ในฉบับ ม.อ. จับมือ สสส. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสร้างสุขแก่ภาคีเครือข่าย ใน PSU Happy Statio นศ. วิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษย์ฯ รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพ ฯ 8-9 12-13 นศ.วสส. และ สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ชนะประกวดรายการเด็ก ของ สสดย. ผลงานการพยากรณ์อากาศ ม.อ.ภูเก็ต รับเหรียญทองจาก IEIK 2014 ประเทศจีน 18-19 โรงพยาบาล ม.อ. มุ่งพัฒนาบริการและเทคโนโลยี สู่ความเป็นเลิศระดับสากล 20-21
6-7
บุคคล/หน่วยงาน
รศ.ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์
รับรางวัลทะกุจิ
องศาสตราจารย์ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับรางวัลทะกุจิ ประเภทนักวิจัยดีเด่น ปี 2557 จากหัวข้องานวิจัย เรื่อง Biotechnology for technology production of biofuels from agricultural and industrial waste โดย เข้ า เสนอผลงานในการประชุ ม วิ ช าการ ประจ� ำ ปี 2557 ของสมาคมเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
ร
รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ เป็นผู้มุ่งมั่น ท�ำงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนได้รับต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ ตั้งแต่อายุ 39 ปี เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยหลายโครงการ มีผล งานวิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ ทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ ห ลาย เรื่อง และมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง รางวั ล ทะกุ จิ แ ละผู ้ ส มควรให้ ป าฐกถาอายิ โ นะโมะโต๊ ะ ประจ�ำปี 2557 จัดโดย สมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เทคโนโลยี ชี ว ภาพ (กองทุ น ทะกุจิ) และ มูลนิธิอายิโนะโมะโต๊ะ เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นัก วิทยาศาสตร์ ที่มีผลงานวิจัยดีเด่น นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีผลงานวิทยานิพนธ์ดีเด่น และภาคเอกชนที่มีบทบาทส�ำคัญ ในการสนับสนุนและพัฒนาเทคโนโลยีในด้านการศึกษา วิจัย และการประยุกต์ใช้วิทยาการในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยว กับเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และสาธารณสุข ในประเทศไทย
ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2557- มกราคม 2558
สารบัญ รอบรั้วศรีตรัง
รางวัลแห่งคุณภาพ
22-23 ม.อ. เสริมเขี้ยวเล็บเครือข่ายประชาสัมพันธ์สู่ Social Media 34 ม.อ.ปัตตานี ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม จัดงาน คืนความสุข ให้คนตานี ในงาน ผ้าดี ที่ชายแดนใต้
5 ศ.ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ รับทุนเมธีวิจัยอาวุโส ปี 57 - ขอแสดงความยินดีกับนายสุวัฒน์ จุฑาพฤทธิ์ นักศึกษา ปริญญาเอก สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและ ชายฝั่ง ไอที 11 ผลงาน “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” ของนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ กวาดเรียบ 4 รางวัลในเวที 16-17 นศ.วิศวะ สร้างแอพฯ ช่วยผู้ป่วยเบาหวานดูแลตนเองบนสมาร์ทโฟน 2014 Kaohsiung International Invention Exhibition 28-29 จาก HIS สู่ BYOD อีกขั้นของการพัฒนาระบบไอที เพื่อผู้ป่วย (KIE 2014) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 12-13 นศ.วสส. และ สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ชนะประกวรายการ เด็ก ของ สสดย. แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน 18-19 ผลงานการพยากรณ์อากาศ ม.อ.ภูเก็ต รับเหรียญทองจาก 2 รศ.ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ รับรางวัลทะกุจิ ปี 57 IEIK 2014 ประเทศจีน 20-21 โรงพยาบาล ม.อ. มุ่งพัฒนาบริการและเทคโนโลยี สู่ความเป็น 33 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดอันดับจาก เลิศระดับสากล
30-31 ผศ.นพ.ธนะรัตน์ บุญเรือง กับการท�ำหน้าที่
ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 32 หอประวัติ ม.อ.เล่าขานเกียรติยศ สงขลานครินทร์
วิจัย 24-25 ม.อ.เปิดมิติใหม่ป้องกันฟันผุ ด้วยผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติก
ประชุม/สัมมนา 4 6 เครือข่าย ม.วิจัย จัดสัมมนาก�ำหนดทิศทางวิจัยสนองความ ต้องการของประเทศ 15 ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ “ถ้าไม่ปฏิรูปการศึกษา ก็อย่าหวังแข่ง ในประชาคมโลก”
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยโดยมุ่งเน้นหน่วยงาน ภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมาย ดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย มากยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ หรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน
University Ranking by Academic Performance ในสาขาวิชาต่างๆ ประจ�ำปี 2013 - 2014 35 นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมฯคว้ารางวัลระดับประเทศ
ความร่วมมือชุมชน/สังคม 6-7 ม.อ. จับมือ สสส. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสร้างสุขแก่ ภาคีเครือข่าย ใน PSU 26-27 สงขลาเมืองท่าของฮาลาลภาคใต้ เอื้อให้ไทยเป็นศูนย์กลาง ธุรกิจฮาลาลของโลก
การศึกษา 8-9 นศ. วิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษย์ฯ รับพระราชทานรางวัล จากสมเด็จพระเทพ ฯ 10 ม.อ.ปัตตานี เตรียมเปิด “สาธิตอิสลามศึกษา” สอนวิชา สามัญที่บูรณาการความเป็นอิสลาม
ลงนามความร่วมมือ 14 การบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กับ บริษัท น�้ำตาลมิตรผล จ�ำกัด และบริษัทในเครือ
3 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
สัมมนา
6 เครือข่าย ม.วิจัย
จัดสัมมนาก�ำหนดทิศทางวิจัยสนองความต้องการของประเทศ องศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ย ระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า เครื อ ข่ า ย พั น ธมิ ต รมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การวิ จั ย (พมว.) ซึ่งประกอบด้วย 6 มหาวิทยาลัย ได้ แ ก่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ จั ด ประชุ ม สั ม มนา เครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต รมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การวิ จั ย ครั้ ง ที่ 1 “The 1st United University Research Platform” เมื่อวันที่ 12-14 มกราคม 2558 ที่ โ รงแรม รอยั ล ภู เ ก็ ต ซิ ตี้ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม สัมมนา 150 คน เพื่อให้นักวิจัยในกลุ่มวิจัยที่มีทิศทางการวิจัยใกล้ เคี ย งกั น ได้ พ บปะพู ด คุ ย และสร้ า งความร่ ว มมื อ ซึ่ ง กั น และกั น และ ระดมสมองเพื่อให้ ได้ โจทย์วิจัยที่ตอบสนองต่อความต้องการของ ประเทศของแต่ละกลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย อาหาร พลังงาน ภัยพิบัติและ การเปลี่ยนแปลงของอากาศ สาธารณสุข อาเซียนศึกษา และวัสดุ
ผลที่ได้จากการสัมมนา นอกจากจะได้ ทิ ศ ทางการวิ จั ย และโจทย์ วิ จั ย ที่ ต อบสนอง ต่อความต้องการของประเทศแล้ว ยังได้สร้าง ความร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย การท� ำ งานใน ลักษณะ Clusters โดยร่วมกันพัฒนางานวิจัย การสร้ า งองค์ ค วามรู ้ การผลิ ต ผลงานทาง วิ ช าการการสร้ า งระบบการสนั บ สนุ น ด้ า น การวิ จั ย ข้ า มมหาวิ ท ยาลั ย รวมถึ ง การใช้ ทรั พ ยากรร่ ว มกั น เพื่ อ ร่ ว มกั น ท� ำ งานและ ยกระดับการศึกษาของไทย ในการสั ม มนาดั ง กล่ า ว นอกจากการ แบ่ ง กลุ ่ ม ระดมสมอง และการประชุ ม คณะ ท� ำงานเครื อ ข่ า ยพันธมิต รมหาวิทยาลัยเพื่อ การวิจัยแล้ว ยังมีการปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ Power of Research for the Benefit of
4 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
Thailand โดย ศาสตราจารย์ นพ. จรั ส สุ ว รรณเวลา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ และการบรรยาย หั ว ข้ อ Inter-Research Cluster for Global Challenges โดย ศาสตราจารย์ . นพ.สุ ท ธิ พ ร จิ ต ต์ มิ ต รภาพ เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการ วิจัย มีเจตนารมณ์ร่วมกันที่จะประสานความ ร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการในการวิ จั ย และพั ฒ นา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ของเครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต ร พัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม เพื่อการพัฒนา เศรษฐกิ จ สั ง คม และขี ด ความสามารถใน การแข่ ง ขั น ของประเทศสู ่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ทางการศึกษาและวิจัยพัฒนาในระดับภูมิภาค อาเซี ย น แนวคิ ด ในการด� ำ เนิ น การใช้ ค วาม ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยในการสร้างและ พั ฒ นาศั ก ยภาพของนั ก วิ จั ย ของไทย โดยมี เป้าหมายส�ำคัญคือการพัฒนา Inter-University Clusters ที่ ต อบสนองต่ อ ความต้ อ งการของ ประเทศ
รางวัลแห่งคุณภาพ
ศ.ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์
รับทุนเมธีวิจัยอาวุโส เมื่ อ วั น ที่ 19 พฤศจิ ก ายน 2557 ได้ มี ก ารแถลงข่ า ว เปิดตัวผู้รับทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น และเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจ�ำปี 2557 ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิจัย อาวุโสที่มีผลงานดีเด่นสูงสุดของประเทศในสาขาวิชาต่าง ๆ อีก ทั้ ง เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี แ ก่ นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ อั น จะน� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า ง ศั ก ยภาพเชิ ง ปั ญ ญาระยะยาวของประเทศ และผลิ ต ผลงาน ที่ มี คุ ณ ภาพในระดั บ สากล ตลอดจนกระตุ ้ น ให้ สั ง คมตระหนั ก และมองเห็ น ความส� ำ คั ญ และประโยชน์ ข องงานวิ จั ย โดยมี ศาสตราจารย์ นพ.สุ ท ธิ พั น ธ์ จิ ต พิ ม ลมาศ ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นประธาน
มีพลังที่จะผลิตผลงานที่มีคุณภาพสูงได้ต่อไปอีก รวมทั้งความมุ่งมั่น ที่จะสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ต่อไปอีกในอนาคต ทุนประเภทนี้มีตั้งแต่ปี 2538 จนถึงปัจจุบันมีผู้ได้รับทุนรวม 19 รุ่น จ�ำนวน 235 ทุน ในครั้งนี้ มีผู้เข้ารับทุน “เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” จ�ำนวน 11 ท่าน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ศาสตราจารย์ ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ ภาควิชาการเทคโนโลยี ชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ศาสตราจารย์ ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ เป็นผู้ท�ำงานด้าน วิจัยมากว่า 30 ปี ด้วยผลงานวิจัยดีเด่นทางด้านผลิตภัณฑ์ชีวภาพ และพลังงานชีวภาพ จากวัสดุเศษเหลือทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร โดยท� ำ การศึ ก ษาแบคที เ รี ย สั ง เคราะห์ แ สง เพื่ อ หาสายพั น ธุ ์ ที่ เ จริ ญ ได้ในน�้ำทิ้งของโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มเพื่อผลิตก๊าซไฮโดรเจน และ น�ำไปใช้ในกระบวนการผลิตไฮโดรเจนแบบสองขั้นตอน ส่วนงานวิจัย ด้านการผลิตพลังงานชีวภาพครอบคลุมตั้งแต่สวนปาล์ม โรงงานสกัด น�้ ำ มั น ปาล์ ม และโรงงานผลิ ต ไบโอดี เ ซล และในอนาคตจะท� ำ การ ศึกษาการขยายขนาดการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากน�้ำทิ้งของโรงงาน สกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม เพื่ อ ใช้ ใ นกระบวนการไฮโดรจิ เ นชั่ น การก� ำ จั ด สี ของน�้ ำ ทิ้ ง สุ ด ท้ า ยของโรงงานสกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม การศึ ก ษารู ป แบบ และขยายการผลิตสารออกฤทธิ์จากเชื้อ Streptomyces philanthi RM-1-138 ที่ท�ำให้อุตสาหกรรมน�้ำมันปาล์มมีความเข้มแข็งมากขึ้น ส�ำหรับทุน “เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนนักวิจัย ศาสตราจารย์ ดร.พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ เคยได้รับรางวัล อาวุโสให้สร้างนักวิจัยใหม่ที่มีความสามารถทางวิชาการสูงและเพื่อ นั ก วิ จั ย ดี เ ด่ น แห่ ง ชาติ ประจ� ำ ปี 2555 ในสาขาเกษตรศาสตร์ แ ละ เป็นเกียรติในฐานะที่ได้สร้างผลงานดีเด่นมาตลอดชีวิต และยังเป็นผู้ ชีววิทยา จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดงความยินดีกับ
