ในฉบับ
• ม.อ.ปัตตานี เป็นพี่เลี้ยงพัฒนา ร.ร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเข้าเรียน ในสาขาวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้มากขึ้น 9 • ม.อ.ติดอันดับมหาวิทยาลัยคุณภาพของโลก ประจ�ำปี 2015-2016 10 • ศ.ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 58” และ “ทุนศาสตราจารย์ที่เป็นผู้น�ำกลุ่ม” • ม.อ.ทูลเกล้าถวายปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 15 • ม.อ.เตรียมหน่วยงานภายใน พร้อมรับมือน�้ำท่วม 19 • ม.อ.เปิดวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน รองรับการย้ายฐานการผลิตยางล้อจีนมาอาเซียน • โรงพยาบาลสัตว์ ม.อ. เปิดบริการแล้ว พร้อมขยายรองรับสัตว์เศรษฐกิจแดนใต้ 34
11 20
สารอวยพร
สารอวยพร เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ ๒๕๕๙ จาก รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ในศุภวาระขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๙ ผมในนามของผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอส่งไมตรีจิต ด้วยความรักและความปรารถนาดี มายังคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ตลอดจนครอบครัว และท่านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ทุกท่าน ขอให้ ป ี นี้ เ ป็ น ปี แ ห่ ง การท� ำ ความดี มี จิ ต ส� ำ นั ก ที่ ดี ช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล มี ค วามรั ก สามั ค คี ร่ ว มแรง ร่ ว มใจในการปฏิ บั ติ ต ามบทบาทความรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งดี ที่ สุ ด พร้ อ มทั้ ง ร่ ว มกั น พั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ให้มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ผมขออาราธนาคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย และสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ท ่ า นเคารพนั บ ถื อ อี ก ทั้ ง เดชะพระบารมี อันแผ่ไพศาลแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ได้โปรดดลบันดาลให้ท่านจงประสบแต่ความสุข ความเจริญ เพียบพร้อมด้วยพลังกาย พลังใจ ปราศจากภยันตรายโรคภัยไข้เจ็บและภัยพิบัติทั้งหลาย และมี ส ติ ป ั ญ ญาในการปฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่ ด ้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ เพื่ อ น� ำ มาซึ่ ง ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทั้งแก่ตนเอง องค์กร และประเทศชาติต่อไป
(รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล) อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดย มุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมาก ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ� ำ ภารกิจของสถาบัน
ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
สารบัญ 2 สารอวยพรเนื่องในวันขึ้นปีใหม่ 2559
สัมภาษณ์พิเศษ 4 ศ.สุจินต์ จินายน “ม.อ.ท�ำให้ชีวิตผมเปลี่ยนจากนักวิจัยเป็น ผู้บริหารจนทุกวันนี้” 5 ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล “ผมภูมิใจที่ได้มีส่วนก่อตั้ง ม.อ.”
การศึกษา 6 หลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ม.อ.จับมือ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ สร้างก�ำลังของชาติด้านกระบวนการยุติธรรม 7 นร.เรียนดีกว่า 200 คน จาก 44 จังหวัด สัมภาษณ์เข้า ม.อ. ที่ สนามสอบกรุงเทพฯ 9 ม.อ.ปัตตานี เป็นพี่เลี้ยงพัฒนา รร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม เพื่อ ให้นักเรียนมีโอกาสเข้าเรียนในสาขาวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้ มากขึ้น
ความภาคภูมิใจ 10 ม.อ.ติดอันดับมหาวิทยาลัยคุณภาพของโลกเทียบเท่า ม.ชั้นน�ำ ของไทย 11 ศ.ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล คณะวิทย์ ม.อ. “นักวิจัยดีเด่นแห่ง ชาติปี 58” และ “ทุนศาสตราจารย์ที่เป็นผู้น�ำกลุ่ม” 12 นักวิจัยอุตสาหกรรมเกษตร ม.อ.คว้าทุนลอรีอัลเพื่อสตรีในงาน วิทยาศาสตร์ ปีที่ 13 13 GISSCO Co.,Ltd. ภายใต้การดูแลของศูนย์บ่มเพาะฯ รับ 2015 AABI Award 14 “ประเสริฐ ทองศิริ” ช่างคุมเสียง สถานีวิทยุ ม.อ. หาดใหญ่ บุคคล พิการตัวอย่าง ปี 58 ของสภาสังคมสงเคราะห์ 23 ผลงานคลิป “FAKEBOOK” ของ ว.นานาชาติ รับรางวัล “เด็กไทย รู้เท่าทันสื่อ”
ข่าวเด่น 15 ม.อ.ทูลเกล้าถวายปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 18 ผลประเมินชี้จุดเด่น ม.อ. คือ ความส�ำเร็จในภารกิจ 4 ด้าน แต่ ควรเน้นการดูแลบุคลากร การสื่อสาร และการหาโจทย์วิจัย
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ 19 ม.อ.เตรียมหน่วยงานภายใน พร้อมรับมือน�้ำท่วม
ความร่วมมือสู่ประชาคมโลก 20 ม.อ.เปิดวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน รองรับการย้ายฐาน การผลิตยางล้อจีนมาอาเซียน 21 ม.อ.สุราษฎร์ จับมือ MOA International ญี่ปุ่น ร่วมพัฒนาคนดี สู่สังคม
องค์กรสัมพันธ์ 22 ม.อ. ลงนามโครงการสหกิจศึกษาร่วมกับเครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ ม.อ. และแม่โจ้ จับมือร่วมกันเพื่อพัฒนาหลักสูตรความร่วมมือด้าน การศึกษากับต่างประเทศ
ทุนการศึกษา 24 คณะผู้บริหารบริษัท ไทยบริดจสโตน จ�ำกัด มอบทุนให้นักศึกษา ม.อ. เป็นปีที่ 13 25 กลุ่มนักธุรกิจไทย-มาเลย์ มอบ 77 ทุนให้นักศึกษา ม.อ.
Activity 26 สภาข้าราชการฯ จัดเสวนา“ผ่าชีวิตและการบริหารงานบุคคล ม.ในก�ำกับ” 27 อุทยานวิทยาศาสตร์ ม.อ.ร่วมกระทรวงวิทย์ จัดมหกรรมนวัตกรรมไทยภาคใต้ 28 7 มหาวิทยาลัยในภาคใต้ ร่วมกิจกรรม “ปั่นกัน กั้นโกง” 29 ม.อ. ร่วมกับเทศบาลเมืองคอหงส์ร่วมพิธีถวายพระพร และจุดเทียนชัย 5 ธันวา 29 ประชุมวิชาการ PSU Education Conference ครั้งที่ 4 30 ศ.น.พ.จรัส สุวรรณเวลา “การเปลี่ยนแปลงในอนาคต เหมือนพายุ ที่พัดท�ำลายสิ่งที่เคยคงอยู่ในปัจจุบัน” 31 งานประชาสัมพันธ์แนะแนวเข้าศึกษาต่อ ม.อ. ปี 2558
แนะน�ำหลักสูตร 32 แนะน�ำคณะในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บริการวิชาการ 34 โรงพยาบาลสัตว์ ม.อ. เปิดบริการ พร้อมขยายรองรับสัตว์เศรษฐกิจแดนใต้
กิจกรรมที่น่าสนใจ 35 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นเจ้าภาพจัด BMB 2016
3 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
สัมภาษณ์พิเศษ
“ม.อ.ท�ำให้ชีวิตผมเปลี่ยนจากนักวิจัยเป็นผู้บริหารจนทุกวันนี้”
“ผมไม่เคยไปหาดใหญ่ ในชีวิต แต่ต้นเดือนธันวาคม 2522 รองศาสตราจารย์ น.พ.ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ อธิการบดี ม.อ.ในขณะนั้น ได้ไปพบผมที่ศูนย์วิจัยข้าวโพด ข้าวฟ่าง ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ผมไม่เคยทราบ และไม่รู้ว่ามาเรื่องอะไร ท่านบอกว่าอยากจะขอให้ ไปเป็น คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ผมขอเวลาคิด 1 คืน รุ่งเช้าจึงตอบตกลง แม้เวลานั้นประเทศชาติโดยเฉพาะ ภาคใต้ ยั ง อยู ่ ในภาวะไม่ ส งบจากภั ย คุ ก คามของ คอมมิวนิสต์”
าสตราจารย์สุจินต์ จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัย นเรศวร อดี ต คณบดี ค ณะทรั พ ยากรธรรมชาติ และ อดี ต กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ กล่ า วกั บ งาน ประชาสัมพันธ์ ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนุมัติ ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพืชศาสตร์ ให้แก่ท่าน ศาสตราจารย์ สุ จิ น ต์ จิ น ายน มามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ในเดื อ นธั น วาคม 2522 ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ พ ระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ ฯ พระราชทานปริ ญ ญาบั ต ร ได้ มี โอกาสกราบบังคมทูลเรื่องการจะถวายแพะเพื่อมอบต่อให้แก่ มัสยิดต่างๆ ในภาคใต้ และได้เรียนรู้จากพระองค์ท่านถึงศาสนา อิสลามพอสมควรซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในระยะเริ่มต้น ได้อ่าน เอกสารเกี่ยวกับแผนแม่บทของมหาวิทยาลัย รู้สึกประทับใจและ น่าสนใจ โดยเฉพาะ สาขาวิชาที่เกี่ยวกับ Earth Science Aquatic Science และ Agricultural Science คิดว่า ม.อ. เป็นมหาวิทยาลัย ที่มีความคิดใหม่ คิดนอกกรอบ ซึ่งเป็นผลดีในระยะยาว “อย่างไรก็ตาม ชีวิตผมได้เปลี่ยน จากนักวิจัยเป็นผู้บริหาร จนทุกวันนี้” ตลอดเวลาที่อยู่ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ปี 2522-2530 ได้ท�ำเรื่องใหญ่ๆ ที่มีความภูมิใจ จนบัดนี้ เช่น การ ติดต่อขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลออสเตรเลีย จนได้โครงการ มาพัฒนาคนโดยส่งให้เรียนที่ออสเตรเลียจนถึงระดับปริญญาเอก
4 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
การท� ำ งานวิ จั ย ซึ่ ง ได้ เ สนอเรื่ อ งของ แพะเพื่อจะได้ท�ำประโยชน์แก่สังคม และช่วยแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจให้ ชาวบ้ า น การพยายามน� ำ งานวิ จั ย ออกสู่ชุมชนซึ่งได้รับความช่วยเหลือ อย่ า งดี จ ากเพื่ อ นร่ ว มงานในคณะ ทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะนั้น ได้ มี ค วามพยายามขอความช่ ว ยเหลื อ จากต่ า งประเทศ เพราะเห็ น ว่ า ถ้ า ค่ อ ยพั ฒ นาคณะไปโดยไม่ มี ต ่ า งชาติ ม าช่ ว ย จะช้ า และหลงทาง โชคดี ที่ ไ ด้ รั ฐ บาลออสเตรเลี ย มาช่ ว ยเป็ น โครงการระยะแรก 5 ปี จากมหาวิ ท ยาลั ย ควี น ส์ แ ลนด์ และ รัฐบาลฝรั่งเศสซึ่งส่งผู้เชี่ยวชาญมาช่วยคณะทรัพยากรธรรมชาติ และให้ ทุ น ส่ ง อาจารย์ ไ ปศึ ก ษาด้ า นการพั ฒ นาสั ง คม ด้ า น เศรษฐศาสตร์การเกษตร นอกจากนั้นยังพัฒนาพื้นที่แปลงทดลอง ที่อ�ำเภอเทพา และที่คลองจ�ำไหร อ�ำเภอคลองหอยโข่ง “ความจริงผมตั้งใจจะอยู่หาดใหญ่คิดว่าจะเกษียณอายุ แต่ในปี 2529 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขาดคนที่จะไปพัฒนา วิ ท ยาเขตก� ำ แพงแสน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นอาจารย์เก่า ได้ขอให้กลับไปช่วย ผมเลยต้องขอลาจาก ม.อ.มา อย่างไรก็ตาม อยากเรียนให้ทราบว่า ผมได้มีโอกาสมา รับใช้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ต่อมา จากการเป็นกรรมการ สภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2530 จนถึงปี 2558” “ผมเห็นว่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัย ที่ดูแลความเจริญ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองบางส่วน เป็นผู้ชี้น�ำให้กับภาคใต้ ดังนั้นภาคใต้จะเจริญหรือไม่ขึ้นอยู่กับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หากแข็งแกร่งมีผลงานวิจัยที่ก่อให้ เกิดประโยชน์ทางสังคม และสร้างคนที่มีความรู้ความสามารถ มี คุณธรรมให้กับภูมิภาคได้แล้ว การพัฒนาภาคใต้ซึ่งมีทรัพยากร มากก็จะเกิดประโยชน์กับประเทศชาติ วันนี้ผมมีความภูมิใจ ที่ ม.อ.พยายามท�ำส่วนนี้อย่างเต็มที่ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสังคมใน ยามที่บ้านเมืองเกิดวิกฤติ” ศาสตราจารย์สุจินต์ จินายน กล่าว
สัมภาษณ์พิเศษ
ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล
“ผมภูมิใจที่ได้มีส่วนก่อตั้ง ม.อ.” ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล อดีตนายกสภา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ก รุ ณ าเล่ า ความผู ก พั น ของท่านที่มีต่อมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ในโอกาสที่มหาวิทยาลัย ได้ อ นุ มั ติ ป ริ ญ ญาศึ ก ษาศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา แก่ท่านในปีนี้
ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล เป็นกรรมการ สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ตั้ ง แต่ ค รั้ ง พันเอกถนัด คอมันตร์ เป็นนายกสภามหาวิทยาลัย และจากนั้น ก็มีนายกสภาฯอีก 2 ท่าน คือนายโอสถ โกศิน และ นายเกษม จาติกวณิชย์ ต่อมาศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล จึงเป็น นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ปี 2532 จนถึง ปี 2558 ช่ ว งการท� ำ งานในสภามหาวิ ท ยาลั ย ได้ มี โ อกาส ร่ ว มงานกั บ อธิ ก ารบดี ข องมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ถึ ง 8 ท่ า น ตั้ ง แต่ ศาสตราจารย์ น.พ.สวั ส ดิ์ สกุ ล ไทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผาสุข กุลละวณิชย์ ศาสตราจารย์ น.พ.ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพงษ์ ศรี พิ พั ฒ น์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุ น ทร โสตถิ พั น ธุ ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุ ญ สม ศิ ริ บ� ำ รุ ง สุ ข และ มาถึ ง รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ตั้งแต่เริ่มเป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัย เป็นนายกสภา มหาวิทยาลัย จนถึงปัจจุบัน ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล ได้ เ ห็ น ความเจริ ญ เติ บ โตของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มาตลอดเวลา ตั้งแต่ที่วิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตหาดใหญ่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี และ วิ ท ยาเขตตรั ง “ที่ส�ำคัญที่สุดคือการตั้งคณะแพทยศาสตร์ ผมได้มีส่วน เกี่ยวข้องช่วยเหลือการตั้งคณะแพทยศาสตร์อย่างมาก เพราะ ว่ า รั ฐ มนตรี ท บวงก่ อ นหน้ า ผมไปท� ำ สั ญ ญากั บ ผู ้ รั บ เหมาใน ลักษณะที่ค่อนข้างเสียเปรียบ ถ้าจะฟ้องร้องก็จะท�ำให้การตั้ง
คณะเนิ่นนานไปกว่าคดี ความจะเสร็ จ ขณะนั้ น โชคดีที่ ผมเป็นรัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ด้วย ก็ได้เอาเรื่องเข้าที่ ประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี ว่าในส่วนที่ฟ้องร้องก็ฟ้องร้องกันไป แต่ขอให้สร้างคณะแพทย์ พร้ อ มๆ กั น ไปด้ ว ย ของบประมาณสร้ า งไปด้ ว ย ซึ่ ง มติ ค ณะ รั ฐ มนตรี ก็ ย อมตามนั้ น ก็ เ ลยได้ ก ่ อ สร้ า งคณะแพทยศาสตร์ ” ส่วนคณะอื่นๆ ที่ท่านได้ร่วมสร้างคือคณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ ความเจริญเติบโต ของ ม.อ.เห็ น ได้ ชั ด ว่ า ในส่ ว นกายภาพ มี ตึ ก รามบ้ า นช่ อ ง มากมายจนเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่โต สมกับเป็นมหาวิทยาลัย ภาคใต้โดยแท้
“ผมภู มิ ใ จที่ ไ ด้ มี ส ่ ว นก่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ และมาเป็ น นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย มา จนเร็ ว ๆ นี้ เป็ น เวลา 20-30 ปี ก็ ภ าคภู มิ ใ จอย่ า งยิ่ ง มหาวิ ท ยาลั ยไม่ ไ ด้ มี คนเดี ยวที่ จะสร้ า งให้ มหาวิ ทยาลัย เจริ ญ ได้ มั น ต้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มของทุ ก คนในมหาวิ ท ยาลั ย ตั้ ง แต่ ผู ้ บ ริ ห าร อาจารย์ ข้ า ราชการต่ า งๆ เพราะฉะนั้ น ถ้ า หากทุ ก คนร่ ว มมื อ กั น เป็ น น�้ ำ หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น ก็ จ ะ ท� ำ ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย เจริ ญ ก้ า วหน้ า ได้ ดี เพราะฉะนั้ น สิ่ ง ที่ ผ มอยากฝากอาจารย์ ข้ า ราชการทั้ ง หลาย คื อ ร่ ว มมื อ กั น สร้ า งมหาวิ ท ยาลั ย ของเราให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า ต่ อ ไป สมกับเป็นมหาวิทยาลัยของประเทศทางภาคใต้”
5 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
การศึกษา
หลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ม.อ. จับมือสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
สร้างก�ำลังของชาติด้านกระบวนการยุติธรรม
จจุบัน งานด้านนิติวิทยาศาสตร์มีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่ง ในกระบวนการยุ ติ ธ รรมในปั จ จุ บั น โดยกระบวนการ ทางนิติ วิทยาศาสตร์ มีส่วนส�ำคัญในการคลี่คลายประเด็นต่างๆ จึ ง ท� ำ ให้ ก ารเรี ย นการสอนทางด้ า นนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ น ที่ ส นใจ ต่ อ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษารุ ่ น ใหม่ ที่ รั ก และชอบในด้ า นนี้ หลั ก สู ต ร นิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นอีก 1 สถาบันที่มีการเรียนการสอนและเป็นที่ได้รับความสนใจ จากนักศึกษาในเเต่ละปีเป็นจ�ำนวนมาก
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ ตั้งขึ้นเพื่อรองรับความต้องการก�ำลังคนทางนิติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นสิ่ง ส�ำคัญในกระบวนการยุติธรรม โดยสร้างนักนิติวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ ทางนิติวิทยาศาสตร์และมีทักษะในการท�ำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อ การบู ร ณาความสามารถในการท� ำ วิ จั ย นี้ ในการแก้ ไ ขปั ญ หาที่ พ บ ในการปฏิ บั ติ ง านจริ ง นอกจากนี้ นั ก ศึ ก ษาจะได้ รั บ ความรู ้ อื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายและจริยธรรม โดยบัณฑิตนิติวิทยาศาสตร์ได้ รับการคาดหวังว่าจะเป็นก�ำลังส�ำคัญของชาติในกระบวนการยุติธรรม หลั ก สู ต รดั ง กล่ า วเปิ ด เป็ น หลั ก สู ต รปริ ญ ญาโท เมื่ อ 10 ปี ที่ แ ล้ ว ใน ขณะที่นิติวิทยาศาสตร์เพิ่งเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย ซึ่งนับว่าเป็น มหาวิทยาลัยที่เปิดหลักสูตรฯ เป็นล�ำดับที่ 2 ของประเทศ รับนักศึกษา จ�ำนวน 10 คน ต่อปี และมีนักศึกษาที่ส�ำเร็จการศึกษาไปแล้วหลายรุ่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติกา กิจพิพิธ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภู ว ดล ธนะเกี ย รติ ไ กร และ ดร.วงศ์ ก ฎ ภู ่ ภู มิ รั ต น์ อาจารย์ นิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ คณะวิ ท ยาศาสตร์
6 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า หลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ได้ ร่วมมือกับศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 10 ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ สถาบัน นิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม หน่วยปฎิบัติการนิติวิทยาศาสตร์ สัตว์ป่า กรมอุทยานสัตว์ป่าและพันธุ์พืช และ โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ โดยความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วครอบคลุ ม การปฏิ บั ติ ง านหลายด้ า น เช่ น ตรวจวั ต ถุ พ ยาน ในคดี ค วามมั่ น คง 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ การเรียนการสอน และ การท�ำวิจัย โดยผู้ทรงคุณวุฒิ หลายท่าน เช่น แพทย์หญิงคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ สมาชิกสภาขับเคลื่อนเพื่อ การปฏิรูปประเทศ และ อดีตผู้อ�ำนวยการสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ร่วมให้ เกียรติมาเป็นอาจารย์พิเศษ ร่วมบรรยายให้กับหลักสูตรฯ ตั้งเเต่เริ่มก่อตั้ง ที่ผ่านมา คณาจารย์ประจ�ำหลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ได้ให้บริการ วิ ช าการในเรื่ อ งการตรวจงาช้ า งที่ ท างกรมอุ ท ยาน เปิ ด ให้ ป ระชาชน ที่มีงาช้างไว้ในครอบครองมาขึ้นทะเบียน โดยที่มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เป็น 1 ใน 2 มหาวิทยาลัยที่มีบริการนี้โดยมีวิธีการตรวจเป็น เทคนิคมาตรฐานสากล อย่างไรก็ตาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติกา กิจพิพิธ ได้วิจัยพัฒนาวิธีการใหม่ขึ้น ซึ่งช่วยให้ประหยัด ได้ผลเร็ว และ ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ น�ำวิธีการตรวจไปใช้อีกด้วย “จุ ด เด่ น ของหลั ก สู ต ร” คือ การมีคณาจารย์ที่มีความ พร้อม จบการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านนิติวิทยาศาสตร์จาก ต่างประเทศ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ซึ่งมีส่วนส�ำคัญอย่าง ยิ่งในการบูรณาการความรู้เพื่อออกไปท�ำงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ แบบรอบด้าน เช่น การศึกษาวิจัยเฉพาะด้านทางนิติเรณูวิทยาซึ่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านนี้เพียงคนเดียวในประเทศไทย โดยการเรียนการ สอนจะมีรูปแบบการเรียนเป็น Active learning เน้นการปฏิบัติจริง ให้นักศึกษาลงมือท�ำด้วยตัวเอง หรือศึกษาอภิปรายจากคดีที่เกิด ขึ้นจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมก่อนออกไปปฏิบัติหน้าที่จริง โดยความร่วมมือ ระหว่างหลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กับ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตนั้นคือ พยายามผลัก ดันให้เกิดสถาบันวิชาการนิติวิทยาศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งจะช่วยยกระดับมาตรฐานวงการนิติวิทยาศาสตร์ของชาติต่อไป ส�ำหรับนักศึกษาหรือผู้ที่สนใจจะศึกษาต่อ สามารถดูรายละเอียด ได้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ ห ลั ก สู ต รนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ http://www.appsci.sci.psu. ac.th/index.php หรือโทร 074-28-8561
การศึกษา
นร.เรียนดี กว่า 200 คน จาก 44 จังหวัด
สัมภาษณ์เข้า ม.อ. ที่สนามสอบกรุงเทพฯ หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด สั ม ภาษณ์ เพื่ อ คั ด เลื อ กนั ก เรี ย นที่ มี ผ ลการเรี ย นดี เข้ า ศึ ก ษา ในปี ก ารศึ ก ษา 2559 โดยเมื่ อ วั น ที่ 17 ตุ ล าคม 2558 จั ด สั ม ภาษณ์ ที่ โ รงแรมแอมบาสเดอร์ กรุ ง เทพ และในวั น ที่ 21 ตุลาคม 2558 จัดสัมภาษณ์ขึ้นในวิทยาเขตต่างๆ
ส�ำหรับการจัดสัมภาษณ์ที่กรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าสัมภาษณ์ 237 คน จาก 44 จังหวัดในทุกภาคของประเทศ คือ ภาคกลาง จาก กรุงเทพ นนทบุรี ลพบุรี ราชบุรี นครปฐม สระบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี อ่ า งทอง สมุ ท รสาคร สมุ ท รสงคราม สมุ ท รปราการ นครนายก เพชรบุรี ภาคเหนือ จาก พิษณุโลก เชียงใหม่ ล�ำพูน แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา เพชรบูรณ์ น่าน ก�ำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จาก ศรีสะเกษ นครราชสีมา บุรีรัมย์ มุกดาหาร อุบลราชธานี กาฬสินธุ์ อุดรธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ขอนแก่น ภาคตะวันออก จาก ปราจีนบุรี ระยอง ชลบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา และมาจากภาคใต้ คือ พัทลุง ระนอง ปัตตานี ภูเก็ต เพื่ อ เข้ า เรี ย นในทุ ก วิ ท ยาเขตและเกื อ บทุ ก คณะ โดยคณะที่ มี ผู ้ เ ข้ า สั ม ภาษณ์ ม ากที่ สุ ด คื อ คณะวิ ท ยาศาสตร์ จ� ำ นวน 64 คน และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จ�ำนวน 57 คน มรกต เหล่ า พล โรงเรี ย นชุ ม พล โพนพิสัย หนองคาย “เลือกเข้าเรียนคณะ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ วิ ท ยาเขตตรั ง เพราะสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ทราบได้ จ ากเว็ บ ไซต์ แ ละ ข้ อ มู ล จากห้ อ งแนะแนว เลื อ กคณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์เพราะมีความชอบ ไม่เคยมาภาคใต้มาก่อน แต่มีเพื่อนคนตรังที่ไปเรียนหนองคายและเป็นคนดีมีความรับผิด ชอบ จึงคิดว่าชาวตรังทั่วไปน่าจะเป็นเช่นนั้น และวิทยาเขตตรัง เป็นสถานศึกษาที่มีความสงบ น่าไปเรียน ” เจตสุ ภ า วิ ริ ย ะหิ รั ญ ไพบู ล ย์ โรงเรียนสุคนธีรวิทย์ นครปฐม “ติดตาม ข้อมูลของสงขลานครินทร์ทางเว็บไซต์ ตลอดเวลา ทราบว่ า แพทย์ แ ผนไทย ที่ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มี ห ลั ก สู ต รเภสั ช กรรมไทย เวชกรรมไทย ผดุงครรภ์ นวด ไทย ซึ่งน่าสนใจ เคยไปเที่ยวหาดใหญ่ มาแล้ว และคุณพ่อคุณแม่ก็สนับสนุนให้ไปเรียนที่นั่น การวางแผน ในอนาคต คิดว่าจะน�ำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญา ของไทยในกลุ่มอาเซียน และน�ำวิชาชีพไปช่วยเหลือชุมชน” กวิ น ตรา งอมสะคู โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาน้ อ มเกล้ า นครราชสีมา “เลือกเรียนคณะการบริการ และการท่องเที่ยว สาขาการจัดการการ บริการ (หลักสูตรนานาชาติ) วิทยาเขต ภูเก็ต แต่ไม่เคยไปจังหวัดภูเก็ตมาก่อน มี ค วามฝั น อยากเป็ น เชฟและชอบ บรรยากาศของทะเล ทราบข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ มหาวิ ท ยาลั ย และวิ ท ยาเขต ภูเก็ตจากงานตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ซึ่งจัดที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี เมื่อเดือนกันยายน เห็นว่าเป็นหลักสูตรที่น่าสนใจ โดยส่ ว นตั ว เป็ น คนชอบด้ า นภาษา จึ ง ไม่ กั ง วลที่ จ ะต้ อ งเรี ย นใน หลักสูตรนานาชาติ และน่าจะเป็นส่วนดีที่เราจะมีเพื่อนเป็นชาว ต่างชาติเพิ่มขึ้นอีก” สุพัฒน์ พันจู โรงเรียนทุ่งทรายวิทยา ก�ำแพงเพชร “มุ่งมั่น และฝันมาตั้งแต่เด็กที่จะเรียนคณะพยาบาลศาสตร์ ได้ทราบข้อมูล ของมหาวิ ท ยาลั ย และคณะพยาบาล ศาสตร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โดยการ ดู จ ากอิ น เตอร์ เ น็ ต เพื่ อ นสมั ค รเข้ า โครงการนี้หลายคนแต่เป็นคนเดียวที่ได้ รับเลือกเข้ามาสัมภาษณ์ ไม่เคยไปภาค ใต้มาก่อนแต่รู้สึกว่าบรรยากาศสงบ มี ความรักสามัคคี ที่บ้านก็ให้เรียนตามที่ลูกตั้งใจ ไม่มีความล�ำบาก ใจที่จะเลือกวิชาชีพพยาบาลเพราะมีความตั้งใจแล้ว ถ้าได้เข้าเรียน และส�ำเร็จการศึกษามีเป้าหมายว่าจะกลับไปท�ำงานที่ใกล้บ้านเกิด”
