FIHRD - Chira Academy
Reviews
เปิ ดจดหมายจาก ดร.จีระ สวัสดีครับ..ท่านสมาชิกที่รักทุกท่าน ฉบับนี ้ผมได้ ปรับเปลีย่ นชื่อจดหมายข่าว ของเราเป็ น
ฉบับที่ 3/2555 (1-15 กุมภาพันธ์ 2555)
สารบัญ บทเรี ยนจากความจริ งก ับดร.จีระ
(ขอเรี ยกสัน้ ๆ ว่า แบ่งปันและนาไปสร ้างมูลค่าเพิ่ม ้ ง กับเหตุการณ์ที่เกิดขึนจริ “REVIEWS”) และอาจจะต้ องปรับเวลาจากทุกสัปดาห์มาเป็ นทุก ๆ 15 วันครับ 2 เรื่อง 2 เพราะจะได้ มีเวลาวางแผน คัดสรรสาระดี ๆ มามอบให้ แก่ทกุ ท่าน และจะได้ ไม่สง่ กัน ประเด็นโป๊ะเช๊ะ บ่อย ๆ จนหลาย ๆ คนคิดว่าเป็ น e-mail ขยะ และไม่เปิ ดอ่าน อยากให้ เป็ นความรู้ที่ทา่ น จาก..จีระ หงส ์ลดารมภ ์ 3 อยากเก็บรวบรวม สะสมเอาไว้ และใช้ ประโยชน์ได้ จริ ง ๆ บทเรี ยนจากความจริ งก ับดร.จีระ ผมมีแรงบันดาลใจทีอ่ ยากให้ จดหมายข่าวของเราเป็ นมากกว่าจดหมายข่าว ้ 6 ประเด็นน่ าสนใจ สัปดาห ์นี มี คือ จะต้ องพัฒนาไปให้ ไกล อาจจะคล้ าย ๆ Harvard Business Review เป็ นความฝั นที่ 4 พวกเราและท่านผู้อา่ นก็คงจะต้ องร่วมมือกันครับ เหมือนกับ 5 คาสาคัญที่ผมยึดเป็ น บทความพิเศษ การกากับดูแลกิจการที่ดีกบ ั แนวทางในการพัฒนาคุณภาพงานของเรา ผมเรี ยกว่า “SQEBB” ประกอบด้ วย ธุรกิจ SME ไทย 7 S – Standard BOOK REVIEW 9 Q – Quality ข่าวประชาสัมพันธ ์ 11 E – Excellent เป็ นข่าว 12 B – Benchmark B – Best Practice จดหมายข่าวฉบับนี ้.. ภาพปกยังคงเป็ นภาพแห่งความประทับใจของพวกเราทีม่ ีโอกาสได้ ไปกราบอวยพรผู้ใหญ่ที่ผม เคารพรักและศรัทธาอีกท่านหนึง่ และท่านเป็ น “ปราชญ์ ของแผ่ นดิน” ทีค่ นไทยให้ ความเคารพและศรัทธา ท่ าน ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ผม คณะกรรมการของมูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประทศ และ ทีมงานเข้ าไปกราบขอพร ขอคาแนะนาจาก ท่านเสมอ ๆ นอกจากพรที่ทา่ นให้ กบั พวกเราทุกครัง้ ยังมีข้อคิด หลัก และปรัชญาที่เป็ นเข็มทิศนาทางให้ กบั พวกเราให้ ดารงชีวิต และ ทางานอย่างมีคณ ุ ค่า มีคณ ุ ภาพ และมีคณ ุ ธรรม ผมจึงขออนุญาตกราบขอบพระคุณท่านอีกครัง้ ครับ ผมยังหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า “Reviews” จะมีประโยชน์.. ท่านอ่านแล้ วเป็ นอย่างไรส่งข่าวถึงกันบ้ างนะครับ.. จีระ หงส์ ลดารมภ์ FIHRD – Chira Academy Reviews..
1
แบ่ งปั นและนาไปสร้ าง มูลค่ าเพิ่มกับเหตุการณ์ ท่ ี เกิดขึน้ จริง 2 เรื่ อง ทีม ่ า: แนวหน ้าฉบับวันเสาร์ท ี่ 11 กุมภาพันธ์ 2555
สาหรับผู้อา่ นหนังสือพิมพ์แนวหน้ าและ www.naewna.com ยังมีอกี ช่องทางหนึง่ ทีเ่ ราจะได้ เชื่อมโยง กัน ใน www.facebook .com แล้ วคลิก Search ที่ Chira Hongladarom ผมจะเพิ่มเพื่อนของ facebook มากขึ ้น Facebook เป็ นอะไรที่เร็ วและแบ่งปั นกันได้ ดี ซึง่ กลุม่ ที่อา่ นแนวหน้ าก็จะมี facebook ของผม บางกลุม่ ทีย่ งั ไม่ได้ อา่ นก็จะได้ เชื่อมโยงกันมากขึ ้น เพราะใน Facebook จะได้ พบกับผมประมาณ 4 – 5 ครัง้ หรื อมากกว่าใน 1 วัน สดและได้ ประโยชน์และยังอ่านเพื่อนของผมอีกมาก ส่วนแนวหน้ าได้ พบกันแค่ สัปดาห์ละ 1 ครัง้ แต่ก็ คุ้มค่าเพราะ ได้ สร้ างแรงบันดาลใจให้ ผมได้ ใช้ พลังสมอง และจินตนาการที่อยูข่ ้ างในส่วนลึกๆ มาช่วยทาให้ มีประเด็น มีคณ ุ ประโยชน์ตอ่ ผู้อา่ นและบางครัง้ อาจจะมีอิทธิพลที่จะ เปลีย่ นวิธีการคิดหรื อเตือนสติคนไทยได้ บ้าง โดยเน้ น 2 R’s R = Reality คือ ความจริ ง R = Relevance คือ ตรงกับประเด็นที่จะนาไปใช้ หรื อแก้ ปัญหาหรื อเพิ่มมูลค่า วันนี ้เลยจะยกตัวอย่างเหตุการณ์จริ งๆ 2 เรื่ องที่ เกิดขึ ้น เมื่อสัปดาห์ที่ผา่ นมาแล้ วกระตุ้นให้ ผ้ อู า่ นได้ นาไปคิด และสร้ างมูลค่า แต่ก่อนจะไปถึง2 เรื่ องที่เกิดแล้ ว จะขอฝากผู้อา่ น 2 เรื่ องที่ยงั ไม่เกิดแน่ แต่ถ้าเกิดจะมีผลอย่างไรต่อประเทศ ของเรา เรื่องแรก คือ วันศุกร์ ที่ 10 กุมภาพันธ์นี ้ จะมี รายการของรัฐบาล ผมจาชื่อไม่ได้ รักประเทศไทย เป็ นการ ใช้ สตู รฝรั่ง คือเมื่อทางานสาเร็ จจะฉลองหรื อ Celebrate รัฐบาลฯคุณปู คงมีที่ปรึกษาจากภาคเอกชน แนะนาว่าเอาชนะน ้าท่วมแล้ ว Celebrate ซึง่ ก็แปลก พอควรเพราะ ถ้ าดูจากผลงานทีผ่ า่ นมาและผลงานที่กาลัง
ทาในปี 2555 อยูย่ งั ไม่แน่ใจว่าสาเร็ จหรื อล้ มเหลวกันแน่ แต่คณ ุ ทักษิ ณและคุณยิง่ ลักษณ์อาจจะคิดว่าคนไทยลืม ง่ายเลย Celebrate โดยใช้ การตลาดนาและช่วงที่เขียนบทความ ยังสับสนว่า ป๋ าเปรมจะมาเป็ นประธานจริ งตามข่าวหรื อไม่? เรื่องที่ 2 จะเกี่ยวหรื อไม่กบั เรื่ อง ฉลอง แต่เกี่ยวกับศาล รัฐธรรมนูญรับพิจารณาพระราชกาหนด
2
ฉบับว่า
ผิด
