สารม.อ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560

Page 1

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิด การแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 11

ในฉบับ

• สิ่งที่ชาวใต้นึกถึงอันดับแรก เมื่อพูดถึง ม.อ. คือ โรงพยาบาล และ พระบิดา __2 • ม.อ.ร่วมกับ ไทยพาณิชย์ สู่ Smart University __14 • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมปลูกดาวเรืองแทนดวงใจ ถวายพ่อหลวง __15 • ม.อ. ร่วมน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในหลวง รัชกาลที่ 9 __16 • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 11 __20 • ม.อ.มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอิสลามศึกษาแก่ผู้น�ำสูงสุด ทางศาสนาของอียิปต์ __21 • ม.อ.ดูแลผู้ป่วย ซ่อมแซม ท�ำความสะอาดพื้นที่ภาคใต้ __22


โพล

โพลเผย เมื่อพูดถึง ม.อ. สิ่งที่ชาวใต้นึกถึงอันดับแรก คือ โรงพยาบาล และพระบิดา นโอกาสที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จ ะครบ 50 ปี แห่ ง การสถาปนา ในเดื อ นมี น าคม 2561 ม.อ.โพล ศู น ย์ บ ริ ก าร วิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส�ำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนในพื้ น ที่ 14 จั ง หวั ด ภาคใต้ จากทุ ก เพศ อายุ ระดั บ การ ศึ ก ษา และอาชี พ จ� ำ นวน 1,335 ตั ว อย่ า ง ในหั ว ข้ อ “50 ปี ม.อ. กั บ ความคิ ด เห็ น ของพี่ น ้ อ งชาวใต้ ” ระหว่างวันที่ 1 กันยายน – 30 ตุลาคม 2560 โดยสอบถามถึงความจุดเด่น คาดหวัง การรับรู้ และสิ่งที่นึกถึงสิ่งแรกเมื่อพูดถึงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในประเด็ น จุ ด เด่ น ของมหาวิทยาลัย นั้น พบว่าสอดคล้ องกั บ ภารกิจทั้ง 4 ด้านของมหาวิทยาลัย โดยประชาชนภาคใต้ มองว่า ตลอด 50 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยมีความเด่นด้านการเรียนการ สอน การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพรั บ ใช้ สั ง คมมากที่ สุ ด คิ ด เป็ น ร้อยละ 35.10 รองลงมาคือ ด้านการศึกษาค้นคว้า งานวิจัย และ พัฒนานวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 34.70 ตามด้วยด้านบริการวิชาการ แก่ สั ง คม ถ่ า ยทอดวิ ช าการและวิ ช าชี พ และด้ า นการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ อย่างไรก็ตาม ชาวภาคใต้ก็ยังมีความคาดหวังให้มหาวิทยาลัย ด�ำเนินการในด้านต่างๆ เพื่อให้ท้องถิ่นและลูกหลานได้มีการพัฒนา ยิ่ ง ขึ้ น โดยที่ ค าดหวั ง มากที่ สุ ด คื อ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ เพื่ อ พั ฒ นาประเทศ รองลงมา คื อ การจั ด การเรี ย นการสอนให้ ทั ด เที ย มนานาชาติ การสนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาค้ น คว้ า วิ จั ย การ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชน การแสวงหาความ

2

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

ร่วมมือจากองค์กรต่าง ๆ การส่งเสริมกิจกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรม ท้ อ งถิ่ น การน� ำ ผลงานวิ จั ย ไปใช้ พั ฒ นาชุ ม ชน การเข้ า มี ส ่ ว นร่ ว ม ในการแก้ไขปัญหาชุมชน การจัดฝึกอบรมทางวิชาการและวิชาชีพ และการเปิ ด โอกาสให้ ชุ ม ชนได้ มี ส ่ ว นร่ ว มกั บ กิ จ กรรมของ มหาวิทยาลัย มี ป ระเด็ น ที่ น ่ า สนใจ คื อ สิ่ ง ที่ ค นภาคใต้ “นึ ก ถึ ง ” เป็ น อั น ดั บ แรกเมื่อพูดถึงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คือ นึกถึงโรงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ แ ละการรั ก ษาพยาบาล อั น ดั บ ต่ อ มาคื อ สมเด็ จ พระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ แพทย์และพยาบาล โดยพบว่ า งานเกษตรภาคใต้ ซึ่ ง เป็ น งานประจ� ำ ปี จั ด โดยคณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ถู ก นึ ก ถึ ง เป็ น อั น ดั บ ที่ 4 และในอั น ดั บ 5 เมื่ อ พู ด ถึ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยเฉพาะวิ ท ยาเขต หาดใหญ่ ผู ้ ต อบแบบสอบถามจะนึ ก ถึ ง พื้ น ที่ จ อดรถซึ่ ง มี อ ยู ่ จ� ำ กั ด เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ จ� ำ นวนรถยนต์ ข องบุ ค ลากรและ ผู้มาติดต่องานหรือใช้บริการของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ผู้ตอบแบบส�ำรวจได้มีการรับรู้ข่าวสารของมหาวิทยาลัย ผ่ า นช่ องทางสื่ อออนไลน์ หนั ง สื อพิ มพ์ วิ ท ยุ โทรทั ศน์ เป็น ต้น คิด เป็นร้อยละ 49.40 รองลงมาคือ สื่อบุคคล เช่น ผู้น�ำชุมชน เพื่อนบ้าน ผู ้ ป กครอง บุ ค คลในครอบครั ว บุ ค ลากรมหาวิ ท ยาลั ย และสื่ อ เฉพาะกิ จ เช่ น วารสาร ป้ า ยประชาสั ม พั น ธ์ แผ่ น ปลิ ว แผ่ น พั บ โปสเตอร์ เป็นต้น


สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ ภารกิจของมหาวิทยาลัยให้กับหน่วยงาน ภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และ เอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมายดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน

สารบัญ

ข่าวเด่น

โพล • โพลเผย สิ่งที่ชาวใต้นึกถึงอันดับแรก เมื่อพูดถึง ม.อ.คือ โรงพยาบาล และ พระบิดา

2

ศูนย์กลางนวัตกรรม • นักวิจัย ม.อ. พบแมลงสาบทะเลชนิดใหม่ของโลก • ม.อ.สุราษฎร์ เปิดถนนยางพารา วิจัยใช้ยางแห้ง-เพิ่มสัดส่วนยางท�ำถนน • รพ.ม.อ. เปลี่ยนลิ้นหัวใจไม่ต้องผ่าตัด แห่งแรกในภูมิภาค • ม.อ.ปัตตานีจัดหารถไฟฟ้า เพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

4 5 6 7

ทุนการศึกษา • Soddata Charity Fund มอบทุนการศึกษา นศ.เรียนดี ขาดแคลนทุนทรัพย์

8

• ม.อ. ร่วมน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณในหลวง รัชกาลที่ 9 • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการแข่งขันดาราศาสตร์และ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 11 • ม.อ.มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอิสลามศึกษาแก่ผู้น�ำ สูงสุดทางศาสนาของอียิปต์ • ม.อ.ดูแลผู้ป่วย ซ่อมแซม ท�ำความสะอาดพื้นที่ภาคใต้ • ม.อ.ตรัง ชูแนวคิด “ย่านตาขาวโมเดล” ลงพื้นที่ท�ำวิจัยฟื้นฟู เพื่อพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน • คณะการบริการและการท่องเที่ยวจับมือสายการบินนกแอร์ ลงนามความร่วมมือสหกิจศึกษา • ม.อ. เชิญทูตฟินแลนด์แลกเปลี่ยนในการสัมมนา • เศรษฐศาสตร์ ม.อ. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ทางวิชาการกับธนาคารออมสิน

Activity

• ม.อ. รับโล่เกียรติคุณ หน่วยงานที่ด�ำเนินการด้านสุขภาวะ องค์กรอย่างต่อเนื่อง • ร่วมแสดงความยินดี นศ. ม.สงขลานครินทร์ ได้รับคัดเลือก รับทุนเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2017 • นักวิจัย ม.อ. ติดอันดับ 1 ใน 5 นักวิจัยที่มีการอ้างอิงผลงาน สูงสุดระดับโลก ปี 2017 • นักวิจัย ม.อ. เจ๋ง ยกทีมคว้ารางวัลระดับนานาชาติ ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

10

• ม.อ.เป็นแกนน�ำจับมือทุกฝ่ายรับมืออุทกภัย “หาดใหญ่เข้มแข็งสู้ภัยน�้ำท่วม” • นศ.วิชาภาษาต่างประเทศเป็น Trainers อบรม Job-Specific English for Public Relations ให้เยาวชนในอ�ำเภอขนอม • นิทรรศการต้นก�ำเนิดการ์ตูนญี่ปุ่น • ม.อ.- NCC ร่วมยินดี 9 ปีแห่งความส�ำเร็จของศูนย์ประชุมฯ

11

แนะน�ำหลักสูตร

10

การศึกษา • เสริมหลักสูตรวิชาชีพให้นักศึกษาไทยในอียิปต์ เชื่อตลาดต้องการเพราะเก่งภาษา

12

ความร่วมมือสู่การพัฒนา • ปตท.สผ.ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดตัว หุ่นยนต์ท�ำความสะอาดชายหาดตัวแรกที่พัฒนาโดยคนไทย • ม.อ.ร่วมกับ ไทยพาณิชย์ สู่ Smart University

13 14

ข่าวเด่น • ชาว ม.อ.ร่วมปลูกดาวเรืองแทนดวงใจถวายพ่อหลวง

15

20 21 22 23

ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ความภาคภูมิใจ 9

16

24 25 26

27 28 29 30 31 31 32

• คณะอุตสาหกรรมเกษตร • คณะวิศวกรรม • คณะพยาบาล

ประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ • คณะทันตแพทยศาสตร์ ให้บริการทางทันตกรรมฟรี แก่ประชาชนทั่วไป • นักศึกษาคณะสัตวแพทย์ลงชุมชน จัดโครงการ VET Ground

33 34

กิจกรรมที่น่าสนใจ • ขอเชิญ ร่วมกิจกรรมค่ายเคมีรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 2 (2nd Young Chem Camp)

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

35

3


ศูนย์กลางนวัตกรรม

นักวิจัย ม.อ. พบแมลงสาบทะเล

ชนิดใหม่ของโลก

ช่วยเป็นห่วงโซ่อาหารและตัวชี้วัดระบบนิเวศน์

www.psu.ac.th/th

“ สัตว์กลุ่มนี้มีบทบาทส�ำคัญใน

ระบบนิ เ วศทางทะเลมาก คื อ เป็นฐานอาหารล�ำดับต้นๆ ใน ห่ ว งโซ่ อ าหารให้ กั บ สั ต ว์ น�้ ำ ต่างๆ และยังเป็นตัวช่วยย่อย สลายซากสัตว์ในทะเล แต่หาก บริเวณใดที่มีน�้ำเสียมากๆ จะ ไม่พบสัตว์กลุ่มนี้

4

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

เอกนริ น ทร์ รอดเจริ ญ อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าวาริ ช ศาสตร์ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ Dr. Niel Bruce ประเทศออสเตรเลีย และ รศ.ดร. พรศิลป์ ผลพันธิน ภาควิชา ชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ค้ น พบแมลงสาบ ทะเลชนิ ด ใหม่ ข องโลกในฝั ่ ง ทะเลอั น ดามั น เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ระบบนิ เ วศน์ แ ละเป็ น ห่วงโซ่อาหารให้สัตว์น�้ำอื่น ไอโซพอด (Isopod) หรื อ แมลงสาบทะเล คื อ สั ต ว์ ก ลุ ่ ม เดี ย วกั บ พวก กุ ้ ง ปู (Crustacean) ส่ ว นใหญ่ ข นาดล� ำ ตั ว มี ค วามยาวประมาณ 0.5-2.0 ซม. อาศั ย อยู ่ ต ามพื้ น ท้ อ งทะเล โดยพบได้ ทั่ ว ไปตั้ ง แต่ เ ขตน�้ ำ ขึ้ น น�้ ำ ลง จนถึ ง ทะเล ลึ ก มั ก ออกหากิ น ในตอนกลางคื น สั ต ว์ ก ลุ ่ ม นี้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในระบบนิ เ วศ ทางทะเลมาก คื อ เป็ น ฐานอาหารล� ำ ดั บ ต้ น ๆ ในห่ ว งโซ่ อ าหารให้ กั บ สั ต ว์ น�้ ำ ต่ า งๆ และยั ง เป็ น ตั ว ช่ ว ยย่ อ ยสลายซากสั ต ว์ ใ นทะเล แต่ ห ากบริ เ วณใดที่ มี น�้ ำ เสี ย มากๆ จะไม่ พ บสั ต ว์ ก ลุ ่ ม นี้ เพราะมั น จะไม่ ส ามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ ใ นบริ เ วณที่ เกิ ด มลพิ ษ ทางน�้ ำ ส� ำ หรั บ แมลงสาบทะเลชนิ ด ใหม่ ข องโลกที่ ถู ก ค้ น พบในครั้ ง นี้ แพร่กระจายตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย แต่ถูกพบครั้งแรก ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต จึ ง ได้ ใ ห้ ชื่ อ ว่ า Cirolana phuketensis ตามสถานที่ ค ้ น พบครั้ ง แรก และได้รับการตีพิมม์เผยแพร่บทความระดับนานาชาติในวารสาร ZooKeys ปั จ จุ บั น พบว่ า ประเทศไทย รวมถึ ง ประเทศแถบเอเซี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ยั ง มี การศึ ก ษาสั ต ว์ ก ลุ ่ ม นี้ อ ยู ่ น ้ อ ย โดยเฉพาะการศึ ก ษาทางด้ า นอนุ ก รมวิ ธ านและ การจั ด ระบบความหลากหลายของสิ่ ง มี ชี วิ ต ผู ้ วิ จั ย เริ่ ม ศึ ก ษากลุ ่ ม นี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง ในช่วงระยะ 5 ปีที่ผ่านมา และได้มีรายงานแมลงสาบทะเลชนิดใหม่ของโลก ที่ พบในประเทศไทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง การค้ น พบสิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด ใหม่ นี้ จะเป็ น ข้ อ มู ล ที่ มี ป ระโยชน์ ไม่ ว ่ า ในการศึ ก ษาต่ อ ยอดด้ า นอื่ น ๆ หรื อ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ การประเมิ น ความหลากหลายชี ว ภาพทางทะเลในน่ า นน�้ ำ ไทย ตลอดจนการ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติทางชีวภูมิศาสตร์ของแถบอินโด-แปซิฟิก