7 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
การศึกษา
พั ช นี อิ น ทร์ จั น ทร์ โรงเรีย นเตรีย มอุด มศึก ษาภาคเหนื อ พิษณุโลก “สัมภาษณ์เข้าเรียนในวิชาเอกภาษาไทย คณะศึกษา ศาสตร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ได้ ติ ด ตาม ดู ข ้ อ มู ล ข่ า วสารของมหาวิ ท ยาลั ย ทาง เว็ บ ไซต์ ปกติ เ ป็ น คนชอบพู ด และชอบ ภาษาไทยอยู่แล้ว อีกทั้งได้เห็นครูภาษา ไทยสอนด้วยความสามารถและ ประสบการณ์ โ ดยไม่ ต ้ อ งเปิ ด ต� ำ รา เวลาสอน ท�ำให้อยากเก่งเช่นนั้นบ้าง และหากเรียนที่คณะศึกษา ศาสตร์ จ ะได้ เ ปรี ย บเรื่ อ งภาษาที่ จ ะหลากหลายมากขึ้ น จาก เพื่ อ นๆ เพื่ อ รองรั บ การเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น คุ ณ พ่ อ เคยอยู ่ นครศรีธรรมราชแต่ย้ายมาอยู่พิษณุโลกนานแล้วจึงไม่รู้จักใครที่ ภาคใต้ หลายคนอาจมีความเป็นห่วงแต่คิดว่านอกจากวิชาการ แล้วเราจะได้ความเข้มแข็งและประสบการณ์จากที่นี่ เรียนจบแล้ว อยากกลับมาเป็นครูที่บ้าน อยากให้เด็กรุ่นหลังได้เก่งภาษาไทย” สิ ช ารั ช ต์ เกตุ ป รี ช าสวั ส ดิ์ โรงเรียนสตรีวิทยา 2 กรุงเทพ “สนใจด้ า นการบั ญ ชี และเคยร่ ว มหลายกิ จ กรรมด้ า นบั ญ ชี ข อง สถาบันต่างๆ จึงเลือกเข้าเรียนในสาขา บัญชีบัณฑิต (หลักสูตรสองภาษา) คณะ ศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาการจั ด การ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยติดตามจาก เว็ บ ไซต์ แ ละการให้ ข ้ อ มู ล จากสถาบั น ที่ได้ไปเรียนพิเศษ ปกติเป็นคนชอบการ แสดงออก ชอบเรื่ อ งคิ ค� ำ นวณ การจด รายรับรายจ่าย ซึ่งน่าจะตรงกับคุณสมบัติของผู้ที่เรียนด้านนี้ และ ที่ เ ลื อ กวิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี แ ม้ จ ะไม่ เ คยไปเพราะ เห็ น ว่ า ไม่ ใ ช่ เ มื อ งใหญ่ ม ากนั ก น่ า จะมี ก ารใช้ ชี วิ ต ที่ เรี ย บง่ า ยไม่ เ ครี ย ดจนเกิ น ไป สาขาบั ญ ชี บั ณ ฑิ ต ต้ อ ง เรี ย นสองภาษาคื อ วิ ช าทั่ ว ไปจะเรี ย นเป็ น ภาษาไทย ส่ ว นวิ ช าบั ญ ชี ส ่ ว นใหญ่ จ ะเรี ย นเป็ น ภาษาอั ง กฤษซึ่ ง คงจะยาก แต่จะพยายามให้เต็มที่”
8 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ศิ ร สิ ท ธิ์ รั ต ติ รั ก ษ์ โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรม กรุงเทพ “สนใจเรียนสาขาการจัดการโลจิสติกส์ ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร วิ ท ย า เ ข ต หาดใหญ่ เพราะชอบคณิตศาสตร์และ การจั ด การต่ า งๆ ได้ ศึ ก ษาข้ อ มู ล จาก เว็บไซต์และค�ำบอกเล่าจากพี่ชายที่อยู่ ที่ นี่ ได้ ท ราบว่ า “สงขลานคริ น ทร์ ” เป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงในภาคใต้ เคยไปเที่ยวภาคใต้ แต่ คิ ด ว่ า หากได้ เ ข้ า เรี ย นจะได้ ไ ปสั ม ผั ส ชี วิ ต ที่ นั่ น อย่ า งจริ ง จั ง ตอนเรี ย นเป็ น คณะกรรมการนั ก เรี ย นมี ป ระสบการณ์ ใ นการ จั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ตอนสั ม ภาษณ์ จึ ง ได้ ถ ามทั้ ง โอกาสในการ ร่วมกิจกรรม และเรื่องเกี่ยวกับวิชาที่จะต้องเรียน อนาคตมุ่งหวัง อยากท�ำงานชิปปิ้ง การขนส่งทางเรือ” วรรณพร ปอสี โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ลํานารายณ์ ลพบุรี “เลือกเข้าเรียนคณะวิศวกรรม ศาสตร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยทราบ ข้อมูลจากเว็บไซต์มหาวิทยาลัยและ งานแนะแนวของโรงเรียน ไม่เคยมา ภาคใต้และไม่มีคนรู้จักอยู่ที่นี่แต่อยาก มาเพราะจะได้สัมผัสสภาพแวดล้อม วั ฒ นธรรมใหม่ ๆ ปี ถั ด ไปอยากเลื อ กสาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมเคมี ซึ่ ง ดู ไ ม่ ห นั ก เกิ น ไปส� ำ หรั บ ผู ้ ห ญิ ง และมุ ่ ง หวั ง จะท� ำ งานด้ า น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี” อรนุ ช กระจกงาม โรงเรี ย นสกลวิ ท ยา นครปฐม “มา สัมภาษณ์เข้าเรียนในสาขาวิชาภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เพราะนอกจากจะติ ด ตามข้ อ มู ล มหาวิ ท ยาลั ย ทางเว็ บ ไซต์ ม าตั้ ง แต่ ม.4 แล้ว ยังชอบภาพยนตร์และศิลปิน เกาหลี และที่ส�ำคัญคือที่ครูที่โรงเรียน ซึ่งจบจาก “สงขลานครินทร์” ยังมีส่วน ในการให้ ข ้ อ มู ล ของสาขาวิ ช าที่ เ ปิ ด สอนและเรื่ อ งทั่ ว ไปของ มหาวิ ท ยาลั ย ด้ ว ย อาชี พ ที่ มุ ่ ง หวั ง หลั ง จากจบการศึ ก ษาคื อ การ ท�ำธุรกิจด้านการท่องเที่ยว”
การศึกษา
ม.อ.ปัตตานี เป็นพี่เลี้ยงพัฒนา ร.ร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม
เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเข้าเรียนในสาขาวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้มากขึ้น หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สร้าง ความเข้มแข็งด้านวิชาการ และเพิ่มโอกาสในการ ศึกษาต่อ ให้กับนักเรียนโรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลามที่ สอนวิชาสามัญควบคู่ศาสนาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วย การจัดตั้งห้องเรียนพิเศษโปรแกรมวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ขึ้ น ใน 6 โรงเรี ย นของจั ง หวั ด ปั ต ตานี เริ่ ม ตั้ ง แต่ ป ี ก ารศึ ก ษา 2559 ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ น พ พ ร เ ห รี ย ญ ท อ ง รอง อธิการบดีฝ่ายระบบ สารสนเทศ และกายภาพ วิทยาเขตปัตตานี แจ้งว่า ในปัจจุบันผู้ปกครอง ใน จังหวัดชายแดนภาคใต้นิยมส่ง บุตร หลานเข้าศึกษาในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม ม.อ. ปัตตานี เป็นพี่เลี้ยงพัฒนา ร.ร. เอกชนสอนศาสนาอิสลาม เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเข้าเรียนใน สาขาวิชาต่างๆ ในมหาวิทยาลัยได้มากขึ้น ที่สอนสายสามัญ และศาสนาควบคู่กันไป ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็ง ด้ า นวิ ช าการ และเพิ่ ม โอกาสให้ กั บ นั ก เรี ย น สามารถ สอบ แข่งขันเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา และคณะสาขาวิชาที่ ต้ อ งการได้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จึงจัดโครงการจัดตั้งห้องเรียนพิเศษโปรแกรมวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ (Science-Mathematic Program : SMP) ขึ้น ในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา ควบคู่กับสายสามัญ โดยในปีการศึกษา 2559 จะเริ่มด�ำเนิน โครงการใน 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต้ จั ง หวั ด ละ 6 โรงเรี ย น รวม 18 โรงเรี ย นน� ำ ร่ อ ง โดยโรงเรี ย นในจั ง หวั ด ปั ต ตานี รั บ ผิ ด ชอบโดยมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จังหวัดยะลารับผิดชอบโดยมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา และ จังหวัดนราธิวาส รับผิดชอบโดยมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช นครินทร์ ส�ำหรับจังหวัดปัตตานีจ�ำนวน 6 โรงเรียน ได้แก่ 1. โรงเรียนวัฒนธรรมอิสลาม ต�ำบลพ่อมิ่ง อ�ำเภอปะนาเระ 2. โรงเรียนเตรียมศึกษาวิทยา ต�ำบลรูสะมิแล อ�ำเภอเมือง 3. โรงเรียนอาซิซสถาน ต�ำบลนาประดู่อ�ำเภอโคกโพธิ์ 4. โรงเรียนส่งเสริมศาสน์ ต�ำบลตันหยงดาลอ อ�ำเภอยะหริ่ง 5. โรงเรียนอิสลามนิติวิทย์ ต�ำบลปากูอ�ำเภอทุ่งยางแดง
6. โรงเรี ย นสายบุ รี อิ ส ลามวิ ท ยา ต� ำ บลตะลุ บั น อ� ำ เภอ สายบุรี ทั้งนี้การจัดท�ำโครงการห้องเรียนพิเศษโปรแกรมวิทยา ศาสตร์-คณิตศาสตร์ ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามนี้
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี ได้ ม อบให้ ค ณะศึ ก ษาศาสตร์ เ ป็ น แม่ ง าน ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น งานจะเน้ น การจั ด การ ด้ า น ความพร้ อ มของห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ รวมทั้ ง การพั ฒ นาความรู ้ แ ก่ ค รู ประจ�ำในโรงเรียนให้มีกระบวนการสอนที่เน้นการ พั ฒ นาผู ้ เ รี ย นเป็ น ส� ำ คั ญ โดยมี ค ณาจารย์ ข อง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และน�ำนักศึกษาออกไปฝึกสอน ในโรงเรี ย นเป้ า หมายตลอดจนการ แนะแนวและ สอนเสริมเพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมที่จะสอบเข้า ศึกษาต่อในคณะ และมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้มากขึ้น รองอธิการบดีฝ่ายระบบสารสนเทศและกายภาพ วิทยาเขตปัตตานีแจ้งต่อไปว่า นอกจากโครงการ จั ด ตั้ ง ห้ อ งเรี ย นพิ เ ศษ โปรแกรมวิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ แ ล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี ยังได้เสนอโครงการเพื่อยกระดับ การศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อรัฐบาล และ ได้รับการจัดสรรงบประมาณมาแล้ว ได้แก่ โครงการ แก้ ไ ขปั ญ หานั ก ศึ ก ษาเรี ย นอ่ อ นแบบบู ร ณาการ โครงการสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นวิ ช าการ ให้ แ ก่ นักเรียน ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ประกอบด้วย 3 กิจกรรมคือ ค่ายสอนเสริมเคมีชีววิทยา ฟิสิกส์ และคณิ ต ศาสตร์ ค่ า ยเยาวชนวิ ท ยาศาสตร์ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้าน ภาษาอังกฤษ แก่นักเรียนระดับมัธยม โครงการพัฒนาห้องสมุด โรงเรียน โครงการพัฒนาการเรียนรู้การส่งเสริม การอ่านสําหรับเด็กกับการพัฒนาห้องสมุดของ เล่นต้นแบบ เป็นต้น
9 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความภาคภูมิใจ
ม.อ.ติดอันดับมหาวิทยาลัยคุณภาพของโลก
เทียบเท่า ม.ชั้นน�ำของไทย
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดอันดับ จาก Times Higher Education หรือ THE ส�ำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกชื่อดังแห่งหนึ่ง จากประเทศอังกฤษ ให้อยู่ ในกลุ่มช่วง 601-800 ของมหาวิทยาลัยคุณภาพของ โลกเช่นเดียวกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุ ร นารี ซึ่ ง ในทุ ก มหาวิ ท ยาลั ย ที่ อ ยู ่ ใ นช่ ว งดั ง กล่ า วไม่ มี ค วามแตกต่ า งทางสถิ ติ และ มหาวิทยาลัยมหิดลอยู่ ในอันดับ 1 ของไทย โดยได้รับการจัดล�ำดับในช่วง 501-600 โดยผลการจัดอันดับนี้ เป็นการแสดงถึงมหาวิทยาลัยที่ติดอันดับแรก ร้อยละ 4 ของมหาวิทยาลัยทั่วโลก กว่า 20,000 แห่ง Times Higher Education หรื อ THE ส� ำ นั ก จั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย โลกจากประเทศ อังกฤษ ได้ประกาศผล การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ชั้ น น� ำ ของโลก ประจ� ำ ปี 2015-2016 (Times Higher Education World University Rankings 2015-2016) ซึ่งนับเป็นการจัดอันดับเป็นปีที่ 12 ติดต่อกัน นับตั้งแต่ปี 2547 โดยปีนี้ California Institute of Technology (Caltech) ครอง อันดับ 1 ในระดับโลกเป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน ส่วน ในระดับทวีปนั้น University of Tokyo มาเป็น อันดับ 1 ในทวีปเอเชีย และอันดับที่ 23 ของโลก
10 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความภาคภูมิใจ
ศ.ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล คณะวิทย์ ม.อ.
“นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี 58” และ “ทุนศาสตราจารย์ที่เป็นผู้น�ำกลุ่ม” าสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล ภาค วิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัย ดีเด่น แห่งชาติประจ�ำปี 2558 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและ เภสัช ตามประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2558 โดยได้รับการยกย่องในฐานะ นั ก วิ จั ย ที่ ไ ด้ อุ ทิ ศ ตนให้ กั บ งานวิ จั ย มี ผ ลงานวิ จั ย ดี เ ด่ น ที่แสดงถึงความคิดริเริ่ม และเป็นผลงานวิจัยที่สะสมกันมา ทั้ ง เป็ น ผู ้ ที่ มี จ ริ ย ธรรมของนั ก วิ จั ย จนเป็ น ที่ ย อมรั บ และ ยกย่องในวิชาการนั้น ๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัย ผู้อื่น นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2558 ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล ยังได้รับการประกาศให้เป็นผู้ได้ รับทุนศาสตราจารย์ที่เป็นผู้น�ำกลุ่ม (NSTDA Chair Professor) ประจ� ำ ปี 2558 จ� ำ นวนเงิ น วิ จั ย 20 ล้ า นบาท จากการ สนับสนุนของมูลนิธิส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) เป็นผู้บริหารจัดการ ระยะเวลาทุน 5 ปี ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล เป็น หัวหน้าโครงการ “การค้ น หาและพั ฒ นาสารต้ น แบบจาก ทรั พ ยากรราของไทยเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ในการค้ น หายา” ซึ่ ง เป็ น งานวิ จั ย ที่ ต ่ อ ยอดจากงานวิ จั ย เดิ ม เพื่ อ พั ฒ นาสาร ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ต ้ น แบบให้ ส ามารถน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์
ด้านอุตสาหกรรมยา โดยเฉพาะโรคติดเชื้อดื้อยา และโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ มะเร็งและไขมันในเลือดสูง ตลอดจนโรค ท้องร่วง โดยการแยก คัดเลือก และจ�ำแนกเชื้อราและศึกษา โครงสร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อพัฒนาเป็นยาชนิดใหม่ ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่าราทะเลสร้างสารที่แสดงความเป็น พิษต่อเซลล์อย่างเฉพาะเจาะจงกับเซลล์มะเร็งเต้านมโดยไม่ ท�ำลายเซลล์ข้างเคียง อีกทั้งราที่แยกได้จากดินบางสายพันธุ์ ยั ง ผลิ ต สาร “โลวาสเตติ น ” ซึ่ ง เป็ น ยาลดไขมั น ในเลื อ ดที่ ใ ช้ ในปัจจุบัน นอกจากนี้เมทาบอไลท์จากราทะเลที่แยกได้จาก หญ้าทะเลยังออกฤทธิ์กับโปรตีนช่องทางผ่านคลอไรด์ CFTR ซึ่ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการเกิ ด โรคท้ อ งร่ ว งเฉี ย บพลั น รุ น แรง
ศาสตราจารย์ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล เป็นนักวิจัยที่ มีผลงานโดดเด่น มีผลงานซึ่งได้รับการตีพิมพ์และอ้างอิงจ�ำนวน มากทางด้านเคมีอินทรีย์ เป็นผู้อุทิศตนให้กับงานวิจัยและสร้าง ผลงานด้านสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากเชื้อจุลินทรีย์มาอย่าง ต่อเนื่อง และเป็นที่ประจักษ์ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
11 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความภาคภูมิใจ
คว้าทุนลอรีอัลเพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ ปีที่ 13
องศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชี ย รศิ ล ป์ ภาควิ ช า เทคโนโลยี ชี ว ภาพอุ ต สาหกรรม คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เข้ า รั บ ทุ น ลอรี อั ล เพื่ อ สตรี สาขา วิ ท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพ ด้ ว ยผลงานเรื่ อ ง “การคั ด แยกและคั ด เลื อ ก เชื้อราไขมันสูง เพื่อประยุกต์ ใช้ ในการเปลี่ยนวัสดุเศษเหลือ ลิกโนเซล ลู โ ลส โรงงานสกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม ให้ เ ป็ น น�้ ำ มั น ส� ำ หรั บ ผลิ ต ไบโอดี เ ซล” ในงานวิทยาศาสตร์ ปีที่ 13 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมเจ ดับบลิว มารีออท กรุงเทพฯ โดยหลักเกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจากคุณค่าจากงานวิจัยต่อสังคม กระบวนการวิจัยที่ถูกต้อง เหมาะสมตามวั ต ถุ ป ระสงค์ โ ครงการ, จริ ย ธรรม และการยอมรั บ ในวงการวิจัย ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ เป็นหนึ่งใน 6 นักวิจัยหญิงไทย ที่เข้ารับทุนลอรีอัลเพื่อสตรี จัดโดย บริษัท ลอรีอัล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับ ส�ำนักเลขาธิการ คณะกรรมการแห่ ง ชาติ ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ (ยู เ นสโก) โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ นายอูเมซ ฟัดเค ผู้บริหารลอรีอัล ดร.กอปร กฤตยากีรณ ประธานคณะกรรมการกิตติมศักดิ์ของโครงการ ร่วมแสดงความยินดี บริ ษั ท ลอรี อั ล (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก เลขาธิ ก ารแห่ ง ชาติ ว่ า ด้ ว ยการ ศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ และวั ฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ (ยู เ นสโก) ได้ ร ่ ว มเชิ ด ชู เ กี ย รติ ส ตรี ในสายงานวิทยาศาสตร์ และสนับสนุนงานด้านการค้นคว้าและวิจัย เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น ให้ กั บ ประเทศไทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยการมอบทุ น ในโครงการทุ น วิ จั ย ลอรี อั ล ประเทศไทย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” โดยปีนี้เป็นปีที่ 13
12 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความภาคภูมิใจ
ภายใต้การดูแลของศูนย์บ่มเพาะฯ รับ 2015
AABI Award
บ ริ ษั ท กิ ส โ ค จ� ำ กั ด ( G I S S C O C o . , L t d . ) รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา วรรณสินธุ์ และคุณสงบ ธนบ� ำ รุ ง กู ล ผู ้ ป ระกอบการภายใต้ ก ารดู แ ลของศู น ย์ บ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ รางวั ล 2015 AABI Torch Entrepreneur Award ด้ า น Technology Transfer ซึ่ ง เป็ น รางวั ล ที่ ม อบให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการที่ มี น วั ต กรรม โดดเด่นทางด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี ของประเทศในแถบ เอเชีย AABI (Asian Association of Business Incubation)
บริษัท กิสโค จ�ำกัด (GISSCO Co.,Ltd.) โดยมีคุณสงบ ธนบ�ำรุงกูล เป็นผู้ประกอบการ และรศ.ดร.เจษฎา วรรณสินธุ์ เป็นนักวิจัยผู้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมาใหม่ที่เรียกว่า “การหล่อโลหะแบบสเลอรี่” (Slurry Metal Casting Technology) เป็ น วิ ธี ก ารหล่ อ โลหะแบบกึ่ ง ของแข็ ง คื อ น�้ ำ โลหะที่ ใ ช้ จ ะ ไม่ เ หลวเหมื อ นน�้ ำ แต่ จ ะมี ค วามหนื ด มากขึ้ น คล้ า ยวุ ้ น ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ข องความหนื ด นี้ จ ะท� ำ ให้ ไ ด้ เ นื้ อ งานที่ มี คุ ณ ภาพ ดี ก ว่ า แบบเดิ ม เพราะเมื่ อ น� ำ ไปหล่ อ ขึ้ น รู ป จะไม่ เ กิ ด ฟอง ท�ำให้สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับเครื่องฉีดชิ้นส่วนอะลูมิเนียม (Aluminum Die Casting) ได้ ง ่ า ย ข้ อ ดี ข องการหล่ อ โลหะ แบบสเลอรี่ คือ น�้ำโลหะที่ใช้ไม่จ�ำเป็นต้องมีอุณหภูมิที่สูงมาก เท่าแบบเดิม ท�ำให้การใช้พลังงานในการหลอมโลหะลดลง ต้นทุนต�่ำลง และมีคุณภาพมากขึ้น เครื่องจักรและแม่พิมพ์ ก็จะใช้งานได้นานมากยิ่งขึ้น
ปัจจุบันบริษัท กิสโค จ�ำกัด (GISSCO Co.,Ltd.) ผลิต เครื่องจักรจ�ำหน่ายเพื่อใช้งานทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีการน�ำไปใช้งานเพื่อสาธารณประโยชน์ เช่น ร่วมกับศูนย์ เทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ (เอ็ ม เทค) กองทั พ เรื อ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี ในการผลิ ต เรื อ เกราะกั น กระสุ น และ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อ พัฒนาและผลิตขาเทียมใต้เข่าที่มีน�้ำหนักเบา คุณภาพสูง และ ได้บริจาคให้กับผู้พิการได้ใช้งานจริงแล้ว รางวัล AABI Torch Entrepreneur Award ด้าน Technology Transfer ถือเป็นรางวัลที่สร้าง ความภาคภูมิ ใจให้แก่บริษัท กิสโค จ�ำกัด (GISSCO Co.,Ltd.) และศู น ย์ บ ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ อุ ท ยาน วิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ เป็น อย่างยิ่ง ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับรางวัลจะได้รับเชิญให้เข้าร่วม พิธีมอบรางวัลที่ประเทศเกาหลีต่อไป
13 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความภาคภูมิใจ
“ประเสริฐ ทองศิริ”
ช่างคุมเสียง สถานีวิทยุ ม.อ. หาดใหญ่
บุคคลพิการตัวอย่าง ปี 58 ของสภาสังคมสงเคราะห์
“ประเสริฐ ทองศิริ” ช่างควบคุมเสียง ของสถานี วิทยุกระจายเสียง ม.อ. หาดใหญ่ ได้รับการคัดเลือกจาก สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็น 1 ใน 15 ของบุคคลพิการตัวอย่าง ประจ�ำปี 2558 จากรายชื่อที่ส่งเข้ารับการคัดเลือก จ�ำนวน 105 คน โดย จะเข้ า รั บ ประทานโล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ จาก พระเจ้ า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ในงานวันคนพิการ ครั้งที่ 49 ประจ�ำปี 2558 ที่ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 “ประเสริฐ” พิการขาขวาลีบจากการป่วย เป็นโรคโปลิโอเมื่ออายุ 5 ขวบ ซึ่งในตอนนั้นหมอ แนะน�ำให้ตัดขาแต่คุณแม่ไม่ยินยอม ซึ่งนับว่า เป็นสิ่งที่ดีเพราะในปัจจุบัน เขาไม่มีปัญหาใน การท�ำงาน การใช้ชีวิตประจ�ำวัน และคิดว่ายัง สามารถใช้ พ ยุ ง ร่ า งกายและดู แ ลได้ ดี ก ว่ า ใช้ ขาเทียม ในปี 2553 “ประเสริฐ” ได้ไปขึ้นทะเบียนคนพิการที่โรงพยาบาล อ� ำ เภอนาหม่ อ ม จั ง หวั ด สงขลา ได้ รั บ การชั ก ชวนจาก คุ ณ ภั ณ ฑิ ร า โมสิ ก ะ โรงพยาบาลอ� ำ เภอนาหม่ อ ม ให้ รั บ เป็ น ประธานชมรมคน พิการทุกประเภท อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา ซึ่งมีการรวมตัวกัน แล้วแต่ยังขาดผู้น�ำช่วยขับเคลื่อนการท�ำกิจกรรม ด้วยความที่ท�ำงาน เป็นช่างควบคุมเสียงของสถานีวิทยุ ม.อ.หาดใหญ่ และได้แรงบันดาลใจ มาจาก “รายการแลบ้านแลเมือง” ซึ่งเป็นรายการแบ่งปันน�้ำใจช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน จึงรับเป็นประธานชมรมจนบัดนี้ ในการท�ำงาน ท�ำให้ได้พบผู้พิการส่วนหนึ่งที่ไม่กล้าพาตัวออกสู่ สั ง คมเพราะอั บ อายในความพิ ก ารของตั ว เอง จึ ง ได้ พ ยายามหาทาง โน้มน้าวให้ผู้พิการเหล่านั้นมั่นใจในตัวเอง และเข้าร่วมกับสังคมทั่วไป ขณะเดียวกัน ได้ร่วมมือกับเครือข่าย เช่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ หมู ่ บ ้ า น โรงพยาบาลในพื้ น ที่ อบต. สถานศึ ก ษา บริ ษั ท ห้ า งร้ า น สหกรณ์ออมทรัพย์ ม.อ. ช่วยสร้างบ้าน สร้างอาชีพ สร้างห้องน�้ำส�ำหรับ คนพิการ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น “เคยพบผู้พิการทางการเคลื่อนไหว และอาศัยอยู่กับครอบครัว ในบ้ า นที่ มี ส ภาพทรุ ด โทรม ฝาบ้ า นช� ำ รุ ด จนไม่ ส ามารถกั น ลมฝนได้ มีน�้ำท่วมในหน้าฝน จึงร่วมกับเครือข่ายในการระดมทุนเพื่อสร้างบ้าน ใหม่ ได้เงินประมาณ 1 แสนบาท ซึ่งไม่เพียงพอกับค่าก่อสร้าง จึงท�ำ หนั ง สื อ ขอความอนุ เ คราะห์ ม ายั ง วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค หาดใหญ่ เพื่ อ ขอ นักศึกษาแผนกก่อสร้างมาช่วยสร้างบ้าน และขออนุเคราะห์วัสดุก่อสร้าง จากร้านวัสดุก่อสร้างและร้านขายอุปกรณ์ไฟฟ้า จนการก่อสร้างเสร็จ
14 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
เป็นที่เรียบร้อย สร้างความสุขให้แก่ผู้พิการ” การเป็นประธานชมรมคนพิการ ไม่ใช่กิจกรรมเพื่อประโยชน์ของ สังคมครั้งแรกของ “ประเสริฐ” เพราะก่อนหน้านั้น ระหว่างปี 2540-2545 เคยร่วมกับเพื่อนๆ ในอ�ำเภอนาหม่อม จัดตั้งธนาคารขยะ เนื่องจากเห็น ว่าอ�ำเภอนาหม่อมมีขยะจ�ำนวนมาก ประกอบกับขณะนั้นประเทศจีน ก�ำลังต้องการขยะประเภทพลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม ทองแดง เพื่อ น� ำ ไปแปรรู ป ซึ่ ง ได้ ร าคาดี จึ ง เชิ ญ ชวนชุ ม ชนให้ คั ด เลื อ กขยะที่ น� ำ ไป แปรรูปใช้ประโยชน์ได้ให้น�ำมาขาย โดยทางธนาคารขยะจะเปิดบัญชี ให้แล้วโอนเงินที่ได้ไปฝากเข้าบัญชีนั้น เป็นการช่วยชาวบ้านออมเงิน อีกวิธีหนึ่ง มีผู้สนใจร่วมกิจกรรมประมาณ 300 คน “ความพิการไม่เป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิตในสังคม แต่กลับจะมี ส่วนให้เรามีความเข้าใจและเห็นใจผู้อื่นมากขึ้น คนพิการหลายคนมี ความรู ้ สึ ก ถู ก ทอดทิ้ ง ไร้ ที่ พึ่ ง ไม่ ก ล้ า แสดงออก บางคนไม่ ย อมรั บ ความจริงในสภาพร่างกายของตน จึงไม่ยอมขึ้นทะเบียนคนพิการเพื่อ ใช้สิทธิ์ที่รัฐจัดให้ ทั้งที่ยังมีความสมบูรณ์ทางสติปัญญา หากท้อแท้ ในชีวิต อยากให้มองคนที่มีความพิการมากกว่าเราจ�ำนวนมาก ที่สู้ชีวิต ด้วยความอดทน เข้มแข็ง” ประเสริฐ กล่าว ทั้งนี้ผู้ต้องการมีส่วนร่วมในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ผู้พิการ ติดต่อ “ประเสริฐ ทองศิริ” ได้ที่ 085 079 5277 หรือที่สถานีวิทยุ ม.อ. หาดใหญ่ 074 558 775
ข่าวเด่น
ม.อ.ทูลเกล้าถวายปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน�้ำ แก้ปัญหาภัยแล้ง และป้ อ งกั น อุ ท กภั ย แก่ เ กษตรกร รวมทั้ ง พระราชทาน “เกษตรทฤษฎี ใ หม่ ” ซึ่ ง เป็ น การประยุ ก ต์ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ส� ำ หรั บ ภาคเกษตรโดยเฉพาะ เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาความยากจน และยกระดั บ จากการเกษตรแบบพอมี พ อกิ น ซึ่ ง เกษตรกร สามารถเรียนรู้เข้าใจได้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง สนพระทัยและทรงพระปรีชาสามารถทางศิลปกรรมแขนงต่างๆ มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง ทรงพระเยาว์ ได้ ท รงปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระปรี ช าในการ ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เช่น ด้าน พั ฒ นาด้ า นต่ า ง ๆ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ได้ ท รงพั ฒ นาประเทศชาติ อักษรศาสตร์และวรรณศิลป์ ด้านภาษาต่างประเทศ ด้านดนตรี เพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่พสกนิกรทั่วทุกภูมิภาคให้มีความ และคีตศิลป์ จะเห็นได้จากผลงานพระราชนิพนธ์บทประพันธ์ ร่มเย็นเป็นอยู่ดีขึ้น โดยพระราชทานหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจ ค�ำร้องพระราชนิพนธ์บทเพลง ภาพวาดฝีพระหัตถ์และภาพถ่าย พอเพี ย ง” ซึ่ ง เน้ น การสร้ า งเศรษฐกิ จ พื้ น ฐานให้ มั่ น คงก่ อ น ทรงพระปรี ช าสามารถในด้ า นการประยุ ก ต์ ง านศิ ล ปะเชื่ อ ม พั ฒ นาในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น และพระราชทานแนวทางเพื่ อ ให้ โยงกั บ การสานสั ม พั น ธ์ กั บ นานาประเทศ นอกจากนั้ น ใน ประเทศรอดพ้ น จากวิ ก ฤติ สามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น คง ส่วนของพระกรุณาธิคุณการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ภายใต้ ก ระแสการเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ภู มิ อ ากาศ ต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย ได้ เ สด็ จ ทอดพระเนตรผลงานศิ ล ปกรรม และเศรษฐกิ จ โลกบนพื้ น ฐานของคุ ณ ธรรมความเพี ย รและ และเยี่ ย มเยี ย นเพื่ อ สร้ า งขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจให้ แ ก่ บุ ค ลากร ณ ความรู ้ ได้ พ ระราชทานความช่ ว ยเหลื อ แก่ พ สกนิ ก รด้ ว ย วิทยาเขตปัตตานี และร่วมทรงดนตรีกับวงดนตรีของบุคลากร โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ก ว่ า 4,000 โครงการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ เป็นต้น ที่ ป ระชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย ครั้ ง ที่ 367 (5/2558) เมื่ อ วั น ที่ 25 กรกฎาคม 2558 ได้ มี มติ ใ ห้ ข อพระราชทานทู ล เกล้ า ฯ ถวายปริ ญ ญา เศรษฐศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขา เศรษฐศาสตร์ เ กษตร แด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว และ ศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