รัฐธรรมนูญหรื อไม่? ถ้ าผิดก็หมายความว่า คุณปูในฐานะนายกรัฐมนตรี น่า จะต้ องรับผิดชอบเพราะเป็ น พ.ร.ก.การเงิน ถึงขนาดต้ องลาออก หรื อไม่? ต้ องดูตอ่ ไป เหตุการณ์ ท่ เี กิดขึน้ 2 เรื่อง นาไปต่อยอดของผู้อา่ น อาจจะไม่ใช่เหตุการณ์ใหญ่โต ไม่มีเงินเยอะๆ ไม่มีนกั การเมือง ระดับบิ๊กๆมา แต่ก็นา่ คิดว่า ทาไมประเทศสยามของเราจึงอยูไ่ ด้ และทาไมคนไทยดีๆ ถ้ าอดทนรวมตัวกันอาจจะช่วยประเทศได้ มากๆ และเป็ นจริ งด้ วย อย่ างงานแรก เป็ นงานสาคัญของบรรดาลูกแม่ราเพย ชื่อ ว่า Knowledge Camping คือ โครงการเทพฯ เป็ นหนึง่ เป็ น กิจกรรมค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนเทพศิรินทร์ ทงั ้ 10 โรงเรี ยน ครัง้ ที่ 13 เปิ ดตัวเมื่อวันที่ 2 และจบวันที่ 5 กุมภาพันธ์ที่ผา่ นมา ความรู้ในที่นี ้คือ ความรู้ทมี่ ี 2R’s คือตรงความจริ งและตรง ประเด็นกับเยาวชนเทพศิรินทร์ นาไปปฏิบตั ิ ไม่ใช่แคมป์สอบเข้ า มหาวิทยาลัย พอเข้ ามหาวิทยาลัยได้ ก็เบื่อการเรียน ไม่เป็ นผู้ใฝ่ รู้ ใฝ่ แต่วตั ถุและละครน ้าเน่าและมีคา่ นิยมจอมปลอม มี ฯพณฯ พลอากาศเอกกาธน สินธวานนท์ องคมนตรี เป็ น ประธานในพิธีเปิ ดและปาฐกถาพิเศษ 2
คัดเลือกจากเด็กนักเรียน ม.5 จากโรงเรียนเทพ ศิรินทร์ 10 แห่ง ๆ ละ 15 คน จานวน 150 คน ไม่ได้ คดั เฉพาะที่เรี ยนเก่ง คัดเลือกจากเรื่ องอื่นๆด้ วย เช่น การทา กิจกรรม ไหวพริ บดี ความเป็ นผู้นา มีความคิดใหม่ๆหรื อไม่ ทาไปแล้ ว 13 ครัง้ รวม 13 ปี ติดต่อกันทุกๆ ปี วิธีการเรี ยนเป็ นกลุม่ กระตุ้นให้ คิดไปข้ างหน้ าว่า เมื่ออายุ 45 แล้ วเราจะทาอะไร? และประเทศไทยจะเป็ น อย่างไร คราวนี ้มีการสร้ างเครื อข่าย (Network) กับมูลนิธิเรา จะเป็ นคนดี ของพลตารวจเอกเสรี พิศทุ ธ์ เตมียาเวส มาช่วย บรรยายและสนับสนุนค่าใช้ จา่ ยบางส่วนด้ วย เรี ยนในกรุงเทพฯ 1 วัน และขึ ้นรถไฟไปเชียงใหม่ (ขอขอบคุณการรถไฟแห่งประเทศไทยที่ช่วยดูแลการลดราคา เรื่ องการเดินทาง) และเดินทางต่อไปดอยอ่างขาง จ.เชียงใหม่ อยูต่ อ่ อีก 3 วัน อยูบ่ นดอยอ่างขาง เรียนวิชา ประวัติศาสตร์ เช่น - การลดการปลูกฝิ่ นโครงการพ่อหลวง และโครงการ การหลวงต่างๆ เรี ยกว่า ตามรอยพ่ อหลวง เพราะมี โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ 9 อยูบ่ นดอยอ่างขางด้ วย บทเรียนคืออะไร? 1. เด็กเป็ นศูนย์กลาง คิดและวิเคราะห์เป็ น อนาคต ประเทศไทยคืออะไร? ทาจริ งไม่ได้ พดู เฉยๆ 2. ได้ แลกเปลีย่ นกันระหว่าง 150 คน 10 โรงเรี ยน มีมิติทางภูมิสงั คม เพราะโรงเรี ยนเทพศริ นทร์ 10 แห่ง มีทกุ ภาคยกเว้ น ภาคใต้ สรุปว่า แคมป์กวดวิชา สอบเข้ าอาจจะไม่พอ ต้ องมี แคมป์ที่กระตุ้นให้ เด็กได้ ร้ ูจกั โลกความจริง แล้ วอาจจะ กลับไปดูวา่ เรียนหนังสือในระบบเพื่ออะไร? พ่อแม่อย่าบ้ ากวดวิชาเท่านัน้ ลูกจะรู้เรื่ องอื่นๆนอก วิชาการไม่ได้ ปรับตัว ศึกษาความสาคัญ Knowledge Camping ให้ ดี โรงเรี ยนอื่นๆปั จจุบนั ก็ทาไม่ได้ ผมมีโอกาสเป็ นคนร่างหลักสูตร รุ่นแรกเพราะตัวเองได้ ดีตอนอยูเ่ ทพศิรินทร์ สนใจสภาพแวดล้ อมข้ างนอก เพราะสนใจความจริ ง มีน ้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ เรื่ องนี ้ต้ องให้ คณ ุ ทักษิ ณ ศึกษาด้ วย
สนใจความคิดของเพื่อนๆ และแหล่งเรี ยนรู้อื่นๆ เช่น หนัง ละคร ไม่ใช่เชื่อครูเท่านัน้ บ้ าคลัง่ ความคิดสร้ างสรรค์ คิดนอกกรอบ เหตุการณ์ ท่ ี 2 ไปร่วมงานฉลองมหาวิทยาลัยมหาสารคามจัด ครบรอบ 1 ปี คณะวัฒนธรรมศาสตร์ คณะนี ้เริ่ มจากสถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และทาวิจยั และสอน Ph.D และปริ ญญาโทมากว่า 8 ปี มีคนเรี ยนมากมาย ระดับ โทรและเอกกว่า 300 คน ผมเป็ นกรรมการร่างหลักสูตรปริ ญญาเอก และช่วย สอนทุกๆปี ปี นี ้เป็ นการฉลอง 1 ปี ของคณะใหม่ ผมพูดเรื่ อง ทุน ทางวัฒนธรรมกับเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ เน้ นให้ เห็นว่า ในประชาคมอาเซียน 2558 จุดที่สาคัญ คือ ไทยเก่ง คือทุนทางวัฒนธรรมและจะเป็ นผู้นาใน ASEAN ได้ ดี จากการพูดมากว่า 20 ครัง้ ในหลายๆ เวที เกี่ยวกับ อาเซียนเสรี พบว่าประเทศไทยเก่งเรื่ องทุนทาง วัฒนธรรม ได้ พบว่า ทุนทางวัฒนธรรมสาหรับคนไทยสาคัญที่สดุ แต่ยงั มีคนไม่เข้ าใจอีกมาก และต้ องสร้ างมูลค่าเพิ่มได้ อย่างไร? ต้ องคิดให้ ถกู 2 เรื่อง วัฒนธรรมคือ วิถีชีวติ ไม่ใช่แค่อนุรักษ์ วฒ ั นธรรมเดิมๆ เช่น หมอลา เป็ นต้ น ต้ องมีผ้ ปู ระกอบการทางวัฒนธรรมทามูลค่าเพิ่มให้ ได้ เข้ าใจประชาคมอาเซียนจริ งๆและใช้ ทนุ วัฒนธรรมให้ ถูกต้ อง ทุกๆจุดของประเทศไทย เข้ าใจลูกค้ าใน ASEAN หรื อในโลก ที่ต้องบริ โภค สินค้ าที่มีคณ ุ ค่า แต่วดั คุณค่าจากความรู้สกึ ข้ างใน คุณสมชาย เสียงหลาย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรมไป ร่วมอภิปรายด้ วย เรื่ องทุนทางวัฒนธรรมกับอาเซียน เสรี ดีใจทีค่ ราวนี ้จะมีการผลิตปริ ญญาตรี อีกซึง่ หน่วยงาน ไม่วา่ รัฐหรื อเอกชนต้ องมีเจ้ าหน้ าที่วฒ ั นธรรมที่จะสร้ าง มูลค่าเพิม่ ให้ ประเทศไทยต่อไป
