FIHRD-Chira Academy News ฉบับที่ 1/2555

Page 1

Newsletter

เปิ ดจดหมายจาก ดร.จีระ สวัสดีปีใหม่ 2555 ครับ..สมาชิกจดหมายข่าว FIHRD – Chira Academy Newsletter ที่รักทุกท่าน .. ผมขออนุญาตน้ อมนา ส.ค.ส. พระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยูห่ วั ฯ ของเราในปี ใหม่ 2555 มาเป็ นภาพปกของจดหมายข่าวฉบับนี ้เพื่อส่ง ความสุขที่แฝงไปด้ วยข้ อคิดและหลักในการดาเนินชีวติ ที่เป็ นมงคลสูงสุด พระเจ้ าอยูห่ วั ฯ ของเราท่านทรงเตือนสติให้ เราลงมือทา และพยายามเอาชนะ อุปสรรคไปสูค่ วามสาเร็ จให้ ได้ คือ คิด (ดี) แล้ วต้ องทา และต้ องทาให้ สาเร็ จ เริ่ มต้ นปี ใหม่ปี 2555 ซึง่ อาจจะเป็ นปี ที่หลาย ๆ คนจะต้ องพยายามสร้ างภูมิค้ มุ กัน ให้ กบั ตนเอง องค์กร สังคม และประเทศชาติของเราในหลาย ๆ เรื่ อง และคงต้ องรี บทา วิกฤต หรื อ ปั ญหาของปี 2554 ที่ผา่ นมาน่าจะเป็ นบทเรี ยนที่ดีของพวกเรา สิง่ สาคัญ คือ เราต้ อง เร่งหาวิธีการจัดการกับความเสีย่ งและปั ญหาต่าง ๆ ให้ ได้ อย่างดีที่สดุ เพราะวันนี ้การ เปลีย่ นแปลงและภัยพิบตั ิตา่ ง ๆ ไม่รอให้ ใครพร้ อม ไม่มีอะไรแน่นอน จดหมายข่าวฉบับนี ้ ผมได้ นาบทความบทเรี ยนจากความจริ ง กับ ดร.จีระ ต่อเนื่องกัน 2 ตอนมาให้ ทา่ นได้ ศกึ ษาเรื่ องทุนมนุษย์และภาวะผู้นาของบุคคลสาคัญระดับ โลก 3 คน คือ สตีฟจอบส์ อับราฮัม ลินคอล์น และอองซาน ซูจี นอกจากนันก็ ้ ยงั มีเรื่ องที่ น่าสนใจอื่น ๆ อีกมากมาย หวังว่าจะไม่ทาให้ ทา่ นผิดหวังครับ……...จีระ หงส์ ลดารมภ์

จดหมายข่าว ฉบับที่ 1/2555

(27 ธันวาคม – 9 มกราคม 2555)

สารบัญ บทเรี ยนจากความจริ งก ับดร.จีระ 

บทเรียนจากการอ่านหนังสือ 3 เล่มช่วงน้าท่วม สตีฟจอบส ์ Jobs, อับราฮัม ลินคอล ์น Lincoln,ออง ซาน ซูจี Aung san จัดการ PC และ MC (ตอนที่ 1- 2)

จีระคิดถึง..

6

WE LEARN, WE SHARE  การบริหารความขัดแย้ง

7

ข่าวประชาสัมพันธ ์

8

เป็ นข่าว

9

1


บทเรียนจากการอ่านหนังสือ 3 เล่ม ช่วงน้ าท่วม สตีฟจอบส ์ Jobs, อ ับราฮัม ลินคอล ์น Lincoln, อองซาน ซูจี Aung san จัดการ PC และ MC (ตอนที่ 1) ช่วงน ้าท่วมมีปัญหามาก แต่เมื่อมีวิกฤติ ก็ต้องมี ซึง่ ในที่สดุ การอ่านหรื อมีวฒ ั นธรรมในการเรี ยนรู้ จะ โอกาส เลยได้ อา่ นหนังสือสาคัญ 3 เล่ม ทาให้ คนไทยมีคณ ุ สมบัติเหล่านี ้ ผมได้ วิจารณ์แต่ละเล่มไปบ้ างแล้ ว แต่ยงั ไม่ได้  Quality คุณภาพ วิจารณ์พร้ อมกันทัง้ 3 เล่ม เพราะน่าจะเป็ นบทเรี ยนที่ดีตอ่  Standard มาตรฐาน ผู้อา่ นแฟนพันธุ์แท้ ของผม  Excellence ความเป็ นเลิศ ผู้อา่ นก็ต้องใช้ โอกาสเหล่านี ้ นาไปวิเคราะห์เพื่อ  Best Practice วิธีการปฏิบตั ิที่ดีที่สดุ สรุ ปเป็ นบทเรี ยนของตัวเอง เพิ่มจุดแข็ง ลดจุดอ่อน  Benchmarking สามารถเทียบเคียงกับคูแ่ ข่งได้ ขณะเดียวกัน ก็หวังว่าคนไทยทัว่ ๆไป คงจะมี อุปนิสยั ที่จะใฝ่ รู้ ด้วยตนเอง คือมีนิสยั ที่จะ วิธีการวิเคราะห์และเปรี ยบเทียบ บุคคล 3 คน ก็น่าจะ  อ่าน ใช้ ทฤษฏีทนุ มนุษย์ของผม 8K’s ,5K’s มาจับและนามา  ฟั ง วิเคราะห์  ดู  สัมมนา ทุนมนุษย์ สตีฟ อ ับราฮ ัม อองซาน ซู 8K’s & 5K’s จอบส ์ ลินคอล์น จี  สอน Steve Lincoln Aung san  ให้ คาปรึกษา Jobs  เขียน ทุนมนุษย์ สูง สูง สูง Human  และนาสิ่งที่ได้ มาปรับตัวเองเพื่อให้ อยู่รอดใน ยุคที่วิกฤติ เรี ยกว่า (ถาวร)Permanent Crisis (PC) มีวิกฤติหลายด้ าน เรี ยกว่า )Multiple Crisis) (MC) o เศรษฐกิจ o ภัยธรรมชาติ o ความขัดแย้ งของกลุม่ ต่างๆในประเทศ วิกฤติเหล่ านีส้ ร้ างปั ญหา เช่ น  การเปลี่ยนแปลงที่เร็ ว (Speed of change)  ความไม่แน่นอน (Uncertainty)  คาดคะเนไม่ได้ (Unpredictability)

