กรอบเวลาและกระบวนการจัดสอบในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศีกษา ปีการศึกษา 2559

Page 1


- การเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย :? - ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษามหาวิทยาลัย : • มีความหลากหลายในระบบ? • กรอบเวลา? • บทบาทของโรงเรียน/ครู • เป้าหมายของนักเรียน



มหาวิทยาลัย (รัฐ+เอกชน) • เปิ ดรับนักเรียนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย - หลากหลายสาขา - หลากหลายรูปแบบ/วิธีการ - หลากหลายช่วงเวลาสมัคร/คัดเลือก หลากหลายสาขา : ข้อมูล - จํานวนมหาวิทยาลัยที่เปิ ดรับ (>170 แห่ง) - จํานวนสาขาวิชาที่เปิ ดรับ(> 4,000 สาขาวิชา) - จํานวนที่เรียนในสาขาต่างๆ ในมหาวิทยาลัย (> 500,000 ที่นงั ่ ) - จํานวนผูส้ มัครเข้าสอบ (> 300,000 คน)


การรับตรง

- คัดเลือกโดยการสอบ - ไม่สอบ/สมัคร ตามเงือ่ นไขที่ มหาวิทยาลัยกําหนด *การสอบของกลุม่ กสพท. *การรับตรง/โควต้า - ผ่าน Clearing House - ไม่ผ่าน Clearing House *Admissions


ปี 2559 : เปิ ดเทอมใหม่!!


หลากหลายช่วงเวลาสมัคร/คัดเลือก ่ ภาคเรียนที1/58

(ระบบทวิภาค) กิจกรรม

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ภาคเรียนที่ 2/58 ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

ม.คี .

การร ับตรงของมหาวิทยาล ัยต่างๆ ั ) กสพท.(แพทย+์ ทนตฯ ้ั ่ 1 GAT/PAT ครงที

สอบสาม ัญ 9 วิชา สอบ O-NET

้ั ่ 2 GAT/PAT ครงที

ประกาศผลสอบ O-NET

์ learingHouse นร.ยืนย ันสิทธิ C

Admissions

ปี การศึกษา

’59 ประกาศผลแอดมิชชัน่ 5 มิ.ย.59

ภาคฤดูร ้อน 58 เม.ย.

พ.ค.

ม.ยิ .

ก.ค.

ภาคเรียนที่ 1/59 ส.ค.

ก.ย.


ระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ประจํ าปี การศึกษา 2559 • ใช้ผลของคะแนน

O-NET  / GPAX

• GAT/PAT

• วิชาสามัญ 9 วิชา 


O-NET : Ordinary National Education Test *รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ !! สทศ.ปรับลด การทดสอบ O-NET ของ สทศ. จากเดิม 8 กลุม่ สาระฯ เหลือ 5 กลุม่ สาระฯ (คณิ ตฯ,วิทย์,อังกฤษ,สังคมศาสนา และวัฒนธรรม) *อีก 3 กลุม่ สาระการเรียนรู ้ : สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะและการงานอาชีพ และเทคโนโลยี – ให้โรงเรียน ออกข้อสอบและดําเนิ นการสอบเอง เริ่มในปี การศึกษา 58


O-NET(30%)+GPA(20%)X =50%

กลุม่ สาระฯ คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ อังกฤษ ไทย สังคมฯ สุขศึกษา/การงานอาชีพ/เทคโนโลยี

เดิม 5 5 5 5 5 5

ใหม่(59) 6 6 6 6 6 -


• O-NET สําหรับปี การศึกษา’58 สอบ ก.พ.’59 • ประกาศผล O-NET มี.ค.’59 *ตรวจประกาศ สทศ. ?*


สถิตคิ ะแนน O-NET ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ประจําปี การศึกษา 2557


สถิตคิ ะแนนเฉลี่ย O-NET ย้อนหลัง • เพิม่ ปี 57


การใช้ผล O-NET ในการคัดเลือกฯ • ใช้ในการรับตรง(บางสาขาวิชา/มหาวิทยาลัย) • ใช้ในการคัดเลือก เข้าในสาขาแพทย์(กสพท.) • ใช้ในการพิจารณาคัดเลือก Admissions *ไม่ใช้ผล O-NET ถ่วงนํ้ าหนัก GPA