15 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ข่าวเด่น
เมื่ อ วั น ที่ 27-29 พฤศจิ ก ายน 2558 สมเด็ จ พระเจ้ า ลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จฯ แทน พระองค์ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ที่ศูนย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี รวมผู้มีสิทธิ์ เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรทั้งสิ้น 8,238 คน จากทั้ง 5 วิทยาเขต โดยสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้อนุมัติปริญญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 6 ท่าน ซึ่งจะ เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจาก สมเด็จพระเจ้าลูกเธอฯ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีด้วย ดังนี้
1. ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา 2. ศาสตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาอิสลามศึกษา 3. ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเคมี 4. นายสมพร ใช้บางยาง รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์
16 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
5. ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพืชศาสตร์ 6. Mr.Anthony Wagemakers แพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ในปีนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มีการพิจารณา คัดเลือกอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ เพื่อเข้ารับ พระราชทานโล่เกียรติยศ และประกาศเกียรติคุณในพระราชทาน ปริ ญ ญาบั ต รประจ� ำ ปี 2558 และคั ด เลื อ กผลงานดี เ ด่ น เพื่อรับโล่เกียรติยศและประกาศเกียรติคุณในงานวันสงขลา นครินทร์ ดังนี้ อาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2558 1. ด้านการเรียนการสอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพิมล คีรีรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ 2. ด้านบริการวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณี ผ่องสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์
ข่าวเด่น
2. นายพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีนครยะลา ผู้ได้รับรางวัลกองทุนเอกิ้น เลาเกเซ่น อนุสรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2558 สาขาการวิจัย (ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ผลงาน จากจีโนมสู่ผลิตภัณฑ์ 3. ด้านการวิจัย ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา และคณะ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ ผลงาน เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา ที่ยั่งยืนจากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรและ คณะวิทยาศาสตร์ โรงงานอุตสาหกรรม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รองศาสตราจาย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการแต่งต�ำรา อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ ผลงาน เซรามิกทางทันตกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร คณะวิทยาศาสตร์ ของ รองศาสตราจารย์ ทพ.บุญเลิศ กู้เกียรติตระกูล ผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี คณะทันตแพทยศาสตร์ 2558 ผลงาน การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือ 1. สาขาการวิจัย ของ ศาสตราจารย์ ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอุตสาหกรรมเกษตร ผลงาน จากจีโนมสู่ผลิตภัณฑ์ สาขาท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลงาน โครงการโขนสงขลานครินทร์ ของ ศาสตราจารย์ ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา และคณะ ของ ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิทยาศาสตร์ ผลงาน เทคโนโลยี ชี ว ภาพเพื่ อ การผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง ชีวภาพที่ยั่งยืนจากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรและ โรงงานอุตสาหกรรม ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร 2. สาขาท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลงาน โครงการโขนสงขลานครินทร์ ของ ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ผู้ได้รับรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ 1. นายแพทย์ก�ำพล กาญจโนภาศ นายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลหาดใหญ่
17 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ข่าวเด่น
ผลประเมินชี้จุดเด่น ม.อ. คือ ความส�ำเร็จในภารกิจ 4 ด้าน
แต่ควรเน้นการดูแลบุคลากร การสื่อสาร และการหาโจทย์วิจัย
ในหลายรูปแบบ ในขณะเดียวกัน ควรพัฒนา เรื่องการก�ำกับดูแลบุคลากรเรื่องการสร้างความ เป็ น ธรรม ความมั่ น คง ความสุ ข การพั ฒ นา การสื่ อ สารนโยบายและแผนพั ฒ นาองค์ ก ร ให้ ทั่ ว ถึ ง การประชาสั ม พั น ธ์ ง านที่ โ ดดเด่ น และเกิดประโยชน์กับสังคม และ การหาโจทย์ วิจัยท้องถิ่นเพื่อก�ำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ ระดับประเทศ
ณะการประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ต.ท. ดร. นภดล ทองนพเนื้ อ ประธานกรรมการ และคณะ ได้เข้าประเมิน คุณภาพภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2558 โดยชี้จุดแข็งของมหาวิทยาลัย คือ สามารถผลิตองค์ความรู้ที่หลาก หลายสามารถเชื่ อมโยงสู่นานาชาติ ผลิต บัณฑิต ที่มี คุณ ภาพตอบสนอง ความต้องการของสังคมและภูมิภาค มีการบริการวิชาการที่หลากหลายเกิด เป็นประโยชน์กับท้องถิ่น และมีการท�ำนุบ�ำรุงและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
18 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
ม.อ.เตรียมหน่วยงานภายใน
พร้อมรับมือน�้ำท่วม ส�ำหรับแผนการเตรียมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน�้ำท่วม ของมหาวิทยาลัยในปีนี้ ประกอบด้วยส่วนหลักๆ คือ การตั้งศูนย์ ประสานงาน สถานที่จอดรถ ศูนย์รับผู้อพยพ ศูนย์สนับสนุนด้าน อาหาร น�้ำดื่ม ศูนย์รักษาผู้ป่วยและยารักษาโรค ระบบน�้ำส�ำรอง การประชาสัมพันธ์ข้อมูล การระดมก�ำลังนักศึกษาช่วยเหลือ การจัดท�ำฐานข้อมูลด้านต่างๆ และ การประสานงานกับหน่วย งานภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยจะมี ก ารแจ้ ง การเตรี ย มความ พร้อมดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดสงขลา เช่น ส�ำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เป็นต้น องศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ไ ด้ จั ด ประชุ ม นั ก วิ จั ย และ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งในวิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อหารือการเตรียมความพร้อม หากเกิดอุทกภัยขึ้นในพื้นที่อ�ำเภอ หาดใหญ่ โดยการประสานงานของ ส� ำ นั ก งานประสานงานวิ จั ย อุ ต สาหกรรมและชุ ม ชน (CILO) ส�ำนักวิจัยและพัฒนา เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2558 โดยการหารือได้พูดถึงความพร้อมด้านข้อมูล ระบบ การสื่อสาร การประสานด้านข้อมูลของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สถานที่รองรับผู้ประสบภัย อาหารส�ำหรับ ผู้ประสบภัย ซึ่งจากประสบการณ์ในการมีบทบาทช่วย เหลือผู้ประสบภัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ใน ครั้งที่ผ่านๆ มา วิทยาเขตหาดใหญ่เป็นพื้นที่สูง มีสถาน พยาบาล อาคารสถานที่ บุ ค ลากร ที่ พ ร้ อ มส� ำ หรั บ เป็นศูนย์ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้เป็นอย่างดี
ร
ในปีนี้ จะไม่มีการจัดประชุมหาดใหญ่เข้มแข็งสู้ภัย น�้ำท่วม เหมือน 6 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากองค์กรเอกชนใน หาดใหญ่ได้ตื่นตัวและจัดกิจกรรมดังกล่าวแล้ว อย่างไร ก็ตาม ปัจจุบันนักวิจัยของมหาวิทยาลัย ได้พัฒนาทั้งระบบ การเตื อ นภั ย การแจ้ ง ขอความช่ ว ยเหลื อ การแจ้ ง พิ กั ด รับความช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้เกิดความซ�้ำซ้อนในการเข้า พื้นที่ของหน่วยงาน สามารถแจ้งขอความช่วยเหลือโดยใช้ สัญญาณไวไฟเมื่อเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่สามารถ ใช้การได้ และก�ำลังพัฒนา application แจ้งขอความช่วย เหลือส�ำหรับชาวหาดใหญ่โดยเฉพาะ
19 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความร่วมมือสู่ประชาคมโลก
ม.อ. เปิดวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน รองรับการย้ายฐานการผลิตยางล้อจีนมาอาเซียน
องศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิดเผยเกี่ยวกับความร่วมมือใน การจั ด ตั้ ง “วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ยางพาราไทย-จี น ”(Sino-Thai International Rubber College) ระหว่ า ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา น ค ริ น ท ร ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชิงเต่า (QUST) และ Rubber Valley Group (RVG) มณฑลชานตง ประเทศจีน ว่ามี เป้าหมายเพื่อสร้างบุคลากรที่มีทักษะด้านการผลิตและ ออกแบบยางล้ อ เพื่ อ ตอบสนองโรงงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ อุ ตสาหกรรมการผลิตยางล้อรถยนต์ และรองรั บ โรงงานผลิ ต ยางล้ อ จากประเทศจี น ที่ จ ะมาตั้ ง ฐานการ ผลิ ต ในไทยและประเทศอาเซี ย นในอนาคต และเป็ น การ สร้ า งเสริ ม องค์ ค วามรู ้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เกี่ ย วกั บ ผลิตภัณฑ์ยาง ซึ่งในมณฑลชานตง ประเทศจีน มีสถาบัน การศึ ก ษาที่ เ ชี่ ย วชาญเรื่ อ งดั ง กล่ า ว และมี โ รงงานที่ เกี่ยวกับการผลิตยางล้ออยู่เป็นจ�ำนวนมาก
ร
“นอกจากวิ ช าการด้ า นการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยางพารา แล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ยั ง มี ค วามพร้ อ มด้ า น บุคลากรและเครื่องมือในการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยางพารา ซึ่ ง โรงงานอุ ต สาหกรรมสามารถเข้ า มารับบริการได้” อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว ด้าน รองศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม นิยมวาส ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา กล่าวว่า โครงการก่อตั้ง “วิทยาลัยนานาชาติ ยางพาราไทย-จี น ” ได้ มี ก ารเห็ น ชอบร่ ว มกั น ในหลั ก การในการ ประชุมร่วม 3 ฝ่ายเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2558 จากนั้น มีการลงนาม ความร่วมมือ และ แถลงข่าวต่อสื่อมวลชนจีน ในงาน International Rubber Industry Exposition 2015 ที่นครชิงเต่า ประเทศจีน เมื่อ 13-14 ตุลาคม 2558 และล่าสุด ในการประชุมเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สามารถได้ ข ้ อ สรุ ป ในข้ อ ตกลงการจั ด การเรี ย นการสอนและการแต่ ง ตั้ ง คณะท� ำงานร่ า ง หลักสูตร โดยคาดว่าจะได้ข้อสรุปหลักสูตรในเดือนกุมภาพันธ์ 2559
คาดว่ า “วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ย างพาราไทย-จี น ” จะรั บ นักศึกษาและเปิดการเรียนการสอนได้ในปีการศึกษา 2560 โดยเปิด สอนเป็นภาษาอังกฤษ ในระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2+2 คือเรียน ที่ประเทศไทย 2 ปี และ ประเทศจีน 2 ปี และได้รับปริญญาจาก 2 สถาบัน ใน 3 สาขา คือ Polymer Materials and Engineering, Mechanical Engineering และ Mechatronic Engineering รับนักศึกษาหลักสูตรละ 100 คน มีการเปิดสอนในระดับปริญญาโท หลักสูตร 1+1 พร้อมกับการร่วมมือกันจัดอบรมระยะสั้นในเรื่อง ที่เกี่ยวข้อง และเมื่ อ วั น ที่ 13 พฤศจิ ก ายน 2558 ได้ มี พิ ธี ล งนาม ความร่วมมือเพื่อร่วมกันก่อตั้ง “วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ย างพารา ไทย-จี น ” ที่ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศจี น ประจ� ำ กรุ ง เทพฯ โดยนอกจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชิงเต่า และ Rubber Valley Group แล้ว ยังมีองค์กรที่ร่วมลงนามคือ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศจีน และ สภาวัฒนธรรมไทย-จีนและส่งเสริมความสัมพันธ์
20 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ความร่วมมือสู่ประชาคมโลก
ม.อ.สุราษฎร์ จับมือ MOA International ญี่ปุ่น
องศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ได้มีพิธีการลงนาม ความร่วมมือทางวิชาการ ในการพัฒนานักศึกษา บุคลากร ตลอดจนเยาวชนและบุคคลทั่วไปในด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อน้อมน�ำความดีสู่สังคม และร่วมกัน เสริมสร้างความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและสุขภาพ ระหว่าง มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กับ MOA International ประเทศญี่ปุ่น โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี และ นายฟุจิโอะ โมริ ประธานหน่วยงาน MOA International โดย มีรองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดี วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี และนางสาวดวงพร วงษ์ ส วั ส ดิ์ ผู้อ�ำนวยการกองวิชาการและการพัฒนานักศึกษา ร่วมเป็น สักขีพยาน ฝ่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
