ประวัติฯ งานหลักสูตร บทวิพากษ์ (official use) updated at 290656 (1)

Page 1

บทสรุปผู้บริหาร (ข้อเท็จจริงประกอบ) หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม

ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Landscape as Habitat: A Landscape Ecological Approach

“Landscape แนวใหม่ที่ถูกต้องและจาเป็น สาหรับประเทศไทย เพื่อลูกหลานของเรา” 1


สารบัญ 1. คาเกริ่นนา โดย รศ. ดร. บุญเสริม ชีวะอิสระกุล

หน้า

3-7

2. บทสรุปผู้บริหาร

หน้า

8-10

3. ปรัชญา ความสาคัญ วัตถุประสงค์

หน้า

11-15

4. คาสั่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่องการแต่งตั้งกรรมการร่างหลักสูตรฯ

หน้า

16

5. ประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางานของผู้ทรงคุณวุฒิ, หน้า 17-43 คณะกรรมการและผู้ร่วมร่างหลักสูตร พร้อมบทวิพากษ์ฯ, มุมมองและความเห็นเพิ่มเติม 6. มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่มีการเปิดสอนหลักสูตร Landscape Architecture หน้า

44-49

7. Design Intelligence 2009-2011

หน้า

50-56

8. ประเด็นสรุปชี้แจงเกี่ยวกับความเหมาะสมของการเรียนการสอน หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ในคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หน้า

57-66

 สภาพแวดล้อมทีม่ ีผลต่อการหล่อหลอมบัณฑิตให้มีทัศนคติที่ถูกต้อง (เอกสารแนบหมายเลข 4)

 ความพร้อมของคณะเกษตรฯ ในด้านคณาจารย์และกระบวนวิชาที่เปิดสอนอยู่แล้ว อันเกี่ยวข้องโดยตรงกับหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม (เอกสารแนบหมายเลข 5) 9. ตัวอย่างผลงานนักศึกษา ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการเป็นนักวิทยาศาสตร์เกษตร

++++++++++++++++++++++++++++++++++++

2

หน้า

67-71


คาเกริน่ นา โดย รศ.ดร. บุญเสริม ชีวะอิสระกุล อดีตคณบดีเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

3


เกริน่ นา เมื่อไม่นานมานี้ ผมได้พบปะพูดคุยกับอาจารย์กนก เหวียนระวี และเพื่อนม.ช.ท่านหนึ่ง ระหว่าง การคุยอาจารย์กนกได้ให้เอกสาร “บทสรุปผู้บริหาร” เกี่ยวกับหลักสูตรการออกแบบภูมทิ ัศน์และการ จัดการสิ่งแวดล้อม ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แก่เพื่อนคนนัน้ และผมได้อ่านระหว่างที่เราคุยกันเรื่องสัพเพเหระ เพื่อน ม.ช.ก็ได้พลิกอ่านเนือ้ หาในเอกสาร ดังกล่าว และถามอาจารย์กนกว่า เอกสารนีจ้ ะเผยแพร่ให้ใครอ่าน อาจารย์กนกตอบว่า ทางภาควิชา ฯ ใคร่ที่จะขอให้ทางคณะฯ

เผยแพร่ขอ้ เท็จจริงที่มาที่ไปของหลักสูตรดังกล่าวแก่คณาจารย์คณะ

เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถูกต้องของเรื่องนี้

เขามีความเห็นว่า อาจารย์บางท่านอาจจะยังไม่ทราบข้อมูลที่

และอาจจะมีคาถามในใจอยู่ในบางประเด็น

น่าจะมีข้อความนาเรื่องที่มาที่ไปของ

หลักสูตรเสียหน่อยก็จะดี ผมเห็นว่าคาแนะนานีด้ ี การเกริ่นนาถึงเรื่องข้อกังขาในหลักสูตรฯ เพื่อผู้อ่านจะได้ ทราบและช่วยพิจารณาให้ความเห็น ตลอดจนสนใจติดตาม ส่วนตัวผมอยากช่วยอาจารย์กนกในเรื่องนี้อยู่ แล้ว เพราะเห็นในความปรารถนาดีต่อคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของอาจารย์กนก ที่ได้ อุตสาหะจัดเตรียมเอกสารเรื่องหลักสูตรมาหลายครั้งหลายหน ผมจึงอาสาเขียนคาเกริ่นนานี้ ทั้งๆ ที่ตัวผม เองมิได้มสี ่วนในการจัดทาเอกสารหรือจัดทาหลักสูตรแต่ประการใด เพียงแต่ผมเป็นคนหนึ่งที่ได้ตั้งคาถาม ได้แย้งและแลกเปลี่ยน ถกเถียงกับอาจารย์กนกมาระยะหนึ่ง จนอาจารย์กนกตอบข้อสงสัยของผมทุกข้อ อย่างน่าพอใจ คาถามที่ผมถามและแย้ง ผมเชื่อว่าเป็นคาถามที่ทุกคนอยากจะถามเช่นเดียวกัน ผมขอสรุป สั้นๆ เพื่อมิให้ซ้าซ้อนกับเนื้อหาในเล่มนี้ ดังนี้

หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมสมควรหรือที่จะอยู่ในคณะ

เกษตรศาสตร์ เอกสารเล่มนี้ได้แสดงชัดเจนว่า ในสหรัฐอเมริกาการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์ และการจัดการสิ่งแวดล้อม นีอ้ ยู่ในคณะเกษตรฯ หรือคณะเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมถึงร้อยละ 68 เพียงร้อยละ 32 เท่านั้นที่อยู่ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

นั่นหมายถึงว่า หลักสูตรนีไ้ ม่จำเป็นต้องอยู่ที่คณะ

สถำปัตยกรรมศำสตร์เสมอไป

4


ผู้ท่สี าเร็จการศึกษาควรจะได้ปริญญาอะไร ?

ปริญญาที่ให้กันโดยสากล คือ ปริญญาภาษาอังกฤษ Bachelor of Science in Landscape Architecture (BSLA) หรือ ปริญญา Bachelor of Landscape Architecture ( BLA ) ภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (ภ.สถ.บ. ) ควรเข้าใจเบือ้ งต้นว่า คาว่า Architect หมายถึงผูส้ ร้างสรรค์ปริญญา ภ.สถ.บ เป็นปริญญำที่ แตกต่ำงกับสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต (สถ.บ.) เพรำะเป็นคนละศำสตร์กันใบประกอบวิชำชีพก็คนละใบ กำรเรียนก็แตกต่ำงอย่ำงสิ้นเชิง หลักสูตรทางด้านภูมิทัศน์ การเรียนจะเป็นทางด้านการออกแบบภูมทิ ัศน์ และการจัดการสิ่งแวดล้อม ไม่เกี่ยวกับการออกแบบอาคาร (สถาปัตยกรรม) แต่อย่างใด

ถ้าคณะเกษตรศาสตร์ เป็นผู้จัดการเรียนการสอน บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาสามารถจะได้

ใบประกอบวิชาชีพจากสถาปนิกสมาคมหรือไม่ ใบประกอบวิชาชีพภูมสิ ถาปัตยกรรม มิได้มีขอ้ กาหนดผูกติดกับคณะที่ทาการสอนหลักสูตรที่มีกระบวนการ จัดการเรียนการสอนครบตามเงื่อนไขที่สภาสถาปนิกกาหนด หลักสูตรฯ ของคณะเกษตรฯที่กล่าวถึงนี้

ย่อมมีสิทธิขอรับใบประกอบวิชาชีพได้

ทางคณะเกษตรศาสตร์ให้กรรมการร่างหลักสูตรจัดทาขึ้นมี

กระบวนการจัดการเรียนการสอนครบตามที่สภาสถาปนิกกาหนด และผูท้ ี่เป็นกรรมกำรร่ำงหลักสูตรล้วน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิหรือผูท้ ี่คร่ำหวอดในวงกำรนี้ ดังปรำกฏในข้อมูลของกรรมกำรร่ำงหลักสูตร

คณะเกษตรศาสตร์ มีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน หรือไม่?

ข้อมูลเรื่องนี้มีอยู่พร้อมในเอกสาร ไม่ว่าจะเป็นกระบวนวิชาทางสิ่งแวดล้อม อาจารย์ผสู้ อน ห้องปฏิบัติการ หรือพืน้ ที่ทาการวิจัย ตลอดจนการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีในการวิจัย การเข้าถึงเครือข่ายที่ทางานด้าน สิ่งแวดล้อม

มีต่อ .. 5


หลักสูตรนี้

มีความแตกต่างจากหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมที่เปิดสอนอยู่ในประเทศไทย

อย่างไร ข้อนี้มคี วามชัดเจนมาก หลักสูตรนี้มคี วามเป็นเอกลักษณ์ ตอบสนองความต้องการของประเทศและสาขา วิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

ดังบทวิพากษ์ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

กล่ำวได้ว่ำเป็น

หลักสูตรที่ไม่เคยมีกำรเปิดสอนมำก่อนในประเทศไทย

ความจาเป็นของการเปิดหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม

เป็นที่ทราบกันดีว่าในระยะเวลาที่ผ่านมานี้ มีข่าวภัยพิบัติทางธรรมชาติที่สร้างความเสียหายให้แก่ชีวติ และ ทรัพย์สินเกิดขึ้นทุกมุมโลกอย่างประเมินค่ามิได้ นีเ้ ป็นผลมาจากการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและ ไม่จัดให้มี

หรือไม่มกี ารออกแบบภูมทิ ัศน์จากองค์ความรูข้ องความรู้พ้ืนฐานทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

วิชาสิ่งแวดล้อมและวิทยาศาสตร์เกษตร รวมถึงเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติที่ลึกซึง้ พอ การผลิต บัณฑิตของหลักสูตรนี้

จะเป็นกำรเพิ่มบุคลำกรที่มีคุณภำพในกำรทำงำน

ซึ่งจะช่วยส่งผลให้สำมำรถ

บรรเทำ/ป้องกันควำมเสียหำยที่เกิดขึน้ ได้ และยังเป็นกำรส่งเสริมให้มกี ำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำง ยั่งยืน ให้สำมำรถใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติได้นำนเท่ำนำน

ด้วยเหตุน้ี

ผมจึงขอความร่วมมือสนับสนุนจากทุกท่านช่วยผลักดันหลักสูตรที่กล่าวมานี้

ให้เกิดขึ้นบน

พืน้ ฐานของการผลิตบัณฑิตอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสมที่สุด โดย ข้อเท็จจริงทั้งหลายจะเห็นว่า คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความพร้อมที่จะรับผิดชอบ หลักสูตรนี้ ขอผองเรำโปรดจงร่วมกันสร้ำงสิ่งดีๆ ให้กับประเทศชำติ ให้กับมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ด้วยเถิด และกล้ำที่จะแสดงควำมเห็นจำกข้อมูลที่เป็นจริงและอย่ำงมีเหตุผล

มีต่อ .. 6


ท้ายนี้ ผมทั้งในฐานะอดีตคณบดี ศิษย์เก่าและรุ่นพี่รว่ มสถาบัน ขอขอบคุณอาจารย์กนก เหวียนระวี ใน ความพยายามอย่างไม่รเู้ หนื่อย

เป็นผู้จุดประกายให้คณบดีและผูบ้ ริหารของคณะเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปัจจุบันได้จัดทาหลักสูตรดังกล่าวมานี้ หลักสูตรทุกๆ ทางโดยมิได้หวังสิ่งใดเป็นการตอบแทนแม้แต่น้อย

และในการให้การสนับสนุนการจัดทา เริ่มจากมาเป็นอาจารย์พิเศษดูแล

นักศึกษาอย่างดีโดยไม่ขอรับค่าตอบแทนแต่อย่างใดติดต่อกันหลายปี

ขอขอบคุณ คณบดีและผูบ้ ริหารของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปัจจุบัน ที่ได้บรรจุการ หลักสูตรการออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ของภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ให้เป็นหนึ่งในแผนพัฒนาคณะเกษตรศาสตร์ ในอนาคตอันใกล้ ผมเชื่อมั่นว่าหลักสูตรนีส้ ามารถผลิตบัณฑิต ที่ตรงต่อความต้องการในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ทั้งด้านการใช้ประโยชน์และสุนทรียอ์ ย่าง แท้จริง

รศ. ดร. บุญเสริม ชีวะอิสระกุล อดีตคณบดี ศิษย์เก่าและรุ่นพี่ร่วมสถาบัน 17 กรกฎาคม 2555

7


บทสรุปผู้บริหาร

8


หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ชื่อปริญญา

ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) (ออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม) Bachelor of Landscape Architecture (B.L.A) (Landscape Design and Environmental Management)

หลักสูตรนีไ้ ด้ร่วมกันร่างโดยคณะกรรมการร่างหลักสูตร ซึ่งเป็นบุคคลากรที่มกี ารศึกษาโดยตรงและ เกี่ยวข้องกับภูมิสถาปัตยกรรม และมีประวัติการเรียนการสอนมายาวนานและผลงานโดดเด่นมากมาย ปัจจุบันยังคงเป็นอาจารย์สอนอยูในสาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรมของมหาวิทยาลัยชั้นนาในประเทศ เพื่อผลิตบัณฑิตและสร้างงานวิชาการภูมิทัศน์ท่ีถูกต้องและควรจะเป็น โดยแตกต่างจากแนวทาง เดิม ซึ่งไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาในปัจจุบันและอนาคตที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวกับภูมิทัศน์ และสิ่งแวดล้อมของประเทศซึ่งกาลังเป็นปัญหาหนักได้ ผลของหลักสูตรที่ได้รว่ มกันร่างขึ้นมานี้ ได้รับการพิจารณาและกลั่นกรองจนได้หลักสูตรที่ดแี ละตรงกับ ความต้องการของประเทศ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นหลักสูตรที่โดดเด่น ยังไม่มีหลักสูตรเช่นนีใ้ นประเทศไทยมาก่อน (ดังคาวิพากษ์ของผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นอดีตหัวหน้าภาควิชาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหา วิทยาลัย และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการสภาสถาปนิก และกรรมการในคณะอนุกรรมการวิชาการสภา สถาปนิก) แม้กระทั่งในระดับโลกก็สามารถจัดว่าอยู่ในระดับแนวหน้าได้เช่นกัน การเปิดหลักสูตรนีใ้ นคณะเกษตรศาสตร์นั้นถือได้ว่า เป็นความเหมาะสมและถูกต้องในเรื่องของการออก แบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ ทางด้านการออกแบบและ จัดการสิ่งแวดล้อมนั้น จาเป็นต้องอาศัยพืน้ ฐานทางวิชาการด้านการเกษตรหลายแขนง เพื่อทาให้เกิดผล 9