การสอบ O-NET


การสอบ GAT ความถนัดทัว่ ไป (GAT) คือ การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสําเร็จ แยก ได้ 2 ส่วน คือ 1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปญั หา 50% 2. ความสามารถในการสือ่ สารภาษาอังกฤษ 50%


การสอบ PAT ความถนัดทางวิชาชีพหรือวิชาการ(PAT) คือความรูท้ ่เี ป็ นพื้นฐานที่จะเรียนต่อในวิชาชีพนั้นๆ กับ ศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้นๆ ให้ประสบ ความสําเร็จมี 7 ประเภท คือ 1. PAT 1 ความถนัดทางคณิ ตศาสตร์ 2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ 3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ 4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู 6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ 7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ

PAT 7.1 ภาษาฝรัง่ เศส PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.3 ภาษาญี่ปนุ่ PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.5 ภาษาอาหรับ PAT 7.6 ภาษาบาลี


* ดูประกาศ สทศ. อีกครัง้ หนึ่ ง


ข้อปฏิบตั สิ าํ หรับผูเ้ ข้าสอบ GAT/PAT • • • • •

แสดงบัตรประชาชน เข้าห้องสอบช้าไม่เกิน 30 นาที ปากกา+ดินสอดํา 2B ห้ามโทรศัพท์/เครื่องคิดเลข/นาฬกิ าที่คาํ นวณและถ่ายรูปได้ ห้ามเปิ ดข้อสอบอ่านก่อนได้รบั อนุ ญาต


กําหนดการจัดสอบ GAT/PAT สําหรับ Admissions ประจําปี การศึกษา 2559 กิจกรรม รับสมัครสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 1/2559 กําหนดสอบGAT/PAT ครัง้ ที่ 1/2559 กําหนดสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 2/2559 ประกาศผลสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 1/2559 ประกาศผลสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 2/2559

กําหนดการ 1-20 ก.ย.58 29 ต.ค.58-1 พ.ย.58 5-8 มี.ค.59 12 ม.ค.59 12 เม.ย.59



จํานวนร้อยละของผูเ้ ข้าสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 1/2558 จําแนกตามช่วงคะแนนของผูเ้ ข้าสอบทัง้ หมด


จํานวนร้อยละของผูเ้ ข้าสอบ GAT/PAT ครัง้ ที่ 2/2558 จําแนกตามช่วงคะแนน


คุณสมบัตขิ องระบบ E-SCORE ก. ระบบ E-SCORE เป็ นระบบพิมพ์รายงานผลสอบโอเน็ ต ม.6 และ GAT/PAT อัต โนมัติ (SELFSERVICE) ข. มี ล ายเซ็ น ของผู ้อํา นวยการสถาบัน ทดสอบทางการศึ ก ษา แห่งชาติและมี BarCode จึงจะมีสถานะเป็ นใบรายงาน ผลสอบ ที่ ส ามารถนํ า ไปใช้ย่ื น สมัค รเข้า ศึ ก ษาต่ อ หรื อ เพื่ อ จุดประสงค์อน่ื ค. ผู เ้ ข้า สอบไม่ จํา เป็ นต้อ งเดิ น ทางมาที่ ส ถาบัน ฯ เพื่อ ขอใบ รายงานผลสอบ ง. ถ้าผูเ้ ข้าสอบเดินทางมาที่สถาบัน ฯ เพื่อขอใบรายงานผลสอบ ก็ ต้องดําเนิ นการพิมพ์ใบรายงานผลสอบด้วยตนเองเช่นกัน และ เสียค่าบริการฉบับละ 30 บาท (รวมค่ากระดาษและพิมพ์ส)ี จ. ผูเ้ ข้าสอบยังสามารถยื่นขอใบรายงานผลสอบทางไปรษณี ยไ์ ด้ เหมือนเดิม (ฉบับละ 30 บาท ไม่รวมค่าแสตมป์ ไปรษณี ย)์

อัตราค่าบริการขอรายงานผลสอบโอเน็ ต และ GAT/PAT ฉบับละ 20 บาท(ไม่รวมค่าบริการ เคาเตอร์เซอร์วสิ ครัง้ ละ 10 บาท) วิธชี ําระเงินค่าบริการ ก. ผ่านเค้าเตอร์เซอร์วสิ ทุกแห่งทัว่ ประเทศ (ค่าบริการ 10 บาท/ครัง้ )



