FIHRD-Chira Academy Reviews ภาคพิเศษ เมษายน 2555

Page 1

FIHRD - Chira Academy

Reviews

APRIL 2012

เปิดจดหมายจาก ดร.จีระ

สารบัญ

สวัสดีครับ..ท่านสมาชิกที่รักทุกท่าน สาหรับ FIHRD – Chira Academy Reviews.. หรือ “REVIEWS” ของเรา ซึง่ คงจะเป็นเพื่อน คู่คิด เป็นสิ่งที่ทุกๆ คนช่วยกันสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสมบัติทางความรู้ของคน ไทยทุกๆ คน ต้องขอบคุณทีมงาน ที่ปรึกษา และทีมกองบก. ซึ่งมีหลายๆ คน นาโดย คุณวราพร ซึ่งกาลังฝึกนักเขียนรุ่นใหม่ๆ ทุกๆคนมีความมุ่งมั่นสูง และตั้งใจที่จะช่วยกันนาเสนอสาระความรู้ที่มีประโยชน์ตอ่ ผู้อ่านและสมาชิก ฉบับเดือนเมษายนนี้ เราเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับประเทศพม่าหรือ เมียนม่าร์ในแง่มมุ ต่าง ๆ ผมมีโอกาสได้เข้าไปแลกเปลีย่ นความรู้กับพม่า ตั้งแต่ 15-20 ปีที่แล้ว ในนามของสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวันนี้ ผม และมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศก็ยังทางานอย่างต่อเนื่องกับ ประเทศพม่าด้วยการทูตภาคประชาชนตลอดมากว่า 8 ปี การเปิดประเทศครั้งนี้ สาคัญต่อประเทศไทย แต่มีข้อสังเกต ดังต่อไปนี้  ทาอะไรต้องมองประโยชน์ร่วมกัน (Mutual Benefit) หรือ win/win

เปิ ดจดหมายจาก ดร.จีระ 1 BOOK REVIEW 2  The intangible leadership Learning from Gurus 3  มองเมียร ์ม่าผ่านสายตาทูต FIHRD Report 6 Interview 10  จับเขาคุยกับชาวพม่า สู ่..ประชาคมอาเซียน 15 ่ ้ ่  การเปลียนแปลงครังยิงใหญ่ใน ประเทศเมี ยร ์ม่า รายงานพิเศษ 20  8K’s+5K’s: สร ้างทุนมนุ ษย ์คนไทยได ้อย่างไร? สารคดีแห่งชีวิต 22  ตอนที่ 1 ประเทศพม่ากับเส ้นทาง ของความฝันและความจริง Around the World 24  รายงานสถานการณ์พลังงาน ในประเทศเมียร ์ม่า ข่าวประชาสัมพันธ ์ 29

   

Activity of the Month 30 รู้จักประเทศพม่าอย่างดี หาความรู้ Reviews ก็เป็นหนึง่ ในทางเลือก คนไทยควรจะศึกษาภาษาพม่าเพิ่มขึ้น รู้จักจุดอ่อน-จุดแข็งของเขาให้ดี มีนโยบายหรือโครงการทีช่ ่วยเหลือกันระยะยาว และอยู่อย่างยัง่ ยืน มูลนิธิฯ ยังคงเดินหน้าทางานร่วมกับพม่าอย่างต่อเนื่องเรือ่ งทุนมนุษย์ในภาคการท่องเที่ยว ภาคพลังงานและ อาจจะตามมาด้วยภาคการเกษตร จากการที่คณะนักวิชาการของ 3 มหาวิทยาลัยจากประเทศพม่ามาศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยวของประเทศ ไทยเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผา่ นมา และได้มีข้อตกลงร่วมกันว่าจะช่วยกันพัฒนาทุนมนุษย์ในการท่องเที่ยวของพม่า

1


ผมหวังว่าหน่วยงานราชการของไทย โดยเฉพาะกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและกระทรวงการ ต่างประเทศจะช่วยกันดูแล สนับสนุนสิ่งที่ทางพม่าขอรับการสนับสนุนจากประเทศไทย คือ - ทุนศึกษาต่อในระดับปริญญาโทด้านการท่องเที่ยวและโรงแรมที่ประเทศไทย จานวน 15 ทุน - โครงการต่อเนื่องเพื่อทาวิจัยร่วมกัน - โครงการต่อเนื่องหลักสูตรการพัฒนาทุนมนุษย์ในการท่องเที่ยวในประเทศพม่า 5 วัน ซึ่งคาดว่าจะจัดใน ในเดือนพฤษภาคม 2555 นี้ โดยทางมูลนิธฯิ มีแผนงานที่จะร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้สนับสนุน การทางานของเราในครั้งที่แล้วด้วย อาทิ เช่น - การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย - มหาวิทยาลัย เช่น ธรรมศาสตร์, มหิดล, ศิลปากร - กระทรวงการท่องเทียวและกีฬา - หน่วยงานเอกชนทางการท่องเที่ยว สุดท้าย ผมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า Reviews ฉบับนีจ้ ะมีประโยชน์สาหรับท่าน และจะยินดีมากหากได้รบั Feedback ติชม ให้ข้อเสนอแนะ หรือส่งบทความดี ๆ มาร่วมกันสร้างทุนทางปัญญาให้กับสังคมไทยของเราครับ จีระ หงส์ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com

BOOK REVIEW โดย ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

The intangibles of leadership หนังสือเรื่อง The intangibles of leadership เขียนโดย Dr. Richard Davis ชาวแคนาดา เป็นหนังสือที่ น่าสนใจอีกเล่มหนึ่งเพราะพูดถึงภาวะผูน้ ากับเรื่องที่มองไม่เห็น แต่สามารถเป็นพลังมหาศาลในการขับเคลื่อนให้ เกิดความเป็นเลิศ เรื่องหนึ่งทีห่ นังสือเรื่องนีพ้ ูดถึงและผมชอบมาก คือ คาว่า “Will” หมายถึง ความตัง้ ใจ อาจจะแปลว่าการ กระทาที่มุ่งเน้นความสาเร็จ มุ่งมั่น ผมชอบดังสุภาษิตฝรั่งพูดไว้วา่ “If there is a will, there is a way” คาว่า Will คือ การกระทาที่มุ่งมั่นไม่วา่ อุปสรรคจะแค่ไหน หนังสือเล่มนี้ยกตัวอย่างของ Microsoft ที่ Bill Gates ทาร่วมกับเพื่อนนักเรียนรุ่นพี่อายุมากกว่าประมาณ 3 ปีชื่อ Paul Allen ด้วยความมุง่ มั่นของทัง้ 2 คน คือทั้ง Bill และ Allen ไม่ได้จบมหาวิทยาลัย แต่มี “Will” คือ มีความตั้งใจ ทาให้เขาเริ่มต้นและประสบความสาเร็จ แม้จะต้องเผชิญอุปสรรคมากมายแต่มุ่งมัน่ ว่าต้องทาให้สาเร็จ “Will” เป็นสิง่ ที่มองไม่เห็น อาจเรียกได้ว่าเป็นจิตใต้สานึกของเรา คาถามคือจะปลูกฝังหรือสร้างมันขึ้นมา อย่างไร? ในการแนะนาหนังสือของผมครั้งนี้ ข้อแรกผู้อา่ นจะต้องตระหนัก มองให้เห็นความสาคัญของ Will เมื่อ ตระหนักแล้วก็อาจจะใช้ตัวอย่างของ Bill Gates ฝึกจิต อดทน อย่าท้อถอย และเดินไปข้างหน้า อย่าคิดว่าทาไม่ได้ ต้องคิดว่า “ฉันทาได้”…………………… (อ่านต่อหน้า 5) 2


มองเมียนม่าร์ ผ่านสายตาทูต เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2555 ดิฉันได้มีโอกาสไปร่วมการประชุมวิชาการปัญญาภิวัตน์ครั้งที่ 2 ซึ่งมี รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัตน์ เป็นประธานเปิดงาน และได้วิเคราะห์ เชื่อมโยงปัญหาหนี้ยุโรปและการเปิดตัวของประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ว่า ตอนนี้ ยุโรปมีปัญหาคือ ค่ า แรงสู น าไปสู่ ต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ สู ง อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ยู โ รท าให้ สิ น ค้ า ราคา แพง สิ น ค้ า ส่ ง ออกล าบาก อุตสาหกรรมแข่งขันไม่ได้ เงินทุนจากสหรัฐจะไหลไปยุโรป ก็ไหลมาที่อาเซียนแทน และเมื่อมีประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี 2558 เงินทุนก็จะไหลเข้าสู่อาเซียนมากขึ้นทั้งใน Real Sectors และภาคการเงิน การเปิดประเทศ ของเมียนม่าร์ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจเพราะเมียนม่าร์มีโอกาสการขยายตัวทางเศรษฐกิจมาก แม้ปัจจุบันมี GDP เพียง 3 หมื่นล้านดอลล่าร์สหรัฐซึ่งคิดเป็น 1 ใน 11 เท่าของ GDP ประเทศไทย เมียนม่าร์มีพื้นที่ 676,000 ตาราง กิโลเมตร และมีทรัพยากรธรรมชาติมาก มีประชากรหลากหลายเผ่าพันธุ์ประกอบด้วย ชาวพม่า จานวน 2 ใน 3 ของประเทศ ชาวไทยใหญ่ 16% ชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญ 2-3% และส่วนที่เหลือเป็นเชื้อชาติอื่นๆ เมียนม่าร์ เป็นประเทศที่อยู่ในบาทโซน ยอมรับเงินบาทเพื่อเป็นสื่อกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า เมียนม่าร์มีสาย สัมพันธ์กับประเทศไทยมายาวนาน และประเทศอื่นๆก็ใช้ประเทศไทยเป็นประตูเขาสู่เมียนม่าร์ จากศักยภาพของ เมียนม่าร์บวกกับประเทศอื่นๆในอาเซียนประกอบกับการรวมตัวกันที่ดีมีเอกภาพจะทาให้ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนโตขึ้น

รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัตน์

นายอภิรัฐ เหวียนระวี อดีตเอกอัครราชทูตไทย ประจาสาธารณรัฐสหภาพเมียนม่าร์

กิจกรรมที่สาคัญของการประชุมครั้งนี้คือ การถ่ายทอดประสบการณ์ที่เคยไปประจาอยู่ที่เมียนม่าร์ของ ท่านทูตอภิรัฐ เหวียนระวี ท่านกล่าวว่า ในฐานะที่เคยเป็นเอกอัครราชทูตไทย ก็ต้องการสร้างความเข้าใจอันดีกับ เมียนม่าร์ เมียนม่าร์มีความสาคัญต่อประเทศไทยเพราะมีพรมแดนติดกันยาว ทุกปัญหาที่เกิดในประเทศเมียนม่าร์ 3