3
บรรยากาศการจัด โครงการเทพฯ เป็ นหนึง่ (Knowledge Camping ) เป็ นกิจกรรมค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนเทพศิรินทร์ ทงั ้ 10 โรงเรี ยน ครัง้ ที่ 13 มี ฯพณฯ พลอากาศเอกกาธน สินธวานนท์ องคมนตรี เป็ นประธานในพิธีเปิ ดและปาฐกถาพิเศษ และร่วมจัด โดยมูลนิธิเราจะเป็ นคนดี ของพลตารวจเอกเสรี พิศทุ ธ์ เตมียาเวส เมื่อวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ผา่ นมา
ผมได้ รับเกียรติให้ บรรยาย หัวข้ อ “ทุนทางวัฒนธรรม & เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ” และนายสมชาย เสียงหลาย ปลัดกระทรวง วัฒนธรรม บรรยายหัวข้ อ “บทบาทของวัฒนธรรมในการเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Econimic Communty : AEC)” ในงาน วันสถาปนาคณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา สารครามครบรอบ 1 ปี ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com
สมัยที่ผมริ เริ่ มกิจกรรม International Leadership Forum ของมูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ และทา ต่อเนื่องถึง 5 ปี ซ้ อน (ค.ศ. 1999 – 2004) ความคาดหวังของผม คือ อยากจะมีเวทีให้ คนในโลกคุยกันเรื่ องโลกาภิวตั น์ กับ ทรัพยากรมนุษย์ คล้ าย ๆ กับ World Economic Forum ที่ Davos ซึง่ ผู้ริเริ่ มก็เป็ นนักวิชาการคล้ าย ๆ ผม พอทาไปครบ 5 ปี เริ่ มติดตลาด แต่ชว่ งนันผมได้ ้ รับการแต่งตังเป็ ้ นประธานคณะทางานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เอเปค (พ.ศ. 2547 -2549) Lead Shepherd of APEC HRD Working Group เลยต้ องหยุดไปเพราะต้ องเดินทางมากและไม่มีเวลา วันนี ้พอมีโอกาสได้ ทา FIHRD – Chira Academy Newsletter หรื อจดหมายข่าวเผยแพร่ความรู้ให้ กบั ลูกศิษย์ เครื อข่าย และประชาชนที่สนใจการพัฒนาทุนมนุษย์ในทุกระดับได้ นาความรู้ ความคิด มุมมองดี ๆ ไปปรับใช้ กบั การดาเนินชีวติ และการทางาน และได้ รับความสนใจ ได้ รับ Feedback ที่ดีจากผู้อา่ นว่า..”มีประโยชน์และช่วยพัฒนาทุนมนุษย์ในหลาย ๆ ส่วนได้ จริ ง” ผมจึงมีแรงบันดาลใจที่อยากจะพัฒนาให้ จดหมายข่าวของเราเป็ นอะไรที่คล้ าย ๆ กับ “Harvard Business Review (HBR)” คือ มีประโยชน์และมีคณ ุ ค่าต่อผู้อา่ น เพราะผมอ่าน HRB ทุกเล่ม ได้ เรี ยนรู้ ได้ ข้อคิด และข้ อสรุปง่าย ๆ นามาปรับใช้ จึงอยากให้ Networks ของพวกเราในทุก ๆ ระดับ ตังแต่ ้ CEO ผู้บริ หารระดับสูง HR นักการเมือง ผู้นาท้ องถิ่น ลูกศิษย์ทกุ ๆ กลุม่ ครู อาจารย์ นักเรี ยน นักศึกษา ประชาชนทัว่ ไป สือ่ มวลชน และอื่น ๆ ได้ รับประโยชน์จากงานของพวกเราครับ …… จีระ
4
จีระ หงส์ลดารมภ์
สัปดาห์น้ ี มี 6 ประเด็นน่าสนใจ ทีม ่ า: แนวหน ้าฉบับวันเสาร์ท ี่ 4 กุมภาพันธ์ 2555
เรื่องแรก ผมและคณะมีโอกาสไปกราบดรสุเมธ . ตันติเวชกุล ในวาระขึ ้นปี ใหม่2555 ทุกๆปี ท่านได้ ให้ ความเห็นเรื่ องต่างๆ มีประโยชน์ มากมาย แต่ปีนี ้ คณะกรรมการมูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากร มนุษย์ระหว่างประเทศก็จะถามท่านมากหน่อย เรื่ องน ้าท่วม เป็ นหลัก เช่น เหตุผลที่รับหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาของรัฐบาลคุณ ยิ่งลักษณ์ ท่านตอบได้ วา่ อะไรที่เป็ นประโยชน์ตอ่ ประเทศ ควรจะทา และเหตุผลที่รัฐบาลขอปรึกษาท่านก็คือ โครงการ พระราชดาริ แก้ น ้าท่วมของพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั ฯ แต่ทา่ นก็เตือนรัฐบาลว่า อย่าอ้ างว่าท่านไปช่วย เป็ นที่ปรึกษาแล้ วทุกอย่างจะเรี ยบร้ อย งานส่วนใหญ่ รัฐบาลต้ องรับผิดชอบเอง สรุปได้ วา่ การทางานของรัฐบาลในเรื่ องน ้าท่วม ยังช้ าอยู่ ควรเร่งรัดให้ เร็ วกว่านี ้ นอกจากนันยั ้ งพูดถึงเรื่ อง การดารงตนของท่าน โดยใช้ ธรรมะเป็ นหลัก การรู้จกั ตัวเองและพยายามให้ จิต แยกออกจากกายได้ เป็ นช่วงๆ ผมต้ องขอขอบคุณ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล มา ณ ที่นี ้ ที่กรุณาให้ เวลากับคณะกรรมการ 1 ชัว่ โมงกว่า ทีมงาน ที่ไปด้ วยได้ ความรู้ และประสบการณ์ที่มีคา่ กว่าตาราเรี ยน เรื่องที่ 2 คือ การประชุม Davos ในปี นี ้มี 2 เรื่ องใหญ่ เรื่ องความเหลือ่ มล ้าระหว่างคนรวยกับคนจนใน โลกปั จจุบนั จะทาอย่างไร ความเหลือ่ มล ้าจะค่อยๆหายไป ปี นี ้ Davos มีประเด็นพิเศษ เพราะ คุณยิง่ ลักษณ์ ไปร่วมประชุมด้ วย
