FIHRD-Chira Academy News ฉบับที่ 4/2554

Page 1

Newsletter

จดหมายข่าว ฉบับที่ 4/2554

(13 - 19 ธันวาคม 2554)

10 ธันวาฯ สารบัญ

เปิ ดจดหมายจาก ดร.จีระ

บทเรี ยนจากความจริ งก ับดร.จีระ  ฉบับล่าสุด (10.12.54) 2 คนไทยน้อมเกล ้ารับพระราช ดารัส 3 เรื่องต ้องใส่ใจนาไป ่ น อย่าแตกแยก ปฏิบต ั ิ ยังยื และคุ ้มค่า BOOK REVIEW 3

สวัสดีครับสมาชิกจดหมายข่าว FIHRD – Chira Academy Newsletter ที่รัก ทุกท่าน เรากาลังจะผ่านวิกฤตน ้าท่วมใหญ่เข้ าสูบ่ รรยากาศดี ๆ ในหน้ าหนาวด้ วยกัน ฉบับนี ้ผมจึงเลือกภาพปกที่ถ่ายทีก่ บั ธรรมชาติหน้ าหนาวทีเ่ ชียงใหม่มาฝากครับ ผมขอขอบคุณที่สมาชิกของเราหลาย ๆ คนได้ Feedback กลับมาที่กอง วิสย ั ทัศน์.. อาเซียน 4 บรรณาธิการของเราว่า FIHRD – Chira Academy Newsletter มีประโยชน์ และส่ง  ทฤษฎี Bridge : ่ กาลังใจเข้ ามามากมายให้ พวกเราสร้ างสรรค์ความรู้ดี ๆ เผยแพร่ออกไปสูส่ าธารณชน สร ้างสะพานเชือมไทย สู่..สังคมอาเซียนอย่างยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง ความคิดเห็นของทุกท่านเป็ นแรงบันดาลใจให้ พวกเราครับ WE LEARN, WE SHARE จดหมายข่าวฉบับที่ 4 ออกหลังจากเพิง่ ผ่านวันสาคัญของประเทศไทยอีกวัน  การบริหารคนต่าง GEN 5 หนึง่ คือ วันรัฐธรรมนูญ.. มีความหมายครับ และเป็ นเรื่ องที่สงั คมไทยจะต้ องเรี ยนรู้อกี มากมาย..คาถามที่นา่ คิด คือ วันนี ้คนไทยเข้ าใจความหมายและความสาคัญของ ข่าวประชาสัมพันธ ์ 7 “รัฐธรรมนูญ” มากแค่ไหน? และวันนี ้คนไทยใช้ ประโยชน์ของรัฐธรรมนูญเพื่อปะโยชน์ สุขต่อสังคมไทยส่วนรวมอย่างยัง่ ยืนหรื อไม่? ฝากทุก ๆ คนช่วยกันคิดนะครับ ฉบับนี ้ได้ เพิ่มคอลัมน์ใหม่อีก 1 คอลัมน์ คือ WE LEARN, WE SHARE ซึง่ จะเป็ นการแบ่งปั นความรู้จากห้ องเรี ยนต่าง ๆ ที่ ผมได้ ไปบรรยาย โดยทีมงานของผม ซึง่ น่าสนใจ เพราะแต่ละที่ที่ผมไปบรรยายเป็ นกรณีศกึ ษาทีม่ าจากความจริง หรื อ Reality ซึง่ ทุก ครัง้ แม้ แต่ตวั ผมเองซึง่ เป็ นผู้บรรยายก็ได้ เรี ยนรู้มากมายทุก ๆ ครัง้ คอลัมน์ บทเรี ยนจากความจริ งกับ ดร.จีระ ครัง้ นี ้ ผมพาดหัวว่า “คนไทยน้ อมเกล้ ารับพระราชดารัส 3 เรื่ องต้ องใส่ใจนาไป ปฏิบตั ิ ยัง่ ยืน อย่าแตกแยก และคุ้มค่า” พระราชดารัสของท่านควรจะเข้ าไปอยูใ่ นหัวใจ ใน DNA ของคนไทยทุกคน และช่วยกันทา คอลัมน์ วิสยั ทัศน์..อาเซียน เรื่ อง ทฤษฎี Bridge : สร้ างสะพานเชื่อมไทยสู.่ .สังคมอาเซียนอย่างยัง่ ยืน .. ยิ่งทาได้ เร็ วเท่าไหร่ประเทศ ไทยยิ่งเข้ มแข็งและมีโอกาสมากขึ ้น ก็ขอฝากแนวคิดที่สาคัญต่าง ๆ เพื่อพัฒนาประเทศของเราไว้ ครับ... จีระ หงส์ ลดารมภ์ 1