นายสุวัฒน์ จุฑาพฤทธิ์ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดงความยินดีกับนายสุ วั ฒ น์ จุ ฑ าพฤทธิ์ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก สาขาวิ ช าการจั ด การทรั พ ยากร ทะเลและชายฝั ่ ง สถาบั น ทรั พ ยากรทะเลและชายฝั ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซึ่งเป็นอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุ ร าษฏร์ ธ านี ได้ รั บ รางวั ล Outstanding Paper Award ในหั ว ข้ อ เรื่ อ ง “A Survey of Dolphin Sightings Experienced by Local Fisherman in Donsak District, SuratThani Province” จากการ ประชุ ม นานาชาติ the 1st Environment and Natural Resources International conference จั ด โดยคณะสิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เมื่อวันที่ 6-7 พฤศจิกายน 2557
5 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ความร่วมมือกับสังคม/ชุมชน
ม
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ สสส จั ด Show and Share :PSU Happy ให้ทุกวิทยาเขต ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรม สร้ า งสุ ข กั บ หน่ ว ยงานภายนอก น� ำ องค์ ก รต้ น แบบแห่ ง ความสุข บอกเล่ากิจกรรมสร้างความสุข เมื่อ 19 ธันวาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มีนักสร้างสุของค์กรร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 350 คน
ม.อ. จับมือ สสส.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสร้างสุขแก่ภาคีเครือข่าย
ใน PSU Happy Station
นายสุจิตต์ ไตรพิทักษ์ กรรมการบริหารแผนสร้างสุขภาวะองค์กร ส�ำนักงาน กองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ปาฐกถาน� ำ เรื่ อ ง จุ ด ประกาย องค์กรแห่งความสุขว่า คุณภาพชีวิตที่ดีมี 4 มิติ เริ่มจากการที่ 1.สุขภาพร่างกาย สมบูรณ์แข็งแรง ควรออกก�ำลังกายด้วยการเดินวันละ 40 นาที พักผ่อนเพียงพอ เมื่ อ ร่ า งกายแข็ ง แรงก็ สามารถท�ำ งานได้ดี 2.จิตใจที่เบิกบานแจ่ ม ใส จิ ต ที่ เ ป็ น สมาธิ สติปัญญาก็จะเกิด 3. ครอบครัวอบอุ่นมีความสุข ก็จะไปสู่มิติที่ 4.คือสังคม และชุมชนแห่งความสุข ขยายไปในระดับประเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น องค์ ก รต้ น แบบแห่ ง ความสุ ข ที่ ส ามารถเป็ น แม่ ข ่ า ยให้ กั บ องค์ ก รอื่ น ๆได้ หลายหน่วยงานในมหาวิทยาลัยสร้างกิจกรรมได้น่าสนใจเช่น ม.อ.ภูเก็ต มีกิจกรรม วั น เกิ ด ของบุ ค ลากร คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ม.อ. มี ก ารซื้ อ หุ ้ น สหกรณ์ ใ ห้ พนักงานเงินรายได้เพื่อเป็นการออมรายเดือนให้ เป็นต้น ดร.ศิ ริ เ ชษฐ์ สั ง ขะมาน ผู ้ จั ด การแผนงานสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท�ำงานองค์กรภาครัฐ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า แผน งานสร้ างเสริ ม คุ ณ ภาพชีวิตการท�ำ งานองค์กรภาครัฐ ด้วยเครื่ องมื อ happy 8 ประการ ได้สร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการท�ำงานอย่างมีความสุข ให้เป็น
6 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
วัฒนธรรมองค์กร มีรูปแบบที่ย่ังยืนยาวนาน ขยายไปเป็น ภาคี เ ครื อ ข่ายภาครั ฐ ขั บ เคลื่ อ นไปสู ่ ภาคเอกชน โดยมี สภาอุตสาหกรรมเข้ามาร่วม สอดคล้องกับคนในแต่ละรุ่น ได้แก่ เจนเนอเรชั่น x ถือว่างานคือชีวิต เจนเนอเรชั่น Y งานเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชี วิ ต และเจนเนอเรชั่ น Z ที่ ถื อ ว่ า งานเป็ น ทางเลื อ กของชี วิ ต โดยที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์เป็น 1 ในองค์กรต้นแบบสร้างสุข มี ก ารเสวนา เรื่ อ ง “ความสุ ข ที่ อ ยากบอก” โดย อ า จ า ร ย ์ พิ ชิ ต เ รื อ ง แ ส ง วั ฒ น า รองอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การท�ำให้บุคลากร ในองค์กรมีความสุขเป็นความฝันของผู้บริหาร อย่างไร ก็ตาม ความสุขของแต่ละคนไม่เท่ากัน บางคนสอบผ่าน ก็เลี้ยงฉลองแล้ว ในขณะที่บางคนต้องสอบได้ที่ 1 จึงจะ มี ค วามสุ ข มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ เ ปิ ด โอกาส ให้คณะ หน่วยงานมาน�ำเสนอผลงานสร้างสุขเพื่อแลก เปลี่ ย น และสร้ า งแรงจู ง ใจ ในการจั ด กิ จ กรรมสร้ า งสุ ข นายวั ช รา ค้ า ขาย นั ก พั ฒ นาสั ง คม ส� ำ นั ก งาน ส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส
คนพิการ และผู้สูงอายุ กล่าวว่า ส�ำนักงานจัดตลาดนัดพระจันทร์ย้ิมให้บุคลากร น� ำ สิ น ค้ า มาซื้ อ ชายกั น เดื อ นละครั้ ง ช่ ว งเวลา 11.00 -13.00 น. เปิ ด โอกาส ให้ บุ ค ลากรมี สั มพั น ธภาพที่ดี และลุกขึ้นออกก�ำ ลัง กายด้วยยางยื ด ในเวลา 15.00 น. รวมทั้ ง ขณะประชุ ม ก็ ส ามารถออกก� ำ ลั ง กายเพื่ อ คลายเครี ย ด จากการประชุมด้วย นางสาวดวงพร วงษ์สวัสดิ์ ผู้อ�ำนวยการกองวิชาการและการพัฒนา นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี กล่ า วว่ า ที่ ม.อ.วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ได้ จั ด ดอกไม้ ไ ว้ ใ นมุ ม ต่า งๆ ของส� ำ นั ก งานเพื่ อ ให้ บุ ค ลากรและผู ้ ม าติ ด ต่ อ มี ค วามสุ ข มี ก ารสอนศิ ล ปะการจั ด ดอกไม้ แ ก่ บุ ค ลากร กิ จ กรรมที่ เ ราได้ จั ด ขึ้ น เพื่ อ มอบความสุ ข แก่ จิ ต ใจ ผู ้ รั บ จะได้ รั บ ความสุขมากน้อยอย่างไร เราก็ได้ให้ความสุขแล้ว สมดังพระราชปณิธานของ สมเด็จพระบรมราชชนกที่ว่า ขอให้ถือประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ฯ
ร่วมด้วย รศ.ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะ วิศวกรรมศาสตร์ โดยมีน างสาวชุติมา พัฒ นพงศ์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล ด�ำเนินรายการ นางเมตตา ชุ ม อิ น ทร์ หั ว หน้ า งานพั ฒ นาและฝึ ก อบรม กองการ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้จัดกิจกรรม PSU Happy Station กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้าร่วมแผนงานสร้างเสริมคุณภาพ ชี วิ ต การท� ำ งานองค์ ก รภาครั ฐ กั บ จุ ฬาลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และส� ำ นั ก งาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2556 โดยมีส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เป็น หน่วยงานน�ำร่อง และได้ขยายไปยังคณะหน่วยงานต่างๆ น�ำร่อง “มหาวิทยาลัย แห่งความสุข” (Happy University) เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายเรียนรู้ และ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ใ นการสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งาน น� ำ ไปสู ่ ก ารขยายผลการสร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งาน ไปทั่ ว ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ค ณะ หน่ ว ยงาน ในมหาวิ ท ยาลั ย น� ำ เสนอผลงาน และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ร ะหว่ า งกั น หน่ ว ยงานซึ่ ง เป็ นองค์กรสร้างสุขที่เข้าร่ว มจัดนิทรรศการ ได้ แ ก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ ส�ำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็กฯ ส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ และวิทยาเขต ตรัง คณะวิทยาการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี แ ละส� ำ นั ก วิ ท ยบริ ก าร กองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา วิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาการจัดการ คณะบริการและการท่องเที่ยว ม.อ. ภู เ ก็ ต ศู น ย์ เ ครื่ อ งมื อ วิ ท ยาศาสตร์ ชมรมวิ ทั น ตสาสมาธิ สนอ.สั ม พั น ธ์ ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง สภา อุ ต สาหกรรม จั ง หวั ด สงขลา คณะวิ ท ยาศาสตร์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ คณะทรัพยากร ธรรมชาติ และมีกิจกรรมการแสดง line dance เพื่อสุขภาพ โดยบุคลากรกองทะเบียนและประมวลผล วิทิสาสมาธิ เพื่อ ความสงบของจิ ต ใจ น� ำ เสนอโดย ชมรมวิ ทั น ตสาสมาธิ กิจกรรมสาธิต การดูแลสุขภาพตัวเองด้วยกายบริหาร “ฤาษี ดั ด ตน” โดย คณะการแพทย์ แ ผนไทย และมอบรางวั ล ต้นแบบ PSU Happy Station Award ซึ่งได้แก่ 1.กองกิจการ นักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2.ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ ภ าพและพิ ทั ก ษ์ เ ด็ ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ (ส.ท.) 3.มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 4.คณะบริการและ การท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 5.คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริน ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และบู๊ทในดวงใจได้แก่ ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
7 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
การศึกษา
นศ. วิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษย์ฯ
รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพฯ กศึกษาเอกภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ รับพระราชทาน 3 รางวัล จากการแข่ ง ขั น ทั ก ษะทางภาษาฝรั่ ง เศสในกิ จ กรรม ประจ�ำปี ของสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ ฯ โดยเข้ารับพระราชทานรางวัลจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพมหานคร
นั
กิจกรรมดังกล่าว ใช้ชื่องาน Á vous de promouvoir le français ! เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ นั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย นภาษาฝรั่ ง เศสได้ แ สดงความสามารถ มี โ อกาสเพิ่ ม พู น ประสบการณ์และพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและ กัน โดยมีกิจกรรมการแข่งขันหลายรายการ อาทิ การแข่งขัน พู ด บทสนทนาภาษาฝรั่ ง เศสตามหั ว ข้ อ ที่ ก� ำ หนดให้ การจั ด บอร์ดนิทรรศการที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับชื่องาน การแข่งขัน ร้องเพลงภาษาฝรั่งเศส เพลงหมู่ เพลงเดี่ยว การแข่งขันตอบ ค� ำ ถามความรู ้ ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ ประเทศ ฝรั่งเศส-ไทย การแข่งขันเขียนบรรยาย ภาพเป็นภาษาฝรั่งเศส การแข่งขันท่อง บทกวีนิพนธ์ภาษาฝรั่งเศส การแข่งขัน กล่ า วสุ น ทรพจน์ ภ าษาฝรั่ ง เศส การ แข่ ง ขั น ตอบค� ำ ถามจากวี ดี ทั ศ น์ การ แข่งขันวาดภาพจากหัวข้อที่ก�ำหนดให้ และการแข่ ง ขั น วาดภาพตามค� ำ บอก โดยผู ้ ช นะการแข่ ง ขั น ฯ ได้ เ ข้ า รั บ พระราชทานประกาศนี ย บั ต รจาก สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยาม บรมราชกุมารี
8 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ปีนี้แผนกวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน ทั้งหมด 4 รายการ ได้รางวัลมา 3 รายการ ดังนี้ รางวัลยอดเยี่ยมการแข่งขันวาดภาพตามค�ำบอก ได้แก่ นางสาววั ช ราภรณ์ ลิ่ ม วรพั น ธ์ นั ก ศึ ก ษาวิ ช าเอกภาษา ฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 3 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันท่อง บทกวีนิพนธ์ภาษาฝรั่งเศส ได้แก่ นางสาวพนุชฎา แก้วรุ่ง นักศึกษาวิชาเอกภาษาฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 1 และ รางวัลชมเชย การจัดบอร์ดนิทรรศการ” หัวข้อ : “ Á vous de promouvoir le français ! “ (คุณจะส่งเสริมภาษาฝรั่งเศสอย่างไร) ได้แก่ นายพิพัฒน์ ค�ำไหล นักศึกษาวิชาเอกภาษาฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 2 นางสาวศรี เ ปญ เคื อ น นั ก ศึ ก ษาวิ ช าเอกภาษาฝรั่ ง เศส ชั้นปีที่ 2 นายสิทธิชัย แก้งศรีนวล นักศึกษาวิชาเอกภาษา ฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 1 และนางสาวปิยะฉัตร ช่วยชม นักศึกษา วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 3
โดยคณาจารย์ ใ นแผนกภาษาฝรั่ ง เศส ช่ ว ยฝึ ก อบรมเพิ่ ม เติ ม ได้ แ ก่ ผศ.ดร.ศิริมา ปุรินทราภิบาล อาจารย์กานดา เหล่าปิยะบุตร อาจารย์ อรุณศรี ชาญสมุห์ อาจารย์ศุภชัย โชติทอง และ อาจารย์วชิระ ภัทรโพธิกุล นางสาววั ช ราภรณ์ ลิ่ ม วรพั น ธ์ เจ้ า ของรางวั ล ยอดเยี่ยม การแข่งขันวาดภาพตามค�ำบอก เปิดใจว่า “ความ ส� ำ เร็ จ ที่ ไ ด้ ม าในวั น นี้ ม าจากการช่ ว ยฝึ ก ฝนของอาจารย์ ที่ ปรึกษามีเวลาเตรียมตัว 1 เดือนในการฝึกฝนทักษะ โดยรูป แบบการแข่งขันจะมีกรรมการอ่านเรื่องราวเป็นภาษาฝรั่งเศส ให้ ฟ ั ง ผู ้ แ ข่ ง ขั น จะต้ อ งวาดภาพออกมาเป็ น เรื่ อ งราวตาม ที่ ก รรมการอ่ า น ให้ ถู ก ต้ อ งที่ สุ ด ผลออกมาได้ ค ะแนนเต็ ม จึ ง คว้ า รางวั ล ยอดเยี่ ย มครั้ ง นี้ ขอขอบคุ ณ สมาคมครู ภ าษา ฝรั่ง เศสแห่ ง ประเทศไทย ในพระราชู ปถั มภ์ ฯ ที่จั ดกิ จกรรม ดีๆ เปิดโอกาสในครั้งนี้ ขอบคุณอาจารย์ทุกๆ ท่าน ที่เพิ่มพูน ความรู้ให้ ช่วยขัดเกลา และให้ค�ำปรึกษาเป็นอย่างดี”
นางสาวพนุ ช ฎา แก้ ว รุ ่ ง นั ก ศึ ก ษาวิ ช าเอกภาษา ฝรั่งเศส ชั้นปีที่ 1 เจ้าของรางวัลที่ 3 การแข่งขันการอ่านบทกวี ภาษาฝรั่งเศส เปิดใจว่า “เป็นความภาคภูมิใจที่ยิ่งใหญ่ เป็น เวทีแรกที่ได้ฝึกฝนทักษะ มีเวลาเตรียมท่องบทกวีล่วงหน้าใน ระยะเวลา 1 เดือน มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 16 คน ซึ่ง กรรมการจะตัดสินจากอารมณ์ สีหน้า ท่าทาง ความถูกต้อง ของภาษา การได้รางวัลที่ 3 ถือเป็นความยินดีอย่างยิ่ง และที่ ส�ำคัญที่สุด ได้มีโอกาสเข้ารับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ด้ ว ยตั ว เอง”
