วารสารยุติธรรม ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2560

Page 1



เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม

ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 ประจำ�ปี 2560 l Justice Magazine

ที่ปรึกษา

ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 ประจำ�ปี 2560 สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม โทรศัพท์ 0 2141 5149 โทรสาร 0 2143 8246 เว็บไซต์ www.moj.go.th E-mail : prmoj@hotmail.com

บทบรรณาธิการ

นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายธวัชชัย ไทยเขียว พันต�ำรวจเอก ดุษฎี อารยวุฒิ นายวิทยา สุริยะวงค์ นางกรรณิการ์ แสงทอง

ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม

บรรณาธิการบริหาร

นายอุทัย ทะริยะ ผู้อำ� นวยการกองกลาง

บรรณาธิการ

นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์ หัวหน้ากลุม่ งานประชาสัมพันธ์

กองบรรณาธิการ

นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอรวิภา เกือกรัมย์ มงคลฉัตร นางสาวชญาภา นางสาวธิดาทิพย์ หอมมะลิ ปวัตน์รตั นภูมิ นายอรรถพล นางสาวอรอริญชย์ สังข์ทองด�ำรง นางสาวเสาวลักษณ์ ตั้งจิตต์วัฒนา วารายานนท์ นายปัญจกฤตย์ นางสาวอุมาภรณ์ อ่องสอาด นางสาวฐิติพร ฉิมพลีวนาศรม นางสาวปัญญาวีร์ แป้นสุวรรณ

ฝ่ายภาพและศิลปกรรม

นายกฤษดา นายชัชวาล นายพิษณุ นายอรรถโกวิท นายปรัชญา

ฝ่ายบริหารจัดการ

กลุม่ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

ออกแบบ

บริษทั ยูโทเปีย มีเดีย อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เจ้าของ

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

พิมพ์ที่

โรงพิมพ์สำ� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

สรวงศักดา ศิริสังข์ไชย มลแก้ว คงยิ่ง จ้างประเสริฐ

สวัสดีชาวยุตธิ รรมทุกท่าน พบกันอีกครัง้ กับวารสารยุตธิ รรม ฉบับที่ 4 ประจ�ำปี 2560 ด้วยเรือ่ งราวทีห่ ลากหลายในแวดวงยุตธิ รรม และบทความ เกี่ยวกับกฎหมายที่ท่านอาจจ�ำเป็นต้องน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เริม่ กันที่ “เรือ่ งจากปก” ในฉบับนีจ้ ะพาทุกท่านไปชมบรรยากาศ การจัดงานเนื่องในวันสถาปนากระทรวงยุติธรรมครบรอบ 126 ปี กับการอ�ำนวยความยุตธิ รรมให้กบั ประชาชนและสังคมไทย พร้อมทัง้ ร่วมแสดงความยินดีแก่ขา้ ราชการพลเรือนดีเด่นสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ประจ�ำปี 2559 ทีไ่ ด้เสียสละท�ำงานเพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ประชาชน และประเทศชาติ ต่อด้วยคอลัมน์ “ก�ำลังใจในพระด�ำริฯ” พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เสด็จเปิดโครงการก�ำลังใจฯ ภายใต้กจิ กรรม “ฮักเฮือนจ�ำแม่ฉอด” อันเนื่องมาจากความห่วงใยเรือนจ�ำขนาดเล็ก และตัง้ อยูต่ ดิ เขตชายแดน ซึง่ มีขอ้ จ�ำกัดต่าง ๆ มากมาย โดยมุง่ หวัง ที่จะสร้างขวัญและก�ำลังใจไปพร้อมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ ผูต้ อ้ งขังก่อนหวนคืนสูส่ งั คม เรือ่ งราวน่ารูข้ องกรมบังคับคดีทขี่ านรับนโยบายประเทศไทย 4.0 ด้วยการเปิดมิตใิ หม่กบั การเปิดประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ดว้ ยวิธที าง อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Offering Auction เพือ่ ให้ประชาชนเข้าถึงบริการ ของรัฐได้อย่างสะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าเดินทาง อีกทั้งยังช่วย เพิ่มช่องทางในการเสนอราคาซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดของ กรมบังคับคดี ติดตามอ่านได้ในคอลัมน์ “คุยเฟือ่ งเรือ่ งยุตธิ รรม” ส่วนคอลัมน์ “คนยุตธิ รรม” ฉบับนี้ น�ำทุกท่านไปพบกับนายศิรนิ ทร์ยา สิทธิชยั เลขาธิการ ป.ป.ส. ทีไ่ ด้เล่าถึงนโยบายและทิศทางการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดของประเทศไทย ต่อด้วยเรือ่ งราวดี ๆ ในคอลัมน์ “ก�ำแพงมิอาจกัน้ ” โดยกรมพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัดกิจกรรมโดยใช้บุคคลต้นแบบ ทางกีฬาสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กและเยาวชนที่กระท�ำผิดเข้าสู่ กระบวนการยุติธรรมให้กลับตนเป็นคนดีของสังคม ด้วยการน�ำกีฬา มาใช้เป็นกลไกหลักในการบ�ำบัดแก้ไขผู้กระท�ำผิด พร้อมใช้ Idol เป็นสือ่ กลางในการฝึกสอนให้คำ� แนะน�ำ สร้างแรงบันดาลใจให้กบั เด็ก และเยาวชนเปลีย่ นแปลงตนเองไปในทางทีด่ ขี นึ้ จากนัน้ มาอัพเดทเทคโนโลยีทอี่ ยูร่ อบตัวเรากับคอลัมน์ “รูจ้ กั ไอที” ที่จะมาแนะน�ำ “Cloud Computing” เทคโนโลยีที่จะท�ำให้ชีวิต เป็นเรือ่ งง่ายขึน้ ไปอีกขัน้ และปิดท้ายด้วย คอลัมน์ “เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ” กับการส�ำรวจพฤติกรรมเสีย่ งโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่โรคร้ายทีไ่ ม่ควรมองข้าม เพือ่ ให้ทกุ ท่านตระหนักถึงอันตรายและหันกลับมารักษาสุขภาพให้หา่ งไกล จากโรคภัยทัง้ หลาย แล้วพบกันใหม่ฉบับต่อไป

หมายเหตุ : วรรณกรรม บทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารยุติธรรม เป็นผลงานของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วย


สารบัญ

วารสารยุติธรรม ฉบับที่ 4 ประจำ� พ.ศ. 2560

39

10

32

03 03

เรือ่ งจากปก 126 ปี สถาปนากระทรวงยุตธิ รรม มุง่ อ�ำนวยความยุตธิ รรม สูป่ ระชาชนทุกระดับ 10 ก�ำลังใจในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิตยิ าภา ทรงเปิดโครงการ ก�ำลังใจฯ ภายใต้กจิ กรรม “ฮักเฮือนจ�ำแม่ฉอด” 12 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ 14 เรือ่ งเล่ายุตธิ รรม คุมประพฤติลยุ มาตรการ บริการสังคมเข้ม มุง่ ลดผูถ้ กู คุมความประพฤติกรณีเมาแล้วขับ 16 บนความเคลือ่ นไหว 27 คุยเฟือ่ งเรือ่ งยุตธิ รรม กรมบังคับคดี เปิดมิตใิ หม่ ขายทอดตลาดด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ 30 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ

2

32

คนยุตธิ รรม “ศิรนิ ทร์ยา สิทธิชยั ” เลขาธิการ ป.ป.ส. กับนโยบาย และทิศทางการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดของประเทศไทย 36 คุม้ ครองคน คุม้ ครองสิทธิ มุมมองนักกฎหมาย!!! คดีวศิ วกร ยิงเด็กวัยรุน่ เสียชีวติ …กฎหมาย มีชอ่ งให้กระท�ำการป้องกันตัว แต่หากป้องกันเกินกว่าเหตุ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าทีก่ ฎหมาย ก�ำหนดไว้ 39 ก�ำแพงมิอาจกัน้ กรมพินจิ ฯ ใช้ “กีฬา” พลิกชีวติ สร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็ก และเยาวชนด้วย Idol 42 ยุตธิ รรมเพือ่ ประชาชน กองทุนยุตธิ รรมกับการสร้าง ความรับรูแ้ ก่ประชาชน

44

คน เงิน แผน การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เพือ่ รองรับรัฐบาลดิจทิ ลั

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

47

พลังคุณธรรม ยับยัง้ การทุจริต ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ประกาศเจตจ�ำนงการบริหารงาน ด้วยความสุจริต พร้อมมอบรางวัล ข้าราชการต้นแบบ (ปีที่ 5)

50

กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน พ.ร.บ.ยาเสพติดฉบับใหม่ พิจารณาเจตนาผูก้ ระท�ำผิด ให้โอกาส “ผูต้ อ้ งหา” พิสจู น์ตวั เอง

56

ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ

58

ยุตธิ รรมเดินหน้าช่วยประชาชน นโยบายรัฐในการแก้ไขปัญหา หนีน้ อกระบบ

62

เรือ่ งต้องรู้ เบิกค่าเช่าบ้านได้ แม้ตา่ งท้องที่ กับท้องทีท่ ปี่ ฏิบตั งิ าน

64

ภาษายุตธิ รรม ภาษาว่าด้วย “ทรัพย์” ตอนที่ 1 66 ทีน่ แี่ จ้งวัฒนะ

68

รอบรูเ้ รือ่ งอาเซียน เขตพิเศษยุทธศาสตร์แห่งชาติ คันไซ ต้นแบบเขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก

70

รูจ้ กั IT Cloud Computing เทคโนโลยีทอี่ ยูร่ อบตัวเรา 72 เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ พฤติกรรมเสีย่ ง “มะเร็งล�ำไส้ใหญ่” โรคร้ายทีเ่ กิดจากวิถชี วี ติ อันเร่งรีบ 74 ทุกทิศทัว่ ยุตธิ รรม ยุตธิ รรมทัว่ ไทย

78

เก็บมาเล่า บุคลากรสถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ ในละครโทรทัศน์เฉลิมพระเกียรติ ค่าของแผ่นดิน


เรือ่ งจากปก

กองบรรณาธิการ

“มุ่งอำ�นวยความยุติธรรม สู่ประชาชนทุกระดับ”

กระทรวงยุติธรรม จัดพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารที่ทำ�การแห่งใหม่ เนื่องใน วันสถาปนากระทรวงยุตธิ รรมครบรอบ 126 ปี เน้นการอำ�นวยความยุตธิ รรม ให้กับพี่น้องประชาชนและสังคมไทย เมือ่ วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2560 นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธวี างศิลาฤกษ์อาคารทีท่ ำ� การกระทรวงยุตธิ รรมแห่งใหม่ และงาน สถาปนากระทรวงยุตธิ รรมครบรอบ 126 ปี ณ บริเวณลานสถานทีก่ อ่ สร้างอาคารทีท่ ำ� การ กระทรวงยุตธิ รรม ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร Justice Magazine Ministry of Justice

3


เรื่องจากปก

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม กล่าวในพิธเี ปิดงาน ตอนหนึง่ ว่า เนือ่ งในโอกาสวันสถาปนากระทรวงยุตธิ รรม ครบรอบ 126 ปี จึงได้ถอื วาระดิถมี งคลดังกล่าว ประกอบพิธี วางศิลาฤกษ์อาคารที่ท�ำการกระทรวงยุติธรรมแห่งใหม่ เพื่อความเป็นปึกแผ่นและมั่นคงของกระทรวงยุติธรรม สืบไป รวมทั้งได้จัดสร้างวัตถุมงคล พระกริ่งไพรีพินาศ จ�ำนวน 999 องค์ เพื่อเป็นสิ่งมงคลสักการะและมอบ เป็นที่ระลึกให้กับผู้เข้าร่วมงานด้วย ส�ำหรับที่ท�ำการ กระทรวงยุตธิ รรมแห่งใหม่ ตัง้ อยูบ่ นทีด่ นิ ราชพัสดุบริเวณ ศูนย์แรกรับเด็กและเยาวชนชายบ้านเมตตา สถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 16 ไร่ 90 ตารางวา โดยอาคารทีท่ ำ� การกระทรวงยุตธิ รรม ดังกล่าว เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 11 ชัน้ มีชนั้ ใต้ดนิ 2 ชนั้ รวม 13 ชัน้ มีพนื้ ทีก่ ารใช้งานรวม 81,081 ตารางเมตร ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2563 กระทรวงยุติธรรมได้ก่อตั้งมาเป็นระยะเวลา 126 ปี ถื อ ว่ า เป็ น องค์ ก รที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ยิ่ ง กั บ สั ง คมไทย ผมเชื่อว่าความยุติธรรมได้เกิดขึ้นและด�ำรงอยู่ต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน โดยหวังว่าเพื่อนข้าราชการ เจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร รวมทั้งผู้บริหาร อดีตผู้บริหาร และเพื่อน ข้าราชการจากกระทรวงอืน่ ๆ จะได้รว่ มกันอ�ำนวยความ ยุติธรรม เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยใช้กระบวนการอ�ำนวยความยุตธิ รรมให้เกิดประโยชน์ ในการลดความเหลื่อมล�้ำของสังคม และผมพร้อมที่จะ ร่วมกันขับเคลื่อนผลักดันให้งานของกระทรวงยุติธรรม มีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศต่อไป ขอแสดงความยินดีกบั ผูท้ ไี่ ด้รบั รางวัลต่าง ๆ ทัง้ ในส่วน ข้ า ราชการพลเรื อ นดี เ ด่ น ที่ ไ ด้ อุ ทิ ศ ตนตั้ ง ใจท� ำ งาน และเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ นการท� ำ งานให้ กั บ บุ ค ลากร ของกระทรวงยุติธรรม อีกทั้งขอขอบคุณอาสาสมัคร คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพดีเด่นที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการ มีส่วนร่วมอ�ำนวยความยุติธรรมให้กับพี่น้องประชาชน และสังคมไทยมาโดยตลอด ตลอดจนขอชื่นชมเยาวชน ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมและได้ รั บ รางวั ล จากการแข่ ง ขั น ตอบปัญหาทางกฎหมาย นับเป็นโอกาสอันดีทเี่ ยาวชนเหล่านี้ อาจจะเป็นนักกฎหมายที่ดีของประเทศชาติในอนาคต และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีส่วนช่วยท�ำให้สังคมมีความ เข้มแข็งและดียิ่งขึ้น

4

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เรื่องจากปก

กองบรรณาธิการวารสารยุติธรรม ขอแสดงความยินดีแก่ข้าราชการพลเรือนดีเด่น สังกัดกระทรวงยุติธรรม ประจ�ำปี 2559 ทั้ง 18 ท่าน และขอยกย่องทุกท่านทีไ่ ด้เสียสละท�ำงานเพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ประชาชนและประเทศชาติ โอกาสนี้ ได้เปิดใจถึงหลักในการปฏิบตั ติ นให้เป็น ข้าราชการที่ดี เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้แก่เพื่อนข้าราชการ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม นางสาวปาริชาต ศรีประเสริฐ นักวิเทศสัมพันธ์ช�ำนาญการพิเศษ กองการต่างประเทศ “มีความรับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต” นายไพโรจน์ ติณชาติอารักษ์ นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดชลบุรี “การครองตน ครองคน ครองงาน ด้วยมรรค 8 คือ มีความเห็น ความตัง้ ใจ การพูด การประกอบอาชีพ ความเพียร การรูส้ กึ ตัว มีความแน่วแน่ในทาง ทีถ่ กู ต้อง ด้วยหัวใจทีร่ กั ประชาชน เพือ่ ประชาชน” กรมคุมประพฤติ นายภราดร บุญจันทร์คง พนักงานคุมประพฤติช�ำนาญการ กองกิจการชุมชนและบริการสังคม “ทุ่มเทการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ เพือ่ ให้งานบรรลุผล แม้ล่วงเลยเวลาราชการหรือต้องน�ำกลับไป ท�ำต่อที่บ้าน ยินดีและเต็มใจให้ความร่วมมือ ในการปฏิบัติงานนอกเหนือความรับผิดชอบ โดยยึดประโยชน์ของงานราชการเป็นหลัก” นายสายัณห์ วรอรรถ พนักงานพิมพ์ ระดับ ส 3 ส�ำนักงาน คุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 8 “ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ยึดมั่นในความถูกต้องดีงามต่อหน้าที่ ปฏิบัติ หน้าทีด่ ว้ ยความตรงไปตรงมา แยกเรือ่ งส่วนตัว ออกจากหน้าที่การงาน บริการประชาชน ด้วยความเสมอภาค”

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ นางสาวภาพันธ์ รัตนชุม นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการพิเศษ กองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ “การเป็นข้าราชการทีด่ ี ต้องมีความตระหนัก เสมอว่าต้องปฏิบัติงานให้คุ้มค่าด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความรับผิดชอบอดทน ให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รหรื อ เครื อ ข่ า ย มีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ ใี นการปฏิบตั งิ าน เสียสละ เวลาส่ ว นตั ว เพื่ อ ประโยชน์ ข องส่ ว นรวม และความส�ำเร็จของงาน” กรมบังคับคดี นางสาวกรรัตน์ นันทกสิกร นิติกรช�ำนาญการ “ปฏิบตั งิ านในหน้าทีแ่ ละงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง และ ความสามารถ มุ่งมั่นในการท�ำงานให้บรรลุ ผลส� ำ เร็ จ ตามเป้ า หมาย ทั น เวลาและ ความต้องการของประชาชน โดยใช้วิธีการ และกระบวนการที่ถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ราชการและประชาชน” นางสาวรังสิมา รัตนะ นิติกรช�ำนาญการ “ตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ทดแทนบุ ญ คุ ณ แผ่ น ดิ น โดยน้ อ มน� ำ หลั ก การทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชมาเป็นแนวทาง”

Justice Magazine Ministry of Justice

5


เรื่องจากปก

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน นายชัยวัชร์ มุณีแนม นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน 8 “มีหลักการครองตน ครองคนและครองงาน มีความรับผิดชอบซื่อสัตย์มุ่งมั่นตั้งใจในการ ปฏิบตั งิ าน รับฟังความคิดเห็นจากผูอ้ นื่ ให้ทกุ คน กล้าแสดงความคิดเห็น ท�ำทุกอย่างเพือ่ ให้งาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ และน้อมน�ำแนวทาง หลักการพัฒนา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติงาน น�ำมาใช้กับกระบวนการบ�ำบัดแก้ไขฟื้นฟู ให้เด็กและเยาวชนภายใต้กระบวนการยุตธิ รรม” นางวาลีรัตน์ บริบูรณ์ ครูสอนดนตรี ศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และเยาวชน เขต 5 “ต้องกล้าที่จะท�ำหน้าที่ของตนในสิ่งที่ท�ำให้ เด็กและเยาวชนนั้นกลับตนเป็นคนดีให้ได้ ด้วยการเข้าไปนั่งในใจเขาให้เขารู้สึกว่าเรา พร้ อ มที่ จ ะเดิ น ไปด้ ว ยกั น ศรั ท ธาเชื่ อ มั่ น ในตัวเราทีส่ ำ� คัญยิง่ คือ ต้องมีความรับผิดชอบ ในหน้าที่ที่เราท�ำอยู่อย่างเต็มความสามารถ ไม่ทิ้งเด็กที่อยู่ในความดูแลในยามที่ตอ้ งการ ก�ำลังใจ เพื่อที่เขาจะได้ออกไปมีพื้นที่ยืน อย่างมั่นคงในสังคมต่อไป” กรมราชทัณฑ์ นางวิชชุดา คงพร้อมสุข พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ “ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ร าชการโดยยึ ด มั่ น ใน จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล ซื่อสัตย์ สุ จ ริ ต และรั บ ผิ ด ชอบต่ อ งานในหน้ า ที่ เสียสละอุทิศเวลาให้แก่งานราชการ ยึดถือ ประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตน มีหลักการท�ำงานในวิชาชีพพยาบาลว่า ในการท�ำงานพยาบาลนัน้ ท�ำแล้วต้องเกิดกุศล แก่ตนเอง”

6

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

นางสาวปรีย์ธิดา สมจิตร นักวิชาการอบรมและฝึกวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักพัฒนาพฤตินิสัย “ท�ำหน้าทีเ่ พือ่ หน้าที่ ปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ให้มปี ระสิทธิภาพเกิดผลสัมฤทธิข์ องงาน ยึดกฎ ระเบียบ มีความรับผิดชอบ ตัง้ ใจใฝ่เรียนรู้ มุง่ มัน่ เสียสละอุทศิ เวลา มีจติ สาธารณะเพือ่ ประโยชน์ ต่อส่วนรวม มีระเบียบวินยั เป็นแบบอย่างทีด่ ี ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ประพฤติตนสร้างชือ่ เสียง และภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์กร” นางจินตนา โพธิ เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ช�ำนาญงาน เรือนจ�ำกลางล�ำปาง “รักและซือ่ สัตย์ในวิชาชีพ ด�ำรงตนตามหลัก วั ฒ นธรรมไทย ประพฤติ ดี ป ฏิ บั ติ ดี ด ้ ว ย ความสม�ำ่ เสมอ เพือ่ เป็นแบบอย่างให้บคุ คลอืน่ เสียสละให้กบั ส่วนรวมอย่างเต็มที่ ปฏิบตั งิ าน ด้วยใจรักไม่ใช้เพียงแต่หน้าที่ ไม่สร้างปัญหา ให้กบั สังคม บุคคลอืน่ ครอบครัวและตนเอง” กรมสอบสวนคดีพิเศษ พันต�ำรวจตรี นิติ สัมฤทธิ์เดชขจร พนักงานสอบสวนคดีพเิ ศษช�ำนาญการพิเศษ “ปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย อย่างเต็ม ความสามารถ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของ องค์กร บุคลากร และประชาชนที่จะได้รับ จากการด�ำเนินงานของข้าราชการพร้อมกับ การกระจายงานให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เพื่อฝึกฝนพัฒนาตนเอง ให้สามารถเติ บ โต เป็นข้าราชการที่มีคุณภาพในอนาคต” พันต�ำรวจตรีหญิง สมพิศ อาชาทองสุข พนักงานสอบสวนคดีพิเศษช�ำนาญการ “หลักในการปฏิบตั ติ นให้เป็นข้าราชการทีด่ ี คือ 1.เห็นว่าปัญหาและอุปสรรคคือบันไดก้าวขึน้ สู่ ที่สูง 2.ความอดทนและความเพียรพยายาม ไม่ย่อท้อคืออาวุธ 3.ความทุกข์ยากล�ำบาก ถือเป็นโอกาสในการฝึกตน และ 4.การได้ทำ� หน้ าที่ อย่ างเต็ มที่ เต็ มก�ำ ลั ง ความสามารถ ด้วยความถูกต้อง ซือ่ สัตย์ ถือเป็นความภาคภูมใิ จ”


เรื่องจากปก

ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม นางสาวสุวดี ไหลพึ่งทอง นักวิชาการยุติธรรมช�ำนาญการ สถาบันวิจัย และพัฒนากระบวนการยุติธรรม “ต้องรู้หน้าที่และเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ ความสามารถ พัฒนาตนเองและเรียนรูส้ งิ่ ใหม่อย่างต่อเนือ่ ง เพื่อไปสู่การพัฒนางาน พร้อมทั้งประพฤติ ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรมอันดี ไม่ประพฤติตน ในทางที่เสื่อมเสียเกียรติของข้าราชการ” สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ นางสาววิ ไลพร ไหลงาม พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ กลุม่ นิตเิ วชคลินกิ กองนิติวิทยาศาสตร์บริการ “ในการปฏิบัติราชการพึงเห็นแก่ประโยชน์ ของประเทศชาติ แ ละประชาชนเป็ น ที่ ตั้ ง โดยปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ เพื่อสิ่งที่ ภูมิใจที่สุด คือ ได้ทดแทนคุณแผ่นดิน” ส�ำนักงาน ป.ป.ส. นายพงษ์ธร พัฒนภักดี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักตรวจสอบทรัพย์สิน คดียาเสพติด “ด�ำรงตนตามหลัก “เศรษฐกิจพอเพียง” ถือความซื่อสัตย์และความถูกต้องเป็นที่ตั้ง ค�ำนึงถึงประโยชน์สว่ นรวม ท�ำงานด้วยความทุม่ เท รับผิดชอบ ดูแลผูร้ ว่ มงานด้วยความเทีย่ งธรรม มี น�้ ำ ใจช่ ว ยเหลื อ และบริ ก ารบุ ค คลทั้ ง ใน และนอกองค์กร รวมทัง้ ประชาชนด้วยความเต็มใจ” นางสาวพัชรินทร์ จันทมาลา นักทรัพยากรบุคคลช�ำนาญการ “ยึดมั่นในจรรยาข้าราชการเป็นหลักในการ ปฏิบัติตน เคารพผู้บังคับบัญชา ให้เกียรติ ผู้ร่วมงาน ตั้งใจท�ำงานที่ได้รับมอบหมาย อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ รวมถึงศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมสิ่งใหม่ ๆ เพื่อน�ำมาปรับปรุง การท�ำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น”

▶ รางวัลอาสาสมัครคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพดีเด่น 1.นายกมล เนตินานนท์ 2.นางกัญนา ปานาพุฒ 3.นายประสิทธิ์ จิตซา 4.นายส�ำราญ ประดิษฐสุวรรณ

Justice Magazine Ministry of Justice

7


เรื่องจากปก

รางวัลแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย

ชนะเลิศ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

รองชนะเลิศ อันดับ 1 รองชนะเลิศ อันดับ 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า โรงเรียนโพธิสารพิทยากร

รางวัลชมเชย -โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช -โรงเรียนราชินีบน -โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี

8

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เรื่องจากปก

หน่วยงานต่าง ๆ ร่วมบริจาคทรัพย์เพื่อการกุศลให้แก่ศิริราชมูลนิธิ โรงพยาบาลศิริราช

Justice Magazine Ministry of Justice

9


กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

กองบรรณาธิการ

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเปิดโครงการกำ�ลังใจฯ ภายใต้กิจกรรม

ฮักเฮือนจำ�

แม่ฉอด ด้วยความห่วงใยเรือนจำ�ขนาดเล็กและตัง้ อยูต่ ดิ เขตชายแดน ซึ่งมีข้อจำ�กัดต่าง ๆ มากมายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา จึงมีพระวินจิ ฉัย ทีจ่ ะเสด็จเปิดโครงการกำ�ลังใจฯ ด้วยพระองค์เอง เพือ่ หวัง ที่ จ ะสร้ า งขวั ญ และกำ � ลั ง ใจไปพร้ อ มกั บ การพั ฒ นา คุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ต้องขังก่อนหวนคืนสู่สังคม พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จเปิดโครงการ กำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ณ เรือนจำ� อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก ภายใต้ชอื่ กิจกรรม “ฮักเฮือนจำ�แม่ฉอด” เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งเป็นเรือนจำ�และทัณฑสถานหญิง แห่งที่ 16 ของการดำ�เนินงานตามโครงการกำ�ลังใจฯ โดยมี นายวีระพล ตั้งสุวรรณ ประธานศาลฎีกา นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงยุตธิ รรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม นางกรรณิการ์ แสงทอง รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม นายอธิคม อินทุภตู ิ

10

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

เลขาธิ ก ารสำ�นั ก งานศาลยุ ติ ธ รรม นางสาวรื่ น วดี สุ ว รรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ นายสมศักดิ์ ยุทธโอภาส ผูบ้ ญ ั ชาการเรือนจำ�อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก พร้อมด้วยข้าราชการกระทรวงยุติธรรม ข้าราชการศาลยุติธรรม เฝ้ารับเสด็จ เรือนจำ�อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นเรือนจำ�ระดับอำ�เภอ มีอำ�นาจในการควบคุมผู้ต้องขังที่มีโทษไม่เกิน 10 ปี ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 6 ไร่ ปัจจุบันมีผู้ต้องขังทั้งหมด 899 คน แบ่งเป็นชาย 781 คน และหญิง 118 คน โดยเรือนจำ�แห่งนี้อยู่ติดชายแดนประเทศเมียนมา จึงส่งผลให้มีผู้ต้องขังเชื้อชาติพม่าทั้งชายและหญิงมากกว่าครึ่งหนึ่ง ของจำ�นวนผูต้ อ้ งขังทัง้ หมด ประกอบด้วยหลายชนเผ่า เช่น กะเหรี่ยง ม้ง ปกาเกอะญอ อีกอ้ มอญ ลีซอ เย้า ไทยใหญ่ และมูเซอ โดยผูต้ อ้ งขัง ส่วนใหญ่กระทำ�ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในการนี้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเปิด ร้านกาแฟและเบเกอรี่โดยใช้ชื่อร้านว่า “กาแฟฉอด Shot Coffee” พร้ อ มประทานเครื่ อ งชงกาแฟให้ กั บ ทางร้ า น เพื่ อ เป็ น สถานที่ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการฝึกอาชีพให้กบั ผูต้ อ้ งขังและเมือ่ พ้นโทษ จะได้ประกอบอาชีพทีส่ จุ ริต โดยได้รบั การอบรมจากร้านกาแฟบ้านพิม จากนั้ น เสด็ จ เข้ า ภายในเรื อ นจำ� ทอดพระเนตรผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของกลุ่มผู้ต้องขังชาย อาทิ งานแกะสลักแผ่นฉลุ 12 ราศี แผ่นไม้ แกะสลักนูนตํา่ งานไม้เครือ่ งเขียน เช่น ชุดรับแขก ชุดรับประทานอาหาร และโต๊ะหมู่บูชารวมถึงการฝึกทำ�อิฐบล็อก ต่อมาเสด็จยังแดนหญิง ทอดพระเนตรกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังหญิง


กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

ซึ่งมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาร่วมให้ความรู้ อาทิ กิจกรรมพัฒนา ทักษะชีวติ (Life Coach) ซึง่ มีกลุม่ จิตอาสามาจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนา ทักษะการใช้ชวี ติ ด้านภาษา มีการสอนหนังสือให้ผตู้ อ้ งขังชาวเมียนมา ทีไ่ ม่รหู้ นังสือ จากสำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ทรงให้จดั ทำ�คูม่ อื การใช้ชวี ติ ในเรือนจำ� เช่น คูม่ อื สิทธิของผูต้ อ้ งขัง เบือ้ งต้น และข้อมูลทีค่ วรรูเ้ มือ่ ต้องใช้ชวี ติ ในเรือนจำ� จดั ทำ�เป็น 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาเมียนมา และภาษาอังกฤษ อีกทั้งยังส่งเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยให้หน่วยงานต่างๆ และบุคคลภายนอก ร่วมบริจาคหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาเมียนมาให้กับผู้ต้องขัง ได้แ สวงหาความรู้ แ ละผ่ อ นคลายความเครี ย ด ทรงมี พ ระดำ�รั ส กับผู้ต้องขังที่อบรมการฝึกเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งปัจจุบันมีผู้ต้องขัง พ้นโทษ 1 ราย และได้ทำ�งานในโรงพยาบาลเอกชน ลำ�ดับต่อมา พระเจ้าหลานเธอฯ ประทานถุงของขวัญให้กับแม่และเด็กเพื่อเป็น ขวัญกำ�ลังใจ ซึ่งปัจจุบันมีเด็กติดผู้ต้องขัง 3 คน และมีผู้ต้องขัง กำ�ลังตัง้ ครรภ์ 1 คน โดยเป็นผูต้ อ้ งขังชาวไทย 2 คน และชาวเมียนมา 2 คน ต่อจากนั้น เสด็จทอดพระเนตรการสาธิตโครงการอาหารคลีน โดยได้รบั การสนับสนุนจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) มีเมนูน่าสนใจ อาทิ ตำ�ผลไม้รวม ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน เต้าหู้ทรงเครื่อง และทรงปรุงอาหารเมนูเครปญี่ปุ่น พร้อมกันนี้ ได้ประทานเงินจากกองทุนกำ�ลังใจฯ แก่ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์อภินันท์ อร่ามรัตน์ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิชาการสารเสพติด ภาคเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพือ่ เป็นทุนตัง้ ต้น

สำ�หรับการจัดตัง้ กองทุนในการช่วยเหลือผูต้ อ้ งขังในอนาคต พร้อมประทาน อุปกรณ์ทางการแพทย์สำ�หรับดูแลผู้สูงอายุภายในเรือนจำ� อาทิ ถังออกซิเจน เสานํ้าเกลือ เตียงผู้ป่วย และรถทำ�แผล ปิดท้ายด้วย ผูบ้ งั คับแดนหญิงทูลถวายชุดชนเผ่าฝีมอื การปักของผูต้ อ้ งขังต่างชาติ ท้ายสุดได้เปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังรวมทั้งเจ้าหน้าที่แสดงกิจกรรม ร่วมกันในการรำ�และการแสดงในชุดต่างๆ จำ�นวน 6 ชุด ได้แก่ การตีกลองสะบัดชัย ซอพม่า รำ�พม่า น้อยใจยา ค้างคาวกินกล้วย และชุดใกล้รุ่ง จากนั้นทรงพระอนุญาตให้ศิลปินจากบริษัท อาร์เอส จำ�กัด (มหาชน) ได้แก่ กุ้ง สุธิราช และ วิรดา วงศ์เทวัญ ร่วมร้องเพลง แสดงดนตรีเพื่อสร้างความสนุกสนานให้กับผู้ต้องขัง ในการนี้ ได้ประทานพระอนุญาตให้ตัวแทนผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ 67 เข้าร่วมกิจกรรมในการเปิดโครงการกำ�ลังใจฯ ครั้งนี้ด้วย โดยในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ 67 จำ�นวน 30 ท่าน ได้เข้าพูดคุยกับผู้ต้องขังเพื่อทราบถึงชีวิตความเป็นอยู่ ของผูต้ อ้ งขัง ณ เรือนจำ�อำ�เภอแม่สอด อันเป็นส่วนหนึง่ ของการอบรม เพื่ อ สร้ า งความรู้ ใ ห้ กั บ ผู้ พิ พ ากษาให้ มี ดุ ล ยพิ นิ จ ในการพิ จ ารณา พิพากษาคดีอย่างรอบด้าน หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การแสดงต่ า งๆ แล้ ว ผู้ ต้ อ งขั ง ทุ ก คน และผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้วยการ ร่วมยืนสงบนิง่ ถวายความอาลัยเป็นเวลา 89 วินาที และร่วมใจกัน ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ทรงฉายพระรูปร่วมกับข้าราชการ และผูใ้ ห้การสนับสนุนโครงการกำ�ลังใจฯ เป็นการปิดท้าย

Justice Magazine Ministry of Justice

11


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

ประกาศเจตจำ�นงการบริหารงาน ด้วยความสุจริต นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็ น ประธานในพิ ธีป ระกาศเจตจำ�นงการบริ ห ารงาน ด้วยความสุจริตของสำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เพือ่ แสดงเจตจำ�นงและนโยบายของผูบ้ ริหารในการบริหารงาน ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณ ุ ธรรม และเกิดความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน โดยเป็นไปตามประกาศสำ�นักงานปลัด กระทรวงยุตธิ รรม เรือ่ ง “นโยบายเกีย่ วกับการส่งเสริมคุณธรรม ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ของสำ�นักงานปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม พ.ศ. 2560” เพือ่ เป็นมาตรการป้องกันการทุจริต ในเชิงรุก และก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน ด้านต่าง ๆ โดยมีข้าราชการและเจ้ า หน้ า ที่ ใ นสั ง กั ด สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วมฯ ณ ห้องรับรอง กระทรวงยุ ติธ รรม ศู น ย์ ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ กรุงเทพฯ

“ยุติธรรม” รับเรื่องราวร้องทุกข์ จากประชาชน นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รับเรื่องจากนายสมยศ หยังกุล ผู้แทนผู้ประกอบอาชีพ ประมงพืน้ บ้าน และผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการประกอบอาชีพ ประมงพืน้ บ้านด้วยเครือ่ งมือประจำ�ที่ (โป๊ะ) จังหวัดกระบี่ เพือ่ ขอให้เป็นหน่วยงานกลางในการหาแนวทางช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากการประกาศกำ�หนด พืน้ ทีจ่ บั สัตว์นา้ํ ในท้องทีจ่ งั หวัดกระบี่ ณ ศูนย์บริการร่วม กระทรวงยุตธิ รรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