ก็จะมีผลกระทบต่อประเทศไทยและทุกปัญหาที่เกิดในประเทศไทยก็จะมีผลกระทบต่อประเทศเมียนม่าร์ด้วย เช่นเดียวกัน จากประสบการณ์ ทาให้ทราบนิสัยของชาวพม่าว่า พวกเขาไม่ตอบตกลงหรือปฏิเสธจนกว่าจะมั่นใจว่าทา ได้ ชาวพม่ามีความสมถะซึ่งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมของพุทธศาสนาครบถ้วน วัยรุ่นชาวพม่ายังนับลูกประคา สวดมนตร์ และถอดรองเท้าและถุงเท้าก่อนเข้าวัดทุกครั้ง ชาวพม่าดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีเพียง อาหารหลักคือ ข้าว ผงชูรส กะปิและน้ามันพืชก็อยู่ได้แล้ว ดังนั้นอาหารหลักเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่สามารถสั่นคลอน การเมืองของเมียนม่าร์ได้ เมียนม่าร์ปิดประเทศอยู่ได้ถึง 40 ปีเพราะชาวพม่าเป็นคนที่หยิ่งในศักดิ์ศรีและไม่ยอม คุกเข่าวิงวอนขอความเห็นใจเพราะเชื่อในหลักกฎแห่งกรรมของพุทธศาสนา นอกจากนี้ ภาษาบาลีก็ยังใช้พูดใน เมียนม่าร์อยู่ ในช่วงที่เกิดพายุนาร์กิส พระในเมียนม่าร์ที่พูดภาษาพม่าและภาษาอังกฤษไม่ได้แต่สามารถรอดชีวิต ได้เพราะใช้ภาษาบาลีในการสื่อสารทาให้คนไทยเข้าใจและช่วยเหลือได้ ชาวพม่ามีน้าใจไมตรีดูแลต้อนรับแขกที่มา เยือนอย่างดี ชาวพม่าค้าขายไม่เก่ง อานาจการค้าคืออานาจที่มาจากการเมือง ชาวพม่าไม่ชอบเสี่ยง ไม่กินเนื้อสัตว์ ใหญ่ 4 เท้า เช่น เนื้อวัวและเนื้อหมู แต่นิยมเนื้อไก่ โดยเฉพาะไก่ซีพีเป็นที่นิยมมากที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ ประเทศไทยและประเทศจีนลงทุนในประเทศเมียนม่าร์มากที่สุด สินค้าอุปโภคบริโภค ทุกชนิดในเมียนม่า ร์มาจากประเทศไทย เมียนม่าร์นาเข้ายารักษาโรคจากประเทศไทยและอินเดีย แต่ยาจาก ประเทศราคาอินเดียถูกกว่า ประเทศไทยใช้ไฟฟ้าที่ผลิตจากเมียนม่าร์ จากข้อมูล ปตท.สผ. มี 2 หลุมที่ผลิตแล้ว และจะมีอีก 2-3 หลุมพร้อมผลิตในอนาคต เมียนม่าร์ได้เปรียบไทยเรื่องก๊าซ แต่ตอนหลังเมียนม่าร์ได้มีข้อเสนอว่า เวลาไทยนาก๊าซจากเมียนม่าร์มาใช้ ก็ขอให้นามาสร้างมูลค่าเพิ่มให้เมียนม่าร์ด้วย เศรษฐกิจเมียนม่าร์อยู่ในมือคน เพียงไม่กี่คน อย่างมากก็ไม่เกิน 25 คน แต่คนเหล่านี้ก็แบ่งปันสัมปทานไปให้คนอื่นๆเพื่อเป็นเส้นสายในการทามา หากิน ในด้านสภาพภูมิอากาศ เมืองย่างกุ้งเป็นเมืองที่มีฝนตกหนักทาให้คนเป็นโรคผิวหนังมาก เวลารองเท้า เปียก ต้องนาเข้าเตาอบจึงจะไม่ขึ้นรา ส่วนด้านเกษตรกรรม ประเทศเมียนม่าร์ไว้ใจประเทศไทย ตอนนี้ เมียนม่าร์ กาลังพัฒนาข้าวโพด แต่ยังไม่ไว้วางใจเรื่อง Contract Farming เพราะเข้าใจว่าเป็นการสูญเสียแผ่นดิน และกลัว ว่าจะควบคุมไม่ได้เพราะพื้นที่เพาะปลูกตลอดแนวเป็นของชนกลุ่มน้อย ต้องชี้แจงให้เมียนม่าร์เข้าใจเรื่องนี้มากขึ้น จากสนธิสัญญาอังกฤษ 2 ฉบับทาให้เมียนม่าร์มีเกณฑ์การแบ่งเขตแดนที่แตกต่างกัน เมียนม่าร์ใช้การหาพิกัดเพื่อ แบ่งเขตแดน พรมแดนทางตอนเหนือของเมียนม่าร์ใช้แม่น้าแบ่งเขตแดน ส่วนทางตอนใต้ของเมียนม่าร์ใช้ร่องน้า ลึกแบ่งเขตแดน ในด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ประเทศเมียนม่าร์ไว้ใจประเทศไทยมากกว่าประเทศจีน จะเห็นได้ จากการที่เมียนม่าร์ให้จีนวางท่อก๊าซได้เหมือนไทยแต่ท่อของไทยหนากว่า เมียนม่าร์มองไทยเป็นเพื่อนแต่ยังระแวง ไทยเนื่องจากในอดีตเคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ แล้วต่อมาญี่ปุ่นและคอมมิวนิสต์เข้ามามีอานาจในเมียนม่ าร์ ดังนั้นเมียนม่าร์จึงมีความระแวงชาวต่างชาติอยู่ เมื่อมองการเมืองเมียนม่าร์ เมียนม่าร์ได้วางแผนเตรียมภูมิต้านทางพอสมควรก่อนเปิดประเทศ โครงสร้าง รัฐสภาทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีสมาชิกจานวน 25% เป็นทหาร มีการพัฒนาทหารระดับร้อยเอกและพัน โทขึ้นมาเป็นผู้นาเพราะทหารเป็นชนชั้นที่มีวินัยที่สุด การศึกษาดีที่สุดและได้เรียนรู้แนวทางจากอังกฤษ ชาวพม่า ตื่นตัวกับการเลือกตั้งแต่ก็เลือกพรรครัฐบาลเดิมเพราะทราบว่าจะได้อะไรและไม่เลือกพรรคอื่นเพราะไม่ทราบว่า จะได้อะไร การใช้สัญลักษณ์พรรคแทนชื่อพรรคในบัตรเลือกตั้งทาให้ชาวพม่ าที่ไม่รู้หนังสือจานวนมากสามารถ เลือกตั้งได้ ระบบการเลือกตั้งยังได้แพร่หลายไปในสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมเมียนม่าร์เพราะประธานก็มา จากการเลือกตั้งแทนที่จะแต่งตั้งโดยรัฐบาล และประธานสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมเมียนม่าร์ก็ขึ้นมาเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์สร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุนต่างชาติโดยเฉพาะไทยอย่างมาก ประธานาธิบดีเต็ง 4


เส่งกาลังปราบคอรัปชั่นอย่างรุนแรงในเมียนม่าร์และแก้กฎหมายการลงทุนของเมียนม่าร์ที่มีรายละเอียดมาก ซับซ้อนและซ้าซ้อน สรุปแล้ว การทางานร่วมกับชาวพม่าไม่ว่าจะเป็นด้านการทาธุรกิจหรือด้านใดๆก็ ตาม ไม่ควรเหยียดหยาม ชาวพม่าหรือเอาเปรียบเขา ควรจะมีโอกาสเข้าไปดูและสัมผัสเมียนม่าร์จะได้เข้าใจลึกซึ้ง ควรจะหาพันธมิตรที่ดี และไว้ใจได้แล้วเขาจะชี้ช่องว่างทางกฎหมายเพื่อช่วยเหลือธุรกิจและงานให้ประสบความสาเร็จ เมียนม่าร์ต้องการ การพัฒนาที่ยั่งยืนดังนั้นจึงต้อ งให้ความสาคัญในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิมนุษยชนและการไม่กดขี่ แรงงาน และนี่คือก็การซื้อใจคนพม่าด้วยวิธีใจแลกใจ ……………………………………………………………………………….. (Book Review ต่อจากหน้า 2)

การสร้างให้ตัวเราหรือบุคลากรของเราให้มีความมุ่งมัน่ ตั้งใจ หรือ “Will” มีปัจจัยที่นาไป พิจารณาได้หลายประการ เช่น 1. “Will” ไม่ใช่แค่ตั้งใจจะทาให้สาเร็จ ต้องเป็นคนที่ใฝ่รู้ด้วยคือหาความรู้ตลอดเวลา อ่าน ฟัง ปรึกษาคนเก่ง มี แหล่งข้อมูลดี ๆ ไม่ใช่แค่มีปริญญาแต่ไม่มีปัญญา 2. “Will” ต้องมาจาก “แรงบันดาลใจ” และ “แรงจูงใจ” ต้องมี Inspiration, Motivation, และ Motive 3. “Will” ต้องมีคุณค่า หรือ Value นั่นคือ คิดเสมอว่าทาปเพื่ออะไร? ไม่ใช่แค่เพื่อเงินเท่านั้น แต่เป็นการทา อะไรที่ยากแต่ท้าทาย และอาจจะไปสู่ความสาเร็จที่มีประโยชน์ต่อประเทศและส่วนรวม มีจิตสาธารณะ 4. “Will” กับ “Luck” หรือโชค จะไปด้วยกัน การมีโชคต้องมีพลังและความอดทนที่จะทาให้โชคเหล่านั้นไปสู่ ความสาเร็จ คนโชคดีแต่ไม่สาเร็จก็มีมาก 5. “Will” คือ พร้อมที่จะเผชิญกับงานทีห่ นัก เหนื่อยและเจ็บปวด อย่าหนีงาน สูง้ าน 6. “Will” คือ การทางานจะต้องมีกาหนดเวลาที่ชัดเจน เช่น เสร็จภายใน 15 วัน ก็พยายามรักษาเวลาให้ดี Deadline สาคัญมาก 7. “Will” คือ ไม่บ่นว่างานเยอะ คนที่ประสบความสาเร็จเท่านั้นที่มีงานเยอะ  มองการทางานเป็นความสุข  มอง “งาน” เป็นเรื่องที่ท้าทาย  มอง “งาน”เป็นความสาเร็จ เป็นภาพลักษณ์ติดตัวเรา เป็นแบรนด์ (Brand) ของเราไปที่ไหนคนก็ชื่นชม 8. “Will” คือมีวินัยของตัวเอง Self – Discipline 9. “Will” คือหาทางเอาชนะอุปสรรคเสมอ อย่ากลัวอุปสรรค 10. “Will” คือ “Act now” คือ ลงมือทาตอนนี้ ทาให้สาเร็จ อย่ารอช้า 11. “Will” คือ อย่าท้อถอยกับความล้มเหลว มี Vision หรือ ปณิธานของตัวเองที่ชัดเจน เดินไปหาจุดนั้น ไม่ใช่ทา ไม่สาเร็จฉันเปลีย่ น Vision ใหม่ หวังว่าจะเป็นประโยชน์สาหรับทุกท่านครับ

จีระ หงส์ลดารมภ์ 5


FIHRD REPORT โดย วราพร ชูภักดี และ ภัทรพร อันตะริกานนท์ มูลนิธพิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศเดินหน้าโครงการต่อเนื่องสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศด้วยการทูตภาคประชาชน : คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยมัณฑะเลย์ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง และมหาวิทยาลัยลาชิโอ ประเทศเมียนม่าร์ ขอความร่วมมือจาก มูลนิธิฯ จัดกิจกรรมศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทย สืบเนื่องจากภารกิจสาคัญของมูลนิธพิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศในฐานะองค์กรอิสระที่ทา หน้าทีพ่ ัฒนาทุนมนุษย์มนุษย์ในระดับต่างๆ ของประเทศไทยและกลุ่มประเทศในภูมภิ าค ซึ่งเป็นกลไกสาคัญของ การพัฒนาด้วยวิธีการแบบการทูตภาคประชาชน

กิจกรรม Learning Forum หัวข้อ “Tourism, Globalization and Sufficiency Economy in Myanmar” at Sedona Hotel, Yangon in Myanmar on 21-23 July 2004 นับเป็นกิจกรรมแรกที่มูลนิธิฯ ได้ เข้าไปพัฒนาทุนมนุษย์ให้กับประเทศเมียนม่าร์อย่างเป็นทางการ โดยได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเผยแพร่หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ ให้แก่ทรัพยากรมนุษย์ในภาคการท่องเที่ยวของ ประเทศเมียนม่าร์ ซึง่ ได้รับความสนใจและการยอมรับอย่างมากมายจนเกิดเป็นกิจกรรมต่อเนื่องคือการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ในภาคการเกษตร กิจกรรม Learning Forum on "Sufficiency Economy and the New Agricultural Theory in Myanmar” On June 5, 2007 และยังมีโครงการอื่น ๆ อีกมากมาย อาทิ  Research on Human Resource in GMS Tourism Sector (2008)  International Conference on GMS Tourism (2010)  ฯลฯ 6


จากการทีไ่ ด้ทางานร่วมกันอย่างต่อเนื่องและเล็งเห็นในประสิทธิภาพการทางานของมูลนิธิฯ และด้วย ความไว้วางใจ รัฐบาลเมียนม่าร์ได้ขอความร่วมมือจากมูลนิธพิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศในการจัด กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทยสาหรับกลุ่มนักวิชาการและคณาจารย์จาก มหาวิทยาลัยมัณฑะเลย์ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง และมหาวิทยาลัยลาชิโอ เพื่อพัฒนาความรู้และเรียนรู้ประสบการณ์ ด้านการท่องเที่ยวและการเตรียมบุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการขยายตัวของการท่องเที่ยวใน ประเทศเมียนม่าร์หลังการเปิดประเทศ ปัจจุบนั มีนักท่องเที่ยวเข้าในประเทศเมียนม่าร์ประมาณ 800,000 คน แต่ เมื่อเปิดประเทศแล้วการท่องเที่ยวของประเทศเมียนม่าร์นา่ จะเติบโตเร็วอย่างรวดเร็วมากถึงปีละ 30% นักวิชาการและคณาจารย์จาก 3 มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ รวมจานวน 7 คน ประกอบด้วย 1. Prof. Dr.DawKhin Sway Myint, Coordinator for Tourism HRD, Union of Myanmar Association (Retired Professor, Yangon University) 2. Prof. Dr.Daw Tin TinNwe, Mandalay University 3. Prof. Dr.DawKhinThein Win, Lashio University 4. DawThida Han (Senior Lecturer, Yangon University) 5. Prof. Dr. HtayMyint, Yangon University 6. U Tin TunAung, Executive Committee Member, Union of Myanmar Travel Association 7. DawHtayHtay, New Member, UMTA กิจกรรมศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทยในครั้งนี้ เป็นการเรียนรู้จากหน่วยงานสาคัญ ๆ ทางด้านการท่องเที่ยวหลายแห่ง ทัง้ ภาคราชการ เอกชน และภาควิชาการ อาทิ การเรียนรู้ด้านวิสัยทัศน์ นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานในอนาคตของกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬา ซึ่งคณะของเราได้รับเกียรติจาก คุณธนิฏฐา เศวตศิลา มณีโชติ รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ให้ การต้อนรับอย่างอบอุ่นคณะของเราได้เรียนรู้มากมายเกีย่ วกับทิศทางของการท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยเฉพาะ ทิศทางการร่วมมือกันในอนาคตด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยและประเทศเมียนม่าร์จากการที่ได้ร่วม พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในครั้งนี้

ทีก่ ระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)

7


นอกจากการเรียนรู้ในภาพใหญ่ทางด้านการท่องเทีย่ วของประเทศไทยจากกระทรวงการท่องเที่ยวและ กีฬาแล้ว คณะของเรายังมีโอกาสได้เรียนรู้บทบาทและการทางานของหน่วยงานสาคัญที่ทาหน้าที่วางแผน/กาหนด กลยุทธ์ทางการตลาดด้านการท่องเที่ยวของเประเทศไทย คือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ที่นี่พวกเรา ได้รับเกียรติจาก คุณสรรเสริญ เงารังสี รองผู้ว่าการด้านตลาดเอเชีย และแปซิฟิกใต้ ททท. ให้การต้อนรับและ ให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศไทยในปัจจุบัน สถิติเกีย่ วกับการท่องเที่ยว ภารกิจของ ททท. ยุทธศาสตร์และความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการร่วมมือกับประเทศเมียร์ม่าขยายตลาดการ ท่องเที่ยวกับการทานุบารุงพระพุทธศาสนา