Capital ทุนทางปัญญา Intellectual Capital

สูง

สูง

สูง

ทุนทางจริยธรรม Ethical Capital

สูง

สูง

สูง

ทุนแห่งความสุข Happiness Capital

ตา่

ตา่

ปานกลาง

ั ทุนทางสงคม Social Capital

ปาน กลาง

สูง

ปานกลาง (ค่อนข ้าง ตา่ )

2


ทุนมนุษย์ 8K’s & 5K’s (ต่อ)

ทุนแห่งความยง่ ั ยืน Sustainability Capital ทุนทาง IT Digital Capital ทุนทางความรู ้ ท ักษะ และท ัศนคติ Talented Capital ทุนแห่งความคิด สร้างสรรค์ Creativity Capital ทุนทางความรู ้ Knowledge Capital ทุนทางนว ัตกรรม Innovation Capital ทุนทางอารมณ์ Emotional Capital ทุนทางว ัฒนธรรม Cultural Capital

สตีฟ จอบส ์ Steve Jobs

อ ับราฮ ัม ลินคอล์น Lincoln

อองซาน ซูจ ี Aung san

ตา่

ปาน กลาง

สูง

สูง

ไม่ม ี

ไม่ม ี

สูง

สูง

สูง

สูงมาก

ปาน กลาง

ปาน กลาง

สูง

สูง

สูง

สูง

ปาน กลาง

ปาน กลาง

ตา่ มาก

ปาน กลาง

สูง

ตา่

ปาน กลาง

สูง

1. ทุนมนุษย์ ของ 3 คน มีมาก  อับราฮัม ลินคอน (Lincoln) เป็ นตัวอย่างที่ดีคือ หาความรู้ตลอดชีวิต ไม่ได้ จบปริญญาอย่างเป็ นทางการ แต่ หาความรู้โดยกฎหมายและวิทยาศาสตร์ ตลอดเวลาระหว่าง ทางาน และผมคิดว่า ลินคอล์น ( Lincoln) ใช้ 2R’s คือเน้ น ความจริง (Reality) และ ตรงประเด็น (Relevance) คือ ต้ องการเห็นเสรี ภาพในการเลิกทาส  สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) ไม่ได้ จบปริ ญญาตรี แต่เรี ยนในสิง่ ที่ชอบ วิชาบังคับไม่เรี ยน ไม่ได้ บ้าหน่วยกิต แต่ แอบไปลงเรี ยนวิชาที่เกี่ยวกับ IT เพราะบทเรี ยนนี ้สาคัญกับ คนไทย เด็กไทยบ้ าหน่วยกิต บ้ าลอก บ้ าสอบ ถ้ าวิชาไหนไม่มี หน่วยกิต ไม่ได้ สะสมหน่วยกิตก็ไม่เรี ยน ไม่เพิ่มพูนให้ ความรู้ ตัวเอง มหาวิทยาลัยไทยมีไว้ หาความรู้ แต่เด็กไทยคิดว่ามีไว้ สาหรับสะสมหน่วยกิต  อองซาน ซูจี Aung San จบที่ออกซ์ฟอร์ ด (Oxford) มหาวิทยาลัยชันน ้ าของโลก

2. ทุนทางปั ญญา คงไม่ต้องอธิบาย ผู้นาระดับทัง้ 3 คนนี ้ต้ อง ใช้ ความคิด วิเคราะห์ตลอดเวลา แก้ ปัญหา ลินคอล์น (Lincoln) ในช่วงสงครามกลางเมือง ถ้ าผู้บญ ั ชาการทหารไม่มี ประสิทธิภาพเขาจะเปลีย่ น คือใช้ ปัญญาในการแก้ ปัญหาและ ชนะคูแ่ ข่ง ใช้ ยทุ ธวิธีทหารทีเ่ รียนรู้ด้วยตัวเอง สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) ใช้ ปัญญาให้ เกิดสินค้ าตัวใหม่ๆตลอดเวลา เช่น iPod , iPhone , iPad ซึง่ ต้ องมาจากการคิด วิคราะห์ที่มี คุณภาพสูง 3. ทุนจริยธรรม ต้ องยกให้ ทงั ้ 3 ท่าน อองซาน ซูจี (Aung San) กับ ลินคอล์น (Lincoln) ถือว่าโดดเด่นมาก เรื่ องความ ซื่อสัตย์ตอ่ ประเทศ คิดดีตอ่ ประเทศในส่วนรวม สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) เขาใช้ ความรู้ทาธุรกิจหาเงิน ไม่ได้ เงินจากโกงมา หรื อเป็ นนักธุรกิจที่ขาดธรรมาภิบาล 4. จุดอ่ อนผมคิดว่ าน่ าจะเป็ นเรื่อง ทุนแห่ งความสุข สตีฟจอบส์ (Steve Jobs) ทางานหนักเกินไป ขาดความสมดุล และความสุขในการทางาน วัยหนุม่ สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) อดนอนติดต่อกัน 3-4 วัน ทาให้ สขุ ภาพไม่ดี เพราะ ต้ องการความสาเร็ จ ลินคอล์ น (Lincoln) ช่วงทางานต้ องเดินทางลาบากมาก ใช้ เรื อ และรถม้ า ชีวิตครอบครัวลาบากและลูก 2 คน ก็เสียชีวติ ลง ชีวติ ไม่สมดุลเท่าที่ควร อองซาน (Aung San) เป็ นคนนิ่ง เงียบ อดทน ใช้ อหิงสา คงจะ มีความสุขพอควรในการดารงชีวติ เพราะปล่อยวางเป็ นมากกว่า สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) และลินคอล์น (Lincoln) แต่เสียสละ ความสุขส่วนตัว ครอบครัวให้ ชาติ เช่น สามีป่วยเป็ นมะเร็ งก็ไม่ ไปเยี่ยม เพราะเห็นแก่ประโยชน์ของประเทศมากกว่า จึงให้ คะแนนแค่ปานกลาง 5. เรื่องสร้ างเครือข่ าย Social Capital ลินคอล์ น (Lincoln) มีมาก เป็ นนักการเมืองมีคะแนนนิยมสูง เพราะที่ชว่ ยเหลือสมาชิกพรรคและประชาชน เช่น ว่าความให้ คนอเมริ กาที่เสียเปรี ยบและยากจน แต่ อองซาน (Aung San) ในชีวิตมีแนวร่วมน้ อยเกินไป ใน อดีตขาดแนวร่วมที่หลากหลาย ขาดพันธมิตรทางการเมือง ทีมงานของ อองซาน ซูจี (Aung San) จะเป็ นคนรุ่นเก่า ไม่มี New blood เข้ ามาซึง่ ตอนหลังก็เริ่ มเรียนรู้ความสาคัญเรื่ องทุน ทางสังคมมากขึ ้น สตีฟ จอบส์ (Steve Jobs) ก็มีลกู น้ องเก่ง แต่จะขัดแย้ งกับ พันธมิตรค่อนข้ างมาก เช่น ไม่เป็ นพันธมิตรกับกรรมการบริ ษัท 3


