Newsletter
จดหมายข่าว ฉบับที่ 3/2554 (5 – 12 ธันวาคม 2554)
ฑีฆา ยุโก โหตุ มหาราชา
ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข ้าพระพุทธเจ ้า.. ผู ้บริหารและคณะทางาน มูลนิ ธพ ิ ฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ และ Chira Academy
สารบัญ
เปิ ดจดหมายจาก ดร.จีระ
บทเรี ยนจากความจริ งก ับดร.จีระ ฉบับล่าสุด (3.12.54) 2 บทเรียนผูน้ ากับ Paradox จากการอ่านหนังสือประวัติ อับราฮัม ลินคอล ์น
สวัสดีครับสมาชิกจดหมายข่าว FIHRD – Chira Academy Newsletter ที่รัก ทุกท่าน ขอใช้ ชื่อใหม่วา่ “FIHRD – Chira Academy Newsletter” เพราะจดหมาย วิสย ั ทัศน์.. อาเซียน 4 ข่าวฉบับนี ้ ผมตังใจจะให้ ้ เป็ นการทางานร่วมกันของมูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างประเทศ และ Chira Academy เพื่อที่จะผนึกกาลังสร้ างสรรค์สาระความรู้ดี ๆ คิดเป็ น.. ก้าวเป็ น..ก ับ ดร.จีระ และส่งต่อไปให้ ถงึ สมาชิกของเราทัง้ 2 องค์กร ผูห้ ญิง.. ผูน้ า (ตอนจบ) 6 FIHRD – Chira Academy Newsletter ฉบับที่ 3 นี ้ ผมและคณะขอ เทิดพระเกียรติและสดุดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ฯ ของปวงชนชาวไทยทุกคน ข่าวประชาสัมพันธ ์ 8 วันที่ 5 ธันวาฯ 2554 ในโอกาส เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา คนไทยทุกคนคงจะได้ ฟังพระราชดารัสของท่าน และทุกครัง้ “มีความหมายที่ ลึกซึ ้งสาหรับประเทศไทยของเราเสมอ” และทุกครัง้ ท่านมองการพัฒนาประเทศไทย แบบยัง่ ยืน 5 ธันวาคม ปี นี ้ พระองค์ทา่ นได้ ทรงตรัสถึงการแก้ ปัญหาระยะยาวในจัดการ น ้าอย่างยัง่ ยืน ซึง่ หากรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์เข้ าใจ และมีความตังใจ ้ จริงใจที่จะแก้ ปัญหาอย่างจริ งจังประชาชนก็คงจะมี ความหวังมากขึ ้น บทบาทหน้ าที่ที่สาคัญของนายกฯยิ่งลักษณ์และรัฐบาลในวันนี ้ต้ องไม่สบั สนเรื่ องเป้าหมายทางการเมือง เช่น ต้ องตอบ ประชาชนกว่า 65 ล้ านคนได้ วา่ การที่ไม่ลดงบประมาณประชานิยมจะสอดคล้ องกับการบริ หารอนาคตของน ้าท่วมแบบยัง่ ยืนได้ หรื อไม่? ซึง่ แปลว่า คุณธรรม จริ ยธรรมต้ องมาก่อน – ปั ญญาต้ องมีมากกว่าอานาจทางการเมือง และวางแผนหรื อสิง่ ที่ทาในระยะ สันต้ ้ องสอดคล้ องและไม่ทาให้ ระยะยาวเสียหาย – จดหมายข่าวฉบับนี ้ แม้ เป็ นเพียงเสียงเล็ก ๆ แต่ก็จะตังมั ้ น่ ที่แสดงความคิดเห็น เพื่อพัฒนาประเทศไทยให้ มีความสุขอย่างยัง่ ยืนด้ วยความจริ งใจ อยากให้ ทกุ คนช่วยกันครับ ... จีระ หงส์ ลดารมภ์ 1
บทเรียนผูน้ ากับ Paradox จากการอ่านหนังสือประวัติ อับราฮัม ลินคอล์น เนื่องในวันอันเป็ นมิง่ มหามงคลเฉลิมพระ ข้ อแรก คือ ใฝ่ รู้ ชอบเรี ยน แต่ไม่ได้ เรี ยนเป็ นทางการ ชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ข้ าพระพุทธเจ้ าขอ เรี ยนด้ วยตัวเอง น้ อมเกล้ าฯถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ขอ ชอบวิทยาศาสตร์ กฎหมายและสังคมศาสตร์ จงทรงพระเจริ ญยิง่ ยืนนาน อดทน เพราะล้ มเหลวตลอด แต่ลกุ มาสู้ไม่ท้อถอย น ้าเริ่ มลด ประเทศต้ องฟื น้ ฟู คนไทยตังสติ ้ อยูก่ บั มุง่ มัน่ เช่น ต้ องเลิกทาสให้ ได้ ธรรมชาติ มองอนาคตรวมกัน วันนี ้ผมคิดว่า หลังน ้าท่วม คนไทยควรจะมีอะไรที่ ถึงเวลาหาแนวคิดบ้ างไปช่วยให้ ทนุ มนุษย์ของคน ลึกๆ (Deep dive) เพื่อเป็ นทุนมนุษย์นาไปปรับปรุงตัวเอง ไทยดีขึ ้น เพราะวิกฤติต้องสร้ างโอกาส (Empowerment) ช่วงน ้าท่วม ผมอ่านหนังสือ 2 เล่ม เกือบจบแล้ ว จากการอ่านหนังสือเล่มนี ้ และเล่มอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ เล่มแรก ได้ พดู ไปหลายครัง้ แล้ วคือ Steve Jobs Lincoln ก็พบคาๆหนึง่ ซึง่ สาคัญมาก ภาษาอังกฤษเรียกว่า บุคคลที่เก่งเรื่ องนวัตกรรม เอาจุดดีมาใช้ แต่อย่าเหมือน Paradox ภาษาไทย แปลว่า กฎสวนทาง หลายเรื่ อง เช่น ไม่ให้ เกียรติคน ดูถกู คน ตามใจตัวเอง Paradox เป็ นเรื่ องเดียวกัน แต่วิ่งสวนทางกัน ซึง่ ถ้ า มารยาทไม่ดี ไม่เข้ าใจ สนใจแค่ ทางใดทางหนึง่ ก็อาจจะนาไปสูค่ วาม แต่เล่มที่ผมกาลังอ่านเกือบจบ ได้ แสดงความเห็น ล้ มเหลวได้ ไปบ้ างใน facebook ก็คือประวัติของ ลินคอล์น ซึง่ เกิดที่ ตัวอย่างของ Lincoln คือเป็ นผู้นาประเภท บริ หาร อเมริ กากว่า 200 ปี แล้ ว เป็ นประธานาธิบดี ช่วง 1861 – จัดการ Paradox ได้ คือ เข้ าใจธรรมชาติของปั ญหา เช่น ก่อน 1865 ก็เกือบ 150 ปี แล้ ว จะเลิกทาส มี Paradox อย่างรุนแรง รัฐตอนเหนือ ไม่ต้องการทาส รัฐตอนใต้ ต้ องการทาส หน ังสือเรือ ่ ง A.Lincoln Lincoln คงจะรู้ความจริ งของสองภูมิภาคไม่ เขียนโดย Ronald เหมือนกัน C.White,JR. ภาคใต้ ต้องการ แรงงานราคาถูก เพราะปลูกและ หนังสือเล่มของ Lincoln ก็คล้ ายๆกับหนังสือของ เก็บฝ้าย เน้ นการเกษตรเป็ นหลัก ก็ต้องมีทาสไว้ ทางาน Steve Jobs ผู้เขียน Ronald – White เก่งเพราะต้ องย้ อน ภาคเหนือ เน้ นภาคอุตสาหกรรม ต้ องการแรงงาน มี ประวัติศาสตร์ เพราะตายไปกว่า 150 ปี ไปเก็บข้ อมูลหรื อ ฝี มือ ไม่ต้องการทาสมาทางาน สัมภาษณ์มาได้ อย่างไรก็ไม่ทราบและได้ เห็นชีวติ ของ มีหนังสือเรื่ องทีเ่ กี่ยวกับ Lincoln หลายเล่ม ซึง่ เน้ น Lincoln ตังแต่ ้ วยั เด็กและช่วงทางานก่อนเสียชีวิต มี ภาวะผู้นา ผมไม่เคยเห็นศักยภาพของผู้นาแบบนี ้มาก่อน รายละเอียดมากมาย แบ่งแยกเป็ นช่วงๆตังแต่ ้ เด็ก มี Lincoln เป็ นผู้นาที่เก่งในการบริหารและจัดการ Paradox คือ โครงสร้ างหนังสือดี เข้ าใจแรงผลัก ที่สวนทางกัน พยายามหาทางออกให้ สาเร็ จ 2
วันนี ้ผมจะประยุกต์แนว Paradox กรณีศกึ ษาใน ไทย มาให้ ดเู พื่อสะท้ อนความจริงว่าเราจะศึกษาผู้นาอย่าง Lincoln ในการจัดการ Paradox เหล่านี ้ให้ เกิดคุณค่าต่อ ประเทศไทยในระยะต่อไปหรื อไม่? เพราะ ผู้นาของไทยไม่วา่ จะเป็ นการเมืองหรื อ ข้ าราชการ แค่จดั การปั ญหาปกติก็ทาได้ ลาบาก ถ้ าจะต้ อง จัดการ Paradox ซึง่ เป็ นพลังที่สวนทางกันก็คงไม่งา่ ย แต่ก็ อาจจะเป็ นตัวอย่างและบทเรียนที่ดี ที่ได้ เรี ยนรู้ในการเป็ น ผู้นาของ Lincoln ผมจึงจะยกตัวอย่าง Paradox สัก 3 เรื่ องใหญ่ใน ประเทศไทย เพื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ เข้ าใจและหาทางออกร่วมกัน Paradox ที่ 1 งบประมาณแผ่ นดินปั จจุบนั 1. งบประมาณแผ่นดินของประเทศไทย มีถึง 2 ล้ าน 4 แสนล้ านบาท ปี 2555 2. เมื่อเทียบกับงบประมาณของไทย เมื่อประมาณ 50 ปี ที่แล้ ว สมัยพ่อผมเป็ นรัฐมนตรีฯคลัง มีแค่ 8 พันล้ าน ถ้ าไม่จดั การ Paradox ให้ ดีก็จะเป็ นแหล่งทามาหา กินของข้ าราชการ ตัวอย่างเช่นกรณีปลัดฯสุพจน์หรื อ กรณี นักการเมืองมากมายให้ เห็น จนกระทัง่ มีคา่ นิยมว่า ถ้ า“ ”ยยากรวยต้ ยงเปป นนักการเมายง
