ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2559

Page 1

ในฉบับ

• อธิการบดีให้นักศึกษาใหม่รักษาอัตลักษณ์ ม.อ. เพื่อท�ำงานกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 8 • ม.อ. ติดล�ำดับ 3 มหาวิทยาลัยคุณภาพของประเทศ ปี 2559 14 • สถาปัตย์ ม.อ. คว้า 2 รางวัล โครงการ YICMG 2016 จากประเทศจีน 26 • ม.อ.จับมือร่วมจัดตั้งศูนย์ Phuket Smart City Innovation Park 22 • ยางปูพื้นยางพารา พัฒนาโดยองค์ความรู้ ม.อ. ได้รับ มอก. 2377-2551 34


ข่าวเด่น

เป็นจังหวัดที่ประชาชนมีความสุขมากที่สุดในภาคใต้ ในเดือนมิถุนายน 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.มิ ต รชั ย จงเชี่ ย วช� ำ นาญ ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ บริ ก ารวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า ศู น ย์ บ ริ ก ารวิ ช าการ ม.อ. ได้ จั ด ท� ำ “ม.อ.โพล” เพื่ อ จั ด เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความสุ ข ของประชาชนในพื้ น ที่ ภ าคใต้ เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการพั ฒ นาคุณ ภาพของประชาชนของ ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยโครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่ง ของการส� ำ รวจความคิ ด เห็ น “มอ.โพล” ซึ่ ง จะ ด�ำเนินการจัดเก็บโพลส�ำรวจอย่างต่อเนื่อง โดย โพลครั้ ง แรกจั ด ท� ำ ในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2559 เป็ น การจั ด เก็ บ ดั ช นี ชี้ วั ด ความสุ ข ของประชาชน ภาคใต้ 14 จังหวัด

จากผลส�ำรวจดัชนีชี้วัดความสุขของประชาชน 14 จังหวัด ภาคใต้และอีก 2 อ�ำเภอพื้นที่พิเศษในจังหวัดสงขลา คืออ�ำเภอ จะนะและอ�ำเภอเทพา ประจ�ำเดือนมิถุนายน 2559 การประเมิน ความสุ ข ของประชาชนภาคใต้ 18 ข้ อ มี ค ่ า คะแนนเต็ ม เท่ า กั บ 4.0000 โดยผลส�ำรวจพบว่า จังหวัดสตูลเป็นจังหวัดในภาคใต้ ที่ประชาชนมีความสุขมากที่สุด คิดเป็นคะแนน 3.2595 และจังหวัด ที่ประชาชนในพื้นที่มีความสุขน้อยที่สุด คือจังหวัดภูเก็ต คิดเป็น

2 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

คะแนน 2.9850 จากค่าคะแนนเฉลี่ยทั้งภาคอยู่ที่ 3.1247 คะแนน โดยมี จั ง หวั ด ที่ มี ค วามสุ ข อยู ่ เ หนื อ เส้ น ค่ า เฉลี่ ย ภาคมี ทั้ ง หมด 8 จังหวัด ได้แก่ สตูล สงขลา พัทลุง พังงา นราธิวาส ชุมพร ปัตตานี และสุราษฎร์ธานี ส่วนจังหวัดที่ประชาชนมีความสุขน้อยที่สุด 3 อันดับสุดท้าย คื อ นครศรี ธ รรมราช ระนองและภู เ ก็ ต ส่ ว นพื้ น ที่ อ� ำ เภอจะนะ และอ�ำเภอเทพา ของจังหวัดสงขลา ประชาชนมีความสุขในเกณฑ์ ที่ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของภาค โดยคิดเป็น คะแนน 3.0220 และ 2.9734 คะแนน ตามล�ำดับ การส�ำรวจความคิดเห็น “ม.อ.โพล” นี้ นั บ เป็ น บทบาทหนึ่ ง ที่ ส ะท้ อ นต่ อ ความรับผิดชอบต่อสังคม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้น น� ำ ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ซึ่ ง ได้ ส� ำ รวจความ คิ ด เห็ น ของประชาชน โดยอยู ่ บ นพื้ น ฐานของหลักการทางวิชาการ เพื่อให้ ได้ ข ้ อ มู ล ที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ โดยเป้ า หมาย ของการส�ำรวจความคิดเห็นเพื่อให้ได้ ข้ อมู ลอั นเป็ น ประโยชน์ ต่ อสัง คมและ รั ฐ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการบริ ห าร จัดการ การก�ำหนดนโยบายเพื่อพัฒนา สังคม ประเทศชาติ โดยให้ประชาชนมี ความสุขตามที่ควรจะเป็น


สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดย มุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมาก ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ� ำ ภารกิจของสถาบัน

ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

สารบัญ ข่าวเด่น 2 ม.อ.โพล เผยสตูล เป็นจังหวัดที่ประชาชนมีความสุขมากที่สุด ในภาคใต้ ในเดือนมิถุนายน 2559 4 เส้นทาง ม.อ. สู่มหาวิทยาลัยในก�ำกับ 6 ข้าราชการ ม.อ. เตรียมน�ำร่องออกนอกระบบ ตุลาคม 2559 ออกข้อบังคับชุดแรก 11 ฉบับ เพื่อประสิทธิภาพการท�ำงาน 7 ม.อ.เปิด 4 รอบ ให้ข้าราชการยื่นเปลี่ยนเป็นพนักงานได้ในปีแรก 15 สมเด็จพระเทพฯ เสด็จฯ ทรงเปิดป้าย ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ม.อ. 16 ม.อ.ถวายปริญญาศึกษาศาสตร์แด่พระเจ้าอยู่หัว และปริญญา สัตวแพทย์แด่เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ 17 บรรยากาศพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ประจ�ำปี 2559 19 ม.อ.มอบรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ ปี 2559 ผู้ยังประโยชน์ ให้ภาคใต้ 23 ม.อ.ห้ามเล่นเกมโปเกมอน ในพื้นที่มหาวิทยาลัย

การศึกษา 8 อธิการบดีให้นักศึกษาใหม่รักษาอัตลักษณ์ ม.อ. เพื่อท�ำงานกับ ผู้อื่นอย่างมีความสุข 9 ม.อ.เตรียมตั้งคณะท�ำงาน พร้อมรับการยกเลิก Admission ในปี 61

ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม 10 เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย ร่วมจัดมหกรรมวิจัยพร้อมแถลงเปิดตัว 11 ทปอ. ตั้ง รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา ม.อ. เป็น ประธานประสานรัฐบาล ขับเคลื่อนไทยแลนด์ 4.0 ด้วยงานวิจัย และพัฒนานวัตกรรม

ม.อ.ภาคภูมิ ผศ.ดร.การุณ ทองประจุแก้ว นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2559 ม.อ. ติดล�ำดับ 3 มหาวิทยาลัยคุณภาพของประเทศ ปี 2559 ม.อ. รับรางวัลดีเด่นความเป็นเลิศด้านการเบิกจ่าย ปี 2559 ม.อ. ตรัง คว้ารางวัลชนะเลิศโครงการต่อยอดการสร้างพื้นที่ชุมชน สร้างสรรค์ด้วยพลังเยาวชน ของ miniTCDC 26 สถาปัตย์ ม.อ. คว้า 2 รางวัล โครงการ YICMG 2016 จากประเทศจีน

12 14 24 25

ความร่วมมือสู่การพัฒนา 20 ม.อ. - สมาคมการจัดการงานบุคคล ร่วมลงนามพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพ 21 กองทัพเรือ ลงนามร่วม ม.อ. ใช้วิชาการรักษาผลประโยชน์ชาติทางทะเล 21 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ – สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ลงนาม MOU โครงการ “พันธมิตรวิชาการ” 22 ม.อ. เจรจาร่วมมือวิจัยและแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับมหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น ม.อ.จับมือร่วมจัดตั้งศูนย์ Phuket Smart City Innovation Park

Activity 27 มหกรรมศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 24, 9 วัน 9 คืน ม.อ. ปัตตานี ชูประเด็น “มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชายแดนใต้” 28 ม.อ. ร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยเพื่อบริการสาธารณะในช่องทีวิดิจิตอล ม.อ. ร่วมกับ ม.เทียร์ เยอรมัน ร่วมสัมมนาการจัดการขยะและน�้ำเสียอย่างยั่งยืน 29 a day เปิดร้านหนังสือมือสองที่ ม.อ. สร้างนิสัยรักการอ่านให้เยาวชน งานสัปดาห์อาเซียน ครั้งที่ 3 เน้นเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน 30 ม.อ.วิชาการ 2559 โชว์นวัตกรรมเพื่อชุมชน 32

แนะน�ำหลักสูตร

บริการวิชาการ 34 ยางปูพื้นยางพารา พัฒนาโดยองค์ความรู้ ม.อ. ได้รับ มอก. 2377-2551 35

กิจกรรมที่น่าสนใจ

3 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ข่าวเด่น

เส้นทาง ม.อ.

สู่มหาวิทยาลัยในก�ำกับ

พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พ.ศ.2559 มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2559 เป็นการเริ่มต้นการเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของ รัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเป็ น การสิ้ น สุ ด การเดิ น ทางอั น ยาวไกลกว่ า 20 ปี ของ การมี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง การเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก�ำกับของรัฐของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ปี 2534 ฯพณฯ อานั น ท์ ปั น ยารชุ น อดี ต นายกรั ฐ มนตรี เดิ น ทาง มาเยี่ยมและฟังบรรยายสรุปการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ที่ห้องประชุมคณะทรัพยากรธรรมชาติโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์ อดีตอธิการบดีและคณะผู้บริหารร่วมต้อนรับ โดยมี ก ารพู ด ถึ ง ปั ญ หาอุ ป สรรคหลายอย่ า งที่ ข อให้ รั ฐ บาลเข้ า มา ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง อดี ต นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง การน� ำ มหาวิ ท ยาลั ย ออกนอกระบบราชการจะสามารถบรรเทาปัญหาดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ก่อนหน้านี้ในปี 2533 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ แห่ ง แรกที่ อ อกนอกระบบตั้ ง แต่ แ รก เริ่มก่อตั้ง ปี 2535 19 - 20 มกราคม ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) จั ด การระดมสมองเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ มี ผ ลกระทบต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ห าดแก้ ว รี ส อร์ ท สงขลา โดยเรื่ อ งหนึ่ ง ที่ น� ำ มาให้ ข้ อ คิ ด เห็ น กั น คื อ การปรั บ เปลี่ ย นสถานภาพของมหาวิ ท ยาลั ย สู ่ หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ส่ ว นราชการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิ ริ พ งษ์ ศรี พิ พั ฒ น์ อดี ต อธิ ก ารบดี เ ป็ น ผู ้ น� ำ บรรยาย “บทบาท ของ ทปอ.ในอนาคต” ทั้งนี้ ปี 2535 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ออกนอกระบบตั้งแต่ แรกเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัย ปี 2537 2 พฤษภาคม ในการประชุมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ซึ่งมีรองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นประธาน และมี ฯพณฯ ชวน หลีกภัย

4 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

อดีตนายกรัฐมนตรีในฐานะที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุม ได้มีการน�ำเสนอ ภาพของวิกฤติการณ์อุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งเกิดจากการที่มหาวิทยาลัย มีภารกิจหลายด้าน เช่น การเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ และชี้ น� ำ สั ง คม แต่ ร ะบบต่ า งๆ ไม่ เ อื้ อ อ� ำ นวยให้ ป ระกอบภารกิ จ เหล่ า นั้ น ได้ เ ต็ ม ที่ ขาดการสนั บ สนุ น ที่ เ พี ย งพอ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการ ใช้จ่ายเงิน และขาดความคล่องตัวในการปฎิบัติงานด้านบริหารงาน บุ ค คล โดยที่ ป ระชุ ม มี ข ้ อ สรุ ป ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ค วามพร้ อ ม และต้ อ งการแปรสภาพเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ และ มหาวิท ยาลัย ที่จ ะปรับปรุงแก้ไ ขในบางส่วน ไปคิดเตรียมขั้นตอน การท�ำงานต่อไป หลั ง จากนั้ น เป็ น ต้ น มา มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ก็ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การ ตามขั้นตอนเพื่อการเข้าสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ โดย ระหว่างปี 2540-2541 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวง และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี ออกนอกระบบ ในส่ ว นของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี ก ารเริ่ ม ต้ น กระบวนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารสู่มหาวิทยาลัยในก�ำกับ ของรัฐ ตั้งแต่สมัยรองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ ต่อด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ์ โดยเริ่มด�ำเนินการยกร่าง พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และน� ำ เข้ า สู ่ กระบวนการการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาคมมหาวิ ท ยาลั ย อย่ า ง กว้างขวาง ในระหว่างปี 2543-2545 เช่นการยกร่างพระราชบัญญัติฯ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การเสนอความเห็นและปรับปรุง หลังจากนั้น มีกระบวนการต่อเนื่องตามล�ำดับดังนี้ ปี 2545 1 มิ ถุ น ายน สมั ย รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริ ฐ ชิ ต พงศ์ เป็นอธิการบดี ร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในก�ำกับ ผ่านความเห็นชอบ จากสภามหาวิทยาลัย 16 กั น ยายน เสนอ ร่ า ง พ.ร.บ.มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ต่ อ ทบวงมหาวิทยาลัย (ขณะนั้น)


ปี 2548 เดื อ นสิ ง หาคม น� ำ เสนอ ร่ า ง พ.ร.บ. ต่ อ ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการกฤษฎีกาเพื่อพิจารณาแต่การปรับปรุงแก้ไข ร่าง พ.ร.บ. ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาครั้งที่ 2 ได้เปลี่ยนแปลงกรอบ หลั กคิ ด และเจตนารมภ์ ข องร่ าง พ.ร.บ.ฉบับ เดิ ม ไปค่ อ นข้างมาก เช่น ประเด็นการเป็นมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต เป็นต้น ปี 2549 27 ตุ ล าคม สมั ย รองศาสตราจารย์ ดร.บุ ญ สม ศิ ริ บ� ำ รุ ง สุ ข เป็ น อธิ ก ารบดี ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ขอให้ มหาวิ ท ยาลั ย น� ำ ร่ า ง พ.ร.บ.ที่ ผ ่ า นการพิ จ ารณาของส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎี ก า เสนอสภามหาวิ ท ยาลั ย พิ จ ารณาอี ก ครั้ ง 2 พฤศจิกายน มหาวิทยาลัยน�ำร่าง พ.ร.บ.ที่ผ่านการพิจารณา ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า เสนอที่ ป ระชุ ม คณบดี ซึ่ ง ที่ประชุมคณบดีในคราวประชุมครั้งที่ 13/2549 มีมติให้ชะลอการ ยื น ยั น ร่ า งพ.ร.บ.มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ไว้ ก ่ อ น เนื่ อ งจากยั ง ไม่ มี ความชั ดเจนในการด� ำ เนิ น งานหลายประเด็ น ร่ างพ.ร.บ.ดังกล่าว จึงยังคงค้างการพิจารณาในสภานิติบัญญัติฯ ทั้ ง นี้ ปี 2550 - 2551 มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มหาวิทยาลัยทักษิณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ออกนอกระบบ และปี 2553 - 2555 มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัย นวมิ นทราธิ ร าช และสถาบั น ดนตรี กัล ยาณิ วัฒ นา ออกนอกระบบ ปี 2556 2 พฤษภาคม สมั ย รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล เป็ น อธิ ก ารบดี ที่ ป ระชุ ม คณบดี มี ม ติ ใ ห้ ม หาวิ ท ยาลั ย ด� ำ เนิ น การ ขั บ เคลื่ อ นสู ่ ม หาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ โดยให้ ด� ำ เนิ น การร่ า ง พ.ร.บ. ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี โดยหลังจากนั้นมหาวิทยาลัยได้แต่งตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยใน ก�ำกับของรัฐ และคณะท�ำงานชุดย่อย ในการยกร่างพระราชบัญญัติ การเตรี ย มการเรื่ อ งข้ อ บั ง คั บ และการเผยแพร่ ประชาสั ม พั น ธ์ และรับฟังความเห็น ในทุกวิทยาเขต ปี 2557 6 กุ ม ภาพั น ธ์ ที่ ป ระชุ ม คณบดี ค รั้ ง ที่ 2/2557 ได้ เ ห็ น ชอบ ร่างพ.ร.บ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 8 มี น าคม ที่ ป ระชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย ครั้ ง ที่ 355(2/2557) ให้ มี ก ารตั้ ง คณะท� ำงานพิ จ ารณาร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ฯ โดยมี ก าร ปรั บ ในเรื่ อ งโครงสร้ า ง ให้ วิ ท ยาเขตมี ส ถานะเป็ น นิ ติ บุ ค คลเพื่ อ ความมีอิสระคล่องตัวในการบริหาร ซึ่งหมายถึงมหาวิทยาลัยจะมี 5 นิติบุคคล 22 พฤศจิกายน ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 361(8/2557) มี ม ติ เ ห็ น ชอบร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย และให้ ตั้ ง คณะ

