สาร ม.อ. ฉบับที่ 2 ประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

Page 1


ข่าวเด่น

ม.อ.โพล เผยผลส�ำรวจคนใต้ส่วนใหญ่มองคลองไทย

ช่วยให้เศรษฐกิจดี คนพื้นที่มีงานท�ำ

ศู น ย์ บ ริ ก ารวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ร วบรวม ข้อมูลความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ต่อโครงการ พัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐ (โครงการขุดคลองไทย ตามเส้นทางสาย 9A) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณา โดยประชากร กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งประกอบด้ ว ย “ประชาชนในเขตพื้ น ที่ โ ครงการ” คื อ อ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ อ�ำเภอวังวิเศษ อ�ำเภอสิเกา จังหวัดตรัง อ� ำ เภอป่ า พะยอม จังหวัด พัทลุง อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอชะอวด จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และอ� ำ เภอระโนด จั ง หวั ด สงขลา และ “ประชาชน พื้ น ที่ น อกเขตโครงการ” คื อ จั ง หวั ด ชุ ม พร จั ง หวั ด ระนอง จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี จั ง หวั ด สตู ล จั ง หวั ด ปั ต ตานี จั ง หวั ด ยะลา จั ง หวั ด พั ง งา จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดภูเก็ต โดยท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 1,760 กลุ่มตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 12 เมษายน – 20 พฤษภาคม 2560

ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นโครงการ ขุดคลองไทยตามเส้นทางสาย 9 A ในภาพรวมจากทุกกลุ่ม พบว่าส่วนใหญ่ ร้อยละ 76.00 เห็นด้วยกับโครงการ ส่วน ร้อยละ 24.00 ไม่เห็นด้วย โดยกลุ่มตัวอย่างที่เห็นด้วยมอง ว่า เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมดีขึ้น ประชาชนในพื้นที่มี งานท�ำ มีรายได้เพิ่มขึ้น ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เห็นด้วยต่อ โครงการขุดคลองไทยเห็นว่าจะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง วิถีชีวิตของคนในพื้นที่ เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม

2 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


สารบัญ 2

16

9

18

ข่าวเด่น 2 ม.อ.โพล เผยผลส�ำรวจคนใต้ส่วนใหญ่มองคลองไทยช่วยให้ เศรษฐกิจดี 15 ม.อ.ติด 1 ใน 6 มหาลัยชั้นน�ำของไทย 16 นายกชื่นชม ม.อ. ขับเคลื่อนงานวิจัยและสร้างนวัตกรรม ที่มีประโยชน์มาตลอด 50 ปี 18 ม.อ. จัดท�ำ Branding เสริมภาพลักษณ์มหาวิทยาลัย 20 พิธีลงนามความร่วมมือวิชาการกับ U of Bahrain 21 ม.อ.จัดสัมมนา “การปรับตัวของสื่อในยุคการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนยีการสื่อสาร”

ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม 4 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่พัฒนาเครือข่าย เส้นทางท่องเที่ยวอัจฉริยะ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน 5 ภาคใต้เข้มแข็ง...สู้ภัยน�้ำท่วม 6 ม.อ.ตรังจัดโครงการฟื้นฟูศิลปะการแสดงโนราแก่เยาวชน

การศึกษา 7 ม.อ.จับมือ 3 ฝ่าย จัดหลักสูตรนานาชาติด้านวิศวกรรมยาง หลักสูตรแรกของไทย 8 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเยี่ยม โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์

ความภาคภูมิใจ 9 นักวิจัย ม.อ.คว้ารางวัลจากการประกวดผลงานวิจัยระดับ นานาชาติ 10 อาจารย์สถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.อ.ตรัง คว้างรางวัลวิจัยดีเด่น ระดับชาติ 11 อาจารย์รุ่นใหม่ ม.อ. มุ่งวิจัยพลาสติกชีวภาพ รับรางวัล PST Rising Star 2017 12 นักศึกษา ม.อ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ รับรางวัลโครงงานสหกิจ ศึกษาดีเด่น ระดับชาติ สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ ภารกิจของมหาวิทยาลัยให้กับ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจที่จะท�ำให้ กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะ เป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน

ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ทุนการศึกษา 13 นักศึกษา ม.อ. ตรัง รับมอบทุนการศึกษาจากมูลนิธิไท่หนานไต้เทียนกง 13 โครงการ “HSBC พาต้นกล้าเปิดโลกทัศน์” ครั้งที่ 2 ณ กรุงเทพมหานคร 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ บ.ซีอีซีฯ มอบทุน “ต้นกล้าสงขลานครินทร์” สานฝันเยาวชนเรียนดี

ความร่วมมือสู่การพัฒนา 22 ITAP จับมือ ม.อ.จัดสัมมนานวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาลสู่สากล 23 พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ(MOU) ทางวิชาการกับสันนิบาตเทศบาล ภาคใต้ 24 ม.อ.- มวล. ลงนามความร่วมมือด้านเทคนิคการแพทย์ 24 ม.อ.ภูเก็ต ร่วมพัฒนานวัตกรรม การวิจัยและสร้างสรรค์ผลงานสื่อดิจิตอล ในระดับสากล 25 เมียนมาร์เชิญคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ. หารือเรื่อง การเป็นเจ้าภาพและสัมมนาการเปิดหลักสูตรด้านประมงและเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำ 26 ม.สงขลานครินทร์ ร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันเทคโนโลยีป้องกัน ประเทศ 27 ม.อ.แลกเปลี่ยนกระบวนการอาสาสมัครกับมหาวิทยาลัยของอเมริกา

Activity 28 ม.อ.ปลูกฝังจิตส�ำนึกจิตสาธารณะแก่นักศึกษาอาสาสมัคร 5 วิทยาเขต 29 คณะสัตวแพทย์ ม.อ.ร่วมกับปศุสัตว์ลงพื้นที่ “รณรงค์ ป้องกัน ควบคุมโรค พิษสุนัขบ้า จ.สงขลา”’ 30 ม.อ. ตรัง จัดกิจกรรม “มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง” ดูแลน้อง จาก 4 โรงเรียน ขยายโอกาส ใน จ. ตรัง 31 ม.อ. ร่วมเป็นเจ้าภาพ “สงขลาเกมส์” ระหว่างวันที่ 20-30 มิ.ย.

แนะน�ำหลักสูตร...32 เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ 34 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วมสนับสนุนบริจาคเงิน แก่มูลนิธิหมู่บ้านเด็กตะวันฉาย 34 BBA FOR THE HERO

กิจกรรมที่น่าสนใจ 35 ข่าวดี..ท�ำฟัน..กันนักศึกษาทันตแพทย์ พร้อมรับสิทธิพิเศษ

3 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่ จ.ตรังท�ำงานโครงการ

“พัฒนาเครือข่ายเส้นทางการท่องเที่ยวอัจฉริยะ จังหวัด ภาคใต้ฝั่งอันดามัน” (One Andaman)

เมื่อวันที่ 12-17 พฤษภาคม 2560 ดร.แสงดาว วงค์สาย อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เป็ น หัวหน้าโครงการ “พัฒนาเครือข่ายเส้นทางการท่องเที่ยว อั จ ฉริ ย ะจั ง หวั ด ภาคใต้ ฝ ั ่ ง อั น ดามั น ” (One Andaman) ภายใต้ โครงการพัฒนากลุ่มจังหวัดอันดามัน เพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวและก้าวสู่การเป็นครัวโลกมาตรฐานสากล น�ำทีมคณะท�ำงาน เข้าร่วมการประชุมเพื่อประชาสัมพันธ์ โครงการฯ และลงพื้นที่เพื่อสร้างความร่วมมือในการสร้าง เครื อ ข่ า ยท่ อ งเที่ ย วในกลุ ่ ม จั ง หวั ด ฝั ่ ง อั น ดามั น ร่ ว มกั บ ภาคการท่องเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดตรัง นอกจากนี้ ดร.แสงดาว วงค์สาย พร้อมด้วยคณะท�ำงาน ยังมี การเข้าพบปะพูดคุยกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคชุมชน ในจังหวัดตรัง หลายภาคส่วน ได้แก่ นายศิริพัฒ พัฒกุล ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด ตรั ง หั ว หน้ า ส่ ว นราชการจั ง หวั ด ตรั ง ส� ำ นั ก งานวั ฒ นธรรม จังหวัดตรัง ส�ำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดตรัง ส�ำนักงานท้องถิ่น จังหวัดตรัง ส�ำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดตรัง การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ส�ำนักงานตรัง) ชมรมผู้สื่อข่าวจังหวัดตรัง หอการค้าจังหวัดตรัง ส�ำนักงานพาณิชย์ จังหวัดตรัง ท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านเขาหลัก วิสาหกิจชุมชนผ้าทอ นาหมื่นศรี ท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อหินฟาร์มสเตย์ ท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านล�ำขนุน หมู่บ้านมุสลิมชุมชนบ้านมดตะนอย ร้านอาหารกวน ความร่วมมือในการบูรณาการข้อมูลแต่ละภาคส่วน รวม นิโตพาทิสเซอรี (Kuanito patisserie) บ้านขนมป้าพิณจังหวัดตรัง ถึงเชิญชวนให้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับโครงการฯ และ และบริษัทน�้ำดื่ม เจย์ เฟรช เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการฯ และสร้าง สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง อันดามันต่อไป

4 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม

“ภาคใต้เข้มแข็ง...สู้ภัยน�้ำท่วม”

รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดี ฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก�ำหนดจัดโครงการ เสวนา “ภาคใต้เข้มแข็ง..สู้ภัยน�้ำท่วม” ครั้งที่ 1 ขึ้น เนื่องจาก เมื่อช่วงเดือน ธันวาคม 2559 ถึง มกราคม 2560 ที่ผ่านมา เกิด น�้ำท่วมรุนแรงกระจายไปเกือบทั่วทุกพื้นที่ของภาคใต้ในรอบ หลายสิบปี หลายพื้นที่เป็นพื้นที่ที่เกิดน�้ำท่วมซ�้ำซากหรือเกิดน�้ำ ท่วมแต่นานมาแล้ว และที่ส�ำคัญหลายพื้นที่ไม่เคยเกิดน�้ำท่วม มาก่อนเลย น�้ำท่วมใหญ่ในภาคใต้ครั้งนี้จึงก่อให้เกิดความเสีย หายอย่างมหาศาลและทุกภาคส่วนได้รับผลกระทบเป็นวงกว้าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะมหาวิทยาลัยหลักใน พื้นที่ภาคใต้ ได้ริเริ่มจัดโครงการเสวนา “หาดใหญ่เข้มแข็ง..สู้ภัย น�้ำท่วม” ร่วมกับภาคส่วนที่มีหน้าที่บริหารจัดการน�้ำท่วมเมือง หาดใหญ่ จ�ำนวน 7 ครั้ง โดยมีผลส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจมาแล้ว

จึ ง เห็ น ว่ า ม.อ. ควรมี ส ่ ว นร่ ว มในการช่ ว ยเหลื อ และ ประสานงานในการบริหารจัดการน�้ำท่วมของภาคใต้ และใน โอกาสย่างเข้าสู่ปีที่ 50 ของ ม.อ. จึงได้ก�ำหนดจัดเสวนา “ภาค ใต้เข้มแข็ง..สู้ภัยน�้ำท่วม” ครั้งที่ 1 ขึ้น เพื่อเป็นกิจกรรมทาง วิชาการที่จะสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวม มีการน�ำเสนอข้อมูล “สาเหตุและผลกระทบจากน�้ำท่วมภาคใต้ 2559 - 2560” การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และปัญหาจากการรับมือน�้ำท่วมที่ ผ่านมา บทเรียนจากการบริหารจัดการน�้ำท่วมของหน่วยงาน และกลุ่ม/ชุมชนที่ถูกน�้ำท่วม รวมทั้งบทเรียนจากการบริหาร จั ด การน�้ ำ ภายใต้ โ ครงการหาดใหญ่ เ ข้ ม แข็ ง ..สู ้ ภั ย น�้ ำ ท่ ว ม และ Hat Yai Model ที่ ม.อ. ร่วมกับทุกภาคส่วนได้ด�ำเนินการ ในอ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ดสงขลา นอกจากนั้ น จะมี การจัด นิทรรศการที่ทันสมัยในการรับมือน�้ำท่วมจากนักวิชาการของ ม.อ. และหน่วยงานต่าง ๆ