ขัน้ ตอน การคัดเลือก

กิจกรรม

กําหนดการ

รับสมัครสอบ

1-20 ต.ค.58

กําหนดการสอบ

26-27 ธ.ค.58

ประกาศผลสอบ

8 กุมภาพันธ์ 2559


วิชาสามัญ

วิชา

• • • • • • • • •

ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ คณิ ตศาสตร์ 1 คณิ ตศาสตร์ 2  วิทยาศาสตร์ทวั ่ ไป ฟิ สิกส์ เคมี ชีวศึกษา


การจัดการทดสอบวิชาสามัญ 9 วิชา เพือ่ รองรับการรับตรงร่วมกัน ประจําปี การศึกษา 2559 1. คุณสมบัตขิ องผูส้ มัครสอบ เป็ นผูท้ ่กี าํ ลังศึกษาอยู่ในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 หรือเทียบเท่า หรือผูท้ ่จี บการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ขึ้นไป ทัง้ นี้ ผูป้ ระสงค์จะสมัครสอบวิชาสามัญ 9 วิชา จะต้องศึกษาคุณสมบัติ และเงือ่ นไขใน การนํ าผลคะแนนไปใช้ในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อของคณะ และสถาบันอุดมศึกษาที่ใช้ ระบบรับตรงผ่านเคลียริ่งเฮาส์ (Clearinghouse) หรือสถาบันที่ตอ้ งการใช้คะแนน วิชาสามัญ 9 วิชา ก่อนสมัครสอบ


การจัดการทดสอบวิชาสามัญ 9 วิชา เพือ่ รองรับการรับตรงร่วมกัน ประจําปี การศึกษา 2559 3. ค่าสมัครสอบ วิชาละ 100 บาท (ยังไม่รวมค่าธรรมเนี ยมของผูใ้ ห้บริการรับชําระเงิน)

*

4. จังหวัดที่จะเปิ ดสนามสอบ

4.1 กรุงเทพมหานคร 4.2 จังหวัดเชียงใหม่ 4.3 จังหวัดขอนแก่น 4.4 จังหวัดสงขลา

* ตรวจสอบจากประกาศของ สทศ. อีกครัง้ หนึ่ง


จํ านวนร้อยละของผูเ้ ข้าสอบ การทดสอบวิชาสามัญ 7 วิชา (ปี 2557) เพือ่ รองรับระบบการรับตรงร่วมกันในช่วงคะแนนจํ าแนกตามรายวิชา



GPAX = ?

GPAX คือ เกรดเฉลี่ยจากผลการเรียนตลอด 6 เทอม (ม.4 – ม.6) ของนักเรียน ทางโรงเรียนจะจัดส่ง GPAX ของนักเรียนทุกคนไปยัง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นักเรียนจึงควรตรวจสอบค่า GPAX ของตนเองและถ้ามีขอ้ ผิดพลาดจะได้ขอให้ทางโรงเรียนแก้ไข ก่อนที่จะมีการจัดส่ง


เตรียมพร้อมสอบ แพทย์-ทันตะ ปี 2559 กลุม่ สถาบันแพทย์ศาสตร์แห่งประเทศไทย(กสพท.)


สถาบัน/คณะ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต(โรงพยาบาลราชวิถ)ี วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต(โรงพยาบาลเลิดสิน) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (ชาย) วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (หญิง) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทันตแพทยศาสตร์ มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวม

จํานวนรับ(คน)


เกณฑ์การคัดเลือก (กสพท.) สูๆ้ นะ ปี การศึกษา 2559 เกณฑ์ยงั เหมือนกับ ปี การศึกษา 2558 • วิชาเฉพาะแพทย์ 30% 70% • 7/9 วิชาสามัญ • วิทยาศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี ชีวะ 40% (28%) • คณิ ตศาสตร์ 20% (14%) • อังกฤษ 20% (14%) • ไทย 10% (7%) 10% (7%) • สังคมศึกษา 100% (70%) รวม



คะแนน สูงสุด-ตํา่ สุด ปี การศึกษา 2557

กลุ่มสถาบัน แพทย์ศาสตร์ แห่งประเทศไทย (กสพท.)



