เริ่มบางส่วนแล้ว.... าพสถานที่และเส้นทางในมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ สามารถเข้าชมผ่าน Google Street View ได้ แ ล้ ว โดยเริ่ ม บางส่ ว นที่ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ และก�ำลังด�ำเนินการถ่ายท�ำต่อในวิทยาเขตอื่นๆ เพื่อ อ� ำ นวยความสะดวกเรื่ อ งเส้ น ทางและโชว์ ภู มิ ทั ศ น์ ใ น วิทยาเขตให้ได้ชมกันทั่วโลก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองอธิการบดีฝ่าย องค์กรสัมพันธ์และสารสนเทศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ประสานงานกับ บริ ษั ท กู เ กิ้ ล (ประเทศไทย) ซึ่ ง เป็ น สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและอิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู ้ ใ ช้ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทั้ ง ใน ประเทศไทยและต่างประเทศสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง เข้าบันทึก ภาพภายในวิ ท ยาเขตหาดใหญ่ และก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การใน วิทยาเขตอื่นๆ ต่อไป เพื่อการจัดท�ำ Google Street View ซึ่งเป็น เทคโนโลยี ที่ มี บ ทบาทส� ำ หรั บ ที่ Google Maps ให้ มุ ม มอง ภาพแบบจากต�ำแหน่งต่างๆ ตามถนนหลายแห่งบนโลก ท�ำให้
ผู ้ ใ ช้ ส ามารถเห็ น ภาพเสมื อ นจริ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ได้ จ ากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดยมี ดร.สุมนา ลาภาโรจน์กิจ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ และทีมงานประกอบด้วย นางสาวศิริประภา เรณุมาศ นางสาว จุฑาภรณ์ เยาวนานนท์ ให้การต้อนรับและดูแลควบคุมการ เข้ า บั น ทึ ก ภาพ ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในนโยบายการประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ต่ อ สาธารณชนทั่ ว โลก และ อ� ำ นวยความสะดวกในการค้ น หาสถานที่ เ พื่ อ การเดิ น ทาง โดยใช้แผนที่ Google Maps
จนถึ ง วั น นี้ ผู ้ ส นใจสามารถเข้ า ดู ภ าพภายในจุ ด ต่ า งๆ ของวิทยาเขตหาดใหญ่ผ่าน Google Street View เช่น ถนน หน้ามหาวิทยาลัย ลานพระราชานุสาวรีย์ อ่างน�้ำ วงเวียนหน้า คณะทันตแพทยศาสตร์ หน้าศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคารศูนย์ กีฬาและนันทนาการ ภายในตึกฟักทอง ภายในศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ หน้าพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ โรงช้าง และ คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น และก�ำลังด�ำเนินการ ในส่วนเส้นทางอื่นรวมทั้งอีก 4 วิทยาเขต คือ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และ ตรัง
2 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดย มุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมาก ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ� ำ ภารกิจของสถาบัน
ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
สารบัญ 2 มอง ม.อ.ผ่าน Google Street View
ข่าวเด่น 15 รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล บุคคลในภาพแห่งความจงรักภักดี วันครองราชย์ครบ 70 ปี 16 นายกฯ ชื่นชม ม.อ. เจ้าภาพจัดและร่วมแข่งขันการเขียนโปรแกรม ระดับโลก 18 ม.อ.ภูเก็ต วาง 4 ยุทธศาสตร์ สู่วิทยาเขตนานาชาติมาตรฐานสากล
การศึกษา 4 ม.อ.จัดครัวลูกพระบิดา พร้อมทุนท�ำงานแก่ น.ศ.ที่ได้รับผลกระทบ ราคายาง 5 ความคืบหน้าของม.อ.ทั้ง 5 วิทยาเขต ระดมกิจกรรมช่วย น.ศ.ที่ได้รับผลกระทบราคายาง 6 บัณฑิตวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ม.อ.รับงานจากรัฐบาล ขับเคลื่อน ภูเก็ตสู่สมาร์ทซิตี้
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม 7 โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ สปาฮาลาล นักวิชาการ ม.อ.ปัตตานีวิจัยปลูกเมล่อนด้วยวัสดุท้องถิ่น 8 แนะเกษตรกรปรับวิถีการปลูกพืชรับมือกับอากาศแปรปรวน
ความภาคภูมิใจ 9 ม.อ. ติดมหาวิทยาลัยคุณภาพเอเชียปีนี้ 2559 10 ตึกฟักทอง และ ตึกสตางค์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับ รางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรม ปี 59 11 คณะวิทยาศาสตร์ คว้า 2 รางวัลเหรียญเงินจากผลงาน Application 12 ตลาดเกษตร ม.อ. รับรางวัลองค์กรปลอดโฟม 100% ปี 2559 13 นักศึกษาและบุคลากร ม.อ. รับรางวัลสหกิจดีเด่น ปี 59 14 นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ชนะเลิศการแข่งขันภาษาจีนระดับ ประเทศ 24 “อนุรักษ์ มากมี” นักศึกษาพิการคณะศิลปศาสตร์ รับรางวัล พระราชทาน ปี 59 25 นักเรียนสาธิต ม.อ.ปัตตานี รับเหรียญทองการแข่งขันชีววิทยา โอลิมปิก ระดับชาติ
ความร่วมมือสู่การพัฒนา 19 อุทยานวิทยาศาสตร์ ม.อ. ลงนามร่วมมือ ส.พระจอมเกล้าลาดกระบัง 20 ม.อ. ร่วมกับ 3 องค์กร ลงนามความร่วมมือพัฒนายางพารารอบด้าน สร้างขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ 21 ม.อ. ลงนามความร่วมมือ ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 22 ม.อ.ร่วมมือวิชาการกองทัพเรือ สร้างความมั่นคงทรัพยากรทางทะเล 23 ม.อ.ปัตตานี รับทุนวิจัยด้านยางเพื่อวิจัยและพัฒนาการใช้ยางธรรมชาติ เคลือบผิวเพื่อป้องกันการกัดกร่อนบนผิววัสดุ
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ 26 นิติศาสตร์ช่วยชาวบ้านกรณีบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียแตก 27 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์น�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ถ่ายทอดสู่ นักเรียนผ่านกิจกรรมจิตอาสา
Activity 28 ม.อ. เรียนรู้โครงการพัฒนาของมูลนิธิรากแก้ว ก่อนน�ำนักศึกษาปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชน 29 นักประชาสัมพันธ์ ม.อ. เยือน USM มาเลเซีย 29 ม.อ.ร่วมใจ ส่งเสริม 5 ส. ส�ำนึกรัก ส�ำนักงานอธิการบดี 30 วิศวะเครื่องกล ม.อ. เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการ ME – NETT 2016 31 สื่อมวลชนส่วนกลาง-ท้องถิ่น เยี่ยมชมภารกิจ ม.อ.ภูเก็ต 34 ม.อ.เปิดศูนย์ฝึกผ่าตัดอาจารย์ใหญ่ 32
แนะน�ำหลักสูตร
3 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
การศึกษา
ม.อ.จัดครัวลูกพระบิดา พร้อมทุนท�ำงานแก่
น.ศ.ที่ได้รับผลกระทบราคายาง
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ห่ ว งใย นักศึกษาผู้ ได้รับผลกระทบจากยางพารา มอบทุ น การศึ ก ษาแบบให้ เ ปล่ า และทุ น ท� ำ งาน แลกเปลี่ยน พร้อมทั้งจัดโครงการครัวลูกพระบิดา เรี ย นรู ้ วิ ถี พ อเพี ย ง ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ย และพั ฒ นา คุณภาพชีวิตนักศึกษา รวมถึงส่งเสริมกระบวนการ เรี ย นรู ้ ข องนั ก ศึ ก ษา เพื่ อ จะได้ ส ามารถพึ่ ง ตนเอง และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ต่อไป ผ.ศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ห่วงใยนักศึกษา ที่ผู้ปกครองได้รับ ผลกระทบจากราคายางพาราตกต�่ำ จัดกิจกรรม “ลูกพระบิดา จิ ต อาสา ตอน ครั ว ลู ก พระบิ ด า เรี ย นรู ้ วิ ถี พ อเพี ย ง” ขึ้ น เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และ ลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจ�ำวัน กิจกรรมประกอบด้วย 1. กิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในพื้นที่หอพักนักศึกษา เช่น ปูอิฐบล็อกบริเวณส�ำนักงานหอพักนักศึกษา 2. กิ จ กรรมพั ฒ นาแหล่ ง เรี ย นรู ้ วิ ถี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในพื้ น ที่ ห อพั ก นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด โอกาสให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมที่จะท�ำ เช่ น การปลู ก ผั ก เพื่ อ น� ำ ไปประกอบอาหารรั บ ประทานเอง หรือจ�ำหน่าย 3. กิจกรรมครัวลูกพระบิดา เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ นักศึกษาเข้ามาท�ำอาหารเพื่อรับประทานร่วมกันระหว่างท�ำ กิจกรรม และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจ�ำวัน ลดภาระ ของผู้ปกครอง
ทั้งนี้ ทีมงานกองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้จัดเตรียม อุปกรณ์ ครัว จาน ชาม เตาแก๊ส บริเวณ หลังส�ำนักงานหอพักนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ รั บ ผลกระทบมาประกอบอาหาร ระหว่ า ง เดือน มีนาคม -เมษายน 2559 เริ่มเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2559 นางสาวนฤมล แก้วคุ้มภัย และนางสาวเกศกนก ศรี โ รจน์ นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า “กิ จ กรรมนี้ ช ่ ว ยให้ เ ราได้ รู ้ จั ก เพื่อนๆ ที่ครอบครัวได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน ได้ช่วย เหลื อ กั น ร่ ว มกั น ท� ำ กั บ ข้ า ว ในวั น นี้ เ รา ท� ำ ผั ด เผ็ ด ไก่ รับประทานกัน ต้องขอขอบคุณทางมหาวิทยาลัยที่มอบ ความรักความห่วงใยผ่านกิจกรรมนี้มายังนักศึกษาค่ะ” นายอนุกิจ ชาติด�ำ เจ้าหน้าที่กองกิจการนักศึกษา กล่ า วว่ า “เราจะมี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั น นั ก ศึ ก ษาในการ ท�ำกิจกรรม นอกจากประกอบอาหารแล้ว จะมีการปลูกผัก เพื่ อ ประกอบอาหาร เช่ น มะระ ผั ก บุ ้ ง และได้ ป ลู ก มะละกอ ไปแล้ว”
ผู ้ ส นใจบริ จ าคเงิ น เข้ า “กองทุ น ช่ ว ยเหลื อ นั ก ศึ ก ษา ขาดแคลนทุนทรัพย์” บริจาคได้ที่บัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ จ� ำ กั ด (มหาชน) สาขามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เลขที่ บัญชี 565 105209 4 หรือบริจาค สิ่งของหรือวัตถุดิบ ในการ ประกอบอาหาร ได้ที่งานกิจกรรมศึกษา กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทร.074 282208
4 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
การศึกษา
ความคืบหน้าของ ม.อ.ทั้ง 5 วิทยาเขต ระดมกิจกรรมช่วย
น.ศ.รับผลกระทบราคายาง
ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่าย พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดเผยถึงความคืบหน้าการช่วยเหลือเยียวยา นั ก ศึ ก ษาทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต ซึ่ ง ได้ รั บ ผลกระทบจากปั ญ หาราคา ยางพาราที่ตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บางครอบครัวมีรายได้ ลดลง ผู้ปกครองไม่สามารถส่งเสียนักศึกษาได้เหมือนเดิม โดยจาก การส�ำรวจ พบว่ามีนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบฯ จ�ำนวน 2,552 คน จ�ำนวนนี้เป็นนักศึกษาวิทยาเขตหาดใหญ่ 1,289 คน ปัตตานี 803 คน สุราษฎร์ธานี 86 คน ภูเก็ต 265 คน และ วิทยาเขตตรัง 109 คน โดยได้ มี ก ารด� ำ เนิ น มาตรการช่ ว ยเหลื อ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ทั้งการผ่อนผันค่าธรรมเนียมการศึกษา การให้ทุนท�ำงาน แลกเปลี่ยน การมอบทุนการศึกษา การระดมทุนช่วยเหลือผ่าน บัญชีกองทุนช่วยเหลือนักศึกษาโดยทุกวิทยาเขตได้น�ำมาตรการ ดั ง กล่ า วไปด� ำ เนิ น การช่วยเหลือ นัก ศึก ษาที่ไ ด้รับ ผลกระทบจาก วิกฤตราคายางพารา
วิ ท ยาเขตปั ต ตานี มี ก ารพิ จ ารณาผ่ อ นผั น ค่ า ธรรมเนี ย ม การศึกษาให้แก่นักศึกษาเป็นกรณีพิเศษ ในภาคการศึกษาที่ 1/2558 จ� ำ นวน 600 คน ภาคการศึ ก ษาที่ 2/2558 จ� ำ นวน 750 คน ให้ ทุ น ท�ำงานแลกเปลี่ยนในภาคการศึกษาที่ 1-2/2558 และภาคฤดูร้อน รวม 132 ทุ น ส่ ว นปี ก ารศึ ก ษา 2559 ได้ ร ะดมทุ น ผ่ า นกองทุ น ฯ รู ส ะมิ แ ล โดยการรั บ บริ จ าคตั ด ผ่ า นเงิ น เดื อ นตามความประสงค์ บ ริ จ าคของ บุ ค ลากร เพื่ อ จั ด สรรให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ ข าดแคลน นอกจากนั้ น ยั ง จั ด ให้มีเงินรางวัลส�ำหรับการประกวดโครงการ PSU Blue Spirit Project ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ขี ย นโครงการเกี่ ย วกั บ กิ จ กรรมจิ ต สาธารณะ ส่ ง เข้ า ประกวด โดยแบ่ ง เป็น ประเภทบุค คลทั่ว ไป และประเภทองค์กร วิทยาเขตภูเก็ต มีการจัดหางาน Part Time ให้นักศึกษาที่ได้รับ ผลกระทบ เช่ น เก็ บ แบบสอบถามงานวิ จั ย ที่ ส นามบิ น ผ่ อ นผั น ค่ า เล่าเรียนภาคฤดูร้อนได้จนถึงเดือนพฤษภาคม โดยนักศึกษาสามารถ แบ่งจ่ายได้เป็นรายงวด และมีการจัดสรรทุนการศึกษาประมาณเดือน สิงหาคม ส�ำหรับนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบที่เรียนดีและมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด
วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี ได้จัดสรรทุนยกเว้นการศึกษาให้กับ นั ก ศึ ก ษา จ� ำ นวน 1 ทุ น จากมู ล นิ ธิ น ายชวน หลี ก ภั ย มี ก ารผ่ อ นผั น การช� ำ ระค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ ยื่ น ผ่ อ นผั น จนถึ ง เดือนเมษายน 2559 จัดล�ำดับความขาดแคลนเพื่อจัดสรรทุนการศึกษา ทั่ ว ไปให้ กั บ ผู ้ ที่ มี ค วามเดื อ ดร้ อ นจริ ง ๆ จั ด สรรทุ น ท่ า งานแลกเปลี่ ย น และจั ด หางาน Part time ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามต้ อ งการท� ำ งาน เพื่อหารายได้พิเศษ เช่น สอนพิเศษ เป็นต้น วิทยาเขตตรัง ได้จัดหาทุนการศึกษาเร่งด่วนให้กับนักศึกษา ที่ ป ระสบปั ญ หาด้ า นการเงิ น โดยจะมี ก ารก� ำ หนดเงื่ อ นไขการขอรั บ ทุ น อย่ า งชั ด เจนให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา 5 ราย ที่ ป ระสบภาวะขาดแคลน ทุ น ทรั พ ย์ แ ละมี ส ถานะลาพั ก การศึ ก ษาและพ้ น สภาพการเป็ น นั ก ศึ ก ษา มี ก ารขยายเวลาการผ่ อ นผั น การช� ำ ระค่ า ธรรมเนี ย มฯ ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาจ� ำ นวน 32 ราย และอยู ่ ร ะหว่ า งด� ำ เนิ น การจั ด สรรทุ น ท� ำ งานแลกเปลี่ ย น ทุ น การศึ ก ษาและระดมทุ น ช่ ว ยเหลื อ นั ก ศึ ก ษา วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มีนักศึกษาที่ไ ด้รับผลกระทบฯ จ�ำนวน 1,289 คน และได้มีการคัดกรองฯ จนได้ผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือ ตามหลักเกณฑ์จ�ำนวน 811 คน โดยระดับการให้ความช่วยเหลือได้แก่ การขอผ่อนผันช�ำระค่าธรรมเนียมการศึกษา รายได้ครอบครัวลดลง รายรับจากผู้ปกครองเป็นค่าใช้จ่ายลดลง ความเดือดร้อนอื่น ๆ โดย ความช่วยเหลือมีทั้งขยายระยะเวลาในการผ่อนผันช�ำระค่าธรรมเนียม การศึกษา การให้ทุนการศึกษา ให้ทุนท�ำงานแลกเปลี่ยน และการระดม ทุนการศึกษา นอกจากนั้นยังจัดตั้ง “ครัวลูกพระบิดา” ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้ แนวคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยเริ่มแรกมีแนวคิดเป็นลักษณะ กิจกรรมระยะสั้น เพื่อการจัดสรรงานให้นักศึกษาที่ได้รับผลกระทบอีกด้วย
5 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
การศึกษา
บัณฑิตวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ม.อ.