Paradox ที่ 3 จานวนมายถายกับประโยชน์ ท่ ี ประเทศได้ รับ 1. 20 ปี ที่แล้ ว คนมีมือถือน้ อยมาก น่าจะจานวนแค่ หมื่นเครื่ อง 2. ปั จจุบนั 2555 มีจานวนมือถือ กว่า 60 ล้ านเครื่ อง 3. ปริ มาณมากขึ ้น แต่ประโยชน์ที่ได้ รับจากมือถือ น้ อยมาก เพราะใช้ คล้ ายๆ โทรศัพท์ 4. เสียทรัพยากรโดยไม่จาเป็ นโดยเฉพาะ เงินตรา ต่ างประเทศ 5. คนรวยก็คือ “บริษัทที่ได้ รับสัมปทานมายถาย”
สรุ ป Paradox ที่ 2 คุณภาพขยงปริญญาตรีกับปริมาณ 1. 50 ปี ที่แล้ ว คนจบปริ ญญาตรี น้อยมาก แต่มคี ณ ุ ภาพดี 2. ปั จจุบนั คนจบปริ ญญาตรี มมี ากมาย แต่คณ ุ ภาพตกตา่ 3. ถ้ าไม่บริ หารหรื อจัดการ Paradox ให้ ดี ประเทศไทยก็จะ ล้ าหลัง เปรี ยบเทียบคุณภาพทุนมนุษย์กบั ประเทศใน ASEAN ทางานไม่เป็ น อาจจะ เรียกว่า ล้ มละลายทาง ปั ญญา 4. นี่คือที่มาของการซื ้อ ขายตาแหน่ง วิ่งเต้ นนักการเมือง
ผู้นาในยุคใหม่ต้องเรี ยนรู้ผ้ นู าในยุคเก่าอย่าง Lincoln Lincoln สามารถจัดการ Paradox เหล่านี ้ได้ ท่านผู้อา่ นก็นาไปพัฒนาดูวา่ เราจะใช้ ประโยชน์จาก การอ่านแนวคิดของผู้นาอย่าง Lincoln ได้ อย่างไร? จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com
3
วิสย ั ทัศน์.. ..อาเซียน ASEAN VISION โดย ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ ้ คนไทยควรสนใจประเทศพม่ามากขึน
1. ผมทางานให้ มลู นิธิฯ มีโอกาสรู้จกั พม่ามากกว่า 10 ปี มี งานทากับพม่าเรื่ อง ทุนมนุษย์หลายเรื่ อง 2. พม่าคราวนี ้ Change จริ ง หลังจากรัฐบาลทหารครองมา นานก็เริ่ มเปิ ดประเทศอย่างเป็ นรูปธรรมขึ ้น 3. ครัง้ นี ้ผมเดินทางไปพุกาม ซึง่ ต้ องนัง่ เครื่ องบินไปย่างกุ้ง และต่อไปอีก 1 ชัว่ โมง เดินทางลาบากมาก 4. แต่ถึงเมืองพุกามก็ค้ มุ ค่าเป็ นเมืองเก่าทางวัฒนธรรมและ เต็มไปด้ วยกลิน่ ไอของศาสนาพุทธ มีเจดีย์เริ่ มต้ นกว่า 900 ปี เคยนับได้ 4,000 ปั จจุบนั ที่มีขึ ้นทะเบียนแล้ ว 2,400 5. ข้ อแรกก็คือ มองจากมุมท่องเที่ยว คนไทยก็มี โอกาสควร
ก่อนอื่นขอแนะนาคอลัมน์ใหม่.. ผมตังชื ้ ่อว่า “วิสัยทัศน์ ..ยาเซียน” หรื อ ”ASEAN VISION” ซึง่ จะเป็ นการ นาเสนอสาระความรู้ และมุมมองที่นา่ สนใจ และเป็ นประโยชน์ ต่อคนไทยเพื่อการเตรี ยมความพร้ อมเข้ าสูส่ งั คมอาเซียน หรื อ การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2015 ที่กาลังจะ มาถึงในไม่ช้านี ้ได้ อย่างสง่างาม ท่านสมาชิกสามารถติดตามได้ สปั ดาห์เว้ นสัปดาห์ สลับกับคอลัมน์ “Book Review” ครับ แรงบันดาลใจที่อยากให้ มีคอลัมน์นี ้ใน Newsletter ของเรา เกิดจากการเดินทางไปประเทศพม่าเมื่อไม่กี่วนั มานี ้ เองครับ เห็นว่าการที่คนไทยจะก้ าวสูส่ งั คมอาเซียน เราจะต้ อง สนใจแสวงหาความรู้เกี่ยวกับ 10 ประเทศในอาเซียนมากขึ ้น ต้ องรู้จริง เมื่อรู้แล้ วก็นามาคิดต่อ ทาต่อ เพื่อให้ เราสามารถที่ จะอยูร่ ่วมในสังคมอาเซียนได้ อย่างเข้ มแข็งครับ ผมพาดหัวบทความนี ้ว่า “คนไทยควรสนใจประเทศ พม่ามากขึ ้น” และได้ วิเคราะห์จากมุมมองของผมออกเป็ น ข้ อ ๆ ดังต่อไปนี ้ครับ