9 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
การศึกษา
ม.อ.ปัตตานี เตรียมเปิด
“สาธิ ต อิ ส ลามศึ ก ษา” สอนวิชาสามัญที่บูรณาการความเป็นอิสลาม ทยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา ม.อ. ปั ต ตานี พร้ อ มเปิ ด โรงเรี ย นต้ น แบบสาธิ ต อิ ส ลามศึ ก ษา ในรู ป แบบ โรงเรียนประจ�ำ มุ่งสอนวิชาสามัญที่บูรณาการความเป็น อิ ส ลามอยู ่ ใ นแต่ ล ะวิ ช า ปลู ก ฝั ง เด็ ก มั ธ ยมเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ อิ ส ลามอย่ า งถ่ อ งแท้ ก่ อ นจะเติ บ โตสู ่ ร ะดั บ มหาวิ ท ยาลั ย คาดสามารถเปิดรับนักเรียนได้ ในปี 2558
วิ
ดร.ยูโซะ ตาเละ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
10 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ดร.ยูโซะ ตาเละ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยว่า วิทยาลัยอิสลามศึกษามีแผนจะจัดตั้งโรงเรียนต้นแบบ สาธิตอิสลามศึกษา เป็นรูปแบบ “อิสลามเชิงบูรณาการ” ที่มีความแตกต่างจากโรงเรียน ทั่วไปซึ่งมีการสอน 2 รูปแบบ คือ สอนวิชาสามัญล้วนๆ และ สอนสามัญควบคู่ไปกับ วิชาศาสนา แต่โรงเรียนสาธิตอิสลามศึกษา จะสอนวิชาสามัญที่บูรณาการความเป็น อิสลามอยู่ในแต่ละวิชา มุ่งเน้นกระบวนการสร้างกิจกรรมเสริมหลักสูตรมากกว่าเอา รายวิ ช าศาสนาไปสอนในเวลาเรี ย น มี ศู น ย์ ก วดวิ ช าในหอพั ก โดยนั ก เรี ย นจะได้ รั บ การสอนอย่ า งเข้ ม ข้ น ในทุ ก ด้ า น สอดแทรกค� ำ สอนอิ ส ลาม ค� ำ สอนดี ๆ ปลู ก ฝั ง เด็ ก ในช่วงมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนจะเติบโตในระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียนดังกล่าว จะรับ เฉพาะนักเรียนที่สามารถพักอยู่ในหอพักที่จัดให้เท่านั้น ปัจจุบันมีการบรรจุครูผู้สอน 3 ท่าน เพื่อเตรียมแผนการสอน การทดลองสอน การจัดท�ำสื่อการเรียนการสอน ให้พร้อม ก่อนวันเปิดการเรียนการสอนจริง สิ่งส�ำคัญครูผู้สอนทุกท่านต้องเข้าใจลึกซึ้งในเรื่องราว ของอิสลาม และหลักค�ำสอนจากอัลกุรอ่าน โรงเรียนสาธิตอิสลามศึกษา จะด�ำเนินการเปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ใน ปี 2558 จ�ำนวน 70 คน แบ่งเป็น 2 ห้อง โดยระยะแรกใช้อาคารวิทยาลัยอิสลามศึกษา หลังเก่าเป็นสถานที่ประกอบการเรียนการสอน มีรูปแบบเป็นโรงเรียนประจ�ำ เป็นทั้งหอพัก และสถานที่ท�ำการเรียนการสอน จัดให้มีหอพักครูจ�ำนวน 80 ห้อง โดยมหาวิทยาลัย ได้อนุมัติพื้นที่ จ�ำนวน 30 ไร่ ในการสร้างอาคารเรียน และหอพักบริเวณตรงข้ามคณะ รั ฐ ศาสตร์ โซนติ ด กั บ คณะวิ ท ยาการสื่ อ สาร ซึ่ ง สามารถรองรั บ นั ก เรี ย นได้ ป ระมาณ 1,200 คน นอกจากการจัดตั้งโรงเรียนสาธิตอิสลามศึกษาแล้ว วิทยาลัยอิสลามศึกษา ก�ำลัง พัฒนาโครงการต่างๆ อีกหลายโครงการ เช่น ศูนย์ภาษานานาชาติ โรงเรียนสาธิตอิสลาม และ สถาบันพัฒนาครูอิสลามศึกษา เป็นต้น
รางวัลแห่งคุณภาพ ลงาน “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” (ชุ ด ทดสอบสั ง กะสี ใ นดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ข้ า ว) ของ ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร (หัวหน้าผู้ประดิษฐ์คิดค้น) ผศ.อดุลย์ เที่ยงจรรยา รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา และรศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร ที่ได้รับรางวัลจากงาน “2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)” ทั้งสิ้น 4 รางวัล ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ผ
ผลงาน “Zinc-Soil
Test Kit for Increase Rice Yields”
ของนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ กวาดเรียบ 4 รางวัลในเวที 2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)
1. รางวั ล เหรี ย ญทอง (Gold Medal Award) ในงาน “2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)” ณ เมื อ งเกาสง สาธารณรั ฐ ไต้ ห วั น เมื่ อ วั น ที่ 19-21 ธันวาคม 2557 จากผลงานเรื่อง “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” (ชุ ด ทดสอบสั ง กะสี ใ นดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ข้ า ว) โดย ผศ.ดร.วรากร ลิ่ ม บุ ต ร (หั ว หน้ า ผู ้ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ) ผศ.อดุ ล ย์ เที่ ย งจรรยา รศ.ดร.เพริ ศ พิ ช ญ์ คณาธารณา และรศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร
2. รางวัลผู้น�ำนวัตกรรม (Leading Innovation Award) จากInternational Intellectual Property Network Forum (IIPNF) ในงาน“2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)” ณ เมืองเกาสง สาธารณรัฐ ไต้ ห วั น เมื่ อ วั น ที่ 19-21 ธั น วาคม 2557 จากผล งานเรื่อง “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” (ชุดทดสอบสังกะสีในดินเพื่อเพิ่มผลผลิต ข้ า ว) โดย ผศ.ดร.วรากร ลิ่ ม บุ ต ร (หั ว หน้ า ผู้ประดิษฐ์คิดค้น) ผศ.อดุลย์ เที่ยงจรรยา รศ.ดร. เพริ ศ พิ ช ญ์ คณาธารณา และ รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร
3. รางวั ล พิ เ ศษ (Special Award) จาก Indonesian Invention and Innovation Promotion Association (INNOPA) ซึ่งเป็น รางวัล ที่ต่างชาติม อบให้กับผลงานวิจัยที่มี ลั ก ษณะโดดเด่ น น่ า สนใจ ในงาน “2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)” ณ เมื อ งเกาสง สาธารณรัฐไต้หวัน เมื่อวันที่ 19-21 ธันวาคม 2557 จากผลงาน เรื่อง “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” (ชุดทดสอบ สังกะสีในดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว) โดย ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร (หัวหน้าผู้ประดิษฐ์คิดค้น) ผศ.อดุ ล ย์ เที่ ย งจรรยา รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา และรศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร 4. รางวัล Green Technology Research Exposition (GTReX) Gold Award จากประเทศมาเลเซี ย ในงาน “2014 Kaohsiung International Invention Exhibition (KIE 2014)” ณ เมื อ งเกาสง สาธารณรั ฐ ไต้ ห วั น เมื่ อ วั น ที่ 19-21 ธั น วาคม 2557 จากผลงานเรื่อง “Zinc-Soil Test Kit for Increase Rice Yields” (ชุ ด ทดสอบสั ง กะสี ใ นดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ข้ า ว) โดย ผศ.ดร.วรากร ลิ่มบุตร(หัวหน้าผู้ประดิษฐ์คิดค้น) ผศ.อดุลย์ เที่ยงจรรยา รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา และรศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร
11 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
รางวัลแห่งคุณภาพ
นศ.วสส. และ สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี
ชนะประกวดรายการเด็ก ของ สสดย. ทองแดง น.ส.โซเฟี ย สื อ แม น.ส.รั ช นก ช่ ว ยแก้ ว และ น.ส.อั ง คริ น พรหมพานิ ช นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขา นิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต ร โล่ ประกาศเกียรติคุณ และเงินรางวัล จ�ำนวน 15,000 บาท รางวัลที่ 2 ไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลที่ 3 ได้แก่ รายการ Smile club โดยทีมนักศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ส่วน รางวัลชมเชย มี 4 รางวัล ได้แก่ รายการ Teen plus รายการ ผ จ ญ ภั ย ใ น ป ่ า ใ ห ญ ่ โ ด ย ที ม นั ก ศึ ก ษ า มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม รายการเฮโล สาระพา โดยสถานีวิทยุศึกษา FM 92 MHz. และรายการ Dreaming dish โดยทีมนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น.ส.พัชรียา ทองแดง ผู้ผลิตรายการ วั ย ป่ ว นก๊ ว นประถม กล่ า วว่ า รู ้ สึ ก ดี ใ จที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล เพราะที ม ของตนมี ค วามตั้ ง ใจใน การจัดท�ำรายการวัยป่วนก๊วนประถม โดยมี แนวคิ ด ของรายการ คื อ ต้ อ งการให้ เ ด็ ก วั ย ประถมศึกษาฝึกคิดและจินตนาการตามเรื่อง ราวที่พี่ๆ แต่ละคนในรายการน�ำมาเสนอหรือ ตั้งประเด็นขึ้นมา ทั้งสามช่วง คือ ช่วงความรู้ รอบตัว ช่วงพักกลางวัน และช่วงเลิกเรียนแล้ว พี่ แ ต่ ล ะคนต้ อ งคั ด สรรสาระที่ เ หมาะสมกั บ ช่ ว งวั ย และใกล้ สมาคมวิทยุและสื่อเพื่อเด็กและเยาวชน (สสดย.) จัด ตั ว น้ อ งๆ มาน� ำ เสนอผ่ า นรายการ บางเรื่ อ งอาจเป็ น สิ่ ง ที่ การประกวดรายการวิทยุเด็กและเยาวชน เพื่อสร้างสุขภาวะ มองข้าม ก็จะหยิบมาเล่าให้น้องๆ ฟังในแบบฉบับเด็กประถม ในสั ง คมไทย ครั้ ง ที่ 4 ประจ� ำ ปี 2557 ซึ่ ง มี ก ารประกาศผล ศึกษา เพื่อให้น้องๆ เข้าใจและสนุกสนาน “ส่วนกระบวนการผลิตรายการเป็นไปตามแผนที่วางไว้ การประกวดไปเมื่ อ วั น เสาร์ ที่ 20 ธั น วาคม ณ ห้ อ งโลตั ส ศู น ย์ ก ารประชุ ม แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ โดย รองศาสตราจารย์ คือ คิดเนื้อหาที่จะน�ำเสนอ โดยตั้งเป็นความรู้ที่ใกล้ตัว เข้าใจง่าย จุมพล รอดค�ำดี ประธานคณะกรรมาธิการปฏิรูปการสื่อสาร และที่ส�ำคัญเนื้อหาต้องสั้นกระชับและเชื่อมโยงกันตลอดทั้ง มวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) รายการ แล้วเขียนบทใส่อารมณ์ ค�ำพูดที่เสมือนว่าน้องๆ มา และผู ้ ก ่ อ ตั้ ง สมาคมฯ และนางสาวสุ ภิ ญ ญา กลางณรงค์ นั่งฟังต่อหน้า และตรวจทานความถูกต้องของการใช้ภาษา คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และ และค� ำ พู ด จากนั้ น ถึ ง จะเข้ า ห้ อ งบั น ทึ ก เสี ย ง เพื่ อ บั น ทึ ก เสี ย งตามบทที่ ไ ด้ เ ตรี ย มมาและตั ด ต่ อ เสี ย งประกอบต่ า งๆ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมงาน ส� ำ หรั บ ผลการประกวดรายการวิ ท ยุ เ ด็ ก และเยาวชน เข้ า ไปในแต่ ล ะช่ ว งเพื่ อ ความสมบู ร ณ์ ข องรายการ” หนึ่ ง เพื่อสร้างสุขภาวะในสังคมไทย ครั้งที่ 4 ประเภทนิสิต-นักศึกษา ในผู้ผลิตรายการวันป่วนก๊วนประถมกล่าวและว่า ความรู้ในห้องเรียนก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่รายวิชาฝึกปฏิบัติ พบว่า รางวัลที่ 1 ได้แก่ รายการ “วัยป่วนก๊วนประถม” กลุ่ม ผู้ฟังรายการ คือ เด็กอายุวัย 6-12 ปี ผลิตโดย น.ส.พัชรียา การสถานีวิทยุกระจายเสียง ซึ่งเป็นวิชาที่เน้นการปฏิบัติจริง
กศึ ก ษาสาขานิ เ ทศศาสตร์ คณะ วิทยาการสื่อสาร ม.อ.ปัตตานี คว้า รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดรายการส� ำ หรั บ เด็กและเยาวชนจากสมาคมวิทยุและสื่อเพื่อเด็ก และเยาวชน (สสดย.) ขณะที่ สถานี วิ ท ยุ ม.อ. ปัตตานี ได้รับรางวัลชมเชย
นั
12 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
และในการเรี ย นการสอนก็ มี ก ารสอดแทรกหั ว ข้ อ การผลิ ต รายการวิ ท ยุ ส� ำ หรั บ เด็ ก เยาวชน และครอบครั ว เข้ า มาเป็ น หัวข้อหนึ่งในการเรียนด้วย กลุ่มของตนจึงน�ำความรู้และทักษะ ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการผลิตรายการ ทั้งการเล่าเรื่อง การ เขี ย นบท การตั ด ต่ อ รวมถึ ง การแสวงหาประเด็ น ที่ น ่ า สนใจ และรายการแบบนี้มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาเด็กทั้งการฝึก กระบวนการคิดและจินตนาการ เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีความ คิดสร้างสรรค์และเพิ่มความรู้ใหม่ๆ นอกเหนือจากห้องเรียน นอกจากนี้ ร ายการ “บู เ ดาะซู ก อ: หนู น ้ อ ยหรรษา” ผลิ ต รายการโดยสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี FM 107.25 MHz ยังได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลชมเชย ประเภท นั ก จั ด รายการวิ ท ยุ ทั่ ว ไป ได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต ร และเงินรางวัล 7,500 บาท รายการบูเดาะซูกอ: หนูน้อยหรรษา เป็นรายการ ส�ำหรับเด็กวัย 6-12 ปี ออกอากาศทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 07.30-08.00 น.ทางสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี FM 107.25 MHz โดยมีทีมผู้ผลิต ประกอบด้วย น.ส.พรพิมล อุไรรัตน์ โปรดิวเซอร์และนักจัดรายการ น.ส.หทัยกาญจน์ เพชรประวัติ และนายศราวุธ จาวิสูตร เป็นนักจัด รายการ นายสถาพร ศิวบุตร เป็นผู้ควบคุมเสียงและ ตัดต่อ รายการดังกล่าวประกอบด้วย 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 “เด็กๆ ท�ำได้ง่ายนิดเดียว” ช่วงที่ 2 “เปิดโลกนิทาน” และช่วงที่ 3 “เด็กชายแดนใต้รู้หลายภาษา” น.ส.พรพิมล อุไรรัตน์ นักจัดรายการสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี กล่าวว่า รายการบูเดาะซูกอ: หนูน้อยหรรษา เริ่ ม ผลิ ต เป็ น ปี ที่ 3 แล้ ว โดยมาจากการที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว ม