รับงานจากรัฐบาล ขับเคลื่อนภูเก็ตสู่สมาร์ทซิตี้ ณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เข้าร่วมกับผู้น�ำทางด้านระบบเครือข่าย อิน เทอร์เน็ตระดับโลก และได้รับงานระดับชาติจากรัฐบาลในนาม ผู้ประกอบการรายใหม่ (Startup) ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่าย ไร้สาย (Wireless Sensor Network) ดูแลด้านสิ่งแวดล้อม ของ จังหวัดภูเก็ต รวมทั้งเตือนภัยน�้ำท่วม ระบบเฝ้าระวังและวิเคราะห์ คุ ณ ภาพของน�้ ำ และอากาศ เพื่อ สนับ สนุน โครงการเมืองอัจริยะ Smart City Phuket ให้ ส ามารถบริ ห ารจั ด การเมื อ งได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพคล่องตัว ตามแผนพัฒนาประเทศ
ผศ.ดร.วรรณรั ช สั น ติ อ มรทั ต หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า บัณฑิตของ คณะได้รับการพิจารณาจากรัฐบาล ให้เข้ารับงานการจัดระบบทาง น�้ำ สิ่งแวดล้อม น�้ำเสีย มลภาวะทางอากาศ น�้ำท่วม โดยใช้เครือข่าย ไร้สาย ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เป็นความภาคภูมิใจของคณะในการ ผลักดันจังหวัดภูเก็ตสู่เมืองอัจฉริยะ หรือสมาร์ทซิตี้ โครงการสมาร์ ท ซิ ตี้ น� ำ ร่ อ งที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เนื่ อ งจากภู เ ก็ ต เป็ น เมื อ งที่ มี ค วามสมบู ร ณ์ ท างทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละมี ชื่ อ เสี ย ง ระดับโลกด้านการท่องเที่ยว ทั้งยังมีความเหมาะสมในการเป็นสถานที่ ท�ำงาน โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ โครงข่ายการสื่อสารที่ทั่วถึง รวดเร็ว นอกจากนี้ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดย รศ.ดร.อุ ด มผล พื ช น์ ไ พบู ล ย์ คณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ผศ.ดร.วรรณรั ช สั น ติ อ มรทั ต หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และทีมงาน ยังได้เสนอยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาสงขลาแก่นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา โดยใช้องค์ความรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ด้านการเกษตร ด้านการท่องเที่ยว โดยน�ำแอบพลิเคชั่นใหม่ๆ เข้ามา
6 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
เปลี่ยนภาพเมืองเก่า ลงแผนที่ ผ่านโทรศัพท์มือถือให้น่าสนใจ ด้าน ความเป็นอยู่ของประชาชน ให้เป็นเมืองที่ปลอดภัย ตลอดจนด้าน สิ่งแวดล้อม ล่าสุด เมื่อวันที่ 26-28 พ.ค. 59 นักพัฒนาเครือข่ายศูนย์ความรู้ เฉพาะด้ า นเครื อ ข่ า ยเซนเซอร์ ไ ร้ ส าย บั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะผู้ประกอบการรายใหม่ ในนาม บริษัท สปาร์คบิท จ�ำกัด ซึ่ง เป็ น ผู ้ ป ระกอบการรายใหม่ ประกอบด้ ว ย นายจิ ร ศั ก ดิ์ นพรั ต น์ นายมงคล มโนพิรุฬ ห์พ ร นางสาวสุนิส า จุล รัต น์ นายชยิน จงไพบู ล ย์ พั ฒ นะ และนายธนั ญ กร พั ฒ นไตรวั ฒ น์ โดยมี ผศ.ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต เป็นที่ปรึกษา ได้เข้าร่วมงาน Digital Thailand 2016 เพื่ อ น� ำ เสนอระบบการจั ด การพลั ง งานภายใน อาคาร (Cisco Energy Management: CEM) ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�ำทางด้านระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตระดับโลก ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ สามารถ ช่วยลดการใช้พลังงานภายในอาคาร และสามารถสรุปเป็นรายงาน ออกมาเพื่ อ วางแผนบริ ห ารจั ด การพลั ง งาน สามารถควบคุ ม การ ท�ำงานและจัดการพลังงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ได้ โดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรั ฐ มนตรี ดร.ทวี ศั ก ดิ์ กออนั น ตกู ล ผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) รวมทั้ ง นายชาติ ศิ ริ โสภณพนิ ช กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ข อง ธนาคารกรุงเทพ แสดงความสนใจเข้าชมผลงาน นางสาวสุ นิ ส า จุ ล รั ต น์ หนึ่งในทีมงานจากคณะวิศวกรรม ศาสตร์ ม.อ.เปิดเผยว่า ทีมงานได้รับความเชื่อถือจากบริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�ำทางด้านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระดับโลก ให้ดูแลงานการจัดการพลังงานในประเทศไทย ส�ำหรับ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ทั้งนี้ภาควิชาฯ ได้รับการสนับสนุนจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย ร่วมเครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)โดยได้รับงบประมาณสนับสนุน จากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มาอย่างต่อเนื่อง
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ
นายอนุชิต ตระกูลมุทุตา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ “สปาฮาลาล” จัดโดยสถาบันฮาลาล และ คณะ การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ห้องประชุม เทพทาโร โรงแรมบุรีศรีภู อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ในวันจันทร์ ที่ 25 เมษายน 2559 ที่ ผ ่ า นมา โดย รศ.ดร.พี ร ะพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวเปิดงานต้อนรับ ซึ่งการจัดโครงการใน ครั้งนี้มีความส�ำคัญมาก เนื่องจากจังหวัดสงขลาได้มียุทธศาสตร์ การพั ฒ นาภาคการเกษตร อุ ต สาหกรรม การค้ า การลงทุ น การท่องเที่ยวและบริการ เพื่ อ สร้ า งความเติ บ โต ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งมี เสถียรภาพ โดยส่งเสริม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า อุ ต สาหกรรมฮาลาลให้
เป็ น ศู น ย์ ก ลางระดั บ ภู มิ ภ าคและพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมและเชิงธุรกิจ โดยภายในงานจัดการบรรยายความรู้ เกี่ ย วกั บ การท� ำ สปาฮาลาลเพื่ อ ให้ ผู ้ ส นใจได้ รั บ ประโยชน์ และมี สิ น ค้ า ตั ว อย่ า งที่ ไ ด้ รั บ เครื่ อ งหมายฮาลาลให้ เ ลื อ กชม อีกด้วย
7 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
นักวิชาการ ม.อ.ปัตตานีวิจัยปลูกเมล่อนด้วยวัสดุท้องถิ่น แนะเกษตรกรปรับวิถีการปลูกพืชรับมือกับอากาศแปรปรวน ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนูญ ศิรินุพงศ์ ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี และหั ว หน้ า โครงการวิ จั ย เรื่ อ ง “การพั ฒ นาระบบการปลู ก พื ช ไม่ ใ ช้ ดิ น ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม”กล่ า วถึ ง โครงการวิ จั ย ทดลองปลู ก เมล่ อ น ด้วยวัสดุท้องถิ่นว่า ได้มีการทดลองเพาะกล้าในวัสดุปลูกไม่ ใช้ดิน เช่น วัสดุฟองน�้ำ วางระบบน�้ำ และปลูกด้วย ขี้เลื่อยยางพารา เปลือกมะพร้าว โดยใช้ระบบผสมปุ๋ยจัดการเรื่องปุ๋ยในการปลูก เตรียมสารละลายธาตุอาหาร ให้ พื ช ควบคุ ม การให้ น�้ ำ พื ช ให้ เ ท่ า ที่ พื ช ใช้ เ พี ย งพอส� ำ หรั บ การเติ บ โต แต่ ต ้ อ งมี ก ารจั ด การโรงเรื อ นได้ ใ ห้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เพราะเมล่ อ นจะมี ศั ต รู พื ช ค่ อ นข้ า งมาก ตั้ ง แต่ แ มลง เพลี้ ย แป้ ง เนื่ อ งจากมี ค วามชื้ น ที่ เ หมาะกั บ การเจริญเติบโตของแมลง ซึ่งโครงการวิจัยก�ำลังหาแนวทางเพื่อแก้ปัญหาต่อไป
ส�ำหรับการปลูกเมล่อนนั้นจะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ตั้งแต่ปลูกจนเก็บเกี่ยวผลผลิต ความยากง่ายอยู่ที่การเอาใจใส่ แม้ จ ะเป็ น การปลู ก พื ช โดยใช้ น�้ ำ น้ อ ยแต่ เ กษตรกรต้ อ งดู แ ล เป็ น ประจ� ำ และสม�่ ำ เสมอ เช่ น ต้ อ งคอยตรวจสอบระบบน�้ ำ การตรวจสอบ หั ว น�้ ำ หยด การเหี่ ย วของต้ น ไม้ ดู ก ารเติ บ โต ของกิ่งใบ ต้องดูแลเป็นพิเศษอย่าให้ใบถูกท�ำลาย “การท� ำ วิ จั ย ตอนแรกคิ ด ว่ า จะใช้ น�้ ำ ให้ เ ป็ น ประโยชน์สูงสุด การปลูกผักแบบไม่ใช้ดิน ปลูกแบบใช้ น�้ำขัง จะมีน�้ำส่วนหนึ่งที่เราต้องถ่ายทิ้ง แต่เราอยาก น�ำกลับมาใช้ใหม่ ในงานวิจัยก็จะพยามยามศึกษาว่า วิธีการอย่างไรที่จะบ�ำบัดน�้ำ เปลี่ยนสภาพ หรือปรับ สภาพน�้ ำ หรื อ ต้ อ งเพิ่ ม อะไรบางอย่ า งลงไปเพื่ อ ให้ สามารถปลูกพืชได้อีกโดยที่ต้นพืชเราเจริญเติบโตได้ โดยไม่มีผลต่อด้านคุณภาพ ในการทดลองจะใช้ทั้งพืช กินใบและพืชที่จะให้ผล เช่น มะเขือเทศ ก็วางแผนว่า เมื่อบ�ำบัดน�้ำเสร็จ เอาน�้ำไปเลี้ยงปลา ถ้าปลาอยู่ได้ เราก็เลี้ยงปลา น�้ำพวกนี้ก็คืนสู่ธรรมชาติไม่มีผลต่อสิ่ง แวดล้อม เราก็จะน�ำน�้ำจากการเลี้ยงปลามาปลูกผักอีก หมุนเวียนอย่างนี้ ใช้น�้ำอย่างมีคุณค่ามากที่สุด เป็นการ ประหยั ด น�้ ำ ด้ ว ย” ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มนู ญ กล่ า ว
8 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ผู ้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มนู ญ ศิ ริ นุพ งศ์ กล่าวถึง แนวทางการปลูกพืชที่เหมาะในช่วงหน้าแล้งว่า หลักการที่ง่าย ที่สุดคือการปลูกพืชที่ใช้น�้ำน้อย ซึ่งเกษตรกรต้องสังเกตและ รู้ความต้องการใช้น�้ำของพืชแต่ละชนิด ในการวิจัยที่ท�ำปลูกพืช ไม่ใช้ดินเราจัดการเรื่องน�้ำในภาวะที่จ�ำกัดในระบบปิด ใช้ระบบ การปลูกพืชพวกผัก พืชดอก เราควบคุมน�้ำเพื่อดูว่าพืชลักษณะ ไหนมี ศั ก ยภาพอย่ า งไร ช่ ว งหน้ า ร้ อ นผั ก กิ น ใบจะไม่ ค ่ อ ยโต แต่ว่าผักกินผล เช่น การปลูกเมล่อน มีความสามารถในการ จั ด การได้ สภาพภู มิ อ ากาศของภาคใต้ ต อนนี้ เ ปลี่ ย นแปลง ไปค่ อ นข้ า งมาก เกษตรกรจึ ง ต้ อ งวางแผนการปลู ก พื ช หรื อ ปรั บ เปลี่ ย นการท� ำ เกษตร เพื่ อ รั บ กั บ สภาพอากาศ ซึ่ ง ต้ อ ง ลงทุนและต้องมีตลาดรองรับ
ข่าวจาก สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ความภาคภูมิใจ
ม.อ.ติดอันดับต้น มหาวิทยาลัยชั้นน�ำของเอเชีย ปี 59 ในเดือนมิถุนายน 2559 ส�ำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก ที่มีชื่อเสียงจากประเทศอังกฤษ คือ Times Higher Education หรือ THE และ Quacquarelli Symonds หรือ QS ได้ประกาศ การจั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย คุ ณ ภาพของโลกและเอเชี ย โดย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ การจั ด ให้ อ ยู ่ ใ นอั น ดั บ ต้ น ของมหาวิทยาลัยคุณภาพของเอเชียและของประเทศไทย ดังนี้ ส่วน Times Higher Education หรือ THE ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ เอเชีย เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2559 โดยมี 7 มหาวิ ท ยาลั ย ไทย ติ ด 200 อั น ดั บ แรก และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับที่ 181-190 นอกจากนั้น ยังอยู่ในอันดับ 4 ของ ประเทศด้ า นคุ ณ ภาพงานวิ จั ย (Citation, THE) และ อันดับ 4 ของประเทศด้านความ เป็นนานาชาติ (International Outlook, THE) ทั้ ง นี้ Times Higher Education จั ด อั น ดั บ โดยอาศั ย 13 ตั ว ชี้ วั ด ครอบคลุ ม 5 ด้ า น คื อ 1. คุ ณ ภาพการสอน สภาพแวดล้ อ ม ในการเรี ย นรู ้ 2. คุ ณ ภาพ ปริ ม าณ รายได้ และชื่อเสียงของงานวิจัย 3. การน�ำงานวิจัยของสถาบันไปใช้ อ้างอิง 4.ความเป็นนานาชาติจากสายตาภายนอก เจ้าหน้าที่ นักศึกษาและงานวิจัยนานาชาติ และ 5. ความสามารถของ ในการถ่ า ยทอดความรู ้ สู ่ ภ าคอุ ต สาหกรรม ด้ ว ยนวั ต กรรม สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ และการให้ ค� ำ ปรึ ก ษา วั ด จากรายได้ ท าง อุตสาหกรรมจากงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยได้คิดค้นขึ้น Quacquarelli Symonds หรือ QS ได้ประกาศการจัด อันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำเอเชียเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2559 และมี 13 มหาวิ ท ยาลั ย ของไทยติ ด อั น ดั บ ของเอเชี ย โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับที่ 185 ของเอเชีย อันดับที่ 8 ของประเทศ อันดับที่ 701+ ของโลก เมื่อเปรียบ เที ย บกั บ ปี ที่ ผ ่ า นมา ในระดั บ เอเชี ย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ มีอันดับดีขึ้นจาก อันดับที่ 191-200 ในปีที่แล้ว เป็น อั น ดั บ 185 ในปี นี้ ส่ ว นในภาพรวมมี จ� ำ นวนมหาวิ ท ยาลั ย ไทยติดอันดับเพิ่มขึ้น และส่วนใหญ่อันดับดีขึ้นจากปีที่แล้ว
9 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความภาคภูมิใจ
ตึกฟักทอง และ ตึกสตางค์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรม ปี 59 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดให้มี การพิจารณารางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจ�ำปี 2559 เพื่อเข้ารับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยแบ่งรางวัลออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทรางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรม ดี เ ด่ น และประเภทรางวั ล อาคารควรค่ า แก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ เพื่ อ เป็ น การประกาศเกี ย รติ คุ ณ และเสริ ม สร้ า งก� ำ ลั ง ใจแก่ ผู ้ มี คุ ณู ป การต่ อ การอนุ รั ก ษ์ ม รดกศิ ล ปะสถาปั ต ยกรรมหรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยในปี นี้ มี อ าคารที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ประเภท อนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น 19 อาคาร และ อาคารควร ค่าแก่การอนุรักษ์ 9 อาคาร ทั้งนี้ ศูนย์ปาฐกถาประดิษฐ เชยจิตร (ตึกฟักทอง) คณะ วิทยาศาสตร์ และ ตึกสตางค์ มงคลสุข คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้รับ รางวัลประเภทอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ในกลุ่ม อาคารสถาบันและอาคารสาธารณะ โดยสถาปนิกผู้ออกแบบ ทั้งสองอาคาร คือ คุณอมร ศรีวงศ์ ตึ ก สตางค์ มงคลสุ ข คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ตั้ ง ชื่ อ ตาม นามของ ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข ผู้มีส่วนส�ำคัญ ในการด� ำ เนิ น การเพื่ อ ก่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ภาคใต้ หรื อ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ อธิ ก ารบดี ท ่ า นที่ 2 ของ มหาวิ ท ยาลั ย ประกอบด้ ว ยโครงสร้ า งเหล็ ก กล้ า รั บ น�้ ำ หนั ก
10 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
หลังคาคอนกรีต ในพื้นที่ 15 ไร่ ซึ่งซ่อนอาคารภาควิชาต่างๆ ที่ ซั บ ซ้ อ นของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ไ ว้ ข ้ า งล่ า ง มี ห อคอยที่ สร้างขึ้นเป็นที่ส่งวิทยุของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สร้างเสร็จ เมื่อเดือนพฤษภาคม 2513 ส่วนอาคารศูนย์ปาฐกถาประดิษฐ เชยจิตร (ตึกฟักทอง) คณะวิทยาศาสตร์ เป็นงานทางด้านสถาปัตยกรรมที่มีความ สวยงาม ตั ว อาคารทาสี ข าว มี รู ป ร่ า งเป็ น ผลฟั ก ทอง มี ก ลี บ ทั้งหมด 25 กลีบ ภายในมีห้องบรรยาย 5 ห้อง ห้องบรรยาย ใหญ่สุดคือ ห้อง L1 สามารถจุคนได้ถึง 500 คน สร้างเสร็จ เมื่อปี พ.ศ. 2514 ตั้งชื่อตามนามของคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คนแรก คือรองศาสตราจารย์ ดร.ประดิษฐ เชยจิตร
ความภาคภูมิใจ
คว้า 2 รางวัลเหรียญเงินจากผลงาน Application ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัด แถลงข่าวแสดงความยินดีแก่ 2 รางวัลเหรียญเงิน ณ ห้องนิทรรศการฯ คณะวิทยาศาสตร์ จากผลงานวิจัยเรื่อง แอพพลิ เ คชั่ น ทดสอบการได้ ยิ น แบบพกพา โดย ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ เ ถกิ ง วงศ์ ศิ ริ โ ชติ พร้ อ มคณะ จากคณะ วิ ท ยาศาสตร์ และผลงานวิ จั ย เรื่ อ งระบบป้ อ งกั น และเตื อ น อุบัติเหตุจากการละเมอเดินโดยใช้สมาร์ทวอชและสมาร์ทโฟน โดย อาจารย์กษิดิ์กฤษณ์ ด�ำเกลี้ยง พร้อมคณะ โดยผลงาน ดั ง กล่ า วได้ รั บ รางวัล จากการเข้าร่วมประกวดและจั ดแสดง ผลงานวิ จั ย ในงาน “44th International Exhibition of Inventions of Geneva” ระหว่างวันที่ 13 - 17 เมษายน ที่ผ่านมา ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิต ซึ่งเป็นงานที่ได้รับการสนับสนุน จากรัฐบาลสวิตฯ และองค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก หรือ WIPO