ที่ โรงแรม แมนดาริน โอเรียนเต็ล

จากการเรียนรู้จากหน่วยงานภาครัฐที่สาคัญด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย เพื่อให้ได้มุมมองแนวคิด และเรียนรู้วิธีการทางานของภาคธุรกิจ คณะของเราได้เข้าเยีย่ มชมการทางานของโรงแรมระดับ 5 ดาวของ ประเทศไทยที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับว่าเป็นโรงแรมที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับ World class คือ โรงแรม แมนดาริน โอเรียนเต็ล โดยได้รับเกียรติจาก คุณเบญจมา โอฬารสกุล ผู้อานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และยังได้แบ่งปันความรูแ้ ละประสบการณ์มากมายเกีย่ วกับ คณะของเราได้เรียนรู้ ประวัติความเป็นมาของทางโรงแรมฯ วิธกี ารดาเนินงานเพื่อไปสู่ความเป็นเลิศในระดับสากล โดยเฉพาะอย่างยิง่ การบริหารจัดการ “ทรัพยากรมนุษย์” ที่เป็นหัวใจสาคัญของงานบริการ ตัง้ แต่การคัดเลือกบุคลากร ฝึกอบรม รักษาบุคลากร และระบบค่าตอบแทน เราได้เรียนรู้เคล็ดลัพธ์ความสาเร็จที่สาคัญของโรงแรม แมนดาริน โอเรียน เต็ล คือ “ทุนทางวัฒนธรรมไทย” และสุดท้ายคณะของเรายังได้แรกเปลี่ยนมุมมองในเรื่องการขยายลงทุนด้านการ โรงแรมในประเทศเมียนม่าร์ในอนาคตด้วย

ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร

ที่มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แคมปัสพัทยา 8


นอกจากภาคราชการและภาคธุรกิจชั้นนาด้านการท่องเทีย่ วของประเทศไทย คณะนักวิชาการจาก เมียนม่าร์ยงั มีความสนใจที่จะร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยหรือภาควิชาการของประเทศไทยเพื่อเรียนรู้ เกี่ยวกับวิธีการออกแบบกาหนดหลักสูตรที่ทันสมัย การใช้คู่มือ/ตาราเรียนที่ทันสมัย การบริหารจัดการ และการ จัดการเรียนการสอนเพื่อนาไปปรับใช้กับการปรับปรุงระบบและวิธีการเรียนการสอนของประเทศเมียร์ม่า ดังนัน้ มูลนิธิฯ จึงได้ประสานงานเข้าศึกษาดูงานและแลกเปลีย่ นมุมมองเพื่อความร่วมมือทางวิชาการในอนาคตกับ 3 มหาวิทยาลัยชั้นนา คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยา ทั้ง 3 มหาวิทยาลัยให้การต้อนรับอย่างดี นักวิชาการจากเมียร์ม่าประทับใจ มากเพราะได้รับความรู้ มุมมองที่เป็นประโยชน์ ที่สาคัญที่สุด คือ เครือข่ายความร่วมมือจากประเทศไทยซึง่ จะช่วย ให้การพัฒนาด้านวิชาการเรือ่ งการท่องเที่ยวและการโรงแรมของประเทศเมียนม่าร์ให้ก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ พร้อมด้วยกรรมการบริหารมูลนิธิฯ และ คณาจารย์ชาวพม่า ถ่ายภาพหมู่ร่วมกับ คณะผู้บริหารจากบริษัท กฟผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด (22 กุมภาพันธ์ 2555)

กิจกรรมการทูตภาคประชาชนในครั้งนี้มีความสาเร็จได้อย่างสมเกียรติของประเทศไทย ต้องขอขอบคุณ บริษัท กฟผ.อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด นาโดยคุณสมบูรณ์ อารยะสกุล รองกรรมการผู้จดั ใหญ่อาวุโสกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณบางส่วนในการจัดกิจกรรมดังกล่าว และยังเปิดโอกาสให้คณะของเรา เข้าเยีย่ ม ทาความรูจ้ ัก และศึกษาการทางานของบริษัท กฟผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด ซึง่ เป็นหน่วยงานที่มี แผนงานความร่วมมือด้านพลังงานกับประเทศเมียนม่าร์แบบ WIN/WIN ทั้ง 2 ประเทศ โดยเฉพาะการรักษา สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชนของทั้ง 2 ประเทศเป็นสาคัญ ทาให้คณะนักวิชาการจากเมียนม่าร์ที่มา ในครั้งนี้ได้เห็นถึงความจริงใจของประเทศไทย วันสุดท้ายก่อนปิดโครงการฯ ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกันเรื่องความร่วมมือกันในอนาคตเพื่อ พัฒนาทุนมนุษย์ในภาคการท่องเที่ยวของทั้ง 2 ประเทศ เช่น การสนับสนุนทุนเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หรือปริญญาเอกในสาขาด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทย หลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาคณาจารย์ในประเทศ เมียนม่าร์ในด้านการท่องเที่ยว ความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ในประเทศไทยในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น โครงการแลกเปลี่ยนครู อาจารย์ และนักเรียน/นักศึกษาระหว่าง 2 ประเทศ การพัฒนาหลักสูตร การ แบ่งปันความรู้ การวิจยั และพัฒนา ฯลฯ 9


ในการทางานของมูลนิธพิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศร่วมกับนักวิชาการจากเมียนม่าร์ในครั้งนี้ ถือว่าเป็นงานสาคัญ เพราะมูลนิธิฯไม่ใช่หน่วยงานรัฐบาล ไม่ได้มีงบประมาณสนับสนุนมากมาย แต่เรามีปรัชญา และความมุง่ มั่นที่จะทางานเพื่อประโยชน์ของทุกๆ ฝ่าย โดยเฉพาะการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ ด้วยการทูตภาคประชาชน ต้องขอขอบคุณทุก ๆ หน่วยงานที่มีส่วนร่วมให้งานในครัง้ นี้ประสบความสาเร็จสะท้อน ให้คุณค่าของคาว่า “ทุนทางสังคมและเครือข่าย” ได้อย่างชัดเจน และอาจจะเป็นกรณีศึกษาให้อีกหลาย ๆ องค์กร ได้นาไปเป็นแนวทาง และบทเรียนเรื่องสุดท้ายสาหรับการทางานในครั้งนี้ คือ หากจะสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน การท่องเที่ยวหรืออาจจะรวมไปถึงด้านอื่น ๆ สิง่ ที่เราจะต้องตระหนัก คือ อย่าคิดและทาเพื่อประโยชน์ทาง การตลาดเท่านั้น การมองอนาคตและการพัฒนาที่ยงั่ ยืนในระยะยาวร่วมกันเป็นสิ่งทีส่ าคัญที่สุด และหัวใจสาคัญ ของการพัฒนา คือ คุณภาพของทุนมนุษย์ นัน่ เอง

Interview โดย จิตรลดา ลียากาศ

จับเข่าคุยกับชาวพม่า หลังจากโครงการ Study Visit on Tourism Education in Thailand for Delegation of Professors from Mandalay, Yangon and Lashio Universities ที่จัดโดยมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ และสนับสนุนโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จบลงไป คุณจงกลกร สิงห์โต ผู้ช่วยเลขาธิการมูลนิธิพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศได้สัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมโครงการชาวพม่าดังรายนามข้างล่างนี้ Prof. Dr. Daw Khin Sway Myint อดีตอาจารย์ประจาวิชาภาษาและวรรณคดีพม่ามหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ผู้ประสานงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาคธุรกิจท่องเที่ยว สมาคมท่องเที่ยวเมียนม่าร์หัวหน้าคณะดูงานและ ภรรยารัฐมนตรีกระทรวงกีฬาซึ่งเคยเป็นรัฐมนตรีช่วยกระทรวงการโรงแรมและการท่องเที่ยว Prof. Dr. Daw Khin Thein Win อาจารย์ประจาวิชาภาพรวมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยลาชิโอ

Prof. Dr. Daw Tin Tin New อาจารย์ประจาวิชาภาพรวมการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยมัณฑะเลย์

10


U Tin Tun Aung กรรมการบริหาร สมาคมท่องเที่ยวเมียนม่าร์

Prof. Dr. Htay Myint อาจารย์ประจาวิชา ประวัติศาสตร์พม่า มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง

Daw Thida Han อาจารย์ประจาวิชาการ บริการลูกค้า มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง

การจับเข่าคุยกับชาวพม่าครั้งนี้ทาให้เข้าใจเมียนม่าร์ได้ลึกซึ้งขึ้นในหลายแง่มุมทั้งด้านสถานการณ์การ ท่องเที่ยวเมียนม่าร์ การศึกษาด้านการท่องเที่ยวของเมียนม่าร์ แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวเมียนม่าร์ ความ คิดเห็นเกี่ยวกับการมาศึกษาดูง านที่ประเทศไทย ความพร้อมของเมีย นม่า ร์สาหรับการเปิดเสรีการค้าบริการ อาเซียน ความร่วมมือไทย-เมียนม่าร์และความประทับใจในประเทศไทย

สถานการณ์การท่องเที่ยวเมียนม่าร์ Daw Thida Han กล่าวว่า ตอนนี้ การท่องเที่ยวของเมียนม่าร์เริ่มขยายตัวและวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์การ ท่องเที่ยวเมียนม่าร์อยู่ในช่วงกาลังพัฒนา Prof. Dr Daw Khin Sway Myint และ Prof. Dr Daw Khin Thein Win กล่าวเสริมว่า สถานการณ์ใน ภาคการท่องเที่ยวของเมียนม่าร์เริ่มขยายตัวที่อัตรา 30% ในช่วงระยะเวลา 3 ปีที่ผา่ นมา U Tin Tun Aung กล่าวว่า จานวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในเมียนม่าร์เมื่อเปรียบเทียบกันเดือนต่อเดือนมี จานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ Prof. Dr. Htay Myint กล่าวว่า เมียนม่าร์มีแหล่งท่องเทีย่ วที่หลากหลาย เช่น ภูเขา ชายหาด มีการ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเทีย่ วพร้อมๆกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในเมียนม่าร์ Tourist Arrivals (จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าสู่ประเทศเมียนม่าร์) Yach6

Yangon Entry Point

2008

2009

2010

2011

187,766

234,417

297,246

364,743

5,553

8,861

13,442

20,912

Mandalay & Bagan Gateway Nay Pyi Taw

-

-

-

5,521

Border Tourism

537,911

519,269

480,817

425,193

Total

731,230

762,547

791,505

816,369

ที่มา: Myanmar Tourism Statistics 2011 http://www.myanmartourism.org/journals/Tourism%22Statistics%.222222pdf 11


Tourism Income (รายได้ของประเทศเมียนม่าร์ที่มาจากการท่องเที่ยว) ร Year Total Earnings Average Expenditure Per Person Per Day Average Length of Stay

2008 (US$) 165M

2009 (US$) 196M

2010 (US$) 254M

2011 (US$) 319M

95

95

102

120

9.0

8.5

8.0

8.0

ที่มา: Myanmar Tourism Statistics 2011 http://www.myanmartourism.org/journals/Tourism%22Statistics%.222222pdf

การศึกษาด้านการท่องเที่ยวของเมียนม่าร์ Prof. Dr Daw Tin Tin Nwe กล่าวว่า การทาธุรกิจท่องเที่ยวในเมียนม่าร์มีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น เพราะมีโรงเรียนสอนด้านการท่องเที่ยวและมีหลักสูตรประกาศนียบัตรในมหาวิทยาลัย Prof. Dr Daw Khin Thein Win กล่าวว่า เนื่องจากมีคนจานวนมากสนใจวิชาการท่องเที่ยว จึงพยายาม ส่ ง เสริ ม วิ ช าการท่ อ งเที่ ย ว โดยได้ ว างแผนที่ จ ะเปิ ด หลั ก สู ต รปริ ญ ญาด้ า นนี้ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ย่ า งกุ้ ง และ มหาวิทยาลัยมัณฑะเลย์

แผนการพัฒนาการท่องเที่ยวเมียนม่าร์ Prof. Dr. Htay Myint กล่าวว่า ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเมียนม่าร์ ต้องส่งเสริมการศึกษาด้านการ ท่องเที่ยวในเมียนม่าร์ เมียนม่าร์มีความต้องการทุนมนุษย์ด้านการท่องเที่ยวและต้องการการพัฒนาทุนมนุษย์ แต่ คนพม่ายังไม่มีความรู้ที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับภาคการท่องเที่ยว จึงต้องพัฒนาให้ความรู้แก่คนรุ่นใหม่และคน รุ่นอื่นๆในเมียนม่าร์ Daw Thida Han ได้ย้าว่า ในภาคการท่องเที่ยว คนมีความสาคัญมาก การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรม บริการอย่างหนึ่ง การบริการคือเรื่องระหว่างประชาชนกับประชาชน ดังนั้น อยากจะส่งเสริมคนเพื่อให้การศึกษา แก่คนในด้านความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยว และสอนให้คนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อยากจะขอร้องนักธุรกิจว่า อย่าเน้น แค่ผลประโยชน์ระยะสั้นทางธุรกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวของเขาต้องไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ดังนั้นจึงได้สอนนักศึกษาเรื่องการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่มุ่งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วย U Tin Tun Aung กล่าวเสริมว่า นอกเหนือจากการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เมียนม่าร์ยังต้องการการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเมียนม่าร์ไม่เหมือนกับประเทศอื่น จานวนนักท่องเที่ยว น้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้านประเทศอื่นๆมาก การที่นักท่องเที่ยวต่างชาติสนใจที่จะมาที่เมียนม่าร์มากขึ้นถือเป็น โอกาส แต่เมียนม่าร์มีประสบการณ์น้อยเพราะยังไม่เคยรองรับนักท่องเที่ยวจานวนหลายล้านคน จึงอยากจะเรียนรู้ จากประเทศไทยที่มีประสบการณ์ในการรองรับนักท่องเที่ยวจานวนหลายล้านคน 12