คนไทยน้อมเกล้ารับพระราชดารัส 3 เรื่องต้องใส่ใจนาไปปฏิบตั ิ ยั ่งยืน อย่าแตกแยก และคุม้ ค่า วันที่ 5 ธันวาคม ผ่านไปด้ วยความปลื ้มปิ ติของคนไทย 65 ล้ านคน ทังคนไทยชาวต่ ้ างประเทศด้ วย คงจะจดจาพระราชดารัส ที่พระองค์ทรงเน้ น :  ยั่งยืน  อย่ าแตกแยก  ใช้ ทรัพยากรอย่ างคุ้มค่ า ทังนี ้ ้เกิดมาจากอุทกภัยอันใหญ่หลวงคือน ้าท่วมปี นี ้สร้ างทุกข์ ให้ ประชาชนคนไทยมากมาย พระองค์อยากให้ รัฐบาลและทุกๆ ฝ่ าย ในสังคมไทยหันหน้ ากลับมาตังสติ ้ ทางานเพื่อคนไทยทัง้ 65 ล้ านคนอย่างแท้ จริง บทความครัง้ นี ้ก็จะน้ อมนาพระราชดารัสดังกล่าวขยายความ ให้ เกิดความชัดเจนและหวังว่าจะเป็ นประโยชน์ตอ่ คนไทย 65 ล้ าน คน ได้ คิด วิเคราะห์และศึกษาอย่างถี่ถ้วน 1) เรื่องการแก้ ปัญหานา้ ท่ วมอย่ างยั่งยืน นโยบายต้ องมีเอกภาพ ต้ องไม่มคี วามขัดแย้ งระหว่างกระทรวงต่างๆกว่า 4 – 5 กระทรวงที่มีหน้ าที่จดั การเรื่ องน ้าท่วม รัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้ องถิ่น (กทม.) ต้ องสามัคคีกนั ฝ่ ายค้ านกับฝ่ ายรัฐบาลต้ องผนึกกาลัง และช่วยกัน ประคับประคองให้ ประเทศอยูร่ อด มีบทบาทแตกต่างกัน แต่ ระยะยาวต้ องดี ต้ องใช้ ปัญญา ความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะข้ อเสนอแนะ ปี 38 ของพระองค์ทา่ น ระดมให้ คนไทยทุกหมูเ่ หล่ามา ช่วยกันและประสานงานกับหน่วยงานต่างประเทศด้ วย ทางานโดยเน้ น คุณธรรม จริ ยธรรม เป็ นหลักใหญ่ ไม่มีผลประโยชน์ทบั ซ้ อน ไม่ให้ เหตุการณ์ดงั กล่าวในปี 2555 เกิดขึ ้นซ ้ารอย มีจากัดแค่ 6 – 8 เดือนก่อนฤดูฝนจะมาอีกครัง้ สร้ างความศรัทธาและความมัน่ ใจให้ ทกุ ฝ่ าย เน้ นความตังใจ ้ ในระยะยาว