เลยถูกปลดออกจากการเป็ นประธานบริ ษัท Apple ทังๆ ้ ที่ เขาตังบริ ้ ษัทมากับมือ หรื อขัดแย้ งกับคูแ่ ข่ง เช่น บิล เกตส์ (Bill Gates) หรื อ ลารี เอลิสนั (Larry Ellison) ทุนมนุษย์ ในด้ านอื่นๆ สาคัญ (แต่จะขอพูดต่อสัปดาห์หน้ านะครับ) จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com www.chiraacademy.com

สตีฟ จอบส ์ (Steve Jobs)

อ ับราฮ ัม ลินคอน (Lincoln)

อองซาน ซูจ ี (Aung San)

สวัสดีปีใหม่ 2555 และวิจารณ์หนังสือ 3 เล่ม (ตอน 2) ขณะที่ผมเขียนเป็ น ช่วง 2-3 วันก่อนปี ใหม่ กว่าจะได้ พบกับท่านผู้อา่ นอีกครัง้ ก็หลังปี ใหม่ 2555 เนื่องในโอกาสวันขึ ้นปี ใหม่ ผมขออวยพรให้ ผ้ อู า่ นและ ชาวแนวหน้ ามีความสุข ความเจริ ญ สุขภาพแข็งแรง ไม่อวิชา มองไปข้ างหน้ าด้ วยความมัน่ ใจว่า จะอยูไ่ ด้ อย่างยัง่ ยืน โลกและประเทศไทยโดยรวมมีปัญหามาก แต่ปัญหา เหล่านันกลายเป็ ้ นการสร้ างความสามารถของคนหรื อทุนมนุษย์ เพื่อจัดการให้ ได้ มองความจริง (Reality) นายกรัฐมนตรี จีน นายเหวินเจียเป่ า ได้ พดู ไว้ วา่ อนาคตในโลก จะมี 4 แนวแต่  Unbalanced (ไม่สมดุลย์)  Unstable (ไม่มนั่ คง)  Uncoordinated (ไม่มีการผนึกกาลังกัน)  Unsustainable (ไม่ยงั่ ยืน)  สาหรับผม ที่สาคัญก็คือ  การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ร็ ว (Speed of Change)  ความไม่แน่นอน (Uncertainty)

คาดคะเนไม่ถกู ว่าอะไรจะเกิดขึ ้น (Unpredictability) สาคัญคือ ความใฝ่ รู้ อยากรู้ อยากเห็น หาคาตอบ

ทาความเข้ าใจว่าโลกมีทงโอกาสและการคุ ั้ กคาม พร้ อมที่จะ เผชิญเหตุการณ์ ต้ องเข้ าใจว่าเราต้ องคิดเป็ น วิเคราะห์เป็ น มีข้อมูลใช้ สมองซ้ ายและขวาไปด้ วยกัน มีคณ ุ ธรรมจริ ยธรรม อยูด่ ้ วยความยัง่ ยืน อยูไ่ ด้ แน่นอนไม่วา่ อะไรจะเกิดขึ ้นกับ ประเทศไทยในปี ใหม่นี ้ สาหรับประเทศไทย ควรจะดูบทบาทของรัฐบาลยิ่ง ลักษณ์วา่ จะจัดการกับปั ญหาน ้าท่วมปี หน้ าได้ อย่างไร เพราะดูฤดูหนาวในยุโรปกับอเมริกาหนาว ผิดปรกติคล้ ายๆ ปี ที่แล้ ว ซึง่ หมายความว่า ฝนในประเทศ ไทยน่าจะรุนแรงเท่าเดิมหรื อมากกว่า การออกข่าวว่า มีมาตรการและเงินลงทุน 4 แสน ล้ าน โดยคณะกรรมการต่างๆ ต้ องดูให้ ดีวา่ จะทันเหตุการณ์ หรื อไม่ ทาสาเร็ จหรื อไม่ มีเงินกับโครงการไม่พอ ต้ องจัดการ ให้ รวดเร็ วสาเร็ จ (Execution) ด้ วย เพราะฝนปี 4-3 น่าจะมาเร็ ว มีเวลาอีกแค่ 2555 เดือน จะจัดการแก้ ปัญหาได้ หรื อไม่ ถ้ าดูความสามารถของรัฐบาลที่ผา่ นมา ก็คงคาด ได้ วา่ จะจัดการให้ มีประสิทธิภาพคงยาก ยิ่งผู้สอื่ ข่าวประจาทาเนียบให้ ฉายาท่านนายกปูวา่ ดาวดับ สือ่ ใช้ คาพูดที่รุนแรงถ้ าตีความหมายจริง แสดงให้ 4