ข้อดีของระบบนี้ คือ 1. เราจะทราบว่ามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีท่วี ่างจริงๆ เท่าไร เพราะจากรับตรงแล้ว แต่ละมหาวิทยาลัยจะส่งข้อมูลที่ว่างนี้ ไปคัดเลือกในระบบ Admissions กลางต่อไป 2. ในกรณี นกั เรียนที่สอบติดหลายที่ และไปยืนยันสิทธิ์หลายแห่ง ทําให้ส้ นิ เปลือง แต่ระบบนี้ จะช่วยในการคัดเลือก และช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ย


อ้างอิงจาก http://www.cuas.or.th/quota/document/adm55_flowchart.pdf


การยืนยันสิทธิ์รบั ตรงในระบบ Clearing House กิจกรรม

กําหนดการ

มหาวิทยาลัย/สถาบัน/กลุม่ สถาบันที่เข้าร่วม Clearing House ส่ง รายชื่อผูผ้ ่านการคัดเลือกไปยัง สอท. จัดทําข้อมูลสําหรับประกาศให้ นร.ยืนยัน สิทธิ์ นร.ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย/สถาบัน/กลุม่ สถาบันที่ตนได้รบั คัดเลือก สอท.ประกาศรายชื่อผูย้ นื ยันสิทธิ์ในระบบรับตรงของมหาวิทยาลัย/สถาบันและ กลุม่ สถาบัน

22 เม.ย.2559

26-29 เม.ย.2559 6 พ.ค.2559



• GPAX 20% • O-NET 30% (5 กลุม่ สาระวิชา) • GAT • PAT

10-50% 0-40%

50% 100% 50%


องค์ประกอบและค่าร้อยละในระบบ admissions กลาง

ทปอ: นํ้าหนัก Admissions

2559 ทุกกลุม่ สาระ ยังคง GPAX 20% และ O-NET 30%(5กลุม่ สาระฯ)


กิจกรรม จําหน่ ายระเบียบการคัดเลือกในระบบกลาง(Admissions) ปี การศึกษา 2559 รับสมัครแอดมิชชัน่ ชําระเงินค่าสมัคร ผูส้ มัครตรวจสอบคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือก ประกาศผูม้ ีสทิ ธิ์สอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย สอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ประกาศผูม้ ีสทิ ธิ์เข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

กําหนดการ 6-17 พ.ค.2559 10-17 พ.ค.2559 10-19 พ.ค.2559 24-25 พ.ค.2559 5 มิ.ย.2559 14-17 มิ.ย.2559 1 ก.ค.2559


สถาบันที่รว่ มการคัดเลือก 1. สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ - มหาวิทยาลัย / สถาบัน 24 แห่ง - มหาวิทยาลัยราชภัฏ / ราชมงคล 2. สถาบันอุดมศึกษาของรัฐสังกัดหน่ วยงานอืน่ 3. สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

รวมทัง้ สิ้น

จํานวนรับ ปี การศึกษา 2557 102,985 (79,308) (23,677) 1,166

จํานวนผูม้ ีสทิ ธิ์เข้าสอบสัมภาษณ์ ปี การศึกษา 2557 75,595 (63,568) (12,027) 353

42,403

4,932

146,554

80,880


- บทบาทของโรงเรียน/ครู  การเตรียมความพร้อมสู่สถาบันอุดมศึกษา


Global/Regional Driving Force สมศ. โรงเรียน

ครอบครัว/ ผูป้ กครอง

สทศ. O-NET

UNET?

นโยบายรัฐ

การเตรียมความพร้อม(นร.)สู่ สถาบันอุดมศึกษา

กระแสปัจจุบนั • เตรียมความพร้อมอย่างไร? • เตรียมอย่างที่ควรเตรียมแล้ว?

สถาบันอุดมศึกษา

GAT/PAT Admissions

ทปอ./กสพท./ฯลฯ


Human Development Report (UNDP) * Educational Index *H.D-High

Medium

Low

-Singapore -Brunei -Malaysia

-Philippines -Indonesia -Vietnam -Thai -Laos -Cambodia

-Myanmar


การสร้างทักษะด้านภาษา

Degree / Non-Degree Certification

Korean



สรุป  นร.ควรจะเลือกทิศทางในอนาคตอย่างไร? • ตามความถนัด/ความชอบ ตัดสินใจกําหนดทางเลือกในอนาคต • เตรียมความพร้อมสําหรับอนาคตตัง้ แต่ ปี 2558 ไปอีก 40 ปี ข้างหน้า?