จะมาดูและศึกษา ได้ เห็นเปรี ยบเทียบไทยเมือ 50 ปี ที่ แล้ วเป็ นอย่างนี ้ 6. คนไทยต้ องใช้ เวลาเดินทางไปเรี ยนรู้จากประเทศในกลุม่ ASEAN ด้ วยกันให้ ถ่องแท้ รู้จริง 7. การขยายการท่องเที่ยวของพม่า แปลว่า ประเทศไทยได้ เพราะนักท่องเที่ยวจากทัว่ โลกมาพม่าทางเครื่ องบิน ขณะนี ้เข้ าให้ ไทยเป็ นทางผ่าน 62% แต่คแู่ ข่งในอนาคต คือ เวียดนาม ขณะนี ้ผ่านเวียดนามมาถึง 22% และ เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว 8. พม่าต้ องการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการท่องเทีย่ ว อย่างมาก รัฐบาลไทยและมูลนิธิเคยช่วยดูแลบ้ างแล้ ว แต่ ยังไม่พอ 9. ขณะนี ้ทางกระทรวงการท่องเที่ยวของพม่าได้ ขอให้ มลู นิธิ และผมส่งทีมไปฝึ กและสร้ างทุนมนุษย์ให้ แก่ทรัพยากร มนุษย์ในพม่าเรื่ องการท่องเที่ยว ผมยังหาทรัพยากรไม่ได้ 4
แต่ไปคราวนี ้เขาขออีก คงต้ องหาทางช่วยเขาแน่นอน ภูมิใจที่เป็ นคนไทยแต่คนพม่าเห็นคุณค่าของการเรี ยนรู้ 10. ปั จจุบนั จานวนนักท่องเทีย่ วมาในพม่าทังหมดประมาณ ้ 6 – 7 แสนคนเท่านัน้ แต่อตั ราเพิม่ ประมาณปี นี ้ 25% ซึง่ ภายใน 5 ปี ก็คงจะขึ ้นเป็ น 1 ล้ าน 5 แสนคนแน่นอน 11. นักธุรกิจไทยก็ต้องคิดที่จะมาทาการลงทุนร่วมกับพม่า อย่างจริ งใจและระยะยาวอย่าหวังผลสันๆ ้ ต้ องรู้จกั ระบบของพม่าอย่างดี ผมคิดว่าผมคงจะช่วยได้ มูลนิธฯิ ต้ ยงทาเปป น Knowledge Center เรื่ อง.. HR กับ Tourism + การเงินกับ Tourism การตลาดกับ Tourism การลงทุนโครงสร้ างพื ้นฐานกับ Tourism ในพม่ ายย่ างแท้ จริง 12. ไปคราวนี ้ทางผู้จดั Mekong Tourism Forum ให้ เกียรติ ผมเป็ น Speaker ด้ วย ผมได้ เน้ นว่าพม่าเป็ นผู้มาที่หลัง ได้ บทเรี ยนที่ดี จากความล้ มเหลวของไทย เช่น การ เสือ่ มโทรมของทรัพยากรท่องเที่ยวในภูเก็ตหรื อสมุย แต่ ก็ต้องใช้ ทฤษฎี 2R’s มาจับดูวา่ .. อะไรคือสิง่ ที่การท่องเที่ยวพม่าเหมาะสมและมีจดุ แข็ง ใช้ จดุ แข็งและดูบทเรี ยน แต่ต้องให้ ตรงประเด็น (Relevance) Research (วิชาการ) และ Planning Private /Public participation ภาคประชาชนให้ มีสว่ นร่วม คืออย่า Top down แต่ Bottom up ด้ วยคือพบกันครึ่ง ทาง ซึง่ คงทายากในช่วงแรกเพราะรัฐบาลมีการควบคุม มากไป 13. สุดท้ าย..ทางวิชาการ ไทยมีประสบการณ์มากกว่าในการ ผลิตบุคลกร ระดับอาชีวะและปริญญาตรี ซึง่ บางส่วน ไทยต้ องปรับปรุง แต่ตวั แทนมหาวิทยาลัยในพม่า ต้ องการมาดูงาน Study Tour ซึง่ เรื่ องนี ้ทางกระทรวง ท่องเที่ยวพม่าได้ ขอแล้ วว่าจะส่งอาจารย์มหาวิทยาลัย ของพม่ามาดูงานของมหาวิทยาลัยไทย ซึง่ ก็จะได้
ประโยชน์ทงั ้ 2 ประเทศ เพราะพม่าเก่งกว่าไทยมาก เรื่ อง ภาษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ไทยเก่งเรื่ อง การตลาด สร้ าง Brand และอาจจะช่วยร่วมมือกันได้ แบบ Mutual Benefits 14. ที่ยา่ งกุ้ง..