12

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

มอบประกาศนียบัตรและเข็มวิทยฐานะ ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 3 นายสุวพันธุ ์ ตนั ยุวรรธนะ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธมี อบประกาศนียบัตรและเข็มวิทยฐานะ ให้แก่ผสู้ ำ�เร็จการฝึกอบรมหลักสูตร “ผูบ้ ริหารงานยุตธิ รรม ระดับสูง (บธส.)” รุน่ ที่ 3 เพือ่ พัฒนาให้ผบู้ ริหารกระทรวง ยุติธรรมมีความสามารถด้านการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ และสามารถขั บ เคลื่อ นนโยบายสู่ก ารปฏิ บัติไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ณ สำ�นักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี

การดำ�เนินงานของ กพยช. นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุตธิ รรม เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการพัฒนาการบริหาร งานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ครั้งที่ 1/2560 โดยมี นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน การประชุมฯ เพื่อพิจารณา 4 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การด�ำเนินงานของ กพยช. ประกอบด้วย 1. แผนระดมทุน และแผนการก่อสร้างปรับปรุงอาคารบูรณาการกระทรวง ยุติธรรม 2. การจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการบริหาร งานยุ ติ ธ รรมระดั บ จั ง หวั ด 3. ร่ า งรายงานประจ� ำ ปี พ.ศ. 2559 ของ กพยช. และ 4. การแต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการปฏิ รู ป ตั ว ชี้ วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยมีคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วม ประชุม ณ ท�ำเนียบรัฐบาล

Justice Magazine Ministry of Justice

13


เรื่องเล่ายุติธรรม

กองบรรณาธิการ

“คุมประพฤติ” ลุยมาตรการบริการสังคมเข้ม มุง่ ลดผูถ้ กู คุมความประพฤติ กรณี เมาแล้วขับ

กรมคุมประพฤติ เปิดเผยว่า ได้รับรายงานคดีที่เข้าสู่ กรมคุมประพฤติคุมเข้มมาตรการบริการสังคมผู้ถูกคุมประพฤติ คดี เ มาแล้ ว ขั บ เพื่อ ให้ เ หมาะสมกั บ ความผิ ด และความร้ า ยแรง กระบวนการคุ ม ประพฤติ เ กี่ ย วกั บ อุ บั ติ เ หตุ ท างถนน ซึ่ง จะเป็ น การป้ อ งกั น ป้ อ งปรามพฤติ ก รรมอย่ า งเข้ ม งวดและ ในช่วงเทศกาลวันหยุดยาวจากสำ�นักงานคุมประพฤติ ทั่วประเทศ พบว่า คดีขับรถขณะเมาสุราและคดีขับรถ เป็นรูปธรรม ข่าวอุบัติเหตุบนท้องถนน ยังคงเป็นเรื่องที่มีให้เห็น อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลวันหยุดยาว อย่ า งช่ ว งปี ใ หม่ สงกรานต์ หรื อ ในช่ ว งที่ มี วั น หยุ ด ต่อเนื่องหลายวัน ซึ่งเป็นช่วงที่มีประชาชนจำ�นวนมาก ใช้รถใช้ถนนในการเดินทางกลับภูมลิ ำ�เนา จึงทำ�ให้มคี วามเสีย่ ง ต่อการเกิดอุบตั เิ หตุทางถนนสูงกว่าปกติ ตัวเลขผูเ้ สียชีวติ และบาดเจ็บพิการจากอุบัติเหตุ ยังคงเป็นเรื่องที่น่าวิตก อย่างยิง่ หลายครัง้ ทีม่ อี บุ ตั เิ หตุทางรถยนต์ เพราะเกิดจากการ เมาแล้วขับหรือความประมาทของคนขับทำ�ให้มผี บู้ าดเจ็บ และเสียชีวิตเป็นจำ�นวนมาก โดยมีรายงานสถานการณ์ ความปลอดภัยทางถนนปี 2015 ขององค์การอนามัยโลก ระบุวา่ ประเทศไทยมีอตั ราผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนน อยู่ในอันดับ 2 ของโลกอีกด้วย

14

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ประมาท ยังคงมีสถิติที่อยู่ในเกณฑ์สูง ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ กรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ มี บ ทลงโทษทางสั ง คมกั บ กลุ่ ม ผู้ ก ระทำ�ผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบกฯและ ผู้ท่ขี ับรถยนต์โดยประมาทอย่างเข้มงวด โดยมีมาตรการ บังคับโทษของกรมคุมประพฤติ ได้แก่ การทำ�งานบริการ สั ง คมในสถานพยาบาลซึ่ ง เป็ น การดู ส ถานการณ์ จ ริ ง ที่โรงพยาบาล โดยการนำ�ผู้กระทำ�ผิดไปเห็นผลกระทบ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนน ทั้ ง ในส่ ว นของ ห้ อ งฉุ ก เฉิ น และห้ อ งดั บ จิ ต รวมถึ ง เห็ น การทำ�งาน ของเจ้ า หน้ า ที่ โรงพยาบาล และสภาพของผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนเพื่ อ ให้ รั บ ทราบ ถึงความสูญเสียต่างๆ ที่เกิดขึ้น กิจกรรมทีด่ ำ�เนินการในระหว่างเข้าดูสถานการณ์จริง ที่สถานพยาบาล มีทั้งกิจกรรมการเยี่ยมผู้ป่วยที่ได้รับ


เรื่องเล่ายุติธรรม

ผลกระทบจากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนที่ ตึ ก อุ บั ติ เ หตุ ตึ ก ศั ล ยกรรม ห้ อ งกายภาพบำ�บั ด ห้ อ งไอซี ยู และห้ อ งนิ ร ภั ย หรื อ ห้ อ งดั บ จิ ต การอบรมความรู้เรื่องโทษของการดื่มแอลกอฮอล์ การสร้างทัศนคติ การขับขี่ปลอดภัย การรับรู้ผลกระทบและความสูญเสียที่เกิดจาก อุบัติเหตุทางถนน ทั้งงบประมาณ และบุคลากรที่ใช้ในการดูแล ตลอดจนปัญหาครอบครัวของผู้ที่ได้รับผลกระทบ รวมทั้งกิจกรรม จำ�ลองสถานการณ์ให้ผกู้ ระทำ�ผิดเป็นผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากอุบตั เิ หตุวา่ เป็นผูพ้ กิ าร สูญเสียอวัยวะบางส่วน ทำ�ให้การดำ�เนินชีวติ เปลีย่ นแปลงไป เพื่อให้เข้าใจสถานการณ์ต่างๆ มากยิ่งขึ้น สำ�หรับมาตรการบังคับโทษของกรมคุมประพฤติ จะพิจารณา ถึงความรุนแรงของพฤติการณ์ ตลอดจนความเสียหายที่เกิดขึ้น เช่น มีการสูญเสียชีวติ ทรัพย์สนิ หรือการบาดเจ็บสาหัส เป็นต้น ซึง่ การส่ง ผู้ ถู ก คุ ม ความประพฤติไ ปช่ว ยเหลือเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลนั้ น หากจะมีการนำ�เข้าห้องผู้ป่วยฉุกเฉินหรือห้องดับจิต จะต้องประสาน ความร่วมมือและมีการกำ�กับดูแลอย่างใกล้ชดิ จากทุกฝ่ายทัง้ ทางแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล พนักงานคุมประพฤติ ผูก้ ระทำ�ผิด และตัวผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บหรือญาติผเู้ สียชีวติ นอกจากนี้ ยังมีมาตรการอื่นๆ ที่ใช้ในการสร้างความตระหนักรู้ และจิตสำ�นึกอีกหลายมาตรการ เช่น การใช้หลักศาสนากล่อมเกลา จิตใจ การอบรมธรรมะ การบริจาคโลหิต การช่วยเหลืองานมูลนิธิ เมาไม่ขับ การอบรมให้ความรู้กฎหมายจราจร การช่วยเหลืองาน ของเจ้าพนักงานตำ�รวจด้านจราจร หรือความปลอดภัยบนท้องถนน ร่วมกับองค์กรอื่นๆ ตลอดจนพนักงานคุมประพฤติและอาสาสมัคร คุมประพฤติจะให้ความช่วยเหลือ แนะนำ� ให้คำ�ปรึกษาและตักเตือน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ถูกคุมความประพฤติ หากพบว่า ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น

ข้อมูลจาก http://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/TNSOC5811050010186 http://210.246.159.139/doc_dop/file/categories2/20170202095838-0046002002.pdf

สำ�หรั บ ผู้ ก ระทำ�ผิ ด ในคดี ขั บ ขี่ ร ถขณะเมาสุ ร าซึ่ ง มี ร ะดั บ แอลกอฮอลในเลือดเกิน 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ซึ่งศาลอาจมีคำ�สั่ง คุมประพฤติ 1-2 ปี และทำ�งานบริการสังคม 10-40 ชั่วโมงนั้น พนักงานคุมประพฤติอาจจะเสนอเงื่อนไขการทำ�งานบริการสังคม โดยกำ�หนดจำ�นวนชั่ ว โมงการทำ�งานเพิ่ ม ขึ้ น ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพความผิดและความร้ายแรง ตั้งแต่ 48 ชั่วโมงขึ้นไป เพื่อเป็น การป้องกัน ป้องปรามพฤติกรรมอย่างเข้มงวดและเป็นรูปธรรม ทั้ ง นี้ ข้ อ มู ล สถิ ติ ก ารคุ มประพฤติ ใ นคดี ต ามพระราชบัญ ญัติ จราจรทางบกฯ โดยเปรียบเทียบปริมาณคดีเมาแล้วขับของแต่ละปี พบว่า ปี พ.ศ. 2559 มีจำ�นวน 40,364 คดี ซึง่ ลดลงจากปี พ.ศ. 2558 ที่มีจำ�นวน 47,950 คดี คิดเป็นลดลงร้อยละ 15.82 อย่างไรก็ตาม กรมคุมประพฤติเชื่อว่า นโยบายสร้างจิตสำ�นึก จะเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างยัง่ ยืน และมาตรการการทำ�งานบริการ สังคมจะสามารถกระตุน้ ให้ผกู้ ระทำ�ผิด มีจติ สำ�นึกและตระหนักถึง ความรับผิดชอบต่อผูอ้ น่ื และสังคมมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ผูก้ ระทำ�ผิดยังได้ พัฒนาตนเองในด้านความรู้ ทักษะ ความมีวินัย ตลอดจนรู้จักใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเป็นการให้ผู้กระทำ�ผิดได้ชดเชย ความเสียหายที่ก่อขึ้นด้วยการทำ�งานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น และสังคม รวมถึงเป็นการนำ�มาตรการทางเลือกอื่นมาใช้แทน วิธกี ารลงโทษจำ�คุกหรือโทษปรับโดยการจำ�กัดเสรีภาพอีกด้วย

Justice Magazine Ministry of Justice

15


บนความเคลื่อนไหว

เวทีสาธารณะ

ว่าด้วยหลักนิติธรรม

และ การพัฒนา

ที่ยั่งยืน

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เสด็จร่วมการประชุม และประทานพระด�ำรัสปาฐกถาพิเศษ ในการจัดเวทีสาธารณะ ว่ า ด้ ว ยหลั ก นิ ติ ธ รรมและการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง สถาบั น เพื่อการยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) หรือ TIJ จัดขึ้นในโอกาสการเปิดโครงการ RoLD Program (Rule of Law and Development) เพือ่ ส่งเสริมหลักนิตธิ รรมและการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน

16

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

โดยถือเป็นพระภารกิจแรกในฐานะทูตสันถวไมตรี ด้านหลักนิตธิ รรมและกระบวนการยุตธิ รรมของสำ�นักงาน UNODC สำ�หรั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โดยมี ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ผู้อำ�นวยการสถาบัน เพื่ อ การยุ ติ ธ รรมแห่ ง ประเทศไทย กราบทู ล รายงาน วัตถุประสงค์และความสำ�คัญของการจัดงาน พร้อมด้วย นายลุค สตีเว่นส์ ผูป้ ระสานงานสหประชาชาติและผูแ้ ทน สำ�นักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ประจำ�ประเทศไทย และนายเจเรมี ดั ก ลาส ผู้ แ ทน สำ�นักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (UNODC) ประจำ�ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟกิ ร่วมกล่าวปาฐกถาเกีย่ วกับ ความสำ�คัญของหลักนิตธิ รรมทีม่ ตี อ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนผู้ เข้ า ร่ ว มการประชุ ม และผู้ เข้ า ร่ ว มอบรม หลักสูตร RoLD Program จากภาคส่วนต่างๆ เข้าร่วมฯ ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การ มหาชน) ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการส่งเสริม หลักนิตธิ รรมทัง้ ในระดับชาติและระหว่างประเทศ รวมถึง สร้างหลักประกันแก่ประชาชนว่าจะเข้าถึงความยุตธิ รรม ได้อย่างเท่าเทียม เชือ่ ว่าการส่งเสริมหลักนิตธิ รรมในสังคม จำ�เป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โครงการ RoLD Program จึ ง เป็ น โครงการที่ ส ถาบั น เพื่ อ การ ยุติธรรมแห่งประเทศไทยริเริ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับวาระ


บนความเคลื่อนไหว

การพัฒนาของโลกทีค่ รอบคลุมไปถึงเรือ่ งการพัฒนาคน การดูแลสิง่ แวดล้อม การส่งเสริมหลักนิติธรรมและความยุติธรรม เพื่อสร้างสภาพแวดล้อม ทีป่ ราศจากความขัดแย้ง ตลอดจนเปิดโอกาสให้สมาชิกในสังคมได้เข้าถึง และรับประโยชน์จากการพัฒนาทุกๆ ด้านไปพร้อมกัน ในโอกาสนี้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ทรงประทาน พระดำ�รัสเรือ่ งความเชือ่ มโยงระหว่างหลักนิตธิ รรมและการพัฒนาทีเ่ ข้มแข็ง และยัง่ ยืน โดยทรงยกตัวอย่างจากแนวทางการดำ�เนินโครงการในพระราชดำ�ริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีใจความสำ�คัญ ตอนหนึ่งว่า “สิ่งสำ�คัญที่ทำ�ให้การพัฒนาทางเลือกที่ยกตัวอย่างมานั้น ประสบความสำ�เร็จ ก็เนื่องมาจากการที่ภาครัฐเข้าใจอย่างชัดเจนว่า ก่อนใช้กฎหมายบังคับให้ชาวบ้านปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ควรต้อง คำ�นึงถึงเงื่อนไขทางสังคม เศรษฐกิจ หรือแม้แต่เรื่องธรรมเนียมประเพณี หากขาดการสนับสนุนเรือ่ งทีด่ นิ ทำ�กิน การบริหารจัดการนํา้ การคมนาคม สาธารณสุขพื้นฐาน หรือการศึกษา กฎหมายที่เคร่งครัดก็ไร้ประโยชน์ คนเหล่านีต้ อ้ งได้รบั การสนับสนุน เสริมพลังจนถึงจุดทีส่ ามารถมีทางเลือก ในการใช้ชีวิต ในจุดนั้นการบังคับให้เป็นไปตามกฎหมายจึงจะเป็นไปได้ การจัดการเรือ่ งสถานะทางกฎหมายจึงจะมีผล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงวางเงือ่ นไขแวดล้อมทีจ่ ะทำ�ให้หลักนิตธิ รรมสามารถเกิดได้ ในสังคม โดยเริม่ จากการช่วยให้ชาวบ้านสามารถเลีย้ งชีพได้กอ่ นเป็นสำ�คัญ” นอกจากนี้ ทรงเน้นยํา้ ว่า “หลักนิตธิ รรมนัน้ ไม่ได้สำ�คัญเฉพาะกับ นักกฎหมายหรือใช้ในการมองบริบทงาน ด้านตุลาการหรือกระบวนการ ยุตธิ รรมเท่านัน้ หากแต่หลักนิตธิ รรมเป็นส่วนสำ�คัญของชีวติ ประชาชน และส่งผลต่อทุกคนแม้จะอยูใ่ นสถานทีห่ า่ งไกล ไม่วา่ ผูน้ น้ั จะเข้าถึงโอกาส ทางเศรษฐกิจ บริการสาธารณะ หรือมีสถานะทางกฎหมายใด ความเชือ่ มโยง ระหว่างหลักนิตธิ รรมและการพัฒนามีความซับซ้อนในหลายแนวทาง ฉะนั้น จึงเป็นเรื่องที่ดีที่เราจะมาร่วมทำ�ความเข้าใจความสำ�คัญ ของความเชื่อมโยงดังกล่าว”

โครงการ RoLD Program (โรลด์ โปรแกรม) ประกอบด้วย 1. RoLD Executive Program (Executive Program on the Rule of Law and Development) หลั ก สู ต รอบรมสำ�หรั บ เครื อ ข่ า ยผู้ นำ�และผู้ บ ริ ห าร จากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ในประเด็น ความสำ�คัญของหลักนิติธรรมต่อสาขาการพัฒนาต่างๆ 2. TIJ Public Forum on the Rule of Law and Sustainable Development เวทีสาธารณะ ที่เปิดพื้นที่ให้ทุกภาคส่วนในสังคมได้แลกเปลี่ยนมุมมอง และวิเคราะห์ความเชือ่ มโยงระหว่างหลักนิตธิ รรมกับการ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ผ่ า นการบรรยายโดยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นเวที ที่จัดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี 3. TIJ Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law and Policy เป็นหลักสูตรอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารระยะสัน้ 1 สัปดาห์ ซึง่ TIJ ร่วมกับสถาบัน IGLP ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด จัดขึ้น เพือ่ ให้กลุม่ ผูน้ ำ�รุน่ ใหม่ทงั้ จากประเทศไทยและนานาชาติ ร่ ว มแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ผ่ า นเทคนิ ค การเรี ย นการสอน ที่ ไ ด้ ม าตรฐานระดั บ โลกจากเครื อ ข่ า ยคณาจารย์ และผู้เชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 4. RoLD in Action โครงการนำ�ร่องเพื่อสร้าง ประโยชน์แก่สังคมและชุมชนด้วยหลักนิติธรรม ซึ่งเป็น ผลผลิ ต จากความคิ ด ริ เ ริ่ ม ของกลุ่ ม เครื อ ข่ า ยผู้ นำ� และผู้บริหารใน RoLD Executive Program

ดร.กิ ต ติ พ งษ์ กิ ต ยารั ก ษ์ ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น เพื่ อ การยุ ติ ธ รรม แห่งประเทศไทย กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดงาน โดยมีผู้แทน UNDP ประจ�ำประเทศไทย และผู้แทน UNODC ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟกิ พร้อมด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ ร่วมกล่าวปาฐกถา เกี่ยวกับความส�ำคัญของหลักนิติธรรมที่มีต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน Justice Magazine Ministry of Justice

17


บนความเคลื่อนไหว

การประชุมระดับรัฐมนตรี ว่าด้วยแผนความช่วยเหลือ สำ�หรับแผนปฏิบัติการ

แก้ ไขปัญหายาเสพติด

ในพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ ม ทองคำ� ยาเสพติดคือปัญหาระดับสากล การขจัดยาเสพติด ให้ ห มดสิ้น ไป จ�ำเป็ น ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ กั น ของนานาชาติ เพื่อก�ำหนดแผนปฏิบตั กิ ารให้ครอบคลุม และเป็นรูปธรรม

18

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

พื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ� ถือเป็นแหล่งผลิตยาเสพติด และลั ก ลอบค้ า ยาเสพติ ด ที่ สำ�คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของโลก โดยเฉพาะยาเสพติดประเภทฝิน่ เฮโรอีน และเมทแอมเฟตามีน ที่ ถู ก ลั ก ลอบลำ�เลี ย งจำ�หน่ า ยในภู มิ ภ าคอาเซี ย น และภูมภิ าคอืน่ ๆ แถบเอเชีย ยุโรป อเมริกาและโอเชียเนีย มาเป็นระยะเวลาหลายสิบปี จึงเป็นเรือ่ งสำ�คัญทีน่ านาประเทศ ต้ อ งร่ ว มมื อ กั น ขจั ด ยาเสพติ ด ให้ ห มดสิ้ น ไปจากพื้ น ที่ สามเหลี่ยมทองคำ� ในปี 2556 จีนได้ริเริ่มโครงการแม่นํ้าโขงปลอดภัย และในปี 2558 ประเทศไทยได้จัดตั้งศูนย์ประสานงาน แม่นาํ้ โขงปลอดภัย และรับเป็นเจ้าภาพในการดำ�เนินงาน ซึง่ ถือเป็นตัวอย่างของการปฏิบตั กิ ารร่วมกันของ 6 ประเทศ ในลุ่มแม่นํ้าโขง ได้แก่ ไทย จีน เมียนมา ลาว กัมพูชา และเวี ย ดนาม เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ในพื้ น ที่ สามเหลี่ยมทองคำ� ซึ่งผลการดำ�เนินงานสามารถจับกุม และตรวจยึดยาเสพติดและสารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิต ยาเสพติดได้เป็นจำ�นวนมาก ทัง้ นี้ เพือ่ ให้บรรลุผลดียงิ่ ขึน้ ทัง้ 6 ประเทศต่างเห็นพ้องกันว่าจะกำ�หนดเป้าหมายในการ ดำ�เนินงานให้ชัดเจน โดยมุ่งไปที่การทลายแหล่งผลิต ยาเสพติดในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ� ซึ่งเป็นต้นตอสำ�คัญ ของปัญหา โดยเรียกแผนปฏิบตั กิ ารนีว้ า่ “แผนปฏิบตั กิ าร สามเหลี่ยมทองคำ�”


บนความเคลื่อนไหว

ประเทศสมาชิกลุม่ นํา้ แม่โขงได้ขยายความร่วมมือไปยัง ประเทศอื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติด เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ เ ข้ า มาร่ ว มสนั บ สนุ น และจั ด ทำ� แผนความช่วยเหลือสำ�หรับแผนปฏิบตั กิ ารแก้ไขปัญหายาเสพติด ในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ� ร่วมกับประเทศ/องค์กรผู้ให้ โดยมีประเทศไทยเป็นผูป้ ระสานงานหลัก ในการรวบรวม และประเมิ น ความต้ อ งการของประเทศเพื่ อ นบ้ า น และจั ด ทำ�ร่ า งแผนฯ นำ�เสนอต่ อ ประเทศ/องค์ ก ร ระหว่างประเทศ เพือ่ ให้พจิ ารณาสนับสนุนอย่างเป็นทางการ ล่าสุดสำ�นักงาน ป.ป.ส. ได้จัดการประชุมระดับ รัฐมนตรีวา่ ด้วยแผนความช่วยเหลือสำ�หรับแผนปฏิบตั กิ าร แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในพื้ น ที่ ส ามเหลี่ ย มทองคำ� เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 มีนาคม 2560 โดยมีนายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธาน และได้รบั เกียรติจาก พลเอก ไพบูลย์ คุม้ ฉายา องคมนตรี กล่าวปาฐกถาเรือ่ ง “ยุทธศาสตร์และแนวคิดความร่วมมือ ระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหายาเสพติด” พร้อมด้วย นายศิรินทร์ยา สิทธิชัย เลขาธิการ ป.ป.ส. ผู้บริหารระดับ รัฐมนตรี ตลอดจนเอกอัครราชทูต ผู้บริหารหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องในประเทศไทย ผูแ้ ทนจากองค์กรระหว่างประเทศ ผู้แทนจากประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง สำ�นักงาน ป้ อ งกั น ยาเสพติ ด และปราบปรามอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (UNODC) และองค์กรระดับชาติอนื่ ๆ เข้าร่วม ณ โรงแรมแชงกรีลา จังหวัดเชียงใหม่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวว่า “นับเป็น ครั้งแรกที่ผู้แทนจากประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง และผู้แทนจากประเทศ/องค์กรผู้ให้ จะเข้ามาร่วมหารือ และกำ�หนดแผนความช่วยเหลือ สำ�หรับแผนปฏิบัติการ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด ในพื้ น ที่ ส ามเหลี่ ย มทองคำ� Justice Magazine Ministry of Justice

19


บนความเคลื่อนไหว

โดยประเทศ/องค์กรผูใ้ ห้ได้แสดงเจตจำ�นง ร่วมสนับสนุน การดำ�เนิ น งานโครงการต่ า งๆ ของประเทศไทย และประเทศเพือ่ นบ้านเพือ่ แก้ไขปัญหายาเสพติด ทัง้ ด้าน การฝึกอบรมทักษะ การสนับสนุนการทำ�งานด้านต่างๆ เช่น การต่อต้านการก่อการร้าย การสืบสวนสอบสวน การวิเคราะห์ดา้ นนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ การวิเคราะห์ขา่ วกรอง รวมถึงการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์อนื่ ๆ เช่น เรือลาดตระเวน เพื่อใช้ในภารกิจโครงการแม่นํ้าโขงปลอดภัย และใช้ใน แผนปฏิบตั กิ ารแก้ไขปัญหายาเสพติดในพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ ม ทองคำ� เพื่อให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดในอนุภูมิภาคนี้ มีประสิทธิภาพและยั่งยืนมากยิ่งขึ้น” ทัง้ นี้ การประชุมดังกล่าวประกอบด้วยกิจกรรม 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นการศึกษาการปฏิบตั กิ ารโครงการแม่นาํ้ โขง ปลอดภัย การบรรยายสรุปสภาพภูมศิ าสตร์และเศรษฐกิจ ตามลำ�นํ้าโขง ส่วนที่สอง เป็นการหารือร่วมกันในระดับ รัฐมนตรีและผูแ้ ทนจากหน่วยงานและประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง โดยมีวาระสำ�คัญของการประชุม ได้แก่ การนำ�เสนอ แผนความช่วยเหลือสำ�หรับแผนปฏิบตั กิ ารเพือ่ แก้ไขปัญหา ยาเสพติดในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ� และความต้องการ การสนับสนุนของ เมียนมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม การหารือการสนับสนุนของประเทศ/องค์กรผูใ้ ห้ การสรุปผล ความต้ อ งการการสนั บ สนุ น และความร่ ว มมื อ ในการ ให้ความช่วยเหลือในอนาคต นั บ เป็ น วาระสำ�คั ญ และเป็ น เรื่ อ งที่ น่ า ยิ น ดี ทีป่ ระเทศไทยได้กา้ วเข้าสูก่ ารเป็นหนึง่ ในผูน้ ำ�เพือ่ แก้ไข ปัญหายาเสพติดของโลก

20

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


บนความเคลื่อนไหว

“1 คน 1 ทักษะ” งานนิทรรศการ ผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ ประจำ�ปี 2560

การพัฒนาผูต้ อ้ งขังก่อนกลับคืนสูส่ งั คม เป็นนโยบายสำ�คัญ ของกรมราชทัณฑ์ ซึ่งวิธีการหนึ่งคือการพัฒนาผู้ต้องขัง ให้ มี ทั ก ษะอาชี พ มี ค วามรู้ ค วามสามารถเพี ย งพอที่ จ ะ ประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษ และได้รับโอกาสจ้างงาน จากผูป้ ระกอบการเพิม่ มากขึน้ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ลดอัตรา การกระทำ�ผิดซ้�ำ หลังได้รบั การปล่อยตัว และช่วยให้สามารถ อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

กระทรวงยุติธรรม โดยกรมราชทัณฑ์ ริเริ่มจัดงาน นิทรรศการผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 เพื่อเป็นพื้นที่แสดงผลงานของผู้ต้องขังที่ได้รับการฝึกฝน ทั ก ษะอาชี พ จากผู้ เชี่ ย วชาญ ตลอดจนจั ด จำ�หน่ า ย ให้กับประชาชนทั่วไป ช่วยให้ผ้ตู ้องขังมีรายได้และสร้าง กำ�ลังใจในการกลับตัวเป็นคนดีของสังคมหลังจากพ้นโทษ โดยในแต่ละปีมียอดจำ�หน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ปีละ หลายสิบล้านบาท กล่าวได้ว่าเป็นงานสำ�คัญที่เรือนจำ� และทัณฑสถานทั่วประเทศจะได้มีโอกาสแสดงศักยภาพ และผลงานของผู้ต้องขังในความดูแล อันเป็นการร่วมกัน เปลี่ยนแปลงสังคม ให้คนที่เคยหลงผิดได้กลับคืนสู่สังคม อย่างยั่งยืน ในปี 2560 งานนิ ท รรศการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร าชทั ณ ฑ์ จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 17 – 26 มีนาคม 2560 ภายใต้แนวคิด “1 คน 1 ทักษะ” โดยได้รบั เกียรติจากนายสุวพันธุ ์ ตนั ยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดงาน Justice Magazine Ministry of Justice

21


บนความเคลื่อนไหว

พร้อมด้วยนายถาวร พรหมมีชัย เลขานุการรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม นายกอบเกียรติ กสิวิวัฒน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ ตลอดจนผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ เรือนจำ�และทัณฑสถาน จำ�นวนกว่า 50 แห่งทัว่ ประเทศ ร่วมนำ�สินค้าอาทิ งานแกะสลัก งานเฟอร์นเิ จอร์ตกแต่งบ้าน งานปั้น ภาพวาด งานจักสาน งานประดิษฐ์ และงาน หัตถกรรมต่างๆ มาจำ�หน่ายในราคาพิเศษ ณ บริเวณสนาม หน้าเรือนจำ�กลางคลองเปรม กรุงเทพฯ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม กล่ า วว่ า กรมราชทั ณ ฑ์ ไ ด้ ริ เริ่ ม จั ด งานนิ ท รรศการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ราชทั ณ ฑ์ ร วมเป็ น ระยะเวลานานกว่ า 40 ปี สิ น ค้ า และผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ถือได้ว่าเป็นที่รู้จัก ได้รับการ ยอมรั บ จากประชาชน สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความตั้ ง ใจ ของกระทรวงยุตธิ รรมและกรมราชทัณฑ์ ทีม่ งุ่ มัน่ ส่งเสริม ให้ผู้ต้องขังในเรือนจำ�ได้รับการฝึกทักษะการผลิตสินค้า ทีส่ ามารถจำ�หน่ายในท้องตลาดได้ และยังช่วยสร้างรายได้ ให้แก่ผตู้ อ้ งขังเพือ่ เป็นเงินทุนสำ�หรับนำ�ไปประกอบอาชีพ ภายหลังพ้นโทษ ซึ่งกระทรวงยุติธรรมพร้อมสนับสนุน ให้ ผู้ ต้ อ งขั ง กลั บ คื น สู่ สั ง คมและใช้ ชี วิ ต หลั ง พ้ น โทษ ได้อย่างปกติสุข อันเป็นการ “เปลี่ยนภาระเป็นพลัง” คืนคนดีสู่สังคมได้อย่างแท้จริง อธิบดีกรมราชทัณฑ์ กล่าวว่า การจัดงานนิทรรศการฯ ประจำ�ปี 2560 จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “1 คน 1 ทักษะ” เพื่อให้ผู้ต้องขังได้ฝึกวิชาชีพ ได้แก่ วิชาชีพช่าง งานฝีมือ งานประดิษฐ์ และงานบริการ อาทิ การประกอบอาหาร และเครื่องดื่ม การนวดแผนไทย การเสริมสวย คาร์แคร์ เป็นต้น โดยนอกจากจะช่วยสร้างความรู้และพัฒนาฝีมือ ผูต้ อ้ งขัง ยังช่วยฝึกนิสยั การทำ�งาน สร้างความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย ความเอาใจใส่ ความขยันหมั่นเพียร และความอดทนให้กับผู้ต้องขัง เพิ่มโอกาสในการได้รับ การจ้างงานจากผู้ประกอบการเมื่อได้รับการปล่อยตัว จากเรือนจำ� สำ�หรั บ ความพิ เ ศษของการจั ด งานนิ ท รรศการ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร าชทั ณ ฑ์ ค รั้ ง นี้ คื อ การเปิ ด ตั ว ช่ อ งทาง การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ผ่านระบบ E – commerce ภายใต้แบรนด์ “Good Products, Good People” เพื่อสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลในการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 โดยประชาชนสามารถเลือกซื้อสินค้า ได้สะดวกมากขึน้ ด้วยช่องทางทีห่ ลากหลาย ได้แก่ เว็บไซต์ www.gpgpthai.com แอปพลิเคชันไลน์ (ไอดี gpgpthai) เฟซบุก๊ (E-Commerce ราชทัณฑ์) และหมายเลขโทรศัพท์

22

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


บนความเคลื่อนไหว

09 8827 3562 ซึ่งจะช่วยนำ�สินค้าและผลิตภัณฑ์ไปสู่ ผูบ้ ริโภคได้มากขึน้ อีกทัง้ เป็นการแนะนำ�สินค้าให้เป็นทีร่ จู้ กั ไปสู่สากล นอกจากนี้ ภายในงานได้นอ้ มนำ�ผลิตภัณฑ์ตามแนวคิด เศรษฐกิ จ พอเพี ย งจากโครงการกำ�ลั ง ใจในพระดำ�ริ พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา มาร่ ว มจั ด จำ�หน่ า ย และจั ด นิ ท รรศการแสดงผล การพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย ผู้ ต้ อ งขั ง ตามแนวคิ ด “ประชา ร่วมรัฐพัฒนาคนดีสู่สังคม” พร้อมทั้งการมอบโล่รางวัล การแข่งขันทักษะฝีมือผู้ต้องขัง 7 สาขา ได้แก่ 1.สาขา ช่ า งประกอบเครื่ อ งเรื อ นไม้ 2.สาขาช่ า งก่ อ สร้ า ง (งานก่ออิฐ-ฉาบปูน) 3.สาขาช่างก่อสร้าง (งานปูกระเบือ้ ง) 4.สาขาช่ า งไฟฟ้ า ภายในอาคาร 5.สาขาผู้ป ระกอบ อาหาร 6.สาขาผูใ้ ห้บริการอาหารและงานจัดเลีย้ ง 7.สาขา ช่างเสริมสวยและจัดแต่งทรงผม และการมอบรางวัล การประกวดการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร าชทั ณ ฑ์ แ นวใหม่ 5 สาขา ได้แก่ 1.สาขางานโลหะ 2.สาขางานโลหะ เฟอร์นิเจอร์ 3.สาขางานวัสดุธรรมชาติ ประเภทของใช้ ตกแต่งบ้าน 4.สาขางานวัสดุธรรมชาติ ประเภทเครือ่ งเรือน และ 5.สาขางานผ้า โดยตลอดการจัดงานมีกิจกรรม การแสดงของผู้ ต้ อ งขั ง บนเวที ซึ่ ง ช่ ว ยสร้ า งสี สั น และความสนุกสนานให้กับผู้ร่วมงานได้เป็นอย่างยิ่ง ถือว่าเป็นงานสำ�คัญทีป่ ระกาศให้รวู้ า่ กรมราชทัณฑ์ ยังคงยึดมั่นแนวทางพัฒนาทักษะอาชีพให้แก่ผู้ต้องขัง อย่ า งต่ อเนื่ อง ด้ ว ยวิ สัย ทั ศ น์ อัน กว้ า งไกล เล็งเห็น ถึงความสำ�คัญของชีวิตผู้หลงผิด ให้มีโอกาสแสดง ศักยภาพพร้อมกับพัฒนาตนเองเพื่อกลับตัวกลับใจ เป็นคนดี อันเป็นการร่วมกันรวมพลังเปลีย่ นแปลงสังคม ให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

“กระทรวงยุตธิ รรม

พร้อมสนับสนุนให้ผตู้ อ้ งขัง กลับคืนสูส่ งั คม และใช้ชวี ติ หลังพ้นโทษได้อย่างปกติสขุ อันเป็นการ “เปลีย่ นภาระ เป็นพลัง” คืนคนดีสสู่ งั คม

ได้อย่างแท้จริง”

Justice Magazine Ministry of Justice

23


บนความเคลื่อนไหว

ผลการประเมิน คุณธรรม และ ความโปร่งใส (ITA) ประจำ�ปี 2559 กระทรวงยุตธิ รรม ยึดมัน่ ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันทุกรูปแบบ พร้อมประกาศเจตจ�ำนงในการบริหารงาน ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และมุ่งด�ำเนินนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น เป็ น ปั ญ หาใหญ่ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คมไทยมายาวนาน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และความมัน่ คงของประเทศ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาความเหลื่ อ มล้ํ า ในสั ง คม และเกิ ด อุ ป สรรคต่ อ การพั ฒ นา ขีดความสามารถของประเทศในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการทุจริต ภายในหน่วยงานภาครัฐ เพราะจะส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเชือ่ มัน่ ในสายตา ของประชาคมโลก