การศึกษาด้านการท่องเที่ยวในประเทศเมียนม่าร์ในตอนนี้ เมื่อดูจากปริมาณถือว่าดี แต่ถ้ามีนักท่องเที่ยว เข้ามาในเมียนม่าร์มากขึ้น และจะต้องสามารถตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายมาก ขึ้น ปัจจุบันนี้ เมียนม่าร์มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในอนาคต อาจจะขยายไปถึงการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงชุมชน ดังนั้นเมียนม่าร์ต้องพัฒนาเพื่อรับมือ ความหลากหลายที่มาจากการท่องเที่ยวใน รูปแบบเหล่านี้ ตอนนี้ก็ทาได้ดีแล้วในระดับหนึ่ง เมียนม่าร์ต้องคิดถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ เพราะแหล่งท่องเที่ยวเหล่า นี้ต้องการโครงสร้า ง พื้นฐาน ทาให้เมียนม่าร์ได้ใช้ศักยภาพเต็มที่ มีทั้งสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย มีเขื่ อน ภูเขา ที่ราบสูงรัฐฉาน ภูเขาหิมะในรัฐคะฉิ่น พื้นที่กึ่งทะเลทราย แม่น้าขนาดใหญ่ การล่องเรือชมทัศนียภาพในแม่น้า เมียนม่าร์มีศักยภาพ ทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย จึงสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมได้ เมียนม่าร์มีชนเผ่าประมาณ 135 เผ่าอาศัยอยู่ ก็สามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชนเผ่าได้เช่นเดียวกัน

ภาพวัดตองยีบนที่ราบสูงรัฐฉาน ที่มา :http://www.flickr.com

ภาพภูเขาหิมะในรัฐคะฉิ่น ที่มา http://www.allmyanmar.com

ในปี 2013 เมียนม่าร์จะเป็นเจ้าภาพซีเกมส์ นี่เป็นโอกาสที่ดีในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว เพราะจะ มีชาวอาเซียนเข้ามาที่เมียนม่าร์ คาพูดปากต่อปากจะช่วยเผยแพร่ความงดงามและวัฒนธรรมของประเทศ เมียนม่าร์

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมาศึกษาดูงานที่ประเทศไทย Prof. Dr Daw Tin Tin Nwe กล่าวว่า จากการที่ได้มาศึกษาดูงานที่ประเทศไทยพบว่า การศึกษาด้านการ ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีเสถียรภาพมาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีความเป็นระบบมากในด้านการศึกษาการ ท่องเที่ยว และจะนาความรูท้ ไี่ ด้จากการมาศึกษาดูงานครั้งนี้ไปส่งเสริมการศึกษาด้านการท่องเที่ยวในเมียนม่าร์ U Tin Tun Aung กล่าวเสริมว่า เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการต้องการจะเปิดหลักสูตรปริญญาด้านการ ท่องเที่ยวให้มากขึ้นทัง้ ในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งและมหาวิทยาลัยมัณฑะเลย์ จึงจาเป็นต้องไปศึกษาดูงานที่ ต่างประเทศ ประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่คณะเลือกมา ครั้งนี้ ได้ไปศึกษาดูงาน 3 มหาวิทยาลัยแห่งคือ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงเห็นความคล้ายคลึงกันของ มหาวิทยาลัยไทย ทาให้ได้รับบทเรียนหลายอย่างสาหรับนาไปประยุกต์ใช้กับภาคการท่องเที่ยวของเมียนม่าร์ ทาง คณะดูงานจะทารายงานเสนอต่อกระทรวงศึกษาธิการ แล้วทางกระทรวงจะอนุมัติว่าให้เรียนระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยใด 13


ความพร้อมของเมียนม่าร์สาหรับการเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน ทุกคนพู ดเป็นเสีย งเดีย วกันว่า เมีย นม่า ร์ไ ด้จั ดสัมมนาและการประชุมเชิง ปฏิ บัติการหลายครั้ง และ วางแผนสาหรับรับมือกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2015 เพื่อให้เป็นที่รู้จักในระดับสากลและเตรียมการลง นามในกรอบความร่วมมือต่างๆ มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความตระหนักและประชุมเตรียมการใน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและในกระทรวงฯ U Tin Tun Aung กล่าวเสริมว่า การสัมมนาและการประชุมเชิงปฏิบัติการสาหรับรับมือกับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนไม่ได้มีเฉพาะในภาคการท่องเที่ยว แต่รวมถึงภาคการค้า ภาคเกษตรและอื่นๆมากมาย ในปี 2015 คนในภาคการท่องเที่ยวเมียนม่าร์ตื่นตัวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมาก ตั้งตารอประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เพราะเป็นโอกาสสาหรับเมียนม่าร์และทุกประเทศในอาเซียน ถ้าแต่ละประเทศอาเซียนรวมตัวกันมี เอกภาพ ประชาชนในอาเซียนได้ประโยชน์แน่นอน

ความร่วมมือระหว่างประเทศไทยกับประเทศเมียนม่าร์ ทุกคนพู ดเป็นเสียงเดียวกันว่า ประเทศไทยและเมียนม่า ร์ควรร่วมมือกันทางด้านการศึกษาสาขาการ ท่องเที่ยว Prof. Dr Daw Khin Sway Myint และ Prof. Dr Daw Khin Thein Win ต้องการให้ส่งเสริมประเทศไทย และเมียนม่าร์เป็นสองประเทศจุดหมายปลายทางเดียวกัน และภูมิภาคอาเซียนเป็นจุดหมายปลายทางเดียวกัน Prof. Dr Daw Tin Tin Nwe ได้เสนอว่า ประเทศไทยควรมีการให้ทุนแก่อาจารย์ชาวพม่าไปศึกษาต่อใน ประเทศไทย Daw Thida Han ต้องการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและเมียนม่าร์โดยเฉพาะระดับ มหาวิทยาลัย U Tin Tun Aung กล่าวเสริมว่า ความร่วมมือไทยกับเมียนม่าร์ถือเป็นเวทีที่ดีที่สุด เรามีภูมิอากาศที่ คล้ายคลึงกัน อยู่ใกล้กัน ค่านิยมวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันซึ่งส่วนมากได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาซึ่งเป็นที่นับถือ มากในทั้งสองประเทศ ภาษาถิ่นบางอย่ างก็คล้ายคลึงกัน ดังนั้นควรจะมีร่วมมือกั นในหลายๆสาขา เช่น การ ท่องเที่ยว การศึกษา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

ความประทับใจในประเทศไทย Prof. Dr Daw Khin Thein Win กล่าวว่า คนไทยนิสัยดี น่ารักมาก เป็นมิตรมาก รูส้ ึกดีใจมากที่ได้มี โอกาสมาที่ประเทศไทย Daw Thida Han กล่าวเสริมว่า ความสัมพันธ์ประเทศไทยและเมียนม่าร์จะเหนียวแน่นขึ้นเพราะประเทศ ไทยเป็นประเทศเพื่อนบ้านของเรา และมองคนไทยเป็นเสมือนญาติ พร้อมทั้งขอบคุณมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศเชิญมาศึกษาดูงานที่ประเทศไทย ประทับใจการดูแลต้อนรับที่อบอุ่นและมีที่มีคุณค่ายิ่งจากคนไทย ทุกๆ คน สรุปได้วา่ โครงการ Study Visit on Tourism Education in Thailand for Delegation of Professors from Mandalay, Yangon and Lashio Universities แม้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่เล็กๆ แต่ก็ทาหน้าที่ ส่งเสริมการทูตภาคประชาชนได้ดีเพราะชาวพม่าที่ร่วมโครงการนี้มีความประทับใจประเทศไทยและคนไทยพร้อม ทั้งยอมเปิดใจพูดคุยเกี่ยวกับประเทศเมียนม่าร์ในหลายเรื่อง ทาให้เป็นการแลกเปลีย่ นความรู้กันระหว่างชาวพม่า กับชาวไทย ชาวพม่าก็ได้รับความรู้จากการมาศึกษาดูงานแล้วนาไปพัฒนาการศึกษาด้านการท่องเที่ยว ส่วนชาว ไทยก็ได้เข้าใจเมียนม่าร์มากขึ้น ถือว่าได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองฝ่ายแบบ Win-Win อย่างแท้จริง 14


สู่.... ประชาคมอาเซียน โดย จงกลกร สิงห์โต

การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในประเทศเมียนม่าร์ สวัสดีค่ะท่านสมาชิก FIHRD-Chira Academy Reviews นี่เป็นครั้งแรกที่ดิฉันได้มีโอกาสได้นาเสนอ บทความแบบเต็มรูปแบบขนาดนี้นะคะ นับว่าเป็นภารกิจที่ยิ่งใหญ่ที่จะต้องคัดสรรเรื่องราวดี ๆ มาแบ่งปันความรู้ ให้แก่ท่านผู้อา่ นที่เป็นสมาชิกของเรา จากประสบการณ์ และงานประจาที่รับผิดชอบในฐานะของโปรดิวเซอร์ รายการโทรทัศน์ “สู่ศตวรรษ ใหม่” ซึ่งกาลังจะเปลี่ยนชื่อเป็น “สู่..ประชาคมอาเซียน” รายการโทรทัศน์แบบ Edutainment ซึ่งแต่ละเรื่องที่ได้ นาเสนอในรายการล้วนมีเนื้อหาสาระความรู้ที่เป็นประโยชน์มาก คงจะดีไม่น้อยหากได้นามาเผยแพร่อีกครั้งเป็น ตัวอักษรผ่านคอลัมน์ “สูป่ ระชาคมอาเซียน” ค่ะ เป็นที่ทราบกันดีวา่ ช่วงนี้กระแสของการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ในประเทศพม่า หรือ ชื่อใหม่ คือ เมียร์ม่า กาลังมาแรง ครั้งนี้ คอลัมน์ “สู่ประชาคมอาเซียน” จึงจะนาเสนอสาระความรู้จากรายการ สู่ศตวรรษใหม่ ตอน การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในประเทศเมียนม่าร์ ซึง่ ออกอากาศเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ที่ผา่ นมา (แม้ว่าจะผ่าน ไป 1 ปีแล้วแต่เนื้อหายังคงทันสมัย ไม่ตกยุคค่ะ) รายการนี้เป็นการนาเสนอมุมมองที่นา่ สนใจ เป็นการวิเคราะห์เชิง ลึกเกี่ยวกับสถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศเมียนม่าร์กบั การเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ที่กาลังเกิดขึ้นจากมุมมองของ ผู้ทรงคุณวุฒิและนักวิชาการทีม่ ีความเชียวชาญเกี่ยวกับประเทศเมียนม่าร์ รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้อานวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาระสาคัญในเรื่องนีจ้ ะเป็นอย่างไร? ติดตามจากบท สัมภาษณ์ของท่านต่อไปนี้นะคะ

รศ.ดร.สุเนตร ชุติน ธรานนท์ ผู้อานวยการสถาบันเอเชียศึกษา

นายกฯ ยิ่งลักษณ์ เดินทางเข้าพบอองซานซูจี เมื่อเดือนธันวาฯ 54

พิธีกร: ประเทศเมียนม่าร์ตอนนี้เรียกว่า “ดอกไม้หอม” อาจารย์มองเรื่องการเปลี่ยนแปลงในประเทศ เมียนม่าร์อย่างไร? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : คนไทยและคนต่างประเทศจานวนไม่น้อยเมื่อเห็นเมียนม่าร์มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว คือตั้งแต่มีการ เลือกตั้งครั้งหลังสุด จนกระทั่งการฟอร์มรัฐบาล จนถึงปัจจุบันนี้ เวลาก็ประมาณ 1 ปี 2 เดือนโดยสังเขป ทีผ่ ่านมา 15


มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้น แต่คนจะมีความรู้สึกว่าครั้งนี้เมียนม่าร์จะเปลี่ยนจริงหรือเปล่า? ซึ่งใน ความเห็นของผมจะแตกต่างจากคนอื่น ผมมองว่าครัง้ นี้เปลี่ยนจริงเพราะมองเรื่องการเปลี่ยนแปลงของเมียนม่าร์มาอย่างสม่าเสมอ ทาไมคนต้อง มองว่าครั้งนี้เมียนม่าร์เปลีย่ นจริงหรือเปล่า? เพราะจะมีภาพที่ตายตัวของเมียนม่าร์ตลอดเวลา เผด็จการ การล้า หลังกว่าบ้านเรา 30 ปี ยากจน ละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นเผด็จการทางทหาร ตอนนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลาย อย่างจึงเกิดในฐานะทีจ่ ับตาเมียร์ม่ามานัน้ เปลี่ยนแน่นอน เพราะว่ามีความต้องการที่จะเปลีย่ นและต้องการเปลีย่ น มานานแล้ว การเปลี่ยนแปลงเริ่มจากปัจจัย 2 ปัจจัย คือ ประการแลกเมื่อนายพลเนวินฯ เข้ามาปกครองประเทศ 1962 ประกาศการใช้ Barmiest way to socialism มันล้มเหลวอย่างมาก ประเทศที่เคยส่งออกข้าวระดับต้นๆ ของโลก มีความเจริญทางด้านต่างๆ มากมาย กลับถูกจัดเป็นประเทศ 1 ใน 10 ที่มีความยากจนที่สุดในโลก อันนีเ้ ป็นปัญหาภายในของเมียนม่าร์เอง เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศ จึงมีกระแสของการที่จะเปลีย่ นแปลงระบบตัง้ แต่ก่อนปี 1988 และอีกปัจจัยคือในปี 1990 เมื่อสหภาพโซเวียตล่มสลายมีแรงกระทบทาให้ทั่วโลกเห็นว่าประเทศที่เป็น ประเทศสังคมนิยมปิดประเทศต่อไปไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น ลาว เวียดนาม ประเทศเมียร์ม่าก็เช่นกันจะคงความเป็น สังคมนิยมในโลกเดิมไม่ได้