5 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม

วิทยาลัยนวัตกรรมการแสดงฯ ม.อ.ตรัง

จัดโครงการฟื้นฟูศิลปะการแสดงโนราแก่เยาวชน

เมื่ อ วั น ที่ 12 มิ ถุ น ายน 2560 ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง อาจารย์ ฑิ ล ฎา คงพัฒน์ อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยนวัตกรรมการแสดง และการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตตรัง เผยถึงการจัดโครงการฟื้นฟูการแสดง พื้ น บ้ า นโนรา “มาเมื อ งตรั ง ไม่ ห นั ง ก็ โ นรา” เมื่ อ วั น ที่ 10 และ 11 มิ ถุ น ายน ที่ ผ ่ า นมา เพื่ อ เป็ น การฟื ้ น ฟู ศิ ล ปะการแสดงพื้ น บ้ า นโนรา ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ทางด้านการแสดงพื้นบ้านโนราให้กับเด็กและเยาวชน ในจังหวัดตรัง โดยได้เชิญ คุณละมัย ศรีรักษา หรือ โนราละมั ย ศิ ล ป์ เป็ น วิ ท ยากรให้ ค วามรู ้ ด ้ า นการ ร�ำโนราให้กับเด็กและเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ ใน จังหวัดตรัง เข้าร่วมกิจกรรม กว่า 40 คน อาจารย์ฑิลฎา เผยว่า โครงการฟื้นฟูการแสดง พื้ น บ้ า นโนรา มาเมื อ งตรั ง ไม่ ห นั ง ก็ โ นรา จั ด ขึ้ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และปลู ก ฝั ง ให้ เ ยาวชนในจั ง หวั ด ตรั ง ได้ เ กิ ด ความรั ก หวงแหน และเห็ น คุ ณ ค่ า ของการแสดง โนราอั น เป็ น มรดกทางภู มิ ป ั ญ ญาของบรรพบุ รุ ษ โดยที่ วิ ท ยาลั ย นวั ต กรรมการแสดงและการจั ด การ ได้ ท� ำ หน้ า ที่ ใ นการผลิ ต บั ณ ฑิ ต และท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ป วั ฒ นธรรมของชาติ ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของ การแสดงโนรา จึ ง ด� ำ เนิ น การจั ด โครงการนี้ ขึ้ น และ หวังว่าเด็กและเยาวชนที่ได้เข้าร่วม จะได้เป็นผู้สืบสาน ศิ ล ปะการแสดงพื้ น บ้ า นโนราให้ อ ยู ่ คู ่ กั บ ชุ ม ชนต่ อ ไป

6 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


การศึกษา

ม.อ.จับมือ 3 ฝ่าย จัดหลักสูตรนานาชาติด้านวิศวกรรมยาง หลักสูตรแรกของประเทศไทย เผยแนวโน้มความต้องการบัณฑิตเฉพาะทางที่มากขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นอกจากนี้ ยั ง ได้ ค าดการสถานะการณ์ แ นวโน้ ม ตลาด ในอนาคตอีก 4-5 ปีข้างหน้า เมื่อนักศึกษาส�ำเร็จการศึกษา ก็จะมีโอกาศที่ดีในการท�ำงานกับอุตสาหกรรมใหญ่จากประเทศ ต่าง ๆ ที่ย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศไทยและภูมิภาค อาเซียน เช่น บริษัท คอนติเนนทอล (Continental) ประเทศ เยอรมันนี ผู้พัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ระดับสูงชั้นน�ำของโลก ที่ ไ ด้ ล งทุ น ก่ อ ตั้ ง ฐานการผลิ ต ในประเทศไทย มู ล ค่ า 250 ล้ า นยู โ ร (10,000 ล้ า นบาท) โดยโรงงานผลิ ต ยางรถยนต์ คอนติ เ นนทอลจะเริ่ ม เดิ น สายการผลิ ต ได้ ภ ายในปี 2562 เพื่ อ ผลิ ต ยางรถยนต์ แ ละยางรถกระบะ 4 ล้ า นเส้ น ต่ อ ปี ไ ด้ หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และมหาวิ ท ยาลั ย ภายในปี 2565 และจะสร้างงานใหม่ให้กับประเทศไทยได้ถึง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ชิ ง เต่ า (Qingdao 900 ต�ำแหน่ง University of Science and Technology, QUST) ร่วมกับ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมยางรั บ เบอร์ วั ล เล่ ย ์ (Rubber Valley Group, RVG) ประเทศจีน ร่วมลงนามความร่วมมือในการ จัดหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมและ เทคโนโลยียาง (หลักสูตรนานาชาติ) ตั้งเป้าหมายเพื่อวิจัย พั ฒ นาและสร้ า งบุ ค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ใ นอุ ต สาหกรรม ยางรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมภายในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมยาง ล้อที่จะมีการย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศไทยมากขึ้น รองศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ ตั น รั ต นกุ ล ผู้อ�ำนวยการโครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย -จีน กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ภายใต้โครงการ ความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากส� ำ นั ก งาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ก า ร จั ด ห ลั ก สู ต ร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมและเทคโนโลยียาง (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) โดยขณะนี้ วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค วามพร้ อ ม ในการเปิดรับนักศึกษาเพื่อเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2560 นี้ รองศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ ตันรัตนกุล กล่าวเพิ่มเติม ว่ า วิ ท ยาลั ย ฯ จั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ ภ าษาอั ง กฤษเป็ น ภาษาหลักในการเรียน และใช้ภาษาจีนเป็นตัวเสริม นักศึกษา สามารถเลื อ กเรี ย นได้ 2 โปรแกรม โดยโปรแกรมแรกเป็ น โปรแกรมแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ และเรี ย นต่ อ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ชิ ง เต่ า อี ก 2 ปี ห ลั ง จบแล้ ว รั บ ปริ ญ ญาจากทั้ ง 2 มหาวิทยาลัย (Double Degree Program) ส่วนโปรแกรมที่ 2 เป็ น โปรแกรมแบบ 4+0 คื อ นั ก ศึ ก ษาเรี ย น 4 ปี เ ต็ ม เวลาที่

7 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


การศึกษา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เยี่ยม โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์

เมื่ อ วั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน 2560 รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ดร.อรรชกา สีบุญเรือง พร้อมด้วย ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม และ นายสมชาย เที ย มบุ ญ ประเสริ ฐ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ เ ดิ น ทางมาตรวจเยี่ ย ม โรงเรี ย น มอ.วิทยานุสรณ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนในโครงการ วมว. ของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมี รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นพ.วรั ญ ตั น ชั ย สวั ส ดิ์ ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย น มอ.วิทยานุสรณ์ และคณะครูนักเรียน ให้การต้อนรับ

ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้พาเยี่ยมชม นิทรรศการทางวิชาการ ระบบการเรียน การสอน ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติ การทางภาษา นอกจากนี้ ไ ด้ พ บปะ พู ด คุ ย กั บ ผู ้ บ ริ ห ารของโรงเรี ย นและ นั ก เรี ย นโรงเรี ย น มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ รั บ ฟั ง ปั ญ หาและแนวทางการพั ฒ นา เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นมี ขี ด ความสามารถที่ สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้

8 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ม.อ.ภาคภูมิ

นักวิจัย ม.อ. คว้า 3 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน และ 2 รางวัล Special Prize

จากการประกวดผลงานวิจัยระดับนานาชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขอร่วมแสดงความยินดีกับนักวิจัยทุกท่าน จากการคว้า 3 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน และ 2 รางวั ล Special Prize จากการประกวดผลงานวิ จั ย ในงาน 45th. International Exhibition of Inventions: Geneva, Switzerland 29 March - 2 April 2017. เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2560 นักวิจัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น� ำ ผลงานเข้ า ร่ ว มจั ด แสดงและประกวด ผลการตั ด สิ น ได้ รั บ รางวั ล ทั้ ง สิ้ น 7 รางวั ล จาก 5 ผลงาน ประกอบด้วย รางวัลเหรียญทองและรางวัล Special Prize from MALAYSIAN จากผลงานวิจัยเรื่อง “หุ่นจ�ำลองการ ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน” โดย ผ.ศ. นพ. สิทธิโชค อนันตเสรี จากคณะแพทยศาสตร์ ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี จากคณะวิทยาศาสตร์ นพ.วราห์ ยืนยงวิวัฒน์ จากคณะแพทยศาสตร์ รางวัลเหรียญทอง จากผลงานวิจัยเรื่อง “แผ่นแปะแก้ปวดจากสารสกัดไพลและสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก” โดย รศ.ดร. ภก. ภาคภูมิ พาณิชยูปกานันท์ จากคณะเภสัชศาสตร์ นางสาวนิติมา บินดุเหล็ม จากคณะเภสัชศาสตร์ นางสาวอาพาภรณ์ แก้วชูทอง จากคณะเภสัชศาสตร์ รางวัลเหรียญทอง จากผลงานวิจัยเรื่อง “ระบบคอมพิวเตอร์ส�ำหรับการตรวจวินิจฉัยตาเขและการดูแล” โดย รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ จากคณะแพทยศาสตร์ ผศ.ดร.พรชัย พฤกษ์ภัทรานนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

รางวัลเหรียญเงินและรางวัล Special Prize from Korea จากผลงานวิจัยเรื่อง “ไบโอแคลเซียมจากกระดูก ปลาทูน่า” โดย ศ.ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล นายสุไลมาน หมัดอะหลี นายธีระพล เสนพันธุ์ จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร รางวัลเหรียญเงิน จากผลงานวิจัยเรื่อง”ชุดทดสอบการปนเปื้อนสุกรในอาหาร” โดย นางพจนาจ พัธบุรี นายอุทัย ไทยเจริญ จากศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์

โดยได้รับเกรียรติ จากศาตราจารย์ นายแพทย์สิริฤทษ์ ทรงศิวิไล เลขาธิ ก ารคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ ม อบรางวั ล ต่ า งๆ ให้ กั บ นั ก วิ จั ย ทุกท่านที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้

9 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ม.อ.ภาคภูมิ

อาจารย์สถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.อ.ตรัง

คว้ารางวัลวิจัยดีเด่น จากเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ�ำปี 2560 ขอแสดงความยิ น ดี กั บ อาจารย์ ช าวดี ง่ ว นสน, อาจารย์ โอปอร์ ชัยสง่าพงษ์, อาจารย์คัมภีร์ คล้ามนฤมล และ อาจารย์ สุ ภ าวดี จริ ง จิ ต ร อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ในการคว้ า รางวั ล วิ จั ย ดี เ ด่ น จากเวที ป ระชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ประจ� ำ ปี 2560 (RSU National and International Research Conference in International Creative Arts Exhibition 2017) โดยได้ ร่วมส่งบทความวิจัย การศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์ โดยรอบอาคารตลาดสดเทศบาลนครตรัง ภายใต้ ผลงานชื่ อ “Connecting our past through prestigious culture in Trang Municipal Food Market” จนได้รับรางวัล ผลงานดีเด่นดังกล่าว

ส� ำ หรั บ ผลงานวิ จั ย ชิ้ น นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงานวิ จั ย โครงการพระยารัษฎานุประดิษฐ์โมเดล เพื่อพัฒนาการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืน โดยเกิดจากความร่วมมือของอาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ที่ เ ห็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดย รอบตลาดสดเทศบาล นครตรั ง จึ ง มี แ นวคิ ด ในการเข้ า ไปส� ำ รวจ สภาพปัญหาและ สาเหตุ ข องการเสื่ อ ม สภาพของตลาดสด เทศบาลนครตรัง ที่อาจ