แอปพลิเคชั่นทดสอบการได้ยิน พัฒนาขึ้นด้วยเทคนิคและ วิธีการสมัยใหม่ ท�ำงานบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต เพื่อใช้ทดสอบสมรรถนะการได้ยินได้ทุกที่ทุกเวลา แอปพลิ เ คชั่ น จ� ำ ลองการทดสอบการได้ ยิ น จากเครื่ อ งตรวจ สมรรถภาพการได้ยิน (Audiometry) แอปพลิเคชั่นสามารถ ทดสอบระดั บ ความดั ง และความถี่ ที่ แ ตกต่ า งกั น ได้ ต าม รูปแบบการทดสอบการได้ยินในโรงพยาบาล ผลการทดสอบ จึงสามารถเทียบเคียงกับเครื่องตรวจการได้ยิน (Audiometer) และแสดงผลในแอปพลิเคชั่นทันทีที่การวิเคราะห์เสร็จสิ้น ถึงแม้ ว่าแอปพลิเคชั่นจะไม่สามารถทดแทนเครื่องตรวจสมรรถภาพ การได้ยิน แต่สามารถใช้แอปพลิเคชั่นกับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเข้า
ถึงการตรวจการได้ยินด้วยเครื่องตรวจสมรรถภาพ การพัฒนา แอปพลิ เ คชั่ น เสร็ จ สิ้ น แล้ ว และอยู ่ ร ะหว่ า งการทดสอบกั บ ผู้ป่วยจริง ซึ่งในอนาคตอันใกล้แอปพลิเคชั่นจะถูกเผยแพร่ให้ ใช้อย่างแพร่หลาย อีกทั้งการทดสอบนี้ได้รับความช่วยเหลือ จากโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ ทั้งทางด้านข้อมูล และการทดสอบละเมอเดิ น เป็ น พฤติ ก รรมผิ ด ปกติ อย่ า งหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ขณะที่ ก� ำ ลั ง หลั บ อยู ่ คนละเมอ เดินจะลุกขึ้นเดินและมีแสดงพฤติกรรมที่ซับซ้อนได้ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อคนละเมอมากเพราะเขาท�ำไป โดยไม่รู้สึกตัวผลงานนี้ได้เสนอกรอบการพัฒนาระบบ ป้องกันและเตือนอุบัติเหตุจากอาการละเมอเดินโดย ใช้สมาร์ทวอชและสมาร์ทโฟนให้ท�ำงานประสานกัน เราใช้เซ็นเซอร์ user activity ในสมาร์ทวอชเพื่อตรวจ จับพฤติกรรมที่ผิดปกติของผู้ป่วย โดยเซ็นเซอร์จะส่ง ข้ อ มู ล พฤติ ก รรมให้ ส มาร์ ท โฟนและวิ เ คราะห์ ด ้ ว ย อัลกอริทึ่ม หากระบบตรวจพบว่าพฤติกรรมดังกล่าว เป็นอาการละเมอเดินก็จะแจ้งเตือนไปยังผู้ดูแลให้รับทราบ เพื่อจะได้ช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างทันท่วงที
11 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความภาคภูมิใจ
ตลาดเกษตร และ ม.อ.ภูเก็ต รับรางวัลองค์กร แผงลอยและตลาดสด เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและ ผู ้ บ ริ โ ภคเลื อ กได้ ใ ช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ดแทนโฟมที่ ป ลอดภั ย ต่ อ สุขภาพและย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ซึ่งผลการประเมินใน ปี 2559 พบว่า มีหน่วยงาน องค์กร พื้นที่ทั่วประเทศเข้ารับมอบโล่ และประกาศเกียรติคุณองค์กรปลอดโฟม 100 เปอร์เซ็นต์ จ�ำนวน 829 องค์กร มีพื้นที่ปลอดโฟม จ�ำนวน 12,888 แห่งทั่วประเทศ
ลาดเกษตร ม.อ. คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ รางวั ล องค์ ก รปลอดภาชนะโฟม 100% จากกรมอนามั ย โดย คุณวรภัทร ไผ่แก้ว ผู้ดูแลและพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. เข้ารับประกาศเกียรติคุณ จาก นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิ บ ดี ก รมอนามั ย ในการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร “การ ประกาศเกี ย รติ คุ ณ องค์ ก รปลอดโฟม 100% และ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ภาคี เ ครื อ ข่ า ยด้ า นสุ ข าภิ บ าล อาหาร” ปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2559 ที่โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ
โฟมเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งนิยมใช้เป็นภาชนะใส่อาหาร แต่ เมื่อสัมผัสกับความร้อนและไขมันในอาหารปรุงส�ำเร็จ ก็อาจ ท� ำ ให้ มี ส ารเคมี ป นเปื ้ อ นสู ่ อ าหารได้ สารเคมี ท่ี พ บในโฟม บรรจุอาหารประกอบด้วย สารสไตรีน เบนซิน และ พทาเลท ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มีผลต่อสมอง และเส้นประสาท ระบบฮอร์โมนผิดปกติ มีปัญหาต่อมไทรอยด์ และประจ�ำเดือนในสตรี โรคโลหิตจาง เป็นสารที่มีพิษต่อระบบ ทั้ ง นี้ ต ลาดเกษตร ม.อ. ได้ มี ก ารขอความร่ ว มมื อ จาก สืบพันธุ์ ท�ำให้เป็นหมันในผู้ชาย หญิงมีครรภ์อาจให้ก�ำเนิด ผู ้ จ� ำ หน่ า ยให้ ง ดใช้ โ ฟม 100% ตั้ ง แต่ ป ี 2552 โดยขอให้ ใ ช้ ลู ก ที่ มี อ าการ Down Syndrome อี ก ทั้ ง ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา ภาชนะบรรจุอาหารที่สามารถย่อยสลายได้ มีการรณรงค์ให้ ด้านสิ่งแวดล้อม จากปริมาณขยะที่มีเป็นจ�ำนวนมาก เพราะ ผู้ใช้บริการน�ำตระกร้า หรือถุงผ้ามาใส่อาหารที่ซื้อ ซึ่งได้รับ กระบวนการย่อยสลายใช้ระยะเวลาเป็นร้อยปี ความร่วมมือด้วยดี และ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ยั ง เพิ่ ง ได้ รั บ รางวั ล ตลาดนั ด น่ า ซื้ อ ระดั บ ดี ม าก จากกรมอนามั ย เมื่ อ ปี 2558 ที่ ผ ่ า นมา นอกจากนั้ น อี ก หนึ่ ง หน่ ว ยงานของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คื อ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ก็ได้รับรางวัลองค์กรปลอดโฟมในปีนี้เช่นกัน ในปี 2559 กรมอนามัยได้รณรงค์ขยายพื้นที่ ปลอดโฟม ไปยังหน่วยงานที่ร่วมลงนามความร่วมมือ จากเดิมในปี 2558 จ�ำนวน 14 แห่ง เพิ่มเป็น 33 แห่ง ในปี 2559 อาทิ มหาวิ ท ยาลั ย รั ฐ วิ ส าหกิ จ ห้ า ง สรรพสิ น ค้ า ศู น ย์ ก ารประชุ ม ซุ ป เปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ร้ า นสะดวกซื้ อ ร้ า นอาหาร สถานี บ ริ ก ารน�้ ำ มั น ส�ำนักงาน สมาคม ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหาร ขอบคุณข้อมูลจาก www.best-master.com
12 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความภาคภูมิใจ
นักศึกษาและบุคลากร ม.อ.
รับรางวัลสหกิจดีเด่น ปี 59 นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับ สมาคมสหกิ จ ศึ ก ษา ได้ ก� ำ หนดให้ วั น ที่ 6 มิ ถุ น ายน ของทุ ก ปี เป็ น วั น สหกิ จ ศึ ก ษาไทย โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ได้ ต ระหนั ก และเห็ น ความส� ำ คั ญ รวมทั้ ง ประโยชน์ ข อง การจั ด การศึ ก ษาแบบสหกิ จ ศึ ก ษา อี ก ทั้ ง ยกย่ อ งและให้ เกี ย รติ แ ก่ ผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ กั บ สหกิ จ ศึ ก ษาไทย ซึ่ ง กิจกรรมในงานดังกล่าวจะประกอบด้วย การมอบรางวัล “สหกิจศึกษาดีเด่น” ระดับชาติ การจัดบูธนิทรรศการของ เครือข่าย 9 เครือข่าย การเสวนาในหัวข้อต่างๆ ส� ำ หรั บ รางวั ล “สหกิ จ ศึ ก ษาดี เ ด่ น ” ระดั บ ชาติ ในวั น สหกิจศึกษาไทย ปี พ.ศ. 2559 มีนักศึกษาและบุคลากรของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัลจ�ำนวน 2 ราย คือ 1. นายศั ก ดิ์ เ กษม ชั ย ทอง นั ก ศึ ก ษาจากคณะ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้รับรางวัล โครงงาน สหกิ จ ศึ ก ษาดี เ ด่ น ระดั บ ชาติ ด้ า นนวั ต กรรมสหกิ จ ศึ ก ษา ประจ�ำปี 2559 2. นางกาญจนา กองสวั ส ดิ์ นั ก วิ ช าการอุ ด มศึ ก ษา สังกัด ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ ส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้รับรางวัล ผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาดีเด่น ในสถานศึกษา ระดับเครือข่าย ประจ�ำปี 2559 โดยเข้ารับมอบโล่รางวัลและน�ำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ดี เ ด่ น บนเวที ในงานสหกิ จ ศึ ก ษาไทย ครั้ ง ที่ 7 พ.ศ.2559 เมื่ อ วั น จั น ทร์ ที่ 6 มิ ถุ น ายน 2559 ณ ห้ อ งประชุ ม บั ว สวรรค์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ อ� ำ เภอ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ส�ำหรับการคัดเลือกผู้ได้รับรางวัลดังกล่าว มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ใ นฐานะประธานเครื อ ข่ า ยพั ฒ นาสหกิ จ ศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ได้จัดเวทีประกวดโครงงานนักศึกษา สหกิ จ ศึ ก ษาดี เ ด่ น และพิ จ ารณาเสนอรายชื่ อ ผู ้ ส มควรได้ รั บ รางวั ล สหกิ จ ศึ ก ษาดี เ ด่ น ในแต่ ล ะประเภท เสนอไปยั ง ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อพิจารณาคัดเลือก รางวัลสหกิจศึกษาดีเด่น เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559
สหกิ จ ศึ ก ษา เป็ น ระบบการศึ ก ษาที่ เ น้ น ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ง านจริ ง ใน สถานประกอบการ โดยที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาจั ด ให้ นิสิต/นักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ไป ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ ก่อนส�ำเร็จการศึกษา โดยที่นักศึกษาจะต้องปฏิบัติ งานจริงแบบเต็มเวลาตรงตามสาขาวิชาชีพและเป็น ประโยชน์ต่อสถานประกอบการ เหมือนเป็นเจ้าหน้าที่ หรือพนักงานปฏิบัติงานชั่วคราว เป็น เวลา 1 ภาค การศึกษา ซึ่งนักศึกษาสหกิจศึกษาจะปฏิบัติงานใน ต� ำ แหน่ ง ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบที่ แ น่ น อน เป็ น งานที่ มี คุ ณภาพ หรื อ โครงงานพิ เ ศษที่ เ ป็ น ประโยชน์กับ สถานประกอบการและสามารถท�ำส�ำเร็จได้ ภายใน 1 ภาคการศึ ก ษา และหลั ง จากเสร็ จ สิ้ น ภารกิ จ จะมี การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยอาจารย์นิเทศและ พนักงานที่ปรึกษาของนิสิต/นักศึกษาสหกิจศึกษา
13 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความภาคภูมิใจ
นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ นั ก ศึ ก ษาคณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ชนะเลิ ศ การแข่ ง ขั น สะพานภาษาสู ่ ภาษาจี น ระดั บ ประเทศครั้ ง ที่ 15 เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมรัชดาซิตี้ กรุงเทพมหานคร และเป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขัน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนต่อไป
นายทรงธรรม แซ่ลี้ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน ชั้น ปีที่ 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับ รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ จากผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 16 คน ในการแข่งขันสะพานสู่ภาษาจีนระดับประเทศ ครั้งที่ 15 เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมรั ช ดาซิ ตี้ กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้มีอาจารย์ จาง เฟิ่ง หลง อาจารย์ ประจ� ำ สาขาภาษาจี น คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เป็นผู้ฝึกซ้อม นอกจากนี้ยังรับการฝึกฝน จากสถาบันขงจื๊อ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อนึ่ง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มี ห ลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าภาษาจี น ทั้ ง หลักสูตรที่เรียนในประเทศ 4 ปี สอนโดยอาจารย์ชาวไทย และชาวต่ า งประเทศเจ้ า ของภาษา และหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (นานาชาติ) มุ่งให้ผู้เรียน มีความรู้ในการใช้ภาษาจีนควบคู่ไป กับการเรียนรู้สังคม วัฒนธรรมจีน โดยจะเรียนที่คณะศิลปศาสตร์ ในชั้นปีที่ 1 และ2 กับคณาจารย์ชาวไทย และชาวต่างประเทศซึ่งเป็น เจ้ า ของภาษา และในชั้ น ปี ที่ 3 และ 4 นั ก ศึ ก ษาจะเรี ย น ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ที่ มี ความร่วมมือทาง วิชาการกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
14 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ข่าวเด่น
บุคคลในภาพแห่งความจงรักภักดี วันครองราชย์ครบ 70 ปี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หนึ่งในคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย ที่ได้เข้าไปประกอบและ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งหี บ น�้ ำ มั น ปาล์ ม แบบไฮดรอลิ ก ที่ สั่ ง ซื้ อ มาจาก ประเทศเนเธอร์แลนด์ และได้เฝ้ารับเสด็จด้วย ในวันนั้น ได้มี พระราชด� ำ รั ส ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ จั ย สร้ า ง เครื่องจักรหีบน�้ำมันปาล์มขนาดเล็ก และปีต่อมาได้เสด็จมา ติดตามงานที่ทรงรับสั่งเอาไว้ และทรงพอพระทัยอย่างยิ่ง ซึ่ง นับเป็นจุดเริ่มต้นของการเข้าร่วมถวายงานโครงการในพระ ราชด�ำริ ซึ่งสืบเนื่องมาอีกหลายโครงการจนบัดนี้รวมเวลา 41 ปี ากการที่กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติ “โครงการตามหาบุคคลใน ภาพแห่งความจงรักภักดี 7 ภาพ” ในโอกาสมหามงคล เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ 70 ปีวันที่ 9 มิถุนายน 2559 เพื่ อ น� ำ บุ ค คลในภาพทั้ ง 7 ภาพนี้ มาเผยแพร่ ถึ ง ความภาคภู มิ ใ จ ถ่ า ยทอดความรู ้ สึ ก และส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ มี โ อกาสถวายงานรั บ ใช้ เ บื้ อ ง พระยุ ค ลบาทตามพระราชกรณี ย กิ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อให้เด็กและเยาวชน คนรุ่นใหม่ และ ประชาชนทั่ ว ไปได้ รั บ รู ้ พ ระจริ ย วั ต รของพระองค์ เพื่ อ เป็นแนวทางในพัฒนาน�ำความเจริญมาสู่ประเทศชาติ 1 ใน 7 ภาพนั้น เป็นภาพที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรเครื่องมือในโรงงานสกัดและแปรรูปน�้ำมันปาล์ม ในระหว่ า งการเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงเยี่ ย มโครงการ ศูนย์การศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราช ด� ำ ริ ต� ำ บลกะลุ ว อเหนื อ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นราธิ ว าส เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2533 โดยบุคคลที่ถูกตามหาในภาพ คือ รองศาสตราจารย์ ดร.สั ณ ห์ ชั ย กลิ่ น พิ กุ ล อดี ต อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แม้จะ เกษี ย ณอายุ ร าชการแล้ ว แต่ ป ั จ จุ บั น ยั ง เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และรองประธานสภา อุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา รองศาสตราจารย์ ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล ได้มีโอกาส ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท ครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2518 หรื อ เพี ย ง 2 ปี ห ลั ง เข้ า รั บ ราชการ โดยพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ นิคมควนกาหลง จังหวัดสตูล เพื่อทอด พระเนตรโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มขนาดเล็ก และ สวนปาล์ม ที่ทางนิคมได้ปลูกไว้ โดย อาจารย์สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล ได้เป็น
เช่นเดียวกับความรู้สึกของนักวิจัยที่ได้มีโอกาสท�ำงาน สนองพระ ราชด�ำริ รองศาสตราจารย์ ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล มี ค วามภู มิ ใ จ ประทั บ ใจในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ 41 ปี ในชีวิตการท�ำงานได้มีโอกาสเข้าเฝ้าถวายงานใกล้ชิดเบื้อง พระยุคลบาทมาโดยตลอด “หากโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด� ำ ริ คื อ การบ้ า น ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรง ไว้ ว างพระราชหฤทั ย และมอบหมายให้ ท� ำ ตั้ ง แต่ ป ี 2518 เป็ น ต้ น มา ผมได้ ท� ำ การบ้ า นดั ง กล่ า ว ประมาณ 12 ชุดแล้ว และทุกโครงการล้วนเพื่อราษฎร ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสทั้ ง สิ้ น ความสุ ข ของพระองค์ ท ่ า นคื อ การที่ราษฎรมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น” รองศาสตราจารย์ ดร.สั ณ ห์ ชั ย กลิ่ น พิ กุ ล กล่ า ว
15 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ข่าวเด่น
นายกฯ ชื่นชม ม.อ.