พิธีกร: มหาอานาจจีนก็เปิดประเทศ รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : ใช่ครับ จีนก็เปิดประเทศของเขาตัง้ แต่ในยุคของเติง้ เสียวผิง ความสัมพันธ์กับเมียร์มา่ โดยตรง

นี่ก็เป็นอีกประการหนึ่งเพราะจีนมี

ประธานาธิบดี เต็ง เส่งของประเทศเมียนม่าร์เยือนประเทศจีนครัง้ แรก ได้รับการต้อนรับอย่างสมเกียรติพร้อมร่วมมือทางเศรษฐกิจ (27/5/54)

ถ้าเรามองภาพในเชิงองค์รวมในประเทศสังคมนิยมในโลกที่ใครๆ ก็เปลี่ยนกัน ประเทศจีนก็ต้องเปลี่ยน เมียนม่าร์ต้องเปลีย่ น เพราะฉะนั้นเจตจานงที่จะต้องเปลี่ยนแปลงมีมานานแล้ว และการขับเคลื่อนให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงก็มีความเป็นรูปธรรมชัดเจนมากขึ้น อย่างเช่นการที่มีการเลือกตัง้ เมื่อ ค .ศ.1990 ในเมียร์ม่า เมื่อ 20 ปีที่แล้ว แต่การเลือกตั้งครั้งนั้น พรรค NLD ของ นางอองซาน ซูจี ชนะการเลือกตั้งเป็นเรื่องที่เหนือความ คาดหมายของกองทัพพม่าขณะนั้น แต่เมื่อเกิดการขับเคลื่อนที่จะเปลี่ยนก็เกิดอุปสรรคมากมาย เพราะการ ปกครองเป็นรัฐบาลเผด็จการทหารมาอย่างช้านาน โลกของพม่าจึงเป็นโลกที่มั่นคงในสิ่งที่ทหารคิดว่าควรจะเป็น 16


แต่เมื่อต้องการที่จะเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะต้องรักษาดุลยภาพระหว่างความมัน่ คงและการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนมาจะ กระทบต่อความมั่นคงหรือไม่? แล้วถ้าไม่เปลี่ยนจะกระทบหรือไม่ยังคงคาบเกี่ยวกันอยู่ แต่พอการเลือกตั้งปี ค .ศ.1990 เกิดการเปลีย่ นแปลงทันทีเกินกว่าที่รัฐบาลทหารจะยอมรับได้จงึ เกิดการ ที่จะล้มกระดานการเลือกตัง้ สิ่งที่อยากจะบอก ก็คือ ประการแรกเมียนม่าร์พยายามจะเปลีย่ นก่อนหน้านี้แล้วแต่การเปลี่ยนมีอุปสรรค เป็นสิง่ ที่คาดคิดว่ามันจะเกิดมันก็เกิด เช่น การเลือกตัง้ ผลออกมาไม่เป็นดังที่คิด ไม่คดิ ว่ามหาอานาจอย่างอเมริกา หรือสหภาพยุโรปจะมาคว่าบาท ยิง่ ประเทศที่กาลังจะเปิดเมื่อถูกคว่าบาทก็ต้องหันไปพึง่ จีนที่เริ่มเปิด จีนก็หยิบยื่น ความช่วยเหลือเข้ามา แล้วมันเกิดผลอะไรตามมาอีก

พิธีกร: การเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม จะยั่งยืนหรือไม่? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : ต้องดูว่ามีปจั จัยที่ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงมีอยู่มากน้อยเพียงใด? ตอนแรกก็เข้าไปพึ่งจีนเพราะไม่คิดว่า จะส่งผลกระทบมากมาย แต่ไปๆมาๆ บางภาคส่วนของเมียนม่าร์ดูเหมือนเป็นมณฑลหนึง่ ของจีนไป จีนเข้ามามี อิทธิพลอย่างมาก การค้า การลงทุน เอาคนเข้ามาอยู่ เมียร์ม่านี้เป็นชาตินยิ มเรื่องนีค้ ่อนจะมีผลรุนแรง แต่จะทา อย่างไร เพราะว่าตัวก็อยากเปลี่ยนมหาอานาจก็คว่าบาทไม่ให้เปลีย่ นก็ต้องหันไปพึง่ จีนมากเกินกว่าเหตุ ก็เริ่มมอง ว่าจะทิ้งระยะจากจีนอย่างไร แล้วหันมาหาโลกภายนอกย่างไร เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของเวทีโลกภายนอก มีกติกา เดียว คือ ต้องเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนประมาณนี้ ตรงนี้เองเมียนม่าร์ไม่มีทางเลือก มากถ้าอยากจะเปลี่ยนต้องพัฒนาในสิง่ ที่ผมบอก

นางฮิลลารี คลินตัน รมว.ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เข้าเยี่ยมเยียน นางออง ซาน ซู จี ผู้นาประชาธิปไตยพม่า ที่บ้านพักของนางซู จี ในนครย่างกุ้ง เมื่อ 2 ธ.ค.54

พิธีกร: การที่นางฮิลลารี คินตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศของสหรัฐเดินทางไปเยือน เมียนม่าร์นั้นมีนัยสาคัญอย่างไร? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : อเมริกาดูแล้วว่าเมียนม่าร์มีการพัฒนาทีด่ ีขึ้น จึงพร้อมแล้วที่จะขยับความสัมพันธ์กับเมียนม่าร์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เมื่อตอนที่คุณโอบามาจะเดินทางไปประชุม East Asia Summit ที่บาหลี ได้โทรศัพท์คุยกับนางอองซาน ซูจี และได้รับการยืนยันว่าเมียนม่าร์มีการเปลี่ยนจริง จึงได้ส่งนางฮิลลารี คินตัน มาเยือน ในเบื้องหน้าก็บอกว่าการทีส่ หรัฐมาเยือนเพราะเมียนม่าร์ทาตัวดีขึ้น มีการเปลีย่ นแปลงในทางที่ดี แต่ความ จริงแล้วอเมริกาอยากจะกลับเข้ามาในภูมิภาคนี้อีกครั้ง หลังจากที่ออกไปเมื่อสิ้นสุดสงครามเวียดนาม เพราะ อเมริกาเล็งเห็นแล้วว่าดินแดนแถบนี้เคยมีบทบาท มีอิทธิพลอยู่ เคยมีความสัมพันธ์อยู่ เมื่อถอนตัวออกไปนั้นได้ 17


เกิดมหาอานาจใหม่เข้ามามีอทิ ธิพลในหลายภาคส่วน ไม่วา่ กรณีในเขตลุ่มน้าโขง ในกรณีของเมียนม่าร์ ไม่วา่ ในไทย และที่อื่นๆ อเมริกาไม่ยอมให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอยู่ภายใต้ปีกของจีนมากเกินไป ฉะนั้นอเมริกาจึงกลับเข้า มาหลายทาง เช่น โอบาม่าเข้ามาร่วมประชุม East Asia Summit 2011 ที่บาหลี กลับมาประเด็นที่ว่าเมียนม่าร์ เนื้อหอมในตอนนี้เพราะเมียนม่าร์เป็นจุดยุทธศาสตร์ของเอเซียมานานแล้ว ความสาคัญนี้ก็เป็นความสาคัญที่ ต่อเนื่อง จีนเมื่อติดต่อซื้อน้ามัน ซื้อแก๊ส ได้มาสร้างท่าเรือขนาดใหญ่ในประเทศเมียนม่าร์ ทั้งนี้เพื่อจะมาสร้าง อิทธิพลอยู่ในมหาสมุทรอินเดียต้องผ่านเมียนม่าร์ทั้งนัน้ อเมริกาที่เป็นมหาอานาจอยูจ่ ึงปล่อยให้เลยผ่านไปไม่ได้

พิธีกร: บทบาทของ อองซานซูจี จะเป็นอย่างไร? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : อองซาน ซูจี เป็นคนเก่งและมีจุดยืนที่มนั่ คง ทีไ่ ด้รับรางวัลโนเบลนัน้ มีนยั ทางการเมือง อย่างแรก คือ การต่อต้านรัฐบาลเผด็จการ ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษย์ชน ภาพลักษณะ อองซาน ซูจี ที่คน ภายนอกเห็นเป็นภาพลักษณ์ทีเกินเลยมากกว่าการเป็นผูน้ าฝ่ายค้านของเมียนม่าร์ แต่เป็นภาพลักษณ์ของตัวแทน การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพประชาธิปไตยในระดับโลก โลกของ อองซาน ซู จี อยู่ในประเทศเมียนม่าร์ แต่ภาพลักษณ์ ก้าวเกินพื้นที่ประเทศเมียร์ม่า เมื่อ ออง ซาน ซู จี บอกว่าครั้งนี้รัฐบาลเมียนม่าร์เปลีย่ นจริง เป็นสัญญาณว่าสหรัฐ เข้ามาได้แล้ว ตัว อองซาน ซู จี ก็เข้าไปในระบบเลือกตั้งที่รัฐบาลเป็นคนจัดตัง้ ขึ้น การเปลีย่ นในครั้งนีย้ ากทีจ่ ะ กลับไปเป็นอย่างเดิม ส่วนจะเปลีย่ นไปทิศทางไหน ประมาณใดต้องคอยดู เราอาจจะไม่เข้าใจว่าเมื่อก่อนเขา ต่อต้านรัฐบาลแต่ทาไมตอนนี้เขาจะลงรับสมัครเลือกตัง้ เปลี่ยนจากหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะว่าทั้ง ออง ซาน ซูจี และรัฐบาลทหารเมียนม่าร์นา่ จะเล็งเห็นถือความสาคัญของการที่เมียนม่าร์ต้องก้าวไปข้างหน้า เพราะถ้าไม่ก้าวไป ขนาดนี้ อิทธิพลของจีนจะเข้ามาครอบงาเมียนม่าร์ ออง ซาน ซูจี จะเป็นกุญแจทีจ่ ะเปิดเงื่อนไขการคว่าบาตรของ เมียนม่าร์ลงได้ พอลงตรงนีล้ งได้เมียนม่าร์ก็จะมีพื้นที่ในการเปลีย่ นได้

พิธีกร: บทเรียนนี้กลับมาสอนไทยได้ เพราะทั้งสองฝ่ายจับมือเพราะประโยชน์ของประเทศ รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : ใช่ครับ เพราะออง ซาน ซูจี กับรัฐบาลเมียนม่าร์ทะเลาะกันจนเราเชื่อว่าอย่างไรก็ไม่เผาผี ด่ากัน ประจาน กันสารพัด ออง ซาน ซูจี ก็แข็งข้อมานาน ท้ายทีส่ ุดเขาปรองดองกันเพื่อผลประโยชน์ของประเทศ ต่างฝ่ายต่าง ถอยคนละก้าว ตัวอองซาน เองเมื่อก่อนเขาคัดค้านรัฐมนูญ แต่ตอนนี้ก็เข้ามาอยู่ในระบบ รัฐบาลเมียนม่าร์เอง เมื่อก่อนก็อยู่ด้านหน้าก็ถอยกลับไปหลังฉาก แล้วก็ให้เป็นบทบาทของรัฐบาลเลือกตั้งที่ให้เข้ามาเยียวยา เปิดเสรี ในเมียนม่าร์ ซึ่งเรื่องเหล่านี้อาจจะไม่ได้สอดคล้องกับเจตจานงของกองทัพแต่ไหนแต่ไรมา ทัง้ หมดนี้จะนามาซึง่ ประโยชน์ของเมียนม่าร์โดยตรง

พิธีกร: ชาวพม่าเขามีสานึกธรรมดาด้วยตัวเองว่าต้องปรองดองกันเพื่อพัฒนาประเทศ รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : เขาจึงมีเป็นวาระขึ้นมาให้คนระดับนายพลเต็งเส็งฯ มาคุยกับ ออง ซาน ซูจี อะไรหลายอย่างต้องดีขึ้นต่าง ฝ่ายก็ลดลาวางศอกกัน ประโยชน์ที่ได้ก็กลับมาอยู่ที่ประเทศ แต่กลับมามองว่าเมื่อตอนนั้นเขาเป็นอีกอย่างทาไม ตอนนี้มาเป็นอย่างนี้ เราต้องมองว่าภาพลักษณ์ของเขาระดับโลก แต่โลกของ ออง ซาน ซูจี เป็นการต่อสู้เพือ่ ประโยชน์ของประเทศเมียนม่าร์ เขามีจดุ ยืนเพื่อคนพม่า ประชาชนของประเทศเมียนม่าร์ และประเทศเมียนม่าร์ มาแต่เบื้องต้น แต่เราให้นิยามของการเคลื่อนไปในระดับโลก เขายืนอยู่ทจี่ ุดเดิมของเขาที่ไม่เคยเปลีย่ นเลย คือ การ ต่อสู้ ทีผ่ า่ นมาเป็นประโยชน์ของประเทศใช่ไหม แล้วถ้ายอมถอยก้าวหนึง่ แล้วเป็น key ที่จะทาให้ประเทศ เมียนม่าร์มีโอกาสก้าวทาไมจะไม่ทา 18


