ในฉบับ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญาที่ ม.อ. 18-21 อธิการบดีให้ โอวาทนักศึกษาใหม่ “ต้องท�ำตัวสง่างามสมนามลูกพระบิดา” 16-17 ม.อ.ภูเก็ต จัดแถลงข่าว พร้อมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC ระดับโลก World Final 2015 6-7 ม.อ. 1 ใน 4 องค์กร ต้นแบบองค์กรจัดการความสุข จาก 18 หน่วยงานภาครัฐ ที่เข้าร่วมโครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการท�ำงานองค์กรภาครัฐ 8-9 ม.อ. ร่วมกับ จังหวัดสงขลา กอ.รมน. ซ้อมแผนรักษาความปลอดภัย ณ ส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ. 27
รางวัลแห่งคุณภาพ
“เพื่อนใจ Delivery” ของ นศ.ศึกษาศาสตร์ รับถ้วยประทานชนะเลิศโครงการ “โครงการเพื่อนใจ Delivery” ของ “กลุ่ม ทอรักทอรุ้ง” นักศึกษาวิชาเอกจิตวิทยา คณะ ศึ ก ษาศาสตร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ สาขาการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ใน โครงการ “กระทิ ง แดง U PROJECT” ซึ่ ง เป็ น โครงการของคนรุ่นใหม่ที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการ สร้ า งสรรค์ อ นาคตของสั ง คมไทยให้ ไ ด้ ร ่ ว มใช้ ทักษะ ความรู้ ความสามารถ เพื่อท�ำงานพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ กั บ ชุ ม ชน และสั ง คมไทย ซึ่ ง คุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา เป็นผู้แทน พระองค์ ในการมอบรางวั ล ถ้ ว ยประทาน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวร ราชาทิ นั ด ดามาตุ ให้ กั บ ผู ้ ช นะเลิ ศ เมื่ อ วั น ศุ ก ร์ ที่ 25 กรกฎาคม 2557 ณ ลานอีเดน 2 ชั้น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร โครงการ “กระทิงแดง U PROJECT” จัดประกวด ใน 4 สาขา คื อ สาขาเกษตรกรรม สาขาการศึ ก ษา สาขาการแพทย์และสาธารณสุข และ สาขานวัตกรรม เพื่อวิสาหกิจชุมชน โดย “โครงการเพื่อนใจ Delivery” มีแนวคิดจากประสบการณ์ที่เคยรับรู้ถึงความรุนแรง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ บ ้ า นเกิ ด ซึ่งเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและ ส่ ง ผลกระทบกั บ นั ก เรี ย น โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิ ส ลาม ที่ เ ปิ ด สอนความรู ้ เกี่ยวกับหลักศาสนาควบคู่ กั บ การเรี ย นสามั ญ ท� ำ ให้
การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ในปั จ จุ บั น ของนั ก เรี ย นปอเนาะมี ก าร เปลี่ยนแปลงไปมากเมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมา ผู้จัดโครงการ จึงได้น�ำศาสตร์ความรู้ในเรื่องการให้การปรึกษา ที่ก�ำลังศึกษาอยู่ซึ่งเป็นกลไกการสื่อสารอันอ่อนโยน มาใช้ในการ แบ่งเบาภาระความกดดันทางจิตใจ โดยการร่วมแลกเปลี่ยนเรื่องราว ต่ า งๆ โดยบู ร ณาการกั บ ศาสนวิ ถี ต ามแบบอิ ส ลาม เพื่ อ ขั ด เกลา จิตใจให้สงบสุขภายใต้รูปแบบ Think Care Share Love โดยได้เลือก กลุ ่ ม เป้ า หมายในโรงเรี ย นเอกชนสอนศาสนาอิ ส ลาม 5 โรงเรี ย น ในพื้นที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ชมตั ว อย่ า งกิ จ กรรมได้ ที่ https://www.youtube.com/ watch?v=iZPrJnQwsoM ผู ้ ช นะเลิ ศ โครงการ “กระทิ ง แดง U PROJECT” อี ก 3 สาขา คือ กลุ่มVolunteer จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ได้รับรางวัล ชนะเลิ ศ สาขาเกษตรกรรม จาก “โครงการปศุ สั ต ว์ อิ น ทรี ย ์ วิ ถี พอเพียงและยั่งยืน” กลุ่ม TTC Accounting จากวิทยาลัยเทคโนโลยี ตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ ได้รับรางวัลชนะเลิศสาขาการศึกษา จาก “โครงการบัญชีพอเพียง เพื่ออนาคตของน้อง” กลุ่มนอร์ท-เชียงใหม่ สร้ า งสรรค์ คุ ณ ค่ า พั ฒ นาสั ง คม มหาวิ ท ยาลั ย นอร์ ท -เชี ย งใหม่ ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ สาขานวั ต กรรมเพื่ อ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน จาก “โครงการประยุ ก ต์ ใ ช้ พ ลั ง งานสะอาดเพื่ อ พั ฒ นาการผลิ ต ชาด� ำ ชนิดซองส�ำหรับเกษตรกร”
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปีที่ 23 ฉบับที่ 6 ประจ�ำเดือนสิงหาคม - กันยายน 2557
สารบัญ รางวัลแห่งคุณภาพ
รอบรั้วศรีตรัง 15 นักศึกษาใหม่ ม.อ. ร่วมแรง ร่วมใจ บ�ำเพ็ญประโยชน์พร้อม รณรงค์ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด 16-17 อธิการบดีให้โอวาทนักศึกษาใหม่ “ต้องท�ำตัวสง่างามสมนาม ลูกพระบิดา” 18-21 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญาที่ ม.อ. 22-23 งานวันสงขลานครินทร์
วิจัย 4-5 เสวนาคุณค่าของ ม.อ.ต่อสังคม “เราต้องรื้อรั้วที่กั้นระหว่างสถาบัน กับชุมชน”
8-9 ม.อ. 1 ใน 4 องค์กร ต้นแบบองค์กรจัดการความสุข จาก 18 หน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมโครงการสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานองค์กรภาครัฐ 32-33 นพ.จตุพล โชคบุญเปี่ยม แพทย์ ม.อ. คว้ารางวัลจักษุวิทยาฯ โลก
ลงนามความร่วมมือ 12-13 ม.อ.ลงนามร่วมเอกชนใช้สิทธิงานวิจัย น�้ำยาพ่นเคลือบผิว กันน�้ำ - น�้ำยาง 35 ลงนามพัฒนาสินค้าและอาหารฮาลาล
การศึกษา
ประชุม/สัมมนา 6-7 ม.อ.ภูเก็ต จัดแถลงข่าว พร้อมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC ระดับโลก World Final 2015
24-26 ม.อ.วิชาการ 57 โชว์นวัตกรรมที่มีประโยชน์ต่อชุมชนภาคใต้ และงานวิจัยพัฒนาเมืองสงขลา
เพื่อชุมชน/สังคม
สิ่งแวดล้อม 10-11 ม.อ.จัดการขยะจากทางจาก หรือใบยาสูบเพื่อชุมชน คนบ้านแหลม จังหวัดตรัง 14 ESSAND ม.อ.ภูเก็ตหารือความร่วมมือกับสทท.จังหวัดภูเก็ต สร้างรายการพยากรณ์อากาศ หวังให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ แก่ประชาชน
11
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยโดยมุ่งเน้นหน่วยงาน ภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมาย ดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย มากยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ หรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน
27 ม.อ.ร่วมกับ จังหวัดสงขลา กอ.รมน. ซ้อมแผนรักษา ความปลอดภัย ณ ส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ. 28-29 ม.อ.และเทศบาลนครหาดใหญ่ ระดมความคิดเห็น ด้านจราจร ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ “หาดใหญ่ มหานคร แห่งความสุข”
แนะน�ำบุคคล/หนังสือ/หน่วยงาน 30-31 ผศ.พญ.ประสิน จันทร์วิทัน ท�ำงาน ณ ปัจจุบันให้ดีและเต็มศักยภาพ อุปสรรค คือ โอกาสพัฒนา และได้มาซึ่งประสบการณ์ที่มีคุณค่าที่จะ ติดตัวเราไปอีกนานแสนนาน 34 แนะน�ำหนังสือ “ลองแล..งานวิจัยใน ม.อ.6”
สิงหาคม - กันยายน 2557
3
วิจัย
“วันแห่งคุณค่า สงขลานครินทร์” เสวนาคุณค่าของ ม.อ.ต่อสังคม
“เราต้องรื้อรั้วที่กั้นระหว่างสถาบันกับชุมชน”
ำนั ก วิ จั ย และพั ฒ นา กองบริ ก ารการศึ ก ษา ส� ำ นั ก ประกั น คุ ณ ภาพ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย อุทยานวิทยาศาสตร์ และศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมจัดงาน “วัน แห่ง คุ ณ ค่ า สงขลานคริ น ทร์ ” (A PSU DAY OF PRIDE) ครั้งที่ 1 เมื่อวันอังคารที่ 19 สิงหาคม 2557 ที่ศูนย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดย มีกิจกรรมเสวนา การแสดงความยินดีกับผู้สร้างชื่อ เสียงให้กับมหาวิทยาลัย การมอบเกียรติบัตรและโล่ รางวั ล เกี ย รติ คุ ณ ทั้ ง นี้ ง านดั ง กล่ า วเป็ น การรวม งานเชิ ด ชู บุ ค ลากรและผลงาน จาก 3 งานเข้ า ด้ ว ย กั น คื อ งานวั น นั ก วิ จั ย และนวั ต กรรม ม.อ. งานวั น เชิดชูครูสงขลานครินทร์ งานเวทีคุณภาพ
ส
4
สิงหาคม - กันยายน 2557
นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการที่แสดงให้ เห็ น ผลงานต่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล Best Practice ของมหาวิทยาลัย รางวัลผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชน และรางวั ล นวั ต กรรมสงขลานคริ น ทร์ และรางวัลพิเศษ Popular Vote ให้แก่นิทรรศการ ที่ได้รับเสียงโหวตจากผู้เข้าร่วมงาน กิ จ กรรมส� ำ คั ญ กิ จ กรรมหนึ่ ง คื อ การเสวนา “คุณค่าของ ม.อ.ต่อสังคม” ในประเด็นของภารกิจ ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ต อบสนองต่ อ สั ง คม มุ ม มอง การพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา การวิ จั ย และ ด้ า น ชุ ม ชน โดยวิ ท ยากร ศาสตราจารย์ นพ.จรั ส สุ ว ร ร ณ เ ว ล า อุ ป นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี น า ย สั ต ว แ พ ท ย ์ สิ ท ธิ ศั ก ดิ์ เ ห มื อ ง สิ น เลขาธิ ก ารสภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต และ นายสุ ริ ย า ยี ขุ น นายกเทศมนตรี ต� ำ บลปริ ก อ� ำ เภอสะเดา ด�ำเนินรายการโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิพัฒน์ ชูโต รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี ได้กล่าว ถึงภารกิจด้านต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการผลิต บัณฑิตที่ได้สนองตอบต่อความต้องการของสังคมที่เห็นได้ชัดเจน ด้านการวิจัยที่เน้นประเด็นการตอบโจทย์การแก้ปัญหาภาคใต้ โดยต้องมีการบูรณาการงานวิจัยระหว่างสาขาทางศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ การเข้าใกล้ชิดชุมชนและภาคอุตสาหกรรมให้ มากเพื่อร่วมท�ำวิจัยและคิดโจทย์วิจัยร่วมกัน ซึ่งเปรียบเหมือน กับการรื้อก�ำแพงที่ขวางกั้นอยู่ระหว่างสถาบันวิชาการกับชุมชน ศาสตราจารย์ นพ.จรั ส สุ ว รรณเวลา อุ ป นายกสภา มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง ได้ มี โ อกาสเกี่ ย วข้ อ งกั บ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ มากว่ า 10 ปี ได้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความภู มิ ใ จและชื่ น ชมของ สังคมที่มีต่อมหาวิทยาลัย ที่ได้ท�ำภารกิจในสิ่งที่เขาคาดหวัง คือ การให้การศึกษาเพื่อรับเปลี่ยนและสร้างคนให้มีพัฒนาการไป ในทางที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยเองก็ต้องมีการพัฒนา ตนเองตลอดเวลา เพื่อให้นักศึกษาสามารถมีความใฝ่รู้ด้วยตนเอง และเพื่อสนองความต้องการของชุมชน โดยเชื่อว่ามหาวิทยาลัย จะสามารถเข้าสู่การแข่งขันในระดับโลกได้ด้วยปัญญา
นายสั ต วแพทย์ สิ ท ธิ ศั ก ดิ์ เหมื อ งสิ น เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต ผู้ประสบ ความส� ำ เร็ จ ในการน� ำ งานวิ จั ย สู ่ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ กล่ า ว ถึ ง ปั จ จั ย หลายอย่ า งที่ ท� ำ ให้ ง านวิ จั ย ประสบความ ส� ำ เร็ จ และ “ขายได้ ” คื อ ต้ อ งเข้ า ใจการตลาด การ รู ้ จั ก ปรั บ เปลี่ ย นและหาโอกาสจากสิ่ ง ที่ ผู ้ อื่ น ยั ง คิ ด ไม่ ถึ ง สามารถมองภาพอนาคตของงานวิ จั ย เมื่ อ เข้ า สู ่ เ ชิ ง อุ ต สาหกรรมได้ มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ตลอดเวลา สามารถก้าวตามเทคโนโลยีได้ทัน และ ได้ เ รี ย กร้ อ งให้ ผู ้ บ ริ โ ภคมี ค วามรั ก ชาติ โ ดยใช้ ข อง ที่ผลิตภายในประเทศ แม้คุณภาพและราคาจะต่าง จากของที่ผลิตต่างประเทศอยู่บ้างก็ตาม
นายสุ ริ ย า ยี ขุ น นายกเทศมนตรี ต� ำ บลปริ ก อ� ำ เภอ สะเดา กล่ า วว่ า การที่ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น จะพั ฒ นาได้ ก็ โ ดยการยก ระดั บ สติ ป ั ญ ญา สร้ า งความใฝ่ รู ้ เ พื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลง ในทางที่ ดี สร้ า งการมี ส ่ ว นร่ ว มในการท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเข้ า ใจในปั ญ หาและเอื้ อ อาทรต่ อ กั น มี ก ารแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ กั น และที่ ส� ำ คั ญ คื อ ผู ้ บ ริ ห ารชุ ม ชนจะต้ อ งเป็ น ตัวอย่างในการเปลี่ยนวิธีคิดของชุมชน และชี้น�ำการปฏิบัติให้ไป ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น จากการที่ เ คยเป็ น บั ณ ฑิ ต ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ท� ำ ให้ รู ้ สึ ก ภู มิ ใ จว่ า การอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ มุ ่ ง สร้ า ง ความสุ ข ให้ ชุ ม ชน เป็ น การสนองพระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระราชชนกที่ทรงให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
สิงหาคม - กันยายน 2557
5
ประชุม/สัมมนา
ม.อ.ภูเก็ต จัดแถลงข่าว
พร้อมเป็นเจ้าภาพ
จัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ACM-ICPC ระดับโลก World Final 2015 ก
ารแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC ระดั บ โลก ในปี 2558 “ACM-ICPC World Final 2015” โดยมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แ ห่งชาติ (องค์ ก ารมหาชน) SIPA และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก IBM จั ด การแข่ ง ขั น เขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ACM-ICPC ระดับโลก ในปี 2558 “ACM-ICPC World Final 2015” The ACM International Collegiate Programming Contest (ICPC) คื อ การแข่ ง ขั น การเขี ย นโปรแกรมระดั บ โลก จั ด ขึ้ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ทั่วโลก และแข่งขันกันระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ การแข่งขันด�ำเนินงานภายใต้ การอุปถัมภ์ของ ACM และได้รับการสนับสนุนจาก IBM โดยมีส�ำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่ Baylor University เกือบสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ICPC ได้กลายมาเป็น โปรแกรมการแข่งขันระดับโลกที่สร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมประสิทธิภาพ
6
สิงหาคม - กันยายน 2557
การท� ำ งานของนั ก แก้ ป ั ญ หาวิ ท ยาศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์ แ ละ วิศวกรรมของโลก ผู้เข้าแข่งขันประกอบไปด้วยตัวแทนสามคน จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในหลายระดับของการแข่งขันระดับ ภู มิ ภ าค โค้ ช อาสาสมั ค รเตรี ย มที ม ด้ ว ยการฝึ ก อบรมอย่ า ง เข้มข้นไม่ว่าจะเป็นในเรื่องอัลกอริทึม (algorithms), การเขียน โปรแกรม (programming) และกลยุ ท ธ์ ก ารท� ำ งานเป็ น ที ม (teamwork strategy) มหาวิทยาลัยหลายแห่งในกลุ่ม ICPC และอาสาสมัคร ICPC ได้จัดเตรียมระบบตัดสินออนไลน์ไว้ จากการแข่งขันในระดับภูมิภาค ทีมผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าแข่งขัน ในรอบชิ ง ชนะเลิ ศ ในปี นี้ มี 122 ที ม ที่ ผ ่ า นเข้ า ไปแข่ ง ขั น ใน รอบชิงชนะเลิศ “the 2014 ACM-ICPC World Finals” สนับสนุน โดย IBM เจ้าภาพโดย Ural Federal University เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2014 ที่ Ekaterinburg, Russia ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ACM-ICPC ระดับภูมิภาคเอเชียเป็นครั้งแรกในปี 2552 โดย ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ต่อมาได้มีการ เห็นชอบจากคณะกรรมการของ ACM-ICPC ให้มีการจัดการ แข่งขันระดับภูมิภาคเอเชียในประเทศไทยอีก 2 ครั้ง คือครั้งที่ 2 ในปี 2554 ที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต และ ครั้ ง ที่ 3 ในปี 2555 ที่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อวันที่15 พฤษภาคม 2557 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