เจ้าภาพจัดและร่วมแข่งเขียนคอมฯระดับโลก
พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึง การจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับโลก ครั้งที่ 40 (ACM-ICPC World final 2016) ซึ่ ง จั ด โดยส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์ ก ารมหาชน) หรื อ SIPA ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บริษัท ไอบีเอ็ม จ�ำกัด และ จังหวัดภูเก็ต ในรายการ คืนความสุขให้คนในชาติ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2559 โดยกล่าวว่า เป็ น ความทั น สมั ย ของประเทศไทยที่ จั ด ให้ มี ก ารแข่ ง ขั น ดังกล่าว ขึ้นที่จังหวัดภูเก็ต เพราะจะท�ำให้เกิดการสอดประสาน การเรียนรู้ สร้างแรงจูงใจให้กับเยาวชนในประเทศภูมิภาค ที่ผ่าน มางานนี้จะจัดในประเทศยักษ์ใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย แต่ครั้งนี้เป็นการจัดขึ้นครั้งแรกในภูมิภาคอาเซียน จึงเป็น โอกาสของไทยในการแสดงศักยภาพในด้านความพร้อมในการ พัฒนาด้านดิจิตอลของไทย นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ ก ล่ า วขอบคุ ณ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (Sipa) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทีม ผู้เข้าร่วมแข่งขันทั้ง 128 ทีมจาก 40 ประเทศ ซึ่ง มีทีมจากประเทศไทย 2 ทีม คือ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส�ำหรับประโยชน์ส�ำคัญที่ไทยจะได้จาก การจั ด การแข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ คื อ ด้ า นพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เป็ น การจุ ด ประกายนั ก คอมพิวเตอร์รุ่นเยาว์ เพื่อก้าวสู่นักคอมพิวเตอร์ ระดับโลกในอนาคต ส่งเสริมกระบวนการด้าน
16 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความคิดสร้างสรรค์ การท�ำงานเป็นทีม การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญเพราะต้องมีการพัฒนา ด้ า นปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ถ้ า เราไม่ เ รี ย นรู ้ เ รื่ อ งเหล่ า นี้ ก็ จ ะไปไม่ ไ ด้ เพราะโลกทุ ก วั น นี้ ต ้ อ งไปด้ ว ยเทคโนโลยี โ ดยใช้ ร ะบบดิ จิ ต อล เป็นแรงขับเคลื่อน ด้ า นที่ ส องคื อ ด้ า นเศรษฐกิ จ เราได้ มี ก ารฝึ ก ฝนเยาวชน อาสาสมั ค รให้ มี ก ารจั ด งานระดั บ ชาติ ซึ่ ง มี ผู ้ ร ่ ว มงานคนทั้ ง ชาว ไทยและต่างชาติ ถึงประมาณ 1,300 คนซึ่งเป็นการทั้งสร้างความ เชื่อมั่นให้ต่างชาติและสร้างแรงจูงใจให้คนรุ่นใหม่ โอกาสที่จะ เกิดขึ้นต่อไปคือการพัฒนาอุตสาหกรรมการจัดประชุมและการ ท่องเที่ยง ซึ่งในปีนี้มีการขยายตัวมากขึ้น เพื่อน�ำรายได้สู่ประเทศ อนึ่ ง การแข่ ง ขั น เขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ร ะดั บ โลก ครั้งที่ 40 (ACM-ICPC World Finals 2016) ซึ่งจัดขึ้นในระหว่าง วันที่ 15-20 พฤษภาคม 2559 ได้เสร็จสิ้นลงโดยได้รับความชื่นชม และความประทั บ ใจจากผู ้ ร ่ ว มจั ด งานและผู ้ ร ่ ว มแข่ ง ขั น โดย ทีมจาก St. Petersburg State University ประเทศรัสเซีย เป็น ผู ้ ช นะเลิ ศ ได้ รั บ ถ้ ว ยรางวั ล ในปี นี้ ไ ปครอง ในขณะที่ ที ม จาก จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ รางวั ล First Solution Award ผู้สามารถแก้โจทย์ข้อแรกส�ำเร็จได้เร็วที่สุด ส่วนทีม FEDEX ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ใน อันดับที่ 128 โดยเป็นหนึ่งในทีมที่ผ่านการคัดเลือกเข้ารอบชิงชนะ เลิศระดับโลก ซึ่งคัดเลือกจากนักศึกษาใน 2,736 มหาวิทยาลัย กว่า 300,000 คน จาก 6 ทวีปทั่วโลก โดยสถาบันการศึกษาที่จะ เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ACM-ICPC World final ในปีถัดไป คือ South Dakota School of Mines and Technology สหรัฐอเมริกา การแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับโลก ครั้งที่ 40 (ACM-ICPC World Finals 2016) ท�ำพิธีเปิดเมื่อที่ 17 พฤษภาคม 2559 ที่ โ รงละครไอยรา ภู เ ก็ ต แฟนตาซี โดยพลอากาศเอก ประจิ น จั่ น ตอง รองนายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธาน การแข่ ง ขั น
ข่าวเด่น ด้ า น ที ม FEDEX นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งประกอบด้วย นายธนาพล อนันตชัยวณิช นายอาริฟ วารัม และ นายณภัทร ว่องพรรณงาม ซึ่งคว้ารางวัลชนะเลิศ แข่งเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC ระดับภาคใต้ ปี 58 เป็นหนึ่ง ใน 2 ที ม ตั ว แทนจากประเทศไทยที่ จ ะเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น เขี ย น โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ร ะดั บ โลก ACM-ICPC World Finals 2016 เปิดเผยว่า รู้สึกตื่นเต้นที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันดังกล่าว ทั้งนี้ การแข่งขันระดับภาคกับระดับโลกจะต่างกันตรงความยากของ โจทย์ปัญหา รวมทั้งคู่แข่งที่เก่งมากขึ้นตามระดับของการแข่งขัน ดั ง กล่ า วจั ด โดยส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ โดยหลั ง ชนะเลิ ศการแข่ ง ระดั บภาคใต้ “ที ม FEDEX” ได้ฝ ึกฝน (องค์การมหาชน) หรือ SIPA ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประสบการณ์โดยหาโจทย์มาท�ำเพิ่มเติม มีอาจารย์มาช่วยสอนวิธี บริษัท ไอบีเอ็ม จ�ำกัด และ จังหวัดภูเก็ต โดยมีผู้มีเกียรติเข้าร่วม การแก้โจทย์ การอ่านท�ำความเข้าใจกับโจทย์ มีการดูในเว็บไซต์ อาทิ Prof. Bill Poucher, ICPC Executive Director ของ ACM ICPC ซึ่งเป็นการรวบรวมโจทย์เก่าๆเอาไว้ และบาง รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย ครั้งมีการเฉลยแนวคิดไว้ให้ เป็นการเรียนรู้แนวโจทย์ โจทย์จะ สงขลานครินทร์ และ นายจ�ำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา ผู้ว่าราชการ มีความซับซ้อนมากขึ้น มีการใช้ความรู้ด้านคณิตศาสตร์มากขึ้น จังหวัดภูเก็ต การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับโลก ครั้งที่ 40 ใช้สนามแข่งขันที่สนามกีฬาเทศบาลนครภูเก็ต ศูนย์กีฬา สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต และมีผู้เข้าแข่งขันเป็นตัวแทน มหาวิ ท ยาลั ย จาก 40 ประเทศ 6 ทวี ป ทั่ ว โลก จ� ำ นวน 128 ทีม ซึ่งในจ�ำนวนนี้ก็มีทีมจากประเทศไทยเข้าร่วม การแข่งขัน 2 ทีม คือจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ACM-ICPC World Finals 2016)เป็นการแข่งขัน การเขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ใ นระดั บ อุ ด มศึ ก ษา “FEDEX” ยอมรับว่าสิ่งที่กดดันที่สุดในการแข่งระดับโลก ที่มีชื่อเสียงระดับโลก โดยทีมที่ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศนั้น จะ ต้องผ่านการคัดเลือกที่มีการแข่งขันออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การ คือทีมแข่งขันจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีความสามารถทางด้านนี้ แข่ ง ขั น ระดั บ ท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง เป็ น การแข่ ง ขั น ของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจาก มี ก ารทุ ่ ม เทเวลาส� ำ หรั บ การแข่ ง ขั น มากกว่ า เรา บางประเทศ มหาวิทยาลัยต่างๆ ภายในแต่ละประเทศ เพื่อน�ำผู้ชนะมาแข่งขัน เป็นวิชาเรียนในมหาวิทยาลัยและผู้ที่ประสงค์จะเข้าแข่งขั้นจะ ในระดับทวีป 6 ทวีป คือ Africa, Asia, Europe, Latin America, ไปเลื อ กเรี ย นวิ ช านี้ แต่ เ ราเป็ น เพี ย งระดั บ ชมรมซึ่ ง เหมื อ นกั บ North America และ South Pacific ก่อนเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ สมั ค รเล่ น และการได้ ฝ ึ ก ฝนท� ำ โจทย์ บ ่ อ ยๆ จะเป็ น การเพิ่ ม ระดับโลก หรือ World Finals เป็นการแข่งขันชิงแชมป์ประจ�ำปี ความสามารถด้านภาษาอังกฤษไปในตัว ดั ง นั้ น การที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ACM ซึ่ ง เป็ น สมาคม ด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่ ใหญ่ที่สุด ในโลก ให้เป็น เจ้าภาพจัดการแข่งขัน และนับเป็นครั้งแรกที่ มี ก ารจั ด งานนี้ ใ นภู มิ ภ าคอาเซี ย น จากที่ ผ ่ า นมาจะจั ด ขึ้ น ในประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งสู ง ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี เช่ น สหรั ฐ อเมริ ก า แคนาดา จี น และญี่ ปุ ่ น เป็ น ต้ น จึ ง ถื อ เป็ น โอกาสส� ำ คั ญ ของไทยในการใช้ เ วที การแข่ ง ขั น ครั้ ง นี้ แ สดงศั ก ยภาพและความพร้ อ มในการ พัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย
17 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ข่าวเด่น
ม.อ.ภูเก็ตวาง 4 ยุทธศาสตร์ เป็นนานาชาติ โดยพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในด้าน วิชาการและด้านกายภาพของวิทยาเขตภูเก็ตให้มีความ เป็นนานาชาติ เผยแพร่ชื่อด้วยการประชาสัมพันธ์และ สร้างภาพลักษณ์ การเป็นวิทยาเขตนานาชาติของวิทยาเขตภูเก็ต จะส่งผลให้คุณภาพการจัดการศึกษาของวิทยาเขตภูเก็ต พั ฒ นาขึ้ น ทั ด เที ย มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ในภู มิ ภ าค บัณฑิตมีความสามารถด้านภาษาและความสามารถ องศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สู่เข้าสู่ตลาดแรงงานระดับสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ตได้น�ำเสนอแผนพัฒนาวิทยาเขตภูเก็ตสู่ และ จ�ำนวนนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะนักศึกษา ความเป็นนานาชาติ ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยสงขลา ต่างชาติ เพื่อสร้างความเป็นสากล นครินทร์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2559 ว่า วิทยาเขต ภูเก็ต ตั้งอยู่ ในพื้นที่ที่มีความได้เปรียบ เนื่องจากจังหวัด ภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ประกอบกับ นโยบายของรัฐที่จะให้ภูเก็ตเป็น Smart City ที่ขับเคลื่อน เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล หรือ Digital Hub การก�ำหนด ที่ ป ระชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย มี ข ้ อ เสนอแนะว่ า ให้จังหวัดภูเก็ตเป็น 1 ใน 9 ของ Super Cluster ซึ่งหมายถึงการรวมกลุ่มสร้างความ มหาวิ ท ยาลั ย ควรมี น โยบายให้ ทุ ก วิ ท ยาเขตเปิ ด สอน แข็งแกร่งด้านอุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ท�ำให้วิทยาเขตภูเก็ต มี ความเหมาะสมที่จะเป็นวิทยาเขตนานาชาติที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล เป็นศูนย์กลาง หลักสูตรนานาชาติมากขึ้นตามความต้องการที่เพิ่มมาก องค์ความรู้ ด้านการบริการและการท่องเที่ยวของเอเชีย มีความโดดเด่นด้านภาษา ขึ้ น ส่ ว นการพั ฒ นาวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ให้ เ ป็ น วิ ท ยาเขต และวัฒนธรรมของไทยและอาเซียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการสิ่งแวดล้อม นานาชาติสามารถน�ำระบบประกันคุณภาพ EdPEx มา และภัยพิบัติทางธรรมชาติ เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งและยั่งยืน มีการผลิตบัณฑิตที่มี ใช้ในการพัฒนา และต้องมีการ Rebranding เพื่อไปสู่ คุณภาพ สามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานระดับสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การผลิต เป้าหมายที่ก�ำหนด ต้องพิจารณาให้ชัดเจนว่าควรจะ เปิ ด สอนในหลั ก สู ต รใดที่ ร องรั บ ความเป็ น นานาชาติ งานวิจัยที่เน้นแก้ปัญหาของพื้นที่ และน�ำไปสู่ภาคปฏิบัติต่อยอดไปสู่นวัตกรรม หรือรองรับอาเซียน ซึ่งจากความพร้อมด้านท�ำเลที่ตั้ง วิทยาเขตภูเก็ต มีความพร้อมสู่การเป็นวิทยาเขตนานาชาติ ทั้งด้านหลักสูตร และทรัพยากรแล้ว หลักสูตรที่เปิดสอนควรเป็นด้านการ และการเรี ย นการสอน โดยมี ก ารเปิ ด สอนคณะการบริ ก ารและการท่ อ งเที่ ย ว คณะ ท่องเที่ยวและด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม คณะวิเทศศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ บัณฑิต ซึ่งนอกจากการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแล้ว วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการวิ ท ยาศาสตร์ ร ะบบโลกและการจั ด การภั ย ธรรมชาติ อั น ดามั น ควรจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสร้าง (ESSAND) วิทยาลัยนานาชาติศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ICASP) มีสิ่งอ�ำนวย บรรยากาศที่ ก ระตุ ้ น ให้ มี ก ารใช้ ภ าษาอั ง กฤษในชี วิ ต ความสะดวกและการสนับสนุน เช่น หน่วยงาน ที่ดูแลนักศึกษาและบุคลากรชาวต่างชาติ ประจ�ำวัน ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้มีการพัฒนา ภาษาอังกฤษได้เร็วขึ้น หอพักส�ำหรับบุคลากรชาวต่างชาติ ส�ำหรับยุทธศาสตร์สู่การเป็นวิทยาเขตนานาชาติ ของวิทยาเขตภูเก็ต แบ่งเป็น ในการพั ฒ นาวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ให้ เ ป็ น 4 ประเด็น คือ วิทยาเขตนานาชาติ ควรสอดคล้องกับแผนพัฒนา 1. ผลิตบัณฑิตคุณภาพสูงระดับสากล เพื่อพัฒนานักศึกษาให้รับรู้และตระหนัก จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต มี ก ารประสานงานและสร้ า งความ ถึงความส�ำคัญของพหุวัฒนธรรม เพื่อให้สามารถที่จะมีบทบาทและส่วนร่วมในประชาคม ร่วมมือกับทั้งภาครัฐและเอกชน ควรมีส่วนร่วมใน นานาชาติ และพั ฒ นาการจั ด การด้ า นการเรี ย นการสอนให้ มี คุ ณ ภาพและมี ค วาม การศึกษาข้อมูลการเป็น Smart City ของจังหวัด เป็นสากล ภู เ ก็ ต ตามนโยบายรั ฐ บาล ควรมี ศู น ย์ ใ ห้ ค วามรู ้ 2. มหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรม ผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับนานาชาติ เพื่อ แก่ประชาชนทั่วไป เช่นในเรื่องการจัดการท่องเที่ยว ควรมี โ ครงการความร่ ว มมื อ และหาทุ น วิ จั ย จาก สร้างองค์ความรู้ใหม่ และสามารถต่อยอดไปสู่นวัตกรรมและการพัฒนาเชิงพาณิชย์ใน ต่ า งประเทศ มี ก ารจั ด ประชุ ม วิ ช าการเพื่ อ แลก ภาคอุตสาหกรรม มีระบบบัณฑิตศึกษาที่เข้มแข็งเป็นฐานเพื่อการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย เปลี่ ย นความรู ้ กั บ ต่ า งประเทศ ควรมี ก ารหา 3. พั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ส มรรถนะสากล โดยมุ ่ ง พั ฒ นาบุ ค ลากรสายวิ ช าการ แหล่งทุนและแหล่งเงินรายได้อื่นนอกเหนือจาก และสายสนับสนุนให้มีสมรรถนะสากล งบประมาณแผ่นดิน 4. พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในด้านวิชาการและด้านกายภาพให้มีความ
18 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ลงนามร่วมมือ ส.พระจอมเกล้าลาดกระบัง องศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมลงนามบันทึกข้อ ตกลงความร่วมมือ กับ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบั ง (สจล.) โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ซึ่ ง การลงนามในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น ณ ห้ อ ง ประชุม 1 ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 โดยข้อตกลง ในการลงนามมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะให้ค�ำปรึกษา แลกเปลี่ยนความรู้ หรือฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร อีกทั้ง เตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ การจั ด ตั้ ง อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ แก่ ค ณะผู ้ จั ด ตั้ ง อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รวมไปถึงการให้บริการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา และ การท�ำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคอุตสาหกรรม ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