งานที่เป็นรูปธรรมขึ้นมาได้ นอกจากนี้ การค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมประยุกต์ก็มี ความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เกษตรเป็นส่วนใหญ่ อีกทั้งคณะเกษตรฯ จะเป็นเบ้าหลอมให้นักศึกษาทางด้านภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมมีจิตสานึกที่ ห่วงใยสิ่งแวดล้อมและเข้าใจคนส่วนใหญ่ของประเทศ และจะเป็นการกระจายความรู้เพื่อปกป้องดูแลสิ่ง แวดล้อมส่วนใหญ่ของประเทศโดยเฉพาะในชนบทได้ดีกว่า และเป็นการยกระดับองค์ความรูข้ องคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้อย่างมากมาย การเปิดหลักสูตร “หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์” ในคณะเกษตรศาสตร์ ก็มีตัวอย่างมากมายใน ประเทศสหรัฐอเมริกา (USA) หลักสูตรนีใ้ นระดับปริญญาตรีที่เปิดในคณะเกษตรฯ, คณะสิ่งแวดล้อมฯ หรือ คณะอื่นๆ ที่ไม่ใช่คณะสถาปัตย์ฯ ปรากฏว่ามีอยู่ถึง 68 % ในขณะทีม่ ีอยู่ในคณะสถาปัตย์ฯ เพียง 32% และแม้ว่าจะมีคณะสถาปัตย์ฯ อยู่ร่วมมหาวิทยาลัยเดียวกันก็มีอยู่ถงึ ครึ่งหนึ่งที่หลักสูตรนี้เปิดอยู่ใน คณะเกษตรฯ เช่น มหาวิทยาลัยคอร์แนลและอื่นๆ (อ้างอิงจากหลักสูตรที่ได้รับการยอมรับจาก American Society of Landscape Architecture ประเทศสหรัฐอเมริกาตามเอกสารแนบ / หน้า 44-49) และในบาง ประเทศ เช่น ญี่ปุ่น หลักสูตรนี้จะอยู่ในโรงเรียนเกษตรเกือบ 100 % การใช้ชื่อปริญญา “ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภ.สถ.บ.) ก็เป็นเรื่องปกติในสากลที่ใช้กันโดยไม่ จาเป็นที่อยู่ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เนื่องจากเป็นศาสตร์คนละศาสตร์กัน ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ ไม่ใช่ศาสตร์ของสถาปัตยกรรม (ภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นศาสตร์การออกแบบและจัดการ สิ่งแวดล้อม ขณะที่สถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นการออกแบบอาคาร) แม้แต่ใบประกอบวิชาชีพก็ยังแยกและ ไม่เกี่ยวข้องกัน นอกจากนี้ เช่นเดียวกับชื่อปริญญา “วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ที่มอี ยู่ในคณะอื่นๆ มากมายไม่ว่าจะอยู่ที่คณะสังคมฯ, คณะมนุษย์ฯ หรือแม้แต่ในคณะเกษตรฯ เอง และในทานองเดียวกัน คณะสัตวแพทย์ฯ ก็ไม่มีความข้องกับคณะแพทย์ฯ อีกทั้งยังอยู่คนละส่วนกับคณะสัตว์บาล นอกจากนี้คา ว่า “Architect” ยังมีการนาไปใช้ในแขนงอื่นๆ อีก เช่นคาว่า Naval Architecture, Computer Architecture, Gold Course Architect, หรือแม้แต่ Financial Architect, Neuro Architect, Gene Architect ทั้งนี้เพราะคาว่า “Architect” หมายถึง “ผู้สร้างสรรค์”

ซึ่งปัจจุบันนี้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทาการเปิดการเรียนการสอน ดังนี้ หลักสูตร 5 ปี (B.A) และหลักสูตร 4 ปี (B.Sc. in Architecture) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ทาการเปิดการเรียนการสอน ดังนี้ หลักสูตร 5 ปี (B.A) และหลักสูตร 4 ปี (B.Sc. in Architecture)

10


ปรัชญา ความสาคัญและวัตถุประสงค์

11


ปรัชญา ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปรัชญา หลักสูตรภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็น หลักสูตรทีม่ ีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตร ทางด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมวิทยาศาสตร์ประยุกต์และการออกแบบกายภาพตามหลักสุนทรียศาสตร์ โดยมุ่งหวังผลิต บัณฑิตที่สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ขา้ งต้น เพื่อให้มีความเข้าใจในสภาพธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมอย่างลึกซึ้ง สามารถออกแบบภูมิทัศน์บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และ การพัฒนา ตลอดจนฟื้นฟูภูมิทัศน์ หรือระบบนิเวศที่เสียหายจากการกระทาของมนุษย์ได้ โดยมี เป้าหมายในการใช้ผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน (Sustainable Land Used)

ความสาคัญ ศาสตร์ของการออกแบบภูมิทัศน์ (Landscape Design) คือ การออกแบบและวางแผนจัดการสภาพ แวดล้อมเพื่อการดารงชีวติ ที่มคี ุณภาพของมนุษย์และความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมเองด้วย ซึ่งเกี่ยวข้องกับ การออกแบบสภาพแวดล้อมในหลายระดับ แต่การออกแบบภูมิทัศน์ในปัจจุบันยังเป็นการให้ความ สาคัญกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์และความงามเป็นหลัก โดยไม่ให้ความสาคัญกับสภาพ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควรและส่วนใหญ่ยังเป็นการออกแบบภูมิทัศน์ เพื่อเป็นสิ่งประดับ ตกแต่งสถาปัตยกรรม (Cosmetic Landscape) สิ่งที่ปรากฏตามมา คือ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวด ล้อม ความแปลกแยกกับวิถีชีวติ และวัฒนธรรมท้องถิ่น อันเป็นผลมาจากการศึกษาด้านการออกแบบภูมิ ทัศน์ที่มอี ยู่ในปัจจุบันที่ขาดความเข้าใจที่ถูกต้องและไม่มีความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมที่เพียงพอ เนื่องจากในสมัยเริ่มแรกของการพัฒนาศาสตร์ด้านการออกแบบภูมิทัศน์ โลกยังมีทรัพยากร ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ การออกแบบภูมิทัศน์จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ และความสวยงามเป็นหลัก ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวเป็นการพัฒนาที่ไม่ตอบสนองต่อสภาวการณ์ใน ปัจจุบันที่ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นสาคัญในระดับโลก และเป็นการพัฒนาไปในทิศทาง ที่ไม่ก่อให้เกิดความยั่งยืน

12


ปัจจุบันคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีการเรียนการสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เกษตรและการจัดการสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ พืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ปฐพีศาสตร์ วนศาสตร์ สัตวศาสตร์และสัตว์น้า กีฏวิทยาและโรคพืช ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นวิชาพื้นฐานในด้านการจัดการแก้ไข และปรับปรุงคุณภาพทางด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนีภ้ าควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ยังได้มกี ารเปิดทาการเรียนการสอนวิชาด้านการออกแบบภูมทิ ัศน์ (Landscape Design) มานานแล้วและประสบความสาเร็จในการเรียนการสอน โดยพบว่านักศึกษามีความสามารถด้านการออกแบบ และมีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบ ภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมในทิศทางที่ถูกต้องและเหมาะสม การเปิดหลักสูตรสาขาวิชาการ ออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมในคณะเกษตรศาสตร์ จึงเป็นการประยุกต์ตอ่ ยอดและบูรณา การหลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อมซึ่งเป็นองค์ความรูข้ องคณะฯ โดยการเพิ่มเติมหลักวิชาการ ด้านการออกแบบทางกายภาพเข้ามา คณะเกษตรศาสตร์จงึ เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการผลิตบุคลากรใน การออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี จากพืน้ ฐานของบุคลากรในคณะฯ ที่มใี จรัก ในธรรมชาติส่งิ แวดล้อมและเข้าถึงสภาพวิถีชีวติ ในชนบทได้ดี ซึ่งสามารถหล่อหลอมนักศึกษาในการที่จะทา ให้ความรู้เหล่านีไ้ ปเผยแพร่ เพื่อปกป้องและแก้ไขพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยไม่ให้ เสียหายมากขึ้น โดยเฉพาะป่าต้นน้าทางภาคเหนือซึ่งยังมีความอุดมสมบูรณ์และมีความหลาก หลายทางชีวภาพ (Biodiversity) ทั้งด้านพืชและสัตว์สูง ซึ่งจาเป็นต้องเกี่ยวโยงซึ่งกันและกันอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ รวมถึงความมีศิลปะและวัฒนธรรมพืน้ บ้านดั้งเดิมด้วย นอกจากนี้ หลักสูตรนี้ยังเป็นหลักสูตรที่มีความแตกต่างจากหลักสูตรอื่นที่มีการเปิดสอนในประเทศ ไทยและเป็นหลักสูตรแรกที่มีการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการศึกษาด้านการออกแบบ ภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมเข้าไว้ด้วยกันอย่างครบถ้วน โดยมุ่งเน้นการขยายโอกาสทางการศึกษา พัฒนาความคิดสร้างบัณฑิตที่มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตรวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อมและการออกแบบทางกายภาพ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพของประเทศ อย่างเหมาะสมและยั่งยืน ตอบสนองต่อความต้องการด้านกาลังคนของประเทศไทยที่ยังไม่มีบัณฑิตใน ลักษณะนีม้ าก่อน และสามารถปฏิบัติงานได้ทันทีหลังจากสาเร็จการศึกษา และยังเป็นการส่งเสริมให้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นผู้นาทางการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย และมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง และสร้างสรรค์สังคมไปในทิศทางที่ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังส่งเสริมบุคลากรและนักศึกษาใน สาขาวิชาอื่นๆ ในคณะเกษตรศาสตร์ให้มีวสิ ัยทัศน์ และสร้างโอกาสในการแสวงหาความรูใ้ นสาขาวิชาที่ เกี่ยวเนื่องมากขึ้นอีกด้วย

13


วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และมีความชานาญใน การวางแผนวางผังและออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี ตั้งแต่ระดับชุมชนไปจนถึงระดับ ภูมภิ าคให้ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ ซึ่งว่าด้วยการออก แบบสภาพแวดล้อมที่ตอบสนองต่อความต้องการใช้งาน และยังคงคุณค่าของทรัพยากรทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น สามารถประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและเสนอ มาตรการในการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นที่ยอมรับในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 1.2 เพื่อสร้างบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นเลิศทางการวิชาการทางด้านการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถสรรค์ สร้างผลงานวิจัยให้สอดคล้องกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 1.3 เพื่อสนับสนุนให้มกี ารศึกษา ค้นคว้า วิจัย (Research and Development) ในด้านการออกแบบ ภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม และงานวิจัยด้านการเกษตรที่เกี่ยวเนื่อง ส่งเสริมให้มกี ารใช้ทรัพยากร ของประเทศอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน การเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ที่ดีของชุมชน

14


คุณวุฒิของคณะกรรมการผู้ร่างหลักสูตรฯ ซึ่งประกอบไปด้วยคณาจารย์ระดับ Ph.D. และมีประสบการณ์การทางานและการสอน มายาวนานและครอบคลุมทุกด้าน ประกอบด้วย 1. ผศ.ดร.ดรุณี

นาพรหม

ปริญญาเอกด้านพืชสวน (Agricultural Sciences) จากประเทศเยอรมัน 2. อ. กนก

เหวียนระวี

B.Sc., M.Sc. (Horticulture) U of Missouri, USA

ปริญญาโทด้านพืชสวน (Horticulture) และมีประสบการณ์การทางานและการสอนกว่า 30 ปี ที่ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(เริ่มสอนตั้งแต่นิสติ รุ่นแรก)

3. ดร.ดวงจันทร์ เจริญเมือง ปริญญาเอกด้านผังเมือง (Engineering Urban Conservation) จากประเทศญี่ปุ่น 4. ดร. ดนัย

ทายตะคุ

(ปริญญาตรีภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ปริญญาเอกด้านการวางแผนทางด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Planning) จากประเทศสหรัฐอเมริกา 5. ดร. พรธรรม ธรรมวิมล

(ปริญญาตรีภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ปริญญาโทสถาปัตยกรรมศาสตร์และผังเมือง และปริญญาโทเตรียมเอกภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์ ปริญญาเอกด้านสถาปัตยกรรม (Architecture) เกียรตินิยมดีมาก จากประเทศฝรั่งเศส 6. รศ.ดร.สุนทร คายอง ปริญญาเอกด้านป่าไม้ (Forest Ecology) จากประเทศญี่ปนุ่ 7. อ.ดร.เสาวลักษณ์ แก้วหมื่นอาจ ปริญญาเอกด้านสัตว์น้า (Animal Molecular Genetics) (Animal Molecular Genetics) จากประเทศเยอรมัน 8. อ.ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน ปริญญาเอกด้านพืชสวน (Plants Physiology) จากประเทศอเมริกา

15


16


ประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางาน ของคณะกรรมการผู้ร่วมร่างหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์การสอนด้านภูมิทัศน์มายาวนาน และผู้ท่มี ีการศึกษาโดยตรงด้านภูมิทัศน์ ตั้งแต่ปริญญาตรีจนปริญญาเอก

17


ประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางาน ของกรรมการร่างหลักสูตร พร้อมความคิดเห็น

