1
2
ข่าวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ผ่านสื่อมวลชน เดือนตุลาคม 2557-2 ข่าวมหาวิทยาลัยผ่านสื่อมวลชน เดือนตุลาคม 2557-1 เรื่อง
หน้า
1. ดร.สมพร ช่วยอารีย์ ธรรมชาติเป็นเพื่อนไม่ใช่ภัย
2
2. ศูนย์ประชุมนานาชาติ ม.อ. ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.22300
4
3. สธ. เตรียมเพิ่มแล็บตรวจเชื้ออีโบลาเพิ่มในภูมิภาค 3 แห่ง คณะแพทยศาสตร์ มช. มอ. และขอนแก่น
11
4. จัดแถลงข่าวคอนเสิร์ต “BBA For The Heroes 2 อ๊อฟ ป็อบ ว่าน”
13
5. ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม รับรางวัลรองอันดับที่ 1 True Innovation Awards 2014 17
3
ดร.สมพร ช่วยอารีย์ ธรรมชาติเป็นเพื่อนไม่ใช่ภัย+-+ฟ้ากว้าง http://www.dailynews.co.th/Content/Article/271484/ธรรมชาติเป็นเพื่อนไม่ใช่ภัย+-+ฟ้ากว้างเดลินิวส์ วันอาทิตย์ 5 ตุลาคม 2557 ธรรมชาติเป็นเพื่อนไม่ใช่ภัย+-+ฟ้ากว้าง
สัปดาห์ข้างหน้า พี่น้องทางภาคใต้จะเผชิญความเสี่ยงพายุฝนฟ้าคะนอง คลื่นลมแรง จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ซัดมา น้าป่าหลาก น้าท่วมฉับพลัน ดินโคลนถล่ม อาจเกิดกับแห่งหนต้าบลใดก็ได้ ใน 14 จังหวัดทั่วภาค ที่แล้วมา เรามักตังรับหลังเหตุ คือช่วยเหลือกู้ภัย ให้อาหาร จัดการอพยพ เพิ่งจะวางแผนก่อนเกิด มีระบบเตือนภัย หรือส้ารองพืนที่หลบหลีก เมื่อไม่นานมานี คนที่สนใจปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ จะเคยได้ยินชื่อ ดร.สมพร ช่วยอารีย์ ที่น้ารายงานและการคาดการณ์สภาพ อากาศทางภาคใต้อยู่บ่อย ๆ บนเว็บไซต์ www.pbwatch.net ของโครงการพีบีวอทช์ ซึ่งเป็นงานพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนและเครือข่ายทางสังคมเพื่อการ จัดการสาธารณภัย: กรณีศึกษาอ่าวปัตตานี บริการวิชาการที่มีให้ชาวบ้าน ดร.สมพร มีงานประจ้า เป็นอาจารย์วิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แต่ใช้ความรู้ที่มีออกให้ค้าแนะน้าเตือนภัยให้ชาวบ้านในอาณาบริเวณ ที่ให้บริการได้ แถวพืนที่ จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และบางส่วนของ จ.สงขลา เช่น อ.เทพา อ.นาทวี วิธีที่ ดร.สมพร ท้าคือ จัดกิจกรรมแนะน้าชาวบ้านให้เตรียมตัวล่วงหน้า คาดหมายปัญหาและวางระบบรับมือในระดับ ครอบครัวและชุมชน สอนให้ติดแผงโซลาร์เซลล์ หรือเซลล์สุริยะ น้าแสงแดดเป็นพลังงานส้าหรับใช้ในยามฉุกเฉิน ไม่ว่าจะเป็นการหุงข้าว สูบน้า ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างตู้เย็น แนะน้าการท้ากังหันลม เพื่อแปลงเป็นกระแสไฟฟ้าอัดเก็บในแบตเตอรี่ โดยไม่ใช้ศาสตร์ลึกล้า เอาพืนฐานความรู้สมัย เรียนมัธยมลองผิดลองถูกเหมือนกัน นอกจากสอนชาวบ้านที่รวมกลุ่มกันร้องขอ อาจารย์ท้าตัวอย่างเอง ด้วยการติดตังแผงเซลล์สุริยะไว้บนหลังคารถ ส่วนตัว บางครังก็ติดตังใบพัดบนหลังคา รับลมมาแปลงเป็นพลังไฟฟ้า แล้วเปลี่ยนมาติดตังที่กันชนหน้า พบว่าชาร์จ ไฟได้ดีกว่า วิ่งไป 200 กม.