ตามปกติระดับนายกฯของประเทศต่างๆก็สามารถเข้ า ร่วมได้ เพราผู้จดั เชิญอยูแ่ ล้ ว ประเด็นก็คือ แสดงฝี มือได้ แค่ไหน? ประเทศไทยได้ หรื อเสีย เรื่ องบุคลิก ความสวยการจัดแฟชัน่ และการแต่งตัวได้ A แต่การใช้ ภาษาอังกฤษและการพูดโดยไม่ใช้ ลา่ มได้ F เลยอยากให้ ผ้ อู า่ นของผมเป็ นคนตัดสินว่า คุณยิ่ง ลักษณ์ เป็ นตัวแทนไทยได้ ดหี รือเปล่ า? เพราะไม่ไปก็ไม่เห็น เสียหายอะไร? เมื่อไปแล้ ว ทาหน้ าที่ขนพื ั ้ ้นฐานไม่ดีเพราะสือ่ สารผิดๆ ก็ทาให้ ชาติเสียหายได้ เรื่องที่ 3 ที่สาคัญคือ มีการชูประเด็นขึ ้นมาว่า ระบบ การเมืองแบบประชาธิปไตยของโลกที่เป็ นๆอยูจ่ ะยัง่ ยืนหรื อไม่? เพราะดูจากประชาธิปไตยและทุนนิยมที่ใช้ อยูใ่ น อเมริ กาและบางประเทศในยุโรปเห็นว่า การเลือกตังที ้ เ่ ป็ นอยู่ แบบเสรี ไม่มีการแทรกแซงควบคุม อาจจะทาให้ นกั การเมืองไม่ สามารถแก้ ปัญหาวิกฤติระยะยาวได้ เช่น พอจะเลือกตังครั ้ ง้ ใหม่ ก็ไม่กล้ าออกนโยบายที่กระทบฐาน เสียง ถึงเอาใจผู้ลงคะแนนปล่อยให้ ปัญหาหมักหมมและในที่สดุ ก็แก้ ไม่ได้ เช่น ในสหรัฐฯ พรรค รี พลับรี กนั ไม่ต้องการให้ บทบาทของรัฐมากเกินไป ไม่เก็บภาษี คนรวย ซึง่ ในความเป็ นจริ ง บางครัง้ รัฐบาลต้ องมีบทบาทมาก ขึ ้น โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจอย่างรุนแรงอย่างใน อเมริ กา หลักการคือ ประชาธิปไตยกับทุนนิยมไม่ควรให้ มี ความเหลือ่ มล ้ามากเกินไป รวยล้ นฟ้ าเปรี ยบเทียบกับจนสุดขีด วิธีหนึง่ ก็อาจจะเป็ นแบบประเทศในสแกนดิเนเวีย เช่น 5
นอร์ เวย์ เดนมาร์ ค สวีเดน คือ เก็บภาษี อตั ราสูง มาก หรื ออาจจะเป็ นแบบจีนและเวียดนาม คือ มี 2 ระบบคือ การเมืองและเศรษฐกิจแยกกัน ท่านผู้อา่ นก็ลองคิด ดู อาจจะคิดถึงเมืองไทยด้ วย ว่าวัฒนธรรมการเมืองไทยที่ ถูกต้ องเหมาะกับประเทศของเราคืออะไร? ไม่ใช่ไปลอกมา จากต่างประเทศ แต่ทฤษฏีถกู ใช้ ติดตามผิดพลาดมาจนถึง ทุกวันนี ้ เรื่องที่ 4 คือเรื่ องน ้าปี 2555 รัฐบาลมักจะออก ข่าวว่า เลือกแต่งตังคณะกรรมการ ้ มีงบแล้ ว 400,000 ล้ าน ฉะนัน้ ปี 2555 แก้ ได้ แน่นอน คาตอบขณะนี ้คือ รัฐบาลปั จจุบนั มีประสิทธิภาพใน การทาประชาสัมพันธ์สงู แต่ความเป็ นจริ งคือ ปั ญหาฟื น้ ฟู ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ปี 2554 บางคนยังไม่ได้ รับเงิน ช่วยเหลือ 5,000 บาทเลย ล่าช้ ามาก ปั ญหาทีน่ กั ลงทุนต่างประเทศก็ยงั รออยู่ เพราะยัง ไม่แน่ใจนโยบายรัฐบาลจะแก้ ปัญหาน ้าท่วมได้ จริง หรื อ แต่ออกข่าวว่าปี 2555 เศรษฐกิจโต 5% เศรษฐกิจ ฟื น้ แน่ๆ จริ งหรื อ? เงินที่เตรี ยมไว้ เป็ น โครงการใหญ่ กว่าจะทาสาเร็ จก็ ต้ อง 2 – 3 ปี ไม่ทนั ปี 2555 ถ้ าฝนมามาก แบบปี 2554 ปี 2555 ปั ญหาน ้าท่วม คงหนัก คาดว่าประสบการณ์ของชาวบ้ าน พฤติกรรมในการ ป้องกันตัวเอง และความร่วมมือกับชุมชนใช้ เศรษฐกิจ พอเพียงเท่านันที ้ ่จะบรรเทาได้ อย่าคาดหวังว่า รัฐบาลจะแก้ น ้าท่วมได้ สาเร็ จ เมื่อ เดือนมกราคมที่ผา่ นมา ฝนตกแล้ ว น ้าในบางเขื่อนสูงกว่า 90% สรุปคือ ยังมีปัญหาน ้ามากในปี นี ้ ประชาชนต้ องพึง่ ตัวเองใช้ ประสบการณ์ปีที่แล้ วช่วยแก้ ปัญหาครัง้ นี ้ เรื่องที่ 5 มีหนังดี เรื่ อง Ang San ชื่อว่า “The lady” มาฉาย ทัว่ ประเทศ ผมยังไม่ได้ ไปดู แต่คนไทยก็นา่ จะให้ ความสนใจ หนังเรื่ องนี ้เน้ นการต่อสู้ของผู้หญิงพม่าเล็กๆ คน
หนึง่ ซึง่ อีกไม่นามก็จะขึ ้นมามีบทบาทผู้นาของพม่า มีคนไปดูแล้ วมาเล่าให้ ฟังว่า เห็นความโหดร้ ายของ รัฐบาลทหารพม่าในอดีตน่ากลัวมาก ประเด็นก็คือ ไทยต้ องมีความฉลาดในการบริ หาร เพื่อนบ้ านอย่างพม่า รัฐต้ องร่วมกับวิชาการและใช้ การทูตภาค ประชาชนมากๆ สุดท้ ายเรื่องที่ 6 คือ มีโอกาสได้ ไปสัมภาษณ์คณ ุ ศรี รัตน์ รัษฐาปนะ อธิบดีกรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ ออก โทรทัศน์ และคุยลึกๆกับท่านหลายๆเรื่ อง ซึง่ เป็ นเลือดชาวธรรมศาสตร์ และได้ เห็นความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะทาให้ คนไทยเข้ า ใจความแตกต่างระหว่าง ASEAN Economic Community : AEC และ ASEAN Community : AC ซึง่ คนไทยควรจะเข้ าใจคือ ASEAN Community ซึง่ ไม่ใช่แค่ AEC และ ASEAN Community มีเรื่ องสังคม วัฒนธรรมและการผนึกกาลังร่วมมือ เพื่อให้ ASEAN เข้ มแข็ง และมีอานาจต่อรอง จึงเป็ นความภูมใิ จของอดีตของอาจารย์ธรรมศาสตร์ ที่ มีลกู ศิษย์มีบทบาทที่สาคัญครับ
ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ นาคณะกรรมการและเจ ้าหน ้าที่ มูลนิธฯิ เข ้าไปกราบ ดร.สุเมธ ต ันติเวชกุล เลขาธิการ ั ัฒนา ในวาระขึน มูลนิธช ิ ยพ ้ ปี ใหม่ 2555 ในวันที่ 1 ั พัฒนาแห่งใหม่ กุมภาพันธ์ 2555 ณ สานักงานมูลนิธช ิ ย ซอยอรุณอัมรินทร์ 36
จีระ หงส์ ลดารมภ์ dr.chira@hotmail.com 6
การกากับดูแลกิจการที่ดี กับธุรกิจ SME ไทย ดร.วีรชัย กูป้ ระเสริฐ กรรมการ มูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ
ในปั จจุบนั การกากับดูแลกิจการที่ดีเข้ ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินธุรกิจ หลักการกากับดูแลกิจการมักถูก นามาใช้ เป็ นแนวปฏิ บัติ หลัก ในการดาเนิ นธุ รกิ จอย่างกว้ างขวางสาหรั บบริ ษัทขนาดใหญ่ ที่มีชื่ อเสี ยงหลายบริ ษัท ใน ประเทศไทย แต่สาหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรื อที่นิยมเรี ยกกันโดยทัว่ ไปว่า Small and Medium Enterprises (SMEs) นันยั ้ งดูห่างไกลอยู่มากทีเดียว แม้ วา่ ธุรกิจ SMEs จะเป็ นที่ร้ ู กนั ว่าพลังกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศให้ เติบโตก้ าวหน้ าในหลายประเทศเป็ นจานวนมากซึง่ รวมถึงประเทศไทยด้ วย เนื่องด้ วยธุรกิจ SMEs ส่วนใหญ่นนั ้ มีลกั ษณะเป็ นกิจการธุรกิจครอบครั ว เจ้ าของธุรกิ จมักดารงตาแหน่งเป็ นผู้บ ริ หาร หากผู้บริ หารนัน้ มีหลักการหรื อแนว ปฏิบัติที่ดีในการกากับดูแลกิจการแล้ ว คาดได้ ว่าเศรษฐกิจจะพัฒนาก้ าวไกล ประเด็นเรื่ องการกากับดูแลกิจการที่ดีใน ธุรกิจSMEs จึงเป็ นที่น่าสนใจอย่างยิ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย SMEs มีบทบาทสาคัญในระบบเศรษฐกิจเนื่องด้ วยธุรกิจเหล่านี ้เป็ นฐานสาคัญในการพัฒนาอย่างมีเสถียรภาพ ยัง่ ยืน และเป็ นกลไกในการฟื น้ ฟูเศรษฐกิจเพื่อความก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิจและขจัดความยากจน ในเขตความร่ วมมือทาง เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia Pacific Economic Cooperation: APEC) พบว่า กิจการธุรกิจทังหมดในเขตเศรษฐกิ ้ จ ดังกล่าวมีธุรกิจ SMEs มากถึงร้ อยละ 90 โดยมีการจ้ างงานคิดเป็ น ร้ อยละ 60 ของการจ้ างงานทังหมด ้ ในขณะที่ประเทศ ไทยมีธุรกิจ SMEs ประมาณ 2.9 ล้ านราย คิดเป็ นร้ อยละ 99.8 ของธุรกิจที่มีอยู่ในประเทศไทย สร้ างมูลค่าทางเศรษฐกิจ อยู่ที่ประมาณ 38%ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ในแง่ของการจ้ างงาน SMEs ของไทยมีอตั ราการจ้ าง งานมากกว่า 10 ล้ านคน หรื อประมาณร้ อยละ 78.5 ของการจ้ างงานทังหมดในประเทศ ้ ประเทศไทยมีอตั ราการเติบโตที่สงู ที่สดุ ในโลกก่อนปี พ.ศ.2540 แต่เมื่อประเทศไทยมีการประกาศลอยตัวค่าเงิน บาท อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจก็ลดลงถึง 10% สาเหตุของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในเอเซีย ปี พ.ศ.2540 เกิดจากการ ขาดการกากับดูแลกิจการที่ดี ซึง่ รวมไปถึงการปล่อยเงินกู้และการลงทุนของธนาคารพาณิชย์ เป็ นไปอย่างไม่รัดกุม การ ยักยอกทรัพย์ของกรรมการ ผู้บริ หาร และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การขาดการตรวจสอบอย่างเข้ มงวดและรัดกุม ด้ วยเหตุนี ้ทาให้ มีการสร้ างมาตรฐานสากลในการกากับดูแลกิจการที่ดีขึ ้น มีการวางกรอบและสร้ างแนวทางหลักการต่างๆ จึงเป็ นที่มาของ การก่อตังสมาคมส่ ้ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (Thai Institute of Director Association) ธุรกิจขนาดใหญ่จานวนมากที่มีอยู่ในโลกทุกวันนี ้ เกิดจากธุรกิจระดับครอบครั ว บางธุรกิจ ครอบครั วเติบโตมา จากการลงทุนซื ้อหุ้น ในครอบครั ว และกลายมาเป็ นเจ้ าของบริ ษัทโดยการขายหุ้นสู่สาธารณะ ส่วนใหญ่แล้ วการดาเนิน ธุรกิจแบบครอบครัวมักจะขาดการกากับดูแลกิจการที่ดี อาจกล่าวได้ ว่าเป็ นการบริ หารโดยรวมมักจะอยู่บนพื ้นฐานของ อารมณ์ มากกว่าภาระหน้ าที่ที่ควรปฏิบัติ ในบางบริ ษัทกรรมการบริ ษัท มีบทบาทเป็ นเพียงการแสดงสถานะสมาชิกภาพ ของการเป็ นเจ้ าของธุรกิจแบบตลอดชีพ แต่ภาระหน้ าที่ในการพัฒนาบริ หารจัดการธุรกิจให้ บรรลุเป้าหมายนันไม่ ้ สามารถ 7
