งานวันสถาปนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2559 15 พันเอก(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ อธิการบดี ม.อ. ท่านแรก ถึงแก่อนิจกรรม 2 ม.อ. เร่งมาตรการช่วยนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบราคายาง 6 คณะทรัพย์ ม.อ.แนะแบ่งพื้นที่สวนท�ำเกษตรยั่งยืนตามศาสตร์ของพระราชา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ในล�ำดับต้นของการจัดอันดับผลงานวิจัย โดย สกว 11 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 3 พันธมิตรเดินหน้าลงทุนนิคม ฯ ยางพารา ม.อ. มอบสนามกีฬาจากแผ่นยางพาราแก่โรงเรียนในท้องถิ่นทั้ง 5 วิทยาเขต กว่า 2 ล้านบาท 25
9 22
พันเอก(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์
อธิการบดี ม.อ. ท่านแรก ถึงแก่อนิจกรรม พันเอก(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศ ในรั ฐ บาลของนายกรั ฐ มนตรี จอมพลถนอม กิ ต ติ ข จร ประธานคณะ กรรมการพัฒนาภาคใต้ ผู้ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินการโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ในภาคใต้ หรือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในปัจจุบัน เป็นอธิการบดีท่านแรก ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างเดือนเมษายน 2511-มีนาคม 2512 และ นายกสภามหาวิทยาลั ย ท่านที่ 2 ได้ถึงแก่อนิจ กรรมเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2559 ด้วยอายุ 102 ปี พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ เคยกล่าว ให้สัมภาษณ์ไว้ในวิดีทัศน์ “30 ปี แห่งความหมาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อเดือนมิถุนายน 2540 และตี พิ ม พ์ ใ นสารมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 เดือนสิงหาคม-กันยายน 2540 ว่า
พันเอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ ได้รับการยกย่องในฐานะผู้วาง รากฐานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งใน การก่อตั้ง “สมาคมอาเซียน” หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เมื่อ ปี พ.ศ. 2510 หรือ “ประชาคมอาเซียน” ในปัจจุบัน เป็นผู้ริเริ่ม ให้มีการร่วมปักปันเขตแดนระหว่างประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ซึ่งเพิ่งได้รับความเป็นอิสระจากการเป็นอาณานิคม ให้มีความชัดเจนโดย การเจรจาด้วยสันติวิธี เป็นความส�ำเร็จที่ได้รับการชมเชยจากนานาชาติ และได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกฝ่ายไทยในศาลประจ�ำอนุญาโตตุลาการ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีวาระ 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2539 - 2545 เป็นผู้มีแนวทางการหยุดยั้งภัยคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์โดยใช้ ความรู้และการศึกษามาเป็นตัวน�ำ ในยุคสงครามเย็น โดยเห็นว่าการ จะหยุดคอมมิวนิสต์ได้ต้องอาศัยการร่วมสร้างความมั่นคงทั้งทางด้าน อาหาร เศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งการให้ความรู้และการศึกษา ซึ่งการตั้ง มหาวิ ท ยาลั ย ขึ้ น ในภาคใต้ และภู มิ ภ าคอื่ น ๆ ของประเทศก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในการสนองนโยบายดังกล่าว
2 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
“ประเทศไทยได้ ร อดพ้ น จากการล่ า อาณานิ ค ม เพราะเรามี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ทรงมี พ ระปรี ช าญาณสู ง ส่ ง สามารถท� ำ ให้ ประเทศไทยรอดพ้ น จากการเป็ น เมื อ งขึ้ น หรือเป็นอาณานิคมของต่างด้าวได้ อย่างไร ก็ตามเราก็ยังขาดความสะดวกหรือสิ่งต่างๆ ที่จะช่วยให้ประชาชนมีอาชีพ มีชีวิตที่ก้าวหน้า และสิ่งที่จะแข่งขันกับประเทศต่างๆ ในโลกได้ สิ่งนี้คือการศึกษา เพราะฉะนั้นผมจึงมุ่งที่จะ ท� ำ ให้ เ กิ ด มี ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาระดั บ สู ง ไม่ ใ ช่ ระดับประถมหรือมัธยม แต่นี่เป็นการก่อตั้ง ศู น ย ์ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ สู ง คื อ ใ น ร ะ ดั บ มหาวิทยาลัย”
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดย มุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมาก ยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ� ำ ภารกิจของสถาบัน
ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
สารบัญ 2 พันเอก(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ อธิการบดี ม.อ. ท่านแรก ถึงแก่อนิจกรรม
ข่าวเด่น 4 ม.อ. มอบปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต แก่ ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล 5 ม.อ.ท�ำพิธีมอบปริญญา แก่ ศ.ดร.สุจินต์ จินายน 15 งานวันสถาปนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2559 17 ม.อ.พร้อมก้าวสู่มหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม 18 ร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ม.อ. ผ่านกฤษฎีกา ปรับวิทยาเขตไม่เป็นนิติบุคคล 19 สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ ม.อ. กับบทบาทการมีส่วนร่วมใน Rubber City
การศึกษา 6 ม.อ. เร่งมาตรการช่วยนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบราคายาง
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม 7 ม.อ.ร่วมกับชุมนุมสหกรณ์สวนยางสตูล กู้วิกฤติยางพารา เปิดโรงงานแปรรูปสนามกีฬายางพารา 8 ม.อ.ปัตตานีเร่งส่งเสริมการใช้ยางพาราในประเทศ 9 คณะทรัพย์ ม.อ.แนะแบ่งพื้นที่สวนท�ำเกษตรยั่งยืนตามศาสตร์ของ พระราชา 10 แพทย์แผนไทย ม.อ.พัฒนาสมุนไพร เป็นเครือข่ายในระดับสากล พร้อมสู่ตลาดอาเซียน
ความภาคภูมิใจ 11 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ในล�ำดับต้นของการจัดอันดับผล งานวิจัยโดย สกว. 12 ม.อ. ติด 1 ใน 10 มหาวิทยาลัยอินเตอร์ของไทยและ Eduniversal Best Masters and MBA Programs ปี 2016 13 คณะวิทยาการจัดการ ม.อ. รับรางวัลพิเศษด้านความโปร่งใสและ ความซื่อสัตย์สุจริต 14 นักวิจัยม.อ.รับรางวัล Thailand Rubber Technologist 2016 23 นักศึกษา ม.อ. คว้ารางวัลรองอันดับ 1 จากผลงาน คลิป “อุ่นใจชายแดนใต้”
ความร่วมมือสู่การพัฒนา 20 นิติศาสตร์ ม.อ.ร่วมกับศาลปกครอง สร้างมือกฎหมายคดีปกครอง 21 ม.อ.จับมือมูลนิธิรากแก้ว ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 22 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 3 พันธมิตรเดินหน้าลงทุนนิคม ฯ ยางพารา
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ 24 มอ. วิทยานุสรณ์ มอบอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการแก่โรงเรียนด้อยโอกาส 25 ม.อ. มอบสนามกีฬาจากแผ่นยางพาราแก่โรงเรียนในท้องถิ่นทั้ง 5 วิทยาเขต กว่า 2 ล้านบาท 27 นักศึกษา ม.อ. มอบโอกาสเรียนรู้ศิลปะ “โขน” แก่ผู้ด้อยโอกาส 28
ทุนการศึกษา
Activity 29 มอ.วิทยานุสรณ์ จัด 5 กิจกรรมใหญ่ ในโอกาสครบ 11 ปี วันสถาปนา 30 ม.อ.เป็นเจ้าภาพคัดเลือก “นักศึกษารางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษา ภาคใต้ ปี 58” 31 ม.อ.ปัตตานีเชิญผู้เห็นต่าง และสื่อมวลชนเสนอมุมมองเพื่อแก้ปัญหา กระบวนการสันติภาพชายแดนใต้ 32
แนะน�ำหลักสูตร
บริการวิชาการ 34 คณะพยาบาล ม.อ. ผลิตหนังสือ การดูแลสู่ความเป็นเลิศตามกลุ่มอาการ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
กิจกรรมที่น่าสนใจ 35 การประชุมวิชาการนิติวิทยาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1
3 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ข่าวเด่น
ม.อ. มอบปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
แก่ ศ.ดร.เกษม สุวรรณกุล
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด พิ ธี ม อบ ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การ บริ ห ารการศึ ก ษา) แก่ ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุ ว รรณกุ ล อดี ต นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 ที่ โรงแรม เซนทาราแกรนด์ และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ กรุ ง เทพฯ โดย ศาสตราจารย์ นพ.จรั ส สุ ว รรณเวลา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรินทร์ สังข์ทอง คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย ร่วมเป็นเกียรติในพิธี
าสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล นับเป็นปูชนีย บุ ค คลที่ ส� ำ คั ญ คนหนึ่ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย ต่ อ เนื่ อ ง ยาวนานมาเป็นเวลา 25 ปี ตั้งแต่ ปี 2532 - 2557 ซึ่งก่อนหน้านั้น
4 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการสภา มหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของ มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ระยะเวลา 11 ปี รวมระยะเวลาที่ท่านได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น เวลา 36 ปี โดยได้ ทุ ่ ม เท ส ติ ปั ญญา ความ รู ้ ความ สามารถ ประสบการณ์ ให้ความช่วยเหลือพร้อมทั้งช่วยชี้แนะ แนวทางแก้ ป ั ญ หาในระดั บ นโยบายและติ ด ตามการท� ำ งาน เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้ก้าวหน้า ได้มีส่วนในการพัฒนา ขยาย เขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยสู่จังหวัดต่างๆ ของภาคใต้ เช่น ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และ จังหวัดตรัง และผลักดันส่งเสริมเพื่อสร้าง ความเจริญ และการร่วมแก้ไขหลายปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อ คุณภาพมหาวิทยาลัย โดยบางปัญหาเป็นเรื่องใหญ่และใช้เวลา นานให้สำ� เร็จลุล่วงไปด้วยดี ส่งผลให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก้าวจากความเป็นมหาวิทยาลัยภาคใต้ สู่มหาวิทยาลัยชั้นน�ำ แห่งหนึ่งของประเทศ และ สู่สถาบันอุดมศึกษาระดับนานาชาติ นอกจากนั้ น ศาสตราจารย์ ดร. เกษม สุ ว รรณกุ ล ยั ง เป็ น นั ก วิ ช าการ และนั ก บริ ห ารที่ มี ค วามสามารถสู ง ยิ่ ง เคยด� ำ รง ต�ำแหน่งต่าง ๆ ที่มีความส�ำคัญระดับชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้ า นการบริ ห ารการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา จากผลงานและ ประสบการณ์ในการด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดีของจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย 4 สมั ย นายกสภาของ 14 มหาวิ ท ยาลั ย และ เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยถึง 8 สมัย เป็นกรรมการ กฤษฎี ก า สมาชิ ก สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ วุ ฒิ ส มาชิ ก และ เป็ น กรรมการในคณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ อี ก เป็ น จ� ำ นวนมาก สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ ใ ห้ มอบปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การบริหาร การศึกษา) แก่ ศาสตราจารย์ ดร. เกษม สุวรรณกุล เพื่อเป็นเกียรติ และสิริมงคลสืบไป
ข่าวเด่น
ม.อ.ท�ำพิธีมอบปริญญา แก่
ศ.ดร.สุจินต์ จินายน
สายวิ ช าการ โดยให้ ทุ น สนั บ สนุ น ไปศึ ก ษาต่ อ ทั้ ง ในระดั บ ปริญญาโทและปริญญาเอก นอกจากนี้ได้สร้างความร่วมมือ กับประเทศฝรั่งเศส ในการพัฒนาอาชีพทางการเกษตร ระบบ นิเวศเกษตร วิถีชีวิตชุมชนในชนบท สิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับผลิตบุคลากรด้านการเกษตรคือพื้นที่ ส�ำหรับการฝึกปฎิบัติภาคสนาม ท่านได้พัฒนาสถานีวิจัยเทพา คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ให้ ก ลายเป็ น สถานี วิ จั ย ที่ ส มบู ร ณ์ แบบเพื่อท�ำการวิจัยและฝึกภาคสนามของนักศึกษาของคณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ รวมทั้ ง ขอใช้ พื้ น ที่ ค ลองจ� ำ ไหร อ� ำ เภอ คลองหอยโข่ง จากกองทัพภาคที่ 4 เนื่องจากการเรียนเกษตร หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท�ำพิธีมอบปริญญา จ�ำเป็นต้องมีสถานที่ส�ำหรับฝึกทักษะและใช้ศึกษาค้นคว้าวิจัย วิ ท ยาศาสตรศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ แก่ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ข องอาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาอย่ า งเพี ย งพอ ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัย เพื่อน�ำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้เกษตรกรได้อย่างถูกต้อง นเรศวร เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2559 ที่ ห้องสัมมนาเอกา ทศรถ 301 อาคารเอกาทศรถ ชั้น 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก โดย ศาสตราจารย์ นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม ส กุ ล อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ท วี ศั ก ดิ์ นิ ย มบั ณ ฑิ ต คณบดี ค ณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ผู ้ บ ริ ห าร บุ ค ลากร มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร และคณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ จ�ำนวน 200 คนเข้าร่วมในพิธี ศาสตราจารย์ ดร.สุ จิ น ต์ จิ น ายน เข้ า ร่ ว มพั ฒ นา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในฐานะคณบดีคณะทรัพยากร ธรรมชาติ ตามค�ำเชิญชวนของ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ อดีต อธิ ก ารบดี โดยก่ อ นหน้ า นั้ น ท่ า นเป็ น อาจารย์ แ ละนั ก วิ จั ย ที่ ค ณะเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์และการปรับปรุง พันธุ์พืช ผู้เขียนต�ำราพันธุศาสตร์ เป็นภาษาไทยเล่มแรก และ เป็นนักวิจัยผู้ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดพันธุ์ใหม่ชื่อว่า “พันธุ์สุวรรณ 1” ซึ่งเป็นพันธุ์หลักที่เกษตรกรนิยมปลูกกันทั่วประเทศ ในระหว่ า งการเป็ น คณบดี ค ณะทรั พ ยากรธรรมชาติ ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ได้เจรจาความร่วมมือจนได้รับ ความช่วยเหลือจากประเทศออสเตรเลีย ในการพัฒนาบุคลากร
จนปัจจุบัน ผลงานของท่านในพื้นที่ภาคใต้ ยังส่งผลให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านบุคลากรทางการ เกษตร ความรู้ทางวิชาการ การพัฒนาสถาบันการ ศึกษา การผลิตบัณฑิต ท�ำให้คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้ ก ้ า วหน้ า มาจนปั จ จุ บั น และท่ า นยั ง ใช้ ค วามรู ้ และประสบการณ์ ชี้ แ นะแนวทางการบริ ห ารและ การพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นฐานะ กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ อี ก ด้ ว ย
5 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
การศึกษา