ศูนย์กลางนวัตกรรม

ม.อ.สุราษฎร์ เปิดถนนยางพารา วิจัยใช้ยางแห้ง-เพิ่มสัดส่วนยางท�ำถนน พณฯ ชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี และที่ปรึกษา สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานในพิธี เปิดถนนยางพารา ทศพาราวิถี และ เบญจพาราวิถี ณ ลาน ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวรายงานการด�ำเนินโครงการ รองศาตราจารย์ ดร.เจริ ญ นาคะสรรค์ รอง อธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี กล่ า วถึ ง โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาการสร้ า งถนนยางพารา ทศพาราวิ ถี และ เบญจพาราวิ ถี ว่ า เป็ น ผลงานของคณะนั ก วิ จั ย ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากหลายวิทยาเขต ซึ่งมีการ ศึกษาวิจัยในการน�ำยางพารามาใช้ประโยชน์ โดยถนนทั้ง 2 เส้ น มี ส ่ ว นผสมของยางพารากั บ แอสฟั ล ต์ ค อนกรี ต ในสั ด ส่ ว นที่ ไ ม่ เ ท่ า กั น โดยถนนเบญจพาราวิ ถี มี ส ่ ว น ผสมของยางพาราร้ อ ยละ 5 และถนนทศพาราวิ ถี มีส่วนผสมของยางพาราร้อยละ 10 และเป็นถนนเส้นแรก ที่ ใ ช้ ส ่ ว นผสมของยางพารามากที่ สุ ด ในประเทศไทย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บคุ ณ ภาพการใช้ ง านของถนนที่ มี ส่วนผสมของยางพาราที่แตกต่างกัน ในปัจจุบันมีถนนหลายสายที่สร้างโดยมีส่วนผสมของ ยางพารากับแอสฟัลต์คอนกรีต แต่โดยทั่วไปจะมีส่วนผสม ของยางอยู่ไม่เกิน ร้อยละ 5 และใช้น�้ำยางพาราเป็นส่วน ผสม แต่จากนักวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ใน ฐานะผู้ท�ำวิจัยและท�ำงานเรื่องยางพารามายาวนาน โดยมี การร่วมมือกันในทุกวิทยาเขต ได้มีการศึกษาส่วนผสมในรูป

แบบใหม่คือ เปลี่ยนเป็นใช้ยางแห้งเป็นส่วนผสมแทนน�้ำยาง โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ท�ำให้สามารถผสมยางได้มากขึ้นกว่า 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งการผสมยางในปริมาณมากขึ้น ไม่ได้มีความ ยุ่งยากในกระบวนการผลิต และจากการทดลองใช้งาน ถนน ที่มีส่วนผสมยางพารามากจะมีความนุ่มนวลในการขับขี่ และ ระยะเบรกจะสั้นกว่า ส่วนความคงทนและคุณสมบัติอื่นๆ เป็นเรื่องที่จะต้องใช้เวลาติดตามผลต่อไป และจะมีการติดต่อ ให้คณะวิศวกรรมศาสตร์ เข้ามาตรวจสอบคุณภาพถนนอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเก็บข้อมูลและก�ำหนดมาตรฐานในโอกาสต่อไป ส� ำ หรั บ เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ ใ ช้ ย างแห้ ง แทนน�้ ำ ยาง เพราะ จากการศึ ก ษาการผสมระหว่ า งยางกั บ แอสฟั ล ท์ นั้ น น�้ ำ ไม่ ไ ด้ มี ป ระโยชน์ ใ นกระบวนการผสมดั ง กล่ า ว ดั ง นั้ น การ ใช้เนื้อยางอย่างเดียวเพื่อหลอมผสมกับแอสฟัลท์ ซึ่งเป็นการ น� ำ พอลิ เ มอร์ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ใ กล้ เ คี ย งกั น มาหลอมละลาย เข้าด้วยกัน ด้วยความร้อนจึงเป็นสิ่งที่น่าจะเพียงพอ “จริ ง ๆ แล้ ว ส่ ว นผสมของยางอาจได้ ม ากกว่ า 10 เปอร์เซ็นต์ แต่จะคุณภาพดีหรือไม่ยังไม่มีค�ำตอบเพราะยัง ไม่เคยมีใครท�ำมาก่อน เราก�ำลังจะหาค�ำตอบว่าปริมาณที่ เหมาะสมคือเท่าไหร่ ซึ่งนี่จะเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มมูลค่า ยางในภาวะที่ ร าคายางตกต�่ ำ ประเทศไทยผลิ ต ยางดิ บ 4 ล้านตันต่อปี และส่งออก 3 ล้านตัน แต่ที่ได้น�ำไปแปรรูป ขายเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ นั้ น มี มู ล ค่ า มากกว่ า ราคายางที่ ส่งออก ซึ่งหากมีการน�ำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์มากขึ้น จะ ท�ำประเทศจะมีรายได้เพิ่มขึ้นปีละประมาณ 4,000 ล้านบาท” รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กล่าว

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

5


ศูนย์กลางนวัตกรรม

ศู น ย ์ โ ร ค หั ว ใ จ โรงพยาบาล ม.อ. เปิด นวั ต กรรมการรั ก ษา โ ร ค หั ว ใ จ แ บ บ ใ ห ม ่ เปลี่ ย นลิ้ น หั ว ใจผ่ า น ทางสายสวนโดยไม่ ต้องผ่าตัด แห่งแรกใน ส่ ว นภู มิ ภ าค คนไข้ ฟ ื ้ น ตั ว เร็ ว ไม่ มี แ ผล ภาวะ แทรกซ้อนน้อย ไม่ต้อง นอนโรงพยาบาลนาน

รพ.ม.อ. เปลี่ยนลิ้นหัวใจไม่ต้องผ่าตัด

แห่งแรกในภูมิภาค

จจุบัน ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ มี ก าร พั ฒ นาวิ ธี ก ารรั ก ษาโรคหั ว ใจอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ทั น กั บ เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ก้าวหน้าขึ้น โดยมีการบุกเบิกการ ท� ำ หั ต ถการเปลี่ ย นลิ้ น หั ว ใจ aortic ผ่ า นทางสายสวนน� ำ มา ใช้ในการรักษาผู้ป่วย ซึ่งนับได้ว่าเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกใน ส่ ว นภู มิ ภ าคที่ ไ ด้ น� ำ วิ ธี ก ารนี้ ม าใช้ โดยได้ ศึ ก ษาและพั ฒ นา ทีมรักษาด้วยวิธีนี้มาเป็นเวลาประมาณ 2 ปี แต่เริ่มน�ำมาใช้ รั ก ษาคนไข้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 6 กรกฎาคม 2560 มี ค นไข้ รั บ การ รั ก ษาไป 8 คน อายุ ตั้ ง แต่ 75-91 ปี มี ผ ลการรั ก ษาที่ ดี สามารถใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ได้ เ ช่ น คนทั่ ว ไป การรั ก ษาด้ ว ย วิ ธี นี้ ได้ มี ก ารใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายในต่ า งประเทศเป็ น เวลา 7-8 ปี แ ล้ ว ส่ ว นในเอเชี ย และในประเทศไทยเพิ่ ง ได้ มี ก ารน� ำ มาใช้ กั น ไม่ น านมานี้ ในโรงพยาบาลใหญ่ ๆ ใน กรุงเทพมหานคร เมื่ อ ก่ อ นการรั ก ษาลิ้ น หั ว ใจต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารผ่ า ตั ด เปิ ด หน้ า อก ซึ่ ง ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งอยู ่ โ รงพยาบาลนานเป็ น สั ป ดาห์ พั ฒ นาการของการรั ก ษาพยาบาลโดยการเปลี่ ย นลิ้ น หั ว ใจ ผ่านสายสวน มีลักษณะการรักษาคล้ายกับการท�ำบอลลูน คือ คนไข้ไม่ต้องผ่าตัดเปิดหน้าอก เพียงใส่สายเข้าไปทางเส้นเลือด บริเวณแขน ขา หรือคอ แล้วใส่ลิ้นหัวใจเทียมผ่านทางหลอด เลื อ ด ซึ่ ง ข้ อ ดี ข องการรั ก ษาแบบนี้ คื อ คนไข้ ฟ ื ้ น ตั ว เร็ ว ไม่ มี แผลบริ เ วณหน้ า อก ภาวะแทรกซ้ อ นน้ อ ยกว่ า ไม่ ต ้ อ งนอน

6

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

โรงพยาบาลนาน ซึ่งผู้ป่วยที่เหมาะส�ำหรับการรักษาด้วยวิธีนี้ คือผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงเมื่อต้องรับการผ่าตัด ซึ่งเทคโนโลยี นี้จะตอบโจทย์ในการรักษาผู้สูงอายุหรือผู้ที่ความเสี่ยงสูงอื่นๆ เช่น มีโรคประจ�ำตัวบางชนิด “ในขณะนี้ โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ เ ป็ น ที่ แ รก และที่เดียวในภูมิภาค ที่ให้การรักษาด้วยวิธีนี้ การรักษาโดย การเปลี่ ย นลิ้ น หั ว ใจผ่ า นสายสวนต้ อ งมี ก ารร่ ว มท� ำ งานเป็ น ทีม ระหว่างอายุรแพทย์ ศัลยแพทย์โรคหัวใจและหลอดเลือด รังสีแพทย์ วิสัญญีแพทย์ ทีมพยาบาล เจ้าหน้าที่ห้องผ่าตัด เป็นต้น ซึ่งการสามารถร่วมรักษาเป็นทีมถือเป็นจุดเด่นของ การรักษาของที่นี่ นอกจากต้องมีความพร้อมทั้งบุคลากรและ อุปกรณ์แล้ว ยังต้องมีห้องผ่าตัดแบบ Hybrid ที่มีโปรแกรม ส�ำหรับท�ำการหัตถการ TAVR (Transcatheter Aortic Valve Replacement) โดยเฉพาะ และสามารถรองรับการผ่าตัดใน กรณี ฉุกเฉิ นได้ ซึ่ ง จะมี อยู ่ ไ ม่ กี่แ ห่ ง อย่ า งไรก็ ตามในปัจ จุบัน ทราบว่ า หลายโรงพยาบาลก็ พ ยายามสร้ า งความพร้ อ มเพื่ อ รองรับเทคโนโลยีใหม่นี้” นพ.สิริชัย ชีวธนากรณ์กุล กล่าว


ศูนย์กลางนวัตกรรม

ม.อ.ปัตตานี จัดหารถไฟฟ้า เพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ซื้ อ รถไฟฟ้ า ขนาด 14 ที่ นั่ ง จ� ำ นวน 3 คั น เพื่ อ ใช้ ในภารกิจของมหาวิทยาลัย ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผศ.นพพร เหรียญทอง รองอธิการบดีฝ่ายสารสนเทศ และกายภาพ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี แจ้ ง ว่ า ตอนนี้ ร ถไฟฟ้ า ดังกล่าวถูกส่งมายังวิทยาเขตปัตตานีแล้ว โดยบริษัท H SEM Motor เป็ น ผู ้ ส ่ ง มอบ ทั้ ง นี้ ร ถไฟฟ้ า ทั้ ง 3 คั น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ จั ด ซื้ อ มาในราคาคั น ละ 530,000 บาท เป็นรถขนาด 14 ที่นั่ง ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์พลังงานไฟฟ้า ซึ่ ง นอกจากเป็ น การประหยั ด พลั ง งานแล้ ว ยั ง เป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม ตามโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยระบบสารสนเทศและกายภาพ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ชี้ แ จงว่ า ส� ำ หรั บ ภารกิ จ ของรถไฟฟ้ า ใน ระยะแรกนี้จะใช้ในภารกิจต่างๆ เช่น ใช้ในการน�ำผู้มาเยือน เยี่ ย มชมวิ ท ยาเขตปั ต ตานี , ใช้ ใ นภารกิ จ งานวั น เด็ ก , งาน ม.อ.วิ ช าการและในกิ จ กรรมพิ เ ศษต่ า งๆ ทั้ ง นี้ ร ถไฟฟ้ า ดั ง กล่ า วจะอยู ่ ใ นความดู แ ลของกองอาคารสถานที่ วิทยาเขตปัตตานี