ต้ องฟื น้ ฟูเยียวยาจิตใจของคนไทยทุกๆ คนที่ถกู กระทบ จากน ้าท่วม 2) ต้ องไม่ มีความแตกแยก เน้ นความสามัคคี  พักเรื่ องการช่วยบุคคลใดบุคคลหนึง่ ไว้ ก่อน อาจจะ หมายถึง “คุณทักษิณ” หันมาดูแลคนไทยที่ได้ รับความ ทุกข์ยากเป็ นสิบๆล้ านคนก่อน  นโยบายประชานิยมพักไว้ ก่อน เศรษฐกิจดีคอ่ ยว่ากัน  กลุม่ เสื ้อแดงดูสถานการณ์รอบด้ านให้ ดี อย่าให้ นโยบายเดิมๆ เช่น ไม่พอใจใช้ การข่มขูแ่ ละสารวจ คะแนนนิยมของกลุม่ ตัวเองให้ ดี  ปั ญหาใครฆ่าคน 91 ศพ ต้ องใช้ หลักฐานทางกฎหมาย ไม่ใช่กฎหมูเ่ ปลีย่ นแปลงหลักฐานและสานวน  มีความสามัคคี ลดการแตกแยกต้ องดูแลทัง้ 2 ฝ่ าย ช่วง ความรุนแรงในปี 2552 – 2553 มีประชาชนและทหาร ต้ องเสียชีวติ ด้ วย คุณเฉลิมว่าอย่างไร?  ประชาชนทัว่ ไปเสียชีวิตยุคนายกฯสมชายและระเบิด คนตายในทาเนียบ ใครรับผิดชอบ 3) คุ้มค่ าในการลงทุน แก้ ปัญหานา้ ท่ วมหรือไม่ ?  เงินในการใช้ แก้ ปัญหาน ้าท่วมต้ องวางแผนให้ รัดกุม อย่าซ ้าซ้ อน อนุมตั ิใช้ จา่ ยอย่างระมัดระวัง  ประโยชน์สงู สุดต้ องได้ คือลงทุน 1 บาท อย่างน้ อย คืนกลับมาไม่น้อยกว่า 1 บาทหรื อมากกว่านัน้  ใช้ หลักเศรษฐศาสตร์ ในการใช้ เงินให้ ค้ มุ ค่า โดยมอง ผลประโยชน์ตอ่ เนื่องระยะยาว  ประชาชนพึง่ ตัวเองเพื่อรอดพ้ นจากภัยธรรมชาติ โครงสร้ างพื ้นฐานก็สาคัญแต่การมีความรู้ ติดอาวุธทาง ปั ญญา พัฒนาทุนมนุษย์ให้ ชาวบ้ านจัดการกับภัย ธรรมชาติก็สาคัญเท่าๆ กัน 2


 การวัดคุ้มค่าต้ องวัดจาก o ค่าเสียโอกาส o วัดจากต้ นทุนและผลตอบแทนที่มองไม่เห็นคือ Social cost and Social Benefit ผมหวังว่าผู้อา่ นทุกท่านคงจะนาไปคิดและต่อยอดให้ ได้ ไม่ใช่เฉพาะช่วงน ้าท่วม แต่เป็ นหลักเกณฑ์ทใี่ ช้ ได้ ทกุ สถานการณ์ของประเทศไทย “ขอพระองค์ ทรงพระเจริญ” จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com www.chiraacademy.com

 อย่าให้ การเมืองนาเศรษฐกิจอย่างเดียว ไม่ค้ มุ ค่าในการใช้ ทรัพยากร

BOOK REVIEW โดย ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และทีมงาน Chira Academy

อ่านประวต ั ิอ ับราฮัม ลินคอล ์น ได้อะไรมากกว่าที่คิด หนังสือ อับราฮัม ลินคอล ์น ยาวมากและมีคุณค่ามาก

่ า Biography of Lincoln ในช่วงเเรก ๆ ของ ผมกาลังอ่านหนังสือเล่มใหม่จากร ้าน Asia Book ชือว่ หนังสือเล่มนี ้ได ้เรียนรู ้ว่าสมัยเด็กๆ Lincoln อยู่ที่รัฐ Indiana

ช่วง ค.ศ. 1816 - 1830 คุณเเม่ของเขาใช ้คาว่า

Young Lincoln อุปนิ สยั ที่น่ าสนใจของเขา คือ ชอบหาความรู ้ หรือที่ใช ้คาว่า Diligent for Knowledge ้ เด็กๆ นี่ เป็ นตัวอย่างที่ดีของผู ้นาอย่าง Lincoln ความสาเร็จของเขามาจากการมีความใฝ่ รู ้ตังเเต่ ่ ผมสนใจเรืองประวั ติศาสตร ์อเมริกา อ่านหนังสือเล่มนี ้แล ้วได ้เรียนรู ้มากมาย โดยเฉพาะ การเมือง การทหารและ ่ ่ ง ก็คือ เมื่อ 150 ปี ก่อน คนอเมริกาอายุไม่ยืน อายุ 55 ปี ก็ถือว่า สงครามกลางเมืองและการเลิกทาส แต่ที่ได ้อีกเรืองหนึ แก่แล ้วเพราะสุขภาพไม่ดี มีโรคร ้ายมากมาย ้ คนไทยปัจจุบน ั อายุ 80 ปี ยังไม่ตาย ยังแข็งแรง โชคดีกว่ามาก อาจจะเป็ นเพราะการแพทย ์เจริญขึนมาก ดีที่ผม ไม่เกิดช่วงนั้น เพราะป่ านนี ้ผมอาจจะไม่ได ้อยู่ทางานแล ้วก็ได ้ ประเทศไทยของเราเปิ ดกว ้าง มีร ้านหนังสือภาษาอังกฤษดีทสุ ี่ ดใน ASIA (อาจจะยังแพ ้สิงคโปร ์และฮ่องกง) ่ ่เข ้าร ้านหนังสือ แต่เด็กไทยไม่สนใจหนังสือต่างประเทศ คนไทยเข ้าร ้านหนังสือน้อย – ส่วนใหญ่แต่ฝรังที ้ วยได ้บ ้างครับ…..จีระ หงส ์ลดารมภ ์ ผมจะกระตุ ้นให ้คนไทยสนใจการอ่านหนังสือมากขึน้ และหวังว่าคอลัมน์นีจะช่