คําถามเกี่ยวกับการเลือกคณะ/สาขาวิชา เรียนสาขานี้ จบ แล้วจะทํางาน อะไร

ควรเลือกสาขาที่ชอบ หรือที่มีงานรอบรับ

คําถาม สาขาที่ชอบแต่ คะแนนถึงควร เลือกหรือไม่

สาขาที่ชอบแต่ คะแนนไม่ถงึ ทํา ยังไง




ช่วงเวลาการเรียนรู้/การทํางาน/ประสบการณ์ชีวิต  x1 x1.5     18 27 0 การศึกษา อุดมศึกษา/ พืน้ ฐาน มหาวิทยาลัย

 x6

 x2 63

x1.5 75 ช.

การทํางาน/การอยู่ร่วมในสังคม

เป้ าหมาย

??

85 ญ.


ก่อนขึน้ หลังม้า ชายหนุ่มคนหนึ่ ง พ่อส่งให้ไปเรียนในเมืองใหญ่ เมื่อเขาเรียนจบ และได้เป็ นบัณฑิต เขาจึงกลับมาบ้าน พ่อของเขานัน้ ดีใจมากที่ลกู ชายเรียนจบเป็ นบัณฑิต จึงมอบ "ม้าวิเศษ" ให้ตวั หนึ่ งเป็ นของขวัญ มันเป็ นม้าที่มีรปู ทรงสวยงาม แข็งแรง มีฝีเท้าเยี่ยม และอายุยืนยาวไม่มีวนั แก่ เขาดีใจมากกับของขวัญของพ่อ จึงรีบกระโดดขึน้ หลัง ม้า แล้วควบมันออกไปจากหมู่บา้ นอย่างรวดเร็ว "บัณฑิตหนุ่มบนหลังม้า" ช่างดูสง่างามยิ่งนัก ใครเห็นก็ต่างหยุดมองอย่างชื่นชม ทําให้เขารูส้ ึกภาคภูมิใจและมีความสุขมาก

ดังนัน้ นับตัง้ แต่วนั ที่ได้รบั ม้าเป็ นของขวัญ เขาจึงควบม้างามตัวนัน้ เดินทางไปเรือ่ ยๆ ผ่านเมืองนัน้ ผ่านเมืองนี้ พบผูค้ นมากมาย จนหลายปี ผ่านไป อายุของเขาก็มากขึน้ เรือ่ ยๆ ในที่สดุ เขาก็กลายเป็ นคนชราคนหนึ่ ง ในขณะที่ม้างามตัวนัน้ ยังคงแข็งแรง สวยงาม อยู่ เช่นเดิม เมื่อเขาเดินทางผ่านหมู่บา้ นใด เสียงที่เคยร้องชื่นชม ก็กลับกลายเป็ นเสียงหัวเราะด้วยความขบขันถึง "ตาแก่บนหลังม้าวิเศษ"


ก่อนขึน้ หลังม้า(ต่อ) ตัวเขาเองนัน้ ก็ไม่ได้รสู้ ึกสนุกไปกับการขี่ม้าอีกแล้ว เพราะสังขารอันร่วงโรยไป ทําให้ไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนในอดีต ส่วนเจ้าม้านัน้ ก็เริ่มไม่ชอบที่ตาแก่ ไม่ยอมควบแข่งความเร็วอย่างท้าทาย เหมือนเมื่อ ตอนหนุ่มๆ ทัง้ คู่จึงเดินทางไปด้วยกันอย่างไร้จิตวิญญาณ ตาแก่กอ็ ยากลงจากหลังม้าเพราะความเบือ่ หน่ าย แต่เขาก็แก่เกินกว่าจะเดินเท้าเป็ นระยะทางไกลๆ ได้ ส่วนเจ้าม้าเอง ก็อยากสะบัดตาแก่ออกไป จากอานบนหลัง ของมัน แล้วมองหา "บัณฑิตหนุ่มคนใหม่" มาควบขี่แทนเหลือเกิน