19 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ. ร่วมกับ 3 องค์กร ลงนามความร่วมมือ
พัฒนายางพารารอบด้านสร้างขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยคณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ร่ ว มกั บ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย, การยางแห่ ง ประเทศไทย, และศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแ ห่งชาติ ลงนามบันทึกข้อ ตกลงความร่ ว มมื อ เครื อ ข่ า ยนวั ต กรรมยางพารา พร้ อ มประชุ ม ขั บ เคลื่ อ นบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤษภาคม 2559 ณ การยางแห่ ง ประเทศไทย กรุ ง เทพฯ โดยบู ร ณาการความร่ ว มมื อ พัฒนายางพารา ทั้งภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคราชการ และภาคการศึกษา ที่มีบทบาทในการพัฒนายางพาราในด้านเศรษฐกิจ และสั ง คม ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี รวมถึ ง ด้ า นบุ ค ลากร ซึ่ ง เครือข่ายดังกล่าวจะเป็นฐานส�ำคัญที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
โดยมีผู้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเครือข่ายนวัตกรรมยางพารา ประกอบด้วย (จากซ้ายมือผู้อ่าน) ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่ง ประเทศไทย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายบวร วงศ์สินอุดม รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ดร.จุ ล เทพ ขจรไชยกู ล ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แห่งชาติ (เอ็มเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายนวัตกรรมยางพาราใน ครั้งนี้ เอ็มเทค สวทช. มีภารกิจหลักในการด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อ สร้ า งนวั ต กรรมการบริ ห ารจั ด การและการผลิ ต ยางพาราตลอดกลางน�้ ำ จนถึงปลายน�้ำ เช่น การเก็บรักษาน�้ำยางพารา เทคโนโลยีการผลิตและการ แปรรู ป ยางพาราขั้ น ต้ น นวั ต กรรมด้ า นการวิ เ คราะห์ ท ดสอบวั ต ถุ ดิ บ และ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างพารา รวมถึ ง งานมาตรฐานต่ า งๆ จากโจทย์ ที่ไ ด้ รั บ จากการ ยางแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อตอบสนอง ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการร่วมมือกันของเครือข่ายครั้งนี้ มี ความคาดหวั ง คื อ การได้ เ ห็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ที่ ใ ช้ ย างพาราเป็ น วั ต ถุ ดิ บ มี การใช้งานในตลาดอย่างแพร่หลายมากขึ้น นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ยางพารา ไทยจะต้ อ งสามารถตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการใช้ ง านได้ อ ย่ า งเหมาะสม ทั้ ง ในด้ า นคุ ณ สมบั ติ ก ารใช้ ง าน ราคา ตลอดจนความเชื่ อ มั่ น และมาตรฐาน
รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) กล่ า วว่ า การลงนามในครั้ ง นี้ ทั้ ง 4 ฝ่ า ยจะปฏิ บั ติ ง านเป็ น เครื อ ข่ า ยตลอด ระยะเวลา 3 ปี ภายใต้ ข อบเขตความรั บ ผิ ด ชอบ 5 ประการ คื อ ประการ ที่ 1 ร่วมกันด�ำเนินงานสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา และความร่วมมือทาง วิชาการ ในรูปแบบต่าง ๆ ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดการสร้าง นวั ต กรรมด้ า นยางพาราตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงนี้ แ ละก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศไทย ประการที่ 2. ร่ ว มกั น จั ด หาและสนั บ สนุ น ทรัพยากร เช่น บุคลากร งบประมาณวัสดุอุปกรณ์ข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้ง ข้อมูลความต้องการและแนวโน้มเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับยางพาราส�ำหรับ ใช้ ใ นการด� ำ เนิ น งานภายใต้ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงนี้ ประการที่ 3. ร่ ว มกั น จั ด ฝึ ก อบรมและสั ม มนาด้ า นยางพาราให้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ประการที่ 4. ร่วมกันพัฒนาและผลิตบุคลากรด้านยางพารา เพื่อสนับสนุนการด�ำเนิน การของอุตสาหกรรมยางพารา ประการที่ 5. ร่วมกันแลกเปลี่ยนความเห็น เกี่ยวกับทิศทางแนวโน้มความต้องการเทคโนโลยีด้านยางพารา รวมทั้งบูรณ าการการด� ำ เนิ น การของทั้ ง สี่ ฝ ่ า ย เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ มี ก ารน� ำ นวั ต กรรมที่ เ กิ ด จากความร่ ว มมื อ ตามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงนี้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ซึ่งทาง ม.อ. พร้อมสนับสนุนทางวิชาการตามความต้องการของอีก 3 ฝ่าย ที่เหลือโดยใช้ศักยภาพของคณาจารย์ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และศิษย์เก่า ที่มีประสบการณ์ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมยางพารา นายบวร วงศ์สินอุดม รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ปัจจุบันจะเห็นได้ว่าสัดส่วนการใช้ยางพาราในประเทศยังมี สัดส่วนไม่มากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณการผลิตและการส่งออกยางพารา ดังนั้น การส่งเสริมการด�ำเนินการเรื่องมาตรฐานผลิตภัณฑ์ และการพัฒนา ด้ า นบุ ค ลากรและเทคโนโลยี จึ ง ถื อ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ การสร้ า งความ สามารถในการแข่งขันและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมยางของประเทศ ความร่วมมือเครือข่ายพัฒนายางพาราในครั้งนี้ ส.อ.ท. มีภารกิจหลัก ในการผลักดันให้มีการใช้ยางธรรมชาติในประเทศ และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่ อ การส่ ง ออกให้ ม ากขึ้ น การก�ำ หนดโจทย์ และสนั บ สนุ น ข้ อ มู ล แนวโน้ ม ความต้ อ งการนวั ต กรรมยางพารา เพื่ อ ให้ อี ก 3 ฝ่ า ยสร้ า งนวั ต กรรมได้ ต รง ตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรม หรือร่วมสนับสนุนการผลิตบุคลากร ทางด้ า นเทคโนโลยี ย างพาราในรู ป แบบทุ น การศึ ก ษา ทายาทอุ ต สาหกรรม การรับเข้าฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การร่วมวิจัยระดับสูง ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) เปิดเผยว่า การบูรณาการด�ำเนินงานระหว่าง 4 องค์กร จะสามารถผลักดันให้นวัตกรรม ที่เกิดขึ้นไปใช้เป็นประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่ง กยท. มีภารกิจและความ รับผิดชอบหลักในการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และ พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมด้านต่างๆ โดยเฉพาะการบริหารจัดการและการ ผลิตยางพาราต้นน�้ำ การเพาะปลูกและการดูแลสวนยางพารา เผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับยางพารา ส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณเพื่อ สร้างนวัตกรรมการผลิต นวัตกรรมการแปรรูป การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบธุรกิจ และการด�ำเนินการที่เกี่ยวข้อง โดย กยท. พร้อมผลักดัน และสนั บ สนุ น ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการด้ า นยางพาราในรู ป แบบต่ า งๆ ทั้ ง ในเรื่องการวิจัยพัฒนา การฝึกอบรม และการผลิตบุคลากรด้านยางพารา สู่ภาค อุ ต สาหกรรม ตลอดจนสนั บ สนุ น ทรั พ ยากรเพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ วงการ ยางพาราของประเทศอย่างครบวงจร ที่มา งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
20 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ. ลงนามความร่วมมือ
ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค นอกจากนี้ ยังได้ให้ความร่วมมือด้านการเรียนการสอน กฎหมาย เชิงปฏิบัติ (Experiential Legal Education) ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย คุ้มครองผู้บริโภค ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจะสนับสนุน บุคลากรผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมเป็นผู้บรรยายพิเศษ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ กฎหมายภาคปฏิ บั ติ ม ากยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง ด้ า นการฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านของ นักศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจะรับนักศึกษาของ ทางคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าฝึกงานภาคปฏิบัติ ในส�ำนักงานเพื่อให้มีความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ และจะสนับสนุน บุ ค ลากรของทั้ ง สององค์ ก รในการท� ำ วิ จั ย และผลงานวิ ช าการอื่ น ๆ
ส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค(สคบ.) ลงนาม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ม.อ.) ให้คลินิก กฎหมาย คณะนิ ติ ศ าสตร์ ม.อ. ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาในคดี ผู ้ บ ริ โ ภค รวมทั้งกระบวนการส่งต่อคดีไปยัง สคบ. หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธาน กรรมการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค เป็ น ประธานในพิ ธี โดยมี นายอ� ำ พล วงศ์ ศิ ริ เลขาธิ ก ารส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ คุ้มครอง นายธสรณ์อัฑฒ์ ธนิทธิพันธ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักแผน และการพั ฒ นาการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค นายเอกรั ฐ หลี เ ส็ น รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ศุภวัชร์ มาลานนท์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ ร่วมเป็นสักขีพยาน เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 ณ.ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง แรกของภาคใต้ ที่ สคบ. ลงนามความร่วมมือ
ารคุ้มครองผู้บริโภค ถือเป็นพันธกิจส�ำคัญประการหนึ่งของ รัฐบาล ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยนับตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา ได้ให้ความส�ำคัญกับหลักการดังกล่าว ผู้บริโภคใน ปั จ จุ บั น ก็ มี ค วามตระหนั ก รู ้ ถึ ง สิ ท ธิ ต ่ า งๆ ของตนเอง เห็ น ได้ จ ากการ ร้องเรียนและฟ้องร้องต่างๆ จ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความไม่เป็น ธรรมในการท�ำสัญญา การโฆษณาหลอกหลวง ความไม่ปลอดภัยอัน เกิ ด จากการใช้ สิ น ค้ า หรื อ แม้ แ ต่ ค วามรั บ ผิ ด ทางการแพทย์ เป็ น ต้ น ภายหลังเสร็จสิ้นการลงนามความร่วมมือ ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรี ประจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ได้ บ รรยายหั ว ข้ อ “หลั ก ธรรมาภิ บ าล อาจารย์ศุภวัชร์ มาลานนท์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย และเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” แก่ นั ก ศึ ก ษา บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า สคบ.และคณะนิติศาสตร์ ม.อ. ได้ลงนาม และผู้ร่วมในพิธีลงนาม ค ว า ม ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ค ลิ นิ ก ก ฎ ห ม า ย ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่อเป็นศูนย์แก้ไขปัญหาเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์เกี่ยวกับการ คุ ้ ม ครองสิ ท ธิ ผู ้ บ ริ โ ภค และ พั ฒ นาระบบส่ ง ต่ อ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นด้ า นการคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค ให้ กระบวนการให้ค�ำปรึกษาและระงับข้อพิพาทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ จ ะจั ด ให้ มี ก ารอบรมภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา และบุ ค ลากร ที่ ป ฏิ บั ติ ง านในคลิ นิ ก กฎหมาย เพื่ อ ให้ มี ค วามรู ้ ค วาม เข้าใจในการให้ค�ำปรึกษา ไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการ คุ้มครองผู้บริโภค
21 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ.ร่วมมือวิชาการกองทัพเรือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประสานความร่วมมือทางวิชาการ กับกองทัพเรือ หวังแลกเปลี่ยนหลักสูตรและประสบการณ์เพื่อสร้าง ความยั่งยืนทางทะเลและพื้นที่ชายฝั่ง ลเรื อ ตรี พิ เ ชฐ ตานะเศรษฐ เจ้ า กรมยุ ท ธศึ ก ษา ทหารเรือและคณะ เข้าร่วมหารือเพื่อเตรียมท�ำบันทึก ความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีและ ผู้บริหารร่วมต้อนรับและเจรจาหารือ ทั้งนี้ทั้งสองสถาบัน จะร่ ว มมื อ กั น ด้ า นการแลกเปลี่ ย นบุ ค ลากร การพั ฒ นา หลักสูตร กิจกรรมการบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งและองค์กรคลังสมองทางทะเล
อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัย ได้เคยมีความร่วมมือและได้รับการสนับสนุน จากกองทั พ เรื อ ในหลายกิจกรรมในหลายปี ที่ผ่านมา แต่ยังไม่มีบันทึกการลงนามอย่าง เป็ น ทางการ โดยกองทั พ เรื อ ได้ มี ค วาม เชี่ยวชาญด้านการดูแลความมั่นคงทางทะเล และงานวิ จั ย ด้ า นทะเล ส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ซึ่งมีวิทยาเขตทั้ง 5 ตั้งอยู่ใน จั ง หวั ด ติ ด ชายฝั ่ ง ทะเล มี ก ารศึ ก ษาเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้อมทางทะเล การกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้น ความร่วมมือที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นถือเป็นนิมิตร หมายที่ดีที่จะร่วมกันท�ำงานเพื่อประเทศชาติ ด้านท้องทะเลและชายฝั่ง
22 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
เจ้ า กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารเรื อ กล่ า วขอบคุ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ส�ำหรับความร่วมมือซึ่ง เป็นการมองไปข้างหน้า และหากได้ผลส�ำเร็จอย่าง เป็นรูปธรรมจะเป็นอีกจุดเริ่มต้นหนึ่งของความร่วม มือระหว่างกองทัพและสถาบันการศึกษาในอนาคต เป็นการสอดคล้องวิสัยทัศน์เพื่อก�ำหนดทิศทางการ พัฒนาประเทศ ของรัฐบาลที่มุ่งความ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ซึ่งไม่ได้หมายถึงเฉพาะการทหารแต่รวมถึง เศรษฐกิจและความมั่นคงเรื่องแหล่งอาหารด้วย ในการหารื อ ดั ง กล่ า ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ สามารถร่ ว มมื อ ในหลายด้ า น เช่ น ด้ า น เวชศาสตร์ทางทะเล การรักษาพยาบาลทั้งในภาวะ ปกติ แ ละฉุ ก เฉิ น วิ ศ วกรรมการต่ อ เรื อ วิ ศ วกรรม ชายฝั ่ ง การอนุ รั ก ษ์ ฟ ื ้ น ฟู ป ะการั ง และทรั พ ยากร ชายฝั่ง การพัฒนาบุคลากรด้านสันติศึกษาเพื่อการ สร้ า งสั น ติ สุ ข ชายแดนใต้ และ โลจิ ส ติ ก ส์ เป็ น ต้ น
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ.ปัตตานี รับทุนวิจัยด้านยางเพื่อวิจัยและพัฒนาการใช้ ยางธรรมชาติเคลือบผิวเพื่อป้องกันการกัดกร่อนบนผิววัสดุ เ มื่ อ วั น ที่ 2 6 เ ม ษ า ย น 2 5 5 9 นายกฤษฎา วรรณบุตร กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท เน็ ก ซ์ เอ็ น เตอร์ ไ พรส์ จ� ำ กั ด และ คณะฯ ได้เดินทางมอบทุนวิจัยและพัฒนา การใช้ ย างธรรมชาติ ใ นระยะแรก ให้ กั บ ผศ.ดร.อดิ ศั ย รุ ่ ง วิ ช านิ วั ฒ น์ อาจารย์ ประจ� ำ ภาควิ ช าเทคโนโลยี ย างและพอลิ เมอร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี เพื่ อ ด� ำ เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นา การใช้ยางธรรมชาติเคลือบผิวเพื่อป้องกัน การกั ด กร่ อ นบนผิ ว วั ส ดุ ป ระเภทต่ า ง ๆ โดยมี รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมใน พิธีรับมอบทุน