กรรมการเพื่อท�ำหน้าที่ชี้แจงรายละเอียดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปี 2558 7 มกราคม มหาวิทยาลัยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติ ไปยัง ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมีประเด็นที่ต้องชี้แจง ท�ำความเข้าใจที่ส�ำคัญคือการให้วิทยาเขตมีสถานะเป็นนิติบุคคล ซึ่งไม่เคยมีการแบ่งส่วนงานในลักษณะเช่นนี้มาก่อน ก่อนน�ำเสนอ ไปยังรัฐมนตรี และเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี 21 กรกฎาคม คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ ห็ น ชอบในหลั ก การ ร่างพ.ร.บ.มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากนี้จะส่งให้ส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎี ก าตรวจพิ จ ารณาข้ อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ของแต่ละมหาวิทยาลัยต่อไป 19 ตุ ล าคม ร่ า ง พ.ร.บ.เข้ า สู ่ ก ารพิ จ ารณาของส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎีกา 24 ธั น วาคม ร่ า ง พ.ร.บ.ผ่ า นความเห็ น ชอบจากส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎี ก า โดยมี ห ลายส่ ว นที่ ถู ก ปรั บ เปลี่ ย นจาก ร่ า งเดิ ม เช่ น การที่ วิ ท ยาเขตจะไม่ เ ป็ น นิ ติ บุ ค คล ซึ่ ง จะมี ผ ลไปถึ ง การไม่เป็นหน่วยงบประมาณท�ำให้โดยภาพรวมแล้ว ร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จ ะคล้ า ยกั บ พ.ร.บ.ของ มหาวิทยาลัยในก�ำกับอื่นๆ แต่ที่ต่างกันอย่างชัดเจนคือในหลักการ ในการร่ า งมี ก ารเน้ น ความเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย หลายวิ ท ยาเขต และมี ก ารย�้ ำ เรื่ อ งของวิ ท ยาเขตเพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานมี ค วาม เป็นอิสระ คล่องตัว ไว้อีกในบางมาตรา ซึ่ง พ.ร.บ.ของมหาวิทยาลัย อื่นๆ ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ ทั้งนี้ ปี 2558 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกนอกระบบ ปี 2559 9 มกราคม สภามหาวิ ท ยาลั ย ให้ ค วามเห็ น ชอบ ร่ า งพ.ร.บ. มหาวิทยาลัย ที่ถูกปรับเปลี่ยนจากส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4 มี น าคม ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งนี้ เดือนเมษายน - พฤษภาคม 2559 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ออกนอกระบบ 21 มิ ถุ น ายน พระราชบัญญัติม หาวิท ยาลัย สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ 3 กรกฎาคม มหาวิทยาลัยศิลปากร ออกนอกระบบ 21 กรกฎาคม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 มีผลบังคับใช้

5 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ข่าวเด่น

ข้าราชการ ม.อ. น�ำร่องออกนอกระบบ ตุลาคม 2559 ออกข้อบังคับชุดแรก 11 ฉบับ เพื่อประสิทธิภาพการท�ำงาน าจารย์ พิ ชิ ต เรื อ งแสงวั ฒ นา รองอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยหลั ง จากพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พ.ศ.2559 ได้ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาและจะ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ใ นวั น ที่ 21กรกฎาคม 2559 ว่ า ส่ ว นใหญ่ ก ารเปลี่ ย นเป็ น มหาวิทยาลัยในก�ำกับจะเป็นแบบค่อย เป็นค่อยไป เว้นแต่ ผู้บริหารระดับสูง เช่น อธิการบดี รองอธิการบดี หากยังเป็นข้าราชการอยู่ จะต้ อ งแสดงความจ� ำ นงในการเปลี่ ย นเป็ น พนั ก งาน มหาวิทยาลัยภายใน 30 วัน ส่วนระดับคณบดีจะมีเวลา 120 วั น ส่ ว นบุ ค ลากรทั่ ว ไปผู ้ ต ้ อ งการเป็ น ข้ า ราชการต่ อ ไปก็ จะเป็ น ได้ จ นเกษี ย ณอายุ แต่ ส� ำ หรั บ ข้ า ราชการที่ ต ้ อ งการ ปรั บ เปลี่ ย นเป็ น พนั ก งาน ก็ จ ะได้ มี ก ารเตรี ย มแบบฟอร์ ม แสดงความจ�ำนงไว้ โดยตั้งเป้าหมายไว้ ให้มีการปรับเปลี่ยน สถานภาพของบุคลากรรุ่น แรก ในต้น เดือนตุลาคม 2559 ซึ่ ง ช่ ว งเวลาของการสมั ค รในปี แ รกจะมี ม ากกว่ า 1 ครั้ ง

บุคลากรที่เปลี่ยนสถานภาพ ในปีแรกจะได้รับการบรรจุ เป็ น พนั ก งานโดยไม่ ต ้ อ งมี ก ารประเมิ น ในปี ที่ ส องจะมี ก าร ประเมิ น ส่ ว นเลย 3 ปีจะต้อ งรออัต ราว่างและจะมี การสอบ แข่ ง ขั น ตามระบบปกติ โดยทั้ ง ผู ้ ที่ เ ปลี่ ย นสถานภาพ และ ผู ้ ยั ง คงเป็ น ข้ า ราชการตามระบบเดิ ม จะมี ก ารเข้ ม งวดเรื่ อ ง การประเมินมากขึ้น อย่างไรก็ตาม พนักงานมหาวิทยาลัยจะ ได้ รั บ การดู แ ลภายใต้ ก ฎหมายว่ า ด้ ว ยการคุ ้ ม ครองแรงงาน เรื่ อ งเงิ น ชดเชยในกรณี ต ้ อ งออกจาก งานโดยไม่ ไ ด้ มี ค วามผิ ด ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ กั บ พนั ก งานในระบบใหม่ โดยจะมี ก ารปรั บ โครงสร้ า งเพื่ อ ให้ การท� ำ งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทั้งในระดับคณะ ส�ำนักงานอธิการบดี และหน่ ว ยงานสนั บ สนุ น ทั่ ว ไป โดย เฉพาะส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต หาดใหญ่จะมีส่วนงานเพิ่มขึ้น และจะ มี ก ารแบ่ ง ชั ด เจนระหว่ า งส� ำ นั ก งาน มหาวิทยาลัยและส�ำนักงานวิทยาเขต ส่ ว นภายในคณะนั้ น จะมี ส ่ ว นงาน ลั ก ษณะอื่ น เช่ น สาขาวิ ช า หรื อ

6 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

กลุ ่ ม สาขาวิ ช า มาแทนที่ ภ าควิ ช า โดยระบบบริ ห ารแต่ ล ะ หน่วยงานอาจไม่เหมือนกันตามจ�ำนวนบุคลากร และขนาดของ หน่วยงาน ข้ า ราชการที่ ป รั บ เปลี่ ย นเป็ น พนั ก งาน จะมี ก ารปรั บ ฐานเงินเดือน ขึ้น 1.4 เท่า ซึ่งเป็นจ�ำนวนที่ได้หักเงินส�ำหรับ น� ำ มาจั ด การระบบสวั ส ดิ ก ารและสิ ท ธิ ป ระโยชน์ อื่ น ๆ ไว้ แล้ ว นอกจากนั้ น จะมี ก ารดู แ ลเรื่ อ งต� ำ แหน่ ง วิ ช าการ โดย หากท� ำ ผลงานได้ ดี จ ะได้ เ งิ น เพิ่ ม อาจจะมากกว่ า 1 เท่ า ของ ต�ำแหน่งวิชาการเดิม ซึ่งถือเป็นแรงกระตุ้นให้มีการท�ำผลงาน วิ ช าการ ขณะเดี ย วกั น จะมี ก ารให้ เ ลื อ กเส้ น ทางการท� ำ งาน ทางวิชาการ ว่าจะเน้นการสอนหรือวิจัย ซึ่งแต่ละเส้นทางจะมี ความก้าวหน้าของตนเอง ทั้งสถานะและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง “สิ่ ง ที่ บุ ค ลากรทั่ ว ไปควรให้ ค วามสนใจ คื อ ข้ อ บังคับฉบับใหม่ จ�ำนวน 11 ฉบับ ที่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่ง จะกระทบกับบุคลากร ทั้งพนักงานมหาวิทยาลัยในระบบ เก่า และพนักงานใหม่ที่ปรับจากข้าราชการเป็นพนักงาน โดยหลังจากนี้ คณะท�ำงานน�ำโดยรองอธิการบดีฝ่าย บุ ค คลและประกั น คุ ณ ภาพ จะจั ด รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น เกี่ยวกับข้อบังคับ ในทั้ง 5 วิทยาเขต จึงอยากให้ทุกคน เข้ า มี ส ่ ว นร่ ว มในกระบวนการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ซึ่ ง มหาวิทยาลัยมีความคาดหวังว่าข้าราชการที่ปรับเปลี่ยน จะมีความกระตือรือร้นมากขึ้น มีผลงานมากขึ้น เพราะ ค่าตอบแทนมากขึ้น และสวัสดิการยังคงมีเหมือนเดิม” รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว


ข่าวเด่น

ม.อ.เปิด 4 รอบ ให้ข้าราชการยื่นเปลี่ยนเป็นพนักงานได้ ในปีแรก ภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่ อ วั น ที่ 30 กรกฎาคม 2559 ได้ เ ห็ น ชอบข้ อ บั ง คั บ และประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการเปลี่ยนสถานภาพ ของข้าราชการมาเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2559 โดยก� ำ หนดว่ า ข้ า ราชการที่ จ ะแสดงเจตนาเปลี่ ย น สถานภาพต้ อ งไม่ อ ยู ่ ร ะหว่ า งถู ก ด� ำ เนิ น การทางวิ นั ย อย่ า งร้ า ยแรง และต้ อ งแสดงเจตนาเป็ น หนั ง สื อ ตาม หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ ก� ำ หนดในข้ อ บั ง คั บ และ ประกาศมหาวิ ท ยาลั ย โดยข้ า ราชการที่ ยื่ น แบบ แสดงเจตนาแล้วจะไม่สามารถถอนคืนได้

ในประกาศมหาวิทยาลัย ก�ำหนดให้ข้าราชการที่แสดง เจตนาเพื่ อ ขอเปลี่ ย นสถานภาพ สามารถเลื อ กวั น ที่ จ ะมี พ ้ น สถานภาพการเป็ น ข้ า ราชการ และวั น เริ่ ม ต้ น ของการบรรจุ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ดังนี้ 1. ยื่นแสดงเจตนาระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 14 กันยายน 2559 ส�ำหรับผู้ที่ประสงค์บรรจุในวันที่ 2 ตุลาคม 2559 โดย ให้หน่วยงานรวบรวมหนังสือแสดงเจตนาและสรุปข้อมูลส่ง ให้กองการเจ้าหน้าที่ ภายในวันที่ 21 กันยายน 2559 2. ยื่นแสดงเจตนาระหว่างวันที่ 3 ตุลาคม - 10 พฤศจิกายน 2559 ส�ำหรับผู้ที่ประสงค์บรรจุในวันที่ 1 ธันวาคม 2559 โดย ให้หน่วยงานรวบรวมหนังสือแสดงเจตนาและสรุปข้อมูลส่งให้ กองการเจ้าหน้าที่ ภายในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 3. ยื่นแสดงเจตนาระหว่างวันที่ 2 ธันวาคม 2559 - 16 มีนาคม 2560 ส� ำ หรั บ ผู ้ ท่ี ป ระสงค์ บ รรจุ ใ นวั น ที่ 2 เมษายน 2560 โดยให้หน่วยงานรวบรวมหนังสือแสดงเจตนาและสรุปข้อมูล ส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ ภายในวันที่ 24 มีนาคม 2560 4. ยื่นแสดงเจตนาระหว่างวันที่ 3 เมษายน - 20 กรกฎาคม 2560 ส�ำหรับผู้ที่ประสงค์บรรจุในวันที่ 20 กรกฎาคม 2560 โดยให้หน่วยงานรวบรวมหนังสือแสดงเจตนาและสรุปข้อมูล

ส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ ภายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2560 ข้าราชการที่แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงาน มหาวิทยาลัยภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราชบัญญัติมีผลใช้ บังคับ ไม่ต้องมีการประเมินความรู้ความสามารถก่อน แต่ผู้ที่ ยื่นแสดงเจตนาตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป ให้มี การประเมินความรู้ความสามารถก่อนเปลี่ยนสถานภาพ ใน กรณีไม่ผ่านการประเมิน สามารถแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพ ได้ อี ก เมื่ อ พ้ น 180 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ แจ้ ง ผลการประเมิ น ผู้เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย จะมีการ ท�ำสัญญาปฏิบัติงานที่มีก�ำหนดระยะเวลาจนถึงเกษียณอายุ โดยไม่ต้องทดลองงาน แต่ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัยก�ำหนด ทั้งนี้ สภามหาวิทยาลัยในวันดังกล่าว ได้อนุมัติการเปลี่ยน สถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยของรองอธิการบดี จ�ำนวน 11 ท่าน ซึ่งจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เป็นต้นไป ส่วน คณบดี ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัย ผู้อ�ำนวยการสถาบัน ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนัก ผู้อ�ำนวยการศูนย์ หัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น และหัวหน้าส่วนงานภายในที่สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติและ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในมหาวิ ท ยาลั ย หากมี ค วามประสงค์ ที่ จ ะเปลี่ ย น สถานภาพมาเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย สามารถยื่นแบบแสดง เจตนาได้ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2559 นอกจากนั้นยังมีการพิจารณาข้อบังคับว่าด้วยการสรรหา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ การเลื อ กกรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย จากบุ ค ลากร ภายใน และข้ อ บั ง คั บ ว่ า ด้ ว ยสภาอาจารย์ ส� ำ หรั บ ข้ อ บั ง คั บ อื่ น ๆ จะมี ก ารน� ำ พิ จ ารณาในที่ ป ระชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย นั ด พิเศษในวันที่ 20 สิงหาคม 2559

7 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


การศึกษา

อธิการบดีให้นักศึกษาใหม่รักษาอัตลักษณ์ ม.อ.