MOA (Mokichi Okada Association) เป็นองค์กรการกุศลที่ ยึดหลักช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ให้มีจิตใจดีงาม ผ่านมุมมองด้านศิลปะ สร้างครอบครัวและเมืองที่มีสุขภาวะที่ดีและอุดมสมบูรณ์ ท่ามกลาง การเห็นอกเห็นใจและการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยให้ความ ส�ำคัญกับเรื่องจิตใจที่ดีงาม การมีสุขภาพที่ดีตามวิถีธรรมชาติเป็น หลัก เน้นการกินอยู่ด้วยเกษตรวิธีธรรมชาติ และการบ�ำบัดโรคตาม แนวผสมผสานระหว่างพลังธรรมชาติกับการรักษาแผนปัจจุบัน ตาม หลักปรัชญาของโมกิ จิ โอกาดะ นักคิดและนักปราชญ์ชาวญี่ปุ่น ภายหลั ง จากการลงนามความร่ ว มมื อ รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดี ได้กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสามารถ น�ำหลักการหลายส่วนจากข้อตกลงความร่วมมือ ไปบูรณาการด้าน วิชาการ เช่น การพัฒนาจิตใจนักศึกษาและบุคลากร กับการเรียนการ สอนด้านสุขภาพ และเกษตรวิถีธรรมชาติ โดยอาจจะเพิ่มเติมเข้าไป ในหลักสูตรที่มีอยู่แล้วเช่น รายวิชาชีวิตและความสุข หรือเปิดรายวิชา ใหม่ด้านเกษตรธรรมวิถีชาติ และการส่งนักศึกษา และคณาจารย์ จากวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเพื่อฝึกงานหรือดูงานที่ทาง MOA มีความ เชี่ ย วชาญ เช่ น การวิ จั ย จุ ลิ น ทรี ย ์ ใ นดิ น และพื ช จากการท� ำ เกษตร
ธรรมชาติเปรียบเทียบกับพืชที่ได้จากการเกษตรเชิงพานิชย์ โดยมีการ เชื่อมโยงกับจุลินทร์ทรีย์ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ เป็นต้น ด้าน นายฟุจิโอะ โมริ ประธานหน่วยงาน MOA International ได้กล่าวชื่นชมมหาวิทยาลัย ที่ทุ่มเทในการสร้างคนดี โดยยึดพระ ราชปณิธานของพระบิดาที่ว่า “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง” ซึ่ง MOA ก็ยึดเรื่องนี้เป็น หลักเช่นเดียวกัน การลงนามนี้ จะเป็นก้าวแรกของการร่วมมือเพื่อไป สู่ “วิถีชีวิตและสุขภาพซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานด้านจิตวิญญาณของมนุษย์” นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รอง อธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้กล่าวถึงบทบาทของวิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ว่าได้น�ำร่องการพัฒนานักศึกษาตามแนวทางสันติศึกษา โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา ในการบ่มเพาะและพัฒนา นักศึกษาอย่างเป็นองค์รวม ต่อเนื่องนับแต่กระบวนการปฐมนิเทศ จนถึงกระบวนการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ของสังคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของ MOA
ทั้งนี้ ความร่วมมือกับ MOA International เริ่มมาจากการที่ กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา ได้น�ำมาใช้ในการบ่มเพาะนักศึกษา เพื่อการเรียนรู้ตนเอง เข้าใจผู้อื่น เกื้อกูลธรรมชาติและสังคม ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2554 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้รับการตอบรับจากนักศึกษา บุ ค ลากร และคณาจารย์ เ ป็ น อย่ า งดี เนื่ อ งจากเหมาะส� ำ หรั บ ทุ ก กลุ่มอาชีพและช่วงวัย ไม่มีข้อจ�ำกัดในด้านศาสนา วัฒนธรรม น�ำ มาสู่การพัฒนานักศึกษา บุคลากร เยาวชนและบุคคลทั่วไปในด้าน คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมเพื่ อ น้ อ มน� ำ ความดี สู ่ สั ง คม และร่ ว มกั น เสริ ม สร้างความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและสุขภาพ ในกิจกรรมด้านต่างๆ
21 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
องค์กรสัมพันธ์
ลงนามโครงการสหกิจศึกษา
ร่วมกับเครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์
เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่ ว มกั บ บริ ษั ท เมเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ ก รุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงความร่วมมือในโครงการสหกิจ ศึ ก ษา ระหว่ า งกั น โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นางสาวบุบผา วันด�ำ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร มนุ ษ ย์ บริ ษั ท เมเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ กรุ ้ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) ซึ่ ง การลงนามครั้ ง นี้ จ ะเป็ น โอกาสหนึ่ ง ในการเตรี ย ม ความพร้อมของตัวนักศึกษาที่จะเชื่อมโยงเข้าสู่องค์ความรู้ ประสบการณ์ ก ารท� ำ งานในสถานประกอบการจริง และ สร้ า งความรู ้ พื้ น ฐานและประสบการณ์ ใ นการท� ำ งาน ท�ำให้นักศึกษาเป็นผู ้ที่ มีศักยภาพ พร้อมรับสถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงจากโลกภายนอก ซึ่งตลอดระยะเวลาการด�ำเนินกิจกรรมภายใต้ ข้อตกลงในครั้งนี้จะเป็นช่วงเวลาแห่งการสร้างสรรค์พัฒนาเยาวชนให้เป็นก�ำลัง ส�ำคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต นายอภิรักษ์ วาราชนนท์ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร มนุษย์ กล่าวว่า ปีนี้เป็นปีแรกที่ บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป จ�ำกัด ได้ ร่วมโครงการสหกิจศึกษากับสถาบันอุดมศึกษา โดยในภูมิภาคภาคใต้ ได้มา ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสถาบัน แรก เนื่องจากก�ำลังขยาย กิจการโรงภาพยนตร์ ให้ครบ 1,000 โรงทั้งในประเทศและกลุ่มอาเซียน จึง ต้ อ งการบุ ค ลากรไปร่ ว มงาน ซึ่ ง เห็ น ว่ า นั ก ศึ ก ษาจะเป็ น ผู ้ มี ค วามพร้ อ มใน การท�ำงาน ได้เรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตการท�ำงานจริงตั้งแต่ยังอยู่ระหว่าง การเรียน เพื่อสามารถปรับตัวได้เร็วเมื่อเข้าท�ำงานจริง โดยมหาวิทยาลัยอาจ เพิ่มความพร้อมโดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ท�ำโจทย์เพื่อคิดและวิเคราะห์ ให้ มากยิ่งขึ้น มีการสอนวิธีที่จะช่วยให้ประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน เป็นต้น
ม.อ. และแม่โจ้ จับมือร่วมกัน
เพื่อพัฒนาหลักสูตรความร่วมมือด้านการศึกษากับต่างประเทศ เมื่ อ วั น ที่ 4 ธั น วาคม 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ โดยสถานวิ จั ย การจั ด การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ พื้นที่ภาคใต้แบบบูรณาการ โดยมีผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ภั ท ร อั ย รั ก ษ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยองค์ ก รสั ม พั น ธ์ และสารสนเทศ และ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ โดยสถาน บริการฝึกอบรมและให้ค�ำปรึกษาด้านการท่องเที่ยว โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วี ร ะพล ทองมา รองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ และผู้อ�ำนวยการ สถานบริการฝึกอบรมและให้ค�ำปรึกษาด้านการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นตัวแทนของทั้ง สองสถาบันได้ร่วมลงนามความร่วม มื อ ทางด้ า นวิ ช าการ การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมทางวิ ช าการ และการจั ด ท� ำ หลั ก สู ต รความร่ ว มมื อ ด้ า นการ ศึกษากับต่างประเทศ (Education Corperation Program: ECP) เพื่ อ สนั บ สนุ น นั ก ศึ ก ษาและ บุคลากรของทั้งสองสถาบัน รวมถึงนักศึกษาชาว ต่ า งชาติ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาความรู ้ ทั ก ษะและ ประสบการณ์ ร ่ ว มกั น ภายใต้ ป ระสบการณ์ จ ริ ง
22 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จะมีการบูรณาการการ ท�ำงานเข้าด้วยกัน ภายใต้ขอบเขตความร่วมมือในการส่งเสริมสนับสนุนเครื่องมือ การจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการระหว่างกัน เพื่อประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นทั้งแก่นักศึกษา บุคลากร ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวม ทั้ ง การสนั บ สนุ น และพั ฒ นาความร่ วมมื อ ในการแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู ้ ใ นหลาย ประเด็น อาทิ การศึกษาและงานวิจัย การเรียนการสอน การแลกเปลี่ยนบุคลากร ทางด้านวิชาการ การฝึกอบรม การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ การร่วมจัดท�ำ หลักสูตรความร่วมมือด้านการศึกษากับต่างประเทศ การฝึกงาน โครงการสหกิจ ศึกษาของบัณฑิต ตลอดจนส่งเสริมให้บุคลากรของทั้งสองสถาบันให้ความร่วมมือ เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะมีขึ้น โดยร่วมกันมุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ที่มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจใน ศตวรรษใหม่นี้
ความภาคภูมิใจ
ผลงานคลิป “FAKEBOOK” ของ ว.นานาชาติ ม Digimon Media Production จาก วิ ท ยาลั ย นานาชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 จาก ผลงานชื่ อ “FAKEBOOK” ในการประกวดคลิ ป วี ดิ โอในหั ว ข้ อ “เด็ ก ไทยรู ้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ” จั ด โดยกระทรวง วั ฒ นธรรม และ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ เงินรางวัลจ�ำนวน 50,000 บาท พร้อมโล่รางวัลจาก นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วัฒนธรรม พิธีมอบรางวัลมีขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2558 โดยมีผลงานเข้ารับรางวัลจ�ำนวน 6 รางวัล การประกวดดังกล่าว มีขึ้นเพื่อสนับสนุน การพั ฒ นาสื่ อ ปลอดภั ย และสร้ า งสรรค์ การ ขยายสื่อดีให้เพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น และเปิดพื้นที่ สร้างสรรค์ใ ห้แก่เด็กและเยาวชนได้มีโอกาส เรี ย นรู ้ แ ละผลิ ต สื่ อ ปลอดภั ย และสร้ า งสรรค์ ตามนโยบายของรัฐบาล เพื่อปลูกฝังในเรื่องสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ และการเรียนรู้เท่าทัน สื่อ โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน ในการผลิตสื่อ ซึ่งแสดงออกทางความคิดผ่าน สื่อ โดยไม่มุ่งเน้นการใช้อุปกรณ์ราคาแพง แต่ สนับสนุนความสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน ให้ผลิตสื่อที่ดีเพื่อเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ และ สะท้อนความคิดของรุ่นใหม่ให้สังคมได้รับรู้ เพื่อ ให้การเผยแพร่องค์ความรู้ในการเลือกบริโภค สื่ อ อย่ า งถู ก ต้ อ ง น� ำ ไปสู ่ ก ารร่ ว มกั น ป้ อ งกั น แก้ไขปัญหาและสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่สังคม ชมคลิปได้ที่ https://www.youtube.com/ watch?v=4rFNWhgj2sk&feature=youtu.be
23 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ทุนการศึกษา
คณะผู้บริหารบริษัท ไทยบริดจสโตน จ�ำกัด มอบทุนให้นักศึกษา ม.อ. เป็นปีที่ 13
มร. โทมิ โ อะ ฟุ กุ สุ มิ กรรมการผู ้ จั ด การ และ คณะผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ไทยบริ ด จสโตน จ� ำ กั ด มอบ ทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ จ� ำ นวน 20 ทุ น โดยมี ก ารจั ด พิ ธี ม อบทุ น การศึกษาขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2558 ณ ส�ำนักงาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อต่อยอด ทางการศึกษาให้กับนักศึกษาที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญใน การพัฒนาประเทศต่อไป โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ ได้ขอบคุณในนามของมหาวิทยาลัย บริษัท ไทยบริดจสโตน จ� ำ กั ด เป็ น องค์ ก รเอกชน ชั้ น น� ำ ของประเทศ ที่ ใ ห้ ความส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นา ทรั พ ยากรบุ ค คล ด้ ว ยการ สนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาแก่ เ ยาวชนของชาติ และทราบว่ า โครงการทุนการศึกษาเริ่มตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งผู้บริหารได้มอบ ทุ น การศึ ก ษาแก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ผ ล การเรียนดี ความประพฤติเรียบร้อยและขาดแคลนทุนทรัพย์ สนับสนุนระบบการศึกษา ใน 12 สถาบัน ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ
24 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ทุนการศึกษา
กลุ่มนักธุรกิจไทย-มาเลย์
มอบ 77 ทุนให้นักศึกษา ม.อ.
กลุ ่ ม นั ก ธุ ร กิ จ คหบดี ชาวสงขลา และ คณะ Soddatta Charity Fund จากรัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย จัด มอบทุนการศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2558 แก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 77 ทุน เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2558 ที่ห้องประชุม อาคารศูนย์กีฬาและนันทนาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ให้เป็นคนดี มีจิตสาธารณะและมุ่งท�ำประโยชน์ให้เพื่อนมนุษย์ ทั้ ง นี้ 1 ใน 3 ของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น นักศึกษาทุนซึ่งต้องมีพันธะในการช่วยท�ำกิจกรรมเพื่อบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคมด้วย โดยมหาวิทยาลัยพยายามไม่ให้ปัญหา ด้ า นการเงิ น มาเป็ น สาเหตุ ข องปั ญ หาด้ า นการศึ ก ษาเล่ า เรี ย น การมอบทุนในครั้งนี้จึงถือเป็นการให้โอกาสในการศึกษา เพื่อ คุ ณ นิ ต ติ จิ ร ะนคร ได้ ก ล่ า วในนามของผู ้ ม อบทุ น ว่ า จะได้เป็นผู้เอื้อประโยชน์แก่สังคมในอนาคต การมอบทุนในปีนี้จัดเป็นปีที่ 8 โดยได้มีจ�ำนวนทุนเพิ่มขึ้น เป็น 77 ทุ น เพิ่ ม จากปี 2557 ซึ่ ง มี เ พี ย ง 65 ทุ น โดยกลุ ่ ม ผู ้ ม อบทุ น ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความจ� ำ เป็ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ชะลอตั ว จึ ง ขอให้ ผู ้ รั บ ทุ น ใช้ เ งิ น ที่ ไ ด้ รั บ อย่ า งคุ ้ ม ค่ า ตามหลั ก ของความพอเพียง เมื่อส�ำเร็จการศึกษาแล้วต้องท�ำตัวเป็นคนดี ของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และรู้จักให้โอกาสแก่ผู้อื่น เช่นที่ผู้มอบทุนได้ให้โอกาสกับนักศึกษาในวันนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่าย พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ ได้ ข อบคุ ณ ในนามของ มหาวิ ท ยาลั ย โดยกล่ า วถึ ง ภารกิ จ ในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ ไ ม่ ไ ด้ มุ่งหวังแต่จะให้เก่งแต่ทางวิชาการ แต่มีเป้าหมายในการพัฒนา
25 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
Activity
สภาข้าราชการฯ จัดเสวนา
“ผ่าชีวิตและการบริหารงานบุคคล ม.ในก�ำกับ” หลังจากนั้น เป็นการบรรยายหัวข้อ “ผ่า ชี วิต และการ บริหารงานบุคคล ม.ในก�ำกับของรัฐ” โดยวิทยากรซึ่งเป็น ผู ้ บ ริ ห ารสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ ป รั บ เปลี่ ย นเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก�ำกับของรัฐแล้ว คือ อาจารย์พงศ์ทิพย์ อินทร์แก้ว รอง อธิการบดีฝ่ายพัฒนาบุคลากรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ คุณจริยา ปัญญา ผู้อ�ำนวยการ กองทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีผู้เข้าฟังจ�ำนวน 500 คน และถ่ายทอดไปยังทุกวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย
ภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จัด เสวนา หั ว ข้ อ “ผ่ า ชี วิ ต และการบริ ห ารงานบุ ค คล ม.ในก� ำ กั บ ของรัฐ” เพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 15 ตุ ล าคม 2558 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้ อ งประชุ ม ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ คณะแพทยศาสตร์ โดย อาจารย์ พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี เป็นประธาน และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วศิน สุวรรณรัตน์ รองอธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ และ คณบดีคณะนิติศาสตร์ กล่าวถึง เส้นทางความคืบหน้าของร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ฉบับปัจจุบัน