แล้ววันหนึ่ ง ในขณะที่เขาควบม้าผ่านหมู่บา้ นเล็กๆแห่งหนึ่ ง เด็กหนุ่มคนหนึ่ งก็รอ้ งตะโกนถามว่า “ท่านจะไปที่ใดหรือผูเ้ ฒ่า?” ชายแก่บนหลังม้าจึงหยุดม้า เพื่อพูดคุยกับเด็กหนุ่ม คนนัน้ แต่คาํ ถามนัน้ ก็ทาํ ให้เขาต้องนิ่งคิดอยู่นาน ก่อนจะ ตอบว่า “เออนะ ฉันเองก็ไม่รเู้ หมือนกันว่า ฉันจะไปที่ไหน!! เพราะตัง้ แต่ฉันได้ม้าตัวนี้ มา ฉันก็เดินทางไป เรือ่ ยๆ ถ้าเธออยากจะรูจ้ ริงๆละก็ ลองถามเจ้าม้า ตัวนี้ มนั ดูซิ มันอาจจะรูก้ ไ็ ด้ว่า ฉันกําลังจะไปที่ ไหน” ……………………


ก่อนขึน้ หลังม้า(ต่อ) เป้ าหมายในชีวิต หาเรามองหาข้อคิดจากเรื่องนี้ เราก็จะพบว่า ชีวิตของคนเรานัน้ ก็คงเหมือนกับ "บัณฑิตบนหลังม้า" คนนี้ นับตัง้ แต่เราจบออกมากจากสถานศึกษา เราก็กระโดดขึน้ หลังม้าแห่งอาชีพตัวหนึ่ ง แล้วควบมันออกไป ผูค้ นที่เห็นก็อาจจะชื่นชมว่า เราได้งานที่ดีที่ เหมาะสม แต่แล้ววันหนึ่ งเราก็จะกลายเป็ น "ตาแก่บน หลังม้าวิเศษ" ที่เดินทางไปวันๆ อย่างไร้จดุ หมาย

รอวันที่ร่างกายไม่แข็งแรงพอที่จะควบ ม้าได้ต่อไป หรืออาจจะโดน คนหนุ่มบางคน มาแย่ง ม้างามตัวนี้ ไปครอบครอง เพราะสิ่งที่เราพลาดไป ก็คือ ก่อนที่เราจะกระโดดขึน้ หลังม้าตัวนัน้ เรารู้หรือยังว่า เราจะควบมันไป ณ ที่ แห่งใด?


ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกคณะ/สาขาวิชา เลือกตามใจ พ่อแม่ เลือกสาขาที่ไม่ ชอบแต่ คะแนนถึง

เลือกตามแฟน การเลือก คณะ/ สาขาวิชา

เลือกตาม เพื่อน

เลือกสาขาที่มี งานรองรับ เลือกสาขาที่ อยากเรียน


ขยันและมุ่งมัน่ เป็ นข้อสอบแนว กลางๆ ไม่ยากไม่ ง่ายเกินไป

อ่านและทําโจทย์ อย่างเข้าใจ ไม่ใช่ การจํา ประสบการณ์การ สอบ กสพท.

ทําตารางอ่าน หนังสือ รายเดือน/ รายวัน

ห้ามดูถกู ตัวเอง เด็ดขาด



เรื่องจริงจากสาวโรงงานคนหนึ่ ง พลิกชีวิตจนกลายมาเป็ นท่านผูพ้ ิ พากษา ชี วิตเริ่มต้ นที่ หมู่บ้านเล็กๆบนภูเขาแห่ งหนึ่ งใน จังหวัดทางภาคอีสานตอนบน พ่อแม่ไม่มีเงินส่งเรียน ฉั น จึ ง ขอพ่ อ ไปเรี ย น แต่ มี ข้ อ แม้ ว่ า ฉั น จะไม่ ไ ด้ ซื้ อ เสื้อผ้าใหม่ประจําปี ไม่ได้สร้อยคอทองคําใส่เหมือน เพื่อนๆในหมู่บา้ น ฉันไปเรียนการศึกษานอกโรงเรียน อยู่ห่างจาก หมู่ บ้ า น 30 กิ โลเมตร ฉั น ต้ อ งเดิ นจากหมู่ บ้ า น ประมาณ 3 กิโลเมตร ขึน้ รถเมล์ไปเรียนทุกวันอาทิตย์ ลัดดาวรรณ หลวงอาจ

ฉั นอายุ 15 ปี ขอพ่อแม่เข้ ากรุงเทพเพื่อหางาน ทําและหาที่ เรียนต่อ และแม่มีข้อแม้ว่าฉันต้องส่งเงิน ให้แม่ทกุ เดือน เพราะไม่มีใครช่วยพ่อแม่ทาํ ไร่ทาํ นา