ได้พลังงานเต็มปรี่แบตเตอรี่เชียว อาจารย์แนะว่าแทนที่จะคิดว่า พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นภัย ก็เปลี่ยนให้เป็นมิตรหรือน้ามาใช้ประโยชน์ วันที่พายุเข้า แรงลมมหาศาล ก็คิดหาทางดักพลังงานไว้ใช้ แสงแดด เป็นทรัพยากรอย่างเดียวที่ยังไม่ถูกท้าลายหรือเสียหายเหมือนป่า เขา ท้องทะเล ลงทุนซือแผงมาติดตังบน หลังคาเพื่อแปลงเอาไฟฟ้ามาใช้
4 ราคาแผงเซลล์สุริยะขณะนีลดจาก 3–4 หมื่นบาท มาเหลือ 3–4 พันบาท และแม้ผู้มีรายได้น้อยจะรู้สึกว่ายังแพง แต่ เทียบกับอายุใช้งานถึง 25 ปี หรือช่วงความคุ้มทุนในระยะ 7 ปี ก็เหมาะสมที่จะลงทุน การรับมือกับสาธารณภัยเป็นหน้าที่ของภาครัฐ แต่ส้าหรับชาวบ้านผู้ต้องเผชิญความเดือดร้อน การเตรียมรับมือเป็น ภาระที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงควรคิดวางแผนเฉพาะหน้าเข้าไว้ ดร.สมพรบอกว่าการเตรียมรับภัยที่คนทั่วไปควรพัฒนามี 3 ส่วน คือ 1.องค์ความรู้ทางเทคนิค 2.เตรียมอาหาร ส้ารองให้อยู่ได้อย่างน้อย 7 วัน หรือนานกว่านัน 3.จัดเตรียมพลังงาน ส้าหรับชุมชนทั่วไป จะใช้ไฟ แค่เสียบปลั๊กทุกอย่างก็ท้างานได้ น้าดื่มน้าใช้ แค่เปิดก๊อก หรือเข้าร้านสะดวกซือ ก็มี เหลือเฟือ แต่ในยามฉุกเฉิน บริการเหล่านีอาจใช้ไม่ได้เลย การพัฒนา จัดหา เตรียมของใช้ ของกิน ตุนเป็น ส่วนตัว เป็นการใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท และไม่ใช่ความสินเปลือง เสียเปล่า การพัฒนาพลังงานจากแสงแดด ก็ช่วยลดรายจ่ายค่าไฟฟ้า อาหารที่ตุนก็หมุนเวียนรับประทานใน ชีวิตประจ้าวันได้ การฝึกปฏิบัติ จะท้าให้เกิดองค์ความรู้ส้าหรับแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเมื่อเผชิญเหตุ เริ่มเรียนรู้วันนี จึงไม่สาย พายุฟ้าคะนองกว่าจะมาอีกตัง 2 สัปดาห์ ถึงตอนนัน ถ้ามีน้าท่วมถึงหลังคา หากเตรียมการทัง 3 ส่วนไว้ ก็จะไม่ต้องรอถุงยังชีพเปล่า ๆ แต่จะมีข้าวปลาหุงด้วยหม้อไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์รับประทานจนกว่าน้าจะลด ห้ามฝนฟ้าไม่ได้ ก็ปรับตัวให้อยู่ร่วมกันได้ด้วยดีจะเท่กว่า วีระพันธ์ โตมีบุญ veeraphant@gmail.com
5
ศูนย์ประชุมนานาชาติ ม.อ. ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.22300 http://talung.gimyong.com/index.php?topic=321563.msg1903436;topicseen กิมหยง 7 ต.ค.57 ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ม.อ. รับ มอก.22300 พร้อมเดินหน้าเข้าสู่ AEC
6
7
http://www.posttoday.com/ธุรกิจ-ตลาด/ข่าวธุรกิจ-ตลาด/322794/เอ็นซีซียกระดับศูนย์ประชุมหาดใหญ่ กวาดรายได้เพิ่ม โพสต์ทูเดย์ 7 ตุลาคม 57 เอ็นซีซียกระดับศูนย์ประชุมหาดใหญ่กวาดรายได้เพิ่ม