10 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ส่งผลต่อศักยภาพการขยาย ตั ว ในอนาคต โดยการเริ่ ม เข้ า ไปแฝงตั ว เพื่ อ ศึ ก ษา พื้ น ที่ จนพบว่ า ตลาดสด เทศบาลนครตรั ง มี ป ั ญ หา ในหลายด้ า น ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ งระบบระบายอากาศ การจัดการปัญหาขยะ ระบบ แสงสว่างที่ไม่เพียงพอ รวมถึงการจัดการพื้นที่ภายในอาคาร ส�ำหรับผู้ค้าและนักท่องเที่ยว รวมถึงได้มีการศึกษารูปแบบ สถาปัตยกรรมในเมืองทับเที่ยง โดยน�ำข้อมูลทั้งหมดมาใช้เป็น แนวคิ ด หลั ก ในการออกแบบ และแก้ ป ั ญ หาในผลงานวิ จั ย จากประเด็นปัญหาที่เกิดจากการสังเคราะห์และวิเคราะห์ ข้อมูล ท�ำให้ได้ “ผลงานการศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์โดยรอบอาคารตลาดสดเทศบาลนครตรัง” ที่มุ่ง เน้นการช่วยฟื้นฟูตลาดให้กลับมาเป็นศูนย์รวมของการค้าขาย อีกครั้ง รวมถึงการมุ่งหวังที่จะปรับปรุงให้ตัวตลาดกลายเป็น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มี ชี วิ ต ที่ แ ฝงไปด้ ว ยเอกลั ก ษณ์ และอั ต ลั ก ษณ์ ความเป็นพื้นถิ่นของจังหวัดตรัง แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนใน พื้นที่จากเจ้าถิ่นเอง ทั้งยังเป็นจุดเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม กับกิจกรรมของคนในเมือง นักท่องเที่ยวต่างถิ่น และต่างชาติ ทั้งนี้ การมุ่งหวังที่จะพัฒนาตลาดสดเทศบาล นครตรั ง จะได้ รั บการพั ฒ นา คงต้ องพึ่ ง ความร่ ว มมื อจากทั้ง ประชาชนคนตรัง ภาคเอกชน และตัวท้องถิ่นเองด้วย


ม.อ.ภาคภูมิ

อาจารย์รุ่นใหม่ ม.อ. มุ่งวิจัยพลาสติกชีวภาพ

รับรางวัล PST Rising Star 2017

นั ก วิ จั ย คณะวิ ท ยาศาสตร์ ม.อ. มุ ่ ง ศึ ก ษาวิ จั ย ท�ำผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพจากผลผลิตทางการ เกษตร ย่อยสลายเร็วเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รับรางวัล เชิ ด ชู เ กี ย รติ จ ากสมาคมโพลิ เ มอร์ แ ห่ ง ประเทศไทย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.แก้ ว ตา แก้ ว ตาทิ พ ย์ ภาค วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัล PST Rising Star 2017 ซึ่งเป็นรางวัลการเชิดชูนักวิจัย รุ่นใหม่ แต่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในเวทีระดับ ชาติและนานาชาติ และมีจรรยาบรรณนักวิจัยที่ดี จาก สมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย ในการประชุมวิชาการ นานาชาติโพลิเมอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 (PCT-7) เมื่อระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2560 ที่กรุงเทพมหานคร

ตัวอย่างหนึ่งที่ก�ำลังมีการศึกษาคือ “แป้ง” ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ ธรรมชาติ ช นิ ด หนึ่ ง ที่ ส ามารถน� ำ มาแปรรู ป เป็ น พลาสติ ก ได้ แต่ คุ ณ สมบั ติ จ ะไม่ ส ามารถเที ย บเท่ า กั บ พลาสติ ก ที่ ไ ด้ จ าก ปิโตรเคมี จึงต้องมีการปรับโดยใส่สารตัวเติมที่มาจากธรรมชาติ เช่น จากเส้นใย เปลือกไข่ กระดองปลาหมึกเข้าไป ท�ำให้มี การทนต่อแรงดึงมากขึ้น เพื่อทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ได้ โดยเป็ นการเพิ่ มมู ลค่ า ให้ กับสารเหลื อทิ้ ง ได้ อีกทางหนึ่ง ได้ มี ก ารทดลองท� ำ ถาดโฟมจากแป้ ง ทดแทนถาดโฟมจาก Polystyrene ทางการค้ า โดยเพิ่ ม เส้ น ใยกาบมะพร้ า วเพื่ อ เพิ่ ม ความแข็ ง แรง ลดการดู ด ซั บ น�้ ำ และท� ำ กระถางต้ น ไม้ หรื อ ภาชนะที่ ส ามารถย่ อ ยสลายพร้ อ มกั บ เป็ น ปุ ๋ ย ไปในตั ว สามารถน�ำต้นไม้ไปปลูกลงดินได้เลยทั้งกระถาง “เรื่องพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยเป็นเรื่องใหม่ โรงงาน ที่ ร องรั บ งานด้ า นนี้ ยั ง น้ อ ย ในการท� ำวิ จั ย ยั ง มี ข ้ อ จ� ำกั ด เรื่ อ ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แก้วตา แก้วตาทิพย์ ได้สอน เครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย แต่ มี ทุ น ส� ำ หรั บ การท� ำ วิ จั ย จ� ำ นวนมาก เกี่ ย วกั บ พอลิ เ มอร์ พื้ น ฐาน และ วิ ช าเลื อ กพลาสติ ก ชี ว ภาพ และมี แ นวโน้ ม ที่ ยั ง เป็ น ที่ ส นใจอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในอนาคต โดยน� ำ องค์ ค วามรู ้ จ ากงานวิ จั ย มาสอนนั ก ศึ ก ษา มี ผ ลงาน นอกจากนั้น ได้มีโรงงานอุตสาหกรรมมาขอค�ำปรึกษาในการ ตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง โดยที่ให้ความสนใจเป็นพิเศษคือเรื่อง ใช้ประโยชน์จากของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ซึ่งถือเป็น ของ “พลาสติ ก ชี ว ภาพและวั ส ดุ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม” การเริ่มการให้บริการวิชาการอีกทางหนึ่ง” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เนื่องจากพลาสติกทั่วไปมีปัญหาจากการที่ย่อยสลายยาก และ ดร.แก้วตา กล่าว ท�ำจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ซึ่งอาจมีบางช่วงที่ราคาสูงขึ้น นอกจากรางวั ล รางวั ล PST Rising Star 2017 แล้ ว และวั น หนึ่ ง จะต้ อ งหมดไป การใช้ พ ลาสติ ก ชี ว ภาพทดแทน ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.แก้ ว ตา แก้ ว ตาทิ พ ย์ ยั ง เคยได้ รั บ พลาสติกทั่วไป จะท�ำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้เร็ว ใช้เวลา รางวัลชมเชยนวัตกรรมสงขลานครินทร์ ปี 2556 รางวัลอาจารย์ สร้างใหม่ได้ในระยะเวลาอันสั้น และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รุ่นใหม่ดีเด่นคณะวิทยาศาสตร์ ปี 2559 ศิษย์เก่าดีเด่นคณะ นอกจากนั้นยังเป็นการส่งเสริมภาคเกษตรกรรมเนื่องจากมี วิ ท ยาศาสตร์ และศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย ส่วนผสมของแป้งและโปรตีน ที่มาจากผลิตผลทางการเกษตร สงขลานครินทร์ ปี 2559

11 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ม.อ.ภาคภูมิ

นักศึกษา ม.อ.คณะวิศวกรรมศาสตร์

รับรางวัลโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น ระดับชาติ

ขอแสดงความยิ น ดี กั บ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ การคั ด เลื อ ก ให้รับ รางวัลโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น ระดับชาติ ด้าน นวัตกรรมสหกิจศึกษา เรื่อง แบบจ�ำลองชนิดข้อเข่าเทียม ชนิ ด ที่ เ ก็ บ รั ก ษาเอ็ น ไขว้ ห น้ า และเอ็ น ไขว้ ห ลั ง โดย นายธนภัทร มุสิกูล นักศึกษาวิศวกรรมชีวการแพทย์คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ งานวั น สหกิ จ ศึ ก ษาไทย จั ด ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี ใน วันที่ 6 มิถุนายน เพื่อให้มีความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตบัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต และภาคส่วนที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผลผลิตของ

12 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

อุดมศึกษาไทย เพื่อให้ทุกภาคมีส่วนร่วม สหกิจศึกษา ตลอดจน ภาคสังคมก็ตระหนัก เห็นความส�ำคัญ และประโยชน์ของการ จั ด การศึ ก ษาระบบสหกิ จ ศึ ก ษา เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ ค วาม เข้าใจและความก้าวหน้าในการด�ำเนินการจัดการศึกษาแบบ สหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งยกย่องและให้เกียรติแก่ ผู้ท�ำคุณประโยชน์กับสหกิจศึกษาไทย ให้องค์กรและบุคคล ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ร่วมด�ำเนินการสหกิจศึกษา ได้พบปะ แลกเปลี่ ย นความรู ้ แ ละความคิ ด เห็ น อั น จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การส่ ง เสริ ม พั ฒ นาสหกิ จ ศึ ก ษาของประเทศไทยอย่ า ง จริงจังต่อเนื่อง และเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมพัฒนาการ เรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยต่อไป


ทุนการศึกษา

นักศึกษา ม.อ.ตรัง รับมอบทุนการศึกษาจากมูลนิธิไท่หนานไต้เทียนกง

เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤษภาคม 2560 ที่ มู ล นิ ธิ ธ รรมกตั ญ ญู ไท่ หนานไต้เทียนกง อ.เมือง จ.ตรัง ผศ.ดร.ณัฐวิทย์ พจนตันติ รอง อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ร่วมในพิธี มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษา ประจ�ำปี 2560 และ ได้ร่วมแสดงความยินดีกับนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง จ� ำ นวน 2 ราย ที่ไ ด้รับทุนการศึก ษา จากมู ลนิ ธิฯ คนละ 10,000 บาท คือ นายวรกิต สะมะโน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาการประกั น ภั ย และการจั ด การความเสี่ ย ง และนางสาว ดวงฤทั ย สุ ข ศิ ริ พั ฒ น์ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 3 สาขาวิ ช าการบั ญ ชี ค ณ ะ พ า ณิ ช ย ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง โดยมี น ายระลึ ก หลี ก ภั ย

ในฐานะกรรมการจัดงานให้การต้อนรับ นายโสภณ เอื้อศรีทองกุล ประธานประสานงานการมอบ ทุนการศึกษา ปี 2560 กล่าวว่า กิจกรรมมอบทุนการศึกษานี้ ทาง มูลนิธิธรรมกตัญญู ไท่หนานไต้เทียนกง ได้จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนการด�ำเนินการอันเป็นสาธารณกุศล ให้ความช่วยเหลือ แก่ผู้ยากไร้ โดยได้มีการมอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน นักศึกษา จากสถาบันการศึกษาต่างๆ ในจังหวัดตรัง ที่เป็นนักเรียน นักศึกษา ที่เรียนดีแต่ยากจนและมีความประพฤติดี โดยได้ด�ำเนินการมา แล้วเป็นระยะเวลา 5 ปี ในปีนี้ทางมูลนิธิฯ ได้ แจกทุนการศึกษา รวม 234 ทุน แยกเป็นทุนละ 3,000 บาท จ�ำนวน 227 ทุน และทุน ละ 10,000 บาท จ�ำนวน 7 ทุน รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 751,000 บาท

โครงการ “HSBC พาต้นกล้าเปิดโลกทัศน์” ครั้งที่ 2 ณ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ 4 จ�ำนวน 9 คนในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ที่ได้รับทุนต้นกล้าสงขลา นครินทร์ รุ่นที่ 2ภายใต้การสนับสนุนทุนการศึกษาจากธนาคาร เอชเอสบีซี ประเทศไทย มร. เคลวิ น แทน ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย เพื่อแสดงความขอบคุณที่ธนาคาร เอชเอสบีซี ประเทศไทย ให้การสนับสนุนทุนการศึกษานักเรียน กลุ่มดังกล่าวจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ซึ่งในครั้งนี้ ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย ได้ สนับสนุนโครงการ “HSBC พาต้นกล้าเปิดโลกทัศน์” ครั้งที่ 2 ณ กรุงเทพมหานคร ขึ้นเมื่อวันที่ 25-28 พฤษภาคม 2560 ซึ่งนักเรียน ที่ได้รับทุนฯ ได้มีโอกาสเข้าเยี่ยมชมสถานที่ท�ำงานของ ธนาคารเอชเอสบี ซี ประเทศไทย ส� ำ นั ก งานใหญ่ เข้ า เยี่ ย มชมและเพิ่ ม พู น ประสบการณ์ ค วามรู ้ ณ นิ ท รรศ รัตนโกสินธิ์ และพิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งมาดามทุสโซ และร่วม กิจกรรมสนุกๆ ณ Bounce Thailand สาขาเดอะสตรีท แทรมโพลีนอารีน่าในร่มจากประเทศออสเตรเลีย และ