เพื่อท�ำงานกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวในการให้โอวาทแก่นักศึษาใหม่ ของวิทยาเขตหาดใหญ่ จ�ำนวน 4,000 คน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559 โดยขอให้ นักศึ กษาใหม่ทุกคนมีค วามมุ่งมั่นในการศึ กษา รักษาความเป็นอัตตลักษณ์ของสงขลานครินทร์ ที่ไม่ได้เก่งเฉพาะ วิ ช าการแต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ ต ้ อ งมี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ควบคู่ไปด้วย เพื่ออนาคตที่จะออกไปท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข พร้อมท�ำประโยชน์แก่สังคม ชุมชน ต่อไป และยึดถือ พระราชปณิธานสมเด็จพระราชบิดา เพื่อการเป็นคนดีของสังคม ในวันดังกล่าว ผู้บริหารมหาวิทยาลัยและนักศึกษาได้ร่วมกัน ถวายสั ก การะพระบรมราชานุส าวรีย ์ และมีก ารน�ำปฏิ ญ าณตน ของนักศึกษาใหม่

8 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


การศึกษา

ม.อ.เตรียมตั้งคณะท�ำงาน พร้อมรับการยกเลิก Admission ในปี 61 ดร.สุ ข สวั ส ดิ์ ศิ ริ จ ารุ กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยการรั บ นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ แ จ้ ง ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณบดี เ มื่ อ วั น ที่ 6 กันยายน 2559 ถึงข้อสรุปของสมาคมอธิการบดีแ ห่งประเทศไทย (ทปอ.) เกี่ยวกับแนวคิดที่จะยกเลิกระบบ Admission ในการรับนักศึกษา ซึ่งสมาคม อธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.) ด�ำเนินการอยู่ เพื่อให้นักเรียนจบชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 6 ก่อนที่จะเข้ากระบวนการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เพื่ อ ไม่ ต ้ อ งการให้ นั ก เรี ย นต้ อ งเสี ย เวลาและค่ า ใช้ จ ่ า ยในการเวี ย นสอบเข้ า มหาวิทยาลัยต่างๆ มากเกินไป ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ทางการศึกษา และมหาวิทยาลัย หรื อ สถาบั น สามารถเลื อ กนั ก เรี ย นตรงกั บ ความต้ อ งการตนเองได้ โดยจะ เริ่มน�ำมาใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป

โดยข้อสรุปดังกล่าว แบ่งเป็นหัวข้อที่ส�ำคัญคือ 1. การสอบทุกประเภท (ONET, GAT/PAT วิชาสามัญ 9 วิชา หรือ อื่นๆ) จะต้องจัดสอบในช่วงเดือนมีนาคม-กลางเดือน เมษายน เท่านั้น โดย GAT/PAT จะมีการสอบเพียงรอบเดียว ส่วนโควต้า 14 จังหวัดภาคใต้ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังคงมีได้ แต่ต้องไม่จัดสอบเอง หากยังยืนยันว่าจะจัดสอบ จะต้องขออนุมัติจากรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนการ รับนักศึกษาจากคุณสมบัติพิเศษต่างๆ สามารถรับได้ในช่วง ก่ อ นเดื อ นมี น าคม โดยใช้ Portfolio แต่ ไ ม่ ใ ห้ มี ก ารจั ด สอบ เช่นเดียวกัน 2. เมื่ อ นั ก เรี ย นยื น ยั น สิ ท ธิ์ เ ข้ า ศึ ก ษากั บ มหาวิ ท ยาลั ย ด้วยโครงการต่างๆ แล้ว ให้มหาวิทยาลัยส่งรายชื่อนักเรียน ไปตัดสิทธิ์จากระบบ Clearing-house

3. การรับสมัครเข้าศึกษาต่อ จะด�ำเนินการผ่าน Web กลาง แล้วส่งให้มหาวิทยาลัยพิจารณา จากนั้น มหาวิทยาลัย ส่งรายชื่อผู้ที่ผ่านการพิจารณาเข้าสู่ระบบ Clearing-house เพื่อเลือกสาขาให้นักเรียนเพียงล�ำดับเดียว โดยดูจากล�ำดับ การเลือก (ในกระบวนการคัดเลือก บางคณะ/สาขาวิชาอาจมี การสัมภาษณ์หลังการ Clearing-house หากมีความต้องการ และจะคืนสิทธิ์ให้นักเรียนไม่ผ่านการสัมภาษณ์) หลังจากนั้น ให้ นั ก เรี ย นที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กสามารถสมั ค รเรี ย นใน มหาวิทยาลัยที่ยังมีที่นั่งเหลือได้โดยอิสระ ส่วนนักเรียนที่ได้ รับการคัดเลือกจาก Clearing-house หรือนักเรียนที่ได้ยืนยัน สิทธิ์กับมหาวิทยาลัยไว้แล้วไม่สามารถสมัครได้อีก 4. กลุ ่ ม สถาบั น แพทยศาสตรศึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย (กสพท.) จะใช้คะแนนจากการสอบ 9 วิชาสามัญและขอจัด สอบเพิ่มเติมอีก 1 วิชา ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้ตั้งคณะท�ำงาน เพื่อปรับแนวทางการรับนักศึกษา ทั้งโควต้า 14 จังหวัดภาคใต้ นั ก เรี ย นเรี ย นดี และ โควต้ า พิ เ ศษ ต่ า งๆ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การปรับเปลี่ยนดังกล่าว รวมทั้งการพิจารณาการรับนักเรียน จากโรงเรี ย นนานาชาติ ห รื อ สถาบั น จากต่ า งประเทศซึ่ ง ไม่ มี การสอบ ONET, GAT/PAT วิชาสามัญ 9 วิชา เข้าศึกษาต่อ นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารเสนอให้ มี ก ารศึ ก ษาแนวทางการเพิ่ ม จ� ำ นวนนั ก ศึ ก ษาจากภู มิ ภ าคอื่ น และคงเยาวชนที่ มี ผ ลการ เรียนดีให้เรียนในภาคใต้ อีกด้วย

9 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม

เครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย ร่วมจัดมหกรรมวิจัยพร้อมแถลงเปิดตัว กลุ่มคลัสเตอร์ ได้แก่ 1.กลุ่มวิจัยด้านอาหารและการเกษตร 2.กลุ ่ ม วิ จั ย ด้ า นพลั ง งาน 3.กลุ ่ ม วิ จั ย ด้ า นสภาวะอากาศ 4.กลุ่มวิจัยด้านวัสดุขั้นสูงที่เน้นด้านอุตสาหกรรม 5.กลุ่มวิจัย ด้ า นการก้ า วเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น และ 6.กลุ ่ ม วิ จั ย ด้ า น สุขภาพ โดยในปีนี้ทางเครือข่ายได้วางเป้าหมายที่จะเพิ่มอีก 2 กลุ ่ ม คื อ เรื่ อ งดิ จิ ต อลและนวั ต กรรมหุ ่ น ยนต์ ซึ่ ง งานวิ จั ย ทั้ ง หมดนี้ จ ะต้ อ งตอบโจทย์ ไ ทยแลนด์ 4.0 ของประเทศด้ ว ย อย่ า งไรก็ ต ามทั้ ง 7 มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น เพี ย งจุ ด เริ่ ม ต้ น ของ เครื อ ข่ า ยเท่ า นั้ น แต่ ใ นความเป็ น จริ ง เรายั ง มี นั ก วิ จั ย จาก เมื่ อ วั น ที่ 17 สิ ง หาคม 2559 ได้ มี ก ารเปิ ด งานมหกรรม มหาวิทยาลัยต่างๆ เข้ามาร่วมกันอีก งานวิจัยแห่งชาติ 2559 (Thailand Research Expo2016) ซึ่ง “ผมหวังว่าการท�ำงานในลักษณะความร่วมมือนี้ จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “วิจัยเพื่อพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง จะเป็ น ตั ว อย่ า ง และจะสามารถเปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด มั่งคั่ง และยั่งยืน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ การท� ำ งานของประเทศไทยที่ เ คยบอกว่ า เราเก่ ง แต่ การท� ำ งานแบบเดี ย ว ไม่ ส ามารถท� ำ งานเป็ น ที ม ได้ ติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา นอกจากนี้ เ ครื อ ข่ า ยเรายั ง ยึ ด หลั ก การท� ำ งานว่ า 7 รอบ 12 สิ ง หาคม 2559 ณ โรงแรมเซ็ น ทาราแกรนด์ การท�ำงานด้วยกันต้องจริงใจต่อกัน ท�ำงานบนพื้นฐาน เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร โดย สมเด็จพระเทพรัตนราช ความเท่าเทียมกัน และเน้นคุณภาพเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ” สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ กล่าว ประธานในพิธีเปิดงาน และมีผู้บริหารและนักวิจัยเฝ้ารับเสด็จ พร้ อ มถวายงานเกี่ ย วกั บ ผลงานวิ จั ย ที่ อ ยู ่ ใ นซุ ้ ม นิ ท รรศการ งานดังกล่าวจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17 - 21 สิงหาคม 2559 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในนามเครือข่ายพันธมิตร มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research University Network หรือ RUN) และมหาวิทยาลัยเครือข่ายอีก 6 สถาบัน ได้แก่ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ เ ข้ า ร่ ว ม จัดนิทรรศการผลงานวิจัยด้วย และในวันที่ 18 สิงหาคม ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559 ได้มีการแถลงข่าวเปิดตัว เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย เพื่อการวิจัย (Research University Network หรือ RUN) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิก ารบดี ฝ่ า ย ระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ใน ฐานะประธานเครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต รมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การวิ จั ย กล่ า วว่ า เครื อ ข่ า ยนี้ เ ริ่ ม ต้ น มาประมาณ 1 ปี แ ล้ ว โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก คื อ ต้ อ งการให้ แ ต่ ล ะมหาวิ ท ยาลั ย ร่ ว ม กั น ท� ำ งานวิ จั ย ที่ เ ป็ น เรื่ อ งใหญ่ ข องประเทศ เพราะงานวิ จั ย ขอขอบคุณภาพ -ข่าว จาก บางเรื่ อ งไม่ ส ามารถจะท� ำ ได้ เ พี ย งมหาวิ ท ยาลั ย เดี ย ว และ www.facebook.com/rdo.psu/ ทั้ ง 7 มหาวิ ท ยาลั ย เครื อ ข่ า ยก็ ถื อ ว่ า มี พ ร้ อ มทั้ ง ทรั พ ยากร www.komchadluek.net/news/edu-health/238647 www.thaipost.net/?q=7มหาลัยเปิดตัว-เป็นเครือข่ายวิจัย-พิสูจน์ท�ำงานทีม มนุ ษ ย์ แ ละเทคโนโลยี ซึ่ ง เริ่ ม ต้ น จะมี ก ารท� ำ วิ จั ย แบ่ ง เป็ น 6 www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/2016-18.8.59m2-4-600x400.jpg

10 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม

ทปอ. ตั้ง รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา ม.อ. เป็นประธานประสานรัฐบาล

ขับเคลื่อนไทยแลนด์ 4.0 ด้วยงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2559 ศาสตราจารย์ คลินิก นพ.อุดม คชินทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ประธานที่ประชุมอธิการบดี แห่ ง ประเทศไทย (ทปอ.) เปิ ด เผยว่ า มหาวิ ท ยาลั ย มี บ ทบาท ส�ำคัญในการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 หรือ ไทย แลนด์ 4.0 โดยการสร้างงานวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งที่ประชุมได้ มีมติเห็นชอบตั้งคณะท�ำงานขับเคลื่อนไทยแลนด์ 4.0 ของทปอ. โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดี ฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานท�ำหน้าที่ประสานงานกับคณะท�ำงานของรัฐบาล ที่ มี น ายสมคิ ด จาตุ ศ รี พิ ทั ก ษ์ รองนายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธาน ต่อจากนี้มหาวิทยาลัยจะต้องเร่งปรับปรุงตนเอง โดยปฏิรูป การเรียนการสอน ต้องสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในรูปแบบ สหกิ จ ศึ ก ษา ที่ เ น้ น ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ในสถานประกอบ การ พัฒนาให้เด็กมีกระบวนการคิดวิเคราะห์และสร้างนวัตกรรม ใหม่ ๆ เพื่ อ ในอนาคตบั ณ ฑิ ต ที่ จ บไปมี ง านท� ำ ได้ ทั น ที ส่ ว นภาค เอกชนก็ได้ก�ำลังคนตามต้องการ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยต้องปรับ ตัวสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมที่ตอบโจทย์และตรงความต้องการ ประเทศ ซึ่ ง จะสามารถน� ำ มาต่ อ ยอด ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ไ ด้ จ ริ ง ขณะเดี ย วกั น มหาวิทยาลัยต้องกลับไปทบทวนบทบาท ของตนเองว่ า เด่ น เชี่ ย วชาญด้ า นใด ซึ่งทปอ.ไม่อยากให้เหมือนกัน ก่ อ นหน้ า นี้ เมื่ อ วั น ที่ 11 สิ ง หาคม 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ที ฆ สกุ ล ได้ ก ล่ า วรายงานเสนอเรื่ อ ง “มหาวิทยาลัยรวมใจขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0” ต่อ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะ โดย กล่าวว่า ถือว่าเป็นหน้าที่ส�ำคัญของมหาวิทยาลัยในการพัฒนา นวัตกรรมของประเทศ ตามที่ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้กล่าวไว้ว่า สิ่งส�ำคัญคือ จะท�ำอย่างไรที่จะใช้เทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพ และ ยังคงความเป็นไทย ในแบบที่ควบคู่กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แลนด์ 4.0 ซึ่งถือเป็นโจทย์และจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญของ ทปอ.ต่อ การขับเคลื่อน ทั้งด้าน “เศรษฐกิจ 4.0” เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ และ “คนไทย 4.0” เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำ ในสังคม และน�ำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอนาคต โดย ทปอ.ได้วางแผนวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกับวาระของชาติซึ่งเน้นใน 5 กลุ่ม เทคโนโลยี คือ 1. Biotechnology เพื่ อ มุ ่ ง หวั ง ให้ ไ ทยเป็ น ศู น ย์ ก ลางการ แปรรูปผลิตผลทางการเกษตรระดับพรีเมี่ยมและส่งออกเทคโนโลยี

ด้านการเกษตรเมล็ดพันธุ์ วัคซีน และอาหารสัตว์ 2. Bio-Medical เพื่อให้ไทยเป็น Medical Hub ของอาเซียน 3. Robotics โดยก�ำหนดเทคโนโลยีหลักที่มีหรือต้องพัฒนา เพื่อเป็นผู้น�ำของภูมิภาคด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม และหุ่นยนต์บริการ 4. Digital & IOT เพื่อให้ประเทศใช้เทคโนโลยี Internet of Things ไปสู่การเป็นผู้น�ำด้านการเกษตร สุขภาพ และการท่องเที่ยว ในเอเชีย 5. Creative & Culture เพื่อออกแบบประเทศไทยให้ก้าวไกล อย่างสร้างสรรค์ ส�ำหรับข้อเสนอของคณะท�ำงาน คือ ควรใช้มหาวิทยาลัยเป็น ฐานการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทั้งกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย กลุ่มมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง และกลุ่มมหาวิทยาลัยเพื่อชุมชน โดยดึ ง มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งประเทศที่ มี ชื่ อ เสี ย งมาเข้ า ร่ ว ม และมี การท�ำงานในลักษณะเชิงประชารัฐ โดยร่วมกับหน่วยงานวิจัยของ ประเทศ ภาคเอกชนเพื่อร่วมให้การสนับสนุน ตลอดจนสถาบัน การเงิ น และการลงทุ น ในรู ป แบบต่ า งๆ ในขณะเดี ย วกั น ภาครั ฐ ก็ควรสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานและผ่อนคลายมาตรการต่างๆ ที่จ�ำเป็นอีกทางหนึ่งด้วย

ขอขอบคุณภาพ -ข่าว จาก www.komchadluek.net/news/edu-health/239025 www.moe.go.th/websm/2016/aug/333.html

11 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

ผศ.ดร.การุณ ทองประจุแก้ว นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2559

ผศ.ดร.การุณ ทองประจุแก้ว อาจารย์ประจ�ำ ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ ก ต์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ คั ด เลื อ กเป็ น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ รุ ่ น ใหม่ ประจ� ำ ปี 2559 โดยมู ล นิ ธิ ส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใ นพระบรม ราชูปถัมภ์ ได้รับโล่พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมรากุมารี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2559 จากผลงาน “จั ด การอาหารสั ต ว์ น�้ ำ โดยใช้ เทคโนโลยีของเอนไซม์ย่อยอาหาร” ท�ำให้ทราบเกี่ยวกับ โภชนาการของสัตว์ สามารถน�ำมาประยุกต์ ใช้ ในการ จัดการอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในสัตว์เศรษฐกิจ และยังศึกษาเอนไซม์ย่อยอาหารเพื่อการจัดการอาหาร และระบบการเลี้ ย งเต่ า ตนุ ที่ อ ยู ่ ใ นภาวะใกล้ สู ญ พั น ธุ ์