การอบรมเทคนิคการผลิตรายการส�ำหรับเด็กและครอบครัว ที่จัดโดยเครือข่ายวิทยุเพื่อเด็กและครอบครัวภาคใต้ จากนั้น ก็น�ำความรู้ดังกล่าวมาออกแบบรายการเพื่อให้สอดคล้องกับ บริบทของจังหวัดชายแดนภาคใต้ “การผลิ ต รายการประเภทนี้ ต ้ อ งมี ค วามพิ ถี พิ ถั น กว่ า รายการทั่ ว ไป เนื้ อ หาสาระ เพลง และตนตรี รวมถึ ง ค� ำ พู ด อารมณ์ น�้ำเสียงมีความส�ำคัญทั้งหมด ไปจนถึงกระบวนการ ตัดต่อด้วย เพราะเด็กๆ มักจะเลียนแบบจากสิ่งที่ได้ยินจากวิทยุ ดังนั้นจึงต้องใส่ใจมากกว่ารายการอื่น พร้อมทั้งมีทีมงานที่ดี เห็ น ป้ า หมายร่ ว มกั น จึ ง จะผลิ ต รายการได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพ” น.ส.พรพิมล กล่าว
13 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ลงนามความร่วมมือ
การบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่าง
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กับ บริษัท น�้ำตาลมิตรผล จ�ำกัด และบริษัทในเครือ
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ บริษัท น�้ำตาลมิตรผล จ�ำกัด และบริษัทในเครือ โดย นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการ กลุ่มมิตรผล เป็นประธานการลงนาม และ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ต�ำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ นายบวรนันท์ ทองกัลยา รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงาน ทรัพยากรบุคคลและบริหาร โดยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และกลุ่มมิตรผล ตระหนักถึงประโยชน์ และความส�ำคัญของการร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา และบริษัทธุรกิจ เอกชนในด้านการศึกษาและพัฒ นาบุ คลากร การบริหารจั ดการองค์ ความรู้ และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาล อุตสาหกรรมการผลิต ไฟฟ้ า พลั ง งานชี ว มวล อุ ต สาหกรรมเอทานอล อุ ต สาหกรรมวั ส ดุ ท ดแทนไม้ และอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกิจกรรมที่เชื่อมโยงซึ่งจะส่งผลต่อ การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันระดับประเทศ
14 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ประชุม/สัมมนา
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
“ถ้าไม่ปฏิรูปการศึกษา ก็อย่าหวังแข่งในประชาคมโลก”
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ประธานสถาบันออกแบบ อนาคตประเทศไทย อดีตเลขาธิการอาเซียน ระหว่างปี 2551 - 2556 ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ หัวข้อ Education Harmonization Beyond Frontier to AEC ในการประชุ ม วิ ช าการ The 3rd PSU Education Conference ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด ขึ้ น เพื่อเป็น เวทีการสัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ การวิ จั ย และประสบการณ์ ก ารจั ด การเรี ย นการสอน ระหว่างอาจารย์ เพื่อให้เกิดแนวทางในการปรับปรุงและ พัฒนาการเรียนการสอน เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2557 ที่ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ มองว่า อนาคตของอาเซียนต้องเป็น ตลาดที่สามารถแข่งขันกับประเทศในภูมิภาคอื่นได้ ต้องเปิดโอกาส ให้คนในประเทศและประชากรในภูมิภาคมีความเสมอภาคระหว่าง ชนชั้นมากขึ้น โดยเฉพาะชนชั้นกลางที่เพิ่มขึ้นมีรายได้ต่อหัวมากขึ้น และต้องการการดูแลคุณภาพชีวิต การศึกษา การบริการที่ดี และ ความสามารถในลงทุนในต่างประเทศเพื่อน�ำรายได้กลับประเทศ รวม ถึงความสามารถเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกได้โดยไม่มีอุปสรรค คนไทยมี ค วามเป็ น เลิ ศ ในหลายด้ า นเช่ น การค้ า ขาย การ สาธารณสุข แต่สิ่งที่เราด้อยกว่าประเทศอื่นอย่างเห็นได้ชัดคือความ สามารถในการสื่อความที่เป็นสากล หรือการใช้ภาษาในการสื่อความ เด่ น ของตนให้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ใ นเวที โ ลก การรวมตั ว ของประเทศ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น จะมี ค วามต่ า งจากการรวมตั ว ของประเทศใน สหภาพยุโรป ตรงที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความแตกต่าง กันทั้งในเรื่องระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ภาษา ค่านิยม ประวั ติ ศ าสตร์ ดั ง นั้ น ในการรวมตั ว กั น จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งหาสิ่ ง ที่ เ ป็ น มาตรฐานเดียวกันซึ่งทุกประเทศยอมรับร่วมกันได้ ซึ่งท�ำได้ไม่ง่ายนัก และที่ผ่านมาสิ่งที่สามารถท�ำได้โดยเร็วและไม่เป็นอุปสรรคระหว่าง ประเทศคื อ การเปิ ด ภาคการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาให้ ต รงกั น
มหาวิทยาลัยไทยในอดีตเคยผลิตบัณฑิตเพื่อออกไปประกอบอาชีพ เดียวตลอดชีวิต เพราะไม่มีสิ่งเร้าให้มีการปรับเปลี่ยน แต่ในอนาคต แรงงานจะมีการเปลี่ยนอาชีพบ่อยขึ้นท�ำให้เกิดการท้าทายตลอด ชีวิตการท�ำงาน ต้องมีการเรียนรู้ตลอดเวลาเพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยี ดังนั้นการเปิดสอนวิชาส�ำหรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ การวิเคราะห์ปัญหา การปรั บ ตั ว ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู ้ ก ่ อ นการศึ ก ษาวิ ช าชี พ จึ ง เป็ น สิ่งจ�ำเป็น ในส่วนของภารกิจของสถาบันการศึกษาในยุคโลกาภิวัฒน์ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่ละแห่งจะต้องมีความเด่นของตน เช่น คณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งอยู่ในภาคใต้ จะต้องผลิตนักวิชาชีพที่สามารถสื่อสารภาษามลายูได้ เพื่อรองรับ ประชาคมอาเซี ย น นอกเหนื อ ไปกว่ า นั้ น มหาวิ ท ยาลั ย ในไทยจะ ต้องไม่เพียงแค่ผลิตบัณฑิตที่เป็นคนดีคนเก่ง ในสายตาของสถาบัน และประชาชนไทยเท่ า นั้ น แต่ ต ้ อ งเป็ น ผู ้ ที่ พ ลเมื อ งของนานาชาติ ยอมรั บ ในความสามารถ เป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ทั้ ง ทั ก ษะด้ า นวิ ช าชี พ ทักษะเรื่องภาษาต่างประเทศ ค่านิยม และความพอเหมาะพอควร ส�ำหรับการไปประกอบอาชีพในประเทศอื่น อีกด้วย “พรมแดนที่เราจะต้องต้องก้าวข้าม ไม่ได้มีเฉพาะแต่ประเทศ ในอาเซี ย นเท่ า นั้ น แต่ จ ะต้ อ งก้ า วสู ่ ร ะดั บ โลกด้ ว ย หากพรมแดน ประเทศภูมิภาคอาเซียนเป็นเหมือนคลองที่ต้องท�ำสะพานข้าม เรา ต้ อ งท� ำ สิ่ ง ท้ า ทายคื อ ท� ำ สะพานข้ า มมหาสมุ ท ร ซึ่ ง หมายถึ ง เข้ า แข่ ง ขั น ในประชาคมโลกให้ ไ ด้ ซึ่ ง หากไม่ มี ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษา ตั้งแต่บัดนี้ก็อย่าหวังว่าจะก้าวข้ามมหาสมุทรได้” ดร.สุรินทร์ กล่าว
15 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ไอที
นศ.วิ ศ วะ สร้างแอพฯ ช่วยผู้ป่วยเบาหวานดูแลตนเอง บนสมาร์ทโฟน
“เกียรติ์อธีติ อนุสรณ์ภักดี” นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ใช้ศักยภาพด้าน ICT ต่อยอดพัฒนา ผลงาน Personal Health Assistant โปรแกรมสุขภาพส่วนบุคคลบนอุปกรณ์ สมาร์ทโฟน (PHA) รับรางวัลอันดับ 2 การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย ปี 2557 ภายใต้ โครงการ “ต่อกล้าให้เติบใหญ่” ปี 2 ด�ำเนิน การโดยศูนย์เ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แ ห่งชาติ สนับสนุนโดย มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อให้ โปรแกรม สุขภาพส่วนบุคคลบนอุปกรณ์สมาร์ทโฟน เป็น แอพพลิเคชั่นที่สามารถใช้งาน ได้จ ริง และขยายผลไปสร้า งคุณภาพชีวิตที่ดี ให้กับผู้ป่ว ยเบาหวานในวงกว้าง
16 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
PHA เป็ น แอพพลิ เ คชั่ น บนอุ ป กรณ์ ส มาร์ ท โฟนระบบ แอนดรอยด์ ท�ำหน้าที่เป็นผู้ช่วยบันทึกข้อมูลสุขภาพ ให้ค�ำ แนะน�ำผู้ป่วย รวมถึงแจ้งเตือนผู้ป่วยและญาติหากพบภาวะ เสี่ยงเช่น เมื่อผู้ป่วยลืมฉีดยา หรือมีระดับน�้ำตาลในเลือดสูง ผิดปกติ “ในประเทศไทย ผู้ป่วยเบาหวานมักใช้สมุดจดบันทึก การฉีดยาและระดับน�้ำตาลในเลือด ท�ำให้มีความไม่สะดวก เพราะต้องพกสมุดจดและปากกาติดตัวตลอดเวลา บางครั้ง ผู้ป่วยก็ลืมพกสมุดจดเมื่อไปพบแพทย์ การใช้แอพพลิเคชั่นบน โทรศัพท์มือถือเป็นผู้ช่วยบันทึกข้อมูลจึงลดภาระการพกสมุด จดของผู้ป่วย เมื่อบันทึกข้อมูลแล้ว ผู้ป่วยยังสามารถส่งต่อ ข้อมูลถึงมือแพทย์ได้ทันที จึงลดภาระของตัวเอง ไม่ต้องเดิน ทางไปพบแพทย์บ่อยๆ ท�ำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และลดภาระ ของโรงพยาบาลที่ต้องรองรับผู้ป่วยจ�ำนวนมากในแต่ละวัน ผลงานดังกล่าว ได้รับการให้ค�ำปรึกษา จาก นายแพทย์ นพดล เกี ย รติ ศิ ริ โ รจน์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญโรคเบาหวาน คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และนางสาว มุกริน วรรณสะโร เพื่อนนักศึกษาจากภาควิชา ICT ซึ่งป่วย เป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 1 ตับอ่อน สร้ า งอิ น ซู ลิ น ได้ น ้ อ ยมาก จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ฉี ด อิ น ซู ลิ น ทุ ก วั น ต่ อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต ท�ำให้เขาได้รับข้อมูลและข้อเสนอแนะ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาผลงาน ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ แพทย์และผู้ป่วยเบาหวานอย่างแท้จริง ท�ำให้ PHA เป็นแอพพลิเคชั่นที่มีความ จ�ำเพาะกับโรคเบาหวานมากกว่าแอพ พลิเคชั่นดูแลสุขภาพอื่นๆ ในท้องตลาด
ขณะนี้ ก ารพั ฒ นาโปรแกรมดั ง กล่ า วมี ค วามคื บ หน้ า ไปแล้ว กว่า 60 เปอร์เซ็นต์ เหลือเพียงระบบการบันทึกและ แสดงผลข้ อ มู ล เป็ น ค่ า เฉลี่ ย และสถิ ติ ต ามที่ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญโรค เบาหวานให้ค�ำแนะน�ำ โดยหวังว่า เมื่อพัฒนาผลงานเสร็จสิ้น แล้ว แอพพลิเคชั่นนี้จะได้รับการน�ำไปใช้จริงในโรงพยาบาล และแพทย์แนะน�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานน�ำไปใช้เพื่อเป็นระบบ ติดตามรักษา แพทย์สามารถสืบค้นข้อมูลผู้ป่วยได้จากระบบ จัดเก็บข้อมูลส่วนกลางของโรงพยาบาล เพื่อน�ำไปใช้วิเคราะห์ อาการ เลือกวิธีการรักษา หรือให้ค�ำแนะน�ำผู้ป่วยเป็นรายบุคคล ได้อย่างเหมาะสม สะดวก ไม่สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย” “เมื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยเบาหวานสามารถดู แ ลตั ว เองได้ มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ ที่ ย ากเกิ น ควบคุ ม หรื อ เกิ ด การแทรกซ้ อ นของโรคร้ า ย อื่ น ๆ สั ง คมไทยก็ จ ะได้ ก� ำ ลั ง คนในการพั ฒ นาประเทศ กลั บ คื น มาด้ ว ย” เกียรติ์อธีติ เจ้าของผลงาน PHA แอพพลิ เคชั่นผู้ช่วยดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานบนสมาร์ทโฟน กล่าว
17 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
รางวัลแห่งคุณภาพ
ผลงานการพยากรณ์อากาศ ม.อ.ภูเก็ต รับเหรียญทองจาก
IEIK 2014 ประเทศจีน ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ชิ น วั ช ร์ สุ รั ส วดี ผู ้ อ� ำ นวยการบั ณ ฑิ ต วิ ทยาลั ย สหวิ ทยาการ วิ ท ยาศาสตร์ ร ะบบโลก (ESSAND) มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ได้รับรางวัล Gold Medal Award และรางวั ล Leading Innovation Award จากการน� ำ ผลงานวิ จั ย ด้ า นการพยากรณ์ อากาศและการประมาณค่ า หยาดน�้ ำ ฟ้ า ทั่ ว โลกจาก การสั ง เกตของดาวเที ย ม เข้ า ประกวดและจั ด แสดง นิทรรศการในงาน The 8th International Exhibition of Inventions, Kunshan (IEIK 2014) ณ มณฑล เจี ย งซู สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น เมื่ อ วั น ที่ 16-25 พ.ย. 2557 ประสานงานโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ วิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) ที่ ต ้ อ งการน� ำ ผลงานวิ จั ย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมของนักวิจัยและนักประดิษฐ์ เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนประเทศไทยไปร่ ว มประกวดและจั ด แสดงนิทรรศการในเวทีระดับนานาชาติ
ผู้
งานวิจัยของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี ได้รับ การพัฒนาและขยายพื้นที่ครอบคลุมการพยากรณ์ที่กว้างขวางขึ้น เพื่ อ ให้ ผ ลการพยากรณ์ อ ากาศ ข้ อ มู ล หยาดน�้ ำ ฟ้ า ที่ ป ระมาณค่ า จากดาวเทียม และรายงานเหตุการณ์แผ่นดินไหวจากทั่วโลก ถูกน�ำ เผยแพร่รายวันต่อสาธารณะเพื่อประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งนับตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค. 2557 ถึง 19 ต.ค. 2557 มีผู้เข้าชมผ่าน www.worldmeteorology.com มี ผู ้ ใ ช้ จ� ำ นวน 43,710 คน จ� ำ นวนครั้ ง ที่ เ ข้ า ใช้ 111,260 ครั้ง จ�ำนวนหน้าที่เข้าใช้ 242,537 หน้า
18 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