ใช้ บุคคลที่มีแต่เพียงความทะเยอทะยานเท่านัน้ ต้ องใช้ บุคลากรที่ท่มุ เทให้ องค์กรอย่างจริ งจัง และต้ องเป็ นผู้ที่ได้ รับการ ฝึ กฝนอบรมจนมีประสบการณ์ ความรอบรู้ เฉลียวฉลาดมีประสิทธิภาพและเปิ ดรับสิ่งท้ าทายใหม่ๆ SMEs ส่วนใหญ่จะได้ รับการสนับสนุนส่งเสริ มจากกลุ่มคนที่มีความคุ้นเคยไม่ว่าจะเป็ นครอบครัวหรื อมิตรสหาย ธุรกิจครอบครัวก็เริ่ มต้ นด้ วยเงินออมภายในครอบครัวก่อน แล้ วจึงหันหน้ าไปพึง่ ธนาคารพาณิชย์ นระยะต่อมา การกู้ยืมเงิน จากบุคคลในครอบครัว เครื อญาติหรี อบุคคลใกล้ ชิดนันเป็ ้ นเรื่ องปกติทวั่ ไปสาหรับการดาเนินธุรกิจ SMEs ความสาเร็ จ ของSMEs ในบางช่วงของวงจรชีวิตของกิจการ จาเป็ นต้ องใช้ เงินทุนที่มากขึ ้น และการก้ าวไปสู่การกระจายหุ้นของกิจการ สู่สาธารณชน บริ ษัทดังกล่าวเหล่านีจ้ ะจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์เอ็ม เอ ไอ (MAI) ซึง่ เป็ นเวทีให้ นักธุรกิจสามารถ ระดมทุนที่ต้นทุนต่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับแหล่งเงินทุนอื่น ธุรกิจครอบครัวจะยังคงมีความสาคัญเป็ นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยเหมือนกับหลาย ประเทศทในเอเซีย ประเทศไทยไม่อาจมองข้ ามศักยภาพของธุรกิจครอบครัวเหล่านี ้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ ความ ท้ าทายที่เผชิญอยู่ในขณะนี ้ คือการสร้ างแรงกระตุ้นต่อธุรกิจ SMEs โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริ ษัทที่ไม่ได้ จดทะเบียนในตลาด หลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย ให้ มีการสนใจกระตือรื อร้ นและลงมือบริ หารจัดการธุรกิจของตนเองให้ เกิดการกากับดูแล กิจการที่ดี คาถามจึงมีวา่ รัฐบาลไทยจะสนับสนุนส่งเสริ มธุรกิจ SMEs ของไทยอย่างไรให้ มีการกากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทยให้ เติบโตก้ าวหน้ า และเกิดความยัง่ ยืนของระบบเศรษฐกิจไทยในที่สดุ ?
ขอบคุณภาพสวย ๆ จาก http://retail-remedy.com
8
BOOK REVIEW โดย ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และทีมงาน Chira Academy 8K’s+5K’s: ทุนมนุ ษย ์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียน สวัสดีครับท่านสมาชิกที่รักทุกท่าน หวังว่าคงยังไม่ลมื กันนะครับ ฉบับนี ้ ผมขออนุญาตโปรโมทหนังสือ Pocket Book เล่มที่ 3 ของผมซึง่ มีกาหนดจะเปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการในวันอังคารที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 นี ้ช่วงบ่ายที่หอประชุมศรี บรู พา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์ ) ครับ งานนี ้ได้ รับเกียรติจากสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมเป็ น เจ้ าภาพจัดงานด้ วยซึง่ ต้ องขอขอบคุณ รศ.ดร.พิภพ อุดร ผู้อานวยการสถาบันทรัพยากรมนุษย์ ฯ มา ณ โอกาสนี ้ด้ วยครับ และงานนี ้นอกจากผมแล้ วก็ยงั ได้ รับเกียรติจากนักคิด นักวิชาการและนักปฏิบตั ิหลายท่านให้ เกียรติมาร่วมแลกเปลีย่ น มุมมองและให้ กาลังใจพวกเราครับ อาทิ ศาสตราจารย์ พิเศษ วิชา มหาคุณ รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์ วิวัฒน์ เพื่อนรักของผม อาจารย์ ธัญญา ผลอนันต์ คุณอลงกรณ์ พลบุตร คุณฉัตรชัย มงคลวิเศษไกวัล ดร.ศิริลักษณ์ เมฆสังข์ คุณอนุรัตน์ ก้ องธรนินทร์ ดร.วีรชัย กู้ประเสริฐ และอีกผู้ทรงคุณวุฒิอีกหลาย ๆ คนที่คงจะมาร่วมกันมองอนาคต ของทุนมนุษย์คนไทยเพื่อรองรับการก้ าวสูป่ ระชาคมอาเซียนได้ อย่างสง่างาม สาหรับใครสนใจร่วมงานครัง้ นี ้ก็ขอรายละเอียดและ สารองที่นงั่ ฟรี ได้ ที่ 0-2619-0512-3 หรื อ ลงทะเบียนออนไลน์กบั ทางสถาบันทรัพยากรมนุษย์ได้ ที่ http://hri.tu.ac.th ครับ
รศ.ดร.พิภพ อุดร
ศาสตราจารย์พเิ ศษ วิชา มหาคุณ
รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์ววิ ฒ ั น์
อาจารย์ธัญญา ผลอนันต์
คุณฉัตรชัย มงคลวิเศษไกวัล
ดร.ศิรล ิ ก ั ษณ์ เมฆสังข์
คุณอนุรัตน์ ก ้องธรนินทร์
ดร.วีรชัย กู ้ประเสริฐ
คุณอลงกรณ์ พลบุตร
สาหรับเนื ้อหาสาระของหนังสือเล่มนี ้.. อยากจะบอกว่าคงต้ องซื ้อไปอ่านครับ เพราะถ้ าเล่าหมดที่นกี่ ็คงจะไม่ดีแน่ ครัง้ นี ้เพื่อเป็ นการเรี ยกน ้าย่อยให้ ทา่ นสนใจ และเห็นภาพบางส่วนของหนังสือเล่มนี ้และความตังใจของผม...จึ ้ งขอ อนุญาตนาบท “คานิยม” ที่ได้ รับความกรุณาจากท่าน ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชยั พัฒนา ท่านได้ เขียนไว้ ให้ ซงึ่ นับว่า เป็ นเกียรติอย่างสูงสาหรับผมครับ 9