24

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

รัฐบาลไทยจึงประกาศให้นโยบายด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตของภาครัฐเป็นวาระสำ�คัญ ทีท่ กุ หน่วยงานต้องเร่งดำ�เนินการ เพือ่ ยกระดับดัชนีการรับรู้ การทุจริต (Corruption Percepting Index : CPI) ของประเทศไทย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนภาพลักษณ์ ระดับการคอร์รปั ชันของประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก ให้มคี า่ ดัชนี สูงกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ ประเทศไทยจึงมีการพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) โดยมีแนวคิดมาจากการประเมินคุณธรรมการดาํ เนินงาน (Integrity Assessment) ขององค์การต่อต้านการทุจริต (Anti-Corruption and Civil Rights Commission : ACRC) จากสาธารณรั ฐเกาหลี และบู ร ณาการกับ ดัชนีวัดความโปร่งใสของสํานักงาน ป.ป.ช. โดยกำ�หนด ให้ เ ป็ น ดั ช นี ชี้ วั ด ความโปร่ ง ใสในหน่ ว ยงานภาครั ฐ ของประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้ทุกหน่วยงานตระหนักถึงเรื่องคุณธรรม และความโปร่งใสในการดำ�เนินงาน ตลอดจนเจ้าหน้าที่ ทุกภาคส่วนให้ความสำ�คัญในการถือปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรมเพิ่มขึ้น พร้อมทั้ง ให้หน่วยงานภาครัฐสามารถนำ�ข้อมูลผลการประเมิน ไปพั ฒ นาศั ก ยภาพองค์ ก ร เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงานได้อย่างเหมาะสม ซึง่ องค์ประกอบของการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ดังนี้  ความโปร่งใส (Transparency) ประเมินจาก ความคิดเห็นของประชาชนผู้รับบริการ หรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียตามประสบการณ์ในการรับบริการจากหน่วยงาน ภาครัฐ และจากข้อมูลเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Base) บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงในการ ดําเนินงานของหน่วยงาน


บนความเคลื่อนไหว

 ความรับผิดชอบ (Accountability) ประเมินจาก ความคิดเห็นของประชาชนผูร้ บั บริการหรือผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ตามประสบการณ์ในการรับบริการจากหน่วยงานภาครัฐ  การทุจริตคอร์รปั ชัน (Corruption) ประเมินจาก การรั บ รู้ แ ละประสบการณ์ โ ดยตรงของประชาชน ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ ของหน่วยงานภาครัฐ  วัฒนธรรมคุณธรรม (Integrity Culture) ประเมินจากความคิดเห็นของเจ้าหน้าทีภ่ ายในหน่วยงาน ภาครัฐ และจากข้อมูลเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Base) บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงในการ ดําเนินงานของหน่วยงาน  คุณธรรมในการทํางาน (Work Integrity) ประเมินจากความคิดเห็นของเจ้าหน้าทีภ่ ายในหน่วยงาน ภาครัฐที่มีต่อการดําเนินงานของหน่วยงาน สำ�หรับผลการประเมิน ITA ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ประจำ�ปี 2559 ที่อยู่ในเกณฑ์ระดับ สู ง มาก มี จำ�นวนทั้ ง สิ้ น 6 หน่ ว ยงาน ประกอบด้ ว ย กรมสอบสวนคดีพิเศษ 86.14 คะแนน สำ�นักงานกิจการ ยุติธรรม 83.83 คะแนน กรมบังคับคดี 83.30 คะแนน สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 82.65 คะแนน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน 81.79 คะแนน กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ 80.05 คะแนน และอยู่ในเกณฑ์ระดับสูง จำ�นวนทั้งสิ้น 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 79.95 คะแนน สำ�นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 79.37 คะแนน กรมคุมประพฤติ 79.08 คะแนน กรมราชทัณฑ์ 72.80 คะแนน ทั้งนี้ กรมสอบสวนคดีพิเศษถือเป็นหน่วยงานภาครัฐ ระดั บ กรมที่ มี ผ ลคะแนนการประเมิ น คุ ณ ธรรม และความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ระดั บ สู ง มาก เป็ น อั น ดั บ ที่ 9 ของประเทศ จากจำ�นวนหน่วยงานภาครัฐระดับกรมทัง้ สิน้ 148 หน่วยงาน โดยหากเทียบกับผลคะแนนเมือ่ ปี 2558 ซึง่ ได้ 75.47 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 118 ถื อ ว่ า กระทรวงยุ ติ ธ รรมประสบความสำ�เร็ จ เป็นอย่างยิ่งในการยกระดับคุณภาพการดำ�เนินงาน ของหน่ ว ยงานภายใต้ ห ลั ก คุ ณ ธรรม ความโปร่ ง ใส และสามารถตรวจสอบได้ นำ�มาซึ่งความภาคภูมิใจ ให้ แ ก่ เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านพร้ อ มเดิ น หน้ า พั ฒ นา อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ นำ�บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูป่ ระชาชน ให้มากยิ่งขึ้นต่อไป

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ร่วมแสดงนิทรรศการผลงานด้านการปราบปราม การทุจริตในงานมหกรรมพลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต กระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมเบสท์ เวสเทิร์น พลัส แวนด้า แกรนด์ จังหวัดนนทบุรี

ประชาชนและสังคม ตืน่ ตัวและไม่ทนั ต่อการ ทุจริตทุกรูปแบบ

กระบวนการ นโยบายมีความ โปร่งใส เป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาล และเกิดผลประโยชน์ ต่อประชาชน

ดัชนีการรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย มีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ

การป้องกัน และปราบปราม การทุจริต ในประเทศไทย

(พ.ศ. 2560 – 2564)

เจตจำ�นงทางการเมือง (Political Will) ในการ ต่อต้านการทุจริตดำ�รงอยู่ อย่างต่อเนือ่ ง

กลไกและกระบวนการ ปราบปรามการทุจริต มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และทรงพลัง

กลไกและกระบวนการป้องกัน การทุจริตมีความเข้มแข็ง และเท่าทันต่อสถานการณ์ การทุจริต

วงล้ออนาคตของการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2560 – 2564 Justice Magazine Ministry of Justice

25


บนความเคลื่อนไหว

ศูนย์บริการร่วม กระทรวงยุติธรรม

“สะดวก รวดเร็ว เสมอภาค”

มุมมองของประชาชนผูร้ บั บริการ จากศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุตธิ รรม

ปัจจุบนั ประชาชนสามารถขอรับบริการจากหน่วยงานภาครัฐได้สะดวก ครบทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะขอทราบข้อมูล ขออนุญาต ขออนุมัติ หรือขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใด ก็สามารถติดต่อผ่าน ศูนย์บริการร่วมของหน่วยงานนั้นเพียงแห่งเดียว โดยเจ้าหน้าที่ จะรับเรื่องราวและพิจารณาส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมประสานให้ผรู้ บั บริการติดต่อกับหน่วยงานโดยตรงต่อไป ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม มุ่งเน้นการดำ�เนินงานภายใต้มาตรฐาน “สะดวก รวดเร็ว เสมอภาค” ซึง่ นอกจากจะเป็นจุดรวมงานบริการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และเป็นหน่วยงานที่รับเรื่องราวด้านกระบวนการ ยุตธิ รรมจากประชาชนแล้ว ยังมีบทบาทในการให้บริการคำ�ปรึกษาทางกฎหมาย การรับเรือ่ งราวร้องเรียน ร้องทุกข์ แจ้งเบาะแสสังคม โดยมีเจ้าหน้าทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญ ทางกฎหมายประจำ�อยูท่ ส่ี ำ�นักงาน ถ้าหากประชาชนได้รบั ความเดือดร้อน ไร้ทพ่ี ง่ึ หรือพบเห็นความไม่ยตุ ธิ รรม สามารถติดต่อผ่านศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุตธิ รรม ได้ทอ่ี าคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ชัน้ 2 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2141 5100

26

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

นางวันเพ็ญ (นามสมมติ) พร้อมบุตรชาย ชาวจังหวัดเพชรบุรี เดินทางมาขอรับความช่วยเหลือ จากกระทรวงยุ ติ ธ รรม หลั ง จากที่ บุ ต รชาย ถู ก กลุ่ม วั ย รุ่น ในพื้น ที่ทำ�ร้ า ยร่ า งกายจนได้ รับ บาดเจ็บสาหัส เมือ่ ปี 2552 แต่เจ้าหน้าทีต่ ำ�รวจ ละเว้นข้อกล่าวหากับผู้ต้องหาบางส่วน โดยอ้าง เหตุผลว่าผู้ต้องหาเป็นเยาวชน ทำ�ให้ไม่ม่นั ใจว่า จะได้รบั ความยุตธิ รรมและความปลอดภัย จงึ ขอให้ กระทรวงยุติธรรมช่วยติดตามคดีและตรวจสอบ การทำ�งานของเจ้าหน้าทีต่ ำ�รวจ นางวันเพ็ญเล่าถึงความตั้งใจในการเดินทาง มาศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรมครั้งนี้ว่า “มี ค วามเชื่ อ มั่ น ว่ า กระทรวงยุ ติ ธ รรมจะให้ ความเป็นธรรมกับประชาชนได้จริง เราต้องการ ให้เรื่องเข้าสู่หน่วยงานกลาง เพราะที่ผ่านมา ได้เดินทางไปร้องเรียนกับหน่วยงานอืน่ ๆ แต่ไม่ได้ รับความช่วยเหลือเท่าทีค่ วร ประชาชนส่วนใหญ่ ทีไ่ ม่รกู้ ฎหมาย เมือ่ เดือดร้อนก็ไม่รวู้ า่ จะหันไปพึง่ พาใคร จึงรู้สึกดีท่ีกระทรวงยุติธรรม จัดตั้งหน่วยงาน ช่วยเหลือประชาชนโดยตรง ทำ�ให้รู้สึกอุ่นใจ ว่ายังมีหนทางได้รบั ความช่วยเหลือ” สำ�หรั บ การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เบื้ อ งต้ น กระทรวงยุ ติ ธ รรมจะใช้ เ งิ น กองทุ น ยุ ติ ธ รรม เพือ่ ช่วยเหลือค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินคดีและเป็น หน่วยงานกลางประสานเรื่องราวไปยังทุกฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ เร่งดำ�เนินการช่วยเหลือต่อไป


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

กรมบังคับคดี

เปิดมิตใิ หม่ขายทอดตลาด ด้วยระบบ

อิเล็กทรอนิกส์ กรมบังคับคดี ได้เปิดประมูลขาย ทอดตลาดทรั พ ย์ ด้ว ยวิ ธีท าง อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Offering Auction เพือ่ ให้ประชาชนเข้าถึง บริการของรัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าเดินทาง อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ ช่องทางในการ เสนอราคาซื้อ ทรั พ ย์ จ ากการ ขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี

เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา

สงขลา รัฐบาลให้ความสำ�คัญกับทิศทางนโยบายการพัฒนา และขับเคลือ่ นประเทศไทย 4.0 เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการปรับโมเดลเศรษฐกิจของประเทศออกจาก กับดักประเทศรายได้ปานกลาง จากโมเดลประเทศไทย 1.0 ที่ เ น้ น ภาคการเกษตร ไปสู่ โ มเดลประเทศไทย 4.0 หรือเศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม (Value -Based Economy) ด้วยการผนึกกำ�ลังประชารัฐเพื่อขับเคลื่อน ประเทศไทย พร้อมเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ด้วยการสร้างความเข้มแข็ง ลดความเหลือ่ มลาํ้ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมมุ่งมั่น สร้ า งกลไกกติ ก าให้ เ กิ ด ประโยชน์ อ ย่ า งเป็ น ธรรม และเท่ า เที ย มกั น แก่ ป ระชาชนทุ ก คน โดยมุ่ ง เน้ น ให้ หน่วยงานของภาครัฐปฏิบตั งิ านโดยการนำ�ระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีใหม่มาช่วยปรับปรุงกระบวนการปฏิบตั งิ าน ในการให้บริการประชาชน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงงานบริการของหน่วยงานภาครัฐได้อย่างทั่วถึง และเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น กรมบังคับคดี กระทรวงยุตธิ รรม ตระหนักถึงแนวทาง การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่ออำ�นวยความสะดวก

และสร้างโอกาสให้แก่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ด้านงานยุติธรรม ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และประหยัด จึงได้เปิดมิติใหม่ของการขายทอดตลาดผ่านโครงการ Open House ซึ่ ง เป็ น ระบบนำ�ร่ อ งการประมู ล ขายทอดตลาดทรัพย์ดว้ ยวิธที างอิเล็กทรอนิกส์ (e - Offering Auction Pilot Project System) โดยเป็นระบบการเสนอ คำ�สั่งซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดทางอิเล็กทรอนิกส์ e - Offering Auction ซึง่ กรมบังคับคดี ได้เปิดนำ�ร่อง ขายทอดตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นคดี แ พ่ ง เฉพาะเขต กรุงเทพมหานคร และใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสงขลา และจังหวัดขอนแก่น Justice Magazine Ministry of Justice

27


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

สำ� ห รั บ วิ ธี ก า ร แ ล ะ ขั้ น ต อ น ข อ ง ก า ร ป ร ะ มู ล ขายทอดตลาดทรัพย์ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ สามารถ ดำ�เนินการได้ ดังนี้

นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี สำ�หรั บ โครงการ Open House “ระบบนำ�ร่ อ ง การประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์” (e-Offering Auction Pilot Project System) เปิดตัวครัง้ แรก เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องขายทอดตลาด อาคารอสีตพิ รรษ กรมบังคับคดี กรุงเทพฯ โดยมีนางสาวรืน่ วดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี เป็นประธานในพิธีเปิดฯ ทั้ ง นี้ ภ ายในงานได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู้ ส นใจจากทุ ก ภาคส่ ว น ประกอบด้วย ส่วนราชการต่างๆ สถาบันการเงิน ผู้ซื้อทรัพย์ และประชาชนทั่วไป เข้าชมการทดสอบระบบการส่งคำ�สั่ง ซื้อทรัพย์สินในการขายทอดตลาดผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อนำ�มา ปรับปรุงและพัฒนาระบบต่อไป โดยมีผู้เข้าร่วมทดสอบ จำ�นวนกว่า 160 คน นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล อธิบดีกรมบังคับคดี กล่าวว่า โครงการดังกล่าวจัดขึ้นเพื่ออำ�นวยความสะดวก ในการให้บริการแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงบริการของรัฐได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ช่วยลดภาระ ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเดิ น ทาง อี ก ทั้ ง เป็ น การเพิ่ ม ช่ อ งทาง การเสนอราคาซื้ อ ทรั พ ย์ จ ากการขายทอดตลาดของ กรมบังคับคดี ให้ประชาชนทีไ่ ม่สะดวกเดินทางมายังสถานที่ ขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี สามารถเสนอราคาผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ได้ใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด นครราชสีมา จังหวัดสงขลา และจังหวัดขอนแก่น เป็นต้น นอกจากนี้ เมือ่ วันที่ 6 มีนาคม 2559 อธิบดีกรมบังคับคดี ได้ เ ปิ ด โครงการ Open House “ระบบนำ�ร่ อ งการ ประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์” (e-Offering Auction Pilot Project System) ครั้งที่ 2 ณ สำ�นักงานบังคับคดีจังหวัดสงขลา อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยมีผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมทดสอบ จำ�นวน กว่า 100 คน

28

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

1. เริ่มจากตรวจสอบจำ�นวนเครื่องคงเหลือของแต่ละ สำ�นั ก งานเครื อ ข่ า ยจากเว็ บ ไซต์ ข องกรมบั ง คั บ คดี ได้ ที่ www.led.go.th 2. ผู้ที่สนใจจะเสนอราคาสามารถติดต่อขอจองเครื่อง อุปกรณ์ที่สำ�นักงานเครือข่าย (Node) และเมื่อถึงวันจอง ขายทอดตลาด ผู้จองต้องแสดงตัวก่อนการขายไม่น้อยกว่า 30 นาที 3. เจ้าพนักงานบังคับคดีจะแจ้งสิทธิ หน้าที่ รวมถึงคำ�เตือน และแจ้งให้รับทราบเงื่อนไขในการเสนอราคา 4. ผู้ที่สนใจจะเสนอราคาต้องลงนามในสัญญาต่อหน้า เจ้าพนักงานบังคับคดีในการจองเครื่องอุปกรณ์ โดยสามารถ จองได้กอ่ นการขายทอดตลาดในแต่ละนัดเท่านัน้ ไม่สามารถ จองข้ามนัดที่ยังไม่มีการขายทอดตลาด หรือจองครั้งเดียว เพื่อจะเสนอราคาในหลายนัดได้ ส่วนการวางหลักประกันการเสนอราคา การทำ�สัญญา และชำ�ระราคาส่วนทีเ่ หลือก็เป็นไปตามวิธกี ารขายทอดตลาด ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเมื่ อ วั น ที่ 5 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 กรมบั ง คั บ คดี ได้เปิดประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ ครั้งที่ 3 ด้วยวิธีการ เสนอราคาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e – Offering Auction ไปยังสำ�นักงานบังคับคดีจงั หวัดเชียงใหม่ สำ�นักงานบังคับคดี จังหวัดขอนแก่น สำ�นักงานบังคับคดีจังหวัดนครราชสีมา และสำ�นักงานบังคับคดีจงั หวัดสงขลา ทัง้ นี้ี ได้กำ�หนดประมูลฯ ผ่านระบบ e – Offering Auction ในวันอาทิตย์ของทุกสัปดาห์ โดยกำ�หนดให้มกี ารประมูลผ่านระบบ e – Offering Auction ดังนี้


คุยเฟื่องเรื่องยุติธรรม

1. สำ�นักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 4 กำ�หนด ขายทอดตลาดทรัพย์ จำ�นวน 6 นัด ณ ห้องขายทอดตลาด อาคารอสีติพรรษ กรมบังคับคดี กรุงเทพมหานคร ดังนี้ ▶ นัดที่ 1 เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2560 โดยประกาศ ขายทอดตลาดทรั พ ย์ สิ น จำ�นวน 30 คดี ทุ น ทรั พ ย์ 74,723,723.75 บาท ผ่านเครือข่ายสำ�นักงานบังคับคดี จังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา และสงขลา โดยมีโจทก์ ของดการบังคับคดี จำ�นวน 3 คดี คงเหลือคดีพร้อมขาย จำ�นวน 27 คดี 30 รายการ แบ่งเป็นที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง จำ�นวน 21 คดี 23 รายการ ทีด่ นิ ว่างเปล่าจำ�นวน 3 คดี 4 รายการ ห้องชุด จำ�นวน 3 คดี 3 รายการ ซึ่งมีผู้สนใจเข้าฟังการขาย จำ�นวน 40 คน และมี ผู้ ล งชื่ อ ประมู ล ซื้ อ ที่ ก รุ ง เทพฯ จำ�นวน 14 ราย มีผู้ใช้เครื่อง EDC จำ�นวน 5 ราย เป็นเงิน 450,000 บาท ทั้งนี้ สามารถขายได้จำ�นวน 2 คดี จำ�นวนเงิน 3,480,000 บาท และผูกพัน จำ�นวน 3 คดี จำ�นวนเงิน 11,240,000 บาท รวมขายได้ทงั้ สิน้ จำ�นวน 5 คดี เป็นจำ�นวน เงินทั้งสิ้น 14,720,000 บาท ▶ นัดที ่ 2 ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 ได้มกี ารประกาศ ขายทอดตลาดทรัพย์สิน จำ�นวน 6 คดี ราคาขายได้รวม จำ�นวน 34,040,000 บาท ผูกพันราคา จำ�นวน 2 เรื่อง ราคาผูกพันรวม 5,290,000 บาท ▶ นัดที่ 3 วันที่ 19 มีนาคม 2560 ▶ นัดที่ 4 วันที่ 9 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 5 วันที่ 30 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 6 วันที่ 21 พฤษภาคม 2560 2. สำ�นั ก งานบั ง คั บ คดี แ พ่ ง กรุ ง เทพมหานคร 2 และ 5 กำ�หนดขายทอดตลาดทรั พ ย์ จำ�นวน 6 นั ด ณ ห้องขายทอดตลาด อาคารอสีติพรรษ กรมบังคับคดี กรุงเทพมหานคร ดังนี้ ▶ นัดที่ 1 วั น ที่ 19 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 ผลการขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e - Offering Auction ผ่านเครือข่ายสำ�นักงานบังคับคดีจังหวัดเชียงใหม่

ขอนแก่ น นครราชสี ม า และสงขลา มี ก ารประกาศ ขายทอดตลาดทรัพย์สิน จำ�นวน 3 คดี ราคาขายได้ รวม 7,260,000 บาท ผูกพันราคา จำ�นวน 2 เรือ่ ง ราคาผูกพัน รวม 3,290,000 บาท ▶ นัดที่ 2 วันที่ 12 มีนาคม 2560 ▶ นัดที่ 3 วันที่ 2 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 4 วันที่ 23 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 5 วันที่ 14 พฤษภาคม 2560 ▶ นัดที่ 6 วันที่ 4 มิถุนายน 2560 3. สำ�นั ก งานบั ง คั บ คดี แ พ่ ง กรุ ง เทพมหานคร 1 และ 6 กำ�หนดขายทอดตลาดทรัพย์ จำ�นวน 6 นัด ณ ห้องขายทอดตลาด อาคารอสีตพิ รรษ กรมบังคับคดี กรุงเทพมหานคร ดังนี้ ▶ นัดที่ 1 วันที่ 12 มีนาคม 2560 ▶ นัดที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 3 วันที่ 23 เมษายน 2560 ▶ นัดที่ 4 วันที่ 14 พฤษภาคม 2560 ▶ นัดที่ 5 วันที่ 4 มิถุนายน 2560 ▶ นัดที่ 6 วันที่ 25 มิถุนายน 2560 อาจกล่าวได้ว่า การประมูลขายทอดตลาดทรัพย์ด้วยวิธี ทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นอีกหนึง่ ทางเลือกของผูส้ นใจทีป่ ระสงค์จะซือ้ ทรัพย์จากการขายทอดตลาด แต่ไม่สะดวกในการเดินทางมายัง กรมบังคับคดี สามารถจะยืน่ เสนอราคาได้ทส่ี ำ�นักงานบังคับคดี ที่เป็นเครือข่ายได้ อันจะเป็นการเพิ่มช่องทางการเสนอราคา ซือ้ ทรัพย์จากการขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี ทัง้ นี้ ได้กำ�หนด ให้มกี ารประมูลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e - Offering Auction ขายทุกวันอาทิตย์ สามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติมที่ www.led.go.th หรือสอบถามทางโทรศัพท์หมายเลข 0 2881 4999 และสายด่วน กรมบังคับคดี 1111 กด 79

Justice Magazine Ministry of Justice

29


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตอินเดียประจำ� ประเทศไทย นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับ Mr. Bhagwant Singh Bishnoi เอกอัครราชทูต วิสามัญผู้มีอำ�นาจเต็มแห่งสาธารณรัฐอินเดียประจำ�ประเทศไทย พร้อมคณะ เข้าเยี่ยมคารวะเนื่องในโอกาสรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรมเข้ารับตำ�แหน่งหน้าที่ใหม่ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

ร่วมแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสครบรอบ 14 ปี หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ร่วมแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสครบรอบ 14 ปีหนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ พร้อมทั้ง ร่วมบริจาคเงินสมทบทุนมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา โดยมี นายวุฒิ นนทฤทธิ์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์โพสต์ทเู ดย์ เป็นผูร้ บั มอบ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ

ประชุมกำ�หนดหลักเกณฑ์กฎหมายการให้บริการด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุม คณะกรรมการกำ�กั บ การให้ บ ริ ก ารด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ครั้ ง ที่ 1/2560 เพื่ อ พิ จ ารณาร่ า งกฎหมายลำ�ดั บ รองที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การให้ บ ริ ก ารด้ า น นิติวิทยาศาสตร์ จำ�นวน 3 ฉบับ ประกอบด้วย 1. ร่างข้อบังคับคณะกรรมการกำ�กับการให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขในการเก็บรักษา การทำ�ลายข้อมูล และการเปิดเผย ข้อมูลที่ได้มาจากการให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. .... 2. ร่ า งระเบี ย บคณะกรรมการกำ�กั บ การให้ บ ริ ก ารด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. .... 3. ร่างประกาศคณะกรรมการกำ�กับการให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ เรื่อง กำ�หนดอัตราค่าธรรมเนียม หลักเกณฑ์และวิธีการงดหรือลดค่าธรรมเนียม การให้บริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ พ.ศ. .... ทัง้ นี้ เพือ่ กำ�หนดหลักเกณฑ์ทเี่ ป็นมาตรฐานสำ�หรับการนำ�กฎหมายไปบังคับใช้ ซึ่งมีเป้าหมายให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ ได้อย่างเท่าเทียม ณ ห้องประชุมกระทรวงยุตธิ รรม 1 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

30

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำ�นาจเต็ม ราชอาณาจักรกัมพูชาประจำ�ประเทศไทย นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับ H.E. Mrs. Eat Sophea เอกอัครราชทูตวิสามัญ ผู้มีอำ�นาจเต็มราชอาณาจักรกัมพูชาประจำ�ประเทศไทย พร้อมคณะ เข้าเยีย่ มคารวะรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรมในโอกาสพ้นจากหน้าที่ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

พิธีมอบรางวัลด้านการป้องกันการทุจริตของ สำ�นักงาน ป.ป.ช. ประจำ�ปี 2559 นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วมพิธี มอบรางวัลด้านการป้องกันการทุจริตของสำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ประจำ�ปี 2559 ภายใต้แนวคิด “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทัง้ ชาติตา้ นทุจริต : Zero Tolerance & Clean Thailand” เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ ผูป้ ระพฤติตน ชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งองค์กรภาครัฐ ภาครัฐวิสาหกิจ ภาคธุ ร กิ จ เอกชนและนิ ติ บุ ค คลอื่ น ๆ ที่ ส นั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน ด้ า นการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ตลอดจนองค์ ก รที่ มี การบริหารจัดการอย่างโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลบรรษัทภิบาล ณ สำ�นักงาน ป.ป.ช. จังหวัดนนทบุรี

กระทรวงยุตธิ รรม โดยกรมคุมประพฤติ ยกระดับกลุม่ ประเทศ CLMV เพือ่ พัฒนาการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระทำ�ผิดในชุมชน นายวิทยา สุริยะวงค์ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน การฝึกอบรมหลักสูตร Third Country Training Programme (TCTP) for Development of Effective Community-based Treatment of Offenders in the CLMV Countries เพื่อให้ กลุ่มประเทศที่อยู่ระหว่างพัฒนางานคุมประพฤติซึ่งยังไม่มีระบบ ที่ เ ป็ น ทางการ หรื อ กลุ่ ม ประเทศ CLMV ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีความเข้าใจถึงความสำ�คัญของการนำ�หลักปฏิบัติต่อผู้กระทำ�ผิด ในชุมชนมาใช้ อันเป็นการยกระดับการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระทำ�ผิดในชุมชน ให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ตลอดจนบูรณาการความร่วมมือ เพือ่ บริหารจัดการผูก้ ระทำ�ผิดร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ Justice Magazine Ministry of Justice

31


คนยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

“ศิรินทร์ยา สิทธิชัย” เลขาธิการ ป.ป.ส. กับนโยบายและ

ทิศทางการแก้ไข ปัญหายาเสพติด ของประเทศไทย

“การแก้ ไขปัญหายาเสพติดโดยวิธกี ารปราบปราม ด้วยความรุนแรง การลงโทษจำ�คุกนัน้ เป็นทีท่ ราบดีวา่ ไม่สามารถทำ�ให้ยาเสพติดหมดไปได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น หน่วยงานที่รับผิดชอบอย่างสำ�นักงาน ป.ป.ส. จึงต้องกำ�หนดยุทธศาสตร์และมาตรการ ต่างๆ ที่จะลดจำ�นวนผู้เสพลง เมื่อลดจำ�นวน ผู้เสพได้ ความต้องการยาเสพติดย่อมลดน้อย ลงไปด้วย”

32

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

คำ�กล่าวข้างต้นของนายศิรินทร์ยา สิทธิชัย เลขาธิการ ป.ป.ส. ถือเป็นภารกิจที่สำ�คัญยิ่งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นวาระแห่งชาติ โดย เลขาธิการ ป.ป.ส. อธิบายเพิ่มเติมว่า สำ�นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติ ด หรือ สำ�นักงาน ป.ป.ส. เป็นฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด โดยมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน โดยสำ�นักงาน ป.ป.ส.จะรับนโยบายจากคณะกรรมการฯ มาเป็ น แนวทางในการดำ�เนิ น งานผ่ า นกลไกการขั บ เคลื่ อ นงาน การแก้ไขปัญหายาเสพติดของศูนย์อำ�นวยการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติ ด แห่ ง ชาติ (ศอ.ปส.) ซึ่ ง มี น ายสุ ว พั น ธุ์ ตั น ยุ ว รรธนะ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธาน โดยกลไก


คนยุติธรรม

ในการดำ�เนิ น งานของ ศอ.ปส. จะมี ศู น ย์ อำ�นวยการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติด ของแต่ละกระทรวงที่อยู่ ใ นส่ ว นกลาง และในระดับพื้นที่จะมีศูนย์ที่เป็นกลไกหลักในการดำ�เนินนโยบาย ป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด คื อ ศู น ย์ อำ�นวยการป้ อ งกั น และปราบปรามยาเสพติดจังหวัด (ศอ.ปส.จ.) มีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้อำ�นวยการศูนย์ฯ และในแต่ละอำ�เภอจะมีศูนย์ปฏิบัติการ ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำ�เภอ (ศป.ปส.อ.) โดยมีนายอำ�เภอ เป็นผู้อำ�นวยการศูนย์ฯ สำ�หรับนโยบายหลักในการดำ�เนินงานที่มอบให้ศูนย์ฯ ในพื้นที่ คือ การลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน ภายใต้ “แผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมูบ่ า้ น/ชุมชนมัน่ คง ปลอดภัยยาเสพติด” ซึ่งคณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ดำ�เนินการในปี พ.ศ. 2559-2560 มุ่งเน้น การปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นและชุมชน จำ�นวน 81,905 หมูบ่ า้ น/ชุมชน โดยทัง้ หมดจะถูกกำ�หนดสถานะปัญหายาเสพติดออกเป็นระดับรุนแรง ปานกลาง เบาบาง หรือไม่มีปัญหา เพื่อจะได้ใช้มาตรการได้ตรงกับ สถานการณ์ของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน สำ�หรับมาตรการการแก้ไข ปัญหายาเสพติดมี 3 มาตรการ คือ 1.มาตรการด้านการป้องกัน ยาเสพติด 2.มาตรการด้านการปราบปรามยาเสพติด และ 3.มาตรการ ด้านการบำ�บัดรักษาผู้ติดยาเสพติด สำ�หรับการดำ�เนินการด้านการป้องกันยาเสพติด มีนโยบาย เน้ น 3 กลุ่ ม เป้ า หมาย คื อ 1.กลุ่ ม เยาวชนในสถานศึ ก ษา และนอกสถานศึ ก ษา 2.กลุ่ ม ผู้ ใช้ แรงงานในสถานประกอบการ และ 3.กลุ่มประชาชนหมู่บ้าน ซึ่งมีกิจกรรมเสริมสร้างการป้องกัน ยาเสพติด เช่น หมูบ่ า้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน โครงการทูบนี มั เบอร์วนั ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี โครงการ กำ�ลังใจในพระดำ�ริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เป็นต้น ซึ่งการป้องกันเป็นแนวทางหลักในการที่จะทำ�ให้การแพร่ระบาด ของยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนลดน้อยลง ทีผ่ า่ นมาการปราบปรามเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขปัญหา ได้อย่างยั่งยืน หมู่บ้าน/ชุมชนยังมีการซื้อขายยาเสพติด จากการที่ ประเทศไทยได้เข้าร่วมการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษ ว่าด้วยปัญหายาเสพติดโลก (United Nations General Assembly Special Session 2016 – UNGASS 2016) ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยประเทศสมาชิกสหประชาชาติส่วนใหญ่มองว่า การแก้ ปั ญ หายาเสพติ ด โดยการปราบปรามด้ ว ยความรุ น แรง การลงโทษจำ�คุก หรือประหารชีวิต เป็นวิธีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ฉะนั้นจึงต้องตระหนักถึงการทำ�ให้จำ�นวนผู้เสพลดลงด้วยวิธีการ สาธารณสุข โดยดูแลเรือ่ งสุขภาพอนามัยของผูเ้ สพ มองผูเ้ สพเป็นผูป้ ว่ ย ที่จะต้องได้รับการดูแลจากแพทย์ และเมื่อลดจำ�นวนผู้เสพลงได้ ความต้องการยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนย่อมน้อยลง ขณะนี้ได้จัดทำ�ร่างประมวลกฎหมายยาเสพติด ซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้ เ ห็ น ชอบให้ ร วมกฎหมายยาเสพติ ด ที่ มี จำ�นวน 7 ฉบั บ เป็ น ประมวลกฎหมายฉบั บ เดี ย วโดยอยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณา

ของสำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแนวทางของกฎหมายฉบับนี้ คือ ปรับการลงโทษผู้กระทำ�ความผิดให้เหมาะสมกับพฤติการณ์ โดยแบ่งกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มเหยื่อ หมายถึง ผู้เสพและผู้ค้ารายย่อย กลุ่มนี้ถูกจับกุม จำ�นวนมาก ทำ�ให้เกิดปัญหานักโทษล้นคุก ซึ่งจะเน้นให้กลุ่มนี้เข้าสู่ กระบวนการบำ�บั ด ในระบบสมั ค รใจ ถึ ง แม้ มี โ ทษทางอาญา แต่จะไม่ใช้โทษจำ�คุกแต่หากไม่เข้าสูก่ ระบวนการบำ�บัดจะมีมาตรการ การบังคับอื่นๆ ทดแทน เช่น มาตรการทางสังคมหรือทางปกครอง 2. กลุม่ แรงงาน คือ กลุม่ รับจ้างขนยาเสพติด โดยกลุม่ นีบ้ างส่วน ใช้ยาเองด้วย จึงจัดเป็นเอเย่นต์ขนาดกลาง อาจต้องกำ�หนดโทษ ทางอาญา แต่เปิดช่องให้อัยการมีอำ�นาจชะลอการฟ้องคดีต่อศาล แลกกับคำ�รับสารภาพที่ซัดทอดหรือนำ�ไปสู่การจับกุมผู้ค้ารายใหญ่ เมื่อกลุ่มนี้เข้าสู่กระบวนการชะลอฟ้องจะนำ�ตัวเข้ารับการบำ�บัด และฝึกอาชีพเหมือนกลุ่มแรก 3. ผู้ ค้ า รายใหญ่ เป็ น กลุ่ ม ผู้ ค้ า ระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ ภาค และระดับชาติ กลุ่มนี้จะใช้มาตรการเข้มทางกฎหมาย และมีโทษ อาญาสูง ประโยชน์ของการปรับกฎหมายฉบับนีค้ อื จะทำ�ให้ผทู้ ตี่ อ้ งเข้าไป อยู่ในเรือนจำ�ลดลงเพราะการนำ�ผู้เสพยาเสพติดส่งเข้าเรือนจำ�ไม่ใช่ การแก้ปัญหาที่ถูกต้องทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขจะเข้ามาดูแล การบำ�บั ด รั ก ษาและฟื้ น ฟู ผู้ ป่ ว ยยาเสพติ ด โดยเน้ น การพั ฒ นา คุณภาพของศูนย์คดั กรองยาเสพติดซึง่ จะแบ่งผูเ้ สพหรือผูใ้ ช้ยาเสพติด ออกเป็ น 3 กลุ่ ม คื อ 1. กลุ่ ม ผู้ ใช้ ห มายถึ ง ผู้ ใช้ ย าเสพติ ด แบบครั้ ง คราว จึ ง ไม่ จำ�เป็ น ที่ จ ะต้ อ งไปอยู่ ใ นโรงพยาบาล หรื อ ในค่ า ยบำ�บั ด แต่ อ าจจะให้ ค วามรู้ แ ละติ ด ตามดู พ ฤติ ก รรม เพื่อไม่ให้กลับไปใช้ยาเสพติดอีก 2. กลุ่มผู้เสพแต่ไม่ถึงขั้นติดยา มีการใช้ยาเสพติดแต่ไม่ถึงขั้นที่ร่างกายถูกทำ�ลาย ซึ่งจะถูกส่งตัวไป ยังศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีหลักสูตรในการบำ�บัด 12 วัน และ 3. กลุ่มผู้ติด คือ ผู้ที่ต้องใช้ยาเสพติดตลอดเวลาซึ่งจะถูกส่งตัว เข้ารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาล โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็นผูร้ บั ผิดชอบ พัฒนาศูนย์คัดกรองให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น สำ�หรับพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 Justice Magazine Ministry of Justice