ม.อ. เร่งมาตรการช่วยนักศึกษา ที่ได้รับผลกระทบราคายาง รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ก ล่ า วถึ ง มาตรการช่ ว ยเหลื อ นักศึกษาที่ได้รับผลกระทบ จากราคายางที่ตกต�่ำและมีผลต่อค่า ใช้จ่ายเพื่อการศึกษาว่า มหาวิทยาลัยก�ำลังท�ำการส�ำรวจนักศึกษา จากทุ ก คณะใน 5 วิ ท ยาเขต คื อ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ปั ต ตานี ภู เก็ ต สุ ร าษฎร์ ธานี และวิทยาเขตตรัง ที่เป็นผู้ไ ด้รับผลกระทบ จากวิกฤติราคายางพารา ซึ่งมีทั้งมาจากครอบครัวที่เป็นเจ้าของ สวนยาง ลูกจ้าง ผู้รับซื้อยาง และท�ำอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ยางพารา เพื่อน�ำมาก�ำหนดแนวทางความช่วยเหลือตามระดับ ของความเดือดร้อน ซึ่งอาจเป็นเรื่องของการยกเว้นค่าใช้จ่ายใน การศึกษาบางอย่าง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนก่อนในระยะสั้น โดยจะทราบข้อมูลดังกล่าว ในวันที่ 25 มกราคม 2559 ส่วนใน ระยะยาว มหาวิทยาลัยก�ำลังจะน�ำประเด็นดังกล่าวเข้าพิจารณา ในที่ประชุมคณบดี เพื่อก�ำหนดเป็นแนวทางความช่วยเหลือหาก ปัญหาราคายางพารายืดเยื้อส่งผลกระทบในระยะยาวในอนาคต
6 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
ม.อ.ร่วมกับชุมนุมสหกรณ์สวนยางสตูล กู้วิกฤติยางพารา เปิดโรงงานแปรรูปสนามกีฬายางพารา
กฤตราคายางพาราตกต�่ำ 4 กิโลกรัม 100 บาท ท�ำให้ ชาวสวนยาง ภาคใต้นัดชุมนุมเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2559 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ กษตรกรหั น มา แปรรูปยางพารา เป็นลานปูพื้นกีฬา โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้ ให้ค�ำ แนะน�ำด้านการผลิต รวมทั้งสั่งซื้อ เพื่อเป็นทางออกแก่เกษตรกร โดย ศ.นพ.จรั ส สุ ว รรณเวลา นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ และนายชวน หลี ก ภั ย ที่ ป รึ ก ษาสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานรินทร์ ร่วมท�ำพิธีเปิดโรงงานแปรรูปยางพารา ณ ชุมนุม สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางสตู ล จ� ำ กั ด หมู ่ 10 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง จ.สตูล เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2559
ศ.นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ขั บ เคลื่ อ นการแก้ ไ ขปั ญ หา ยางพาราผ่านชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จ�ำกัด และมองเห็น ความก้าวหน้าของชุมนุมฯซึ่งมีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มในรูปแบบ สหกรณ์จนสามารถสร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราได้ และ จะเป็ น แนวทางในการแก้ ไ ขปั ญ หายางพาราของประเทศ เกิ ด การ ขยายผลไปยั ง พื้ น ที่ อื่ น ๆ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ พี่ น ้ อ งเกษตรกรชาวสวนยาง ในการแก้ไขปัญหายางพารา รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี กล่าวว่ามหาวิทยาลัย ได้สร้าง รูปแบบ “เกษตรอุตสาหกรรมยางพารา” เพื่อให้เกิดการพัฒนายางพารา อย่ า งครบวงจร ลดผลกระทบในสภาวการณ์ ร าคายางพาราตกต�่ ำ โดยเกษตรกรเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัย ยิ น ดี ส นั บ สนุ น ด้ า นต่ า งๆ เพื่อการด�ำเนิน งานชองชุม นุม สหกรณ์สตูล จ�ำกัด และสหกรณ์อื่นๆ ที่จะเกิดการรวมกลุ่มในการพัฒนาศักยภาพ การผลิต และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ นายชวน หลีกภัย ที่ปรึกษาสภา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แนะน�ำให้ คนใต้ปลูกพืชชนิดอื่นๆ แซม โดยไม่ต้อง โค่นต้นยางพารา เพื่อช่วยเหลือตัวเอง การ ที่ราคายางพาราตกต�่ำ เนื่องจากปริมาณ
ผลิตยางพาราเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศจีน ลาว พม่า มีการปลูกยางพารามากขึ้น และขณะนี้ยังมียางพารา ที่เพิ่งปลูกก�ำลังเติบโตยังมีอีก อย่าหวังว่า ราคายาง จะดีขึ้นในเร็ววันนี้ จะให้รัฐบาลใช้ ม.44 มาแก้ปัญหา ราคายางพารา คงเป็นไปไม่ได้ ประชาชนชาวใต้เดือด ร้อน เพราะมีอาชีพท�ำสวนยางพาราเป็นหลัก ส่วนคน ภาคอื่ น ๆ เช่ น ภาคเหนื อ อี ส าน มี อ าชี พ อื่ น ท� ำ ด้ ว ย นายช� ำ นาญ เมฆตรง ประธานกรรมการ ชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จ�ำกัด กล่าวว่า สถานการณ์ยางพาราที่ลดต�่ำลงส่งผลกระทบต่อ รายได้ของสมาชิก สหกรณ์รวมตัวกันเป็นตลาด กลางยางสตูล มีผลผลิตยางปีละ 3 ล้านกิโลกรัม จึ ง ได้ มี ค วามคิ ด ในการน� ำ ยางพาราแปรรู ป เป็ น ผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้เริ่มผลิตในเดือนมิถุนายน 2558 มี ค นงาน 16 คน โดยกู ้ เ งิ น จากธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรตามนโยบายของรัฐบาลเพื่อใช้ในการก่อสร้างโรงงานและ จั ด หาเครื่ อ งจั ก รในการแปรรู ป โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทางวิ ช าการ ด้วยดีจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเฉพาะ รศ.อาซีซัน แกสมาน ชุ ม นุ ม สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางสตู ล จ� ำ กั ด ซึ่ ง มี ส มาชิ ก 16 สหกรณ์ และมี ส มาชิ ก สมทบ 2 กลุ ่ ม รวม 18 แห่ ง ร่ ว มกั น กู ้ เ งิ น จากธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จ�ำนวน 20 ล้านบาท ดอกเบี้ยร้อยละ 1 สตางค์ ปลอดดอกเบี้ย 2 ปี เพื่อสร้างโรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตแผ่นยางปูพื้นลานกีฬาสนามฟุตซอล ในราคา 1,170 บาท/ตารางเมตร (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ได้ผลิตให้มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เรียบร้อยแล้วจ�ำนวน 7 สนาม ส่วน ศอ.บต. มีโครงการ จะจัดท�ำหลายสนาม โดยกระจายไปให้เครือข่ายในจังหวัดต่างๆ รองศาสตราจารย์อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัย และพัฒนานวัตกรรมยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า สถาบันฯ หาทางออกเพื่อเพิ่มมูลค่าของยางพารา ได้ร่วมด�ำเนินการ โรงงานแปรรู ป ยางพารา โดยตนเองรั บ เป็ น ที่ ป รึ ก ษา น� ำ ยางพารา ไปเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปู พื้ น ลานกี ฬ าอเนกประสงค์ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ทั้ง 5 วิทยาเขต และโรงเรียนที่อยู่ในจังหวัดที่เป็นที่ตั้ง ของวิ ท ยาเขตอี ก 5 โรงเรี ย น และรั ฐ บาลมี แ นวทางส่ ง เสริ ม โรงงาน แปรรูปยางพารา มีการจัดตั้งเครือข่ายเกษตรอุตสาหกรรมยางพารา 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เพื่ อ เป็ น เครื อ ข่ า ยการขั บ เคลื่ อ นการผลิ ต และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ การให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาซึ่งกันและกัน
7 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
ม.อ.ปัตตานีเร่งส่งเสริมการใช้ยางพาราในประเทศ องศาสตราจารย์ อิ่ ม จิ ต เลิ ศ พงษ์ ส มบั ติ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี แจ้ ง ว่ า ภายใต้ สถานการณ์ ย างพาราที่ ต กต�่ ำ ใน ขณะนี้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ รายได้ และน� ำ ไปสู ่ ค วามเดื อ ดร้ อ นของ เกษตรกรชาวสวนยางพารา ดังนั้น คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จึ ง เร่ ง หาวิ ธี กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การใช้ ย างพาราใน ประเทศ ด้ ว ยการคิ ด ค้ น วิ จั ย การน� ำ ยางพารามาสร้ า ง ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ทดแทนการน�ำเข้าการส่งเสริมให้เกิด ผู ้ ป ระกอบการใช้ วั ต ถุ ดิ บ จากยางพาราทั้ ง รายย่ อ ย และรายใหญ่ ตลอดจนน� ำ ยางพารา มาใช้ ใ นการสร้ า ง ระบบสาธารณู ป โภคและสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก เช่ น สระน�้ำที่ปูพ้ืนด้วยยางพารา สนามกีฬาปูพื้นด้วยยางพารา หรือ ถนนยางพารา เป็นต้น
ล่ า สุ ด มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ขอรั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจากรั ฐ บาล เพื่ อ น� ำ มาสร้ า งถนน ยางพารา 7 สาย และสนามฟุตซอลยางพารา 2 สนาม โดยคาดว่ า จะสามารถใช้ ย างพารา เป็นวัตถุดิบได้มากกว่า 78 ตัน รองศาสตราจารย์ ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณบดีคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชี้แจงว่าคณะฯ ได้ด�ำเนินการวิจัย เพื่อการคิดค้นนวัตกรรม และเพื่อพัฒนาให้มีการใช้ยางพารา ในประเทศ เพื่อลดการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากยางพารา โดยมุ่ง เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้ยางพารา ไม่ว่าจะเป็นการ วิ จั ย ยางปู พื้ น สนามกี ฬ าวั ส ดุ ปู ส ระเก็ บ กั ก น�้ ำ จากน�้ ำ ยางข้ น
8 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ชนิ ด ครี ม และร่ ว มกั บ สถาบั น วิ จั ย ยาง กรมวิ ช าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เดิม หรือการยางแห่งประเทศไทย ในปัจจุบัน วิจัยเพื่อพัฒนาถนนจากยางพารา นอกจากนี้คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังได้ส่งเสริมให้คณาจารย์ผลิตผล งานวิจัยอีกมากมาย อาทิ ผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ ผลิต วัสดุรองรับแรงกดทับอวัยวะผู้ป่วยขณะผ่าตัดที่ผลิตจากพอ ลิเมอร์หุ้มยางพารา ผลิตภัณฑ์สายสวนปัสสาวะและสายน�้ำ เกลื อ จากยางธรรมชาติ ผลงานการวิ จั ย เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า น�้ ำ ยางพาราและบูรณาการวิชาความรู้ให้เป็นน�้ำยางข้นชนิดใหม่ เรียกว่า “วัสดุยางเทอร์โมพลาสติก” วิจัยกาวส�ำหรับติดยางกับ โลหะโดยใช้กาวรองพื้นเพื่อลดการน�ำเข้า ผลงาน“รองเท้าวัว” ส�ำหรับใช้รักษาอาการเจ็บขาของโคนม ผลการวิจัยเรื่องยาง ทนไฟ ยางรองคอสะพาน เรื อ ยาง ยางเพลาเรื อ ยางสี ข ้ า ว ท่อน�้ำหยดส�ำหรับเกษตรกร เป็นต้น และล่าสุดมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จ ะจั ด ตั้ ง “วิ ท ยาลั ย นานาชาติ ย างพาราไทย -จี น ” ณ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีชิงเต่า (QUST) และ Rubber Valley Group (RVG) มณฑลชานตง ประเทศจีน โดย จะรั บ นั ก ศึ ก ษาและเปิ ด การ เรียนการสอนได้ในปีการศึกษา 2560 เพื่อตอบสนองโรงงานที่ เกี่ ยวข้ องกั บอุ ตสาหกรรมการ ผลิตยางล้อรถยนต์และรองรับ โรงงานผลิตยางล้อจากประเทศ จี น ที่ จ ะมาตั้ ง ฐานการผลิ ต ในไทยและประเทศอาเซียนในอนาคตและเป็นการสร้างเสริม องค์ ค วามรู ้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ กี่ ย วกั บ ผลิตภัณฑ์ยาง
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
คณะทรัพย์ ม.อ. แนะแบ่งพื้นที่สวน ท�ำเกษตรยั่งยืนตามศาสตร์ของพระราชา
ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดี คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ แนะน� ำ เกษตรกรชาว สวนยาง ใช้ รู ป แบบเกษตรทฤษฎี ใหม่พัฒนาการเกษตรแบบองค์รวม เพื่อความยั่งยืนตามศาสตร์ของพระ ราชา เพื่ อ กู ้ วิ ก ฤตราคายางพารา ตกต�่ำ โดยแบ่งพื้นที่สวนเพื่อปลูก ยาง ปาล์ม ร่วมกับเลี้ยงสัตว์ เพื่อ เกษตรกรมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ฐ านะการเงิ น ที่ มั่ น คง โดยยก ตัวอย่างในพื้นที่ 30 ไร่ ใช้ปลูกยาง 16 ไร่ ปลูกปาล์มน�้ำมัน 13 ไร่ และท�ำเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงคือเลี้ยงวัวและปลาอีก 1 ไร่
ปลูกอยู่ในปัจจุบันถึงสองเท่า และพันธุ์ยางพื้นเมืองยังมีความ ต้านทานต่อโรครากขาวซึ่งระบาดหนักในสวนยางในช่วงฝน ตกชุก และยังไม่มีทางรักษาได้ โดยคาดว่าในปลายปีนี้ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ จะน�ำต้นยางพาราพันธ์ RRIT 408 มาเพาะ ช�ำโดยใช้ต้นตอ พื้นเมืองมาขยายพันธุ์ สามารถจ�ำหน่ายให้ เกษตรกรที่สนใจไปปลูกได้สะดวก โดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ มีทีมงานวิจัยที่ศึกษาวิจัยด้านนี้มาหลายสิบปี ส่วนปาล์มน�้ำมันนั้น พันธุ์ทรัพย์ ม.อ.1 ซึ่งพัฒนาโดย คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นพันธุ์ท่ีให้ผลผลิตสูง 5 ตันต่อไร่ สามารถเก็บเกี่ยวได้ทุกๆ 15 วัน และท�ำรายได้ให้เกษตรกร กว่าสองหมื่นบาทต่อเดือน โดยคิดจากราคาปาล์มทะลายดิบ กิโลกรัมละ 4 บาท ส�ำหรับการท�ำการเกษตรพอเพียง จะประกอบด้วยเลี้ยง วั ว โดยใช้ ใ บปาล์ ม น�้ ำ มั น ที่ ไ ด้ จ ากการ เก็บเกี่ยวผลผลิต น�ำมูลวัวไปหมักท�ำน�้ำ เขี ย วเพื่ อ ผลิ ต แพลงตอนใช้ เ ป็ น อาหาร ในการเลี้ ย งปลานิ ล เมื่ อ ปลานิ ล อายุ 80 วัน มีการขยายพันธุ์ ให้ปล่อยปลา หมอหรื อ ปลาช่ อ นซึ่ ง กิ น ปลานิ ล ขนาด เล็กลงไปเพื่อควบคุมปริมาณปลาในบ่อ และปลาหมอกั บ ปลาช่ อ นสามารถ จ�ำหน่ายได้ในราคาสูง ร่วมกับการเลี้ยง ไก่พื้นเมือง ปลูกกล้วย ปลูกผักโดยใช้มูล วัว มูลไก่เป็นปุ๋ย สามารถเก็บผักกินเอง หรือน�ำไปจ�ำหน่ายสร้างรายได้ได้อีกทาง
ในการปลูกยางนั้น แนะน�ำปลูกให้ใช้ยางต้นตอพันธุ์ พื้นเมือง เพื่อเป็นตอในการผลิตกล้ายางพันธุ์ดี ทั้งนี้เนื่องจากมี ระบบรากแข็งแรง ต้านทานการหักล้มเมื่อโดนลมแรง ต้านทาน โรค และระบบรากสามารถดูดหาอาหารได้ดี เช่นพันธุ์ RRIT 408 ซึ่งพัฒนาโดยสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ซึ่งดูแล ง่าย เจริญเติบโตเร็ว ต้านทานโรค ให้ผลผลิตสูงถึง 352 กิโลกรัม ต่อไร่ต่อปี ซึ่งสูงกว่ายางพาราพันธุ์ RRIM 600 ที่เกษตรกรนิยม
“หากคิ ด เป็ น รายได้ การปลู ก ยางถื อ ว่ า เป็ น เงิ น ออม รายได้ จ ากการท� ำ สวนปาล์ ม ถื อ เป็น เงินรายเดือน ส่วนการท�ำเกษตรพอเพี ยง ถือเป็น เงินรายวัน ซึ่งเป็นการพัฒนาชีวิตความ เป็ น อยู ่ ข องเกษตรกร ให้ ค นมี ค วามสุ ข ตาม ศาสตร์พระราชา ซึ่งเป็นศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน” คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ กล่าว
9 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ศูนย์กลางนวัตกรรมเพื่อสังคม
แพทย์แผนไทย ม.อ.พัฒนาสมุนไพร
เป็นเครือข่ายในระดับสากลพร้อมสู่ตลาดอาเซียน
ณะการแพทย์แผนไทยและสถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ พั ฒ นาแหล่ ง ปลู ก พื ช ผั ก สมุ น ไพร ปลอดสารพิษ ในจังหวัดสงขลา พัฒนาสู่การเป็นผลิตภัณฑ์สปา เครื่องส�ำอางและยารักษาโรค เพื่อพัฒนาให้ได้มาตรฐานระดับ สากลพร้อมสู่ตลาดอาเซียนและตะวันออกกลาง เพิ่มขีดความ สามารถการแข่ ง ขั น ด้ า นการตลาดให้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ดร.ชลทิต สนธิเมือง ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ คณะ การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เปิดเผยว่าปัจจุบันพบว่าปัญหา ส�ำคัญของผลิตภัณฑ์สปาไทยยังขาดการ เชื่ อ มโยงแบบครบวงจร ตั้ ง แต่ ก ารเพาะ ปลู ก สมุ น ไพร การพั ฒ นางานวิ จั ย และ ด้ า นการตลาด ดั งนั้น คณะการแพทย์แผนไทยและสถาบั น ฮาลาล จึงจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาแบบครบวงจรโดยการ บูรณาการในการส่งเสริมการปลูกสมุนไพรให้ได้มาตรฐานการ ผลิ ต ยาและเครื่ อ งส� ำ อาง การแปรรู ป สมุ น ไพร พื ช สมุ น ไพร ปลอดสารพิ ษ เป็ น เครื อ ข่ า ยและการให้ บ ริ ก ารสปาฮาลาล ต้ น แบบเพื่ อ พั ฒ นาให้ จั ง หวดสงขลาเป็ น ผู ้ น� ำ ทางด้ า นการ บริการเพื่อสุขภาพและการท่องเที่ยว ตามแผนยุทธศาสตร์ของ ส�ำนักบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน กระทรวง มหาดไทย ซึ่ง นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด สงขลาเป็ น ประธาน มีการสร้างเครือข่ายแพทย์แผนไทย หมอ พื้นบ้าน ผู้ประกอบการร้านขายยาสมุนไพร และสาธารณสุ ข อ� ำ เภอในจั ง หวั ด สงขลา มี ก ารจั ด อบรมให้ ค วามรู ้ แ ละถ่ า ยทอด ประสบการณ์อย่างต่อเนื่องจากผู้เชี่ยวชาญ อาทิ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกรเจ้าของรางวัลแมกไซไซ และหมอพื้นบ้านที่