Art in Paradise กรุ ง เทพมหานคร เปิ ด ประสบการณ์ ภ าพวาด 3 มิติ กิจกรรมดังกล่าวช่วยสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ แก่นักเรียนทุน ที่เข้าร่วมโครงการได้เป็นอย่างมาก

13 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ทุนการศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ บริษัท ซี อี ซีฯ มอบทุน

“ต้นกล้าสงขลานครินทร์” สานฝันเยาวชนเรียนดี โดยมี ศาสตราจารย์ สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ย พัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุ ติ พ ร จิ โ รจน์ กุ ล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายสวัสดิการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมเป็นสักขีพยานในการมอบทุน ครั้งนี้

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ซี อี ซีฯ มอบทุน “ต้นกล้าสงขลานครินทร์” สานฝันเยาวชน เรียนดี ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน 2560 ที่ ห้องประชุม 1 ส�ำนักงาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา นายโฆเซ่ อิ ส เกี ย รโต กรรมการผู ้ จั ด การ บริษัท ซี อี ซี อินเตอร์เนชั่นแนล ลิ มิ เ ต็ ด (สาขาประเทศไทย) พร้ อ มด้ ว ย นางภาวิ ณี ทั บ เป็ น ไทย ผู้จัดการฝ่ายรัฐกิจและกิจการสัมพันธ์ และคณะ เป็นผู้แทน บริษัทฯ ในการมอบทุนการศึกษาโครงการ “ต้นกล้าสงขลา นคริ น ทร์ ” จ� ำ นวน 2 ทุ น ๆ ละ 247,000 บาท รวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 494,000 บาท ให้ กั บ นางสาวสุ ด ารั ต น์ สิ น ปรุ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ชั้ น ปี ที่ 4 โรงเรี ย น กอบกุลวิทยาคม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา และนางสาว ฮามี เ น๊ า ะ อารง นัก เรีย นระดับมัธยมศึก ษาตอนปลาย ชั้ น ปีที่ 4 โรงเรียนคอลอมุดอ อ�ำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

14 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ส�ำหรับทุนโครงการ “ต้ น กล้ า สงขลานคริ น ทร์ ” เป็ น ลั ก ษณะทุ น ให้ เ ปล่ า ตั้ ง แต่ ร ะดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลายจนจบระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เพื่ อ ให้ โ อกาสนั ก เรี ย นที่ ค รอบครั ว ขาดแคลน ทุนทรัพย์ ประพฤติดี และมีผลการเรียนที่ดีได้ศึกษาต่อ ปั จ จุ บั น มี นั ก เรี ย นทุ น ที่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จากบริ ษั ท ฯ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบัน จ�ำนวน 9 คน เป็นเงิน จ�ำนวน 2,223,000 บาท โดยบริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับ โอกาสทางการศึกษาเป็นสิ่งมีค่า และส�ำคัญที่สุดส�ำหรับ ครอบครั ว ที่ ข าดแคลนทุ น ทรั พ ย์ และมี ค วามต้ อ งการ ให้บุตรหลานได้ศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น เพื่อการเติบโต ในสังคม และการมีอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัวต่อไป ในอนาคต


ข่าวเด่น

วัดโดย QS และเว็บยอดนิยมโดย 4icu.org เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 ส�ำนักจัดอันดับมหาวิทยาลัย โลก Quacquarelli Symonds หรือ QS จากประเทศอังกฤษ ได้ประกาศการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของโลก ประจ�ำปี 2018 (QS World University Rankings® 2018) เป็นการจัด อันดับมหาวิทยาลัยจาก 84 ประเทศ 950 มหาวิทยาลัยทั่วโลก โดยพิจารณาจาก 6 ตัวชี้วัด คือ ชื่อเสียงทางวิชาการ ชื่อเสียง จากผู้จ้างงาน อัตราส่วนจ�ำนวนนักศึกษาต่อจ�ำนวนอาจารย์ จ� ำ นวนงานวิ จั ย ที่ ถู ก น� ำ ไปใช้ อ ้ า งถึ ง จากฐานข้ อ มู ล ของ Scopus บทความวิ จั ย ที่ ถู ก น� ำ ไปใช้ อ ้ า งถึ ง ในรอบ 5 ปี อั ต ราส่ ว นจ� ำ นวนอาจารย์ ต ่ า งประเทศ/นานาชาติ และ อั ต ราส่ ว นจ� ำ นวนนั ก ศึ ก ษาต่ า งประเทศ/นานาชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ การจั ด ให้ อ ยู ่ ใ นอั น ดั บ ที่ 185 ของเอเชีย กลุ่มสถาบันอันดับ 801-1000 ของโลก โดยจัด เรียงล�ำดับในระดับประเทศได้ดังนี้ 1. (อันดับ 245 ของโลก) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. (อันดับ 334 ของโลก) มหาวิทยาลัยมหิดล 3. (อันดับ 551-600 ของโลก) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4. (อันดับ 601-650 ของโลก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5. (อันดับ 751-800 ของโลก) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6. (อันดับ 801-1000 ของโลก) มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ นอกจากนั้ น ในการจั ด อั น ดั บ เว็ บ ไซต์ ม หาวิ ท ยาลั ย ยอดนิยมที่มีการสืบค้น และเข้าชมมากที่สุด ตลอดระยะเวลา

1 ปี ที่ผ่ า นมา ของ 4icu.org (4 International Colleges & Universities) ปี 2017 มีสถาบันการศึกษาถูกจัดอันดับจ�ำนวน 12,358 แห่ง จาก 200 ประเทศทั่วโลก โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการจัดให้อยู่ใน อันดับที่ 6 ของไทย อันดับที่ 93 ของเอเชีย และอันดับที่ 812 ของโลก โดยอั น ดั บ 1-5 คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4 International Colleges & Universities เป็นหน่วย งานอิ ส ระ มี ส� ำ นั ก งานอยู ่ ที่ ป ระเทศออสเตรเลี ย ด� ำ เนิ น การ จัดอันดับความนิยมเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ต่ า ง ๆ ในประเทศและทั่ ว โลกมาตั้ ง แต่ เ ดื อ นกรกฎาคม ค.ศ. 2005 เพื่ อ จั ด อั น ดั บ ความนิ ย มของมหาวิ ท ยาลั ย และ วิทยาลัยนานาชาติ บนพื้นฐานของความ นิ ย มในการเข้ า ติ ด ตามชมเว็ บ ไซต์ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะเป็ น เว็ บ ไซต์ ที่ ช ่ ว ย ให้ นั ก ศึ ก ษานานาชาติ ไ ด้ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยนานาชาติมาก ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การที่เว็บไซต์ที่มีข้อมูล ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และมี ก าร Update ข้อมูลข่าวสารที่สม�่ำเสมอจะถูกน�ำมาใช้ ในการพิจารณาจัดอันดับอีกด้วย

15 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ข่าวเด่น

เตรียมข้อมูลแผนพัฒนา imt-gt รับภาคใต้ 4.0

นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ ก ล่ า วชื่ น ชมมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ที่ได้มีการขับเคลื่อนงานวิจัยและสร้างนวัตกรรรม ที่ เ ป็ น ประโยชน์ จ� ำนวนมากมาตลอดเวลา 50 ปี จนได้ เ ป็ น มหาวิทยาลัยชั้นน�ำในด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศ จาก งานวิจัยด้านยาง ปาล์ม การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ และ การแพทย์ ที่ได้น�ำเสนอในวันนี้ ซึ่งรัฐบาลจะได้น�ำไปเชื่อมต่อ สู่การผลิตและการใช้งานให้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการวิจัย เป็นภารกิจที่ต้องมีการร่วมมือกัน และต้องวิจัยและพัฒนาด้าน ความคิดไปด้วย เพื่อจะได้ทราบปัญหา ความขาดแคลน เพื่อน�ำ มาแก้ไขและพัฒนา น�ำไปสู่ด้านการผลิตในสิ่งที่เราต้องการจะ เพิ่มมูลค่า ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยจะต้องมีการจัดกลุ่มงานวิจัย และ ที่มาของแหล่งทุนวิจัย เพื่อรัฐบาลจะได้ให้การสนับสนุนได้ตาม เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 24 พฤษภาคม 2560 พลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ได้ เ ดิ น ทางไปเยี่ ย มชมผลงาน วิ จั ย และนวั ต กรรมของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ เครื อ ข่ า ยมหาวิ ท ยาลั ย ในภาคใต้ ที่ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ พร้ อ มทั้ ง ปาฐกถา เรื่ อ ง “การ ขั บ เคลื่ อ น Thailand 4.0 ในภาคใต้ ” โดยมี ผู ้ ร ่ ว มรั บ ฟั ง จ� ำ นวน 1,600 คน ประกอบ ด้ ว ยหั ว หน้ า ส่ ว นราชการ ภาค เอกชน ผู ้ บ ริ ห าร บุ ค ลากร นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ มหาวิ ท ยาลั ย เครื อ ข่ า ยในภาคใต้

16 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ข่าวเด่น

ความเหมาะสม เนื่องจากงบประมาณของรัฐอย่างเดียวไม่เพียง พอ ควรมีการน�ำวัตถุดิบที่มีอยู่หรือสิ่งที่ดีอยู่แล้วมาต่อยอด เพื่อไม่ต้องมีการเริ่มต้นใหม่ ซึ่งจะท�ำให้ต้องใช้งบประมาณสูง “การปรั บ เปลี่ ย นระบบเศรษฐกิ จ ไปสู ่ ยุ ค ใหม่ ไ ม่ จ�ำเป็นต้องทิ้งใครไว้ข้างหลัง ประเทศไทย 1.0 ถึง 4.0 จะ ต้องเดินเคียงข้างกันตลอดเวลา การท�ำงานทุกอย่างต้องมี ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง โดยต้นทางคือปัญหาความ ต้ อ งการ ปลายทางคื อ สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งการให้ ส� ำ เร็ จ ส่ ว น กลางทางคือกระบวนการบริหารจัดการ ที่ทุกการท�ำงาน ต้องคิดตรงนี้ เราต้องมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการคิด วิเคราะห์ มีหลักคิดที่ถูกต้อง ซึ่งแม้จะมีการคิดนอกกรอบ บ้างแต่ต้องกลับมาสู่ความร่วมมือ เพื่อความส�ำเร็จและ พัฒนาไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง” นายกรัฐมนตรีกล่าว ในช่ ว งบ่ า ย นายกรั ฐ มนตรี แ ละคณะได้ เ ดิ น ทางไป เยี่ยมชม ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็น ศูนย์กลางในการจ�ำหน่ายผลิตผลทางการเกษตร และสินค้า ประเภทอาหารที่มีความปลอดภัยให้แก่บุคลากรมหาวิทยาลัย และทั่วไป โดยมุ่งเน้นการสร้างแนวปฎิบัติที่ดีให้แก่ผู้จ�ำหน่าย ด้านความปลอดภัยทางอาหาร และด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เคยได้รับคัดเลือกให้เป็น ตลาดนัดต้นแบบของจังหวัดสงขลา ในโครงการหนึ่ ง จั ง หวั ด ตลาดนั ด ต้ น แบบจากส� ำ นั ก งาน สาธารณสุขจังหวัดสงขลา ได้รับเกียรติบัตรตลาดปลอดโฟม 100% ตลาดนัดน่าซื้อ ระดับดีมากจากกรมอนามัย และได้รับ

การส่งเสริมเป็น “ตลาดต้องชม” จากการกระทรวงพาณิชย์ มี การน�ำเทคโนโลยีช่วยส่งเสริมการขาย เช่น การขายของทางไลน์ และสนับสนุนการท�ำเกษตรออแกนิคให้กับกลุ่มธุรกิจเกษตร ชุมชน โดยร่วมเต้น Chicken Dance ซึ่งเป็นกิจกรรมที่กลุ่มผู้จัด และผู้ค้าขายในตลาดเกษตร ม.อ.จัดขึ้นเป็นประจ�ำ