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

7


ทุนการศึกษา

Soddata Charity Fund มอบทุนการศึกษา

นศ.เรียนดี ขาดแคลนทุนทรัพย์

ณะ Soddata Charity Fund จากรั ฐ ปี นั ง ประเทศมาเลเซี ย และเพื่ อ นพ้ อ งคุ ณ นิ ต ติ จิ ร ะนคร มอบทุนการศึก ษาประจ�ำปี 2560 จ�ำ นวน 102 ทุน ทุนละ 10,000 บาท รวม 1,020,000 บาท เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2560 ณ อาคารศูนย์กีฬา และนั น ทนาการ โดย รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.พนิ ด า สุ ข ศรี เ มื อ ง ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา นางสาวจี ร นั น ท์ ยอดมณี หั ว หน้ า งานแนะแนว และจั ด หางาน กองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา และที ม งาน กองกิจการนักศึกษา ร่วมเป็นเกียรติ ทั้ ง นี้ คุ ณ นิ ต ติ จิ ร ะนคร ได้ แ สดงเจตจ� ำ นง ที่จะเชิญชวนญาติมิตร เพื่อนๆ จัดหาทุนการศึกษา ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ ปี ก ารศึ ก ษา 2552 มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เป็ น การให้ โอกาสทางการศึ ก ษาแก่ นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นดี มี ค วาม ประพฤติ เ รี ย บร้ อ ย แต่ ข าดแคลนทุ น ทรั พ ย์ ให้ มี โอกาสศึ ก ษาได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา เป็นการสร้างทรัพยากรบุคคลแก่ประเทศชาติ

8

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


ความภาคภูมิใจ

ม.อ. รับโล่เกียรติคุณ

หน่วยงานที่ด�ำเนินการด้านสุขภาวะองค์กรอย่างต่อเนื่อง มื่ อ วั น ที่ 5 กั น ยายน ที่ ผ ่ า นมา นางสาวดวงพร วงษ์ ส วั ส ดิ์ ผู้อ�ำนวยการกองวิชาการและการพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี เป็ น ผู ้ แ ทนมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ รับโล่เกียรติคุณ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินการ ด้านสุขภาวะองค์กรอย่างต่อเนื่อง จาก นางเมธินี เทพมณี ส�ำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ณ อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ (สสส.) การมอบโล่เกียรติคุณดังกล่าว จัดขึ้นภายในงาน “ความสุขราชการ ไทย 4.0” ตามโครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการท�ำงานและเสริมสร้าง ศักยภาพองค์กรภาครัฐในระยะเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นองค์กรสุขภาวะ ซึ่ง เป็ น โครงการที่ ส ถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ ทุ น สนับสนุน จาก สสส. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนองค์กรเครือข่ายภาค รัฐสู่การเป็นองค์กรสุขภาวะ นอกจากนี้ ยังมีบุค ลากรของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร์ ได้ รั บ รางวัล นักสร้างสุของค์กร (นสอ.) ดีเด่น ประจ�ำปี 2559-2560 จ�ำนวน 4 ราย คือ นางเมตตา ชุมอินทร์ นางรัตติยา เขียวแป้น นายบัญชา เตส่วน และ นางสาววิลาสินี เลิศตระกูล โดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานมอบรางวัล อีกทั้งยังได้ร่วมจัดนิทรรศการ หัวข้อ การสร้างความสมดุลชีวิตและ งาน โดยน�ำกิจกรรม “ศิลปะแห่งชีวิต โคริงกะ : จัดดอกไม้จัดใจ” ของ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มาร่วมแสดงในงานดังกล่าวด้วย

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

9


ความภาคภูมิใจ

นักวิจัย ม.อ. ติดอันดับ 1 ใน 5

นักวิจัยที่มีการอ้างอิงผลงานสูงสุดระดับโลก

(Highly Cited Researchers) ปี 2017

าสตราจารย์ ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คือ หนึ่ ง ในนั ก วิ จัย แถวหน้าของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ที่ สร้ า งชื่ อเสี ยงมาอย่ า งต่ อเนื่ อง ยาวนาน ทั้ ง ในระดับชาติ นานาชาติ ได้รับการยอมรับจากวงการวิชาการอย่างกว้างขวาง ยืนยันได้จากชื่อเสียงและรางวัลมากมายตลอดหลายปีที่ผ่าน มา และล่าสุดเมื่อ Clarivate Analytics หรือในอดีตคือธุรกิจ Intellectual Property & Science ในเครือ Thomson Reuters ประกาศรายชื่อนักวิจัยจากสถาบันการศึกษาของไทยที่ติดอันดับนักวิจัยที่มีการอ้างอิงผลงานสูงสุดระดับ โลก (Highly Cited Researchers) ปี 2017 ใน Web of Science ชื่อของ ศาสตราจารย์ ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก็เป็น 1 ใน 5 อันดับสูงสุด สร้างความชื่นชมยินดีเป็นอย่างมาก ส�ำหรับอันดับเหล่านี้ จ�ำแนกโดยอาศัยข้อมูลและการวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญด้านบรรณมิติจาก Clarivate Analytics ใช้แพลตฟอร์มวิเคราะห์และสืบค้นประเภท web based ชั้นน�ำระดับโลกอย่าง InCites(TM) Essential Science Indicators(SM) รวมถึงการรวบรวมข้อมูลด้านการวัดคุณภาพเชิงวิทยาศาสตร์และข้อมูลบ่งชี้ แนวโน้ม โดยพิจารณาจากจ�ำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยและข้อมูลการอ้างอิงจาก Web of Science(TM) ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มประเภท web based ที่สามารถสืบค้นงานวิจัยเชิงวิทยาศาตร์และเชิงวิชาการได้ อย่างแม่นย�ำที่สุด และยังสามารถระบุจ�ำนวนการอ้างอิงผลงานวิจัยได้ นอกจากนี้ รายชื่อ Highly Cited Researchers จาก Clarivate Analytics ยังเป็นส่วนส�ำคัญ ของการจัดอันดับ Academic Ranking of World Universities ซึ่งเป็นหนึ่งในการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยทั่วโลกที่มีมานานและมีอิทธิพลมากที่สุดอีกด้วย โดยท่านสามารถติดตามอันดับอื่นๆ ได้ที่ https://clarivate.com/hcr/2017-researchers-list/

ร่วมแสดงความยินดี

นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ได้รับคัดเลือก ให้ได้รับทุนเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2017 ลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.) ได้ด�ำเนิน การคัดเลือก นิสิต นักศึกษา จากสถาบันระดับอุดมศึกษาทั่วประเทศ เพื่อมอบ ทุนการศึกษา ทุนเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2017 (Quality Youths Scholarship of The Year 2017) พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เยาวชนรุ่นหลัง ได้เห็นคุณค่าของตนเองและการท�ำผลงานหรือกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ด้วย การประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยในครั้ ง นี้ มี นั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้รับคัดเลือกนั้นคือ นายปิยมิตร ท้วมศรี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเคมี โดย ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น เยาวชนคุ ณ ภาพแห่ ง ปี 2017 จะได้ รั บ มอบทุ น การศึ ก ษาพร้ อ มใบ ประกาศเกียรติคุณ รวมถึงการบรรจุชื่อเข้าสู่ท�ำเนียบเกียรติยศ ท�ำเนียบเยาวชน คุณภาพแห่งปี 2017 เพื่อประกาศเชิดชูเกียรติและเป็นแบบอย่างทีดีสืบไป

10

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


ความภาคภูมิใจ

นักวิจัย ม.อ. เจ๋ง

ยกทีมคว้ารางวัลระดับนานาชาติ ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยกทีมนักวิจัยคว้ารางวัลระดับ นานาชาติ ส่งท้ายปีในงาน Seoul International Invention Fair 2017 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี จัดขึ้นระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2560 โดยมีผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัล ดังนี้ 1. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง อุ ป กรณ์ วั ด ก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง ก่ อ นการฉี ด ยาเข้ า น�้ ำ วุ ้ น ตา ของ นางดวงรั ต น์ หมายดี คณะแพทยศาสตร์ ได้ รั บ รางวั ล Gold Prize และรางวั ล Special Prize จาก Korea Patent Attorneys Association 2. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง ตั ว ดู ด ซั บ คอมโพสิทชนิดใหม่ อนุภาคแม่เหล็ก นาโน ท่อนาโนคาร์บอนผนังหลายชั้น และอัลจิเนตส�ำหรับวิเคราะห์สารพิษ โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ของ ผศ.ดร.โอภาส บุ ญ เกิ ด และ รศ.ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา คณะ วิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัล Gold Prize 3. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ มั น ท� ำ ความสะอาดเครื่ อ งส� ำ อาง จากน�้ำมันเมล็ดยางพารา ของ รศ.ดร. ธนภร อ� ำ นวยกิ จ , ผศ.ดร.สิ ริ รั ศ มิ์ ปิ่นสุวรรณ และนายปณิธิ รักนาม คณะ เภสัชศาสตร์ ได้รับรางวัล Gold Prize 4. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นา โฟมยางพาราผสมสารล่ อ แมลงเพื่ อ การควบคุมแมลงวันผลไม้ ของ ผศ.ดร. นริ ศ ท้ า วจั น ทร์ , ผศ.ดร.เอกวิ ภู กาลกรณ์ สุ ร ปราณี , รศ.ดร.อรั ญ งามผ่ อ งใส , นางสาวยาวารี ย ๊ ะ ห์ สาเมาะ , นางสาวรูเฟียะห์ มะลี และ น า ง ส า ว ค อ ฎี ย ๊ ะ เ ถ า วั ล ย ์ คณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ได้ รั บ รางวั ล Gold Prize

5. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง ปากกาชุ บ เคลื อ บผิ ว และกั ด ผิ ว ด้ ว ยไฟฟ้ า แบบ พกพา ของ ผศ.ดร.วรากร ลิ่ ม บุ ต ร , รศ.ดร.เพริ ศ พิ ช ญ์ คณาธารณา และ รศ.ดร.ปณต ถาวรั ง กู ร ได้ รั บ รางวั ล Bronze Prize และรางวั ล Special Award จาก Indonesian Invention and Innovation Promotion Association 6. ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง เครื่ อ งผลิ ต ไบโอดี เ ซลแบบต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยเครื่ อ ง ปฏิกรณ์คลื่นเสียงอัลตราโซนิกความถี่ ต�่ ำ ชนิ ด แคลมป์ ท ่ อ ของ ผศ.ดร.กฤช สมนึก , รศ.ก�ำพล ประทีปชัยกูร , นาย ทนงศักดิ์ ประสิทธิ์ และนายดุลยาวัชร์ พันธุ์ยูโซ๊ะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้รับ รางวัล Bronze Prize ส�ำหรับงาน Seoul International Invention Fair 2017 หรือที่รู้จักกันในชื่อ SIIF 2017 เป็นงานแสดงสินค้าเทคโนโลยี และสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ น านาชาติ จั ด โดยศู น ย์ นิ ท รรศการ COEX Korea Exhibition Center ซึ่ ง ภายในงานมี ก ารน� ำ เสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น วั ต กรรมใหม่ ใ นอุ ต สาหกรรมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี จ าก 43 ประเทศทั่ ว โลก เป็ น ช่ อ งทางทางการ ตลาดให้ กั บ ผลงานที่ ไ ด้ ส ร้ า งสรรค์ ขึ้ น ท� ำ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ในเชิ ง เศรษฐกิ จ ของประเทศ และสร้ า งช่ อ งทางให้ นั ก วิ จั ย / นักประดิษฐ์ไทยได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนกับนักวิจัย/นักประดิษฐ์ ต่างประเทศ จึงถือเป็นความภาคภูมิใจอย่างมากที่นักวิจัยของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ไปแสดงศักยภาพผลงานวิจัย ของมหาวิทยาลัยในงานดังกล่าว

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

11


การศึกษา

ม.อ. เสริมหลักสูตรวิชาชีพ

ให้นักศึกษาไทยในอียิปต์ เชื่อตลาดต้องการเพราะเก่งภาษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มุ่งเสริมความเข้มแข็งด้าน วิชาชีพเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ฮาลาล ล่าม และ มัคคุเทศก์ ให้นักศึกษาไทยในอียิปต์หลังจบปริญญาตรีและกลับไทย เชื่อ ตลาดแรงงานต้องการเพราะมีความเด่นด้านภาษาอาหรับเป็น ทุนอยู่แล้ว รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยหลังการพบปะตัวแทน สมาคมนักเรียนไทยไคโรในพระบรมราชูปถัมภ์ ประเทศอียิปต์ ว่า ปัจจุบันในประเทศอียิปต์มีนักศึกษาไทยที่ก�ำลังศึกษาอยู่ จ� ำ นวน 3,500 คน และประมาณร้ อ ยละ 80 มาจากจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยส่วนใหญ่มาศึกษาระดับปริญญาตรีทาง สายศิลปศาสตร์ เช่นด้านการศึกษา ภาษา ที่มีวิชาความรู้ทาง ด้านศาสนาเป็นพื้นฐานส�ำคัญ และจะมีส่วนน้อยที่เรียนทาง แพทยศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งจุดแข็งของนักศึกษาที่นี่ คือการมีความรู้ทางด้านภาษาอาหรับ ซึ่งจะมีความส�ำคัญใน การประกอบอาชีพในประเทศไทยในอนาคต เนื่องจากเป็นที่ ต้องการของตลาดแรงงานหลายวิชาชีพ แต่ที่ผ่านมากว่าครึ่ง ของผู ้ จ บการศึ ก ษาจะไปท�ำงานในสถานศึก ษา นอกนั้ น เข้ า ท�ำงานภาคเอกชน ดั ง นั้ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง มี โ ครงการ ที่ จ ะจั ด การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งหลั ง ปริ ญ ญาตรี ใ ห้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา

12

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

ไทยที่ ส�ำ เร็ จ การศึ กษามาจากประเทศอี ยิปต์ ในสาขาวิช าที่ มหาวิ ท ยาลั ย มี ศั ก ยภาพทางวิ ช าการและสามารถใช้ ภ าษา อาหรั บ เป็ น ส่ ว นเสริ ม และมี แ นวโน้ ม ว่ า ตลาดแรงงานจะมี ความต้องการเพิ่มมากขึ้น โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้มีการส�ำรวจหลักสูตรที่เป็นความต้องการ ของนักศึกษา เพื่อน�ำไปพิจารณาเปิดสอน พบว่า ส่วนใหญ่ สนใจจะเรียนเสริมหลักสูตรระยะสั้นในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮ าลาล เช่ น เป็ น ผู ้ ต รวจสอบคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮาลาล ผู้จัดการฮาลาล รองลงมาเป็นวิชาชีพด้านภาษา เช่น ล่ามในสถานพยาบาล และมัคคุเทศก์ นอกจากนั้น ผู้ที่สนใจ ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาในวิชาชีพครูและสาขาอื่นๆ ก็ สามารถสมัครเข้าศึกษาได้ในทุกวิทยาเขต “การเรียนหลักสูตรระยะสั้นจะท�ำให้สามารถเข้าสู่ตลาด แรงงานได้ เ ร็ ว ขึ้ น โดยในบางหลั ก สู ต รทางวิ ท ยาลั ย อิ ส ลาม ศึกษาได้เปิดน�ำร่องไปบ้างแล้ว แต่บางหลักสูตร อาจต้องเรียน หลักสูตรระยะยาว เนื่องจากต้องมีความเข้มแข็งทางวิชาการ และต้องมีการฝึกฝนด้านเครื่องมืออุปกรณ์ การมาเยี่ยมครั้งนี้ นักศึกษาไทยในอียิปต์ได้ให้ความสนใจซักถามวิธีการเข้าศึกษา ต่อ และสาขาวิชาที่สนใจ โดยหลังจากนี้มหาวิทยาลัยจะได้มี การประสานงานมายังสมาคมนักเรียนไทยไคโรอย่างต่อเนื่อง ต่อไป” อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ปตท.สผ.ร่วมกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เปิดตัวหุ่นยนต์ท�ำความสะอาดชายหาด

ตัวแรกที่พัฒนาโดยคนไทย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. แถลงข่าวและสาธิตการท�ำงานหุ่นยนต์ท�ำความ สะอาดชายหาดตัวแรกที่พัฒนาโดยคนไทย เมื่อวันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม 2560 ที่โรงแรมบี พี สมิหลาบีช และ ชายหาดสมิหลา สงขลา โดยเป็นการพัฒนาหุ่นยนต์ท�ำความสะอาดชายหาด ให้สามารถท�ำงานบนชายหาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะ สมกั บ สภาพพื้ น ที่ และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและมนุ ษ ย์ รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิกร สมิ ต ไมตรี ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ก ล่ า วถึ ง แนวคิ ด หลั ก ในการสร้ า งหุ ่ น ยนต์ เ ก็ บ ขยะครั้ ง นี้ ว่ า เพื่ อ ให้ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและ มนุ ษ ย์ เพื่ อ ให้ ท� ำ งานได้ แ ม้ ใ นช่ ว งเวลา ที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วจ� ำ นวนมากอยู ่ บ ริ เ วณชายหาด โดยมี ก าร หารือร่วมทั้งกับ ปตท.สผ. และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บางแห่งที่มีพื้นที่ติดชายหาด เช่น สมุทรสาคร ซึ่งมีปัญหาขยะ บริเวณชายหาดเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะขยะชิ้นเล็กๆ ซึ่งยาก ต่อการเก็บ จากข้อมูลดังกล่าวจึงได้คิดสร้างเป็นหุ่นยนต์ขนาด เล็ก ส�ำหรับจุดเด่นของหุ่นยนต์ท�ำความสะอาดชายหาดตัว นี้ คือ สามารถจัดการขยะที่อยู่บนทรายหรือฝังตัวอยู่ในทราย โดยใช้ระบบตักผิวทรายและแยกเม็ดทรายออกจากเศษขยะ โดยใช้ตะแกรงร่อนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยมี ความเร็วในการเก็บขยะ 130 ตารางเมตร ต่อชั่วโมง สามารถ เก็บขยะในบริเวณแนวต้นไม้ที่รถเก็บเศษขยะที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถเข้าถึงได้ ใช้งานได้ในหลายสภาพแวดล้อมของ ชายหาด โดยขยะที่เก็บสามารถน�ำไปแยกรีไซเคิลหรือท�ำลาย อย่ า งถู ก วิ ธี ต ่ อ ไป สามารถผลิ ต ได้ เ องในประเทศ ควบคุ ม

ด้ วยคนคนเดี ยว ปลอดภัยในการใช้ งาน กะทัดรัด ไม่ก่อ ให้ เกิ ด มลภาวะทางเสี ย ง และมี รู ป ลั ก ษณ์ ที่ ส วยงาม เหมาะ สมต่ อ การน� ำ มาใช้ ใ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว และสามารถเป็ น ต้นแบบในการจัดเก็บขยะชายหาดให้พื้นที่อื่นในภูมิภาค ด้ า น นายสมศั ก ดิ์ ตั น ติ เ ศรณี นายกเทศบาลนครสงขลา กล่ า วว่ า นครสงขลาเป็ น เมื อ งที่ มี ส ภาพแวดล้ อ ม ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ มี ช ายหาดที่ ย าวกว่ า 8 กิ โ ลเมตร แต่ มั ก ประสบปั ญ หาขยะ บริ เ วณชายหาดทั้ ง ที่ เ กิ ด จากการทิ้ ง ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วและคลื่ น ซั ด มาจาก ทะเลซึ่ ง จะมี ป ริ ม าณมากในฤดู ม รสุ ม แม้ เ ทศบาลนคร สงขลาจะได้ มี ก ารระดมพนั ก งานท� ำ ความสะอาด และ จั ด ซื้ อ รถเก็ บ ขยะชายหาดแต่ บ างฤดู ก าลอาจไม่ เ พี ย งพอ และรถขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยเครื่ อ งจั ก รดี เ ซล การพั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ ท� ำ ความสะอาดชายหาดที่ ใ ช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า นอกจากจะ ช่วยเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือในการเก็บขยะชายหาดแล้ว ยังเป็นการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

13


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.อ.ร่วมกับ ไทยพาณิชย์ สู่ Smart University สังคมไร้เงินสด

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขานรับนโยบายยุคดิจิทัล 4.0 ของรั ฐ บาลร่ ว มกั บ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ส ร้ า งสั ง คม ไร้เงินสด รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ นางอภิพันธ์ เจริญอนุสรณ์ รองผู้จัดการใหญ่อาวุโส ธนาคาร ไทยพาณิ ช ย์ พั ฒ นาระบบสั ง คมไร้ เ งิ น (Cashless Society) เตรียมพร้อมก้าวสู่การเป็น Smart University ในการใช้ นวัตกรรมการเงินดิจิทัลรูปแบบใหม่ที่ทันสมัย สะดวกรวดเร็ว และปลอดภั ย ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์ บุคลากรของมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นสังคมต้นแบบของสถาบัน การศึ ก ษาในภาคใต้ ข องประเทศไทยที่ พ ร้ อ มรั บ การเข้ า มา ของกระแสดิ จิ ทั ล เทคโนโลยี ใ นปั จ จุ บั น โดยมี ผู ้ บ ริ ห ารของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ผู ้ บ ริ ห ารของธนาคารไทย พาณิชย์ รวมทั้งนักศึกษา และสื่อมวลชนร่วมเป็นสักขีพยาน เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องประชุม 1 ส�ำนักงาน อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขานรับ นโยบายรั ฐ บาลในการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการสร้ า งสั ง คมไร้ เงิ น สด (Cashless Society) ด้ ว ยการวางแผนและบริ ห าร จั ด การเพื่ อ ตอบรั บ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต แบบสมาร์ ท ยู นิ เ วอร์ ซิ ตี้ (Smart University)ในอนาคตให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์ บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย และธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ใน การพัฒนาระบบการให้บริการต่างๆ ในมหาวิทยาลัยฯ เพื่อ

14

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

ให้ เ ป็ น รู ป แบบของ Smart University รวมถึ ง การด� ำ เนิ น ธุ ร กรรมกรรมทางการเงิ น แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และระบบ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาและบุคลากรในการรองรับการ ด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อความยั่งยืนใน อนาคต โดยในระยะเริ่มต้น จะมุ่งเน้นไปที่การให้บริการด้าน การศึกษาของนักศึกษา การจัด PSU Application เพื่อรองรับ ธุรกรรมกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาและบุคลากร รวมทั้งร้านค้า ผู้ประกอบการ ภายในมหาวิทยาลัยอีกด้วย คุ ณ อภิ พั น ธ์ เจริ ญ อนุ ส รณ์ รองผู ้ จั ด การใหญ่ อาวุ โ ส ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ปฏิ บั ติ ก าร ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด Retail Products และ Retail Payments ธนาคารไทยพาณิชย์ กล่าว ว่ า ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ในฐานะผู ้ น� ำ ด้ า นดิ จิ ทั ล แบงก์ กิ้ ง ยิ น ดี ที่ ไ ด้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในการสนั บ สนุ น นโยบายเชิ ง รุ ก ของมหาวิ ท ยาลั ย มุ ่ ง สู ่ ดิ จิ Digital University โดยมี เ ป้ า หมายทิ ศทางเดี ยวกั นที่มุ่ง น�ำ นวัตกรรมทางการเงินขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีมาพัฒนาการ ให้บริการเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าทุกกลุ่ม เบื้ อ งต้ น นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์ และบุ ค ลากรของ มหาวิ ท ยาลั ย สามารถทดลองใช้ จ ริ ง ผ่ า น SCB Easy Pay ด้ ว ยการสแกนคิ ว อาร์ โ ค้ ด ช� ำ ระเงิ น ค่ า อาหารได้ แ ล้ ว ที่ ศู น ย์ อ าหารโรงอาหารช้ า ง ซึ่ ง เป็ น โรงอาหารส่ ว นกลางของ มหาวิ ท ยาลั ย อี ก ทั้ ง ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ยั ง ได้ น� ำ ระบบ การบริ ห ารจั ด การทางการเงิ น อย่ า งครบวงจรมาให้ บ ริ ก าร กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ให้ ท� ำ ธุ ร กรรมทางการเงิ น กั บ ธนาคาร ได้ง่ายขึ้น มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น


ข่าวเด่น

ชาว ม.อ.ร่วมปลูกดาวเรือง แทนดวงใจถวายพ่อหลวง

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยหอประวัติ องค์การบริหารองค์การนักศึกษา สภานักศึกษา ชมรมขับร้องประสานเสียง และนักศึกษาทั่วไป ร่วมกันปลูก ดอกดาวเรือง 70 ต้น บริเวณหน้าอาคารหอประวัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สื่อถึง 70 ปี แห่งการครองสิริราชสมบัติ โดยมี ผศ.วศิน สุวรรณรัตน์ รองอธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธาน ในกิจกรรมการปลูก ดาวเรืองแทนดวงใจถวายพ่อหลวง ร่วมกับ อาจารย์มนัส กันตวิรุฒ ผู้อ�ำนวยการ หอประวัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้รับการสนับสนุนต้นดาวเรืองจาก ศิษย์เก่า ม.อ.ประกอบด้วย นายพิเชษฐ์ เกียรติเดชปัญญา อดีตนายกสมาคม ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. นายยงยุ ท ธ ฟู พ งศ์ ศิ ริ พั น ธ์ นางอวยพร ภัทรภักดีกุล นางจันทิมา ชั่งศิริพร นางนุชนาถ ณ ระนอง และนายวุฒิพงษ์ ธรรมประมวล ชาว ม.อ.ร่ ว มปลู ก ดอกดาวเรื อ ง หรื อ ดอกไม้ สี เ หลื อ ง ซึ่ ง เป็ น สี วั น พระราชสมภพของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เพื่ อ เป็นการแสดงความจงรักภักดี และร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