3


วิสย ั ทัศน์.. ..อาเซียน ASEAN VISION โดย ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์

ทฤษฎี Bridge : ่ สร้างสะพานเชือมไทย ่ น สู ่..สังคมอาเซียนอย่างยังยื

ทฤษฎี Bridge คืออะไร? หลาย ๆ คนอาจจะ ่ ้และได ้เขียนไว ้ในบทความของผมที่ ยังสงสัย ผมคิดเรืองนี ่ แนวหน้าเมื่อไม่นานมานี ้ ในช่วงที่ผมมีภารกิจทีจะต ้องไป บรรยายให ้กับหน่ วยงานต่าง ๆ หลายแห่งกว่า 10 ครัง้ ่ เรืองการเตรี ยมพร ้อมสูก ่ ารเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี 2015 ที่กาลังจะถึงนี ้ ทฤษฎี Bridge ในความคิดของผม หมายถึง ่ สะพาน หรือ สิ่งที่เชือมโยงให ้อาเซียนได ้รับประโยชน์ ่ ยกว่า Zero ร่วมกัน ไม่มีผู ้ได ้เปรียบหรือผู ้เสียเปรียบ ซึงเรี – Sum เมื่อประเทศไทยเปิ ดเสรีอาเซียน.. ผมไม่อยากเห็น ่  กลุม ่ ที่ได ้ประโยชน์ หรือกลุม ่ ทีรวยอยู ่แล ้ว ฉก ฉวย รวยมากกว่าเดิม เช่น สภาอุตสาหกรรม หรือสภาหอการค ้า  ผมอยากให ้คนไทยทัง้ 65 ล ้านคน มีโอกาสด ้วย ความเสมอภาคกัน ้ จะเป็ ้ ปรากฏการณ์ครังนี นแรงกระตุ ้นให ้คนไทยคิด ่ ว่าเมือเปิ ดเสรี..ประเทศไทยได ้อะไร? คนไทย 65 ล ้านคน ต ้องได ้ด ้วยการกระจายโอกาสไม่ใช่กระจุกตัวหรือวัดจาก ตัวเลขรวม ๆ หากจะวิเคราะห ์โดยใช ้ทฤษฎี 2 R’s R แรก คือ Reality - การมองความจริง หากไม่ พิจารณาดูให ้รอบคอบกลุม ่ ที่แข็งแรงกว่าจะได ้มากกว่ากลุม ่ ที่