17 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ข่าวเด่น

ม.อ. จัดท�ำอัตลักษณ์(Branding)

เสริมภาพลักษณ์การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศ เ มื่ อ วั น ที่ 8 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 0 ม ห า วิ ท ย า ลั ย สงขลานครินทร์ จัดท�ำแผนแม่บทกลยุทธ์การสร้างอัตลักษณ์ (Branding) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ใน โอกาสการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2559 และสอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ของมหาวิ ท ยาลั ย ใน การเผยแพร่ ผ ลงานและชื่ อ เสี ย งของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ชั ด เจน และเป็ น การประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น ที่ รู ้ จั ก เพิ่ ม ขึ้ น โดยมีฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ด�ำเนินการ รวมทั้ ง จากสถานการณ์ ป ั จ จุ บั น สถาบั น การศึ ก ษามี ก ารแข่ ง ขั น สู ง เพื่อสร้างแบรนด์ที่เข้มแข็งและชัดเจนขึ้น องค์กรสัมพันธ์ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง จึงได้จัดให้ผู้บริหารทั้ง 5 วิทยาเขต ได้ร่วมกันเรียนรู้ ท�ำความเข้าใจ วิเคราะห์ พัฒนาและสรุปแก่นแท้ของแบรนด์ โดยมี คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท เดนส์ สุ วั น (กรุ ง เทพ) เป็ น วิ ท ยากร โดยมี รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิดการสัมมนา ผู้ช ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทร อั ย รั ก ษ์ รองอธิการบดี ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และสารสนเทศ กล่าวรายรายงาน

18 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

คุณดลชัย บุณยะรัตเวช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เดนส์สุ วัน (กรุงเทพ)


ข่าวเด่น

ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ภั ท ร อั ย รั ก ษ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วว่ า หลั ง จากการท� ำ ความเข้ า ใจบริ บ ท วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากกลุ ่ ม เป้ า หมาย แล้ ว จะมี ขั้ น ตอนการพั ฒ นาองค์ ป ระกอบ ของแบรนด์ และวางกลยุทธ์แนวทางการสื่อสารเสริมภาพลักษณ์ การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศต่อไป

19 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ข่าวเด่น

พิธีลงนามความร่วมมือวิชาการกับ U of Bahrain

รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มลงนามในบั น ทึ ก ความเข้ า ใจว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย บาห์ เ รน โดย ศาสตราจารย์ Riyadh Hamza อธิ ก ารบดี โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี และ Prince Khalifa bin Salman Al Khalifa นายกรั ฐ มนตรี บาห์เรน ร่วมเป็นสักขีพยานเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560 ที่ พระราชวัง Al Gudaibiya กรุงมานามา ระหว่างการเยือน ราชอาณาจักรบาห์เรนของนายกรัฐมนตรีไทย เพื่อเชื่อม สัมพันธไมตรีและในโอกาสการครบรอบ 40 ปี แห่งการ สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างทั้งสองประเทศ การร่ ว มลงนามครั้งนี้เป็นการร่วมกันสนับสนุ น ให้ เ กิ ด การเชื่อมโยงกันทางวิชาการ การจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยน นักวิชาการ บุคลากร และนักศึกษา ในสาขาที่มีความสนใจ ร่ ว มกั น ของทั้ ง สองสถาบั น การพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า ง ความร่วมมือในการวิจัย หลักสูตรการศึกษา การจัดประชุม สั ม มนา การจั ด หาแหล่ ง ทุ น การแลกเปลี่ ย นทรั พ ยากรและ ประสบการณ์ทางวิชาการ และอื่นๆ อันจะท�ำให้เกิดประโยชน์ ทางวิชาการร่วมกันระหว่างสองสถาบัน หลังจากนั้น คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เดินทางไปเยือนราชอาณาจักรบาห์เรน 3 ครั้ง ท�ำให้เกิด

20 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ความร่วมมือในด้านการจัดกิจกรรมและความช่วยเหลือทาง วิ ช าการ การแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากร การให้ ทุ น การศึ ก ษา ความร่ ว มมื อ ด้ า นการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข และการประชาสั ม พั น ธ์ ห ลั ก สู ต รด้ า นการแพทย์ พยาบาล ทั น ตแพทย์ ธุ ร กิ จ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ วิ ศ วกรรมศาสตร์ โภชนาการ และหลักสูตรภาคฤดูร้อน


ข่าวเด่น

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดสัมมนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ในหัวข้อเรื่อง

“การปรับตัวของสือ่ ในยุคการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีการสือ่ สาร” เมื่ อ วั น ที่ 2-4 มิ ถุ น ายน 2560 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ได้จัดสัมมนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย ประจ� ำ ปี 2560 ในหั ว ข้ อ “การปรั บ ตั ว ของสื่ อ ในยุ ค การ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสื่อสาร” ณ ห้องประชุม 210 ส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยวิทยากร คุณพีรวัฒน์ โชติธรรมโม ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบรรณาธิการ ไทยรัฐทีวี

กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติ งานด้านการประชาสัมพันธ์ ทั้งของคณะและ หน่ ว ยงาน รั บ ทราบบทบาทและการปรั บ ตั ว ของสื่ อ ที่ ใ ช้ ป ระชาสั ม พั น ธ์ อ งค์ ก รในยุ ค ที่ มี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสื่อสารใน ปัจจุบัน และเพื่อสร้างการรับรู้และการพัฒนา สื่อสาร ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ให้น่าสนใจ มีความทันสมัยเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง รวดเร็วและทั่วถึง และกิจกรรมฐานเพื่อพัฒนา งานด้านประชาสัมพันธ์องค์กร และกิจกรรม อ นุ รั ก ษ ์ สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ท า ง ท ะ เ ล ใ น พื้ น ที่ จังหวัดตรัง

21 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ITAP จับมือ ม.อ.

จัดสัมมนานวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮาลาลสู่สากล ทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยโปรแกรมสนั บ สนุ น การพั ฒ นา เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) จัดสัมมนาในหัวข้อ “นวัตกรรม การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮ าลาลสู ่ ม าตรฐานสากล” เมื่ อ วั น ที่ 25 เมษายน 2560 เพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบการเกี่ยวกับ มาตรฐานฮาลาล การขอรับรองมาตรฐานฮาลาล การพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม แนวโน้มการตลาด โดยในงานมีการเปิดรับผู้ประกอบการที่ ต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และพัฒนาสถานที่ผลิตตามหลัก เกณฑ์ฮาลาล และการบรรยายเช่น “การขอรับรองมาตรฐาน ฮาลาล” โดย นายอั บ ดุ ล ราซั ค หมี น ยะลา คณะกรรมการ อิสลามประจ�ำจังหวัดสงขลา และ “เทรนด์และการตลาดของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮ าลาล” โดย คุ ณ พงษ์ ศั ก ดิ์ วั ช รนุ กู ล เกี ย รติ เลขาธิการสภาธุรกิจไทย-รัสเซีย

ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ค� ำ รณ พิ ทั ก ษ์ ผู ้ อ� ำ นวยการ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ กล่ า วว่ า ในปั จ จุ บั น การท� ำ ธุ ร กิ จ ให้ มี ความก้าวหน้าต้องมีการน�ำนวัตกรรมเข้ามาช่วยพัฒนา โดย เฉพาะอุตสาหกรรมฮาลาลซึ่งก�ำลังได้รับความสนใจทั้งระดับ ประเทศและนานาชาติ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้มีการจัดตั้งสถาบัน ฮาลาลเพื่ อ ช่ ว ยในการแนะน� ำ ปรึ ก ษาโดยผู ้ เ ชี่ ย วชาญ และ ท�ำงานใกล้ชิดกับคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด ในขณะ เดี ย วกั น ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ รองรั บ การ วิจัยและพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ส�ำหรับผู้ประกอบการ มี โปรแกรมบ่มเพาะนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา มีเครื่อง มือที่ใช้ในการทดสอบวิเคราะห์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ โดยความ ร่วมมือจากหลายหน่วยงาน เช่น ความร่วมมือของ ITAP เป็นต้น ส�ำหรับการจัดสัมมนาในวันนี้ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการสินค้าฮาลาลที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เพราะสามารถ

22 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

เลื อ กบริ โ ภคได้ ใ นทุ ก ศาสนิ ก ไม่ เ ฉพาะแต่ ช าวมุ ส ลิ ม เท่ า นั้ น ตลาดผลิตภัณฑ์ฮาลาลจึงเป็นตลาดที่มีศักยภาพ ซึ่งประเทศไทย มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ด้ า นทรั พ ยากรและโครงสร้ า งพื้ น ฐานของ อุตสาหกรรม ซึ่งหากมีการส่งเสริมพัฒนาการผลิตทั้งอาหาร เกษตร เครื่องส�ำอาง และสุขภาพ ให้มีศักยภาพมากขึ้นสร้าง ความน่ า เชื่ อ ถื อ และพั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ลางสิ น ค้ า ฮาลาลโลก ในอนาคต


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือ(MOU) ทางวิชาการกับสันนิบาตเทศบาลภาคใต้ รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พร้ อ ม ด้วย นายศุ ภ สั ณ ห์ หนู ส วั ส ดิ์ ประธานสันนิบาต เทศบาลภาคใต้ รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะ พงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยระบบวิ จั ย และ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นายพงษ์ศักดิ์ ยิ่งชนม์เจริญ นายกเทศมนตรีนคร ยะลา ในฐานะกรรมการบริหารสันนิบาตเทศบาล ภาคใต้ ร่ ว มลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว ม มื อ MOU เพื่ อ ความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย บริ ก าร วิ ช าการ และการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ รวมทั้ ง ส่งเสริมสนับสนุนการด�ำเนินงานเพื่อพัฒนาความ ร่ ว มมื อ ด้ า นวิ ช าการอื่ น เมื่ อ วั น ที่ 3 พฤษภาคม 2560 ณ ห้ อ งประชุ ม 1 ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ การลงนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ เป็ น ความร่ ว มมื อ ในระยะเวลา 3 ปี ระหว่ า ง พ.ศ.2560-2563 เพื่อพัฒนาความร่วมมือให้พร้อมตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นได้ เป็นการเตรียมความพร้อมของ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงสถานการณ์ ข องประเทศและสถานการณ์ โ ลก เพื่ อ บรรลุ เ ป้ า หมาย ของการพัฒนาท้องถิ่นที่มุ่งสู่การเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประกอบกับทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสถาบันอุดมศึกษา ในภาคใต้ที่มีองค์ความรู้ด้านวิชาการ เป็นที่พึ่งของชุมชนและสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ปัจจุบันเรื่องของงานวิจัย เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี และรองรั บ นโยบาย Thailand 4.0 ในการพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ถื อ เป็ น โอกาสดี ที่ จ ะได้ ร ่ ว มมื อ กั บ สั น นิ บ าตเทศบาลภาคใต้ น� ำ งานวิ จั ย สู ่ ก ารพั ฒ นา คุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชนในภาคใต้

23 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.อ.- มวล. ลงนามความร่วมมือด้านเทคนิคการแพทย์ เมื่อวันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ณ ห้องสัมมนา 4 conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือพัฒนาวิชาการ และการวิ จั ย ด้ า นเทคนิ ค การแพทย์ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย อาจารย์ พิ ชิ ต เรื อ งแสงวั ฒ นา รองอธิ ก ารบดี รั ก ษาการในต� ำ แหน่ ง คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ เป็นผู้กล่าวรายงานและให้การ ต้อนรับ และ รองศาสตราจารย์ ดร.จิตบรรจง ตั้งปอง คณบดี ส�ำนักสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นผู้กล่าวเปิดงาน

ซึ่ ง การลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ พั ฒ นา วิ ช าการและการวิ จั ย ด้ า นเทคนิ ค การแพทย์ ได้ รั บ เกี ย รติ จาก ศาสตราจารย์ ดร.สมบั ติ ธ� ำ รงธั ญ วงศ์ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธาน ในพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ พั ฒ นาวิ ช าการและ การวิ จั ย ด้ า นเทคนิ ค การแพทย์ ร ่ ว มกั น พร้ อ มด้ ว ยสั ก ขี พ ยาน จากทีมผู้บริหาร เจ้าหน้าที่จากทั้งสองสถาบัน เพื่อสร้างความ ร่วมมือและพัฒนาด้านนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิต ศึ ก ษา ด้ า นการบริ ก ารวิ ช าการ ด้ า นงานวิ จั ย ด้ า นบุ ค ลากร และเครื่องมือ ของทั้งสองสถาบันต่อไป