ว่าศักยภาพของผู้นาอ่อนแออย่างเห็นได้ ชดั ชี ้ให้ เห็นว่าคนไทยขาดการคิดที่เป็ นระบบ อะไรๆก็ ผ่านไปวันๆ โดยไม่ได้ ตระหนักถึงอันตรายที่เกิดขึ ้น ข่าวดีที่นา่ จะนามาเสนอคือ บทบาทของบริ ษัท รถยนต์ฮอนด้ า ที่แสดงจุดยืนว่า จะอยูใ่ นเมืองไทยแน่นอน ไม่วา่ จะมีน ้าท่วมปี ใหม่หรื อไม่ ซึง่ เป็ นจุดยืนทีด่ ีและให้ ความ มัน่ ใจพอควร แต่คนไทยควรจะติดตามใกล้ ชิดว่า บริษัทอื่นๆคิด อย่างไร ได้ ทราบว่าระดับ SMEs ของ ต่างประเทศก็ถอดใจ พร้ อมจะย้ ายฐานการผลิตไปที่อื่น ต้ อง มีการรายงานผลอย่างใกล้ ชิดและสารวจว่าบริษัทต่างชาติให้ ความมัน่ ใจประเทศไทยอยูห่ รื อเปล่า? เพราะขณะนี ้ได้ ทราบมาว่างบฟื น้ ฟูช่วยประชาชน จากน ้าท่วมตามที่สญ ั ญาไว้ ให้ แก่ประชาชน ยังไม่ถึงมือ ผู้เสียหายจากน ้าท่วม ประชาชนจะไว้ ใจรัฐบาลได้ อย่างไรว่า การป้องกันน ้าท่วมในปี จะทาได้ อย่างดีมีประสิทธิภาพ 2555 หรื อไม่ 2554 มากกว่าปี ? ผมยังดีใจที่บทความแนวหน้ าของผมยังมีผ้ อู า่ นคง จะร่วมกันกระตุ้นให้ คนไทยคิดเป็ นวิเคราะห์เป็ น ไม่ใช่ฟังอะไรก็เชื่อไปหมด ต้ องมีความคิดเป็ นของ ตัวเอง และมีทางเลือก (Choices) ที่จะตัดสินใจสิง่ ทีม่ ี คุณประโยชน์ตอ่ ประเทศในระยะยาว ช่วงหลังน ้าท่วม ผมเริ่ มมีกิจกรรมหลายอย่างทีจ่ ะ เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศได้ ในระยะยาว ผมคงทาคนเดียวไม่ได้ หวังว่า จะมีแนวร่วมมากขึ ้นใน ปี 2555  และอย่าพึง่ พาเฉพาะนักการเมือง หรื อพรรค การเมืองของไทยต้ องพึง่ ปั ญญาของตัวเอง  คงต้ องพึง่ การเมืองภาคประชาชน นักวิชาการ (ดีๆ) ข้ าราชการดีๆ ที่จะออกมาปกป้องชาติในระยะยาว สือ่ มวลชนที่เป็ นกาลังสาคัญก็ต้องช่วยให้ ข้อมูลและให้ การ วิเคราะห์ที่ถกู ต้ อง มีความเป็ นธรรม ไม่เป็ นสือ่ ประเภทหาเงิน เยอะๆ หาโฆษณา เพื่อเป้าหมายธุรกิจ มองแต่ผลประโยชน์ ของธุรกิจมากกว่าผลประโยชน์ของประเทศชาติในระยะยาว

มาต่ อเรื่องทุนมนุษย์ ของ 3 ผู้นา (จากตาราง วิ ธีการวิ เคราะห์และเปรี ยบเทียบบุคคล 3 คน ด้วยทฤษฏีทนุ มนุษย์ 8K’s ,5K’s ของผม) ทุนแห่ งความยั่งยืน สตีฟ จอบส์  ค่อนข้ างต่าเพราะสุขภาพไม่ดี ควรจะมีอายุยืนกว่านี ้  งานก็มีอปุ สรรคมากเพราะขัดแย้ งกับหลายกลุม่ อับราฮัม ลินคอล์ น  อยูใ่ นระดับปานกลาง  เพราะขัดแย้ งเรื่ องเลิกทาส มีสงครามกลางเมือง  เสียชีวติ ก่อนวัยอันควรโดยการถูกลอบสังหาร อองซาน ซูจี  น่าจะมีมากที่สดุ เพราะรัฐบาลทหารน่าจะจัดการ กาจัดไปได้  แต่ความอดทน อดกลัน้ ทาให้ อยูร่ อดมาได้ อย่าง ยัง่ ยืน ทุนทาง IT  สรุปได้ ไม่ยากเพราะคุณสตีฟ จอบส์ น่าจะโดดเด่น ที่สดุ คุณลินคอล์นช่วงนัน้ IT มีแค่โทรเลข ส่วนอองซาน ซูจี โครงสร้ างพื ้นฐานที่พม่าของ IT ยังมีไม่พอ และ Social Media ก็ถกู ห้ ามใช้ ในอนาคต ทุนทาง IT ของอองซาน ซูจีคงจะ เพิ่มขึ ้นรวดเร็ ว Talented Capital  ผมให้ สงู หมดเพราะ 3 ท่านมีทกั ษะ ความรู้ ทัศนคติ ค่อนข้ างจะครบ  จุดอ่อนน่าจะมีที่สตีฟ จอบส์ ที่ทศั นคติของเขา ค่อนข้ างจะขัดแย้ ง แต่ความขัดแย้ งของเขาก็อาจจะเป็ นจุด แข็งในบางเรื่ อง ทุนทางความคิดสร้ างสรรค์  คิดว่า สตีฟ จอบส์ น่าจะโดดเด่นที่สดุ โดยจะคิดเป็ น ระบบและมีความคิดนอกกรอบอยูใ่ นคนๆเดียวกัน  ส่วน ลินคอล์นกับอองซาน ซูจีผมให้ ปานกลางเพราะ ยังไม่โดดเด่นเท่าที่ควร ทุนทางความรู้  ได้ คะแนนสูงทัง้ 3 คน  สตีฟ จอบส์ ชอบความรู้สองด้ านคือวิศวะ+ลูกค้ า เขาเป็ นคนที่มองลูกค้ าเป็ นหลัก ซึง่ มองมากกว่าเพียงให้ ลกู ค้ า พอใจ เน้ นความสุขของลูกค้ าหรือผมเรี ยกว่า Customer 5