15


ข่าวเด่น

ม.อ. ร่วมน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ

ในหลวง รัชกาลที่ 9

มื่ อ วั น ที่ 13 ตุ ล าคม 2560 คณะผู ้ เ ข้ า ร่ ว มอบรมหลั ก สู ต ร “วิ ทั น ตสาสมาธิ ” ซึ่ ง จั ด โดย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ สถาบั น พลั ง จิ ต ตานุ ภ าพ วั ด ธรรมมงคล โดย พระธรรมมงคลญาณ พระอาจารย์ หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร ซึ่งผู้เข้าอบรมประกอบด้วย ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร ข้าราชการบ�ำนาญ ศิษย์เก่า และ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ร ่ ว มจั ด พิ ธี แ สดงความจงรั ก ภั ก ดี และน้ อ มส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวันครบ 1 ปี วันสวรรคต โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วศิน สุวรรณรัตน์ รองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ่ เป็นประธานในพิธี ได้มีการสวดมนต์ นั่งสมาธิ และ ยืนสงบนิ่งเป็นเวลา 89 วินาที ในเวลา 15.52 น. พร้อมกันกับประชาชนชาวไทยทั่วประเทศ ณ ห้อง REG 201 อาคารเรียนรวม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์

16

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


นอกจากนี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด พิ ธี ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร ข้ า วสาร อาหารแห้ ง เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุศล ครบรอบ 1 ปี วันสวรรคตพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร และน้ อ มส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ พ ระองค์ ท ่ า น ทรงมี ต ่ อ ปวงชนชาวไทย ในวั น พฤหั ส บดี ท่ี 19 ตุ ล าคม 2560 ณ ลานพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รองอธิ ก ารบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ เป็นประธาน ในพิธี และมีผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษา ร่วมในพิธี

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

17


ในวันอังคารที่ 24 ตุลาคม 2560 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ร่วมกันจุดเทียน เพื่อน้อมร�ำลึก ถึงพระมหากรุณาธิคุณและร่วมถวายความอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยบุคลากร และประชาชนทั่วไป ร่วมใจกันจุดเทียน เพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและร่วมถวายความอาลัย บริเวณหน้าอาคาร เฉลิมพระบารมี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

และเมื่อวันอาทิตย์ที่ 29 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา นักศึกษา และบุคลากร ม.อ.ร่วมพิธีถวายอาลัยและถวายสัตย์ปฏิญาณ “ ธ สถิตในดวงใจตราบนิจนิรันดร์ ” เนืองแน่นท่ามกลาง สายฝนนับพันคน ณ ลานพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรม ราชชนก เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี และส�ำนึกในพระ มหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ที่ทรงพระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยภาคใต้ว่า “สงขลา นครินทร์” นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปี พ.ศ. 2531 พระองค์ ท่ า นได้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น มาปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ ที่ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นหลายวาระ อี ก ทั้ ง ทรงน� ำ ความร่มเย็นเป็นสุขแก่พสกนิกรชาวไทย ทรงบันดาลให้เกิด การพัฒนาประเทศไทยในทุกด้าน ตลอดมาเป็นเวลาถึง 70 ปี

18

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


และในโอกาสนี้ หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะจัดพิธีเปิดแผ่นป้าย “เดินตามพ่อ สานต่อ...พระราชปณิธาน” ในวันที่ 30 ตุลาคม 2560 ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ทรง พระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยภาคใต้ว่า “สงขลานครินทร์” นับ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปี พ.ศ. 2531 พระองค์ท่านได้เสด็จ พระราชด� ำ เนิ น มาปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ในหลายวาระ หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้คัดเลือกพระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัส อัน ทรงคุณค่าที่ทรงพระราชทานให้แก่องค์กรสถาบันการศึกษา และคณะบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ ในวาระโอกาสต่างๆ มาจัดท�ำแผ่น ป้าย “เดินตามพ่อ สานต่อ...พระราชปณิธาน” จ�ำนวน 9 แผ่น ติดตั้งถาวร ณ บริเวณ 2 ข้างทางเดินเข้าอาคารหอประวัติฯ เพื่อ นักศึกษา รวมทั้งบุคลากรมหาวิทยาลัยได้น�ำไปใช้เป็นแนวทาง ประพฤติปฏิบัติในการด�ำเนินชีวิตต่อไป โดยแผ่นป้าย ดังกล่าว โดย ร้ อ ยตรี ไ พโรจน์ รั ต ตกุ ล อดี ต ประธานคณะกรรมการ ส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สนับสนุนการจัด ท�ำแผ่นป้ายดังกล่าว

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

19


ข่าวเด่น

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดการแข่งขันดาราศาสตร์และ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 11 มื่อวันที่ 13 พ.ย. 60 ณ โรงแรมดวงจิตต์ รีสอร์ทแอนด์สปา อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต จัดโดยมูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพั ฒ นามาตรฐานวิ ท ยาศาสตร์ ศึ ก ษาในพระอุ ป ถั ม ภ์ สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ (สอวน.) คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี และ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ รองศาสตราจารย์บุญรักษา สุนทรธรรม ประธานคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ การแข่งขัน ดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 11 กราบบังคมทูลถวายรายงานการจัดการแข่งขันว่า การแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ หรือ IOAA ระหว่างวันที่ 12-21 พฤศจิกายน 2560 โดย มีนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ผู้ควบคุมทีม และผู้สังเกตการณ์ ประมาณ 500 คน จาก 46 ประเทศ เข้าร่วมโดยได้รับความร่วมมือ และการสนับสนุนทุนในการจัดงาน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่ในการจัดงาน จากหลายสถาบันและองค์กรเอกชน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมีพระราชด�ำรัส เปิดการแข่งขันความว่า การแข่งขันดาราศาสตร์ และฟิ สิ ก ส์ ด าราศาสตร์ โ อลิ ม ปิ ก ระหว่ า งประเทศ เป็ น กิ จ กรรมส� ำ คั ญ ประจ� ำ ปี ท่ี เ ปิ ด โอกาสให้ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา จากทั่วโลกได้มาร่วมกันแสดงความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ ที่รวมผู้เข้าร่วมแข่งขัน เจ้าหน้าที่ นักวิชาการ คณาจารย์ และผู้ก�ำลังศึกษาด้านดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากเกือบ 50 ประเทศทั่วโลก จึงถือเป็นเกียรติอย่างยิ่งของประเทศไทย ที่ได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันครั้งนี้ การได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ เป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่ ทีจ่ ะท�ำให้ประเทศไทยตระหนักถึงความส�ำคัญของวิชาการด้านนี้ โดยจะมีสว่ นกระตุน้ และสนับสนุนให้ชาวไทยหันมาให้ความสนใจกับ สาขาวิชาด้านดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ เช่นเดียวกับสาขาที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ที่จะสร้างความก้าวหน้าในการศึกษาทางด้าน วิ ท ยาศาสตร์ ข องประเทศไทย นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น โอกาสให้ นั ก ศึ ก ษาและนั ก วิ ช าการซึ่ ง เป็ น ตั ว แทนของชาติ ต ่ า งๆ ทั่ ว โลก ได้มีการสร้างความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน สร้างความคุ้นเคยและความเข้าใจทางวัฒนธรรมระหว่างกัน เพื่อการท�ำงานร่วมกันในอนาคต

20

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


ข่าวเด่น

ม.อ. มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอิสลามศึกษา แก่

ผู้น�ำสูงสุดทางศาสนาของอียิปต์ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มอบปริญญาศิลปศาสตร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาอิ ส ลามศึ ก ษา แก่ ศาสตราจารย์ ดร.อาห์หมัด มูฮัมหมัด อาห์หมัด อัล ตอเย็บ Grand Imam Sheikh of Al-Azhar ผู ้ น� ำ สู ง สุ ด ทางศาสนา อิ ส ลามของสาธารณรั ฐ อาหรั บ อี ยิ ป ต์ เมื่ อ วั น จั น ทร์ ที่ 9 ตุ ล าคม 2560 ณ ที่ ท� ำ การส� ำ นั ก งานผู ้ น� ำ สู ง สุ ด ทางศาสนา อิสลามของสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นาย ชัยณรงค์ กีรติยุตวงศ์ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงไคโร คณะผู้ บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ร่วมในพิธี และทั้งสองมหาวิทยาลัยได้ใช้โอกาสนี้ในการสาน ต่อความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างกัน โดยวิทยาลัยอิสลาม ศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็น หน่วยงานหลักในการประสานงาน ศาสตราจารย์ ดร.อาห์หมัด มูฮัมหมัด อาห์หมัด อัล ตอเย็บ เคยด�ำรงต�ำแหน่ง อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรสาธารณรัฐ อาหรั บ อี ยิ ป ต์ พ.ศ.2546 และได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น Grand Sheikh of Al-Azhar ซึ่งเป็นผู้น�ำศาสนาสูงสุดแห่งสาธารณรัฐ อาหรับอียิปต์ พ.ศ.2553 เป็นผู้บริหารสถาบันการศึกษาชั้น สูง เป็นนักวิชาการที่มีผลงานทางวิชาการที่โดดเด่น มีลูกศิษย์ มากมายทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย ปัจจุบันนักศึกษาไทย มุสลิมศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ประมาณ 3,500 คน ส่วนใหญ่เป็นเยาวชนจากจังหวัดชายแดนใต้ และปีการศึกษา 2559 ได้ให้การสนับสนุนแก่นักเรียน นักศึกษาไทยที่ไปศึกษา อยู่ในสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ โดยมอบทุนการศึกษาให้แก่ นั ก เรี ย นไทย จ� ำ นวน 80 ทุ น เป็ น การสานสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ กั น ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์อีกทางหนึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.อาห์หมัด มูฮัมหมัด อาห์หมัด อัล ตอเย็บ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทั้งด้านภาษาภาษา และ ด้าน ปรัชญา ศาสนา เรื่องหลักความเชื่อ และมีความคิดในลักษณะ มุสลิมสายกลาง เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ใฝ่หาความสันติ ในสังคมพหุวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกภูมิภาค ของโลก สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงมีมติอนุมัติให้ได้ รับปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบันฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาอิสลาม ศึกษา เพื่อเป็นเกียรติแก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สืบไป

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

21


ข่าวเด่น

ม.อ. ดูแลผู้ป่วย

ซ่อมแซม ท�ำความสะอาดพื้นที่ภาคใต้ หลังน�้ำลด ากสถานการณ์อุทกภัยในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ถึง เดื อ นธั น วาคม 2560 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ นักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ได้ ล งพื้ น ที่ ระหว่ า งวั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2560 5 ธั น วาคม 2560 ในจั ง หวั ด สงขลา ที่ อ� ำ เภอ จะนะ นาทวี กระแสสินธ์ สทิงพระ และในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่อ�ำเภอ เชียรใหญ่ และอ�ำเภอปากพนัง โดยออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ และมอบถุงยังชีพ 2,500 ชุด จากงบประมาณของมหาวิทยาลัย และผู้บริจาค รวบงบประมาณ 310,000 บาท โดย ผศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหัวหน้าคณะ และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จ ะน� ำ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา ออกช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย และฟื ้ น ฟู พื้ น ที่ ณ วัดวารีปาโมกข์ (วัดตะเครี๊ยะ) ต.ตะเครี๊ยะ อ.ระโนด จ.สงขลา วันที่ 17 ธันวาคม 2560 โดยให้บริการ ตรวจรักษาและให้บริการ ด้านสุขภาพ รวมทั้งติดตามผู้ป่วยติดเตียง มอบถุงยังชีพจ�ำนวน 500 ชุด น�้ำดื่ม 4,600 ขวด และน�้ำดื่ม, ฟื้นฟูพื้นที่ประสบภัยโดย นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,ซ่อมแซม บ้านเรือน พร้อมดูแลระบบไฟฟ้าและช่วยท�ำความสะอาดบ้าน เรือนและวัดโดยนักศึกษาและบริการตรวจเช็คและซ่อมรถยนต์ ทั้งนี้ ม.อ. ได้จัดตั้งศูนย์อ�ำนวยการช่วยเหลือผู้ประสบ อุ ท กภั ย โดยมี ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ว ศิ น สุ ว รรณรั ต น์ รอง อธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ผศ.สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รอง อธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ รอง ศาสตราจารย์ ดร. ธนิต เฉลิมยานนท์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยภัย พิบัติทางธรรมชาติภาคใต้ และ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์

22

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา เชาวลิต คณบดีคณะพยาบาล ศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิ โ รจน์ ยู ร วงศ์ คณบดี ค ณะ อุ ต สาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.นิ มิ ต ร วรกุ ล คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ดร. นฤทธิ์ ดวงสุวรรณ์ ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายส่งเสริมจิตสาธารณะ ผู้แทนคณะต่างๆ ทีมงานกองกิจการ นักศึกษา ร่วมวางแผนในการช่วยเหลือประชาชน ส�ำหรับวิทยาเขตปัตตานี วิทยาลัยอิสลามศึกษา ร่วมกับ คณะพยาบาลศาสตร์ ลงพื้นที่ให้บริการประชาชนในวันที่ 2-4 ธันวาคม 2560 และมอบถุงยังชีพ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุกภัย ในจั ง หวั ดปั ตตานี น� ำ โดย อาจารย์ นวมน จั น ทร์ กลิ่ น ผู้ช ่ว ย อธิการบดี ฝ่ายศิษย์เก่าสัมพันธ์ และกิจการพิเศษ วิทยาเขต ปัตตานี อาจารย์หริรักษ์ แก้วกับทอง ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายกิจการ นักศึกษา วิทยาเขตปัตตานี เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2560 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ดร.ณัฐวิทย์ พจนตันติ รองอธิการบดีวิทยาเขตตรัง นักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ร่วมกับส�ำนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธาณภัยจังหวัดตรัง มอบถุงยังชีพเพื่อ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ ท กภั ย ณ ศาลากลางจั ง หวั ด ตรั ง และ นักศึกษา บุคลากร ม.อ.วิทยาเขตตรัง ท�ำความสะอาดวัดและ โรงเรียน เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2560 ที่โรงเรียนวัดไพรสณฑ์ ต�ำบลนาตาล่วง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง โดยที่อุปกรณ์ เครื่อง ใช้ต่างๆ รวมถึงอาคารสถานที่โดยรอบได้รับความเสียหายและ สกปรก น�ำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์พฤฒ ยวนแหล ผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาเขตตรัง ดร.ทิพวรรณ จันทมณีโชติ ผู้ช่วย อธิการบดีฝ่ายพัฒนาระบบบริหาร วิทยาเขตตรัง