10 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
เป็ น ที่ ย อมรั บ ของชุ ม ชน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้การแพทย์พื้นบ้านภาคใต้ด�ำรง อยู่และมีขีดความสามารถสูงในการ ให้ บ ริ ก ารสปาฮาลาล รวมทั้ ง การ ส่งเสริมการพัฒนาวัตถุดิบสมุนไพร ให้ได้มาตรฐานในการผลิตผลิตภัณฑ์สปาฮาลาล เช่น น�้ำมัน หอมระเหยเพื่ อ ใช้ ใ นการบ� ำ บั ด ดู แ ลสุ ข ภาพหรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส�ำหรับช�ำระล้างร่ายกาย และการนวดลังกาสุกะซึ่งเป็นองค์ ความรู้แบบภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยเฉพาะถิ่นของคน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ที่มีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น รวมทั้ ง วิ ธี ก ารปลู ก สมุ น ไพรที่ เ ป็ น ที่ ต ้ อ งการของตลาด ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน วิธีการน�ำเทคโนโลยีไมโครเวฟ ส�ำหรับอบสมุนไพรให้แห้ง เช่น ไพล หรือการพัฒนาต่อยอดไป สู่การสกัดน�้ำมันหอมระเหยจากไพล และมีโครงการนวัตกรรม น�้ำมันหอมระเหยเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคตอีกด้วย นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา กล่าวว่า กระทรวงมหาดไทยมีนโยบายสนับสนุนพืชสมุนไพร ในกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยได้รับความร่วมมือจาก คณะการแพทย์แผนไทย เป็นแกนน�ำพื้นที่เป้าหมายประกอบ ด้วยเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล 10 แห่ง ใน 7 อ�ำเภอ ในจังหวัดสงขลา โดยเริ่มต้นจัดอบรมที่ องค์การบริหารส่วน ต� ำ บลท่ า ข้ า ม อ� ำเภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลาเมื่ อ วั น ที่ 12 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา นอกจากนี้ นักวิจัยในภาคใต้ได้ร่วมมือกันท�ำงานเป็นเครือ ข่ า ยนั ก วิ จั ย และจั บ มื อ กั น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาสมุ น ไพรไทย ประกอบด้วย ดร.ชลทิต สนธิเมือง คณะการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ดร. สุชาดา จันทร์พรหมมา สาขาเคมี คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ดร.ณวงศ์ บุ น นาค สาขาวิ ช าเคมี คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ และดร.ยงยุ ท ธ์ เทพรั ต น์ คณะ สัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ดร.ชุ ติ ม า แก้ ว พิ บู ล ย์ อาจารย์ ประจ� ำ สาขาวิ ช าชี ว วิ ท ยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และ ผศ.ดร.หมุดตอเล็บ หนิสอ คณบดีและอาจารย์ประจ�ำส�ำนัก วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์
ความภาคภูมิใจ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ล�ำดับต้นของการจัดอันดับผลงานวิจัยโดย สกว.
ม.อ. ติดอันดับผลงานวิจัยโดย สกว. อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3 อันดับ 5
เทคโนโลยีอาหาร ระบาดวิทยา และเทคโนโลยีวัสดุภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตร จุลชีววิทยา เภสัชศาสตร์ เคมี อายุรศาสตร์
และเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 2 ส�ำหรับจ�ำนวนสาขาทั้งหมดที่เข้าร่วม ารจัดอันดับจากการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทยโดย ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส่งจ�ำนวนสาขามากเป็นอันดับที่สอง คือ 50 สาขา และได้รับการจัดอันดับ 5 ดาว จ�ำนวน 3 สาขา ระดับ 4 ดาว 6 สาขา ผลการ ประเมินโดยใช้คะแนนดัชนีของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย TRF Index พบว่า ที่ได้ เป็นอันดับ 1 ของประเทศมี 3 สาขา ประกอบด้วยเทคโนโลยีอาหารด้วย 5 คะแนนเต็ม ระบาดวิทยาด้วยคะแนน 4.5 และเทคโนโลยีวัสดุภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตรด้วยคะแนน 4.3 ส่วนอันดับ 2 ของประเทศมี 1 สาขาคือจุลชีววิทยาด้วยคะแนน 4.0 ตามด้วยอันดับ 3 ของ ประเทศมี 2 สาขาคือเภสัชศาสตร์ ด้วยคะแนน 4.3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุด้วย คะแนน 4.0 และอันดับ 5 ของประเทศมี 2 สาขาคือ เคมี ด้วยคะแนน 4.0 และอายุรศาสตร์ ด้วยคะแนน 4.0 และต้องยกความเด่นในจ�ำนวนผลงานวิจัยให้กับคณะอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งได้รับการจัดอันดับเป็นที่หนึ่งของประเทศในหลายสาขา
11 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความภาคภูมิใจ
ม.อ. ติด 1 ใน 10 มหาวิทยาลัยอินเตอร์ของไทย จัดอันดับโดย www.4ICU.org
ต่ า ง ๆ ในประเทศและทั่ ว โลกมาตั้ ง แต่ เ ดื อ นกรกฎาคม ค.ศ. 2005 โดยรายงานผลปี ล ะ 2 ครั้ ง คื อ เดื อ นมกราคม และเดื อ นกรกฎาคม มี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ จั ด อั น ดั บ ความนิ ย ม ของมหาวิ ท ยาลั ย และวิ ท ยาลั ย นานาชาติ บนพื้ น ฐานของ ความนิยมในการเข้าติดตามชมเว็บไซต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่จะเป็นเว็บไซต์ที่ช่วยให้นักศึกษานานาชาติได้เข้าใจเกี่ยวกับ มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยนานาชาติมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ติดอันดับ 1 ใน10 มหาวิทยาลัยของไทย ที่จัดอันดับโดยหน่วยงานดังกล่าว
4 International Colleges & Universities (4icu.org) ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระ มีส�ำนักงานอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย ได้จัดอันดับความนิยมเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย
ผลดั ง กล่ า วเป็ น การจั ด อั น ดั บ ใน เดื อ นมกราคม 2016 ล่ า สุ ด มี ส ถาบั น การศึ ก ษาถู ก จั ด อั น ดั บ จ� ำ นวน 11,606 แ ห่ ง จาก 200 ประเ ทศ ที่ น ่ า สั ง เกตคื อ มหาวิ ท ยาลั ย รั ฐ ที่ อ ยู ่ ใ น 10 อั น ดั บ แรกของที่ ไ ด้ ค วาม นิ ย มของประเทศไทยเป็ น 9 มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ทั้งหมด และมี 1 มหาวิทยาลัยเอกชน ขอบคุณข้อมูลจาก https://blog.eduzones.com/rangsit/155771
ม.อ. ติดอันดับของ Eduniversal Best Masters and MBA Programs ปี 2016 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ติดอันดับของ Eduinversal Best Master and MBA Programs ปี 2016 ซึ่งเป็นการจัดอันดับ หลักสูตรระดับปริญญาโทของสถาบันต่างๆ ที่เปิดสอนหลักสูตร ด้านธุรกิจ (Msc, MA, MBA, Executive MBA) จากทั่วโลก โดยเกณฑ์ การจัดอันดับนั้นได้ให้ความสนใจจากการประเมินจากชื่อเสียง ของหลักสูตรโอกาสทางอาชีพและระดับอัตราเงินเดือนของการ ท�ำงานครั้งแรกหลังจากส�ำเร็จการศึกษาและการตอบสนองความ พึงพอใจของนักศึกษา ซึ่งในปี 2016 นี้ หลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาโท ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ด้านการบริการและการท่องเที่ยว (M.B.A. in Tourism and Service Management) คณะการบริการ และการท่องเที่ยว อยู่ในอันดับที่ 86 จาก The Best Masters in Tourism and Hospitality Management Global Ranking และด้านการบริหารธุรกิจ (Master of Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ อยู่ในอันดับที่ 29 จาก The Best Master of General Management Global Ranking ขอบคุณข้อมูลจาก www.best-master.com
12 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความภาคภูมิใจ
คณะวิทยาการจัดการ ม.อ. รับรางวัลพิเศษ
ด้านความโปร่งใสและความซื่อสัตย์สุจริต จาก ป.ป.ช. โครงการ กรุงไทย ต้นกล้าสีขาว กศึ ก ษาภาควิ ช ารั ฐ ประศาสนศาสตร์ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ในชื่อทีม DEMETER “โครงการสังข์ หยด...อัญมณีสีแดงแห่งท้องทุ่งเมืองลุง” ประกอบด้วย นายพี ร ะภั ท ร สั ง ข์ ท อง นางสาวชนิ ส รา จั น ทร์ ฉ าย นางสาวธัชพรรณ ทองอ่อน นางสาวปานชนก ปานมณี นางสาวภาวิ นี เทพก� ำ เนิ ด และดร.สมพร คุ ณ วิ ชิ ต อาจารย์ ภ าควิ ช ารั ฐ ประศาสนศาสตร์ คณะวิ ท ยาการ จัดการ เป็นที่ปรึกษา เป็นโครงการประเภทพัฒนาธุรกิจ ชุมชนที่พอเพียงอย่างยั่งยืน โดยการพัฒนาชุมชนบ้านนา ท่อม ต.นาขยาด อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ได้รับรางวัลพิเศษ โครงการ กรุงไทย ต้นกล้าสีขาว จาก พล.ต.อ. วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. โดยได้รับโล่ เกียรติยศ เกียรติบัตร พร้อมเงินรางวัล จ�ำนวน 30,000 บาท ซึ่ ง เป็ น รางวั ล พิ เ ศษด้ า นความโปร่ ง ใสและความ ซื่อสัตย์สุจริต จาก ป.ป.ช. เมื่อ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559
หยดเมื อ งพั ท ลุ ง การพั ฒ นากระบวนการผลิ ต การออกแบบ บรรจุภัณฑ์ การตลาดและส่งเสริมการขายในรูปแบบที่พอเพียง และยั่งยืนให้แก่คนในชุมชน มีการจัดท�ำแผนงานโครงการที่มี การเปิดเผยข้อมูล ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และ ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสังคม ในการนี้ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ภาค รั ฐ วิ ส าหกิ จ และธุ ร กิ จ เอกชนได้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น คณะกรรมการ ตั ด สิ น รางวั ล และส� ำ นั ก ป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ภาครั ฐ วิ ส าหกิ จ โครงการสังข์หยด...อัญมณีสีแดงแห่งท้องทุ่งเมืองลุง และธุรกิจเอกชนได้เข้าร่วมจัดแสดงบูธนิทรรรศการ ณ บมจ. จัดท�ำเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์ ธนาคารกรุงไทย ส�ำนักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร
13 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความภาคภูมิใจ
นักวิจัย ม.อ.รับรางวัล Thailand Rubber Technologist 2016 ผศ.ดร.กรรณิการ์ สหกะโร ภาควิชาเทคโนโลยียาง และพอลิเมอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาเขต ปัตตานี ได้รับรางวัล Thailand Rubber Technologist 2016 มอบโดย Techno Biz Group & China United Rubber Corporation ผู้จัดงาน 3rd Global Rubber, Latex and Tire Expo (GRTE) 2016 & 1st Global Rubber Research Fair (GRRF) 2016 เมื่อระหว่างวันที่ 9-11 มีนาคม 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC) โดยมี ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เป็นผู้มอบรางวัล การท� ำ งานนอกมหาวิ ท ยาลั ย เช่ น เป็ น กรรมการบริ ห ารสมาคมโพลิ เ มอร์ แห่ ง ประเทศไทย การเข้ า ร่ ว มประชุ ม IRCO Board ในฐานะ IRCO representative of Thailand (IRCO = International Rubber Conference Organization) ซึ่ ง ในงานดั ง กล่ า ว นอกจากจะมี ก ารรั บ รางวัลแล้ว ผศ.ดร.กรรณิการ์ สหกะโร ยั ง ได้ มี ก ารบรรยาย Plenary Speech ในหั ว ข้ อ “Silica-Reinforced Natural RUbber Tread Compounds: A Chal ส�ำหรับงาน 1st Global Rubber Research Fair 2016 lenge for More Sustainable and Eco-Friendly Tires” ทาง Techno Biz Group ได้มีการด�ำเนินการร่วมกับ Rubber ซึ่ ง ได้ รั บ ความสนใจอย่ า งมาก เนื่ อ งจากเป็ น หั ว ข้ อ การวิ จั ย Technology Research ที่ก�ำลังเป็นที่สนใจของอุตสาหกรรมยางทั่วโลก และเป็นทิศทาง Center ของมหาวิ ท ยาลั ย การพัฒนายางล้อในอนาคตต่อๆ ไป มหิดล และได้ริเริ่มให้มีรางวัล Thailand Rubber Technologist 2016 ขึ้ น ในปี นี้ เป็ น ครั้ ง แรก เพื่ อ มอบให้ แ ก่ บุคคลที่ได้ท�ำงานด้านยางมา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ผ ลงาน เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ซึ่ ง ผศ.ดร. กรรณิ ก าร์ สหกะโร ถือเป็นนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยด้านยาง โดดเด่น มีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่องมีความ ร่ ว มมื อ ด้ า นการวิ จั ย กั บ ต่ า งประเทศและมี International connections ชัดเจนเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง รวมทั้งมีบทบาท ข้อมูลและภาพจาก ส�ำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
14 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ข่าวเด่น
13 มีนาคม วันสถาปนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก้าวสู่ปีที่ 48 ...มหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ถือวันที่ 13 มีนาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นวันที่มีการประกาศใช้พระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยในพระราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 13 มีนาคม 2511 ในปี นี้ ก� ำ หนดจั ด กิ จ กรรมขึ้ น ในวั น ที่ 13-14 มี น าคม 2559 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อระลึกถึงวันก่อตั้งมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ และถื อ โอกาสจั ด กิ จ กรรมเชิ ด ชู บุ ค ลากร นั ก วิ จั ย และนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย รวมทั้ ง จั ด งานเลี้ ย งอาหารค�่ ำ ขอบคุ ณ และสานสั ม พั น ธ์ สื่ อ มวลชนและหน่ ว ยงานในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สงขลาที่ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น มหาวิ ท ยาลั ย ในด้ า นต่ า งๆ พร้ อ มการจั ด กิ จ กรรม ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ต ามพระราชปณิ ธ านของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กิจกรรมท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ 50 รูป เ มื่ อ วั น ที่ 1 3 มี น า ค ม 2 5 5 9 เ ว ล า 0 6 . 3 0 น . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ รองอธิการบดี ฝ่ายวางแผนและการเงิน เป็นประธานในพิธีกิจกรรมท�ำบุญ ตั ก บาตรพระสงฆ์ 50 รู ป เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สถาปนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ บริเวณลานหน้าส�ำนักงาน