มีการเข้าชมผ่าน WMApp ส�ำหรับอุปกรณ์ Android ตั้ ง แต่ วั น ที่ 24 เมษายน ถึ ง 25 พฤศจิ ก ายน 2557 มี ผู ้ ใ ช้ ดาวน์ โ หลดแล้ ว จ� ำ นวน 22,059 คน ส่ ว นการชม WMApp ส�ำหรับอุปกรณ์ iOS ตั้งแต่วันที่ 11 ตุลาคม ถึง 25 พฤศจิกายน 2557 มีผู้ใช้ดาวน์โหลด แล้วจ�ำนวน 2,200 คน ส� ำ หรั บ ความก้ า วหน้ า ในความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงาน อื่นๆ เพื่อพัฒนางานวิจัยด้านการพยากรณ์อากาศนี้ ในการ ประชุมคณบดี เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ที่ส�ำนักงานอธิการบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต มี ก ารลงนามความตกลงร่ ว มกั น ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยและบริษัท ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จ�ำกัด เพื่อร่วมผลิตรายการ “TNN Weather” ออกอากาศทางช่อง TNN24 เพื่อรายงานข่าวผลการพยากรณ์อากาศและข้อมูลฝน
ที่ผลิตขึ้นโดยใช้แบบจ�ำลองคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึม (Algorithm) ที่พัฒนาขึ้น และในวันที่ 27 มกราคม 2558 จะลงนาม ร่วมกับ National Space Science Center (NSSC) ของประเทศ จี น ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ที่ รั บ ผิ ด ชอบในด้ า นการวางแผน การพั ฒ นา การเริ่ ม ต้ น และการปฏิ บั ติ ก ารภารกิ จ ต่ า งๆ ที่ เกี่ยวกับดาวเทียมวิทยาศาสตร์อวกาศของประเทศจีน
19 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
บุคคล/หน่วยงาน
โรงพยาบาล ม.อ. มุ่งพัฒนาบริการและเทคโนโลยี
สู่ความเป็นเลิศระดับสากล เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) มอบรางวัล ทรงคุณค่าเพื่อเป็นแบบอย่างความดีงาม ส่งเสริม และกระตุ้นให้หน่วยงานต่างๆ พัฒนาคุณภาพการให้ บริการและระบบงานของหน่วยงาน มุ่งสู่การบริหารราชการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ รับ 2 รางวัล จากประเภทการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ จากการพัฒนาโรงพยาบาล เพื่อตอบสนองต่อการให้บริการผู้เจ็บป่วย ทั้งการบริการ การบริหาร เทคโนโลยี และ รางวัลบูรณาการ การพยาบาลที่เป็นเลิศ จากการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ในการรักษาผู้ป่วย จาก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
รองศาสตราจารย์ นพ. สุธรรม ปิ่นเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
20 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
องศาสตราจารย์ นพ. สุธรรม ปิ่นเจริญ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ปัจจุบัน โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ มีศักยภาพในการดูแลรักษาโรคผู้ป่วยที่เป็นโรคที่รักษายาก โดย ไม่ต้องเดินทางไปรักษาที่กรุงเทพ มีการปรับระบบบริการการท�ำงานแต่เช้า ไม่ มี พั ก กลางวั น โดยดู ต ามขั้ น ตอนการบริ ก ารรั ก ษาพยาบาลเพื่ อ อ� ำ นวย ความสะดวกแก่ผู้ป่วย มีการเปิดช่องทางการติดต่อระหว่างโรงพยาบาลกับ ผู้ป่วยมากขึ้น เช่น การแจ้งผลทางโทรศัพท์ ทางไปรษณีย์ และในอนาคตอาจ เพิ่มการติดต่อผ่านสื่อออนไลน์ การส่งต่อผู้ป่วย การให้ค�ำปรึกษาระหว่าง แพทย์จากต่างโรงพยาบาล การให้ผู้ป่วยได้มีเอกสารการรักษาไว้ เพื่อการ ต่อเนื่องในการรักษาต่อในโรงพยาบาลอื่น นอกจากนั้น ยังใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการบันทึกการรักษา หรือการสั่งยา แทนการเขียนด้วยลายมือ ท� ำ ให้ มี ค วามรวดเร็ ว ถู ก ต้ อ ง การรั ก ษามี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศดังกล่าวเป็นจุดแข็งของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ที่ได้พัฒนา ขึ้นมาเอง เป็นต้นแบบที่โรงพยาบาลต่างๆ ทั่วประเทศ สนใจศึกษาดูงาน
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ยังมีระบบการ บริหารจัดการยา เพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการ สั่งยา โดยมีระบบเตือนในจอภาพ เมื่อพิมพ์สั่งยา ที่ผู้ป่วยเคยมีประวัติการแพ้ยา แจ้งปฏิกิริยาที่มีต่อ กันของยาต่างชนิดที่แพทย์สั่งให้ในคราวเดียวกัน เตือนเมื่อสั่งยาผิดขนาดจากที่เคยให้ แจ้งการให้ยา อย่างเหมาะสมตามความจ�ำเป็น ทั้งนี้ โรงพยาบาล มีการประกันคุณภาพยาโดยตรวจสอบคุณภาพยา ของแต่ละบริษัท เมื่อผ่านมาตรฐานแล้วจึงเปรียบ เทียบที่ราคา โดยมุ่งประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นส�ำคัญ ในปัจจุบัน กระแสของการเรียกร้องสิทธิพื้น ฐานที่มีมากขึ้น ท�ำให้ผู้ป่วยและญาติมีความคาด หวั ง จะได้ สิ่ ง ที่ ดี แ ละคอยตรวจสอบ บ่ อ ยครั้ ง เราไม่ ส ามารถ สนองความคาดหวั ง ได้ ทั้ ง หมด เนื่ อ งจากข้ อ จ� ำ กั ด ในด้ า น บุคลากร สถานที่ อุปกรณ์ และด้วยเหตุผลที่แต่ละฝ่ายใช้อ้างอิง โรงพยาบาลจึงได้มีระบบเฝ้าระวังความผิดพลาด หรือ incident report เพื่อการวางแผนแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดซ�้ำ และมีระบบรับ เรื่องร้องเรียน อย่างไรก็ตาม ศรัทธาของคนในท้องถิ่นที่มีต่อ โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ มี ส ่ ว นเป็ น อย่ า งมากที่ ช ่ ว ยลด กระแสความกดดันที่มีขึ้นเมื่อเกิดความบกพร่องโดยไม่ตั้งใจ และทุกครั้งจะมีการพัฒนาเพื่อแก้ไขไม่ให้เกิดปัญหาซ�้ำขึ้นอีก
คณบดีคณะแพทยศาสตร์ กล่าวว่า ในภูมิภาคอาเซียน ไทยนั บ เป็ น ประเทศที่ มี คุ ณ ภาพในด้ า นการแพทย์ แ ละ สาธารณสุขใกล้เคียงกับประเทศสิงคโปร์ ซึ่งแม้เราจะด้อยกว่า ในด้ า นเงิ น ทุ น และเทคโนโลยี แต่ เ หนื อ กว่ า ในเรื่ อ งความ สามารถและจิ ต บริ ก ารของบุ ค ลากรทางการแพทย์ ซึ่ ง คณะ แพทยศาสตร์ ได้มีการสนับสนุนบุคลากรให้มีคุณภาพทัดเทียม ประเทศพัฒนาแล้วในหลายด้าน มีการใช้ฐานที่เข้มแข็งของ คณะแพทยศาสตร์มาผลักดันคุณภาพการศึกษา และผลักดัน ให้มีการท�ำวิจัยควบคู่กับนวัตกรรม เพราะการวิจัยที่มุ่งหวังจะ ตี พิ ม พ์ อ ย่ า งเดี ย วจะเกิ ด ประโยชน์ ช้ากว่าการสร้างนวัตกรรม แนวคิด สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ หากเราสามารถ สร้างเครื่องมือทางการแพทย์ได้เอง จะมี อ� ำ นาจการต่ อ รองกั บ ผู ้ ข าย โดยอาจน� ำ มาสู ่ ก ารร่ ว มมื อ ในการ ผลิตเพื่อจ�ำหน่ายต่อไป ขณะนี้ มี ห ลายประเทศเปิ ด หลั ก สู ต รการแพทย์ แต่ ม าตรฐาน ทางการศึ ก ษาจะต่ า งกั น จึ ง ต้ อ งมี เกณฑ์สากลที่จะวัดมาตรฐานสถาบัน ผลิ ต แพทย์ และเดื อ นธั น วาคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะเป็น สถาบั น ผลิ ต แพทย์ 1 ใน 5 ของไทย ที่ เ ข้ า รั บ การประเมิ น WFME หรื อ World Federation for Medical Education โดยสถาบันที่ได้รับการคัดเลือกเข้ารับการประเมินเป็นสถาบัน ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ ประเทศ และหากผ่ า นประเมิ น แล้ ว ทั้ ง หน่ ว ยงาน บุ ค ลากรทางการแพทย์ และ นั ก ศึ ก ษา จะได้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ นานาชาติ และจะเป็ น โอกาส ในการเป็นโรงเรียนแพทย์ส�ำหรับนักศึกษาแพทย์จากหลาย ประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วย
21 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
รอบรั้ว ม.อ.
ม.อ. เสริมเขี้ยวเล็บเครือข่ายประชาสัมพันธ์
สู่ Social Media
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สั ม มนาเครื อ ข่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิทยาลัย หัวข้อ”การประชาสัมพันธ์และการตลาดผ่านโซเชียล มีเดีย ”เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 เวลา 13.00 -16.30 น. ณ ห้องประชุม 210 ส�ำนักงาน อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ น� ำ โซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ์ ก มาปรั บ ใช้ ใ น การประชาสัมพันธ์ โดยมี ผศ.ดร.ภัทร อัยรักษ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดมุมมองเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ม.อ.สู่ยุคโซเชียล มีเดีย และ นายญาณาธร ปุณรัตนรังสี จาก IPG MediaBrands เป็นวิทยากร ผศ.ดร.ภั ท ร อั ย รั ก ษ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่าโซเชียลมีเดีย ได้แก่ เว็ปไซต์ เฟสบุ๊ค ไลน์ เข้ามามีอิทธิพลในชีวิตประจ�ำวัน ภาคธุรกิจใช้เป็น กลยุทธ์ในการสื่อสารการตลาดไปยังลูกค้า เฟสบุ๊คโดยผู้ใช้งาน ทั่วโลกมีมากกว่า 800 ล้านคน ในส่วนของประเทศไทย เฟสบุ๊ค ถือว่ามีการเติบโตที่ก้าวกระโดดเป็นอย่างมาก มหาวิทยาลัยจึงได้ จัดการสัมมนาเพื่อเปิดน�ำความรู้และน�ำมาปรับใช้ในการสื่อสาร กับคนรุ่นใหม่อย่างเหมาะสม นายญาณาธร ปุ ญ รั ต นรั ง สี ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น Branded Content จาก IPG Media Brands กล่ า วว่ า จากสถิติการใช้อินเตอร์เน็ต ผู้ชายใช้ 51.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ผู้หญิงใช้ 49.0 ต่อสัปดาห์ กลุ่มผู้ที่มี 2 เพศ ใช้ 62.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
22 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
การใช้อินเตอร์เน็ตโดยมีข้อมูลจากกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศพบว่า โดยเฉลี่ย สมาร์ทโฟน มีการใช้ 6.6 ชั่วโมง ต่ อ วั น คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง โต๊ ะ ใช้ ง านเฉลี่ ย 6.2 ชั่ ว โมงต่ อ วั น คอมพิ ว เตอร์ พ กพา ใช้ ง าน 5.3 ชั่ ว โมงต่ อ วั น แท๊ บ เล็ ต คอมพิวเตอร์ 4.8 ชั่วโมงต่อวัน สมาร์ททีวี 3.4 ชั่วโมงต่อวัน ในแต่ละช่วงเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตก็จะต่างกัน
เว็ปไซต์ เป็นหน้าหลักในการสื่อสารขององค์กร เพื่อ สร้างความน่าเชื่อถือ เป็นแหล่งรวมข้อมูลทั้งหมด ประกอบด้วย องค์กร วัตถุประสงค์ ที่ตั้ง กิจกรรม และโปรโมชั่น ควรสร้ า งผู ้ ช ่ ว ยส่ ว นตั ว ให้ กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมาย เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล เพื่ อ อั พ เดทกิ จ กรรมต่ า งๆ ให้ ข ้ อ มู ล ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ การท�ำกิจกรรม CRM (Customer Relation Management) ให้ข้อมูลข่าวสารและความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ หั ว ใจหลั กในการใช้ โ ซเชี ยลมี เ ดี ย ต้ องจั ดการเนื้อ หา ในการสื่อสารให้เหมาะสม ด้วยความคิดสร้างสรรค์ ให้ข้อมูล เกี่ ยวกั บองค์ กร อั พเดทเทรน พู ดคุ ยกั บกลุ ่ มเป้ า หมาย และ น�ำเสนอกิจกรรม สิ่งที่ต้องพิจารณาคือ ใครคือคนดูของเรา รูปแบบใน การน�ำเสนอคืออะไร น�ำไปเผยแพร่ที่ไหนบ้าง วัตถุประสงค์ การเผยแพร่ น� ำ เสนออย่ า งไร เผยแพร่ เ วลาไหน เมื่ อ ไหร่ อาจสร้ า งกระทู ้ น ่ า สนใจให้ ผู ้ ค นติ ด ตาม เช่ น แนะน� ำ คณะ สถานที่ในมหาวิทยาลัย หนุ่มหล่อ ม.อ.5 วิทยาเขต จะมีคนมา คอมเมนท์มากดไลท์กันเอง กลุ่มเป้าหมายจะรู้ว่าเราเป็นใคร มีลักษณะอย่างไร จะรักเราหรือไม่รักเราก็อยู่ที่เนื้อหาของเรา ควรมี ก ารช่ ว ยตอบเรื่ อ งข้ อ งใจ เพื่ อ สร้ า งและชั ก น� ำ ให้ เ ป็ น ไปตามที่เราหวังไว้
ประชากรในประเทศไทย มีการใช้เฟสบุ๊คมากเป็นอันดับ 1 จ�ำนวน 26 ล้านคน รองลงมา ใช้ line จ�ำนวน 20 ล้าน มีการเริ่มใช้อินเตอร์เน็ตตั้งแต่ อายุ 5 ปี เด็กๆ กลุ่มนี้ จะกลายเป็นกลุ่มเป้าหมายส�ำคัญ ส�ำหรับการท�ำการสื่อสาร ผ่านทีวีดิจิตอลในอนาคตอันใกล้นี้ เนื่องจากทีวียังมีบทบาท ส�ำคัญในชีวิตประจ�ำวันและดารายังคงเป็นกลุ่มคนที่มีอิทธิพล ต่อเด็กกลุ่มนี้ อายุระหว่าง 18 - 45 ปี ครึ่งหนึ่งของกลุ่มนี้ใช้อินเตอร์เน็ต ตลอดเวลาผ่านทางสมาร์ทโฟนและแท๊บเล็ต ใช้เพื่อ Search Engine เข้าโซเซียลเน็ทเวิร์ค FB, IG, Line ติดตามข่าวสาร ผ่านทางบล็อค (Blog) , Pantip Shopping online Like & Share ตามล�ำดับ อายุระหว่าง 46 Up หรือ กลุ่ม Baby Boomer ใช้ Social Network 62% Chat 43% Youtube 64% Search 52% Shopping 20% Voice Call 13% Game 8% ตามล�ำดับ
23 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
วิจัย
ม.อ.เปิดมิติใหม่ป้องกันฟันผุ
ด้วยผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติก ในหลายปี ที่ ผ ่ า นมา ได้ มี การน� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น มผงผสม โพรไบโอติก ไปทดลองใช้ในอาสาสมัคร จ�ำนวน 2 โครงการ โครงการแรกคื อ กลุ ่ มอาสาสมั ครทั่ ว ไป และโครงการที่ส อง คือกลุ่มอาสาสมัครที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง เช่น คนไข้ปาก แหว่งเพดานโหว่ที่มีการจัดฟัน ผลการศึกษาพบว่า ในทั้งสอง โครงการ กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับนมผงผสมโพรไบโอติกพบ การลดลงของเชื้อก่อโรคฟันผุ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ได้ รับนมผงทั่วไป โดยในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อฟันผุสูง จะเห็น การลดลงของเชื้อฟันผุได้ชัดเจนกว่ากลุ่มความเสี่ยงต�่ำ และ เชื้อ Lactobacillus paracasei SD1 สามารถคงอยู่ในช่องปาก ได้อย่างน้อย 1 เดือน หลังจากการได้รับนมผงผสมโพรไบโอติก
าสตราจารย์ ดร. รวี เถียรไพศาล คณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับอาจารย์ ทพญ.สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ และคณะผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย ท� ำ การต่ อ ยอดการน� ำ โพรไบโอติ ก สายพันธุ์ Lactobacillus paracasei SD1 ซึ่งเป็นแบคทีเรีย สายพันธุ์ที่ได้มาจากช่องปาก และมีความสามารถในการ ฆ่ า เชื้ อ แบคที เ รี ย ที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องโรคฟั น ผุ ไปพั ฒ นา รูปแบบเป็น ผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติกในรูปแบบต่าง ๆ โดยได้ ใช้ถึงปัจจุบันเป็นเวลาร่วม 10 ปี ในการศึกษาวิจัย จน ได้องค์ความรู้สามารถเข้าใจธรรมชาติของ Lactobacilllus สายพันธุ์ต่าง ๆ และสามารถ จ�ำแนกชนิดเชื้อก่อโรคและเชื้อ ที่น�ำมาเป็นประโยชน์ ในการช่วยป้องกันโรคในช่องปากได้