แห่งชาติ(องค์การมหาชน) SIPA จัดงานแถลงข่าวการเตรียมความพร้อม การจัดการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC World Final 2015 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) SIPA ดร.สมหมาย ปรี ช าศิ ล ป์ รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ภู เ ก็ ต นายไตรรั ต น์ ฉั ต รแก้ ว William B.Poucher (Ph.D) ACM Fell One : ICPC Executive Director และ Micheal J.Donahoo (Ph.D) ICPC Deputy Executive Director ร่วมแถลงข่าว ณ ห้องใน หาน โรงแรมเลอ เมอริเดียน ภูเก็ต บีช รีสอร์ท รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เผยว่า ในนามของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์ ก ารมหาชน) SIPA จั ด การแข่ ง ขั น เขี ย น โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ACM-ICPC ระดั บ โลก ในปี 2558 “ACM-ICPC World Final 2015” ครั้ ง ที่ 39 ซึ่ ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น โดยบริ ษั ท IBM มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภูเก็ต เป็นเจ้าภาพ เป็นความตั้งใจจริงที่จะเป็น เจ้าภาพการแข่งขันเขียนโปรแกรมในระดับอุดมศึกษาระดับนานาชาติ ACM ครั้งที่ 39 รอบชิงชนะเลิศระดับโลก ณ จังหวัดภูเก็ต ระหว่างวันที่ 17 - 22 พฤษภาคม 2558 ทางมหาวิทยาลัยฯและองค์กรที่เกี่ยวข้องมีความพร้อม สมัครใจ และมีความสามารถที่จะท�ำสิ่งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีเป้าหมายที่จะผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการแข่งขันในตลาดงาน นานาชาติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนี้ ทางมหาวิทยาลัยส่งเสริมให้นักศึกษา แสวงหาความรู้เชิงวิชาการอันหลากหลายในห้องเรียนและห้องแลบ รวม ถึ ง แสวงหาโอกาสที่ จ ะได้ รั บ ประสบการณ์ ใ นการเรี ย นรู ้ น อกห้ อ งเรี ย น อีกด้วย ซึ่งการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ถือเป็นหนึ่งในโอกาส นั้น การจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมระดับภูมิภาคเอเซียในประเทศไทย นายไตรรัตน์ ฉัตรแก้ว ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์ ก ารมหาชน) SIPA เผยว่ า ในนามส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) SIPA ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้สนับสนุน การแข่งขัน ACM-ICPC World Final 2015 เป็นหน่วยงานหลักในการก�ำหนดทิศทาง และนโยบายการส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ การพัฒนาอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ และส่งเสริมผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ มีบทบาทสูงต่อการเพิ่ม มูลค่าในระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ถือว่ามีความจ�ำเป็นอย่าง มากต่อการเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในประเทศไทย การ จัดแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ACM-ICPC มีนิสิต นักศึกษา จากสถาบันอุดมศึกษาในประเทศ และต่างประเทศเข้าร่วมการแข่งขันมาก ขึ้นทุกปีแสดงให้เห็นถึงความตื่นตัวของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศ การ
สนับสนุนให้มีการแข่งขัน ACM-ICPC รอบ World Final ในปี 2015 ช่วงเดือนพฤษภาคม ที่จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นการจัดการแข่งขัน ระดับโลกครั้งแรกในประเทศไทย นอกจากจะเป็นการส่งเสริมภาพ ลักษณ์ และการท่องเที่ยวในประเทศไทยแล้ว ยังเป็นการส่งเสริม ให้ นิสิต นักศึกษา ได้เห็นการแข่งขันในระดับโลก ซึ่งจะกระตุ้น อย่ า งแพร่ ห ลาย ให้ เ กิ ด การฝึ ก ฝนพั ฒ นาการเขี ย นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ส่งผลให้เกิดบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ อันจะเป็น รากฐานที่ส�ำคัญยิ่ง ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของ ประเทศไทยต่อไป ดร.สมหมาย ปรีชาศิล ป์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เผยว่า ในนามจังหวัดภูเก็ตขอขอบคุณผู้บริหารบริษัท ICPC และ IBM ที่ให้จังหวัดได้มีส่วนร่วมในจัดการแข่งขันเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ACM-ICPC ระดับโลก World Final 2015 ระหว่าง วันที่ 17 - 22 พฤษภาคม 2558 ซึ่งภูเก็ตแฟนตาซีจะถูกใช้เป็น สถานที่จัดพิธีเปิด รวมถึงสนามกีฬาจังหวัดภูเก็ต และศูนย์พัฒนา ทักษะและการเรียนรู้ ICT ภูเก็ต เราจะใช้เป็นสนามแข่งขันส�ำหรับ รอบชิ ง ชนะเลิ ศ ระดั บ โลกในปี 2557 ซึ่ ง จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ก� ำ ลั ง ด�ำเนินการพัฒนาให้เป็นเมือง IT เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้น�ำด้าน IT ในภูมิภาคอาเซียน ทางจังหวัดได้ให้การสนับสนุนทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐ ภาคครัวเรือน ภาคเอกชน หรือภาคการศึกษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การศึ ก ษานั้ น เรามี ค วามภู มิ ใ จที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นการเป็ น เจ้ า ภาพการแข่ ง ขั น เขียนโปรแกรมในระดับอุดมศึกษาระดับนานาชาติ ACM ครั้งที่ 39 รอบชิงชนะเลิศระดับโลก ที่จังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 17 - 22 พฤษภาคม 2558
สิงหาคม - กันยายน 2557
7
รางวัลแห่งคุณภาพ
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมโครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการท�ำงานองค์กร ภาครั ฐ ระหว่ า ง กั บ สถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และสสส. ร่ ว มกั บ หน่วยงานภาครัฐอีก 18 แห่ง ระหว่างเดือนกันยายน2555- กันยายน.2557 โดยมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ น�ำเทคนิคการสื่อสารออนไลน์สร้างเวทีความรู้ระหว่าง 5 วิทยาเขต และจัดท�ำ กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งความสุ ข มากมาย อาทิ โครงการพิ ชิ ต พุ ง พิ ชิ ต ความส� ำ เร็ จ โครงการ พาน้ อ งตาบอดดู ห นั ง โครงการแบ่ ง ปั น ความสุ ข ให้ ผู ้ ด ้ อ ยโอกาส คื อ น้ อ งตาบอด เด็ ก พิ เ ศษ และผู ้ สู ง อายุ ที่ ถู ก ทอดทิ้ ง โครงการเยี่ ย มไข้ บุ ค ลากร ฯลฯ และประเมิ น พบคนท� ำ งานมี ค วามสุ ข เพิ่มขึ้นจาก 55.7% เป็น 67.9%
ม
ม.อ. 1 ใน 4 องค์กร ต้นแบบองค์กรจัดการความสุข จาก 18 หน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมโครงการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต การท�ำงานองค์กรภาครัฐ
กิจกรรมเพื่อสร้างองค์กรแห่งความสุขขับเคลื่อนโดย นั ก สร้ า งสุ ข องค์ ก ร โดยมี อาจารย์ พิ ชิ ต เรื อ งแสงวั ฒ นา รองอธิการบดี ม.อ. คุณเมตตา ชุมอินทร์ หัวหน้างานพัฒนา และฝึกอบรม คุณสุนันทา แก้วเจริญ หัวหน้างานสวัสดิการ คุ ณ รั ต ติ ย า เขี ย วแป้ น และ คุ ณ คงพล มนวริ น ทรกุ ล ขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมอย่ า งเต็ ม ที่ เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรส� ำ นั ก งาน อธิการบดี ม.อ. มีความสุขขึ้น จากการสร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ แก่บุคลากร ท�ำให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับคัดเลือก เป็น 1 ใน 4 องค์กร ต้นแบบกระบวนการจัดการความสุข จาก 18 หน่วยงานภาครัฐที่เข้าร่วมโครงการ ม.อ.ได้ เ ข้ า ร่ ว มเสนอผลงานสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งาน ‘ถนนแห่ ง ความสุ ข Happy Highway’ ร่ ว มกั บ 18 หน่ ว ยงานภาครั ฐ มี ผู ้ ไ ปร่ ว มกิ จ กรรม น� ำ โดยคุ ณ เที่ ย ง จารุ ม ณี ผู ้ อ� ำ นวยการกองการเจ้ า หน้ า ที่ ม.อ. เมื่ อ วั น ที่ 25 กรกฎาคม 2557 ที่สโมสรกรมชลประทาน
8
สิงหาคม - กันยายน 2557
นอกจากแลกเปลี่ยนความรู้กับองค์กรต่างๆ ด้วยสื่อโปสเตอร์ แล้วนักสร้างสุของค์กร ม.อ. ยั ง เปิ ด สอนการท� ำ ดอกกุ ห ลาบจากใบเตย มี ผู ้ สนใจมาลองท�ำดอกกุหลาบจากใบเตยมากมาย ทั้งชายและหญิง น�ำโดย คุณฐิติภัทร นิลทีเลิศ ท�ำให้ห้องน�้ำทิพย์ สโมสรกรมชลประทาน หอมฟุ้ง ไปด้วยใบเตย และยังน�ำเมี่ยงค�ำ จาก ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี ขนมชื่อดัง ไปให้ชิมด้วย และ ม.อ.จั ด การแสดงชุ ด “สุ ข กั น เถอะเรา” ไปร่ ว ม ในพิ ธิ เ ปิ ด และจั ด การแสดง ลี ล าศ และ ไลน์แดนซ์ ไปร่วมแสดงอีกด้วย โดยมี คุณคงพล มนวรินทรกุล และคุณนวนิก จุลนพ จากกอง ทะเบียน เป็นผู้ฝึกสอนแก่ทีมงาน รวมทั้งได้เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ด้วยการแพทย์ แผนไทย ได้ลองชิมอาหาร สนุกกับการเรียนรู้ภาษาไทยและ พจนานุ ก รมไทย และกิ จ กรรมในงาน พบปะกั บ นั ก สร้ า งสุ ข องค์กรทั้ง 18 องค์กร และ นสอ.ที่ผ่านการอบรมรุ่นเดียวกัน
ทางวิชาการจากบทเรียนความส�ำเร็จ องค์ ก รต้ น แบบ 2.สื่ อ สารองค์ ก รใน ระดับต่างๆ 3.สร้างและจัดการองค์ ความรู้ 4.ผลักดันนโยบายที่ตอบสนอง ต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งาน ศึ ก ษา ทบทวนกฎหมายและระเบี ย บเกี่ ย ว กับงานพัฒนาคุณภาพชีวิตหน่วยงาน ราชการ และ 5.สร้ า งและเชื่ อ มโยง พลังเครือข่ายการสร้างเสริมคุณภาพ
นายสุ จิ ต ต์ ไตรพิ ทั ก ษ์ กรรมการบริ ห ารแผนสร้ า ง เสริ ม สุ ข ภาวะองค์ ก ร ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า ง เสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) กล่ า วว่ า สสส.ร่ ว มกั บ สถาบั น วิ จั ย สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดท�ำ “แผนงานสร้างเสริม คุณภาพชีวิตการท�ำงานองค์กรภาครัฐ” มุ่งเสริมสร้างเครือข่าย องค์กรแห่งความสุข เพื่อ ความสมดุล ระหว่างชีวิต และการ ท� ำ งานของบุ ค ลากรในภาครั ฐ ให้ ท� ำ งานอย่ า งมี ค วามสุ ข ระยะเวลาด�ำเนินงาน 2 ปี (ก.ย.2555-ก.ย.2557) มีหน่วยงาน ภาครั ฐ เข้ า ร่ ว มแล้ ว 18 องค์ ก ร อาทิ กรมสุ ข ภาพจิ ต กรม ราชทั ณ ฑ์ กรมชลประทาน กรมประชาสั ม พั น ธ์ ส� ำ นั ก งาน เลขาธิ ก ารวุ ฒิ ส ภา ซึ่ ง ต้ อ งชื่ น ชมผู ้ บ ริ ห ารและนั ก สร้ า งสุ ข องค์ ก รที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละมุ ่ ง มั่ น เชื่ อ ว่ า เมื่ อ บุ ค ลากรองค์ ก ร ภาครั ฐ มี สุ ข ภาวะที่ ดี มี คุ ณ ภาพ มี ค วามสุ ข ในการท� ำ งาน ผลงานที่สะท้อนไปสู่ประชาชนจะดีขึ้น ปัญหาต่างๆ ลดลง เป้ า หมายของโครงการสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท� ำ งานองค์ ก รภาครั ฐ ก็ คื อ เมื่ อ บุ ค ลากรองค์ ก รภาครั ฐ มีสุขภาวะที่ดี มีคุณภาพ มีความสุขในการท�ำงาน ผลงานจะ สะท้อนไปสู่ประชาชนผู้รับบริการ ดร.ศิ ริ เ ชษฐ์ สั ง ขะมาน อาจารย์สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมคุณภาพ ชี วิ ต การท� ำ งานองค์ ก รภาครั ฐ ได้ ก� ำ หนด 5 ยุ ท ธศาสตร์ ด�ำเนินงาน ประกอบด้วย 1.เสริมสร้างศักยภาพและสนับสนุน
ชีวิตการท�ำงาน จากที่ ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ หรือ สสส. ได้จับมือกับสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จัดท�ำ ‘แผนงานสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการท�ำงาน องค์กรภาครัฐ’ เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ในการเสริมสร้างสมดุลแห่งความสุขระหว่างชีวิต และการท�ำงานให้กับหน่วยงานภาครัฐ โดยได้รับความร่วม มือจาก 18 องค์กรน�ำร่อง ได้แก่ กรมชลประทาน, ส�ำนักงาน ส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู ้ สู ง อายุ , กรมสุ ข ภาพจิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ , ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม, ส� ำ นั ก งานเลขาธิ ก าร วุฒิสภา, กรมราชทัณฑ์, ราชบัณฑิตยสถาน, ส�ำนักงานปลัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรมประมง, ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (NECTEC), กรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน, กรม ประชาสัมพันธ์, ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตแห่งชาติ, ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว และกี ฬ า, กรมพั ฒ นาการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จนเกิดเป็นเครือ ข่ า ยที่ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมต่ อ เนื่ อ งมาตั้ ง แต่ ป ี 2555 ซึ่ ง ได้ ส ร้ า ง ‘นักสร้างสุของค์กร’ (นสอ.) มาแล้ว หลายรุ่น ทั้งได้ลงนาม ข้ อ ตกลง ร่ ว มกั บ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่อเดือนสิงหาคม 2556 เครือข่ายนักสร้างสุของค์กรได้แลกเปลี่ยน ข้ อ มู ล ข่ า วสารและแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ กั น ใน กิจกรรม‘ถนนแห่งความสุข’ หรือ ‘Happy Highway’ รวมทั้ง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีถอด บทเรี ย นการท� ำ งาน และช่ อ งทางสื่ อ สาร เว็ บ ไซต์ เฟซบุ ๊ ก และวารสาร สารปั น สุ ข ออนไลน์ ความ มุ่งมั่น และความจริงใจในการร่วมมือของทุกฝ่าย ถือเป็นสัญญาณที่ดีต่อการสร้างองค์กรสุขภาวะ ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในองค์ ก รภาครั ฐ ที่ ส ่ ง ผลไปยั ง ประชาชน
สิงหาคม - กันยายน 2557
9
สิ่งแวดล้อม
ม.อ.จัดการขยะจากทางจาก หรือใบยาสูบ เพื่อชุมชนคนบ้านแหลม จังหวัดตรัง
นางสาวปาริชาต มูลิกา เปิดเผยถึงการ ท�ำงานว่า ได้จัดเวทีสุขภาวะ ครั้งที่ 1 ชุมชนเห็น ความส�ำคัญของปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม และยังไม่มีวิธีการก�ำจัดขยะ บัณฑิต อาสามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ผลั ก ดั น โครงการ “การบริหารจัดการขยะใบยาสูบเพื่อสุข ภาวะชุมชนคนบ้านแหลม” เพื่อลดปริมาณขยะ และสร้างสุขภาวะด้านสิ่งแวดล้อมให้แก่ชุมชน กิจกรรมประกอบด้วย “Big Cleaning” โดย เยาวชนในโรงเรียนบ้านแหลม กลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน( อสม.) และกลุ่มผู้น�ำ ร่วมกันท�ำความสะอาดชุมชน เก็บขยะใบยาสูบ มาท�ำลาย มชนบ้านแหลม ต�ำบลวังวน อ�ำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็ น ชุ ม ชนที่ อ ยู ่ ติ ด แม่ น�้ ำ ปะเหลี ย น ประชากรมี อ าชี พ กรีดยางและท�ำประมง โดยการหาหอยตลับ การเลี้ยงปลากระชัง การเลี้ยงหอยนางรมและหอยแมลงภู่กระชัง 90% ของประชากร นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม และอาชี พ เสริ ม ที่ โ ดดเด่ น และท� ำ กั น ทุ ก ครัวเรือน คือ อาชีพลอกใบยาสูบ ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ ของประเทศไทย ทุกเช้าจะมีการตากใบจาก เรียงรายตาม 2 ข้าง ทางถนนบ้านแหลม และใบยาสูบ (ชาวบ้านเรียกว่า ทางจาก) ที่ เหลือใช้ถูกทิ้งทับถมกัน เป็นจ�ำนวนมากบริเวณ 2 ข้างทางถนน คูคลอง และที่สาธารณะ ทิ้งให้ย่อยสลายเอง ส่งผลกระทบต่อ ชุมชน คือกีดขวางทางน�้ำไหลในฤดูฝน เป็น แหล่งเพาะพันธุ์ของ สัตว์มีพิษ และยังท�ำลายทัศนียภาพของชุมชน ในการเป็น แหล่ง ท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด ตรั ง เป็ น โจทย์ ใ หญ่ ที่ บั ณ ฑิ ต อาสา ม.อ. เข้ า ไปร่ ว มแก้ ไ ขในการก� ำ จั ด ขยะชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ชุ ม ชนบ้ า นแหลม ต� ำ บลวั ง วน อ� ำ เภอกั น ตั ง จั ง หวั ด ตรั ง สวยงาม เป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยวที่เชิดหน้าชูตาของภาคใต้ นางสาวปาริชาต มูลิกา บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การดูแลของสถาบันวิจัยสุขภาพภาคใต้ ได้เข้าไปศึกษาปัญหาและ ร่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หาของชุ ม ชนบ้ า นแหลม จั ง หวั ด ตรั ง เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม 2556 และเสร็ จ สิ้ น เมื่ อ เดื อ น เมษายน 2557 เปิ ด เผยว่ า ตนเองเป็ น คน ภู มิ ล� ำ เนาจั ง หวั ด ตรั ง จึ ง เข้ า ไปศึ ก ษาปั ญ หาชุ ม ชน มองเห็ น ปั ญ หาขยะ จากใบยาสูบ น�ำปัญหามาวิเคราะห์และปรึกษากับแกนน�ำชุมชนถึงแนวทาง ในการแก้ไขปัญหา