อธิการบดี วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่า และบุคคลทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรม กว่า 300 คน ม.อ.จัดสานสัมพันธ์สื่อมวลชนและองค์กรต่างๆ ในวัน สถาปนามหาวิทยาลัย และในวั น เดี ย วกั น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า นคริ น ทร์ จั ด งานสาน สั ม พั น ธ์ สื่ อ มวลชน เนื่ อ ง ในโอกาสวั น คล้ า ยวั น สถาปนามหาวิทยาลัย ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราช สมบัติครบ 60 ปี เพื่อเป็นการขอบคุณสื่อมวลชน และองค์กร ต่างๆ ที่ได้ให้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในรอบปีที่ผ่านมา แล้ว และยังใช้ถือโอกาสนี้ น�ำเสนอกิจกรรมที่ก�ำลังจะจัดขึ้น แนะน�ำหน่วยงาน และแสดงสิ่งประดิษฐ์คิดค้นใหม่ๆ กิจกรรม เพื่อชุมชนให้ได้รับทราบผ่านสื่อมวลชน และมอบโล่เชิดชูเกียรติ เพื่อขอบพระคุณบุคคลที่ไ ด้มีส่วนในการให้ความช่วยเหลือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากอุบัติเหตุจมน�้ำ เนื่ อ งจากการท� ำ กิ จ กรรมที่ ห าดมหาราช อ� ำ เภอสะทิ ง พระ จังหวัดสงขลา
15 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ข่าวเด่น
ในงานดังกล่าว มีการจัดแถลงข่าว การจัดกิจกรรมใหญ่ ระดับนานาชาติ และระดับชาติ 2 กิจกรรม คือ การแถลงข่าว การเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดั บ โลก ACM-ICPC World Finals 2016 ที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาเขตภูเก็ต และการเป็น เจ้าภาพ จัดการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 13 ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.นิ วั ติ แก้ ว ประดั บ รอง อธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวางแผนและการเงิ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ก่อตั้งมา เป็นปีที่ 48 ซึ่งนับว่าเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ ก ่ อ ตั้ ง มาเป็ น เวลายาวนาน ได้ มุ ่ ง ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ ทั้ ง ทางวิ ช าการและคุ ณ ธรรม มี ก ารผลิ ต งานวิ จั ย นวั ต กรรม ในสาขาต่างๆ ที่เน้นการตอบโจทย์และการแก้ไขปัญหาของ ภาคใต้ มุ่งมั่นที่จะมีบทบาทในการเป็นที่พึ่งของท้องถิ่น โดยในปีที่ผ่านมา เรื่องหลักของภาคใต้ที่มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ เ ข้ า มี ส ่ ว นในการแก้ ไ ขปั ญ หา คื อ วิ ก ฤติ ราคายางพาราตกต�่ำ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อเพิ่ม มูลค่าของผลิตภัณฑ์จากยางพารา การคิดค้นนวัตกรรมจาก ยางพารา การส่งเสริมให้ชุมชนซึ่งมีความเข้มแข็งในการรวม กลุ่มสร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา การออกมาตรการ ช่ ว ยเหลื อ นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากราคายางที่ ต กต�่ ำ และการจัดตั้ง “วิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน” ร่วมกับ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชิงเต่า ประเทศจีน ปีการศึกษา 2560 เพื่อรองรับโรงงานผลิตยางล้อจากประเทศจีน ที่จะมาตั้งฐานการผลิตในไทยและประเทศอาเซียนในอนาคต “งานคุณค่าสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2559” (PRIDE OF PSU) เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่ อ วั น ที่ 14 มี น าคม 2559 มหาวิ ท ยาลั ย จั ด “งาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2559” (PRIDE OF PSU) เนื่ อ งในวั น สถาปนามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ณ ศู น ย์ ประชุมนานาชาติฯ เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิจัยที่ได้รับรางวัลผล งานวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ นักวิจัยที่มีผลงานตี พิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ นักวิจัย
16 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ที่ ไ ด้ รั บ การจดสิ ท ธิ บั ต ร/อนุ สิ ท ธิ บั ต ร ตลอดจนนั ก วิ จั ย ที่ น� ำ ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เป็นต้น งานประกาศเกียรติคุณ คุณครูดีเด่นของคณะต่างๆ ตลอดจนครูอันเป็นที่รัก ศรัทธา ของนั ก ศึ ก ษา งานเวที คุ ณ ภาพ ซึ่ ง เป็ น งานการน� ำ เสนอผล งานที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)ของคณะหน่วย งานต่ า งๆในมหาวิ ท ยาลั ย งานเชิ ด ชู เ กี ย รติ บุ ค ลากรดี เ ด่ น และนักศึกษาตัวอย่างของมหาวิทยาลัย จากทั้ง 5 วิทยาเขต ที่ได้สร้างคุณค่าและชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย ในปี 2558 อีกทั้งในเวลา 13.00 น. มีพิธีมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ประจ� ำ ปี 2556 แก่ บุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ซึ่ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากรองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พร้ อ มทั้ ง เป็นประธานมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่นกัน
บริจาคโลหิต เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ และในวันเดียวกัน กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้จัดโครงการบริจาคโลหิต เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สถาปนามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง ออกหน่ ว ยรั บ บริ จ าคโดย หน่ ว ยคลั ง เลื อ ด โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ ตั้งแต่เวลา 10.00 - 14.00 น. ณ อาคารกิจกรรม นักศึกษา ทั้งนี้ พบว่ามีจ�ำนวนผู้เข้าร่วมบริจาคโลหิตทั้งสิ้นกว่า 145 คน
ข่าวเด่น
ม.อ.พร้อมก้าวสู่มหาวิทยาลัย
เพื่อนวัตกรรมและสังคม รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ บรรยายพิ เ ศษ “มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ นวั ต กรรมและสั ง คม” ในงาน “วั น คุ ณ ค่ า สงขลานครินทร์” ซึ่งจัดเนื่องในโอกาสวันสถาปนา มหาวิ ท ยาลั ย โดยงานดั ง กล่ า วมี พิ ธี ม อบรางวั ล วิจัยและนวัตกรรม อาจารย์ตัวอย่างและผลงาน ดี เ ด่ น รางวั ล เชิ ด ชู ค รู ส งขลานคริ น ทร์ บุ ค ลากร ดีเด่น มอบเครื่องหมายเชิดชูเกียรติคุณ รางวัล คุณภาพ และรางวัลนักศึกษาตัวอย่าง รวมทั้ง พิธี รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ โดยจัดที่ศูนย์ประชุม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2559
อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ได้ มี ก ารจั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ พ.ศ. 2558 - 2561 โดยในการจัดท�ำแผนดังกล่าวได้ใช้ปัญหาของประเทศ เป็ น โจทย์ แ ละมี ก ารวิ เ คราะห์ เ พื่ อ น� ำ ภารกิ จ ทั้ ง 4 ด้ า นของ มหาวิ ท ยาลั ย มาใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หา โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นประเทศให้ ห ลุ ด พ้ น จากการเป็ น ประเทศรายได้ ปานกลาง การลดความเหลื่ อ มล�้ ำ ทางสั ง คมและการศึ ก ษา
การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ และการก้ า วไปสู ่ ค วามเป็ น มหาวิทยาลัยชั้นน�ำ ในระยะเวลา 3 ปี นี้ มหาวิ ท ยาลั ย จะเน้ น การสร้ า ง องค์ ค วามรู ้ ใ หม่ การวิ จั ย เพื่ อ สร้ า งนวั ต กรรมที่ ส ามารถใช้ ประโยชน์ ไ ด้ เ พื่ อ ก้ า วสู ่ ก ารแข่ ง ขั น เน้ น การท� ำ วิ จั ย เพื่ อ ใช้ ประโยชน์ มี โ จทย์ แ ละเป้ า หมายที่ ชั ด เจน หรื อ มี ก ารน�ำ งาน วิ จั ย พื้ น ฐานมาต่ อ ยอด มี ก ารให้ บ ริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ ช่ ว ยให้ ชุมชนมีความเข้มแข็ง โดยการบูรณาการศาสตร์ของหลายคณะ ในการพัฒนาโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน จัดการศึกษา ให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้นเพื่อรองรับการลดลงของประชากร เช่นเปิดกว้างในการจัดการศึกษาเพื่อรองรับผู้ที่ท�ำงานแล้ว ให้มีสมรรถนะสูงขึ้น มีการพัฒนารูปแบบการศึกษาเชิงระบบ ที่เป็นรูปธรรม เน้นพื้นที่ภาคใต้ การไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม จะมีการต่อยอดงานวิจัยไปสู่เชิงพาณิชย์และภาคอุตสาหกรรม เพื่อขับเคลื่อนเขตเศรษฐกิจพิเศษ และขยายผล ไปสู ่ ร ะดั บ สากล พั ฒ นาอาจารย์ เ พื่ อ ให้ มี ประสบการณ์การท�ำงานกับภาคอุตสาหกรรม และเชื่ อ มโยงกั บ การศึ ก ษา มี ก ารก� ำ หนด สัดส่วนงบประมาณด้านการวิจัยที่ชัดเจนโดย มีการขับเคลื่อนงานวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ให้มากขึ้น สร้างเครือข่ายเชื่อมโยง เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม ท้องถิ่น ศิษย์เก่า และเครือข่ายอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งมีฐานข้อมูลที่ช่วยตอบสนองการท�ำงาน อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยยังมีการเตรียม การเพื่ อ ความเปลี่ ย นแปลงในอนาคตที่ เ ป็ น ความท้าทาย เช่น ด้านผลิตบัณฑิตที่มีมาตรฐาน ความรู ้ ภ าษาอั ง กฤษ มี ค วามสามารถในการท� ำ ธุ ร กิ จ ของ ตนเอง การจั ด ระบบการศึ ก ษาแบบใหม่ มี ก ารท� ำ หลั ก สู ต ร Online วิชาการพัฒนาอย่างยั่งยืน การจัดโครงสร้างองค์กร ให้ ก ะทั ด รั ด คล่ อ งตั ว การบริ ห ารความต่ า ง การตั้ ง กองทุ น พั ฒ นายุ ท ธศาสตร์ การบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ให้ เ กิ ด รายได้ การ จั ด การทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ความสามารถในการแข่ ง ขั น การสร้างเครือข่ายและการท�ำงานร่วมกัน เป็นต้น
17 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ข่าวเด่น
ร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ม.อ. ผ่านกฤษฎีกา
ปรับวิทยาเขตไม่เป็นนิติบุคคล าจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ และประธานคณะอนุ ก รรมการยกร่ า งข้ อ บั ง คั บ ฯ ในการด�ำเนินงานสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กล่าวถึงความคืบหน้าของ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ซึ่งเข้าสู่การพิจารณาของผ่านการ พิ จ า ร ณ า ข อ ง ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ กรรมการกฤษฎีกา ตั้งแต่เ มื่อวันที่ 19 ตุ ล าคม 2558 และผ่ า นความ เห็ น ชอบเมื่ อ 24 ธั น วาคม 2558 ว่ า มี ห ลายส่ ว นที่ ถู ก ปรั บ เปลี่ ย น ท�ำให้ โดยภาพรวมแล้ว ร่าง พ.ร.บ. ใหม่ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะคล้ายกับ พ.ร.บ.ของ มหาวิทยาลัย ในก� ำ กั บ อื่ น ๆ แต่ ที่ ต ่ า งกั น อย่ า งชั ด เจนคื อ ในหลั ก การในการร่ า งมี ก ารเน้ น ความเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย หลายวิ ท ยาเขต และมี ก ารย�้ ำ เรื่ อ งของวิ ท ยาเขต เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานมี ค วามเป็ น อิ ส ระ คล่ อ งตั ว ไว้ อี ก ในบางมาตรา ซึ่ ง พ.ร.บ.ของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ อย่ า งไรก็ ต าม สิ่ ง ที่ ค ณะกรรมการกฤษฎี ก าได้ ป รั บ เปลี่ ย นจากร่ า งเดิ ม คื อ การที่ วิทยาเขตจะไม่เป็นนิติบุคคล ซึ่งจะมีผลไปถึงการไม่เป็นหน่วยงบประมาณ และมี ร ายละเอี ย ดถู ก ปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ร่ า ง พ.ร.บ.ที่ ถู ก แก้ ไ ข เช่ น การไม่ มี อ ธิ ก ารวิ ท ยาเขต ส่ ว นโครงสร้ า งวิ ท ยาเขตจะเป็ น อย่ า งไร หรื อ จะมี ส ภา วิทยาเขตหรือไม่สามารถออกเป็นข้อบังคับได้ มีการปรับสัดส่วนของกรรมการสภา มหาวิทยาลัย แต่ยังยึดหลักการที่ให้มีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมากกว่าบุคลากรภายใน จะมีที่ประชุมคณะกรรมการบริหารงานมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการรวมที่ประชุมคณบดี และที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารงานบุ ค คลมหาวิ ท ยาลั ย (คบม.) เข้ า ด้ ว ยกั น จะมีส�ำนักงานสภา ส�ำนักงานมหาวิทยาลัย ส�ำนักงานวิทยาเขต แต่จะไม่มีส่วน งานที่เป็น “ศูนย์” ใน ร่าง พ.ร.บ. ใหม่ ซึ่งหากมีการประกาศใช้ พ.ร.บ. ใหม่ หน่วยงาน ที่เป็น “ศูนย์” อยู่ในปัจจุบันจะต้องเปลี่ยนชื่อ และใน ร่าง พ.ร.บ. ใหม่จะไม่มีการ พูดถึงภาควิชา ดังนั้นการจะมีภาควิชาหรือไม่ขึ้นอยู่กับนโยบายมหาวิทยาลัย ในมาตรา 13 เขียนไว้ว่า “กิจการของมหาวิทยาลัยไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่ง กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ แต่พนักงาน มหาวิทยาลัยต้องได้รับการคุ้มครองและประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่ก�ำหนด ไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน” และได้มีเพิ่มในมาตรา 93 วรรคสาม ว่า “พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์ในฐานะข้าราชการบ�ำนาญแล้ว ให้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม แต่ไม่ตัดสิทธิ ที่จะประกันตนด้วยความสมัครใจ” ซึ่งเป็นไปตามที่ประชาคมร้องขอ หลังจากการปรับแก้ของคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว ก่อนจะเข้าที่ประชุมคณะ รัฐมนตรีเพื่อเห็นชอบ จะมีการน�ำร่าง พ.ร.บ.ใหม่ ที่ถูกปรับแก้ เข้าขอความเห็นจากสภา มหาวิทยาลัย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยจะมีการน�ำเข้าสภามหาวิทยาลัยเป็นวาระ
18 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
พิจารณาในวันที่ 9 มกราคม 2559 หากไม่มีข้อท้วงติง จะน� ำ เข้ า สู ่ ก ารพิ จ ารณาในที่ ป ระชุ ม คณะรั ฐ มนตรี หากผ่านจะเข้าสู่กระบวนการออกกฎหมายของ สนช. และเสนอเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย เพื่อประกาศเป็น กฎหมายต่ อ ไป ซึ่ ง คาดว่ า กระบวนการจะแล้ ว เสร็ จ ในกลางปี 2559 ในระหว่างนี้ มหาวิทยาลัยจะต้องเตรียมการใน เรื่องของข้อบังคับ เพื่อให้ได้มาซึ่งสภามหาวิทยาลัยชุด แรก ซึ่งมีองค์ประกอบเปลี่ยนไปตามที่ได้ระบุใน พ.ร.บ. ใหม่ และเมื่อ พ.ร.บ.ใหม่ประกาศใช้ ต้องมีการดูแล เรื่ อ งการเปลี่ ย นถ่ า ย สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ทรั พ ย์ สิ น ภาระ ผูกพัน รายได้ บุคลากร และอื่นๆ ที่มีอยู่ตาม พ.ร.บ.เก่า เพื่ อ เข้ า สู ่ พ.ร.บ.ใหม่ ตามเงื่ อ นไขการเปลี่ ย นถ่ า ยที่ ได้เขียนเอาไว้ ซึ่งบางเรื่องเช่นเงื่อนไขหลักเกณฑ์ใน การเปลี่ ย นสถานภาพจากข้ า ราชการเป็ น พนั ก งาน มหาวิทยาลัย หากมีการยกร่างข้อบังคับจะต้องมีการน�ำ เข้ า สู ่ ก ระบวนการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากประชาคม ก่อนจะเข้าสู่การพิจารณาของสภามหาวิทยาลัย