ศ
24 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
นอกจากนี้ไม่พบอาการข้างเคียง หรืออาการไม่พึงประสงค์ใด ๆ ในอาสาสมัครทั้งสองโครงการ โดยผลการวิจัยได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ทางวารสารวิชาการนานาชาติแล้ว ปัจจุบัน ผู้วิจัยได้น�ำ โพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 มาพัฒนารูปแบบ เป็นอาหารเสริมในหลายรูปแบบเพื่อเป็นทางเลือกของผู้บริโภค เช่น นมผง นมอัดเม็ด โยเกิร์ต และผสมในเครื่องดื่มน�้ำผลไม้ ต่าง ๆ โดยในการน�ำมาผสมในเครื่องดื่มจะน�ำเอาหัวเชื้อมา เตรียมในรูปแบบของ microencapsulation ซึ่งมีลักษณะเป็น แคปซูลเล็กๆ คล้ายชาไข่มุก และต้องเคี้ยวเพื่อให้ตัวเชื้อได้ ออกมาสัมผัสในช่องปาก การท�ำในรูปของแคปซูลนี้จะท�ำให้ เชื้ อ สามารถมี ชี วิ ต รอดอยู ่ ไ ด้ น านกว่ า การผสมลงในน�้ ำ และ เครื่องดื่มโดยตรง อย่างไรก็ตาม หากเตรียมผสมในรูปแบบของ นมผงและโยเกิร์ตจะสามารถท�ำให้เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานกว่า โดยยังคงประสิทธิภาพในการป้องกันฟันผุได้เท่าเดิม การพั ฒ นารู ป แบบของการน� ำ โพรไบโอติ ก มาใช้ ใ ห้ มี ความหลากหลาย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคสามารถมี ท างเลื อ ก ตามความพึงพอใจ โพรไบโอติกสามารถใช้เป็นประโยชน์ได้ใน คนทุกอายุ เช่นในผู้สูงอายุมักมีปัญหาของฟันผุที่ผิวรากฟัน เนื่ อ งจากผู ้ สู ง อายุ มั ก มี ป ั ญ หาของเหงื อ กร่ น ซึ่ ง มี วิ จั ย ใน ต่างประเทศพบว่าโพรไบโอติกสามารถช่วยให้ดีขึ้นได้ ดังนั้น การพั ฒ นารู ป แบบการน� ำ มาใช้ ต ามความเหมาะสมจึ ง มี นัยส�ำคัญเช่นกัน การวิจัยดังกล่าวข้างต้นได้รับการสนับสนุนจากโครงการ ส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ในอุ ด มศึ ก ษาและพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษา และ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในการใช้โพรไบโอติกเพื่อป้องกันฟันผุ นั้นมีข้อดีหลาย ประการ โดยกลไกการท� ำ งานของโพรไบโอติ ก นั้ น สามารถ ลดเชื้อก่อโรคฟันผุ โดยการแข่งขันเพื่อครอบครองพื้นที่ และ โพรไบโอติกยังสามารถสร้างสารยับยั้งการ เจริ ญ เติ บ โตต่ อ เชื้ อ ก่ อ โรคฟั น ผุ โ ดยตรง นอกจากนี้โพรไบโอติกยังสามารถกระตุ้น ภู มิ ต ้ า นทานต่ อ เชื้ อ ก่ อ โรคด้ ว ย กลไก ดั ง กล่ า วต่ า งจากการใช้ น�้ ำ ยาบ้ ว นปาก หรื อ สารต้ า นเชื้ อ ซึ่ ง มี ผ ลในการลดเชื้ อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว และอาจมี ป ั ญ หาการ ดื้ อ ต่ อ สารต้ า นเชื้ อ ตามมาในภายหลั ง อย่ า งไรก็ ต าม เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า ฟั น ผุ เ กิ ด จากหลายสาเหตุ การน� ำ Lactobacillus ชนิ ด นี้ ไ ปผสมในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่าง ๆ เพื่อป้องกันฟันผุเป็นทางเลือกหนึ่ง ร่วมกับการดูแลรักษาสุขภาวะในช่องปาก และ พฤติ ก รรมการกินอาหารโดยเฉพาะ
อาหารหวาน ที่เป็นปัจจัยเอื้อต่อการเจริญเติบโตของเชื้อก่อ โรคฟันผุ ดังนั้นหากสามารถลดปริมาณของเชื้อก่อโรคฟันผุ ร่ ว มกั บ การควบคุ ม อาหารหวานและดู แ ลสุ ข ภาพช่ อ งปาก สม�่ำเสมอ จะท�ำให้การลดอัตราการเกิดฟันผุในประชากรไทย ประสบผลส�ำเร็จยิ่งขึ้น ในอนาคตมีแผนการวิจัยต่อยอดในการน�ำโพรไบโอติก ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสุขภาพในช่องปากได้แก่ การผสมโพรไบ โอติ ก และฟลู อ อไรด์ โ ดยคาดหวั ง ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สู ง ขึ้ น กว่ า การใช้โพรไบโอติกหรือใช้ฟลูออไรด์เพียงอย่างเดียว ทั้งนี้อาจ เป็นการเพิ่มทางเลือกให้เหมาะกับชุมชน ในท้องที่ที่มีฟลูออไรด์ ในน�้ำดื่มสูงอาจใช้โพรไบโอติกเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การ น�ำโพรไบโอติกมาประยุกต์ใช้ในการป้องกันโรคปริทันต์อักเสบ และการป้องกันการติดเชื้อราในช่องปาก ซึ่งเป็นเป้าหมายการ ขยายงานวิจัยของทีมงานวิจัยนี้ในอนาคตเช่นเดียวกัน และ ทีมงานวิจัยได้ขยายวงขึ้นโดยมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ต่างๆ จากต่างสถาบันเข้าร่วม ในการวิจัย ในอนาคตคาดว่า ความร่วมมือดังกล่าวจะสามารถท�ำให้องค์ความรู้ในการน�ำ โพรไบโอติ ก มาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ เสริ ม สุ ข ภาพในช่ อ งปากมี ความชัดเจนยิ่งขึ้น ศาสตราจารย์ ดร. รวี เถียรไพศาล กล่าว
25 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ความร่วมมือกับสังคม/ชุมชน
ส
ถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทย สถาบันมาตรฐานฮาลาลแห่งประเทศไทย ศูนย์ วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม หอการค้า และสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยว จ.สงขลา จัดสัมมนาเรื่อง ไทยกับการเป็นศูนย์กลางธุรกิจฮาลาล สงขลา...เมืองท่า ของฮาลาลภาคใต้ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมฮาลาล ของประเทศไทย ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก
สงขลาเมืองท่าของฮาลาลภาคใต้ เอื้อให้ไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจฮาลาลของโลก
ประเทศไทยส่ ง ออกอาหารฮาลาลได้ เฉลี่ยปีละประมาณ 5,688 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 1.7 แสนล้ า นบาท) ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่านมา ขณะที่ตลาดอาหารฮาลาลในอาเซียน มี มู ล ค่ า ประมาณ 8 หมื่ น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ และชาติ ส มาชิ ก ในอาเซี ย นอย่ า งมาเลเซี ย ได้ ประกาศจะเป็ น ศู น ย์ ก ลางฮาลาลนานาชาติ สิงคโปร์ ประกาศจะเป็นศูนย์กลางผลิตอาหาร ฮาลาล ขณะที่บรูไนได้ท�ำข้อตกลงกับออสเตรเลีย เป็นผู้ผลิตอาหารให้โลกมุสลิม จังหวัดสงขลาเองก็ได้ให้ความส�ำคัญต่อ ผลิตภัณฑ์ฮาลาล ตลอดจนได้ส่งเสริมและเพิ่ม ศั ก ยภาพของผู ้ ป ระกอบการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮ าลาล และในปี 2558 ซึ่งจะเข้าสู่ AEC ยิ่งต้องมีความ จ� ำ เป็ น อย่ า งมากที่ ทุ ก ภาคส่ ว นจะได้ ใ ห้ ค วาม ส�ำคัญต่อเรื่องนี้ ดร.กิ ต ติ เจิ ด รั ง ษี รองผู ้ อ� ำ นวยการ สถาบั น ฮาลาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่าวว่า โอกาสของสินค้าฮาลาล ไม่ได้มีเพียง อาหารเท่านั้น สินค้าฮาลาลมีทั้งกลุ่มผลิตภัณฑ์ ได้ แ ก่ อาหาร เครื่ อ งส� ำ อาง ของใช้ ป ระจ� ำ วั น และกลุ่มบริการ ได้แก่ ที่พัก แหล่งท่องเที่ยว สปา โรงพยาบาล การเงิน/การธนาคาร ในแต่ละปีประเทศไทยมีการส่งออกสินค้า ผ่ า นชายแดนไปยั ง มาเลเซี ย ซึ่ ง เป็ น ประเทศ
26 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
มุสลิมด้วยมูลค่าไม่น้อยเช่น ปี 2556 มีการส่งออกผ่านด่านใน จังหวัดสงขลา รวม 493,332 ล้านบาท (โดยผ่านด่านสะเดา 330,023 ล้านบาท และด่านปาดังเบซาร์ 163,309 ล้านบาท) ส�ำหรับโอกาสที่จะเกิดขึ้นจาก AEC จะท�ำให้จังหวัดสงขลา อยู่ในต�ำแหน่งศูนย์กลางคมนาคมของอาเซียนโดยที่สงขลา และจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ มี วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต อาหาร (พืช ผัก สัตว์น�้ำ) และมีวัตถุดิบด้านการท่องเที่ยว ทั้งแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ และทางประวั ติ ศ าสตร์ มี สั ด ส่ ว น ประชากรวั ย ท� ำ งาน (15-59 ปี ) ค่ อ นข้ า งสู ง และ มีจ�ำนวนประชากรมุสลิม 2,307,550 คน (คิดเป็น ร้ อ ยละ 65.3 ของจ� ำ นวนประชากร) นอกจากนี้ ยั ง มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกในพื้ น ที่ ส งขลาและ จั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย งประกอบด้ ว ย นิ ค มอุ ต สาหกรรม ฮาลาล อ.ปานาเระ จ.ปัตตานี โรงฆ่าสัตว์ (แพะ) ขนาดเล็ ก ที่ ส ตู ล และปั ต ตานี มหาวิ ท ยาลั ย และ สถาบันการศึกษาที่ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ และห้องปฏิบัติการทดสอบมีโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่-กลาง-เล็ก หลากหลายประเภทและมี ตลาดขนาดใหญ่จากประเทศเพื่อนบ้านที่มีจ�ำนวน ประชากรมุสลิมจ�ำนวนมากรองรับอาหารผลิตภัณฑ์ และบริ ก ารฮาลาล ดั ง นั้ น สงขลาจึ ง มี ศั ก ยภาพ อย่างสูงที่จะเป็นเมืองท่าของฮาลาลภาคใต้ พล.ต.ต.สุ ริ น ทร์ ปาลาเร่ เลขาธิการคณะกรรมการ อิสลามแห่งประเทศไทยกล่าวว่า ประเทศไทยที่มีประชากร 70 ล้านคนนั้น เป็นชาวมุสลิมอยู่ประมาณ 6 ล้านคน ซึ่งถือว่า เป็นผู้บริโภคกลุ่มใหญ่ที่มีความต้องการผลิตภัณฑ์ฮาลาลโดย เฉพาะ ประชากรในโลกที่นับถือศาสนาอิสลามมีจ�ำนวนกว่า 1,800 ล้านคน หรือ 1 ใน 3 ของประชากรโลก ผู้ที่จะประกอบ ธุรกิจฮาลาลจ�ำเป็นต้องเรียนรู้และเข้าในหลักศาสนาอิสลาม ต้ อ งมี ห นั ง สื อ ส� ำ คั ญ ให้ ใ ช้ เ ครื่ อ งหมายรั บ รองฮาลาล และ ต้องปฏิบัติให้ได้ตามมาตรฐานฮาลาลในแวดวงอุตสาหกรรม อาหาร ประเทศไทยได้รับการยอมรับจากตลาดผู้บ ริ โ ภคว่ า
เป็นอันดับ 1 ในเอเชียด้าน Food Safety สามารถใช้เป็นจุดแข็ง มาสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคชาวมุสลิม รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย ดะห์ลัน ผู้อ�ำนวยการศูนย์ วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาชิกสภา ปฏิรูปแห่งชาติ กล่าวว่า “ธุรกิจฮาลาล” มีตลาดที่กว้างใหญ่ และมู ล ค่ า มหาศาลทั้ ง ในระดั บ ประเทศ ระดั บ ภู มิ ภ าคและ ระดับโลก แม้ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศมุสลิม แต่ความเป็น อู่ข้าวอู่น�้ำ เป็นแหล่งวัตถุดิบการเกษตร ที่ดีมากของโลก คือ โอกาสที่ จ ะเพิ่ ม ส่ ว นแบ่ ง ตลาดของ “ตลาดอาหารฮาลาล” ขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยก็ ยั ง มี ค วามสามารถในการผลิ ต “ผลิตภัณฑ์ดีๆ” อีกมากมายที่หากรู้ช่องทางที่ถูกต้องก็สามารถ สร้างตลาดได้ในกลุ่มชาติมุสลิม โดยเฉพาะในช่วงจังหวะที่จะ เข้าสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” หรือ AEC ในต้นปีหน้า ร้อยโทสุรก�ำพล อดุลยรัตน์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนา เศรษฐกิ จ และสั ง คม 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ธนาคาร อิ สลามแห่ ง ประเทศไทย กล่ า วว่ า ธนาคารอิ สลามมี บ ริการ สิ น เชื่ อ แก่ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ฮาลาล ในวงเงิ น ไม่ เ กิ น 100 ล้ า นบาท สามารถขอรั บ ค� ำ แนะน� ำ ปรึ ก ษาได้ ที่ ธ นาคาร อิสลาม ตั้งอยู่หน้าสถานีรถไฟหาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
27 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
ไอที
จาก HIS สู่ BYOD
อีกขั้นของการพัฒนาระบบไอที เพื่อผู้ป่วยโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
IS เป็นค�ำย่อมาจาก Hospital Information System หรือ ที่เรียกกันอย่างเป็นทางการว่า “ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล” ซึ่งเป็นระบบที่บุคลากร โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ คุ ้ น เคยเป็ น อย่ า งดี เพราะแต่ละวันในการปฏิบัติหน้าที่ ทุกคนต้องใช้ระบบ HIS ในการท�ำงาน
28 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
การศึกษา
ระบบ HIS เป็นผลส�ำเร็จจากความร่วมแรงร่วมใจและ ร่ ว มมื อ กั น ของบุ ค ลากรคณะแพทยศาสตร์ โดยเฉพาะที ม เจ้าหน้าที่ฝ่ายสารสนเทศ ที่คิดค้น พัฒนา และปรับปรุงระบบ ดังกล่าว จนท�ำให้ผู้ใช้งานเกือบ 4,000 คนของโรงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ ซึ่งกลุ่ม ผู้ใช้ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล เภสัชกร เจ้าหน้าที่การเงิน ท�ำงานได้สะดวก รวดเร็ว ที่ส�ำคัญ คือ มีความถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้น การพัฒนาระบบตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมา ไม่ใช่ เรื่ อ งง่ า ย เพราะนอกจากผู ้ อ อกแบบระบบต้ อ งคิ ด ว่ า จะท� ำ อย่างไรให้ระบบ มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ค�ำนึงถึง ความถูกต้องของข้อมูล มีความเหมาะสมกับผู้ใช้มากที่สุด และ ยังเป็นระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้ สามารถใช้งานได้สะดวกอีกด้วย ดั ง นั้ น การแลกเปลี่ ย นความคิ ด บอกกล่ า วปั ญ หา รวมถึ ง ข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ ท� ำ ให้ ร ะบบมี ค วามสมบู ร ณ์ แ ละ เกิดประโยชน์กับผู้ป่วยและผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก ที่ส�ำคัญ คื อ การสร้ า งระบบ HIS เป็ น การออกแบบจากบุ ค ลากรใน คณะแพทยศาสตร์ ซึ่งถือเป็นข้อดี เนื่องจาก สามารถปรับปรุงระบบ ได้ ต ามที่ ต ้ อ งการ หรื อ แก้ ไ ขได้ ทันทีเมื่อพบปัญหาจากการท�ำงาน จ น ห น ่ ว ย ง า น ทั้ ง ภ า ย ใ น แ ล ะ ภายนอกประเทศและต่างประเทศ เข้ า มาศึ ก ษาดู ง านอยู ่ ต ลอดเวลา รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีรสาส์น คีรีรัฐนิคม รองคณบดี ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ กล่าวว่า “การพัฒนาระบบ เริ่มขึ้น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2535 โดยเริ่ ม จาก แผนกผู้ป่วยนอก ซึ่งการวางระบบ