33


คนยุติธรรม

ซึง่ มีผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 16 มกราคม 2560 เป็นการแก้ไขกฎหมาย โดยปรับแก้ในเรื่องของโทษฐานผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติด ให้โทษประเภท 1 เดิมการผลิต นำ�เข้าหรือส่งออกที่ไม่ใช่การกระทำ� เพือ่ จำ�หน่าย มีโทษจำ�คุกตลอดชีวติ แต่หากกระทำ�เพือ่ จำ�หน่ายมีโทษ ประหารชีวติ สถานเดียว ซึง่ ทำ�ให้ศาลไม่สามารถใช้บทสันนิษฐานใดได้ ต้ อ งพิ พ ากษาตามตั ว บทกฎหมายทั้ ง ๆ ที่ ผู้ ที่ นำ�ยาเสพติ ด เข้ า มา เพียง 3 เม็ด ตั้งใจจะเอาเข้ามาเสพ ซึ่งการครอบครองไว้เพื่อเสพ การลงโทษจะไม่มาก แต่เมื่อเป็นการนำ�เข้ามาจากต่างประเทศจะถูก พิจารณาลงโทษด้วยการจำ�คุกตลอดชีวิตซึ่งเป็นการลงโทษที่ร้ายแรง กว่าพฤติการณ์จริง ดังนัน้ กฎหมายฉบับนีจ้ งึ ปรับบทลงโทษฐานผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 1 เป็นจำ�คุกตั้งแต่ 10 ปี - จำ�คุกตลอดชีวิต และปรับ 1 ล้านบาท - 5 ล้านบาท และ ในกรณี ก ระทำ�เพื่ อ จำ�หน่ า ยจะมี โ ทษจำ�คุ ก ตลอดชี วิ ต และปรั บ 1 ล้านบาท - 5 ล้านบาท หรือประหารชีวติ และเพิม่ การพิสจู น์พฤติการณ์ หรื อ เจตนาที่ แ ท้ จ ริ ง ของผู้ ก ระทำ�ความผิ ด ซึ่ ง จะช่ ว ยลดจำ�นวน ผู้ที่ต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำ� และให้ความเป็นธรรมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ด้านนโยบายของนายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ ม อบหมายให้ สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องสืบ สวนขยายผลจับ กุม เครือข่ายยาเสพติ ด รายสำ�คั ญ เนื่ อ งจากการจั บ กุ ม ยาเสพติ ด ที่ ผ่ า นมาส่ ว นใหญ่ เป็นการจับกุมผู้ลำ�เลียง ผู้รับจ้างขนยาเสพติด สำ�นักงาน ป.ป.ส. จึงร่วมมือกับกองบัญชาการตำ�รวจปราบปรามยาเสพติด ซึ่งเป็น หน่ ว ยงานกลางของตำ�รวจดำ�เนิ น การสื บ สวนขยายผลจั บ กุ ม เครือข่ายยาเสพติดรายสำ�คัญ เช่น คดีนายไซซะนะ แก้วพิมพา ทีข่ ยายผลถึงแหล่งทีม่ าของยาเสพติดว่าได้รบั มาจากทีไ่ หน มีการติดต่อ จากใคร ส่งเงินให้ใคร ฯลฯ ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับการสืบสวน จะนำ�มาใช้ในการขยายผลทั้งหมด โดยดำ�เนินมาตรการสมคบและ มาตรการยึดทรัพย์ ซึ่งพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปราม

34

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ผูก้ ระทำ�ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 ให้อำ�นาจกับสำ�นักงาน ป.ป.ส. พิจารณาอนุมัติจับกุมและแจ้งข้อหาสมคบและสนับสนุน หรื อ ช่ ว ยเหลื อ การกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ซึ่ ง ทั้ ง สองกรณี ถ้าเลขาธิการ ป.ป.ส. พิจารณาจากหลักฐานแล้วพบว่าเป็นข้อเท็จจริง ก็สามารถอนุมตั ใิ ห้จบั กุมได้ อีกทัง้ ยังใช้มาตรการริบทรัพย์ซงึ่ สามารถ ริบทรัพย์สินของเครือข่ายที่ถูกข้อหาสมคบนี้ หรือแม้แต่ผู้เกี่ยวข้อง มาตรการดั ง กล่ า วจึ ง ทำ�ให้ นั ก ค้ า ยาเสพติ ด เกรงกลั ว และทำ�ให้ เครือข่ายยาเสพติดรายใหญ่ลดลง ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศในการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ได้ดำ�เนินโครงการสำ�คัญ อาทิ การสกัดกั้นการลักลอบ ลำ�เลียงยาเสพติด ณ ท่าอากาศยานสากล ซึง่ ประเทศไทยเป็นผูร้ เิ ริม่ ขึน้ โดยร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ เพือ่ สกัดกัน้ ยาเสพติด ณ ท่าอากาศยานต่างๆ ซึ่งขณะนี้ทุกประเทศได้เข้ามาร่วมมือและ แลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ยังมีโครงการสกัดกัน้ ยาเสพติด ณ ท่าเรือสากล ซึง่ ประเทศอินโดนีเซียเป็นผูร้ เิ ริม่ ขึน้ โดยได้ดำ�เนินการมา 1-2 ปีแล้ว และจะมีการพัฒนาต่อไป ส่วนโครงการที่เห็นผลมากในขณะนี้ คือ โครงการแม่นํ้าโขง ปลอดภั ย ซึ่ ง ประเทศจี น เป็ น ผู้ ริ เ ริ่ ม โครงการนี้ ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2556 จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้ขออนุมตั ดิ ำ�เนินการ โครงการแม่นาํ้ โขงปลอดภัย 4 ประเทศ ได้แก่ ไทย เมียนมา ลาว และจีน ซึง่ ปรากฏว่า สามารถจับกุมยาเสพติดได้มากขึน้ และสามารถสกัดกัน้ สารเคมีที่เป็นสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติดไม่ให้นำ�ไปสู่การผลิตได้ ต่อมาจึงขยายผลโครงการแม่นํ้าโขงปลอดภัย โดยเชิญเวียดนาม และกัมพูชาเข้ามาร่วมเป็นสมาชิก ซึ่งผลจากการดำ�เนินการดังกล่าว เมือ่ วิเคราะห์แล้วมีแนวโน้มว่า หากทุกประเทศร่วมมือกันจะสามารถ ลดการผลิตยาเสพติดที่จะกระจายไปสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกได้ ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผนปฏิบัติการแม่นํ้าโขงปลอดภัย 6 ประเทศ ระยะเวลา 3 ปี (2559 - 2561) โดยในปี 2560


คนยุติธรรม

สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. ได้ เ สนอแผนปิ ด ล้ อ มสามเหลี่ ย มทองคำ� หรื อ แผนปฏิ บั ติ ก ารสามเหลี่ ย มทองคำ� ที่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ข อง สามประเทศ ได้ แ ก่ เมี ย นมา ประเทศลาว และตอนบนของ ประเทศไทย บริ เวณอำ�เภอเชี ย งแสน ซึ่ ง เป็ น จุ ด รอยต่ อ ของทั้ ง สามประเทศที่เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดใหญ่ 1 ใน 3 ของโลก ดังนั้น แผนปฏิบตั กิ ารปิดล้อมสามเหลีย่ มทองคำ�น่าจะทำ�ให้การผลิตยาเสพติด ลดลง ซึ่งแผนดังกล่าวมีวัตถุประสงค์หลัก คือ สกัดสารเคมีที่จะนำ�ไป ใช้เป็นสารตัง้ ต้นในการผลิตยาเสพติด รวมทัง้ สกัดกัน้ ยาเสพติดทีจ่ ะถูก ส่งออกจากสามเหลี่ยมทองคำ�ไม่ให้แพร่กระจายไปยังประเทศต่างๆ ตลอดจนความร่วมมือการขยายผลเพื่อจับกุมเครือข่ายข้ามชาติ และการติดตามผู้หลบหนีหมายจับ อย่างไรก็ตาม แผนปฏิบัติการสามเหลี่ยมทองคำ�ภายใต้โครงการ แม่นาํ้ โขงปลอดภัย ขณะนีด้ ำ�เนินการอยู่ 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย เมียนมา ลาว เวียดนาม กัมพูชา และจีน เท่านั้น จากการประชุมรัฐมนตรี อาเซียนด้านยาเสพติด ครัง้ ที่ 5 ณ สาธารณรัฐสิงคโปร์ พลเอก ไพบูลย์ คุ้ ม ฉายา รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมของไทยในสมั ย นั้ น ได้เรียกร้องให้ประเทศอาเซียน 5 ประเทศที่เหลือ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย เข้าร่วมสนับสนุนด้วย แม้ประเทศเหล่านีจ้ ะไม่ได้อยูบ่ ริเวณแม่นา้ํ โขง แต่ตอ้ งบรรจุแผนปิดล้อม สามเหลี่ ย มทองคำ�ไว้ ใ นแผนปฏิ บั ติ ก ารแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด โดยชีใ้ ห้เห็นว่ายาเสพติดทีอ่ อกจากสามเหลีย่ มทองคำ�สามารถเข้าไปสู่ ทุกประเทศได้ ซึง่ ขณะนีท้ กุ ประเทศได้บรรจุแผนดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว และเมื่อวันที่ 1- 2 มีนาคม 2560 นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้เป็นประธานการประชุมระดับรัฐมนตรี ว่ า ด้ ว ยแผนความช่ ว ยเหลื อ สำ�หรั บ แผนปฏิ บั ติ ก ารแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติดในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ� ซึ่งได้เชิญประเทศและองค์กร ผู้ให้ 11 ประเทศ/องค์กร ประกอบด้วย ออสเตรเลีย แคนาดา จีน เยอรมนี เกาหลีใต้ มาเลเซีย สิงคโปร์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา

สำ�นักงานเลขาธิการแผนโคลัมโบ (Columbo Plan) และสำ�นักงาน ป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) เข้าร่วมประชุม โดยทุกประเทศจะสนับสนุนอุปกรณ์ งบประมาณ เพือ่ ให้แผนปฏิบตั กิ ารสามเหลีย่ มทองคำ�มีประสิทธิภาพ สำ�หรับแผนปฏิบตั กิ ารสามเหลีย่ มทองคำ�ได้กำ�หนดพืน้ ทีใ่ นการปฏิบตั กิ าร ทั้ ง ในและนอกประเทศรวม 11 พื้ น ที่ โดยจะดำ�เนิ น มาตรการ ในการสกัดกั้นยาเสพติดอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง สำ�หรั บ ความร่ ว มมื อ กั บ ภาคประชาชน สำ�นั ก งาน ป.ป.ส. ได้ขบั เคลือ่ นนโยบายตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด พ.ศ. 2558 – 2562 ซึ่งประกอบด้วย ยุทธศาสตร์หลัก 8 ยุทธศาสตร์ คือ 1. การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด 2. การควบคุมตัวยาและผูค้ า้ ยาเสพติด 3. การแก้ไขปัญหา ผูเ้ สพผูต้ ดิ ยาเสพติด 4. ความร่วมมือระหว่างประเทศ 5. การสร้างและ พัฒนาระบบรองรับการคืนคนดีให้สังคม 6. การสร้างสภาพแวดล้อม เพื่อป้องกันปัญหายาเสพติด 7. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 8. การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ ซึง่ ถือว่าครอบคลุมทัง้ มาตรการ บำ�บั ด รั ก ษา ป้ อ งกั น ปราบปราม การอำ�นวยการต่ า งประเทศ และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน โดยให้ภาคประชาชนเข้ามา มี ส่ ว นร่ ว มในการช่ ว ยกั น เฝ้ า ระวั ง ปั ญ หายาเสพติ ด ในหมู่ บ้ า น เพราะเชื่ อ ว่ า ไม่ มี ใ ครที่ จ ะรู้ ปั ญ หาได้ ดี เ ท่ า กั บ คนในหมู่ บ้ า น ซึ่งสำ�นักงาน ป.ป.ส. ได้จัดตั้งอาสาประชารัฐประจำ�ทุกหมู่บ้าน โดยร่วมกับสภาเกษตรกรแห่งชาติ ดึงตัวแทนของเกษตรกรเข้ามาเป็น เครือข่ายของ ป.ป.ส. คอยช่วยเฝ้าระวังยาเสพติดในหมู่บ้าน สำ�หรับ ในพื้นที่ภาคเหนือที่มีพื้นที่ปลูกฝิ่นได้ให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามา ร่วมมือในการลดหรือเลิกการปลูกฝิน่ โดยเฉพาะในพืน้ ทีอ่ ำ�เภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อขยายผลการดำ�เนินงานตามแนวทางประชารัฐ ของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาฝิน่ โดยนำ�มวลชนร่วมกับหน่วยราชการ ในพื้นที่ตัดทำ�ลายและยึดคืนพื้นที่ปลูกฝิ่น พร้อมทั้งปลูกป่าทดแทน ในพื้นที่ที่เคยมีการปลูกฝิ่น เพื่อเป็นสัญลักษณ์การทวงคืนผืนป่า และนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาการปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน

Justice Magazine Ministry of Justice

35


นางศกุลตรา นนตรี ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพพื้นที่ 2 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ น.บ., น.ม. มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง, น.บ.ท. สำ�นักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ว่าที่ ร.ท.ดร.เจนรบ พละเดช นักวิชาการยุติธรรมชำ�นาญการ สำ�นักงาน ปปท. เขต 4

คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

มุมมอง

นักกฎหมาย!!!

คดีวศิ วกรยิงเด็กวัยรุน่ เสียชีวติ …กฎหมาย มีชอ่ งให้กระทำ�การ ป้องกันตัว แต่หาก ป้องกันเกินกว่าเหตุ ศาลจะลงโทษน้อยกว่า ทีก่ ฎหมายกำ�หนดไว้ THE

LAW

36

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

จากกรณีทม่ี ขี า่ ววิศวกรยิงนักเรียนวัย 17 ปี เสียชีวติ บริเวณถนนสายอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี ด้วยเรือ่ งเล็กน้อย เนือ่ งจากจอดรถขวางทางกัน หลังเกิดเหตุได้มกี ระแส โซเชียลวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักถึงเรื่องที่เกิดขึ้น บ้ า งก็ ตำ� หนิ ก ลุ่ม วั ย รุ่น ว่ า มี พ ฤติ ก รรมเหมื อ นกั บ จะยกพวกไปทำ�ร้ายวิศวกรคราวพ่อ ทำ�ให้ตอ้ งป้องกันตัว โดยอ้างว่าเพราะถูกลงมือก่อน บางกระแสก็ตง้ั คำ�ถาม ว่าวิศวกรทำ�เกินกว่าเหตุหรือไม่ท่ตี ัดสินใจใช้อาวุธปืน ในการแก้ ไขปัญหา ซึง่ นักกฎหมายหลายฝ่ายให้ความเห็น ว่าจากคลิปนัน้ ค่อนข้างชุลมุน วิศวกรท่านนัน้ อาจไม่ได้ มี เ วลาในการเล็ ง หรื อ ตั ด สิ น ใจ หรื อ อาจยิ ง ไป เพือ่ เป็นการขู่ แต่ทา้ ยสุดผลคดีจะเป็นอย่างไร คงต้องรอ กระบวนยุตธิ รรมว่าเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ หรือเกินกว่าเหตุหรือไม่


คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

“การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย” นัน้ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 บัญญัตวิ า่ “ผูใ้ ดจำ�ต้องกระทำ�การใดเพือ่ ป้องกันสิทธิของตน หรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิด ต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายทีใ่ กล้จะถึง ถ้าได้กระทำ�พอสมควรแก่เหตุ การกระทำ�นัน้ เป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผูน้ น้ั ไม่มคี วามผิด” แต่ทั้งนี้ ต้องตีความกฎหมายที่กำ�หนดไว้ด้วยว่าอย่างไรจึงเรียกว่า เป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ในขณะเดียวกันการป้องกัน โดยชอบด้วยกฎหมายก็อาจเป็นการป้องกันเกินกว่าเหตุได้ ซึง่ มาตรา 69 บัญญัตวิ า่ “ถ้าผูก้ ระทำ�ได้กระทำ�ไปเกินสมควรแก่เหตุ หรือเกินกว่ากรณีแห่งการจำ�ต้องกระทำ�เพื่อป้องกัน ศาลจะลงโทษ น้ อ ยกว่ า ที่ ก ฎหมายกำ�หนดไว้ สำ�หรั บ ความผิ ด นั้ น เพี ย งใดก็ ไ ด้ แต่ถา้ การกระทำ�นัน้ เกิดขึน้ จากความตืน่ เต้น ความตกใจหรือความกลัว ศาลจะไม่ลงโทษผู้กระทำ�ก็ได้” จากบทบัญญัตกิ ฎหมายข้างต้นจึงมีความจำ�เป็นทีเ่ ราต้องรูไ้ ว้บา้ ง เกีย่ วกับหลักป้องกัน เพราะในปัจจุบนั นอกจากคดีวศิ วกรยิงวัยรุน่ แล้ว ยังมีข่าวปรากฏให้เห็นอยู่เนือง ๆ การใช้ชีวิตประจำ�วันของเราทุกคน ล้วนมีความเสี่ยง เผลอ ๆ เดินเข้าซอยเปลี่ยว ๆ มืด ๆ หรือเดินอยู่ดี ๆ อาจมีคนร้ายหรือมิจฉาชีพเข้ามาชิงทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ลักทรัพย์ ทำ�ร้ายร่างกาย ฯลฯ กว่าผู้เสียหายจะไปแจ้งตำ�รวจหรือมีคนมาช่วย ได้ทัน อาจถึงกับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตไปแล้ว ผู้เขียนเห็นว่าเรื่องนี้ เป็ น เรื่ อ งสำ�คั ญ ที่ ต้ อ งมาศึ ก ษาว่ า อย่ า งไรคื อ การป้ อ งกั น ตั ว โดยชอบด้วยกฎหมาย หลักการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญาแยกองค์ประกอบได้ดังนี้ 1. ต้ อ งมี ภ ยั น ตรายซึ่ ง เกิ ด จากการประทุ ษ ร้ า ยอั น ละเมิ ด ต่อกฎหมาย ต้องเป็นภยันตรายที่เขาไม่มีสิทธิมากระทำ�หรือไม่มี กฎหมายให้อำ�นาจกระทำ�ได้ เช่น ไปทำ�ร้ายร่างกายเขา ไปฆ่า ลักทรัพย์ วิง่ ราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ เป็นต้น แต่หากผูก้ อ่ ภัยนัน้ มีอำ�นาจ ทำ�ได้เราก็ไม่มสี ทิ ธิจะป้องกัน เช่น พ่อแม่มสี ทิ ธิวา่ กล่าวหรือลงโทษลูก โดยการสั่งสอน การตี ลงโทษตามสมควรในฐานะผู้ปกครองบุตร หรือกรณีมภี ยันตรายเกิดขึน้ แต่ผทู้ อ่ี า้ งป้องกันตัวไปมีสว่ นร่วมหรือมีสว่ นผิด ในการก่อให้เกิดภยันตรายนัน้ เช่น ตนเป็นผูก้ อ่ เหตุหรือไปยัว่ ยุทา้ ทายก่อน หรือสมัครใจเข้าทะเลาะวิวาทจะอ้างเหตุป้องกันไม่ได้ ตัวอย่าง จำ�เลยเล่นสนุกเกอร์พนันเอาทรัพย์สินแล้วเกิดเรื่อง ทะเลาะวิวาทกัน แม้ผตู้ ายจะเป็นฝ่ายลงมือทำ�ร้ายจำ�เลยก่อน แต่การ ที่จำ�เลยเอากรรไกรแทงสวนไปในทันทีที่ผู้ตายไม่มีอาวุธ เมื่อผู้ตาย ถูกแทงแล้วได้เดินเข้าไปในซอยถือไม้กวาดเพือ่ ไล่ตจี ำ�เลย หากจำ�เลย ไม่ประสงค์จะต่อสูอ้ าจหลบเลีย่ งเสีย การทีจ่ ำ�เลยยังคงยืนรอจนผูต้ าย เดินออกมาจากซอยเอาไม้กวาดไล่ตี จำ�เลยจึงวิ่งไปหยิบท่อนเหล็ก มาตี ผู้ ต ายจนล้ ม ลง พฤติ ก ารณ์ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า จำ�เลยสมั ค รใจ ทะเลาะวิวาทกับผูต้ าย จะอ้างเหตุวา่ กระทำ�เพือ่ ป้องกันตัวไม่ได้ ถือว่า จำ�เลยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย 2. ภยันตรายนั้นต้องเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง อย่างไรเรียกว่า ใกล้ จ ะถึ ง ภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น กระชั้ น ชิ ด ถึ ง ขนาดที่ ไ ม่ มี ห นทางอื่ น

ที่จะขจัดปัดเป่าภัยนั้นได้ นอกจากกระทำ�ต่อบุคคลนั้นเพื่อระงับ ยับยั้งภัยที่เกิดขึ้น ตัวอย่าง จำ�เลยถูกทำ�ร้ายโดยไม่ทราบสาเหตุในลักษณะจู่โจม และเกิดขึ้นโดยทันที ทำ�ให้จำ�เลยเข้าใจว่าผู้ตายกับผู้เสียหายดักรอ ชิงรถจักรยานยนต์ หรืออาจประสงค์ต่อภรรยาจำ�เลยที่นั่งซ้อนท้าย มาด้วย จำ�เลยมีรูปร่างเล็กสู้แรงปะทะผู้ตายและผู้เสียหายไม่ได้ การทีจ่ ำ�เลยเป็นพ่อครัวและใช้มดี ทำ�ครัวทีพ่ กมาแทงผูต้ ายเพียง 1 ครัง้ แต่บังเอิญไปถูกอวัยวะที่สำ�คัญ ผู้ตายจึงถึงแก่ความตาย การกระทำ� ของจำ�เลยเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ 3. ผูก้ ระทำ�จำ�ต้องกระทำ�เพือ่ ป้องกันสิทธิของตนหรือของผูอ้ นื่ ให้ พ้ น จากภยั น ตรายนั้ น การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายนั้น สามารถป้องกันได้ทั้งตนเองและบุคคลอื่นรวมถึงทรัพย์สิน ตัวอย่างที่ 1 ผู้ตายเมาสุราเดินถือปืนตรงเข้าไปหาบิดาจำ�เลย พูดทำ�นองจะฆ่าบิดา จำ�เลยจึงยิงสกัดกั้นไปก่อน 1 นัด แล้วกระโดด แย่งปืนคนตายมาได้ แต่กลับเอาปืนคนตายนั้นมายิงซํ้าไปอีก 3 นัด เป็นการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ กรณีนแี้ ม้คนทีม่ ภี ยันตรายคือบิดา ของจำ�เลย แต่จำ�เลยซึง่ เป็นบุตรมีสทิ ธิทจี่ ะป้องกันเพือ่ ให้บดิ าพ้นจาก ภยันตรายได้ แต่การป้องกันนั้นต้องไม่เกินสมควร ตัวอย่างที่ 2 จำ�เลยทำ�ร้ายผู้เสียหายเนื่องจากจำ�เลยต้องการ สร้อยคอทองคำ�ของจำ�เลยคืนจากผู้เสียหาย เมื่อผู้เสียหายไม่ใช่ เจ้ามือพนันและจำ�เลยไม่ได้เล่นพนันกับผู้เสียหาย เมื่อผู้เสียหาย เอาสร้อยไปเพื่อเล่นพนันโดยจำ�เลยไม่ยินยอม การที่จำ�เลยติดตาม สร้อยคอของตนคืนในทันทีทันใด จึงเป็นการป้องกันสิทธิของตน ให้พน้ จากภยันตรายทีเ่ กิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย แต่การที่จำ�เลยใช้อาวุธมีดแทงเพื่อแย่งสร้อยคอ จึงเป็นการป้องกัน เกินสมควรแก่เหตุ กรณีนเี้ ป็นการป้องกันทรัพย์สนิ ก็สามารถกระทำ�ได้ 4. กระทำ�พอสมควรแก่เหตุผู้กระทำ�ไม่มีความผิด แม้กฎหมาย จะให้สทิ ธิแก่ประชาชนผูป้ ระสบอันตรายให้ปอ้ งกันตนเองได้ แต่กไ็ ม่ได้ ให้เสียจนเลยขอบเขตอันจะกลายเป็นการป้องกันเพราะความโกรธแค้น บันดาลโทสะ หรือกระทำ�ด้วยความสะใจ เช่น เมือ่ มีคนจะเข้ามาทำ�ร้าย เราได้ ต อบโต้ จ นคนร้ า ยไม่ ส ามารถจะทำ�อั น ตรายได้ แ ล้ ว ถื อ ว่ า ภยันตรายได้ผา่ นพ้นไปแล้ว เรายังกระทำ�อีกถือว่าเป็นกรณีเกินกว่าเหตุ Justice Magazine Ministry of Justice

37


คุ้มครองคน คุ้มครองสิทธิ

ซึ่งการที่จะพิจารณาว่าจะเกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เพียงใดนั้น มีทฤษฎีที่สำ�คัญ กล่าวคือ ทฤษฎีสัดส่วน คือ ต้องพิจารณาว่าอันตรายที่จะเกิดขึ้นนั้น ป้องกันได้สดั ส่วนกับอันตรายทีเ่ กิดขึน้ หรือไม่ เช่น มีคนมาตบหน้าเรา เราจะใช้ มี ด แทงเขาตายเพราะความเจ็ บ เนื่ อ งจากถู ก ตบหน้ า เมือ่ เปรียบเทียบแล้วการทีเ่ ราแทงเขาถึงแก่ความตายไม่ได้สดั ส่วนกัน เนือ่ งจากเขาใช้แค่มอื ไม่มอี าวุธร้ายแรงทีจ่ ะทำ�ให้เราถึงแก่ความตายได้ ดังนั้น การใช้มีดแทงเขาตายจึงเป็นการกระทำ�ที่เกินสมควรแก่เหตุ ทฤษฎีวิถีทางน้อยที่สุด ตามทฤษฎีนี้ถ้าผู้กระทำ�ได้ใช้วิถีทาง น้อยที่สุดที่จะทำ�การตอบโต้ถือว่าได้กระทำ�ไปพอสมควรแก่เหตุ เช่น ในขณะทีถ่ กู ทำ�ร้ายคนทีก่ อ่ ภัยมีสภาพร่างกายไม่แข็งแรง ตัวผอมแห้ง ซึง่ เราตัวใหญ่กว่า ขณะนัน้ เรามีไม้และปืน แต่หากเราเลือกใช้ไม้กเ็ พียงพอ ที่จะยับยั้งผู้ก่อภัยได้แล้วถือเป็นการกระทำ�ไปพอสมควรแก่เหตุ เพราะผู้กระทำ�ได้ใช้วิถีทางน้อยที่สุดที่จะป้องกันตนเอง อย่างไรจึงถือว่าเป็นการกระทำ�เพือ่ ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย พอสมควรแก่เหตุ หรือเกินสมควรแก่เหตุ จากบทบัญญัติดังกล่าว เราทราบแล้ ว ว่ า หากเป็ น การป้ อ งกั น พอสมควรแก่ เ หตุ ผู้ ก ระทำ� ไม่มีความผิด แต่การป้องกันเกินสมควรแก่เหตุถือว่าผู้กระทำ�ยังมี ความผิดอยู่ เพียงแต่ศาลจะลงโทษน้อยเพียงใดก็ได้หรือจะไม่ลงโทษ เลยก็ ไ ด้ หลายคนจึ ง อาจสงสั ย ว่ า แล้ ว เราควรยึ ด ทฤษฎี ไ หน ซึ่งไม่มีหลักแน่นอนที่จะระบุได้ว่าควรเป็นทฤษฎีใด แต่การพิจารณา ว่ากระทำ�แค่ไหนเป็นการสมควรแก่เหตุนั้น เมื่อท่านได้ป้องกันและ ภยั น ตรายได้ ผ่ า นพ้ น ไปแล้ ว อย่ า ทำ�ซํ้ า เพราะความโกรธแค้ น เว้ น แต่ ก ารที่ ก ระทำ�ลงไปนั้ น เกิ ด จากความตื่ น เต้ น ตกใจกลั ว ศาลอาจไม่ลงโทษเลยก็ได้ ตัวอย่างที่ 1 ผู้ ต ายเป็ น ฝ่ า ยก่ อ เหตุ ก่ อ นจะเข้ า มาชกต่ อ ย ทำ�ร้ายจำ�เลย จำ�เลยจึงเอาปืนยิงลงพื้นไป 1 นัด เพื่อขู่ให้ผู้ตายกลัว แต่ผตู้ ายไม่ยอมหยุดกลับเข้ากอดปลาํ้ ใช้แขนรัดคอแล้วแย่งปืน จำ�เลย จึงยิงขณะชุลมุนนั้นไป 1 นัด ป้องกันพอสมควรแก่เหตุ ไม่มีความผิด ฐานฆ่าผู้อื่น

38

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ตัวอย่างที ่ 2 ผู้ ต ายบุ ก รุ ก เข้ า ไปในบ้ า นจำ�เลยในยามวิ ก าล เมื่อจำ�เลยได้ยินเสียงผิดปกติคว้าปืนลงมาดู คนตายยิงทันที จำ�เลย ยิงสวนกลับไป ป้องกันพอสมควรแก่เหตุ ไม่มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น ตัวอย่างที ่ 3 ผู้ตายไปหาเรื่องจำ�เลยและชี้หน้าด่าแม่จำ�เลย จำ�เลยใช้ปืนยิงผู้ตาย ไม่เป็นการกระทำ�เพื่อป้องกัน ถือว่ามีความผิด ฐานฆ่าผู้อื่นโดยบันดาลโทสะศาลลงโทษน้อยเพียงใดก็ได้ ตัวอย่างที ่ 4 ผู้ตายเป็นฝ่ายก่อเหตุขับรถปิกอัพแซงปาดหน้า จะให้รถเก๋งทีจ่ ำ�เลยที่ 2 ขับ มีจำ�เลยที่ 1 นัง่ มาด้วยชนกำ�แพงคอนกรีต กลางถนนหลายครัง้ แต่ไม่ได้ใช้อาวุธใดทำ�ร้ายหรือจะทำ�ร้ายจำ�เลยที่ 1 ด้วยวิธอี น่ื อีก แม้ผตู้ ายยังขับรถตามมาชนท้ายรถเก๋งในซอยซึง่ เป็นซอยตัน แต่ ข ณะที่ จำ�เลยที่ 2 เปิ ด ประตู ร ถเก๋ ง ลงไปยิ ง ผู้ ต ายนั้ น ผู้ ต าย ยังนัง่ อยูใ่ นรถปิกอัพ จำ�เลยที่ 1 ยิงผูต้ ายช่วงแรก 2 นัด จนกระสุนหมด แล้วกลับไปเอาอาวุธปืนของจำ�เลยที่ 2 ซึ่งเก็บไว้ที่รถเก๋งอ้อมมา ท้ายรถปิกอัพและยิงผู้ตายถึง 5 นัด การยิงในช่วงหลังย่อมมีเวลา ใคร่ครวญตั้งสติได้แล้ว การกระทำ�ของจำ�เลยที่ 1 จึงเป็นการป้องกัน เกินสมควรแก่เหตุ มีความผิดแต่ศาลลงโทษน้อยกว่าได้ อย่างไรก็ดี แม้กฎหมายจะให้สิทธิในการป้องกันตนเอง ผู้เขียน กลับมองว่าการอยู่ร่วมกันในสังคม ความขัดแย้งย่อมต้องเกิดมีขึ้น และไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ สิ่งที่เราพึงมีคือ การใช้สติใคร่ครวญในการ แก้ไขปัญหา ความมีนํ้าใจ การให้อภัยและถ้อยทีถ้อยอาศัย ยังคง ใช้ได้ในทุกยุคทุกสมัย ต้องยอมรับว่าโลกโซเซียลเข้ามามีอิทธิพล ในชีวิตประจำ�วันโดยเราสามารถรับรู้ข่าวสารจากอีกมุมหนึ่งของโลก ได้ในเวลาอันรวดเร็ว มีเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัย เช่น กล้องวงจรปิด กล้องติดหน้ารถ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ ซึง่ ในอดีตทีผ่ า่ นมามีกรณีศกึ ษาหลายเรือ่ งทีผ่ ถู้ กู ระทำ�ลุแก่โทสะ และเลือกใช้วิธีการตัดสินปัญหาด้วยตนเอง ไม่ว่าเป็นกรณีดีเจชื่อดัง หรือดาราภาพลักษณ์ดีลุแก่โทสะ แก้ไขปัญหาด้วยการใช้อารมณ์ เมื่อเรื่องบานปลายก็ถูกกระแสสังคมวิพากษ์วิจารณ์ลงโทษก่อนศาล พิพากษา จนส่งผลกระทบต่ออนาคต หน้าทีก่ ารงาน รวมไปถึงบุคคล ในครอบครัว เพือ่ นฝูงญาติพน่ี อ้ งอย่างไม่สามารถย้อนคืนกลับไปแก้ไขได้ จึงจำ�เป็นที่เราต้องมีสติแก้ไขปัญหาด้วยปัญญา ผู้ เขี ย นขอน้ อ มนำ�พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2539 มาเป็น หลักปฏิบัติว่า “ปัญหาทุกอย่างไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ มีทางแก้ไขได้ ถ้ารู้จักคิดให้ดีปฏิบัติให้ถูก การคิดได้ดีน้นั มิใช่การคิดได้ด้วยลูกคิด หรือด้วยสมองกล เพราะโลกเราในปัจจุบันจะวิวัฒนาการไปมาก เพียงใดก็ตาม ก็ยงั ไม่มเี ครือ่ งมืออันวิเศษชนิดใด สามารถขบคิดแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างสมบูรณ์ การขบคิดวินจิ ฉัยปัญหาจึงต้องใช้ สติปัญญาคือ คิดด้วยสติรู้ตัวอยู่เสมอ เพื่อหยุดยั้งและป้องกัน ความประมาทผิดพลาดและอคติตา่ ง ๆ มิให้เกิดขึน้ ช่วยให้การใช้ปญ ั ญา พิจารณาปัญหาต่าง ๆ เป็นไปอย่างเทีย่ งตรง ทำ�ให้เห็นเหตุเห็นผล ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกัน เป็นกระบวนการได้กระจ่างชัดทุกขัน้ ตอน”


กำ�แพงมิอาจกั้น

“กี ฬ า” พลิกชีวติ สร้างแรงบันดาลใจ

กองบรรณาธิการ

กรมพินจิ ฯ ใช้

ให้แก่เด็กและเยาวชนด้วย

Idol

กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม มีภารกิจหลักในการบำ�บัด ฟื้นฟู พัฒนาเด็กและเยาวชน ทีก่ ระทำ�ผิด หลังจากเข้าสูก่ ระบวนการยุตธิ รรมให้กลับตน เป็นคนดีของสังคม ด้วยการนำ�กีฬามาใช้เป็นกลไกหลัก ในการบำ�บัดแก้ ไขผูก้ ระทำ�ผิด พร้อมใช้ Idol เป็นสือ่ กลาง ในการฝึกสอนให้คำ�แนะนำ� สร้างแรงบันดาลใจให้กับเด็ก และเยาวชนที่อยู่ภายใต้การดูแลของกรมพินิจฯ ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทาง ที่ดีขึ้น