“ส่วนที่ต้องท�ำความชัดเจนคือเรื่องการปรับ เงินเดือนของข้าราชการที่เปลี่ยนเป็นพนักงาน ซึ่ง ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับการเจรจาหมวดเงินอุดหนุนกับ ส�ำนักงบประมาณ ซึ่งคาดหวังจะได้ไม่ต�่ำกว่าของ มหาวิทยาลัยที่ออกนอกระบบไปแล้ว คือประมาณ 1.6 เท่า แต่มหาวิทยาลัยจะดึงไว้ส่วนกลางส่วนหนึ่ง อาจจะเป็น .2 หรือ .3 เพื่อน�ำมาดูแลด้านสวัสดิการ เงินชดเชยเมื่อเกษียณอายุ หรือค่ารักษาพยาบาล ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานซึ่งไม่เท่ากันในแต่ละ มหาวิ ท ยาลั ย ” รองอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ กล่าว บุ ค ลากรที่ เ ป็ น ข้ า ราชการ คงจะต้ อ งมี ก ารคิ ด วางแผนล่วงหน้า ว่าจะเลือกเป็นข้าราชการไปจนเกษียณ อายุ หรื อ จะปรั บ เปลี่ ย นเป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย เมื่ อ มี พ.ร.บ.ใหม่ ออกมาแล้ ว จะได้ ตั ด สิ น ใจได้ ใ นปี แรก ซึ่งไม่ต้องผ่านการประเมิน แต่หลังจากนั้นจนถึง 3 ปีจะต้องผ่านระบบประเมิน เพื่อบรรจุเป็นพนักงาน
ข่าวเด่น
สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ
ม.อ. กับบทบาทการมีส่วนร่วมใน Rubber City
องศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ ฑี ฆ ะสกุ ล รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยระบบวิ จั ย และบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น� ำ เสนอต่ อ สภา มหาวิทยาลัย เพื่อขอความเห็นชอบต่อการที่มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จะเข้ามีบทบาทในการพัฒนาด้านวิชาการ และนวัตกรรมด้านยางพารา เพื่อสอดคล้องกับโครงนิคม อุ ต สาหกรรมเมื อ งยาง (Rubber City) ซึ่ ง จั ด ตั้ ง ที่ นิ ค ม อุ ต สาหกรรมภาคใต้ ต� ำ บลฉลุ ง อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา เพื่ อ รองรั บ อุ ต สาหกรรมยางทั้ ง กลางน�้ ำ และ ปลายน�้ำ โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมีความพร้อมอยู่แล้ว เพื่อการด�ำเนินการ 4 ส่วนคือ 1. การสร้างห้องปฏิบัติการทดสอบวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยางพารา ที่ศูนย์ เครื่ อ งมื อ วิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารเครื่ อ งมื อ ทดสอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางพารา เช่น เครื่องผสมยางแบบเปิดและแบบปิด เครื่องทดสอบ ความนิ่ ม ของยาง และการทดสอบการกระจายตั ว ของสารตั ว เติ ม เป็นต้น 2. การจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก งานประสานงานในพื้ น ที่ Rubber City เพื่ อ การ ประสานงานความร่ ว มมื อ และการให้ บ ริ ก ารด้ า นการวิ จั ย พั ฒ นา และนวัตกรรม ระหว่างผู้เช่าพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเมืองยาง ส�ำนักงาน นิคมอุตสาหกรรมภาคใต้ จังหวัดสงขลา และมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เพื่อขับเคลื่อนภารกิจโครงการเมืองยางพารา 3. การถ่ า ยทอดนวั ต กรรมการวิ จั ย โดยอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ภ าคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ต�ำบลทุ่งใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ โดยการสนับสนุนของทั้งหน่วยงานภาคเอกชน เช่น สภาอุตสาหกรรม หอการค้ า ส� ำ นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด และ สถาบั น การศึ ก ษา เครื อ ข่ า ย ทั้ ง ในด้ า นอุ ต สาหกรรมยางพารา และ อื่ น ๆ เช่ น ปาล์ ม น�้ำมัน อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์ฮาลาล เภสัชและเครื่องส�ำอาง พลังงาน และเทคโนโลยีทดแทน เป็นต้น 4. การตั้ง วิทยาลัยนานาชาติยางพารา ไทย-จีน เพื่อเป็นศูนย์กลางด้าน การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทางด้านยาง ที่มีทักษะสากลรองรับ การลงทุ น ทางด้ า นอุ ต สาหกรรมยางล้ อ จากต่ า งประเทศ และ อุตสาหกรรมยางประเภทอื่น ๆ ในประเทศ เป็นหน่วยงานหลักในการ สร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางด้านยางของประเทศ และกลุ่มอาเซียน รวมทั้งการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่
สภามหาวิ ท ยาลั ย ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบ กั บ การเข้ า ไปมี บ ทบาทใน การมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาด้ า นวิ ช าการและนวั ต กรรมด้ า นยางพารา ใน โครงนิคมอุตสาหกรรมเมืองยาง (Rubber City) เนื่องจากเป็นสถาบันการ ศึ ก ษาที่ ไ ด้ ผ ลิ ตบุ คลากรด้ า นนี้ มาเป็ นเวลายาวนาน และจะได้ ช ่ ว ยพั ฒนา เศรษฐกิจในภาคใต้ เพื่อจะช่วยแก้ปัญหาความมั่นคงใน 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ได้อีกส่วนหนึ่ง และควรประสานกับศูนย์ อ�ำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่ อ ท� ำ แผนงบประมาณอย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยเฉพาะการ ผลิตก�ำลังคนและผู้ประกอบการ แต่ต้องดูความพร้อมของเราว่ามีเพียงใด ในเรื่องนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ ในการเปิดสอนทั้งหลักสูตรนานาชาติและการ ฝึ ก อบรม เราควรมี เ ครื อ ข่ า ยจากสถาบั นอื่นทั้ งในประเทศ และในอาเซี ย น มาช่วย เพราะคงท�ำคนเดียวไม่ได้ แต่เราต้องเป็นศูนย์กลาง การมีห้องปฏิบัติการทดสอบวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยางพารา นับเป็นจุดเด่น ที่ ส ามารถน� ำ มาเป็ น ตั ว หลั ก ได้ เพราะจะเป็ น ที่ พึ่ ง ของผู ้ ป ระกอบการและ อุตสาหกรรมทั่วประเทศ เป็นการแสดงถึงคุณภาพของเรา ซึ่งน่าจะเป็นสถาบัน ที่จัดการมาตรฐานเรื่องยางของประเทศไทย ต้องมีการเพิ่มงานวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่โดยการร่วมมือกับภาค อุ ต สาหกรรมในการวิ จั ย เพื่ อ เพิ่ ม คุ ณ ภาพให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ อ งมี ก ารส� ำ รวจ ตลาดว่ า ใครเป็ นผู ้ ซื้ อ และซื้ อ ไปท� ำ อะไร ตลาดอยู ่ ที่ไ หน โดยตลาดจะเป็ น ตัวบอกว่าจะต้องท�ำอะไร ต้องมีการหาความช่วยเหลือจากต่างประเทศใน ระยะแรกๆ เพราะความรู้ของเราจะมีจ�ำกัดอยู่ระดับหนึ่ง ต้องมีการวิจัยว่า จะท� ำ อะไร ขายใคร เพราะภาคเอกชนของเราอาจยั ง ไม่ ก ้ า วหน้ า เท่ า บางประเทศ เช่น จีน เนื่องจากไม่มีเงินพอส�ำหรับการท�ำวิจัยขนาดใหญ่ อย่ า งไรก็ ต าม คุ ณ ภาพน�้ ำ ยางของเรายั ง ไม่ ไ ด้ ม าตรฐาน ท� ำ ให้ ไ ด้ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ และน�ำไปเพิ่มมูลค่าไม่ได้ เนื่องจากระบบการผลิต ยังเป็นเกษตรกรรายย่อย ควบคุมให้ มี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐานเหมื อ นกั น ได้ยากโดยรัฐต้องยื่นมือเข้ามาช่วย การมองเฉพาะปัจจุบันคงไม่พอ ในอนาคตอยากให้มองให้รอบคอบ ถึ ง ความส� ำ เร็ จ ที่ ยั่ ง ยื น หากจะท� ำ อะไรใหม่ เราต้องมองไกล ใช้วิธีการ แบบเดิมๆ คงไม่ได้แล้ว จะต้องมีการ มีส่วนร่วมจากชุมชนและสถาบันอื่นๆ รวมทั้งคณะวิชาที่เกี่ยวข้องกับด้าน ภาษา และต้องมองว่าผู้น�ำแบบไหน ถึ ง จะน� ำ องค์ ก รเช่ น นี้ ไ ด้ ใ นอนาคต
19 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
นิติศาสตร์ ม.อ.ร่วมกับศาลปกครอง
สร้างมือกฎหมายคดีปกครอง ที่ มี ทั้ ง ความรู ้ ท างวิ ช าการและทั ก ษะใน การปฏิ บั ติ ง าน อี ก ทั้ ง เป็ น การสร้ า งความ สั ม พั น ธ์ ใ นระดั บ องค์ ก รเพื่ อ การพั ฒ นา ความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ต่อไป คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ได้ รั บ การอนุ มั ติ จั ด ตั้ ง เป็ น คณะ เมื่ อ พ.ศ. 2546 ถื อ เป็ น คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ แห่ ง แรกในภาคใต้ และจัดเป็นล�ำดับที่ 6 ของประเทศ โดยมี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 2 แผนการศึกษา ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ลงนามร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ กั บ ศาลปกครอง โดย รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ ศุภวัชร์ มาลานนท์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ลงนาม กั บ ดร.บุ ญ อนั น ต์ วรรณพานิ ช ย์ อธิ บ ดี ศ าล ปกครองสงขลา และนายสุรพันธ์ บุรานนท์ รอง เลขานุ ก ารส� ำ นั ก งานศาลปกครอง เมื่ อ วั น ที่ 11 มี น าคม พ.ศ. 2559 ณ คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยมี ค ณาจารย์ ร่วมเป็นสักขีพยาน
ได้แก่ นิติศาสตรบัณฑิตแผนการศึกษา 4 ปี และ นิติศาสตร บัณฑิต (ภาคบัณฑิต)แผนการศึกษา 3 ปี เปิดสอน 4 สาขา วิชา ได้แก่ กฎหมายมหาชน กฎหมายธุรกิจ กฎหมายระหว่าง ประเทศ และ สาขาวิชากฎหมายแพ่งและอาญา โดยพระเจ้า อาจารย์ ศุ ภ วั ช ร์ มาลานนท์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ หลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เสด็จเป็นองค์ประธาน เปิดเผยถึงความร่วมมือกับศาลปกครองว่ามีดังนี้ เปิ ด อาคารคณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ 1. ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการ การเรี ย นการสอน และ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2554 บทความวิชาการ 2. การสนับสนุนระบบการฝึกงานภาคปฏิบัติเพื่อสร้าง นั ก กฎหมายที่ มี ทั้ ง ความรู ้ ท างกฎหมายปกครองและทั ก ษะ วิธีพิจารณาคดีปกครอง 3.การบริ ก ารวิ ช าการและเผยแพร่ ค วามรู ้ ก ฎหมาย แก่ชุมชน การลงนามความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น อี ก หนึ่งความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนแก่ นักศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อสร้างนักกฎหมาย
20 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
ม.อ.จับมือมูลนิธิรากแก้ว
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
ศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ร่วมกับอธิการบดีจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และ ม.ร.ว.ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล ประธานมู ล นิ ธิ ร ากแก้ ว ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความ ร่ ว มมื อ ตามโครงการขั บ เคลื่ อ นปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียงด้วยพลังของนิสิตนักศึกษา โดย รศ.นพ.ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานในพิธี เมื่อ วันพุธที่ 9 มีนาคม2559 ณ โรงแรม เดอะสุโกศล กรุงเทพฯ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีพันธกิจที่จะพัฒนาให้เป็นสังคม ฐานความรู้ บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรมและหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดย สามารถเข้าถึงความรู้ในหลากหลายรูปแบบ การสร้างความเป็นผู้น�ำ ทางวิชาการในสาขาที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต้ และ เชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล และประยุกต์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ การปฏิบัติ เพื่อสร้างปัญญา คุณธรรม และโลกทัศน์สากลแก่บัณฑิต เรามุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ทั้งทางวิชาการและ เป็นคนดีของชาติ มีจิตส�ำนึกในการช่วยเหลือสังคม ด้วยการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการการ เรียนการสอน การบริการวิชาการ และการวิจัย โดยสนับสนุน ให้ มี ก ารด� ำ เนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์ของโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพี ย งด้ ว ยพลั ง ของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง จะมี ส ่ ว นส่ ง เสริ ม และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนานักศึกษาและพัฒนา ชุมชนได้ดียิ่งขึ้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับพระราชทานนาม ตามพระนามของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลา นคริ น ทร์ และมี พ ระองค์ ท ่ า นเป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ โดย ยึดพระราชปณิธานที่ว่า “ให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์
เป็นกิจที่หนึ่ง” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ง 5 วิทยาเขต ขอแสดง เจตนารมณ์ต่อความร่วมมือตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และยินดี ร่ ว มมื อ ประสานงานกั บ มู ล นิ ธิ ร ากแก้ ว และสถาบั น การศึ ก ษาทั้ ง 3 ตลอดจนสถาบันการศึกษาทุกแห่ง เพื่อขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รศ.นพ.ก�ำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวปาฐกา พิเศษ เรื่อง “ยุทธศาสตร์การบูรณาการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงภาคการศึกษา” โดยเน้นถึงการให้นิสิตนักศึกษาออกไปเรียนรู้ จากชุมชน และปฏิบัติงานในพื้นที่จริง ต้องใช้พลังของนิสิตนักศึกษา มาช่วยกันพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานมูลนิธิรากแก้ว กล่าวว่า พิธีการ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือครั้งนี้เป็นโครงการน�ำร่องเพื่อยก ระดับการท�ำงานของทั้ง 4 มหาวิทยาลัย ที่ได้มีความร่วมมือกันมาก่อน โดยมหาวิ ท ยาลั ย ได้ น� ำ ความรู ้ แ ละพลั ง ของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาผสานกั บ ศาสตร์ของพระราชาไปลงมือปฏิบัติจริง โดยมีเป้าหมายคือท�ำให้ชุมชน มีศักยภาพในการแก้ปัญหาด้วยตัวเอง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดความ เหลื่อมล�้ำของสังคมและสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนให้กับประเทศชาติ ตามแผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล มูลนิธิรากแก้ว จัดท�ำโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้วยพลังของนิสิตนักศึกษา เพื่อสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ สนับสนุนการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสนับสนุน ให้สถาบันการศึกษาท�ำงานอย่างบูรณาการร่วมกับทุกภาคส่วนใน การน� ำ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ชุมชน โดยจัดท�ำเป็นบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครอบคลุมเรื่องการพัฒนาพื้นที่เป้าหมาย เพื่ อ ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ เ รี ย นรู ้ แ ละปฏิ บั ติ ก ารส� ำ หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาและ คณาจารย์ การพัฒนาศักยภาพนิสิตนักศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การเรี ย นการสอน การจั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ผ ่ า นการปฏิ บั ติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสรุปบทเรียนเพื่อน�ำไปขยายผลในสถาบัน การศึกษาอื่นๆ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และเกิด เป็นเครือข่ายนิสิตนักศึกษา
21 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ความร่วมมือสู่การพัฒนา
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ 3 พันธมิตร
เดินหน้าลงทุนนิคม ฯ ยางพารา รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล
นายพรชัย ตระกูลวรานนท์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำโดย รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดี พร้อมคณะ ลงนามความร่วมมือ 3 พันธมิตร ได้รับเกียรติ จาก นายพรชั ย ตระกู ล วรานนท์ ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ กระทรวง อุตสาหกรรม เป็นประธาน ในพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือการส่งเสริม นวัตกรรมยางพาราในนิคมอุตสาหกรรมยางพาราและการสัมมนา เรื่อง “ศักยภาพและโอกาสการลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมยางพารา” เมื่อ วันที่ 11 มีนาคม 2559 ณ ห้อง Ballroom 1 โรงแรมบุรี ศรีภู บูติก โฮเต็ล โดยการร่วมมือดังกล่าวได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การยางแห่ง ประเทศไทย และธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ขอบเขตความร่วมมือการด�ำเนินงานในบันทึกความร่วมมือการ ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมยางพารา ระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลา
22 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
นครินทร์ และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการใช้ ยางพาราสร้างมูลค่าเพิ่มและเพิ่มปริมาณการใช้ใน ประเทศโดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึง ศักยภาพของบุคลากรและผู้เชี่ยวชาญที่จะมารองรับ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางพาราที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ระบบตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ จนถึ ง ปลายน�้ ำ ในรู ป แบบของ คลัสเตอร์ในนิคมฯยางพารา รวมทั้งเพื่อรองรับกลุ่ม อุตสาหกรรมสนับสนุนด้านต่าง ๆ อีกด้วย
ความภาคภูมิใจ
นักศึกษา ม.อ. คว้ารางวัลรองอันดับ 1 จากผลงาน คลิป
“อุ่นใจชายแดนใต้”
กลุ่มสื่อกิจกรรมนักศึกษา Activists media โดย นายซอลาฮุ ด ดิ น มามะ นายวั น ฮากี ม วรรณมาตร นั ก ศึ ก ษาภาควิ ช าพื ช ศาสตร์ ชั้ น ปี ที่ 4 คณะทรั พ ยากร ธรรมชาติ และ นายซากีรุลฮากีม แวบาร์การ์ นักศึกษา ชั้ น ปี ที่ 2 คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ รั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 เงิ น รางวั ล 20,000 บาท จาก คุ ณ ภาณุ อุ ทั ย รั ต น์ เลขาธิ ก าร ศู น ย์ อ� ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ จาก ผลงานการประกวดคลิปสั้น หัว ข้อ “อุ่นใจชายแดนใต้ ” เรื่ อ ง “ฉั น กลั ว | I’am afraid” ซึ่ ง มี เ นื้ อ หาที่ ส ะท้ อ น ความรู ้ สึ ก ของคนในพื้ น ที่ ต ่ อ คนนอกพื้ น ที่ และสะท้ อ น ความรู ้ สึ ก ของคนนอกพื้ น ที่ ต ่ อ คนในพื้ น ที่ ผ ่ า นคลิ ป สั้ น ทั้งนี้ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ ภาคใต้และเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการ จัดโครงการ การประกวดคลิปสั้น หัวข้อ “อุ่นใจชายแดนใต้” แสดงออกและความคิ ด สร้ า งสรรค์ เผยแพร่ สู ่ ส ายตา และภาพถ่ า ย หั ว ข้ อ “ยิ้ ม รั บ ปี ใ หม่ ช ายแดนใต้ 2559” โดย สาธารณชนทั่วประเทศ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ส ร้ า งภาพลั ก ษณ์ แ ละ ชมคลิป “ฉันกลัว | I’am afraid” ได้ที่ สร้างสีสัน บรรยากาศความสุขของคนในพื้นที่จังหวัดชายแดน https://www.youtube.com/watch?v=0buUMx1TVqo
23 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
มอ. วิทยานุสรณ์
มอบอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการแก่โรงเรียนด้อยโอกาส ทั้ ง นี้ อุ ป กรณ์ ห ้ อ งเรี ย นทางไกลแบบสื่ อ สารสองทาง ประกอบด้วย ระบบวิดีโอคอนเฟอเร้นซ์ โสตทัศนูปกรณ์ และ การติ ด ตั้ ง ระบบอิ น เตอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง แล้ ว เสร็ จ ในโรงเรี ย น ปลายทางทั้ง 3 โรงเรียน และที่โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ ซึ่ง เป็นโรงเรียนต้นทาง ส่วนครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยกล้องจุลทรรศน์ หลอดทดลอง อุปกรณ์ส�ำหรับ ห้องปฏิบัติการเคมี และ เครื่องมือฟิสิกส์ เป็นต้น
เมื่อวันจันทร์ที่ 11 มกราคม 2559 ที่โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้มีพิธีส่ง มอบครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ให้แก่โรงเรียน 3 แห่ง ในโครงการ “ความร่วมมือเสริมทักษะทางวิชาการ ให้แก่นักเรียนโรงเรียนในเขตพื้นที่ภาคใต้ ระหว่าง มูลนิธิ ชั ย พั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ โรงเรี ย น มอ. วิทยานุสรณ์ โดยใช้การเรียนการสอนทางไกลแบบ สื่ อ สารสองทาง” โดย นายลลิ ต ถนอมสิ ง ห์ ผู ้ ช ่ ว ย เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นผู้มอบให้แก่ผู้แ ทนจาก 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนคุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม จังหวัด พังงา โรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา โรงเรียนศรีฟารีดาบารู วิทยา จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ขาดโอกาสด้านการ ศึกษาในวิชาหลัก คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา ไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
24 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
โครงการ ความร่ ว มมื อ เสริ ม ทั ก ษะทางวิ ช าการให้ แ ก่ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ ภ าคใต้ ฯ เป็ น การร่ ว มมื อ กั น ระหว่าง มูลนิธิชัยพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ โรงเรี ย น มอ. วิ ท ยานุ ส รณ์ ในการร่ ว มกั น ช่ ว ยเหลื อ พั ฒ นา โรงเรียนในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างที่ขาดโอกาสด้านการศึกษา ให้ได้รับการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาเทียบเคียงกับ โรงเรียนในพื้นที่อื่นๆ มีระยะเวลาการด�ำเนินการ 5 ปี ตั้งแต่ ปี 2556-2560 เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบสื่อสารสอง ทางผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตจาก โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ ซึ่งนักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายสามารถตอบโต้ ซักถามกับครู ผู้สอนในโรงเรียนต้นทางได้โดยตรงและทันที เป็นการช่วยยก ระดับการศึกษาของนักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย ท�ำให้มีโอกาส สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยในสาขาที่ท้องถิ่นขาดแคลนได้ ม า ก ขึ้ น แ ล ะ เ พื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพและ ประสบการณ์ ค รู ใ น โรงเรี ย นเครื อ ข่ า ย ปลายทาง
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
ม.อ.มอบสนามกีฬาจากแผ่นยางพารา แก่โรงเรียนในท้องถิ่นทั้ง 5 วิทยาเขต กว่า 2 ล้านบาท หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มอบสนาม กีฬา และสนามเด็กเล่น ท�ำจากผลิตภัณฑ์ แผ่ น ยางปู พื้ น จากยางพาราแก่ โ รงเรี ย นในท้ อ งถิ่ น 5 แห่ง ในทุกวิทยาเขต ได้แก่โรงเรียนวัดเขากลอย จั ง หวั ด สงขลา โรงเรี ย นบ้ า นรู ส ะมิ แ ล จ.ปั ต ตานี โรงเรียนวัดหัวหมากล่าง จ.สุราษฎร์ธานี โรงเรียน เทศบาล 2 บ้ า นกระทู ้ จ.ภู เ ก็ ต และโรงเรี ย นบ้ า น ควนปริง จ.ตรัง รวมงบประมาณ 2,266,000 ล้าน บาท และท�ำการศึกษาวิจัย “การศึกษาความทนทาน การใช้งานผลิตภัณฑ์แผ่นยางปูพื้นจากยางพารา” เพื่ อ ร่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หายางพาราของประเทศ และ ประโยชน์ แ ก่ โ รงเรี ย นและชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ใกล้ เ คี ย ง
รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด ท� ำ โครงการวิ จั ย เรื่ อ ง “การศึกษาความทนทานการใช้งานผลิตภัณฑ์แผ่นยางปูพื้น จากยางพารา” เป็นแนว ทางหนึ่ ง ในการน� ำ ผล การวิ จั ย มาขยายเพื่ อ ต่ อ ยอดเพื่ อ ใช้ เ ป็ น ต้ น แ บ บ ใ น ก า ร พั ฒ น า ผลิตภัณฑ์จากยางพารา
รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และคณะผู้บริหาร มอบสนามกีฬาและสนามเด็กเล่น ขนาดพื้นที่ 275 ตารางเมตร แก่โรงเรียนวัดเขากลอย หมู่ที่ 8 บ้านเขากลอย ต�ำบลท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ซึ่งเปิดสอน ชั้นอนุบาลและประถมศึกษา และให้การดูแลเด็กพิเศษร่วม เรียนกับเด็กปกติเพื่อพัฒนาการที่ดี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร ่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หา ยางพาราของประเทศในสภาวการณ์ที่ราคายางพาราลดต�่ำลง ให้บริการวิชาการในรูปแบบต่างๆ และร่วมขับเคลื่อนการแก้ไข ปัญหายางพารา
25 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์ ภูเก็ต เพื่อได้รับทุนเป็นค่าตอบแทนการท�ำงาน นอกจากนี้ได้ ด�ำเนินการหารือศิษย์เก่าที่เป็นเจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการ ภาคเอกชนในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต เพื่อขอทราบความต้องการ นั ก ศึ ก ษาช่ ว ยงานหรื อ ปฏิ บั ติ ง าน อั น จะช่ ว ยให้ นั ก ศึ ก ษามี รายได้ถือเป็นการช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายผู้ปกครองส่วนหนึ่ง และยังช่วยให้นักศึกษามีประสบการณ์ในการท�ำงานอีกด้วย
รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิทยาเขตภูเก็ต เป็นประธานในพิธีส่งมอบสนามกีฬาท�ำจาก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ผ่ น ยางปู พื้ น จากยางพารา โดยความร่ ว มมื อ ระหว่างวิทยาเขตภูเก็ตกับสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีการจัดพิธีส่งมอบ ด้ ว ยกั น 2 แห่ ง ได้ แ ก่ โรงเรี ย นเทศบาล 2 เมื อ งกะทู ้ และ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต โดยมี รองศาสตราจารย์อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัย และพั ฒ นานวั ต กรรมยางพารา กล่ า วรายงานความเป็ น มา ของการด�ำเนินงาน รองศาสตราจารย์ ภู ว ดล บุ ต รรั ต น์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต เผยว่ า สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นานวั ต กรรม ยางพารามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ได้ ท� ำ การวิ จั ย แปรรู ป น�้ ำ ยางสดเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ผ่ น ยางปู พื้ น ลานกี ฬ าจากยางพารา สร้ า งรายได้ แ ก่ เ กษตรกรและ สอดคล้ อ งกั บ นโยบายรั ฐ บาลในการแก้ ไ ขปั ญ หาราคายาง ตกต�่ ำ โดยน� ำ แผ่ น ยางปู พื้ น ลานกี ฬ าติ ด ตั้ ง ให้ แ ก่ โ รงเรี ย นที่ อยู่ในพื้นที่ตั้ง ของมหาวิทยาลัยทั้ง 5 วิทยาเขต คือ วิทยาเขต หาดใหญ่ ปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และวิทยาเขตตรัง เพื่อ ทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้ เยาวชนได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ทั้ ง นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เลือกจัดสร้างสนามกีฬาและสนามเด็กเล่นแก่ โรงเรียนเทศบาล 2 บ้านกระทู้ อ.กระทู้ จ.ภูเก็ต พร้อม กันกับสนามกีฬาวิทยาเขตภูเก็ต จ�ำนวน 1 สนาม ส�ำหรับครอบครัวของนักศึกษา วิทยาเขตภูเก็ต ที่ เป็นเจ้าของสวนยางพารา ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติ ราคายางพาราวิทยาเขตภูเก็ตได้ด�ำเนินการให้นักศึกษา แจ้งขอผ่อนผันการลงทะเบียน ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาใน ระยะสั้นส�ำหรับการลงทะเบียน แต่ในการใช้ชีวิตประจ�ำ วั น ของนั ก ศึ ก ษาเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต จึ ง คิ ด หาแนวทางในการเพิ่มรายได้ให้กับนักศึกษา โดยการ ให้นักศึกษาที่ว่างจากการเรียนสามารถมาปฏิบัติงาน ช่วยงานในส�ำนักงานของคณะหน่วยงานในวิทยาเขต
26 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
นอกจากนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ส ร้ า งสนามอเนกประสงค์ ขนาดพื้นที่ 275 ตารางเมตร ให้กับโรงเรียนต่างๆในจังหวัด ซึ่งเป็นที่ตั้งของวิทยาเขตต่างๆ 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดสร้าง สนามกีฬาและสนามเด็กเล่นแก่ โรงเรียนบ้านรูสะม หมู่ที่ 1 บ้ า นรู ส ะมิ แ ล อ� ำ เภอเมื อ งปั ต ตานี จั ง หวั ด ปั ต ตานี ขณะนี้ ก่อสร้างเสร็จแล้ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี จัดสร้างสนามกีฬาและสนามเด็กเล่นแก่โรงเรียนวัดหัวหมาก ล่าง ต�ำบลหัวหมาก อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ระหว่างด�ำเนินการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตตรั ง จั ด สร้ า ง สนามกี ฬ าและสนามเด็ ก เล่ น แก่ โ รงเรี ย นบ้ า นควนปริ ง โรงเรียนบ้านควนปริง หมู่ที่ 6 ถนนกันตัง บ้านควนปริง อ�ำเภอ เมืองตรัง จังหวัดตรัง อยู่ระหว่างด�ำเนินการ
เพื่อประโยชน์เพื่อนมนุษย์
นักศึกษา ม.อ.มอบโอกาสเรียนรู้ศิลปะ
นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วม ต้อนรับ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสในจังหวัดสงขลา จ�ำนวน 503 คน ในการเข้าชม โขนสงขลานครินทร์ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึ ก ศึ ก พรหมาสตร์ จั ด โดยศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปและวั ฒ นธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ เมื่อ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมี ครูพี่เลี้ยงและนักเรียนจาก โรงเรียนการศึกษาคนตาบอดธรรมสากล หาดใหญ่ จ�ำนวน 102 คน โรงเรียนโสตศึกษา 200 คน สถานสงเคราะห์บ้านเด็ก สงขลา จ�ำนวน 75 คน หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ จ.สงขลา จ� ำ นวน 96 คน โรงเรี ย นสงขลาพั ฒ นาปั ญ ญา 30 คน โดย ที มงานศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติฉ ลองสิริร าชสมบัติค รบ 60 ปี จัดอาหารว่างบริการ
นั ก ศึ ก ษา และที ม งานหน่ ว ยส่ ง เสริ ม อาสาสมั ค ร กอง กิ จ การศึ ก ษา พร้ อ มด้ ว ยบุ ค ลากรส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้แสดงโขนได้ดูแล พูดคุย อย่างเป็นกันเองด้วยความรัก ความเมตตา โดยยึดถือพระราช ปณิธาน “ขอให้ถือประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ของ สมเด็จพระบรมราชชนก เพื่อให้น้องๆ เยาวชนผู้ด้อยโอกาส ได้สัมผัสและเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม อย่างใกล้ชิด ตลอดเวลา เข้าชม
เป็นศาสตร์และเป็นศิลปะการแสดง ชั้นสูงที่บ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ ทางด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ การจัดแสดงโขน เป็นงานที่มีความยาก ซับซ้อนและใช้ทีมงานจ�ำนวน มาก ปั จ จุ บั น หาชมได้ ย าก ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในการอนุรักษ์ เผยแพร่ และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ จึงได้ ก�ำหนดจัดการแสดงโขนประจ�ำปีอย่างต่อเนื่อง โดย ในปีนี้ได้ก�ำหนดจัดการแสดง “โขนสงขลานครินทร์” ตอน “ศึกพรหมาสตร์” เมื่อวันที่ 20-21 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ และได้ก�ำหนดจัดการแสดงรอบการกุศล ในวันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559