ต้องสอดคล้องกับการท�ำงานในแต่ละส่วน ได้แก่ การลงทะเบียนผู้ป่วย การตรวจและ บั น ทึ ก การรั ก ษาของแพทย์ การสั่ ง ยา การสั่งตรวจ หรือ ท�ำหัตถการ การค�ำนวณ ค่ า ใช้ จ ่ า ยทั้ ง หมด รวมไปถึ ง การจั ด ระบบ นัดผู้ป่วยในครั้งต่อไป เรียกได้ว่าครอบคลุม ทุกขั้นตอน ระบบ HIS นอกจากจะท�ำให้การท�ำงาน ของบุคลากรในโรงพยาบาลสะดวก รวดเร็ว ยังลดความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ได้อีกด้วย เช่น ในระบบจะมีการแจ้งว่า ผู้ป่วย คนใดแพ้ ย าชนิ ด ใด หรื อ ผู ้ ป ่ ว ยคนนี้ เ คยมี ประวัติการรักษามาอย่างไร เพียงแค่ปลายนิ้ว ทุกอย่างสามารถแสดงผลได้ทันที และเพื่ อ การพั ฒ นาระบบให้ มี ค วามทั น สมั ย และ สอดคล้องกับโลกเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบัน ทางฝ่าย เวชสารสนเทศ จึงปรับระบบให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง ฐานข้อมูลผู้ป่วยในโรงพยาบาล กับเครื่องมือสื่อสารของแพทย์ ซึ่งเรียกว่า Bring Your Own Device หรือเรียกสั้นๆ ว่า BYOD คือ “การน�ำอุปกรณ์ที่แต่ละคนมีอยู่ อาทิ โน๊ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน แทปเล็ต มาใช้เชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของโรงพยาบาล” โดยระบบดั ง กล่ า ว เป็ น การน� ำ ระบบสารสนเทศเข้ า มาใช้ ในด้ า นการแพทย์ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ แพทย์ ท�ำให้แพทย์สามารถเข้าถึงข้อมูลการรักษาพยาบาลของโรง พยาบาลได้จากทุกที่ ทุกเวลา สามารถให้ค�ำปรึกษา รวมถึง แนวทางการรักษาได้จากทุกที่ ท�ำให้การบริการมีความรวดเร็ว และประสบความส�ำเร็จในการรักษาพยาบาลมากขึ้น” ที่มา : ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 235 ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557
29 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน
ผศ.นพ.ธนะรัตน์ บุญเรือง
กับการท�ำหน้าที่ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เมื่ อ วั น ที่ 1 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2557 โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ได้มีค�ำสั่งแต่งตั้ง ผศ.นพ.ธนะรัตน์ บุญเรือง เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสงขลานครินทร์คนใหม่ แทน ผศ.นพ.ชิต เพชรพิเชฐเชียร ที่เกษียณอายุราชการ การด�ำเนินงาน ของผู้อ�ำนวยการคนใหม่จะเป็นอย่างไร ติดตามได้จากบทสัมภาษณ์
“อันที่จริง ผมเป็นคนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตั้งแต่เริ่มเรียนที่นี่ จนกระทั่ ง จบการศึ ก ษาแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต เมื่อปี พ.ศ.2535 ชีวิตการท�ำงานก็เริ่มต้นขึ้น ที่ นี่ เ ช่ น กั น โดยผมท� ำ งานเป็ น แพทย์ ใ ช้ ทุ น ใน ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์ โธปิดิกส์ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2535 หลั ง จากนั้ น จึ ง เข้ า สู ่ เส้ น ทางของการเป็ น อาจารย์ ใ นปี พ.ศ.2538
30 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
เส้นทางสู่การท�ำงานบริหาร จากบุคลิกภาพและประสบการณ์ที่ผ่านมา หลังจากที่ท�ำงาน ในภาควิชา ท�ำให้ผู้ใหญ่เล็งเห็นว่า เราสามารถจะท�ำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้ จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าภาควิชา ฝ่ายบริการ ดูแลเรื่องการบริการผู้ป่วย ประมาณ 3 - 4 ปี หลังจากนั้นได้รับการ คัดเลือก ให้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ติดต่อกัน 2 สมัย สมัยแรก คือ ตั้งแต่ พ.ศ.2551 - 2554 และสมัย ที่ 2 คือ พ.ศ.2555 - 2559 (ซึ่งยังไม่หมดวาระแต่ได้รับการคัดเลือก ให้รับต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล) นอกจากนี้ยังท�ำหน้าที่ เป็ น กรรมการบริ ห ารคณะ และคณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ ในคณะ ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสที่ดี ที่ท�ำให้ผมได้เรียนรู้ระบบงานต่างๆ ของ คณะแพทย์ และจากการที่เราสนใจ ประกอบกับได้รับประสบการณ์ จากการท� ำ งานกั บ กรรมการหลายชุ ด ท� ำ ให้ มี ค วามเข้ า ใจเรื่ อ ง ระบบงานพอสมควร เข้าสู่การท�ำหน้าที่ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล จุ ด เริ่ ม ต้ น มาจากการที่ ผศ.นพ.ชิ ต เพชรพิ เ ชฐเชี ย ร เกษียณอายุราชการ และทางทีมบริหารจ�ำเป็นต้องหาผู้อ�ำนวยการ คนใหม่ ผมได้รับการทาบทามจากท่านคณบดี ให้มารับต�ำแหน่ง รองคณบดีฝ่ายโรงพยาบาลและผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ความรู้สึกแรก คือ ยินดีที่ได้รับเกียรติ รู้สึกยินดีที่มีคนมอง เห็ น สามารถและไว้ ใ จให้ ท� ำ งานในต� ำ แหน่ ง ส� ำ คั ญ คิ ด ว่ า เป็ น โอกาสที่ ดี ที่ จ ะได้ พั ฒ นาตนในการท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น ในการ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู ้ อ่ื น พั ฒ นาจิ ต ใจในการคิ ด ว่ า ควรจะให้ ผลประโยชน์ ส ่ ว นตนเป็ น ที่ ส อง ได้ พั ฒ นาตนเองให้ มี ค วามสุ ขุ ม คัมภีรภาพ และเพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการ แต่อย่างไรก็ตาม ยังกังวลและเป็นความกดดันว่า ตนเอง ไม่ได้ผ่านงานของโรงพยาบาลมาก่อน และไม่ได้ท�ำงานร่วมทีม กับผู้บริหารปัจจุบันมาตั้งแต่แรกเริ่ม แต่คิดว่าเมื่อได้รับความไว้ วางใจ เราก็น่าจะเรียนรู้ได้ เพราะมีประสบการณ์ด้านการบริหาร จากการเป็นหัวหน้าภาควิชาส่วนหนึ่ง ซึ่งงานของภาควิชา ส่วนหนึ่ง ต้องสัมพันธ์กับงานของโรงพยาบาล เพราะภาควิชาเป็นผู้ร่วมให้ บริ ก ารในโรงพยาบาล ซึ่ ง จากประสบการณ์ ต รงนี้ ก็ ท� ำ ให้ เ ข้ า ใจ ระบบงานและปัญหาของโรงพยาบาลมากพอสมควร อันที่จริง แนวทางการบริหารงานของโรงพยาบาลฯ ไม่เหมือน กับโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นแบบการบังคับบัญชา โดยตรง โดยส่วนใหญ่ แต่เป็นแบบการบริหารร่วม เพราะหนึ่งคน ท� ำ งานหลายพั น ธกิ จ แต่ ล ะพั น ธกิ จ มี ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบแตกต่ า งกั น โรงพยาบาลไม่ ไ ด้ มี ก� ำ ลั ง เป็ น ของตั ว เอง ที ม บริ ห ารโรงพยาบาล
ไม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ดั ง นั้ น การท� ำ หน้าที่ผู้บริหารของโรงพยาบาลคือ เป็น “ผู้ - อ�ำ-นวย-การ” หมายถึง คอยอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ปฏิบัติ งาน สามารถท� ำ งานได้ อ ย่ า งเต็ ม ศักยภาพ และสนับสนุนคนท�ำงาน อย่างเต็มที่ ประสานงาน ท�ำความ เข้ า ใจ และแก้ ไ ขปั ญ หาให้ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ คอยสร้ า งความ เข้าใจระหว่างทีมท�ำงาน เพราะใน บางครั้งทุกคนพยายามมุ่งมั่นที่จะ ท�ำงานของตนเองให้ดี แต่หลายครั้งอาจเกิดความขัดแย้งระหว่าง หน่วยงานบนพื้นฐานประโยชน์ของผู้ป่วย ซึ่งเป็นอุปสรรคการท�ำงาน ของทีมต่างๆ ดังนั้น เราต้องบริหารจัดการให้ระบบงานสามารถ ด�ำเนินต่อไปได้ ท�ำให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพ บรรลุตามพันธกิจ การรั ก ษาพยาบาล ซึ่ ง เป็ น พั น ธกิ จ หลั ก และเป็ น ที ม ที่ ชี้ ทิ ศ ทาง และแนวทางการท�ำงานให้ผู้ปฏิบัติได้เดินไปในทิศทางเดียวกัน การเข้ามารับต�ำแหน่งในครั้งนี้ จริงๆ แล้วไม่ได้คิดว่าจะเข้า มาเปลี่ยนแปลงหรือปรับเปลี่ยนอะไรมากมาย เนื่องจากโครงสร้าง การบริหารและแนวทางการท�ำงานเดิมที่ก�ำหนดไว้ มีความครบถ้วน และชั ด เจนอยู ่ แ ล้ ว ประกอบกั บ ระยะเวลาที่ เ หลื อ อยู ่ เ ป็ น เพี ย ง ช่วงสั้น ๆ จึงคิดว่า แนวทางการท�ำงานจะเป็นในรูปแบบของการ รั บ นโยบายจากคณบดี จากที ม บริ ห ารเดิ ม เพื่ อ น� ำ สู ่ ก ารปฏิ บั ติ และสร้างความเข้าใจ และสื่อสารปัญหา ข้อเสนอแนะจากผู้ปฏิบัติ สู่การปรับปรุงการน�ำองค์กร และในส่วนตัว เป็นการเข้ามาเรียนรู้ ระบบในเชิ ง ลึ ก โดยการน� ำ มุ ม มองของคนที่ เ คยเป็ น คนวงนอก แล้วมองเห็นปัญหา เข้ามาผสานกับงานบริหาร เพื่อน�ำไปปรับใช้ และแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ที่ ส� ำ คั ญ การท�ำ งานในเชิง บริห าร ต้องอาศัย ความเข้าอก เข้าใจซึ่งกันและกันของคนท�ำงาน เพราะงานจะส�ำเร็จไม่ได้ด้วย คนคนเดียว แต่งานจะส�ำเร็จและเกิดผลได้ ถ้าได้รับความร่วมมือ จากผู้ร่วมงาน ดังนั้นการที่เรามีโอกาสท�ำงานกับผู้ร่วมงานสาขาอื่น นับเป็นสิ่งที่ดี เพราะสิ่งเหล่านี้จะกลายเป็นพื้นฐานการท�ำงานที่ดี เมื่อไหร่ที่เราเข้าใจผู้อื่น เมื่อนั้นผู้อื่นก็จะยอมรับ เราเช่ น กั น ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ น ่ า จะเป็ น คุ ณ สมบั ติ ของผู้บริหาร และการเป็นผู้น�ำที่ดี
ระหว่ า งหน่ ว ยงาน ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ห วั ง ไว้ คื อ ถ้ า ทุ ก คนท� ำ งานได้ ผมถือว่าการท�ำงานด้านการบริหารของผมประสบความส�ำเร็จ ซึ่ ง กลไกที่ ใ ช้ อ าจจะเป็ น ลั ก ษณะของการพู ด คุ ย ในหน่ ว ยงาน ต่างๆ เนื่องจากบุคลิกของเราสามารถเข้าถึงได้ง่าย ผมจึงคิดว่า เมื่ อ ทุ ก คนมี ป ั ญ หา ทุ ก คนสามารถบอกกล่ า วปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ผมยิ น ดี รั บ ฟั ง และจะพยายามหาวิ ธี ก ารแก้ ไ ขที่ เ หมาะสม และ สามารถสนั บ สนุ น การท� ำ งานของคนท� ำ งานให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ซึ่ ง แน่นอนว่าผลดีโดยรวมก็จะปรากฏกับคณะฯ ถึงแม้มันเป็นสิ่งที่ยาก แต่ก็ต้องท�ำ ส�ำหรับเป้าหมายในการเข้ามาท�ำงานในครั้งนี้ ผมคิดว่า ถ้า เป็นผลงานเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพ สิ่งเหล่านี้จะมีตัวชี้วัด หรือ รายงานการด�ำเนินงานที่ชัดเจนอยู่แล้ว ซึ่งสิ่งเหล่านั้นไม่ได้สื่อถึง ความพึ ง พอใจหรื อ ความผาสุ ข ของบุ ค ลากรในองค์ ก ร แต่ ผ มตั้ ง เป้าหมายไว้ว่าจะท�ำให้บรรยากาศในการท�ำงานดีขึ้น ซึ่งการวัดผล คงไม่ ส ามารถแสดงให้ เ ห็ น ได้ ใ นรู ป แบบของตั ว เลข แต่ เ มื่ อ ใด ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านทราบว่ า บรรยากาศการท� ำ งานเปลี่ ย นแปลง ไปในทางที่ดีขึ้น แม้จะเป็นความรู้สึกของผู้ปฏิบัติงานดีขึ้น ผมก็พอใจแล้ว สิ่งที่อยากบอกกับบุคลากร ผมขอบคุณบุคลากรทุกท่าน ที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจท�ำงาน ให้กับคณะฯ ผมเชื่อว่าคณะฯเรา เป็นหน่วยงานหนึ่งที่บุคลากรมี ความผูกพันกับองค์กรสูง ผมเชื่อว่าบุคลากรทุกคนคิดว่าตนเอง เป็นเจ้าของบ้านหลังนี้ ถ้าทุกคนร่วมกันสร้างบรรยากาศในการ ท� ำ งานที่ ดี ลดความเป็ น ส่ ว นตั ว และนึ ก ถึ ง ส่ ว นรวมให้ ม ากขึ้ น บรรยากาศ บ้านหรือที่ท�ำงานของเราก็น่าจะน่าอยู่ขึ้น ที่ส�ำคัญ คือ บ้านหลังนี้ คืออนาคตที่เราจะฝากชีวิตไว้ เพราะสุดท้าย เราก็จะ กลายเป็นผู้รับบริการคนหนึ่งในองค์กรแห่งนี้ ฉะนั้นถ้าเราท�ำที่นี่ ให้ ดี ทุ ก คนก็ จ ะได้ รั บ ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของเราเอง การท� ำ ให้ องค์กรดีไม่ใช่หน้าที่ของผู้บริหาร หรือหน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง แต่ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องทุ ก คนที่ ต ้ อ งหั น หน้ า มาร่ ว มมื อ กั น “ให้ คิ ด ว่ า การให้ จะท�ำให้เราได้มากกว่าการรับ” ที่มา : ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 235 ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน 2557
หลักในการท�ำงาน ในการท�ำงาน ผมมีค�ำหนึ่งที่ชอบใช้ คือ “สร้างความสมดุล” เพราะทุกอย่างไม่มีอะไร ที่สมบูรณ์แบบที่สุด แต่จะท�ำอย่างไร ให้เกิด ความสมดุลระหว่างกันมากที่สุด ซึ่งสิ่งที่ยาก คื อ การสร้ า งความสมดุ ล ระหว่ า งผู ้ ปฏิ บั ติ ง าน กั บ ความต้ อ งการของผู ้ รั บ บริ ก าร และความต้ อ งการของระบบใน เชิ ง นโยบาย รวมถึ ง การลดความขั ด แย้ ง
31 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน และที่ส�ำคัญยิ่งกว่านั้น เพื่อเป็นการส�ำนึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงพระราชทานชื่ อ ให้ แ ก่ มหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” ภายในหอประวัติฯ จะจั ด ให้ มี โ ซนพระราชประวั ติ ข องสมเด็ จ พระราชบิ ด าเจ้ า ฟ้ า มหิ ด ล อดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ รวมทั้งจัดให้มีโซน “ม.อ.ใต้ร่มพระ บารมี ” จะเป็ น นิ ท รรศการที่ จั ด แสดงภาพและเหตุ ก ารณ์ ที่ พ ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชด�ำเนินมา ปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แนะน�ำ
หอประวัติ ม.อ.