หนังสือเรื่ อง “8K’s + 5K’s : ทุนมนุษย์ ของคนไทยรองรั บประชาคมอาเซียน” ซึง่ ศาสตราจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ได้ เน้ นเสนอความรู้ ความคิดและประสบการณ์ในการวางแนวทางการพัฒนา “ทุนมนุษย์” เพื่อรองรับการที่ ประเทศไทยจะเข้ าสูก่ ารเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC ในปี พ.ศ. 2558 ซึง่ เป็ นการรวมประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) เป็ นเขตเศรษฐกิจเดียวกัน ผมเห็นด้ วยกับศาสตราจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่ประเทศไทยจะต้ องเตรี ยมความพร้ อมเพื่อรับกับผลกระทบ จากการเปิ ดเสรี ตา่ งๆ เมื่อเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียน สิ่งสาคัญที่สุดประการหนึ่งคือ จาเป็ นต้ องยกระดับความสามารถ ในการแข่ งขันของประเทศให้ สูงขึน้ และปั จจัยสาคัญประการหนึง่ ที่มีผลต่อความสามารถในการแข่งขัน คือการสร้ าง ความเข้ มแข็งให้ แก่ทนุ มนุษย์ เพราะเป็ นตัวจักรสาคัญทาให้ เกิดความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน ซึง่ ศาสตราจารย์ ดร.จีระฯ ได้ นาเสนอแนวคิดทฤษฏี 8K’s หรื อทุน 8 ประการเป็ นพื ้นฐานของทรัพยากรที่มีคณ ุ ภาพ ผนวกกับแนวคิดทฤษฎี 5K’s เพิ่มเติมเรี ยกว่าทุนใหม่ ซึง่ จะทาให้ ทนุ มนุษย์มีคณ ุ ภาพเพียงพอ สามารถยืนหยัดแข่งขันได้ ในทุกเวที ไม่วา่ จะเป็ นเวที อาเซียนเสรี หรื อเวทีโลก ผมมีความเห็นว่า หนังสือเล่มนี ้เป็ นหนังสือทางวิชาการที่มีประโยชน์อย่างยิ่งเล่มหนึง่ สาหรับประเทศไทยใน ช่วงเวลาขณะนี ้ที่เศรษฐกิจโลกกาลังมีปัญหา และเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ มีความเชื่อมโยงกับต่างประเทศเพิ่มขึ ้นมา โดยตลอด รวมทังก ้ าลังจะเข้ าสูก่ ารเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อย่ างไรก็ตาม ผมขอเน้ นยา้ ว่ าความสามารถในการแข่ งขันต้ องมาจากพื้นฐานความคิดในแนวทางการ ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯพระราชทาน โดยเฉพาะ พึง่ ตนเองซึ่งเป็ นแก่ นของปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีพ การมีภูมิค้ ุมกัน ถือว่ าเป็ นเรื่ องสาคัญอย่ างยิง่ ทีป่ ระเทศไทยจาเป็ นต้ องสร้ างขึน้ การพัฒนาทุนมนุษย์ ภายใต้ แนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.จีระ หงส์ ลดารมภ์ กล่ าวได้ ว่าเป็ นภูมิค้ ุมกันทีส่ าคัญอย่ างหนึ่งทีจ่ ะทาให้ ประเทศ ไทยสามารถพัฒนาประเทศได้ อย่ างมั่นคงและยั่งยืน ผมจึงมีความเห็นว่า เพิ่มพูนความรู้ ตอ่ ไป
หนังสือเล่มนี ้เป็ นหนังสือทางวิชาการที่ดีอีกเล่มหนึง่
ผู้ที่ยงั ไม่อ่านควรจะได้ หาอ่านเพื่อ
(ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล) เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา 10
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดตามสื่อเพื่อการพัฒนาความรู้ และติดอาวุธทางปั ญญา กับ Chira Academy’s Medias ติดตามชมรายการโทรทัศน์ สู่ศตวรรษใหม่ ปี 2555 ทาง NBT ออกอากาศทุกวันศุกร์ สปั ดาห์ที่ 4 ของเดือน (เดือนละ 1 ครัง้ ) เวลา 02.00-02.50 น ติดตามชมรายการโทรทัศน์ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น.. กับ ดร.จีระ ทางเจริ ญเคเบิ ้ลช่อง 8 ออกอากาศทุกวันศุกร์ และวันอังคาร เวลา 12.00-12.30 น. วันศุกร์ ท่ ี 17 ก.พ.55 นี.้ . เสนอตอน Knowledge Camping ครัง้ ที่ 11 ที่ดอยอ่ างขาง ติดตามฟั งรายการวิทยุ Hard Talk.. Thailand ทุกวันเสาร์ เวลา 15.00 – 16.00 น. ที่คลืน่ เนชัน่ 90.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต ติดตามฟั งรายการวิทยุ Human Talk ทุกเช้ าวันอาทิตย์ เวลา 06.00 – 07.00 น. ที่คลืน่ 96.5 หรื อทางอินเตอร์ เน็ต
ขอขอบคุณผู้สนับสนุนร่ วมสร้ างสรรค์ รายการอย่ างดีย่งิ เสมอมา
11
‘เป็ นข่าว’ โดย..จงกลกร สิงห ์โต
สวัสดีคะ่ ท่านสมาชิก ช่วงระยะนี ้ FIHRD – Chira Academy Reviews ของเราจะออกล่าช้ าไปนิดนะคะหวังว่า ทุกท่านคงไม่วา่ กัน เดือนนี ้ก็เข้ ามาสูเ่ ดือนแห่งความรักนะคะ ดิฉนั ก็ขอให้ ทกุ ๆท่านมีความสุขและรักกันมากๆ คนไทย นอกจากรักกันแล้ วความสามัคคีเป็ นหนึง่ นันจะน ้ าพาประเทศชาติไปสูค่ วามยัง่ ยืนด้ วยค่ะ สัปดาห์นี ้ยังคงมีเรื่ องราวกิจกรรมของมูลนิธิฯ และ Chira Academy มากมายเช่นเคยค่ะ หวังว่าทุก ๆ ท่านยังไม่ เบื่อกับข่าวสังคมของเรานะคะ เพราะถ้ าเราไปทาอะไร ที่ไหนมาแล้ วไม่ได้ นามาแบ่งปั นกับทุก ๆ คนที่นี่ก็อาจจะมีงอนกัน แน่ ๆ ค่ะ.. อย่างไรพวกเราจะพยายามนาเสนอทุกกิจกรรมอย่างไม่ให้ ตกหล่นค่ะ... 28 ม.ค. 55 คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดงาน วันสถาปนาครบรอบ 1 ปี ในงานนี ้ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ บรรยายในหัวข้ อ ทุนทางวัฒนธรรม& เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ เพื่อประสงค์ให้ คนไทยนารากเหง้ าทางวัฒนธรรมและ ภูมิ ปั ญญาที่สืบทอดกันอย่างต่อเนื่อง มาสร้ างมูลค่าเพิ่มค่ะ.... 29 ม.ค. 55 คุณหอมหวล รอดทิพย์ ได้ จดั กลุม่ การประชุมเรื่ อง การ พัฒนาการท่องเที่ยวแบบ Long stay ในประเทศไทย ที่ อ. อัมพวา จ.สุมทรสงคราม อ.จีระและทีมงานมูลนิธิฯ ได้ รับ เชิญเป็ นที่ปรึกษาของโครงการนี ้ค่ะ ....