พิธีกร: บทบาทของประเทศไทยที่มีต่อประเทศเมียนม่าร์เป็นอย่างไร? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : โดยพื้นฐานเราจาเป็นทีจ่ ะต้องพึ่งพาเมียนม่าร์อยู่แล้ว การที่เราพึง่ พานี้ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเรา เอง ที่เราต้องการที่จะพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม เมื่อเราพัฒนาเต็มขั้น สิ่งที่เราต้องการ ก็คือ ทรัพยากร แรงงาน และตลาด เพราะฉะนั้นแต้มต่อในองค์รวมระหว่างไทยกับเมียนม่าร์ เมื่อตอนเมียนม่าร์ปิดประเทศต้องพึง เรา คนกลุ่มน้อยก็ต้องพักพิงเรา เมียนม่าร์มีท่าทีโอนอ่อนต่อเรา แต่มาในช่วงหลังนี่ เราต้องพึ่งเมียนม่าร์ในหลายๆเรื่อง ทั้งทรัพยากร ทัง้ แรงงานพม่า บนเงื่อนไขนี้ ความสัมพันธ์ไทย – เมียนม่าร์ ยึดโยงด้วยความจาเป็นทีเ่ ราต้องพึง่ เมียนม่าร์อยู่ ทีท่าของรัฐบาลในแต่ละช่วงสมัย ว่าจะสานความสัมพันธ์กับเมียนม่าร์ลึกขนาดไหน ก็ขึ้นอยูก่ ับนโยบายของรัฐบาล

พิธีกร: ในมุมมองของอาจารย์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยเมียนม่าร์เป็นอย่างไร? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : เป็นความสัมพันธ์ที่ขึ้นๆ ลงๆ ขึ้นอยู่กับว่าฝ่ายใดเข้ามาเป็นรัฐบาลในการปกครองประเทศ บนพื้นฐานที่ เราต้องพึง่ เมียนม่าร์อยูต่ ลอด และอีกประการคือการเปลี่ยนแปลงของเมียนม่าร์เองที่ให้เราเข้าไปสารสัมพันธ์ต้อง เข้าไปผูกพัน ในนาทีนไี้ ม่ใช่แค่ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาครัฐเท่านัน้ ยังมีเรื่องนักลงทุนที่เข้าไป แรงงานที่ เข้ามา เป็นความสัมพันธ์ที่ซอ้ นทับในหลายระดับมาก มันไม่ใช่ความสัมพันธ์ที่ผูกขาด โดยคนกลุ่มใดกลุ่มหนึง่ หรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ในขณะเดียวกันรัฐบาลต้องมีนโยบายที่เตรียมพร้อมเพราะเมียนม่าร์อยู่ในระหว่างการ ปรับเปลี่ยนเพื่อให้ตรงกับมาตรฐานสากล ทั้งนโยบาย กฎเกณฑ์ กฎหมาย เราก็ยงั ต้องพึงเมียนม่าร์อยู่ ก็ต้อง เตรียมตัวในศึกษาในทิศทางที่เมียนม่าร์จะเดินไป และปรับตัวเราให้รับกับเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงเพื่อยังประโยชน์ ในความสัมพันธ์กับเมียนม่าร์มากน้อยแค่ไหน การลงทุนในประเทศเมียนม่าร์เป็นเรื่องสาคัญ เพราะกาลังเปลี่ยน และเปิดโอกาส ไม่ใช่เราเท่านั้นที่จะเข้าไป ยังมีนักลงทุนนานาชาติ แต่เรามีโอกาสดีเพราะเรามีฐานความสัมพันธ์ อยู่และมีพรมแดนใกล้กัน

พิธีกร: นักลงทุนไทยที่จะเข้าไปในประเทศเมียนม่าร์ยังขาดอะไรอยู่? รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ : อย่างแรก คือ ขาดความมัน่ ใจว่าจะเปลีย่ นหรือไม่? เราต้องมีความมัน่ ใจว่าถึงเราเข้าไปลงทุนแม้ว่าจะ มีอัตตราเสีย่ ง แต่โอกาสการที่จะได้ผลประโยชน์ตา่ งๆ มี ประการที่สอง คือ เรื่องการเตรียมความรู้สึกนึกคิดของเรา เมื่อเราเข้าไปลงทุนในเมียนม่าร์ เราอาจะคิดว่า เป็นแหล่งทรัพยากรที่เราต้องไปกอบโกย เราต้องเปลี่ยนความคิดนี้แล้ว เพราะไม่มีชาติไหนที่ปล่อยให้เราไปเอา ประโยชน์ทางเดียว เราต้องมองประเทศเพื่อนบ้านเป็นมิตรมากกว่าการที่เราจะมองการฉกฉวยประโยชน์ หรือเป็น ศัตรูเก่า เรื่องปรับเปลี่ยนทัศนคติจงึ เป็นเรื่องสาคัญ และสุดท้าย ถ้ายังไม่แน่ใจก็นา่ จะลองเข้าไปเทีย่ ว เข้าไปดูเพราะตอนนีเ้ มียนม่าร์เปิดแล้ว ................................................................................... รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ได้ให้มุมมองของประเทศเมียนม่าร์ไว้อย่างน่าสนใจ เมื่อ “คนเมียร์ม่า..เขามีสานึกธรรมดาด้วยตัวเองว่าต้องปรองดองกันเพื่อการพัฒนาประเทศ” ดังนั้น น่าจะเป็นข้อคิดและบทเรียนดี ๆ ให้กับคนไทยดูไว้เป็นตัวอย่าง การทีเ่ มียนม่าร์ยอมเปลี่ยนแปลงครั้งยิง่ ใหญ่นี้ เพราะประชาชนของเขารักในประเทศชาติ ต้องการพัฒนาเพื่อให้ทัดเทียมประเทศอื่นๆ และประโยชน์ทไี่ ด้รับ คือ เพื่อประเทศชาติจริงๆ ดิฉันหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าท่านผูอ้ ่านคงได้รับประโยชน์และได้มองเมียนม่าร์ในมุมที่ลึกและ กว้างขึ้นนะคะ การก้าวสูป่ ระชาคมอาเซียนสิง่ หนึง่ ที่สาคัญ คือ การรู้เขา – รู้เรา เข้าใจ และพัฒนาร่วมกันค่ะ แล้ว พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ 19


โดย.. จิตรลดา ลียากาศ

8K’s+5K’s

: สร้างทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียนอย่างไร? สืบเนื่องจาก REVIEWs ฉบับที่แล้ว ฉบับนี้เนื้อหาสาระจากการเสวนา :8K’s+5K’s: ทุนมนุษย์คนไทย รองรับประชาคมอาเซียน เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 ณ หอประชุมศรีบูรพามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่า พระจันทร์) ยังมีต่อช่วงที่ 2ในหัวข้อ 8K’s+5K’s: สร้างทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียนอย่างไร? ซึ่ง มีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและเปี่ยมด้วยประสบการณ์ด้านทุนมนุษย์มาแลกเปลี่ยนทัศนะกันดังนี้

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ศาสตราจารย์พเิ ศษ วิชา มหาคุณ

อาจารย์ธัญญา ผลอนันต์

ดร.วีรชัย กู ้ประเสริฐ

คุณอนุรัตน์ ก ้องธรนินทร์

ดร.ศิรล ิ ก ั ษณ์ เมฆสังข์

การเสวนา 8K’s+5K’s: สร้างทุนมนุษย์คนไทย รองร ับประชาคมอาเซียนอย่างไร?

ศจีระ หงส์ลดารมภ์.ดร. เลขาธิการมูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ กล่าวว่า ได้ทุ่มเท ด้านทุนมนุษย์ตั้งแต่อายุ ปี และได้ตั้งสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในสมัยนั้น 33 ยังไม่มีคน คิดว่ามนุษย์เป็นทุน มนุษย์จะมีคุณค่าได้ต้องมีการลงทุน ครอบครัวลงทุนทุนมนุษย์มาก ในด้านทุนแห่งความสุข ก็ คือ ก่อนที่จะทาอะไรต้องมี Passion มีเป้าหมายและดูความสามารถของตนเองที่จะทา ทุนแห่งความยั่งยืนก็ หมายถึง การตัดสินใจวันนี้ทาให้อยู่ได้อย่างยั่งยืนวันหน้า ทุกคนต้องเข้าระบบการศึกษา หนังสือเรื่อง 8 K’s+5K’s: สร้างทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียน มาจากประสบการณ์การทางาน เมื่อเข้าสู่ AEC ต้องมีความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณเป็นผู้ที่มีทุนทางไอที ติดตาม facebook วันละหลาย ครั้ง ไอทีก็ถือเป็นเครื่องมือเหมือนกัน ในการรองรับ AEC ต้องมีทุนทางวัฒนธรรม รู้เขา รู้เรา มีทุนทางจริยธรรม จึงจะอยู่ร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด Peter Drucker กล่าวว่า มี สิ่งที่ทาให้คน 3 20


กรรม จริยธรรมต้องมาก่อน แต่สอนยากที่สุด ในอนาคต ประสบความสาเร็จคือ จริยธรรม จินตนาการและนวัต ต้องระมัดระวังเรื่องเงิน ทรัพยากรธรรมชาติ และเทคโนโลยี เราเหลือแต่ทุนมนุษย์ ทุนทางสังคมคือการมีเครือข่าย มากขึ้น อาจารย์ธัญญา ผลอนันต์ นายกสมาคมความคิ ดสร้างสรรค์ ความจา และการเล่น กล่า วว่า หนังสือเรื่อง 8 K’s+5K’s: สร้างทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียนนาไปใช้ได้ดี ต้องตั้งคาถามให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ ควรจะฝึกให้คนมี 8K’s+5K’s เพราะความรู้เรียนทันกันหมด ค้นหาความรู้เองได้ ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ กรรมการ ปปช. กล่าวว่า ปป.ดูเหมือนทาหน้าที่ปราบปรามอย่าง เดียวแต่ยังปลุกจิตสานึกให้คนไทยทุกคน ต้องตรวจสอบตนเอง ปัญหาคือมีการเทศน์แต่ไม่ได้ดึงศักยภาพมนุษย์ที่มี คุณธรรม จริยธรรมอยู่แล้วมา ประเทศไทยยังสอบตกเรื่องความโปร่งใส ทุนมนุษย์ของไทยยังสู้ประเทศอื่นใน อาเซียนได้ จากประสบการณ์การทางานกับเด็กที่ถูกคุมในสถานพินิจ เด็ กพวกนี้ไม่เคยได้รับโอกาส ในการฟื้นฟู จิตใจให้พวกเขา ต้องสร้างภาพใหม่โดยเฉพาะสังคมและชุมชนให้เขาทั้งหมด ในการต่อยอดสร้างทุนมนุษย์ อย่าสิ้น หวังในมนุษย์ ควรให้อภัยให้คนมีโอกาสพัฒนา แต่สังคมไทยไม่ให้อภัย ไม่ยินดีต้อนรับคนที่มีปัญหา จึงเป็นการขาด นวัตกรรม เรสโทเรทีฟ จัสทีซถือว่ามนุษย์สาคัญ เวลามองความยุติธรรมมีความสาคัญในหลัก Integrity 4 ประการ ประกอบด้วย ปรีชาญาณ กล้าหาญ พอประมาณ ยุติธรรม ทั้ง 4 ประการนี้จะทาให้สู้กับประเทศอื่นๆ ในอาเซียน ได้ ดร.ศิ ริ ลัก ษณ์ เมฆสัง ข์ นั กทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ดี เ ด่ น แห่ ง ประเทศไทย ปี 2552 กล่ า วว่ า ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์เป็นนักเศรษฐศาสตร์แต่มาดูแลทุนมนุษย์ได้ดี ผู้บริหารระดับสูงและฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ต้องสร้างให้เกิดการเรียนรู้ ควรจะเรียนแบบ Generative Learning นาความรู้ที่ได้ประกอบสิ่งที่เรียนรู้นาไปใช้ได้ ต้องสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เริ่มที่ผู้นาต้องเปิดใจกว้าง ให้อภัย จากวิจัยที่ตนเองได้ทาพบว่า ในองค์กร ไม่มีใคร เรียนรู้จากความผิดพลาดซึ่งเป็นสิ่งสาคัญ ต้องส่งเสริมการเรียนรู้แบบ Social Learning เรียนรู้จากการสนทนากัน เรียนรู้จากบทเรียนและความผิดพลาด ในการดึงศักยภาพของคนออกมา ไม่ควรยึดติดกับกรอบและทฤษฎี ควร สร้างทฤษฎีของตนเอง ต้องรู้จักองค์กรของตนเอง สร้างทฤษฎีให้เหมาะสมกับจริตขององค์กรและคนในองค์กร ต้องสร้างจริยธรรม คุณธรรม ในการสร้างทุนมนุษย์ต้องมีเวทีให้คนแสดงความสามารถ ควรมองคนที่ความเก่งและ ความดีและรู้จักให้อภัยเวลาที่เขาทาผิดเพราะถือเป็นบทเรียน สิ่งที่สาคัญก็คือต้องทาให้คนทางานแล้วมีความสุข คุณอนุรัตน์ ก้องธรนินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จากัด (มหาชน) กล่าว ว่า ทางานในธุรกิจครอบครัว ธุรกิจครอบครัวมีความแข็งแกร่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ แต่ธุรกิจครอบครัวอยู่ ไม่ได้เพราะปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก การแข่งขันจาก AEC ต้องมีการปรับตัว มีผลวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่า ธุรกิจ ครอบครัวอยู่ได้ไม่เกินรุ่นที่ 3 ครอบครัวต้องสร้า ง Good Governance วิสัยทัศน์ และส่งเสริมให้สมาชิกมี engagement ต้องพัฒนาเจ้าของกิจการให้มีประสิทธิภาพ มีการเตรียมตัวผู้นาในอนาคต คิดว่าจะทาอะไรให้ Stakeholder และลูกจ้าง ดร.วีรชัย กู้ประเสริฐ กรรมการมูลนิธิพัฒนาทรัพ ยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ดาเนิน การ เสวนาได้สรุปว่า AEC มีโอกาสทั้งได้เปรียบและเสียเปรียบ วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นการเริ่มต้น AEC แล้วจะอยู่ กับเราไปตลอดชีวิต การคิดเป็นและทาเป็นทาให้ได้เปรียบ หนังสือ 8K’s+5K’s: สร้างทุนมนุษย์คนไทยรองรับ ประชาคมอาเซียน โดย ศ.ดร.จีระหงส์ลดารมภ์ ผู้เป็นทุนมนุษย์ที่ยอดเยี่ยมท่านหนึ่ง ท่านบ่มเพาะตนเองก่อนสร้าง ทุนมนุษย์ นาประสบการณ์มาใส่ไว้ในหนังสือเล่มนี้จะช่วยชี้แนะแนวทางให้ทุกท่านนาไปใช้ประโยชน์ได้สูงสุด ควร จะนาการดึงศักยภาพทุนมนุษย์ให้เต็มที่ไปใช้เพราะมีพลังสูง ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงอายุใด ก็สามารถนา 8K’s+5K’s ได้ ตลอด คนที่ประสบความสาเร็จต้องเรียนรู้จากความผิดพลาดซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญ 21