ไกด์พม่าพาผมไปดู ถนนติดกับแม่น ้าเห็นตึก เก่าๆ ที่องั กฤษได้ สร้ างไว้ ในช่วงปกครอง ซึง่ ในอนาคตถ้ า มีการบูรณะขึ ้นมาจะสวยงามมากและได้ เรี ยนรู้ เกี่ยวกับ พม่ามากมาย นับว่าเป็ นแหล่งท่องเที่ยวดึงดูดให้ นักท่องเที่ยวได้ เห็นอดีตทีง่ ดงามและเจ็บปวดพร้ อมกันไป 1. อังกฤษปกครองพม่าอยูก่ ว่า 100 ปี 1824 – 1948 ผมถามคนพม่าว่ามีความเห็นในเรื่ องนี ้อย่างไร? พบว่า.. คนอายุเกิน 50 ปี ไม่ชอบอังกฤษ คนรุ่นใหม่ ไม่สน สนแต่ IT , BB , ดารา, กีฬาบ้ าง คงคล้ ายๆ สังคมวัยรุ่นทัว่ โลก ไม่คิดอดีต ซึง่ น่ากลัว จะเป็ นสังคมแบ่งแยกมากกว่าสังคมบูรณาการ 15. ช่วงอังกฤษปกครอ มีคณ ุ ประโยชน์ตรงที่วา่ กลุม่ ชนต่างๆ ไม่รบกัน 16. หลังปี 1948 ถือว่ามีสงครามกลางเมือง (Civil Wars) คือ แต่ละเผ่าไม่ยอมกัน 17. ผมเองจะต้ อง ศึกษาภูมิศาสตร์ พม่ามากขึ ้น เพราะ บางส่วนติดจีน บางส่วนติดอินเดีย บางส่วนติดลาว และ บางส่วนติดไทย 18. ผมและคณะที่มลู นิธิจะศึกษาชนกลุม่ ต่างๆ และติดตามดู ว่าหลังจากเปิ ดประเทศ ผ่อนคลายกฎระเบียบ อาจจะให้ มีการเลือกตังเสรี ้ ทหารกล้ าแบ่งปั นอานาจให้ อองซานจะ แก้ ชนกลุม่ น้ อยอย่างไร? 19. เนื่องจากเป็ นผู้อยากรู้ อยากเห็น จึงถามคนพม่าตรงๆ หลายเรื่ อง ชอบอองซานไหม? อนาคตจะเป็ นอย่างไร? 20. ก็มีคาตอบว่า.. อองซาน ซูจี ต้ องมีทีมงานที่หลากหลาย มีกลุม่ เก่าและกลุม่ ใหม่ช่วยงาน มองพม่าแบบ 2R’s ********************************* 5
ผูห้ ญิง..ผูน้ า (ตอนจบ) สวัสดีทา่ นสมาชิก FIHRD - Chira Academy Newsletter ทุกท่านค่ะ สาหรับคอลัมน์ “คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น กับ ดร.จีระ” ใน สัปดาห์นั ้ เราก็ยงั มีมมุ มองที่นา่ สนใจอีกหลายประเด็น เรื่ อง ผู้หญิง.. ผู้นา จากมุมมองของนักคิด นักปฏิบตั ิ ทัง้ 3 ท่าน คือ ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ผศ.มาลี พฤกษ์ พงศาวลี และที่ขาดไม่ได้ คือ ศ.ดร.จีระ หงส์ ลดารมภ์ ซึง่ เป็ นผู้ทเี่ รี ยงร้ อย นาเสนอประเด็นเรื่ องผู้หญิง.. ผู้นา ให้ มีความน่าสนใจ และจะเป็ นแนวทางทีเ่ ป็ นประโยชน์เพื่อการพัฒนาภาวะผู้นา หรื อ ผู้นาใน แทบจะทุกระดับและปรับใช้ ได้ จริงกับทุก ๆ คน ค่ะ -----------------------------------------------------------------------------------
ผู้หญิง..ผู้นา (ตอนที่ จบ)
ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
ผศ.มาลี พฤกษ์ พงศาวลี
บทความครัง้ ที่แล้ วท่านอาจารย์จีระได้ ทิ ้งท้ ายไว้ ว่า.. แม้ อปุ สรรคของผู้หญิงที่จะต้ องรับบทบาทต่าง ๆ ที่สาคัญมาก เท่า ๆ กัน ไม่ว่าจะเป็ นต่อครอบครัว หน้ าที่การงาน หรือ สังคม แต่การพัฒนาผู้หญิงให้ สามารถก้ าวสู่การเป็ นผู้นาในทุก ๆ ระดับ นันเป็ ้ นเรื่องที่สาคัญ สิ่งที่พวกเราหรือทุกภาคส่วนจะต้ องคิดต่อ และทาต่อก็คอื ลดอุปสรรคต่าง ๆ และการพัฒนาผู้หญิงให้ ก้าว ขึ ้นเป็ นผู้นาในทุก ๆ ระดับของสังคมเราได้ สาเร็จควรจะต้ องทา อย่างไร? เพราะนัน่ หมายถึงประเทศไทยของเราจะมีความ แข็งแกร่งเพิ่มขึ ้นเป็ นทวีคณ ู ผู้หญิง.. ผู้นา กับ การเมายง – เรื่องนี ้ ดร.คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช ได้ ให้ ความเห็นไว้ ว่า.. “การเมืองเป็ นเรื่อง ของทุกคน.. ถ้ ามีผ้ หู ญิงเข้ ามาก็อาจได้ รับการพิจารณาในด้ านที่ ผู้ชายอาจจะคิดไม่ถงึ ตัวอย่างมีงานวิจยั ที่อเมริกาได้ บอกว่า..ถ้ า มีผ้ หู ญิงเข้ ามาในการเมืองก็จะออกกฎหมายบางฉบับที่ผ้ ชู ายไม่ เคยคิดมาก่อน เกี่ยวกับเรื่องสตรี เรื่องเด็ก หรือเรื่องคนชรา”
ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์
นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนปั จจุบน ั และครอบครัว