เรื่องจริงจากสาวโรงงานคนหนึ่ ง พลิกชีวิตจนกลายมาเป็ นท่านผูพ้ ิ พากษา(ต่อ) มีอยู่วนั หนึ่ ง...ฉั นเดินเข้ าไปขออนุ ญาตหัวหน้ า งาน ขอเลิกงานห้าโมงเย็นโดยไม่ทาํ โอที ต่อถึงสองทุ่ม เพราะวันรุ่งขึ้นฉั นต้ องไปสอบ คําตอบที่ ฉันได้ รบั คื อ หน้ าตาบึง้ ตึงของหัวหน้ างาน พร้อมกับคําพูดเสียงแข็ง ว่ า “ไม่ได้ งานก็คืองาน” วันนั น้ ฉั น จึงต้ องทํางานถึง สองทุ่ม และไปสอบในตอนเช้า

จากนัน้ ก็ไปเรียนต่อที่เนติ ฯ อีกหนึ่ งปี ก็จบเนติ ฯ ช่วง ที่ เรียนรามฉันไม่มีเงิ นซื้อหนังสื ออ่าน จึงใช้ วิธียืมหนังสื อ จากห้ อ งสมุ ด ต่ อ มาฉั น สอบเข้ า บรรจุ เ ป็ นข้ า ราชการที่ สํานักงานป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติ และ เตรี ย มตัว สอบผู้ช่ ว ยผู้พิ พ ากษา ฉั น สอบผ่ า นได้ ร บั โปรด เกล้าฯ แต่งตัง้ ให้ดาํ รงตําแหน่ งผูช้ ่วยผูพ้ ิ พากษา

ในที่สดุ ฉันก็ได้วฒ ุ ิ ม.6 มาครอบครอง แต่คนรอบ ข้างบอกฉั นว่าขนาดคนที่ เรียนในโรงเรียนยังตกงาน ยังไม่สามารถจบมหาวิทยาลัยได้เลย และเด็กบ้านนอก จบ กศน.อย่างฉันจะไปทําอะไรได้ ฉันเหน็ ดเหนื่ อยทัง้ กายและใจ จึงตัดสินใจกลับไปตัง้ หลักที่บา้ นอีกครัง้

ในขณะที่ คนในหมู่บ้านมีแนวคิดว่าการ เรียนหนังสือไม่มีประโยชน์ และเสียเวลาทํามา หากิน สิ่งสําคัญอี กอย่างหนึ่ งที่ ทําให้ ฉันเดิน มาถึ งตรงนี้ ได้ นั น้ คื อฉั นมี เป้ าหมายชัด เจน และหาวิ ธี ก ารเดิ น ไปสู่เ ป้ าหมายนั ้น ฉั น ไม่ เคยยอมแพ้ ทุกครัง้ ที่ทุกย่างไม่เป็ นอย่างหวัง ฉันก็จะบอกกับตัวเองว่า มันต้ องมีวิธีการอื่น ที่ทาํ ให้เราเดินไปสู่ความสําเร็จได้

ต่ อมาฉั นก็ ว างแผนสมั ค รเรี ย นราม คณะ นิติศาสตร์ ตอนเช้ าสอบรามหนึ่ ง ตอนบ่ายสอบราม สอง ตอนดึกไปทํางาน ฉันใช้เวลาสามปี ก็จบการศึกษา ปริญญาตรี




ทุกปี ม.เอกชนจะรับ นศ.ทัง้ หมดประมาณ 1.2-1.3 แสนคน และหลังจากการประกาศผลแอดมิชชัน่ พบว่าจะเหลือที่นงั ่ ประมาณ 50% ของที่นงั ่ ทัง้ หมด ดร.มัทนา สานติวตั ร อธิการบดี ม.กรุงเทพ


Admissions เลือกคณะอย่างไร อันดับ 1 : เลือกคณะในฝัน = คณะไม่ไกลฝัน อันดับ 2 : คณะที่ชอบรองลงมา *สถิตคิ ะแนนขัน้ ตํา่ ควรจะห่างจาก อันดับ 1 ประมาณ 2,000-4,000 คะแนน อันดับ 3 : คณะที่เราพอรับได้ *สถิตคิ ะแนนห่างจากอันดับ 2 ประมาณ 2,000-4,000 คะแนน อันดับ 4 : คณะที่คดิ ว่าคะแนนของเราติดแน่ นอน *ติดแล้ว – ไปเรียน -- ไม่ไปเรียน อย่าเลือก!!!!