10
สิงหาคม - กันยายน 2557
การประดิษฐ์ดอกไม้จากกระดาษใบยาสูบ เข้าร่วม ประกวดการงานอาชี พ ระดั บ จั ง หวั ด ที่ ง านสานฝั น โรงเรียนห้วยยอด อ.ห้วยยอด จ.ตรัง และได้รับรางวัล เหรียญทองแดง การจักสานก้านจาก เป็นการน�ำก้านจากซึ่งเป็น วัสดุเหลือใช้ในชุมชนมาประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์จักสาน สามารถสร้างผลงานให้กับโรงเรียนได้ ตลาดนัดผักปลอดสารพิษทุกวันจันทร์ สามารถ สร้างรายได้ให้กับเยาวชน ท�ำปุ๋ยหมักใบยาสูบ โดยมีสมาชิก กลุ่มปุ๋ยหมักสนับสนุนในด้านความรู้และ วิธีการท�ำปุ๋ยหมักใบยาสูบให้กับเยาวชน ในโรงเรียนบ้านแหลม ท�ำป้ายรณรงค์การทิ้งขยะใบยาสูบ โดยจะให้ เ ยาวชน ชมรมอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ผู ้ คิ ด ค�ำขวัญโดยมองสิ่งที่ อยากเห็นและอยากให้เกิดขึ้นในชุม ชน ติ ด ป้ า ยรณรงค์ เพื่ อ เป็ น การเผย แพร่ แ ละรณรงค์ ก ารทิ้ ง ขยะใบยาสู บ โดยชมรมอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม โรงเรี ย น นางสาวปาริชาต มูลิกา กล่าวว่า ระยะเวลา 1 ปี ที่ได้เรียนรู้ในการปฏิบัติ หน้าที่ในชุมชนบ้านแหลม ได้สัมผัสกับ
วิถีชีวิตบนความแตกต่างของศาสนาและวัฒนธรรม ได้รับการยอมรับ ของคนในชุมชน ได้รับความร่วมมือจากเยาวชนโรงเรียนบ้านแหลม ต�ำบลวังวน อ�ำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เพื่อให้เยาวชนที่จะเติบโตไปเป็น ผู้ใหญ่ ได้รับการปลูกฝังด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์จึงผลักดันให้เกิด ชมรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโรงเรียน บ้านแหลม เพื่อให้มีการด�ำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยมีคุณครู ของโรงเรียนบ้านแหลมและสมาชิกกลุ่มปุ๋ยหมักใบยาสูบ เป็นพี่เลี้ยง นายณฐ ย่ า หลี อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตตรัง ที่ปรึกษาโครงการจัดการขยะจากใบยาสูบเพื่อชุมชนคน บ้านแหลม จังหวัดตรัง กล่าวถึงบทเรียนการท�ำงานของบัณฑิตอาสา ว่า พื้นที่บ้านแหลมนั้น เป็นบทเรียนที่ได้เรียนรู้โดยตรงจากชุมชน จาก การท�ำงานตลอด 1 ปี ที่ผ่านมา บัณฑิตอาสาควรค�ำนึงถึงการสร้างแรง จูงใจ ให้ชุมชนให้ความร่วมมือกับการด�ำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชน และปัญหาของโครงการนี้คือยังขาด เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถช่วย ก�ำจัดขยะใบยาสูบได้ และอาจสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน ซึ่งสามารถท�ำให้คนในชุมชนเกิดการตื่นตัวและตระหนักถึงความ ส�ำคัญของปัญหามากขึ้น และเทคนิคการท�ำงานร่วมกับชุมชน ควร ใช้กิจกรรมสร้างแรงจูงใจน�ำพาชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม การสร้างการมีส่วนร่วม โดยการชักชวนคน เข้าร่วมจากกลุ่มเล็กๆ ก่อน ท�ำให้เกิดผลงานเห็นชัดเจน มีตัวอย่าง รูปธรรมพิสูจน์ได้ จนเกิดการยอมรับว่าสมควรท�ำได้จริง จึงขยายผล ไปสู่วงกว้าง ชักชวนสร้างแนวร่วมให้คนเข้าร่วมกระบวนการมากขึ้น
สิงหาคม - กันยายน 2557
11
ลงนามความร่วมมือ
ม.อ.ลงนามร่วมเอกชนใช้สิทธิงานวิจัย
น�้ำยาพ่นเคลือบผิวกันน�้ำ - น�้ำยาง ศู
นย์ทรัพย์สินทางปัญญา อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จัดพิธีลงนามอนุญาตให้ ใช้สิทธิ ในอนุสิทธิ บัตรน�้ำยาพ่นเคลือบผิวกันน�้ำและไม่ท�ำให้น�้ำยางติดจอกยาง เมื่ อ วั น ที่ 26 สิ ง หาคม 2557 ที่ ศู น ย์ ท รั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ได้ จั ด ให้ มี พิ ธี ล งนามอนุ ญ าตให้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ นอนุ สิ ท ธิ บั ต ร ระหว่ า ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ตันรัตนกุล รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและจัดการทรัพย์สิน และ บริ ษั ท วอนนาเทค จ� ำ กั ด โดย นายทวี รั ต น์ รั ง สฤษฎ์ วี ร ะโชติ กรรมการผู ้ จั ด การ โดย บริ ษั ท วอนนาเทค จ� ำ กั ด ที่ มี ค วามสนใจ ขออนุญาตใช้สิทธิในอนุสิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ�ำนวน 2 เรื่อง ประกอบด้วย น�้ำยาพ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน�้ำ อย่างยิ่งยวดและกรรมวิธีการผลิต และน�้ำยาพ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติ ไม่ชอบน�้ำยางอย่างยิ่งยวด และกรรมวิธีการผลิต ซึ่งเป็นผลงานของ ดร.ฉลองรั ฐ แดงงาม และคณะวิ จั ย คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยอนุสิทธิบัตรทั้ง 2 เรื่องดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี้
12
สิงหาคม - กันยายน 2557
1. น�้ำยาพ่นเคลือบผิวที่มีคุณสมบัติไม่ชอบน�้ำอย่าง ยิ่ ง ยวดและกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ที่ ผ ่ า นมาหลายคนคงมี ประสบการณ์ “กลิ่น” ไม่พึงประสงค์ในห้องน�้ำและคราบเหลือง บนผิวสุขภัณฑ์ จึงมีงานวิจัยที่อาศัยความรู้ด้านนาโนเทคโนโลยี ผนวกกับกฏทางฟิสิกส์ โดย ดร. ฉลองรัฐ แดงงาม ร่วมด้วย รศ. ดร. นันทกาญจน์ มุรศิต ร่วมกันพัฒนา น�้ำยาเคลือบ ผิววัสดุนานาชนิดในสูตรเดียวและใช้งานได้ในขั้นตอนเดียว ซึ่ง บริษัท วอนนาเทค จ�ำกัด (WONNATECH CO.,LTD) ได้ ขออนุญาตใช้สิทธิจากทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์น�ำ อนุสิทธิบัตร การเตรียมและกรรมวิธีการผลิตน�้ำยาเคลือบผิว ดังกล่าว ไปท�ำเป็นผลิตภัณฑ์และใช้ชื่อทางการค้าว่า “สตริง เกอร์ (Strinker)” โดยสตริ ง เกอร์ มี คุ ณ สมบั ติ ดี เ ด่ น สามารถ
ท� ำ ให้ น�้ ำ รวมตั ว เป็ น หยดและท� ำ มุ ม มากกว่า 150-160 องศากับผิววัสดุที่ ถูกเคลือบ หยดน�้ำจะกลิ้งลงไปอย่าง ง่ายดายพร้อมทั้งน�ำฝุ่นหรือสิ่งสกปรก ติดออกไปด้วย นั่นคือมีกลไกท�ำความ สะอาดตัวเอง (Self-cleaning surface) 2. น�้ำยาพ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติ ไม่ ช อบน�้ ำ ยางอย่ า งยิ่ ง ยวดและ กรรมวิ ธี ก ารผลิ ต ดร.ฉลองรั ฐ แดงงาม ได้ คิ ด ค้ น วิ จั ย สารเคลื อ บที่ น�ำมาใช้กับจอกยาง แล้วท�ำให้น�้ำยาง ไม่ ติ ด ผิ ว ทั้ ง ยั ง สามารถเทออกจาก จอกยางไหลลงภาชนะอื่ น ๆ ได้อ ย่า ง ง่ายดายโดยไม่ต้องพึ่งพาไม้ปาดยาง ด้ ว ยประสิ ท ธิ ภ าพดี เ ด่ น ของน�้ ำ ยาเคลื อ บผิ ว ท� ำ ให้ บริ ษั ท วอนนาเทค จ� ำ กั ด ขออนุ ญ าตใช้ สิท ธิ จากทางมหาวิ ทยาลัย สงขลานคริ นทร์ น� ำอนุ สิ ทธิ บัตรการเตรี ยมและกรรมวิธีการ ผลิ ต น�้ ำ ยาเคลื อ บผิ ว ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ท� ำ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส อง ประเภท ภายใต้ชื่อทางการค้าว่า “ฟาสซี่ (Fazzy)” ส�ำหรับ เคลื อ บผิ ว จอกยาง และ “แล็ ก ซ์ (Lax)” ส� ำ หรั บ เคลื อ บผิ ว ภาชนะที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการแปรรูปน�้ำยางพารา เช่น ถัง บรรจุน�้ำยาง รางหรือท่อที่ต้องการให้น�้ำยางไหลผ่าน โดยมี ขั้นตอนการใช้งานที่ง่าย เช่น การพ่นเคลือบ การจุ่มเคลือบ ทั้งนี้ อยู่ระหว่างพัฒนาการยึดติดของชั้นเคลือบให้นานยิ่งขึ้น จาก 3-4 สัปดาห์เป็น 2-3 เดือน เพื่อลดภาระผู้ประกอบการ ด้านเกษตรสวนยางพาราให้น้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้นั่นเอง
สิงหาคม - กันยายน 2557
13
สิ่งแวดล้อม
ESSAND ม.อ.ภูเก็ต หารือความร่วมมือกับ สทท.จังหวัดภูเก็ต
สร้างรายการพยากรณ์อากาศ หวังให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์แก่ประชาชน เมื่ อ วั น ที่ 5 กั น ยายน 2557 โครงการจั ด ตั้ ง บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการวิ ท ยาศาสตร์ ร ะบบโลกและการจั ด การภั ย ธรรมชาติ อั น ดามั น Interdisciplinary Graduate School of Earth System Science and Andaman Natural Disaster Management หรื อ (ESSAND) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี ผู้อ�ำนวยการ ESSAND เข้าร่วมหารือความร่วมมือ ในการออกอากาศให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพยากรณ์อากาศรายชั่วโมง รายพื้นที่ ร่วมกับผู้อ�ำนวยการสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 จังหวัดภูเก็ต ทั้งนี้ ในเบื้องต้นจะได้ด�ำเนินการในส่วน MOU ร่วมกันต่อไป ในการจั ด ท� ำ รายการระหว่ า งกั น โครงการจั ด ตั้ ง บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการฯหรื อ ESSAND เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ก ารจั ด การเรี ย น การสอนระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาเป็ น กลไกหลั ก ในการด� ำ เนิ น การวิ จั ย มี ห ลั ก สู ต รรองรั บ คื อ หลั ก สู ต รปรั ช ญามหาบั ณ ฑิ ต (M.Phil.) และ ปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต (D.Phil.) สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ร ะบบโลก (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) ทั้ ง นี้ จ ะเริ่ ม เปิ ด รั บ นั ก ศึ ก ษารุ ่ น แรกในปี ก ารศึ ก ษา 2557
โดยงานวิ จั ย ของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการฯ นี้ จะมุ่งเน้นในการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติของประเทศและ ของโลก แก้ไขปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยี องค์ความรู้ และบุคลากร เฉพาะทางด้านการจัดการภัยธรรมชาติ โดย จะให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นงานวิ จั ย ที่ ต อบสนอง ต่อการพัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคอันดามันเป็นพิเศษ ปัจจุบันผลงานวิจัยต่าง ๆ ของ ม.อ.ภูเก็ต ได้ถูกถ่ายทอด และพั ฒ นาจนกลายเป็ น นวั ต กรรม เช่ น การประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยีในการประมาณค่าหยาดน�้ำฟ้าและการพยากรณ์ อากาศ ของผู ้ ช ่ ว ยศาตราจารย์ ดร.ชิ น วั ช ร์ สุ รั ส วดี ผู้อ�ำนวยการ ESSAND ถูกพัฒนาเป็นแอพลิเคชั่น ภายใต้ ชื่อว่า WMApp เพื่อใช้กับอุปกรณ์ Android และ เว็บไซต์ http://www.worldmeteorology.com/ ซึ่ ง ให้ ข ้ อ มู ล และ การพยากรณ์เพื่อให้บริการข้อมูลอุตุนิยมวิทยา
14
สิงหาคม - กันยายน 2557
รอบรั้วศรีตรัง
นักศึกษาใหม่ ม.อ. ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด ร่วมแรง ร่วมใจ บ�ำเพ็ญประโยชน์ พร้อม กศึ ก ษาใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ปลูกจิตส�ำนึกช่วยเหลือสังคม จัดโครงการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ เสริมสร้างความสามัคคี อนุรักษ์ เขาคอหงส์ ทาสีฟุตบาธ เดินและปั่นจักรยาน รณรงค์ เลิ ก เหล้ า บุ ห รี่ และยาเสพติ ด ในตั ว เมื อ งหาดใหญ่ จ.สงขลา
นั
สโมสรนั ก ศึ ก ษาทุ ก คณะ องค์ ก ารบริ ห าร องค์ ก าร นั ก ศึ ก ษา และกองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ จัดกิจกรรม “ร่ ว มแรง ร่ ว มใจ น้ อ งใหม่ บ� ำ เพ็ ญ ลด ละ เลิก อบายมุข และปลุกจิตสาธารณะแก่นักศึกษา” เพื่ อ ปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก นั ก ศึ ก ษาต่ อ การช่ ว ยเหลื อ สั ง คม เสริ ม สร้ า งความสามั ค คี ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของลู ก สงขลานคริ น ทร์ และเป็ น การรณรงค์ ป ้ อ งกั น ลด ละ เลิ ก อบายมุ ข สิ่ ง เสพติ ด ในหมู ่ นั ก ศึ ก ษา และชุ ม ชน โดยมี รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นา นักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์เป็นประธาน รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิก ารบดีฝ ่ายพัฒนานัก ศึกษาและ ศิษย์เก่าสัมพันธ์ กล่าวว่ากิจกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ที่จัดขึ้น ประกอบด้วย การเดินทางไปปลูกต้นไม้ ปรับปรุง ฝายน�้ำล้น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเขาคอหงส์ เขียนป้ายชื่อพันธุ์ไม้ในอุทยานควนเขาวัง
อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา และปลูกป่าชายเลนพื้นที่ศึกษาพัฒนา ป่าชายเลน สงขลา นักศึกษาชมรมมุสลิม เดินทางไปพัฒนา ปรับปรุงภูมิทัศน์ พื้ น ที่ มิ ส ยิ ด บ้ า นเหนื อ มั ส ยิ ด ทุ ่ ง น�้ ำ และโรงเรี ย นบ้ า นทุ ่ ง น�้ ำ อ�ำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา และนักศึกษาชมรมคริสเตียน พัฒนา คริ ส จั ก ร สงขลา นั ก ศึ ก ษาชมรมพุ ท ธพั ฒ นาวั ด และพื้ น ที่ ใ กล้ มหาวิทยาลัย 4 วัด และถวายสังฆทาน
เก็ บ ขยะ ทาสี ฟุ ต บาธ บริ เ วณหน้ า ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปลูกต้นไม้ และปรับพื้นที่บริเวณ หอพักนักศึกษา ปลูกต้นไม้บริเวณสนามกีฬาและอาคารกิจกรรม นักศึกษา รวมทั้ ง การเดิ น และปั ่ น จั ก รยานรณรงค์ เลิ ก เหล้ า บุ ห รี่ และยาเสพติด ในตัวเมืองหาดใหญ่ โดยมีนักศึกษาใหม่และรุ่นพี่ 4,500 คน ร่วมกิจกรรม เพื่อปลูกฝังจิตส�ำนึกการช่วยเหลือสังคม เสริมสร้างความ สามั ค คี ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของ และรณรงค์ ลด ละ เลิก อบายมุข สิ่งเสพติดในหมู่นักศึกษา และชุมชน
สิงหาคม - กันยายน 2557
15
รอบรั้วศรีตรัง
อธิการบดีให้ โอวาทนักศึกษาใหม่
“ต้องท�ำตัวสง่างาม
สมนามลูกพระบิดา” ร
องศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองอธิ ก ารบดี คณบดี ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี คณาจารย์ และตัวแทนกรรมการนักศึกษา ร่วมใน พิ ธี สั ก การะพระราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระบรม ราชชนก กรมหลวงสงขลานคริ น ทร์ พร้ อ ม ต้อนรับและให้ โอวาทนักศึกษาใหม่ของวิทยาเขต หาดใหญ่ เมื่ อ วั น ที่ 4 สิ ง หาคม 2554 ที่ ล าน พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรมราชชนก โดย มีนักศึกษาใหม่เข้าร่วมพิธี ประมาณ 4,000 คน อธิ ก ารบดี กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประกอบด้วย 5 วิทยาเขตใน 5 จังหวัดภาคใต้ ดังนั้นนับ ตั้งแต่นักศึกษาใหม่ทุกคนได้ย่างก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย ย่อมหมายความว่าพวกเราจากทุกวิทยาเขตได้หลอมรวม เป็ น หนึ่ ง เดี ย ว เป็ น สมาชิ ก ครอบครั ว เดี ย วกั น คื อ เป็ น ลูกพระบิดา พร้อมที่จะร่วมแรงร่วมใจก้าวไปข้างหน้าด้วย กันภายใต้ความภาคภูมิใจในความเป็นสงขลานครินทร์ นักศึกษาทุกคนต้องตระหนักอยู่ตลอดว่าเรามีเพื่อนอยู่ที่ วิ ท ยาเขตอื่ น ๆ อีก 4 วิทยาเขต เหมือ นกับเรามี บ ้ า นอี ก
16
สิงหาคม - กันยายน 2557
4 แห่ ง มี พี่ น ้ อ ง มี เ พื่ อ นที่ เ ราจะต้ อ งดู แ ลซึ่ ง กั น และกั น เพราะฉะนั้ น พวกเราต้ อ งช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น มี กิ จ กรรมร่ ว มกั น มี ก ารแลกเปลี่ ย นรู ้ ร ่ ว มกั น และใช้ ประโยชน์ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส�ำหรับการแสวงหาความรู้และประสบการณ์ของนักศึกษา ในมหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ พระราชทาน นาม “สงขลานครินทร์” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เป็นชื่อของมหาวิทยาลัยซึ่งนับเป็นความภาคภูมิใจ อย่ า งสู ง สุ ด ของทุ ก คนที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ มหาวิ ท ยาลั ย