การใช้ กี ฬ าเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบำ�บั ด แก้ ไ ข เด็ ก และเยาวชน จึ ง ถื อ เป็ น การออกแบบกิ จ กรรม ทีส่ ร้างความสนใจให้แก่เด็กและเยาวชน ซึง่ ในช่วงทีผ่ า่ นมา กีฬาวอลเลย์บอลได้รับความนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะ วอลเลย์บอลหญิง ที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทย ในการก้ า วขึ้ น สู่ อั น ดั บ โลกสู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สร้ า งกระแสความนิ ย มและความสนใจให้ เ ด็ ก และ เยาวชนไทยหันมาสนใจกีฬาประเภทนี้มากขึ้น ดังนั้น หากได้ บุ ค คลต้ น แบบ (Idol) มาเป็ น ผู้ ฝึ ก สอนหรื อ ให้คำ�แนะนำ�ในการเล่นกีฬาประเภทนี้ จะยิ่งเสริมสร้าง แรงบั น ดาลใจให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนที่ อ ยู่ ใ นการดู แ ล ของกรมพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน ในการ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมและเปลีย่ นแปลงตนเองไปในทางทีด่ ี โดยมีกีฬาวอลเลย์บอลเป็นสื่อกลาง ทั้งนี้ การส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการเล่นกีฬา อย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากจะเป็นการเพิ่มขีด ความสามารถให้แก่เด็กและเยาวชนได้มีทักษะพิเศษ ด้านกีฬาแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้ ใช้ เวลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ ลดความเครี ย ดและ Justice Magazine Ministry of Justice

39


กำ�แพงมิอาจกั้น

ความวิตกกังวล ตลอดจนส่งเสริมการเห็นคุณค่าใน ตนเองและเสริมสร้างทักษะทางสังคม อาทิ การวางแผน การปฏิบตั งิ าน การทำ�งานเป็นทีม การจัดการกับอารมณ์ ภาวะผู้นำ�และผู้ตาม ด้วยเล็งเห็นถึงความสำ�คัญดังกล่าว กรมพินิจและ คุม้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม จึงได้รว่ มกับ สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย การไฟฟ้า ส่ ว นภู มิ ภ าค และมหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม จั ด กิ จ กรรม “แถลงข่าวการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการกีฬาแก่เด็ก และเยาวชน” พร้อมทัง้ จัดกิจกรรม “ส่งเสริมกีฬาเยาวชนไทย เสริมสร้างแรงบันดาลใจด้วย Idol (Volleyball Clinic)” เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 ณ อาคาร 9 ชั้น 12 มหาวิทยาลัยศรีปทุม เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ โดยมีนกั กีฬา วอลเลย์บอลทีมชาติไทย อาทิ “กัปตันกิ๊ฟ - วิลาวัณย์ อภิ ญ ญาพงศ์ ” “กั ป ตั น หน่ อ ง - ปลื้ ม จิ ต ร์ ถิ น ขาว” “พรพรรณ เกิ ด ปราชญ์ ” “ปิ ย นุ ช แป้ น น้ อ ย” “ทัดดาว นึกแจ้ง” “หัตถยา บำ�รุงสุข” “อัจฉราพร คงยศ” “โสรยา พรมหล้ า ” ตลอดจนนั ก กี ฬ าที ม ชาติ ชื่ อ ดั ง

“ กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็ก และเยาวชน มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะ แก้ ไขปรับปรุงและพัฒนา พฤตินสิ ยั เด็กและเยาวชน อย่างจริงจัง และจะเปลีย่ นแปลง เด็กและเยาวชนให้เป็น คนดี ของสังคม ด้วยพลัง แห่งกีฬา ” อี ก มากมาย มาร่ ว มฝึ ก สอนและสาธิ ต การเล่ น กี ฬ า วอลเลย์ บ อลอย่ า งถู ก ต้ อ งให้ กั บ เด็ ก และเยาวชน จากสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน และศูนย์ฝกึ และอบรมเด็กและเยาวชน ศาสตราจารย์พิเศษวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ อธิบดี กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน กล่าวว่า ในปี 2559 ที่ผ่านมา กรมพินิจฯ ได้ริเริ่มการส่งเสริมและพัฒนา ทักษะการกีฬาให้แก่เด็กและเยาวชน โดยจัดกิจกรรม ส่งเสริมกีฬาเยาวชนไทย เสริมสร้างแรงบันดาลใจด้วย Idol โดยการนำ�นักกีฬาทีมชาติไทยมาร่วมงานแถลงข่าวฯ และจัดกิจกรรมฝึกสอนสาธิตการเล่นกีฬา โดยได้รับ ความสนใจจากเด็ ก และเยาวชนที่ อ ยู่ ใ นการดู แ ล ของกรมพิ นิ จ ฯ เป็ น จำ�นวนมาก และในปี 2560 กรมพินิจฯ ได้สานต่อภารกิจดังกล่าวต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก และเยาวชนหญิ ง ได้ มี ส่ ว นร่ ว ม ในกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะการกีฬา ประกอบกับ ช่วงทีผ่ า่ นมา กีฬาวอลเลย์บอลโดยเฉพาะวอลเลย์บอลหญิง ที ม ชาติ ไ ทยสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ ประเทศและได้ รั บ ความสนใจจากสังคมเป็นอย่างมาก

40

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


กำ�แพงมิอาจกั้น

กรมพินิจฯ จึงมีแนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนา ทักษะกีฬาวอลเลย์บอลในเด็กและเยาวชนหญิง โดยร่วมมือ กั บ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค สมาคมกี ฬ าวอลเลย์ บ อล แห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดกิจกรรม แถลงข่าวการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการกีฬา สำ�หรับ เด็กและเยาวชนกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ประจำ�ปี พ.ศ. 2560 และกิจกรรมส่งเสริมกีฬาเยาวชนไทย เสริมสร้างแรงบันดาลใจด้วย Idol ขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะ ทางด้านกีฬา เสริมสร้างการมองเห็นคุณค่าในตนเอง และเรียนรู้ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม นอกจากนัน้ ยังเป็นสิง่ ทีส่ ะท้อนให้สาธารณชนเห็นว่า กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะ แก้ ไขปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย เด็ ก และเยาวชน อย่างจริงจัง และจะเปลี่ยนแปลงเด็กและเยาวชนให้เป็น คนดีของสังคมด้วยพลังแห่งกีฬา ทั้งนี้ กิจกรรมดังกล่าว มี เ ด็ ก และเยาวชนจากสถานพิ นิ จ และคุ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน และศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ของกรมพินิจฯ เข้าร่วมกว่า 200 คน

อย่ า งไรก็ ต ามหวั ง ว่ า กิ จ กรรมนี้ จ ะเป็ น การ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการกีฬาให้กับเด็กและเยาวชน ทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของกรมพินจิ ฯ โดยใช้กฬี าเป็นสือ่ กลาง ในการปรับเปลี่ยนพฤตินิสัย เสริมสร้างแรงบันดาลใจ ให้กบั เด็กและเยาวชน โดยใช้บคุ คลต้นแบบ (Idol) ซึง่ เป็น นักกีฬาทีมชาติไทยมาร่วมจัดกิจกรรมและสอนทักษะ การเล่ น กี ฬ าให้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชนได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และเหมาะสม ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันให้เด็กและเยาวชน ได้ “เปลี่ ย น” ตั ว เอง และทำ�ตามความฝั น สามารถ ผันตัวเองเป็นนักกีฬาอาชีพได้ในอนาคต และนี่ คื อ ภารกิ จ สำ�คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนผู้ ที่ จ ะเติ บ โตเป็ น ผู้ ใ หญ่ ใ นวั น ข้ า งหน้ า ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาบุคลากรของประเทศพร้อมกับ ลดปัญหาสังคมได้ในเวลาเดียวกัน จากการส่งเสริม ให้ เ ด็ ก และเยาวชนได้ ใช้ เวลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ ลดความเครียดและความวิตกกังวล ตลอดจนส่งเสริม การเห็นคุณค่าในตนเองผ่านการเล่นกีฬา อีกทัง้ เสริมสร้าง ทั ก ษะทางสั ง คมให้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชน ซึ่ ง ถื อ เป็ น สิง่ ทีส่ ำ�คัญในการทีจ่ ะเป็นพลเมืองทีด่ ขี องประเทศชาติ ในอนาคตต่อไป Justice Magazine Ministry of Justice

41


นายเศรษฐวุฒิ เพชรสง นักวิชาการยุติธรรมชำ�นาญการ กลุ่มงานนโยบายและพัฒนาระบบงาน สำ�นักงานกองทุนยุติธรรม

ยุติธรรมเพื่อประชาชน

กองทุน

ยุตธิ รรม

กับการสร้างความรับรู้แก่ประชาชน

กองทุนยุติธรรม คืออะไร ชาวบ้านจะได้อะไร จากกองทุนนี้ และจะ ติดต่อกองทุน ทีไ่ หน ยังไง

42

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ประโยคข้างต้นเป็นคำ�ถามที่เจ้าหน้าที่สำ�นักงาน กองทุ น ยุ ติ ธ รรมต่ า งได้ ยิ น ได้ ฟั ง ทุ ก ครั้ ง ที่ ล งพื้ น ที่ จั ด กิ จ กรรมประชาสั ม พั น ธ์ ห รื อ ลงพื้ น ที่ เชิ ง รุ ก เพื่ อ ให้ ความช่วยเหลือประชาชน แสดงให้เห็นว่าประชาชน ส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ รู้ จั ก กองทุ น ยุ ติ ธ รรมว่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ สำ�คั ญ ประการหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ พวกเขาได้ หากมี ค่าใช้จ่ายไม่เพียงพอฐานะยากไร้ แต่จำ�เป็นต้องเข้าสู่ กระบวนการยุตธิ รรม ทัง้ ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ค่าประกันตัว ด้วยเหตุทว่ี า่ พระราชบัญญัติ กองทุนยุตธิ รรม พ.ศ. 2558 เป็นกฎหมายใหม่ทเ่ี พิง่ ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558 โดยมี ผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 24 เมษายน 2559 เป็นต้นมานีเ้ อง


ยุติธรรมเพื่อประชาชน

กองทุนยุติธ รรมจะทำ�อย่ างไรให้ชาวบ้ า นรั บ รู้ ภารกิจและงานบริการของกองทุนยุติธรรม ?

นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ยุตธิ รรม ตระหนักถึงความสำ�คัญในเรือ่ งการสร้างความรับรู้ ให้แก่ประชาชนอย่างมาก สำ�นักงานกองทุนยุติธรรม จึงได้ปรับวิธีการประชาสัมพันธ์ให้มีการเข้าถึงประชาชน ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย โดยกองทุนยุติธรรมพิจารณาแล้ว เห็นว่าการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อในระบบขนส่งมวลชน เป็นทางเลือกที่ดีทางหนึ่งเพราะเป็นสื่อที่เคลื่อนที่ได้ หากออกแบบให้สะดุดตา สะดุดใจ ประชาชนก็จะจำ�ได้งา่ ย เป็นสื่อที่ใกล้ชิดประชาชนซึ่งเป็นผู้ยากไร้ซึ่งมักเลือก การเดินทางโดยใช้ระบบขนส่งมวลชน กองทุนยุติธรรม จึงวางแผนจะจัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์ผ่านระบบขนส่ง มวลชน (mass transit) ในช่วงปีงบประมาณ 2560 - 2562 โดยจะติดป้าย 3 ด้าน และป้ายแบบ Half wrap และ Hashtags Backseat ใน 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 บนรถประจำ�ทางในเขตกรุงเทพมหานคร เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงรวมประชาชน จากทุกพืน้ ทีข่ องประเทศไทย เมือ่ ประชาชนเห็นป้ายทีต่ ดิ บนรถประจำ�ทางซึ่งกล่าวถึงภารกิจของกองทุนยุติธรรม และวิธกี ารติดต่อขอรับความช่วยเหลือ ก็สามารถบอกต่อ ถึงคนในครอบครัวที่อาจเดือดร้อน

ระยะที่ 2 การประชาสัมพันธ์ผา่ นระบบขนส่งมวลชน ผ่านรถประจำ�ทางทัง้ ในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เพื่ อ ให้ ป ระชาชนซึ่ ง อยู่ ใ นต่ า งจั ง หวั ด รั บ รู้ ภ ารกิ จ ของกองทุนยุติธรรมมากขึ้น ระยะที่ 3 การประชาสัมพันธ์ผา่ นระบบขนส่งมวลชน และสื่ออื่นแบบครบวงจร เพื่อให้ครอบคลุมทุกระดับ ในระยะที่ 3 นี้จะเชิญชวนให้ประชาชนทีม่ จี ติ สาธารณะ สามารถบริ จ าคเงิ น ให้ แ ก่ ก องทุ น ยุ ติ ธ รรมเพื่ อ นำ�ไป ช่วยเหลือประชาชนผู้ยากไร้ต่อไปด้วย การรับรู้คือบันไดขั้นแรกของการมีส่วนร่วม ทั้งนี้ กองทุนยุตธิ รรมก็จะมุง่ เป้าประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม รู้จักบทบาทหน้าที่ของกองทุนยุติธรรมอย่างต่อเนื่อง และใช้กลไกของศูนย์ยุติธรรมชุมชน ศูนย์ดำ�รงธรรม ในการทำ�งานร่วมกันกับชุมชน โดยผลิตสื่อแผ่นพับ ป้ายไวนิลเพือ่ ให้ภาคีเครือข่ายประชาสัมพันธ์ได้งา่ ยขึน้ กองทุนยุตธิ รรมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า เมือ่ ทุกคนรับรูภ้ ารกิจ กองทุนยุติธรรมจะนำ�ไปสู่การยกระดับความร่วมมือ และการเป็นหุน้ ส่วนในการอำ�นวยความยุตธิ รรม สมกับ เจตจำ�นงทีว่ า่ “ยุตธิ รรมถ้วนหน้า ประชามีสว่ นร่วม” Justice Magazine Ministry of Justice

43


คน เงิน แผน

นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

การพัฒนาบุคลากร ภาครัฐเพื่อรองรับ รัฐบาลดิจิทัล การปรับเปลีย่ นภาครัฐไปสูก่ ารเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั เป็นส่วนหนึง่ ของการขับเคลือ่ นประเทศไทยตามกรอบยุทธศาสตร์ประเทศ เพือ่ ไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 โดยเป็นส่วนหนึง่ ของยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และยังเป็นส่วนหนึง่ ของแผนพัฒนาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2559-2579)

ซึ่ ง ในช่ ว งต้ น เดื อ นมี น าคมที่ ผ ่ า นมา ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและส�ำนักงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ได้ร่วมกันจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากร ภาครัฐ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการ พิ จ ารณากรอบแนวทางการพั ฒ นาทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล จึงขอน�ำข้อมูลบางส่วนที่น่าสนใจมาถ่ายทอดต่อ ณ ที่นี้ การปรับเปลีย่ นภาครัฐไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลนั้น หมายถึง การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปรับปรุง ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การและการให้ บ ริ ก าร ของหน่ ว ยงานรั ฐ ทั้ ง ในส่ ว นกลางและส่ ว นภู มิ ภ าค สร้างบริการของรัฐที่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ โดยไม่มขี อ้ จ�ำกัดทางกายภาพ พืน้ ที่ และภาษา ซึง่ จะต้อง มีการปรับปรุงกระบวนการท�ำงานการรวบรวมข้อมูล และการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ เ ป็ น มาตรฐานเดียวกัน โดยการปรับเปลีย่ นตามแผนพัฒนาดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2559-2579) นัน้ ได้มีการก�ำหนดเป้าหมายออกเป็น 4 ระยะ คือ

44

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ระยะที ่ 1 การสร้างพืน้ ฐานทางดิจทิ ลั โดยมีเป้าหมาย ให้หน่วยงานภาครัฐมีการท�ำงานทีเ่ ชือ่ มโยงและบูรณาการ ข้อมูลข้ามหน่วยงาน ภายในปี พ.ศ. 2560 ระยะที ่ 2 การหลอมรวมการท�ำงาน โดยมีเป้าหมาย ให้หน่วยงานภาครัฐเชื่อมโยงและบูรณาการการท�ำงาน เหมือนเป็นองค์กรเดียวกันภายในปี พ.ศ. 2564 ระยะที่ 3 การปรับเปลี่ยนไปสู่ Digital Thailand โดยมีเป้าหมายให้หน่วยงานภาครัฐจัดบริการตามความ ต้องการของประชาชน และมีการเปิดเผยข้อมูลและให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง ภายในปี พ.ศ. 2569 ระยะที ่ 4 การเป็นผู้น�ำด้านรัฐบาลดิจิทัล โดยมี เป้าหมายในการเป็นผู้น�ำในภูมิภาคด้านรัฐบาลดิจิทัล ทัง้ ในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ และการบริการ ประชาชน ทั้งนี้ ปัจจัยความส�ำเร็จในการปรับเปลี่ยนภาครัฐ ไปสู ่ ก ารเป็ น รั ฐ บาลดิ จิ ทั ล คื อ การยกระดั บ ทั ก ษะ ด้านดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐในทุกระดับ โดยจะต้องมี


คน เงิน แผน

“รัฐบาลดิจทิ ลั หมายถึง การนำ� เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และ การให้บริการ ของหน่วยงานรัฐ ทัง้ ในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค สร้างบริการของรัฐทีป่ ระชาชน สามารถเข้าถึงบริการได้ โดยไม่มขี อ้ จำ�กัด” Justice Magazine Ministry of Justice

45


คน เงิน แผน

ความสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่และลักษณะงาน ของแต่ละบุคคล และมีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งได้มีการก�ำหนดมิติการเรียนรู้และกลุ่มทักษะต่าง ๆ ในเบื้องต้น ดังนี้ มิติที่ 1 รูเ้ ท่าทันและใช้เทคโนโลยีเป็น มีกลุม่ ทักษะ ที่จ�ำเป็น คือ ทักษะการอ่านและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy Skill Set) มิติที่ 2 เข้าใจนโยบาย กฎหมาย และมาตรฐาน มีกลุ่มทักษะที่จำ� เป็น คือ ทักษะด้านกฎหมาย นโยบาย และมาตรฐาน (Digital Governance, Standard and Compliance Skill Set) มิติที่ 3 ใช้ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ การประยุ ก ต์ แ ละพั ฒ นา มีกลุ่มทักษะที่จ�ำเป็น คือ ทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพือ่ ยกระดับศักยภาพองค์กร (Digital Technology Skill Set) และทั ก ษะด้ า นการออกแบบกระบวนการและการ ให้บริการดิจิทัลเพื่อพัฒนาคุณภาพ (Digital Process and Service Design and Assurance Skill Set) มิติที่ 4 ใช้ดิจิทัลเพื่อการวางแผน บริหารจัดการ และน�ำองค์กร มีกลุ่มทักษะที่จำ� เป็น คือ ทักษะด้านการ บริหารโครงการและกลยุทธ์ (Project and Strategic Management Skill Set) และทักษะด้านผู้น�ำดิจิทัล (Digital Leadership Skill Set) มิติที่ 5 ใช้ดิจิทัลเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง และสร้างสรรค์ มีกลุม่ ทักษะทีจ่ ำ� เป็น คือ ทักษะด้านการ ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง (Digital Transformation Skill Set)

46

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

การพัฒนาบุคลากรภาครัฐใน 5 มิติ 7 กลุ่มทักษะ ข้างต้นนัน้ จะมีการก�ำหนดเป้าหมายการเรียนรูท้ แี่ ตกต่างกัน ตามแต่บทบาทหน้าที่และลักษณะงาน ยกเว้นมิติที่ 1 กลุม่ ทักษะการอ่านและใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ซึง่ เป็นทักษะ พื้นฐานที่ทุกคนจะต้องได้รับการพัฒนา ส�ำหรับการแบ่งกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาทักษะ ด้านต่าง ๆ นัน้ ในเบือ้ งต้นได้มกี ารแบ่งออกเป็น 6 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ ผูบ้ ริหารระดับสูง กลุม่ ผูอ้ ำ� นวยการ กลุม่ ผูป้ ฏิบตั งิ าน ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานนโยบายและงานวิชาการ กลุม่ ผูป้ ฏิบตั งิ าน ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร กลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล และผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ ซึ่งจะมีการ ก�ำหนดบทบาททีค่ าดหวังของแต่ละกลุม่ ในห้วงเวลาต่าง ๆ และทักษะที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาอย่างเหมาะสม อีกครั้งหนึ่ง ประเด็ น ท้ า ทายประการหนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ น การปรับเปลี่ยนภาครัฐไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลคือ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้ วิถีชีวิตและการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ เปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังนั้น การก�ำหนดเป้าหมาย ในการพัฒนาบุคลากรในมิติต่าง ๆ และกลุ่มทักษะ ทีก่ ำ� หนดก็อาจต้องมีการทบทวนและปรับเปลีย่ นให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการปรับกรอบความคิด (Mindset) ในการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง เพราะเทคโนโลยี หลาย ๆ อย่างนั้น กว่าที่จะเรียนรู้จนสามารถใช้งานได้ ก็กลายเป็นของล้าสมัยไปเสียแล้ว


โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม

พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม

ประกาศเจตจำ�นงการบริหารงานด้วยความสุจริต พร้อมมอบรางวัลข้าราชการต้นแบบ (ปีที่ 5)

สวัสดีชาวยุตธิ รรม เล่มนีเ้ ป็นฉบับที่ 4 ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุตธิ รรม ขอนำ�เสนอพิธีประกาศเจตจำ�นงการบริหารงานด้วยความสุจริต และพิธีมอบรางวัลข้าราชการต้นแบบ สำ�นักงานปลัด กระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. 2560

เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการบริ ห ารงานราชการภายใน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ให้เป็นไปอย่างมีคณ ุ ธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) การก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงาน เพื่อยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ให้เป็นมาตรการ ป้องกันการทุจริตในเชิงรุก และก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินการด้านต่างๆ อีกทัง้ เป็นการแสดงเจตจ�ำนง แ ล ะ น โ ย บ า ย ข อ ง ผู ้ บ ริ ห า ร ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น Justice Magazine Ministry of Justice

47


พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

“ ข้าพเจ้าและคณะผูบ้ ริหาร สำ�นักงานปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม ขอให้ค�ำ มัน่ ว่า จะบริหารงาน ด้วยความ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณ ุ ธรรม มีความโปร่งใส และ ตรวสอบได้ ” ด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณ ุ ธรรม และความโปร่งใส ภายในหน่วยงานอันจะสร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากร ในหน่วยงานและสังคม ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม จึ ง ได้ อ อกประกาศส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เรื่องนโยบายเกีย่ วกับการส่งเสริมคุณธรรม ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นแนวทางบริหารงานราชการให้มีมาตรฐาน เดียวกัน และเป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่บุคลากรภายใน หน่วยงาน ได้ตระหนักและยึดถือในการปฏิบตั งิ านควบคู่ กับกฎระเบียบ และข้อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และได้มี ประกาศเจตจ� ำ นงการบริ ห ารงานด้ ว ยความสุ จ ริ ต ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 25 มกราคม 2560 เพื่อเป็นการแสดงเจตจ�ำนงและนโยบาย ของผู้บริหารในการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีคณ ุ ธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน อันจะสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรในหน่วยงาน และสังคม โดยได้มีพิธีประกาศเจตจ�ำนงการบริหารงานด้วย ความสุจริต เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2560 ณ ห้องรับรอง กระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 โดยมีนายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม เป็นประธานในพิธี และมีผบู้ ริหาร ระดับสูง ผูบ้ ริหารระดับกอง ข้าราชการ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมเข้าร่วมในพิธี

48

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

และเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2559 ส�ำนักงานปลัด กระทรวงยุติธรรม โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ได้ จั ด พิ ธี ม อบรางวั ล ข้ า ราชการต้ น แบบ (ปี ที่ 5) พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2559 โดยมีนายชาญเชาวน์ ไชยานุกจิ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็ น ประธานมอบรางวั ล โล่ประกาศเกียรติคณ ุ แก่ผไู้ ด้รบั รางวัลข้าราชการต้นแบบ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุติธรรม ชั้น 2 โดยกิจกรรม มอบรางวัลข้าราชการต้นแบบ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้น เพือ่ คัดเลือกข้าราชการในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวง ยุตธิ รรม ทีม่ คี ณ ุ สมบัตมิ คี วามประพฤติดี มีผลการท�ำงานดี เป็นแบบอย่างทีด่ ขี องหน่วยงาน และเหมาะสมในการยกย่อง เชิดชูเกียรติให้เป็นข้าราชการต้นแบบ วัตถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ มสนั บสนุ น ข้ า ราชการที่ ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นแรงบันดาลใจและเป็น รางวัลแก่ข้าราชการที่ปฏิบัติงานได้ดี มีความประพฤติดี ให้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ประกาศเกียรติคุณ เป็นข้าราชต้นแบบ ประจ�ำส�ำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม โดยมีกระบวนการคัดเลือกโดยคณะกรรมการ ก�ำหนดหลักเกณฑ์คัดเลือกและคัดเลือกบุคคลที่สมควร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ (ข้าราชการต้นแบบ)


พลังคุณธรรม ยับยั้งการทุจริต

กิจกรรมมอบรางวัลข้าราชการต้นแบบจัดขึน้ ครัง้ แรก เมือ่ ปี พ.ศ. 2554 เป็นปีที่ 1 และใน พ.ศ. 2558 - พ.ศ. 2559 นี้ จัดขึน้ เป็นปีที่ 5 ซึง่ มีขา้ ราชการผูผ้ า่ นการคัดเลือกให้เป็น ข้าราชการต้นแบบจ�ำนวน 6 คน ได้แก่ 1. นายไพโรจน์ ติณชาติอารักษ์ ยุตธิ รรมจังหวัดชลบุรี ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดชลบุรี 2. นายพงษ์ธวัช แดงสมบูรณ์ นักวิชาการยุติธรรม ช�ำนาญการ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครปฐม 3. นายอภิวัฒน์ กอมพนม นักจัดการงานทั่วไป ช�ำนาญการ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดอุดรธานี 4. นายถนอม บุญนาค นักวิชาการยุตธิ รรมช�ำนาญการ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครปฐม 5. นางสาวรัชนี เจตินยั นักวิชาการยุตธิ รรมปฏิบตั กิ าร ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดชลบุรี 6. นางสาวพรภัทรา ตันตยานนท์ นิติกรปฏิบัติการ ส�ำนักผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม กิ จ กรรมการประกาศเจตจ� ำ นงการบริ ห ารงาน ด้วยความสุจริต และกิจกรรมมอบรางวัลข้าราชการ ต้ น แบบ เป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ในการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น บุคลากรในหน่วยงาน ให้มคี วามประพฤติดปี ระพฤติชอบ ตัง้ มัน่ อยูบ่ นความกรอบของกฎหมาย ยืนหยัดในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง อันเป็นวิธีการในการป้องกันการทุจริตได้อีกรูปแบบหนึ่ง ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุตธิ รรม ขอย�้ำปณิธานเดิมว่า เพื่อรักษาไว้ซึ่งประโยชน์ของรัฐ และประชาราษฎร์ จักด�ำเนินการป้องกันและปราบปราม การทุจริตอย่างจริงจัง และจะร่วมสนับสนุนขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหาการทุจริตกับทุกภาคส่วน เพือ่ ร่วมขจัด ปัญหาการทุจริตให้หมดสิ้นจากผืนแผ่นดินไทย Justice Magazine Ministry of Justice

49


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

เรียบเรียงโดยสำ�นักงาน ป.ป.ส.

พ.ร.บ.ยาเสพติดฉบับใหม่ พิจารณาเจตนาผู้กระทำ�ผิด ให้โอกาส “ผู้ต้องหา” พิสูจน์ตัวเอง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โปรดเกล้าฯ พ.ร.บ.ยาเสพติดให้ โทษฉบับใหม่แก้ ไขข้อสันนิษฐานไม่ถือเป็นเด็ดขาด ยืดหยุน่ บทลงโทษให้เหมาะสมกับพฤติการณ์แก้ ม.65 โทษ “จำ�คุกตลอดชีวติ ” เป็น “จำ�คุกตัง้ แต่สบิ ปีจนถึงตลอดชีวติ ” ส่วนวรรคสอง เดิม “ประหารชีวติ ” เปลีย่ นเป็นจำ�คุกตลอดชีวติ หรือประหารชีวติ ให้โอกาส “ผูต้ อ้ งหา” ร้องขอ ให้ศาลกำ�หนดโทษใหม่ เพื่อโอกาสพิสูจน์ตัวเอง

50

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2560 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการ โปรดเกล้าฯ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2560 แล้ว โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นผูร้ บั สนองพระราชโองการ ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 16 มกราคม 2560 เป็นต้นไป โดยเหตุผลการประกาศใช้ กฎหมายฉบับดังกล่าวนั้น เนื่องด้วยพระราชบัญญัติ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ พ.ศ. 2522 ซึ่ ง แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มีบทบัญญัตบิ างส่วนทีก่ ำ�หนดว่าบุคคลทีก่ ระทำ�ความผิด เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษในประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 4 และประเภท 5 โดยมียาเสพติ ด ให้ โ ทษ เกินปริมาณทีก่ ำ�หนดไว้ ให้ถอื ว่าผูน้ นั้ กระทำ�เพือ่ จำ�หน่าย โดยไม่ได้เปิดโอกาสให้มีการพิจารณาถึงเจตนาที่แท้จริง ของผู้กระทำ�ความผิด และไม่ได้ให้สิทธิผู้ต้องหาหรือ จำ�เลยในการพิ สู จ น์ ค วามจริ ง ในคดี จึ ง สมควรแก้ ไข

ปรั บ ปรุ ง บทบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วให้ มี ลั ก ษณะเป็ น เพี ย ง ข้อสันนิษฐาน เพื่อให้ผู้ต้องหาหรือจำ�เลยมีโอกาสพิสูจน์ ความจริงได้ นอกจากนี้ อัตราโทษสำ�หรับความผิดเกีย่ วกับ การผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึง่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ที่ กำ�หนดโทษให้ จำ�คุ ก ตลอดชี วิ ต และปรั บ ตั้ ง แต่ 1 ล้านบาท ถึง 5 ล้านบาท หรือประหารชีวติ ยังไม่เหมาะสม จึ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง บทกำ�หนดโทษดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ การลงโทษผู้กระทำ�ความผิดมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2560 มีทงั้ หมด 10 มาตรา ซึง่ มีเนือ้ หาทีน่ า่ สนใจดังนี้ มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสามของมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ซึง่ แก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และให้ใช้ ความต่อไปนี้แทน “การผลิต นำ�เข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครอง ซึง่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ตามปริมาณ ดังต่อไปนี้ Justice Magazine Ministry of Justice

51


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ให้สนั นิษฐานว่าเป็นการผลิต นำ�เข้า ส่งออก หรือมีไว้ ในครอบครองเพื่อจำ�หน่าย (1) เด็กซ์โตรไลเซอร์ไยด์ หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณ คำ�นวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 0.75 มิลลิกรัมขึ้นไป หรือ มียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำ�นวนสิบห้าหน่วย การใช้ขนึ้ ไป หรือมีนาํ้ หนักสุทธิ ตัง้ แต่ 300 มิลลิกรัมขึน้ ไป (2) แอมเฟตามีนหรืออนุพนั ธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณ คำ�นวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 375 มิลลิกรัมขึ้นไป หรือ มียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำ�นวนสิบห้าหน่วย การใช้ขึ้นไป หรือมีนํ้านักสุทธิตั้งแต่ 1.5 กรัมขึ้นไป (3) ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 นอกจาก (1) และ (2) มีปริมาณคำ�นวณเป็นสารบริสทุ ธิ์ ตัง้ แต่ 3 กรัมขึน้ ไป” มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา 17 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ พ.ศ. 2522 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การมียาเสพติดให้โทษ ในประเภท 2 ไว้ในครอบครองคำ�นวณเป็นสารบริสุทธิ์ได้ ตั้งแต่ 100 กรัมขึ้นไป ให้สันนิษฐานว่ามีไว้ในครอบครอง เพื่อจำ�หน่าย” มาตรา 5 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 และ ให้ ใ ช้ ค วามต่ อ ไปนี้ แ ทน “การมี ย าเสพติ ด ให้ โ ทษ ในประเภท 4 หรื อ ในประเภท 5 ไว้ ใ นครอบครอง มีปริมาณตั้งแต่ 10 กิโลกรัมขึ้นไป ให้สันนิษฐานว่ามีไว้ ในครอบครองเพื่อจำ�หน่าย” มาตรา 6 ให้ยกเลิกความในมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ พ.ศ. 2522 ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ผู้ใดผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 1 อันเป็นการฝ่าฝืน มาตรา 15 ต้องระวางโทษ จำ�คุ ก ตั้ ง แต่ สิ บ ปี ถึ ง จำ�คุ ก ตลอดชี วิ ต และปรั บ ตั้ ง แต่ 1 ล้านบาท ถึง 5 ล้านบาท

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ฉบับ พ.ศ. 2560 นี้ ถือเป็น พ.ร.บ. ยาเสพติดที่มีความชัดเจนเพียงพอ และให้ความสำ�คัญต่อหลักการ สิทธิมนุษยชนเป็นอย่างมาก 52

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


กฎหมายสามัญประจำ�บ้าน

ถ้าการกระทำ�ความผิดตามวรรคหนึง่ เป็นการกระทำ� เพื่อจำ�หน่าย ต้องระวางโทษจำ�คุกตลอดชีวิต และปรับ ตั้งแต่ 1 ล้านบาท ถึง 5 ล้านบาท หรือประหารชีวิต ถ้าการกระทำ�ความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการผลิต โดยการแบ่งบรรจุ หรือรวมบรรจุ ต้องระวางโทษจำ�คุก ตั้ ง แต่ 4 ปี ถึ ง 15 ปี หรื อ ปรั บ ตั้ ง แต่ 8 หมื่ น บาท ถึง 3 แสนบาท หรือทั้งจำ�ทั้งปรับ ถ้าการกระทำ�ความผิดตามวรรคสาม เป็นการกระทำ� เพื่อจำ�หน่าย ต้องระวางโทษจำ�คุกตั้งแต่ 4 ปี ถึงจำ�คุก ตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 4 แสนบาท ถึง 5 ล้านบาท” ซึ่ ง ในกฎหมายเดิ ม โทษของการผลิ ต นำ�เข้ า หรื อ ส่งออก ซึง่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ถ้าเป็นการกระทำ� เพือ่ “จำ�หน่าย” นัน้ จะต้องระวางโทษประหารชีวติ สถานเดียว แต่ ก ฎหมายใหม่ ไ ด้ แ ก้ ไ ขให้ มี โ ทษปรั บ และจำ�คุ ก ตลอดชีวิตด้วย มาตรา 7 ให้ยกเลิกความในมาตรา67แห่งพระราชบัญญัติ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ พ.ศ. 2522 ซึ่ ง แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ผู้ ใ ดมี ไ ว้ ใ นครอบครองซึ่ ง ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ ในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำ�คุก ตั้ ง แต่ 1 ปี ถึ ง 10 ปี หรื อ ปรั บ ตั้ ง แต่ 2 หมื่ น บาท ถึง 2 แสนบาท หรือทั้งจำ�ทั้งปรับ” มาตรา 10 ให้ประธานศาลฎีกา นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับอำ�นาจหน้าที่ของตน พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ ฉบับ พ.ศ. 2560 นี้ ถือเป็น พ.ร.บ.ยาเสพติดที่มีความชัดเจนเพียงพอและ ให้ความสำ�คัญต่อหลักการสิทธิมนุษยชนเป็นอย่างมาก Justice Magazine Ministry of Justice

