตรวจพิสูจน์นานาชาติ 2 ครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 และครั้งที่ 2 ปี 2558 ซึ่งในปี พ.ศ. 2558 ข้าพเจ้ามีโอกาสได้รับทุนพัฒนาข้าราชการจาก ก.พ. ให้เข้าร่วมรับการอบรมที่จัดโดยสมาคมนี้ ในหลักสูตร “การเตรียมตัวเพือ่ ขอรับการทดสอบเป็นผูต้ รวจลายนิว้ มือ แฝงของสมาคมตรวจพิสูจน์นานาชาติ (IAI CLPE)” ซึ่งเป็นหลักสูตรที่จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียม ความพร้อมให้กับผู้ตรวจลายนิ้วมือแฝง ก่อนเข้ารับ การทดสอบจากสมาคมตรวจพิ สู จ น์ น านาชาติ เพื่ อ ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ผู ้ ต รวจลายนิ้ ว มื อ แฝงที่ ไ ด้ รั บ การรับรอง (Certified Latent Print Examiner : CLPE) คุณสมบัตขิ องผูเ้ ข้ารับการทดสอบเพือ่ ขอการรับรอง ต้องเป็นผู้ตรวจลายนิ้วมือแฝงที่จบการศึกษาในระดับ อนุ ป ริ ญ ญาตรี มี ป ระสบการณ์ ท� ำ งานตรวจลายนิ้ ว มือแฝงมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือปริญญาตรี ท�ำงาน
ตรวจเปรียบเทียบลายนิ้วมือเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี และผ่านการอบรมเกี่ยวกับลายนิ้วมือแฝงไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมง รวมถึงต้องเป็นผู้มีจริยธรรม มีความซื่อตรงสูง มีชื่อเสียงดี และมีศีลธรรมในอาชีพ จากการอบรม ข้าพเจ้ารับทราบว่า การทดสอบ เพื่อขอรับการรับรองนั้น ประกอบด้วยการพิจารณาที่ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน นั่นคือ 1. การตรวจเปรียบเทียบลายนิ้วมือแฝง ผู้เข้ารับ การทดสอบต้องสามารถตรวจเปรียบเทียบได้ถูกต้อง อย่างน้อย 80% หรือ เปรียบเทียบได้ถูกต้อง 12 จาก 15 รอย 2. การอ่านแบบลายพิมพ์นวิ้ มือ ผูเ้ ข้ารับการทดสอบ ต้องสามารถอ่านแบบลายพิมพ์นิ้วมือถูกต้องอย่างน้อย 90% หรือ อ่านแบบได้ถกู ต้อง 32 จาก 35 ลายพิมพ์นวิ้ มือ 3. การสอบข้อเขียนแบบ True/False และ Multiple Choices ผู้เข้ารับการทดสอบต้องสามารถตอบค�ำถาม ได้ถูกต้องอย่างน้อย 85% โดยค�ำตอบของการสอบ ข้อเขียน จะอยู่ในหนังสืออ้างอิง จ�ำนวน 5 เล่ม ที่สมาคม ตรวจพิสูจน์นานาชาติแนะน�ำให้อ่าน 4. การทดสอบปากเปล่ า ต่ อ หน้ า คณะกรรมการ โดยการเป็ น พยานในศาลจ� ำ ลอง หรื อ การน� ำ เสนอ การทบทวนคดี ที่ มี ล ายนิ้ ว มื อ แฝง ลายพิ ม พ์ นิ้ ว มื อ ภาพแสดงลายนิ้วมือ ค�ำอธิบายการสรุปลงความเห็น ค�ำถามของศาลทีเ่ กีย่ วกับวิทยาศาสตร์ การทดสอบปากเปล่า จะมีขึ้นหลังการทดสอบข้อเขียนเป็นเวลา 6 เดือน Justice Magazine Ministry of Justice
79
เก็บมาเล่า
ข้าพเจ้าได้รบั ความรูจ้ ากการทบทวน วิทยาศาสตร์ลายนิว้ มือ ทบทวนตำ�รา อ้างอิงเกีย่ วกับลายนิว้ มือประวัตศิ าสตร์ ของการใช้ลายนิว้ มือในการระบุตวั บุคคล หลักการตรวจเปรียบเทียบลายนิว้ มือ ฝ่ามือและฝ่าเท้า แนวข้อสอบ และคำ�แนะนำ� ในการเตรียมตัวเพือ่ รับการทดสอบ ซึง่ การอบรมนีน้ บั เป็นประโยชน์อย่างมาก ในเรือ่ งหลักการตรวจลายนิว้ มือ
ข้าพเจ้าได้เดินทางไปร่วมรับการอบรมหลักสูตรนี้ ด้วยทุนพัฒนาข้าราชการ ของ ก.พ. ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โดยเข้าร่วมรับการอบรม ณ เมือง Fort Worth รั ฐ เทกซั ส ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ในระหว่ า งวั น ที่ 9-13 พฤศจิกายน 2558 ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด 17 คน เป็นคนจากรัฐต่างๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา รวม 16 คน และจากประเทศไทย 1 คน ผู้เข้ารับการ อบรมส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ นแวดวงต� ำ รวจและ นักนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ มีทงั้ ผูต้ รวจลายนิว้ มือแฝง ผูต้ รวจสถานที่ เกิ ด เหตุ นั ก สื บ เจ้ า หน้ า ที่ เ ทคนิ ค ด้ า นวั ต ถุ พ ยาน จากหน่ ว ยงานของรั ฐ ผู ้ ที่ มิ ใ ช่ ผู ้ ต รวจลายนิ้ ว มื อ แฝง เข้าร่วมรับการอบรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของตน ในด้านการตรวจลายนิ้วมือ มีเพียง 1 คนที่เป็นผู้ตรวจ ลายนิ้วมือแฝงของบริษัทเอกชน เข้ารับการอบรมโดยมี จุดประสงค์เพือ่ ขอรับการทดสอบเพือ่ เป็นผูต้ รวจลายนิว้ มือ แฝงที่ได้รับการรับรองโดยสมาคมตรวจพิสูจน์นานาชาติ (IAI CLPE) เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ของบริ ษั ท มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในการบริการตรวจลายนิ้วมือ ส�ำหรับผู้ท�ำการอบรมในครั้งนี้ คือ Charles M. Richardson และ Debbie Benningfield บุคคลทั้งสอง เป็ น ผู ้ มี ป ระสบการณ์ ใ นการตรวจลายนิ้ ว มื อ ไม่ น ้ อ ย กว่า 30 ปี และท�ำงานให้กับหน่วยงานที่มีความส�ำคัญ เช่น FBI, U.S. Secret Service, กรมต�ำรวจฮุสตัน ฯลฯ ระหว่างการอบรมข้าพเจ้าได้รบั ความรูจ้ ากการทบทวน วิทยาศาสตร์ลายนิ้วมือ ทบทวนต�ำราอ้างอิงเกี่ยวกับ ลายนิว้ มือ ประวัตศิ าสตร์ของการใช้ลายนิว้ มือในการระบุ ตัวบุคคล หลักการตรวจเปรียบเทียบลายนิ้วมือ ฝ่ามือ และฝ่าเท้า แนวข้อสอบ และค�ำแนะน�ำในการเตรียมตัว
80
วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
เพื่อรับการทดสอบ ซึ่งการอบรมนี้นับเป็นประโยชน์ อย่างมากในเรื่องหลักการตรวจลายนิ้วมือ และข้าพเจ้า ไม่เคยพบเห็นการอบรมที่มีเนื้อหาในลักษณะนี้มาก่อน ในประเทศไทย ข้าพเจ้าจึงได้รวบรวมความรู้ท่ีได้จาก การอบรม และจัดท�ำคูม่ อื หลักสูตรการเตรียมตัวเพือ่ ขอรับ การทดสอบเป็ น ผู ้ ต รวจลายนิ้ ว มื อ แฝงของสมาคม ตรวจพิสจู น์นานาชาติ เพือ่ ให้ผตู้ รวจลายนิว้ มือได้มคี วามรู้ เรื่ อ งการตรวจลายนิ้ ว มื อ และใช้ ศึ ก ษาเป็ น หลั ก การ ในการตรวจลายนิ้วมือต่อไป โดยข้าพเจ้าได้น�ำส่งคู่มือ ให้แก่ส�ำนักงาน ก.พ. และผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่ email : blackforest711@hotmail.com การอบรมครั้งนี้จึงนับเป็นประสบการณ์อันมีค่า ได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อตัวเองและองค์กร ซึ่งจะน�ำมาใช้ตรวจพิสูจน์ลายนิ้วมือ เพื่อคลี่คลาย เรื่องต่าง ๆ ในบ้านเราให้ได้แม่นย�ำ เป็นมาตรฐาน เดียวกับสากลยิ่งขึ้นนั่นเอง
30%
ฝาก
าขาย
สัญญ
15%
วารสารยุติธรรม l Justice Magazine
เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม
ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine
คน
ยุติธรรม
“รื่นวดี สุวรรณมงคล” อธิบดีกรมบังคับคดี สตรีผู้บริหารภาคราชการดีเด่น กับมิติใหม่กรมบังคับคดียุค 4.0
คุยเฟื่อง
เรืกระทรวงยุ ่องยุติธรรมไทย ติธรรม
กระทรวงยุติธรรม
ยกระดับกลุ่มประเทศ CLMV พัฒนาการปฏิบัติต่อผู้กระทำ�ผิด ในชุมชน
Ministry of Justice
สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม
สำ�นักงานรัฐมนตรี
กรมสอบสวน คดีพิเศษ
กรมคุมประพฤติ
สำ�นักงาน กิจการยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ
สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์
โทรศัพท์ 0 2141 5100
สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน
สถาบันเพื่อการยุติธรรม แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)
กองทุนยุติธรรม นำ�ประชาสู่เสรี (อิสรภาพ)
กรมราชทัณฑ์
สถาบัน อนุญาโตตุลาการ
facebook.com
/Ministry of Justice, Thailand
เรื่องจากปก ปีที่ 17 ฉบับที่ 5 ประจำ�ปี 2560
www.moj.go.th ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ให้บริการข้อมูลคำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย การรับเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ รับแจ้งเบาะแส
กรมบังคับคดี
ยุติธรรม เพื่อ ประชาชน
รมว.ยธ.นำ�คณะลงพื้นที่นราธิวาส ติดตามการดำ�เนินงาน อำ�นวยความยุติธรรม จังหวัดชายแดนใต้