สงขลานคริ น ทร์ ดั ง นั้ น การเป็ น นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จะต้ อ งท� ำ ตั ว ให้ ส ง่ า งามสมกั บ เป็ น ลู ก พระบิ ด า โดยมี ก ารวางตั ว ที่ ดี แต่ ง กายดี และพู ด จาดี วันนี้นักศึกษาได้เข้ามามีชีวิตในสถานที่ใหม่ ได้พบ เพื่อนใหม่ อาจารย์ใหม่ สิ่งแวดล้อมใหม่ ระบบการเรียน ใหม่ นักศึกษาใหม่ทุกคนจะต้องปรับตัวให้มีระเบียบวินัย รู้จักแบ่งเวลาในการเรียนและการท�ำกิจกรรม มีความมุ่งมั่น และตั้งใจในการศึกษา และการที่นักศึกษาได้มีโอกาสได้เข้า มาศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ขอให้นักศึกษาได้ใช้เวลา อั น มี ค ่ า ตลอดระยะเวลาการศึ ก ษาให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ตนเองทั้งด้านการเรียนรู้วิชาการ และการพัฒนาตนเอง ให้ มี คุ ณ ภาพทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต วิ ญ ญาณ รวมทั้ ง การมี ประสบการณ์ แ ละทั ก ษะในการอยู ่ ร วมกั บ คนอื่ น อย่ า งมี ความสุ ข และได้ ศึ ก ษาจนส� ำ เร็ จ เป็ น บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ และศักยภาพสูง มีสมรรถนะในการเข้าสู่ตลาดงานสากล มีคุณธรรมและส�ำนึกสาธารณะ โดยผ่านกระบวนวิชาการ ต่างๆ และกิจกรรมเสริมหลักสูตรภายใต้การถือปฏิบัติตาม พระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระบรมราชชนกที่ ว ่ า “ให้ ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เพื่อปลูกฝัง ให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น ผู ้ ที่ มี จิ ต อาสา และรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม และประเทศชาติ รศ.ดร.ชูศักดิ์ กล่าว อนึ่ง การโครงการปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมทาง วิชาการส�ำหรับนักศึกษาใหม่ ประจ�ำปีการศึกษา 2557 ได้จัดขึ้น
เมื่อวันที่ 4 - 7 สิงหาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยวันแรก (4 ส.ค. 57) กิจกรรม “เปิดตะวันน้องใหม่” และ “สักการะและปฏิญาณตน” ณ ลานพระบรมรูป สมเด็จพระราชบิดาฯ อธิการบดี/คณบดี/นายก องค์การบริหาร องค์การนักศึกษา วางพานพุ่ม สั ก การะพระบรมรู ป สมเด็ จ พระราชบิ ด าฯ วันที่สอง (5 ส.ค. 57) กิจกรรม “เชิญธงประจ�ำ มหาวิ ทยาลั ย /คณะ, แนะน� ำ มหาวิ ทยาลั ย, กล่ า วต้อ นรับ และข้ อ คิ ด ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาใหม่ โดย รศ.ดร.จุ ฑ ามาศ ศตสุข รองอธิการบดีฝ่ายการศึกษา และ รศ. ดร. วรวุธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและ ศิษย์เก่าสัมพันธ์ การบรรยายหัวข้อ “เพราะเราคือ นักศึกษา สงขลานคริ น ทร์ ” โดย รศ.วิ ล าวั ณ ย์ เจริ ญ จิ ร ะตระกู ล การบรรยายหั ว ข้ อ “นั ก ศึ ก ษาในบริ บ ทของอาเซี ย น” โดย ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ วันที่สาม (6 ส.ค. 57) กิ จ กรรมเสวนา ในหั ว ข้ อ “การใช้ ชี วิ ต ใน มหาวิ ท ยาลั ย ” โดย คุ ณ วรนั น ท์ จั น ทรั ศ มี ตามด้ ว ย บรรยายหั ว ข้ อ “การเรี ย นรู ้ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาในศตวรรษที่ 21” โดย ดร.นิศรา การุณอุทัยศิริ ชม VTR หัวข้อ ลูกพระบิดา ข้ า ฯภู มิ ใ จ (ศิ ษ ย์ เ ก่ า ) และ “เรื่ อ งเล็ ก ๆ ใกล้ ตั ว ” (แนะน� ำ หน่วยงาน บริการ/สวัสดิการต่างๆ) และซัก- ถาม วันที่สี่ (7 ส.ค.57) กิจกรรม “ร่วมแรงร่วมใจน้องใหม่บ�ำเพ็ญ” ภายนอก และในมหาวิทยาลัย (กิจกรรมปลูกป่า ปรับปรุงภูมิทัศน์ ท�ำ ความสะอาด และอื่นๆ ) กิจกรรม “การแสดง” ของกลุ่มองค์กร นักศึกษา ส่วนกลาง คณะ และหอพัก
สิงหาคม - กันยายน 2557
17
รอบรั้วศรีตรัง
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญาที่ ม.อ. ปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ นายชวน หลีกภัย นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรีผู้มีแนวนโยบายชัดเจนในการ ธ� ำ รงรั ก ษาการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยแบบ รัฐสภาอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ใช้แนวทาง การพัฒนาประเทศโดยหลักการกระจายอ�ำนาจ กระจาย รายได้ โอกาส และความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น
ในปี 2557 สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี ม ติ ข อ พระราชทานทู ล เกล้ า ถวายปริ ญ ญาแพทยศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ แด่ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราช กุ ม ารี ด้ ว ยทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ พั ฒ นาและจั ด ท� ำ โครงการต่ า งๆ เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยของราษฎร ได้แก่ การปรับปรุงภาวะ โภชนาการและสุ ข ภาพเด็ ก โครงการเกษตรเพื่ อ อาหารกลางวั น โครงการส่ ง เสริ ม โภชนาการและสุ ข ภาพอนามั ย แม่ แ ละเด็ ก ในถิ่ น ทุรกันดาร โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน โรคหนอนพยาธิ และ โรคมาลาเรีย และโครงการพัฒนาระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนและ ชุมชน พระองค์พระราชทานหน่วยแพทย์ออกตรวจรักษาราษฎรใน ถิ่นทุรกันดาร ทรงริเริ่มโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อคนพิการ ให้ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างความรู้ พัฒนาทักษะและสร้างอาชีพ ต่อไปในอนาคต โครงการให้การศึกษาส�ำหรับเด็กป่วยที่ต้องเข้ารับการ รักษาภายในโรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็น สื่อในการเรียนรู้ ทรงมีพระราชด�ำริให้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ ป ระสานงานเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา โปรแกรมให้สามารถน�ำมาใช้ส�ำหรับโรงพยาบาลทั่วประเทศ ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทรงมี พระราชด�ำริที่จะจัดตั้ง “ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภาคใต้” ขึ้นที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการดูแลรักษา ฟื ้ น ฟู ผู ้ ป ่ ว ยทั่ ว ไปหรื อ พิ ก ารที่ เ กิ ด จากปั ญ หาความไม่ ส งบในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้และอุบัติเหตุ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความพิการ หรื อ ลดความพิ ก ารกลั บ คื น สู ่ ส ภาพที่ ใ กล้ เ คี ย ง กั บ ปกติ ม ากที่ สุ ด ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ตลอดเป็นศูนย์กลางด้านการวิจัยและพัฒนา เครือข่ายการรับส่ง ต่อด้านการฟื้นฟูผู้พิการใน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยมี ศู น ย์ สิ ริ น ธรเพื่ อ การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพทางการแพทย์ แห่งชาติเป็นแม่ข่าย นอกจากนั้น ยังมีผู้ทรงคุณวุฒิเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร กิตติมศักดิ์ โล่ผู้ได้รับรางวัลอาจารย์ดีเด่นกองทุนเอกิ้น เลาเกเซ่น อนุสรณ์ รางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ อาจารย์ตัวอย่างมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ดังนี้
18
สิงหาคม - กันยายน 2557
ชนบท ได้ ด� ำ เนิ น นโยบายปฏิ รู ป การศึ ก ษาและระบบ บริ ห ารราชการอั น มี ผ ลมาจนทุ ก วั น นี้ เป็ น นั ก การเมื อ ง ที่ มี ชื่ อ เสี ย งในเรื่ อ งความสมถะ ใช้ ชี วิ ต เรี ย บง่ า ย ทุ ่ ม เท แรงกายแรงใจ ในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อบ้านเมืองโดยยึด ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ตั้ง เป็นผู้เชื่อมั่นว่าการปกครอง ด้วยหลักนิติธรรมจะช่วยแก้ไขปัญหาบ้านเมืองและสร้าง ระบบการบริหารบ้านเมืองที่ดีได้ โดยได้ด�ำเนินการออก ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหาร กิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 โดยการยึดถือ หลั ก นิ ติ ธ รรมถื อ เป็ น หลั ก ส� ำ คั ญ ประการแรก ควบคู ่ กั บ หลักคุณธรรม ความโปร่งใส ความมีส่วนร่วม ความรับผิด ชอบ และความคุ้มค่า เป็นพื้นฐานในการวางหลักเกณฑ์ เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี ใ นเวลาต่ อ มา นายชูเกียรติ ปิติเจริญกิจ บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ผู ้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ เป็ น อย่ า งสู ง ในด้ า นการ บริหารธุรกิจซึ่งมาจากความซื่อสัตย์ ขยัน อดทน และมอง การณ์ไกล เป็นนักธุรกิจตัวอย่างที่พัฒนาตนเองจากการ เป็นลูกจ้างมาสู่เจ้าของธุรกิจที่ประสบความส�ำเร็จ เป็น ผู ้ ที่ ก ้ า วข้ า มการบริ ห ารธุ ร กิ จ แบบดั้ ง เดิ ม มาใช้ แ นวคิ ด การบริ ห ารธุ ร กิ จ แบบครบวงจรที่ ช ่ ว ยเอื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ กันท�ำให้ได้ผลประกอบการที่ดี โดยใช้หลักการเชื่อมโยง
ธุ ร กิ จ ย่ อ ยที่ ส ่ ง ต่ อ คุ ณ ค่ า แก่ ลู ก ค้ า ใน แต่ละช่วงต่อเนื่องกันไป ซึ่งในปัจจุบัน คื อ แนวคิ ด ห่ ว งโซ่ คุ ณ ค่ า ที่ น� ำ มาใช้ ในการบริหารจัดการเพื่ออ�ำนวยความ สะดวกหรื อ สร้ า งประโยชน์ สุ ด ท้ า ยที่ ลูกค้าต้องการ เป็นผู้ให้ “โอกาส” ของ การสร้างคน สร้างคุณภาพชีวิต เสริม พลั ง ใจให้ แ ก่ ค นรุ ่ นหลั ง ที่ ไ ด้เ ห็น แบบ อย่างและสร้างแรงบันดาลใจของการใช้ชีวิต เปิดโอกาสให้ตนเอง เรียนรู้ตลอดเวลา เป็นผู้ให้ด้วยจิตบริสุทธิ์ โดยนึกถึงผลประโยชน์ ของสังคมและผู้ด้อยโอกาส ได้บริจาคทุนทรัพย์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ให้ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ หน่ ว ยงานราชการ เอกชน โรงพยาบาล องค์กรทางศาสนา มูลนิธิต่าง ๆ ในจังหวัดปัตตานี และจังหวัดใกล้เคียงตลอดมา ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วิจิตร ศรีสุพรรณ พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็ น แบบอย่ า งที่ ข องบุ ค ลากรใน วิ ช าชี พ การพยาบาล ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ มี ความมุ ่ ง มั่ น อุ ทิ ศ ตนร่ ว มคิ ด และร่ ว ม มื อ กั น เพื่ อ น� ำ สู ่ ค วามเป็ น เอกภาพ ของวิชาชีพ โดยขณะที่ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกสภาการพยาบาล ได้ ร ่ ว มผลั ก ดันกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการ พยาบาล จัดตั้งสมาคมพยาบาลเฉพาะ ทาง สร้างสถาบันวิจัยและพัฒนาการ พยาบาลเพื่อน�ำไปสู่ความเท่าเทียมกันของวิชาชีพทางสุขภาพ เป็นผู้มีคุณูปการอย่างสูงต่อคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ มาเป็นเวลากว่ายี่สิบปี มีบทบาทส�ำคัญในการ จัดหาทุนการศึกษาให้แก่บุคลากรด้วยการจัดท�ำแผนเพิ่มการ ผลิ ต และแผนพั ฒ นาอาจารย์ พ ยาบาลให้ มี คุ ณ วุ ฒิ ต ามเกณฑ์ มาตรฐานอุดมศึกษา พร้อมน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ให้พยาบาล เป็ น สาขาขาดแคลนในปี พ.ศ. 2535 ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การพั ฒ นา คุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์พยาบาลทั่วประเทศ ท�ำให้อาจารย์ พยาบาลที่ส�ำเร็จการศึกษาดังกล่าวได้กลับมาเป็นก�ำลังส�ำคัญ ของคณะ ในการสร้างและพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนระดับ บัณฑิตศึกษาให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพและตอบสนองตามความ ต้องการของสังคมได้กว้างขวางขึ้น จนส่งผลให้ประเทศไทยเป็น ผู้น�ำทางการศึกษาพยาบาลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พัฒนาความรู้ในเชิงลึกระดับยีน และ มี ก ารค้ น พบยี น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กลไก การป้ อ งกั น โรคมากกว่ า 80 ยี น เพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นการสร้ า งระบบประเมิ น สุ ข ภาพกุ ้ ง ที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การ ป้องกันการเกิดโรคในการเพาะเลี้ยงกุ้ง พัฒนาระบบการตรวจสอบการติดเชื้อ ไวรัสในกุ้งที่มีประสิทธิภาพสูง ได้ร่วมมือ กับคณาจารย์ในภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ค้นพบเชื้อไวรัสก่อโรคตัวแดงดวงขาวในกุ้ง เป็นครั้งแรกของโลก และพิ สู จ น์ ว ่ า เชื้ อ โรคชนิ ด นี้ ส ามารถก่ อ ให้ เ กิ ด โรคได้ ใ นสั ต ว์ ทะเลหลายชนิ ด ที่ เ ป็ น พาหะท� ำ ให้ เ กิ ด การแพร่ ข องเชื้ อ ชนิ ด นี้ ในบ่อเลี้ยงกุ้ง ตลอดจนร่วมกันศึกษาวิจัยแนวทางการป้องกัน การเกิ ด โรคจากเชื้ อ ดั ง กล่ า วด้ ว ยการใช้ ส ารกระตุ ้ น ภู มิ คุ ้ ม กั น ชนิดต่าง ๆ ที่มีการน�ำไปใช้ในการป้องกันโรคได้อย่างแพร่หลาย ในการเพาะเลี้ยงกุ้งของประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น และประเทศ ต่ า ง ๆ ได้ ป ระสานงานและจั ด หางบประมาณสนั บ สนุ น คณะ อื่ น ๆ เช่ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย คณะแพทยศาสตร์ คณะ พยาบาลศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ไปเยือน University of Miyazaki เพื่ อ หาแนวทางการขยายกิ จ กรรมความร่ ว มมื อ ในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากที่มีอยู่เดิมแล้ว
รางวัลอาจารย์ดีเด่นกองทุนเอกิ้น เลาเกเซ่น อนุสรณ์ ประจ�ำปี 2557
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรวย สุวรรณบ�ำรุง อ า จ า ร ย ์ ป ร ะ จ� ำ ส� ำ นั ก วิ ช า พยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ผู ้ เ ป็ น ตั ว อย่ า งของครู ที่ ส อน นักศึกษาให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และ เจตคติที่ดี เป็นผู้ที่รับฟังความคิดเห็น และข้ อ เสนอแนะจากทุ ก ฝ่ า ยเพื่ อ น� ำ มาปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน มีการเตรียมการสอนอย่างดีล่วงหน้า พัฒนาเอกสารประกอบ การสอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้อย่างเป็นระบบ สร้างความ สัมพันธ์อันดีกับบุคลากรและ เอาใจใส่ดูแลและสอนนักศึกษาใน คลินิกอย่างใกล้ชิด ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนากระบวนการ คิดและการเรียนรู้ของนักศึกษา สอนให้นักศึกษาบันทึกการเรียน รู้ของตนเองด้วยการใช้ “แผนที่ความคิด หรือ Mind Map” และ ใช้เป็นเครื่องมือในการสอนร่วมกับเทคนิควิธีการอื่นๆ เพื่อตรวจ สอบขยายความคิดและความเข้าใจที่ถูกต้องของนักศึกษา เป็น Prof.Dr.Toshiaki ltami ผู้ที่ท�ำงานวิจัยและการบริการวิชาการอย่างต่อเนื่อง และน�ำผล วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วาริชศาสตร์) งานดังกล่าวมาใช้ในการเรียนการสอน มีความเชี่ยวชาญเรื่อง ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิคุ้มกันและสุขภาพสัตว์น�้ำ โดยเฉพาะ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ได้ริเริ่มจัดตั้ง อย่ า งยิ่ ง ภู มิ คุ ้ ม กั น โรคของกุ ้ ง โดยในปี พ.ศ. 2533 ได้ พั ฒ นา และเป็ น หั ว หน้ า “กลุ ่ ม วิ จั ย การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพและป้ อ งกั น วัคซีนป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อ Vibrio penaeicida และมีการ โรคในชุ ม ชน” ซึ่ ง ต่ อ มาได้ พั ฒ นาเป็ น “หน่ ว ยวิ จั ย และบริ ก าร สิงหาคม - กันยายน 2557