ข่าวเด่น

ม.อ. ตรัง ชูแนวคิด

“ย่านตาขาวโมเดล”

ลงพื้นที่ท�ำวิจัยฟื้นฟูเพื่อพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง จัดท�ำโครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน และ วางแผนการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่เทศบาลต�ำบล ย่านตาขาว จังหวัดตรัง โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชนในพื้นที่ โดยอาศัยการพัฒนา ฐานทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ทั้งเชิงนิเวศ และวัฒนธรรม ภายใต้ชื่อ “โครงการย่านตาขาวโมเดล” อาจารย์ ช าวดี ง่ ว นสน คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ วิทยาเขตตรัง เปิดเผยว่า แนวคิดย่านตาขาวโมเดล จังหวัดตรัง มาจากการที่อ�ำเภอย่านตาขาวเกิดการเปลี่ยนแปลง จากอดีตที่ เคยเป็นเมืองที่มีเอกลักษณ์ของรูปแบบสินค้าเฉพาะที่ดึงดูดนัก ท่องเที่ยว จนปัจจุบันเกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซา ส่งผลให้พื้นที่ เทศบาลเมืองย่านตาขาวขาดอัตลักษณ์ความเป็นชุมชนดั้งเดิม เมื อ งขาดชี วิ ต ชี ว าเนื่ อ งจากประชาชนย้ า ยไปท� ำงานต่ า งถิ่ น ขาดเทศกาลและรูปแบบกิจกรรมที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มา เยี่ ย มชมอย่ า งในอดี ต อย่ า งไรก็ ต ามหากพิ จ ารณาลั ก ษณะ ทางกายภาพ เมื อ งย่ า นตาขาวยั ง คงมี จุ ด แข็ ง ในเรื่ อ งของ ต้ น ทุ น ทรั พ ยากรทั้ ง ทางธรรมชาติ ทางวั ฒ นธรรมและทาง สถาปัตยกรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาในอนาคต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จึงได้มีการศึกษาวิจัย และ ส�ำรวจเพื่อน�ำผลไปฟื้นฟูและพัฒนาเมือง ประกอบด้วย การ ส� ำ รวจข้ อ มู ล พื้ น ฐานสภาพภู มิ อากาศ ภูมิประเทศ ชาติพันธุ์ ประเพณีวัฒนธรรม และอุปสรรคที่ส่งผลต่อการพัฒนาเมือง ส�ำรวจแหล่งมรดกทางสถาปัตยกรรม ส�ำรวจรังวัดสถาปัตยกรรม ที่ ค งไว้ ซึ่ ง ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และควรค่ า แก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ การค้ น หาอั ต ลั ก ษณ์ ข องพื้ น ที่ ท างสถาปั ต ยกรรมที่ แ สดง วิวัฒนาการตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ส�ำรวจความต้องการพื้นฐาน

ของบ้านพักอาศัยร่วมกับคนพิการ และ การส�ำรวจความเป็น ไปได้ของเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรม โดยบาง โครงการสามารถได้ผลสรุปบางส่วนในปีแรกแล้ว เมือ่ โครงการต่างๆ เสร็จสิน้ ตามเวลาทีก่ ำ� หนด มหาวิทยาลัย และชุมชน จะได้มีการท�ำงานและแก้ปัญหาร่วมกันอย่างเป็น รูปธรรม ได้มีการใช้สถานะการณ์และพื้นที่จริงเป็นแหล่งการ เรียนรู้นอกห้องเรียน เป็นการสนับสนุนกระบวนการเรียนการ สอนแบบ Active Learning ส่วนชุมชนจะได้ข้อมูลส�ำหรับการ วางแผนการพัฒนาเมือง เพื่อสร้างรายได้อย่างยั่งยืนและอยู่ ได้ด้วยตนเอง และมีการบริหารจัดการทุนทางมรดกวัฒนธรรม มรดกทางธรรมชาติและมรดกทางสถาปัตยกรรม ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำ เดื อ นตุ ล าคม ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ที่ วิ ท ยาเขตตรั ง คณะกรรมการสภา มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย นายชวน หลีกภัย ที่ปรึกษาสภา มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา นายกสภามหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิ ก ารบดี ผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย คณาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษา คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ ได้ ลงพื้ นที่ ชุ มชนเทศบาลต�ำบล ย่านตาขาว เพื่อพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับฝ่ายปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชาวบ้าน และเยี่ยมชมสถาน ที่ตามโครงการ ม.อ.เพื่อชุมชนเข้มแข็ง ย่านตาขาวโมเดล

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

23


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

คณะการบริการและการท่องเที่ยวจับมือสายการบินนกแอร์

ลงนามความร่วมมือสหกิจศึกษา

ณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต จับมือสายการบินนกแอร์ ลงนามความร่วมมือ สหกิจศึกษาเตรียมผลักดันเล็งส่งนักศึกษาฝึกงานเพื่อสร้างเครือข่ายด้านความร่วมมือและส่งเสริมความเข้มแข็งของ หลักสูตรการฝึกงานของคณะฯ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 คณะการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต จัดพิธีลงนาม บั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ การจั ด การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี รวมทั้ ง การฝึ ก อบรมและความร่ ว มมื อ ด้ า นสหกิ จ ศึ ก ษา กั บ บริ ษั ท สายการบิ น นกแอร์ จ� ำ กั ด (มหาชน) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต รองศาสตราจารย์ ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล คณบดีคณะการบริการและการท่องเที่ยว ร่วมลงนาม บันทึกความร่วมมือดังกล่าว มี ส าระส� ำ คั ญ และขอบข่ า ยการปฏิ บั ติ ที่ ทั้ ง สองฝ่ า ยตกลงร่ ว มกั น อาทิ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารจั ด การศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี ตลอดจนการศึกษา การฝึกอบรมในรูปแบบอื่นที่จะจัดให้มีขึ้นในภายภาคหน้า ส่งเสริมให้บุคลากรทั้งสองฝ่าย มีส่วนร่วมในการวางแผน และการจัดกิจกรรมการศึกษา การฝึกอบรม นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาร่วมกัน สนับสนุนสื่อการศึกษา การฝึกอบรมและงบประมาณ ตลอดจนการใช้ทรัพยากรอื่นใดที่มีความจ�ำเป็นต่อการจัดและการพัฒนา ด้านการศึกษา ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรการศึกษาให้มีความหลากหลาย เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการและความจ�ำเป็นของ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งความร่วมมือในครั้งนี้บริษัท สายการบินนกแอร์ฯ จะร่วมสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการฝึกงาน ฝึกทักษะ และการฝึกอบรมตามขีดความสามารถ รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต กล่าวว่า ด้วยคณะการบริการและการท่องเที่ยว ได้เปิดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต ใน 3 สาขาวิชาได้แก่ สาขาวิชาการจัดการการบริการ สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว และสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมการบริการ และโดยเฉพาะสาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว ที่มีเนื้อหาการเรียนการสอนทาง ด้านธุรกิจสายการบิน ดังนั้นพันธกิจหลักของคณะฯ คือ การผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ในศาสตร์ที่ตนก�ำลังศึกษา และมีสมรรถนะ ที่เป็นสากลเป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน พร้อมทั้งมีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติในเชิงบวก เพื่อเข้าเป็นบุคลากรคุณภาพในสาย งานต่อไป ยิ่งไปกว่านั้น นักศึกษาต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นไทย ทักษะชีวิตและความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยเหตุนี้ คณะการบริการและการท่องเที่ยว จึงได้จัดให้การฝึกปฏิบัติงานเป็นหนึ่ง ในข้อก�ำหนดส�ำหรับนักศึกษาเพื่อส�ำเร็จการศึกษา ซึ่ง มีวัตถุประสงค์หลัก คือการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทักษะวิชาชีพ และสามารถน�ำความรู้ที่ได้เล่าเรียนจากในห้องเรียนไป ประยุกต์ใช้ในการท�ำงานจริง พร้อมทั้งเป็นอีกหนึ่งโอกาสที่นักศึกษาจะได้พัฒนาทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคมตลอดระยะ เวลาของการฝึกปฏิบัติงานผ่านเพื่อนร่วมงานส�ำหรับการลงนามความร่วมมือทางวิชาการในวันนี้นั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะการบริการและการท่องเที่ยว รู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่จะได้ท�ำงานร่วมกับ สายการบินนกแอร์ สายการบินที่มี คุณภาพในระดับสากล เพื่อร่วมกันขยายโอกาสในการพัฒนาทักษะความสามารถของผู้ให้บริการรุ่นใหม่ความร่วมมือของสายการ บินนกแอร์ในครั้งนี้ ถือเป็นการสนับสนุนและยกระดับการศึกษาพร้อมทั้งการพัฒนานักศึกษาผ่านการส่งมอบความรู้ ทักษะวิชาชีพ และจริยธรรมอันดีซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานในอนาคต

24

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

ม.อ. เชิญทูตฟินแลนด์แลกเปลี่ยนในการสัมมนา

The 6th PSU Education Conference หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดประชุมวิชาการ The 6th ในฟิ น แลนด์ โรงเรี ย นรั ฐ บาลมี คุ ณ ภาพมาก ดั ง นั้ น ไม่ PSU Education Conference “Higher Educa- ส� ำ คั ญ ว่ า คุ ณ จะมี มี ฐ านะดี ห รื อ ยากจน ทุ ก ๆคนจะได้ tion for Digital Citizenship towards Thailand 4.0” โดย รั บ การศึ ก ษามาตรฐานเดี ย วกั น ไม่ ส� ำ คั ญ เลยว่ า คุ ณ เชิญ Mrs.Satu Suikkari-Kleven เอกอัครราชทูตฟินแลนด์ อาศั ย อยู ่ ที่ ไ หน หรื อ รายได้ ข องครอบครั ว คุ ณ มี เ ท่ า ไหร่ ประจ� ำ ประเทศไทยและกั ม พู ช า ปาฐกถาพิ เ ศษ หั ว ข้ อ ทุ ก ๆคนจะได้ เ ข้ า โรงเรี ย นที่ มี ม าตรฐานเดี ย วกั น คุ ณ ครู “Educational Transformation: Finland Experience” ทุ ก คนในฟิ น แลนด์ ได้ รั บ การศึ ก ษามาเป็ น อย่ า งดี จุ ด ประกายด้ า นระบบการศึ ก ษา และมี ก ารเสนอผล งานการวิ จั ย แบบปากเปล่ า และแบบโปสเตอร์ ในการ ประชุ ม วิ ช าการฉลองครบรอบ 50 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เมื่ อ วั น ที่ 19 – 20 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ ประชุ ม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ โดย รศ.นพ.อานุ ภ าพ เลขะกุ ล เป็ น ประธานคณะ กรรมการจั ด การสั ม มนา รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานเปิ ด การสั ม มนา และมี วิ ท ยากรที่ มี ชื่ อ เสี ย งจากหน่ ว ยงานรั ฐ และเอกชนมา ร่ ว มแลกเปลี่ ย นความรู ้ อาทิ เ ช่ น Prof. Dr. Anthony Vickers School of Computer Science and Electronic Engineering, ดร.สุ พ จน์ ศรี นุ ต พงษ์ ผู ้ อ� ำนวยการโครงการภาค รั ฐ ของ บริ ษั ท ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย จ� ำ กั ด ,ดร. เฉลิ ม รั ฐ นาควิ เ ชี ย ร CEO บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จี เ อ็ ม โอ-แซด คอม (ประเทศไทย) จ�ำกัด,รองศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ ประเสริฐ สรรพ์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โอกาสนี้ Mrs.Satu Suikkari-Kleven เอกอั ค รราชทู ต ฟิ น แลนด์ ประจ� ำ ประเทศไทยและกั ม พู ช า ฟิ น แลนด์ ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในประเทศที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งว่ า มี ร ะบบการ ศึ ก ษาดี ที่ สุ ด ในโลก ได้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ กั บ ประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถึงระบบการศึกษาของฟินแลนด์ Mrs.Satu Suikkari-Kleven เอกอัครราชทูตฟินแลนด์ ประจ�ำ ประเทศไทยและกัมพูชา ฟินแลนด์ กล่าวว่า “ฟินแลนด์เป็น ประเทศที่ไม่มีช่องว่างทางการศึกษา เด็กในวัยประถมศึกษา ที่ฟินแลนด์ จะเรียนไม่เกินวันละ 4-7 ชั่วโมง กุญแจส�ำคัญคือ

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

25


ความร่วมมือสู่การพัฒนา

เศรษฐศาสตร์ ม.อ.

ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ

ธนาคารออมสิน ภาค 18

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2560 คณะเศรษฐศาสตร์ได้จัดพิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับธนาคาร ออมสิน ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด้วยทั้งสองหน่วยงานตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการร่วมกันเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินให้แก่สถาบันและกลุ่มองค์กรการเงินชุมชนในภูมิภาค โดยเฉพาะ ในพื้นที่ธนาคารออมสินภาค 18 และสร้างความรู้และทักษะทางการเงินให้แก่นักศึกษาให้เป็นบุคลากรที่เป็นประโยชน์ต่อ ชุมชนในอนาคต โดยการด�ำเนินการด้วยวิธีการแลกเปลี่ยนความรู้ ข้อมูล และความช่วยเหลือด้านวิจัยและวิชาการอื่นๆ ระหว่างทั้งสองหน่วยงานเพื่อส่งเสริมให้สถาบัน/กลุ่มองค์กรการเงินชุมชนมีความสามารถในการจัดเก็บ จดบันทึกข้อมูล ตนเอง สามารถวิเคราะห์สถานะทางการเงิน และสามารถวางแผนเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารจัดการ การเงินของสถาบันหรือกลุ่ม รวมถึงการสร้างความรู้และทักษะทางการเงินให้แก่นักศึกษา ตามแนวทางในการร่วมมือดังที่ ระบุในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในอนาคต

26

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


Activity

ม.อ.เป็นแกนน�ำจับมือทุกฝ่ายรับมืออุทกภัย

หาดใหญ่เข้มแข็งสู้ภัยน�้ำท่วม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เสวนา “หาดใหญ่เข้มแข็ง.. สู ้ ภั ย น�้ ำ ท่ ว ม ครั้ ง ที่ 8 ประจ� ำ ปี 2560” ภายใต้ หั ว ข้ อ “การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ท่ ว มเมื อ งหาดใหญ่ ภายใต้ น โยบาย ประเทศไทย 4.0” เมื่ อ วั น ที่ 6 ตุ ล าคม 2560 ณ โรงแรม สยามออเรียนทัล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เน้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้ า นการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ท่ ว ม ให้ทันสมัยยิ่งขึ้นตามนโยบายประเทศไทย 4.0 รับสถานการณ์ ช่วงฤดูฝนในปี 2560 จากเหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่ในพื้นที่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อปี พ.ศ. 2543 และ 2553 ซึ่งก่อให้เกิดความ เสียหายอย่างมหาศาลทั้งด้านชีวิต สังคม และเศรษฐกิจต่อ ประชาชนและตัวเมืองหาดใหญ่อย่างคาดไม่ถึง นอกจากอ�ำเภอ หาดใหญ่แล้ว ยังมีอ�ำเภออื่นๆ ของจังหวัดสงขลาที่ได้รับความ เสียหายไม่น้อยไปกว่ากัน ความรุนแรงของเหตุการณ์น�้ำท่วม ยังมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีกทุกปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และทุกภาคส่วนได้ร่วมกันจัดเสวนา “หาดใหญ่เข้มแข็ง..สู้ภัย น�้ำท่วม” ขึ้น จ�ำนวน 7 ครั้ง และน�ำไปสู่แผนปฏิบัติการน�้ำท่วม แบบหาดใหญ่โมเดล เพื่อสร้างแบบอย่างของการบริหารจัดการ การป้องกันและแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

จึ ง ถื อ เป็ น โอกาสดี ที่ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ ร ่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น อย่ า ง จริ ง จั ง และประสานงานกั น อย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ สร้ า งแบบ อย่างของการบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหาน�้ำ ท่วมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนให้กับจังหวัดสงขลา โดยเฉพาะ การน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับใช้ในการเตือนภัยให้มีความ รวดเร็ว สามารถลดความเสียหายให้เหลือน้อยลงได้ และอีก อย่างที่ส�ำคัญ คือความร่วมมือร่วมใจกันของผู้น�ำชุมชน พี่น้อง ประชาชนในแต่ละพื้นที่แต่ละชุมชนที่จะช่วยกันดูแล เป็นพี่ เลี้ยง สามารถแจ้งเตือนภัยคนในชุมชนได้อย่างทันท่วงที

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

27


Activity

นักศึกษาสาขาวิชาภาษาต่างประเทศเป็น Trainers

อบรม Job-Specific English for Public Relations ให้เยาวชนในอ�ำเภอขนอม

าขาวิ ช าภาษาต่ า งประเทศ คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต สุราษฎร์ธานี ได้จัดกิจกรรมบริการวิชาการโครงการ Job Trainers: Job-Specific English for Public Relations เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 ที่ผ่านมา กิ จ กรรม Job Trainers: Job-Specific English for Public Relations เป็ น การอบรมการใช้ ภ าษาอั ง กฤษ ส� ำ หรั บ การประชาสั ม พั น ธ์ การให้ บ ริ ก ารด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร และการน� ำ เสนอสิ น ค้ า ให้ แ ก่ เ ยาวชนในหมู ่ 8 บ้ า นใน เพลา อ� ำ เภอขนอม จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ผู ้ ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 เพื่ อ ให้ เ ยาวชนได้ มี ทั ก ษะการใช้ ภาษาอั ง กฤษในการประกอบอาชี พ อั น น� ำ มาซึ่ ง รายได้ แ ละการพึ่ ง พาตนเองได้ ใ นระยะยาวโดยมี ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ สุ ช าดา ทิ พ ย์ ม นตรี เป็ น วิ ท ยากรหลั ก และนั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4หลั ก สู ต รภาษา การสื่ อ สารและธุ ร กิ จ สาขาวิ ช าภาษา ต่ า งประเทศ ที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช า 936-364 English for Business Communication เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยวิ ท ยากร กิจกรรมบริการวิชาการดังกล่าวมีการบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา 936-364 English for Business Communication (ภาษาอังกฤษส�ำหรับการสื่อสารทางธุรกิจ)ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรภาษา การสื่อสารและธุรกิจ สาขา ภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ซึ่งเปิดสอน ในภาคการศึกษาที่ 1/2557 โดยก�ำหนดให้นักศึกษาน�ำความรู้จากรายวิชาดังกล่าวไปจัดอบรมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ส�ำหรับการประชาสัมพันธ์ การให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร และการน�ำเสนอสินค้าให้แก่เยาวชนนอกจากนี้ กิจกรรมนี้ได้มี การบูรณาการกับการวิจัย โดยในการจัดอบรมเยาวชนนั้น ได้ใช้เทคนิค Simulation ซึ่งเป็นเทคนิคการพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษจากงานวิจัยเรื่อง Development of English Lessons for Business Communication through Simulation กิจกรรมบริการวิชาการดังกล่าวได้สร้างความประทับใจและความพึงพอใจแก่ผู้น�ำชุมชน และเยาวชนที่เข้าอบรมในระดับ มากที่สุด นอกจากจากนี้ยังเป็นการประชาสัมพันธ์งานด้านวิชาการของสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์และ วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีได้เป็นอย่างดี

28

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


Activity

นิทรรศการ

ต้นก�ำเนิดการ์ตูนญี่ปุ่น

ะหว่างวันที่ 14 พฤศจิกายน - 4 ธันวาคม 2560 ศูนย์ส่ง เสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่ ว มกั บ องค์ ก รเจแปนฟาวน์ เ ดชั่ น กรุ ง เทพฯ จั ด การแสดง นิทรรศการสัญจร “มังงะ โฮะคุไซ มังงะ” ต้นก�ำเนิดการ์ตูนญี่ปุ่น ในวาระครบรอบ 130 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทยและญี่ปุ่น ณ PSU Art Gallery ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีนายศักระ กปิลกาญจน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานในพิธีเปิด ร่วมด้วย ผศ.ชุติพร จิโรจน์กุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ม.อ. นายโนริฮิกะ โยชิโอกะ ผู้อ�ำนวยการบริหารเจแปนฟาวน์เดชั่น

กรุงเทพฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิสิตา บ�ำรุงวงศ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ทิพยรัตน์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ และแขกผู้มีเกียรติ นิทรรศการ “มังงะ โฮะคุไซ มังงะ” เป็นนิทรรศการที่แสดง ถึ ง วิ วั ฒ นาการของการ์ ตู น ญี่ ปุ ่ น ที่ เ กิ ด จากความเชื่ อ มโยง ระหว่ า งมั ง งะของปรมาจารย์ ค ะสึ ชิ ก ะ โฮะคุ ไ ซ ยอดจิ ต รกร ญี่ปุ่นผู้โด่งดังไปทั่วโลก จากผลงานภาพพิมพ์แกะไม้ “คลื่น ยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ” หนึ่งในภาพผลงานในชุด “ทัศนียภาพ 36 มุมมองของภูเขาไฟฟูจิ” อันเลื่องลือ ซึ่งได้สร้างสรรค์ผลงาน ขึ้นเมื่อเกือบ 200 ปีก่อน และศิลปินญี่ปุ่นร่วมสมัยอีกเจ็ดท่าน ซึ่งถือเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมที่ผ่านการเปลี่ยนแปลงจากยุคสู่ยุค นายศักระ กปิลกาญจน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา กล่าวว่านิทรรศการนี้จัดแสดงมาแล้วหลายประเทศทั่วโลก การ มาจัดแสดงที่จังหวัดสงขลา ณ PSU Art Gallery ศูนย์ส่งเสริม ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แห่งนี้ จึง ถือเป็นโอกาสอันดีของเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ศิลปิน และ ประชาชนในจังหวัดสงขลาและจังหวัดใกล้เคียง ที่จะได้เปิด โลกทัศน์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้คุณค่าแห่งวัฒนธรรมญี่ปุ่น เนื่ อ งในโอกาสของการเฉลิ ม ฉลองการครบรอบ 130 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย - ญี่ปุ่น ในปี พ.ศ.2560 นี้

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

29


Activity

ม.อ.- NCC ร่วมยินดี

9 ปีแห่งความส�ำเร็จ ของศูนย์ประชุมฯ

องศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นายศั ก ดิ์ ชั ย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ผู้บริหารศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิ ริ กิ ติ์ ร่ ว มแสดงความยิ น ดี ใ นโอกาสครบ 9 ปี ของความ ส� ำ เร็ จ ของการด� ำ เนิ น งานศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลอง สิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 60 ปี และ การต่ อ สั ญ ญาการบริ ห าร ศูนย์ประชุมต่อเนื่องอีก 5 ปี ระหว่างปี 2560-2565 โดยได้จัดงาน “๙ ก้าว 10” เพื่อฉลอง ๙ ปีแห่งความส�ำเร็จในธุรกิจไมซ์ภาคใต้ และการร่วมมือกันด้านธุรกิจไมซ์ ที่ ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2560 อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิทยาลัย ได้ร่วมมือกับ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. ในการบริหารศูนย์ ประชุมนานาชาติฯ ตั้งแต่ปี 2551 และได้รับการยอมรับจากผู้จัด งาน ผู้ร่วมงาน ทั้งในระดับภูมิภาค และระดับประเทศ ทั้งในด้าน การบริหารพื้นที่ การบริหารการจัดงาน การให้บริการจัดประชุม สัมมนา จัดแสดงนิทรรศการ และงานแสดงสินค้า สามารถตอบ โจทย์การใช้ชีวิตประจ�ำวันของผู้เข้าร่วมชมงาน ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยยัง คงนโยบายที่จะ ไม่ได้มองเรื่องรายรับจากการด�ำเนินการเป็น เป้าหมายหลัก แต่ค�ำนึงถึงคุณภาพและมาตรฐานบริการ รวม ไปถึงการส่งเสริมการจัดงานในรูปแบบใหม่ๆ นอกจากนั้น ยัง ได้ร่วมมือกันในการผลิตบุคลากรด้านไมซ์ ที่มีศักยภาพและ มีความเป็นมืออาชีพ ด้วยการดึงบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ มาถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์แก่นักศึกษาสาขาการจัดการประชุม นิทรรศการ และ การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล คณะวิทยาการจัดการฃ เพื่อเป็น ก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศไทย ด้ า น นายศั ก ดิ์ ชั ย ภั ท รปรี ช ากุ ล กรรมการผู ้ จั ด การ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. จ�ำกัด ในฐานะผู้บริหารศูนย์ประชุมฯ กล่าวถึง ความส�ำเร็จของการบริหารตลอด 9 ปีที่ผ่านมาว่า รู้สึกยินดีที่ได้ มีส่วนช่วยท�ำให้อุตสาหกรรมไมซ์ในจังหวัดสงขลาและภาคใต้ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในการบริหารงานที่ผ่านมา พบว่าศูนย์ ประชุมมีอัตราการเช่าพื้นที่และมีความต้องการจัดงานที่หลาก หลายมากขึ้น โดยมีสัดส่วนของการจัดงานแต่ละประเภท คือ การจัดประชุม สัมมนาร้อยละ 51 การจัดนิทรรศการและการ แสดงสินค้าร้อยละ 16 งานเลี้ยง งานแต่งงานร้อยละ 10 งาน