เอ็นซีซีลุยต่อปั้นศูนย์ประชุมหาดใหญ่กวาดงานจัดปีหน้าเพิ่ม20% ชู มอก.22300 โชว์มาตรฐานปลอดภัยสากล นายศักดิ์ชย ั ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้ จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ ในฐานะผู้ บริหารศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี หาดใหญ่กล่าวว่า ตลอด 6 ปีที่บริหารศูนย์ประชุมนานาชาติฯ หาดใหญ่ มีผลการด้าเนินงานเติบโตต่อเนื่อง แม้มีสถานการณ์ไม่ปกติ เกิดบ่อยครัง ปีนีคาดว่าศูนย์ประชุมนานาชาติฯ หาดใหญ่ จะมีผลประกอบการใกล้เคียงปีทีผ่านมาที่ 50 ล้านบาท สัดส่วนการจัดงาน เป็นการจัดประชุม สัมมนา 53% การจัดนิทรรศการ แสดงสินค้า 19% งานเลียง งานแต่งงาน 12% คอนเสิร์ต งานแสดง 4% การจัดกิจกรรมพิเศษ (สเปเชียล อีเว้นท์) 11% และคาดว่าปี 2558 จ้านวนงานที่ จัดที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ หาดใหญ่ มีแนวโน้มเพิ่มขึนกว่า 20% จากปีนีส้าหรับแนวทางการผลักดันศูนย์ประชุม นานาชาติฯ หาดใหญ่ให้เติบโตในอนาคต จะเน้นให้ศูนย์ประชุมมีมาตรฐานสากล โดยที่ผ่านมาได้ย่น ื ขอสถาบัน รับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) เข้าร่วมท้ามาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัย มอก. 22300 ซึง่ เครื่องหมายนีถือเป็นการ รับประกันคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สร้างความเชื่อมั่นระบบรักษาความปลอดภัยให้ลูกค้าและผู้ที่เข้ามาใช บริการในศูนย์ประชุมแห่งนี ช่วยเพิ่มขีดสามารถแข่งขันของศูนย์ประชุมกับนานาชาติ นายนพรัตน์ เมธาวีกุลชัย ผูอ ้ ้านวยการ สสปน. กล่าวว่า การที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ หาดใหญ่ ได้ มอก. 22300 จะเป็นเครื่องมือส้าคัญส้าหรับท้าตลาดและขาย สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ประกอบการด้านไมซ์เลือกไทยเป็นจุดหมาย จัดงาน โดยศูนย์ประชุมนานาชาติฯ หาดใหญ่ เป็นผู้ ประกอบการไมซ์รายที่ 5 ที่ได้รับมอก. 22300 ก่อนหน้านี รายทีได้ไปแล้ว คือู ศนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค ศูนย์การแสดงสินค้าและ การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี และศูนย์ประชุมและแสดงสินค้าพีช เมืองพัทยา
8
http://thainews.prd.go.th/centerweb/news/NewsDetail?NT01_NewsID=WNSOC5710090010001 สวท.สงขลา 9 ตุลาคม 2557 ฃ ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ม.อ. ได้รับมาตรฐาน มอก.22300 พร้อมเดินหน้าสู่ AEC ปี 2558
http://www.bangkokbiznews.com/home/news/pr-center/detail-news.php?id=44459
9
กรุงเทพธุรกิจ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ศูนย์ประชุมนานาชาติหาดใหญ่ได้รับ มอก.22300 พร้อมเดินหน้าเข้าสู่ AEC