30 ม.ค. 2555 ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ได้ เข้ าพบอธิบดีกรมเจรจาธุรกิจ การค้ าคุณศรี รัตน์ รัษฐปานะ เพื่อสัมภาษณ์บนั ทึกเทป โทรทัศน์ สู..ประชาคมอาเซี ยน ซึง่ เป็ นรายการใหม่ที่เน้ น การเปิ ดเสรี อาเซียนค่ะ….
12
1 ก.พ. 2555 ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ เลขาธิการมูลนิธิพฒ ั นาทรัพยากร มนุษย์ระหว่างประเทศนาคณะกรรมการและเจ้ าหน้ าที่มลู นิธิฯ เข้ ากราบอวยพรปี ใหม่ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชยั พัฒนา ณ สานักงานมูลนิธิชยั พัฒนา แห่งใหม่ (ซอยอรุณอัมริ นทร์ 36) ท่านให้ โอวาทเรื่ องการดาเนินชีวติ และการทางานตาม แนวทางพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั นอกจากนันท่ ้ านยัง กล่าวถึงเรื่ องการดูแลน ้าในระยะยาวด้ วยค่ะ....
4 ก.พ. 2555 โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ ได้ จดั โครงการ Knowledge Camping ครัง้ ที่ 11 ขึ ้นที่โรงเรี ยนเทพศิริรินทร์ อา่ งขาง และได้ เชิญ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ บรรยายให้ ผ้ บู ริ หารโรงเรี ยนทัง้ 10 แห่งได้ ฟังใน เรื่ องการบริ หารโรงเรี ยนกับความก้ าวสูเ่ ป็ นสากล ท่านมีความ ยินดีมากที่ได้ เข้ าไปมีสว่ นร่วมกับกิจกรรมนี ้ในฐานะศิษย์เก่าค่ะ .... 5 ม.ค. 2555 อ.ลัดดา ปิ นตา ลูกศิษย์ ปริ ญญาเอกจาก มรภ.สวนสุนนั ทา ของ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ได้ เชิญท่านบรรยายให้ นกั ศึกษา ปริ ญญาตรี ของเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตล้ านนาฟั งในเรื่ อง ความรู้สู่ประตูอาเซี ยน 2015..10 ประเด็นทีต่ อ้ งรู้จริ ง..เพื่อให้ นักศึกษามีความพร้ อมเรื่ องอาเซียนหลังจากจบการศึกษาค่ะ งานนี ้ได้ รับเกียรติจาก อาจารย์จิตต์สมุ าลย์ อมาตยกุล และ อาจารย์กสุ มุ ามาลย์ ปั จฉิมสวัสดิ์ ร่วมให้ ความรู้กบั น้ อง ๆ ด้ วยค 9 ม.ค. 2555 ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ได้ รับเชิญจากคุณศิริชยั ออ สุวรรณ ประธานชุมนุมสหกรณ์การเกษตรให้ บรรยายเรื่ อง“เขต การค้ าเสรี อาเซียนกับการเตรี ยมพร้ อมของสหกรณ์การเกษตร” ให้ สมาชิกชุมนุม 10 จังหวัดในภาคอีสานคะ ที่ รร.ขอนแก่น โฮ เท็ล จังหวัดข่อนแก่น ท่านประธานศิริชยั ยังคงให้ ความรู้เรื่ อง AEC อย่างต่อเนื่อง ครัง้ หน้ าจะไปที่ภาคใต้ แล้ วค่ะ...
13
10 ม.ค. 2555 ดร.เปรมฤดี ชามพูนท นายกเทศมนตรี เทศบาลพิษณุโลก ได้ เชิญ ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์, ม.ล.ชาญโชติ ชุมพูนชุ และคุณ พิชญ์ภรู ี พึง่ สาราญ บรรยาย เรื่ อง อาเซียนเสรี กบั การทางานยุค ใหม่ให้ กบั ข้ าราชการและบุคลากร 8 หน่วยงานของเทศบาลนคร พิษณุโลกค่ะ ที่นี่มีความตื่นตัวเรื่องการเปิ ด AEC เป็ นอย่างมาก มีสแี่ ยกอินโดจีนที่อยูใ่ จกลางอาเซียนอยูท่ ี่พษิ ณุโลกด้ วยค่ะ....
สัปดาห์นี ้..รายการ คิดเป็ น..ก้ าวเป็ น..กับ ดร.จีระ ในสัปดาห์นี ้รายการคิ ดเป็ นก้าวเป็ น กับ ดร.จี ระ จะเสนอ ตอน Knowledge Camping ครัง้ ที่ 11 ที่ดอยอ่างขาง ทางเจริ ญเคเบิ ้ล ช่อง 8 วันศุกร์ ที่ 17 ก.พ.55 เวลาเที่ยงตรงค่ะ และเป็ นที่นา่ เสียดายทีด่ ้ วยนโยบายของเบื ้องบน รายการ “กลยุทธ์ มืออาชีพ กับ กศน.” จึงโดนขอเวลาทางสถานี NBT ไปทารายการอื่นแทน สาหรับแฟนรายการคงติดตามได้ ทางช่อง ETV ซึง่ จะแจ้ งวันและเวลาในการออกอากาศ
ฝ่ ายสมาชิกสัมพันธ์ เอราวรรณ แก้วเนื้ ออ่อน
สนใจสมัครสมาชิก (ฟรี ) Tel: 0-2619-0512-3
คณะทางานและที่ปรึกษา ศ.ดร.จีระ หงส ์ลดารมภ ์ อาจารย ์ทานอง ดาศรี ม.ล.ชาญโชติ ชมพูนุท ดร.วีรชัย กู ้ประเสริฐ พิชญ ์ภูรี จันทรกมล วราพร ชูภก ั ดี จงกลกร สิงห ์โต ้ อน เอราวรรณ แก ้วเนื ออ่ จิตรลดา ลียากาศ กฤษณะ ปัญญาผล เขมิกา ถึงแก ้วธนกุล ภัทรพร อันตะริกานนท ์ อรวี จันทร ์ขามเรียน
บรรณาธิการอาวุโส ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ
มู ลนิ ธิพฒ ั นาทรัพยากรมนุ ษย ์ระหว่างประเทศ ชัน้ 7 อาคาร เอส พี (ตึก B) เลขที่ 388 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 Tel: 662 619 - 0512-3 Fax: 662 273 – 0181 www.chiraacademy.com e-mail: dr.chira@hotmail.com Blog: www.gotoknow.org/blog/chiraacademy
14