18


ดร. ดนัย ทายตะคุ (ในฐานะกรรมการร่างหลักสูตร) ประวัติการศึกษา - ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ เมืองเบิร์คเลย์ สหรัฐอเมริกา (สาขาการวางแผนสิ่งแวดล้อม) - MLA (ภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิตระดับปริญญาโท) มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ สหรัฐอเมริกา - ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (นิสิตรุ่นแรก) ตาแหน่งปัจจุบัน - อาจารย์ภาควิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Collaborator: Asian University Network of Environment and Disaster Management - Collaborator: International Environment and Disaster Management Laboratory, Kyoto University, Japan - ผู้ประสานงานเกี่ยวกับโครงการงานค้นคว้าและวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งในประเทศญี่ปุ่น ไทยและสหรัฐอเมริกา - นักวิจัยเชี่ยวชาญพิเศษและผู้สอน: Geographic Information Science Center และ Applied Environmental Geographic Information Science Laboratory, University of California at Berkeley - คณะกรรมการตรวจรับรองหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม สภาสถาปนิก

---------------------------------

19

**********


ความเห็นเกี่ยวกับหลักสูตร Landscape และการปฏิบัติวิชาชีพในปัจจุบันที่เป็นอยู่ โดย ดร. ดนัย ทายตะคุ เนื่องจากปัญหาสภาพแวดล้อมรอบตัวเรา

ทั้งที่อยู่ใกล้ตัวและไกลตัวหรือทั้งในระดับท้องถิ่นและ

ระดับภาค รวมทั้งความเสื่อมของสภาพแวดล้อมหรืออีกนัยหนึ่ง “ภูมิทัศน์” (ภูมิลักษณ์) ที่เป็นผล มาจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็นผลมาจากการพัฒนาที่ไม่ได้คานึงถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม หรือ “ภูมิทัศน์” หรือขาดทิศทางในการพัฒนาที่เหมาะสม ได้ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่มีที ท่าว่าได้มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมหรือ “ภูมิทัศน์” ดังกล่าว

ปัญหาสภาพแวดล้อมหรือ“ภูมทิ ัศน์”ที่เกิดขึน้ ได้ทาให้ความสามารถในฐานะระบบนิเวศในการรองรับการ และสนับสนุนดารงชีวติ ในแง่ของการบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ ทั้งหลายใน โลกนี้เสื่อมถอย ซึ่งมนุษย์เองก็ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวอย่างชัดเจน “ภูมทิ ัศน์” ที่มนุษย์สร้างขึ้น ตัวอย่างเช่น เมือง ชนบท และพืน้ ที่เกษตรกรรม และภูมิทัศน์ธรรมชาติที่ยังหลงเหลืออยู่กาลังประสบกับ ปัญหาดังกล่าวอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ

วิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมในปัจจุบันและในอนาคต จึงต้องสามารถตอบคาถามของปัญหาทางด้านปัญหา สภาพแวดล้อมหรือ “ภูมทิ ัศน์” ในฐานะระบบนิเวศกับการบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์ที่ได้กล่าวไว้แล้วข้าง ต้นได้ ในขณะที่การปฏิบัติวชิ าชีพภูมิสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน ยังมีเป้าหมายอยู่ท่กี ารวางแผนการ วางผังและการออกแบบสภาพแวดล้อมหรือ “ภูมิทัศน์” เพือ่ รองรับความต้องการและกิจกรรม ของมนุษย์หรือความงามของทัศนียภาพเป็นหลัก

โดยที่ความต้องการหรือกิจกรรมของมนุษย์ท่ี

หลายอย่างที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมหรือ “ภูมิทัศน์” ก็เป็นตัวการสาคัญใน การทาให้เกิดความเสียหายของสภาพแวดล้อมหรือ

“ภูมิทัศน์”

เนือ่ งจากขาดพื้นฐานความรู้ท่ี

สาคัญทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยารวมทั้งสังคมวิทยาด้วย สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ “มนุษย์”

20

เนื่องจากตัวการ


วิชาการและวิชาชีพภูมสิ ถาปัตยกรรมสมัยใหม่มีความจาเป็นที่จะต้องมีวิสัยทัศน์ ที่สามารถวินิจฉัยและคาด การณ์ถึงสถานการณ์และสถานภาพของสภาพแวดล้อมหรือ “ภูมทิ ัศน์” ทั้งในปัจจุบันและอนาคต และมี ความสามารถในการวางแผน

การวางผังและการออกแบบที่สามารถตอบคาถามของคุณภาพของสภาพ

แวดล้อมหรือ “ภูมทิ ัศน์” ในด้านคุณภาพของสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ การบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์ ฐานะระบบนิเวศที่ให้การรองรับการและสนับสนุนดารงชีวติ

ยิ่งไปกว่านั้นอาจจะรวมทั้งการการวางแผน

การวางผังและการออกแบบเพื่อการบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติด้วย การพัฒนาวิสัยทัศน์และความสามารถดังกล่าว

จะต้องอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาหลักสูตรภูมิ

สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์ในการให้ความสาคัญของปัญหา สถานการณ์และสถาน ภาพของสภาพแวดล้อม หรือ “ภูมิทัศน์” ทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้งศักยภาพและทรัพยากร ขององค์กรในการพัฒนาหลักสูตร

ที่จะสามารถให้และจัดการการศึกษาในด้านของวิทยาศาสตร์สิ่งแวด

ล้อมและนิเวศวิทยารวมทั้งสังคมวิทยา โดยมีการวางแผน การวางผังและการออกแบบที่มคี วามเข้าใจ และ ตระหนักในปัญหาดังกล่าว สภาพแวดล้อมหรือ

เป็นตัวเชื่อมโยงศาสตร์ทั้งหลายดังกล่าวข้างต้นเพื่อนาไปสร้างสรรค์

“ภูมิทัศน์”

อย่างยั่งยืน

โดยการพัฒนาขีดความสามารถในการรองรับและ

สนับสนุนดารงชีวิตในแง่ของการบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์

และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ ทั้งหลายการ

ทานุบารุงและดูแลรักษา “ภูมทิ ัศน์” ในฐานะระบบนิเวศ การอนุรักษ์และการฟื้นฟู “ภูมทิ ัศน์” หรือระบบ นิเวศที่มคี วามเสียหายจากการกระทาของมนุษย์ การเตรียมการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต รวมทั้งตอบสนองต่อความต้องการทางสังคม และจิตใจของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะเป็น กลไกที่สาคัญกลไกหนึ่งในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดี คณะเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เป็นองค์กรที่มีศักยภาพและทรัพยากรที่จะพัฒนา

หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์ในการรับมือและสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม หรือ “ภูมิทัศน์” ทั้งในปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดี และยังเป็นการพัฒนาประเทศด้วยการ สร้างสรรค์และเสนอหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต ที่มี “ความแตกต่างจากหลักสูตร อื่นๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย” ทั้งในด้านพื้นฐานและระดับสูง ซึ่งจะเป็นการสร้างบุคคลกรที่สามารถ ตอบคาถาม แก้ไขปัญหา และสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมหรือ “ภูมิทัศน์” อย่างยั่งยืน ตำมควำม ต้องกำรของสังคมและประเทศทั้งในปัจจุบันและอนำคต

21


Landscape Architecture ภูมิสถาปัตยกรรม โดย ดร. ดนัย ทายตะคุ ในฐานะกรรมการร่างหลักสูตร ภูมสิ ถาปัตยกรรมเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับการจัดการแผ่นดิน ทรัพยากรกายภาพและชีวภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อยังประโยชน์ที่ยั่งยืนแก่สังคมมนุษย์บนความยั่งยืนของธรรมชาติ ซึ่งการจัดการดังกล่าวครอบคลุมทั้ง การจัดการ, การวางแผน, การออกแบบและการฟื้นฟูภูมทิ ัศน์ เป็นต้น

ดังนัน้ ศาสตร์ของภูมิสถาปัตยกรรมเป็นศาสตร์เฉพาะทางที่ไม่ได้มีความหมายที่จากัด ด้วยการเป็นส่วนหนึ่ง ของวิชาชีพสถาปัตยกรรม (ตามความหมายที่คนทั่วไปเข้าใจว่าเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับการออกแบบและการ ก่อสร้างอาคารบ้านเรือน) เท่านั้น คาว่าสถาปัตยกรรมที่ใช้ร่วมกับคาว่า ”ภูม”ิ ในที่น้หี มายถึง การ สร้างสรรค์

ซึ่งมีอยู่ในทุกสาขาวิชาการและวิชาชีพ

ในบริบทที่ตา่ งกันและอาจใช้คาเรียกที่ตา่ งกัน

ตัวอย่างเช่น Naval Architecture หมายความว่า is an engineering discipline dealing with the design, construction, maintenance and operation of marine vessels and structures. ซึ่งไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับ ศาสตร์ของการออกแบบและการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนแต่อย่างใด

เราจะพบว่าในประเทศที่มวี ิวัฒนาการทางวิชาการเป็นระยะเวลานานและศาสตร์ทางด้านภูมสิ ถาปัตยกรรม ได้มกี ารพัฒนามาอย่างต่อเนื่องนัน้ การเรียนการสอนและการวิจัยของศาสตร์ของภูมิสถาปัตยกรรมนัน้ อยู่ ในคณะหรือวิทยาลัยที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับคณะสถาปัตยกรรมหรือเป็น เอกเทศจากคณะสถาปัตยกรรม ตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) สหรัฐอเมริกา ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมเป็น ภาควิชาที่เป็นเอกเทศและมีการเรียนการสอนที่เป็นเอกเทศ

อยู่ในบัณฑิตวิทยาลัยแห่งการ

ออกแบบ (Harvard Graduate School of Design)

มีต่อ .. 22


มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ เมืองเบิร์คลีย์ (University of California at Berkeley) สหรัฐอเมริกา ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม

เป็นภาควิชาที่เป็นเอกเทศและมีการเรียนการสอนที่

เป็นเอกเทศ อยู่ใน วิทยาลัยแห่งการออกแบบสิ่งแวดล้อม (College of Environmental Design) มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ เมืองเดวิส (University of California at Davis) สหรัฐอเมริกา ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็นภาควิชาที่เป็นเอกเทศและมีการเรียนการสอนที่เป็น เอกเทศ อยู่ในวิทยาลัยแห่งเกษตรกรรมและวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (College of Agricultural and Environmental Sciences) โดยที่มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ เมืองเดวิส ไม่ได้มกี ารสอน ศาสตร์ทางวิชาชีพสถาปัตยกรรมแต่อย่างใด มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกน ณ เมืองแอนอาร์เบอร์ (University of Michigan) สหรัฐอเมริกา ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม เป็นหลักสูตรที่เป็นเอกเทศและมีการเรียนการสอนที่เป็นเอกเทศ อยู่ใน บัณฑิตวิทยาลัยแห่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (School of Natural Resources and Environment)

โดยที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม

ที่เป็น

หลักสูตรอยู่ในวิทยาลัยแห่งสถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง (A. Alfred Taubman College of Architecture and Urban Planning) ถึงแม้ว่า สภาสถาปนิกจะจัดให้วชิ าชีพภูมิสถาปัตยกรรมจัดเป็นสาขาวิชาหนึ่งของสถาปัตยกรรม ควบคุมเช่นเดียวกับสาขาสถาปัตยกรรมหลัก

ก็เพื่อเป็นการวางพื้นฐานทางด้านมาตรฐานการ

ประกอบวิชาชีพ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า การเรียนการสอนศาสตร์ของภูมิสถาปัตยกรรมจะถูก จากัดอยู่ในกรอบทางวิชาการทางด้านสถาปัตยกรรมเท่านั้น ดังตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า ศาสตร์ ของภูมิสถาปัตยกรรมสามารถมีพ้ืนฐานและกรอบทางวิชาการที่หลากหลาย

ไม่ว่าจะเป็นการ

ออกแบบ เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และข้อบังคับสภาสถาปนิกว่าด้วยการ รับรองปริญญา,

อนุปริญญาและประกาศนียบัตรในการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม

พ.ศ.2553 ก็ไม่ได้มีการจากัดการเรียนการสอนว่าจะต้องอยู่ภายใต้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แต่ อย่างใด

เนื่องจากแต่ละสถาบันการศึกษาอาจจะตั้งชื่อหน่วยงานที่จัดการการเรียนการสอน

ทางด้านสถาปัตยกรรมควบคุมที่ต่างกัน

มีต่อ .. 23


นอกจากนี้ ศาสตร์ของภูมิสถาปัตยกรรมก็ได้มีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาพอสมควร ที่จะมีการริเริ่ม สร้างศาสตร์ของภูมิสถาปัตยกรรมที่มีพื้นฐานที่ดีในเรื่องของการจัดการแผ่นดิน

ทรัพยากรกาย

ภาพและชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม เพื่อยังประโยชน์ที่ยั่งยืนแก่สังคมมนุษย์บนความยั่งยืนของธรรมชาติ โดยมีการผสมผสานที่มีความสมดุลกับศาสตร์ทางด้านการการจัดการ, การวางแผนและการออกแบบ

ดนัย ทายตะคุ 17 ก.ค. 2555

24


ดร. พรธรรม ธรรมวิมล (ในฐานะกรรมการร่างหลักสูตร) ประวัติการศึกษา - ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยปารีส 8 สานักการศึกษาปริญญาเอกเมืองและสิ่งแวดล้อม และสถาบันวิจัยด้านสถาปัตยกรรม ผังเมืองและสังคมแห่งกรุงปารีส ด้วยทุนรัฐบาลฝรั่งเศส เกียรตินิยมดีเด่นพร้อมคาชมเชยจากกรรมการนิยม Tres Honorable avec felicitations - ปริญญาโท สถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง โดยสานักสถาปัตยกรรมแห่งปารีสเดอลาวิลเลตต์ ประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนรัฐบาลฝรั่งเศส - ปริญญาโท- เตรียมปริญญาเอก ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ โดยสานักสถาปัตยกรรมแห่งปารีสเดอลาวิลเลตต์รว่ มกับสานักการศึกษาชั้นสูงด้านสังคมศึกษา และมานุษยวิทยา ประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนรัฐบาลฝรั่งเศส - ปริญญาตรี ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตาแหน่งปัจจุบัน - ภูมสิ ถาปนิกชานาญการ กรมศิลปากร (ดูแลด้านการอนุรักษ์ ออกแบบพืน้ ที่ประวัติศาสตร์) - อาจารย์พิเศษประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - อาจารย์พิเศษประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - อาจารย์พิเศษประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย - ภูมสิ ถาปนิกในคณะทางานวิจัยด้านการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมแหล่งธรรมชาติและอุทยานแห่งชาติ - กรรมการในคณะอนุกรรมการวิชาการ สภาสถาปนิก - อุปนายกฝ่ายวิชาการ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย

25

**********


Landscape ภูมิทัศน์ โดย ดร. พรธรรม ธรรมวิมล ในฐานะกรรมการร่างหลักสูตร

คาว่า ภูมทิ ัศน์ คือบทสรุปแห่งความสมดุล ระหว่างความสัมพันธ์ของมนุษย์และสภาพแวดล้อม ผลผลิต ของงานภูมิทัศน์ที่มหี ลายระดับ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ, สภาพแวดล้อมของเมือง จนถึงงานระดับสวน ล้วนสะท้อนถึงเอกลักษณ์และสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมและธรรมชาติทั้งสิน้

ในส่วนแรก "มนุษย์" หรือกลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นผู้ครอบครองอาณาบริเวณ มาพร้อมกับวัฒนธรรมอันเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละกลุ่ม เป็นผู้สร้างสรรค์งานบทแผ่นดิน ด้วยเทคนิควิธีการก่อสร้างที่เนื่องด้วย วิถีชีวติ และวัฒนธรรม, ปรัชญา, ความเชื่อ ฯลฯ โดยการเรียนรู้จากธรรมชาติและสร้างสรรค์งานที่สามารถ อยู่ได้กับธรรมชาติ

ที่ได้จากการเรียนรู้ทั้งลักษณะภูมปิ ระเทศ, ภูมอิ ากาศ ทั้งนีก้ ็เพื่อการปรับตัวให้

สามารถอยู่รอดได้ในสภาพพืน้ ที่หรือในสภาวะเฉพาะแหล่งนั้นๆ

ในอีกด้านหนึ่งคือ"ธรรมชาติ"หรือผืนแผ่นดินอันเป็นที่ตั้งของกลุ่มสังคม

รวมถึงสภาพแวดล้อมที่ถูกเลือก

เพื่อเป็นที่อาศัย เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อและจิตวิญญาณ สิ่งที่เป็นส่วนสาคัญจากผืนแผ่นดินนีค้ ือ การเป็นแรงบันดาลใจให้กลุ่มคนในสังคมในหลายด้าน ที่ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของกลุ่มคนนัน้ ๆ หรือที่ สะท้อนออกมาในรูปของการจัดการพื้นที่ในการออกแบบภูมทิ ัศน์ ทั้งในรูปแบบการวางผังหรือการจัดการ พืน้ ที่และที่วา่ ง รวมทั้งการสร้างสรรค์ในงานศิลป์

ในปัจจุบัน งานภูมิสถาปัตยกรรมจึงมิใช่เพียงโครงการออกแบบพืน้ ที่ใหม่ๆ เท่านั้น การใช้แนวคิดที่เกี่ยวกับ การอนุรักษ์สภาพแวดล้อม การออกแบบจัดการพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ ซึ่งเป็นแนวทางที่จะช่วย รักษาโลกและระบบนิเวศน์

หรือการจัดการพื้นที่ทางภูมิทัศน์วัฒนธรรม หรือการต่อเนื่องแนวความคิด

จากวัฒนธรรมเดิม ในบางโครงการที่เหมาะสมและสอดคล้อง ถือว่าเป็นการสืบสานความเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมได้อกี ทางหนึ่ง

และยังเป็นการต่อเนื่องแนวทางแห่งองค์ความรูข้ องบรรพบุรุษที่ที่เป็นการดูแล

26


รักษาและเข้าใจในผืนแผ่นดิน แม้จะต้องมีการปรับปรุงตามบริบทแห่งการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และวิถีแห่งวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการไป การศึกษาด้านภูมิสถาปัตยกรรมจึงมีพื้นฐานมาจากสองส่วน คือทางด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของ พืน้ ที่และทางด้านแนวคิดและวิธีการในการจัดการพื้นที่ที่อยู่ภายใต้วัฒนธรรมของแต่ละยุคสมัย ซึ่งมีการ เรียนการสอนจากทางด้านสถาปัตยกรรม และหรือจากด้านสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น และความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่นับวันจะทวีความรุนแรง ขึ้น แนวทางของศาสตร์ด้านนี้ในอนาคตจะมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการรักษาโลก, สภาพแวดล้อม ธรรมชาติและระบบนิเวศ

เนื่องจากเป็น

“ผู้ท่มี ีความเข้าใจทั้งด้านสภาพแวดล้อมและ

แนวทางในการจัดการที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบของการเรียนการสอนหรือแขนงวิชาที่ เกี่ยวข้องน่าจะมีพัฒนา การมากไปกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นการบูรณาการกับ ศาสตร์แขนงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกี่ยวกับสภาพแวด ล้อมทาง ธรรมชาติท่นี ่าจะเป็นแนวโน้มในอนาคต”

พรธรรม ธรรมวิมล 18 กรกฎาคม 2555

27


อาจารย์กนก เหวียนระวี (ในฐานะกรรมการร่างหลักสูตร) ประวัติการศึกษา - M.Sc. (Horticulture) มหาวิทยาลัยมิสซูรี่ โคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา (สาขาไม้ดอกไม้ประดับ) - B.Sc. (Horticulture) มหาวิทยาลัยมิสซูรี่ โคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา (สาขาไม้ดอกไม้ประดับ) - วทบ. (เกษตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (สาขาวิชาไม้ดอกไม้ประดับ)

ตาแหน่งปัจจุบัน - อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปริญญาตรีและปริญญาโท) - อาจารย์พิเศษประจาภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ปริญญาตรี) - อดีตอาจารย์ประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 30 ปี (เริ่มสอนตั้งแต่นสิ ิตรุ่นแรก)

28


มุมมองและข้อคิดเห็นเพิ่มเติมของ ผู้ร่วมอยู่ในวงการวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม

29


มุมมองและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ทิศทางของการศึกษาออกแบบภูมิทัศน์ในสหรัฐอเมริกา

นายพงศกร ศุภกิจไพศาล ผูซ้ ึ่งจะมาเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตร เมื่อจบการศึกษาในระดับปริญญาเอก (ทุนในโควต้าคณะเกษตรศาสตร์) -

นักเรียนทุนกระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำขำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์

-

ภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์บัณฑิตUniversity of Illinois at Urbana-Champaignปี 2554

-

รางวัลนักเรียนเกียรติยศดีเด่นประจาสภาภูมิสถาปนิกแห่งสหรัฐอเมริกา สาขามลรัฐอิลลินอย 2554* (2011 American Society of Landscape Architecture Award of Merit)

“อีกทั้งนักเรียนหลายคนที่ปูพนื้ ฐานมาจากด้านศิลปะ ยังมีความทะเยอทะยาน ทางศิลป์ อยากจะออกแบบเพื่อให้ดูสวยงาม แปลกตา โดดเด่นกว่าคนอืน่ เท่านัน้ จึงไม่ได้ขวนขวายศึกษาเพิ่มเติม ละเลยความใส่ใจในสิ่งแวดล้อมไปโดย สิ้นเชิง”

หากพูดถึงความนิยมในการออกแบบภูมทิ ัศน์ของประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว จะพบ ว่ามีการให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมมากขึ้น การออกแบบทางจักรยาน ทางวิ่ง และการจัดวางผัง บริเวณที่เอื้อต่อผูค้ นสัญจรมากกว่ารถยนต์เริ่มก้าวเข้ามาเป็นที่นิยม ทั้งการออกแบบภูมิทัศน์ท่ี ผสมผสาน การเกษตร สัตว์และสิ่งมีชีวติ อื่นๆ รวมถึงการออกแบบและดูแลสภาพแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน ได้ก้าวมาเป็นประเด็นความสนใจของภูมิสถาปนิก และนักออกแบบภูมิทัศน์มืออาชีพจาก การสารวจประจาปีของนักออกแบบภูมิทัศน์ พบว่า ประเด็นที่เป็นจุดเด่นในการออกแบบภูมิทัศน์ ในปี 2554 นี้ คือการออกแบบอย่างยั่งยืน โดยที่ 71% ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด เห็นว่า ประเด็นนี้เป็นประเด็นที่ควรพิจารณาเป็นอย่างยิ่ง (อ้ำงอิงโดย Design Intelligence 2011 หน้ำ 45-46)

30


ในการประชุมของสหพันธ์ภูมิสถาปนิกแห่งสหรัฐอเมริกา (ASLA) ตามที่ข้าพเจ้าได้ไปประชุมในปี 2552 ณ มหานครชิคาโก มลรัฐอิลลินอยและปี 2553 ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี นั้น ประเด็นของสิ่งแวด ล้อมกลายเป็นที่พูดถึงโดยวิทยากรระดับแนวหน้าจากหลายท้องที่

นักออกแบบชื่อดังร่วมมือกับนัก

จุลชีววิทยาเพื่อปรับสภาพจุลชีพในดินก่อนลงมือออกแบบแปลงเกษตรให้พ้ืนที่เมืองแออัด

รวมถึงฟื้นฟู

ท้องที่เสื่อมสภาพจากเกษตรกรรมผิดวิธีหรือสารตกค้างจากอุตสาหกรรมได้ออกมากล่าวถึงผลงานของตน และได้ชักจูงเชื้อเชิญนักออกแบบภูมิทัศน์จากทั่วโลก ควบคู่ไปกับความงดงามและความสะดวกในการใช้สอย

ให้คานึงถึงการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์ให้ยั่งยืน ทดแทนความหรูหราเพียงเปลือกนอกที่

ต้องใช้ทรัพยากรและทรัพย์สินจานวนมากเพื่อรักษาให้คงรูปเอาไว้ แม้แต่นักออกแบบชื่อดัง ผูบ้ ริหารของบริษัทภูมสิ ถาปนิกที่ใหญ่ที่สุดในโลกและคณบดีของมหาวิทยาลัย ปักกิ่งอย่าง ดร. ยูคงเจียน ยังได้เดินทางมายังประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นวิทยากรในหัวข้อ “การล่ม สลายของสวรรค์บนดินแห่งผืนแผ่นดินจีน”

ที่กล่าวถึงการที่ประเทศจีนเปลี่ยนแปลงทรัพยากร

ธรรมชาติและป่าไม้ให้โดยไม่คานึงถึงสภาพแวดล้อม

และเตือนถึงผลกระทบทางธรรมชาติที่อาจ

กลับมาทาร้ายแผ่นดินจีนในภายหลัง ในด้านการศึกษาออกแบบภูมิทัศน์

ปัจจุบันทางสหรัฐอเมริกาได้จัดการศึกษาให้เกี่ยวข้องกับสิ่ง

แวดล้อมมากขึ้น การเรียนรูก้ ารออกแบบต่างๆ กระตุ้นให้นักเรียนได้ศกึ ษาความรูท้ างวิทยาศาสตร์เพิ่ม เติม โครงการต่างๆ ที่ใช้นามาสอนผนวกเอาความรู้ด้านสัตววิทยา ป่าไม้ ดิน น้า ชุมชน และการผลิต อาหารเอาไว้ร่วมกับกลยุทธการจัดวางให้เกิดความงดงาม ผ่อนคลาย และเอื้อประโยชน์ เช่น ใน มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ณ เออร์บานา แชมเปญ ที่ขา้ พเจ้าได้ศึกษามานั้น ได้รเิ ริ่มมีหัวข้อโครงการ ออกแบบภูมทิ ัศน์ฟื้นฟูปากแม่น้ามิซซิสซิปปี

ภูมทิ ัศน์ที่สามารถเก็บเกี่ยวรับประทานได้กลางมหานคร

ชิคาโก และหัวข้อโครงการออกแบบพืน้ ที่อยู่อาศัยของสัตว์ในซากโครงการก่อสร้าง มาเป็นตัวเลือกของ วิชาปฏิบัติการการออกแบบคละเคล้ากับหัวข้ออื่นๆ ที่มอี าจารย์ผู้เชี่ยวชาญมานาเสนอ โดยการเรียน เหล่านี้ นักเรียนต้องติดต่อค้นคว้าจากแหล่งความรู้นอกห้องเรียนด้วยตนเอง ซึ่งอาจทาให้องค์ ความรู้ไม่ครบถ้วนนัก

อีกทั้งนักเรียนหลายคนที่ปูพื้นฐานมาจากด้านศิลปะ

ยังมีความทะเยอ

ทะยานทางศิลป์ อยากจะออกแบบเพื่อให้ดูสวยงาม แปลกตา โดดเด่นกว่าคนอื่นเท่านั้น จึงไม่ได้ ขวนขวายศึกษา เพิ่มเติม ละเลยความใส่ใจในสิ่งแวดล้อมไปโดยสิ้นเชิง

31


การที่ได้มาร่วมกิจกรรมกับนักศึกษาการออกแบบภูมิทัศน์ของคณะเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่ ทาให้ข้าพเจ้าได้เล็งเห็นถึงทรัพยากรสาหรับค้นคว้าซึ่งมีพรักพร้อมสาหรับนักศึกษาเป็น อย่างยิ่ง และหลายอย่างเป็นสิ่งที่นักศึกษาได้เรียนรู้อยู่แล้วจากวิชาที่คณาจารย์นาเสนอ ทาให้การออก แบบเพื่อสิ่งแวดล้อมเช่นที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษามานั้น จะสามารถนามาใช้ได้อย่างสมบูรณ์แบบมากขึ้นที่น่ี

ในหลายมหาวิทยาลัยชั้นนา

สาขาวิชาการออกแบบภูมิทัศน์และภูมิสถาปัตยกรรมได้แยกตัว

ออกมา มีเอกลักษณ์ชัดเจนกว่าวิชาออกแบบวิชาอื่น และได้รับความเคารพในฐานะวิทยาศาสตร์ แขนงหนึ่ง โดยจะสังกัดกับคณะต่างๆ กันไป เช่น คณะเกษตรศาสตร์ (Cornell, Purdue) คณะการ ออกแบบสิ่งแวดล้อม (Georgia, Berkeley) ซึ่งแม้จะไม่ได้อยู่ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ แต่นัก ออกแบบภูมิทัศน์เหล่านี้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างภาคภูมิใจ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสาขา

วิชาเหล่านีต้ ่างเป็นสาขาวิชาที่ร่วมติดอันดับ TOP TEN ของ Design Intelligence อันเป็นนิตยสาร จัดอันดับสถาบันการออกแบบที่ได้รับความเชื่อถืออย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกา (เอกสารอ้างอิง Design Intelligence 2009-2011) หลักสูตร Landscape Architecture ซึ่งอยู่ในภาควิชา Horticulture and Landscape Architecture คณะเกษตรศาสตร์ ของ Purdue University ได้รับอันดับสามของหลักสูตรดีเด่น ทั้งยังเป็นผูจ้ ัดงาน สัมมนานักศึกษาการออกแบบภูมทิ ัศน์ทั่วภูมภิ าคประจาปี 2554 อีกด้วยถึงแม้ว่า เมื่อห้าปีก่อน ภาควิชา Horticulture ของมหาวิทยาลัยดังกล่าวยังมิได้มีชื่อเสียง แต่เมื่อผนวกกับวิชา Landscape Architecture และ มีการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

ชื่อเสียงทางภาควิชาของมหาวิทยาลัยก็พัฒนามาตามลาดับจน

ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายเช่นในปัจจุบัน (เอกสารอ้างอิง Design Intelligence 2009-2011) หากประเทศไทยได้มีหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์

ที่รองรับกับการดูแลสภาพแวดล้อมและ

คานึงถึงทรัพยากรทางธรรมชาติ จะเป็นผลดีอย่างยิ่งในการดูแลรักษาทรัพยากรเอาไว้เพื่อให้ประชาชน รุ่นหลังได้มใี ช้สืบไป โดยหลักสูตรที่คานึงถึงสิ่งเหล่านี้ จะเป็นหลักสูตรทีน ่ าสมัยและเป็นจุดสนใจ

ในระดับประเทศ ภูมิภาคและสากล เพราะมีเพียงหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์ชั้นนาไม่กี่ที่ เท่านั้นที่แสดงความคานึงถึงสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน

----------------------32


นางสาวจิติมา จิตรวรนันท์ (ในฐานะผูร้ ่วมสาขาวิชาชีพภูมสิ ถาปัตยกรรม) ประวัติการศึกษา - M. Sc. In Tourism Planning and Development University of Survey, England - ภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตาแหน่งปัจจุบัน - ร่วมงานกับสถาบันพัฒนาชุมชน (องค์กรมหาชน) ในฐานะภูมิสถาปนิกอิสระ

ความเห็นเกี่ยวกับหลักสูตร Landscape และการปฎิบัติวิชาชีพในปัจจุบันที่เป็นอยู่ โดย นางสาวจิตมิ า จิตรวรนันท์ จากสถานการณ์ในปัจจุบันที่ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นวาระที่สาคัญ ในระดับโลก การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคานึงถึงประเด็นเหล่านี้ โดย เฉพาะบุคลากรด้านการออกแบบภูมิทัศน์ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับออกแบบพืน้ ที่ เพื่อการใช้ประโยชน์ ผืนแผ่นดินอย่างคุ้มค่า ควรจะมีความเข้าใจในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างลึกซึง้ เพื่อให้การ พัฒนาพื้นที่เป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม

ที่ไม่ใช่การออกแบบเพื่อสร้างเสริมความงามและ

ประโยชน์ใช้สอยของมนุษย์แต่เพียงอย่างเดียวดั่งเช่นปัจจุบัน

หากแต่ต้องคานึงถึงการอนุรักษ์ฟื้นฟู

และการจัดการทรัพยากรด้วย ซึ่งในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ได้มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยน โครงสร้างของหลักสูตรให้เป็นไปในทิศทางดังกล่าวมากขึ้น และการออกแบบภูมทิ ัศน์ในโครงการต่างๆ เช่น บ้านจัดสรร รีสอร์ท ฯลฯ มีการนาแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อมมาเป็นจุดขายมากขึ้น

33


นอกจากนี้ในปัจจุบันมีความต้องการบุคลากรด้านการออกแบบภูมิทัศน์เป็นจานวนมาก ทั้งในส่วน ของภาคเอกชนและหน่วยงานภาครัฐ

แต่นักศึกษาส่วนใหญ่ท่ีจบการศึกษาด้านการออกแบบ

ภูมิทัศน์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) จะเลือกไปทางานในต่างประเทศเป็นอันดับต้นๆ มีเพียงส่วนน้อยที่ ทางานให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่กากับ ควบคุมดูแล การบริหารจัดการทรัพยากรใน ประเทศ โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยตรง เช่น กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พชื กรมทางหลวง กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมชลประทาน สานัก งานนโยบายและแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมี ความต้องการบุคลากรที่สามารถวางแผน วางผัง ออกแบบภูมทิ ัศน์และจัดการสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี เพื่อให้การพัฒนาประเทศเป็นไปในทิศทางที่ยั่งยืน ซึง่ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมนี้ จะช่วยเติมเต็มความต้องการนี้ได้

นอกเหนือจากบริษัทออกแบบและหน่วยงานของภาครัฐแล้ว บริษทั ที่ปรึกษาด้านโครงสร้างพื้นฐานผัง เมืองและสิ่งแวดล้อมก็เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีความต้องการบุคลากรด้านการออกแบบภูมิทัศน์ และ การจัดการสภาพแวดล้อมที่สามารถทางานได้หลากหลาย ทั้งการจัดทาแผนแม่บท ผังแม่บท การจัด ทาแบบเบือ้ งต้น ไปจนถึงการออกแบบรายละเอียดและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งครอบคลุม ขอบเขตงานที่กว้างกว่าและซับซ้อนกว่าบริษัทออกแบบภูมิทัศน์ทั่วไป

และเป็นงานในขอบเขตพืน้ ที่

ขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนใหญ่ให้บริการแก่ภาครัฐ เนื่องจากภาครัฐยังขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ในด้านนี้ จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะมีการผลิตบุคลากรเพื่อมารองรับความต้องการในด้านนี้

การพัฒนาหลักสูตรนีใ้ นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคเหนือที่แวดล้อมไปด้วย แหล่งทรัพยากรธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมมากมาย อันควรค่าแก่อนุรักษ์และต้องการการพัฒนาที่ถูก ต้องและเหมาะสม

จะช่วยส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นต้นแบบในการผลิตบุคลากรที่มี

คุณภาพและสร้างสรรค์สังคมไปในทิศทางที่ถูกต้อง

และยังเป็นการกระจายองค์ความรู้ในการ

พัฒนาประเทศที่ถูกต้องสู่ชุมชนอีกด้วย ------------------------

34


ประวัติการศึกษาและประสบการณ์การทางาน รวมถึงบทวิพากษ์ของผู้ทรงคุณวุฒิ

35


รศ.จามรี อาระยานิมิตสกุล (ในฐานะผูท้ รงคุณวุฒิ) ประวัติการศึกษา - ปริญญาโท ภูมิสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา (University of Michigan, Ann Arbor) - ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตาแหน่งปัจจุบัน - อาจารย์ประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิภูมิสถาปนิก ว. ภส. 28 - กรรมการสภาสถาปนิก

**********

- กรรมการในคณะอนุกรรมการวิชาการสภาสถาปนิก

**********

- หัวหน้าสานักงานบริการวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - อดีตหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ - อดีตรองคณบดีฝา่ ยบริการวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548-2551 บทวิพากษ์ โดย รศ.จามรี อาระยานิมิตสกุล 1.

เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของประเทศและสาขาวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

2.

มีความชัดเจนในเป้าหมายของหลักสูตร และขบวนการการผลิต [นักศึกษา]

3.

เป็นหลักสูตรที่มีความแตกต่างจากหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมอื่นที่เปิดสอนอยู่ แล้วในประเทศไทยเพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม และภูมิทัศน์

36


ดร. วิภากร ธรรมวิมล

(ในฐานะผูท้ รงคุณวุฒิ)

ประวัติการศึกษา - ปริญญาเอกศิลปะประวัติศาสตร์ด้านสวนและภูมิสถาปัตยกรรม พร้อมรางวัลเกียรตินิยมTres Honorable avec felicitations มหาวิทยาลัยปารีส 4 ซอร์บบอนน์ ประเทศฝรั่งเศส - ปริญญาโท-เตรียมเอก การอนุรักษ์สวนภูมิสถาปัตยกรรมและมรดกทางวัฒนธรรม - ปริญญาโทศิลปะประวัติศาสตร์และโบราณคดี มหาวิทยาลัยปารีส 4 ซอร์บบอร์น ประเทศฝรั่งเศส - ปริญญาตรีภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตาแหน่งปัจจุบัน - อุปนายกสมาคมภูมสิ ถาปนิก แห่งประเทศไทย - อาจารย์พิเศษประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ผูอ้ านวยการ บริษัท วาบิซาบิ สตูดิโอ จากัด - ที่ปรึกษาและภูมสิ ถาปนิกอาวุโส ที่บริษัท พี แลนด์สเคป จากัด

37


บทวิพากษ์ โดย ดร. วิภากร ธรรมวิมล

“หลักสูตรนี้จะมีความโดดเด่นและแตกต่างจากการเรียนการสอนในภาควิชา ภูมิสถาปัตยกรรมทีม่ ีอยู่แล้วในประเทศไทยปัจจุบัน” ปัจจุบัน การทางานเชิงปฏิบัติการและงานวิชาการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มุ่งเน้นการจัดการเรื่องภูมิ ทัศน์ เป็นงานที่เกี่ยวข้องครอบคลุมหรือสอดแทรกอยู่ในงานสาขาต่างๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม

ซึ่งมีมนุษย์เป็นผู้ร่วมอยู่ในกระบวนการเหล่านั้น โดยมีเนือ้ งานเกี่ยวข้อง

กับงานหลายขนาด ตั้งแต่งานขนาดมหภาคไปจนถึงงานในรายละเอียดปลีกย่อยขนาดเล็ก ทั้งในรูปแบบ ของแผนนโยบาย แนวทาง การออกแบบ การปฏิบัติการ ไปจนถึงการติดตามตรวจสอบ อันได้แก่ งานการ จัดการแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ งานการวางแผนภาคและผังเมือง งานภูมิสถาปัตยกรรม งานออกแบบ บนพืน้ ที่เฉพาะ จนย่อยลงไปถึงการจัดการพื้นที่ในเขตรอบบริเวณบ้าน เป็นต้น งานการจัดการสิ่งแวดล้อมทางภูมิทัศน์ที่มคี วามจาเป็นกับสภาพสังคมปัจจุบัน สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ แนวทาง คือ - การจัดการสิ่งแวดล้อมทางภูมิทัศน์เดิมที่มีคุณค่า ทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรม เป็นงาน ที่ต้องอาศัยแนวทางของการรักษาฟื้นฟู เพื่อการปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมทางภูมิทัศน์เดิมที่ ประสบปัญหาหรือถูกทาลายไปแล้วโดยอาศัยหลักการสงวนรักษาและฟื้นฟูให้คืนสภาพ และ ทาการวางแผนการใช้ การป้องกันควบคุมต่างๆ ในส่วนที่มีความเสี่ยงต่อการถูกทาลายใน อนาคตอันใกล้ ตลอดจนการส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสานึกรับผิดชอบ ตัวอย่างเช่น งานผังแม่บทเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่ป่า งานผังแม่บทเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่เกษตร กรรมและชุมชน งานผังแม่บทการจัดการลุ่มน้า งานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นต้น - การจัดการสิ่งแวดล้อมทางภูมทิ ัศน์ที่จะเกิดขึ้นใหม่ เป็นแผนงานหรือการออกแบบกิจกรรมในการจัด สรรและการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนองความต้องการในระดับต่างๆ ของมนุษย์แต่ทั้งนี้ ต้อง อยู่ในหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) อาทิเช่น การออกแบบเพื่อส่งเสริมระบบ นิเวศชุมชน การออกแบบพืน้ ที่นันทนาการ การออกแบบพืน้ ที่นิเวศน์เมือง (Urban Ecology) การ ออกแบบเพื่อส่งเสริมภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural Landscape) เป็นต้น

38


จากตัวอย่างงานที่ได้กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่าเพื่อให้ได้ผลสมบูรณ์ของงานการจัดการสิ่งแวดล้อมทางภูมิ ทัศน์ จึงมีความจาเป็นที่ต้องอาศัยศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ประยุกต์และศิลป์ ในการทางานร่วมกันของ ผู้เชี่ยวชาญ (Specialist) หลายสาขา อันประกอบด้วย ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม ภูมสิ ถาปนิก สถาปนิก นักผังเมือง วิศวกร ศิลปิน นักธรณีวทิ ยา ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านพืชพันธุ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสัตววิทยา นักสังคม วิทยา นักประวัติศาสตร์ รวมทั้งนักบริหารจัดการ ดังนั้น การผลิตบุคลากรผู้มีความรู้และความชานาญ ในเรื่องเฉพาะทางสิ่งแวดล้อมเชิงภูมิทัศน์ท่มี ีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงกระบวนการต่างๆ สามารถ ให้การเสนอแนะถึงข้อกาหนดเชิงวิชาการ เพื่อใช้ในการร่วมตัดสินใจในส่วนของการวางแผนงาน ตลอดจนถึงเป็นผู้ร่วมปฏิบัติงานในพื้นที่จริง ในปัจจุบันบุคลากรเหล่านี้ยังเป็นที่ต้องการอย่างมาก ในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อความสานึกรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม ทางภูมิทัศน์ได้ถูกให้ความสาคัญโดยมีผลทางกฎหมาย ประเทศไทยเริ่มใช้มาตรการทางด้านการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๕ และในปัจจุบันได้ มีการกาหนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการของส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่จะต้อง จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ๑๙ ประเภท ดังนั้น บุคลากรผูเ้ ชี่ยวชาญดังกล่าวจึงมี หน้าทีโ่ ดยตรงในสาขางานที่มีผลทางกฎหมายนี้ และเนื่องจากเป็นผู้ที่มคี วามรูใ้ นภาพรวมของการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมรวมของโครงการ จึงสามารถที่จะเป็นผู้ประสานการทางานของผู้เชี่ยวชาญในหลาย สาขาไว้ได้ด้วยกันอย่างดี