12 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

ดร.การุณ ทองประจุแก้ว ส�ำเร็จการศึกษา ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายจากโรงเรี ย น หาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จังหวัดสงขลา จากนั้นได้ รั บ ทุ น โครงการพั ฒ นาก� ำ ลั ง คนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ใ นสาขาชี ว วิ ท ยา ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จบการ ศึกษาด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่งในปี พ.ศ. 2549 หลั ง จากนั้ น ได้ เ ข้ า ศึ ก ษาต่ อ ปริ ญ ญาเอกสาขา วิ ท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพ ณ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ภายใต้ โ ครงการ เครื อ ข่ า ยเชิ ง กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ การผลิ ต และพั ฒ นา อาจารย์ ใ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ปั จ จุ บั น มี ผ ลงาน ตี พิมพ์ ใ นวารสารวิ ชาการระดั บนานาชาติ จ�ำนวน 27 เรื่ อ ง ยื่ น จดอนุ สิ ท ธิ บั ต รจ� ำ นวน 5 เรื่ อ ง และ แต่งต�ำรา 1 เล่ม ดร.การุณ ทองประจุแก้ว เปิดเผยว่า ทิศทาง แรกของงานวิจัย ใช้เอนไซม์ที่สกัดจากสิ่งมีชีวิตมา ย่อยวัตถุดิบอาหาร การตรวจสอบโดยวิธีนี้สามารถ วิเคราะห์ได้รวดเร็ว มีค่าใช้จ่ายน้อย ปรับปรุงกรรมวิธี การเตรียมวัตถุดิบอาหารที่ย่อยง่าย ข้อดีของการดัด แปรด้วยวิธีนี้ คือ มีศักยภาพสูงในการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างของวัตถุดิบให้อยู่ในรูปอสัณฐาน (amorphous) ไม่มีสารเคมีตกค้างที่เป็นอันตรายต่อสัตว์ และสามารถดั ด แปรวั ต ถุ ดิ บ ได้ ใ นปริ ม าณมาก งานวิจัยในทิศทางที่สอง เน้นการพัฒนาระบบ การเลี้ยง การจัดการอาหาร และกรรมวิธีการผลิต อาหารที่ ท� ำ ให้ สั ต ว์ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตเร็ ว และใช้ ประโยชน์จากอาหารได้สูงสุด ผลงานวิจัยในสัตว์น�้ำ เศรษฐกิจที่ศึกษาแล้วบางส่วนมีทั้งในกลุ่มที่เลี้ยง เพื่อบริโภค เช่น ปลานิล (Oreochromis niloticus) ปลากะพงขาว (Lates calcarifer) ปลาช่ อ น (Channa striata) และกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) และอยู่ในระหว่างการศึกษา ในหมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana) ส�ำหรับ ในกลุ ่ ม ที่ เ ลี้ ย งเพื่ อ ความสวยงาม มี ก ารศึ ก ษาใน ปลากั ด (Betta splendens) ปลาหางนกยู ง (Poecilia reticulata) และอยู่ในระหว่างการศึกษา ในปลาทอง (Carassius auratus)


ม.อ.ภาคภูมิ

ความรู้ด้านเอนไซม์ย่อยอาหารสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้ประโยชน์จากอาหารได้ เช่น การศึกษาผลของความถี่ ในการให้อาหารต่อกิจกรรมของเอนไซม์ย่อยอาหารเพื่อหา ความถี่ มื้ อ อาหารที่ เ หมาะสมต่ อ การเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ และเกิ ด ความคุ้มทุน การอดอาหาร (starvation) เพื่อให้ท่อทางเดินอาหารว่าง และกลับมาให้อาหารอีกครั้ง (re-feeding) เพื่อ กระตุ้นให้สัตว์น�้ำอยากกินอาหารมากขึ้น (appetite) หรือการ กระตุ้นให้มีการเจริญเติบโตชดเชย (compensatory growth) หลังจากที่ให้สัตว์น�้ำอดอาหารและให้อาหารเป็นรอบ เป็นต้น ส�ำหรับการศึกษาในระบบนิเวศขนาดใหญ่ รูปแบบของเอนไซม์ ย่อยอาหารของสัตว์ก็สามารถบ่งบอกความหลากหลายของ อาหารหรือเหยื่อในธรรมชาติได้เช่นกัน นอกจากจะเน้นศึกษาในกลุ่มสัตว์น�้ำเศรษฐกิจแล้ว ยัง ศึกษาเอนไซม์ย่อยอาหารจากมูลเพื่อการจัดการอาหารและ ระบบการเลี้ยงเต่าตนุ (Chelonia mydas) ที่อยู่ในภาวะใกล้ สูญพันธุ์ ข้อมูลจากงานวิจัยในส่วนนี้ส่งผลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ การอนุบาลเต่าตนุในประเทศไทย ตั้งแต่หลังจากฟักจนถึงอายุ หนึ่งปีก่อนที่จะมีการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ (head-started) โดยท� ำงานวิ จั ย ร่ ว ม กั บ ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากร ทางทะเลและชายฝั่งอันดามัน สามารถ พัฒนาระบบการเลี้ยง และการจัดการ อาหารจนมี อั ต ราการรอดมากกว่ า ร้อยละ 95 และอยู่ระหว่างการขยาย ผลเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูเต่าทะเล ชนิดอื่นต่อไป ดร. การุณ ทองประจุแก้ว กล่าว ว่ า เอนไซม์ จ ากมู ล ของสั ต ว์ ส ามารถ ใช้ ต รวจสอบการเปลี่ ย นแปลงทาง สรี ร วิ ท ยา ชี ว เคมี และนิ เ วศวิ ท ยา ของสั ต ว์ ไ ด้ เอนไซม์ เ หล่ า นี้ เ มื่ อ ผ่ า น

กระบวนการย่อยจะแทรกอยู่ในรูพรุนของมูล และในสัตว์บาง ชนิดจะมีเยื่อบางๆ หุ้มไว้ เพื่อให้ง่ายต่อการขับถ่ายของสัตว์ รวมทั้ ง ช่ ว ยป้ อ งกั น กระจายตั ว ของเอนไซม์ ห ลั ง จากที่ สั ต ว์ ขับถ่ายลงในน�้ำ นอกจากนี้ การเก็บตัวอย่างมูลยังไม่รบกวน สัตว์หรือไม่ต้องฆ่าสัตว์ ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้กับการศึกษา ในสัตว์น�้ำใกล้สูญพันธุ์ได้เป็นอย่างดี ดร.การุณ ยังได้เริ่มท�ำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา และจั ด การอาหารในสั ต ว์ เ ศรษฐกิ จ กลุ ่ ม อื่ น ๆ เช่ น กั น เช่ น หนอนไหม (Bombyx mori) โดยท� ำ งานวิ จั ยร่ ว มกั บนักวิจัย จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจาก กรมหม่อนไหม รวมทั้งเริ่มท�ำการวิจัยในแพะร่วมกับนักวิจัย จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย ส�ำหรับทิศทางงานวิจัยในอนาคต คือ การบูรณาการ ความรู ้ ด ้ า นเอนไซม์ ย ่ อ ยอาหารเพื่ อ การจั ด การอาหารที่ ครอบคลุมในสัตว์ทุกกลุ่ม และเริ่มตั้งแต่ต้นน�้ำสู่ปลายน�้ำ คือ “From feedstuff to fork”

13 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

ม.อ. ติดอันดับ 3

มหาวิทยาลัยคุณภาพของประเทศ ปี 2559 หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขึ้นอันดับมหาวิทยาลัย ชั้นน�ำของเอเชียและของประเทศไทย จากการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลก Round University Rankings 2016 โดย RUR Rankings Agency ของประเทศรัสเซีย โดยถูกจัดอยู่ ในอันดับที่ 3 ของประเทศ อันดับที่ 11 ของเอเชีย และ อันดับที่ 618 ของโลก และ ได้อันดับที่ดีขึ้นจากปี 2558 ซึ่งได้ล�ำดับที่ 4 การจั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของโลก ของ RUR Rankings Agency พิจารณาตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย ในระดับสากล 4 ด้าน 20 ตัวชี้วัด คือด้านการสอน (Teaching) 5 ตัวชี้วัด คิดเป็น 40% การวิจัย 5 ตัวชี้วัด 40% ด้านความเป็น นานาชาติ 5 ตัวชี้วัด 10% และด้านความยั่งยืนทางการเงิน 5 ตัวชี้วัด 10% World Top 10 อันดับ1 ได้แก่ California Institute of Technology (Caltech) Asia Top 10 อันดับ 1 ได้แก่ Korea Advanced Institute of Science and Technology (KAIST) ASEAN Top Universities อันดับ 1 ได้แก่ National University of Singapore

ระดับประเทศ อันดับ 1 ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อันดับ 424 ของโลก) อันดับ 2 ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล (อันดับ 484 ของโลก) อันดับ 3 ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อันดับ 618 ของโลก) อันดับ 4 ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อันดับ 626 ของโลก) อันดับ 5 ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (อันดับ 637 ของโลก) อันดับ 6 ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อันดับ 641 ของโลก) อันดับ 7 ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อันดับ 653 ของโลก) อันดับ 8 ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง (อันดับ 674 ของโลก) ท่านสามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ || http://roundranking.com/

14 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ข่าวเด่น

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

เสด็จฯทรงเปิดป้ายศูนย์ประชุมนานาชาติ ม.อ. วันที่ 19 กันยายน 2559 เวลา 9.00 น. สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงเปิดป้าย ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ซึ่งตั้งอยู่ ในบริเวณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อเสด็จถึง ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อธิบดีศาลภาค 9 แม่ ทั พ ภาคที่ 4 ผู ้ บั ญ ชาการต� ำ รวจภู ธ รภาค 9 อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณาจารย์ นักศึกษา บุคลากร เฝ้าฯ รับเสด็จฯ คุณจันทร์วดี ลิ่มสกุล ผู้แทนมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ คุ ณ ภั ท รา ชมานนท์ ผู ้ แ ทนศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ทูลเกล้าฯถวายมาลัย ข้อพระกร รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ มรว.สวัสดิวุฒิ สวัสดิวัฒน์

รองกรรมการผู ้ จั ดการ บริ ษั ท เอ็ นซี ซี แมนเนจเมนต์ แอนด์ ดิ เ วลลอปเม้ น ท์ จ� ำ กั ด ถวายเงิ น สมทบมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา หลั ง จากนั้ น อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กราบ บังคมทูลถวายรายงาน ความเป็นมาของอาคารศูนย์ประชุม จากนั้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เสด็จฯ ออกจาก พลับพลาไปยังมณฑลพิธี ทรงกดปุ่มไฟฟ้า เปิดแพรคลุมป้าย อาคาร ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี วงดุริยางค์ บรรเลงเพลงมหาฤกษ์ เสร็จแล้วเสด็จพระราชด�ำเนิน ยังอาคารศูนย์ประชุมนานาชาติ เพื่อพระราชทานปริญญาบัตร แก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย ประจ�ำปีการศึกษา 2558 ต่อไป ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี” ตั้ง อยู่บนพื้นที่ 54.68 ไร่ ในบริเวณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถนนปุณณกัณฑ์ ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเพื่อ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสการฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เพื่อให้เป็น ศูนย์ประชุมระดับนานาชาติ ที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็น ส่วนหนึ่ง ในการเสริมสร้างเศรษฐกิจ ของจังหวัดสงขลารวมถึง จังหวัดใกล้เคียง ได้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2549 และเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551 ได้รองรับการจัดงานทั้งพิธีพระราชทานปริญญาบัตร การ จัดประชุม งานแสดงสินค้า คอนเสิร์ต และอื่นๆ อีกจ�ำนวนมาก

15 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ข่าวเด่น

ม.อ.ถวายปริญญาศึกษาศาสตร์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ และปริญญาสัตวแพทย์แด่เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ ภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในคราวประชุม ครั้งที่ 375(5/2559) เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2559 ได้ มี ม ติ เ อกฉั น ท์ ข อพระราชทานทู ล เกล้ า ฯ ถวาย ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ และปริ ญ ญา สัตวแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อัครราชกุมารี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเป็น “คุ รุ ม หาราช” ครู ข องแผ่ น ดิ น ที่ ไ ม่ มี ผู ้ ใ ดเสมอเหมื อ นทรงมี พระบรมราโชบายส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษา ทุ ก ระดั บ ทุ ก ประเภท ซึ่ ง แสดงถึ ง พระวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นใช้ ก าร ศึกษาช่วยพัฒนาคนให้มีสติปัญญา มีความรู้ความสามารถ ในการประกอบอาชี พ สามารถช่ ว ยเหลื อ ตนเอง และ พั ฒ นาประเทศให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า ทรงมี พ ระบรมราโชบาย ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย นแก่ เ ด็ ก ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสและเด็ ก ที่ อ ยู ่ ห ่ า งไกล ในถิ่ น ทุ ร กั น ดาร พระราชทานทุ น การศึ ก ษาแก่ เ ยาวชน ทรงชี้ ใ ห้ เ ห็ น ตระหนั ก ว่ า การศึ ก ษาที่ มิ ไ ด้ อ ยู ่ เ พี ย งแค่ ใ น ระบบโรงเรี ย นแต่ ทุ ก ๆ อย่ า งที่ อ ยู ่ ร อบ ๆ ตั ว คื อ การเรี ย นรู ้ ทรงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ต่ อ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ผ่านองคมนตรีและมูลนิธิชัยพัฒนาในการดูแลคุณภาพการ ศึกษาในภาคใต้ ซึ่งคณะศึกษาศาสตร์และหน่วยงานต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้เข้าไปมีส่วนร่วมสนองโครงการ ในพระราชด�ำริของพระองค์ เช่น โครงการพัฒนาคุณภาพการ

16 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

ศึกษาโรงเรียนเกาะบุโหลน โครงการโรงเรียนทุนพระราชทาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้และโครงการ 107 โรงเรียนที่มุ่งเน้น การสร้างนวัตกรรมทางการเรียนการสอน ยกระดับผลสัมฤทธิ์ และการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี สัตวแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงมุ่งมั่นน�ำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นและยังแผ่พระเมตตาไปถึง สรรพสัตว์อีกด้วย ทรงสนพระทัยศึกษาด้านกายวิภาคศาสตร์ ประยุกต์และการตรวจรักษาโรคต่างๆ ในสัตว์เลี้ยง ทักษะทาง คลินิกในสุนัข อายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์ชั้นสูงในสุนัข คลินิก ปฏิบัติเฉพาะทางในสุนัข เป็นต้น ทรงสนพระทัยศึกษาและ เพิ่มพูนทักษะด้านการดมยาสลบโดยเฉพาะในสัตว์เลี้ยงทรง จัดให้คณะสัตวแพทย์ ภายใต้ชื่อพระราชทาน“สัตวแพทย์อาสา จุฬาภรณ์”ติดตามไปทุกครั้งเมื่อเสด็จไปทรงเยี่ยมราษฎร เพื่อ บริการตรวจรักษาโรคทั่วไปแก่สัตว์ตลอดจนให้ค�ำแนะน�ำที่เป็น ประโยชน์แก่ราษฎรผู้เลี้ยงสัตว์ รวมถึงทรงมีพระด�ำริจัดตั้งร้าน ดร.น�้ำใจ หารายได้เพื่อสัตว์ป่วยอนาถา การจัดตั้งมูลนิธิรักษา พยาบาลสัตว์ป่วยอนาถา เพื่อน�ำทุนทรัพย์มาเป็นค่าใช้จ่ายใน การรักษาพยาบาลสัตว์ป่วยที่เจ้าของไม่สามารถรับผิดชอบค่า ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จ พระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ อาคารคณะสัตว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และได้พระราชทาน นามอาคารดังกล่าวว่า“อาคารจุฬาภรณการุณยรักษ์”


ข่าวเด่น

เมื่อวันที่ 28-30 กันยายน 2559 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จฯ แทน พระองค์ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2558 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี รวมผู้มีสิทธิ์เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรทั้งสิ้น 8,246 คน จาก ทั้ง 5 วิทยาเขต