53


สาระสำ�คัญของ พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ

(ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2560 เป็นต้นไป

ทำ�ไมต้องมีพระราชบัญญัติฉบับนี้ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มีบทบัญญัติบางส่วนที่กำ�หนดว่าบุคคล ที่ก ระทำ � ความผิ ด เกี่ย วกั บ ยาเสพติ ด ให้ โ ทษในประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 4 และประเภท 5 โดยมี ย าเสพติ ด ให้ โ ทษเกิ น ปริ ม าณที่ กำ � หนดไว้ ให้ ถื อ ว่ า ผู้ น้ั น กระทำ�เพื่อจำ�หน่าย โดยไม่ได้เปิดโอกาสให้มีการพิจารณาถึงเจตนาที่แท้จริงของ ผู้กระทำ�ความผิด และไม่ได้ ให้สิทธิผู้ต้องหาหรือจำ�เลยในการพิสูจน์ความจริงในคดี จึ ง สมควรแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง บทบั ญ ญั ติดัง กล่ า วให้ มีลัก ษณะเป็ น เพี ย งข้ อ สั น นิ ษ ฐาน เพื่อให้ผู้ต้องหาหรือจำ�เลยมีโอกาสพิสูจน์ความจริงได้ นอกจากนี้ อัตราโทษสำ�หรับ ความผิดเกี่ยวกับ การผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ยังไม่เหมาะสม จึงต้องมีการปรับปรุงบทกำ�หนดโทษดังกล่าว เพื่อให้การลงโทษ ผูก้ ระทำ�ความผิดมีความเหมาะสมยิง่ ขึน้

54

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


1

การพิสจู น์พฤติการณ์หรือ เจตนาทีแ่ ท้จริงของผูก้ ระทำ�ความผิด

การกระทำ�ผิด→

ก ารผลิต นำ�เข้า ส่งออก หรือมีไว้ ในครอบครองซึง่ ยาเสพติดให้โทษ เกินปริมาณทีก่ ฎหมายกำ�หนด

กฎหมายเดิม→ “ ให้ถอื เป็นเด็ดขาด” ว่า “กระทำ�เพือ่ จำ�หน่าย”

กฎหมายใหม่→ เป็น“ข้อสันนิษฐาน” ว่า “กระทำ�เพือ่ จำ�หน่าย”

2

การปรับปรุงอัตราโทษฐานผลิต นำ�เข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติด ให้โทษประเภท 1 (เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน หรือยาบ้า)

การกระทำ�ผิด→

ก ารผลิต นำ�เข้าหรือส่งออก ที่ ไม่ใช่ การ “กระทำ�เพือ่ จำ�หน่าย”

กฎหมายเดิม→ จ �ำ คุกตลอดชีวติ และปรับ 1 ล้านบาท - 5 ล้านบาท สถานเดียว

กฎหมายใหม่→ จ �ำ คุกตัง้ แต่ 10 ปี - จำ�คุก ตลอดชีวติ และปรับ 1 ล้านบาท - 5 ล้านบาท

การกระทำ�ผิด→

ก ารผลิต นำ�เข้าหรือส่งออก ทีเ่ ป็นการ “กระทำ�เพือ่ จำ�หน่าย”

กฎหมายเดิม→ ประหารชีวติ สถานเดียว

กฎหมายใหม่→ จ�ำ คุกตลอดชีวติ และปรับ 1 ล้านบาท - 5 ล้านบาท หรือ ประหารชีวติ Justice Magazine Ministry of Justice

55


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

ให้การต้อนรับผูแ้ ทน UNODC ประจำ�ภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิก นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุติธรรม ให้การต้อนรับ Mr.Jeremy Douglas ผู้แทน UNODC ประจำ�ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ และแปซิฟิก พร้อมคณะ เข้าเยี่ยมคารวะเนื่องในโอกาส ที่ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมเข้ า รั บ ตำ�แหน่ ง หน้าทีใ่ หม่ ณ ห้องรับรองกระทรวงยุตธิ รรม ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

ครบรอบ 12 ปี วันก่อตัง้ สหกรณ์ออมทรัพย์ กระทรวงยุติธรรม นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เข้าร่วมพิธีทำ�บุญเนื่องในโอกาสครบรอบ 12 ปี วันก่อตั้ง สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรม จำ�กั ด โดยมี นายวีระยุทธ สุขเจริญ ประธานกรรมการดำ�เนินการ สหกรณ์ ฯ เป็ น ประธานในพิ ธี พร้ อ มด้ ว ยข้ า ราชการ เจ้ า หน้ า ที่ และสมาชิ ก สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ก ระทรวง ยุติธรรม เข้าร่วมพิธีฯ ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

“ยุติธรรม” อบรมข้าราชการใหม่ รุ่นที่ 19 นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานในพิธเี ปิดโครงการฝึกอบรมข้าราชการพลเรือน ที่อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ส่วนที่ 3 หลักสูตร การเป็นข้าราชการทีด่ ี รุน่ ที่ 19 พร้อมทัง้ บรรยาย พิเศษในหัวข้อ “การให้บริการประชาชนเพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชน” เพือ่ สร้างความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับการปฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการ รวมถึงการปลูกฝังจิตสำ�นึก ความซื่อสัตย์ ความอดทน และความเสียสละในการ ปฎิบัติหน้าที่ราชการ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ประชาชนและประเทศชาติ ณ ห้องรับรองกระทรวง ยุตธิ รรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

56

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

ขับเคลื่อนนโยบาย “ยุติธรรมสู่หมู่บ้าน นำ�บริการรัฐสูป่ ระชาชน” อำ�นวยความ ยุตธิ รรมในพื้นที่ภาคใต้ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมมอบนโยบายและชี้แจงภารกิจ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมในการอำ�นวยความยุ ติ ธ รรม ในระดั บ พื้ น ที่ ภายใต้ โ ครงการ “ยุ ติ ธ รรมสู่ ห มู่ บ้ า น นำ�บริการรัฐสู่ประชาชน ครั้งที่ 1 ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560” เพื่อมอบนโยบายการทำ�งานเชิงบูรณาการ การอำ�นวยความยุติธรรมแก่ประชาชนในระดับพื้นที่ พร้อมทั้งสร้างการรับรู้ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มี ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องต่อการปฏิบตั งิ านของภาครัฐ โดยมุ่งหวังให้ข้าราชการและผู้เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วม แก้ ไขปั ญ หาบรรเทาความเดื อ ดร้ อ นของประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในลักษณะร่วมกันคิด ร่วมกันวางแผน ร่วมกันทำ� และร่วมกันติดตามประเมินผล โดยเน้นการ ช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมให้เข้าถึง ความเป็นธรรมได้ง่าย รวดเร็ว ซึ่งจะทำ�ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชาชน สังคม และประเทศชาติอย่างยั่งยืน ณ โรงแรมทวินโลตัส อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อจากนัน้ ปลัดกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมคณะ ลงพืน้ ที่ พบปะประชาชนพร้อมทั้งรับฟังปัญหาความเดือดร้อน และมอบอุ ป กรณ์ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบอุ ท กภั ย ในพื้ น ที่ ณ ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 14 (ศาลาโมรา) ตำ�บลท่าเรือ อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตอิตาลี ประจำ�ประเทศไทย นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุตธิ รรม ให้การต้อนรับ H.E. Mr.Francesco Saverio Nisio เอกอัครราชทูตอิตาลีประจำ�ประเทศไทย พร้อมคณะ เข้าเยีย่ มคารวะเนือ่ งในโอกาสทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ยุ ติ ธ รรมเข้ า รั บ ตำ�แหน่ ง หน้ า ที่ ใ หม่ ณ ห้ อ งรั บ รอง กระทรวงยุ ติ ธ รรม ศู น ย์ ร าชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ กรุงเทพฯ

Justice Magazine Ministry of Justice

57


ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

พันตำ�รวจโท วิชัย สุวรรณประเสริฐ ผู้บัญชาการสำ�นักคดีเทคโนโลยีและสารสนเทศ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ ศนธ.ยธ.

นโยบายรัฐในการ

แก้ ไขปัญหา หนีน้ อกระบบ

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวปาฐกถาเปิดโครงการแก้ ไขปัญหาหนีน้ อกระบบอย่างบูรณาการ และยั่งยืน ซึ่งกระทรวงการคลังเป็นเจ้าภาพจัดขึ้น ณ ห้องประชุม แกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม อาคารอิมแพ็คฟอรัม่ เมืองทองธานี ประเด็น ที่อยากกล่าวถึงคือรัฐบาลได้ ให้ความสำ�คัญกับการแก้ ไขปัญหา หนี้นอกระบบ โดยให้เป็น “วาระแห่งชาติ” ซึ่งในวันดังกล่าวกระทรวง ยุติธรรมและหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องได้ ไปร่วมงาน

58

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

นั ย ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ถื อ เป็ น ก้ า วสำ�คั ญ ข อ ง ก า ร แ ก้ ไข ปั ญ ห า ห นี้ น อ ก ร ะ บ บ เพราะทีผ่ า่ นมาดูเหมือนว่าทุกรัฐบาลได้เข้ามา แก้ ไขปั ญ หา แต่ ส ถานการณ์ ค วามรุ น แรง ยั ง คงเกิ ด ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผมจึ ง พาท่ า น ย้อนอดีตเพื่อดูภาพของการแก้ไข แล้วมา ช่วยลองวิเคราะห์ว่าจะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ให้ยั่งยืนได้อย่างไร เมื่อปี 2557 ภายหลังจากคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้เข้ามาแก้ไข ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากโครงการรั บ จำ�นำ�ข้ า ว โดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) จ่ า ยเงิ น ที่ ค้ า งให้ แ ก่ เกษตรกร ในช่ ว งนั้ น ได้ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่เจ้าหนี้นอกระบบไปข่มขู่ทวงหนี้เกษตรกร ทำ�ให้ คสช. ออกประกาศคณะรั ก ษา ความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 46/2557 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2557 เรื่องความผิดเกี่ยวกับ การติดตามทวงหนี้ กำ�หนดว่า “ผูใ้ ดข่มขืนใจ ชาวนาให้ ย อมให้ ห รื อ ยอมจะให้ ต นหรื อ ผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้ กำ�ลั ง ประทุ ษ ร้ า ย หรื อ โดยขู่ เข็ ญ ว่าจะทำ�อันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียงหรือทรัพย์สินของชาวนาหรือของ บุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น ผู้ นั้ น ต้ อ งระวางโทษจำ�คุ ก ไม่ เ กิ น สองปี หรือปรับไม่เกินสีห่ มืน่ บาท หรือทัง้ จำ�ทัง้ ปรับ”


ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

มาตรการด้ า นกฎหมายถือว่าเป็น จุด แข็งของรัฐ บาลในการแก้ ไขปั ญหา โดยได้ตราพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 และพระราชบัญญัติ ห้ามเรียกดอกเบีย้ เกินอัตรา พ.ศ.2560 เพือ่ เป็นเครือ่ งมือป้องกันและปราบปราม ผู้ ที่ เ อารั ด เอาเปรี ย บโดยเรี ย กผลตอบแทนจากดอกเบี้ ย ในอั ต ราที่ สู ง และการติดตามทวงหนี้ที่ผิดกฎหมาย สำ�หรับแนวทางการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน รัฐบาลมุ่งเน้นการแก้ไขที่สาเหตุ ของปัญหา ทั้งในด้านสินเชื่อและศักยภาพการหารายได้ โดยให้ชุมชนเข้ามา มี บ ทบาทในการแก้ ไขปั ญ หาหนี้ น อกระบบผ่ า นองค์ ก รการเงิ น ที่ เข้ ม แข็ ง และมีศักยภาพ ควบคู่ไปกับการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของสถาบันการเงิน เฉพาะกิ จ พร้ อ มทั้ ง สร้ า งกลไกในการเจรจาประนอมหนี้ ร ะหว่ า งลู ก หนี้ และเจ้าหนี้ ซึง่ รวมทัง้ การสร้างกลไกในการพัฒนาและฟืน้ ฟูเพือ่ ให้ลกู หนีม้ ศี กั ยภาพ ในการหารายได้และป้องกันไม่ให้กลับเป็นไปลูกหนี้นอกระบบอีก โดยมอบหมาย ให้กระทรวงมหาดไทยประสานศูนย์ดำ�รงธรรมทุกจังหวัด รวมทัง้ องค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น เพื่ อ รั บ เรื่ อ งร้ อ งทุ ก ข์ แ ละเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ปั ญ หาหนี้ สิ น ภาคประชาชน ทั้งหนี้สินในระบบและหนี้สินนอกระบบของประชาชนในพื้นที่ และดำ�เนินการประสานกับกลไกการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบที่กระทรวง การคลังวางไว้ ซึ่งสามารถสรุปเป็น 5 มิติ ดังนี้ มิติที่ 1 การดำ�เนิ น การอย่ า งจริ ง จั ง กั บ เจ้ า หนี้ น อกระบบที่ ผิ ด กฎหมาย โดยกระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ มี ก ารแก้ ไขพระราชบั ญ ญั ติ ห้ า มเรี ย กเก็ บ ดอกเบี้ ย เกินอัตรา พ.ศ.2560 ซึง่ กำ�หนดเพิม่ โทษกับเจ้าหนีน้ อกระบบทีม่ กี ารกระทำ�ความผิด ในฐานเรี ย กดอกเบี้ยเกิน อัต รา สำ�หรับ สาระสำ�คัญ ของร่ า งพระราชบั ญญั ติ ฉบั บ ใหม่ นี้ จะกำ�หนดการกู้ ยื ม เงิ น หรื อ กระทํ า การใดๆ อั น มี ลั ก ษณะ เป็ น การอํ า พรางการให้ กู้ ยื ม เงิ น โดยเรี ย กดอกเบี้ ย เกิ น อั ต ราที่ ก ฎหมาย กำ�หนดไว้ หรื อ กํ า หนดข้ อ ความอั น เป็ น เท็ จ ในเรื่ อ งจํ า นวนเงิ น กู้ หรือเรื่องอื่นๆ ไว้ในหลักฐานการกู้ยืม หรือตราสารที่เปลี่ยนมือได้เพื่อปิดบัง การเรี ย กดอกเบี้ ย เกิ น อั ต ราที่ ก ฎหมาย หรื อ กํ า หนดจะเอาหรื อ รั บ เอา ซึ่ ง ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น นอกจากดอกเบี้ ย ไม่ ว่ า จะเป็ น เงิ น หรื อ สิ่ ง ของ หรื อ โดยวิ ธี ก ารใดๆ จนเห็ น ได้ ชั ด ว่ า ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ นั้ น มากเกิ น ส่ ว น อั น สมควรตามเงื่ อ นไขแห่ ง การกู้ ยื ม เงิ น กํ า หนดให้ ถื อ เป็ น ความผิ ด มี โ ทษ จำ�คุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท หรือทั้งจำ�ทั้งปรับ

อีกทัง้ ได้มคี าํ สัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 13/2559 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2559 เรื่อง การป้องกัน และปราบปรามการกระทําความผิดบางประการที่เป็น ภยันตรายต่อความสงบเรียบร้อยหรือบ่อนทําลายระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยให้ขา้ ราชการทหาร เป็นเจ้าพนักงานป้องกันและปราบปราม ดําเนินการ ป้ อ งกั น และปราบปรามการกระทํ า อั น เป็ น ความผิ ด ตามพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้อีกด้วย มิติท ี่ 2 การเพิ่มช่องทางการเข้าถึงสินเชื่อในระบบ ให้ กั บ ลู ก หนี้ น อกระบบและประชาชนทั่ ว ไป โดยให้ กระทรวงการคลั ง ออกโครงการการประกอบธุ ร กิ จ สถาบันการเงินขนาดเล็กหรือสินเชือ่ รายย่อยระดับจังหวัด หรือพิโกไฟแนนซ์ เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงสินเชื่อ และแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ ซึ่งกำ�หนดทุนจดทะเบียน ไม่ตํ่ากว่า 5 ล้านบาท ปล่อยกู้ให้กับบุคคลธรรมดาทั้งที่มี และไม่มีหลักประกัน วงเงินไม่เกิน 50,000 บาทต่อราย อัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 36 ต่อปี โดยจะต้องปล่อยกู้ เฉพาะภายในจังหวัดทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ เท่านัน้ อยูภ่ ายใต้ การกำ�กับดูแลของกระทรวงการคลัง ก่ อ นหน้ า นี้ รั ฐ บาลได้ มี แ นวทางการแก้ ไขปั ญ หา การเข้ า ถึ ง แหล่ ง ทุ น โดยให้ มี ก ารจดทะเบี ย น เป็ น ผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ นาโนไฟแนนซ์ อยู่ ภ ายใต้ การกำ�กั บดู แลของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย เพื่อให้ ประชาชนที่ มีร ายได้ น้ อ ย ไม่ มีห ลั ก ประกัน สามารถ ขอสิ น เชื่ อ เพื่ อ การลงทุ น ได้ สิ น เชื่ อ นาโนไฟแนนซ์ จะมี ก ระบวนการให้ สิ น เชื่ อ ที่ ยื ด หยุ่ น สอดคล้ อ งกั บ คุณลักษณะของกลุ่มลูกหนี้ เช่น ผู้ที่เริ่มต้นธุรกิจใหม่ เป็นต้น ผู้ที่ประสงค์จะขอสินเชื่อสามารถกู้ได้ไม่เกิน 100,000 บาทต่อราย ในอัตราดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 36 ต่อปี ผู้กู้ไม่จำ�เป็นต้องมีหลักประกัน ส่วนทางด้าน ผู้ ป ระกอบการที่ ป ระสงค์ จ ะขอใบอนุ ญ าตให้ สิ น เชื่ อ นาโนไฟแนนซ์นั้น จะต้องมีทุนจดทะเบียนซึ่งชำ�ระแล้ว ไม่ตํ่ากว่า 50 ล้านบาท นอกจากนาโนไฟแนนซ์และพิโกไฟแนนซ์ ธนาคาร ออมสิน และ ธ.ก.ส. ได้จัดตั้งหน่วยธุรกิจเพื่อรับผิดชอบ ในการให้ คำ�ปรึ ก ษาเรื่ อ งการแก้ ไ ขหนี้ น อกระบบ และจัดให้มสี นิ เชือ่ แบบใหม่เพือ่ ทดแทนหนีน้ อกระบบในอัตรา ดอกเบีย้ ทีเ่ ป็นธรรมโดยธนาคารออมสินและ ธ.ก.ส. จะให้ สินเชือ่ แก่ผทู้ ตี่ อ้ งการเงินฉุกเฉินรายละไม่เกิน 50,000 บาท คิดดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 0.85 ต่อเดือน หรือคิดเป็น ร้ อ ยละ 18.83 ต่ อ ปี โดยไม่ นำ�การตรวจเครดิ ต บู โร มาเป็ น เงื่ อ นไขในการพิ จ ารณาสิ น เชื่ อ วงเงิ น สิ น เชื่ อ ทั้งหมด 10,000 ล้านบาท Justice Magazine Ministry of Justice

59


ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

ย้อนอดีตการแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ ช่วงปี 2554 ถึงปี 2557

มิติที่ 3 การลดภาระหนีน้ อกระบบโดยการไกล่เกลีย่ ประนอมหนี้ โดยภาครัฐได้จดั ให้การไกล่เกลีย่ ประนอมหนี้ โดยคณะอนุกรรมการไกล่เกลี่ยประนอมหนี้ ซึ่งมีอยู่ใน ทุ ก จั ง หวั ด จั ด ให้ มี จุ ด ให้ คำ�ปรึ ก ษาหนี้ น อกระบบ ทีธ่ นาคารออมสิน และ ธ.ก.ส. ทุกสาขาทัว่ ประเทศ เพือ่ ให้ ความช่วยเหลือแก่ลูกหนี้ได้อย่างทั่วถึง มิติที่ 4 การเพิ่ ม ศั ก ยภาพของลู ก หนี้ น อกระบบ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ความรู้ทางการเงิน ให้ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และการพัฒนาฝีมือ แรงงาน เพื่ อ ให้ ลู ก หนี้ มี ร ายได้ ท่ี เ พี ย งพอและไม่ ต้ อ ง เป็นหนี้ซํ้าอีก มิติที่ 5 การร่วมมือกันอย่างบูรณาการของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยพัฒนาเครือข่ายองค์กรการเงินชุมชน ให้ทำ�หน้าทีท่ ดแทนเจ้าหนีน้ อกระบบ การให้หน่วยงานของรัฐ ธนาคารออมสิน และ ธ.ก.ส. ทำ�หน้าทีเ่ ป็นหน่วยงานพีเ่ ลีย้ ง และสนับสนุนเงินทุนให้กับองค์กรการเงินชุมชนให้เกิด ความเข้มแข็ง หลักสำ�คัญ คือ เพื่อการกู้ยืมแก่เกษตรกร ผู้ ย ากจน เพื่ อ สงวนและรั ก ษาที่ ดิ น ของเกษตรกร และผู้ยากจนไม่ให้ตกไปเป็นของเจ้าหนี้หรือบุคคลอื่น วัตถุประสงค์เพือ่ ไถ่ถอนทีด่ นิ คืนจากการขายฝากหรือจำ�นอง หรื อ เพื่ อ ชำ�ระหนี้ ต ามสั ญ ญากู้ ยื ม เงิ น และเพื่ อ ซื้ อ ที่ ดิ น ตามสิ ท ธิ แ ห่ ง กฎหมายว่ า ด้ ว ยการเช่ า ซื้ อ ที่ ดิ น เพื่อการเกษตรกรรม และการให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกัน ทำ�หน้ าที่ใ ห้ ค วามรู้ท างการเงิน แก่ป ระชาชนในชุม ชน รวมทัง้ การจัดทำ�ฐานข้อมูลหนีน้ อกระบบเพือ่ ใช้ประโยชน์ ในการกำ�หนดนโยบายทีเ่ หมาะสมและตรงเป้าหมายในอนาคต

60

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

รั ฐ บาลภายใต้ ก ารนำ�ของนางสาวยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี ยังคงใช้กลไกภาครัฐเดิมในการแก้ไขปัญหา และให้ความสำ�คัญกับนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจเพือ่ เพิม่ รายได้ ด้วยการกำ�หนดค่าจ้างขัน้ ตํา่ วันละ 300 บาท และกำ�หนด เงินเดือนสำ�หรับผูจ้ บการศึกษาระดับปริญญาตรีอย่างน้อย 15,000 บาท มาตรการ ลดภาษีสำ�หรับบ้านหลังแรกและรถคันแรก ตลอดจนการยกระดับสินค้าเกษตรกร โดยกำ�หนดราคารับจำ�นำ�ข้าวเปลือกเจ้าและข้าวเปลือกหอมมะลิความชืน้ ไม่เกิน ร้อยละ 15 ที่ราคาเกวียนละ 15,000 บาท และ 20,000 บาทตามลำ�ดับ ในส่วน นโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการแก้ไขปัญหาหนีโ้ ดยตรง ได้แก่ การพักชำ�ระหนีค้ รัวเรือน ของเกษตรกรรายย่อยและผูม้ รี ายได้นอ้ ยทีม่ หี นีต้ าํ่ กว่า 500,000 บาท อย่างน้อย 3 ปี และปรับโครงสร้างหนี้สำ�หรับผู้ที่มีหนี้เกิน 500,000 บาท รวมทั้งจัดทำ�แผน ฟื้นฟูอาชีพและแผนการปรับโครงสร้างการผลิตอย่างครบวงจร เพื่อสร้างโอกาส ในการยกระดับคุณภาพชีวติ ด้วยการมีรายได้ทมี่ นั่ คงและสามารถใช้หนีค้ นื ส่งเสริม ประชาชนให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนธุรกิจสินเชือ่ รายย่อย โดยเฉพาะสินเชือ่ เพือ่ ประกอบอาชีพให้แก่ประชาชนผูม้ รี ายได้นอ้ ย ผ่านการเพิม่ เงินกองทุนหมูบ่ า้ น และชุมชนเมือง และการจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เป็นต้น

การแก้ ไขปัญหาช่วงปี พ.ศ. 2551-2554 รั ฐ บาลนายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ นายกรั ฐ มนตรี ได้ มี ก ารออกแนวทาง เพื่อการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบในโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนีน้ อกระบบ) โดยเปลีย่ นให้กระทรวงการคลังเป็นเจ้าภาพหลัก และให้ประสาน ความร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม จัดตั้งหน่วยงานขึ้น เพื่อดำ�เนินการแก้ไขปัญหา ได้แก่ ศูนย์อำ�นวยการปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ภาคประชาชน (ศอก.นส.) กระทรวงการคลัง ศูนย์แก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ กระทรวงมหาดไทย และศูนย์ชว่ ยเหลือลูกหนีแ้ ละประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็นธรรม กระทรวงยุติธรรม (ศนธ.ยธ.) โดยมีการเปิดรับลงทะเบียนลูกหนี้นอกระบบแล้ว ให้สถาบันการเงินเข้าไปช่วยเหลือสนับสนุนด้านแหล่งทุนเพื่อลดความเดือดร้อน จากปัญหาหนี้นอกระบบ

การแก้ปัญหาช่วงปี พ.ศ. 2544-2548 รั ฐ บาลนายทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร นายกรั ฐ มนตรี ได้ แ ถลงถึ ง นโยบายที่ จ ะ แก้ปญ ั หาความยากจนของประชาชนให้หมดไปภายในปี 2551 โดยมอบหมายให้ กระทรวงมหาดไทยเป็นเจ้าภาพหลัก และได้มีการจัดตั้ง “ศูนย์อำ�นวยการต่อสู้ เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ (ศตจ.)” ขึ้น เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2546 เพื่ อ ทำ�หน้ า ที่ บ ริ ห ารจั ด การแก้ ไขปั ญ หาสั ง คมและความยากจน ให้ เ กิ ด การบูรณาการการทำ�งานของทุกภาคส่วน ทั้งจากกลไกของรัฐ คือ กระทรวง ต่างๆ ทั้งในส่วนกลาง ในจังหวัด อำ�เภอ ตำ�บล ลงไปถึงหมู่บ้าน และจาก ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม คือ ผูแ้ ทนชุมชนหน่วยงานพัฒนาเอกชน และองค์กร เพื่อสาธารณประโยชน์ต่างๆ


ยุติธรรมเดินหน้าช่วยประชาชน

กระทรวงมหาดไทยได้สำ�รวจ “ลงทะเบียนคนจน” จากปัญหาความเดือดร้อน 8 ประเภท ได้แก่ 1.ปัญหาทีด่ นิ ทำ�กิน 2.ปัญหาคนเร่รอ่ น 3.ปัญหาผูป้ ระกอบอาชีพ ผิดกฎหมาย 4.ปัญหาการให้ความช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาให้มรี ายได้จากอาชีพ ที่เหมาะสม 5.ปัญหาการถูกหลอกลวง 6.ปัญหาหนี้สินภาคประชาชน 7.ปัญหา ที่อยู่อาศัย และ 8.ปัญหาอื่นๆ ภายใต้นโยบายนี้ “ปัญหาหนี้นอกระบบ” ถือเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาหนี้สินภาคประชาชน ซึ่งเป็นปัญหาที่ประชาชนมาจดทะเบียนมากที่สุดถึงร้อยละ 41.10 จำ�นวน 5,061,045 ราย โดยสามารถแยกประเภทหนี้นอกระบบ 1,765,033 ราย มูลหนี้ 136,750 ล้านบาท หนีใ้ นระบบ 4,545,829 ราย มูลหนี้ 556,240 ล้านบาท การดำ�เนิ น การแก้ ปั ญ หาหนี้ สิ น มี ทั้ ง การเป็ น ตั ว กลางเจรจาเพื่ อ ไกล่ เ กลี่ ย ประนอมหนี้กับเจ้าหนี้ และการโอนหนี้สินเข้าสู่หนี้ในระบบ รัฐบาลยังได้ออกนโยบายเพื่อแก้ปัญหาความยากจน เช่น โครงการกองทุน หมู่บ้านและชุมชนเมือง โครงการพักชำ�ระหนี้และลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกร โครงการธนาคารประชาชน โครงการสามสิบบาทรักษาทุกโรค และโครงการ หนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นต้น

วิเคราะห์แนวทางการแก้ ไขปัญหาที่ผ่านมา จะเห็นว่านโยบาย “การลงทะเบียนคนจน” กับ “การลงทะเบียนหนีน้ อกระบบ” มีกระบวนการดำ�เนินงานที่ไม่แตกต่างกันมากนัก สาระสำ�คัญดูเหมือนเป็น การเปลี่ยนผู้รับผิดชอบหลักจากกระทรวงมหาดไทยมาเป็นกระทรวงการคลัง และมุ่งกลุ่มเป้าหมายไปที่ผู้เป็นหนี้นอกระบบรายย่อย ขณะเดียวกันก็มุ่งที่จะ แก้ปัญหาหนี้นอกระบบเท่านั้น ในขณะที่การลงทะเบียนคนจนรับลงทะเบียน ปัญหาทุกประเภท แนวนโยบายในเชิงประชานิยมทำ�ให้รัฐบาลมีภาระทางการคลังเพิ่มขึ้น นโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยการลดภาษีรถคันแรกยังส่งผลให้ประชาชน รับภาระหนี้จำ�นวนมากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นนโยบายการรับจำ�นำ�ข้าวที่บิดเบือน กลไกตลาดอย่างมาก ประกอบกับปัญหาการทุจริตในโครงการดังกล่าว ส่งผลให้ โครงการขาดทุ น ขาดสภาพคล่ อ ง ภาวะที่ ค วามขั ด แย้ ง รุ น แรง ทำ�ให้ ไ ม่ มี งบประมาณมาจ่ายให้เกษตรกร เกษตรกรต้องไปกู้เงินนอกระบบ จึงยิ่งเป็น การซํ้าเติมภาระหนี้สินเกษตรกรยิ่งขึ้นไปอีก

นโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของรัฐบาล ปัจจุบัน มีความต่อเนื่องจากนโยบายรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในแง่ที่ให้กระทรวงการคลังโดยสำ�นักงาน เศรษฐกิจการคลัง เป็นกลไกหลักในการแก้ไขปัญหา และมีประเด็นที่เพิ่มเติมมาอย่างน่าสนใจ ในเรื่องของ การให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ ศั ก ยภาพของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการแก้ไขปัญหาหนี้สินนอกระบบ นอกเหนือไปจาก การให้บทบาทกับสถาบันการเงินของรัฐอย่างทีผ่ า่ นๆ มา และให้ความสำ�คัญกับความแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ เมืองกับชนบท อย่างไรก็ตามแนวทางการเพิ่มศักยภาพ ในการหารายได้ต้องเร่งผลักดันให้เป็นรูปธรรม

อนาคตของการแก้ ไขปัญหาหนี้นอกระบบ จะเป็นอย่างไร เราได้ เ ห็ น ความพยายามในการแก้ ไ ขปั ญ หา หนีน้ อกระบบมาทุกยุค แต่ดเู หมือนว่าจะเป็นเรือ่ งเฉพาะกิจ ของแต่ละรัฐบาลเท่านัน้ ขาดความต่อเนือ่ งในเชิงนโยบาย การบู ร ณาการการทำ�งานที่ เชื่ อ มโยงเพื่ อ แก้ ปั ญ หา อย่างเป็นระบบ ทัง้ ในหน่วยงานของภาครัฐในทุกภาคส่วน จากภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เป็นเรือ่ งทีม่ กี ารพูดถึง อย่างกว้างขวาง แต่อยากชี้ให้เห็นว่าจะต้องดำ�เนินการ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม นอกจากนี้ ปั ญ หาหนี้ น อกระบบ ของแต่ ล ะกลุ่ ม สาขาวิ ช ามี ค วามแตกต่ า งกั น วิ ธี ก าร แก้ปัญหาก็แตกต่างกัน ควรจะมองภาพรวมทัง้ ประเทศด้วย การจัดทำ�ยุทธศาสตร์ร่วมกัน โดยมีหน่วยงานหรือองค์กร ที่ ทำ�หน้ า ที่ วิ เ คราะห์ นำ�ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ แ ละติ ด ตาม ประเมินผล เพื่อให้เกิดความชัดเจนและมีประสิทธิภาพ มิตขิ องความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหารัฐต้องจัดการ ให้ประชาชนเป็นหนีอ้ ย่างเป็นธรรม ลดเงือ่ นไขการเอารัด เอาเปรี ย บ การบั ง คั บ ใช้ ม าตรการทางกฎหมายที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดความเหลื่ อ มลํ้ า การช่ ว ยเหลื อ อำ�นวยความยุติธรรมเพื่อสร้างความเท่าเทียม จึงเป็น ความสำ�คัญลำ�ดับต้นๆ ของการแก้ไขปัญหา หัวใจสำ�คัญของการแก้ไขปัญหา คือ การพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต และการพั ฒ นาศั ก ยภาพของคน จะเป็ น การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง จากภายใน โดยรั ฐ ต้ อ งสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มกั บ การแก้ไขปัญหาระดับฐานรากอย่างจริงจัง จะเป็น การแก้ไขปัญหาในมิติของความยั่งยืน

Justice Magazine Ministry of Justice

61


เรื่องต้องรู้

นางสาวจิดาภา มุสิกธนเสฏฐ์ พนักงานคดีปกครองชำ�นาญการ กลุ่มเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการและวารสาร สำ�นักวิจัยและวิชาการ สำ�นักงานศาลปกครอง

เบิกค่าเช่าบ้านได้

แม้ต่างท้องที่กับท้องที่ที่ปฏิบัติงาน ! สิทธิในการเบิกเงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ เป็นสิทธิประโยชน์และ สวัสดิการทีร่ ฐั ให้แก่ขา้ ราชการ ที่ได้รบั ผลกระทบในด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย อันเนือ่ งมาจากได้รบั คำ�สัง่ ทางราชการให้เดินทางไปปฏิบตั ริ าชการ เป็นการประจำ�ในต่างท้องที่ โดยพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 กำ�หนดให้ สิทธิแก่ข้าราชการซึ่งได้รับความเดือดร้อนในเรื่องที่อยู่อาศัยอันเนื่องมาจาก ทางราชการมีคำ�สัง่ ให้เดินทางไปปฏิบตั ริ าชการเป็นการประจำ�ในต่างท้องทีม่ สี ทิ ธิ ได้รบั ค่าเช่าบ้านข้าราชการ เว้นแต่ กรณีดงั ต่อไปนีท้ จี่ ะไม่มสี ทิ ธิเบิกค่าเช่าบ้านได้ (1) ทางราชการได้จัดที่พักให้อยู่แล้ว (2) มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเอง หรือคูส่ มรสในท้องทีท่ ไ่ี ปประจำ�สำ�นักงานใหม่ โดยไม่มหี นีค้ า้ งชำ�ระกับสถาบันการเงิน (3) ได้รบั คำ�สัง่ ให้เดินทางไปประจำ�สำ�นักงานใหม่ในท้องทีท่ เี่ ริม่ รับราชการครัง้ แรก หรือท้องทีท่ ก่ี ลับเข้ารับราชการใหม่ (4) ได้รบั คำ�สัง่ ให้เดินทางไปประจำ�สำ�นักงานใหม่ ในต่างท้องที่ตามคำ�ร้องขอของตนเอง นอกจากนี้ กรณีทขี่ า้ ราชการทีม่ สี ทิ ธิได้รบั ค่าเช่าบ้าน ได้เช่าซือ้ หรือผ่อนชำ�ระ เงินกู้เพื่อชำ�ระราคาบ้านในท้องที่ประจำ�สำ�นักงานใหม่ เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย และได้อาศัยอยูจ่ ริงในบ้านนัน้ มาตรา 17 แห่งพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้กำ�หนด ให้มสี ทิ ธินำ�หลักฐานการผ่อนชำ�ระค่าเช่าซือ้ หรือผ่อนชำ�ระเงินกูม้ าเบิกค่าเช่าบ้าน จากทางราชการได้ไม่เกินจำ�นวนที่กำ�หนดตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ อย่างไรก็ตาม กรณีบ้านที่ข้าราชการเช่าซื้อหรือผ่อนชำ�ระเงินกู้เพื่อชำ�ระ ราคาบ้าน แต่บ้านดังกล่าวอยู่ต่างท้องที่กับสถานที่ปฏิบัติงาน จะมีสิทธิ นำ�หลักฐานการผ่อนชำ�ระมาเบิกเงินค่าเช่าบ้านตามพระราชกฤษฎีกาค่าเช่า บ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 ได้หรือไม่ มีตัวอย่างคดีพิพาทที่เข้าสู่การพิจารณา พิพากษาของศาลปกครอง โดยคดีนี้ผู้ฟ้องคดีเริ่มรับราชการครั้งแรกในตำ�แหน่ง อาจารย์สอนทีโ่ รงเรียนในจังหวัดนครนายก ต่อมามีคำ�สัง่ สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาให้โอนย้ายผูฟ้ อ้ งคดีมาปฏิบตั ริ าชการในตำ�แหน่งนักวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏฯ ซึง่ มีทที่ ำ�การตัง้ อยูใ่ นท้องทีก่ รุงเทพมหานคร โดยผูฟ้ อ้ งคดี ได้เช่าบ้านอยู่ที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และได้รับอนุมัติให้ใช้สิทธิ เบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการมาโดยตลอด ต่อมาผู้ฟ้องคดีได้กู้เงินจากธนาคาร อาคารสงเคราะห์เพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างทีอ่ ำ�เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เพื่ออยู่อาศัยเป็นของตนเอง และได้ทำ�เรื่องขอเบิกค่าเช่าบ้านโดยนำ�หลักฐาน การผ่อนชำ�ระเงินกูม้ าเบิก แต่ผถู้ กู ฟ้องคดี (อธิการบดีมหาวิทยาลัย) มีคำ�สัง่ ไม่อนุมตั ิ ให้เบิกค่าเช่าบ้าน เนื่องจากเห็นว่าเป็นการนำ�บ้านที่เช่าซื้อหรือผ่อนชำ�ระเงินกู้ ในพืน้ ทีน่ อกทีต่ งั้ ของสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน (นอกกรุงเทพมหานคร) มาเบิกค่าเช่าบ้าน