อนึ่ง การเรียนการสอนเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มุ่งเน้นเรื่องภูมิทัศน์ในประเทศไทยในขณะนี้ ถึงแม้จะมี การผลิตบัณฑิตในหลายแขนงวิชา แต่ก็ยังสามารถผลิตบัณฑิตได้ในจานวนจากัด และผูท้ ี่จบการศึกษา ใหม่สว่ นใหญ่มงุ่ เน้นการทางานในแหล่งงานต่างประเทศ

และทางานในลักษณะงานการออกแบบสิ่งแวด

ล้อม เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจหรือเพื่อความเป็นอยู่สมัยใหม่ที่เน้นการตอบสนองด้านความงาม หรือการ ออกแบบในวิถีของการมุง่ เน้นความเป็นเมืองเพื่อรองรับการขยายตัวของระบบสังคมเมืองสมัยใหม่ ในขณะ ที่การคานึงถึงการจัดการเชิงอนุรักษ์ภูมิทัศน์ในพื้นที่ธรรมชาติ

การจัดการทางภูมิทัศน์ในพื้นที่

ชนบท การคานึงถึงเอกลักษณ์ถิ่นอันเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืนได้ถูกละเลย

มีตอ่ .. 39


ดังนัน้ ข้าพเจ้าจึงมีความหวังว่าการเรียนการสอนในหลักสูตรออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2556 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่นี้ จะสามารถผลิตบัณฑิตที่มีแนวคิดของการอนุรักษ์ อันควบคู่ไปกับการพัฒนา

เพื่อผลของการจัดการภูมิทัศน์ทั้งในสังคมชนบทและในสังคมเมืองได้อย่าง

เหมาะสมและอย่างยั่งยืน และหวังว่าในอนาคตบัณฑิตเหล่านี้จะสามารถผลิตผลงานทั้งด้านวิชาการ และ การปฏิบัติงานจริงเพื่อผลประโยชน์ของชาติ โดยผ่านองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนได้อย่างสมบูรณ์

ชื่อหลักสูตรสามารถเป็นหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สิ่งแวดล้อม

สาขาวิชาออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการ

ส่วนชื่อปริญญา (แก้ไขตามหลักสูตร) เนื่องจากหลักสูตรโดยรวมที่เสนอมีพืน้ ฐานมาจาก

รายวิชาที่ทาการเรียนการสอนเป็นหลักของคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งมุ่งเน้นถึงองค์ความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ โดยมีรายวิชาด้านศิลปะและสังคมวิทยาเป็นส่วนประกอบ ดังนั้น จึงเห็นสมควรจัดอยู่ในหลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภูมทิ ัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยหลักสูตรนี้จะมีความ โดดเด่นและแตกต่างจากการเรียนการสอนในภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมที่มีอยู่แล้วในประเทศไทย ปัจจุบัน

----------------------------

40


ผศ.ดร. พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ (ในฐานะผูท้ รงคุณวุฒิ) ประวัติการศึกษา - Doctor of Philosophy (Community & Regional Planning) Univ. of British Columbia, Canada พ.ศ. 2538 - Master of Landscape Architecture, University of Michigan, U.S.A. พ.ศ. 2526 - สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม), จุฬาฯ พ.ศ. 2520

ตาแหน่งปัจจุบัน - คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - อาจารย์ประจาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประธานสภาสถาปนิกแห่งอาเซียน (ASEAN ARCHITECTS COUNCIL : ACC) คนปัจจุบัน - ผู้อานวยการ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน - กรรมการสภาสถาปนิก พ.ศ. 2546 – 2549, 2549 – 2553

**********

- ประธานอนุกรรมการต่างประเทศ สภาสถาปนิก พ.ศ. 2547 – 2549, 2549 - 2553 - กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พ.ศ. 2550 – ปัจจุบัน - ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2552

- ผูท้ รงคุณวุฒิพิจารณาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550

41


- คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการในเขตพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร ของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2544 – 2549 - คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2546 – 2549 - หัวหน้าภาควิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ พ.ศ. 2539 – 2542, 2542 – 2547 - นายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย พ.ศ. 2542 – 2544

----------------------------

42


บทวิพากษ์ โดย ผศ.ดร. พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ เห็นชอบในหลักสูตร ชื่อหลักสูตรใช้คาว่าการจัดการสิ่งแวดล้อมซึ่งมีเนือ้ หากว้างขวางมาก ต้องคลอบคลุมอีกหลายวิชาวิทยา ศาสตร์กายภาพ ถ้าใช้ชื่อว่า ”การจัดการภูมทิ ัศน์” (การออกแบบและการจัดการ) จะเหมาะสมกว่า

ชื่อหลักสูตร: หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบและจัดการภูมิทัศน์ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Landscape Architecture (Landscape Design and Management) โครงสร้างที่ส่งมาเหมาะสมกับชื่อ สาขาวิชาการออกแบบและจัดการภูมิทัศน์ที่ได้มีขอ้ เสนอแนะไป หากจะ ใช้ชื่อ “การจัดการสิ่งแวดล้อม” ต้องมีวิชาเพิ่มเติมอีก ข้อเสนอแนะอื่นๆ เกี่ยวกับหลักสูตรภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภูมทิ ัศน์และการ จัดการสิ่งแวดล้อม หลักสูตรนี้ควรให้เข้าเกณฑ์ของสภาสถาปนิก

เพื่อผู้จบการศึกษาจะได้ขอรับใบอนุญาตประกอบ

วิชาชีพในอนาคต

------------------------

43


มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่มกี ารเปิดสอน หลักสูตร Landscape Architecture (ซึ่งได้รับการรับรองจาก American Society of Landscape Architecture)

44


หลักสูตร Landscape Architecture (ซึ่งได้รับการรับรองจาก American Society of Landscape Architecture) ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มกี ารเรียนการสอนวิชา Landscape Architecture มากที่สุดในโลก ทีเ่ ปิดในคณะเกษตรฯ, คณะสิ่งแวดล้อมฯ หรือคณะอื่นๆ ที่ไม่ใช่คณะสถาปัตย์ฯ มีอยู่ถึง 68 % และมีอยู่ในคณะสถาปัตย์ฯ เพียง 32% และในบางประเทศ เช่น ญี่ปุ่น จะอยู่ในโรงเรียนเกษตรเกือบ 100 %

ชื่อปริญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (ภส.บ.) เป็นชื่อปริญญาที่ใช้เป็นสากล และแม้แต่ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ก็มใี ช้ในหลายคณะ ได้แก่ คณะสังคมศาสตร์ (ภูมิศาสตร์), คณะมนุษยศาสตร์ (จิตวิทยา) นอกจากนีใ้ บประกอบวิชาชีพก็เป็นคนละใบซึ่งไม่เกี่ยวข้องกัน คณะแพทยศาสตร์ ใบอนุญาตก็ไม่ได้ใช้ชื่อว่า ใบประกอบวิชาชีพ แต่ใช้เป็น “ใบประกอบโรคศิลป์”

45


หลักสูตร Landscape Architecture ที่เปิดในคณะเกษตรฯ, คณะสิ่งแวดล้อมฯ หรือคณะอื่นๆ ที่ไม่ใช่คณะสถาปัตย์ฯ มีอยู่ถึง 68 % และมีอยูใ่ นคณะสถาปัตย์ฯ เพียง 32%

68% อยู่ในคณะเกษตรฯ, คณะเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งออกเป็น - 26% ไม่มีคณะสถาปัตย์ฯ ในมหาวิทยาลัย - 25% มีคณะสถาปัตย์ฯ อยู่ร่วมมหาวิทยาลัย - 17%

อยู่ในคณะอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่คณะเกษตร, คณะเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

หรือคณะสถาปัตย์ฯ 32% อยู่ในคณะสถาปัตย์ฯ

46


หลักสูตร Landscape Architecture ลำ ดับ

วิทยำลัย

B S L A

M L A

1

Y

Y

3

California State Polytechnic University University of California Davis Colorado State University

4

University of Connecticut

Y

5

Purdue University

Y

6

University of Kentucky

Y

7 8

University of Massachusetts Temple University

9

West Virginia University

Y

Resource Management

10

University of Wisconsin, Madison

Y

Landscape Architecture

11

Cornell University

Y

Y

12

University of Georgia

Y

Y

13

University of Maryland, College Park Michigan State University

Y

Y

Mississippi State University University of NebraskaLincoln North Carolina A&T State University Oklahoma State University

Y

2

14

15 16 17 18

B L A

Y Y

Y

Y

Y Y

ภำควิชำ

Landscape Architecture Environmental Design Horticulture and Land. Arch. Plant Sci and Land Arch. Horticulture and Land. Arch. Landscape Architecture Land. Arch. And Regional Planning Landscape Architecture

Y

Y

P h D

Y

Landscape Architecture Landscape Architecture Plant Sci and Land Arch. Landscape Architecture

Landscape Architecture Landscape Architecture Natural Resources and Envi Desi Horticulture and Land. Arch.

47

คณะ

มี ภำควิชำ/ หลักสูตร สถำปัตยก รรม (แยก คณะ)

C.of Environmental Design C. of Agri and Envi Sciences C. of Agri Sciences

N

C. of Agri and Natural Resources Purdue Agriculture

N

C. of Agriculture

Y

C. of Social and Behavioral Sci School of Environmental Design/ C. of Liberal Arts C. of Agri; Forestry&Consumer Sci School of Natural Resources/ C. of Agricultural and Life Sciences C. of Agriculture and Life Sci C. of Environment and Design C. of Agri and Natural Resources School of Planning, Design, & Construction/ C. of Agri and Natural Resources C. of Agri and Life Sci

Y

C. of Agri Sci and Natural Resources C. of Agri Sci and Natural Resources C. of Agriculture

N N

N

Y

N N

Y N Y N

Y Y N Y


ลำ ดับ

19

วิทยำลัย

B L A

B S L A

M L A

University of Rhode Island Rutgers University

Y

Y

22

State University of New York Texas Tech University

Y

Y

23

Utah State University

Y

Y

24

Washington State University

Y

25

University of Washington

Y

Y

26

University of Florida

Y

Y

27

Y

Y

28

University of Illinois, Urbana-Champaign Iowa State University

29

Louisiana State University

Y

30

University of Nevada, Las Vegas North Carolina State University University of Idaho

Y

20 21

31

Y

Y

Y

Y Y

Y

Y

Y

Y

Y

34

Florida International University Ball State University

Y

Y

35

Kansas State University

Y

Y

36

Ohio State University

Y

Y

37

University of Oregon

Y

Y

38

Y

Y

39

Pennsylvania State University Clemson University

Y

Y

40

Texas A&M University

Y

Y

33

ภำควิชำ

Landscape Architecture Landscape Architecture

Y

32

P h D

Y

Y

Landscape Architecture Landscape Architecture Land Arch & Envi Planning Horticulture and Land. Arch. Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture Land Arch. & Planning Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture Landscape Architecture/ Regional and Community Planning Section of Land. Arch. Landscape Architecture Landscape Architecture Planning and Land Arch Landscape & Urban Planning

48

คณะ

มี ภำควิชำ/ หลักสูตร สถำปัตยก รรม (แยก คณะ)

C. of Environment & Life Sci School of Environment & Biological Sci C. of Environmental Science and Forestry C. of Agri Sci and Natural Resources C. of Agriculture

N

C. of Agriculture, Human, and Natural Sci C. of Built Environment C. of Design, Const, & Planning C. of Fine & Applied Arts C. of Design

Y

Y Y Y N

N N N N

C. of Arts & Design

N

C. of Fine Arts

N

C. of Design

N

C. of Letters, Arts, and Social Sciences C. of Architecture and The Arts C. of Architecture and Planning C. of Arch, Planning, and Design

N

School of Architecture School of Architecture and Allied Arts C. of Arts & Architecture C. of Arch, Arts, and Humanities C. of Architecture

-

-

-


วิทยำลัย

B L A

Virginia Polytechnic Institute and State University University of Washington California Polytechnic State University Boston Architectural College North Dakota State University

Y

46

Philadelphia University

Y

47

Arizona State University

ลำ ดับ

41 42 43 44 45

M L A

P h D

Y

Y

Y

Y

Y

B S L A

Y Y

Y

ภำควิชำ

n/a

คณะ

School of Architecture and Design

Landscape Architecture Landscape Architecture N/a Architecture and Landscape Architecture Landscape Arch. Program Landscape Architecture

49

มี ภำควิชำ/ หลักสูตร สถำปัตยก รรม (แยก คณะ)

-

C. of Architecture and Environmental Design School of Landscape Architecture C. of Engineering and Arch

-

School of Architecture School of Arch & Land Arch/ C. of Design

-

-

-


Design Intelligence 2009-2011 จากผลสารวจความเห็นของ Landscape Architect ในอเมริกา จะพบว่า ในปัจจุบัน ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับเรื่อง Sustainability / Climate Change ถึง 71 % (โดยดูจาก Design Intelligence 2011)

ในขณะเดียวกัน หลักสูตร Landscape Architecture ซึ่งเมื่อรวมเข้ากับ ภาควิชา Horticulture เป็น Horticulture and Landscape Architecture คณะเกษตรศาสตร์ ของ Purdue University ได้รับอันดับ 3 ของ หลักสูตรดีเด่น ใน Top Ten List ภายในเวลาเพียง 3 ปี (จากเดิมที่ไม่เคย ได้มชี ื่อเสียงมาก่อน)

50


51


52


53


54


55


56


ประเด็นสรุปชี้แจงเกี่ยวกับความเหมาะสม ของ

การเรียนการสอนหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ในภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