ส�ำหรับ บริษัท เน็กซ์ เอ็นเตอร์ ไพรส์ จ�ำกัด เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นการก่ อ สร้ า งและ อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ซึ่งมีนโยบา ยที่ จ ะใช้ ย างธรรมชาติ เ พื่ อ เป็ น วั ส ดุ เ คลื อ บผิ ว บนวัสดุประเภทต่าง ๆ เพื่อทดแทนวัสดุแบบเดิม ที่เป็นผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี แพื่อเป็นแนวทาง ในการเปลี่ ย นมู ล ค่ า และเพิ่ ม ปริ ม าณการใช้ ยางธรรมชาติ
23 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ความภาคภูมิใจ
นักศึกษาพิการคณะศิลปศาสตร์
รับรางวัลพระราชทาน ปี 59
ายอนุรักษ์ มากมี นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ รับรางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ประเภทนักศึกษาพิการ ระดับชมเชย ประจ�ำปี 2559 จัด โดยกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ซึ่ ง การคั ด เลื อ กระดั บ ภาคใต้ มี ขึ้ น ในระหว่ า งวั น ที่ 27-28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ที่ ศู น ย์ กีฬาและสุขภาพ วิทยาเขตหาดใหญ่ มีสถาบันอุดมศึกษา ส่งนักศึกษาเข้าร่วม จ�ำนวน 19 สถาบัน “อนุรักษ์ มากมี” พิการขาลีบ ขามีแต่กระดูกไม่มีน่อง หรือกล้ามเนื้อที่อยู่ด้านหลังหน้าแข้ง เป็นเหตุให้เดินไม่คล่อง ตั้งแต่อายุ 7 ขวบ อย่างไรก็ตาม ความพิการไม่เป็นอุปสรรค ส�ำหรับ “อนุรักษ์ มากมี” เพราะสามารถเป็นนักกีฬาโรงเรียน ตั้งแต่เรียนที่โรงเรียนวัดเกาะถ�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เ ป ็ น นั ก ฟุ ต บ อ ล ข อ ง ค ณ ะ ศิลปศาสตร์ ในต�ำแหน่งผู้รักษา ประตู และต� ำ แหน่ ง อื่ น และ สามารถยิงประตูได้ น�ำทีมให้ คณะศิ ล ปศาสตร์ เป็ น แชมป์ ฟุตบอล ในปีที่ผ่านมา และอยู่ เบื้องหลังในฐานะโค้ชของทีม ด้ ว ย นอกจากนั้ น ยั ง มี ผ ลการ เรี ย นดี ด้ ว ยเกรดเฉลี่ ย 3.25 และได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาจาก ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร การอุดมศึกษา
24 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
“ความภูมิใจคือจะฝึกงานที่ สโมสรฟุตบอล สงขลา ยูไนเต็ด ในต� ำ แหน่ ง ล่ า ม เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ เชื่อมประสานระหว่างโค้ชกับนัก เตะต่างชาติ ทั้งนี้สโมสรฟุตบอล สงขลายู ไ นเต็ ด มี นั ก ฟุ ต บอล ต่ า งชาติ 5 คน ประกอบด้ ว ย สเปน 2 คน บราซิล 2 คน ญี่ปุ่น 1 คน หลั ง จบการศึ ก ษาก้ อ งอยากท� ำ งานและเรี ย นต่ อ เพื่ อ เป็นโค้ชฟุตบอล” อนุรักษ์ กล่าว การประเมิ น และคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ รั บ รางวั ล พระราชทานระดั บ อุ ด มศึ ก ษา เป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ เ กิ ด จาก พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่มีต่อ เยาวชนไทย ในการที่ จ ะเสริ ม สร้ า งขวั ญ และก� ำ ลั ง ใจให้ แ ก่ นักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา ให้เกิดความมุมานะ และ พากเพียรประกอบกรรมดีโดยสม�่ำเสมอ โดยมีพระราชด�ำริที่จะ พระราชทานรางวัลให้แก่นักเรียน และผู้บริหารสถานศึกษาที่ ประกอบกรรมดีเหล่านั้น โดย แบ่งเป็นประเภทและตามขนาด ของสถาบัน คือ ประเภทนักศึกษาพิการ ประเภทสถาบันขนาด กลาง ประเภทสถาบันขนาดใหญ่ และ ประเภทสถาบันขนาดเล็ก
ความภาคภูมิใจ
นักเรียนสาธิต ม.อ.ปัตตานี
รับเหรียญทองการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิก ระดับชาติ ายปณิธาน แก้วมุนีโชค นักเรียนโรงเรียน สาธิ ต มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้รางวัล ชนะเลิ ศ ในการแข่ ง ขั น วิ ช า ชีววิทยาโอลิมปิก ระดับชาติ ประจําปี 2559 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อ ระหว่ า งวั น ที่ 5-9 เมษายน 2559 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตพระราชวั ง สนาม จันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยสามารถทําคะแนนสูงสุด เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย ได้รับ 1 เหรียญทอง และรางวัลร่วมอีก 3 รางวัล คือ คะแนนรวม (ภาค ทฤษฎีและปฏิบัติการ) สูงสุด คะแนนภาคปฏิบัติการ สู ง สุ ด และ คะแนนรวมส่ ว นภู มิ ภ าคภาคใต้ สู ง สุ ด โครงการการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระดับชาติ จัดโดย มู ล นิ ธิ ส ่ ง เสริ ม โอลิ ม ปิ ก วิ ช าการและพั ฒ นามาตรฐาน วิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จัดขึ้น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์และ คณิ ต ศาสตร์ มี โ อกาส ได้ รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพความถนั ด ทั้งในด้านทฤษฎีและทักษะด้านปฏิบัติทางด้านคณิตศาสตร์ คอมพิ ว เตอร์ เคมี ชี ว วิ ท ยา และ ฟิ สิ ก ส์ เพื่ อ สื บ สานงานพั ฒ นา นั ก เรี ย นไทยให้ มี ม าตรฐานการ ศึ ก ษาทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ ข องประเทศให้ ไ ด้ ระดับมาตรฐานสากลต่อไป โดยใน ปัจจุบันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ ทรงพระกรุณา รับเป็นองค์ประธานมูลนิธิฯ
ส�ำหรับการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระดับชาติในปี พ.ศ. 2559 เป็นการจัดการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระดับชาติครั้งที่ 13 (The 13th Thailand Biology Olympiad – 13th TBO) เป็นการ คัดเลือกจากนักเรียนที่ผ่านการอบรม สอวน. ค่าย 2 จากศูนย์ สอวน.ส่วนภูมิภาค 12 ศูนย์ ศูนย์ละ 6 คน ศูนย์กรุงเทพมหานคร 18 คน และนักเรียนโควต้าจาก สสวท. 13 คน รวมนักเรียนที่เข้า ร่วมแข่งขัน จ�ำนวน 103 คน โดยมีคณาจารย์ฝ่ายวิชาการผู้แทน ศูนย์และผู้สังเกตการณ์จาก 13 ศูนย์ จ�ำนวน 50 คน นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการกลางของมูลนิธิ สอวน. 5 คน คณะกรรมการ ของศูนย์มหาวิทยาลัยศิลปากร ประกอบด้วยคณะกรรมการ ด�ำเนินการ 80 คน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และนักศึกษา พี่เลี้ยง 80 คน รวมจ�ำนวนผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 313 คน
25 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
นิติศาสตร์ช่วยชาวบ้านกรณีบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียแตก นักศึกษาพร้อมอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ม.อ. และบัณฑิตอาสา ช่วยชี้แนะช่องทางเยียวยาชุมชน ต.นาเมืองเพชร อ.สิเกา จ.ตรัง กรณีบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียแตก
ข่ า วกรณี น�้ ำ เสี ย จากบ่ อ บ� ำ บั ด 2 หมื่ น ลู ก บาศก์ เ มตร ของ โรงงานบริ ษั ท กว๋ า งเขิ่ น รั บ เบอร์ (ตรั ง ) จ� ำ กั ด เลขที่ 164 หมู ่ 1 ต.นาเมืองเพชร อ.สิเกา จ.ตรัง เกิดช�ำรุด เมื่อเดือนธันวาคม 2558 ท�ำให้น�้ำเสียที่เก็บอยู่ในบ่อไหลทะลักลงสู่น�้ำในคลองอ่างทองและ ไหลต่อเนื่องไปสู่ล�ำคลองที่อยู่ติดกัน ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่ อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ต.นาเมื อ งเพชร ต.นาโต๊ ะ หมิ ง อ.สิ เ กา จ.ตรั ง และ ต.โคกยาง อ.กันตัง จ.ตรัง หลายพันครัวเรือน ระยะทางยาวมากกว่า 20 กิโลเมตรแตกทะลักลงคลองสาธารณะ ในพื้นที่ ต.นาเมืองเพชร อ.สิเกา จ.ตรัง ส่งผลกระทบต่อชาวบ้านจ�ำนวน 6 หมู่บ้าน รวมถึงสัตว์ น�้ำกุ้ง หอย ปูปลา ตายเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้สภาพล�ำคลองประสบ ปัญหาน�้ำเน่าเสียอย่างหนัก ปลาตายทั้งล�ำคลอง น�้ำไม่สามารถน�ำ มาอุปโภค บริโภคได้ ส่งผลต่อการด�ำรงชีวิตของคนในชุมชนต�ำบล นาเมื อ งเพชรเป็ น อย่ า งมาก และยั ง ส่ ง กลิ่ นเหม็ น ไปทั่ วบริเ วณนั้น นางสาวอมรพรรรณ คงชู นักบริหารงานพัฒนาโครงการ บั ณ ฑิ ต อาสา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ได้ ประสานงานและน�ำอาจารย์สุทธิชัย งามชื่นสุวรรณ อาจารย์ธีร วัฒน์ ขวัญใจ และนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ จ� ำ นวน 11 คน ลงพื้ น ที่ เ มื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2559 เพื่ อ ส�ำรวจความเสียหายจากเหตุการณ์บ่อบ�ำบัดน�้ำเสียแตกและความ ต้องการในเบื้องของชาวบ้าน และวางแผนความช่วยเหลือในเบื้องต้น พบว่ า สภาพล� ำ คลองดี ขึ้ น เนื่ อ งมาจากฝนได้ ต กลงมาระยะหนึ่ ง ท�ำให้น�้ำเสียไหลลงสู่ทะเล เริ่มมีลูกปลา แต่สีน�้ำยังคล�้ำ ชาวบ้าน ไม่ ก ล้ า หาปลา เพราะกลั ว ในเรื่ อ งสารพิ ษ ตกค้ า ง นั ก ศึ ก ษาจึ ง ได้ เก็ บ ตั ว อย่ า งน�้ ำ กลั บ ไปเพื่ อ ส่ ง ต่ อ ยั ง หน่ ว ยงานในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นการตรวจสภาพน�้ ำ ในส่ ว นความต้ อ งการของ ชาวบ้าน ต้องการให้หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ลงมาช่วย เหลื อ ในการฟื ้ น ฟู ส ภาพล� ำ คลองให้ ก ลั บ คื น สู ่ ส ภาพปกติ ต ่ อ ไป
26 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
อาจารย์ ธี ร วั ฒ น์ ขวั ญ ใจ เปิดเผยว่า คลินิกกฎหมายของ คณะนิติศาสตร์ ได้น�ำทีมงานมาส�ำรวจปัญหา รวบรวบข้อมูล ร่วมกับ กลุ่มนักกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ แนะน�ำชาวบ้าน ว่าควรติดต่อหน่วยงานใดบ้าง เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด องค์การบริหาร ส่วนต�ำบล(อบต.) และพบว่าโรงงานอื่นๆ ปล่อยน�้ำเสียลงมาด้วย ทั้งนี้โรงงานได้จ่ายค่าชดเชยให้ผู้เสียหายแต่ละรายแล้ว สิ่งที่ชาวบ้าน ต้องการคือการให้ธรรมชาติมีการฟื้นฟู ก่อนที่เราจะเข้าไปให้ค�ำ ปรึ ก ษา ชาวบ้ า นก็ จ ะไปชุ ม นุ ม หน้ า โรงงาน และร้ อ งเรี ย นศู น ย์ ด�ำรงธรรม และอบต. เป็นต้น ขณะนี้กลุ่มนักกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ได้ลงมาช่วยเหลือ และทางคณะนิติศาสตร์ก็ยินดีช่วยเหลือชาวบ้าน อย่างต่อเนื่อง ตัวแทนนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ ม.อ.หาดใหญ่ ได้สะท้อน จากการลงพื้นที่ว่า “เริ่มต้นเราก็ไปเพราะต้องการให้งานในรายวิชา เสริมหลักสูตรมีส่งอาจารย์ แต่เมื่อลงพื้นที่จริงไปสัมผัสพื้นที่จริงๆ ปั ญ หาจริ ง ๆ แล้ ว ก็ รู ้ สึ ก เห็ น อกเห็ น ใจชาวบ้ า นเป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากเป็ น กลุ ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบโดยตรงจากวิ ก ฤติ บ ่ อ บ� ำ บั ด น�้ำเสียยางพาราแตก และยังต้องการความช่วยเหลือเยียวยา”
“สิ่งที่พวกเราได้ ไปช่วยเหลือชุมชนได้แก่ การแนะน�ำ ขั้นตอนในการเรียกร้องสิทธิ หรือค่าเสียหายต่างๆ ที่เกิดขึ้น กั บ ชุ ม ชนในรู ป แบบและวิ ธี ก ารต่ า งๆ ส่ ว นการช่ ว ยเหลื อ ให้ ค� ำ แนะน� ำ ช่ อ งทางของการเรี ย กร้ อ งความเป็ น ธรรม เช่น เสนอแนะให้ชุมชนติดต่อหน่วยด้านสิ่งแวดล้อมภายใน จังหวัด เป็นต้น” “ทางด้านการด�ำเนินการเรียกร้องความเป็นธรรมนั้น ขึ้นอยู่กับช่องทางที่ชาวบ้านเห็นควรว่าจะด�ำเนินการอย่างไร ตามค� ำ แนะน� ำ ของกลุ ่ ม นั ก กฎหมายสิ่ ง แวดล้ อ ม และการ ลงพื้นที่ในครั้งนี้ท�ำให้เราได้เรียนรู้ว่า ในพื้นที่จริงการบังคับ ใช้ ก ฎหมายนั้ น ถื อ เป็ น เรื่ อ งที่ ย าก เนื่ อ งจากปั จ จั ย ด้ า น การเมือง เรื่องของผลประโยชน์ และอื่นๆ ที่ซับซ้อนมาก”
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์น�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และยังมีพื้นที่เหลือบางส่วนที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ โครงงานนี้จึงเห็น ว่ า จะปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ว ่ า งส� ำ หรั บ เป็ น ฐานการเรี ย นรู ้ ก ารปลู ก ผั ก และอื่ น ๆ พวกเราได้ ส อนให้ น ้ อ งๆ รู ้ จั ก คิ ด ด้ ว ยหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงในการการปลูกผัก การเลี้ยงไส้เดือนดิน เรียนรู้ ปลูกพืชสวนครัวใช้ปุ๋ยจากมูลไส้เดือนดินทดแทนปุ๋ยเคมี เพื่อน�ำผัก ที่ได้จากการเพาะปลูกไปประกอบเป็นอาหารกลางวัน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แบ่งกลุ่ม นักศึกษาออกไปท�ำกิจกรรมสอนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ โรงเรียนในท้องถิ่น จ�ำนวน 15 โรงเรียน โดยสอนทักษะช่าง เช่นการ ใช้ไขควง การซ่อมท่อน�้ำ ทักษะการประดิษฐ์ การเกษตร ความรู้ต่างๆ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2558 - มีนาคม 2559 มีนักเรียนร่วมกิจกรรม ประมาณ 600 คน พบว่าผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ทักษะ มีความ มั่นใจในตัวเอง ภาคภูมิใจในการออกไปช่วยเหลือชุมชน เพื่อจะเป็น วิศวกรที่ดีในอนาคต รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ รศ.ดร.เจริญยุทธ เดชวายุกุล ภาควิชา วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกันเปิดเผยว่า นักศึกษาในปัจจุบันแม้เป็นผู้มีความรู้ทางวิชาการ มีพื้นฐานด้านช่าง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เป็นคนยุคใช้สื่อสารทาง คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจส่งผลให้มีปัญหาด้านการสื่อสารกับชุมชนและ มนุษย์สัมพันธ์ จึงได้น�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็น หลักของกระบวนการคิด และหลักการปฏิบัติ น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ ด้วยการมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ คู่คุณธรรม รู้จัก สร้างสมดุลด้านวัตถุ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม อันน�ำไปสู่ความสุขที่ยั่งยืน โรงเรียนในท้องถิ่นในจังหวัดสงขลาที่ นักศึกษาออกไปได้แก่ โรงเรี ย นวั ด เทพชุ ม นุ ม โรงเรี ย นบ้ า นโป๊ ะ หมอ โรงเรี ย นชุ ม ชนบ้ า น น�้ ำ น้ อ ย โรงเรี ย นนารั ง นก โรงเรี ย นบ้ า นหน้ า ควนลั ง โรงเรี ย นวั ด พรหมประดิษฐ์ โรงเรียนบ้านควนเนียง ทุ่งลุง โรงเรียนวัดเขากลอย โรงเรี ย นวั ด นาหม่ อ ม โรงเรี ย นศรี ษ ะคี รี โรงเรี ย นวั ด ทุ ่ ง งาย โรงเรียนบ้านควนจง โรงเรียนโคกทราย โรงเรียนวัดบ้าน ตั ว อย่ า งของกิ จ กรรม เช่ น กลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ปท� ำ กิ จ กรรมที่ โรงเรียนบ้านโป๊ะหมอ ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประยุ ก ต์ ใ ช้ ห ลั ก คิ ด ในการเลี้ ย งไส้ เ ดื อ นดิ น เพื่ อ ได้ มู ล ไส้ เ ดื อ นมา ท� ำ เป็ น ปุ ๋ ย โดย พบว่ า โรงเรี ย นมี พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ท� ำ เกษตรอยู ่ แ ล้ ว
วนโครงการจุดไฟวิถีพอเพียง ได้ท�ำกิจกรรมอาสา เพื่ อ พั ฒ นาให้ แ ก่ โ รงเรี ย นเรี ย นวั ด เทพชุ ม นุ ม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อฝึกฝนการ “เห็นคุณค่าของตัวเอง” โดยการปลูกพืชในกระบอกไม้ไผ่ซึ่งเป็นต้องการของโรงเรียน วั ด เทพชุ ม นุ ม เนื่ อ งจากบริ เ วณของโรงเรี ย นมี เ นื้ อ ที่ น ้ อ ย เพื่อรับประทานในโรงเรียนและพัฒนาไปสู่โครงการอาหาร กลางวันของนักเรียนได้ ท�ำให้น้องๆ ได้น�ำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน อีกทั้งยังสามารถน�ำไปต่อยอดให้สามารถ พึ่งพาตนเองได้ ในอนาคตอีกด้วย
27 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
Activity