ยาจารย์ จรี ะ กล่าวต่อว่า “สรุปก็คอื หากจะวิเคราะห์ เปรียบเทียบเรื่องภาวะผู้นาของผู้หญิงกับผู้ชายนัน้ อาจจะขึ ้นอยู่ กับสถานการณ์ บริบท และโอกาสซึง่ อาจจะแตกต่างกัน ผศ.มาลี พฤกษ์ พงศาวลี เสริมต่อว่า “จุดเริ่มต้ น คือ เพศหญิงกับเพศชายเป็ นเพศที่ธรรมชาติสร้ างให้ มาอยู่ด้วยกัน และต้ องอยู่ในลักษณะของการช่วยเหลือเกื ้อกูลกัน มนุษยชาติ ถึงจะต้ องสืบทอดต่อไปได้ แต่ ณ จุดหนึง่ ก็ปรากฎว่า เพศชาย เป็ นเพศที่ผกู ขาดอานาจในทางอาณาจักร แล้ วก็ในทางศาสน จักร ซึง่ ประเด็นนี ้มีมาแต่โบราณจนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั คือ ผู้ชาย เป็ นคนวางระเบียบ กฎเกณฑ์ กติกา ของสังคม ผู้หญิงมีหน้ าที่ ในการปฏิบตั ิตาม ผู้หญิงอาจจะไม่เห็นด้ วย แต่ว่าผู้หญิงก็เงียบ ไม่โต้ แย้ ง แล้ วผู้ชายก็คิดว่าผู้หญิงยอมรับสถานการณ์แบบนัน้ ผู้หญิงมีความสุขแล้ ว แต่ในขณะนี ้เราต้ องยอมรับว่าขบวนการ สิทธิสตรีที่เริ่มจากมาชุมชนเล็ก ๆ จนถึงระดับประเทศเป็ น ขบวนการสิทธิสตรีในระดับสากลแล้ ว และผู้หญิงจะไม่เงียบอีก ต่อไป เรื่องความแตกต่างระหว่างผู้หญิงกับผู้ชายมีอยู่ที่ระบบ 6
สืบพันธุ์แล้ วก็ภาระกิจในทางธรรมชาติ คือ ผู้หญิงตังท้ ้ อง อุ้ม ท้ อง ให้ นมลูก แล้ วก็เลี ้ยงดูด้วย เพราะฉะนันภาวะในทาง ้ ธรรมชาติทาให้ ผ้ หู ญิงนันไม่ ้ สามารถแสดงบทบาทในฐานะ ผู้นาได้ อย่างเต็มที่” “ซึง่ แปลว่า มันก็ยงั มีช่องว่างที่ทาให้ ผ้ หู ญิงไปสูจ่ ดุ ที่ มันสูงกว่า? ในฐานะที่ผมเป็ นนักทรัพยากรมนุษย์.. ศักยภาพ ของความเป็ [ นผู้นาบางครัง้ จะนาเราไปสูจ่ ดุ อีกจุดนึงได้ เพราะฉะนันถ้ ้ ามีผ้ หู ญิงมากกว่านี ้ แล้ วก็มีภาวะผู้นามากกว่านี ้ แล้ วก็ร้ ูจดุ อ่อนว่าในอดีต คือ อะไร เราก็สามารถพัฒนาไปสูอ่ ีก จุดหนึง่ ได้ ใช่ไหม?” ยาจารย์ จีระเสริม ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช แสดงความคิดเห็น ต่อว่า.. “หนึง่ ผู้หญิงสามารถมีความรู้ ความสามารถในการ พัฒนาไปได้ เพียงแต่วา่ โอกาสยังไม่เอื ้อ สอง คือ ปริ มาณ จานวนคนยังไม่มากพอที่จะเป็ นที่ร้ ู หรื อ เป็ นที่ยอมรับให้ กบั สังคมรับความสามารถในการเป็ นผู้นาของผู้หญิงได้ เท่าเทียม กับผู้ชาย ตัวอย่าง เช่น เวลาลงเลือกตังจะเห็ ้ น ว่าบางทีเขาจะ บอกว่าถ้ าเป็ นผู้ชายก็จะลุยได้ แต่บางทีผ้ หู ญิงลุยได้ มากกว่าก็ มี อีกประเด็นหนึง่ คือ ทังโลกตะวั ้ นตกและตะวันออกเป็ นที่ ยอมรับ แต่วา่ ไม่ได้ กระจายหรื อเผยแพร่ขา่ ว ก็คือว่า ความสาเร็จของผู้ชายทุกคน ผู้หญิงก็มีสว่ นค่ะ อย่างการเลี ้ยง ดูลกู จะเห็นว่าผู้หญิงอยูเ่ บื ้องหลัง.. “ “ผู้หญิงอยูเ่ บื ้องหลังจะเป็ นพลังผลักดัน” ผศ.มาลี พฤกษ์ พงศาวลี ย ้า ยาจารย์ จีระ เสริมว่ า.. “เห็นได้ ชดั ว่า สุภาพสตรี หรื อผู้หญิง..ถึงแม้ วา่ จะมีปัญหาอยูบ่ ้ างเรื่ องทีผ่ ้ ชู ายมีอานาจ การตัดสินใจมากกว่าในอดีต แต่วา่ เมื่อถึงจุดหนึง่ แล้ ว เขาเห็น สิง่ เหล่านี ้แล้ วก็จะพุง่ ไปสูอ่ ีกจุดหนึง่ ได้ ก็หมายความว่า Leadership ยังเป็ นโอกาสของผู้หญิงอยู่ แล้ วก็โอกาสอันนี ้เนี่ย ก็จะมีมากขึ ้น เพราะว่าผู้หญิงสามารถบริ หารเวลาของตัวเอง กับครอบครัว กับงานได้ ดีขึ ้น เพราะว่าวันนี ้เรามีเครื่ องอานวย ความสะดวกหลายอย่าง อย่างเช่น ผู้หญิงอาจทางานอยูท่ บี่ ้ าน บางทีมีผ้ หู ญิง หลายคนอาจจะอายุ 40 ปี มีลกู เรี ยบร้ อยแล้ ว แต่เขาไม่ ต้ องการทางาน Full time เขาอาจทางานที่บ้าน ส่งงานผ่าน อินเตอร์ เน็ต อาจจะเป็ นโอกาสให้ ผ้ หู ญิงได้ เลือกทังสองอย่ ้ าง ได้ อาจจะทางานแค่ 3 วันต่ออาทิตย์ แต่วา่ Productivity อาจจะเท่ากัน”