57


ประเด็นสรุปชี้แจงเกี่ยวกับความเหมาะสม ของ การเรียนการสอนหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ในคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มาและเหตุผล  ด้วยแก่ นสาระที่แท้จริง ของวิชาการออกแบบภูมิทัศน์ (Landscape) คือ การออกแบบ วางแผนและวางผังการใช้ท่ีดิ น (ทรัพ ยากรธรรมชาติ) ให้ เ กิด ประโยชน์แก่ มนุษ ย์ แต่จาก ความคิ ด ของการใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ (ที่ ดิ น ) ดั ง กล่ า วในช่ ว งเวลาที่ ผ่ า นมา ปราศจากการคานึงถึงผลกระทบเลวร้ายที่จะตามมา จะด้วยสาเหตุจากการที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือไม่มคี วามรูเ้ พียงพอ ก็ทาให้คนจานวนมากต้องประสบความทุกข์ยากอันมีผลมาจากการ พังทลายของสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการเกิดกับผู้คนที่ยากไร้ ธรรมชาติและสัตว์ทั้งหลาย (เอกสารแนบหมายเลข 1 -ซึ่งชีแ้ จงว่ำ ภูมทิ ัศน์และสิ่งแวดล้อมคืออะไรและเกี่ยวข้องกันอย่ำงไร)  ศาสตร์วิชาการออกแบบภู มิทัศน์ (Landscape) ในประเทศไทยส่ วนใหญ่ท่ีส อนกันอยู่ ใน ปัจจุบันมีรากฐานมาจากวิชา Landscape ของต่างประเทศซึ่งมีการสอนสืบเนื่องมาแต่ใน อดีต ซึ่งในยุคสมัยแรกของการพัฒนาศาสตร์ดา้ นการออกแบบภูมิทัศน์ มนุษย์ยังไม่ตระหนักและรู้จักคา ว่าสิ่งแวดล้อม เพราะโลกยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบรูณ์ การออกแบบภูมิทัศน์ในยุ ค นั้นจึงมีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อการใช้ประโยชน์ของมนุษย์และความสวยงามเป็นหลัก ดังเช่น สวนแวร์ ซ ายในประเทศฝรั่ ง เศส และสวนต่ างๆ ในประเทศอิต าลี และแม้ ใ นปั จ จุ บั น การ ออกแบบภู มิ ทัศ น์ ก็ ยั ง คงให้ ค วามส าคั ญ กั บ การออกแบบเพื่ อ ประโยชน์ ของมนุ ษ ย์แ ละ พิจารณาเรื่องความสวยงามที่ ได้เป็นหลัก ซึ่งเป็นเพียง “Cosmetic Landscape” ที่ยังคง ไม่ให้ความสาคัญกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควร ปรั ช ญา, วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละวิ ธี ก ารให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง หลั ก สู ต รการออกแบบภู มิ ทั ศ น์ แ ละการจั ด การ สิ่งแวดล้อม  คณะผู้ ร่า งหลั ก สู ตรการออกแบบภู มิ ทั ศน์ แ ละการจั ด การสิ่ งแวดล้ อม เล็ งเห็น ถึง ปั ญ หาและ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นในวงกว้าง ซึ่งมีความจาเป็นและมุ่งมั่นที่จะผลิตบุคลากร ด้ า นการออกแบบภู มิ ทั ศ น์ ที่ น อกจากจะ “ต้ อ ง” มี ค วามรู้ แ ละตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หา สิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐาน แล้วยังต้องมีความเข้าใจในสภาพธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง 58


ลึกซึ้ง จึงจะสามารถออกแบบภูมิทัศน์บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ และ การพัฒนา ตลอดจนฟื้นฟูภูมิทัศน์หรือระบบนิเวศที่เสียหายจากการกระทาของมนุษย์ได้ โดยมีเป้าหมายในการใช้ผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน (Sustainable Land Used) อีกทั้งแก้ไขและป้องกันความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่ ถู ก ต้ อ ง เหตุ ท่ี ต้ อ งมี ค วามรู้ พื้ น ฐานทางทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม (คื อ วิท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพและวิ ท ยาศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ มพื้ น ฐาน รวมถึง วิ ท ยาศาสตร์ เ กษตร ทั้งหลายอันได้แก่ ดิน น้า พืช สัตว์ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ) (เอกสารแนบหมายเลข 2) ให้ ลึ ก เพี ย งพอ เพราะมิ ฉ ะนั้ น การศึ ก ษานี้ จ ะมิ ใ ช่ “แนวทางการศึ ก ษาขั้ น อุ ด มศึ ก ษาที่ แท้จริง” คือสามารถทางานตามที่ได้เรียนรู้มา แต่เมื่อประสบกับปัญหา หรือแนวทางที่แตกต่างก็ จะไม่สามารถวิเคราะห์ หรือแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากขาดความรู้พื้นฐานที่ลงลึกถึง แก่นแท้ของวิชาที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ วิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมดังกล่าว ข้างต้น ซึ่งวิชาส่วนใหญ่ดังกล่าวข้างต้นมีการสอนอยู่ในคณะเกษตรศาสตร์ บางส่วนอยู่ในคณะ วิทยาศาสตร์ รวมถึงคณะวิศวกรรมศาสตร์ (สิ่งแวดล้อม)  จากสถานการณ์ในปัจจุบันที่การใช้ทรัพยากรที่ดิน อันได้แก่ป่าไม้ ที่ดินและแหล่งน้าโดยขาดการ จัดการที่ดีทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็วจนเข้า ภาวะวิกฤต

จึงจาเป็นต้องมีการควบคุมโดยกฎหมาย แต่ในขณะเดียวกันก็ยังเอื้อประโยชน์ให้กับการใช้ ที่ดินอย่างสมดุลและเหมาะสม ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ต้องมาจากพื้นฐาน “ความรู้” ไม่ใช่ “ความรู้สึก” โดยความรู้เหล่านี้ได้มาจากการค้นคว้าหาความถูกต้องจากการทาวิจัยและ ทดลองทางวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมผนวกเข้ากับความเข้าใจในศาสตร์ของการวางแผนและ การวางผังการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (Landscape) โดยบัณฑิต ที่สาเร็จจากหลักสูตรการ ออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ในคณะเกษตรฯ เหล่านี้ จะสามารถเข้าร่วมงานเพื่อ จุดประสงค์ดังกล่าวข้างต้นดังกล่าวเหล่านี้ได้ถูกต้องและตรงกับความต้องการของประเทศ ซึ่งยัง ไม่ เ คยมี ก ารผลิ ต บุ ค ลากรที่มี ค วามรู้ค วามสามารถทั้ ง สองด้า นเช่ น นี้ม าก่ อ น (ด้ านการ ออกแบบภูมิทัศน์และด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม) เป็ น หลั ก สู ต รภู มิ ทั ศ น์ แ นวใหม่ ท่ี ร่ า งขึ้ น มาตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของประเทศด้ า นภู มิ ทั ศ น์ สิ่งแวดล้อม เนื่องจาก  หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมของคณะเกษตรศาสตร์เกิดขึ้นโดย การร่างของผู้มีความรู้ระดับ Ph.D. ทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมสาขาต่างๆ หลายท่านและผู้ที่ มีประสบการณ์การสอน การทางานทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมมายาวนาน (ตั้ งแต่เริ่มมีการเรียน การสอนสาขาภูมสิ ถาปัตยกรรมที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

59


รวมถึงผู้ร่วมร่างหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านเป็นกรรมการสภาสถาปนิก กรรมการ วิชาการสภา สถาปนิก กรรมการผู้ตรวจรับรองหลักสูตรของสภาสถาปนิก เป็นอุปนายก ฝ่ า ยวิ ช าการของสมาคมวิ ช าชี พ ด้ า นภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม ซึ่ ง เป็ น ที่ ย อมรั บ ได้ ว่ า หลั ก สู ต ร ดั ง กล่ า วมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความถู ก ต้ อ ง รวมทั้ ง เป็ น ไปตามตามกฎเกณฑ์ ข องสภา สถาปนิกอย่างแน่นอน  หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ร่างขึ้นนี้เกิดจากการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ข้อมูลจากความรู้ประสบการณ์จากการประกอบวิชาชีพ และจากประสบการณ์ การสอนทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม นานกว่า 30 ปี จึงได้มาทาการร่างหลักสูตรนี้  มิได้เป็นหลักสูตรที่ได้มาจากการลอกเลียนแบบต่อ ๆ กันมา โดยไม่มีความเข้าใจในปรัชญาที่ แท้จริงของวิชาการออกแบบภูมิทัศน์ ที่ต้องให้มีความรู้พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมเพียงพอ อีก ทั้งมีความสามารถทางการออกแบบวางแผน วางผังอยู่ในคนๆ เดียวกัน ทาให้ได้หลักสูตรที่ ดี จนได้ รั บ การวิ พ ากษ์ จ ากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า นการศึ ก ษาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ซึ่ ง เป็ น กรรมการวิชาการของสภาสถาปนิก ดังนี้

- เป็ น หลั ก สู ต รที่ ต รงตามความต้ อ งการของประเทศไทยในขณะนี้ ภูมิสถาปัตยกรรมด้านสิ่งแวดล้อม)

(สาขาวิ ช า

- เป็ น หลั ก สู ต รที่ แ ตกต่ า งจากหลั ก สู ต รภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมอื่ น ที่ เ ปิ ด สอนอยู่ แ ล้ ว ใน ประเทศไทย ณ ปัจจุบันนี้ - มีความชัดเจนในเป้าหมายของหลักสูตรและในขบวนการผลิตบัณฑิต (นักศึกษา)

 เป็นหลักสูตรที่ร่างขึ้นเพื่อ ผลิตบัณฑิตในระดับปริญ ญาตรีให้สามารถปฏิบัติงานจริงได้ทันที แล้ว ยังเป็นหลักสูตรที่ร่างขึ้น เพื่อรองรับการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ทางด้านภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นหลักสูตรที่สนับสนุนการค้นคว้าวิจัยด้านภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความจาเป็นต่อประเทศไทยอย่างยิ่ งและสอดคล้องตามแผนพัฒนาประเทศฉบับ ที่ 11 และต่อๆไป “เป็นหลักสูตรสาหรับปัจจุบันและในอนาคต”

60


ความเหมาะสมที่หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมต้องอยู่ในคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ในระดับสากลมีการสอนสาขาวิชาการออกแบบภูมิทัศน์ในคณะต่า งๆ มากกว่าที่มีอยู่ใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เช่น ในสหรัฐอเมริกา ปรากฏว่าสาขาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์เปิด สอนในคณะเกษตรศาสตร์ และคณะเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมถึง 68% ส่วนที่เปิดสอนในคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์มีเพียง 32% (อ้างอิงจากหลักสูตรที่ได้รับการยอมรับจาก American Society of Landscape Architecture ประเทศสหรัฐอเมริกาตามเอกสารแนบ / หน้า 44-49) ใน ประเทศญี่ปุ่นก็เปิดสอนอยู่ในคณะเกษตรฯ และป่าไม้เกือบทั้งหมด  จากตารางเปรียบเทียบรายวิชาจาแนกตามกลุ่มวิชาของหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม พบว่ามีความเกี่ยวข้องกับ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เพียง 2 วิชาเท่านั้น (เอกสารแนบหมายเลข 3) ดังนั้นจะพบว่า การ ออกแบบภูมิทัศน์ (Landscape Design) ไม่ใช่การออกแบบสถาปัตยกรรม (Architecture Design)  ความพร้อมและความเหมาะสมในการสอนสาขาวิชาการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการ สิ่งแวดล้อม อันมีเหตุผลเนื่องมาจาก ความพร้อมด้านภาควิชาและสาขาวิชาต่างๆ ที่เป็นพื้นฐานของการออกแบบภูมิทัศน์และ การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มโดยมี ภ าควิ ช าพื ช ศาสตร์ แ ละทรั พ ยากรธรรมชาติ ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส า ข า วิ ช า ต่ า ง ๆ เ ช่ น ป่ า ไ ม้ ป ฐ พี ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ทรัพยากรธรรมชาติ มีนักวิชาการที่ชานาญการระดับ Ph.D. และอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล GIS และภาพถ่ า ยจากดาวเที ย ม (ทั น สมั ย ที่ สุ ด ในหมู่ ค ณะ เกษตรศาสตร์ดว้ ยกัน) เพื่อดูข้อมูลพื้นที่ในระดับกว้าง รวมถึงระดับลุ่มน้า ที่จะนามาศึกษา ถึงผลกระทบทางด้านภูมิทัศน์ (Landscape) ซึ่งเกิดจากการใช้ที่ดนิ ของประชากร ความพร้ อ มของภาควิ ช าสั ต วศาสตร์ สั ต ว์ น้ า สาขาเทคโนโลยี ชี ว ภาพทางพื ช เศรษฐศาสตร์และส่งเสริมการเกษตร มีนักวิชาการระดับ Ph.D. หลายท่าน โดยมีวิชาที่ สอนเกี่ ย วกั บ เศรษฐศาสตร์ พื้ น ฐานและมี ก ระทั่ ง เรื่ อ งเศรษฐศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม (หลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม) ที่มี เนื้อหาครอบคลุมเกี่ยวกับด้านเศรษฐกิจในการจัดการวางผังชุมชน (Urban and Rural Environmental Landscape Design) ด้วย

61


-

-

ความพร้อมของหลักสูตรร่วม อาทิ หลักสูตรการเกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มน้า แบบบูรณาการ ซึ่งเป็นหลักสูตรนานาชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี (หลักสูตรร่วม) นั่นหมายถึงโอกาสในการร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในต่างประเทศกับ หลักสูตรการออกแบบและการจัดการสิ่งแวดล้อมที่จะเปิดขึ้นในคณะเกษตรฯ ในอนาคต ซึ่งจะทาให้เกิดความเจริญรุดทางวิชาการอย่างรวดเร็ว ทั้งหมดเป็นพื้นฐานที่สาคัญและครบถ้วนกว่าคณะอื่น ในการรองรับการเรียนการสอน การวิจัยด้านการออกแบบและการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งในพื้นที่ขนาดเล็กถึงขนาด ภูมิภาคและรวมถึงพื้นที่ป่าต้นน้า อีกทั้งมีบุคลากร เครื่องมือ สถานีฝึกและทดลอง และ ห้องปฏิบัติการพร้อม เพื่อรองรับการค้นคว้าวิจัยระดับนานาชาติ เพื่อเผยแผ่ความรู้ลงสู่ ประชากรส่ ว นใหญ่ ข องประเทศได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว เนื่ อ งจากภาคเกษตรกรรมมี เครือข่ายประชากรใหญ่โตและกว้างขวางครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ

 การเรียนการสอนที่ถูกต้องสมบูรณ์ ต้องประกอบไปด้วย การสั่งสอนวิชาการ การปลูกฝัง ทัศนคติท่ถี ูกต้อง (จากการหล่อหลอมโดยสภาพแวดล้อมทางด้านวิชาการ บุคลากรและนักศึกษา ในคณะเกษตรฯ) และมีการทางานวิจัยสนับสนุน (ต้องอาศัยพื้นที่ขนาดใหญ่และห้องทดลองทาง วิทยาศาสตร์) ด้วยเหตุผลดังกล่าวคณะเกษตรฯ สามารถสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ความรักใน สิ่งแวดล้อมและเข้าถึงประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศได้ ไม่เป็นนักออกแบบที่มุ่งแต่ความ งามและประโยชน์ข องคนบางกลุ่ ม เท่ า นั้น ดัง ตั วอย่ าง บทความของนัก ศึ ก ษาภาควิช าภู มิ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ม หาวิ ท ยาลั ย (เอกสารแนบ หมายเลข 4)  ความพร้อมด้านการจัดการและเตรียมการเพื่อรองรับหลักสูตรดังกล่าวของคณะมาเป็นเวลา กว่ า 5 ปี โดยมีนั ก เรี ย นทุน ของกระทรวงวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในโควต้า ของคณะ เกษตรศาสตร์ ภาควิ ช าพื ช ศาสตร์ แ ละทรั พ ยากรธรรมชาติ ไปศึ ก ษาในสาขา Landscape Architecture ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจ นถึงปริญญาเอก (ปัจจุบันกาลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับ ปริญญาเอกที่ University of Illinois, USA ในปี 2556) นอกจากนี้ทางคณะเกษตรฯ ได้เริ่มเปิด สอนวิชาการออกแบบภูมิทัศน์เพิ่มเติมในภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติมา เป็นเวลา 5 ปีแล้ว จนกระทั่งมีนักศึกษาจบการศึกษาออกไปประกอบอาชีพในสายงานภูมิ ทัศน์แล้ว และเป็นที่ยอมรับในความสามารถและความแตกต่าง

62


ประเด็น “เรื่องชื่อปริญญา” ที่ยังเข้าใจไม่ถูกต้อง  การใช้ชื่อสาหรับปริญญาว่า “ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต” ในคณะเกษตรจึงเป็นเรื่อง ปกติเพราะเป็นเรื่องสากล (อ้างอิงจากรายชื่อมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่ได้การรับรองจาก ASLA หน้ า 44-49) การที่ส าขาวิ ช าการออกแบบภู มิ ทั ศ น์ แ ละการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม เหตุ ท่ี จาเป็นต้องใช้ชื่อปริญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (การออกแบบภูมิทัศน์และการ จัดการสิ่งแวดล้อม) แทนชื่อปริญญาว่า วิทยาศาสตรบัณฑิต (การออกแบบภูมิทัศน์และการ จัดการสิ่งแวดล้อม) เพราะเดิมเข้าใจกันว่า ต้องให้เ ป็นไปตามกฎเกณฑ์ของสภาสถาปนิก แต่ ปรากฏว่า ไม่มีข้อบังคับในเรื่องชื่อปริญญา (เท่าที่สามารถตรวจสอบได้ในขณะนี้) ในทางกลับกัน คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ก็ มี ก ารใช้ ชื่ อ วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต เช่ น กั น (หลั ก สู ต ร 4 ปี ของ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)  “ภูมิสถาปัตยกรรม” ไม่ใช่ “สถาปัตยกรรม” ใบประกอบวิชาชีพเป็นคนละใบประกอบวิชาชีพ ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้  การออกแบบ Landscape เป็นการออกแบบเพื่อใช้แผ่นดินและทรัพยากรธรรมชาติ อย่าง ยั่งยืน รวมถึงการพัฒนาและฟื้นฟู ไม่ใช่ “การออกแบบอาคาร” ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมและ มีสอนอยู่ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์โดยทั่วไป  ความหมายของคาว่ า Architect หมายถึงผู้ส ร้างสรรค์ ใช้ใ นหลายๆด้าน เช่น Financial Architect, Computer Architect, Naval Architect และอื่นๆอีกมากมาย จึงมีการใช้คาว่า “Landscape Architect” ซึ่ ง หมายถึ ง ผู้ ส ร้ า งสรรค์ อ อกแบบเพื่ อ ใช้ แ ผ่ น ดิ น และ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อการฟื้นฟูธรรมชาติร่วมกับการใช้พืน้ ที่ของมนุษย์  การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะของการออกแบบ เลือกใช้วิธีการต่างๆ ที่เหมาะสม บนพื้นฐานของวิชาการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ร่วมกับวิชาการ ด้านอื่นๆ ซึ่งเป็นปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้องในการจัดการปัญหาต่างๆ ในการใช้แผ่นดินและ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช่การออกแบบเพื่องานศิลปะ (เป็น Art of Design ไม่ใช่ Design of Art) ดังเช่น การรักษาคนป่วยของแพทย์ และใบประกอบวิชาชีพของแพทย์ยังเป็น ใบประกอบโรค ศิ ล ป์ ค าว่ า “หมอ” มี ตั้ ง แต่ ห มอรั ก ษาคนไข้ (แพทย์ ), หมอความ (ทนายความ), หมอดิ น (นักพัฒนาที่ดนิ ) หรือแม้กระทั่งหมอดู

63


สาคัญที่สุด คือ วิชาการออกแบบวางแผนและวางผังการใช้ท่ีดิน (ทรัพยากรธรรมชาติ) ซึ่ง ต้องอาศัยความรู้พื้นฐานและประยุกต์ทางด้านเกษตร วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ อันได้แก่ วิชาเกี่ยวกับ ดิน น้า ป่าไม้ พืชและสัตว์ รวมถึงเทคโนโลยี ทางสารสนเทศเชิงพื้นที่เพื่อ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและเกษตร เป็นวิชาของคณะเกษตรและได้เปิด ให้มีการเรียน

การสอนโดยคณาจารย์ระดับ Ph.D. และมีประสบการณ์การทางานและการสอนมา ยาวนานและครอบคลุมทุกด้านอยู่แล้ว ในภาควิชาต่างๆ อันได้แก่  ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ (สาขาวิชาทรัพยากรป่าไม้, ปฐพีศาสตร์ และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ, พืชสวนและพืชไร่ฯ)  ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้า  ภาคกีฏวิทยาและโรคพืช  ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ฯ และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร นอกจากนี้ ยั ง มี ห ลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาโทที่ ร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศเยอรมนี คื อ หลักสูตร SAIWAM (Sustainable Agriculture and Integrated Watershed Managementการเกษตรยั่งยืนและการจัดการลุ่มน้าแบบบูรณาการ) ซึ่งทั้งหมดนี้จะพบว่าเป็นวิชาพื้นฐานของ วิชา Landscape ตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงระดับมหภาค ทั้งในระดับปริญญาตรีและต่อเนื่องไปจนถึง ปริญญาโทและปริญญาเอกในอนาคต (เอกสารแนบหมายเลข 5) อันเป็นการยากที่จะหาความ

พร้อมเช่นนี้ในคณะหรือแม้แต่ในมหาวิทยาลัยที่ มีการเรียนการสอนหลักสูตรภูมิทัศน์ ฯ อยู่ในปัจจุบันก็ยังไม่มีความพร้อมของคณาจารย์และหลักสูตรซึ่ง เป็นพื้นฐานที่ครบถ้วน เช่นนี้ ดังนั้นการที่จะให้คณะอื่นนาวิชาเหล่านี้ไปทาการสอน จึงต้องเป็นข้อสังเกตถึง ความเป็ น

“ผู้รู้จริง ”

ในศาสตร์ นั้ น หรื อ ไม่ และย่ อ มไม่ ตรงกั บ หลัก การของ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่กี าหนดไว้ โดยทั้งหมดยังชี้ให้เห็นถึงความเหมาะสม ถูกต้องและชอบธรรมที่จะต้องมีการเรียนการสอนในวิชาการ ฝึก ออกแบบภู มิทัศน์และการจัด การสิ่งแวดล้ อ ม (วิชาสตูดิโอทั้งหลาย) จาเป็ น ต้อ งอยู่ในคณะ เกษตรศาสตร์เพื่อให้นักศึกษาได้รับคาวิจารณ์ คาแนะนาและความรู้ที่ถูกต้องจากคณาจารย์ (Juries) ซึ่ง เป็นผู้ทาการควบคุมวิชาสตูดิโอการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ ชานาญการและรู้จริงใน วิชาการเฉพาะด้านต่างๆทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อนักศึกษาจะสามารถฝึกแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างลึกซึ้งและถูกจุดที่ สาคัญ อันนาไปสู่ความเป็น “บัณฑิตที่มีคุณภาพ” ในอนาคต และจะนาไปสู่การพัฒนาด้านภูมิทัศน์และ สิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องแก่ประเทศ 64


ด้ ว ยเหตุ ผ ลทั้ ง หมดข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความถู ก ต้ อ งและความจ าเป็ น ต้ อ งเปิ ด หลั ก สู ต รการ ออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมขึ้นในภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ เพื่ อ ให้ “ถู ก ต้ อ ง” กั บ หลั ก การบริ ห ารงานและปณิ ธ านของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หากสาขาวิชาออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมเกิดในคณะ เกษตรศาสตร์ สิ่ ง ที่ ม หาวิ ทยาลั ยเชีย งใหม่ แ ละประเทศไทยจะได้ รั บ คืออะไร ?  ด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้งหมดที่ก ล่าวมาข้างต้น เพื่อ ความถูกต้องและเหมาะสม หลักสูตรการ ออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อมจึง ควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดขึ้นในคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งมี “ภาระรับผิดชอบทางวิชาการ” ที่จะต้องดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเฉพาะภู มิ ภ าคทางเหนื อ ซึ่ ง เป็ น ป่ า ต้ น น้ าของ ประเทศ และจะท าให้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นผู้นาทางด้านการศึกษาภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม เนื่องจากจะ เป็ นมหาวิทยาลั ยแห่งแรกที่มีความเหมาะสมและพร้อ มที่จะเปิ ดสอนสาขาวิชาดังกล่ าวในคณะ เกษตรศาสตร์ และยังจะทาให้คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้นาทางการศึกษาใน ภูมิภ าคเอเชีย และนานาชาติ มีบ ทบาทในการเปลี่ย นแปลงและสร้างสรรค์สังคมไปในทิศทางที่ ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังส่งเสริมทางงานวิจัยเกี่ยวกับภูมิทัศน์สิ่ง แวดล้อม และงานวิจัยสนับสนุน อื่นๆ อีกด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นไปตามปณิธานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท่ีมุ่งหวังความเป็นเลิศ

ทางวิชาการ

และหากหลักสูตรการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ เกิดขึ้นในคณะเกษตรศาสตร์ ประเทศไทยและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จะสูญเสียอะไร ? 

หากหลั ก สู ต รการออกแบบภู มิ ทั ศ น์ แ ละการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ร่ า งขึ้ น โดยคณะ เกษตรศาสตร์ถูกทอดทิ้ง และไม่จัดให้มีการสอนในคณะเกษตรศาสตร์ ไม่เพียงแต่มหาวิทยาลัยจะ ละทิ้งปณิธานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เท่านั้น สังคมที่ทราบเรื่องและเกี่ยวข้องคงจะมีคาถาม 65


ต่างๆเกิด ขึ้นมากมาย และโอกาสที่จะมีสาขาวิชาที่ผลิตบัณฑิตขึ้นมาเพื่อรองรับการออกแบบภูมิทัศน์ และปกป้องดูแลสิ่งแวดล้อมที่สมบูรณ์ (จากตัวเนื้อหาหลักสูตรฯ จากสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องสนับสนุน และ สถานที่ที่รองรับการวิจัยและหล่อหลอมบัณฑิต) ก็ แทบจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคตอั นใกล้อีกแล้ว ซึ่งจะไม่ทันการณ์กับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยในปัจจุบัน และทวี ความรุนแรงขึ้นเรื่อ ยๆ อันจะส่งผลกระทบกั บประชากรทั้งประเทศ โดยเฉพาะผู้ยากไร้ รวมถึง สิ่งมีชีวติ ธรรมชาติและสัตว์ทั้งหลาย ... ใครจะรับผิดชอบ ?

--------------------------

มีเอกสารแนบประกอบหมายเลข 1-5

66


ตัวอย่างผลงานนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งมีพื้นฐานเป็นนักวิทยาศาสตร์เกษตรฯ สายวิชาการออกแบบภูมิทัศน์และการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้ที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ก็สามารถเป็นนักออกแบบที่ดีได้ เช่นกัน อีกทั้งจะเด่นกว่าในเรื่องที่เกี่ยวกับภูมิทัศน์ส่งิ แวดล้อม

67


สตูดิโอที่หนึ่ง ผลงานออกแบบของนางสาวศนิ พวงทอง รหัสนักศึกษา 510810267 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (จบการศึกษาเมื่อปีพ.ศ. 2555)

68


สตูดโิ อที่สอง ผลงานออกแบบของนางสาวศนิ พวงทอง รหัสนักศึกษา 510810267 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (จบการศึกษาเมื่อปีพ.ศ. 2555)

การออกแบบในพื้นที่ 6.5 ไร่

69


สตูดิโอที่สามและสี่ ผลงานออกแบบของนางสาวอัญชลี หนองหลิ่ง รหัสนักศึกษา 500810392 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (จบการศึกษาเมื่อปีพ.ศ. 2554)

การทา Model วางผัง Contour เพื่อแสดงลักษณะพื้นที่ให้เห็นเป็นพื้นที่ 3 มิติ

การออกแบบวางผังการใช้พ้นื ที่ท่มี ีความลาดชันในพื้นที่ 150 ไร่

70


ผลงานปัญหาพิเศษ ผลงานออกแบบของนางสาวอัญชลี หนองหลิ่ง รหัสนักศึกษา 500810392 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (จบการศึกษาเมื่อปีพ.ศ. 2554)

การออกแบบวางผังปรับปรุงการใช้พ้ืนที่ในพื้นที่ 1,200 ไร่ (สถานีเกษตรหลวงปางดะ) 71


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.