17 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ข่าวเด่น นอกจากนั้ น สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในคราว ประชุมครั้งเดียวกัน ได้มีมติให้อนุมัติปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ ให้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆ อีก 5 ท่าน ดังนี้ รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ ธรรมรัตน์วาสิก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร) เป็นผู้บุกเบิกการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรอุตสาหกรรมเกษตรของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง เป็ น แห่ ง แรกของภาค ใต้ เป็ น ตั ว อย่ า งของครู ใ นการถ่ า ยทอดวิ ช า ความรู้ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นผู้ริเริ่มโครงการปริญญาเอกร่วมกับ มหาวิทยาลัยต่างประเทศในสาขาอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อผลิตอาจารย์ และนักวิจัยในระดับปริญญาเอกเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านการแปรรูปและ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มีผลงานวิจัยที่มุ่งเน้นตอบโจทย์ปัญหาและ พัฒนาภาคใต้เป็นหลัก เช่น ผลงานโครงการวิจัยและพัฒนากรรมวิธีการ ผลิตเมล็ดโกโก้แห้ง ได้น�ำประสบการณ์จากงานวิจัยมาจัดท�ำแผนแม่บท เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรของท้องถิ่นและของประเทศ และน�ำมา ขยายผลในด้านบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น นอกจากนั้น ยั เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเกษตรเพื่ อ การส่ ง ออก ซึ่ ง สามารถให้ บ ริ ก ารวิ ช าการที่ ค รบวงจรแห่ ง เดี ย วของภาคใต้ นายภาณุ อุทัยรัตน์ รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นผู้ให้ความส�ำคัญกับงานยุทธศาสตร์ที่เน้นการพัฒนาพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ สร้างความพึงพอใจให้กับประชาชน และท�ำให้ ประชาชนในพื้นที่มีชีวิตที่ดีขึ้น การสร้างความเข้มแข็งของประชาชน เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตของสังคม ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต ของเยาวชนเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับเยาวชน จัดหาแหล่งทุนการ ศึกษา เพื่อยกระดับการศึกษาให้กับเยาวชน ทั้ง ทุนการศึกษาในประเทศและต่างประเทศ ส่ง เสริมให้เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีประสบการณ์การเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม ส่ ง เสริ ม ขวั ญ และก� ำลั ง ใจให้ แ ก่ ศ าสนิ ก ชนของทุ ก ศาสนา สนั บ สนุ น การแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติดแบบยั่งยืน โดยการใช้ศาสนา การศึกษา การแพทย์ การสาธารณสุข และครอบครัวเข้มแข็ง ภายใต้ โครงการต�ำบลเอาชนะยาเสพติด มีการท�ำงานเชิงรุกร่วมกันระหว่างภาค รัฐและประชาชนในพื้นที่ ในการสร้างความเป็นธรรมแก่ประชาชนภาย ใต้แนวคิดการท�ำงานโดยคนในพื้นที่ และแก้ไขปัญหาโดยคนในพื้นที่ มี ศูนย์ใกล้บ้าน บริการใกล้ตัว คลายทุกข์ที่ต้นทาง ด้วยความเป็นธรรม นางวราภรณ์ ขจรไชยกูล วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เทคโนโลยียาง) ได้ทุ่มเททั้งก�ำลังกายและสติปัญญา ร่วมพัฒนาสาขาเทคโนโลยี ยาง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเป็นผู้ประสานการสนับสนุน ของศูนย์วิจัยยางซึ่งมีความพร้อมด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัย เพื่อใช้ในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการของนักศึกษา นอกจากนี้ยังท�ำ

18 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

หน้าที่สอนและบ่มเพาะนักศึกษา เป็นที่ปรึกษา งานวิ จั ย ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาท� ำ หน้ า ที่ ชี้ แ จงกั บ ผู ้ บริหารระดับสูง ถึงความจ�ำเป็นที่ศูนย์วิจัยยาง ต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักศึกษามาฝึกปฏิบัติ การจนส่งผลให้นักศึกษาสาขาเคมียางรุ่นแรกๆ ส�ำเร็จการศึกษาอย่าง มีคุณภาพ น�ำมาสู่การสร้างความก้าวหน้าและเข้มแข็งทางวิชาการใน อุตสาหกรรมยางพาราไทย มีส่วนสนับสนุนอย่างยิ่งให้มหาวิทยาลัยเป็น ที่ยอมรับในระดับชาติด้านยางพารา และเชื่อมั่นอย่างยิ่งว่า มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ส ามารถแก้ ไ ขปั ญ หายางพาราได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น นางสาวละมัย ศรีรักษา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ศิลปะการแสดงและการจัดการ) เป็นโนราที่มีเอกลักษณ์ในด้านการแสดงโนราทั้งด้านการร้องบทกลอน โนรา การร� ำ ท� ำ บท การร้ อ งกลอนสด และมี น�้ ำ เสี ย งเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว ได้ น� ำ องค์ ค วาม รู ้ ค วามสามารถเหล่ า นี้ ถ ่ า ยทอดให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ใน ทุกวิทยาเขต ตลอดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึง ปัจจุบันในรูปแบบของรายวิชา ตลอดจนโครงการ พิเศษต่าง ๆ และเป็นครูโนราที่มีความมุ่งมั่นอนุรักษ์ สืบทอด ศิลปะการ แสดงโนราในแบบโบราณ และมีแนวคิดว่า ศิลปะการแสดงโนราเป็น ศิลปะการแสดงชั้นสูงที่ควรจะอนุรักษ์ สืบทอดให้อยู่คู่กับแผ่นดินไทย เด็กและเยาวชนคือผู้ที่จะต้องท�ำหน้าที่สืบทอดศิลปะการแสดงโนราให้ เป็นมรดกของชาติต่อไป นอกจากนั้น ยังเป็นวิทยากรโนราให้กับสถาบัน การศึกษาทั่วประเทศ รวมทั้งการเผยแพร่ศิลปะการแสดงโนราทั้งระดับ ชาติและนานาชาติ จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ศาสตราจารย์มิทซูเอกิ นิชิบูชิ วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (จุลชีววิทยา) เป็นผู้ที่มีช�ำนาญด้านแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในอาหารทะเล รวมทั้งเนื้อ สั ต ว์ อื่ น ๆ ที่ ส ามารถก่ อ โรคมาถึ ง คน เป็ น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ค นแรกที่ รายงานถึ ง อุ บั ติ ก ารณ์ ข องเชื้ อ วิ บ ริ โ อ พาราฮี โ มไลติ คั ส สายพั น ธุ ์ ที่ มี ก ารระบาดทั่ ว โลก มี ผ ลงาน ที่ แ สดงถึ ง ความเป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ นานาชาติ ได้ แ ก่ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาขององค์ ก าร อาหารและเกษตร รวมทั้งองค์การอนามัยโลก ในการประเมินความ เสี่ ย งจากการติ ด เชื้ อ แบคที เ รี ย ในกลุ ่ ม วิ บ ริ โ อ ใน อาหารทะเลเป็นประธานองค์การตรวจสอบความ ปลอดภั ย ทางอาหารของประเทศต่ า ง ๆ ทั่ ว โลก เป็ น ต้ น ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ ภาควิ ช าจุ ล ชี ว วิ ท ยา คณะ วิทยาศาสตร์ ในการศึกษาเชื้อจุลินทรีย์ในอาหารทะเลที่ก่อโรคมาถึง คน อีกทั้งได้เป็นผู้ประสานงานหาทุนวิจัย สนับสนุนคณาจารย์และ นักศึกษา ไปท�ำงานวิจัยที่ประเทศญี่ปุ่น และไปเสนอผลงานในการ ประชุมวิชาการนานาชาติอย่างสม�่ำเสมอ เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับ ประเทศไทยและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ให้เป็นที่ยอมรับในด้าน งานวิจัยเกี่ยวกับแบคทีเรียก่อโรคในอาหารทะเล และท�ำให้บุคลากร ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการอ้างอิงในระดับนานาชาติ


ข่าวเด่น

ม.อ. มอบรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ ปี 2559

แก่ 3 ผู้ยังประโยชน์ให้ภาคใต้ เมื่ อ วั น ที่ 28-30 กั น ยายน 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ มอบรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2559 แก่ผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์แก่ชุมชนในภาคใต้ เป็นตัวอย่างและเป็น แรงบั น ดาลใจในการท� ำ ประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนให้ อ นุ ช นรุ ่ น หลั ง โดย ผู้ ได้รับรางวัลได้เข้ารับพระราชทานโล่เกียรติยศในวันพระราชทาน ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย เงินรางวัล และได้รับการประกาศ เกียรติคุณในงานวันสงขลานครินทร์

ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล อนุ ส รณ์ ส งขลานคริ น ทร์ ประจ� ำ ปี 2559 ทั้ง 3 ท่านประกอบด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เภสัชกรหญิงกฤษณา ไกรสินธุ์ อธิการวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้มีชื่อเสียงในด้านการอุทิศตนท�ำประโยชน์แก่สังคมโลก โดย ริ เ ริ่ ม การวิ จั ย จนสามารถ ผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ และ เดินทางไปช่วยเหลือประเทศ ยากจนในทวีปแอฟริกาจน ได้รับฉายา ”เภสัชกรยิปซี” ท่ า นมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ในการ ท� ำ งานเพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนใน 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต้ โดยใช้ยาสมุนไพรจากพืชท้องถิ่นเพื่อการรักษา โดยร่วมมือกับคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ออกส� ำ รวจโรงพยาบาลซึ่ ง มี ก ารผลิ ต ยาสมุ น ไพรในภาคใต้ และพัฒนาจนได้มาตรฐานคุณภาพตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดี ในการผลิ ต หรื อ GMP พร้ อ มสร้ า งเครื อ ข่ า ยในการพั ฒ นา คุณภาพยาสมุนไพรในภาคใต้ ใช้ชื่อ “กลุ่มผลิตยาสมุนไพรกลุ่ม ลังกาสุกะ” โดยใช้โรงงานผลิตยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ เป็นต้นแบบ นายมู ห ามะสุ ก รี มะสะนิ ง นายกสมาคมชาวประมง พื้นบ้านจังหวัดปัตตานี ผู้น�ำในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และจัดการ ทรั พ ยากรทะเลชายฝั ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี โดยการจั ด ตั้ ง ชมรม ชาวประมงพื้ น บ้ า นปั ต ตานี เ พื่ อ เป็ น เวที ใ นการแลกเปลี่ ย น เรียนรู้และแก้ไขปัญหา ได้ประสานงานเพื่อผลักดันให้รัฐบาล ออกกฎหมายห้ามใช้เครื่องมืออวนรุนในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เป็นแห่งแรกของประเทศ เพื่อลดปัญหาความเสื่อมโทรมของ

ทรั พ ยากรทะเล และผสมผสาน ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น กั บ วิ ช าการสมั ย ใหม่ ใ นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรทาง ทะเล เช่น การท�ำปะการังเทียม ท�ำ โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร ทะเลและชายฝั่ง ส่งผลให้ความอุดม สมบูรณ์กลับคืนมาสู่ท้องทะเล เป็น การสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน นายแพทย์ สุ วั ฒ น์ วิ ริ ย พงษ์ สุ กิ จ ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ อ�ำเภอนาทวี จังหวัด สงขลา ผู้น�ำแนวคิดเรื่อง “เวชปฏิบัติครอบครัว” มาประยุกต์ใช้ ในการจั ด ระบบบริ ก าร สาธารณสุ ข โดยอาศั ย การมีส่วนร่วมของชุมชน และพั ฒ นาศั ก ยภาพ ของโรงพยาบาลสมเด็จ พ ร ะ บ ร ม ร า ชิ นี น า ถ อ�ำเภอนาทวี และ อ�ำเภอเทพา จัดตั้ง “ศูนย์ฟื้นฟูคนพิการและ ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสในชุ ม ชน” ที่ อ� ำ เภอนาทวี จนได้ รั บ การยกย่ อ ง เป็นศูนย์ฟื้นฟูคนพิการชุมชนตัวอย่างระดับประเทศ ได้ปฏิรูป โครงสร้ า งบริ ก ารปฐมภู มิ ด ้ ว ย GIS ในอ� ำ เภอเทพา เพื่ อ ให้ ประชาชนเข้ า ถึ ง การบริ ก ารได้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั บ สภาพ ภูมิศาสตร์ โดยปรับเปลี่ยนการแบ่งพื้นที่การบริการจากที่แบ่ง ตามเขตปกครองมาเป็นการแบ่งตามสภาพทางภูมิศาสตร์และ สารสนเทศ (GIS) เพื่อเน้นการเข้าไปให้บริการสาธารณะสุข ในพื้นที่ แทนการตั้งรับการรักษาในโรงพยาบาลเพียงอย่างเดียว

19 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.อ. - สมาคมการจัดการงานบุคคล เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ ดร.ณั ฐ วุ ฒิ พงศ์ สิ ริ นายก สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย ดร.จ�ำเนียร จวงตระกูล ประธานสถาบันรับรองคุณวุฒิวิชาชีพทรัพยากรบุคคลประเทศไทย และ รองศาสตราจารย์ ดร.มิตรชัย จงเชี่ยวช�ำนาญ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมลงนามความร่วมมือ ทางวิ ช าการ เพื่ อ พั ฒ นามาตรฐานวิ ช าชี พ ด้ า นบริ ห ารงานบุ ค คลขึ้ น

ด้ ว ยความสามารถของบุ ค ลากรในการสนองภารกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ คื อ หั ว ใจที่ จ ะน� ำ ความก้ า วหน้ า มาสู ่ อ งค์ ก ร ดั ง นั้ น ต้ อ งมี ก ารก� ำ หนดมาตรฐานเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจในการ ท�ำงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย จึงร่วม ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อพัฒนามาตรฐานวิชาชีพด้านบริหารงานบุคคล ให้เป็นที่ ยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศ โดยการน�ำจุดเด่นของทั้ง 2 ฝ่ายมาเป็นทุนใน การพัฒนา เช่น ทุนด้านวิชาการและด้านทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทุนการปฏิบัติและเครือข่ายด้านทรัพยากรบุคคล ของสถาบันรับรองคุณวุฒิวิชาชีพทรัพยากร บุคคลประเทศไทย สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย โดยมหาวิทยาลัยร่วมจะเป็น ศูนย์ทดสอบ ประสานงานแลกเปลี่ยน และด�ำเนินกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกัน

กองทัพเรือลงนามร่วม ม.อ.