อ่อนแอเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผมได ้รับเกียรติจาก กรม ่ ร่วมกับ กรมเจรจาการค้า ปกครองส่วนท้องถิน ่ “รู ้จริงเรือง ่ ระหว่างประเทศ ให ้บรรยายพิเศษ เรือง ่ ่ อาเซียนเสรี” ให ้แก่ผู ้นาท ้องถินทัวประเทศประมาณ 1,800 คน (แบ่งเป็ น 9 รุน ่ ) ทาให ้เห็นว่าการสร ้างความรู ้ ่ ความเข ้าใจเรืองอาเซี ยนเสรี และการเตรียมพร ้อมสู่การ ่ ่สาคัญ จาเป็ น เป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็ ยเรืองที ้ และเร่งด่วนมาก และวันนี หน่ วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข ้อง จะต ้องเร่งมือในการทางานเพื่อลดช่องว่าง (Gaps) สร ้าง โอกาส และลดความเสี่ยงให ้แก่คนไทย สังคมไทย การที่หน่ วยงานระดับชาติอย่างกรมเจรจาการค ้า ่ เป็ นตัวอย่างที่ดีของ ระหว่างประเทศมองไปที่ ผู น ้ าท้องถิน ่ การ สร้างสะพานเชือม (Bridge) เพื่อให ้โอกาส ่ กระจายไปทัวประเทศ ้ ้ สังคมไทยของเรามี การเปิ ดเสรีอาเซียนครังนี โอกาสมากมายเพราะเรามีภม ู ิปัญญาท ้องถิ่น มีทุนทาง ่ วัฒนธรรมทีสะสมมานาน อาจจะยังขาด หรือ มีสิ่งที่เรา จะต ้องปรับปรุง / พัฒนาให ้ไปสู่..  Standard คือ การมีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับ  Quality คือ มีคุณภาพ  Excellent คือ มีความเป็ นเลิศ  Benchmarking คือ สามารถวัดและเปรียบเทียบกับ ่ คนอืนได ้  Best Practices คือ การมีวิธก ี ารทางานที่ดีทสุ ี่ ดใน ่ ้น ๆ เรืองนั ่ การสร ้างสะพานเชือม หรือ Bridge ให ้โอกาส ้ ่ งจะเป็ นปรากฏการณ์ที่ ของประเทศไทยเกิดขึนอย่างทัวถึ สาคัญที่จะยกฐานะความเป็ นอยู่คนไทยอีก 65 ล ้านคนให ้ ่ น ก ้าวไปอย่างยังยื ่ ตัวอย่างมีแล ้ว คือ การทีประเทศจี นเปิ ดประเทศ ้ ่ยว (ในช่วงปี ค.ศ. 1980) ผู ้นาของประเทศจีนอย่างเติงเสี ่ ผิงทาให ้ภายในไม่ถึง 30 ปี ประเทศจีนรารวยและกระจาย ความเจริญก ้าวหน้าไปอย่างมาก กลายเป็ นมหาอานาจ ทางเศรษฐกิจของโลก อีก 4 – 5 ปี จีนก็จะเป็ นอันดับหนึ่ งของโลก เมื่อ จีนเปิ ดประเทศ.. คนจีนที่อยู่ระดับล่างได ้เห็นโอกาสและสร ้าง งาน GDP ของประเทศเกินกว่า 10 % ทุกปี

4


จะเป็ น..

ตัวอย่างประเทศอินเดียเปิ ดประเทศเมื่อปี ค.ศ. 1991 ก่อนเปิ ดประเทศอินเดียเคยเจริญแค่ 2 % หลังจากเปิ ดประเทศแล ้ว อินเดียเจริญกว่า 8 % ติดต่อกัน มีการกระจายโอกาสไปยังรากหญ ้าและ ท ้องถิ่น ประชาชนได ้รับโอกาสมากขึน้ ในมุมมองของผม.. การสร ้างสะพาน หรือ Bridge ที่สาคัญ ก็คือ การใหท้ ้องถิ่นค ้นหาตัวเอง สร ้างทุนมนุ ษย ์ที่มีคณ ุ ภาพอย่างจริงจังเป็ นรูปธรรม อาจจะใช ้แนวคิด 8K’s + 5K’s มาเป็ นแนวทาง ้ ้ “ทุนทาง การเปิ ดเสรีอาเซียนครังนี วัฒนธรรม” จะเป็ นจุดแข็งของประเทศไทย ประเทศไทยควรเน้น “ความเป็ นไทย” (Thainess) คือ สิ่งที่ประเทศอื่นในอาเซียนไม่มี เช่น

ธุรกิจบริการ เป็ นอันดับหนึ่ งของโลกได ้ ไม่วา่

 การท่องเที่ยว และ อาหารไทย  ธุรกิจสุขภาพ (Wellness)  เกษตรมูลค่าเพิ่ม  อัญมณี  โลจิสติกส ์ แต่ส่งที ิ ่สาคัญที่สังคมไทย / คนไทยในทุก ๆ ภาคส่วนควรจะต ้องเร่งพัฒนา คือ.. 1. ภาษา ต ้องเอาจริง ต ้องศึกษาทัง้ ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน 2. “รูเขา”มากขึ ้ น้ คือ สนใจเศรษฐกิจ สังคม กฎหมายของประเทศอาเซียน 3. ปรับทัศนคติของผู ้นาท ้องถิ่น ต ้องคิดบวก ใฝ่ รู ้มากขึน้ คิดว่าเราสูได ้ ้ มีความมั่นใจ ในตัวเอง 4. ต ้องทาต่อเนื่ องและต่อเนื่ อง ชนิ ดกัดไม่ ปล่อย ผมมั่นใจว่า การสร ้าง Bridge (สะพาน) ใน ่ ง ดึงเอา หลายๆ จุด กระจายโอกาสออกไปอย่างทัวถึ ความเป็ นเลิศของคนไทย / สังคมไทยออกมา ประเทศ ่ น ไทยก็จะอยูใ่ นสังคมอาเซียนได ้อย่างสง่างามและยังยื จีระ หงส ์ลดารมภ ์