แถลงข่าวในโอกาสที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบบ๖๐ปี หาดใหญ่ มีความปลอดภัยใน การจัดประชุม นิทรรศการ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้ จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จากัด ในฐานะผู้ บริหาร ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ปี หาดใหญ่ นายจงรักษ์ โรจน์พลาเสถียร รองผู้ อานวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) พร้อมด้วยตัวแทนผู้ บริหารสานักงานส่ง เสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ร่วมงานแถลงข่าวในโอกาสที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ๖๐ปี หาดใหญ่ ได้ รับ มอก. 22300 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยสาหรับการจัดประชุม สัมมนา และ นิทรรศการ พร้อมก้าวเข้าสู่ AEC ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี หาดใหญ่
10
http://psuradio88.com/2014/index.php?option=com_content&view=article&id=208:22300&catid=91:20 14-01-22-04-20-34&Itemid=1303 สถานีวทิ ยุ ม.อ.หาดใหญ่ ศูนย์ประชุม ม.อ.หาดใหญ่ ชู “มอก.22300” เสริมจุดแข็งด้านความปลอดภัยแห่งแรกในภาคใต้
ศูนย์ประชุมนานาชาติ+ฉลองสิริราชสมบัตค ิ รบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตอกย้าจุดแข็งในฐานะสถานที่จัดงานประชุมสัมมนา และแสดงนิทรรศการสินค้า ด้วยมาตรฐาน มอก.22300 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) ซึ่งเป็นการรับประกันคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากลด้านการจัดการรักษาความปลอดภัยส้าหรับการจัดประชุม สัมมนา และนิทรรศการ หรือ MICE Security Management System (MSMS) โดยเป็นผูป ้ ระกอบการรายที่ 5 ของประเทศไทยที่ได้รับมาตรฐาน มอก.22300 ต่อจากศูนย์การ ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี และศูนย์ประชุม และแสดงสินค้าพีช เมืองพัทยา รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนา ปรับปรุงศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครอบ 60 ปีอย่างต่อเนือ ่ ง ส้าหรับมาตรฐาน มอก.22300 ทีไ่ ด้รับนี ถือเป็นการยืนยันว่า ศูนย์ประชุมมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นแก่ลูกค้าและผู้ใช้บริการได้เป็นอย่างดี “ประโยชน์ที่ ม.อ.ได้รับ คือ เราได้มาตรฐานรักษาความปลอดภัยที่อยู่ในระดับสากล ขณะเดียวกันก็ไปเชื่อมโยงในส่วนของ มหาวิทยาลัยด้วย เพราะฉะนันในภาพใหญ่ก็ท้าให้ระบบรักษาความปลอดภัยของเรามีประสิทธิภาพมากขึน และท้าให้คนทีม ่ ารับบริการมี ความมั่นใจในการมาใช้บริการมากขึน ถ้าเรามองในเชิงของการค้าก็เหมือนเป็นการยกระดับศูนย์ประชุมของเราขึนมาอีกระดับหนึ่ง กลายเป็นศูนย์ประชุมทีม ่ ีมาตรฐาน เวลาลูกค้ามา หรือชาวต่างมาก็จะมีความเชื่อมั่นมากขึน” อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว ด้านนายศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ้ากัด ในฐานะผู้บริหารศูนย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัตค ิ รบ 60 ปี กล่าวว่า ตลอด 6 ปีทบ ี่ ริหารศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีมีผลการ ด้าเนินงานเติบโตต่อเนื่องมาโดยตลอด การได้รับมาตรฐาน มอก.22300 จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นแก่ลูกค้าทังชาวไทยและชาวต่างชาติ นอกจากนีในปีหน้าก็จะยื่นขอการรับรองมาตรฐาน ISO 20121 ซึ่งเกี่ยวกับการจัดการและบริหารธุรกิจอีเวนท์อย่างยั่งยืนด้วย นายศักดิ์ชัย เปิดเผยเพิ่มเติมว่า ถ้ามองในแง่การตลาด มอก.22300 ก็เหมือนเป็นสิ่งที่จะช่วยส่งเสริม หรือบอกกล่าวคนทั่วไปว่าศูนย์ ประชุม ม.อ.หาดใหญ่ได้มม ี าตรฐานด้านการรักษาความปลอดภัยที่ดี ทังนีในอนาคตเรามองไปในเรื่องการให้ความยั่งยืนในการจัดงาน กับลูกค้า หรือที่เรียกว่า ISO 20121 ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้ลูกค้าทีม ่ าจัดงาน หรือศูนย์ประชุมให้ความรู้ และสร้างมาตรฐานในการ บริการ เช่น อาหารเครื่องดื่มที่เข้ามาเสิร์ฟในงานมากจากไหน มี โลว์คาร์บอนอย่างไร และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง ลูกค้าที่เข้ามาจัดงานที่นี่จะต้องรับรู้ว่าอาหารมีที่มาที่ไป ไม่ท้าลายสิ่งแวดล้อม เพื่อที่จะสร้างจิตส้านึกให้กับคนไทย และคนที่มาจัดงานที่นี่ ตระหนักถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมที่เราจะส่งต่อให้ลูกหลานเราใน อนาคตต่อไป ซึ่งเป็นสิ่งที่ดม ี ากในการช่วยกันลดภาวะโลกร้อนด้วย ขณะเดียวกัน นายจงรักษ์ โรจน์พลาเสถียร รองผู้อ้านวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) เปิดเผยว่า ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยงสงขลานครินทร์ ได้รับมาตรฐาน มอก.22300 เป็นแห่งแรกของภาคใต้ และเป็นศูนย์ประชุม และจัดแสดงสินค้าส่วนภูมิภาคเพียง 1 ใน 2 แห่งที่ได้รับมาตรฐาน มอก.22300 ซึ่งมีความส้าคัญในระดับสากล การได้รับ มอก.นีจะท้า ให้การดูแลรักษาความปลอดภัยเป็นไปอย่างมีระบบขันตอน ทังส้าหรับผูป ้ ฏิบัตห ิ น้าที่ ผู้ร่วมงาน และ กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึนภายในศูนย์ ประชุมฯ โดยมีระบบเอกสารที่สามารถน้าไปปฏิบัติจริงได้เป็นขันตอนตามที่มาตรฐานก้าหนด ซึ่งมาตรฐาน มอก.22300 นีจะมีอายุ 3 ปี โดยจะมีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อรักษามาตรฐานไว้ให้คงที่ และหลังจากครบ 3 ปีก็จะมีการตรวจสอบเพื่อรับรองมาตรฐาน ใหม่อีกครัง ทังนี การขอรับรองมาตรฐานต่างๆ ล้วนเป็นเครื่องมือส้าคัญที่จะช่วยส่งเสริมธุรกิจ รวมถึงการสร้างความมั่นใจแก่ผู้จัดงานและผู้เข้าชม การมีศูนย์ประชุมที่ได้มาตรฐานในระดับสากลจึงเป็นจุดแข็งอีกอย่างหนึ่งของเมืองหาดใหญ่ และ จ.สงขลา ซึง่ ไม่ได้เกี่ยวเนื่องเพียงแค่ การจัดประชุมสัมมนา หรือแสดงสินค้า เท่านัน แต่ยังเป็นการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น ต่อยอดไปยังธุรกิจอื่น ทังที่พัก อาหารหารการกิน และแหล่งท่องเที่ยวด้วย