19
วิชาการโรคไข้เลือดออก” และใช้กลไกนี้พัฒนาอาจารย์รุ่นใหม่ ในด้านการวิจัยไปพร้อมกันผลงานวิจัยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสารวิ ช าการ และในที่ ป ระชุ ม วิ ช าการระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ จัดพิมพ์เป็นหนังสือเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป
รางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุกูล รัตนดากุล ข้ า ราชการบ� ำ นาญ เป็ น ที่ ป รึ ก ษา พิพิธภัณฑ์ประวัติธรรมชาติและเครือ ข่ายเรียนรู้ท้องถิ่น คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ตลอด ระยะเวลาของการรั บ ราชการ ได้ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และน�ำความ รู้ความสามารถที่มีม าถ่ายทอดให้กับ ผู้ร่วมงานและนักศึกษา โดยได้ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่ชุมชน รวม ทั้งการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ชาวบ้านในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ให้ได้เรียนรู้นวัตกรรมประสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ตั้ง อยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์และดูแลทรัพยากรธรรมชาติร่วม กั น เป็ น ผู ้ ที่ ช าวบ้ า นไว้ ว างใจ เชื่ อ ถื อ กล้ า พู ด คุ ย และปรึ ก ษา หารื อ ในเรื่ อ งต่ า งๆ จึ ง เป็ น ผู ้ ที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการ ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา ร่วมกับชาวบ้านและชุมชน ให้ความ รู้และสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมแก่ชาวบ้านและชุมชน การท�ำงานร่วมกับภาครัฐเพื่อ ร่วมกันอนุรักษ์และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ทางทะเลของอ่าว ปั ต ตานี นอกจากนี้ ยั ง เป็ น นั ก ส่ ง เสริ ม พหุ วั ฒ นธรรมในพื้ น ที่ สามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดย ได้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง คณะดิ เ กร์ ฮู ลู บ้านแหลมทรายและน�ำมาใช้เป็นสื่อกลางในการช่วยบอกเล่า เรื่องราวปลูกฝังให้ชาวบ้านรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
อาจารย์ตัวอย่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ อาจารย์ตัวอย่างด้านบริการวิชาการ สังกัดภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ เป็นผู้มีความ มุ ่ ง มั่ น ทุ ่ ม เท อุ ทิ ศ เวลาในการท� ำ งานด้ า นบริ ก ารวิ ช าการเป็ น อย่างมาก จึงเป็นผู้น�ำทางด้านบริการวิชาการที่เป็นประโยชน์ต่อ สังคมและเป็นที่ยอมรับของเพื่อนร่วมงานทุกคน เช่น โครงการ ร่วมอนุรักษ์เขาคอหงส์ ซึ่งเป็นผู้น�ำและผลักดันให้เกิดความร่วม มือระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กับชุมชนและองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เล็งเห็นความส�ำคัญต่อคุณค่าของ พื้นที่เขาคอหงส์ซึ่งเป็นป่ากลางเมืองผืนเดียวที่เหลืออยู่ เป็นผู้ ที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นอันดับ หนึ่ ง และอุ ทิ ศ เวลาให้ แ ก่ ร าชการและสั ง คมอย่ า งเต็ ม ที่ เช่ น
20
สิงหาคม - กันยายน 2557
การเป็นวิทยากร ให้ความรู้ แก่นักเรียน/ นั ก ศึ ก ษา และประชาชนทั่ ว ไป รวม ทั้งนักเรียนโรงเรียนคนตาบอด เพื่อให้ ทุ ก คนได้ มี โ อกาสสั ม ผั ส เรี ย นรู ้ แ ละ ตระหนักถึงคุณค่าของธรรมชาติที่มีอยู่ รอบๆ ตั ว อี ก ทั้ ง ได้ ป ระพฤติ ต นเป็ น แบบอย่างในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง และไม่เบียดเบียนธรรมชาติ เป็นผู้ที่มีเมตตาต่อทุกคนรอบข้าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงประสิน จันทร์วิทัน อาจารย์ตัวอย่างด้านการเรียนการสอน หัวหน้าภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ได้พัฒนาภาควิชา ให้ มี ค วามก้ า วหน้ า อย่ า งมาก ทั้ ง ใน ด้ า นการพั ฒ นาอาจารย์ บุ ค ลากร ระบบการเรี ย นการสอน การบริ ก าร รั ก ษาพยาบาล และการส่ ง เสริ ม งาน วิจัย ได้จัดอบรมวิชาการในด้านสาขา วิชาทารกแรกเกิดแก่บุคลากรทางการ แพทย์ร่วมกับองค์กรภายนอกต่างๆ ทุกปี เพื่อพัฒนางานทารก แรกเกิดสู่ชุม ชนต่างๆ ทั้งโรงพยาบาลศูน ย์ โรงพยาบาลทั่ว ไป และโรงพยาบาลชุ ม ชน ให้ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ยเด็ ก ทารก แรกเกิดโดยไม่ต้องเดินทางมายัง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เป็นผู้มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ รวมทั้ ง ทั ก ษะต่ า งๆ แก่ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ แพทย์ ใ ช้ ทุ น /แพทย์ ประจ�ำบ้าน แพทย์ประจ�ำบ้านต่อยอดและผู้ร่วมสาขาวิชาชีพ ได้เป็นอย่างดี เป็นแบบอย่างของนักศึกษาในเรื่องของคุณธรรม และจริ ย ธรรมจนได้ รั บ การคั ด เลื อ กเป็ น อาจารย์ ตั ว อย่ า งด้ า น จริยธรรมของคณะแพทยศาสตร์ เมื่อ ปี 2552 และเกียรติบัตร เนื่ อ งในวั น เชิ ด ชู ค รู ส งขลานคริ น ทร์ “อาจารย์ ที่ เ ป็ น ที่ รั ก และ ศรัทธาของนักศึกษา” ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2553 รองศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ อาจารย์ตัวอย่างด้านการวิจัย สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สั ง กั ด ภาควิ ช าเภสั ช เวทและเภสั ช พฤกษศาสตร์ คณะ เภสัช ศาสตร์ มีความเชี่ย วชาญงานวิจัย ด้านวิท ยาศาสตร์เคมี และเภสัช การควบคุมคุณภาพมาตรฐานของสมุนไพร สามารถ สร้างงานวิจัยที่มีประโยชน์มากมาย และสามารถต่อยอดไปใน เชิงพาณิชย์ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ และงาน วิ จั ย บางชิ้ น สามารถสร้ า งองค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น มี ผ ลงาน วิจัยเป็นที่ยอมรับทั้งในหน่วยงานภายในและภายนอก ตลอดจน ภาคเอกชน ผลงานวิจัยหลายเรื่องได้รับการจดสิทธิบัตร และอนุ สิทธิบัตร มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการในระดับชาติ และนานาชาติ และมี ก ารน� ำ เสนอผลงานในการประชุ ม ต่ า งๆ ทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังเป็น ผู้ท รงคุณวุฒิใ นการ
กลั่ น กรองงานวิ จั ย ที่ ข อทุ น จาก สกว. ของมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ เป็ น Editorial board ของวารสารวิชาการระดับ นานาชาติ เป็น reviewer ของวารสาร ระดับนานาชาติ 20 ฉบับ เป็นกรรมการ บริ ห ารคลั ส เตอร์ นวั ต กรรมทางการ แพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ธรรมชาติ แห่งคาบสมุทรไทย และการจัดการใน โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญตา บาลทิพย์ อาจารย์ตัวอย่างด้านการวิจัย สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ เป็ น ผู ้ พยายามพั ฒ นางานที่ รั บ ผิ ด ชอบเพื่ อ ความก้ า วหน้ า ขององค์ ก ร มี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบสู ง มี จิ ต อาสา อุ ทิ ศ ตน ในการท� ำ งาน ทั้ ง ด้ า นการสอน เป็ น อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา การเป็ น ที่ ป รึ ก ษา ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอก จาก School of Nursing, Massey University ได้ รั บ เชิ ญ เป็ น ผู ้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ ใ นการตรวจสอบบทความวิ จั ย เพื่ อ ตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ทั้ ง ในวารสารระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี แ ก่ นั ก ศึ ก ษาและเพื่ อ นร่ ว มงาน ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หั ว หน้ า หน่ ว ยวิ จั ย “เพื่อส่งเสริมการมีชีวิต ที่ผสมผสานลงตัวของคนไทยในภาคใต้ และสมาชิ ก หน่ ว ยวิ จั ย ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทุ น วิ จั ย จากหน่ ว ย งานต่างๆ ในการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อการส่งเสริมการมีชีวิต ที่ผสมผสานลงตัวของคนไทยในภาคใต้ คือการพัฒนาแนวคิด ชีวิตที่สมดุล ลงตัวด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้น�ำ ไปใช้ ใ นกลุ ่ ม ผู ้ ติด เชื้ อ เอชไอวี และประชาชนทั่ วไป นอกจากนี้ หน่ ว ยวิ จั ย ยั ง มี ผ ลงานการตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ใ นวารสารทั้ ง ใน ระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ จ� ำ นวนมาก และได้ รั บ รางวั ล หน่ ว ย วิ จั ย ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี 2554 จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อาจารย์สิทธิชัย พิริยคุณธร อาจารย์ตัวอย่างด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นผู้น�ำเอา ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น มาประยุ ก ต์ ห ลอม รวมกับงานด้านวิศวกรรม สรรค์สร้าง ให้เป็นโครงสร้างอาคารสมัยใหม่ที่ยัง คงเอกลักษณ์และศิลปะดั้งเดิมของท้อง ถิ่น ไว้เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการจัด สร้างประดิษฐานรูปหล่อ ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุ ข เนื่ อ งในโอกาส
ฉลองครบรอบ 45 ปี การก่อตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ได้ อุ ทิ ศ ตนให้ กั บ งานด้ า นการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ป วัฒนธรรมไว้อย่างมากมาย ทุ่มเทแรงกาย แรงใจในการท�ำงาน ด้านสาธารณประโยชน์ ร่วมกับนักศึกษาในการสร้าง และบูรณะ ซ่ อ มแซมสถานปฏิ บั ติ ธ รรม และอาคารสาธารณะประโยชน์ อย่างต่อเนื่อง เป็นที่ประจักษ์แก่สังคม มาเป็นเวลานานกว่าสิบปี รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธา สุวรรณบูรณ์ อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ หั ว หน้ า ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีวัสดุ คณะวิทยาศาสตร์ ด้วย เป็นผู้มีความรับผิดชอบสูงต่องาน ที่ได้รับมอบหมายไม่ว่าจะเป็นงานสอน งานวิ จั ย งานบริ ก ารวิ ช าการและงาน บริ ห าร และมี ผ ลงานวิ จั ย และผลงาน ตี พิ ม พ ์ ใ น ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร ร ะ ดั บ นานาชาติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง มี ส ่ ว นร่ ว มในการน� ำ เสนอ ผลงานในที่ประชุมวิชาการอย่างสม�่ำเสมอ และได้รับเชิญจาก บรรณาธิการวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ เพื่อพิจารณาผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เป็นผู้ทรง คุณวุฒิพิจารณาโครงการวิจัย และความก้าวหน้าของงานวิจัย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ผู ้ มี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ทั้ ง กั บ นั ก ศึ ก ษา ผู ้ ร ่ ว มงาน และผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย มี ค วามเสี ย สละและช่ ว ย งานด้วยความเต็มใจและเต็มก�ำลังความสามารถ มีการร่วมท�ำ กิจกรรมกับนักศึกษาอย่างสม�่ำเสมอทั้งภายในและนอกสถานที่ รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิกร สมิตไมตรี อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ เป็ น ผู ้ เขี ย นต� ำ รา “วิ ท ยาการหุ ่ น ยนต์ แ ละ เทคโนโลยี ” ได้ รั บ รางวั ล ต� ำ ราดี เ ด่ น คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 เป็นอาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มชมรม นักศึกษาที่ได้น�ำหุ่นยนต์ไปแข่งขันทั้ง ในและต่างประเทศ ได้รับรางวัลหลาย รางวั ล เช่ น อั น ดั บ ที่ 11 จาก 21 ที ม ทั่วโลก ในการแข่งขัน World RoboCup 2012 ที่ประเทศเม็กซิโก เมื่อปี 2555 รางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ ในการแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ นอั จ ฉริ ย ะชิ ง แชมป์ ป ระเทศไทย 2556 อั น ดั บ ที่ 11 จาก 23 ที ม ทั่ ว โลก ในการแข่ ง ขั น World RoboCup 2013 ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ และรางวัล ชนะเลิศ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ และรางวัลเทคนิคยอดเยี่ยม ในการแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ นอั จ ฉริ ย ะชิ ง แชมป์ ป ระเทศไทยปี พุทธศักราช 2557 มีผลงานวิจัย ที่ส�ำคัญเช่น ผลงานวิจัยระบบเท้า เทียมอิเล็กทรอนิกส์ ได้รับรางวัล Silver Medal, 41st International Exhibition of Inventions of Geneva, Switzerland เมื่อปี 2556 สิงหาคม - กันยายน 2557
21
รอบรั้วศรีตรัง
งานวันสงขลานครินทร์ ม
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดงานวันสงขลา นคริ น ทร์ ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 4 กั น ยายน 2557 ณ ศู น ย์ ก ารประชุ ม นานาชาติ ฉลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ ๖๐ ปี เพื่ อ เป็ น การเฉลิ ม ฉลองและแสดงออกถึ ง ความ ปลื้ ม ปิ ติ ยิ น ดี ข องมหาวิ ท ยาลั ย ในคุ ณ งามความดี ค วาม ส� ำ เร็ จ และความรู ้ ค วามสามารถของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง ได้ รั บ พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ อาจารย์ ดี เ ด่ น ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล กองทุ น เอกิ้ น เลาเกเซ่ น อนุ ส รณ์ อาจารย์ตัวอย่างผู้ ได้รับรางวัลของมูลนิธิมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์แก่ ชุมชนในภาคใต้ ซึ่ ง ได้ รั บ รางวั ล อนุ ส รณ์ ส งขลานคริ น ทร์ อาจารย์ แ ละ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น ที่ ท� ำ ชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ ม หาวิ ท ยาลั ย ตลอด จนเพื่ อ เป็ น การแสดงความขอบคุ ณ ผู ้ มี อุ ป การคุ ณ และ บ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ต่อกิจ การของมหาวิทยาลัยในรอบปี ที่ ผ่ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย คาดหวั ง ว่ า การแสดงออกครั้ ง นี้ ได้ส่งผลให้คณาจารย์ศิษย์เก่า และบุคลากรทุกฝ่ายของ มหาวิทยาลัยได้ตระหนักในเกียรติคุณ และยึดถือแบบอย่าง ที่ดีงามเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติสืบต่อไป
22
สิงหาคม - กันยายน 2557
ทั้ ง นี้ ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล และมี ผ ลงานดี เ ด่ น ของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประจ� ำ ปี 2557 ดั ง นี้ 1. สาขาการประดิษฐ์ ผลงาน ชุดทดสอบสังกะสี ภาคสนาม ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร และคณะ คณะวิทยาศาสตร์ 2. สาขาการวิจัย (ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ผลงาน ระบบนิเวศทะเลสาบสงขลาและสัตว์พื้น ใต้น�้ำชนิดใหม่ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช คณะทรัพยากรธรรมชาติ ผลงาน ไบโอเซนเซอร์ ของ รองศาสตราจาย์ ดร.ปณต ถาวรังกูร คณะวิทยาศาสตร์ 3. สาขาการแต่งต�ำรา ผลงาน การปรับปรุงพันธุ์ ปาล์มน�้ำมัน ของ ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ เอกสมทราเมษฐ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ 4. สาขาการบริการวิชาการ ผลงาน โครงการร่วม อนุรักษ์เขาคอหงส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพ.ประกาศ สว่างโชติ และคณะ คณะวิทยาศาสตร์ 5. สาขาท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมผลงาน โครงการละครเวที ป ระจ� ำ ปี คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ของ คณะศิลปศาสตร์ ศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2557 1. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านความส�ำเร็จในอาชีพ หน้าที่ การงาน 1. คุณกรีฑา โชติวิชญ์พิพัฒน์ ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. คุณกฤษณะ ปรีดานนท์ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. คุณชลธิศักดิ์ ชาวปากน�้ำ ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 4. คุณชัยโรจน์ มีแดง ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 5. รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. คุณธนาศักดิ์ กิจรุ่งโรจน์ ศิษย์เก่าคณะอุตสาหกรรมเกษตร 7. คุณไตรรัตน์ อุดมศรีโยธิน ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ
8. ผศ.ดร.บัญญัติ ช�ำนาญกิจ ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 9. รศ.ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 10. คุณพัฒนพงศ์ อิทธิผลิน ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 11. ศ.ระพีพรรณ ค�ำหอม ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12. ศ.ดร.รัตนะ บัวสนธ์ ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 13. ดร.วรรณี ตปนียากร ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 14. ภก.วิชา ตู้จินดา ศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ 15. คุณศุภพงษ์ เพชรสุทธิ์ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 16. คุณสนธิญา หนูจีนเส้ง ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 17. นพ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 18. รศ.ดร.สุรีพร ธนศิลป์ ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 19. ศ.ดร.เสาวภา อังสุภานิช ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์
2. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านผลงานเด่น 1. ผศ.ดร.ดวงใจ นาคะปรีชา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 2. ผศ.พญ.นลินี โกวิทวนาวงษ์ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 3. รศ.ดร.ประณีต ส่งวัฒนา ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 4. ดร.พรชัย นฤดมกุล ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 5. ดร.พิริยาธร สุวรรณมาลา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 6. รศ.ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 7. ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 8. รศ.ดร.ศศิธร พุมดวง ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 9. รศ.ทพญ.ศิริวรรณ สืบนุการณ์ ศิษย์เก่าคณะทันตแพทยศาสตร์ 10. รศ.อาซีซัน แกสมาน ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม และสถาบัน 1. ส.ต.ต.ธนชาติ อินสว่างภพ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 2. คุณบรรจง นะแส ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 3. คุณประวีณ ศรีสุวิภา ศิษย์เก่าคณะอุตสาหกรรมเกษตร 4. คุณปรีชา แก้วขาว ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 5. ผศ.ดร.ร่วมจิตร นกเขา ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 6. ว่าที่ร้อยตรีศรายุทธ เจียรมาศ ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 7. คุณสมพงษ์ เจริญสุข ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 8. ทพ.สมฤทธิ์ จิโรจน์วณิชชากร ศิษย์เก่าคณะทันตแพทยศาสตร์ 4. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 1. ศ.ดร.นพ.กมลพร แก้วพรสวรรค์ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 2. ผศ.ดร.ทพญ.จันทร์พิมพ์ หินเทาว์ ศิษย์เก่าคณะทันตแพทยศาสตร์ 3. รศ.ดร.วันดี สุทธรังษี ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 5. ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่ 1. คุณชุติมา อาลิแอ ศิษย์เก่าคณะอุตสาหกรรมเกษตร 2. คุณธเนศ ลีลาภรณ์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 3. อาจารย์ปิติสันต์ มุกดาสกุลภิบาล ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ 4. คุณเรณู รุ่งพันธุ์ ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 5. อาจารย์สุภาพร บุญรุ่ง ศิษย์เก่าคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สิงหาคม - กันยายน 2557
23
การศึกษา
ม.อ.วิชาการ 57 โชว์นวัตกรรม ที่มีประโยชน์ต่อชุมชนภาคใต้
และงานวิจัยพัฒนาเมืองสงขลา หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เชิ ญ ชมงาน ม.อ.วิ ช าการ ประจ� ำ ปี 2557 ภายใต้ แ นวคิ ด “2557 ม.อ.วิชาการ นวัตกรรมสร้างสรรค์สังคม” เพื่อ ถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนจากงานวิจัยที่สั่งสมมาตลอด 46 ปี ในงาน ม.อ.วิชาการ ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 14-15 สิ ง หาคม 2557 ณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ และศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี ให้เยาวชนเรียนรู้ ผลงานวิจัย ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชนภาคใต้ และงานนิ ท รรศการ ตลาดนัดหลักสูตรอุุดมศึกษา ครั้งที่ 18 พบกว่า 100 สถาบันการศึกษา 160 คูหา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยนายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน เปิดงานเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2557
ม
ผศ.ดร.นิวัติ แก้วประดับ รองอธิการบดีฝ่าย วางแผนและการเงิน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานจัดงาน ม.อ.วิชาการประจ�ำปี 2557 กล่าวว่า การจัดงาน ม.อ.วิชาการปีนี้ จัดเป็นครั้งที่ 12 โดยริเริ่ม จัดเมื่อปี 2546 ในปี 2557 ที่เน้นการมีส่วนร่วมของ ชุ ม ชน น� ำ เสนอผลงานวิ จั ย ดี เ ด่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่มีประโยชน์ การแสดงผลงานนวัตกรรมสร้างสรรค์ สังคม ส�ำหรับก�ำหนดการในวิทยาเขตต่างๆ ประกอบด้วย • วิทยาเขตหาดใหญ่ จัดเมื่อวันที่ 14 - 15 สิงหาคม 2557 • วิทยาเขตปัตตานี จัดเมื่อวันที่ 18 - 19 สิงหาคม 2557 • วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จัดเมื่อวันที่ 19 - 20 สิงหาคม 2557 • วิทยาเขตภูเก็ต จัดวันที่ 13 - 14 พฤศจิกายน 2557 • วิทยาเขตตรัง จัดวันที่ 20 - 21 พฤศจิกายน 2557 พร้อมทั้งน�ำเสนองานวิจัยที่ท�ำให้สงขลาเป็นเมืองแห่ง ความสุ ข โดยรวมกลุ ่ ม เพื่ อ แสดงผลงานวิ จั ย 3 กลุ ่ ม ใหญ่ ประกอบด้วย เมืองแห่งการเรียนรู้สู่ชุมชนเข้มแข็ง การศึกษา เส้นทางเขาคอหงส์ การพัฒนาเรียนรู้เด็กประถมศึกษา การ จัดแสดงศูนย์การเรียนรู้ที่ได้รับการฝึกอบรม น�ำครูที่ผ่านการ
24
สิงหาคม - กันยายน 2557
อบรมจากงานวิจัยมาจัดสาธิตการสอนแบบใหม่ การเรียนรู้ สู ่ ค วามมั่ น คงทางอาหารระดั บ ครั ว เรื อ นมี ก ารจั ด สวนสวย เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ในระดับครัวเรือนเพื่อให้เด็กๆ ที่เข้าร่วมได้ความรู้เกี่ยวกับพืชผักต่างๆ ที่สามารถปลูกได้ใน ครัวเรือน เสนองานวิจัยด้านนวัตกรรมในเส้นทางการท่องเที่ยว โดยน�ำงานวิจัยเรื่อง “แอพพลิเคชั่นระบบสืบค้นแหล่ง ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ : อุทยานนกน�้ำทะเลน้อยจังหวัดพัทลุง” และงานวิจัย เรื่อง “โมบายล์แอพพลิเคชั่นระบบสืบค้นและเรียนรู้อัตลักษณ์ อาหารพื้นถิ่นภาคใต้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์”
ด้านการท่องเที่ยวแบบบูรณาการโดยใช้หลัก Green city ซึ่งจะแสดงเส้นทางท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ การจัดน�ำเอาขนม พื้นบ้านมาจัดแสดงพร้อมชิม พร้อมทั้งจัดสาธิตการท�ำขนม ต่างๆ วิถีตลาดน�้ำของจังหวัด สงขลามาจัดแสดง นอกจากนี้ ยังจัดงาน “นิทรรศการตลาดนัดอุดมศึกษา ครั้งที่ 18 เพื่อเผยแพร่ข้อมูลหลักสูตรใน ระดับอุดมศึกษาทั้ง ของไทยและต่ า งประเทศ แก่ นั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง ครู ใน 14 จังหวัดภาคใต้ มีการบรรยาย เรื่อง การปรับระบบการคัดเลือก บุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งระบบแอดมิชชั่น และการรับตรงของมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ปีการศึกษา 2558 โดย ผศ.ดร.พงษ์ อิ น ทร์ รั ก อริ ย ะธรรม ประธานคณะ อนุกรรมการด�ำเนินการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบัน อุดมศึกษา ด้วยระบบกลาง หรือ แอดมิชชั่น เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2557 และ “เรียนวิทยาศาสตร์อย่างไรให้มีใจรักและคิดแบบ วิทยาศาสตร์ โดย ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ า ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ และประชาสั ม พั น ธ์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งนี้มหาวิทยาลัยมุ่งหวังส่งเสริม แนวคิดแบบวิทยาศาสตร์แก่เยาวชน เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2557 นอกจากนี้คณะหน่วยงานในมหาวิทยาลัยยังจัดกิจกรรม เสริมความรู้แก่เยาวชนในภาคใต้ได้แก่ สัปดาห์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 18 - 20 สิงหาคม 2557 มี การแสดงนิทรรศการ และการสาธิตความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ โดยมุ ่ ง เน้ น หั ว ข้ อ “สิ่ ง แวดล้ อ มและพลั ง งาน เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ดี ด้ ว ยวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ” จากงานวิ จั ย ของคณะ วิ ท ยาศาสตร์ ม.อ.รวมทั้ ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมอื่ น ๆ ที่ ส ่ ง เสริ ม การแสดงความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร์ ข องนั ก เรี ย น
การแข่งขันเครื่องบินกระดาษพับ การแข่งขันประกวดโครงการ ด้ า นนาโนเทคโนโลยี นิ ท รรศการแบบจ� ำ ลองศู น ย์ พิ กุ ล ทอง นิทรรศการจากองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ศูนย์ อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออกและหน่วยงานต่างๆ ของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เป็นต้น และมหาวิ ท ยาลั ย ยั ง จั ด งานเกษตรภาคใต้ เมื่ อ วั น ที่ 8-17 สิ ง หาคม 2557 มี นิ ท รรศการ การสั ม นาทางวิ ช าการ ด้านการเกษตร การประกวดพืชผลทางการเกษตร การออกร้าน จ�ำหน่ายสินค้าทางการเกษตร และสินค้าทั่วไป ซึ่งจะช่วยกระตุ้น เศรษฐกิจของภาคใต้อีกด้วย
สิงหาคม - กันยายน 2557
25
การศึกษา
ชมภาพบรรยากาศการจัดงาน ฯพณฯ ชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี ได้ชื่นชม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง แม้ มี ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ที่มีเหตุความไม่สงบเกิดขึ้น แต่สามารถรักษาคุณภาพทาง วิ ช าการไว้ จ นมี ชื่ อ เสี ย ง ได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ อยู ่ ใ นล� ำดั บ แรกๆ ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของไทย และมี ชื่ อ เสี ย งใน ระดับสากล ได้เป็นที่พึ่งของท้องถิ่นภาคใต้ จุดสนใจของงานอยู่ที่ หุ่นยนต์จาร์วิส ผลงาน “ทีม ดงยาง” นั ก ศึ ก ษาภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลสาขา วิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ประสบ ความส�ำเร็จสามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จาก การแข่ ง ขั น RoboCup Japan Open 2014 ณ ประเทศ ญี่ปุ่น ซึ่งมาท�ำหน้าที่ส่งพลุกระดาษในการท�ำพิธีเปิดงาน ดังกล่าว
26
สิงหาคม - กันยายน 2557
เพื่อสังคม/ชุมชน
ม.อ.ร่วมกับ จังหวัดสงขลา กอ.รมน. ซ้อมแผนรักษาความปลอดภัย ณ ส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ.
ม
.อ.ร่วมกับ จังหวัดสงขลา กองอ�ำนวยการ รั ก ษาความมั่ น คงภายใน และหน่ ว ยงาน ต่างๆ รวม 32 หน่วยงาน จัดซ้อมแผนเผชิญเหตุ ตามแผนการรักษาความปลอดภัยเมืองหาดใหญ่ ครั้งที่ 5 ประจ�ำปี 2557 ตามนโยบายคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) เพื่อให้เมืองหลักปราศจากการ ก่อเหตุทุกรูปแบบ เมื่อวันที่ 22 ส.ค. 57 ณ อาคาร ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในแผนเผชิญเหตุ “หาดใหญ่สันติสุข 0557”
ล่อแหลม ดังนั้น แม่ทัพภาคที่ 4 ในฐานะ ผอ.รมน.ภาค 4 จึง ได้ ก� ำ หนดให้ มี ก ารท� ำ แผนรั ก ษาความปลอดภั ย ขึ้ น ในครั้ ง นี้ เพื่ อ ท� ำ การฝึ ก ซ้ อ มในลั ก ษณะบู ร ณาการกั บ ทุ ก ภาคส่ ว นให้ เกิ ด ความพร้ อ มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง แนวทางใน การกู ้ ชี พ กู ้ ภั ย เพื่ อ เข้ า ให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบเหตุ ไ ด้ อ ย่ า ง ทันท่วงที โดยหน่วยฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และ มูลนิธิมิตรภาพสามัคคี (ท่งเซียเซี่ยงตึ๊ง) โดยสมมุติเหตุการณ์ ความไม่ ส งบเกิ ด จากการลอบวางระเบิ ด ขึ้ น ในตึ ก ส� ำ นั ก งาน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ท� ำ ให้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ ในอาคาร นอกจากนี้มีการชิงตัวประกันโดยหน่วยปฏิบัติการ พิ เ ศษ SINGA และการติ ด ตามคนร้ า ยด้ ว ยกล้ อ งวงจรปิ ด CCTV ทั้ ง นี้ การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า ว จะต้ อ งใช้ เ วลาในการ ควบคุ ม เหตุ ก ารณ์ ใ ห้ ร วดเร็ ว ลดความสู ญ เสี ย ให้ น ้ อ ยที่ สุ ด
รศ.ดร.เกริกชัย ทองหนู รองอธิการบดีฝ่ายระบบสารสนเทศ และโครงสร้ า งกายภาพ กล่ า วว่ า ม.อ.จั ด ฝึ ก ซ้ อ มเตื อ นภั ย ที่ นายธ�ำรงค์ เจริญกุล ผู้ว่าราชการ ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี ม.อ. โดยก่ อ นนี้ ไ ด้ จั ด ให้ ก ารซ้ อ มแผน จั ง หวั ด สงขลา เป็ น ประธานในพิ ธี เผชิญเหตุที่หอพักนักศึกษามาแล้ว และได้น�ำข้อมูลที่ได้จากการ เปิดปฏิบัติการซ้อมแผนเผชิญเหตุ ซ้อมไปประมวลผล เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง แก้ไขสถานการณ์ ตามแผนการรักษาความปลอดภัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป และโอกาสนี้ได้จัดให้มีการอบรม การดั บ เพลิ ง ให้ แ ก่ บุ ค ลากรส� ำนั ก งานอธิ ก ารดี โดยวิ ท ยากร เมื อ งหาดใหญ่ ค รั้ ง ที่ 5 ประจ� ำ ปี จากเทศบาลนครหาดใหญ่ และหน่ ว ยดั บ เพลิ ง กองอาคาร 2557 ร่ ว มด้ ว ย รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม.อ. สถานที่ ส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ. รศ.ดร.เกริกชัย ทองหนู รองอธิการบดีฝ่ายระบบสารสนเทศ และโครงสร้ า งกายภาพ พ.อ.ภั ท รเดช แก้ ว บริ สุ ท ธิ์ รองผู ้ อ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน จังหวัดสงขลา นายฉลอง พั ฒ โน รองนายกเทศมนตรี เทศบาลเมื อ งคอหงส์ โดยมี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมซ้อมแผน จ�ำนวน 32 หน่วยงาน พ.อ.ภั ท รเดช แก้ ว บริ สุ ท ธิ์ รอง ผอ.รมน.จังหวัดสงขลา เปิดเผยว่า ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ หรือ คสช. ได้ให้ความห่วงใย ในเรื่องการรักษาความปลอดภัยในเขตเมืองเศรษฐกิจส�ำคัญ จ�ำนวน 7 เมืองหลัก ประกอบด้วย อ.เมืองยะลา, อ.เบตง จ.ยะลา, อ.เมื อ งปั ต ตานี , อ.เมื อ งนราธิ ว าส, อ.ตากใบ อ.สุ ไ หงโกลก จ.นราธิ ว าส และ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เนื่ อ งจากเป็ น พื้ น ที่ สิงหาคม - กันยายน 2557