Delight  ลินคอล์น-ความรู้คือความใฝ่ รู้ หาความรู้ตลอด มี

เก็บความรู้สกึ ได้ ดีโดยเฉพาะต่อสู้กบั รัฐบาลทหารพม่า

ปั ญญาพร้ อมที่จะรับฟั งและมีวฒ ั นธรรมอ่านและปรึกษาผู้ร้ ู

คุณภาพด้ านอื่นๆ จึงทางานสาเร็จได้

 ส่วนอองซาน ซูจี-ความรู้ที่สาคัญคือ สมาธิและการใช้ อหิงสา อดทนต่อความเจ็บปวด ทุนทางนวัตกรรม

ไม่ได้ เลยสร้ างปั ญหาให้ แก่เขามากแต่ถกู ทดแทนด้ วย ทุนทางวัฒนธรรม  ผมถือว่า สตีฟ จอบส์ น่าจะได้ คะแนนต่าสุด แต่ออง ซาน ซูจีเสียสละเพื่อชาติ คงจะถือว่ามีทนุ ทาง

 ให้ สตีฟ จอบส์สงู สุดเพราะเขาเองมีความคิด สร้ างสรรค์และไปทาให้ สาเร็ จ เช่น iPhone, iPod, iPad จุดนี ้ สาคัญที่เป็ นบทเรียนคือ คนบางคนคิดสร้ างสรรค์ มีความคิด ใหม่ๆแต่ทาไม่เป็ น ส่วนลินคอล์นกับอองซาน ซูจีมีนวัตกรรมใน ด้ านการเมืองที่ดี ถ้ าอองซาน ซูจีได้ เปิ ดประเทศก็จะมีทนุ ทาง นวัตกรรมการเมืองมากขึ ้น อาจจะปรับจากปานกลางมาเป็ นสูง ได้ ทุนทางอารมณ์  สตีฟ จอบส์ ต้ องถือว่า ตกเลย ได้ F ควบคุมอารมณ์  ส่วนอองซาน ซูจีจะมีทนุ ทางอารมณ์สงู ที่สดุ อดทน

วัฒนธรรมจากความรักชาติที่ได้ สะสมมาจากพ่อ ซึง่ เป็ นผู้บกุ เบิกชาติพม่าจากระบบอังกฤษ  ส่วนลินคอล์นน่าจะได้ ระดับปานกลางค่อนข้ างสูง ก็หวังว่า จะเป็ นแนวคิดที่นา่ ไปสารวจตัวท่านเอง ลองทา คะแนนดูวา่ ได้ เท่าไหร่ สวัสดีปีใหม่ จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com www.chiraacademy.com

จีระคิดถึง.. ผมคิดถึงงานทีผ ่ มทาเกีย ่ วกับ การสร ้างผู ้นาและผู ้บริหารมืออาชีพใน อดีต..ทีก ่ าลังทาอยู่ และในอนาคต ความประทับใจทีผ ่ มไม่เคยลืมเลือน เลย คือ การมีโอกาสได ้โค ้ชลูกศิษย์ กฟผ. รุ่นที่ 1 เมือ ่ ช่วงกลางปี 2548 ที่ ผ่านมา เป็ นงานทีย ่ ากและท ้าทาย เพราะคนทีเ่ ข ้าร่วมหลักสูตรในครัง้ นัน ้ เกือบทุกคนเป็ นผู ้บริหารระดับสูง มี ความรู ้และประสบการณ์ในสายงาน มากมาย (ส่วนใหญ่เป็ นวิศวกร) ในครัง้ แรก ๆ ทีไ่ ด ้พบกับลูกศิษย์ของผม (18 คน) ผมก็ได ้รับการท ้าทายจนทาให ้ นอนไม่หลับไปหลายวัน แต่สด ุ ท ้ายผม ก็ภม ู ใิ จทีส ่ ามารถทาให ้ลูกศิษย์ของผม ่ ชมวิธก ยอมรับและชืน ี ารเรียนรู ้ร่วมกัน ของพวกเรา วันนีท ้ ก ุ ๆ คนเติบโต เจริญก ้าวหน ้าไปอย่างน่าภาคภูมใิ จ หลายๆ คนขึน ้ สูงถึงผู ้นาเบอร์ 1 เบอร์ 2 ขององค์กร และยังสนับสนุนให ้ผมเป็ นทีส ่ ร ้างผู ้นารุ่นใหม่ ๆ ของ กฟผ. อย่าง ต่อเนือ ่ ง (ถึงวันนี้ 7 รุ่นแล ้ว) คิดถึงบรรยากาศในครัง้ นัน ้ จาได ้ว่ารูปนี้ผมนาคณะไป Study Tour ทีอ ่ เมริกา เราได ้มีโอกาสไป ้ ๆ (2 วัน) ที่ University of Washington (UW) ขอถือโอกาสนีข ้ อบคุณ.. ท่านผูว้ า่ ฯ ไกรสีห ์ กรรณสูต เรียนหลักสูตรสัน ผู ้สนั บสนุนให ้มีการจัดโครงการนี้. ผมระลึกถึงท่านเสมอและคิดถึงลูกศิษย์ทก ุ คนครับ..