27 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ทุนการศึกษา
ที่รับผลกระทบจากราคายางพารา หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จั ด พิ ธี ม อบทุ น การศึ ก ษา เพื่ อ บรรเทาความ เดื อ ดร้ อ นแก่ นั ก ศึ ก ษาที่ ค รอบครั ว มี อ าชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยางพารา และได้ รั บ ผลกระทบจากวิ ก ฤติ ร าคายางพารา ในระหว่างวันที่ 7-8 มีนาคม 2559 ที่ศูนย์กีฬาและนันทนาการ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ เป็น ประธาน โดยมีการแบ่งระดับผู้ได้รับผลกระทบเป็น 2 กลุ่ม และ ได้ก�ำหนดเกณฑ์การช่วยเหลือตามระดับความเดือดร้อนคือ กลุ่มที่ 1 จ�ำนวน 195 คน ช่วยเหลือโดยการให้ทุนการ ศึ ก ษามู ล ค่ า 2,000 บาท ขยายเวลาผ่ อ นผั น ค่ า ธรรมเนี ย ม การศึกษาหากนักศึกษาร้องขอ และให้ทุนท�ำงานแลกเปลี่ยน ไม่เกิน 50 ชั่วโมง/เดือน หรือไม่เกิน 2,000 บาท/เดือน กลุ ่ ม ที่ 2 จ� ำ นวน 616 คน ช่ ว ยเหลื อ โดยการให้ ทุ น ท�ำงานแลกเปลี่ยนไม่เกิน 50 ชั่วโมง/เดือน หรือไม่เกิน 2,000 บาท/เดือน รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนโยบายให้นักศึกษา ทุกคนมีโอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกัน โดยจะไม่ปล่อย
28 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
ให้ ป ั ญ หาทางเศรษฐกิ จ มาเป็ น อุ ป สรรคท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ความมุ ่ ง มั่ น ในการเรี ย น ต้ อ งลาออกหรื อ พั ก การศึ ก ษา การ ช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งทั้งระดับบริหาร บุคลากรด้านกิจการนักศึกษา และ คณะต่ า งๆ ท� ำ ให้ ส ามารถด� ำ เนิ น การพิ จ ารณากลั่ น กรอง และช่วยเหลือได้ในระยะเวลาที่รวดเร็ว ทั้งนี้นักศึกษาจะต้อง เป็นผู้รับผิดชอบและมุ่งมั่นเพื่อความส�ำเร็จ เพื่อจะได้สามารถ พึ่งตนเองและเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ต่อไป การมอบทุนครั้งนี้ เป็นการให้ส�ำหรับช่วงระหว่างเดือน มีนาคม-เมษายน 2559 ทั้งนี้ เงินทุนที่น�ำมาช่วยเหลือดังกล่าว มหาวิทยาลัยน�ำมาจากกองทุนช่วยเหลือนักศึกษาขาดแคลน ทุ น ทรั พ ย์ ที่ ไ ด้ รั บ จากการบริ จ าคของคณาจารย์ บุ ค ลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยแบ่งเป็น ทุ น ให้ เ ปล่ า 390,000 บาท และทุ น ท� ำ งานแลกเปลี่ ย น 3,200,000 บาท ผู้สนใจ จะบริจาคเงินเข้า “กองทุนช่วยเหลือนักศึกษา ขาดแคลนทุนทรัพย์” บริจาคได้ที่บัญชีธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) สาขามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เลขที่บัญชี 565 105209 4
Activity
มอ.วิทยานุสรณ์ จัด 5 กิจกรรมใหญ่ ในโอกาสครบ 11 ปี วันสถาปนา รองศาสตราจารย์ นพ.วรัญ ตันชัยสวัสดิ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ เปิดเผยว่า โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ ได้เริ่มก่อตั้งและจะ เปิดการเรียนการสอนมาครบ 11 ปีในวันที่ 26 มกราคม 2559 โดยที่ผ่านมา โรงเรียนได้ประสบความส�ำเร็จ ในการผลิตเยาวชนที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อก้าว สู่สถาบันอุดมศึกษาศึกษา เพื่อเป็นทรัพยากรบุคคล ที่ มี คุ ณ ค่ า ของประเทศชาติ ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การ เฉลิมฉลองในโอกาสดังกล่าว โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ จึงก�ำหนดจัด 5 กิจกรรมใหญ่ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสดังกล่าว ได้แก่ 1. พิ ธี ส ่ ง มอบครุ ภั ณ ฑ์ ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ ท ยาศาสตร์ ให้ แ ก่
โรงเรียนในโครงการ “ความร่วมมือเสริมทักษะทางวิชาการให้แก่นักเรียน โรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ ภ าคใต้ ระหว่ า งมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ และ โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ โดยใช้การเรียนการสอน ทางไกลแบบสื่อสารสองทาง” 2. งาน เปิดโลกวิชาการ มอ.วิทยานุสรณ์ ครั้งที่ 9 3. การจัด มอ.ว. มินิมาราธอน ครั้งที่ 3 4. กิ จ กรรมสื่ อ สารผ่ า นวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น ระหว่ า งนั ก เรี ย น กั บ นั ก บิ น อวกาศบนสถานี อ วกาศนานาชาติ ขณะโคจรผ่ า นน่ า นฟ้ า ประเทศไทย ในกิจกรรม NASA ARISS Contact 5. กิจกรรม “โครงการ 1 ช่วย 9 ก้าวไปด้วยกัน”
มอ.วิทยานุสรณ์ ก้าวหน้า
จัดนักเรียนคุยกับมนุษย์อวกาศบนสถานีอวกาศนานาชาติ รองศาสตราจารย์ นพ.วรัญ ตันชัยสวัสดิ์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ แจ้งว่า โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ ได้รับคัดเลือกเป็น โรงเรียนต้นแบบในประเทศไทย ในการจัดกิจกรรม NASA ARISS Contact หรือกิจกรรมสื่อสารผ่านวิทยุสมัครเล่น ระหว่างนักเรียน กับนักบินอวกาศ ขององค์ ก าร NASA ที่ ก� ำลั ง ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ยู ่ ใ นสถานี อ วกาศนานาชาติ ขณะโคจรผ่านน่านฟ้าประเทศไทย โดยความร่วมมือระหว่าง ส�ำนักงาน ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ป ระจ� ำ สถานเอกอั ค รราชทู ต ณ กรุ ง วอชิ ง ตั น ส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ตั ว แทนของโครงการ ARISS (Amateur Radio on the International Space Station) Contact ในภู มิ ภ าคเอเชี ย สมาคมวิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ และสถาบั น ทางการศึ ก ษาใน ประเทศไทย ทั้งนี้ ในการจัดกิจกรรมดังกล่าว โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ ได้แบ่ง กิจกรรมเป็น 3 ระยะคือ ระยะก่อนสื่อสารกับนักบินอวกาศ ระยะสื่อสาร กับนักบินอวกาศ และระยะหลังสื่อสารกับนักบินอวกาศ โดยในกิจกรรม ระยะแรกจะเป็นการเผยแพร่ข้อมูลและประชาสัมพันธ์โครงการ รวมถึง รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อคัดเลือกนักเรียนจ�ำนวน 12 คน กิจกรรม ระยะที่สอง เป็นการสื่อสารผ่านวิทยุสมัครเล่น ระหว่างนักเรียน กับ นักบิน อวกาศบนสถานีอวกาศนานาชาติ ขณะโคจรผ่านน่านฟ้าประเทศไทย เป็น เวลาประมาณ 10 นาที และ กิจกรรมระยะที่สาม เป็นการประชาสัมพันธ์ ผลที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมติดต่อสื่อสารกับนักบินอวกาศ
ส� ำ หรั บ ตั ว แทนนั ก เรี ย น ประกอบด้ ว ยนั ก เรี ย นจาก “โครงการ สนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก�ำกับดูแล ของมหาวิทยาลัย” (โครงการ วมว.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น และตัวแทนจากโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา โรงเรียนเดชะปัตนนยานุกูล โรงเรียนนราธิวาส และ โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ การติดต่อพูดคุยระหว่างนักเรียน กับ นักบินอวกาศบนสถานีอวกาศ นานาชาติ มีขึ้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม หรือ 30 มกราคม 2559 กิจกรรม ดังกล่าว นอกจากจะแสดงถึงการได้รับความไว้วางใจในการจัดกิจกรรม ระดับนานาชาติ ของ โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ เทคโนโลยีวิทยุสมัครเล่นและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องผ่านการจัดนิทรรศการ การให้โอกาสให้นักเรียนได้พูดคุยกับนักบินอวกาศ แล้ว ยังเป็นการสร้าง แรงบันดาลใจให้แก่นักเรียนและนักศึกษา ให้เกิดความสนใจในการศึกษา และประกอบอาชี พ ในสาขาวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ ศ วกรรมและ คณิตศาสตร์ (STEM) อีกด้วย
29 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
Activity
ม.อ.เป็นเจ้าภาพคัดเลือก
“นักศึกษารางวัลพระราชทานระดับอุดมศึกษาภาคใต้ ปี 58”
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ เป็น เจ้าภาพการประเมิน และคัดเลือกนักศึกษา เพื่ อ รั บ รางวั ล พระราชทานระดั บ อุ ด มศึ ก ษา เขตภาคใต้ ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2558 จั ด ขึ้ น เ มื่ อ วั น ที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุม 1 อาคาร ศูนย์กีฬาและ สุ ข ภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดย ผศ.สุ พ จน์ โกวิ ท ยา รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เก่ า สั ม พั น ธ์ เป็ น ประธานในการคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ รั บ รางวั ล พระราชทาน ในครั้ ง นี้ ซึ่ ง มี ค ณะกรรมการ ร่ ว มประเมิ น จ� ำ นวน 20 ท่ า น มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาส่ ง นักศึกษาเข้าร่วม จ�ำนวน 19 สถาบัน ทั้งนี้ ได้แบ่งเป็นประเภทและตามขนาดของสถาบัน ดังนี้ 1. ประเภทนักศึกษาพิการ 4 คน จาก 4 สถาบัน วิทยาลัยชุมชนสตูล วิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. ประเภทสถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็ก 3 คน จาก 3 สถาบัน วิทยาลัยชุมชนพังงา วิทยาลัยชุมชนสตูล วิทยาลัย เทคโนโลยีสตูล 3. ประเภทสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาขนาดกลาง 8 คน จาก 8 สถาบัน มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ มหาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราช นคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สงขลา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ 4. ประเภทสถาบันอุดมศึกษาขนาดใหญ่ 4 จาก 4 สถาบัน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ
30 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย โครงการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา เพื่ อ รั บ รางวั ล พระราชทาน เป็ น โครงการหนึ่ ง ที่ เ กิ ด จากพระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ มี ต ่ อ เยาวชนไทย ในการที่ จ ะเสริ ม สร้ า งขวั ญ และก� ำ ลั ง ใจให้ แ ก่ นักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษา ให้เกิดความมุมานะ และ พากเพี ย รประกอบกรรมดี โ ดยสม�่ ำ เสมอ โดยมี พ ระราชด� ำ ริ ที่ จ ะพระราชทานรางวั ล ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น และผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึกษาที่ประกอบกรรมดีเหล่านั้น โดยเริ่มในส่วนของโรงเรียน และนักเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2506 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 53 ปี แ ล้ ว โดยกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารดํา เนิ น การและพั ฒ นา งานมาโดยตลอด จนถึงปัจจุบันมีนักเรียน นักศึกษา ที่ได้รับ รางวัล พระราชทาน จํานวนทั้งสิ้นประมาณ 4,700 คน มีสถาน ศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน จํานวนกว่า 3,000 แห่ง ส�ำหรับการด�ำเนินงานคัดเลือกนักศึกษาเพื่อรับรางวัล พระราชทานระดับอุดมศึกษานั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาได้เริ่มด�ำเนินการ ในปี พ.ศ. 2547 โดย กระทรวง ศึกษาธิการมอบให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาขอ ตั้งงบประมาณในการด�ำเนินการโครงการคัดเลือกนักศึกษาเพื่อ รับรางวัลพระราชทาน ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา โดยมีนักศึกษา ได้ รั บ รางวั ล ในประเภทต่ า งๆ จนถึ ง ปี 2557 จ� ำ นวน 78 คน งานคั ด เลื อ กนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และสถานศึ ก ษาเพื่ อ รับรางวัลพระราชทานจึงเป็นงานที่มีเกียรติ เป็นสิริมงคล สมควร ที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องด�ำเนินการด้วยความรอบคอบ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การประเมิ น และคั ด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาคณะ กรรมการจะต้องด�ำเนินการอย่างมีหลักเกณฑ์ บริสุทธิ์ ยุติธรรม มี ใ จเป็ น กลางไม่ โ น้ ม เอี ย งไปฝ่ า ยใดฝ่ า ยหนึ่ ง โดยใช้ ค วาม สามารถและดุลยพินิจในการพิจารณาตัดสินผลอย่างถูกต้อง และเป็ น ธรรมตามเกณฑ์ ที่ ก� ำ หนด นั ก ศึ ก ษาที่ ผ ่ า นเกณฑ์ การตั ด สิ น ต้ อ งมี ผ ลงานเชิ ง ประจั ก ษ์ ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะพื้ น ฐานและกิ จ กรรมผลงานที่ ดี เ ด่ น เพื่ อ ให้ ไ ด้ นักศึกษาที่สมควรได้รับรางวัลพระราชทานอย่างแท้จริง ดังนั้น นักศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานทุกคนจึงควรตระหนักไว้ เสมอว่ารางวัลพระราชทานเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าและเป็นเกียรติ ต่อผู้รับอย่างสูงสุด คุณความดีจะถูกประกาศเผยแพร่ไปยัง สาธารณชนทั่ ว ไป สมควรที่ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยต้ อ งกระท� ำ อย่างรอบคอบ และผู้ที่ได้รับรางวัลไปแล้วจะต้องด�ำรงรักษา คุณความดีนั้นให้มั่นคงสืบไป
Activity
ม.อ.ปัตตานีเชิญผู้เห็นต่าง และสื่อมวลชน
เสนอมุมมองเพื่อแก้ปัญหากระบวนการสันติภาพชายแดนใต้ ถานวิ จั ย ความขั ด แย้ ง และความหลากหลายทาง วัฒนธรรมภาคใต้ คณะวิทยาการสื่อสาร ศูนย์เฝ้า ระวั ง สถานการณ์ ภ าคใต้ ศู น ย์ ท รั พ ยากรสั น ติ ภ าพ สถาบั น สั น ติ ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ย ภาคประชาสั ง คมกว่ า 10 องค์ ก ร ก� ำ หนดจั ด งาน “วั น สื่ อ สั น ติ ภ าพชายแดนใต้ / ปาตานี ครั้ ง ที่ 3 และสมั ช ชาสั น ติ ภ าพ 2016” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาชายแดนใต้ที่ยั่งยืน
ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อ�ำนวยการสถานวิจัย ความขั ด แย้ ง และความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แจ้งว่าสถานวิจัย ความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ ร่วมกับ คณะวิ ท ยาการสื่ อ สาร ศู น ย์ เ ฝ้ า ระวั ง สถานการณ์ ภ าคใต้ ศู น ย์ ทรั พ ยากรสั น ติ ภ าพ สถาบั น สั น ติ ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ และเครือข่ายภาคประชาสังคมกว่า 10 องค์กร ก�ำหนด จัดงาน “วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 3 และสมัชชา สันติภาพ 2016” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่ขัดแย้ง หลักและผู้อ�ำนวยความสะดวกได้รายงานความคืบหน้าของการ พู ด คุ ย สั น ติ ภ าพต่ อ สาธารณะและเปิ ด เวที ใ ห้ ภ าคประชาสั ง คม กลุ่มต่างๆ ได้น�ำเสนอข้อกังวล ข้อเรียกร้อง และข้อเสนอแนะต่อ ฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนกระบวนการสันติภาพชายแดน ใต้/ปาตานี ให้ด�ำเนินไปอย่างมั่นคง ยั่งยืน และเป็นประโยชน์ต่อ ทุกฝ่าย และเพื่อเปิดมุมมองจากประสบการณ์และบทเรียนของ ผู้ที่ท�ำงานสื่อสารในการรายงานข่าวที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของ กระบวนการสันติภาพในห้วงปีที่ผ่านมา ในการจั ด งานดั ง กล่ า วมี ก ารบรรยายที่ น ่ า สนใจได้ แ ก่ “ความท้ า ทายและก้ า วต่ อ ไปของการพู ด คุ ย เพื่ อ สั น ติ สุ ข ” โดย