11
สธ. เตรียมเพิ่มแล็บตรวจเชื้ออีโบลาเพิ่มในภูมิภาค 3 แห่ง คณะแพทย มช. มอ. และขอนแก่น www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9570000114942 ASTVผู้จัดการออนไลน์ 6 ตุลาคม 2557 สธ. เตรียมเพิ่มแล็บตรวจเชื้ออีโบลาเพิ่มในภูมิภาค 3 แห่ง คณะแพทยศาสตร์ มช. มอ. และขอนแก่น หวังเพิ่มศักยภาพประเทศ
สธ. เตรียมเพิ่มแล็บตรวจเชื้ออีโบลาเพิม ่ ในภูมิภาค 3 แห่ง คณะแพทยศาสตร์ มช. มอ. และ ขอนแก่น หวังเพิ่มศักยภาพประเทศ นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวภายหลังประชุมวอร์รูมเพือ ่ ติดตามประเมินสถานการณ์โรคติดเชือไวรัสอีโบลา ว่า องค์การอนามัยโลกรายงานสถานการณ์ล่าสุดถึง วันที่ 1 ต.ค. มีผู้ปว่ ยโรคอีโบลา 7,470 ราย เสียชีวต ิ 3,431 ราย พบผู้ปว่ ยใหม่ในรอบ 21 วัน เพิ่มขึนใน 3 ประเทศ ได้แก่ ไลบีเรีย กินี และ เซียร์ราลีโอน รวม 2,866 ราย เสียชีวิต 1,031 ราย มากที่สด ุ คือ ไลบีเรีย มีผู้ป่วย 1,427 ราย พืนที่ระบาดประมาณร้อยละ 71 ของพืนที่ใน 3 ประเทศดังกล่าว ส่วน สถานการณ์ในประเทศไนจีเรีย และ เซเนกัล สามารถควบคุมโรคได้ ไม่มผ ี ู้ป่วยในรอบ 21 วัน ส่วนที่ ประเทศดีอาร์คองโก สธ. ได้ตด ิ ตามสถานการณ์อย่างใกล้ชด ิ เพราะจากการประเมินความเสี่ยง มีความ เป็นไปได้ทอ ี่ าจจะมีผต ู้ ด ิ เชือจากพืนที่ระบาดเดินทางเข้ามาเช่นเดียวกับสหรัฐอเมริกา จึงต้องคง 5 มาตรการความพร้อมในการรับมืออยูต ่ ลอดเวลา คือ 1. ประเมินความเสี่ยงและการเฝ้าระวังสัญญาณ อาการป่วย 2. ระบบสอบสวนป้องกันโรค 3. ระบบการดูแลรักษาของโรงพยาบาล 4. ระบบการตรวจทาง ห้องปฏิบต ั ก ิ าร และ 5. การสื่อสารความเสี่ยง นพ.ณรงค์ กล่าวว่า ปัจจุบันระบบการตรวจเชืออีโบลาทางห้องปฏิบต ั ิการสามารถท้าได้ 2 แห่ง คือ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทังนี ได้เตรียมประสานกับ คณะแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอีก 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา และมหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น เพื่อให้สามารถตรวจ ยืนยันเชือได้รวดเร็วขึน และย่นระยะเวลาเดินทางส่งไปตรวจที่ กทม. โดยมอบหมายให้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นผู้ประสานงาน ด้าน นพ.โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค (คร.) กล่าวว่า สถานการณ์ผู้เดินทางเข้ามาใน ประเทศไทยจากประเทศที่มก ี ารระบาดตังแต่วันที่ 8 มิ.ย. - 5 ต.