์ ดารมภ์ จีระ หงสล

6


การบริหาร ความข ัดแย้ง โดย.. วราพร ขูภกั ดี และ เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล

สวัสดีปีใหม่ 2555 ค่ะ ท่านสมาชิก FIHRD Chira Academy Newsletter เป็ นอย่างไรบ ้างคะสาหรับ การเริม ่ ต ้นปี ใหม่ 2555 ซึง่ แม ้ว่าปี นี้อาจจะเป็ นปี ทีพ ่ วกเรา จะต ้องใช ้สติและปั ญญากันมากขึน ้ กว่าเดิมเป็ นเท่าทวีคณ ู เพือ ่ วางแผนและเตรียมพร ้อมกับสิง่ ๆ ทีก ่ าลังจะเกิดขึน ้ ใน ปี นท ี้ ม ี่ ค ี วามไม่แน่นอนรออยูม ่ ากมาย แต่พวกเราก็ขอถือ โอกาสนี้อวยพรให ้ทุก ๆ ท่านจงประสบแต่ความสุข สม ปรารถนา มีสข ุ ภาพพลานามัยแข็งแรง มีพลังสร ้างสรรค์ ผลงานดี ๆ ตลอดไปและตลอดไปนะคะ

(2) ระด ับบุคคล ปั ญหาความขัดแย ้งในระดับบุคคลเกิดจาก ความหลากหลาย (Diversity) เรือ ่ งเพศ อายุ สาคัญทีส ่ ด ุ คือ ค่านิยมกับทัศนคติ ซึง่ มากจากครอบครัว การศึกษา สภาพแวดล ้อมทีแ ่ ตกต่างกัน หรืออืน ่ ๆ

คอลัมน์ “WE LEARN, WE SHARE” ครัง้ นี้ ต่อเนือ ่ งจากครัง้ ทีแ ่ ล ้วซึง่ พูดถึงรหัสลับตัวแรกของ ความสาเร็จในการขับเคลือ ่ นองค์กรยุคใหม่ คือ “TEAMWORK” จากมุมมองของท่านอาจารย์จรี ะ มาสู่ รหัสลับตัวทีส ่ อง คือ “การบริหารความข ัดแย้ง หรือ Conflict Management” ซึง่ เป็ นเรือ ่ งทีส ่ าคัญและคง ไม่อาจหลีกเลีย ่ งได ้ทัง้ ในระดับบุคคล ระดับองค์กรหรือ แม ้แต่ระดับชาติ.. ลองศึกษาแนวทางการบริหารความ ขัดแย ้งของ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ดูนะคะ น่าจะเป็ น ประโยชน์ทห ี่ ลาย ๆ ท่านจะได ้นาไปปรับใช ้ค่ะ

3) หาทางออกให ้ได ้

ในมุมมองของท่านอาจารย์จรี ะ..ความขัดแย ้ง ไม่ได ้เป็ นเรือ ่ งเสียหายเท่านัน ้ เสมอไป

 อิจฉาริษยา

ความขัดแย ้ง(Conflict) มี 2 ประเภท คือ 1. ความข ัดแย้งเชิงสร้างสรรค์ คือ ขัดแย ้งกันเพือ ่ หาทางออกทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ หรือ เพือ ่ ให ้เกิดทางเลือกทีด ่ ก ี ว่า หรือสร ้างการมีสว่ นร่วม แต่วธิ ก ี ารนาเสนอความ คิดเห็นทีข ่ ด ั แย ้งจะต ้องใช ้ความสุภาพ ใช ้ปิ ยะวาจา

ดังนัน ้ หากจะบริหารความข ัดแย้ง วันนีเ้ ราต ้อง... 1) ค ้นหาตัวเอง 2) ค ้นหาสาเหตุ (Root cause) – ถ ้ามีความขัดแย ้งใน องค์กรต ้องลงไปทีก ่ ้นบึง้ ของปั ญหา จุดอ่อนของความขัดแย ้ง คือ ทาให ้เกิดความล ้มเหลวใน งานและประชาชนเสียหาย การลดหรือบริหารความขัดแย ้ง น่าจะต ้องใช ้ทฤษฎี 2 R’s (Reality มองความจริง และ Relevance ตรงประเด็น) Reality หรือ การมองความจริงซึง่ ต ้องเน ้นบริบทของ สังคมไทย ค่านิยมของคนไทย+ค่านิยมองค์กรหรือ วัฒนธรรมองค์กรทีเ่ รากาลังพูดถึง ค่านิยมในสังคมไทย..  มองกลุม ่ ตัวเองสาคัญ มากกว่ามองภาพใหญ่

 ไม่คอ ่ ยจะดูตวั เอง  ไม่อยากให ้คนอืน ่ ได ้ดีกว่า

 จะทาอะไรลับหลัง ไม่ ทาตรง ๆ

 ไม่ค ้นหาตัวเอง

Relevance คือ เมือ ่ มีปัญหาแล ้วต ้องแก ้ให ้ตรงประเด็น .. ใครควรจะเป็ นผู ้แก ้?

่ วามล้มเหลว 2. การข ัดแย้งทีน ่ าไปสูค เป็ นความ ขัดแย ้งทีต ่ ้องระมัดระวัง เช่น ความขัดแย ้งตอนเสีย กรุงฯ ความขัดแย ้งช่วงวิกฤตน้ าท่วม เป็ นต ้น

 ตัวเองต ้องสารวจตัวเอง

่ ั ญหา ประเด็นคือ ถ ้ารู ้ว่าความขัดแย ้งนาไปสูป ต ้องหาทางแก ้ไขแต่เนิน ่ ๆ ต ้องเข ้าใจ และมีตวั อย่างทีด ่ ี

 ต ้องมองประโยชน์ของส่วนรวม

ตัวอย่างการขัดแย ้งทีร่ ุนแรงทีส ่ ด ุ ในโลกคือ ความขัดแย ้งในแอฟริกา แต่มผ ี ู ้นาอย่าง Nelson Mandela เป็ นผู ้ทีช ่ ว่ ยแก ้ปั ญหาความขัดแย ้ง

 ต ้องภูมใิ จทีเ่ ป็ นคนทีม ่ ท ี ศ ั นคติในด ้านบวก

หากจะวิเคราะห์ปัญหาเรือ ่ งความขัดแย ้ง ให ้วิเคราะห์แค่ 2 ระดับ คือ

 ต ้องปรับปรุงทุนทางอารมณ์ มีจต ิ สาธารณะ..