30

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

คอนเสิร์ต การแสดงร้อยละ 7 และอื่นๆ ร้อยละ 16 โดยงานที่ จัดขึ้นมีระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และ ระดับนานาชาติ สร้าง ยอดเงินสะพัดและรายได้ทางเศรษฐกิจในท้องถิ่นตลอด 9 ปี รวม 6,500 ล้านบาท เกิดการใช้จ่ายเงินจากผู้เข้าร่วมชมงานถึง 4,500 ล้านบาท มีจ�ำนวนผู้เข้าร่วมชมงานประมาณ 1.8 ล้าน คน มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อคนประมาณ 2,500 บาท ซึ่งงานที่ประสบ ความส�ำเร็จและมีผู้เข้าร่วมชมงานมากที่สุด คือ งาน OTOP ทั่ว ไทย รองลงมาคือ Motor Show Hat Yai บ้าน คอนโดและวัสดุ ตกแต่ง โฮมโปร แฟร์ Coffee Tea & Bakery Fair Summer Bitter Sweet และงาน Songkhla Travel Fair ส�ำหรับการด�ำเนินงานในช่วง 5 ปีตอ่ จากนี้ บริษทั เอ็น.ซี.ซีฯ ได้ก�ำหนดกลยุทธ์และแผนการตลาดเพื่อการเป็นศูนย์กลาง ไมซ์ในภาคใต้ในหลายๆ ด้าน เช่น สร้างการเชื่อมโยงและให้ค�ำ ปรึกษาการบริหารศูนย์ประชุมของมหาวิทยาลัยอีก 4 วิทยาเขต เพื่อให้เกิดการใช้งานศูนย์ประชุมอย่างมีประสิทธิภาพและได้ ประโยชน์สูงสุด โดยดึงกิจกรรมส�ำคัญๆ ไปจัดที่ศูนย์ประชุม ของวิทยาเขตอื่นๆ ด้วย เพื่อการเป็น เป็นอีกหนึ่ง MICE Destination ของภาคใต้ สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยเป็นผู้น�ำและเป็น ศูนย์กลางการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ โดยให้บริการ ค�ำปรึกษาด้านการจัดงานประชุมอย่างมืออาชีพ รวมถึงก�ำลัง จะด�ำเนินการจัดสร้าง Food Paradise Zone ศูนย์อาหารในรูป แบบแปลกใหม่กว่าที่เคยมีอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอหาดใหญ่ เพื่อตอบ โจทย์ในการเป็นศูนย์ประชุมนานาชาติที่สมบูรณ์


แนะน�ำหลักสูตร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร Faculty of Agro-Industry (วิทยาเขตหาดใหญ่) หลักสูตรคณะอุตสาหกรรมเกษตรสอนหลักสูตรทั้ง 3 ระดับ ระดับปริญญาตรี เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc) มีสาขาวิชาให้เลือกศึกษา 3 สาขา 1. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ 3. สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร ระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) 6 สาขา 1. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 4. สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ 5. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมเกษตร 6. สาขาวิชาอาหารสุขภาพและโภชนาการ ระดับปริญญาเอก เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) 5 สาขา 1. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร 2. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 4. สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ 5. สาขาวิชาอาหารสุขภาพและโภชนาการ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา เริ่มใช้เหมาจ่ายตั้งแต่ปี 2550 • ระดับปริญญาตรี เหมาจ่ายภาคการศึกษาปกติละ 18,000 บาท • ระดับปริญญาโท เหมาจ่ายภาคการศึกษาปกติละ 28,000 บาท • ระดับปริญญาเอก เหมาจ่ายภาคการศึกษาปกติละ 28,000 บาท • ระดับปริญญาโทและเอกหลักสูตรนานาชาติ เหมาจ่ายภาคการศึกษาปกติละ 56,000 บาท ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ : 0 7444 6728, 0 7428 6316, 0 7428 6309 โทรสาร : 0 7455 8866 Email : agro_pr@group.psu.ac.th Homepage : http://agro.psu.ac.th

คณะวิศวกรรม Faculty of Engineering (วิทยาเขตหาดใหญ่) คณะวิศวกรรม ด�ำเนินการสอนหลักสูตร 3 ระดับ ดังนี้ ระดับปริญญาตรี เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (B.Eng) จ�ำนวน 12 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 2. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 3. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 4. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 5. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 6. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 7. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 8. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

31


แนะน�ำหลักสูตร

9. สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร่ 10. สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ 11. สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ 12. สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรหาบัณฑิต จ�ำนวน (M.Eng) 11 สาขา คือ 1. สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2. สาขาวิศวกรรมเคมี 3. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 4. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 5. สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ 6. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 7. สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ 8. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ 9. สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (ภาคสมทบ) 10. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 11. การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคสมทบ) ระดับปริญญาเอก เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) จ�ำนวน 8 สาขา คือ 1. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ (ภาคปกติ/ 3 ปีการศึกษา) 2. สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม

ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา ระดับปริญญาตรี ประมาณภาคการศึกษาละ 36,000 บาท/ คน/ ปี ยกเว้นในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์โครงการพิเศษ มีค่าใช้จ่ายประมาณ 48,000 บาท/ คน/ ปี ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ : 0 7428 7111, 0 7428 7084-5 โทรสาร : 0 7455 8838, 0 7455 8836 E-mail : info@eng.psu.ac.th Homepage : http://www.eng.psu.ac.th

คณะพยาบาล Faculty of Nursing Pattani Campus (วิทยาเขตปัตตานี) เปิดสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตหลักสูตรใหม่ พ.ศ.2555 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556) ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา: เหมาจ่าย 22,000 บาท ภาคการศึกษาปกติ และ 11,000 บาท ภาคฤดูร้อน หรือ ประมาณ 209,000 บาท ตลอดหลักสูตร หมายเหตุ ไม่รวมคาหอพัก อาหารและค่าใช้จ่ายส่วนตัว โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษต่างๆ 1. โครงการรับนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ (โดยมหาวิทยาลัย) 2. โครงการรับนักศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านการรับตรงของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 3. โครงการรับนักศึกษาเขตภาคเหนือ ผ่านการรับตรงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4. Admission ติดต่อเพิ่มเติม โทรศัพท์ : 0 7331 2185 โทรสาร : 0 7331 2185 ที่อยู่ อาคาร4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

32

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560


ประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์

คณะทันตแพทยศาสตร์

ให้บริการทางทันตกรรมฟรี แก่ประชาชนทั่วไป นศุกร์ที่ 20 ตุลาคม 2560 เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท่านสมพร ใช้บางยาง ประธานกรรมการบริหารกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า เป็นประธานในการเปิดงานวันรณรงค์ทนั ตสาธารณสุขแห่งชาติ และกิจกรรมเปิดกระปุกออมเงินเพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ โครงการ 7 ณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในโอกาสวันรณรงค์ทันตสาธารณสุขแห่งชาติ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดให้บริการทาง ทันตกรรมโดยไม่คิดมูลค่าแก่ประชาชนทั่วไป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งมีผู้มารับ บริการทางทันตกรรม ประมาณ 800 คน นอกจากการให้บริการทางทันตกรรมโดยไม่คิดมูลค่าแล้ว ยังมีพิธีเปิดกระปุกออมเงิน โครงการวันละเหรียญเพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ทั้งนี้เพื่อน�ำเงินรายได้จากการจัดกิจกรรมไปช่วยเหลือ ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ ซึ่งอยู่ในความดูแลของกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า ปัจจุบันมีผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ อยู่ในความดูแลประมาณ 800 คน แต่ละคนจะมีค่าใช้จ่ายในการท�ำการรักษาในขั้นตอนต่างๆ จนครบวงจร ประมาณ 2 แสนบาท ซึ่งนับว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง ดังนั้นทางกองทุนฯ จึงจ�ำเป็นต้องจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อหารายได้เข้ามาสนับสนุน และ ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากทั้งองค์กรภาคเอกชน โรงเรียน และประชาชนทั่วไป

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

33


ประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์

นักศึกษาคณะสัตวแพทย์ลงชุมชน จัดโครงการ VET Ground

สัตวแพทย์ร่วมใจ ต้านภัยโรคระบาด ในพื้นที่ อ.สะเดา จ.สงขลา

มื่ อ วั น ที่ 10 พฤศจิ ก ายน 2560 นั ก ศึ ก ษาสั ต วแพทย์ พร้ อ มด้ ว ยคณาจารย์ แ ละบุ ค ลากร จ� ำ นวน 40 คน ลงพื้ น ที่ จั ด กิ จ กรรมบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพสั ต ว์ แ ก่ ชุ ม ชน ผ่ า น โครงการ “VET Ground สัตวแพทย์ร่วมใจ ต้านภัยโรคระบาด” โดยโครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชากิจกรรมเสริม หลักสูตร 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษาน�ำความรู้ ในสาขาวิชาชีพสัตวแพทย์ที่มี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม มีการลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่องอันตรายของโรคระบาดจากสัตว์ สู่คน (Zoonosis) แก่นักเรียนโรงเรียนวัดสองพี่น้อง ต�ำบลท่า โพธิ์ เช่นโรคฉี่หนู โรคพิษสุนัขบ้า โรคไข้เลือดออก ฯลฯ ผ่าน กิจกรรมเกมส์และสันทนาการ เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้และ ความเข้าใจ รวมทั้งตระหนักถึงอันตรายและสามารถวางแผน ป้องกันการแพร่เชื้อได้อย่างถูกวิธี ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวของ นักเรียน จากนั้น วันเสาร์ที่ 11 พฤศจิกายน นักศึกษาได้แบ่ง กลุ ่ ม ลงพื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารสุ ข ภาพสั ต ว์ แ ก่ ช าวบ้ า น ณ บ้ า นทุ ่ ง สบายใจ หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งหมอ อ�ำเภอสะเดา ซึ่ง ได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้านในชุมชนในการน�ำนักศึกษา ลงปฏิบัติงานในพื้นที่ โดยแบ่งเป็นกลุ่มให้บริการวัคซีนสัญจร แก่ สุ นั ข และแมว และกลุ ่ ม ตรวจสุ ข ภาพแพะในฟาร์ ม ของ เกษตรกร มี ก ารเก็ บ ตั ว อย่ า งเลื อ ด อุ จ จาระ และตั ว อย่ า ง ดิ น ในฟาร์ ม เพื่ อ หาสาเหตุ ก ารอุ บั ติ ข องโรคต่ า ง ๆในแพะ เช่ น โรคพยาธิ โรคแท้ ง ติ ด ต่ อ ซึ่ ง ถื อ เป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ของ เกษตรกรในปัจจุบัน โดยก่อนเดินทางกลับ นักศึกษาได้ร่วม

34

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

กันบ�ำเพ็ญประโยชน์และถวายสังฆทาน ณ วัดสองพี่น้องด้วย โดยกิ จ กรรมดั ง กล่ า ว ได้ รั บ เสี ย งตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี จากชาวบ้ า นในพื้ น ที่ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ รอยยิ้ ม ค� ำ ขอบคุ ณ ค� ำ อวยพรจากชาวบ้ า น รวมถึ ง ได้ น� ำ ขนม ผลไม้ ต ่ า ง ๆ มา มอบให้ เพื่ อ เป็ น ก� ำ ลั ง ใจให้ นั ก ศึ ก ษาท� ำ กิ จ กรรมรั บ ใช้ สั ง คม ทั้ ง นี้ คณะสั ต วแพทยศาสตร์ เน้ น ฝึ ก ให้ นั ก ศึ ก ษา ท� ำ กิ จ กรรมนอกชั้ น เรี ย นเพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ สั ง คม ควบคู ่ กั บ การเรี ย นในชั้ น เรี ย น เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น สั ต วแพทย์ ที่ ดี มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามอัตลักษณ์ ซื่อสัตย์มีวินัย ใฝ่ ปั ญ ญา จิ ต สาธารณะ(I-Wise) ของมหาวิ ท ยาลั ย อี ก ด้ ว ย


กิจกรรมที่น่าสนใจ

ขอเชิญร่วมกิจกรรม

ค่ายเคมีรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 2 (2nd Young Chem Camp)

อเชิ ญ นั ก เรี ย นที่ ส นใจ ร่ ว มกิ จ กรรมค่ า ยเคมี รุ ่ น เยาว์ ค รั้ ง ที่ 2 (2nd Young Chem Camp) ระหว่ า งวั น ที่ 21-24 พฤษภาคม 2561 อย่าพลาดที่จะค้นหาค�ำตอบ ค้นหาความสุข ความสนุก ประสบการณ์และมิตรภาพสุด ประทับใจไปพร้อมกัน เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้ - วันที่ 31 มีนาคม 2561 สามารถสมัครได้ที่ || https://goo.gl/YGqS7k รั บ สมั ค ร เพี ย ง 80 คนเท่ า นั้ น สมั ค รก่ อ นมี สิ ท ธ์ ก ่ อ น สามารถสอบถามรายละเอี ย ดได้ จ าก inbox หรื อ ติ ด ต่ อ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ค่าย : พี่แป๋ม 093-5806963 พี่พิม 098-0752846

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2560

35



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.