ค. มีทังหมด 1,961 คน ส่วนใหญ่มาจาก ไนจีเรียและกินี ยังไม่พบรายใดมีไข้ ส่วนด้านงบประมาณในการเตรียมพร้อมรับมือโรคติดเชือไวรัสอีโบ ลา ขณะนีได้รับอนุมต ั ิจากงบกลางในการป้องกันโรควงเงิน 99.5 ล้านบาท ส้าหรับเป็นค่าตอบแทนเสี่ยง ภัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทีเ่ กี่ยวข้อง การจัดซืออุปกรณ์ป้องกัน เช่น ชุดปฏิบต ั ิงานของเจ้าหน้าที่ รวมทัง วัสดุที่ใช้ในห้องตรวจปฏิบัตก ิ าร พัฒนาห้องตรวจโรคทีด ่ ่านสุวรรณภูมิ และการจัดซ้อมแผนบูรณาการ ระหว่างกระทรวงกับหน่วยงานอื่น “ขณะนีองค์การอนามัยโลกก้าลังช่วยเหลือผูป ้ ่วยโรคอีโบลาในกลุ่มประเทศแอฟริกาตะวันตก แต่ พบว่ามีปญ ั หาเตียงไม่พอ และขาดบุคลากรจ้านวนมาก สหประชาชาติมีความต้องการบุคลากรจาก นานาชาติประมาณ 656 คน เพื่อด้าเนินการแก้ไขสถานการณ์ใน 5 ประเด็น คือ 1. หยุดการระบาด 2. รักษาพยาบาล 3. ดูแลระบบอุปโภคบริโภคสาธารณสุข 4. การรักษาเสถียรภาพ ความมั่นคงประเทศ และ 5. การป้องกันการแพร่กระจายเชือสูป ่ ระเทศอื่น โดย สธ.จะประสานหน่วยงานที่มห ี น่วยงานในการ พิจารณาให้ความช่วยเหลือในฐานะประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกต่อไป” อธิบดี คร. กล่าว
12
http://www.thairath.co.th/content/455018 ไทยรัฐออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2557 สธ.ดึง มข.-มช.-ม.สงขลาฯ เสริมกาลังแล็บตรวจอีโบลา
13
http://www.hfocus.org/content/2014/10/8301 สานักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ 2014-10-06 สธ.เพิ่ม 3 แล็บตรวจเชือ้ อีโบลาในภูมิภาค “มข.-มช.-ม.สงขลาฯ”
14
จัดแถลงข่าวคอนเสิร์ต “BBA For The Heroes 2 อ๊อฟ ป็อบ ว่าน” http://thainews.prd.go.th/centerweb/news/NewsDetail?NT01_NewsID=TNPBH5710180010011 สวท.สงขลา 18 ตุลาคม 2557 มอ.แถลงจัดคอนเสิรต์ “12 th Year BBA for the Heroes 2 Concert” ช่วยเหลือครอบครัวผูไ้ ด้รับ ผลกระทบจากความไม่สงบ 3 จชต.
15
http://news.hatyaiok.com/?p=204816 หาดใหญ่โอเค 18/10/2014 อ๊อฟ-ป๊อป-ว่าน เตรียมตบเท้าร่วมเวทีคอนเสิร์ตการกุศล“12 th Year BBA for the Heroes 2”
16
http://songkhlatoday.com/paper/104597 สงขลาทูเดย์ 21-10-2557 คอนเสิร์ต ?12 th Year BBA for the Heroes 2 Concert? ช่วยจชต.
17
http://www.psuradio88.com/2014/index.php?option=com_content&view=article&id=213:bba-12-thyear-bba-for-the-heroes-2-concert-7&catid=92:2014-01-22-04-20-57&Itemid=1304 สถานีวทิ ยุ ม.อ. 88 29 ตุลาคม 2557
18
ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม รับรางวัลรองอันดับที่ 1 True Innovation Awards 2014 http://talung.gimyong.com/index.php?topic=326472.0 Gimyong วันที่ 25 ต.ค.57 ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม สุดยอดนวัตกรรมผลงานจากคณะวิทย์ ม.อ.