26 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
Activity
อุทยานวิทยาศาสตร์ ม.อ.ร่วมกระทรวงวิทย์ เมื่ อ วั น ที่ 30-31 ตุ ล าคม 2558 อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดงาน มหกรรมนวัตกรรมไทย ภาคใต้ ประจ�ำปี 2558 ซึ่งจัดขึ้นที่ห้องหาดใหญ่ฮอลล์ ชั้น 5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัลหาดใหญ่ โดยความร่วมมือระหว่าง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคใต้ ภายใต้แนวคิด งานนวัตกรรมเพื่อคนไทย ของคนไทย ใช้งานได้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดธุรกิจเทคโนโลยีใหม่ที่มีขีด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ที่ สู ง ขึ้ น โดยใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมในการสนั บ สนุ น คลั ส เตอร์ เ ชิ ง ยุทธศาสตร์ของภูมิภาค อันจะท�ำให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน และเป็นการรวม สุดยอดนวัตกรรมของนักวิจัยทั่วทั้งภาคใต้ ในด้านยางพารา ปาล์มน�้ำมัน เครื่องมือแพทย์ และอื่นๆ กว่า 100 นวัตกรรม พร้อมการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากเจ้าของนวัตกรรม
“นวั ต กรรมส� ำ หรั บ SMEs ท� ำ ให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ได้ อย่างไร” โดยคุณพูลสวัสดิ์ เผ่าประพัธน์ ผู้อ�ำนวยการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ ศูนย์นวัตกรรมกลุ่มธุรกิจ ซีพี ออลล์, การเสวนา “การ ผู ้ อ� ำ นวยการอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ได้ แ ถลงข่ า วถึ ง สร้างแบรนด์นวัตกรรมด้วยกลยุทธ์ทางการตลาด” โดย กิ จ กรรมภายในงานจะประกอบด้ ว ยนั ก วิ จั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง คุณรวิศ หาญอุตสาหะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ศรีจันทร์ ด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรมของมหาวิทยาลัย ได้แก่ สหโอสถ จ� ำ กั ด และอาจารย์ ธ รรมศั ก ดิ์ อรชุ น วงศ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พญ.นลินี โกวิทวนาวงศ์ ผู้ช่วย ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการสร้ า งแบรนด์ และมี ก ารแสดง ศาสตราจารย์ นพ.สุ น ทร วงษ์ สิ ริ คณะแพทยศาสตร์ มินิคอนเสิร์ตจาก เบล สุพล อีกด้วย รองศาสตราจารย์ อาซีซัน แกสมาน คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีการแสดงตัวอย่างผลงานนวัตกรรม เช่น แผ่นรองเท้าเพื่อสุขภาพ ชุดทวารเทียมจากยางพารา สกัดโปรตีน จอกยางนาโน เครื่องเลื่อยไม้ยางพารา ชุด อุ ป กรณ์ ผ ่ า ตั ด ผั ง ผื ด รั ด เส้ น ประสาทข้ อ มื อ หมอนเจล ป้องกันแผลกดทับ และวัสดุปูสระน�้ำจากยางพารา เป็นต้น การเสวนา “นวัตกรรมทางการสื่อสาร” โดยคุณสุผจญ กลิ่ น สุ ว รรณ, การเสวนา “การสร้ า งความแตกต่ า ง ด้วยนวัตกรรมการบริการ” โดยคุณพาที สารสิน ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารสายการบินนกแอร์, การบรรยายหัวข้อ
27 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
Activity
“ปั่นกัน กั้นโกง”
เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ร่วมกับอีก 6 มหาวิทยาลัยในภาคใต้ ไ ด ้ แ ก ่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ ม ห า วิ ท ย า ลั ย นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย และ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ร่วมกัน จัดกิจกรรม “ปั่นกัน กั้นโกง” เขตพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งเป็น โครงการของคณะท� ำ งาน “บั ณ ฑิ ต ไทยไม่ โ กง” ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ที่จัดเพื่อเป็น การแสดงออกเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ข องการรวมพลั ง ของ อธิ ก ารบดี รองอธิการบดี และ นักศึกษาตลอดจน บุคคลกรของมหาวิทยาลัย ที่เป็นสมาชิกที่ประชุม อธิการบดีแห่งประเทศไทย หรือ ทปอ.ในการต่อต้าน ก า ร ทุ จ ริ ต ค อ ร ์ รั ป ชั่ น ใ น ทุ ก รู ป แ บ บ โ ด ย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดี ฝ ่ า ย พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ ศิ ษ ย ์ เ ก ่ า สั ม พั น ธ ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยในรายละเอียด กิจกรรมว่า กิจกรรมปั่นจักรยานในโครงการ “ปั่นกัน กั้นโกง” จัดพร้อมกันกับอีก 3 มหาวิทยาลัยในทุกภาค ของประเทศ ตั้งแต่เวลา 6.00 น. ซึ่งนอกจากจะมี การปั่นจักรยานแล้ว ยังมีการจัดกิจกรรมอื่นๆ ที่เป็น การแสดงพลังในเชิงสัญลักษณ์อีกด้วย โดยคาดว่า ในภาคใต้ จ ะมี จั ก รยานเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมประมาณ 300 คั น แบ่ ง เป็ น ในส่ ว นของบุ ค ลากรสถาบั น อุดมศึกษา 200 คัน และ บุคคลภายนอก 100 คัน
28 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ส�ำหรับเส้นทางการปั่นจักรยาน ในโครงการ “ปั่นกัน กั้น โกง” ในเขตภาคใต้ จัดที่อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดย เริ่มต้นจากสนามกีฬามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ไปตามถนนสายต่างๆ ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ผ่านสามแยกคอหงส์ วงเวียนน�้ำพุ ตลาดกิมหยง นิพัทธ์อุทิศ 3 พักจุดแรกที่เสน่หานุสรณ์ ปั่นต่อตามนิพัทธ์อุทิศ 3 ศรีภูวนารถ สามแยกคลองเรียน พักจุด 2 ที่เซ็นทรัลเฟสติวัล และปั่นมายัง จุดสิ้นสุดที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
Activity
ม.อ. ร่วมกับเทศบาลเมืองคอหงส์
ร่วมพิธีถวายพระพร และจุดเทียนชัย 5 ธันวา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับเทศบาลเมืองคอหงส์ ร่วมพิธีท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ จ�ำนวน 188 รูป พิธีถวายพระพร ชัยมงคล และพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพร รวมทั้งจัดให้มีการ แสดงมหรสพสมโภช เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม 2558 ที่ บริเวณหน้าศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ประชุมวิชาการ ภายในงานมีการจัดปาฐกถาที่น่าสนใจประกอบด้วย หัวข้อ “Education Influencing Future” โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ จรั ส สุ ว รรณเวลา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ การอภิปราย “Students’s Multiple Intelligences : From Classroom to Real Life” โดยแพทย์ ห ญิ ง จั น ทร์ เ พ็ ญ ชู ป ระภาวรรณ ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ยืน ภู่วรวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุ ธี ร ะ ประเสริ ฐ สรรพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด ประชุ ม วิ ช าการ The 4th PSU Education Conference ภายใต้หัว ข้อ “Engaging Students to Future Ready Graduates” ระหว่ า งวั น ที่ 17-18 ธั น วาคม 2558 ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ปี เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยคณาจารย์ จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และจากสถาบั น อื่ น ในภาค ใต้ จ� ำ นวนประมาณ 200 คนสามารถน� ำ ความรู ้ ไ ปใช้ ใ นการ จัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยในการประชุมจะ มี ป าฐกถาพิ เ ศษ การอภิปรายจากผู้ท รงคุณ วุฒิ การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น การน�ำเสนอผลงานวิจัย แบบ oral และ แบบ poster
29 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
Activity
ศ.น.พ.จรัส สุวรรณเวลา
“การเปลี่ยนแปลงในอนาคตเหมือนพายุ ที่พัดท�ำลายสิ่งที่เคยคงอยู่ในปัจจุบัน”
าสตราจารย์ นายแพทย์ จ รั ส สุ ว รรณเวลา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ปาฐกถาในหัวข้อ “Education Influencing Future” ในการ ประชุมวิชาการ The 4th PSU Education Conference เมื่อ วันที่ 17 ธันวาคม 2558 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริ ราชสมบัติครบ 60 ปี ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมเป็นนักวิชาการ จากสถาบันการศึกษาในภาคใต้จ�ำนวน 200 คน โดยกล่าว ว่า มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งปัญญาที่รวมเอาคุณธรรมเข้า มาเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสนองภารกิจของการเป็นผู้ชี้น�ำ สังคม แต่ก�ำลังถูกกระทบจากปัจจัยต่างๆ เช่นการเมือง เศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ง ที่จ ะเกิดขึ้น แบบเหนือความคาด หมายในอีกหลายสิบปีข้างหน้า ดังนั้นอุดมศึกษาในอนาคต ต้องมีการปรับเปลี่ยนทั้งความคิด กระบวนการ เพื่อรองรับ การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ ที่ เ ปรี ย บเหมื อ นกั บ พายุ ที่ พั ด เข้าท�ำลายหลายอย่างที่เคยคงอยู่ ในปัจจุบัน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ว่าเราจะแปลงวิกฤติจากพายุนี้ให้เป็นประโยชน์ ได้อย่างไร
30 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
แต่ เ ดิ ม ความรู ้ เ ป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ผู ก ขาดโดยเจ้ า ของ ความรู ้ แต่ ป ั จ จุ บั น ความรู ้ ก ลายเป็ น สมบั ติ ส าธารณะ และ มี แ หล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ห ลากหลาย บั ณ ฑิ ต ในอนาคตจะต้ อ งมี สมรรถนะในการเข้าถึงและการน�ำมาใช้ มีความคล่องตัวใน การปรับความคิด การสื่อสารอย่างมีศิลปะ การท�ำงานเป็นทีม และสมรรถนะในการตัดสินใจที่มีเหตุผล ปัจจุบันการศึกษามีบทบาทอย่างมากในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจ สังคม การจัดการ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หากแต่ความซับซ้อนของสังคม ความไม่ยั่งยืนของธรรมชาติ ความเหลื่ อ มล�้ ำ ในสั ง คม รวมทั้ ง ความเปลี่ ย นแปลงของขอ งองค์ประกอบต่างๆ ในอนาคต ท�ำให้เราไม่สามารถหาค�ำตอบ ที่เหมาะสมที่สุดเพียงค�ำตอบเดียวจากการศึกษาปัจจุบันได้ อี ก ทั้ ง องค์ ค วามรู ้ ส� ำ หรั บ บั ณ ฑิ ต เพื่ อ การประกอบอาชี พ ใน ปัจจุบัน อาจไม่รองรับอาชีพในอนาคต สิ่ ง ที่ จ ะมามี ผ ลกระทบท� ำ ให้ ก ารศึ ก ษาเกิ ด การ เปลี่ยนแปลง คือ การที่เกิดองค์ความรู้ขึ้นจ�ำนวนมากและง่าย ต่อการค้นคว้า แต่อาจล้าสมัยและสามารถเกิดองค์ความรู้ใหม่ มาแทนอย่างรวดเร็ว ท�ำให้บัณฑิตต้องหมั่นเข้าถึงความรู้อยู่ เสมอแต่ต้องรู้จักแยะแยะข้อเท็จจริง ต้องมีความรู้ในศาสตร์ หลายสาขาและเตรียมตัวส�ำหรับการก้าวสู่ประชาคมโลก มี ความสามารถในการสร้ า งความเข้ า ใจ รู ้ จักน� ำ ความรู้ภ าค ทฤษฎีไปใช้ให้เกิดประสบการณ์และเกิดองค์ความรู้ใหม่ โดย ในอนาคตจะเกิดการแข่งขันระหว่างสถาบันอุดมศึกษามาก ขึ้น ประชาชนจะมีความคาดหวังต่อบริการของมหาวิทยาลัย มากขึ้ น เกิ ด ความหลากหลายด้ า นอายุ ข องผู ้ เ รี ย นซึ่ ง ท� ำให้ วิธีการเรียนการสอนต้องมีความหลากหลายตามไปด้วย “สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น เรื่ อ งที่ เ ราต้ อ งเตรี ย มรั บ มื อ ใน อนาคต ต้ อ งตระหนั ก ว่ า นี่ เ ป็ น วิ ก ฤติ ที่ ท� ำ ให้ เ ราก้ า ว เดิ น แบบวิ ธี ก ารเดิ ม ๆ ไม่ ไ ด้ อี ก แล้ ว อาจต้ อ งก� ำ หนด ยุทธศาสตร์ใหม่ในการจัดการเรียนการสอน การก�ำกับ ดู แ ลคุ ณ ภาพ การน� ำ เอาเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ความร่วมมือ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน แต่ ปัญหาใหญ่คือท�ำอย่างไรจึงท�ำให้การปรับเปลี่ยนเกิดขึ้น เท่านั้น” ศาสตราจารย์ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา กล่าว
Activity
งานประชาสัมพันธ์แนะแนวเข้าศึกษาต่อ
ม.อ. ปี 2558
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ และแนะแนวการเข้าศึกษาต่อ ประจ�ำปี 2558 (Roadshow 2015) เมื่อวันที่ 16 – 20 พฤศจิกายน 2558 โดยรูปแบบการ จัดกิจกรรมในปีนี้ เป็นการเปิดรั้วมหาวิทยาลัยทุกวิทยาเขต ของสงขลานครินทร์ ได้แก่วิทยาเขตตรัง ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี หาดใหญ่ และปั ต ตานี ต ามล� ำ ดั บ เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มได้ สั ม ผั ส บรรยากาศและสภาพแวดล้ อ มของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ในแต่ละวิทยาเขต ซึ่งมีความแตกต่างกัน แต่ละพื้นที่
กิ จ กรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขตรวม 30 คณะ/หน่ ว ยงาน ในการร่ ว มเดิ น ทาง เป็ น คาราวานประชาสั ม พั น ธ์ แ นะแนวเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ม.อ. โดย กิจกรรมเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 ณ วิทยาเขตตรัง และสิ้นสุดที่วิทยาเขตปัตตานี เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 รู ป แบบของกิ จ กรรม เป็ น การจั ด บู ธ ประชาสั ม พั น ธ์ ห ลั ก สู ต ร การเรี ย นการสอนของคณะ/หน่ ว ยงานต่ า งๆ รวมทั้ ง ให้ ข ้ อ มู ล แนะแนวการศึ ก ษาต่ อ และแจกของที่ ร ะลึ ก แก่ นั ก เรี ย นผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงาน เพื่ อ ได้ ท ราบข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การตั ด สิ น ใจ ในการศึกษาต่อ พร้อมรับความประทับใจจากกิจกรรมต่างๆ ที่ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตั้งใจถ่ายทอดแก่ผู้
เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีขึ้นในช่วงเช้าของทุกวันซึ่งแต่ละวิทยาเขต ได้ เ ตรี ย มกิ จ กรรมเพื่ อ ต้ อ นรั บ นั ก เรี ย นและผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงาน กว่า 1,000 คนในแต่ละวิทยาเขต เป็นอย่างดี อาทิ การแสดง
จากคณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ ณ วิ ท ยาเขตตรั ง ที่ สื่ อ ถึ ง ความ พร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น การจั ด กิ จ กรรมน� ำ ชมสถานที่ ต ่ า งๆ ในวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต เช่ น เครื่ อ งบิ น จ� ำ ลองที่ มี ไว้เพื่อการเรียนการสอน แต่มีความเสมือนจริง ท�ำให้ผู้เข้าชม รู ้ สึ ก เหมื อ นอยู ่ ใ นสถานการณ์ จ ริ ง รวมทั้ ง ชุ ด การแสดงซึ่ ง แสดงออกถึงความรักในสถาบันจากนักศึกษาของแต่ละวิทยาเขต ในการขับร้องเพลงประสานเสียง เพลงประจ�ำมหาวิทยาลัยได้ อย่างไพเราะและซาบซึ้งแก่ผู้ร่วมงานเป็นอย่างยิ่ง การจั ด การประชาสั ม พั น ธ์ เ ช่ น นี้ มี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาทุ ก ปี ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่งานประชาสัมพันธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โทรศั พ ท์ 074-558959 โทรสาร 074-558941
31 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
แนะน�ำหลักสูตร
แนะน�ำหลักสูตร โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์
Faculty of Veterinary Sciences (The establishment project)