คณะในฝัน :

• คณะที่ชอบ/สนใจ/ถนัด • คณะไม่ไกลฝัน • คณะที่คณ ุ พ่อคุณแม่อย่างให้เรียน?? • คณะตามกระแสเพือ่ น/แฟน? • ไม่มี/ไม่ทราบ/อะไรก็ได้?

×

×



ถ้าติดรับตรง สอบ สัมภาษณ์ผ่านแล้ว ไป สมัครมหาวิทยาลัยอืน่ ได้ หรือไม่

คะแนนที่สอบ เก็บไว้ได้ก่ปี ี

สอบติดแล้ว สละสิทธิ์ โดนตัด แอดมิชชัน่ หรือไม่

ใช้คะแนน GAT และ PAT คนละ รอบได้หรือไม่

ถ้าติดรับตรงของรัฐบาล เเต่ไม่ ไปยืนยันเคลียร์ร่งิ เราจะยังมี สิทธิ์แอดได้หรือไม่

ถ้าเกรดเฉลีย่ ไม่ดีจะมี % สอบติดน้อยกว่าหรือไม่ เกรดสะสมสําคัญมากแค่ ไหน

สอบติดแล้ว มีโอกาสไม่ ผ่านการสัมภาษณ์ หรือไม่


คําถามที่พบบ่อยใน Admissions ถาม ถ้าติดรับตรง สอบสัมภาษณ์แล้ว ไปสมัคร มหาวิทยาลัยอืน่ ได้หรือไม่ รับตรงตัดสิทธิ์แอดมิชชัน่ หรือไม่

ตอบ ได้ แต่เสียเวลา ควรตัง้ เป้ าหมายให้จริงจังก่อนไป สมัครรับตรง รับตรงจากทัง้ 3 มหาวิทยาลัยรัฐบาล ตัดสิทธิ์แอด มิชชัน่ ถ้าติดรับตรงรัฐบาลแต่ไม่ไปยืนยันเคลียร์ร่เิ ฮาส์ จะยัง การไม่ยนื ยันถือว่าสละสิทธิ์รบั ตรง และจะมีสทิ ธิ์เข้า มีสทิ ธิ์แอดมิชชัน่ หรือไม่ แอดมิชชัน่ ถ้าเกรดเฉลี่ยไม่ดีจะมี % สอบติดน้อยกว่าหรือไม่ เกรดเฉลี่ยและ O-NET เกรดสะสมสําคัญมากแค่ไหน -มีผลในการแอดมิชชัน่ -มีผลในการเลือกเรียนคณะในกลุม่ กสพท. -มีผลในการรับตรงในบางสาขา/บางมหาวิทยาลัย


คําถามที่พบบ่อยใน Admissions ถาม

ตอบ

ควรเลือกคณะที่เราชอบหรือเลือกคณะที่มีอาชีพ รองรับมากกว่ากัน

คณะที่เราชอบ

สอบติดแล้วมีโอกาสไม่ผ่านการสัมภาษณ์หรือไม่

มี ตามเงือ่ นไขของสาขาวิชา เช่น ตาบอดสี

ปี 2557 มีการจัดสอบแบบไหน ให้เหมือนระบบปี 2556 หรือไม่

-รับตรง/กสพท/โควตา เหมือนเดิม -แอดมิชชัน่ – ปรับนํ้ าหนักสัดส่วนในบางสาขาวิชา/ คณะ

สมัครสอบ O-NET อย่างไร

สถาบันทดสอทางการศึกษาแห่งชาติจะเป็ นผูแ้ จ้ง รายละเอียดและโปรดติดตามใน www.ntthailand.com ใช่ โดยติดตามประกาศจาก www.cuas.or.th

การสมัครสอบวิชาเฉพาะ สมัครผ่านทางเว็บไซต์ใช่ หรือไม่




ไม่มีคาํ ว่าแพ้หากว่าเราได้เริ่ม ไม่มีคาํ ว่าอยู่ท่เี ดิมหากเราได้คน้ หา ไม่มีคาํ ว่าเป็ นที่หนึ่ งหากยังต้องพึง่ พา ไม่มีคาํ ว่าดีกว่าหากว่าเราไม่ตง้ั ใจ


ขอให้ท ุกคนโชคดีในการสอบ

ใครมีขอ้ สงสัย เชิญถามได้นะครับ

ขอบค ุณครับ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.