19
http://thainews.prd.go.th/centerweb/News/NewsDetail?NT01_NewsID=TNICT5710260010002 สวท.สงขลา 26 ตุลาคม 2557 นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ได้รับรางวัลนวัตกรรมในเวทีระดับประเทศ Innovation Awards 2014 ชุดทดสอบ สังกะสีภาคสนาม
20
http://www.trueinnovationawards.com/contestant_detail.php?cat=25&id=623 True Innovation Center ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม (Zinc field test kit)
การทดสอบสังกะสีภาคสนามเช่น ในน้ายางพารา ในดิน และในปุ๋ย มีความส้าคัญและจ้าเป็นต้องท้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากปริมาณของสังกะสีจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคอุตสาหกรรมและภาคการเกษตร ตัวอย่างใน ภาคอุตสาหกรรม หากในน้ายางมีสังกะสีมากเกินไปจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพและการผลิตยาง เช่น การ ผลิตจุกนมยาง และถุงมือยาง เป็นต้น เนื่องจากจะท้าให้น้ายางหนืด และจะเกิดครีมแข็งขณะให้ความร้อนใน กระบวนการขึนรูป ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้มาตรฐาน และอาจจะต้องยกเลิกการผลิต สร้างความสูญเสียให้การ อุตสาหกรรมยาง ดังนันการทดสอบสังกะสีในน้ายางภาคสนามจึงมีความส้าคัญต่อโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อน้าไปใช้พิจารณาหรือ ด้าเนินการปรับความเข้มข้นของสังกะสีในน้ายางก่อนส่งเข้ากระบวนการผลิต ขณะที่ในภาคการเกษตรโดยเฉพาะ พืนที่เพาะปลูกพืชที่ไวต่อภาวะขาดธาตุสังกะสี เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่ว ชา กาแฟ เป็นต้น หากพืชได้รับ สังกะสีในปริมาณที่ไม่เพียงพอจะท้าให้ระบบชีวเคมีถูกท้าลาย ส่งผลให้เติบโตได้ไม่สมบูรณ์ ผลผลิตต้า่ คุณภาพ ไม่ดี เป็นโรคได้ง่าย เนื่องจากเกษตรกรมักจะปลูกพืชเชิงเดี่ยว ปลูกในพืนที่เดิม ซ้าๆ เมื่อนานวันเข้า พืช เจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ ผลผลิตต้่า ในกรณีรุนแรงจะแคระแกร็น สุดท้ายจะแก้ปัญหาด้วยการเร่งใส่ปุ๋ยโดยไม่รู้ว่าดิน ขาดธาตุสังกะสี ดังนันหากสามารถวัดหรือทราบค่าปริมาณสังกะสีได้ก่อนก็จะช่วยลดขันตอนและลดความสูญเสียได้ เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนีท้าให้พบว่าการทดสอบสังกะสีในดินภาคสนามจึงมีความส้าคัญและจ้าเป็นต้องท้าอย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้ เกษตรกรสามารถติดตามสภาวะของธาตุสังกะสีในดิน ลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ย และท้าให้ปุ๋ยที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ในกรณีที่ดินขาดธาตุสังกะสีเกษตรกรจะใช้ปุ๋ยที่มีส่วนผสมของธาตุสังกะสีหรือปุ๋ยสังกะสี (ซิงก์ซัลเฟต) และ เนื่องจากราคาปุ๋ยมีการปรับตัวสูงขึนท้าให้มีการผลิตและการจ้าหน่ายปุ๋ยปลอมเพิ่มขึน (ปุ๋ยปลอมคือปุ๋ยที่มีปริมาณ ธาตุอาหารพืชไม่ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณที่ระบุไว้บนฉลากสินค้า) ดังนันการทดสอบสังกะสีในปุ๋ยจึงมี ความส้าคัญต่อเกษตรกรเพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกซือ และต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบปุ๋ย ปลอมเพื่อใช้ในการเฝ้าระวัง และจับคุมผู้กระท้าผิด คณะผู้วิจัยได้ประดิษฐ์ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนามที่ใช้งานง่ายทังในและนอกสถานที่ สะดวกในการพกพา ได้ผล รวดเร็ว ใช้สารเคมีน้อย ราคาถูก ลดการน้าเข้าจากต่างประเทศ และสามารถทดสอบสังกะสีเชิงคุณภาพที่ระดับ ความเข้มข้นต่างๆ ได้ตามความต้องการ ไม่ว่าจะเป็นการทดสอบสังกะสีในน้ายางพารา ในดิน และในปุ๋ย และเพื่อ เป็นการประเมินประสิทธิภาพการใช้งานชุดทดสอบสังกะสีภาคสนามที่ประดิษฐ์ขึน ผู้วิจัยได้ทดสอบชุดทดสอบ ดังกล่าว ในตัวอย่างน้ายางพารา ดิน และปุ๋ย และเปรียบเทียบผลการทดสอบ ที่ได้กับเทคนิคมาตรฐานอินดักทีฟ รี่คัฟเปิลพลาสมาออพติคัลอีมิสชั่นสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ (Inductively Coupled Plasma–Optical Emission Spectrometer, ICP-OES)