ผศ.มาลี เสริ มต่อว่า.. “มี 2 ประเด็นทีส่ าคัญ คือ ประเด็นแรก สิง่ ที่สาคัญเหนืออื่นใด คือ ความเข้ าใจและเห็น อกเห็นใจในเพศชายและเพศหญิงในฐานะที่เป็ นเพื่อนมนุษย์ที่ จะต้ องเอื ้อเฟื อ้ เกื ้อกูลกัน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถาบัน ครอบครัวต้ องช่วยเหลือเกื ้อกูล เห็นอกเห็นใจ ปากกัดตีนถีบ ด้ วยกัน โดยเฉลีย่ แล้ วผู้หญิงจะไม่ทิ ้ง แต่เขาอาจจะมี ความรู้สกึ อะไรบางอย่างที่เขาอาจจะอยากโลดแล่นต่อไป คือ ไม่ทิ ้งครอบครัว ไม่ทิ ้งสามี หมายถึง ยอมตายถวายชีวติ อันนี ้ เป็ นข้ อสังเกต อีกประเด็นหนึง่ เราพูดกันในความคิดในเชิงของ มนุษยธรรมทีม่ ีอยูร่ ะหว่างสองเพศ ถ้ าพูดกันในเชิงวิชาการ ปั จจุบนั นี ้มันมี ทฤษฎีสตรี ศกึ ษา ทฤษฎี Famines เรื่ องสิทธิ สตรี ตา่ งๆ แต่รากฐาน ก็คือ การมองคนอื่นว่าเป็ นมนุษย์ เหมือนกัน เพียงแต่วา่ Famines มองถึงความแตกต่างในบาง สิง่ บางอย่างที่มนั เป็ นความแตกต่างทางธรรมชาติ... ที่ผ้ ชู ายไม่ มีประสบการณ์ เช่น ผู้ชายไม่มีประจาเดือน ไม่ตงท้ ั ้ อง ไม่ คลอดลูก เพราะฉะนันผู ้ ้ ชายก็จะไม่เข้ าใจความรู้สกึ นึกคิดส่วน นี ้ของผู้หญิง ผู้หญิง – ผู้นา กับ สังคมโลก? ในเรื่ องนื ้ ดร.คุณหญิงกัลยา ให้ ความเห็นว่า “จุดที่ น่าสนใจก็คือว่าการประชุมระดับโลก หรื อ ในสังคมโลกกับ สตรี สว่ นใหญ่ตงขึ ั ้ ้นมาเพื่อให้ ผ้ หู ญิงได้ ชว่ ยผู้หญิงด้ วยกัน คือ เป็ นเครื อข่าย (Networks) ที่สามารถช่วยเหลือซึง่ กันและกันก็ เพื่อที่จะพัฒนา สุดท้ ายก่อนจบ อาจารย์จีระได้ ให้ สรุปว่า..“ศักยภาพ ของผู้หญิงและการพัฒนายังมีโอกาสอีกมากมาย ถ้ าเรามา ทบทวนอย่างรอบคอบและทาให้ ผ้ หู ญิงเข้ าใจถึง Leadership Potential ของตัวเอง วันนี ้ต้ องยอมรับว่าสังคมปั จจุบนั เราต้ องการผู้หญิง เข้ ามาเป็ นผู้นา แม้ แต่การพูดถึง “Leadership Quality” ซึง่ ผู้ชายเป็ นคนเขียนก็ยงั พูดถึงคาว่า “Moral Authority” ซึง่ ตรง จุดนี ้ส่วนใหญ่ผ้ หู ญิงจะมีมากกว่าผู้ชาย “ ............................................................... ฉบับหน้ าพบกันใหม่นะคะ *^_^* วราพร ชูภักดี ผู้เรียบเรียง
7
ข่าวประชาสัมพันธ์ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่ างประเทศ ร่วมกับ Chira Academy ขอเรี ยนเชิญท่านที่สนใจเข้ าร่วมกิจกรรม Public Seminar หลักสูตร “Passion & Happiness Capital (Intangible Assets) Development for Maximizing Value” ในวัน พุธที่ 25 มกราคม 2555 เวลา 09.00-17.00น. ณ โรงแรมแกรนด์ มิลเลนเนียม ถนนสุขุมวิท กรุ งเทพฯ หลักสูตรนี ้ ใช้ วธิ ีการและบรรยากาศในการเรียนรู้ที่มงุ่ เน้ นการจุดประกายการสร้ างความคิดสร้ างสรรค์จากแรงปรารถนาที่แรงกล้ าภายใน และ แนวคิดการสร้ างทุนแห่งความสุขเพื่อความสมดุลในชีวิตและการทางาน โดยวิทยากรชันน ้ าที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้ านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาตามความปรารถนาอย่างมุง่ มัน่ : ศ.ดร.จีระ