62

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

“ ข้าราชการที่ได้รบั คำ�สัง่ ให้เดินทางไป ประจำ�สำ�นักงานในต่างท้องที่ มีสทิ ธิ จะได้รบั ค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากทางราชการต้องการ ช่วยเหลือข้าราชการที่ได้รบั ความเดือดร้อนในเรือ่ ง ทีอ่ ยูอ่ าศัย อันเนือ่ งมาจาก ทางราชการเป็นเหตุ ” หลังจากผู้ฟ้องคดีอุทธรณ์คำ�สั่ง และผู้ถูกฟ้องคดีมีคำ�สั่ง ไม่ อ นุ มั ติ ใ ห้ ผู้ ฟ้ อ งคดี เ บิ ก ค่ า เช่ า บ้ า นตามความเห็ น ของกรมบัญชีกลางที่ตอบข้อหารือ ผู้ฟ้องคดีจึงยื่นฟ้อง ผู้ถูกฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ขอให้ศาลมีคำ�พิพากษา หรือคำ�สัง่ ให้เพิกถอนคำ�สัง่ ไม่อนุมตั ใิ ห้ผฟู้ อ้ งคดีเบิกค่าเช่าบ้าน ข้าราชการ ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยวางหลักเกี่ยวกับสิทธิ การเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการตามมาตรา 7 และมาตรา 17 แห่งพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 ไว้ดังนี้ ประเด็นแรก เกีย่ วกับเจตนารมณ์ของพระราชกฤษฎีกา ค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 โดยบทบัญญัตมิ าตรา 7 เป็นการกำ�หนดเกีย่ วกับสิทธิของข้าราชการในการขอเบิก ค่าเช่าบ้านข้าราชการ โดยกำ�หนดให้ข้าราชการที่ได้รับ คำ�สั่งให้เดินทางไปประจำ�สำ�นักงานในต่างท้องที่มีสิทธิ จะได้รบั ค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากทางราชการ ต้องการที่จะช่วยเหลือข้าราชการที่ได้รับความเดือดร้อน เรือ่ งทีอ่ ยูอ่ าศัยอันเนื่องมาจากทางราชการเป็นเหตุ ดังนั้น ถ้าหากข้าราชการที่ได้รับคำ�สั่งให้เดินทาง ไปประจำ�สำ�นักงานในต่างท้องที่ได้รับความเดือดร้อน ต้องมีภาระเพิม่ ขึน้ ในการเช่าบ้านเพือ่ อยูอ่ าศัยในระหว่าง การปฏิบัติหน้าที่ในต่างท้องที่ดังกล่าว ข้าราชการผู้นั้น ย่อมมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ แม้ว่าบ้าน ที่ได้เช่าและใช้พักอาศัยเพื่อเดินทางไปปฏิบัติราชการ จะตัง้ อยูต่ า่ งท้องทีก่ บั ท้องทีท่ สี่ ำ�นักงานใหม่ตงั้ อยูก่ ต็ าม


เรื่องต้องรู้

และมาตรา 17 ได้กำ�หนดให้ข้าราชการที่มีสิทธิได้รับ ค่าเช่าบ้านข้าราชการตามมาตรา 7 โดยสมบูรณ์แล้ว และได้เช่าซือ้ บ้านหรือผ่อนชำ�ระเงินกูเ้ พือ่ ชำ�ระราคาบ้าน ที่ค้างชำ�ระในท้องที่ที่ได้รับคำ�สั่งให้เดินทางไปประจำ� สำ�นั ก งานใหม่ และได้ อ าศั ย อยู่ จ ริ ง ในบ้ า นที่ เช่ า ซื้ อ หรือบ้านทีผ่ อ่ นชำ�ระเงินกู ้ ให้มสี ทิ ธินำ�หลักฐานการชำ�ระ ค่าเช่าซื้อหรือผ่อนชำ�ระเงินกู้เพื่อชำ�ระราคาบ้านมาเบิก ค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ไม่เกินจำ�นวนเงินที่กำ�หนดไว้ ตามบัญชีอัตราค่าเช่าบ้านข้าราชการ ซึง่ เป็นการขยายสิทธิในการเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการ ตามมาตรา 7 โดยขยายรวมไปถึ ง การเช่ า ซื้ อ หรื อ การผ่อนชำ�ระเงินกูเ้ พือ่ ชำ�ระราคาบ้านทีค่ า้ งชำ�ระด้วย ทำ�ให้ ข้าราชการทีป่ ระสงค์จะมีบา้ นเป็นของตนเองโดยการเช่าซือ้ หรือกูเ้ งินเพือ่ ชำ�ระราคาบ้าน สามารถเบิกเงินค่าเช่าบ้าน ข้าราชการเพื่อนำ�ไปชำ�ระค่าเช่าซื้อหรือชำ�ระหนี้เงินกู้ ดังกล่าวบางส่วนได้ ประเด็นทีส่ อง เกีย่ วกับการตีความ “ท้องที”่ ว่าจะต้อง เป็ น บ้ า นที่ ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ เ ดี ย วกั บ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ด้วยหรือไม่ ศาลปกครองสูงสุดวินจิ ฉัยว่าการตีความคำ�ว่า “ท้องที”่ ตามมาตรา 4 ประกอบมาตรา 17 แห่งพระราชกฤษฎีกา ค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2547 ของผู้ถูกฟ้องคดี ย่อมทำ�ให้เกิดความไม่เป็นธรรมต่อผูฟ้ อ้ งคดี และไม่เป็นไป ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ต้องการขยายสิทธิในการ เบิ ก ค่ า เช่ า บ้ า นข้ า ราชการให้ ร วมถึ ง การเช่ า ซื้ อ หรื อ การผ่อนชำ�ระเงินกูเ้ พือ่ ชำ�ระราคาบ้าน อันเป็นการสนับสนุน ให้ขา้ ราชการได้มบี า้ นอยูอ่ าศัยเป็นของตนเอง และทำ�ให้ ทางราชการรับภาระค่าเช่าบ้านข้าราชการที่ต้องจ่าย ให้แก่ข้าราชการผู้นั้นอย่างมีกำ�หนดเวลา ดังนั้น เมื่อข้าราชการผู้ใดมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน ข้ า ราชการได้ เช่ า ซื้ อ หรื อ ผ่ อ นชำ�ระเงิ น กู้ เ พื่ อ ชำ�ระ ราคาบ้านที่ตั้งอยู่ต่างท้องที่กับท้องที่ที่สำ�นักงานตั้งอยู่ และการเดินทางไปทำ�งานที่สำ�นักงานซึ่งได้รับคำ�สั่ง ให้ไปประจำ�ไม่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคต่อการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ ข้าราชการผูน้ น้ั ก็ยอ่ มมีสทิ ธินำ�หลักฐาน การชำ�ระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชำ�ระเงินกู้หรือชำ�ระ ราคาบ้านมาเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ในทำ�นอง เดียวกันกับการใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการสำ�หรับ บ้านเช่าที่อยู่ต่างท้องที่กับท้องที่ที่สำ�นักงานตั้งอยู่ เมื่ อ ผู้ ฟ้ อ งคดี เ ป็ น ผู้ อ ยู่ ใ นหลั ก เกณฑ์ ที่ มี สิ ท ธิ เ บิ ก ค่าเช่าบ้านข้าราชการสำ�หรับบ้านเช่าที่ตั้งอยู่ในท้องที่ ทีส่ ำ�นักงานตัง้ อยู่ และไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าไม่มสี ทิ ธิเบิก ค่าเช่าบ้านข้าราชการด้วยเงื่อนไขอื่นๆ ตามมาตรา 7 และมาตรา 17 แห่งพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ

พ.ศ. 2547 แต่อย่างใด ต่อมาได้นำ�หลักฐานการผ่อนชำ�ระเงินกูเ้ พือ่ ชำ�ระราคาบ้าน ที่ ต นเองใช้ เ ป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ซึ่ ง จั ง หวั ด นนทบุ รี เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี เขตติ ด ต่ อ กั บ กรุงเทพมหานคร จึงเป็นท้องที่ใกล้เคียงกับท้องที่ที่ตั้งสำ�นักงานของผู้ถูกฟ้องคดี ตามบั ญ ชี ร ายชื่ อ ท้ อ งที่ ใ กล้ เ คี ย งกรณี ก รุ ง เทพมหานครกั บ จั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง ท้ายระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารเกีย่ วกับการเบิกจ่ายเงิน ค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2549 และการเดินทางไม่เป็นปัญหาอุปสรรค ต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ดังนัน้ แม้ทดี่ นิ พร้อมสิง่ ปลูกสร้างจะตัง้ อยูต่ า่ งท้องทีก่ บั ท้องทีท่ สี่ ำ�นักงานตัง้ อยู่ ก็หาได้ทำ�ให้สทิ ธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการของผูฟ้ อ้ งคดีทม่ี อี ยูต่ อ้ งสิน้ ผลแต่อย่างใด ผู้ฟ้องคดีจึงมีสิทธินำ�หลักฐานการผ่อนชำ�ระเงินกู้เพื่อชำ�ระราคาบ้านที่ซื้อมาเบิก ค่ า เช่ า บ้ า นข้ า ราชการได้ นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ เข้ า พั ก อาศั ย อยู่ จ ริ ง ตามมาตรา 17 แห่ ง พระราชกฤษฎี ก าดั ง กล่ า ว คำ�สั่ ง ไม่ อ นุ มั ติ ใ ห้ ผู้ ฟ้ อ งคดี เ บิ ก ค่ า เช่ า บ้ า น ข้าราชการของผูถ้ กู ฟ้องคดีจงึ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (คำ�พิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 1587/2559) คำ�พิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีนี้ เป็นบรรทัดฐานการปฏิบตั ริ าชการทีด่ ี สำ�หรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในการวินิจฉัยสิทธิของข้าราชการผู้ขอใช้สิทธิในการ เบิกค่าเช่าบ้านว่า จะต้องพิจารณา (1) ข้าราชการเป็นผูม้ สี ทิ ธิได้รบั ค่าเช่าบ้าน อยูก่ อ่ นแล้ว (2) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงอันเป็นเงือ่ นไขไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าเช่าบ้าน ตามที่กฎหมายกำ�หนด (3) บ้านที่เช่าซื้อและนำ�หลักฐานการผ่อนชำ�ระเงินกู้ เพื่อชำ�ระราคาบ้านที่ซื้อมาเป็นหลักฐานการเบิกค่าเช่าบ้าน แม้จะตั้งอยู่ ต่างท้องที่กับท้องที่ที่สำ�นักงานตั้งอยู่ แต่เป็นจังหวัดที่มีท้องที่ใกล้เคียงกับ ท้องที่ที่ตั้งสำ�นักงานตามบัญชีรายชื่อท้องที่ใกล้เคียงกรณีกรุงเทพมหานคร กับจังหวัดใกล้เคียงทีก่ ำ�หนดไว้ทา้ ยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การเบิ ก จ่ า ยเงิ น ค่ า เช่ า บ้ า นข้ า ราชการ พ.ศ. 2549 และการเดินทางไม่เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ย่อมเป็น ผูม้ สี ทิ ธิเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการได้ตามมาตรา 17 พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้าน ข้าราชการ พ.ศ. 2547

Justice Magazine Ministry of Justice

63


ภาษายุติธรรม

กองบรรณาธิการ

ภาษาว่าด้วย

“ทรัพย์” ตอนที่ 1

“ทรัพย์” เป็นสิ่งของมีราคา มีเจ้าของเป็นผู้ครอบครอง แต่ถ้าหากทรัพย์ถูกพรากไปจากเจ้าของ โดยวิธกี ารที่ไม่ถกู ต้องตามกฎหมายแล้ว ย่อมมีค�ำ เรียกตามลักษณะของการเอาทรัพย์ ไปทีแ่ ตกต่างกัน ซึ่งการเอาทรัพย์ ไปในรูปแบบต่างๆ นั้น ภาษาอังกฤษก็มีคำ�ศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันไป เชื่ อ ว่าผู้อ่านหลายๆ ท่าน อาจเคยมีข้อ สงสั ย ว่ า การกระทำ�ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ ใ นแต่ ล ะประเภท แตกต่างกันอย่างไร เพราะมักจะพบคำ�เหล่านีต้ ามสือ่ ต่างๆ อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ และอีกหลากหลายคำ� ที่เกี่ยวข้องกับ “ทรัพย์” ภาษายุติธรรมฉบับนี้ จึงขอหยิบยกคำ�ศัพท์ภาษา อังกฤษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์มานำ�เสนอให้ผู้อ่าน ได้รับทราบ เพื่อให้ท่านได้คลายความสงสัย เริ่ ม ต้ น ที่ คำ�ว่ า “ลั ก ทรั พ ย์ ” ซึ่ ง ในภาษาอั ง กฤษ สามารถใช้ คำ�ว่ า burglary (อ่ า นว่ า เบอร์ ’ กละรี ) theft (อ่านว่า เธฟทฺ) หรือคำ�ว่า thievery (อ่านว่า ธีฟ’เวอรี) ซึ่งมีความหมายว่า การลักทรัพย์ การลักขโมย ส่วนคำ�ว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ คือ Offences of Theft ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334 กำ�หนดไว้ว่า การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่น เป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยต้องการจะครอบครอง

64

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ทรัพย์นั้นไว้ เพื่อตนเองเอาไปขายหรือให้กับบุคคลอื่น ก็ ต ามแต่ ผู้ ที่ ก ระทำ�ความผิ ด ฐานลั ก ทรั พ ย์ จ ะต้ อ ง ถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6,000 บาท อย่างไรก็ตาม หากการลักทรัพย์นั้น ถ้าผู้กระทำ� ได้กระทำ�ในเวลากลางคืนหรือในบริเวณทีม่ เี หตุเพลิงไหม้ การระเบิด อุทกภัย หรือในบริเวณที่มีอุบัติเหตุ ผู้ที่เข้าไป ลักทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้น กว่าการลักทรัพย์ในเวลา สถานที่หรือเหตุการณ์ปกติ เหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะเหตุการณ์หรือช่วงเวลาดังกล่าว เจ้าของทรัพย์กำ�ลังได้รบั ความเดือดร้อน ไม่สามารถทีจ่ ะ ดูแลทรัพย์ของตนเองได้และการกระทำ�ในเหตุการณ์หรือ ช่วงเวลาดังกล่าว เป็นการกระทำ�ที่ซํ้าเติมเจ้าของทรัพย์ ที่กำ�ลังได้รับความเดือดร้อน ส่วนคำ�ว่า “ชิงทรัพย์” อาจใช้คำ�ว่า stealth (อ่านว่า สเทลธฺ) หรือ robbery หรือ theft ซึ่งมีความหมาย ใกล้เคียงกัน แต่หากเป็นความผิดฐานชิงทรัพย์ คือ Offences of Robbery ทัง้ นี้ ชิงทรัพย์ คือ การลักทรัพย์


ภาษายุติธรรม

ที่ประกอบด้วยการใช้กำ�ลังเข้าทำ�ร้ายหรือขู่เข็ญ ว่าจะใช้กำ�ลังเข้าทำ�ร้ายในทันที ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่ ครอบครองทรัพย์นนั้ อยูย่ นิ ยอมให้ทรัพย์ไป หรือ กระทำ�ไปเพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการนำ�ทรัพย์ นั้ น ไป เช่ น ขณะที่ น ายเอกกำ�ลั ง เดิ น เล่ น อยู่ นายโทก็เข้ามาบอกให้ถอดสร้อยทองให้ถ้าไม่ให้ จะทำ�ร้ายหรือจะเอาปืนยิงให้ตาย จนนายเอก ต้องยอมถอดสร้อยของตนให้ เป็นต้น ซึ่ ง เป็ น ไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 339 “ผู้ ใ ดลั ก ทรั พ ย์ โ ดยใช้ กำ�ลั ง ประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำ�ลัง ประทุษร้ายเพื่อ (1) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือ การพาทรัพย์นั้นไป (2) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (3) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (4) ปกปิดการกระทำ�ความผิดนั้น หรือ (5) ให้พ้นจากการจับกุม ผู้ นั้ น ก ร ะ ทำ� ค ว า ม ผิ ด ฐ า น ชิ ง ท รั พ ย์ ต้ อ งระวางโทษจำ�คุ ก ตั้ ง แต่ 5 ปี ถึ ง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 20,000 บาท ต่อไปคำ�ว่า “ปล้นทรัพย์” ในภาษาอังกฤษ อาจใช้คำ�ว่า plunder (อ่านว่า พลัน’เดอะ) pillage (อ่านว่าพิล’ลิจจฺ) หรือ rob (อ่านว่า รอบ) ส่ ว นความผิ ด ฐานปล้ น ทรั พ ย์ จะใช้ คำ�ว่ า Offences of Gang-Robbery การปล้ น ทรั พ ย์ มี ลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ การชิงทรัพย์ ต่างกันเพียงว่ามีผู้ร่วมชิงทรัพย์ ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป เพื่อให้ได้ทรัพย์สินของคนอื่น มาเป็นของตนเอง ซึ่งการกระทำ�ความผิดฐาน ปล้นทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 340 จะต้องถูกระวางโทษจำ�คุกตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาท ถึง 30,000 บาท

แต่หากการปล้นทรัพย์นั้นผู้ปล้นคนใดคนหนึ่ง มีอาวุธติดตัวไปด้วย หรือในการปล้นเป็นเหตุ ให้ เ จ้ า ทรั พ ย์ ห รื อ บุ ค คลอื่ น ถู ก ทำ�ร้ า ยหรื อ เสี ย ชี วิ ต ผู้ ก ระทำ�ความผิ ด ทุ ก คนแม้ จ ะไม่ ไ ด้ พกอาวุธหรือร่วมทำ�ร้ายเจ้าทรัพย์หรือบุคคลอืน่ กฎหมายก็ถือว่าทุกคนมีส่วนร่วมในการกระทำ� ความผิดด้วย ซึ่งมีผลให้จะต้องรับโทษหนักขึ้น กว่าการปล้นทรัพย์โดยไม่มอี าวุธหรือไม่ได้มกี าร ทำ�ร้ายผู้ใด ปิ ด ท้ า ยภาษาว่ า ด้ ว ยทรั พ ย์ ด้ ว ยคำ�ว่ า “กรรโชกทรัพย์” ซึ่งอาจใช้คำ�ว่า extortion (อ่านว่า อิคซฺทอร์’เชิน) เป็นคำ�นาม หมายถึง การขูเ่ ข็ญ, การบีบบังคับ, การกรรโชก,การเคีย่ วเข็ญ, การรีดไถ ส่วนคำ�ว่าความผิดฐานกรรโชก คือ Offences of Extortion ซึง่ การกรรโชกทรัพย์ คือ การแสดงพฤติกรรมการขู่กรรโชก หรือมี พฤติกรรมที่ก้าวร้าว เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน ของผู้อื่น เป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และ ถือเป็นภัยต่อสังคมอย่างหนึ่ง หากจะยกตัวอย่างกรรโชกทรัพย์ที่พบเห็น ได้บ่อยคือ การที่รุ่นพี่บังคับเอาเงินจากรุ่นน้อง หรือที่เรียกกันว่า“แก๊งดาวไถ่” ซึ่งแก๊งดาวไถ่ มักจะบังคับขู่เข็ญให้รุ่นน้องเอาเงินหรือสิ่งของ ที่ มี ค่ า มาให้ ถ้ า ไม่ เ อามาให้ ก็ มั ก จะถู ก ขู่ ห รื อ ถูกทำ�ร้ายทำ�ให้ต้องยอมตามที่แก๊งดาวไถ่บังคับ ผูท้ ก่ี ระทำ�ความผิดในเรือ่ งนีก้ ฎหมายได้กำ�หนดโทษ ให้ตอ้ งจำ�คุกไม่เกิน 5 ปีและปรับไม่เกิน 10,000 บาท ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 337 แต่ถ้าผู้ที่กระทำ�การกรรโชก ขู่ว่าจะฆ่า ทำ�ให้ ได้รับอันตรายอย่างสาหัสหรือมีอาวุธมาขู่ด้วย ก็จะได้รับโทษหนักขึ้น และพบกับภาษาว่าด้วยทรัพย์ ตอนจบ ได้ในคอลัมน์ภาษายุติธรรม ฉบับหน้า

ขอบคุณข้อมูล Facebook.com/สำ�นักงานกิจการยุติธรรม https://sites.google.com/site/phasaxangkvspheuxtarwc/baeb-trwc-sxb-hnangsuxdeinthang-1/kar-caeng-siththi-phu-txngha/ phasa-xangkvs-thi-tarwc-txng-ru https://dict.longdo.com

Justice Magazine Ministry of Justice

65


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

กองบรรณาธิการ

ซักซ้อมการนำ�เสนอรายงานประเทศ ตามพันธกรณีภายใต้กติกา ICCPR ฉบับที่ 2 นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารซักซ้อมการนำ�เสนอ รายงานประเทศตามพันธกรณี ภายใต้กติกา ICCPR ฉบั บ ที่ 2 ด้ ว ยวาจา (Mock Session) ณ โรงแรม เบสเวสเทิรน์ พลัส แวนด้า อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ทั้ ง นี้ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในการนำ�เสนอรายงาน ประเทศภายใต้ ก ติ ก าระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 2 ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

“ยุติธรรม” รับเรื่องร้องทุกข์เร่งช่วยเหลือ แพะคดีชิงทรัพย์ ณ ห้ อ งรั บ รองกระทรวงยุ ติ ธ รรม ศู น ย์ ร าชการ เฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ พันตำ�รวจเอกดุษฎี อารยวุฒิ รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ให้การต้อนรับนายชัยฤทธิ์ ขานฤทธี พร้อมครอบครัว เพือ่ ติดตามความคืบหน้ากรณี ร้องขอความเป็นธรรมในการรื้อฟื้นคดีที่นายกนกพรหม ขานฤทธี ถูกจับกุมในข้อหาชิงทรัพย์ และทำ�ร้ายร่างกาย เมื่อปี 2551 ซึ่งคดีดังกล่าวศาลฎีกามีคำ�พิพากษาตัดสิน จำ�คุก 23 ปี ขณะนี้ นายกนกพรหมฯ ยังคงรับโทษจำ�คุก ตามคำ�พิพากษาอยู่ในเรือนจำ�กลางคลองเปรม

เปิดเวทีนานาชาติ มุ่งสกัดกั้นสารตั้งต้น ไม่ให้เข้าสู่กระบวนการผลิตยาเสพติด นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยเคมีภณ ั ฑ์ สารตัง้ ต้น และสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทชนิดใหม่ ครั้งที่ 3 (Third International Conference : Precursor Chemicals and New Psychoactive Substances) โดยความร่วมมือระหว่าง สำ�นักงาน ป.ป.ส. คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศ (INCB) และสำ�นักงาน ป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) เพือ่ เป็นเวทีหารือของผูแ้ ทนจากประเทศทีเ่ กีย่ วข้องในการ หามาตรการป้องกันและสกัดกัน้ เคมีภณ ั ฑ์ สารตัง้ ต้น และสารทีอ่ อกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาทชนิดใหม่ ไม่ให้เข้าสู่กระบวนการผลิตยาเสพติด ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ

66

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ที่นี่แจ้งวัฒนะ

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา เสด็จทรงเปิดโครงการกำ�ลังใจฯ “ฮักเฮือนจำ�แม่ฉอด” ณ เรือนจำ�อำ�เภอแม่สอด พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา เสด็ จ ทรงเปิ ด โครงการกำ�ลั ง ใจฯ ภายใต้ กิ จ กรรม “ฮักเฮือนจำ�แม่ฉอด” โดยเป็นเรือนจำ�และทัณฑสถานหญิง แห่งที่ 16 ของการดำ�เนินงานตามโครงการกำ�ลังใจฯ โดยเน้ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ กั บ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึง่ ส่วนใหญ่กระทำ�ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด ให้ได้รบั โอกาส ในการฝึกอาชีพและเมือ่ กลับคืนสูส่ งั คมจะไม่กลับไปกระทำ� ผิ ด ซํ้ า อี ก โดยมี น ายสุ ว พั น ธุ์ ตั น ยุ ว รรธนะ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม เฝ้ า รั บ เสด็ จ ณ เรื อ นจำ� อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก

ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูต แคนาดาประจำ�ประเทศไทย นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ยุ ติ ธ รรม ให้ ก ารต้ อ นรั บ H.E. Ms.Donica Pottie เอกอัครราชทูตแคนาดาประจำ�ประเทศไทย พร้อมคณะ เข้าเยีย่ มคารวะเนือ่ งในโอกาสทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ยุ ติ ธ รรมเข้ า รั บ ตำ�แหน่ ง หน้ า ที่ ใ หม่ ณ ห้ อ งรั บ รอง กระทรวงยุติธรรม อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพฯ

Justice Magazine Ministry of Justice

67


รอบรู้เรื่องอาเซียน

นายมนินธ์ สุทธิวัฒนานิติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

เขตพิเศษยุทธศาสตร์แห่งชาติคันไซ

ต้นแบบเขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก?

เตรียมความพร้อมประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการจัดตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนไทย เพื่อรองรับการลงทุนและการค้า ระหว่ า งประเทศ พร้ อ มทั้ ง การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม การค้ า ชายแดน และการท่องเที่ยวของประเทศไทยให้เป็นไปแบบก้าวกระโดด ช่ ว ง 2-3 ปี ท่ี ผ่ า นมา ในการเตรี ย มความพร้ อ ม ประเทศไทยเพือ่ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน มีประเด็นสำ�คัญ ประการหนึ่ ง ที่ มี ก ารพู ด ถึ ง กั น มาก คื อ การจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษตามแนวชายแดนประเทศไทย เพื่ อ รองรั บ การลงทุ น และการค้ า ระหว่ า งประเทศ ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ในด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม การค้ า ชายแดนและการท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง ในเวลาต่ อ มา ได้มีพัฒนาการในการกำ�หนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ใน 10 พืน้ ที่ ได้แก่ จังหวัดตาก จังหวัดสระแก้ว จังหวัดตราด จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร จั ง หวั ด สงขลา จั ง หวั ด เชี ย งราย จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนม จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดนราธิวาส

68

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษหรือ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษดังกล่าวยังไม่มีความคืบหน้า ทีเ่ ป็นรูปธรรมมากนัก เนือ่ งจากกฎหมายรองรับการจัดตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษยังอยู่ระหว่างการพิจารณา ในกระบวนการนิตบิ ญ ั ญัติ รัฐบาลจึงได้มกี ารกำ�หนดพืน้ ที่ นำ�ร่องในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดด ของภูมภิ าค ในพืน้ ที่ 3 จังหวัดภาคตะวันออก คือ จังหวัด ชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดระยอง โดยจัดทำ� เป็นคำ�สัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 2/2560 เรื่อง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่ อ กำ�หนดมาตรการพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออกไปพลางก่อนในระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมาย มารองรับ และได้มมี ติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 7 ธันวาคม 2559 มอบหมายให้สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พิจารณาศึกษาโครงสร้าง การทำ�งานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย และโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (East Economic Corridor : EEC) มีแนวทางใกล้เคียง กับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแห่งชาติคนั ไซ ประเทศญีป่ นุ่ หรือไม่อย่างไร เพือ่ นำ�ผลการศึกษามาประยุกต์ใช้สำ�หรับ การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและโครงการ EEC ของประเทศไทยต่ อ ไป ซึ่ ง สำ�นั ก งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เสนอรายงาน ผลการศึ ก ษาดั ง กล่ า วต่ อ คณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 ทีผ่ า่ นมา โดยผลการศึกษานัน้ พบว่า เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษแห่ ง ชาติ คั น ไซจั ด ตั้ ง ขึ้ น


รอบรู้เรื่องอาเซียน

ในปี 2557 เพือ่ ผลักดันการเติบโตทางเศรษฐกิจในพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ ครอบคลุ ม 12 พื้ น ที่ และใช้ เ ป็ น เขตสำ�หรั บ ทดลองการปฏิ รู ป กฎหมายและระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อภาคธุรกิจ ตลอดจนการส่งเสริม สิทธิประโยชน์ตา่ ง ๆ เพือ่ ส่งเสริมให้นกั ลงทุนต่างชาติเข้ามาประกอบธุรกิจ และพำ�นักในประเทศญีป่ นุ่ ได้อย่างสะดวก การจัดตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแห่งชาติคนั ไซนัน้ มีการออก กฎหมาย National Strategic Special Zone และประกาศพืน้ ที่ เขตพิเศษ 6 พืน้ ที่ ซึง่ ต่อมาได้มกี ารกำ�หนดเพิม่ เติมอีก 6 พืน้ ที่ รวมเป็น 12 พืน้ ที่ และกำ�หนดเป็นพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาหลัก 9 แห่ง (Strategic Bases) ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อยอดพื้นที่ท่ีมีศักยภาพอยู่แล้ว โดยมีกิจการ เป้าหมายในด้านการวิจยั พัฒนาและการผลิตผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และพลังงานสมัยใหม่ และมีการให้สทิ ธิประโยชน์ตา่ ง ๆ ในด้านการเงิน ภาษี การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และการจัดตัง้ One-stop Service ด้านการลงทุน การให้บริการสถานทีต่ ง้ั สำ�นักงานชัว่ คราวในระยะแรก โดยไม่คดิ ค่าบริการ รวมทัง้ ปรับปรุงกฎหมายให้เอือ้ ต่อการเข้ามาลงทุน ของบริษทั ต่างชาติ และการเข้ามาพำ�นักในประเทศของคนต่างชาติ

และการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว (Meetings, incentives, conferencing, exhibitions : MICE) ▶ Kyoto City Area เน้ น การทดลองวิ จัย ทางการแพทย์ การพัฒนาบุคลากรผ่านโครงการวิจัย การพัฒนาชุดตรวจจับโรค และการรักษาในระดับเซลล์ ▶ Keihana Science City Area เน้นการสร้างต้นแบบ ชุมชนอัจฉริยะ (Smart City) ศูนย์กลางนวัตกรรม โครงการทดลอง ด้ า นพลั ง งานสมั ย ใหม่ และการนำ�ผลการวิ จั ย ด้ า นพลั ง งาน ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ▶ Hanshin Port Area เน้ น การพั ฒ นาท่ า เรื อ เพื่ อ เป็ น เครือข่ายการขนส่งในประเทศ การฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ และอุตสาหกรรม การสร้างต้นแบบชุมชนอัจฉริยะ (Smart City) ▶ Kansai International Airport Area เน้นการปรับปรุง กระบวนการนำ�เข้า-ส่งออกเวชภัณฑ์ยา และอุปกรณ์ทางการแพทย์ การให้บริการเกีย่ วกับบรรจุภณ ั ฑ์ยา และการเป็นศูนย์กลางการขนส่ง สินค้าทางอากาศ

พืน้ ทีพ ่ ฒ ั นาหลัก 9 แห่ง (Strategic Bases) ประกอบด้วย ▶ Harima Science Garden City เน้นนวัตกรรมด้านเวชภัณฑ์ยา โดยใช้เทคโนโลยีแสงซินโครตรอน การพัฒนาเครือ่ งสร้างการแผ่รงั สี คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง และพัฒนาวัสดุประหยัดพลังงาน ▶ Kobe Biomedical Innovation Cluster Area เน้น เทคโนโลยี ช้ั น สู ง ในการตรวจจั บ โรค การค้ น คว้ า ทางเวชภั ณ ฑ์ การพั ฒ นาหุ่ น ยนต์ แ ละอุ ป กรณ์ ผ่ า ตั ด การฝึ ก อบรมบุ ค ลากร ทางการแพทย์ และการส่งเสริมผูป้ ระกอบการรายย่อยในการเข้าสูต่ ลาด ▶ Northern Osaka (Saito) Area เน้นการวิจัยทดลอง ทางการแพทย์ การสร้างต้นแบบชุมชนอัจฉริยะ (Smart City) และการพัฒนาบุคลากรผ่านโครงการวิจัย ▶ Osaka Station Area เน้นการทดลองวิจัยทางการแพทย์ การพัฒนาหุน่ ยนต์และอุปกรณ์ผา่ ตัด การพัฒนาโครงข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารความเร็ ว สู ง เพื่ อ สนั บ สนุ น การวิ จั ย และพัฒนา และการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากการจัดประชุม สัมมนา นิทรรศการ และการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว (Meetings, incentives, conferencing, exhibitions : MICE) ▶ Yumeshima and Sakishima Area เน้นการพัฒนา ศูนย์วจิ ยั แบตเตอรีเ่ พือ่ อุตสาหกรรม การสร้างต้นแบบชุมชนอัจฉริยะ (Smart City) การส่งเสริมผู้ประกอบการรายย่อยในการเข้าสู่ตลาด และการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากการจัดประชุม สัมมนา นิทรรศการ

นอกจากนี้ ยังมีการตัง้ สภาเขตเศรษฐกิจพิเศษทีม่ ที ง้ั ผูแ้ ทนรัฐบาล ผูแ้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และผูแ้ ทนภาคเอกชน เข้ามาร่วมกัน จัดทำ�แผนการพัฒนา และข้อเสนอการปฏิรปู กฎระเบียบต่าง ๆ รวมถึง การกำ�หนดมาตรการสนับสนุนเพิม่ เติมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่น อกเหนื อ ไปจากมาตรการของรั ฐบาล ซึ่ง ในการเปรียบเทียบ โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (East Economic Corridor : EEC) กับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแห่งชาติคันไซนั้น พบว่ามีความใกล้เคียงกันมาก ทั้งในด้านกฎหมาย กลไกการบริหาร จัดการ และบทบาทภาคเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึง่ คณะรัฐมนตรีกไ็ ด้มมี ติให้คณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียบ เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกและทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องนำ�แนวทาง ของเขตพิ เ ศษยุ ท ธศาสตร์ คั น ไซมาปรั บ ใช้ กั บ โครงการพั ฒ นา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (East Economic Corridor : EEC) และประยุกต์ใช้กบั เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป ทั้ง นี้ ประเด็ น ที่น่า ติ ด ตามเกี่ย วกั บ การพั ฒ นาพื้น ที่ใ ห้ เ ป็ น เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจะมีการกำ�หนดมาตรการต่าง ๆ เพื่อดึงดูดนักลงทุนแล้ว ก็คงต้องติดตามแนวทางการพัฒนาเมือง และการขยายตัวของเมืองในพื้นที่ดังกล่าวที่เกิดจากการเข้ามา อยู่อาศัยของนักลงทุนต่างชาติ และคนที่เข้าไปทำ�งานทั้งคนไทย และคนต่างชาติ ซึง่ ก็อาจจะเกิดผลกระทบต่อคนในพืน้ ทีท่ ง้ั ทางบวก และทางลบต่อไปด้วย

Justice Magazine Ministry of Justice

69


รู้จัก IT

กองบรรณาธิการ

Cloud Computing เทคโนโลยีที่อยู่รอบตัวเรา

Cloud Computing เป็นเทรนด์ ไอทีที่กำ�ลังมาแรงที่สุด ซึ่งจะช่วย ให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยหลายคน อาจจะเคยรับรู้มาบ้างแล้ว หากแต่อีกหลายคนก็อาจยังไม่เข้าใจถึง ความหมายที่แท้จริงของ Cloud Computing ว่าคืออะไร?