ห่วงใยว่าองค์กรจะไปรอดหรือไม่?

o

ต ้องรู ้ว่าปั ญหา คืออะไร

o

ประเด็นทีเ่ ราจะเลือกมาแก ้ปั ญหาต ้องมี ความหมายกับเรา

(1) ระด ับองค์กร ปั ญหาความขัดแย ้งเกิดจาก..

o

 ผู ้นาไม่ยต ุ ธิ รรม

 ขาดความยุตธิ รรม

ลองสารวจตัวเองและองค์กรของท่านดูนะคะ..

 ขาดธรรมาภิบาล

 ขาดวิธก ี ารปรับความ

 ผลประโยชน์ทบ ั ซ ้อน

เข ้าใจกัน

ต ้อง

ต ้องเข ้าใจค่านิยมในสังคมของเรา

ว่า

วันนีเ้ รามีความขัดแย ้งเชิงสร ้างสรรค์หรือไม่? ถ ้าไม่ใช่เราจะมี วิธก ี ารจัดการกับความขัดแย ้งอย่างไร?

คงจะต ้องรีบแก ้ไข

 ดูแลทุนมนุษย์ไม่ทวั่ ถึง

 ขาดคนกลาง

ก่อนทีป ่ ั ญหาต่าง ๆ จะบานปลายค่ะแล ้วพบกับ รห ัสล ับต ัวที่

 ขาดขวัญกาลังใจ

 ปั ญหาใหญ่ไม่แก ้

3: Crucial Conversation กันต่อคราวหน ้านะคะ *^_^*

7


ข่าวประชาสัมพันธ์  มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ร่วมกับ Chira Academy ขอเรียนเชิญท่านที่สนใจ เข ้าร่วมกิจกรรม Public Seminar หลักสู ตร “Passion & Happiness Capital (Intangible Assets) Development for Maximizing Value” ในวันพุธที่ 25 มกราคม 2555 เวลา 09.00-17.00น. ณ โรงแรมแกรนด ์มิลเลนเนี ยม ถนนสุขม ุ วิท กรุงเทพฯ หลักสูตรนี ้ ใช ้วิธก ี าร ่ ่ ่ และบรรยากาศในการเรียนรู ้ทีมุ่งเน้นการจุดประกายการสร ้างความคิดสร ้างสรรค ์เพือสร ้างแรงปรารถนาทีแรง ้ าที่ กล ้าภายในและแนวคิดการสร ้างทุนแห่งความสุขเพื่อความสมดุลในชีวิตและการทางาน โดยวิทยากรชันน ่ มีความรู ้ความเชียวชาญด ้านการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย ์ และการพัฒนาตามความปรารถนาอย่างมุ่งมั่น : ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดากรมภ ์ และ Mr.Bruce Hancock .. มาหาวิธก ี ารสร ้าง Passion &

่ บเคลือนความส ่ ้ Happiness ในองค ์กรทีมี่ พลังมหาศาลทีจะขั าเร็จขององค ์กรจากงานสัมมนานี นะคะ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ท่ี โทร. 0-2619-0512-3 หรือ 086-777-5163

ติดตามสื่อเพื่อการพัฒนาความรู้ และติดอาวุธทางปั ญญา กับ Chira Academy’s Medias  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ สู่ศตวรรษใหม่ ปี 2555 ทาง NBT ออกอากาศทุกวันศุกร์ สปั ดาห์ที่ 4 ของเดือน (เดือนละ 1 ครัง้ ) เวลา 02.00-02.50 น  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น.. กับ ดร.จีระ ทางเจริ ญเคเบิ ้ลช่อง 8 ออกอากาศทุกวันศุกร์ และวันอังคาร เวลา 12.00-12.30 น.  ติดตามฟั งรายการวิทยุ Hard Talk.. Thailand ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00 – 16.00 น. ที่คลืน่ เนชัน่ 90.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต  ติดตามฟั งรายการวิทยุ Human Talk ทุกเช้ าวันอาทิตย์ เวลา 06.00 – 07.00 น. ที่คลืน่ 96.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนร่ วมสร้ างสรรค์ รายการอย่ างดีย่งิ เสมอมา

8


„เป็ นข่าว‟ โดย..จงกลกร สิงห ์โต

สัปดาห ์แรกของศักราชใหม่นี..้ ดิฉันและทีมงานขอสวัสดีปีใหม่

2555 และขออานวยพรปี ใหม่ให ้แก่ทุกท่าน ขออานาจ

์ งหลาย ้ ้ ะ...เช่น คุณพระศรีรต ั นตรัยและสิ่งศักดิสิ์ ทธิทั ปกป้ อง คุ ้มครอง และดลบันดาลให ้ท่านจงประสบพบแต่สิ่งดีๆ ตลอดปี มังกรนี ค่ เคยค่ะ กิจกรรมของมู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ (FIHRD) และ Chira Academy ก็ยงั คงมีมากมาย ้ ะ... อย่างต่อเนื่ องดังต่อไปนี ค่

26 ธ.ค.54.. อาจารย์จรี ะได ้รับเชิญจาก ดร.โชคชัย สุทธาเวศ เลขาธิการ มูลนิธน ิ ค ิ ม จ ันทรวิทร ุ เป็ นองค์ปาฐกในงานวันนิคม จันทรวิทรุ ประจาปี 2554 เรือ ่ ง “นโยบายแรงงานของร ัฐก ับอนาคต ประเทศไทย” ซึง่ มีคณ ุ พิชญ์ภรู ี จันทรกมล กรรมการด ้าน ่ สารมวลชลของมูลนิธฯิ สือ ได ้รับเกียรติเป็ นผู ้กล่าวแนะนา วิทยากรก่อนการปาฐกถาค่ะ งานนี้ผู ้ฟั งได ้รับแนวคิดเรือ ่ งนีไ้ ป เติมที่ ถ ้าปฏิบต ั ไิ ด ้แรงงานของไทยจะพัฒนาไปในทิศทางทีด ่ ี ขึน ้ ค่ะ