พลเอกอั ก ษรา เกิ ด ผล หัวหน้าคณะพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัด ชายแดนใต้ “ความท้าทายและก้าวต่อไปการพูดคุยเพื่อสันติภาพ” โดย อาวัง ญาบัต ประธานสภาชูรอแห่งปาตานี (MARA PATANI) “ความท้ า ทายและก้ า วต่ อ ไปของการอ� ำ นวยความสะดวก ในกระบวนการพู ด คุ ย เพื่ อ สั น ติ ภ าพ”โดย ดาโต๊ ะ ซั ม ซามิ น บิ น ฮาซิ ม ผู ้ อ� ำ นวยความสะดวกในกระบวนการพู ด คุ ย เพื่ อ สันติภาพ การน�ำเสนอผลการศึกษาสถานภาพการสื่อสารภายใต้ บริบทการพูดคุยสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย ศูนย์ศึกษา และพัฒนาการสื่อสารสันติภาพ (CPCS) คณะวิทยาการสื่อสาร วิ ท ยาเขตปั ต ตานี โดยผศ.ดร.กุ สุ ม า กู ใ หญ่ รองคณบดี ค ณะ วิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เสวนา “สะท้ อ นย้ อ นคิ ด ข่ า วสั น ติ ภ าพชายแดนใต้ / ปาตานี ” ร่วมอภิปรายโดย นายปกรณ์ พึ่ ง เนตร บรรณาธิการศูนย์ข่าว ภาคใต้สถาบันข่าวอิศรา นางสาวติชิลา พุทธสาระพันธ์ ผู้สื่อข่าว สถานี โ ทรทั ศ น์ ไ ทยพี บี เ อส นางสาวอั จ ฉรา อั ช ฌายกชาติ ผู ้ สื่ อ ข่ า วบางกอกโพสต์ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ภี ร กาญจน์ ไค่นุ่นนา หัวหน้าสถานีวิทยุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี และ นายตูแวดานียา มือรีงิง บรรณาธิการส�ำนักข่าว อามาน (AMAN News) และผู ้ สื่ อ ข่ า วช่ อ ง 3 มาเลเซี ย (TV3) เป็นต้น
31 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
แนะน�ำหลักสูตร
แนะน�ำหลักสูตร คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม (วิทยาเขตหาดใหญ่)
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Faculty of Environmental Management และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม - กลุ่มวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มมี จุ ด มุ ่ ง หมายที่ จ ะผลิ ต - กลุ่มวิชาผังเมือง และภูมิสารสนเทศศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิต และมหาบัณฑิต ทางด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม - กลุ่มวิชาการจัดการท่องเที่ยวเพื่อสิ่งแวดล้อม เชิงบูรณาการ โดยมุ่งพัฒนาให้มีความรู้และทักษะจ�ำเพาะที่ สอดคล้องกับความต้องการและปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญ ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา เพื่อส่งเสริมการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งจะเข้าไปมีบทบาท ประมาณ 120,000 บาท / คน / ปี (รวมค่าธรรมเนียม ในการแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการประเมิน การศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน และค่าด�ำรงชีพ) ผลกระทบจากกระบวนการพัฒนาที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ ติดต่อเพิ่มเติม: และสิ่งแวดล้อม โทรศัพท์ 0 7428 6899, 6810 โทรสาร 0 7442 9758 E-mail envi-mgt@group.psu.ac.th kunanya.n@psu.ac.th, sasipatch.p@psu.ac.th Homepage www.fem.psu.ac.th
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาเขตปัตตานี) Faculty of Science and Technology
หลักสูตรคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม เปิดสอนหลักสูตร 2 ระดับ บัณฑิตศึกษา 3 หลักสูตร คือ 1. ระดับปริญญาโท 1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (M.Sc.) สาขา วิ ช าการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม สาขาการจั ด การ เชิงท่องเที่ยวนิเวศชุมชน และสาขาวิชาสิ่งแวดล้อม ระบบโลก โดยสาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม มี 6 สาขาวิ ช า ได้ แ ก่ สาขาสั ง คมศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ ม สาขาสิ่ ง แวดล้ อ มศึ ก ษา สาขา วิ ท ยาศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ ม สาขาเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม สาขาการ รับรู้ระยะไกลและระบบสารสนเทศ 2. ระดับปริญญาเอก 2.1 เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D) สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมและสาขาวิชา สิ่งแวดล้อมระบบโลก โดยสาขาวิชาการจัดการ สิ่ ง แวดล้ อ ม แบ่ ง หมวดวิ ช าเลื อ กออกเป็ น 5 กลุ่ม คือ - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อมและ สิ่งแวดล้อมศึกษา
32 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มี ศั ก ยภาพและมี ความสามารถในการพั ฒ นาภาคใต้ เพื่ อ ผลทางด้ า นสั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อ ง และความมั่ น คงของชาติ นอกจากนี้ คณะฯ ยังได้วิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาต่างๆ และให้ บ ริ ก ารวิ ช าการทางวิ ท ยาศาสตร์ ค ณิ ต ศาสตร์ แ ละ คอมพิ ว เตอร์ เทคโนโลยี ก ารเกษตร เทคโนโลยี ก ารประมง เทคโนโลยี ย าง วิ ท ยาศาสตร์ การอาหารและโภชนาการ โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การพั ฒ นาและ แปรรูปอาหารฮาลาล หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ประกอบด้ ว ย ภาค วิ ช า 6 ภาควิ ช า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร บัณฑิต 12 สาขาวิชา และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 8 สาขาวิชา และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 2 สาขาวิชา ภาควิชา 6 ภาควิชา คือ 1. ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2. ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ 3. ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม 4. ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ 5. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ 6. ภาควิชาพรีคลินิก
แนะน�ำหลักสูตร ระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) เปิด สอน 12 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2. สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 3. สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม 4. สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ก ารเกษตร (ด้ า นเทคโนโลยี การผลิตพืช) 5. สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ด้านเทคโนโลยีการ ผลิตสัตว์) 6. สาขาวิชาเทคโนโลยียาง 7. สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ก ารอาหารและโภชนาการ 8. สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ด้านการเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำชายฝั่ง) 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ด้านอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ประมง) 10. สาขาวิชาฟิสิกส์ ติดต่อเพิ่มเติม: 11. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์นิเทศ โทรศัพท์ 0 7331 3928-50 ต่อ 1926 โทรสาร 0 7333 5130 12. สาขาวิชาโภชนศาสตร์และการก�ำหนดอาหาร E-mail scitech@g.psu.c.th Homepage www.sat.psu.ac.th
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ (วิทยาเขตภูเก็ต) Department of Computer Engineering ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) เปิดสอน 8 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร์ 2. สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย 3. สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ 4. สาขาวิชาเคมีประยุกต์ 5. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ 6. สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง 7. สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต์ 8. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ ระดั บ ปริ ญ ญาเอก หลั ก สู ต รปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต (Ph.D.) เปิดสอน 2 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร์ 2. สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย ประมาณการค่าใช้จ่ายในการศึกษา นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะต้องจ่าย ค่ า ใช้ จ ่ า ยค่ า ลงทะเบีย นเรีย นค่าธรรมเนีย มการศึก ษา และ ค่าหอพักคนละประมาณ 35,000 บาท /ปี
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เปิ ด สอนหลั ก สู ต รในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ด้ า นวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ ณ วิทยาเขตภูเก็ต หลักสูตรภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี เปิดสอน 1 หลักสูตร คือ 1. หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ (Computer Engineering) โดย มีการสอนโดยภาษาอังกฤษเป็นบางรายวิชา มีเนื้อหา ครอบคลุมในวิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมออกแบบระบบ คอมพิ ว เตอร์ วิ ศ วกรรมเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ แ ละสื่ อ สาร วิศวกรรมควบคุมด้านคอมพิวเตอร์และหุ่นยนต์ ติดต่อเพิ่มเติม: โทรศัพท์ 0 7627 6197 โทรสาร 0 7627 6453 E-mail pr@coe.phuket.psu.ac.th Homepage http://www.coe.phuket.psu.ac.th Face book https://www.facebook.com/computer. Engineering.PSU.Phuket.Campus
33 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
บริการวิชาการ
การดูแลสู่ความเป็นเลิศตามกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ สนั บ สนุ น การผลิ ต ผลงานทาง วิ ช าการโดยเฉพาะหนั ง สื อ “การดู แ ลสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ทางการพยาบาล ตามกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ” (Care Towards Best Nursing Practice in Geriatric Syndromes) โดย ผศ.ดร.เพลิ น พิ ศ ฐานิ วั ฒ นานนท์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ผู ้ เขี ย นหนั ง สื อ กล่ า วว่ า หนั ง สื อ การดู แ ลสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ทางการ พยาบาลตามกลุ ่ ม อาการที่ พ บ บ่ อ ยในผู ้ สู ง อายุ ผู ้ เ ขี ย นตั้ ง ใจให้ หนังสือเล่มนี้ มีเนื้อหาที่ครอบคลุม ความรู้ ในการปฏิบัติพยาบาลในรูป แบบของการทบทวนวรรณกรรม และหลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ เกี่ ย วกั บ การจั ด การดู แ ลตาม กลุ่มอาการที่เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของผู้ป่วยสูง อายุ ซึ่งความรู้ที่ ใช้ผลงานวิจัยเป็นฐานในการปฏิบัติ จะ ช่วยเพิ่มคุณภาพการดูแล และเป็นกลไกน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ เป็นเลิศทางการพยาบาล ซึ่งบุคลากรพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วย สูงอายุในโรงพยาบาล สามารถใช้เป็น แนวทางการปฏิบัติ พยาบาลบนคลินิก และเป็น เอกสารอ้างอิงในการดูแลผู้ ป่วยสูงอายุได้อย่างเหมาะสม และมีผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ อีกทั้งสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอดงาน วิ จั ย และใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอนทางการพยาบาล ผู้ป่วยสูงอายุในระดับบัณฑิตศึกษาและปริญญาตรี
34 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559
หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาครอบคลุม ความรู้ในการดูแลตามกลุ่มอาการที่เป็น ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของผู้ป่วยสูงอายุ อาทิ แนวคิ ด การเกิ ด กลุ ่ ม อาการสู ง อายุ และหลักการดูแล การพยาบาลเพื่อจัดการ ปั ญ หาการรั บ ประทานอาหารและภาวะ โภชนาการพร่ อ งในผู ้ ป ่ ว ยสู ง อายุ การ พยาบาลเพื่อจัดการปัญหาการนอนหลับ ในผู้ป่วยสูงอายุ การพยาบาลเพื่อจัดการ ภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยสูงอายุ การ พยาบาลเพื่อจัดการแผลกดทับในผู้ป่วย สูงอายุ การพยาบาลเพื่อจัดการภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยสูงอายุ การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการดูแลต่อเนื่องในระยะเปลี่ยนผ่าน จากโรงพยาบาลสู่บ้าน เป็นต้น ผู้สนใจสั่งซื้อ หนังสือสามารถติดต่อได้ที่ คุณสุธารัตน์ เจี้ ย งเต็ ม email: sutarat.j@psu.ac.th โทร 0 7428 6520 โทรสาร 074-286421 เลขานุการ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112
กิจกรรมที่น่าสนใจ
การประชุมวิชาการนิติวิทยาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 The 1st Thai Forum of Forensic Science Conference
าขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับหลาย สถาบั น ที่ เ ปิ ด สอนด้ า นหลั ก สู ต รนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ จะจัดการประชุมวิชาการเรื่อง “การประชุมวิชาการ นิติวิทยาศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 (The 1st Thai Forum of Forensic Science Conference)” ภายใต้ หัวข้อ “คืนสันติภาพด้วยนิติวิทยาศาสตร์ (Forensics for Peace)” ในระหว่างวันที่ 23-24 มิถุนายน 2559 เพื่ อ ฉลองวาระครบรอบ 10 ปี แห่ ง การก่ อ ตั้ ง เป็นการสร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และประสบการณ์ ใ หม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สาขานิ ติ วิทยาศาสตร์ระหว่างนักวิจัย นักศึกษา ต�ำรวจ และนัก นิติวิทยาศาสตร์ มีการน�ำเสนอผลงานวิจัย รวมถึง เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ส�ำหรับต่อยอด ทางด้านวิชาการและด้านการวิจัยในอนาคต
วันที่ 24 มิถุนายน 2559 - “นิติพันธุศาสตร์: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. บุษบา ฤกษ์อ�ำนวยโชค - “วิทยาศาสตร์การสืบสวน” โดย พลต�ำรวจเอก จรัมพร สุระมณี - “Massively parallel sequencing and its application to challenging samples” โดย Assoc.Prof. Dr. Dennis McNevin การส่งผลงานมี 3 รูปแบบคือ 1. การน�ำเสนอแบบ Oral Presentation 2. การน�ำเสนอแบบโปสเตอร์ 3. Electronic proceeding
สนใจขอทราบรายละเอียดได้ที่ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ : 074-28-8561 โทรสาร : 074-44-6681 การประชุ ม วิ ช าการนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ครั้ ง นี้ มี หั ว ข้ อ อีเมล์: forensic.psu@gmail.com บรรยายที่ส�ำคัญคือ หรือเว็บไซต์ http://tffscon.com/index.php วันที่ 23 มิถุนายน 2559 - “นิติวิทยาศาสตร์ในคดีความมั่นคง” โดย แพทย์หญิง คุณหญิง พรทิพย์ โรจนสุนันท์ - “Forensic Osteology in Thailand” โดย ศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ - “นิติเคมีไฟฟ้า” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรากร ลิ่มบุตร - “การศึกษานิติวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐินี พันธ์วิศวาส
35 ปีที่ 24 ฉบับที่ 8 ประจ�ำเดือนมกราคม - มีนาคม 2559