ม.อ. เรียนรู้โครงการพัฒนาของมูลนิธิรากแก้ว เมื่อ 6-10 เมษายน 2559 บุคลากรด้านกิจกรรมนักศึกษา หลักการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ยึดถือ ผู้น�ำนักศึกษา จาก 5 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วม ประโยชน์ส่วนรวม จากความต้องการของท้องถิ่น เรียนรู้ โครงการพัฒนาของมูลนิธิรากแก้ว มูลนิธิปิดทองหลังพระ รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิการบดีฝ่าย และมู ล นิ ธิ แ ม่ ฟ ้ า หลวง ในจั ง หวั ด อุ ด รธานี ขอนแก่ น และน่ า น วิชาการ วิทยาเขตภูเก็ต กล่าวว่า แม้ว่าพื้นที่ภาคใต้และ ตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ น� ำ หลั ก การพั ฒ นาตาม ภาคเหนือจะมีความแตกต่างกัน แต่หลักคิดและหลักปฏิบัติ แนวพระราชด� ำ ริ ม าใช้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาให้ กั บ ชุ ม ชน บู ร ณาการการ ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานราชการ ก่อนลงมือปฎิบัติงานจริงในพื้นที่ เป็ น พื้ น ที่ เ รี ย นรู ้ น อกห้ อ งเรี ย นผ่ า นการลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง ตลอดจนพัฒนานักศึกษาในหลักสูตรการเรียนและการท�ำกิจกรรม ของนั ก ศึ ก ษา มาปรั บ ใช้ กั บ การแก้ ป ั ญ หาร่ ว มกั บ ชุ ม ชน เสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้น�ำที่มีจิตสาธารณะ เพื่อสร้างชุมชนให้เข้มแข็งและยั่งยืน ขยายผลการพัฒนา พร้อมท�ำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติต่อไป ท้องถิ่นของต่อไปในอนาคต
คณะดู ง านได้ ล งพื้ น ที่ ศึ ก ษาเรี ย นรู ้ โ ครงการต้ น แบบการ บริ ห ารจั ด การน�้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น�้ ำห้ ว ยคล้ า ยอั น เนื่ อ งมา จากพระราชด�ำริ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ โครงการซ่อมแซม ฝายเดื อ นห้ า บ้ า นนาดี ต.พั ง งู อ.หนองหาน จ.อุ ด รธานี ศึ ก ษา และแลกเปลี่ยนความรู้ ในโครงการบริหารจัดการลุ่มน�้ำสบสาย เพื่อแก้ปัญหาน�้ำป่าไหลหลากและการบริหารจัดการน�้ำเพื่อการ เกษตร อ.ท่าวังผา โครงการปลูกป่าฯ บ้านน�้ำช้าง ต.ขุนน่าน จ.น่าน รวมทั้งดูงานโครงการ ม.ข.แก้จน ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นร่วมกับ หน่วยงานหลายภาคส่วน ที่ต�ำบลทุ่งโป่ง อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ซึ่งนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ร่ ว มกั น ลงแรง ซ่ อ มคลอง ท� ำ ให้ ไ ด้ แ ผนการพั ฒ นาตามความ ต้องการของชาวบ้าน การบริหารจัดการน�้ำอย่างเป็นธรรมที่ท�ำให้ ชาวบ้านได้น�้ำอย่างทั่วถึง จึงท�ำให้เห็นว่าการพัฒนาโครงสร้าง พื้ น ฐานและการบริ ห ารจั ด การที่ ดี เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ น� ำ ไปสู ่ ก าร พัฒนาด้านอื่นๆ อย่างยั่งยืน และสรุ ป การศึ ก ษาดู ง าน โดย ม.ร.ว.ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล ประธานมูลนิธิรากแก้ว และศาสตราจารย์ ดร.กนก วงศ์ตระหง่าน ที่ปรึกษามูลนิธิรากแก้ว ในการให้ค�ำปรึกษาในการท�ำงาน และเน้น
28 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ส่วน ผศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายกิจการ นักศึกษา กล่าวว่ามหาวิทยาลัย เลือกพื้นที่เป้าหมายใน การพัฒนา เรียนรู้ และปฎิบัติงานจริง ที่ต�ำบลควนรู อ�ำเภอ รั ต ภู มิ จั ง หวั ด สงขลา โดยได้ น� ำ ที ม งานมู ล นิ ธิ ร ากแก้ ว ลงพื้นที่ และแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกับ อบต.ควนรู หัวหน้า ส่วนราชการอ�ำเภอรัตภูมิ และหน่วยงานในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ การขยายผลส� ำ หรั บ สถาบั น การศึ ก ษาในภาคใต้ แผนงานต่อไปจะคัดเลือกผู้น�ำนักศึกษา เข้ารับการอบรม จ�ำนวน 35 คน ในระยะเวลา 3 เดือน น�ำผู้น�ำท้องถิ่น 18 คน ไปศึกษาดูงานโครงการพัฒนาต้นแบบกับมูลนิธิรากแก้ว มี ก ารจั ด ท� ำ โครงการพั ฒ นา 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยมีวิทยาลัยอิสลามศึกษาเป็นแกนน�ำ
รวมทั้งมีการจัดหลักสูตรรายศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต ราย วิ ช ากิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร 1 หน่ ว ยกิ ต และเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ การร่วมกิจกรรม ของนักศึกษา เพื่อขยายผลการท�ำงานปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับมหาวิทยาลัย ในเครือข่ายสถาบันอุดมศึษาในภาคใต้
Activity
นักประชาสัมพันธ์ ม.อ. เยือน USM มาเลเซีย
ณะผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ของคณะและหน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ง 5 วิทยาเขต จ�ำนวน 40 คน น�ำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิพัฒน์ ชูโต ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เข้ารับฟังการบรรยายสรุป และเปลี่ ย นประสบการณ์ กั บ หน่ ว ยงานด้ า น ประชาสัมพันธ์ของ Universiti Sains Malaysia (USM) รั ฐ ปี นั ง ประเทศมาเลเซี ย เมื่ อ วั น ที่ 21 เมษายน 2559 โดยมี Mr. Mohamad Abdullah Director, Media and Public Relations Centre ของ Uni-
versiti Sains Malaysia และคณะ ร่วมให้การต้อนรับ และน�ำเยี่ยมชม พิพิธภัณฑ์ Muzium & Galeri Tuanku Fauziah การเข้ า เยี่ ย มชมในครั้ ง นี้ น อกจากจะเป็ น การเพิ่ ม ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ด้านภาษาอังกฤษของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยมี กิ จ กรรมการให้ ค วามรู ้ ด ้ า น ภาษาตลอดการเดินทางเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว ยั ง เป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยด้ า นประชาสั ม พั น ธ์ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ใน ประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย
ม.อ.ร่วมใจ ส่งเสริม 5 ส. บุคลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ร่ ว มจั ด ท� ำ พื้ น ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ให้ ส ะอาดสวยงาม ต้ อ นรั บ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ปี ก ารศึ ก ษา 2559 สร้ า งบรรยากาศและสิ่ ง แวดล้อมในสถานที่ท�ำงานตามมาตรฐาน 5 ส. ในกิจกรรม “ส�ำนึกรัก ส�ำนักงานอธิการบดี” จัดประกวด Mr. และ Mrs. Cleaning Design Contest ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เสริมสร้างความรัก องค์กร และ สัมพันธภาพที่ดีในหน่วยงาน สอดคล้องกับการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และนโยบายในการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green campus)
ผศ.วศิ น สุ ว รรณรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานเปิดกิจกรรมส�ำนึกรัก ส�ำนักงาน อธิการบดี หรือ Big Cleaning Day เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 ณ ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และพื้นที่ โดยรอบ จัดโดยคณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม 5 ส.ส� ำ นั ก งาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อม สร้าง ความสุ ข และสั ม พั น ธภาพที่ ดี ร ะหว่ า งบุ ค ลากรในส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน นางอั จ ฉรา ตั้ ง แปร นั ก วิ ช าการอุ ด มศึ ก ษา ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม และ พัฒนาการเรียนรู้ ในฐานะประธานคณะท�ำงานส่งเสริม 5 ส. ส�ำนักงาน อธิการบดี กล่าวว่า คณะกรรมการอ�ำนวยการ 5 ส.และบุคลากร ส�ำนักงาน อธิการบดี มีแผนและโครงการกิจกรรม 5 ส.ส�ำนักงานอธิการบดี ตลอดปี 2559 เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของบุคลากร เพิ่ม
ความสุข และสภาพแวดล้อมที่ดีในการท�ำงาน ได้แก่ “กิจกรรมสาระน่ารู้ 5 ส.” “กิจกรรมสนุกกับค�ำถาม-ค�ำตอบ” ให้บุคลากร ส่งค�ำตอบเกี่ยวกับ ประโยชน์ของกิจกรรม 5 ส.มายังตัวแทนกรรมการ 5ส.ของกอง/หน่วยงาน เพื่อชิงรางวัล กิจกรรม “ใส่ใจ 5 ส.พวกเรามาเยี่ยมเยือน” หรือการตรวจ เยี่ยม 5 ส. เพื่อติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินกิจกรรม 5 ส” และในวันจัดกิจกรรม Big cleaning Day แต่ละกอง/หน่วยงาน ส่งตัวแทนเข้าร่วม ประกวด Mr. และ Mrs. Cleaning Design Contest โดยใช้ ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ มี ก ารน� ำ วั ส ดุ รี ไ ซเคิ ล มาเป็ น ส่ ว นประกอบ ของเครื่องแต่งกาย จากนั้นบุคลากรส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ รับอุปกรณ์และแยกย้ายไปท�ำความสะอาด พื้นที่โดยรอบ ส�ำนักงานอธิการบดี เพื่อสร้างความตระหนักร่วมกัน ในการท�ำกิจกรรม 5 ส. เสริมสร้างความรัก ความสุข สนุกสนาน ความสามัคคี สอดคล้อง กั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มและ นโยบายในการเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย สี เ ขี ย ว (Green campus) โดยมี บุคลากรส�ำนักงานอธิการบดี ศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ และ ศู น ย์ เ สริ ม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม เข้าร่วม จ�ำนวน 516 คน
29 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
Activity
วิศวะเครื่องกล ม.อ. เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการ 1. Applied Mechanics, Materials and Manufacturing: AMM 2. Compulational and Simulation Techniques: CST 3. Dynamics Systems, Robotics and Control: DRC 4. Energy Technology and Management: ETM 5. Thermal Systems and Fluid Mechanics: TSF 6. Alternative Energy and Combustion: AEC 7. Aerospace and Marine Engineering: AME 8. Biomechanics: BME 9. Industrial Knowledge Sharing (Invited) าควิ ช าวิศ วกรรมเครื่อ งกล คณะวิศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ สมาคมวิศวกร เครื่ อ งกลไทย จั ด แถลงข่ า ว การประชุ ม วิ ช าการเครื อ ข่ า ย วิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30 หรือ Mechanical Engineering Network of Thailand, ME-NETT 2016 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 ณ ห้องประชุมภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล โดย ผู้ร่วมแถลงข่าวประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จินดา เจริ ญ พรพาณิ ช ย์ ประธานสมาคมวิ ศ วกรเครื่ อ งกลไทย ศาสตราจารย์ ดร.วิริยะ ทองเรือง หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรม เครื่องกล คุณสุชาติ มั่นคงพิทักษ์กุล ตัวแทนสมาคมศิษย์เก่า งานแถลงข่าวได้มีการมอบเงินสนับสนุนในการจัดการ วิ ศ วกรรมศาสตร์ ป ระจ� ำ ภาคใต้ ( หาดใหญ่ ) และคุ ณ ด� ำ รง ประชุมฯ โดยสมาคมศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ การไฟฟ้า ไสยะ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการโรงไฟฟ้าจะนะ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัทกัมฟ์ เจพี เอ็นแอลแอล จ�ำกัด การประชุ ม วิ ช าการเครื อ ข่ า ยวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลแห่ ง บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด(มหาชน) และมอบ ประเทศไทย จะจัดขึ้นในวันที่ 6 - 8 กรกฎาคม 2559 ที่โรงแรม เงินบริจาคเพื่อการเรียนการสอนภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล บีพี สมิหลา บีช โฮเต็ล แอนด์ รีสอร์ท สงขลา เพื่อเป็นเวทีให้ โดยศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณาจารย์ นักวิจัย และนิสิตนักศึกษาได้มีโอกาสน�ำเสนอผล งานทางวิ ช าการในที่ ป ระชุ ม ระดั บ ชาติ เพื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ด้ า น วิชาการและวิจัย ระหว่างหน่วยงานวิจัย ทางด้ า นวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลตลอดจน สถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นการส่งเสริม และพัฒนาให้เกิดผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถน�ำไปใช้ได้จริงและสอดคล้องกับ รายละเอียดเพิ่มเติม >> ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ความต้องการของสังคมและประเทศ การประชุมวิชาการครั้งนี้เปิดรับบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โทรศัพท์ 0 7428 7190 ด้านวิศวกรรมเครื่องกล รวม 9 สาขาหลัก ดังต่อไปนี้
30 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
Activity
สื่อมวลชนส่วนกลาง-ท้องถิ่น
ธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ ผู ้ บ ริ ห ารวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต พบคณะสื่ อ มวลชน ชู ศัก ยภาพความเป็ น นานาชาติ ข องวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต การ เปิดหลักสูตรสนองพื้นที่ด้านการโรงแรม การท่องเที่ยว ที่ย่ังยืน การเตือนภัยธรรมชาติ ด้านไอที และการจัดการ สิ่งแวดล้อม
เมื่ อ วั น ที่ 18 พฤษภาคม 2559 รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต ภูเก็ต และคณะผู้บริหารวิทยาเขต ร่วมต้อนรับคณะสื่อมวลชน จากพื้นที่ภาคใต้และส่วนกลางจ�ำนวน 20 คน ซึ่งร่วมท�ำข่าวการ จั ด การแข่ ง ขั น คอมพิ ว เตอร์ ร ะดั บ โลก และเข้ า ฟั ง บรรยายสรุ ป และเยี่ยมชมหน่วยงานของวิทยาเขตภูเก็ต อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า พันธกิจ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มุ่งเน้นความเป็นผู้น�ำทาง วิชาการ ในสาขาที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต้ และ เชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล มีการประยุกต์ความรู้สู่การสอน การน�ำ ผลงานวิจัยสู่ภาคปฏิบัติแก่สังคมชุมชน ทั้งนี้ แต่ละวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัย มีพันธกิจที่ต่างกันตามลักษณะของพื้นที่ ส� ำ หรั บ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ถู ก วางเป้ า หมายให้ เ ป็ น วิ ท ยาเขต นานาชาติ หลักสูตรส่วนใหญ่ที่เปิดสอนจึงเป็นหลักสูตรนานาชาติ
ด้านการบริการและการท่องเที่ยว โดยเน้นการจัดการท่องเที่ยว ที่ยั่งยืน หลักสูตรด้านภาษาต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้ า นเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม และหลั ก สู ต รวิ ศ วกรรม คอมพิ ว เตอร์ เพื่ อ การพั ฒ นาและก้ า วไปสู ่ ค วามเป็ น วิ ท ยาเขต นานาชาติ ควบคู่ไปกับความมีชื่อเสียงระดับโลกของจังหวัดภูเก็ต และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งเป็นจุดเด่นตรงที่เกิดจากความได้เปรียบ เชิงพื้นที่ ซึ่งหลักสูตรของคณะการบริการและการท่องเที่ยว เป็น หลั ก สู ต รที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ในหลายประเทศทั่ ว โลกส่ ง คนมาแลก เปลี่ยนความร่วมมือ วิทยาเขตภูเก็ตได้มีการเตรียมการเพื่อความเป็นวิทยาเขต นานาชาติ โดยพั ฒ นาการจั ด การด้ า นการเรี ย นการสอนให้ มี คุ ณ ภาพและมี ค วามเป็ น สากล แต่ ยั ง รั ก ษาเอกลั ก ษณ์ ค วาม เป็นไทย พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในด้านวิชาการและด้าน กายภาพของวิทยาเขตภูเก็ตให้มีความเป็นนานาชาติ เพื่อดึงดูด นักศึกษาและนักวิจัยต่างชาติ
มหาวิทยาลัยได้มุ่งพัฒนาให้วิทยาเขตภูเก็ตเป็นวิทยาเขต นานาชาติ ที่ มี ม าตรฐานสากล และเป็ น ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษาที่ ก้าวไกลในภูมิภาคเอเชีย เป็นวิทยาเขตนานาชาติ ที่มีขนาดเล็ก ภายใต้หลักการ “จิ๋วแต่แจ๋ว” เป็นเสาหลักแห่งการพัฒนาภาคใต้ ฝั่งอันดามัน เพื่อรองรับนโยบายของรัฐที่จะให้ภูเก็ตเป็นเมือง Smart City รวมทั้ ง มี ก ารผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถเข้ า สู ่ ต ลาด แรงงานระดับสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังได้มีการเปิดสอนคณะวิชา ที่ ร องรั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาความก้ า วหน้ า ด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศ ของจังหวัดภูเก็ต ในส่วนของการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ สร้างความเข้าใจและเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยการเปิ ด สอนคณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง ผลิ ต บั ณ ฑิ ต และด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนั้ น ยั ง มี ห ลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเปิดสอนที่วิทยาเขตภูเก็ตอีกด้วย