dr.chira@hotmail.com www.chiraacademy.com

การบริหารคน ต่าง Generation

โดย.. วราพร ขูภกั ดี และ เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล

สวัสดีค่ะ ขอต ้อนรับท่านสมาชิก FIHRD - Chira Academy Newsletter ทุกท่านสูค ่ อลัมน์ “WE LEARN, WE ่ ่ ความน่ าสนใจ เพราะแต่ละที่ คือ SHARE” ซึงจะเป็ นการแบ่งปันความรู ้จากห ้องเรียนต่าง ๆ ของท่านอาจารย ์จีระซึงมี ่ ้รับความรู ้และ กรณี ศึกษาที่มาจากความจริง หรือ Reality พวกเราในฐานะทีมผู ้ช่วยวิทยากรของท่านอาจารย ์ซึงได ้ ้แบ่งปันให ้กับทุก ๆ คนค่ะ ประสบการณ์มากมายและคงจะดีถ ้าความรู ้เหล่านี ได เรื่องการบริหารคนต่าง “Gen” กาลังเป็ นหัวข ้อที่หลาย ๆ องค ์กรให ้ความสนใจเพราะอาจจะเป็ นอุปสรรคของความ เป็ นเลิศในหลาย ๆ องค ์กร จากการบรรยายของ ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ เรื่อง Multiple Generation in Workplace ให ้กับสถาบัน ASEAN Knowledge Institute (AKI) เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 8 ธันวาคม 2554 ที่ผ่านมา ท่านได ้ให ้มุมมองเรื่อง การบริหารคนต่าง Gen ไว ้อย่างน่ าสนใจดังต่อไปนี ้ ้ าถามคนในห ้องเรียนว่า “คุณคิดอย่างไรเรื่องการ เปิ ดประเด็นการเรียนรู ้เรื่องการบริหารคนต่าง Gen ด ้วยการตังค บริหารคนต่าง Gen ในองค ์กร?”

5


คาตอบที่ได ้ คือ... ้ ่เกิดในองค ์กรต่างเกิดจากคนทะเลาะกัน  ปัญหาทังหลายที  ทางานเป็ นลูกจ ้าง 30 ปี มองว่าในหลายบริษท ั มีความหลากหลายในการบริหาร หลายองค ์กรมีคนเก่งเยอะแต่ไม่สามารถ เอาคนเก่งมาทางานร่วมกันได ้  คนไทยรวมกันได ้ แต่สว่ นใหญ่จะไม่รวมกันทาในแง่บวก