27
เพื่อสังคม/ชุมชน
ม.อ.และเทศบาลนครหาดใหญ่ ระดมความคิดเห็น
ด้านจราจร ขับเคลื่อนวิสัยทัศน์
“หาดใหญ่ มหานครแห่งความสุข”
ม
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประชุมระดมความ คิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านจราจร ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2557 ณ โรงแรมบุรีศรีภู บู ติ ก โฮเต็ ล หาดใหญ่ โดยมี ผศ.ดร.ไชยวรรณ วั ฒ นจั น ทร์ รองผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก วิ จั ย และ พัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ วิวัฒน์ สุทธิวิภากร หัวหน้าโครงการฯ ผศ.ดร. ศั ก ดิ์ ชั ย ปรี ช าวี ร กุ ล ดร.ปรเมศวร์ เหลื อ เทพ นายนรบดี สาละธรรม และนายแพทย์ รุ ่ ง โรจน์ กั่ ว พานิ ช รองนายกเทศมนตรี น ครหาดใหญ่ นางรุ ่ ง รั ต น์ ชั ย จี ร ะธิ กุ ล นายกสมาคมโลจิ ก ส์ และขนส่งภาคใต้ และผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
28
สิงหาคม - กันยายน 2557
อาจารย์วิวัฒน์ สุทธิวิภากร หัวหน้าโครงการฯ เปิดเผย ว่า การจัดประชุมในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อระดมความคิดเห็นจาก ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย หาข้ อ สรุ ป ทางวิ ช าการพร้ อ มเสนอแนะ นโยบายด้านการจราจรในการน�ำไปเสนอต่อที่ประชุมสมัชชา ประชาชนเทศบาลนครหาดใหญ่ ในเดือนสิงหาคม 2557 ที่ ศูนย์ ประชุมนานาชาติฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นวิ สั ย ทั ศ น์ “หาดใหญ่ มหานครแห่ ง ความสุข” โดยการลดอุบัติเหตุ เพื่อลดการสูญเสียทั้งชีวิตและ ทรัพย์สิน การแก้ไขปัญหาจราจรให้เคลื่อนตัวได้ดี โดยเฉพาะ ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ควบคู ่ กั บ การดู แ ล สิ่งแวดล้อม เนื่องจากการจราจรที่คับคั่งจะท�ำให้เกิดฝุ่น ควัน เสียง ความสั่นสะเทือน และมลพิษต่างๆ ที่ท�ำให้เกิดผลเสีย ต่อสุขภาพของประชาชน และจะมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทิศทางการพัฒนาเมืองหาดใหญ่ ใช้เวลาในการศึกษา 3 เดือน ทั้ ง นี้ เ ทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ จั ด ท� ำ โครงการสมั ช ชา ประชาชนนครหาดใหญ่ เพื่อให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ในการร่ ว มคิ ด ร่ ว มสร้ า ง ร่ ว มท� ำ ตรวจสอบ และร่ ว มแสดง
ดร.ปรเมศวร์ เหลือเทพ
ความคิดเห็น ในการก�ำหนดทิศทาง เป้าหมาย และแนวทาง ในการพัฒนาเทศบาลนครหาดใหญ่ ดร.ปรเมศวร์ เหลื อ เทพ ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ เสนอผลการศึ ก ษาในการประชุ ม ระดมความคิ ด เห็ น จาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านจราจร ว่า จากรายงานด้านอุบัติเหตุจราจรบนทางหลวงแผ่นดิน ของส�ำนักอ�ำนวยการความปลอดภัย พ.ศ. 2556 พบว่าสาเหตุ การเกิดอุบัติเหตุเกิดจาก คน 75.4% ยานพาหนะ 13.8% ถนน และสิ่งแวดล้อม 10.8% ความบกพร่ อ งของผู ้ ขั บ ขี่ สู ง เกิ ด จาก ขั บ รถเร็ ว เกิ น อั ต ราก� ำ หนด ตั ด หน้ า ระยะกระชั้ น ชิ ด และพฤติ ก รรมอื่ น ๆ ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ เ ช่ น เมาแล้ ว ขั บ ขั บ ย้ อ นศร ฝ่ า ไฟแดง ง่ ว งแล้ ว ขั บ โทรแล้ ว ขั บ จอดรถซ้ อ นคั บ ขั บ ช้ า แล้ ว ชิ ด ขวา องค์ ป ระกอบด้ า นผู ้ ขั บ ขี่ ได้ แ ก่ พฤติ ก รรมการขั บ รถ ไม่ปฎิบัติตามกฎจราจร ประสบการณ์ในการขับขี่ ประสาท การรั บ รู ้ การดื่ ม ของมึ น เมา การใช้ ย า ภาวะร่ า งกาย โรค ประจ�ำตัว อารมณ์ ความล้า เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ ลักษณะการเดินทาง ความคุ้นชินเส้นทาง โครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย ข้อมูลจาก ส�ำนักงาน นโยบายและแผนการขนส่ ง และจราจร (สนข.) ปี 2 557
ประกอบด้วย ทางหลวง 62,060 กม. ทางหลวง ท้องถิ่น 148,761 กม. ทางน�้ำ 5,247 กม. ทางรถไฟ 4,043 กม. และมีท่าอากาศยาน 38 แห่ ง และมี แ ผนปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า ง พื้ น ฐาน เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มด้ า นคมนาคม เข้าสู่ AEC ส� ำ หรั บ แผนงานของจั ง หวั ด สงขลา มีโครงการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ได้ แ ก่ งานก่ อ สร้ า งท่ า เรื อ น�้ ำ ลึ ก แห่ ง ที่ 2 จั ง หวั ด สงขลา และโครงการเร่ ง รั ด ขยาย ทางสายประธานให้ เ ป็ น 4 ช่ อ งจราจร (ระยะที่ 2) อยู่ระหว่างการประกวดราคา จ� ำ นวน 13 เส้ น ทาง ซึ่ ง รวมถึ ง เส้ น ทาง ในพื้ น ที่ คื อ นครศรี ธ รรมราช-สงขลา ตอนระโนด-อ� ำ เภอ สทิ ง พระ จั ง หวั ด สงขลา รวมระยะทาง 37,000 กม. และ อยู่ระหว่างการก่อสร้างจ�ำนวน 17 สายทาง มีเส้นทางในพื้นที่ คื อ สามแยกทุ ่ ง หวั ง -บรรจบทางหลวงหมายเลข43 จั ง หวั ด สงขลา รวมระยะทาง 12,100 กม. ส� ำ หรั บ แผนแม่ บ ทการพั ฒ นาระบบขนส่ ง มวลชนใน ภูมิภาค ของส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็ น การพั ฒ นาระบบขนส่ ง มวลชนภายในเมื อ ง หาดใหญ่ ประกอบด้วย 8 เส้นทาง ระยะทางรวม 140 กิโลเมตร และโครงการรถไฟเชื่อมเมืองหาดใหญ่กับอ�ำเภอเมืองสงขลา รวมระยะทางประมาณ 29 กิโลเมตร
สิงหาคม - กันยายน 2557
29
แนะน�ำบุคคล/หนังสือ/หน่วยงาน
ผศ.พญ.ประสิน จันทร์วิทัน ท�ำงาน ณ ปัจจุบันให้ดีและเต็มศักยภาพ
อุปสรรค คือ โอกาสพัฒนา
และได้มาซึ่งประสบการณ์ที่มีคุณค่าที่จะติดตัวเราไปอีกนานแสนนาน นักศึกษาแพทย์รุ่นแรกช่วง 4 ปีแรกของการเรียนยังเป็นนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ โดยคณะวิทยาศาสตร์ได้ร่วมจัดท�ำหลักสูตรส�ำหรับ บั ณ ฑิ ต แพทย์ ร ่ ว มกั บ คณะแพทยศาสตร์ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ริ่ ม เรี ย นวิ ช า ที่เกี่ยวกับแพทยศาสตร์ปลายปีที่ 2 ในช่วงแรกยังไม่มีตึกหรือส�ำนักงาน ของคณะแพทยศาสตร์ที่เป็นรูปธรรม เนื่องจากนักศึกษาแพทย์ยังอยู่ ที่ ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง ต่ า งจากช่ ว งหลั ง ที่ ค ณะแพทยศาสตร์ จั ด หลักสูตรของคณะฯเองตั้งแต่ปีที่ 1 อาจารย์รู้สึกภูมิใจที่ได้เป็นนักศึกษาแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ ม.อ. โดยเฉพาะการเป็นนักศึกษารุ่นแรก ที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนการสอนมาก เนื่องจากในระยะแรกๆ ของการก่อตั้งคณะ แพทยศาสตร์ ยังขาดความพร้อมไม่ว่าจะเป็นอาจารย์สถานที่ อุปกรณ์ และสื่อการสอนต่างๆ ตัวอย่างเช่น ตอนเรียนอยู่คณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาช่วยกันแปลหนังสือประกอบการเรียนซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ แจกเพื่ อ นๆ การเรี ย นห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารต้ อ งไปช่ ว ยอาจารย์ จั บ สุ นั ข ใน บริเวณมหาวิทยาลัยฯ เพื่อมาใช้ในการเรียนวิชาสรีรวิทยา เป็นต้น และ เมื่อเรียนชั้นคลินิกต้องไปใช้โรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งขึ้นกับกระทรวง สาธารณสุข ในขณะนั้นทางโรงพยาบาลหาดใหญ่มีแพทย์ประจ�ำแต่ละ แผนกไม่กี่คน ยังไม่มีแพทย์ฝึกหัดหรือแพทย์ประจ�ำบ้านสาขาต่างๆ ดังนั้นเมื่อนักศึกษาแพทย์รุ่นแรกๆ เริ่มขึ้นเรียนและปฏิบัติงานในโรง พยาบาลตั้งแต่ปีแรก ต้องปฏิบัติตัวเป็นหนึ่งในทีมแพทย์ผู้รักษาผู้ป่วย โดยปริยาย โดยเฉพาะนอกเวลาราชการนักศึกษาแพทย์จะท�ำหน้าที่ แพทย์ เ วรดู แ ลปั ญ หาขั้ น ต้ น ของผู ้ ป ่ ว ย และมี อ าจารย์ ข อง ม.อ.หรื อ โรงพยาบาลหาดใหญ่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษา จากความขาดแคลนดั ง กล่ า ว ท�ำ ให้ นั ก ศึ ก ษารุ ่ น แรกๆ มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น สู ง กระหายที่ จ ะเรี ย นรู ้ และต้ อ งค้ น คว้ า ด้ ว ยตั ว เองมาก นอกจากนี้ เ มื่ อ มี รุ ่ น น้ อ งขึ้ น ปฏิ บั ติ งานชั้นคลินิก การเรียนและปฏิบัติงานในช่วงแรกๆ มีสภาพเดียวกัน นักศึกษารุ่นพี่จะช่วยสอนแบ่งปันความรู้ให้กับรุ่นน้องได้ รุ่นน้องเอง ก็ ตั้ ง ใจตามเรี ย นกั บ รุ ่ น พี่ ซึ่ ง เมื่ อ เวลาผ่ า นไปทุ ก คน ได้ ป ระจั ก ษ์ ว ่ า การเรี ย นที่ เ รามี ใ จอยากรู ้ อ ยากท� ำ และได้ ท� ำ ด้ ว ยตั ว เราเองแล้ ว นั้ น จะเป็ น ความรู ้ ป ระสบการณ์ ที่ ติ ด ตั ว เราไปนาน เวลาสอบเราไม่ ต ้ อ ง อ่ า นหนั ง สื อ หนั ก หามรุ ่ ง หามค�่ ำ ก่ อ นสอบในเวลาไม่ กี่ วั น เหมื อ น นักศึกษาสมัยนี้ จนบางคนเจ็บป่วยก็มี
เหตุผลของการเลือกเรียนแพทย์ที่คณะแพทยศาสตร์ ม.อ. ทั้งๆ ที่ เป็นคณะเพิ่งเปิดใหม่ เหตุ ผ ลหลั ก ในตอนนั้ น เพราะอยากเรี ย น แพทย์ แ ละอยากอยู ่ ใกล้บ้าน เนื่องจากครอบครัวย้ายจากจังหวัดยะลามาอยู่ที่สงขลาและ ประจวบเหมาะที่ ใ นปี นั้ น ม.อ. เปิ ด รั บ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ พ อดี และมี ความคิ ด ว่ าถ้ า ได้ เรี ยนแพทย์เรียนที่ไหน เมื่อจบแล้วก็ได้เป็นแพทย์ เหมื อ นกั น จึ ง ตั ด สิ น ใจเลื อ กที่ นี่ เ ป็ น อั น ดั บ แรก โดยในปี นั้ น ผู ้ ที่ ตั้ ง ใจ จะเรียนแพทย์จะต้องสมัครเข้าเป็นนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ก่อน หลังจากนั้นจะมีการคัดเลือกนักศึกษาหลังส�ำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 1 โดยมีโควต้า 32 คนจากที่สอบเข้ามาทั้งหมด 80 คน เพื่อเรียนต่อใน หลักสูตรแพทยศาสตร์ หลังจากที่รู้ว่าเราเป็น 1 ใน 32 คน ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ในคณะแพทยศาสตร์ ม.อ. รู้สึกภูมิใจและดีใจมาก เพราะการคัดเลือก นักศึกษาให้เรียนแพทย์ต่อในตอนนั้น มีเกณฑ์การคัดเลือกที่มีลักษณะ เฉพาะโดยใช้คะแนนเรียนจาก เกรดของปีที่ 1 ร้อยละ 40 สัมภาษณ์ ร้อยละ 40 คะแนนจากการทดสอบวุฒิภาวะร้อยละ 15 และอีกร้อยละ 5 ได้ จ ากการให้ นั ก ศึ ก ษาปี ที่ 1 ทุ ก คนลงคะแนนเลื อ กเพื่ อ นๆ ที่ คิ ด ว่ า เหมาะที่จะเป็นแพทย์ ในจ�ำนวน 32 คน แต่วิธีการคัดเลือกที่ให้นักศึกษา เข้าเรียนวิทยาศาสตร์ก่อน 1 ปี แล้วค่อยคัดเลือก ไปเรียนแพทย์นั้น ท�ำให้นักศึกษาที่ต้องการเรียนแพทย์จริงๆ โดยที่ไม่ได้ตั้งใจหรืออยาก ที่ จ ะเรี ย นด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ต ่ อ เมื่ อ ไม่ ไ ด้ เ รี ย นแพทย์ ต ่ อ ก็ ไ ด้ ล าออก และสอบเข้ามหาวิทยาลัยใหม่เกือบทั้งหมด เหลือที่เรียนต่อในคณะ วิทยาศาสตร์ไม่ถึง 10 คน ดังนั้นในปีถัดมาคณะแพทยศาสตร์จึงจัดให้ หลังจากที่เรียนจบ เลือกที่จะเป็นอาจารย์สอนที่ นักเรียน สามารถสอบเข้าแพทย์ได้โดยตรงตั้งแต่ปีแรก คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้ ชีวิตของการเป็นนักศึกษาแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย อาจารย์เริ่มท�ำงานในคณะแพทย์ฯ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2526 หลังจากส�ำเร็จ การฝึกอบรมเฉพาะทางได้รับวุฒิบัตรฯสาขากุมาร สงขลานครินทร์
30
สิงหาคม - กันยายน 2557
เวชศาสตร์ จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลแล้ว มูลเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้มาเป็นอาจารย์ในคณะแพทยศาสตร์มีอยู่ หลายข้อ ข้อแรกเพราะอยากเป็นกุมารแพทย์ ตอนแรกก็ลังเลเหมือนกัน ว่าจะออกไปใช้ทุนในกระทรวงสาธารณสุขก่อนและค่อยกลับมาเรียน เฉพาะทางหรือจะสมัครเป็นอาจารย์ของ ม.อ. ซึ่งสามารถเรียนต่อได้เลย หลั ง จากเป็ น แพทย์ ฝ ึ ก หั ด 1 ปี แ ล้ ว ข้ อ สอง เนื่ อ งจากมี อ าจารย์ ข อง ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คือ รศ.พญ.พันธ์ทิพย์ สงวนเชื้อ ขณะนั้น ท่านเป็นหัวหน้าภาควิชาได้มาชักชวนให้เป็นอาจารย์ของภาควิชากุมาร เวชศาสตร์ ซึ่งก�ำลังขาดแคลนอาจารย์ จึงตัดสินใจสมัครรับทุนไปศึกษา ต่อเฉพาะทางสาขากุมารเวชศาสตร์เพื่อกลับมาเป็นอาจารย์ของคณะ แพทยศาสตร์ต่อไป อาจารย์เคยคิดที่จะไปเป็นอาจารย์หรือเป็นแพทย์ ที่อื่นหรือไม่ มีหลายเหตุผลที่ท�ำให้ไม่คิดที่จะท�ำงานที่อื่น เหตุผลหนึ่งเพราะ งานที่ท�ำทุกอย่างลงตัว อะไรๆ ก็เหมาะและดีกับเราอยู่แล้ว ไม่ว่างาน ในการดูแลผู้ป่วยเด็ก โดยเฉพาะด้านทารกแรกเกิดซึ่งเป็นสาขาที่เราชอบ ได้เรียนเพิ่มเติมและสั่งสมประสบการณ์มา ได้สอนนักศึกษา แพทย์ แพทย์ ใ ช้ ทุ น /แพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า นตลอดจนแพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า นต่ อ ยอด สาขากุ ม ารเวชศาสตร์ ท ารกแรกเกิ ด ฯ นอกจากนี้ ช ่ ว งเวลาที่ ผ ่ า นมา สาขาวิ ช าทารกแรกเกิ ด ได้ มี โ อกาสจั ด ท� ำโครงการ พั ฒ นาสมรรถนะ การดูแลทารกแรกเกิดแก่แพทย์และพยาบาล โรงพยาบาลในเครือข่าย และได้จัดประชุมวิชาการและอบรมให้ความรู้แก่แพทย์และพยาบาล ในภาคใต้ทุกปี เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว ตั้งแต่ที่หน่วยงานมีความพร้อม ด้ า นบุ ค ลากร ที่ จ ะท� ำ งานตรงนี้ ไ ด้ จึ ง เห็ น ว่ า ได้ ท� ำ งานที่ เ รารั ก และมีโอกาสได้ท�ำเต็มที่และหลายๆ ด้าน รวมทั้งงานบริการวิชาการ แก่สังคมเมื่อเราอยู่ที่ ม.อ. และจากที่เป็นคนท�ำอะไรก็จะจดจ่อกับสิ่งนั้น ท�ำให้ท�ำงานต่อได้เรื่อยๆ จนเกษียณค่ะ ความประทับใจจากประสบการณ์การท�ำงาน ตั้งแต่การเป็นแพทย์ อาจารย์แพทย์ หัวหน้าภาค สิ่งที่ประทับใจ ถ้าจะให้เลือกอย่างเดียวค่อนข้างตอบยาก เพราะ รู้สึกประทับใจ ทั้งงานในหน้าที่กุมารแพทย์ทารกแรกเกิด และการเป็น อาจารย์ ไ ด้ ส อนนั ก ศึ ก ษาทั้ ง ก่ อ นและหลั ง ปริ ญ ญาในเวลาเดี ย วกั น ซึ่งงานทั้งสองอย่างส่วนใหญ่ท�ำควบคู่กันไป