ม.อ.ภูเก็ต ร่วมพัฒนานวัตกรรม

การวิจัยและสร้างสรรค์ผลงานสื่อดิจิตอล ในระดับสากล ณ ห้ อ งประชุ ม 2 อาคารส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต วันที่ 7 มิถุนายน 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ สมาคมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก อุ ต สาหกรรมซอฟท์ แ วร์ ไ ทย (TSEP),บริ ษั ท International Digital Entertainment Alliance จ�ำกัด และ บริษัท Touch Digital Creation จ� ำ กั ด เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล มาตรฐาน และความคิ ด ริ เ ริ่ ม ระหว่ า ง ผู ้ ผ ลิ ต สื่ อ ดิ จิ ต อล ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าและประเทศไทย ในการ สร้างสรรค์ผลงานในระดับสากล โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต คุณชัชฎา อภิชาสุทธากุล นายกสมาคมการค้าส่งเสริมการส่งออกอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย TSEP คุ ณ พี ร สั ณ ห์ บุ ณ ยคุ ป ต์ กรรมการ บริ ษั ท International Digital Entertainment Alliance จ�ำกัด อาจารย์เอสเธอร์ เสงี่ยมกุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและเทคโนโลยีสนเทศ และ คุณนิพัสตราภรณ์

24 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

เจียมโชติพัฒนกุล กรรมการบริหาร ร่วมลงนามในครั้งนี้ นอกจากนี้ แล้วยังลงนามความร่วมมือการใช้พื้นที่ส่วนหนึ่งของอาคารศูนย์บริการ วิชาการสะพานหินอีกด้วย วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารร่ ว มบั น ทึ ก ลงนามครั้ ง นี้ เ พื่ อ การสร้ า งความ ร่วมมือกันในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง องค์ ก รเพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกในการประสานงานแก่ ค ณะผู ้ แ ทน และสมาชิ ก ขององค์ ก รในการจั ด การประชุ ม สั ม มนา ฝึ ก อบรมและ ให้ค�ำแนะน�ำแก่สมาชิกอีกทั้ง จัดสรรพื้นที่แก่สมาชิกเป็นการชั่วคราว ระหว่างการจัดการประชุม สัมมนาและการประชุมเชิงปฏิบัติการการ แลกเปลี่ ย นมาตรฐานโดยมี เ จตนาเพื่ อ สร้ า งมาตรฐานร่ ว มในการ ส่งเสริมกระบวนการและเสริมสร้างสื่อภาพยนตร์ที่มีคุณภาพสู่ระกับ สากล ร่วมมือกันฝึกอบรมและให้ค�ำแนะน�ำแก่สมาชิก โดยสามารถ แลกเปลี่ ย นบุ ค ลากรระหว่ า งกั น เพื่ อ เสริ ม สร้ า งและพั ฒ นาความรู ้ ให้กับบุคลากรและนักศึกษา


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

เมียนมาร์เชิญคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ.

หารือเรื่องการเป็นเจ้าภาพสัมมนานานาชาติด้านการประมง และร่วมจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารการเปิดหลักสูตรประมงและเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เมียนมาร์เชิญคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.อ. หารือเรื่อง การเป็ น เจ้ า ภาพสั ม มนานานาชาติ ด ้ า นการประมง และร่ ว มจั ด สั ม มนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการเปิ ด หลั ก สู ต รประมงและเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ คณบดี ค ณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และประธานเครื อ ข่ า ยสถาบั น การจั ด การศึ ก ษาด้ า นประมงของอาเซี ย น ได้รับเชิญจาก University of Yangon เพื่อขอเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนานานาชาติ ด้านการประมง International fishery symposium 2018 และร่วมร่างหลักสูตร ด้านการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำให้แก่กลุ่มมหาวิทยาลัยของเมียนมาร์ ร ศ . ด ร . ซุ ก รี ห ะ ยี ส า แ ม ค ณ บ ดี ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ในฐานะ ประธานเครือข่ายสถาบันการจัดการ ศึ ก ษาด้ า นประมงของอาเซี ย น (ASEAN Fisheries Education Network- ASEAN FEN) ซึ่งมีสมาชิกประกอบด้วย มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน ด้ า นการประมงและเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น 23 มหาวิ ท ยาลั ย และนอกภู มิ ภ าคอี ก 3 มหาวิ ท ยาลั ย เปิ ด เผยว่ า เมื่ อ วั น ที่ 14-16 มิ ถุ น ายน 2560 ได้ ร ่ ว มกั บ รองอธิ บ ดี ก รมอุ ด มศึ ก ษาแห่ ง เมี ย นมาร์ รองอธิ บ ดี กรม ประมงเมียนมาร์ ผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในเมียนมาร์จ�ำนวน 10 แห่ง ผู ้ แ ทนจากสหภาพยุ โ รป ผู ้ แ ทนจากโครงการเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ อย่ า งยั่ ง ยื น ของประเทศพม่ า หรื อ Myanmar sustainable aquaculture program ที่สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป ตลอดจนประธานสมาคมการประมงแห่งเมียนมาร์ และคณะ อธิการบดี มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ได้แสดงความจ�ำนงขอรับเป็นเจ้าภาพ จั ด สั ม มนานานาชาติ ด ้ า นการประมง International fishery symposium 2018 ณ กรุงย่างกุง้ ในปีพ.ศ. 2561 และจะมีมหาวิทยาลัยอืน่ ๆในประเทศเมียนมาร์

ร่ ว มเป็ น เจ้ า ภาพด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากได้ เ ล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของการจั ด สั ม มนาในระดั บ นานาชาติ ว่ า เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ยิ่ ง ที่ จ ะน� ำ นั ก วิ ช าการโดยเฉพาะ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ละของโลก เข้ามาเยี่ยมและแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับเมียนมาร์ ภายหลังจากได้มีรัฐบาลใหม่ ที่มีความพร้อมจะท�ำงาน ด้านวิชาการร่วมกับต่างประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลปัจจุบัน เน้นความส�ำคัญกับการปฏิรูปการศึกษา และนโยบาย Blue economy หรือเศรษฐกิจสีน�้ำเงิน ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจที่มีที่มามาจากทะเล ได้แก่การประมง การ เพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น�้ ำ และการค้ า ขาย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ทะเล ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่ก�ำลังด�ำเนินการในขณะนี้ นอกจากนั้น ยังได้เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพื่ อ เตรี ย มการจั ด ท� ำ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาทางด้ า น การประมง และเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำในระดับที่สูงมาก ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากประเทศเมี ย นมาร์ ซึ่ ง มี ป ระชากร 50 กว่าล้านคน มีมหาวิทยาลัย 170 แห่ง แต่เปิดสอน หลั ก สู ต รด้ า นการประมงเพี ย งสามแห่ ง เท่ า นั้ น หลายมหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การเปิ ด หลักสูตรใหม่ และในขณะเดียวกับที่เขามีสถิติการจับ สัตว์น�้ำ สูงมากคือ มีอัตราการจับสัตว์น�้ำ 2.7 ล้านตัน ต่อปี ขณะที่ไทยมีเพียง 1.5 ล้านตัน และผลผลิต จาก การเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำมีปริมาณเกือบ 1 ล้านตันต่อปี สูงกว่าไทยนิดหน่อย ทรัพยากรเหล่านี้เขาส่งออกเป็น วัตถุดิบ เขาจึงมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาการจับสัตว์น�้ำ และการแปรรูป ในขณะที่เขาไม่มีผู้เชี่ยวชาญด้านนี้

25 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.สงขลานครินทร์

ร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ รศ.ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี พร้ อ มด้ ว ย รศ.ดร. อุ ด มผล พื ช น์ ไ พบู ล ย์ คณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ร่ ว มพิ ธี ล งนาม บั น ทึ ก ความเข้ า ใจว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการและการวิ จั ย ระหว่ า ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กั บ สถาบั น เทคโนโลยี ป้ อ งกั น ประเทศ (องค์ ก ารมหาชน) สทป. โดยในคราวเดี ย วกั น นี้ ได้ ท� ำ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลง ความร่ ว มมื อ “โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาต้ น แบบหุ ่ น ยนต์ เ ก็ บ กู ้ วั ต ถุ ร ะเบิ ด EOD Robot” ซึ่งมี ดร.กิตติคุณ ทองพูล จากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นเจ้าของโครงการ และในอนาคต ยั ง มี แ ผนในการน� ำ งานวิ จั ย ของ ม.อ. ไปพั ฒ นาต่ อ ยอดเพื่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ แ ละผลิ ต บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีป้องกันประเทศ

26 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.อ.แลกเปลี่ยนกระบวนการอาสาสมัครกับมหาวิทยาลัยของอเมริกา

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ ที ม จิ ต อาสา แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กระบวนการอาสาสมั ค รสู ่ ก าร จั ด การเรี ย นการสอนด้ า นพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา รวมถึ ง การสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างคณะในมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่ กับ มหาวิทยาลัย มอนทาน่า สหรัฐอเมริกา

ทางวิชาชีพ กับประเด็นปัญหาชุมชน และปัญหาสาธารณะ ของสั ง คม มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ผลอย่ า งรอบด้ า น ในการพั ฒ นาทั ก ษะและศั ก ยภาพที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ นั ก ศึ ก ษา มี ทั ก ษะในการแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า งเป็ น เหตุ เ ป็ น ผล สร้ า ง ความเข้าใจร่วมกัน และไปในทิศทางเดียวกัน

ผศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา และศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การประชุมครั้งนี้ เกิดขึ้นจากเครือข่ายจิตอาสา (Volunteer Spirit Network) ได้ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมอนทานา ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ได้ ด� ำ เนิ น งานส่ ง เสริ ม ความรู ้ แ ละพั ฒ นา ศักยภาพของการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม รวมทั้งบทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการแก้ปัญหาสังคม เพื่อ เป็นเสาหลักของสถาบันอุดมศึกษาในภาคใต้ โดยมีข้อสรุป ที่ น ่ า สนใจเช่ น มี ก ารออกแบบหลั ก สู ต รที่ เ ชื่ อ มโยงความรู ้

27 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


Activity

ม.อ.ปลูกฝังจิตส�ำนึกจิตสาธารณะ แก่นักศึกษาอาสาสมัคร 5 วิทยาเขต

เมื่อวันที่ 8 - 9 เมษายน 2560 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ถอดบทเรี ย นแลก เปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมจิตอาสา แก่นักศึกษา 5 วิทยาเขต ให้เกิด การพั ฒ นาเป็ น องค์ ค วามรู ้ สู ่ ก ารพั ฒ นางานอาสาสมั ค ร อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พร้ อ ม เชื่อมโยงการด�ำเนินงานร่วมกัน ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต ในกิ จ กรรม “ถอดบทเรี ย นการ ด� ำ เนิ น งานอาสาสมั ค ร ม.อ. 5 วิ ท ยาเขต ครั้ ง ที่ 3 / 2560” ณ สถาบั น ทั ก ษิ ณ คดี ศึ ก ษา ต� ำ บลเกาะยอ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา ด� ำ เนิ น การถอดบทเรี ย นโดย ดร.นฤทธิ์ ดวงสุ ว รรณ์ ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยส่ ง เสริ ม จิ ต สาธารณะ และทีมงานกองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ นางสาววลัยลักษณ์ ศรีสงค์ อดีตประธานชมรมนักวิทยุ สมัครเล่น และอาสาสมัครกู้ภัย ม.อ. สุราษฎร์ธานี เปิดเผยว่า “โครงการถอดบทเรียนอาสาสมัครนี้ ท�ำให้เราได้แลกเปลี่ยน เรี ย นรู ้ ก ารด� ำ เนิ น งานอาสาสมั ค รร่ ว มกั น ระหว่ า งเพื่ อ นๆ นักศึกษา ม.อ. ที่เข้าร่วมโครงการ ได้รู้ว่าเรามีเพื่อนที่ท�ำจิตอาสา อยู่ในหลากหลายรูปแบบ และอบอุ่นใจมากที่ได้มาร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ และขอให้จัดต่อไปทุกปี” ด้านนางสาว อาลิสา บินดุส๊ะ ประธานกลุ่ม Law long beach ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม อาสาสมั ค รสงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต

28 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

หาดใหญ่ ที่สนใจประเด็นปัญหาหาดทรายบริเวณแหลมสมิหลา จ.สงขลา โดยรวมกลุ ่ ม กั น เพื่ อ มุ ่ ง หวั ง ใช้ ก ระบวนการของ กฎหมายเข้าไปแก้ไขปัญหาข้างต้น กล่าวว่า “กิจกรรมนี้ ท�ำให้ เราได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ เพื่ อ นร่ ว มอุ ด มการณ์ ต่างวิทยาเขต มีความสุขที่ได้รู้จักเพื่อนที่ท�ำจิตอาสาเหมือนกัน” นางสาวปิยกมล ภู่เจริญ ตัวแทนนักศึกษาอาสาสมัคร จากวิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต กล่ า วว่ า “มี ค วามสุ ข ที่ ไ ด้ รู ้ จั ก เพื่ อ นที่ ท� ำ จิ ต อาสาเหมื อ นกั น อยากลองท� ำ กิ จ กรรมอื่ น ๆ ที่ เ พื่ อ น ท�ำด้วย เช่น อาสากู้ภัย เพราะท้าทายดี” นางสาววรลั ก ษณ์ รอดทอง ตั ว แทนนั ก ศึ ก ษา อาสาสมัครจากวิทยาเขตตรัง กล่าวว่า “กิจกรรมนี้ท�ำให้ได้เรียนรู้ เรื่องราวของเพื่อนอาสาสมัครด้วยกันเยอะ และอยากให้ ม.อ. วิ ท ยาเขตตรั ง มี ห น่ ว ยงานสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานด้ า น อาสาสมัครแก่นักศึกษาอย่างเป็นทางการด้วย เพราะเป็นงาน ที่สอดคล้องกับพระราชปณิทานของพระราชบิดา”


Activity

คณะสัตวแพทย์ร่วมกับปศุสัตว์ลงพื้นที่

“รณรงค์ ป้องกัน ควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดสงขลา”

เจ้าหน้าที่และนักศึกษาคณะสัตวแพทย์ ได้ ล งพื้ น ที่ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ง านพร้ อ มกั บ ปศุ สั ต ว์ ในพื้ น ที่ ภ ายใต้ โ ครงการ “รณรงค์ ป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคพิ ษ สุ นั ข บ้ า จั ง หวั ด สงขลา” จั ด โดยส� ำ นั ก งานปศุ สั ต ว์ จั ง หวั ด สงขลา ซึ่ ง มี แผนปฏิ บั ติ ง านในเขตพื้ น ที่ อ� ำ เภอหาดใหญ่ อ�ำเภอสะเดา และอ�ำเภอเมืองสงขลา ระหว่าง วั น ที่ 19-27 เมษายน 2560 ที่ ผ ่ า นมา โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อท�ำให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าครอบคลุมทุกพื้นที่และ ด�ำเนินต่อเนื่องทุกๆ ปี มีการควบคุมประชาการ สุ นั ข และแมวโดยวิ ธี ผ ่ า ตั ด ท� ำ หมั น นอกจาก นี้ มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ป ระชาชนมี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ อั น ตรายของโรคพิ ษ สุ นั ข บ้า และปฏิ บั ติไ ด้ อย่างถูกต้อ งเมื่อถูกสุนัขกัด ผลการปฏิ บั ติ ง านในครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ การ ตอบรับจากประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างดี

ส�ำหรับพื้นที่อ�ำเภออื่นๆ นั้น ทางปศจ.สงขลาได้ก�ำหนดแผน ปฏิ บั ติ ง านในเดื อ นพฤษภาคม 2560 เป็ น ต้ น ไป ผู ้ ส นใจสามารถ ติ ด ตามข่ า วสารเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ส� ำ นั ก งานปศุ สั ต ว์ จั ง หวั ด สงขลา หมายเลขโทรศัพท์ 074-312736

29 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


Activity

ม.อ. ตรัง จัดกิจกรรม “มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง” ดูแลน้อง จาก 4 โรงเรียนขยายโอกาส ใน จ.ตรัง

เมื่ อ วั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน 2560 ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ผศ.ดร.ณั ฐ วิ ท ย์ พจนตั น ติ รองอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง เผยถึงการจัดกิจกรรมตามโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น โดยมี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเป็ น พี่ เ ลี้ ย ง หรือ มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยง โดยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ได้ เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย งให้ กั บ โรงเรี ย นในจั ง หวั ด ตรั ง จ�ำนวน 4 แห่ง ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านนานอน โรงเรียน บ้านคลองเต็ง โรงเรียนบ้านควนสวรรค์ และโรงเรียนบ้านควน

30 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ปริง โดยได้ก�ำหนดจัดกิจกรรมขั้นภายในมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง ในวั น ที่ 3 และวั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2560 โดยมีอาจารย์ และนักศึกษาจากวิทยาลัยนวัตกรรมการ แสดงและการจัดการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสาขา วิชาภาษา คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ร่วมจัดกิจกรรมให้กับน้องๆ รวม 250 คน ผศ.ดร.ณัฐวิทย์ กล่าวว่า วิทยาลัยนวัตกรรมการแสดง และการจั ด การ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ และ สาขา วิ ช าภาษา ได้ แ บ่ ง กั น รั บ ผิ ด ชอบกิ จ กรรมเพื่ อ เป็นการเสริมสร้างทักษะให้กับนักเรียนที่เข้าร่วม ในกิ จ กรรมมหาวิ ท ยาลั ย พี่ เ ลี้ ย ง โดยทางวิ ท ยา ลั ย นวั ต กรรมฯ ได้ มี ก ารฝึ ก การเรี ย นการสอนใน ด้ า นวิ ช านาฏศิ ล ป์ ไ ทย ร� ำ กลองยาว ส่ ว นคณะ สถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ก็ ไ ด้ ฝ ึ ก ให้ น ้ อ งๆ นั ก เรี ย น ได้ ฝ ึ ก วาดภาพระบายสี สร้ า งสรรค์ ผ ลงานเป็ น ของตนเอง จากแกนกระดาษช� ำ ระ ส่ ว นสาขา วิชาภาษา ก็ได้สอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ด้านภาษาอังกฤษ ส�ำหรับนักเรียน ในชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ซึ่ ง ได้ รั บ งบประมาณ สนั บ สนุ น จากส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เพื่อด�ำเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพ การศึ ก ษาและการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น โดยสถาบั น อุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจ�ำปีงบประมาณ 2560


Activity

ม.อ.ร่วมเป็นเจ้าภาพ “สงขลาเกมส์” ระหว่าง 20-30 มิถุนายน 60

วิทยาเขตหาดใหญ่ ประกอบด้วย ฟุตบอลหญิง เปตอง ฟุต ซอล บาสเกตบอลหญิง บริดจ์ ซอฟท์บอล และ วูซู โดย ใช้สนามกีฬาหน้ามหาวิทยาลัย ศูนย์กีฬา สนามซอฟท์บอล ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย มี ค วามพร้ อ มในด้ า นสถานที่ ส� ำหรั บ รองรั บ การฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬาระดับชาติมาตั้งแต่ครั้งเป็น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย และมี สิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกอื่นๆ เช่น ร้านขายอาหาร บริการขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับจังหวัดสงขลา อย่างเพียงพอ อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ที่ นั บ ว่ า เป็ น ภารกิ จ หลั ก ในการเป็ น เจ้ า ในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 “สงขลาเกมส์ ” ในระหว่ า งวั น ที่ 20-30 มิ ถุ น ายน 2560 ภาพการแข่งขัน คือด้านการเป็นสถานที่พักของนักกีฬาและ โดยเป็นสถานที่แข่งขันกีฬา 7 ประเภท และเป็นที่พักของ เจ้าหน้าที่ผู้ฝึกสอนจากจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศจ�ำนวน 12,000 คน ที่ เ ข้ า พั กในหอพั กนั กศึ กษาของมหาวิ ท ยาลั ย โดยมีการ นักกีฬาทั่วประเทศกว่าหมื่นคน การแข่งขันกีฬาซึ่งมี 45 ประเภทกีฬา จะใช้สนามแข่งขัน จัดแบ่งตามชนิดกีฬาและแยกชายหญิง มีการเพิ่มการรักษา ของส่วนราชการและเอกชนทั่วทั้งจังหวัดสงขลา ส�ำหรับกีฬา ความปลอดภัยตลอดการแข่งขัน โดยประสานงานกับสถานี ทั้ง 7 ประเภทที่แข่งขันภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต�ำรวจคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จัดทีมหน่วยกู้ชีพกู้ภัย ติดตั้ง เครื่องสังเกตภาวะการเต้นของหัวใจ และเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ได้ มี ก ารซั ก ซ้ อ มแผนเผชิ ญ เหตุ อั ค คี ภั ย อาคารที่ พั ก นั ก กี ฬ า แห่ ง ชาติ เป็ น การซ้ อ มเสมื อ นจริ ง โดยมี ซ ้ อ มการอพยพนั ก กี ฬ าไป อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ป ลอดภั ย การเตรี ย ม ความพร้ อ มส� ำ หรั บ รถดั บ เพลิ ง รถพยาบาล รถฉุกเฉินที่จะเข้าพื้นที่ การเตรี ย มเส้ น ทางจราจร เป็ น ต้ น

31 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


แนะน�ำหลักสูตร

แนะน�ำหลักสูตร คณะวิทยาการจัดการ (วิทยาเขตหาดใหญ่) Faculty of Management Sciences

ภาควิชาบริหารธุรกิจ 1. ระดับปริญญาตรี เปิดสอน 2 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 6 สาขา - สาขาวิชาการเงิน - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ - สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ - สาขาวิชาการจัดการประชุมนิทรรศการ และการท่องเที่ยว เพื่อเป็นรางวัล - สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) 2. ระดับปริญญาโท เปิดสอน 2 หลักสูตร 2.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A) 2. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นานาชาติ) (I.M.B.A.) ภาควิชาการบัญชี 1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) 2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ 1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) 1. วิชาเอกการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 2. วิชาเอกนโยบายสาธารณะและการวางแผน 3. วิชาเอกการจัดการและการปกครองท้องถิ่น 4. วิชาเอกองค์การและการจัดการ 2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) 3. ระดับปริญญาเอก หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฏี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการจั ด การ ปร.ด. (การจัดการ) ค่าใช้จ่ายในการศึกษา (เฉพาะค่าธรรมเนียมการศึกษาและลงทะเบียน ไม่รวมค่าครองชีพ) ระดับปริญญาตรี หลักสูตรปกติ ประมาณ 32,000 บาท/ปี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) แผนการศึกษาปกติ - ส�ำหรับนักศึกษาไทย 106,000 บาท/ปี - ส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ 128,000 บาท/ปี ห ลั ก สู ต ร บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร (ภาษาอังกฤษ) แผนการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการ (ภาษาอังกฤษ)

32 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560

ระดับปริญญาโท หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต (ภาคค�่ ำ และภาคสมทบ) 44,000 บาท/ปี หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นานาชาติ) - ส�ำหรับนักศึกษาไทย 120,000 บาท/ปี - ส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ 144,000 บาท/ปี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติ) 32,000 บาท/ปี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาตสมทบ) 44,000 บาท/ปี หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (ภาคปกติ) 32,000 บาท/ปี หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (ภาตสมทบ) 88,000 บาท/ปี ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ - ส�ำหรับนักศึกษาไทย 154,000 บาท/ปี - ส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ 194,000 บาท/ปี ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0 7428 7841 โทรสาร 0 7428 7890 E-mail fms-infor@group.psu.ac.th Homepage http://www.fms.psu.ac.th