้ “ทุนมนุ ษย ์ทังหลายในประเทศไทยต อ้ งทางานร่วมกันแบบ Synergy ตอ้ งคน้ หาตัวเองให้เจอ (Being yourself) วิชาการจะช่วย ่ าคัญ คือ ขอให้มีความใฝ่ รู ้ เปิ ดโลกทัศน์ให้กว ้างขึน” ้ นี่ เป็ นคาพูดของ ทาให้พฤติกรรมและความคิดพัฒนาไปในทางทีดี่ ขน ึ ้ สิงส อาจารย ์จีระที่พูดกับลูกศิษย ์ของท่านก่อนที่จะเข ้าสูบ ่ ทเรียน วัตถุประสงค ์ที่สาคัญของการเรียนรู ้เรื่องการบริหารคนต่าง Gen ในวันนี ้ คือ.. 1. เปิ ดโลกทัศน์ ให ้มองปัจจัยภายนอก โครงสร ้างประชากรที่กระทบต่อการทางานในยุคใหม่ 2. สร ้างความเข ้าใจในธรรมชาติ (Nature) ของคนใน Generation ต่าง ๆ ..รู ้เขา – รู ้เรา 3. เรียนรู ้วิธก ี ารบริหาร “คนต่าง GEN” ให ้ทางานร่วมกันในองค ์กรได ้อย่างมีความสุข เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. สร ้าง Value Diversity ใหได ้ผล 5. สร ้างโอกาสจากการเรียนรู ้ร่วมกันในวันนี ้ เพื่อนาความรู ้ไปปรับใช ้ สร ้างมูลค่าเพิ่มต่อไป 6. สร ้างชุมชนแห่งการเรียนรู ้ร่วมกัน ยุทธวิธก ี ารบริหารพฤติกรรมของคนต่าง Generation ในองค ์กร ท่านอาจารย ์จีระเสนอวิธก ี ารมองแค่ 4 วิธี ดังต่อไปนี ้ วิธีแรก – ความจงรักภักดี (Loyalty) กับผลงาน (Performance) ่ าความจงรักภักดีเป็ น Norm ของคนรุน  มีความเชือว่ ่ เก่า ไม่ใช่Normของคนรุน ่ ใหม่  ส่วนคนรุน ่ ใหม่จะเน้นผลงานและการประเมินผลมากกว่า ดังนั้น คาถามที่น่ าคิด คือ ถ้า Gen YหรือX คือเก่งแต่ไม่จงรักภักดีในองค ์กรจะทาอย่างไร? อาจารย ์จีระไดเ้ สนอแนวคิดการบริหารคนในสิ่งที่มองไม่เห็น (Intangibles) เช่น ความสุขในการทางาน แรงบันดาลใจ ฯลฯ วิธีที่ 2 เรียกว่าเป็ นวิธีบริหารความแตกต่างหรือความหลากหลาย (Value Diversity) ให้เกิดความเป็ นเลิศให้ได้ อาจจะเรียกว่า Synergy ้ เราจะทาอย่างไรให ้แต่ละกลุม ่ ทางานร่วมกัน ตัวอย่างที่ดีในเรื่องนี ในมุ มมองของท่านอาจารย ์จีระ คือ ประธานาธิบดีโอบามา เขา สามารถทางานร่วมกับคนที่มีความแตกต่างหลากหลายกันได ้ค่อนข ้างดี และใช ้ WISDOM ของคนที่ต่างกันให ้เกิดประโยชน์ต่อ ส่วนรวมได ้ ่ วิธีที่ 3 ทฤษฎีสร้างทุนมนุ ษย ์ของดร.จีระ คือ ศึกษาจุดอ่อน จุดแข็งของทุนมนุ ษย ์ 8K’s และ 5K’s ของแต่ละ Gen ซึงไม่ เหมือนกัน เข ้าใจ บริหารความแตกต่าง ลดช่องว่าง พัฒนา ่ น่าสนใจ (www.apm.co.th) วิธีที่ 4 ลองศึกษาจาก Research ของ APM ซึงก็ ดังนั้น เพื่อที่จะช่วยให ้การทางานร่วมกันของคนในองค ์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “การ บริหารคนต่าง GEN” อาจารย ์จีระได ้ฝากทฤษฎีท่ีสาคัญและอาจจะเป็ นแนวทางความสาเร็จไว ้ดังต่อไปนี ้ 1. ทฤษฎีการสร ้างทุนแห่งความสุข (Happiness Capital Development) ้ วเราเอง จะต ้องมีความเข ้าใจเรื่องการสร ้างทุนแห่งความสุขเพื่อการ ผู ้นาองค ์กร + SMART HR + Non-HR รวมทังตั ทางานที่มีประสิทธิภาพมากขึน้ และต ้องสร ้างองค ์กรให ้เป็ นองค ์กรแห่งความสุข ้ 2. ทฤษฎี HRDS คือ ทุกคนในองค ์กรจะต ้องทางานบนพืนฐานของ.. Happiness – ความสุข

่ นและกัน Respect – การยอมรับนับถือซึงกั

่ึ นและกัน Dignity – การยกย่องให ้เกียรติซงกั

่ น Sustainability – ความยังยื

ลองสารวจดูนะคะ ว่าวิธก ี ารไหนเหมาะกับองค ์กรของท่าน.. แล ้วพบกันใหม่ค่ะ.. *^_^*

6


ข่าวประชาสัมพันธ์  มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่ างประเทศ ร่วมกับ Chira Academy ขอเรี ยนเชิญท่านที่สนใจเข้ าร่วมกิจกรรม Public Seminar หลักสูตร “Passion & Happiness Capital (Intangible Assets) Development for Maximizing Value” ในวัน พุธที่ 25 มกราคม 2555 เวลา 09.00-17.00น. ณ โรงแรมแกรนด์ มิลเลนเนียม ถนนสุขุมวิท กรุ งเทพฯ หลักสูตรนี ้ ใช้ วธิ ีการและบรรยากาศในการเรียนรู้ที่มงุ่ เน้ นการจุดประกายการสร้ างความคิดสร้ างสรรค์จากแรงปรารถนาที่แรงกล้ าภายใน และ แนวคิดการสร้ างทุนแห่งความสุขเพื่อความสมดุลในชีวิตและการทางาน โดยวิทยากรชันน ้ าที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาตามความปรารถนาอย่างมุง่ มัน่ : ศ.ดร.จีระ