31 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
แนะน�ำหลักสูตร
แนะน�ำหลักสูตร คณะทันตแพทยศาสตร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ Faculty of Dentistry
คณะทั น ตแพทยศาสตร์ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในปี พ.ศ. 2526 เพื่ อ ผลิ ต บัณฑิตทันตแพทยศาสตร์สนองความต้องการของชุมชนในภาคใต้ เผยแพร่ความรู้ แลให้บริการทางทันตสุขภาพแก่ประชาชนทั่วไป ตลอดจนเป็นแหล่งค้นคว้าและวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์เพื่อ สุขภาพที่ดีของประชาชน หลักสูตรคณะทันตแพทยศาสตร์ 1. ระดับปริญญาตรี เปิดสอน 2 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต (D.D.S.) 1.2 หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร์ บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์ (B.Sc. in Medical Science) 2. หลักสูตรหลังปริญญา 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทาง วิทยาศาสตร์และการแพทย์คลินิก Higher Grad.Dip (หลักสูตร 1 ปี) ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ดังนี้ 1. สาขาวิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโล เฟเชียล 2. สาขาวิชาปริทันตวิทยา 3. สาขาวิชาอายุรศาสตร์ช่องปาก 4. สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์ 3. หลักสูตรระดับปริญญาโท เปิดสอน 4 สาขา คือ 3.1 สาขาวิชาการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ 3.2 สาขาวิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 3.3 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก 3.4 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปากประยุกต์ 4. หลักสูตรการฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง/ทันตแพทย์ ประจ�ำบ้านระดับวุฒิบัตร (หลักสูตร 3 ปี) ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา ดังนี้ 1. สาขาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 2. สาขาทันตกรรมจัดฟัน 3. สาขาทันตกรรมประดิษฐ์ 4. สาขาทันตสาธารณสุข 5. หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต Ph.D สาขาวิ ช า วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก (3 สาขาย่อย คือ สาขาวิทยาศาสตร์ช่องปาก สาขาวิจัยทางคลินิก และสาธารณสุขช่องปาก และสาขาทันตวัสดุ)
32 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษารวมค่ า ธรรมเนี ย มพิ เ ศษตลอดหลั ก สู ต ร ประมาณ 336,000 บาท เฉลี่ย 28,000 บาท /คน / ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7428 7567 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail aunchalee.su@psu.ac.th Homepage http:// www.dent.psu.ac.th
คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี
Faculty of Education
คณะศึกษาศาสตร์ เป็นคณะที่มีปณิธานและเป้าหมายที่ชัดเจน ที่จะผลิตบัณฑิตเพื่อประกอบวิชาชีพครูและนักวิชาการ ทั้งในระดับ ปริ ญ ญาตรี แ ละบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ เ น้ น การสอน และพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ให้ เ ป็ น ครู มื อ อาชี พ ที่ มี จิ ต วิ ญ ญาณในความ เป็นครู มีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพครู และมีความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม โดยเน้นความสามารถ ในการเป็นผู้น�ำทางด้านการสอน การวิจัยทางวิชาการ และชี้น�ำ สังคมได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ หลักสูตรคณะศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์เปิดสอนใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับปริญญาตรี ระดั บ ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต ระดั บ ปริ ญ ญาโท และระดั บ ปริญญาเอกระดับปริญญาตรี ปิดสอน 4 หลักสูตร ได้แก่ 1. หลั ก สู ต รศิ ป ศาสตรบั ณ ฑิ ต (B.A.) หลั ก สู ต ร 4 ปี สาขา เทคโนโลยีและการสื่อสารศึกษา 2. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต หลั ก สู ต ร 4 ปี สาขาวิ ช า จิตวิยา 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์), (B.Sc. in Ed.) หลักสูตร 5 ปี มี 5 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกคณิตศาสตร์, วิชาเอกเคมี, วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป, วิชาเอกฟิสิกส์, วิชาเอกชีววิทยา 4. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์) (B.A. in Ed.) หลักสูตร 5 ปี มี 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาภาษาไทย, สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 5. หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตรบั ณ ฑิ ต (B.Ed.) หลั ก สู ต ร 5 ปี มี 5 สาขาวิชา ได้แก่ การประถมศึกษา, ศิลปศึกษา, พลศึกษา สุขศึกษา, เทคโนโลยีสารสนเทศการประเมินผลการศึกษา ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เปิ ด สอนหลั ก สู ต รต่ า งๆ ดั ง ต่ อ ไปนี้
แนะน�ำหลักสูตร
1. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต เปิดสอน 1 สาขาวิชา ได้แก่ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต, สาขาวิชาวิชาชีพครู 2. หลักสูตรระดับปริญญาโท เปิดสอน 2 หลักสูตร 7 สาขาวิชา ได้แก่ 2.1 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Ed.) มี 6 สาขา วิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน, สาขาวิชาการศึกษาเพื่อการ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น , สาขาวิ ช าเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สาร การศึ ก ษา, สาขาวิ ช าการวิ จั ย และประเมิ น ผลการ ศึกษา, สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (M.A.) มี 1 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา 3. หลักสูตรระดับปริญญาเอก เปิดสอนหลักสูตรศึกษาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต (Ed.D) มี 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการ บริ ห ารการศึ ก ษา, สาขาวิ ช าภาวะผู ้ น� ำ และนวั ต กรรม ทางการศึกษา ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ปริญญาตรี ค่าธรรมเนียมการศึกษา เฉลี่ย 11,000 บาท/ภาค การศึกษา ปริญญาโท ค่าธรรมเนียมการศึกษา เฉลี่ย 27,000 บาท / ภาคการศึกษา ปริญญาเอก ค่าธรรมเนียมการศึกษา เฉลี่ย 60,000 บาท / ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7331 3928-50 ต่อ 1608, 1609 หรือ 0 7331 3397, 0 7334 8322 โทรสาร 0 7334 8322, 0 7333 7385 E-mail education@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http:// eduit.pn.psu.ac.th
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร B.Sc. (Agricultural Science and Technology) แบ่งออกเป็น 5 วิชาเอก ได้แก่ 2.1 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตทางชีวภาพทั่วไป 2.2 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตพืช 2.3 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ 2.4 วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตทางน�้ำ 2.5 วิชาเอกเทคโนโลยีจุลินทรีย์ 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาเทคโนโลยีการ จั ด การอุ ต สาหกรรม B.Sc. (Industrial Management Technology) 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยี การจัดการสิ่งแวดล้อม B.Sc. (Environmental Management Technology) 5. หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต (วท.บ.) สาขาวิ ช าอาชี ว อนามัยและความปลอดภัย B.Sc.(Occupational Health and Safety) 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมยางพารา B.Sc.(Rubber Industry Technology) 7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ B.Sc. (Information Technology) 8. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีเพื่อ อุตสาหกรรม B.Sc. (Chemistry for Industry) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม วิชา ได้แก่ 9.1 กลุ่มวิชาเคมีเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร 9.2 กลุ่มวิชาเคมีเพื่ออุตสาหกรรมไขมันและน�้ำมัน 9.3 กลุ่มวิชาเคมีเพื่ออุตสาหกรรมความงามและความ ผาสุก 9. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาการจัดการ งานวิศวกรรม B.Eng. (Engineering Management) ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ค่าธรรมเนียมการศึกษาประมาณ 18,000 บาท /ภาคการศึกษา ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7735 5040 ต่อ 8876-8878 หรือ 0 7735 5453 Homepage http://scit.surat.psu.ac.th
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี Faculty of Sciences and Industrial Technology คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม เปิ ด สอน 9 สาขาวิชา ได้แก่ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยี อาหาร B.Sc. (Food Technology)
33 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
Activity
ม.อ.เปิดศูนย์ฝึกผ่าตัดอาจารย์ใหญ่ ทางสาขาต่างๆ โดยใช้ร่างอาจารย์ใหญ่ ในฝึกพัฒนา ทั ก ษะการผ่ า ตั ด ซึ่ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาองค์ ความรู้ให้กับแพทย์ อันจะน�ำไปสู่การรักษาผู้ป่วย ให้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ขณะเดี ย วกั น จากความ ร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า ว ยั ง รวมไปถึ ง การพั ฒ นางานวิ จั ย ด้านการรักษาสภาพร่างอาจารย์ใหญ่ ด้วยเทคนิค ที่เหมาะสม เช่น ศพนิ่ม (Soft cadaver) ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ ต ่ อ ไปในภายภาคหน้ า ต่ อ การเรี ย นการ สอนในวิ ช ากายวิ ภ าคศาสตร์ ที่ จ ะช่ ว ยลดปั ญ หา เรื่องฟอร์มาลิน และช่วยให้การฝึกผ่าตัดของแพทย์ เฉพาะทางมีความทันสมัย เป็นสากลมากยิ่งขึ้น รศ.นพ. สุ ธ รรม ปิ ่ น เจริ ญ คณบดี ค ณะ ณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละคณะแพทยศาสตร์ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า วิทยาการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มมื อ เปิ ด ทางด้านการแพทย์ในการรักษาด้วยการผ่าตัดได้มีการพัฒนา ศู น ย์ ฝ ึ ก ผ่ า ตั ด อาจารย์ ใ หญ่ (PSU Cadaveric ก้าวหน้าไปอย่างมาก โดยมีการท�ำหัตถการใหม่ๆ รวมถึงการ Surgical Training Center) รองรับการฝึกอบรม พั ฒ นาอุ ป กรณ์ ช ่ ว ยในการผ่ า ตั ด หรื อ เครื่ อ งมื อ พิ เ ศษต่ า งๆ ในหลายๆ สาขา ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติได้ แต่การฝึกการผ่าตัดให้เกิดความช�ำนาญจ�ำเป็นจะต้องมีการ ในอนาคต เป็นประโยชน์กับแพทย์ฝึกหัดและแพทย์ ฝึกผ่าตัดในร่างกายคนจริง ดังนั้นการได้ฝึกผ่าตัดโดยใช้ร่าง เฉพาะสาขาที่เกี่ยวข้อง ลดความเสี่ยงในการผ่าตัด อาจารย์ ใ หญ่ จึ ง มี ความจ� ำ เป็ น อย่ า งมากในการที่ จะช่ว ยให้ ในผู ้ ป ่ ว ยจริ ง ท� ำ ให้ ก ารผ่ า ตั ด ในผู ้ ป ่ ว ยจริ ง มี ศัลยแพทย์ได้มีการฝึกทักษะพื้นฐาน ฝึกทักษะทางด้านหัตถการ ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น และ โดย รศ.ดร. จุ ฑ ามาส ใหม่ๆ หรือฝึกการใช้เครื่องมือต่างๆในการช่วยผ่าตัด เพิ่มโอกาส ศตสุข รองอธิการบดีฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัย ในการฝึกซ้อมด้วยหัตถการทางการแพทย์ภายใต้การก�ำกับ สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ วั น ที่ ดูแลจากอาจารย์แพทย์และผู้เชี่ยวชาญอย่างใกล้ชิด ท�ำให้ 14 มิถุนายน 2559 โดยคณาจารย์จากทั้งสองคณะ เกิ ด ความช� ำ นาญในการ ร่วมเป็นเกียรติ ผ่าตัดก่อนที่จะไปรักษาผู้ รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ป่วยจริง ท�ำให้การรักษาผู้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า ภาควิ ช ากายวิ ภ าค ป่วยมีความปลอดภัยและ ศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนโดย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ใช้ ร ่ า งอาจารย์ ใ หญ่ โดยท� ำ การสอนแก่ นั ก ศึ ก ษาสาย วิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ อาทิ คณะแพทยศาสตร์ คณะทั น ต แพทยศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์ และมี บ ทบาทใน การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการ ในรู ป แบบของการจั ด โครงการฝึ ก ผ่าตัดโดยใช้ร่างอาจารย์ใหญ่ ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ ใน การฝึ ก อบรมแพทย์ เ ฉพาะทางสาขาต่ า งๆ เช่ น ศั ล ยแพทย์ ออโธปิ ดิ ก ส์ ประสาทศั ล ยศาสตร์ และ หู ค อจมู ก เป็ น ต้ น โดยได้ มี ก ารร่ ว มมื อ กั น ทางวิ ช าการมาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2555 ต่ อ มาจึ ง มี ก ารพั ฒ นาความร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม ที่ ชัดเจน มีการท�ำบันทึกข้อตกลง (MOU) ตั้งแต่เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2558 จึงเกิดเป็นศูนย์ฝึกผ่าตัดอาจารย์ใหญ่ขึ้น ภารกิจ ของศูนย์ฝึกผ่าตัดนี้ จะเกี่ยวข้องกับการจัดอบรมแพทย์เฉพาะ
34 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559
กิจกรรมที่น่าสนใจ
Tourism and Hospitality International Conference (THIC) 2016
“Multidisciplinary Perspectives on Sustainable Development” 17th - 19th November 2016
rince of Songkla University is pleasure to invite you all national and international lecturers, scholars, researchers, graduates, and any others who are interested in attending our conference to be held at Prince of Songkla University, Surat Thani Campus Contributed papers highlighting news and recent development in the following research areas are invited 1. Tourism and Hospitality Management 2. Economics 3. Languages 4. English Language Teaching 5. Business and Public Management Keynote Speakers: Professor Dr.Noel Scott Professor, Griffith Institute for Tourism, Griffith University Professor Dr. Chira Hongladarom General Secretary, Foundation for International Human Resources Development Important Dates Abstract Submission Deadline Full paper Submission Deadline Payment Due Date THIC 2016 Conference Dates
5th June - 31st July 2016 1st August - 15th September 2016 23rd September 2016 17th - 19th November 2016
For further information of the Conference, please contact the secretary of THIC 2016: Website: http//:thic2016.surat.psu.ac.th Via Email: thic2016@gmail.com THIC 2016 Secretariat
Prince of Songkla University, Surat Thani Campus, 31. Moo 6, Makhamtia, Muang, Surat Thani 84000 Phone No : +066 7735-5040 Fax No : + 066 7735-5041 Website : http://www2.surat.psu.ac.th/index.php
35 ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559