โครงการจั ด ตั้ ง คณะสั ต วแพทยศาสตร์ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของสั ง คมและประเทศชาติ โดยมี เอกลั ก ษณ์ ที่ ไ ม่ ซ�้ ำ กั บ คณะสั ต วแพทยศาสตร์ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ใน ประเทศไทย ซึ่ ง ได้ เ ปิ ด หลั ก สู ต รสั ต วแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต จั ด การศึ ก ษาด้ า นสั ต วแพทย์ ใ นระดั บ ปริ ญ ญาตรี ตั้ ง แต่ ปีการศึกษา 2558 หลักสูตรโครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ เปิดสอนในระดับ ปริญญาตรี หลักสูตร 6 ปี สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษต่างๆ 1. โครงการทายาทเกษตรกร 2. โครงการผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (สาขา ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพและสุขภาพ) 3. โครงการนักเรียนมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปั ต ตานี ยะลา นราธิ ว าส) และ 5 อ� ำ เภอในจั ง หวั ด สงขลา (นาทวี จะนะ เทพา สะเดา และสะบ้าย้อย) 4. โครงการคั ด เลื อ กบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด ม ศึกษาในระบบกลาง (Admission) ค่าธรรมเนียมการศึกษา 28,000 บาท / ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 08 7630 5995 E-mail vetpsu@gmail.com Homepage http://www.vet.psu.ac.th Facebook Fanpage: โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์
คณะทรัพยากรธรรมชาติ Faculty of Natural Resources คณะทรัพยากรธรรมชาติจัดการเรียนการสอน วิจัย และ บริ ก ารวิ ช าการ ใน 6 สาขาวิ ช าได้ แ ก่ สาขาวิ ช าการจั ด การ ศัตรูพืช ปฐพีศาสตร์ พัฒนาการเกษตร พืชศาสตร์ สัตวศาสตร์ และวาริ ช ศาสตร์ ครอบคลุ ม ทรั พ ยากรด้ า นการเกษตร ดิ น
32 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
ปศุสัตว์ ป่าไม้ น�้ำ สิ่งแวดล้อมและสังคมศาสตร์ทรัพยากร โดย ทุกสาขาวิชาเน้นให้รู้จักการน�ำองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กั บ การจั ด การทางเกษตรละทรั พ ยากรธรรมชาติ ไ ปใช้ ใ น การอนุรักษ์พัฒนาและฟื้นฟูทรัพยากรในท้องถิ่นภาคใต้ หลักสูตรคณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะทรัพยากรธรรมชาติ เปิดสอนทั้ง 3 ระดับ คือ 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี เปิดสอน 2 หลักสูตร ดังนี้ 1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกษตรศาสตร์) (B.Sc.Agriculture) มี 5 สาขาวิชา ให้เลือกศึกษา คือ 1) สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช 2) สาขาวิชาปฐพีศาสตร์ 3) สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร 4) สาขาวิชาพืชศาสตร์ 5) สาขาวิชาสัตวศาสตร์ 1.2 หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร์ บั ณ ทิ ต (วาริ ช ศาสตร์ ) (B.Sc.Aquatic Sciences) 2. หลักสูตรระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (M.S.c) 8 สาขา คือ 1) สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรดิน 2) สาขาวิชากีฏวิทยา 3) สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร 4) สาขาวิชาพืชศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการยางธรรมชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) 5) สาขาวิชาโรคพืชวิทยา 6) สาขาวิชาวาริชศาสตร์ 7) สาขาวิชาสัตวศาสตร์ (ภาคปกติ-สมทบ) 8) สาขาวิชาการผลิต
ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา นั ก ศึ ก ษาคณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ต ้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย (ค่าลงทะเบียนเรียน ค่าธรรมเนียมการศึกษา และค่าหอพัก) • ระดับปริญญาตรี คนละประมาณ 40,000 - 45,000 บาท/ปี • ระดับปริญญาโท คนละประมาณ 60,000 -65,000 บาท/ปี
• ระดับปริญญาเอก คนละประมาณ 60,000-70,000 บาท/ปี • ระดับปริญญาโท (นานาชาติ) คนละประมาณ 90,000-100,000 บาท/ปี
ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ ปริญญาตรี 0 7428 6049, 0 7428 6235, บัณฑิตศึกษา 0 7428 6048 โทรสาร 0 7455 8803 E-mail natural-res@group.psu.ac.th Homepage http://www.natres.psu.ac.th
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ Faculty of Humanities and Social Sciences คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เป็ น องค์ ก รชั้ น น� ำ ใน ศิ ล ปวิ ท ยาการด้ า นมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ ข อง เอเชียแปซิฟิก โดยมุ่งจัดการเรียนการสอนและสร้างประโยชน์ ในเชิงพัฒนาชุมชนและสังคม ด้วยฐานการวิจัยและคุณธรรม จริยธรรม หลักสูตรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ เปิดสอนทั้ง 3 ระดับ คือ 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (B.A.) จ�ำนวน 14 สาขา วิชา ได้แก่ 1. 2. สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย 3. สาขาวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีนนานาชาติ 4. สาขาวิชาภาษามลายู 5. สาขาวิชามลายูศึกษา 6. สาขาวิชาภาษาอาหรับและภาษาอาหรับธุรกิจ - แขนงวิชาภาษาอาหรับ - แขนงวิชาภาษาอาหรับธุรกิจ 7. สาขาวิชาภาษาเกาหลี 8. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 9. สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส 10. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 11. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น 12. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 13. สาขาวิชาพัฒนาสังคม 14. สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 15. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา 16. สาขาวิชาภาษาเยอรมัน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) จ�ำนวน 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาภูมิศาสตร์
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (B.B.A.) หลั ก สู ต รเศรษฐศาสตรบั ณ ฑิ ต (B.Econ.) จ� ำ นวน 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาเศรษฐกิจอาเซียน หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต (B.S.W.) จ�ำนวน 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ 2. หลักสูตรระดับปริญญาโท หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (M.A.) จ� ำ นวน 3 สาขาวิชา ได้แก่ 1. สาขาวิชาภาษาไทย 2. สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม 3. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 3. หลักสูตรระดับปริญญาเอก หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต (Ph.D.) จ� ำ นวน 1 สาขาวิชา ได้แก่ 1. สาขาวิชาภาษาไทย
โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษต่างๆ 1. โครงการมูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนา มาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าส ราชนครินทร์ (สอวน.) 2. โครงการส่งเสริมผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี 3. โครงการห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โดยการก�ำกับดูแล ของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) 4. โครงการรับบุคคลที่มีความสามารถทางด้านกีฬา 5. โครงการคัดเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเข้าศึกษา ระดับปริญญาตรี ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะต้อง จ่ายค่าใช้จ่ายการลงทะเบียนค่าธรรมเนียมการศึกษา คนละ ประมาณ 22,000 บาท/ปี โดยไม่รวมค่าใช้จ่ายส่วนตัว ยกเว้น สาขาการจั ดการสารสนเทศ สาขาภาษาจี น สาขาภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) (ไม่รวมค่าใช้จ่ายศึกษาต่อ ณ ประเทศ จีน) ค่าใช้จ่ายประมาณ 24,000 บาท/ปี และค่าหอพักคนละ ประมาณ 1,500 – 3,000 บาท/ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7333 1304 Homepage http://huso.pn.psu.ac.th
33 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
บริการวิชาการ
โรงพยาบาลสัตว์ ม.อ. เปิดบริการ
พร้อมขยายรองรับสัตว์เศรษฐกิจแดนใต้ การให้ บ ริ ก ารของโรงพยาบาลสั ต ว์ จะเป็ น การให้ บ ริ ก าร พื้ น ฐาน เช่ น วิ นิ จ ฉั ย โรค เอกซเรย์ อั ล ตราซาวน์ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ตรวจวิเคราะห์ การบริการชันสูตรซากกรณีสัตว์บริโภคเกิดตาย ลงจ�ำนวนมาก เพื่อให้รู้สาเหตุและวางแผนควบคุมโรคป้องกันโรค ทั้งโรคติดต่อในสัตว์และโรคที่สามารถติดต่อมายังคนได้ รวมทั้ง โรคสัตว์ข้ามแดนต่างๆ ในอนาคตได้ตั้งเป้าหมายจะเป็นโรงพยาบาล สัตว์ระดับตติยภูมิ เพื่อรับสัตว์ป่วยด้วยโรคที่มีความซับซ้อน รักษา ยากต่อจากโรงพยาบาลอื่น จะมีการให้บริการรักษาโรคเฉพาะทาง เช่น ฟัน กระดูก ข้อต่อ โรคหัวใจ โรคผิวหนัง เป็นต้น
องศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิงอุษา เชษฐานนท์ ผู้อ�ำนวยการโครงการจัดตั้ง คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วในโอกาสการเปิ ด ให้ บ ริ ก าร เป็ น วั น แรกของโรงพยาบาลสั ต ว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อ 21 ธันวาคม 2558 ว่า โรงพยาบาล สั ต ว์ จ ะเปิ ด ให้ บ ริ ก ารแก่ สั ต ว์ 3 ประเภท คื อ สั ต ว์ เ ลี้ ย งเป็ น เพื่ อ น สัตว์บริโภค และ สัตว์พิเศษ เช่น หนู งู จระเข้ นก โดย มีคลินิกรองรับสัตว์ป่วยและบาดเจ็บด้วยอุบัติเ หตุ มี สั ต วแพทย์ ท างอายุ ร กรรม ศั ล ยกรรม กระดู ก และ คณาจารย์ ที่ มี ป ระสบการณ์ ใ นการรั ก ษาสั ต ว์ มา ช่ ว ยดู แ ล เบื้ อ งต้ น สามารถรั บ สั ต ว์ ป ่ ว ยได้ ป ระมาณ 30 ราย ต่อวัน แต่จะยังไม่พร้อมส�ำหรับการบริการ นอกเวลาราชการ และการรั บ ดู แ ลรั ก ษาสั ต ว์ ใ หญ่ เช่น ม้า ซึ่งต่อไปจะขยายส่วนการบริการไปยังพื้นที่ ของมหาวิทยาลัยที่ต�ำบลทุ่งใหญ่ ซึ่งจะท�ำให้สามารถ เพิ่มศักยภาพในการบริการได้อีกเป็น 100 รายต่อวัน
34 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558
โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วย งานสั ง กั ด คณะสั ต วแพทยศาสตร์ ซึ่ ง เริ่ ม เปิ ด รั บ นั ก ศึ ก ษาในปี การศึกษา 2558 จ�ำนวน 20 คนเป็นปีแรก ซึ่งนอกจากจะมีการ เรี ย นการสอนตามหลั ก สู ต รที่ สั ต วแพทยสภาก� ำ หนดแล้ ว ยั ง มี วิ ช าที่ เ ป็ น ไปตามบริ บ ทของการเลี้ ย งสั ต ว์ ใ นพื้ น ที่ และความ ต้ อ งการของพื้ น ที่ เช่ น จะต้ อ งมี ค วามรู ้ เ รื่ อ งสั ต ว์ น�้ ำ แพะ นก อาหารฮาลาล เป็นต้น โดยได้รับการสนับสนุนเบื้องต้นจากศูนย์ อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ การร่วมมือจากคณะ และหน่ ว ยงานภายใน และสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาศึ ก ษาอื่ น ๆ และ ก�ำลังเริ่มได้รับความสนใจจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศ มาเลเซีย โดยผู้เลี้ยงม้าในเมืองอิโปห์ รัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ได้แจ้งความประสงค์ยินดีรับนักศึกษาจากคณะเข้าฝึกงาน “ต้องยอมรับว่าเกษตรกรในภาคใต้นิยมการเพาะปลูกพืช มากกว่าการท�ำฟาร์มเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามภาคใต้ มีสัตว์ที่มีเอกลักษณ์และสัตว์เศรษฐกิจอยู่หลายชนิด เช่น วัวชน นกเขาชวา นกกรงหัวจุก ซึ่งบางชนิดเป็นที่สนใจในระดับอาเซียน ซึ่งเป็นสิ่งท้าทายในการใช้เทคโนโลยีในการคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดี เพื่ อ เปิ ด ตลาดได้ ม ากขึ้ น ” ผู ้ อ� ำ นวยการโครงการจั ด ตั้ ง คณะ สัตวแพทยศาสตร์ กล่าว ซึ่งขณะนี้โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด บริ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการแล้ ว ตั้ ง แต่ เ วลา 8.30-16.30 น. ณ อาคารจุฬาภรณการุณยรักษ์ ข้างประตูศรีทรัพย์ (ประตู 109) ถ.ปุณณกัณฑ์ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา สอบถามเพิ่มเติมได้ท่ี งานประชาสัมพันธ์โรงพยาบาล สัตว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 08 3195 9082 หรือ 0 7428 9607
กิจกรรมที่น่าสนใจ
เป็นเจ้าภาพจัด BMB 2016 ภาควิชาชีวเคมี และภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ โมเลกุ ล และชี ว สารสนเทศ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ สาขาชี ว เคมี แ ละ ชี ว วิ ท ยาโมเลกุ ล สมาคมวิ ท ยาศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย เป็น เจ้าภาพในการจัดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ สาขาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ครั้งที่ 5 ประจ�ำปี 2559 ระหว่ า งวั น ที่ 26-27 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมบี พี สมิหลา บีช รีสอร์ท จ.สงขลา การประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “ชีวเคมีและชีววิทยา โมเลกุ ล เพื่ อ อนาคตที่ ยั่ ง ยื น ” (Biochemistry and Molecular biology for a sustainable future) เพื่อเป็นการสร้างโอกาสในการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สาขาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล ระหว่างนักวิจัยและนักศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการฯ และเป็นช่องทางในการน�ำเสนอผลงานวิจัย ให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับนานาชาติ เสริมสร้างความมั่นใจใน การน�ำเสนอผลงานวิจัยในระดับสากลของนักวิจัยไทย รวมถึง
เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ซึ่งอาจน�ำไปสู่การพัฒนา ต่ อ ยอดทางด้ า นวิ ช าการและด้ า นการวิ จั ย ในอนาคตระหว่ า ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์/องค์กรต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีการจัดโครงการ Thai Young BMB Camp (TYBC) ขึ้ น มาในระหว่ า งวั น ที่ 23-25 พฤษภาคม 2559 เพื่ อ เพิ่มพูนความรู้ทางด้านที่เกี่ยวข้องกับสาขาชีวเคมีและชีววิทยา โมเลกุ ล ให้ กั บ อาจารย์ รุ ่ น ใหม่ ซึ่ ง ถื อ เป็ น ศาสตร์ ที่ ส� ำ คั ญ และมี ค วามซั บ ซ้ อ น การจั ด โครงการดั ง กล่ า วจะช่ ว ยให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการสามารถน� ำ ความรู ้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นงานวิ จั ย ได้ เป็ น การเตรี ย มบุ ค คลากรให้ มี ศั ก ยภาพพร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น สร้ า งแนวคิ ด ที่ เ ป็ น สากล ซึ่ ง ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก วิ จั ย สามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ เพื่ อ ตอบ สนองต่ อ การขั บ เคลี่ อ นการด� ำ เนิ น การงานของมหาวิ ท ยาลั ย ฯ สู่ความเป็นสากลและเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยอีกด้วย สามารถติดตามรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดประชุมได้ที่ https://www.bmb2016.com/index.php หรื อ สอบถามที่ 074 288 795 อีเมล์ info.bmb2016@gmail.com
35 ปีที่ 24 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558