“ปาริชาติ บริสุทธิ”์ ดาวค้างฟ้าที่อยู่ในวงการบันเทิงมานาน มีผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ เมืองใน หมอก ไผ่แดง หลวงตา ระย้า และยังเป็นผูจ้ ัดละครที่ช่อง 3เป็นผู้กากับ และผูผ้ ลิตสารคดี ด้วยความคิดบางอย่าง เกิดขึ้นทาให้ต้องเดินทางไปประเทศพม่าตลอดช่วงเวลา ปี กว่าร้อยเที่ยวบิน 15 และวันนี้.. เธอพร้อมที่จะเล่า เรื่องราวประสบการณ์ดี ๆ ในชีวิตของเธอเกี่ยวกับประเทศเมียนม่าร์ พร้อมกับมุมมองที่น่าสนใจในบางแง่มุมที่ อาจจะหาได้ไม่ง่ายนัก ………………………………………………………………………………..

ประสบการณ์ที่เป็นเสมือน “สารคดีแห่งชีวิต” ตอนที่ 1 ประเทศเมียนม่าร์ (พม่า) กับ เส้นทางของความฝันและความจริง เมื่อต้องล่าฝัน ด้วยประสบการณ์จริงทีย่ ากลาบาก ก่อนหน้านั้นก็ไปใช้ชีวิตอยู่ทั้ง ฮาวาย นิวยอร์ก ฝรั่งเศส อิตาลี เป็นเมืองที่ศิวิไลซ์ที่นา่ ตื่นตาตืน่ ใจ แบบคนตัวเล็กๆ ถึงวันหนึ่งเราก็ถึงจุดอิ่มตัวกับการเป็นผูจ้ ัดละคร อยาก เดินทางผจญภัย จึงเริ่มไปประเทศเพื่อนบ้านหลายที่ ลาว เวียตนาม กัมพูชา จีน แต่กลับสนใจประเทศพม่า หรือ เมียนม่าร์มากที่สุด แปลกที่เขามีแต่ขา่ วด้านลบ เขาเหมือนประเทศลึกลับซ่อนตัวอยู่ พม่าเมื่อ 15 ปีไม่เหมือนทุก วันนี้ ทุกอย่างยากไปหมด แต่ข้อมูลที่ได้มาก็คุ้มค่าการเดินทางทุกเที่ยว จึงทาให้เกิดการท้าทาย และอยากรู้อย่าง จริงจัง ดิฉนั จึงไปพม่าทุกครั้งที่มีวันหยุด จาก 7 วัน เป็น 30 วัน พบปะกับทุกคน ไปพบกับคนทุกบ้าน และเยี่ยม ทุกสานักงาน ขยันพบคนเมื่อมีโอกาส ในที่สุดได้พบกับเจ้าเมืองมัณฑะเลย์ ได้รับเกียรติให้จัดการแสดงวัฒนธรรมไทย ขึ้นแสดงบนเวทีวัน สงกรานต์พม่า มีการถ่ายทอดออกทีวีทั่วประเทศ ดิฉันถูกสัมภาษณ์ว่ามีโครงการจะมาทาอะไรที่นี่ ดิฉันตอบว่า อยากมาถ่ายทาสารคดีและภาพยนตร์ คาตอบของดิฉนั สร้างความมืนงงให้กับผู้ชม เพราะมันรวดเร็ว มาก่อนเวลา เกินกว่าที่คนพม่าจะเข้าใจว่าดิฉันพูดถึงเรื่องอะไร และเป็นเรื่องที่ต้องห้ามสาหรับคนต่างชาติในการถ่ายทาใดๆ ดิฉันมุ่งมั่น ทาตามที่ประกาศออกไปด้วยใจจริง คือ เดินทางไปพม่าอย่างต่อเนื่อง และเริ่มถ่ายทา สถานทีต่ ่างๆ ทั่วพม่า ทีมของดิฉันจะเป็นผู้หญิง 2-3 คน ทาทุกอย่างด้วยตัวเอง ทัง้ เหนื่อยและลาบาก กับการ เดินทางทุกประเภท ต่อมาดิฉันก็ได้งานการจัดอีเวนส์ให้กบั โรงแรม 5 ดาวในพม่า และสอนคนพม่าให้ทางานจัด อีเวนส์ ทาให้มีรายได้และทางานต่อไปเรื่อยๆ มีดารานักร้อง นักเขียน เจ้าของหนังสือพิมพ์ คบหาเป็นเพื่อนมาก ขึ้น มองเห็นช่องทางทาธุรกิจมากมาย ทาให้ดิฉนั ต้องไปพม่าเดือนละสองครั้ง กลายเป็นบุคคลในวงสังคมพม่าไป ในที่สุด การเดินทางไปถ่ายทาวีดีโอทัว่ พม่าเป็นความฝันและภารกิจ ยิง่ เดินทาง ยิง่ เข้าใจ ดิฉนั ไม่ได้เข้าใจแบบคน ต่างชาติที่มองพม่าเท่านั้น ได้เข้าใจว่าคนพม่าเขาคิดอย่างไรด้วย ที่ประเทศนี้เหมือนกับดิฉันได้คน้ พบขุมทรัพย์อนั มั่งคั่ง มหาศาลที่อยู่ขา้ งบ้านนี่เอง ประเทศพม่ามีทุกอย่าง ทัง้ ทรัพยากรที่อยู่บนดิน ใต้ดิน ในพื้นน้า พื้นฟ้า และในท้องทะเล มีพร้อมทั้ง ศิลปวัฒนธรรมและความลุ่มลึกในศาสนา ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ และภูมิประเทศที่มีความแตกต่างกัน 22


เหนือจรดใต้ ดิฉันต้องการประกาศข่าวดีนี้ ไปยังพี่น้องคนไทย ให้เรามีความเข้าใจและมีความตื่นตัว กับความจริง อันเป็นประโยชน์ การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ประเทศไทยเราจะเป็นแกนนา เราต้องมองเรื่องเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าใน ภาพรวม ทั้งเรื่องสินค้า การลงทุนทุกประเภท ทรัพยากรในประเทศพม่าจะเป็นต้นทุนให้ประเทศสมาชิกใน อาเซียนอย่างมากมายมหาศาล ที่ย่างกุง้ ดิฉนั มีโอกาสได้สัมภาษณ์ทา่ นทูตพาณิชย์ไว้ทุกท่าน คนไทยจะต้องมาเป็นพีเ่ ลี้ยงให้ประเทศพม่า ในการเติบโตด้านธุรกิจทุกด้าน รัฐบาลพม่า คนพม่ายังไม่มีประสบการณ์ในด้านนี้ ไม่มีการเตรียมการไว้รองรับ ฉะนั้นคนไทยต้องเป็นผู้วางระบบระเบียบ จัดทาให้เป็นมาตรฐานในการทางานร่วมกัน การคบค้าทางานกับคน พม่า แรกเริ่มต้นจะลาบากเพราะต้องปรับความเข้าใจให้ตรงกันก่อน แต่ขอให้เราจริงจังและจริงใจ เหมือนพีส่ อน น้อง เพื่อนสอนเพื่อน คุณจะมีเพื่อนร่วมงานและมิตรภาพที่แสนดีจากเพื่อนบ้านประเทศนี้อย่างแน่นอน

การใช้เวลาทุ่มเท กับทุกภาคส่วนในพม่า เหมือนกับสอบได้ปริญญาโทมา เอาปัญญามาก่อนปริญญา ขณะนี้ดิฉันภูมิใจและดีใจ เมื่อพูดถึงประเทศพม่า แล้วมีคนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ดิฉันพร้อมที่จะนาความรู้ และผลงานออกมาเผยแพร่ และขอให้คนไทย ประสบความมั่งคัง่ จากเพื่อนบ้าน และคบหากันรักกันให้ยืนยาว เริ่มต้นสร้างโมเดลใหม่ ให้กับคนรุ่นใหม่ในประชาคมอาเซียน อันใกล้นี้ 23


รายงานสถานการณ์พลังงานเมียนม่าร์ การเปิดประเทศของเมียนม่าร์ทาให้เมียนม่าร์เป็นที่จับตามองหลายด้าน ภาคพลังงานเมียนม่าร์ก็เป็นเรื่อง ที่น่าสนใจเพราะส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมอย่างต่อเนื่อง นาไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ในทุกๆ ด้านของเมียนม่าร์ ดังนั้นข้อมูลสถานการณ์พลังงานจึงมีความสาคัญมาก มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศได้ร่วมกับสานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่าง ประเทศ (สพร.) กระทรวงการต่างประเทศ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) CEERD และมหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด จัด Research Seminar on Training needs and Human Resource Development for the Energy and Environmental Sector of GMS countries ระหว่างวันที่ 28 กันยายน-4 ตุลาคม 2553 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ ในโครงการนี้ U Win Khaing ประธานสมาคมวิศวกรพม่าก็ได้นาเสนอข้อมูลความต้องการการฝึกอบรม ของภาคพลังงานเมียนม่าร์ดงั นี้

ความต้องการการฝึกอบรมของภาคพลังงานเมียนม่าร์ .1กฎหมายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม .2การจัดทางบประมาณ .3โครงสร้างพื้นฐาน .4การฝึกอบรมเทรนเนอร์ .5การฝึกอบรมวิศวกรและผู้จัดการ .6เครื่องมือและเทคนิคการคานวณการใช้พลังงาน .7การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ U Win Khaing .8การบรรเทาการเสื่อมสภาพสิ่งแวดล้อม ประธานสมาคมวิศวกรพม่า .9การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ Source: U Win Khaing, 2010 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศจึงได้นาข้อมูลความต้องการการฝึกอบรมดังกล่าวมาจัดเป็น Intensive Workshop on Energy and Environment Sector Cooperation among GMS Countries (Phase 2) ระหว่างวันที่ 17 พฤษภาคม-5 มิถุนายน 2554 ในโครงการนี้ U Myint Kyaw รองประธานคณะกรรมการพลังงานและพลังงานทดแทน สมาคมวิศวกร พม่าได้นาเสนอข้อมูลด้านพลังงานที่น่าสนใจดังนี้ 24


Availability of Energy Resources in Myanmar

U Myint Kyaw รองประธาน คณะกรรมการพลังงาน• และพลังงานทดแทน • สมาคมวิศวกรพม่า •

.1Natural Gas …................... 111 TSCF .2Hydro Power ……..……… 110,111 MW .3Coal……………………..…….. 111 Million Metric tons. .4Wind energy ……………… 313 TWH per year .3Solar energy……………… 31914 TWH per year .1Geothermal ……………… 93 Locations

7. Biomass…32.3% of total land area is covered with forest Wood fuel = 19 Million Cubic ton per year Rice Husks = 4.4 Million ton per year Lumber Waste = 1.5 Million ton per year • Livestock Waste = 34.4 Million ton per year Source: U Myint Kyaw, 2011

จากตารางนี้ จะเห็นได้ว่าเมียนม่าร์อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพลังงานหลายรูปแบบ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานน้า ถ่านหิน พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพและพลังงานชีวมวล และแต่ละ ประเภทก็มีปริมาณมาก

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการใช้พลังงานทุกประเภทในเมียนม่าร์เป็นร้อยละแล้ว พบว่า มีการใช้พลังงานชีว มวลมากที่สุดถึงร้อยละ 62.33 รองลงมาเป็นน้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานน้าและถ่านหินตามลาดับ แสดงให้ เห็นถึงจุดแข็งของภาคพลังงานเมียนม่าร์ที่ใช้พลังงานหมุนเวียน (พลังงานชีวมวลรวมกับพลังงานน้า) ถึงร้อยละ 72.68 แต่ยังมีจุดอ่อนคือพลังงานที่ใช้สาหรับการคมนาคมยังเป็นพลังงานฟอสซิลอยู่ และพลังงานทางเลือกอื่นๆ 25


ยังไม่พร้อม เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมไม่ค่อยเป็นที่นิยมในเมียนม่าร์เพราะพลังงานแสงอาทิตย์มี ต้นทุนสูง ส่วนพลังงานลมต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูง

Source: U Myint Kyaw, 2011

เมื่อเมียนม่า ร์มีพ ลัง งานหลากหลายรูปแบบและในปริมาณที่มาก ก็ต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแล โดยเฉพาะคือ กระทรวงพลังงานดูแลน้ามันปิโตรเลียม กระทรวงพลังงานไฟฟ้าหมายเลข 1 ดูแลไฟฟ้าพลังน้า กระทรวงพลังงานไฟฟ้าหมายเลข 2 ดูแลพลังงานความร้อนใต้พิภพและระบบสายส่ง กระทรวงป่าไม้และกระทรวง เกษตรและชลประทานดูแลพลังงานชีวมวลและไม้เชื้อเพลิง ส่วนกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดูแล พลังงานหมุนเวียน โดยกระทรวงพลังงานทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสานความร่วมมือภายในภาคพลังงานพม่า และทางานร่วมกับ NGOs ได้แก่สมาคมวิศวกรชาวพม่าและสมาคมพลังงานหมุนเวียนแห่งเมียนม่าร์ เมียนม่าร์ยังร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาด้านพลังงาน จะเห็นได้ว่า มีสถานีไฟฟ้าพลังน้า หลายแห่งตลอดแนวชายแดนมีรายละเอียดดังภาพนี้

26


เมียนม่าร์ยังมีการขุดเจาะน้ามันดิบทั้งบนบกและในทะเล ในการขุดเจาะน้ามันดิบบนบก เมียนม่ าร์ร่วม ลงทุนกับบริษัทต่างชาติ 11 แห่งจาก บริติช เวอร์จิ้นไอร์แลนด์ อินโดนีเซีย แคนาดา จีน อินเดียและรัสเซียขุดเจาะ น้ามันดิบรวมทั้งสิ้น 13 สัญญา ส่วนที่เหลืออีก 2 สัญญาดาเนินการโดยรัฐวิสาหกิจน้ามันและก๊าซเมียนม่าร์มี รายละเอียดดังภาพนี้

Source: U Myint Kyaw, 2011 27


ในการขุดเจาะน้ามันดิบทางทะเล เมียนม่าร์ร่วมลงทุนกับบริษัทต่างชาติ 22 แห่งจาก ไทย มาเลเซีย เกาหลีใต้ จีน อินเดีย รัสเซีย และเวียดนาม ขุดเจาะน้ามันดิบรวมทั้งสิ้น 27 สัญญา ส่วนอีก 19 Block ยังเปิดให้ นักลงทุนหน้าใหม่เข้าไปลงทุนได้มีรายละเอียดดังภาพนี้

Source: U Myint Kyaw, 2011

โปรดติดตามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาคพลังงานเมียนม่าร์ได้ใน International Conference on “Energy and Environment Sector Cooperation of the GMS Countries (Phase 3)” ระหว่าง วันที่ 19-28 พฤษภาคม 2555 ที่จะนาเสนอใน Reviews ฉบับต่อไป

28


ข่าวประชาสัมพันธ์  ติดตามสื่อเพื่อการพัฒนาความรู้ และติดอาวุธทางปั ญญา กับ Chira Academy’s Medias  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ สู่ศตวรรษใหม่ ปี 2555 ทาง NBT ออกอากาศทุกวันศุกร์ สปั ดาห์ที่ 4 ของเดือน (เดือนละ 1 ครัง้ ) เวลา 02.00-02.50 น  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น.. กับ ดร.จีระ ทางเจริ ญเคเบิ ้ลช่อง 8 ออกอากาศทุกวันศุกร์ และวันอังคาร เวลา 12.00-12.30 น.  ติดตามฟั งรายการวิทยุ Hard Talk.. Thailand ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00 – 16.00 น. ที่คลืน่ เนชัน่ 90.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต  ติดตามฟั งรายการวิทยุ Human Talk ทุกเช้ าวันอาทิตย์ เวลา 06.00 – 07.00 น. ที่คลืน่ 96.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนร่ วมสร้ างสรรค์ รายการอย่ างดีย่งิ เสมอมา

29


โดย .. กองโจรทางปัญญา สวัสดีค่ะท่านผู้ติดตาม “FIHRD – Chira Academy Reviews” ทุกท่าน สาหรับท่านที่ติดตาม Reviews และ Reviews Weekly เป็นประจาคงจะได้ทราบข่าวคราวความ เคลื่อนไหวของเราโดยตลอดนะคะ และกิจกรรมหนึง่ ที่น่าสนใจและน่าจะจัดได้วา่ เป็นกิจกรรมสาคัญของเดือนที่ ผ่านมา คือ กิจกรรมการเรียนรู้ของโครงการพัฒนาผูบ้ ริหารระดับผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายและเทียบเท่า หรือ EADP รุ่นที่ 8 ซึ่งเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกได้ว่าครบรส ไม่วา่ จะเป็นการเรียนรู้ในห้องเรียน กิจกรรมรักษ์ใจ – รักกาย และล่าสุดคือการลงพื้นที่ร่วมเรียนรู้กับชุนชนผ่านกิจกรรม CSR ที่ศูนย์อบรมท่าทุ่งนา ต.บ้านช่องสะเดา อ.เมือง จ.กาญจนบุรี โครงการนี้เป็นโครงการที่นา่ สนใจ แม้เพิ่งจะผ่านไปได้เพียงครึ่งหนึ่งของกิจกรรมทั้งหมด แต่ ด้วยเนื้อหาสาระและสิ่งที่ทุกคนได้เรียนรู้นนั้ ทาให้พวกเรากองโจรทางปัญญาอยากจะนาประมวลภาพบรรยากาศ มาฝากทุก ๆ คนค่ะ และหากท่านใดสนใจสาระความรู้ บันทึกการเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนมุมมองของผู้เข้าร่วม โครงการฯ สามารถติดตามได้ที่ Blog ของท่านอาจารย์จรี ะที่.. http://www.gotoknow.org/blogs/posts/483425 รับรองว่าท่านจะไม่ผิดหวังค่ะ

กิจกรรมช่วงที่ 1

1

2

3

4

12 มี .ค.55 1. ในช่วงพิธีเปิดคุณวิรัช กาญจนพิบูลย์ รองผู้ว่าการบริหารของ กฟผ. เป็นประธานและกล่าวถึง ความสาคัญของการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของ กฟผ. ให้มีวิสัยทัศน์และพร้อมรับกับการ เปลี่ยนแปลง ต่อจากนั้น ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ปฐมนิเทศแนะนาวิธีการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เข้าอบรมดึง ศักยภาพของตนเองมาใช้ให้มากที่สุด 30


2. กิจกรรมปรับบุคลิกภาพสาหรับนักบริหารยุคใหม่ โดยอาจารย์ณภัสวรรณ จิลลานนท์ 3. กิจกรรมEGAT LEADER & TEAMWORK โดย ดร.เฉลิมพล เกิดมณี 4. กิจกรรม Get Together Party

13 มี .ค.55 กิจกรรมปรับสมดุลให้ร่างการที่บัลลวี เริ่มจากการให้ความรู้จากคุณหมอบรรจบ ชุณหสวัสดิกุล นายแพทย์ผู้เรื่องชื่อในการใช้ศาสตร์ทางตะวันออก รักษาโรคในหัวข้อ “ธรรมชาติบาบัดปรับชีวิต เปลี่ยนอาหาร หลักการแพทย์พอเพียง” จากนั้นเรียนรู้เรื่อง ศาสตร์ของวารีบาบัด สร้างเสริมสุขภาพ“ ” จากคุณหมอลลิตา ธีระสิริ ก่อนจะฝึกภาคปฏิบัติในกิจกรรม 3 รูปแบบ คือ Mat exercise เพื่อบริหารกล้ามเนื้อและข้อต่อ ,Hydro-aerobics การออกกาลังกายในน้า และ อาบแสงตะวัน ซาวน่า อบสมุนไพร นอกจากนั้นทุกๆท่านยังได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ

14 มี .ค.55 กิจกรรมศิลปะกับความคิดสร้างสรรค์ จัด workshop เขียนภาพสีนา้ “Water Color by A.J. Nukoon Panyadee” Passion of Art โดย อาจารย นุกูล ปัญญาดี

31


15 มี .ค.55 Learning Forum หัวข้อ Creative Thinking and Learning Forum หัวข้อ จากแนวคิดทางการตลาดสู่ Value Creation และการออกแบบโครงการเพื่อการ การปรับใช้กับการทางานของ กฟผ. พัฒนา กฟผ. ให้เติบโอย่างยั่งยืน โดย ศาสตราภิชาน ไกรฤทธิ์ บุณยเกียรติ โดย อาจารย์ ณรงค์ศักดิ์ ผ้าเจริญ

16 มี .ค.55 Learning Forum หัวข้อ Mind Mapping สาหรับผู้บริหาร และการวางแผนโครงการเชิงนวัตกรรม โดย อาจารย ธัญญา ผลอนันต

Learning Forum หัวข้อ ภาวะผูน้ าและประสบการณ การ บริหารงานของข้าพเจ้า โดย คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์

กิจกรรมช่วงที่ 2 ที่ศูนย์ฝึกอบรมท่าทุ่งนา จ.กาญจนบุรี

27 มี .ค.55 เริ่มกิจกรรม CSR วันแรก ได้รับเกียรติจากคุณพงศธร สัจจชลพันธ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ปาฐกถา พิเศษ “วิสัยทัศน์กาญจนบุรีกับการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง” หลังจากนั้นเป็นการเสวนา เรื่อง “การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อชุมชน“ ร่วมด้วยอาจารย์มนู ศิริวรรณ นักวิชาการด้านพลังงาน, คุณสมภพ พวงจิตต์ ผู้อานวยการฝ่ายสิ่งแวดล้อมโครงการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ คุณวสันต์ สุนจิรัตน์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 5 บ้านช่องสะเดา ร่วมวิเคราะห์และดาเนินรายการโดย ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ 32


28 มี .ค.55 กิจกรรมให้ความรู้สู่ชุมชนที่ อบต.บ้านช่องสะเดา ซึ่งเป็นชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน ซึ่งในช่วงเช้าเป็น การเสวนาเรื่อง “เรียนรู”้ การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมในชุมชน สร้างความเข้มแข็งต่อสูภ่ ัยธรรมชาติ ผู้เข้าร่วม เสวนาประกอบด้วย คุณบุญอินทร์ ชื่นชวลิต ผู้อานวยการเขื่อนศรีนครินทร์ กฟผ. คุณสมภพ พวงจิตต์ ผู้อานวยการฝ่ายสิ่งแวดล้อมโครงการ กฟผ. คุณสุธีร์ บุญเสริมสุข ตัวแทนจากพลังงานจังหวัดกาญจนบุรี และตัวแทน ผู้เข้าอบรม EADP 8

ช่วงบ่ายเป็นการเสวนาเรื่องสร้างโมเดล “ชุมชนรู้จริงเรื่องอาเซียนเสรี” ผู้เข้าร่วมเสวนาประกอบด้วยคุณอันนานุวา สุไลมาน พาณิชย์จังหวัดกาญจนบุรี, ดร.หญิงฤดี ภูมิศิริรัตนาวดี, คุณวสันต์ สุนจิรัตน์ ผู้ใหญ่บา้ นหมู่ 5 บ้านช่องสะเดา และตัวแทนผู้เข้าอบรม EADP 8 และหลังจากจบการเสวนาผู้เข้าอบรมได้เข้าศึกพื้นที่จริงทีไ่ ด้รับผลกระทบในหมู่ 2 และ หมู่ 5 บ้านช่องสะเดา เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขผลกระทบนามาเป็นกรณีศึกษาด้าน CSR ของ กฟผ. ต่อไป

29 มี .ค.55 กิจกรรมในวันสุดท้ายเยี่ยมกรณีศึกษาชุมชนเข้มแข็ง ที่ชุมชนบ้านชุกโดน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี โดยมีคุณ บาเพ็ญ รัตนกร ประธานชุมชนกล่าวต้อนรับและแลกเปลี่ยนข้อมูลของโครงการต่างๆในชุมชนกับผู้เข้าอบรม อาทิเช่น โครงการบาบัดน้าเสียจากชุมชนก่อนปล่อยลงแหล่งน้าสาธารณะ, โครงการพลังงานทดแทนก๊าซ ชีวภาพ ฯลฯ 33


แบบฟอร์มสมัครสมาชิก FIHRD – Chira Academy Reviews (ฟรี) FAX 66-2273-0181 ชือ่ – นามสกุล……………………………………………………………………………………………………………………………… ชือ่ เล่น ........................................... วันเกิด ............../.............../................ อายุ ................... ปี เพศ ................................. สถานภาพ ........................................... บุตร ..............................คน การศึกษาสูงสุด /สถาบัน ....................................................................................................... หน่วยงาน…………………………………..…………………………………………………………………………………………..….. ............................................................................................................................................ ตาแหน่ง………………………………………………………………………………………………………………………………….…. Tel: .................................................................... . Fax: .................................................... Mobile: ……………..………………………………… e-mail: ………………….……………………………………………… ทีอ่ ยูป่ ั จจุบนั ............................................................................................................................ .............................................................................................................................................. ทราบข่าวจาก ......................................................................................................................... ความสนใจพิเศษ / กิจกรรมทีส่ นใจ..........................................................................................

ฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์ เอราวรรณ แก้วเนื้ออ่อน

สนใจสมัครสมาชิก (ฟรี) Tel: 0-2619-0512-3

คณะทางานและที่ปรึกษา ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ อาจารย ์ทานอง ดาศรี ม.ล.ชาญโชติ ชมพูนุท ดร.วีรชัย กู ้ประเสริฐ พิชญ ์ภูรี จันทรกมล วราพร ชูภก ั ดี จงกลกร สิงห ์โต ้ อน เอราวรรณ แก ้วเนื ออ่ จิตรลดา ลียากาศ กฤษณะ ปัญญาผล เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล ภัทรพร อันตะริกานนท ์ อรวี จันทร ์ขามเรียน

บรรณาธิการอาวุโส ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ

มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ชัน้ 7 อาคาร เอส พี (ตึก B) เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 Tel: 662 619 - 0512-3 Fax: 662 273 – 0181 www.chiraacademy.com e-mail: dr.chira@hotmail.com Blog: www.gotoknow.org/blog/chiraacademy

34


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.