ใช้วิชาการรักษาผลประโยชน์ชาติทางทะเล พลเรื อ เอก ณะ อารี นิ จ ผู ้ บั ญ ชาการทหารเรื อ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ร่วมลงนามเพื่อประสานความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างกองทัพเรือและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งด้านการเรียน การสอน การวิจัย บริการวิชาการ และท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และกิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้ง สองสถาบัน และประเทศชาติ การลงนามมีขึ้นเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 ณ ส�ำนักผู้บัญชาการทหารเรือ พระราชวังเดิม กรุงเทพมหานคร ขอบข่ายความร่วมมือ จะแบ่งเป็น 7 ด้าน คือ การแลกเปลี่ยน บุคลากรและนักศึกษา การพัฒนาหลักสูตรร่วมกันทั้งหลักสูตรเดิม และสาขาวิชาการสมัยใหม่ กิจกรรมด้านการศึกษาและวิชาการร่วมกัน เช่น การประชุมสัมมนา ท�ำงานวิจัยร่วมกัน ผลิตต�ำราในสาขาต่างๆ การใช้ทรัพยากรทางการศึกษาและเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศ การ ให้บริการวิชาการ การจัดกิจกรรมพิเศษ เช่น ดูงาน การแข่งขันกีฬา เชื่อมสัมพันธ์ และการร่วมมือกันพัฒนาองค์กรคลังสมองทางปัญญา ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล

20 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ – สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

ลงนาม MOU โครงการ “พันธมิตรวิชาการ”

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยรองศาสตราจารย์ ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (สมาคม) โดยนายธาดา พฤฒิธาดา กรรมการผู้จัดการสมาคม ตลาดตราสารหนี้ไทย ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงในโครงการ “พันธมิตรวิชาการ” เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างผลงาน วิจัยซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของ ประเทศ โดยมีศ.ดร.อารี วิบูลย์พงศ์ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ คณบดีคณะ วิทยาการจัดการ และนางสาวอริ ย า ติ ร ณะประกิ จ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย ร่วมลงนาม เป็นพยาน ณ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ กล่าวว่า “มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยหลักของภาคใต้และมี การจัดการเรียนการสอนด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ การมีความร่วมมือระหว่างสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะช่วยให้อาจารย์และ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ข้ า ถึ ง ฐานข้ อ มู ล ของตลาดตราสารหนี้ ไ ทย ซึ่ ง จะมี ป ระโยชน์ ต ่ อ การศึ ก ษาวิ จั ย ของคณาจารย์ แ ละ นักศึกษาอันจะมีประโยชน์ ท�ำให้ตลาดตราสารหนี้ของไทย มีการพัฒนายิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนบุคลากร เพื่อการฝึกอบรมซึ่งจะมีประโยชน์ต่อการพัฒนานักศึกษา และหวั ง ว่ า การลงนามในความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ จ ะช่ ว ย พั ฒ นาตลาดการเงิ น ของไทยให้ มี ค วามก้ า วหน้ า ยิ่ ง ขึ้ น ” นายธาดา ได้ ก ล่ า วเพิ่ ม เติ ม ในส่ ว นของบทบาทของ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยว่า “สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย มี บ ทบาทในการเป็ น ศู น ย์ ข ้ อ มู ล ของตลาดตราสารหนี้ ไ ทย ดั ง นั้ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสององค์ ก ร จะท� ำ ให้ ส ถาบั น การศึ ก ษา สามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากฐานข้ อ มู ล ตลาด ตราสารหนี้ ใ นการศึ ก ษาและผลิ ต งานวิ จั ย ด้ า นตราสาร หนี้ รวมถึ ง การแลกเปลี่ ย นบุ ค ลากร ส� ำ หรั บ การอบรม ในหั ว ข้ อ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ และหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ จ ะเป็ น ส่ ว น หนึ่ ง ในการพั ฒ นาตลาดการเงิ น ของประเทศไทยต่ อ ไป”

21 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

กับมหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น คณะผู ้ แ ทนจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย และบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เข้ า เยี่ ย ม ชม คณะวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย ยา มานาชิ ประเทศญี่ ปุ ่ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ส� ำ คั ญ คื อ การ หารือเพื่อการร่วมมือทางด้าน การศึ ก ษา การแลกเปลี่ ย น นักศึกษาระหว่างสองสถาบัน นอกจากนี้ยังมีแนวคิดที่จะท�ำวิจัยในประเด็นที่นักวิจัยสนใจร่วมกัน โดยคณะผู้แทนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังได้เข้าเยี่ยมชมห้อง ปฏิบัติการทางด้าน Climate Chamber, Actinomycetes และคณะอื่นๆ อีกทั้งมีโอกาสเยี่ยมชม นิทรรศการเกียรติยศ “ห้องโนเบลไพรส์ (Nobel Prize)” ของ ดร.ซาโตชิ โอมูระ ในการเรียนรู้กระบวนการการค้นพบ “lvermectic” และงานวิจัยส�ำคัญอื่นๆ ผลสรุปจากการหารือในครั้งนี้

อธิการบดีของมหาวิทยาลัยยามานาชิ ได้เห็นพ้องต้อง กันกับคณะผู้แทนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการที่ จ ะแลกเปลี่ ย นบุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษารวม ถึ ง การท� ำ วิ จั ย ร่ ว มกั น อย่ า งจริ ง จั ง ต่ อ ไปในอนาคต นอกจากนั้น คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ยั ง เข้ า เยี่ ย ม Chiba University อี ก ด้ ว ย

ม.อ.จับมือร่วมจัดตั้งศูนย์

Phuket Smart City Innovation Park เ มื่ อ วั น ที่ 9 กั น ย า ย น 2 5 5 9 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี ร่วมลงนามข้อตกลงความร่วม มื อ การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ Phuket Smart city Innovation Park โดยมีน างจี ร าวรรณ บุญเพิ่ม ประธานคณะกรรมการบริหาร ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ กล่าวรายงาน และนายจ�ำเริญ ทิ พ ญพงศ์ ธ าดา ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต กล่ า วรายงาน โดยมี ดร.อุ ต ตม สาวนายน รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ไอซี ที ) ปาฐกถาพิ เ ศษเรื่ อ ง “Phuket Smart City & Digital Economy” ณ ห้อง แกรนด์บอลรูม โรงแรมโนโวเทล โภคีธารา พิ ธี ล งนามข้ อ ตกลงความร่ ว ม มื อ การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ Phuket Smart city

22 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

Innovation Park มีส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) มหาวิทยาลัย กรุงเทพ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บริษัท แอดวานช์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานตัวแทนมูลนิธิ ICDL Asia ในประเทศไทย สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต สมาคมโรงแรมไทยภาคใต้ สมาคมส่งเสริม การส่งออกอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย บริษัท ซิลโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ออโตเดสก์ ประเทศไทย และ Innodep Inc. ร่วมลงนามข้อตกลงความร่วมมือครั้งนี้


ข่าวเด่น

ม.อ.ห้ามเล่นเกมโปเกมอน ในพื้นที่มหาวิทยาลัย

องศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิ ด เผยถึ ง กรณี เ กมออนไลน์ “โปเกมอน โก” ที่ ก� ำ ลั ง เป็ น ที่ นิ ย มกั น ในกลุ ่ ม คน วั ย เรี ย น โดยมี ผู ้ เ ป็ น ห่ ว งว่ า จะกระทบกั บ การเรี ย นของ เยาวชนว่ า หลั ง จากที่ โ ปรแกรมนี้ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ ใ น ประเทศไทย ก็เริ่มเห็นความนิยมที่เพิ่มมากขึ้น และพบเห็น นั ก ศึ ก ษาจั บ กลุ ่ ม กั น เล่ น ในบางพื้ น ที่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย รวมทั้ ง มี ผู ้ เ ล่ น เกมจากภายนอกเข้ า มาในพื้ น ที่ ข อง มหาวิ ท ยาลั ย มากขึ้ น ท� ำ ให้ ก ระทบกั บ การท� ำ งานและ การรั ก ษาความปลอดภั ย ซึ่ ง บางพื้ น ที่ เ ป็ น การกี ด ขวาง การท�ำงานของเจ้าหน้าที่ เช่น ในพื้นที่โรงพยาบาล เป็นต้น นอกจากนั้น อาจกระทบกับ การเรียนของนักศึกษาในช่วงเวลาเปิดเทอมและการท�ำงานของบุคลากร มหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ได้ มี ป ระกาศไม่ อ นุ ญ าตให้ บุคคลภายนอกเข้ามาเล่นเกมออนไลน์ “โปเกมอน โก” ภายในพื้นที่และอาคารต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ห้าม นั ก ศึ ก ษาเล่ น เกมดั ง กล่ า วในเวลาเรี ย น และ ห้ า ม บุคลากรเล่นเกมนี้ในเวลาท�ำงาน ทั้ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย มี น โยบายที่ จ ะเพิ่ ม การให้ ความรู้แก่นักศึกษาและเยาวชน เกี่ยวกับเรื่องเกมส์ ออนไลน์ เนื่องจากในระยะต่อไป แม้ “โปเกมอน โก” จะหมดความนิ ย มลงแต่ จ ะมี เ กมส์ อ่ื น เข้ า มาแทนที่ ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารระมั ด ระวั ง หรื อ อาจห้ า มเล่ น เกมส์ ดังกล่าวในบางพื้นที่ ด้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยองค์ ก รสั ม พั น ธ์ แ ละสารสนเทศ กล่ า วว่ า เกมมีทั้งข้อ ดีข้อ เสีย โดยข้อ ดีคือ สามารถ เป็ น เครื่ อ งมื อ การตลาดที่ ดี ในการส่ ง เสริ ม กิ จ การ ทางธุรกิจ เป็นการสร้างจุดสนใจเพื่อน�ำมาสู่การรู้จัก และใช้บริการ หรือสามารถน�ำไปประกอบในการเดิน ออกก�ำลังกาย แต่ต้องระวังการพะวงกับการดูโทรศัพท์ เวลาเดินอาจเกิดอุบัติเหตุได้

แต่ ป ั ญ หาคื อ แม้ จ ะเป็ น โปรแกรมที่ โ หลดฟรี แต่มีการแฝงด้วยการขายสินค้า หรือที่เคยได้ยินว่า เกมส์บางเกมส์ที่เราเล่นจะต้องมีการจ่ายเงินเพื่อให้ สามารถเอาชนะผู้อื่นได้ ซึ่งประเภทนี้จะมีมากขึ้นใน อนาคต หากเล่ น โดยไม่ รู ้ เ ท่ า ทั น จะท� ำ ให้ เ สี ย ทรั พ ย์ โดยไม่จ�ำเป็น นอกจากนั้น ความเป็นสื่อโซเชียลอาจ จะท�ำให้เกมส์กลายเป็นเครื่องมือในการล่อลวงบุคคล ให้เข้าไปในพื้นที่อันตราย เพื่อการก่ออาชญากรรม

23 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

ม.อ. รับรางวัลดีเด่น

ความเป็นเลิศด้านการเบิกจ่าย ปี 2559

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและ การเงิน และ นางนิษณา เหมกุล ผู้อ�ำนวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น ตั ว แทนอธิ ก ารบดี เข้ า รั บ มอบรางวั ล องค์ ก รที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห าร จัดการด้านการเงินการคลัง ระดับดีเด่น ในมิติด้านการเบิกจ่าย จาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในพิธีมอบรางวัลองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการบริหาร จัดการด้านการเงินการคลัง ครั้งที่ 3 ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เมื่อวันศุกร์ ที่ 26 สิ ง หาคม 2559 จั ด โดยกรมบั ญ ชี ก ลาง ณ ตึ ก สั น ติ ไ มตรี ท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล

ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีระบบและกลไกในการ ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ป ฎิ บั ติ เ พื่ อ ติ ด ตามเร่ ง รั ด การใช้ จ ่ า ย งบประมาณ มีการสื่อสารอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ให้ หั ว หน้ า หน่ ว ยงานและเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านเห็ น ความส� ำ คั ญ และให้ความร่วมมือในการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ มีการ จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในระดับผู้ปฏิบัติงานอย่างสม�่ำเสมอ และจัดท�ำฐานข้อมูลภายใน ซึ่งรางวัลที่ได้รับเป็นความภาคภูมิ ใจ และขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจของบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการพั ฒ นางาน ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

24 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

ม.อ. ตรัง คว้ารางวัลชนะเลิศโครงการต่อยอดการสร้างพื้นที่ ชุมชนสร้างสรรค์ด้วยพลังเยาวชน ของ miniTCDC เมื่ อ วั น ที่ 11 กรกฎาคม 2559 อาจารย์ โ อปอร์ ชัยสง่าพงษ์ อาจารย์สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง พร้ อ มด้ ว ยนั ก ศึ ก ษาสาขา สถาปั ต ยกรรม ชั้ น ปี ที่ 3 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ได้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมในโครงการต่ อ ยอดการ สร้ า งพื้ น ที่ ชุ ม ชนสร้ า งสรรค์ ด ้ ว ยพลั ง เยาวชน หรื อ LOVE YOUR LOCAL LOVE YOUR CITY 2 2016 ที่ เอ็มโพเรียม ทาวเวอร์ ชั้ น 24 ถนนสุ ขุ ม วิ ท 24 กรุ ง เทพมหานคร โดย ม.อ.ตรั ง ติ ด หนึ่ ง ในสามที ม ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ รั บ เงิ น รางวัลจ�ำนวน 1 แสนบาท เพื่อน�ำมาพัฒนางานในพื้นที่จริง ตามที่ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (ศสบ.) ร่วมมือกับ 15 สถาบันการศึกษาในเครือข่ายของ miniTCDC ได้ด�ำเนิน การโครงการกระจายโอกาสสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบ สู่ภูมิภาค เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลด้านการออกแบบที่ช่วยส่งเสริม

และสนั บ สนุ น การเรี ย นการสอนของนั ก ศึ ก ษาในเครื อ ข่ า ย สถาบันการศึกษาตามภูมิภาค ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรังได้เป็น 1 ใน 15 ทีมที่ได้เข้าร่วมในกิจกรรมนี้ด้วย โดยในปีนี้ ทางศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (ศสบ.) ได้ร่วมมือ กับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัด ท�ำ “โครงการต่อยอดการสร้างพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ด้วยพลัง เยาวชน” ส�ำหรับสถาบันการศึกษาในโครงการกระจายโอกาส สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านการออกแบบสู่ภูมิภาค หรือ miniTCDC เพื่ อ พั ฒ นาแนวคิ ด และศั ก ยภาพของนิ สิ ต และนั ก ศึ ก ษาใน สถาบันของเครือข่ายโครงการ miniTCDC ในเรื่องการพัฒนา พื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ด้วยองค์ความรู้ด้านการออกแบบบริการ (Service Design) โดยผ่านการอบรมบรรยายและสัมมนาเชิง ปฏิ บั ติ ก ารจากวิ ท ยากรและผู ้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น เพื่ อ น� ำ ความรู้ที่ได้มาพัฒนาชุมชนให้เกิดประสิทธิภาพได้จริงต่อไป

25 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


ม.อ.ภาคภูมิ

สถาปัตย์ ม.อ. คว้า 2 รางวัล

โครงการ YICMG 2016 จากประเทศจีน นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ประกอบด้วย นายพีรณัฐ ช่ า งทองเครื อ นางสาวปิ ย ฉั ต ร หมาดสตู ล และ นางสาวสุ นิ ด า รั ต นพั น ธ์ ได้ ร ่ ว มแข่ ง ขั น ออกแบบ โครงการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาน�้ำในพื้นที่ลุ่มน�้ำโขง ระดับเยาวชน ประจ�ำปี 2016 “The Youth Innovation Competition on Lantsang - Mekong Region’s Governance and Development” หรือ YICMG 2016 ที่ มณฑลชิงไห่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 15-21 สิงหาคม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวิทย์ พจนตันติ รองอธิการบดีวิทยาเขตตรัง และ อาจารย์ ตรีชาติ เลาแก้วหนู รองคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ร่วมเดินทางไปในครั้งนี้ด้วย ทั้งนี้ นางสาวสุนิดา รัตนพันธ์ ซึ่งเป็นตัวแทน จากประเทศไทย ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ 1 ประเภท The Best Multinational Team จากผลงาน ชื่ อ ‘Floating water wave power generation device’ และ นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทั้ง 3 คน ยั ง ได้ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ 3 จาก 14 ทีมของเอเชีย จากผลงานชื่อ ‘Cross Cultural of Mekong River Crisis’

26 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

การแข่งขันออกแบบโครงการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา น�้ำในพื้นที่ลุ่มน�้ำโขงระดับเยาวชน หรือ YICMG 2016 เป็น กิจกรรมส�ำหรับเยาวชนในระดับมหาวิทยาลัย โดยต้องการที่ จะทราบวิสัยทัศน์ของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในการแก้ไขปัญหา ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถใน การแข่ ง ขั น ระดั บ โลก ซึ่ ง เป็ น ช่ อ งทางการสื่ อ สารระหว่ า ง วั ฒ นธรรมของแต่ ล ะประเทศในแถบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ โขงและเป็ น กลไกการท�ำงานให้กับผู้ประกอบการต่อไปด้วย โดยนักศึกษา คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตตรัง ได้ร่วมในกิจกรรมดังกล่าวและเข้ารอบไปแข่งขัน ต่อในระดับนานาชาติ จนสามารถคว้ารางวัลในฐานะตัวแทน ประเทศไทยมาได้ในครั้งนี้


Activity

มหกรรมศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 24 9 วัน 9 คืน ม.อ. ปัตตานี ชูประเด็น

“มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชายแดนใต้”