27 ธ.ค. 54.. อาจารย์จรี ะในนามของเลขาธิการมูลนิธพ ิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศนาคณะกรรมการมูลนิธฯิ ประกอบด ้วย ่ ตระกูล, คุณกรพชร สุขเสริม, ม.ล.ชาญโชติ คุณพัฒนศักดิ์ ฮุน ชมพูนุท และทีมงานเข ้าอวยพรเนือ ่ งในโอกาสขึน ้ ปี ใหม่แด่.. ท่านชวร ัตน์ ชาญวีรกูล ในฐานะอดีตประธานคนที่ 3 ของ มูลนิธฯิ ซึง่ ท่านได ้ให ้โอวาสและคาแนะนาดีๆ และยังเป็ น กาลังใจให ้พวกเราสร ้างสรรค์ผลงานดี ๆ เพือ ่ สังคมเสมอ ต ้อง กราบขอบพระคุณผู ้ใหญ่ใจดีอย่างท่านอีกครัง้ ค่ะ

ธ.ค.54.. อาจารย์จรี ะ ได ้รับเกียรติจาก สมาคมมิตรภาพไทย-จีน, สภา ธุรกิจไทย-จีน และนิตยสารการค ้าอาเซียนเชิญเป็ นผู ้ร่วม อภิปราย เรือ ่ ง “เมือ ่ โลกเปลีย ่ น...เศรษฐกิจอาเซียน-จีน จะ ื่ เสียงมาร่วมงานมากมาย ไปทางไหน” งานนีม ้ ผ ี ู ้ให ้เกียรติทม ี่ ช ี อ อาทิเช่น ฯพณฯ กิตติรัตน์ ณ ระนอง แสดงปาฐกถา เรือ ่ ง “ทิศทางเศรษฐกิจไทยปี 2012” และคุณ เกา เหวิน ควน ที่ ปรึกษาเศรษฐกิจและการพาณิชย์สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีนประจาประเทศไทย คุณกร ทัพพะรังสี อดีตรองนายกรัฐมนตรีและนายกสมาคมมิตรภาพไทย-จีน และ คุณไพรัช บูรพชัยศรี รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีนค่ะ ตอนนี้ ประเทศไทยและประเทศจีนสานสัมพันธ์กน ั แน่นแฟ้ นมากขึน ้ เพือ ่ เตรียมรับการเปิ ด AEC ในอีกไม่กป ี่ ี ข ้างหน ้าค่ะ 27

9


28 ธ.ค.54.. อาจารย ์จีระและทีมงานไปอวยพรวันเกิด (27 ธันวาฯ) และปี ใหม่ คุณรังสฤษดิ ์ ลักษิ ตานนท ์ ผู ้ช่วยกรรมการผู ้จัดการ บริษท ั บุญรอด เทรดดิง้ จากัด ในฐานะองค ์กรที่สนับสนุ นรายการ โทรทัศน์ทางวิชาการเพื่อการสร ้างคุณภาพของคนในสังคมอย่าง ้ า 20 ปี แล ้ว ขอถือโอกาสนี ้ขอบคุณ.. ต่อเนื่ องจนถึงวันนี กว่ คุณสันติ ภิรมย ์ภักดี คุณรังสฤษดิ ์ ลักษิ ตานนท ์ และ ผู ้บริหารและทีมงานของ บริษท ั บุญรอดบริวเวอรี่ จากัด หรือ ่ ้ ะ บริษท ั สิงห ์ คอร ์เปอเรชนั จากัด อีกครังค่

ประมวลภาพกิจกรรม FIHRD – Chira Academy Happy New Year 2012 Informal Party ณ ร ้านสม้ ตาบางกอก (6 มกราคม 2555)

10


และสุดท ้าย..ปี ใหม่นรี้ ายการโทรทัศน์.. คิดเป็ น..ก ้าวเป็ น กับ ดร.จีระ และรายการ

่ ตวรรษใหม่” ก็จะยังคงเสนอสาระดี ๆ ให ้กับทุกท่านเช่นเคย “สูศ

นอกจากนัน ้ ตัง้ แต่วน ั อาทิตย์ท ี่ 22 มกราคม 2555 เป็ นต ้นไป ทุกวันอาทิตย์ ทาง สถานีโทรทัศน์ NBT เวลา 09.00 – 10.00 น. โปรดติดตามชม รายการ “กลยุทธ์มอ ื อาชีพ” รายการโทรทัศน์ทจี่ ะทาให ้คุณเรียนรู ้กลยุทธ์เพือ ่ การมีอาชีพ และช่วยให ้คุณเป็ น มืออาชีพ รายการนีท ้ า่ นอาจารย์จรี ะและทีมงานได ้รับเกียรติจาก กศน. ให ้เป็ นทีป ่ รึกษาและ คณะทางานเพือ ่ ให ้เกิดรายการทีผ ่ สมผสานความรู ้ ความคิด ภูมป ิ ั ญญาความเป็ นไทย วิธก ี ารบริหารจัดการธุรกิจสมัย ้ ใหม่ เพือ ่ แนวทางการพัฒนาอาชีพสาหรับคนไทย ให ้คนไทย เป็ นมืออาชีพได ้ในทุก ๆ สาขา รองรับการก ้าวสู่ AEC ในปี 2015 นี้ รายการนีจ ้ ะเริม ่ ตอน แรกวันอาทิตย์ท ี่ 22 ม.ค. 55 ทาง NBT เวลา 09.00 – 10.00 น. จะเป็ นอย่างไร? ...โปรด ติดตามนะคะ

ั ตลอดปี ม ังกรค่ะ สุขสนต์

ฝ่ ายสมาชิกสัมพันธ์ เอราวรรณ แก้วเนื้ ออ่อน

สนใจสมัครสมาชิก (ฟรี ) Tel: 0-2619-0512-3

คณะทางาน ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ วราพร ชูภก ั ดี จงกลกร สิงห ์โต เอราวรรณ แก ้วเนื ้ออ่อน จิตรลดา ลียากาศ กฤษณะ ปัญญาผล เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล อรวี จันทร ์ขามเรียน

(บรรณาธิการอาวุโส)

มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ชัน้ 7 อาคาร เอส พี (ตึก B) เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 Tel: 662 619 - 0512-3 Fax: 662 273 – 0181 www.chiraacademy.com e-mail: dr.chira@hotmail.com Blog: www.gotoknow.org/blog/chiraacademy

11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.