หงส์ ลดากรมภ์ และ

Mr.Bruce Hancock .. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ โทร. 0-2619-0512-3 หรือ 086-777-5163

ติดตามสื่อเพื่อการพัฒนาความรู้ และติดอาวุธทางปั ญญา กับ Chira Academy’s Medias  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ สูศ่ ตวรรษใหม่ ทาง NBT ออกอากาศทุกวันเสาร์ สปั ดาห์ที่ 4 ของเดือน (เดือนละ 1 ครัง้ ) เวลา 01.00-01.50 น.  ติดตามชมรายการโทรทัศน์ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น.. กับ ดร.จีระ ทางเจริ ญเคเบิ ้ลช่อง 8 ออกอากาศทุกวันศุกร์ และวันอังคาร เวลา 12.00-12.30 น. ตอน การพ ัฒนาทุนมนุษย์เพือ ่ รองร ับอาเซียน+ น+จีน ออกอากาศวั ออกอากาศวันศุกร์ท ี่ 16 และวันอังคารที คารที่ 20 ธ.ค. ระหว่างเวลา 12. 12.0000-12. 12.30 น.

 ติดตามฟั งรายการวิทยุ Hard Talk.. Thailand ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00 – 16.00 น. ที่คลืน่ เนชัน่ 90.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต  ติดตามฟั งรายการวิทยุ Human Talk ทุกเช้ าวันอาทิตย์ เวลา 06.00 – 07.00 น. ที่คลืน่ 96.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนร่ วมสร้ างสรรค์ รายการอย่ างดีย่งิ เสมอมา

7


 ภาพข่าวกิจกรรมประจาสัปดาห ์

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ได ้รับเกียรติจาก สถาบัน AKI (Asian Knowledge Institute) เชิญเป็ นวิทยากรบรรยาย หัวข ้อ Asian Business Leadership Development: Multiple Generation in Workplace (8 ธันวาคม 2554)

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และทีมงานเดินทางไปเยีย ่ มและ ให ้ความรู ้กับกลุม ่ เกษตรกรรมไร ้สารพิษและลุงอินและ กลุม ่ ชาวบ ้านบุไทรโฮมเสตย์ วังน้ าเขียว (10 ธ.ค.54)

มูลนิธพ ิ ัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศได ้จัดการประชุม ระดมสมองเพือ ่ หารือแนวสทางการทางานของสถาบันคุณวุฒ ิ วิชาชีพ ได ้รับเกียรติจากทีป ่ รึกษาผู ้ช่วยรัฐมนตรีประจาสานัก นายกรัฐมนตรี 2 ท่าน คือ ดร.มัฆวาฬ สุวรรณเรือง และคุณ อาภากร เผือกสุวรรณ ร่วมประชุมและให ้ข ้อคิดเห็น (9 ธ.ค. 54)

ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ บรรยายเรือ ่ ง TEAM WORK: ่ วามเป็ นเลิศของศาลจังหวัดสีควิ้ ให ้กับ รหัสลับสูค บุคลากรศาลจังหวัดสีควิ้ (13ธ.ค. 54)

คณะทางาน ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ วราพร ชูภก ั ดี จงกลกร สิงห ์โต เอราวรรณ แก ้วเนื ้ออ่อน จิตรลดา ลียากาศ กฤษณะ ปัญญาผล เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล อรวี จันทร ์ขามเรียน

(บรรณาธิการอาวุโส)

มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ชัน้ 7 อาคาร เอส พี (ตึก B) เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 Tel: 662 619 - 0512-3 Fax: 662 273 – 0181 www.chiraacademy.com e-mail: dr.chira@hotmail.com Blog: www.gotoknow.org/blog/chiraacademy สนใจสมัครสมาชิก (ฟรี ) Tel: 0-2619-0512-3

8


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.