70

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

Cloud Computing เป็ น เทคโนโลยี ที่ แ ม้ ว่ า เราจะมองไม่ เ ห็ น และไม่ รู้ ด้ ว ยว่ า อยู่ ท่ี ไ หนของโลก แต่ เ ราสามารถสั ม ผั ส ได้ แ ละในปั จ จุ บั น “คลาวด์ ” ยิ่งใกล้ตัวเรากว่าที่เคย แทบจะเรียกได้ว่าทุกสิ่งที่เปิดอยู่ ตรงหน้าเรานั้นมาจาก Cloud Computing เลยก็ว่าได้


รู้จัก IT

Cloud Computing คืออะไร? หากพู ด ถึ ง Cloud Computing หลายคนจะ นึกถึงบริการพื้นที่ฝากไฟล์บนอินเทอร์เน็ต เช่น iCloud Google Drive หรือ One Drive ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือบริการ Cloud Storage แต่ Cloud Computing ยังรวมถึง บริ ก ารที่ ค รอบคลุ ม ถึ ง การให้ ใ ช้ กำ�ลั ง ประมวลผล หน่วยจัดเก็บข้อมูล และระบบออนไลน์ต่างๆ เพื่อลด ความยุ่งยากในการติดตั้ง ดูแลระบบ ช่วยประหยัดเวลา และลดต้ น ทุ น ในการสร้ า งระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละ เครือข่ายเอง ซึ่งมีทั้งแบบบริการฟรีและแบบเก็บเงิน Cloud Computing เป็ น แนวคิ ด การใช้ ง าน ด้านไอทีท่ีใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์ ต่ า งสถานที่ ม าทำ�งานสอดประสานกั น เพื่ อ ช่ ว ย ขับเคลื่อนการบริการ เป็นการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ และ Server ทีม่ อี ยูใ่ นระบบในการขับเคลือ่ นการบริหาร และบริการงานด้านไอที หรือแอพพลิเคชัน่ ทีม่ ผี ใู้ ช้งานมากๆ ในแต่ละวัน

ภาพที่ชัดเจนของอนาคต คือ Cloud Computing จะช่วยลดภาระในการบริหารเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการ ลดต้นทุนและเปิดโอกาสให้นำ�เวลาไปพัฒนาธุรกิจให้เกิด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ วิ ธี ก ารผลิ ต ใหม่ ๆ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แต่ในภาคองค์กรยังมีการปรับตัวช้ากว่าบริการในกลุ่ม ผู้บริโภค เนื่องจากกังวลด้านความปลอดภัยของข้อมูล

ประโยชน์ของ Cloud Computing มี อ ยู่ ห ลายประการ เช่ น การนำ�ไปประยุ ก ต์ ใช้ ในเชิงธุรกิจที่ทำ�ได้ง่ายและประหยัดขึ้น ซึง่ ไม่จำ�เป็นต้อง ลงทุนกับโครงสร้างพืน้ ฐาน และยังสามารถเลือกใช้บริการ เฉพาะอย่าง และเลือกเสียค่าใช้จา่ ยให้ตรงกับความต้องการ เฉพาะด้าน โดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. ประหยัดการลงทุนเรื่องทรัพยากรคอมพิวเตอร์ เพราะเปลี่ยนมาเป็นการเช่าระบบ 2. สร้างระบบใหม่ได้ในเวลาอันรวดเร็ว เนื่องจาก ผู้ให้บริการจัดเตรียมทรัพยากรไว้รองรับอยู่แล้ว 3. เพิ่ ม ขนาดทรั พ ยากรได้ ง่ า ยและรวดเร็ ว ทำ�ไม Cloud Computing จึงได้รับความนิยม? ตามความต้องการ Cloud Computing คื อ บริ ก ารที่ เ ราใช้ ห รื อ 4. ขจั ด ปั ญ หาเรื่ อ งการดู แ ลระบบทรั พ ยากร เช่ า ใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ นำ�มาใช้ ใ นการทำ�งาน สารสนเทศไปให้ผู้ให้บริการดูแลแทน โดยไม่ จำ�เป็ น ต้ อ งลงทุ น ซื้ อ ลดความรั บ ผิ ด ชอบ ในการดูแลระบบ สามารถบริหารทรัพยากรของระบบ ตัวอย่างการนำ� Cloud Computing และมีการแบ่งใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทำ�ให้ธรุ กิจ ขนาดเล็ก มาประยุกต์ ใช้กับเว็บไซต์ของหน่วยราชการ ขนาดกลาง และสถาบั น การศึ ก ษาหั น มาใช้ บ ริ ก าร ตัวอย่างของหน่วยงานราชการที่มองเห็นได้ชัดคือ Cloud Computing เพื่อลดต้นทุนและลดความยุ่งยาก เว็บไซต์สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ซึง่ มีคนเข้าเว็บไซต์ เป็นจำ�นวนมากจนเว็บล่ม ทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน ผู้ให้บริการ Cloud Computing ที่น่าสนใจ เนื่องจาก Server ของเว็บไซต์สำ�นักงานสลากกินแบ่ง บริ ษั ท ยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องโลกไอที ใ นปั จ จุ บั น อย่ า ง มีแค่เครือ่ งเดียวหรือจำ�นวนกลุม่ ๆ เดียว และระบบรองรับ Microsoft, facebook หรือ google ล้วนแล้วแต่สร้าง ไม่ไหวทำ�ให้ระบบเว็บไซต์ล่ม ระบบ Cloud ของตัวเองขึน้ มาใช้งาน แต่ถา้ หากคนทัว่ ไป ทั้ ง นี้ หากหน่ ว ยงานราชการใช้ ร ะบบ Cloud ต้องการเข้าใช้ หลายบริษัทก็มีเปิดให้ใช้งาน เช่น Computing มารองรับการเข้าถึงเว็บไซต์ จะช่วยไม่ให้ MICROSOFT AZURE บริการคลาวด์สำ�หรับผู้นิยม เว็บล่มเพราะกำ�ลังจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ที่อยู่ในกลุ่ม Cloud Computing เดียวกัน และที่สำ�คัญ เทคโนโลยีจากฝั่งไมโครซอฟท์ AMAZON WEB SERVICE (AWS) บริการคลาวด์ เว็บไซต์อื่นๆ ของหน่วยงานราชการจะสามารถแชร์พื้นที่ จากยั ก ษ์ ใ หญ่ ด้ า น e-commerce ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร และทรัพยากรจากกลุ่มนี้ได้ หลากหลายรูปแบบ Cloud Computing จึงนับเป็นเทคโนโลยีทีเ่ ข้ามา IRIS CLOUD บริการจาก CAT Telecom ที่เหมาะ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของทุกภาคส่วนได้อย่างคุ้มค่า สำ�หรับการใช้งานในประเทศไทย และมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ ยังพัฒนาอย่างต่อเนือ่ อีกด้วย ที่มา : https://www.it24hrs.com http://www.manacomputers.com http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net

Justice Magazine Ministry of Justice

71


เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ

กองบรรณาธิการ

พฤติกรรมเสี่ยง

“มะเร็งลำ�ไส้ใหญ่”

โรคร้ายที่เกิดจากวิถีชีวิตอันเร่งรีบ สำ�รวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคร้ายจากการใช้ชีวิต ประจำ�วัน เพือ่ ตระหนักถึงอันตรายและหันกลับมา รักษาสุขภาพของเราให้ดยี ง่ิ ขึน้ เราคงทราบกันดีว่า “โรคมะเร็ง” เปรียบเสมือน ฆาตกรตั ว ร้ า ยที่ ค ร่ า ชี วิ ต คนไทยมากที่ สุ ด มานาน หลายสิบปี แต่ส่ิงที่น่าสนใจคือ มีคนไทยอีกจ�ำนวนมาก ที่ ยั ง ไม่ ต ระหนั ก ถึ ง อั น ตรายจากโรคร้ า ยนี้ จากสถิ ติ ของสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ปี พ.ศ. 2553 พบว่ า ในประเทศไทย มะเร็ ง ล� ำ ไส้ ใ หญ่ เ ป็ น โรคที่ พ บมาก เป็นอันดับ 2 ในเพศชาย และอันดับ 3 ในเพศหญิงอีกด้วย

มะเร็งล�ำไส้ เกิดจากอะไร ? โรคมะเร็งล�ำไส้ เป็นความผิดปกติของเซลล์เนื้อเยื่อ บริเวณล�ำไส้ที่เกิดการกลายพันธุ์ ท�ำให้มีการแบ่งตัวและ เพิม่ ขึน้ ของขนาดเยือ่ บุอย่างรวดเร็วจนไม่สามารถควบคุมได้ หลังจากนั้นเมื่อเซลล์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ก็จะเกิด ติ่งเนื้อหรือเนื้องอกขึ้นในล�ำไส้ ซึ่งเนื้องอกอาจกลายเป็น มะเร็งหรือไม่กไ็ ด้ แต่ถา้ หากกลายเป็นมะเร็ง เซลล์มะเร็ง จะลุกลามไปยังชั้นกล้ามเนื้อและส่วนต่างๆ ของล�ำไส้ ผ่านท่อน�ำ้ เหลืองและหลอดเลือด และไปปรากฏยังส่วนอืน่ ๆ ของร่างกาย เรียกว่า “มะเร็งแพร่กระจาย” โดยสาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด เซลล์ ม ะเร็ ง ในล� ำ ไส้ นั้ น ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่แพทย์มีการคาดว่าอาจจะ เกิดจากหลาย ๆ ปัจจัยร่วมกัน เช่น การถ่ายทอดของยีนทีม่ ี ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ และอาจมีปจั จัยอืน่ ๆ ร่วมด้วย เช่น การบริโภคอาหารที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ได้แก่ เนือ้ แดง อาหารไขมันสูง การไม่บริโภคผัก-ผลไม้ การสูบบุหรี่ ดืม่ เหล้า หรือการมีสารพิษตกค้างอยูใ่ นล�ำไส้เป็นเวลานาน นอกจากนี้ความผิดปกติที่เกิดในล�ำไส้ หรือระบบ ขับถ่ายก็อาจเป็นสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดโรคมะเร็งได้ อาทิ ท้องผูกเรือ้ รัง หรือโรคล�ำไส้แปรปรวน เป็นต้น ทัง้ นีอ้ ตั รา การเกิดโรคมะเร็งล�ำไส้ของทั้งเพศชายและหญิงอยู่ใน อัตราที่ค่อนข้างใกล้เคียงกัน มะเร็งล�ำไส้ ใครคือกลุ่มเสี่ยง ? โรคมะเร็งล�ำไส้แม้จะมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายๆ อย่าง แต่ ส� ำ หรั บ บางคนบางกลุ ่ ม อาจมี ค วามเสี่ ย งสู ง กว่ า กลุ ่ ม คนอื่ น ๆ โดยกลุ ่ ม เสี่ ย งที่ ค วรส� ำ รวจพฤติ ก รรม และระมัดระวังให้มากขึ้น มีดังต่อไปนี้

72

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เคล็ดลับเกร็ดสุขภาพ

▶ ผู้ที่ชอบรับประทานอาหารทีม่ ไี ขมันอิม่ ตัวสูง อาหาร ฟาสต์ฟู้ดหรื อ อาหารที่ ผ ่ า นการปิ ้ ง ย่ า งจนไหม้ เ กรี ย ม เป็นประจ�ำ และกินอาหารที่มีเส้นใยไฟเบอร์น้อย ▶ ผู้ที่ชอบดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ▶ ผูท้ ไี่ ม่คอ่ ยออกก�ำลังกาย ชอบนัง่ อยูก่ บั ทีน่ านๆ ไม่คอ่ ย ขยับไป-มา ▶ มากกว่า 90% ของมะเร็งล�ำไส้ใหญ่เกิดในคนที่อายุ มากกว่า 50 ปี ▶ มีประวัตเิ คยเป็นมะเร็งล�ำไส้ หรือเคยมีตงิ่ เนือ้ ในล�ำไส้ ชนิด Adenomatous polyps ▶ มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งล�ำไส้ หรือเคยมี ติ่งเนื้อในล�ำไส้ชนิด Adenomatous polyps 3. ท้องผูก และท้องเสียสลับกันบ่อยผิดปกติ หรือ ▶ มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งชนิดต่างๆ อาจมีอาการท้องผูกเรื้อรัง ▶ มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่าย เช่น ล�ำไส้อักเสบ 4. ท้องอืด ท้องเฟ้อ บ่อยผิดปกติ และมักมีอาการ ท้องผูกเรื้อรัง ภาวะล�ำไส้แปรปรวน หรือโรคโครห์น ปวดบริเวณท้องช่วงล่าง (Crohn’s disease) 5. ความอยากอาหารลดลง เพราะเมื่อมีก้อนเนื้อ ▶ มีความผิดปกติทางพันธุกรรมบางอย่าง แต่ในกรณีนี้ อยูใ่ นล�ำไส้ การท�ำงานของล�ำไส้จะช้าลง ส่งผลให้ไม่รสู้ กึ หิว พบได้น้อยมาก 6. เกิดอาการอ่อนเพลียผิดปกติ เพราะการสูญเสียเลือด จากการที่ มี เ ลื อ ดออกในล� ำ ไส้ เนื่ อ งจากเนื้ อ งอก 7 สัญญาณเตือนเบื้องต้นโรคมะเร็งล�ำไส้ จะส่งผลให้เกิดความอ่อนเพลีย ซึ่งถ้าหากเสียเลือดมาก โดยส่วนใหญ่แล้วอาการของโรคมะเร็งจะเริม่ ต้นจาก เกินไปอาจถึงขั้นช็อกได้ สัญญาณเตือนเล็ก ๆ ที่เราอาจมองข้าม ซึ่งอาการเหล่านี้ 7. คลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งถ้าหากอยู่ดี ๆ เริ่มมีอาการ อาจดูเหมือนเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากละเลยก็อาจ อาเจียนบ่อยๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ ควรรีบไปพบแพทย์ ท�ำให้อาการของโรคทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึง เพราะการท�ำงานที่ผิดปกติของล�ำไส้ที่เกิดจากมะเร็ง ควรสั ง เกตตั ว เองว่ า มี อ าการผิ ด ปกติ เ หล่ า นี้ ห รื อ ไม่ ท�ำให้เกิดอาการนี้ได้ เพื่อที่จะได้พบแพทย์และเริ่มต้นการรักษาได้ทันท่วงที 1. น�้ำหนักลดลงอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะรับประทาน มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ ป้องกันอย่างไร อาหารในปริมาณเท่าเดิม ถึ ง สาเหตุ ข องการเกิ ด มะเร็ ง ล� ำ ไส้ อ าจเกิ ด จาก 2. ลักษณะของอุจจาระเปลีย่ นไป อาจมีขนาดเล็กลง กรรมพันธุ์ได้ แต่เราสามารถลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง ได้ในหลายๆ ทาง ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร หรือมีเลือดออกมาปะปนด้วย ที่มีประโยชน์ รับประทานอาหารที่มีไฟเบอร์ให้มากขึ้น เลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูงโดยเฉพาะอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว รับประทานเนือ้ แดงให้นอ้ ยลง อีกทัง้ ยังควรดูแลระบบขับถ่าย ให้เป็นปกติอยูเ่ สมอ ระวังอย่าให้เกิดอาการท้องผูกบ่อยๆ ซึ่งถ้าหากมีปัญหาเรื่องระบบขับถ่ายควรไปพบแพทย์ เพื่อท�ำการรักษาอย่างจริงจัง นอกจากนี้ยังควรตรวจหา ความเสีย่ งโรคมะเร็งอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ และออกก�ำลังกาย เป็นประจ�ำสม�ำ่ เสมอ เพียงเท่านีก้ จ็ ะช่วยให้คณ ุ ลดความเสีย่ ง ในการเป็นโรคมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณข้อมูลจาก ศูนย์มะเร็ง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, www.kapook.com

Justice Magazine Ministry of Justice

73


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

กองบรรณาธิการ

ยุตธิ รรมทัว่ ไทย

ช่วงที่ผ่านมา หน่วยงานต่างๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ เพือ่ เผยแพร่บทบาทภารกิจของหน่วยงาน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือประชาชนเพื่ออำ�นวยความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลํ้าให้แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ประชุมประชาคมข่าวยาเสพติด

▶ นายวิชยั ไชยมงคล ผูอ้ ำ�นวยการสำ�นักงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด ภาค 5 เป็นประธานการประชุมประชาคมข่าวยาเสพติด พื้นที่ภาคเหนือตอนบน ครั้งที่ 4/2560 เพื่อให้หน่วยงานสมาชิก ประชาคมข่าวได้นำ�เสนอสถานการณ์ยาเสพติด พร้อมทัง้ ร่วมอภิปราย ในประเด็นสำ�คัญ เช่น สถานการณ์พื้นที่แหล่งผลิตกลุ่มบ้านผาขาว ประเทศเมียนมา สถานการณ์ราคายาเสพติดในพืน้ ที่ และการดำ�เนินการ ครอบครองยาเสพติดภายใต้การควบคุม (Controlled Delivery) ของหน่วยงานในปัจจุบัน โดยมีผู้แทนหน่วยงานด้านการข่าวในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบนและผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมฯ

อำ�นวยความยุติธรรมแก่ประชาชน

▶ สำ�นักงานยุตธิ รรมจังหวัดปัตตานี พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนอำ�เภอยะรั ง ลงพื้ น ที่ ต รวจสอบ ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับพฤติการณ์และฐานะทางเศรษฐกิจ ของผู้ขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนยุติธรรม ณ ตำ�บล ยะรัง อำ�เภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อใช้ในการประกอบ การพิจารณาของคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือ ประจำ�จังหวัดปัตตานี

74

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

การพัฒนาจิตใจผู้กระทำ�ความผิด

▶ สำ�นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี และ ศูนย์ประสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติ อำ�เภอบ้านไร่ จัดกิจกรรม “พัฒนาวัดและพัฒนาจิตใจผูก้ ระทำ�ความผิด” ณ วัดผาทัง่ ตำ�บลห้วยแห้ง อำ�เภอบ้านไร่ จังหวัดอุทยั ธานี โดยมีเจ้าอาวาสวัดผาทั่ง ให้ข้อแนะนำ�และหลักธรรม สำ�หรั บ นำ�ไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจำ�วั น เพื่ อ พั ฒ นาจิ ต ใจ และปรับปรุงตนเอง พร้อมกันนี้ได้มีกิจกรรมพัฒนาวัด โดยการทำ�ความสะอาดบริเวณวัด ซึง่ มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วยผูถ้ กู คุมความประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติ และประชาชนทีส่ นใจ จำ�นวนกว่า 30 คน

ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

▶ สมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE จากสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็ก และเยาวชนจังหวัดพะเยา ทำ�สิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุ (กล่องนม) โดยเป็นกิจกรรมทีป่ ลูกฝังให้เยาวชนได้รจู้ กั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีความคิดสร้างสรรค์ ฝึกการใช้สมาธิ และรูจ้ กั คุณค่าของวัสดุเหลือใช้ ณ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดพะเยา Justice Magazine Ministry of Justice

75


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

ตรวจประเมินสิ่งจำ�เป็นขั้นพื้นฐานในเรือนจำ�

▶ เจ้ า หน้ า ที่ จ ากหน่ ว ยงานภาคี เ ครื อ ข่ า ยด้ า นการอนามั ย จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลหนองปลิง และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำ�บลนํ้าดิบ จังหวัดกำ�แพงเพชร เข้าตรวจประเมิน สิ่งจำ�เป็นขั้นพื้นฐานสำ�หรับผู้ต้องขังทั้ง 5 ด้าน ณ เรือนจำ�กลาง กำ�แพงเพชร จังหวัดกำ�แพงเพชร

ขับเคลื่อนภารกิจศูนย์ยุติธรรมชุมชน

▶ สำ�นักงานยุตธิ รรมจังหวัดเชียงราย จัดโครงการประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อน 5 ภารกิจศูนย์ยุติธรรม ชุมชน ลดความเหลื่อมลํ้าด้วยยุติธรรมชุมชน ประจำ�ปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 จำ�นวน 5 อำ�เภอ ได้ แ ก่ อำ�เภอเวียงเชียงรุง้ อำ�เภอดอยหลวง อำ�เภอพญาเม็งราย อำ�เภอเวี ย งชั ย และอำ�เภอป่ า แดด โดยมี น ายอนั น ต์ สมุทรารินทร์ นายอำ�เภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการฯ

76

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


ทุกทิศทั่วยุติธรรม

ช่วยเหลือประชาชน

▶ สำ�นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด อุ ด รธานี ร่ ว มกั บ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ สำ�นักงานบังคับคดีจงั หวัดอุดรธานี พร้อมด้วยข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ได้ประชุมร่วมกับทนายความ กองทุ น ยุ ติ ธ รรม และประชาชนผู้ เ ดื อ ดร้ อ น เพื่ อ หา แนวทางแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือกรณีพิพาทเรื่องที่ดิน ซึ่งถูกดำ�เนินคดีในข้อหาบุกรุกและถูกฟ้องขับไล่

เผยแพร่บทบาทภารกิจ

▶ สำ�นักงานยุตธิ รรมจังหวัดจันทบุรี ร่วมกิจกรรมในโครงการจังหวัด เคลื่อนที่ โดยได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บทบาทภารกิจ ให้คำ�ปรึกษา ทางกฎหมายและแจกหนังสือกฎหมายสามัญประจำ�บ้าน ให้แก่ ประชาชนที่ เ ข้ า ร่ ว มในโครงการฯ โดยมี น ายวิ ทู รั ช ศรี น าม ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด จั น ทบุ รี เป็ น ประธานเปิ ด งาน ณ โรงเรี ย น บ้านปัน้ หม้อ หมู่ 3 ตำ�บลเทพนิมติ อำ�เภอโป่งนาํ้ ร้อน จังหวัดจันทบุรี

ส่งเสริมภารกิจยุติธรรมชุมชน

▶ พั น เอก ศุ ภ ณั ฏ ฐ์ หนู รุ่ ง ผู้ อำ�นวยการ สำ�นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด อ่ า งทอง และยุติธรรมจังหวัดอ่างทอง เป็นประธาน เ ปิ ดโ ค ร ง ก าร พั ฒ น า ส่ ง เส ริ ม ภ า รกิ จ งานยุตธิ รรมชุมชนตำ�บล ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กิจกรรมที่ 2 ประชารัฐร่วมใจ ศูนย์ยุติธรรมชุมชนก้าวไกล สังคมปลอดภัย อย่างยั่งยืน โดยมีเครือข่ายยุติธรรมชุมชน เข้าร่วมฯ ณ หอประชุมอำ�เภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง

Justice Magazine Ministry of Justice

77


เก็บมาเล่า

กองบรรณาธิการ

บุคลากรสถาบันนิติวิทยาศาสตร์

ร่วมสร้างแรงบันดาลใจในละครโทรทัศน์เฉลิมพระเกียรติ

ค่Pride าของแผ่ น ดิ น and Dignity of Thais หากต้องการปลูกฝังความดี ถ่ายทอดความมีนำ้�ใจของคนไทย ทีม่ มี าแต่ชา้ นานไปยังคนรุน่ หลังผ่านคำ�พูดอาจเป็นเรือ่ งที่ไม่งา่ ยนัก แต่ถ้าหากรับรู้ ได้ด้วยสายตาอาจทำ�ให้สามารถเข้าถึงและเห็นภาพ ได้ชดั เจนมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การถ่ายทอดผ่านละครโทรทัศน์ อันจะช่วยให้การรับรูเ้ รือ่ งราวเป็นไปอย่างทัว่ ถึง อีกทัง้ ยังทำ�ให้ผคู้ น ได้รบั ข้อมูลในด้านต่าง ๆ มากขึน้

โครงการ “ปลูกไทย...ในแบบพ่อ” ซึ่งรัฐบาล โดยคณะกรรมการ อำ�นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเสด็ จ เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ ค รบ 70 ปี 9 มิถุนายน 2559 กำ�หนดให้จัดทำ�ละครโทรทัศน์เฉลิมพระเกียรติ ชุด “ค่าของแผ่นดิน Pride and Dignity of Thais” ร่วมเป็น กิจกรรมหนึง่ ในโครงการดังกล่าว เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้ประชาชน ตั้งมั่นในคุณความดี 7 ประการ อันประกอบด้วย 1. ความเมตตา การุณย์ 2. ความเสียสละ กล้าหาญ 3. ความเพียร 4. ความอดทน 5. ความรักสามัคคี 6. ความมุ่งมั่น และ 7. ความซื่อสัตย์สุจริต โดยผ่านละครทีส่ ร้างขึน้ จากวิถชี วี ติ จริงของบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพ จำ�นวน 14 คน ซึ่งได้ดำ�เนินชีวิตและปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาท ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในการอุทศิ ตน สร้างคุณประโยชน์ให้สังคมและประเทศชาติ เพือ่ สะท้อนให้ผรู้ บั ชมได้เห็นถึง “ความดีงามในจิตใจ” ของคนไทย ที่ปรากฏอยู่ทั่วไปในสังคมปัจจุบัน และก่อให้เกิดกระแสแรงศรัทธา ยกย่องสรรเสริญและชื่นชม ตลอดจนขยายผลการเป็นแบบอย่าง ในการสรรค์ ส ร้ า งความดี แ ละความมี นํ้ า ใจงามของคนไทย เผยแพร่ผ่านทางสถานีโทรทัศน์และทีวีดิจิตอล โดยหนึ่งในเรื่องราว ที่ถ่ายทอดผ่านละครโทรทัศน์ชุดนี้คือ การปฏิบัติหน้าที่ราชการ

78

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม


เก็บมาเล่า

ของนางสาวกรรณิการ์ สุทธพจนารักษ์ หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการ นิติวิทยาศาสตร์จังหวัดชายแดนภาคใต้ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จนเป็นที่ยอมรับในสังคมและประชาชนในพื้นที ่ คอลัมน์เก็บมาเล่า ได้มีโอกาสสัมภาษณ์และพูดคุยถึงจุดเริ่มต้น ของการได้เป็นส่วนหนึ่งในการได้รับคัดเลือกนำ�เรื่องราวมานำ�เสนอ เป็ น ละครโทรทั ศน์ชุด นี้ ซึ่งสำ�นัก นายกรัฐ มนตรี โดยสำ�นั ก งาน ปลั ด สำ�นั ก นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ผู้ ทำ�การคั ด เลื อ กบุ ค คลต้ น แบบ โดยคัดเลือกบุคคลจากหลายสาขาอาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ครู ทหาร ตำ�รวจ ข้าราชการ และพลเรือน ซึ่งบุคคลที่ได้รับการ คัดเลือกเป็นบุคคลที่ปรากฏผลงานที่เป็นประโยชน์เป็นที่ยอมรับ ดำ�เนิ น ชี วิ ต และปฏิ บั ติ ต นตามรอยเบื้ อ งพระยุ ค ลบาทของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการอุทิศตน สร้างคุณประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ โดยตนได้รับเลือก ให้เป็นบุคคลต้นแบบตามคุณธรรมความดีข้อ 4 “ความอดทน” ทำ�ให้ร้สู ึกยิ่งสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ และภาคภูมิใจที่ปฏิบัติตน ตามรอยพระยุคลบาท ซึ่งถือว่าเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล และอาจกล่ า วได้ ว่ า ในวั น นี้ ต นเป็ น เพี ย งตั ว แทนที่ ถู ก เลื อ ก เป็นบุคคลต้นแบบ ซึง่ ข้อเท็จจริงของการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการดำ�เนินการ ตามรอยพระยุคลบาทนั้นบุคลากรทุกคนในสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ มีส่วนสำ�คัญในการขับเคลื่อนสนับสนุนภารกิจการใช้กระบวนการ ทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อช่วยแก้ปัญหาความไม่สงบ เพื่อสนับสนุน การดำ�เนินคดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ�ความผิดที่แท้จริง ทั้ ง หมดมาลงโทษตามกฎหมาย และเพื่ออำ�นวยความเป็นธรรม ให้เกิดขึน้ ในชาติบา้ นเมือง เรื่องราวที่ถูกถ่ายทอดเป็นละครโทรทัศน์ จะสะท้อนให้เห็น อีกหนึ่งวิชาชีพของ “นักนิติวิทยาศาสตร์” กับการปฏิบัติหน้าที่ ซึง่ ต้องอาศัยคุณธรรมหลายข้อในการปฏิบตั ภิ ารกิจ การบรรลุเป้าหมาย ของภารกิจต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความร่วมมือ ร่วมใจของบุคลากรในองค์กร และความร่วมมือกับหน่วยงานทีท่ ำ�งาน

สอดคล้องกัน ซึ่งเป็นส่วนสนับสนุนความสำ�เร็จในการดำ�เนินการ ตามภารกิจ และเชื่อว่าละครโทรทัศน์สำ�นึกรักชาติชุดนี้จะสร้าง กระแสศรัทธาในการสร้างความดี สิง่ ดีงามจะขยายเพิม่ พูนขึน้ พร้อมทัง้ คนในชาติจะร่วมกันสร้างสรรค์สิ่งที่ดีเพื่อปกป้องบ้านเมืองร่วมกัน ตนเริ่ ม ต้ น ทำ�งานในฐานะ “ข้ า ราชการ” ตั้ ง แต่ ปี 2546 ในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะข้าราชการ ตนได้นอ้ มนำ�หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นหลัก ในการทำ�งานและตนในฐานะ “ข้ า ราชการ” มี ห น้ า ที่ ที่ ต้ อ งทำ� เพื่ อ แผ่ น ดิ น เป็ น ข้ า ของแผ่ น ดิ น เป็ น ตั ว แทนการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข้าราชการภายใต้บทบาทการเป็นนักนิติวิทยาศาสตร์ ทำ�หน้าที่ พัฒนาตนพัฒนาระบบคุณภาพการดำ�เนินการทางนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง อำ�นวยความเป็นธรรม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระองค์ เป็นแบบอย่างของคุณธรรมความดีในทุก ๆ ด้าน ตลอดจนการปฏิบัติ พระราชกรณีย์กิจตลอดระยะเวาลาที่ผ่านมา สิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นคือ ภาพสะท้อน และเป็นคำ�ถามที่ย้อนกลับมาถามตัวเองเสมอว่า “วันนี้ คุ ณ เป็ น ใคร คุ ณ ทำ�หน้ า ที่ ห รื อ สิ่ ง ที่ คุ ณ ควรจะทำ�ให้ ดี ห รื อ ยั ง ” เป็นแรงผลักดันให้เกิดพลังกายพลังใจ ความตั้งใจ ความอดทน ความมุ่งมั่น ที่จะพยายามทำ�หน้าที่ของตนเองให้ดี และมีความกล้า ที่ จ ะยึ ด มั่ น ทำ�หน้ า ที่ บ นสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งในฐานะ “ข้ า ของแผ่ น ดิ น ” ทุกครั้งที่มองเห็น

Justice Magazine Ministry of Justice

79


เก็บมาเล่า

พระบรมฉายาลั ก ษณ์ จ ะระลึ ก และพู ด ในใจว่ า “ตนจะปฏิบัติหน้าที่ก ารเป็น นัก นิติวิทยาศาสตร์ ด้ ว ย ความเพียร อดทน ซือ่ สัตย์สจุ ริต เพือ่ อำ�นวยความเป็นธรรม และธำ�รงไว้ซ่งึ ความถูกต้อง ให้สมกับเป็นข้าราชการใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช” ในส่วนของการปฏิบตั ภิ ารกิจในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้เป็นการปฏิบัติงานในสถานการณ์ความไม่สงบ ของประเทศ ซึ่งทุกวันในพื้นที่ผู้ก่อเหตุรุนแรง จะก่อเหตุ หรือกระทำ�คามผิดทีส่ ง่ ผลต่อร่างกาย ชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างต่อเนื่องและรุนแรง ดังนั้นเจ้าหน้าที่ทุกคนเชื่อว่า การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ที่ จ ะสามารถธำ�รงไว้ ซึ่ ง ความสงบ และก่อให้เกิดสันติสุขในพื้นที่ได้นั้น ต้องอาศัยคุณธรรม หลายประการ ทั้งความเสียสละ ความอดทน และต้องใช้ คุณธรรมในข้ออืน่ ๆ อีกหลายข้อ เช่น ความรัก ความสามัคคี ความมุ่งมั่น ความซื่อสัตย์ เพื่อเป็นแรงกายแรงใจในการ สนับสนุนภารกิจตามบทบาทหน้าที่ท่รี ับผิดชอบให้บรรลุ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่ ว มใจกั น ทั้ ง ในส่ ว นของที ม งานนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ เ อง และกับหน่วยงานภาคส่วนอื่นๆ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม ในฐานะหน่วยงานราชการภายใต้

80

วารสารยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

ภารกิจด้านอำ�นวยความเป็นธรรม เข้ามามีบทบาทภายใต้ นโยบายการขับเคลือ่ นการแก้ปญ ั หา ความไม่สงบภายใน พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ในกระบวนการยุติธรรมให้เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยการนำ� กระบวนการทางนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ เข้ า ไปสนั บ สนุ น การพิ สู จ น์ เ พื่ อ หาตั ว บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บการกระทำ� ความผิดทีแ่ ท้จริงเข้าสูก่ ระบวนการลงโทษ ตามกฎหมาย สนั บ สนุ น การดำ�เนิ น คดี แ ละการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย สนับสนุนงานทางด้านการข่าวให้กบั หน่วยงาน ความมัน่ คง เพื่อใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการป้องกัน ป้องปราม ไม่ให้ อาชญากรรมดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น หรื อ ลดปริ ม าณลง สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในพื้นที่ขึ้นเป็นลำ�ดับ การถ่ายทอดเรื่องราวการทำ�งานผ่านละครโทรทัศน์ เชื่อว่าสิ่งที่ทุกคนจะได้จากละครโทรทัศน์ ซึ่งสร้างมา จากชีวิตของบุคคลต้นแบบที่แตกต่างกันในหลายสาขา วิ ช าชี พ ที่ ท างสำ�นั ก นายกรั ฐ มนตรี คั ด สรรมาครั้ ง นี้ จะสะท้อนให้เห็นว่าบ้านเมืองและสังคมเรายังมีคนดี ทีเ่ ป็นแบบอย่างอีกจำ�นวนมาก การทำ�หน้าทีข่ องแต่ละคน ต้องมีคุณธรรม สามารถดลใจและกลายเป็นแรงผลักดัน เพือ่ เป็นพลังขับเคลือ่ นสิง่ ดีงามต่าง ๆ ให้เกิดขึน้ อันจะเป็น คุณประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง ดั ง นั้ น การที่ บุ ค ลากรจากศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร นิติวิทยาศาสตร์จังหวัดชายแดนภาคใต้ สังกัดสถาบัน นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ได้รบั เกียรติให้เป็นส่วนหนึง่ ในโครงการ “ค่าของแผ่นดิน Pride and Dignity of Thais” นี้ จึงถือว่าเป็นการให้ความหมายต่อการทำ�งานของบุคลากร ของรั ฐ ที่ มุ่ ง มั่ น ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด้ ว ยความอดทน ส ม กั บ ที่ ไ ด้ น้ อ ม นำ� เ อ า ห ลั ก ก า ร ท ร ง ง า น ข อ ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิพ ลอดุ ล ยเดช ผูท้ รงเป็นแบบอย่างดีงามอันสูงสุด มาใช้เป็นหลักสำ�คัญ ในการทำ�งานเพือ่ ตอบแทนแผ่นดินเสมอมา




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.