เล่าขานเกียรติยศ สงขลานครินทร์ หอประวั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ หอเกี ย รติ ย ศที่ ทรงคุณค่าในการเชิดชูเกียรติแ ห่งสถาบัน เป็น แหล่งบันทึกความ ทรงจ�ำอันน่าภาคภูมิ ใจที่บูรณาการอุดมการณ์แ ห่งพระปณิธาน ของสมเด็จพระบรมราชชนก สานต่อเจตนารมณ์การก่อก�ำเนิด มหาวิ ท ยาลั ย ตลอดจนศั ก ยภาพในอนาคตของมหาวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดท�ำหอประวัติฯ ขึ้น เพื่อเป็น การเฉลิมฉลองเนื่องในวาระครบรอบ 40 ปี แห่งการก่อตั้งมหาวิทยาลัย ทั้งนี้เพื่อให้เป็นมรดกแก่คนรุ่นหลัง การจัดท�ำหอประวัติฯ เกิดจากการ ริเริ่มของอดีตอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข โดยมีแนวความคิดที่ว่า เนื่องมาจากอีก 100 ปี ข้างหน้าผู้คนจะโหยหา อดีต อยากรู้ว่าประวัติของมหาวิทยาลัยเริ่มต้นมาอย่างไร ทั้งนี้ เพื่อ กระตุ้นให้ทุกคนมีจิตส�ำนึกถึงพระคุณของผู้ก่อตั้ง ภายในหอประวัติ จะมีข้อมูลเริ่มตั้งแต่สมัยที่ ม.อ. มีที่ท�ำการชั่วคราวที่คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ถนนศรีอยุธยา (ข้างโรงพยาบาล สงฆ์ กรุ ง เทพมหานคร) ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของคณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จนกระทั่งย้ายมาที่ ต�ำบลรูสะมิแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปั ต ตานี โดยมี ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น คื อ นางซุ ่ ย สิ้ ม ปริ ช ญากร และต� ำ บล คอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ในปั จ จุ บั น โดยคุ ณ หญิ ง หลง อรรถกระวีสุนทร ได้บริจาคที่ดินในการก่อตั้ง
32 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
นอกจากนั้น หอประวัติฯ แห่งนี้ ได้เป็นสถานที่จัดแสดงประวัติ ของศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข อดีตอธิการบดี ผู้มีส่วนส�ำคัญ ยิ่งในการจัดตั้งมหาวิทยาลัย และเป็นที่รวบรวมประวัติของอธิการบดี คนแรก และนายกสภามหาวิทยาลัยคนแรก จนถึงคนปัจจุบัน ประวัติ ความเป็นมาของมหาวิทยาลัย สิ่งส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ ส�ำคัญๆ ในช่วงระยะเวลา 45 ปี ที่ผ่านมา รวมทั้งเรื่องราวต่างๆ ที่อยู่ ในความทรงจ�ำอีกมากมาย หอประวัติฯ ดังกล่าว จะใช้เป็นแหล่งศึกษา ของนักศึกษาและบุคลากรทั่วไปให้เข้ามาเที่ยวชม เป็นที่ประทับใจของ ผู้มาเยี่ยมเยือน เป็นอาคารที่ร่มรื่นสวยงาม โดยใช้พื้นที่อาคารสามชั้น หอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร (เดิม) เป็นสถานที่ด�ำเนินการ ขณะนี้ ห อประวั ติ ฯ ได้ เ ปิ ด ด� ำ เนิ น การแล้ ว โดยสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิดอาคาร หอประวัติฯ เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2557 หอประวัติฯ เปิดให้ชม วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 9.00 - 16.00น. (เว้นวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดราชการ) วันละ 4 รอบ (รอบละ 1 ชม. 30 นาที) รอบเช้า (2 รอบ) เวลา 9.00 น. เวลา 10.30 น. รอบบ่าย (2 รอบ) เวลา 13.00น. เวลา 14.30 น. ผู้สนใจจะเข้าชม ติดต่อจองเวลาเข้าชมล่วงหน้า ได้ที่ คุณกัญญารัตน์ แก้วเรียง โทร.0-7428-2990 E-mail : kanyarat.k@psu.ac.th หรือดูรายละเอียดการเข้าชมได้ที่ www.psuhistory.psu.ac.th/exhibition
รางวัลแห่งคุณภาพ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดอันดับจาก University Ranking by Academic Performance ในสาขาวิชาต่างๆ ประจ�ำปี 2013 - 2014
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ จาก University Ranking by Academic Performance ในการจั ด อั น ดั บ สาขาวิ ช าของมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ทั่ ว โลกในปี 2013 - 2014 ทั้งหมด 23 สาขาวิชา ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีชื่อในสาขาวิชาดังต่อไปนี้ 1. สาขาวิชาเคมี (Chemical Sciences) อยู่อันดับที่ 3 ของประเทศ และอันดับที่ 796 ของโลก 2. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Medical and Health Sciences) อยู่อันดับที่ 5 ของประเทศ และอันดับที่ 766 ของโลก 3. สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) อยู่อันดับที่ 6 ของประเทศ และอันดับที่ 847 ของโลก 4. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Sciences) อยู่อันดับที่ 6 ของประเทศ และอันดับที่ 826 ของโลก
33 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
รอบรั้วศรีตรัง
ม.อ.ปัตตานี ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม จัดงาน
คืนความสุขให้คนตานี
ในงาน ผ้าดี ที่ชายแดนใต้
ถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมกับกระทรวง วัฒนธรรม ขอเชิญร่วมงาน คืนความสุขให้คนตานี ในงาน ผ้ า ดี ที่ ช ายแดนใต้ เมื่ อ วั น ที่ 23-25 ธั น วาคม 2557 ชม นิทรรศการผ้า การบรรยาย และเสวนา การเดิน แฟชั่นโชว์ คอนเสิร์ต การแสดงบนเวที สาธิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมล คงทอง ผู้อ�ำนวยการการสถาบัน วั ฒ นธรรมศึ ก ษากั ล ยาณิ วั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี แจ้งว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ กระทรวงวัฒนธรรมได้จัดงาน คืนความสุขให้คนตานี ในงาน “ผ้าดี ที่ชายแดนใต้” เมื่อวันที่ 23-25 ธันวาคม 2557 เวลา 9.00-18.00 น. ที่หอประชุมวิทยาเขตปัตตานี เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจช่วงส่งท้าย ปี เก่ า ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ โดยผ่านรูปแบบนิทรรศการ สาธิต ทดลอง และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า หั ต ถกรรมผ้ า ในท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชนสามจั ง หวั ด ภาคใต้ กิ จ กรรมในงานประกอบด้ ว ยการปาฐกถาพิ เ ศษ หั ว ข้ อ “บทบาทของหน่ ว ยงานทางวั ฒ นธรรม เมื่ อ ประเทศไทยก้ า วสู ่ ประชาคมอาเซี ย น ปี 2558” โดยศาสตราจารย์ ดร.อภิ นั น ท์ โปษยานนท์ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม การแสดงทางวัฒนธรรม การแสดงโขนเยาวชนต้ น แบบจั ง หวั ด ปั ต ตานี สนทนา “คนท� ำ หนัง” กับผู้สร้างผู้ก�ำกับและดาราจากภาพยนตร์ เรื่องละติจูดที่ ๖ และชมภาพยนตร์ เ รื่ อ งละติ จู ด ที่ ๖ ภาพยนตร์ ที่ ถ ่ า ยท� ำ ภายใน จังหวัดปัตตานี ตัดต่อพิเศษเพื่อคนปัตตานีก่อนฉายในโรงภาพยนตร์ การแสดงคอนเสิร์ตคืนความสุขให้คนตานี โดยตุด นาคอน เก่ง
34 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558
The Voice วงใต้ ส วรรค์ และวงแฮมเมอร์ การแสดงดนตรี อ อ เคสตร้าวงเยาวชนเทศบาลนครยะลา การแสดงดนตรีวงบุญรอด เจ้าของรางวัลชนะเลิศรายการประกวดวงดนตรี The Band Thailand และคอนเสิร์ตศิลปินจากค่ายแกรมมี่ การเสวนาหัวข้อ “คนประดิษฐ์ คิดลายผ้าสู่อาภรณ์”และการเดินแฟชั่นโชว์ จากกลุ่มผู้ประกอบการ หั ต ถกรรมผ้ า จั ง หวั ด นราธิ ว าส ตลอดจน จ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า และ นิทรรศการ “ผ้าดี ที่ชายแดนใต้” กว่า 20 คูหา
รางวัลแห่งคุณภาพ
นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมฯ
คว้ารางวัลระดับประเทศ กศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย กรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตตรัง รับรางวัลชนะเลิศและรางวัลชมเชย การ ประกวดออกแบบบ้านของ SCG Experience ในหัวข้อ 3Style 3Design 3Home ซึ่งประกอบ ด้วย 1. Modern Style 2. Natural Style 3. ColonialStyle
นั
ตามที่ บ ริ ษั ท SCG Experience ได้ จั ด โครงการการประกวด แบบบ้าน 3Style 3Design 3Home ChapterII ชิงรางวัลศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ ปุ ่ น โดยมี 3 ตั ว แทนของคนรุ ่ น ใหม่ แ บ่ ง ตามลั ก ษณะ ประเภทของบ้านแต่ละสไตล์ด้วยกัน โดยคุณพลอย หอวัง กับแบบ บ้ า น Modern Style คุ ณ วรรณสิ ง ห์ ประเสริ ฐ กุ ล กั บ แบบบ้ า น Natural Style และคุ ณ ฐิ ต า กมลเนตรสวั ส ดิ์ - คุ ณ พงศ์ ศั ก ดิ์ กอบ รั ต นสุ ข เจ้ า ของแบรนด์ rotsaniyom กับแบบบ้าน Colonial Style โดยการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท SCG Experience มี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ เปิดโอกาสให้นิสิต-นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้มีเวทีเพื่อแสดงความ สามารถด้านการออกแบบ และยังเป็นการเปิดโอกาสให้ได้พัฒนาทักษะ ความรู้ อีกทั้งยังเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์อีกด้วย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิได้ท�ำการคัดเลือกผลงานจากกว่า 190 ผลงานทั่ ว ประเทศ จนเหลื อ 12 ผลงานสุ ด ท้ า ย เพื่ อ รั บ เงิ น ช่ ว ย เหลือสนับสนุนการเดินทาง และการจัดท�ำโมเดล ผลงานละ 3,000 บาท
โดย 1 ใน 12 ผลงาน มีผลงานนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ผ่าน เข้ารอบดังกล่าวด้วย คือ ประเภท Colonial Style ชื่อผลงาน “อัตลักษณ์ เหนือการครอบครอง” ออกแบบโดย นายศราวุ ฒิ เฟื ่ อ งคณะ และ ชื่อผลงาน “light of memory” ออกแบบโดย นางสาวชารีดา ปาติง มีอาจารย์ตรีชาติ เลาแก้วหนู อาจารย์โอปอร์ ชัยสง่าพงษ์ อาจารย์ ประจ�ำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและเข้าร่วม น�ำเสนอผลงานเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ผลการแข่งขันปรากฎว่านักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้ รับรางวัลจ�ำนวน 2 รางวัลคือ รางวัลชนะเลิศแบบบ้าน Colonial Style ได้แก่ นายศราวุธ เฟื่องคณะ รับเงินรางวัลพร้อมเกียรติบัตร และแพ็คเกจ ศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุ่นและรางวัลชมเชยแบบบ้าน Colonial Style ได้แก่ นางสาวชารีดา ปาติง รับเงินรางวัลพร้อมเกียรติบัตรด้วย
ม.อ.สุราษฎร์ฯ ต้อนรับ
Guangxi College of Sports and Physical Education ชมสถานที่ต่าง ๆ ภายในวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และเยี่ยมชมศูนย์วิจัย และพัฒนาสายพันธ์ุกุ้ง ณ พื้นที่ทุ่งใสไช อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2557 อธิการบดีและคณะผู้บริหารจาก Guangxi College of Sports and Physical Education เดินทางเข้า พบรองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี (รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์) และคณะผู้บริหาร ม.อ.วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เพื่อเจรจา และลงนามความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ ณ ห้ อ งประชุ ม ศู น ย์ บ ่ ม เพาะ วิสาหกิจ ส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ต่อจากนั้นเดินทาง สักการะพระบรมราชชนก เยี่ยมชมโรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี
35 ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม - มกราคม 2558