เมื่ อ วั น ที่ 2 กั น ยายน 2559 นายวีรนันท์ เพ็งจันทร์ รองผู้ว่า ราชการจั ง หวั ด ปั ต ตานี เป็ น ประธานเปิ ด งานมหกรรมศิ ล ป วัฒนธรรม ครั้งที่ 24 ณ เวทีกลาง อาคารหอศิ ล ปวั ฒ นธรรมภาคใต้ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ วิ ท ย า เ ข ต ป ั ต ต า นี โ ด ย มี รองศาสตราจารย์ อิ่ ม จิ ต เลิ ศ พงษ์ ส มบั ติ รองอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวต้อนรับ หัวหน้า ส่วนราชการ นักศึกษา และประชาชน กว่า 5,000 คนที่เข้าร่วมงาน รองศาสตราจารย์อิ่มจิต กล่าวถึงการจัดงานว่า การดําเนิน งานด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเป็นภารกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โดยมีสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนาเป็น หน่วยงานหลักในการดําเนินงานด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เสริม สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของไทยมาอย่างต่อ เนื่อง งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรม เป็นการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม อีกกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งดําเนินต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 24 โดยมีกิจกรรมที่ มุ่งเน้นความหลากหลาย เพื่อให้ผู้เข้าเยี่ยมชมงานได้รับทั้งความรู้ และความเพลิดเพลินอย่างเต็มที่ และยังช่วยปลูกฝังให้อนุชนชาวไทย ได้ตระหนักถึงมรดกอันล�้ำค่าของชาติ อันจะนําไปสู่การสืบสานและ ธํารงไว้ซึ่งศิลปะและวัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ยั่งยืนต่อไป ประกอบกับ ในปีน้ีได้จัดขึ้นเพื่อเทิดพระนามและพระราชกรณียกิจของสมเด็จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าส ราชนครินทร์

ดร.พรปวี ณ ์ ศรี ง าม ผู ้ อํ า นวยการสํ า นั ก วั ฒ นธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวถึงการจัดงาน มหกรรมศิลปวัฒนธรรมในครั้งนี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 2 -1 0 กันยายน 2559 เป็ น เวลา 9 วั น 9 คื น ในประเด็ น “มหั ศ จรรย์ ภู มิ ปั ญ ญา ชายแดนใต้ ” โดยมี กิ จ กรรมที่ น ่ า สนใจอาทิ ขบวนมหกรรมศิ ล ป วัฒนธรรม “มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชายแดนใต้” การแสดงพื้นบ้าน การแสดงแฟชั่ น โชว์ ลานสาธิ ต หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า น การประกวด ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง-แดนเซอร์ นิทรรศการทางวัฒนธรรม นิทรรศการ ศิ ล ปกรรม มุ ม ภาพเขี ย น 3 มิ ติ Art 3D PSU นิ ท รรศการและการ ออกร้ า นของส่ ว นราชการ และเอกชนในจั ง หวั ด ปั ต ตานี แ ละมอบ

เงินรางวัลและโล่เกียรติยศ ให้แก่ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม แห่งสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ประจําปี 2559

ายวี ร นั น ท์ เพ็ ง จั น ทร์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ประธานในพิธีเปิดงานมหกรรม ศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 24 กล่าวว่า เป็นที่น่ายินดีที่สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดงานมหกรรม ศิลปวัฒนธรรม “มหัศจรรย์ภูมิปัญญาชายแดนใต้” ต่อเนื่องมา เป็น ปีที่ 24 นับว่าเป็นเวลาอันยาวนาน ซึ่งการจัดงานมหกรรม ศิลปวัฒนธรรมแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นอย่างน่าชื่นชม ของ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และคณะดําเนินงานของ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ซึ่งพยายามช่วยกันดํารง รักษาและสืบสานวัฒนธรรมไทยให้เกิดความเข้มแข็งและเป็นที่ ประจักษ์ชัดของชาวไทย “เชื่อมั่นว่าการรักษาวัฒนธรรมไทยให้ดํา รงอยู่อย่างยั่งยืนต่อไปไม่ใช่ เรื่องยุ่งยาก แต่กลับจะทําให้คนไทย ทุกคนรู้สึกรื่นรมย์ เบิกบาน และชื่น ใจในการกระทําของเราที่จะนํา ไปสู่ความรัก ความหวงแหนในวัฒนธรรมอันเก่าแก่และยิ่งใหญ่ ของชาติไทยเอาไว้โดยไม่มีวันที่ใครจะมาทําลายให้ดับสูญไปได้ และในยุคสมัยของการพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีความเข้ม แข็งและมีดุลยภาพเป็นสังคมคุณภาพ เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ที่ทุกคนและทุกส่วนในสังคมมีความใฝ่รู้และพร้อม ที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ตลอดจนเป็นสังคมแห่งความสมานฉันท์และ เอื้ออาทรต่อ กันนั้น ย่อมมีพื้นฐานสําคัญมาจากการฟื้นฟูสืบสาน และธํารงไว้ซึ่ง เอกลักษณ์ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ดังนั้นคน ไทยทุกคนจะต้องระลึกสํานึกอยู่เสมอว่า การรักษาวัฒนธรรมไทย อันเป็นสมบัติล�้ำค่าของชาติ ก็คือ การรักษาชาตินั่นเอง”

27 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


Activity

ม.อ. ร่วมมือเครือข่ายมหาวิทยาลัยเพื่อ บริการสาธารณะในช่องทีวิดิจิตอล เมื่อวันที่ 25 ก.ค.2559 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้บริหารจากเครือข่าย มหาวิทยาลัยเพื่อบริการสาธารณะ ทั้ง 32 สถาบัน ร่วมกับผู้แทนจาก ทีวีดิจิตอล 5 ช่อง ได้แก่ Bright TV, Nation TV, NEW TV, TRUE4U และ Thai PBS ร่วมลงนามความร่วมมือในการเผยแพร่รายการของ เครือข่ายมหาวิทยาลัยเพื่อบริการสาธารณะในช่องทีวีดิจิตอล ผ่าน “รายการ ม.ทีวี” ทางช่องดิจิตอล ซึ่งเป็นรายการต้นแบบเพื่อส่งเสริม สาระความรู้ ความบันเทิง สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีทั้งสิ้น 11 รายการ โดยมีเนื้อหาเพื่อส่งเสริมการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การเกษตร และสิ่งแวดล้อม เสริมคุณภาพชีวิต ด้วยบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยทุกแห่ง นอกจากจะต้อง ของประชาชน ณ ลานกิจกรรม SIAM SQUARE ONE กรุงเทพมหานคร ให้ความรู้แก่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว ยังมีความจ�ำเป็น ที่ ต ้ อ งเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู ้ ต ่ า งๆ ที่ มี ป ระโยชน์ และเกิ ด ขึ้ น ใน มหาวิทยาลัยไปสู่สังคม ส�ำหรับเนื้อหาสาระทั้ง 11 รายการ จะเหมาะ ส� ำ หรั บ ผู ้ ช มอายุ ตั้ ง แต่ 3 ขวบ ถึ ง 60 ปี ข้ึ น ไป เพื่ อ ให้ ป ระชาชน ทุกช่วงวัยได้รับประโยชน์จากการชมรายการ ผู้สนใจติดตามผังรายการ MORE TV ต่อเนื่องได้ที่ www.cupt-thailand.net หรือ www.curadio.chula.ac.th

ม.อ. ร่วมกับ ม.เทียร์ เยอรมัน ร่วมสัมมนา

การจัดการขยะและน�้ำเสียอย่างยั่งยืน

เมื่อวันที่ 25-29 กรกฎาคม และ 1-5 สิ ง หาคม 2559 คณะการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เที ย ร์ ประเทศเยอรมัน จัดโครงการ Summer School ประจ� ำ ปี 2 5 5 9 ภ า ย ใ ต ้ หั ว ข ้ อ “การจั ด การขยะและน�้ ำ เสี ย อ ย ่ า ง ยั่ ง ยื น ” ณ ค ณ ะ ก า ร จั ด ก า ร สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม เพื่ อ เป็ น การสร้ า งโอกาสในการแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู ้ และ ประสบการณ์ ใ หม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สาขาเทคโนโลยี สิ่ ง แวดล้ อ ม และการจั ด การปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มด้ า นขยะและน�้ ำ เสี ย โดยเป็ น กิ จ กรรมสั ม มนาระหว่ า งอาจารย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและนั ก ศึ ก ษาที่ เข้ า ร่ ว มโครงการ มี ก ารบรรยายเรื่ อ ง “กฎหมายการจั ด การขยะ

28 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

ของอี ยู ” โดย Prof. Dr. Jean-Frank Wagner การบรรยาย เรื่ อ ง “การแยกขยะที่ ต ้ น ทางส� ำ คั ญ อย่ า งไร” โดย Dr. Pattarapond Pimolthai และการสนทนากับผู้เข้าร่วมโครงการ เรื่องความ สนใจและโอกาสการศึ ก ษา และเป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยความ ร่วมมือเพื่อพัฒ นาต่อยอดด้านวิช าการและด้านการวิจัย ระหว่า ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสถาบันจากต่างประเทศอีกด้วย


Activity

เมื่อที่ 18 สิงหาคม 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาส ศตสุข รองอธิการบดีฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธาน เปิดร้านหนังสือมือสองเพื่อสังคม a day Foundation Bookshop สาขา แรกในประเทศไทย ที่ ชั้ น 3 ส� ำ นั ก ทรั พ ยากรการเรี ย นรู ้ คุ ณ หญิ ง หลง อรรถกระวีสุนทร โดยกล่าวว่า โครงการนี้เป็นการให้โอกาสในการเข้าถึง ความรู้ผ่านการอ่านหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการท�ำประโยชน์ต่อ เพื่อนมนุษย์ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระราชบิดา หลังจากนั้น มีการเสวนา “ความเป็นมาของร้านหนังสือ a day Foundation กับ

Social enterprise” โดย อาจารย์เจษฎา โมขกุล รักษาการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ คุณวงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ำกัด ผู้ก่อตั้ง นิตยสาร a day คุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย ผู้สื่อข่าว ข่าว 3 มิติ และ คุณนิโรสตีน่า นิสะนิ สถาปนิกผู้ออกแบบร้าน คุณวงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ เปิดเผยว่า วัตถุประสงค์หลักของ a day Foundation Bookshop คือ ความต้องการสร้างบรรยากาศรัก การอ่านให้กับเยาวชน โดยการน�ำหนังสือที่ได้จากการรับบริจาคจาก ทั่วโลกมาจ�ำหน่ายที่ร้านในราคาพิเศษ โดยจะน�ำรายได้จากจ�ำหน่าย หนังสือดังกล่าวในแต่ละเดือน ไปมอบเป็นทุนการศึกษาแก่นักเรียน และนั ก ศึ ก ษาที่ ข าดแคลนในพื้ น ที่ โครงการนี้ เ ป็ น ที่ ส นใจของหลาย มหาวิทยาลัย แต่ที่เปิดที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นสาขาแรก เนื่องจากตนเป็นนักศึกษาเก่า คณะมนุษยศาสตร์แ ละสังคมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จึ ง อยากเปิ ด สาขา ที่มหาวิทยาลัยนี้เป็นแห่งแรก

งานสัปดาห์อาเซียน ครั้งที่ 3 เน้นเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน

เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดงาน สัปดาห์อาเซียน ครั้งที่ 3 (The 3rd ASEAN Week) ณ ส�ำนักทรัพยากร การเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา เป็นประธานเปิดงาน และนายกษิต ภิรมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ให้เกียรติปาฐกถาหัวข้อ “บัณฑิตไทย กับการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ในอาเซียน” รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ กล่ า วว่ า การเคลื่ อ นย้ า ย แรงงานในอาเซี ย น มี ค วามส� ำ คั ญ มาก เพราะการรวมของอาเซี ย น ท�ำให้เกิดอิสระมากขึ้นในการเคลื่อนย้ายแรงงาน มหาวิทยาลัยต้องให้ ความส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งนี้ ทั้ง การสร้า งบัณ ฑิต ที่จะเป็น แรงงานชั้นสมอง ที่สามารถท�ำงานในต่างประเทศได้โดยมีทักษะเรื่องภาษา ความคิด

ในการท�ำงานต่างประเทศ สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ด้านนายกษิต ภิรมย์ กล่าวในการให้สัมภาษณ์ว่า ประชาชน มหาวิ ท ยาลั ย และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ เปลี่ ย น ตามบริ บ ทของสั ง คมอาเซี ย นและสั ง คมโลกที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป โดย มหาวิ ท ยาลั ย จะต้ อ งมี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ กั บ นั ก ศึ ก ษา และให้ ทุ ก คน ตระหนักว่า ต่อไปนี้จะต้องเข้าไปแข่งขันในตลาดอาเซียนใน10 ประเทศ ประชากร 650 ล้านคน ดังนั้น บุคคลต้องเตรียมตัวเองและมหาวิทยาลัย ต้องเตรียมบุคลากรไว้ส�ำหรับอนาคต ส�ำหรับแนวโน้มการเคลื่อนย้าย แรงงานนั้น คนไทยเรามีความเก่งหลายเรื่อง เช่น เรื่องอาหารฮาลาล วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การท่องเที่ยว การจัดการ เราเป็นศูนย์กลาง ด้านการแพทย์ซึ่งสามารถส่งบุคลากรไปท�ำงานหรือไปลงทุนในประเทศ อาเซียนได้ แต่ในส่วนที่ยังสู้เพื่อนบ้านไม่ได้เราก็ต้องปรับปรุง ซึ่งจะท�ำให้ เกิดการหมุนเวียนมากขึ้น จากการไร้พรมแดน

29 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


Activity

ม.อ.วิชาการ 2559 โชว์นวัตกรรมเพื่อชุมชน เ มื่ อ วั น ที่ 1 7 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 9 ฯพณฯ ชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี แ ล ะ ที่ ป รึ ก ษ า ส ภ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานเปิ ด งาน ม.อ.วิชาการ ประจ�ำปี 2559 ภายใต้แนวคิด “2559 ม.อ.วิชาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม ชี้ น� ำ สั ง คม สู ่ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ” ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เพื่ อ ให้ ส าธารณชนได้ เ รี ย นรู ้ ผลงานวิ ช าการที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชนภาคใต้ โดยงานดั ง กล่ า ว แบ่งออกเป็นหลายกิจกรรม เช่น การจัดงานเกษตรภาคใต้ งานสัปดาห์ วิ ท ยาศาสตร์ แ ห่ ง ชาติ งานนิ ท รรศการตลาดนั ด หลั ก สู ต รอุ ด มศึ ก ษา งานวิ ศ วฯวิ ช าการ นิ ท รรศการผลงานวิ จั ย และสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ผลงาน ทางวิชาการเพื่อชุมชนและท้องถิ่น เป็นต้น

นอกจากนั้น ในช่วงวันใกล้เคียงกัน ได้มีการจัดงาน ม.อ.วิชาการ ขึ้นในอีก 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตปัตตานี เปิดงานในวันที่ 18 สิงหาคม โดยนายสุริยะ อมรโรจน์วรวุฒิ ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี มีกิจกรรม เด่นคือการบรรยายพิเศษ “ประชาคมยุโรปและประชาคมอาเซียน” โดยเอกอัครราชทูตเบลเยี่ยมประจ�ำประเทศไทย มีการแสดงผลงาน คณาจารย์ นักศึกษา การแข่งขัน ประกวด สาธิต และการแสดงศิลปะและ วัฒนธรรม และวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เปิดงานในวันที่ 18 สิงหาคม 2559 โดย ฯพณฯ ชวน หลีกภัย มีกิจกรรมคาราวานวิทยาศาสตร์ การอบรม การ บรรยายเพื่อการศึกษาต่อ การประชุมทางวิชาการ การประกวดแข่งขัน

ส่ ว นอี ก 2 วิ ท ยาเขต คื อ วิ ท ยาเขตตรั ง จะจั ด งาน ม.อ.วิ ช าการในวั น ที่ 15-16 พฤศจิ ก ายน และ วิ ท ยาเขต ภูเก็ตจะจัดงาน ม.อ.วิชาการในวันที่ 27-28 มกราคม 2560

งานนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ปีที่ 20 หลักสูตร ตอบข้อซักถามข้อมูลการศึกษา การบรรยายในหัวข้อ “กรอบ เวลาและกระบวนการจั ด สอบในการคั ด เลื อ กบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ใน สถาบันอุดมศึกษา ปี 2560” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงษ์อินทร์ รั ก อริ ย ะธรรม อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย เนชั่ น และประธานคณะ อนุกรรมการด�ำเนินการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ต่อในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบกลางการรับ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา หรื อ แอดมิ ช ชั่ น กลาง กิ จ กรรม ประชาสัมพันธ์ และการแสดงบนเวที รับของที่ระลึก จากสถาบั น ต่ า งๆ กิ จ กรรมดั ง กล่ า วได้ รั บ ความ สนใจจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ครูแนะแนวจากโรงเรียน ใน 14 จังหวัดภาคใต้ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ทั้ง 2 วัน กว่าหมื่นคน เมื่อวันที่ วันที่ 17 -18 สิงหาคม 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นเจ้าภาพจัดตลาดนัดหลักสูตร ครั้งที่ 20 จับมือสถาบันอุดมศึกษา ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ กว่า 100 สถาบัน แนะน�ำหลัก สูต รการเรียน เป็นทางเลือกให้เยาวชนในภาคใต้ ณ คอนเวนชั่นฮอลล์ ศูนย์ประชุม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ ซึ่งได้รับความสนใจและร่วมมือจากสถาบันอุดมศึกษาจาก ทุกภาคของประเทศ เข้าร่วมจัดคูหาประชาสัมพันธ์ จ�ำนวน 63 สถาบัน สถาบันต่างประเทศจ�ำนวน 9 สถาบัน คณะต่างๆ ใน 5 วิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 21 คณะ และสถาบันสอนเสริม 12 สถาบัน รวม 160 คูหา กิ จ กรรมภายในงาน ประกอบด้ ว ยการจั ด นิ ท รรศการแนะน� ำ

30 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


Activity

งานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 24

เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 ฯพณฯ ชวน หลีกภัย อดีตนายก รัฐมนตรี และที่ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธาน เปิ ด “งานเกษตรภาคใต้ ครั้ ง ที่ 24” ณ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นายก เทศมนตรีเทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลเมืองคอหงส์ ผู้บริหาร คณะ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย และผู้มีเกียรติอื่นๆ เข้าร่วมงาน

ทั้ ง นี้ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานอื่นๆ ในภาคใต้ จัด งานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 24 ขึ้นในระหว่างวันที่ 12-21สิงหาคม 2559 ภายใต้หัวข้องาน “เกษตรเพื่ อ ชาวใต้ ” เพื่อเผยแพร่ความก้าวหน้า ทางวิชาการ ด้านเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ ผลงาน ทางวิชาการทางด้านเทคโนโลยีด้านการผลิตพืช การประมง การเลี้ยง สั ต ว์ อุ ต สาหกรรมเกษตร และการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ การ ด� ำ เนิ น งานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใ น 14 จั ง หวั ด ภาคใต้ กิจกรรมที่สืบสานวัฒนธรรมไทยทางด้านภูมิปัญญาเกษตร กิจกรรม และบทบาทขององค์กรเกษตร ตลอดจนจัดตลาดสินค้าผลผลิตทาง การเกษตรของหน่วยงานราชการและเอกชน

ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย กล่ า วเปิ ด งาน โดยได้ พู ด ถึ ง ปัญหาของพืชหลักภาคใต้ เช่น ยางพาราที่มีการปลูกมาก ขึ้นในภาคอื่นๆ และหลายประเทศในเอเชีย ท�ำให้มีผลผลิตมาก และราคาตก ส่งผลมาถึงเยาวชนที่บุตรหลานของเกษตรกร และผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวข้องที่อยู่ ในวัยศึกษาเล่าเรียน โดย ได้ชื่นชมนักวิชาการของมหาวิทยาลัยที่ได้น�ำเทคโนโลยี และ ความรู้ความสามารถทางวิชาการ มาพัฒนาด้านการเกษตร จนในปัจจุบันมีความก้าวหน้ามากขึ้น ท�ำให้เกษตรกรชาวภาค ใต้ ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการท�ำเกษตรกรรมให้ทันสมัย มีการเพาะปลูกพืชชนิดใหม่ๆ มากขึ้น ไม่ยึดติดรูปแบบเดิมๆ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเกษตรกรในอนาคต

งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 เมื่อวันที่ 17 - 19 สิงหาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้จัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 ณ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อเป็นการส่งเสริมการ เรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์นอกสถานที่ภายใต้หัวข้องานในปีนี้ คือ “จุดประกายความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์ เสริมสร้างชาติ ด้วยเทคโนโลยี สู่วิถีแห่งนวัตกรรม” โดยในปีนี้มีกิจกรรมแบ่งเป็น 6 ประเภท คือ กิจกรรมเทิดพระเกียรติฯ นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ และการทดลองสนุ ก ๆ ภายใต้ หั ว ข้ อ เรื่ อ ง “วิ ท ยาศาสตร์ สู ่ วิ ถี นวัตกรรม” และนิทรรศการจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนภายนอก กิจกรรมการแข่งขัน/การประกวดทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อคัดเลือก ตั ว แทนระดั บ ภู มิ ภ าค กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น การประกวดระดั บ มหา วิ ท ยาลั ย ฯ การบริ ก ารทดสอบสมรรถภาพทางกายและอี ก หลาย กิ จ กรรมที่ เ สริ ม สร้ า งทั ก ษะทางวิ ท ยาศาสตร์ โดยตลอดทั้ ง 3 วั น มีนักเรียนจากพื้นที่ภาคใต้กว่า 20,000 คนเข้าร่วมงาน

โดยกิ จ กรรมดี ๆ อย่ า งนี้ จ ะมี ขึ้ น ทุ ก ปี ใ นเดื อ นสิ ง หาคม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลได้ที่ www.psu.ac.th

31 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


แนะน�ำหลักสูตร

แนะน�ำหลักสูตร คณะพยาบาลศาสตร์ (วิทยาเขตหาดใหญ่) Faculty of Nursing คณะคณะพยาบาลศาสตร์ เปิ ด สอนใน 3 ระดั บ ได้ แ ก่ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก หลักสูตรคณะพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตร ทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปิดสอน 1 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร: ประมาณ 50,000 บาท/ปี 2. ระดับปริญญาโท เปิดสอน 4 หลักสูตร 2.1 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) ภาคปกติ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาการ พยาบาลผู้ใหญ่ สาขาการพยาบาลเด็ก สาขาการ พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต และสาขาการ ผดุงครรภ์ 2.2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร: - หลักสูตรภาคปกติ 120,000 บาท - หลักสูตรภาคพิเศษ 175,000 บาท 2.3 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตร นานาชาติ) ชื่อย่อ M.N.S. ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร: - หลักสูตรภาคปกติ 140,000 บาท (ส�ำหรับนักศึกษาไทย) - หลักสูตรภาคพิเศษ 320,000 บาท (ส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ) 2.4 หลั ก สู ต รพยาบาลศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (พย.ม.) สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 3. ระดับปริญญาเอก เปิดสอน 1 หลักสูตร 3.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการพยาบาล (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2554 ชื่อย่อ Ph.D. (Nursing) ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา - นักศึกษาไทย กรณีได้รับทุน 85,000 บาท /ภาคการศึกษา

32 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559

- นักศึกษาไทย กรณีไม่ได้รับทุน 50,000 บาท /ภาคการศึกษา - นักศึกษาต่างชาติ 125,000 บาท/ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7428 6451, 0 7428 6551 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage http:// www.nur.psu.ac.th

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (วิทยาเขตภูเก็ต) Faculty of Technology and Environment คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เปิดสอนใน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ระดับปริญญาตรี ปิดสอน 1 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 5 สาขาวิชา ได้แก่ 1.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) 1.2 สาขาวิศวกรรมซอฟแวร์ (Software Engineering) 1.3 สาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business) 1.4 สาขาวิชาภูมิสารสนเทศสิ่งแวดล้อม (Environmental Geoinformatics) 1.5 สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Technology and Management) ระดับปริญญาโท เปิดสอน 1 หลักสูตร 3 สาขาวิชา ได้แก่ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) มี 3 สาขา วิชา ได้แก่ 1.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม (Technology and Environmental Management)


แนะน�ำหลักสูตร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (วิทยาเขตตรัง) Faculty of Architecture

1.2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) (Environmental Management Technology (International Program) 1.3 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ระดับปริญญาเอก ปิดสอน 1 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาเทคโนโลยี ก าร จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) (Environmental Management Technology(International Program) ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ปริญญาตรี นักศึกษาไทย เฉลี่ย 23,000 บาท /ภาคการศึกษา นักศึกษาต่างชาติ เฉลี่ย 23,000 บาท /ภาคการศึกษา ปริญญาโท นักศึกษาไทย เฉลี่ย 32,000 บาท /ภาคการศึกษา นักศึกษาต่างชาติ เฉลี่ย 64,000 บาท /ภาคการศึกษา หลักสูตรนานาชาติ นักศึกษาไทย เฉลี่ย 40,000 บาท /ภาคการศึกษา นักศึกษาต่างชาติ เฉลี่ย 80,000 บาท /ภาคการศึกษา ปริญญาเอก นักศึกษาไทย เฉลี่ย 40,000 บาท /ภาคการศึกษา นักศึกษาต่างชาติ เฉลี่ย 80,000 บาท /ภาคการศึกษา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ดังนี้ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ชื่อปริญญา สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปัตยกรรม) มุ่งผลิตให้มีองค์ความรู้ และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เกี่ ย วกั บ สถาปั ต ยกรรมเขตร้ อ นชื้ น สถาปั ต ยกรรมพื้ น ถิ่ น สถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสถาปัตยกรรม ชุมชน เพื่อสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่ยั่งยืนได้อย่างเหมาะสม ให้ มี ค วามรู ้ ที่ ทั น สมั ย ทั้ ง ในด้ า นวิ ช าการและเทคโนโลยี เ พื่ อ ประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ การท� ำ งานและการประกอบวิ ช าชี พ ทั้ ง ใน ปัจจุบันและอนาคต ให้มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education, TQF:HEd) เกณฑ์ มาตรฐานการประกอบวิชาชีพด้านสถาปัตยกรรมควบคุมของ สภาสถาปนิก และเกณฑ์การประกอบวิชาชีพของสภาสถาปนิก อาเซียน ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา หลักสูตร 5 ปี ค่าธรรมเนียมการศึกษา เฉลี่ย 30,000 บาท /ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7520 1712 โทรสาร 0 7520 1709 Homepage http://www.trang.psu.ac.th http://www.arch.trang.psu.ac.th

ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7627 6106 โทรสาร 0 7627 6102 E-mail lakana.w@phuket.psu.ac.th Homepage http:// www.te.psu.ac.th Facebook Faculty of Technology and Environment PSU, Phuket Campus

33 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


บริการวิชาการ

ยางปูพื้นยางพารา พัฒนาโดยองค์ความรู้ ม.อ. ส�ำหรับโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา ที่ชุมนุมสหกรณ์ กองทุนสวนยางสตูล จ�ำกัด อ�ำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล เป็นความ ส�ำเร็จอีกก้าวของกลุ่มเกษตรกรฯ ที่รวมตัวกันแก้ไขสถานการณ์ ยางพาราตกต�่ำ โดยหันมาสร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี จากสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จนสามารถผลิตแผ่นยาง ปูพื้นลานกีฬาสนามฟุตซอล และมหาวิทยาลัยน�ำร่องใช้ผลิตภัณฑ์ ดั ง กล่ า วปู พื้ น ลานกี ฬ าเอนกประสงค์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง 5 วิทยาเขต และโรงเรียนที่อยู่ในจังหวัดซึ่งเป็นที่ตั้งของวิทยาเขต อี ก 5 โรงเรี ย น และด� ำ เนิ น การจนได้ ม าตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุตสาหกรรมในครั้งนี้ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ออกใบ อนุญาต มอก.2377-2551 วันที่ 12 กันยายน 2559 ให้การรับรอง “ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ผ่ น ยางปู พื้ น ยางพารา(สนามฟุ ต ซอล)” ของ ชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จ�ำกัด ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์จาก ยางพารา ที่สถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา ร่วมกับ ภาคีเครือข่าย คือ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จ�ำกัด ให้ ก ารส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การสร้ า งต้ น แบบการด� ำ เนิ น งาน โดยมอบให้ นายเฉลิมเกียรติ ช่วยสังข์ เป็นผู้พัฒนากระบวนการ และเรียนรู้ขั้นตอนโดยใช้เวลากว่า 1 ปี ทั้งนี้จะท�ำให้ผลิตภัณฑ์ จากยางพาราดังกล่าว สามารถเข้าสู่กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐได้ เนื่องจากได้มีการก�ำหนดให้ผลิตภัณฑ์ยางพาราที่จะ เข้าสู่การจัดซื้อจัดจ้าง ต้องได้รับการรับรอง มอก. องศาสตราจารย์อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา กล่าว ว่า ผลิตภัณฑ์แผ่นยางปูพื้นยางพารา สร้างขึ้นเพื่อเป็นต้น แบบและตั ว ขั บ เคลื่ อ นให้ เ ห็ น ว่ า ยางพาราสามารถน� ำ ไป เป็ น ส่ ว นประกอบในการแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ห ลาย รูปแบบ เพื่อผู้ประกอบการ กลุ่มสหกรณ์หรือเอกชน จะ ได้ น� ำ ไปผลิ ต ต่ อ ในเชิ ง พาณิ ชย์ เป็ น การสนั บ สนุ น การใช้ วัตถุดิบและแรงงานในพื้นที่ เพื่อสร้างรายได้ ให้คนในพื้นที่ นอกจากนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัย น�ำองค์ ความรู ้ ที่ ส ามารถท� ำ ให้ เ กษตรกรสามารถน� ำ ไปพลิ ก ผั น ตนเองจากภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเกษตรอุตสาหกรรม สร้ า งรู ป แบบของเกษตรอุ ต สาหกรรมให้ ค รบวงจร

34 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559


กิจกรรมที่น่าสนใจ

เชิญเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

The 5th PSU Education Conference

ภายใต้หัวข้อ “Instructional Design for Autonomous Learners”

วันที่ 19– 20 ธันวาคม 2559 การเรียนรู้ในปัจจุบันและอนาคต จะไม่เพียงแค่การรับความรู้ จากผู้สอนแต่เพียงอย่างเดียว แต่จะต้องมีการวางแผนออกแบบ วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองอีกด้วย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึง จะจัด งานประชุมวิชาการ The 5th PSU Education Conference ภายใต้หัวข้อ “Instructional Design for Autonomous Learners” ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เพื่อการ จัดการเรียนรู้ที่มาจากงานวิจัย หรือกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อการเรียนการสอน และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมซึ่งประกอบ ด้วยคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และจากสถาบัน อื่นทั่วประเทศ จ�ำนวนประมาณ 300 คน สามารถน�ำความรู้ไป ใช้ ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น โดยใน การประชุ ม จะมี ป าฐกถาพิ เศษ การอภิ ป รายจากผู้ ทรงคุณวุฒิ ทั้ ง จากภายในและต่ า งประเทศ การแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น การน�ำเสนอผลงานวิจัย แบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์

Keynote Speakers ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ Education for Autonomous Learners ดร.มีชัย วีระไวทยะ นายกสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน บรรยายพิเศษ เรื่อง An Evidenced-Based Framework - How can we engage students to develop generic competencies? Assoc. Prof. Dr. Chan Cecilia Ka Yuk Associate Professor Centre for the Enhancement of Teaching and Learning The University of Hong Kong

อภิปราย เรื่อง INSTRUCTIONAL DESIGN FOR ENTREPRENEUR

คุณภัทราวดี มีชูธน

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจ�ำปี 2557 และผู้ก่อตั้งโรงเรียนภัทราวดี หัวหิน

อาจารย์ณรงค์เวทย์ วจนพานิช ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริการโครงการ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน)

รศ.วิทวัส รุ่งเรืองผล

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

WORKSHOPS

Workshop 1: Game Based Learning โดย รศ.ยืน ภู่วรวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Workshop 2: Mobile Learning โดย ดร.วรสรวง ดวงจินดา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Workshop 3: Simulation Based Learning โดย ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Workshop 4: Creativity Based Learning โดย คุณภัทราวดี มีชูธน ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงประจ�ำปี 2557 และผู้ก่อตั้งโรงเรียนภัทราวดี หัวหิน Workshop 5: Team Based Learning โดย รศ.นพ.อานุภาพ เลขะกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Workshop 6: To assess or not to assess – Student’s Generic Competencies โดย Assoc. Prof. Dr.Chan Cecilia Ka Yuk Associate Professor Centre for the Enhancement of Teaching and Learning The University of Hong Kong ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.psued.org

35 ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2559



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.