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความรู้สึกที่มีให้ต่อคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รู ้ สึ ก ภู มิ ใ จที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในประวั ติ ข องคณะแพทยศาสตร์ ใ น ฐานะเป็ น นั ก ศึ ก ษาแพทย์ รุ ่ น แรกและอาจารย์ รุ ่ น แรกๆ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น คณะฯ มี ค วามก้ า วหน้ า มาก มี ก ารด� ำ เนิ น งานที่ ดี มี ก ารพั ฒ นาที่ ไ ม่ เคยหยุด ได้รับการกล่าวถึงในเรื่องเด่น เรื่องดี ที่ใ ครๆ ต้องการมาดู งานไม่ ว ่ า จะเป็ น ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอนหรื อ ด้ า นบริ ก ารดู แ ล ผู้ป่วย แม้จะเกษียณอายุราชการ อาจารย์รู้สึกภูมิใจที่ได้เป็นข้าราชการ บ�ำนาญของคณะแพทยศาสตร์ ที่ไม่มีวันหมดอายุต่อไป นอกจากนี้รู้สึกเป็นหนี้บุญคุณของคณะแพทยศาสตร์ที่ให้อะไรๆ หลายอย่างแก่ตัวเอง ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ ในการเป็น อาจารย์ของคณะฯ ไม่ว่าในฐานะของความเป็นครู ความเชี่ยวชาญ เฉพาะสาขา การบริหารจัดการในฐานะผู้บริหารภาควิชาและทักษะอื่นๆ อี ก หลายอย่ า ง ตลอดจนประสบการณ์ ต ่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ ท� ำ ให้ ส ามารถ ท�ำงานและเกิดความภาคภูมิใจในงานที่ท�ำ ความรู้สึกของอาจารย์กับการได้รับคัดเลือกเป็นอาจารย์ตัวอย่าง ด้านจริยธรรมของคณะแพทยศาสตร์ และการได้รับรางวัลต่างๆ ถ้าให้ตอบตรงๆ ตอนแรกไม่แน่ใจว่าด้วยเหตุผลอะไรคณะฯจึง เสนอให้อาจารย์ได้รับรางวัลด้านจริยธรรม เพราะรู้สึกว่าอาจารย์ก็ท�ำ หน้าที่เหมือนอาจารย์ที่เป็นกุมารแพทย์ทั่วไปคือ เมื่อดูแลผู้ป่วยเด็ก ก็ จ ะดู แ ลตั ว เด็ ก เองให้ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด ให้ เ ขาหายเร็ ว ๆและสุ ข สบายตาม สภาวะของเขาและดูแลจิตใจของพ่อแม่และความรู้สึกนึกคิดของเขา ไปด้วย เมื่ออยากรู้ว่าพ่อแม่คิดอย่างไร ก็ไม่เบื่อที่จะรับฟัง และไม่เบื่อ ที่จะอธิบายหรือแนะน�ำ ยึดหลักเอาใจเขาใส่ใจเรา ในฐานะที่เราเองก็ มีลูก เมื่อลูกเจ็บป่วยเราอยากจะให้หมอดูแลลูกเราอย่างไร เราก็ควร ปฏิ บั ติ กั บ เขาเช่ น นั้ น เหมื อ นกั น ต่ อ มาเมื่ อ ไปร่ ว มในวั น ไหว้ ค รู แ ละ รั บ รางวั ล ได้ ท ราบจากการประกาศเกี ย รติ คุ ณ ของรองคณบดี ฝ ่ า ย แพทยศาสตรศึ ก ษาในปี น้ั น ว่ า เพราะเป็ น ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ใ ห้ ก ารดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย ด้ ว ยหั ว ใจของความเป็ น มนุ ษ ย์ ก็ รู ้ สึ ก ภู มิ ใ จและไม่ คิ ด มาก่ อ นว่ า สิ่ ง ที่ ท� ำ อยู ่ ซึ่ ง รู ้ สึ ก ว่ า เป็ น เรื่ อ งธรรมดาจะเป็ น เรื่ อ งที่ ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล คติในการท�ำงาน คติในการท�ำงานของอาจารย์ คือ ท�ำงาน ณ ปัจจุบันให้ดีและเต็ม ศักยภาพ อาจมีอุปสรรคบ้างแต่ถือเป็นโอกาสให้เราได้พัฒนาวิธีการ แก้ปัญหาและการท�ำงาน และนั่นหมายถึงประสบการณ์ ที่มีคุณค่า ที่จะติดตัวเราไปอีกนานแสนนาน ขอบคุณจากใจ อยากขอบคุณคณะแพทยศาสตร์รวมถึงบุคคลหลายๆ ท่านที่ เกี่ยวข้อง ทั้งอาจารย์ในสาขาวิชาทารกแรกเกิดที่ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อย่ า งดี ด้ ว ยความรั ก และสามั ค คี เ สมอมา อาจารย์ ใ นภาควิ ช าที่ ใ ห้ ความร่วมมืออย่างดีเมื่อสมัยที่อาจารย์ท�ำหน้าที่หัวหน้าภาควิชา ผู้ร่วม งานในหออภิบาลและหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดทั้งพยาบาลและเจ้าหน้าที่ ที่ให้ความร่วมมือในการพัฒนาด้านการดูแลทารกแรกเกิดและบริการ วิชาการแก่สังคมและมีน�้ำใจที่ดีให้แก่กันตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน สุดท้าย ก็ ข อขอบคุ ณ ครอบครั ว ที่ มี ค วามเข้ า ใจและสนั บ สนุ น ให้ อ าจารย์ ไ ด้ ท�ำงานที่รักจวบจนเกษียณ ที่มา ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 229 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม 2557 น.15
สิงหาคม - กันยายน 2557
31
รางวัลแห่งคุณภาพ
ารแข่งขันตอบปัญหาทางจักษุวิทยาของแพทย์ประจ�ำบ้าน ทั่ ว โลก International Council of Ophthalmology (ICO) Quiz ในการประชุ ม World Ophthalmology Congress (WOC) ที่นครโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ประเทศไทยส่งตัวแทนร่วมแข่งขันครั้งนี้จ�ำนวน 2 ทีม ทั้ง 2 ทีมสามารถคว้ารางวัลกลับประเทศไทยได้อย่างน่าชื่นชม โดยหนึ่งในนั้นคือ นพ.จตุพล โชคบุญเปี่ยม แพทย์ ใช้ทุนชั้นปีท่ี 5 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรามาท�ำความ รู้จักกับหมอตาคนเก่งคนนี้กัน
ก
นพ.จตุพล โชคบุญเปี่ยม
แพทย์ ม.อ. คว้ารางวัลจักษุวิทยาฯ โลก เหตุผลที่เลือกเรียนแพทย์ เป็นความตั้งใจทั้งของตัวผมเอง คุณพ่อ คุณแม่ รวมถึง เพื่อนๆ ก็มีส่วนครับ คือในครอบครัวผมยังไม่เคยมีใครเป็น หมอเลย มี ผ มเป็ น คนแรกนี่ แ หละ อี ก ทั้ ง อาชี พ แพทย์ เ ป็ น อาชีพที่มีเกียรติ ถ้าวางตัวเหมาะสมก็จะมีคนนับถือ และได้ ช่วยเหลือผู้ป่วย มีโอกาสเห็นชีวิตคนตั้งแต่เกิดจนตาย ท�ำให้ เราไม่ประมาท สมัยเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียน เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ นๆ ส่ ว นใหญ่ ใ นห้ อ งก็ เ ลื อ กเรี ย น แพทย์ครับ ตอนนั้นผมเลือกสอบเข้าที่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชีวิตการเป็นนักเรียนแพทย์จุฬาฯ มีความสุขมากครับ ระหว่างที่เรียนตอนใกล้จบปี 6 เริ่มดูๆ แล้วครับว่าจะเรียนแพทย์เฉพาะทางด้านใดดี หลายๆคน เลือกเรียนด้านอายุกรรม ศัลยกรรม เป็นต้น แต่ส�ำหรับผม ผมคิดว่าโรคทางด้านจักษุวิทยานั้นน่าสนใจ เพราะดวงตา เป็นอวัยวะที่ส�ำคัญ เมื่อเรียนจบแพทย์ชั้นปีที่ 6 จึงได้เลือก มาสมัครเรียนต่อในสาขาจักษุวิทยาครับ
32
สิงหาคม - กันยายน 2557
เลือกใช้ทุนที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยทั่ ว ไป คิ ด ว่ า ทุ ก คนคงทราบกั น อยู ่ แ ล้ ว แพทย์ จบใหม่ ต้องจับฉลากเลือกสถานที่ใช้ทุนเป็นเวลา 3 ปี แต่ เนื่องจากผมตัดสินใจเลือกเรียนเฉพาะทางด้านจักษุวิทยา ซึ่ ง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น โรงเรียนแพทย์ที่มีระบบแพทย์ใช้ทุนสาขาจักษุวิทยาอยู่ด้วย จึงมาสมัครเรียนต่อที่นี่เลย ไม่ต้องจับฉลากเหมือนคนอื่น รู้สึกอย่างไรกับการมาเรียนและใช้ทุนใน คณะแพทยศาสตร์ ม.อ. รู ้ สึ ก ทึ่ ง มากกั บ ระบบคอมพิ ว เตอร์ ข องโรงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ เพราะสะดวกมาก ท� ำ ให้ ล ดภาระเรื่ อ ง งานเอกสาร อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบประวัติผู้ป่วยได้ง่าย ท�ำให้ระบบการนัดผู้ป่วย การตรวจผู้ป่วยนอก การดูผล Lab เป็นไปอย่างรวดเร็ว ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจรักษา ผู้ป่วยด้วยครับ
สิ่งส�ำคัญที่สุดของการท�ำหน้าที่จักษุแพทย์ คงเป็นเรื่องการรักษาดวงตาของผู้ป่วยรวมถึงความ สามารถในการมองเห็นให้ได้เท่าคนปรกติให้มากที่สุด ซึ่ง ในบางครั้ง บางโรคเป็นเรื่องที่ยากที่จะท�ำให้ผู้ป่วยกลับมา มีสายตาที่ดีดังเดิมได้ เพราะถ้าหากมีการเสียของประสาทตา ก็ไม่สามารถรักษาได้ คล้ายๆ กับโรคสมองเสื่อมนั่นแหละ ครับ สิ่งที่พอจะช่วยได้คือการชะลอการเสื่อมของประสาทตา ให้ผู้ป่วยมองเห็นได้นานที่สุดครับ การท�ำงานหน้าที่ในปัจจุบันเป็นอย่างไร แตกต่างจากตอนเป็นนักศึกษาแพทย์อย่างไร ในแง่ของความรับผิดชอบครับ เพราะตอนเป็นนักเรียน แพทย์ เรายั ง ไม่ ไ ด้ มี วุ ฒิ ฯ ยั ง ไม่ ไ ด้ มี ใ บประกอบวิ ช าชี พ เวชกรรม การดู แ ลรั ก ษาผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งอยู ่ ใ นความดู แ ลของ อาจารย์แพทย์ทุกราย ต่างกับตอนนี้ซึ่งเรียนจบแล้ว ถือว่า เป็นแพทย์เต็มตัว มีใบประกอบวิชาชีพแพทย์ การดูแลรักษา ผู ้ ป ่ ว ยเป็ น การตั ด สิ น ใจของเรา ความรั บ ผิ ด ชอบก็ ต ้ อ งมี มากขึ้นเป็นธรรมดาครับ อีกทั้งยังต้องเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ แพทย์รุ่นน้อง หรือการประพฤติตัว การวางตัวให้เหมาะสม กับวิชาชีพแพทย์ที่มีต่อสังคม เพื่อให้การเป็นแพทย์นั้นยังเป็น อาชีพที่มีเกียรติ เป็นที่พึ่งของประชาชนได้เวลาเจ็บป่วยครับ
พูดถึงรางวัลที่ได้รับล่าสุด เป็ น รางวั ล การแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หาทางวิ ช าการของ แพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า นจั ก ษุ วิ ท ยาจากการประชุ ม WORLD OPHTHALMOLOGY CONGRESS OF THE INTERNATIONAL COUNCIL OF OPHTHALMOLOGY (WOC 2014) จั ด ขึ้ น ที่ ก รุ ง โตเกี ย ว ประเทศญี่ ปุ ่ น โดยผมเป็ น หนึ่ ง ในที ม ตั ว แทนจากประเทศไทย ไปแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หารายการนี้ ซึ่งผลการแข่งขัน ได้รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง หนทางการได้เป็นตัวแทนประเทศไทย ไปแข่งขันใน ครั้งนี้เริ่มต้นจากที่ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย จัดให้มีการคัดเลือกแพทย์ประจ�ำบ้านที่มีคะแนนสูงสุด 3 คนแรก จากการตอบปัญหาในงานประชุมวิชาการประจ�ำปี ที่จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศไปแข่งขัน ซึ่งผม ติด 1 ใน 3 และรุ่นพี่อีก 2 คนจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นตัวแทนในปีนี้ครับ ในเวลานั้ น รู ้ สึ ก ดี ใ จมากแล้ ว ที่ ไ ด้ เ ป็ น ตั ว แทน ประเทศไทย ไปแข่งขันงานนี้เพราะเป็นงานประชุมใหญ่ของ จักษุแพทย์ทั่วโลก ตอนที่ไปแข่งที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เมื่ อ ที ม ไทยสามารถผ่ า นเข้ า รอบ และได้ ร างวั ล ชนะเลิ ศ ก็ ยิ่ ง ดี ใ จมาก เพราะถื อ ว่ า เป็ น รางวั ล ใหญ่ ข องแพทย์ ประจ�ำบ้านสาขาจักษุวิทยาเลยครับ อะไรคือสิ่งที่ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน ต้องเริ่มจากความพอใจในงานที่เราท�ำครับ ส�ำหรับผม ผมได้เรียนวิชาจักษุวิทยา ซึ่งเป็นสาขาที่ผมเลือกมาเรียน อยู ่ แ ล้ ว ครั บ ก็ จ ะมี ค วามสุ ข ในการท� ำ งานทุ ก วั น จากนั้ น ก็ต้องใช้ความพยายาม วิชาจักษุวิทยาค่อนข้างยาก และ ละเอียด ต้องหมั่นดูผู้ป่วย และอ่านหนังสือเป็นประจ�ำ ค้นหา ความรู้ใหม่ๆ อยู่ตลอด แบ่งเวลาให้เป็น ตั้งใจไว้ว่าจะต้อง เป็นจักษุแพทย์ที่เก่งให้ได้ ฝากขอบคุณ ทิ้งท้าย ขอบคุณทุกคนที่มีส่วนให้ผมประสบความส�ำเร็จ ได้ รางวั ล จากการแข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ แ ละสามารถสร้ า งชื่ อเสีย ง ให้ กั บ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ขอบคุณอาจารย์ภาควิชาจักษุวิทยา ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์ แห่งประเทศไทย และรุ่นพี่จักษุแพทย์ทุกท่านที่ช่วยติวก่อน การแข่งขัน ขอบคุณครับ
ที่มา ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 229 ประจ�ำเดือนพฤษภาคม 2557 หน้า 24-26
สิงหาคม - กันยายน 2557
33
แนะน�ำหนังสือ
แนะน�ำหนังสือ
“ลองแล..งานวิจัยใน ม.อ.6”
ห
นั ง สื อ เผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย ของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นรู ป แบบที่ ผู ้ อ ่ า นสามารถท� ำ ความเข้ า ใจได้ ง ่ า ย มี เนื้อหาสั้นๆ โดยใช้ชื่อหนังสือว่า ลองแล..งาน วิ จั ย ใน ม.อ. เล่ ม ที่ ท ่ า นก� ำ ลั ง อ่ า นอยู ่ นี้ เ ป็ น เล่ ม ที่ 6 ซึ่ ง เป็ น ผลงานวิ จั ย ของนั ก วิ จั ย ใน มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ไ ด้ ท� ำ การเผยแพร่ ใ นปี 2557 ผู ้ ส นใจต้ อ งการรายละเอี ย ดในผลงานวิ จั ย เรื่องใดๆ สามารถติดต่อขอรายละเอียดจาก นั ก วิ จั ย ตาม E-mail ที่ ไ ด้ ร ะบุ ใ นหน้ า แรกของ บทความ
34
สิงหาคม - กันยายน 2557
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดย ส� ำ นั ก วิ จั ย และ พัฒนา มีนโยบายท�ำการเผยแพร่ผลงานวิจัยของนักวิจัยใน มหาวิทยาลัยในรูปแบบต่างๆ เช่น ส่งเสริมให้นักวิจัยตีพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติและระดับชาติ การน�ำผลงานวิจัยไปจัดแสดงนิทรรศการในระดับต่างๆ ทั้ง ในระดั บ นานาชาติ ระดั บ ชาติ ระดั บ ภู มิ ภ าคและระดั บ ท้องถิ่น การส่งผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐ์ ไปร่วมแข่งขัน ในเวทีต่างๆ ทุกระดับ การส่งเสริมให้นักวิจัยไปน�ำเสนอผล งานวิชาการในที่ประชุมวิชาการ สัมมนาทางวิชาการ การจัด บรรยาย เสวนาทางวิชาการ การรวบรวมผลงานวิจัย โดยย่อ จัดท�ำเป็นหนังสือลองแล...ผลงานวิจัยใน ม.อ. ตลอดจน การรวบรวมองค์ความรู้ในงานวิจัยตามยุทธศาสตร์วิจัยของ มหาวิทยาลัยที่นักวิจัยได้ท�ำการวิจัยมาอย่างต่อเนื่องและ ยาวนานจนก่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา น�ำมารวบรวมจัดท�ำเป็นหนังสือชุดความรู้ ม.อ. หนังสือชุดความรู้ ม.อ.ได้จัดพิมพ์มาแล้ว 9 ฉบับ ได้แก่ ชุ ด ความรู ้ อ นามั ย แม่ แ ละเด็ ก 1 เล่ ม การจั ด การภั ย พิ บั ติ ธรรมชาติในภาคใต้ 1 เล่ม ปัญหาชายแดนใต้ 1 เล่ม ปาล์ม น�้ำมัน 4 เล่ม และยางพารา 2 เล่ม ดังตัวอย่างในหน้าปก หนั ง สื อ ลองแลฉบั บ นี้ ผู ้ ส นใจสามารถเข้ า อ่ า นเนื้ อ หาชุ ด ความรู้ทั้ง 9 เล่ม ได้ที่เว็บไซต์ส�ำนักวิจัยและพัฒนาที่ http:// rdo.psu.ac.th/index.php/dissemination/knowledge และหนังสือ ลองแล...ผลงานวิจัยใน ม.อ. ทั้ง 6 เล่ม ก็สามารถ เข้ า ดู ฉ บั บ ออนไลน์ ไ ด้ ที่ http://rdo.psu.ac.th/index. php/dissemination/knowledge เช่นกัน เนื้ อ หาในฉบั บ ประกอบด้ ว ย 3 ส่ ว น ส่ ว นที่ ห นึ่ ง ของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ งานวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย วิจัย แห่งชาติ ส่วนที่ 2 งานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ ว นที่ 3 งานวิ จั ย สาขาสั ง คมศาสตร์ แ ละมนุ ษ ยศาสตร์ ส� ำ นั ก พิ ม พ์ บริ ษั ท โอ เอส พริ้ น ติ้ ง เฮ้ า ส์ จ� ำ กั ด กรุ งเทพฯ จ�ำนวน 196 หน้า ปีที่พิมพ์สิงหาคม 2557 ผู้สนใจสอบถามรายละเอียดได้ที่ ส�ำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทร 0 7428 6959 โทรสาร 0 7421 2839 http://rdo .psu.ac.th/rdo/TH\ E-mail: rdo@group.psu.ac.th
ลงนามความร่วมมือ
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ลง นามสั ญ ญา พั ฒ นาสิ น ค้ า และอาหารฮาลาล สู่อาเซียน โดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นายนิ พ นธ์ บุ ญ ญามณี นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา เป็ น ประธานในพิ ธี ล งนามสั ญ ญา โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ปาฐกถา พิเศษ เรื่อง บทบาทมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการพัฒนาสินค้าฮาลาลสู่ตลาดอาเซียน
นั
ลงนามพัฒนาสินค้า
และอาหารฮาลาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มี คณะวิชาที่มีศักยภาพในการพัฒนา ผู ้ ป ระกอบการให้ มี ค วามสามารถ ผลิ ต สิ น ค้ า ไปสู ่ ม าตรฐาน และ สามารถแข่งขันได้ ตลอดจนสามารถ ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพส่ ง ออก ต่างประเทศ โดยใช้ทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ภายในประเทศ เป็น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต สิ น ค้ า โดยประเทศไทยเป็ น ผู ้ ส ่ ง ออกอาหาร ฮาลาลสู่ตลาดโลกมากที่สุดในอาเซียนและติดอันดับ 5 ของโลก และมีศักยภาพในการให้บริการตามหลักฮาลาล ทั้งด้านท่องเที่ยว สาธารณสุ ข ท� ำ ให้ รั ฐ บาลไทยส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การ ขยายตั ว ด้ า นฮาลาลมากขึ้ น หลาย ๆ ประเทศในอาเซี ย นมี ความพร้อมในการเป็นศูนย์อาหารฮาลาลโลก ดังนั้นการรวมตัว ของประเทศในประชาคมอาเซียนจะมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริม ให้ประชาคมอาเซียนเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกอาหาร ฮาลาลโลก จึ ง ควรสร้ า งความร่ ว มมื อ ในระดั บ ภู มิ ภ าคให้ เ ป็ น เอกภาพและเป็นที่ยอมรับของประเทศสมาชิก ทั้งนี้ภายในงานมีการจัดบูทของร้านและหน่วยงานต่าง ๆ และจัดการบรรยายในหลายหัวข้อดังนี้
การบรรยาย เรื่อง ความรู้เบื้องต้น ในการผลิตอาหารฮาลาล โดย ดร.กิตติ เจิดรังสี รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนา สถาบันฮาลาล การบรรยาย เรื่อง การ แปรรู ป และการยื ด อายุ ก ารเก็ บ ด้ ว ย เทคโนโลยี ก ารอาหาร โดยผศ.ดร. เสาวคนธ์ วั ฒ นจั น ทร์ อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร การบรรยาย เรื่ อ ง ทิ ศ ทางการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ และบริการฮาลาลสู่ตลาดอาเซียน โดย ผศ.ไพรัช วัชรพันธ์ อดีตอาจารย์คณะ วิทยาการจัดการ ปัจจุบันผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นการตลาดฮาลาลและการงาน ตามด้วยการบรรยาย เรื่อง การพัฒนา บรรจุ ภั ณ ฑ์ สู ่ ต ลาดสากล และ เรื่ อ งเราจะยกระดั บ คุ ณ ภาพ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อ ย่ า งไรให้ สู ่ ต ลาดอาเซี ย น โดย คุ ณ ฉั ต รชั ย ระเบียบธรรม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยอดคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
สิงหาคม - กันยายน 2557
35