คณะศิลปกรรมศาสตร์ (วิทยาเขตปัตตานี) Faculty of Fine and Applied Arts

คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด ตั้ ง โดยมติสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2543 มีหน้าที่ ในการจัดการศึกษา การวิจัย/การสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปกรรม การบริการวิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยเน้นในการ ศึกษาองค์ความรู้ในความหลากหลายทางวัฒนธรรม รวมถึงบริบท ในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมในมิติและขอบเขต ต่างๆ และมีเครือข่ายทางการศึกษาทั้งในและต่างประเทศเพื่อการ ศึกษาศิลปวัฒนธรรมอีกด้วย ปัจจุบันจัดการศึกษาในหลักสูตรต่างๆ ดังนี้ 1. หลักสูตรปริญญาตรี “ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต” (หลักสูตร 4 ปี) จ�ำนวน 3 วิชาเอก และ 5 วิชาโท คือ - วิชาเอก/วิชาโทออกแบบแฟชั่นและเครื่องแต่งกาย - วิชาเอก/วิชาโทออกแบบปประยุกต์ศิลป์ - วิชาเอก/วิชาโททัศนศิลป์ - วิชาโทศิลปะการแสดง - วิชาโทดนตรีวิจักขณ์ 2. หลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง “ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต” (หลักสูตร ต่อเนื่อง 2 ปี) จ�ำนวน 1 วิชาเอก คือ - วิชาเอกออกแบบประยุกต์ศิลป์ (ต่อเนื่อง)


แนะน�ำหลักสูตร

นอกจากนี้ ใ นอนาคตอั น ใกล้ ยั ง มี แ ผนเปิ ด การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึกษาอีก 2 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรปริญญาโท “ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต” จ�ำนวน 1 วิชาเอก คือ - วิชาเอกวิทยาการศิลปะและวัฒนธรรม 3. หลั ก สู ต รปริ ญ ญาโท “ดนตรีมหาบัณฑิต” ซึ่งเป็นหลักสูตรร่วม กั บ คณะศิ ล ปศาสตร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จ� ำ นวน 1 วิ ข าเอก คื อ - วิชาเอกดนตรี ค่าใช้จ่ายโดยประมาณ หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี และต่อเนื่อง 2 ปี ภาคการศึกษาละ 16,000 บาท ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์/โทรสาร (073) 313126 Website: http://finearts.pn.psu.ac.th E-Mail: suchan.p@psu.ac.th

คณะวิเทศศึกษา (วิทยาเขตภูเก็ต) Faculty of International Studies

คณะวิ เ ทศศึ ก ษา ด� ำ เนิ น การด้ า นการเรี ย นการสอนหลั ก สู ต ร ศิลปศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ในสาขาวิชา ต่างๆ ซึ่งเป็นหลักสูตรนานาชาติทั้งหมด ได้แก่ 1. สาขาวิเทศธุรกิจ:จีน 2. สาขาจีนศึกษา 3. สาขาไทยศึกษา 4. สาขาวิเทศศึกษา - วิชาเอกวิเทศธุรกิจ: เกาหลี - วิชาเอกเกาหลีศึกษา 5. สาขายุโรปศึกษา 1. หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ เ ทศธุ ร กิ จ : จีน (หลักสูตรนานาชาติ) International Business: China (IBC) หลักสูตรนี้มีจุดเด่น คือ นักศึกษาจะได้ไปศึกษา ณมหาวิทยาลัย ในภูมิภาคต่างๆของสาธารณรัฐประชาชนจีน ปีละ 1 แห่ง รวม 3 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูร้อน 2. หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าจี น ศึ ก ษา (หลั ก สู ต ร นานาชาติ) Chinese Studies (CNS) หลักสูตรนี้มีจุดเด่น คือ นักศึกษาจะได้ไปศึกษา ณมหาวิทยาลัย ในภูมิภาคต่างๆของสาธารณรัฐประชาชนจีน ปีละ 1 แห่ง รวม 3 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูร้อน

3.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตร นานาชาติ) Thai Studies (THS) หลักสูตรนี้มีจุดเด่น คือ นักศึกษาจะได้ไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัย ในทั้งในและต่างประเทศ ปีละ 1 แห่ง รวม 3 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูร้อน 4.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตร นานาชาติ) 4.1 วิ ช าเอกวิ เ ทศธุ ร กิ จ เกาหลี (International Business: Korea): IBK 4.2 วิชาเอกเกาหลีศึกษา (Korean Studies): KRS หลักสูตรนี้มีจุดเด่น คือ นักศึกษาจะได้ไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัย ในสาธารณรั ฐ เกาหลี จ� ำ นวน 2 ครั้ ง ในภาคการศึ ก ษาฤดู ร ้ อ นของ ชั้นปีที่ 2 และ 3 5.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา (หลักสูตร นานาชาติ ) European Studies: English-French (ES:EF) หลั ก สู ต รนี้ มี จุ ด เด่ น คื อ นั ก ศึ ก ษาได้ พั ฒ นาความสามารถ ในการใช้ ภ าษาอั ง กฤษ และฝรั่ ง เศส ประกอบทั้ ง มี ค วามเข้ า ใจ วัฒนธรรมของกลุ่มประเทศยุโรป ผ่านการศึกษาแบบ CLIL (Contents and Language Integrated Learning) 6.หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตร นานาชาติ) M.A. Chinese Studies หลักสูตรนี้มีจุดเด่น คือ การผลิตมหาบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านจีนศึกษา โดยในภาคการศึกษา ที่ 2 นั ก ศึ ก ษาสามารถเลื อ กเรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย ในไทย หรื อ สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ 1 ภาคการศึกษา ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา หลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต ทุ ก หลั ก สู ต ร มี ค ่ า ธรรมเนี ย มแรกเข้ า จ�ำนวน 40,000 บาท และมีค่าธรรมการศึกษา ดังนี้ 1. สาขาวิเทศธุรกิจ: จีน ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสุตร 450,000 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อภาคการศึกษา 41,000 บาท (10 ภาคการศึกษา) 2. สาขาจี น ศึ ก ษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยตลอดหลั ก สุ ต ร 450,000 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อภาคการศึกษา 41,000 บาท (10 ภาคการศึกษา) 3. สาขาวไทยศึ ก ษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยตลอดหลั ก สู ต ร 400,000 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อภาคการศึกษา 36,000 บาท (10 ภาคการศึกษา) 4. สาขาววิ เ ทศศึ ก ษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยตลอดหลั ก สุ ต ร 640,000 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อภาคการศึกษา 60,000 บาท (10 ภาคการศึกษา) 5. สาขายุโรปศึกษา ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสุตร 384,000 บาท ค่าใช้จ่าย เฉลี่ยต่อภาคการศึกษา 43,000 บาท (8 ภาคการศึกษา) หลักสูตรศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาจีนศึกษา ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสุตร 180,000 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ต่อภาคการศึกษา 45,000 บาท (แบบศึกษาที่ไทย) ค่าใช้จ่าย ตลอดหลั ก สู ต ร 240,000 บาท (แบบศึ ก ษา 1 ภาค ที่ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจีน) ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7627 6600 โทรสาร 0 7627 6263 E-mail fis.info@phuket.psu.ac.th Homepage http:// www.fis.psu.ac.th

33 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต

ร่วมสนับสนุนบริจาคเงินแก่มูลนิธิหมู่บ้านเด็กตะวันฉาย เนื่องในโอกาสครบรอบ10 ปี วันที่ 18 มิถุนายน 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วมสนับสนุนบริจาคเงินแก่มูลนิธิหมู่บ้านเด็ก ตะวันฉาย เนื่องในโอกาสครบรอบ10 ปี มอบผ่าน ดร.ศุภลักษณ์ กาญจนเมธากุล ประธานมูลนิธิหมู่บ้านเด็กตะวันฉาย โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดี วิทยาเขตภูเก็ต และ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม คณบดีคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมงาน ภายใน งานมี ห น่ ว ยงานและบุ ค คลต่ า งๆ เข้ า ร่ ว มงานจ� ำ นวนมาก โดยได้รับเกียรติจากรองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต นายสนิท ศรีวิหค เป็นประธานในพิธี และท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัด ภูเก็ต นางศิวพร ฉั่วสวัสดิ์ ร่วมเป็นเกียรติในงาน มู ล นิ ธิ ห มู ่ บ ้ า นเด็ ก ตะวั น ฉาย เป็ น สถาน สงเคราะห์ เ ด็ ก ให้ ที่ พึ่ ง พิ ง แก่ เ ด็ ก ด้ อ ยโอกาส ขาดแคลน ไร้ ที่ พึ่ ง พิ ง ครอบครั ว แตกแยก ให้ มี อนาคตที่ ดี แ ละมี อ นาคตที่ ส ดใสภายใต้ แ บบฉบั บ แห่งครอบครัวไทย มีเด็กในความสงเคราะห์จ�ำนวน 96 คน และเด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย นจากขุ ม ชนยากจน ใกล้ เ คี ย งจ� ำ นวน 20 คน ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลรั ษ ฎา อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต

BBA FOR THE HERO เมื่ อ วั น ที่ 20 พฤษภาคม 2560 ที่ ผ ่ า นมา ชมรมศิ ษ ย์ เ ก่ า ฯ และศิ ษ ย์ ปัจจุบันของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) คณะ วิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ สมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จัดระดมทุนวางกล่องรับบริจาคและจัดงานแสดง คอนเสิ ร ์ ต เพื่ อ การกุ ศ ล ขึ้ น ณ หาดใหญ่ ฮ อลล์ เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล หาดใหญ่ ทั้งนี้รายได้ทั้งหมดหลังหักค่าใช้จ่ายมอบให้แก่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เพื่อจัดซื้อเครื่องอัลตร้าซาวด์ ดิจิตอล ส่งเสริมการท�ำงานของแพทย์ในการรักษา ผู้ป่วยของทางโรงพยาบาล

34 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560


กิจกรรมที่น่าสนใจ

ข่าวดี...ท�ำฟัน...กับนักศึกษาทันตแพทย์

พร้อมรับสิทธิพิเศษ

ท� ำ ฟั น .. กั บ นั ก ศึ ก ษาทั น ตแพทย์ คุ ณ ค่ า จากการมอบโอกาสให้ นั ก ศึ ก ษา ทันตแพทย์และสิทธิพิเศษมากมาย..รอคุณอยู่ วันที่ 5 มิถุนายน-31 ธันวาคม 2560 คลินิกรวม 2 โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.อ. โทร.074-287668

สิทธิพิเศษที่คุณจะได้รับ • • • • • •

การตรวจสุ ข ภาพอย่ า งละเอี ย ดพร้ อ มวางแผนการรั ก ษา (คุณเองมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ) ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ระหว่างการรักษาผู้ป่วยจะได้ รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากอาจารย์ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทุกสาขา ได้ รั บ ค� ำ แนะน� ำ ปรึ ก ษาในการดู แ ลสุ ข ภาพในช่ อ งปากตาม หลั ก วิ ช าการ *ยกเว้ น ค่ า รั ก ษา งานอุ ด ฟั น ขู ด หิ น น�้ ำ ลาย รักษาคลองรากฟัน (ฟันหน้าและฟันกรามน้อย) *จ่าย 50 % : เอ็กซเรย์ฟัน (ฟิล์มละ 40 บาท) ใส่ฟันปลอมบางส่วนชนิดถอดได้ โครงโลหะ (ชิ้นละ 1,250 บาท ขึ้นไป ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนซี่ฟันที่ต้องใส่) ใส่ฟันปลอมทั้งปากชนิดถอดได้ (จ่าย 750 บาท) ครอบฟั น และสะพานฟั น (จ่ า ยซี่ ล ะประมาณ 1,000 บาท ถ้าเลือกใช้วัสดุราคาสูง จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น)

*เงื่ อ นไข* ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งอาศั ย อยู ่ ใ นจั ง หวั ด สงขลาหรื อ ใกล้ เ คี ย ง สามารถเดิ น ทางมารั บ การรั ก ษาระหว่ า งเวลา 09.00-16.30 น. เดื อ นละ 3-4 ครั้ ง ใช้ เ วลาใน การรั ก ษาครั้ ง ละ 3 ชั่ ว โมง หรื อ ตามความเหมาะสม สนใจติ ด ต่ อ : คลิ นิ ก รวม 2 โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.อ. โทร.074-287668

35 ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2560



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.