หงส์ ลดากรมภ์ และ
Mr.Bruce Hancock .. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่ โทร. 0-2619-0512-3 หรือ 086-777-5163
ติดตามสา่ยเพา่ยการพัฒนาความรู้ และติดยาวุธทางปั ญญา กับ Chira Academy’s Medias ติดตามชมรายการโทรทัศน์ สูศ่ ตวรรษใหม่ ทาง NBT ออกอากาศทุกวันเสาร์ สปั ดาห์ที่ 4 ของเดือน (เดือนละ 1 ครัง้ ) เวลา 01.00-01.50 น. ติดตามชมรายการโทรทัศน์ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น.. กับ ดร.จีระ ทางเจริ ญเคเบิ ้ลช่อง 8 ออกอากาศทุกวันศุกร์ และวันอังคาร เวลา 12.00-12.30 น. ตอน.. Travel Leaders’ Symposium on Sustainable Tourism in Myanmar ออกอากาศวันอังคารที่ 6 และ วันศุกร์ท ี่ 9 ธ .ค.54 เวลา 12.00-12.30
ติดตามฟั งรายการวิทยุ Hard Talk.. Thailand ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00 – 16.00 น. ที่คลืน่ เนชัน่ 90.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต ติดตามฟั งรายการวิทยุ Human Talk ทุกเช้ าวันอาทิตย์ เวลา 06.00 – 07.00 น. ที่คลืน่ 96.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต
ขยขยบคุณผู้สนับสนุนร่ วมสร้ างสรรค์ รายการยย่ างดีย่งิ เสมยมา
8
ภาพข่าวกิจกรรมประจาสัปดาห ์
ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ เทีย ่ วชมเมืองพุกาม ประเทศพม่า ใน ระหว่างทีเ่ ดินทางไปร่วมเป็ นวิทยากรพิเศษใน การอภิปราย Travel Leaders’ Roundtable Discussion:The Future of Sustainable Tourism in Myanmar (27 พ.ย. 54)
ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ ได ้รับเกียรติจาก สมาคมธุรกิจการค ้า ไทยจีนเชิญร่วมงาน และเป็ นวิทยากรอภิปราย หัวข ้อ “การ พัฒนาทุนมนุษย์กับการค ้าไทย-จีน” ในงาน China Import & Export Commodities Fair ณ อิมแพค เมืองทองธานี (1ธ.ค. 54)
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยเชิญบรรยาย หัวข ้อ “เขตการค ้าเสรีอาเซียน กับ การเตรียมความพร ้อม ของสหกรณ์การเกษตร” หลักสูตร การพัฒนาบุคลากรเพือ ่ พัฒนาสหกรณ์สค ู่ วามสาเร็จ รุ่นที่ 11" ณ โรงแรม ิ ล์ จ.เชียงใหม่ (3 ธ.ค. 54) เชียงใหม่ฮล
ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ อุปนายกสมาคมบาสเกตสบอล แห่งประเทศไทยฯ ร่วมงานเลีย ้ งแสดงความยินดีกับทีม บาสฯ หญิงทีไ่ ด ้รับเหรียญทองและทีมบาสฯ ชายได ้รับ เหรียญเงินในการแข่งขันซีเกมส์ทป ี่ ระเทศอินโดนีเซีย (3 ธ.ค. 54)
คณะทางาน ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ วราพร ชูภก ั ดี จงกลกร สิงห ์โต เอราวรรณ แก ้วเนื ้ออ่อน จิตรลดา ลียากาศ กฤษณะ ปัญญาผล เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล อรวี จันทร ์ขามเรียน
(บรรณาธิการอาวุโส)
มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ชัน้ 7 อาคาร เอส พี (ตึก B) เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 Tel: 662 619 - 0512-3 Fax: 662 273 – 0181 www.chiraacademy.com e-mail: dr.chira@hotmail.com Blog: www.gotoknow.org/blog/chiraacademy สนใจสมัครสมาชิก (ฟรี ) Tel: 0-2619-0512-3
9