ในฉบับ
คลังปัญญา ม.อ. ติดอันดับ 1 ของไทยใน Ranking Web of Repositories 4 เร่งเชิญผู้ประกอบการยางพารา ทั้งไทยและต่างชาติ สร้างโรงงานผลิตยางรถยนต์ ที่นิคมฉลุง จ.สงขลา 6-7 นักวิจัย ม.อ. คว้ารางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นปี 2557 15 พระราชภารกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ ม.อ. 16-17 ศูนย์ประชุมนานาชาติ ม.อ. รับ มอก.22300 สร้างความเชื่อมั่นความปลอดภัย 22
ลงนามความร่วมมือ
ลงนามพัฒนา
สินค้าและอาหารฮาลาล ม
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา ลงนาม สัญญา พัฒนาสินค้าและอาหารฮาลาลสู่อาเซียน โดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ นายนิ พ นธ์ บุ ญ ญามณี นายกองค์ ก าร บริหารส่วนจังหวัดสงขลา เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญา โดยอธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง บทบาทมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในการพัฒนา สินค้าฮาลาลสู่ตลาดอาเซียน • • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีคณะวิชาที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาผู้ประกอบการให้มีความสามารถผลิตสินค้าไป สู่มาตรฐาน และสามารถแข่งขันได้ ตลอดจนสามารถผลิต สินค้าที่มีคุณภาพส่งออกต่างประเทศ โดยใช้ทรัพยากรที่อุดม สมบูรณ์ภายในประเทศ เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า โดย ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารฮาลาลสู่ตลาดโลกมากที่สุด ในอาเซียนและติดอันดับ 5 ของโลกและมีศักยภาพในการให้ บริการตามหลักฮาลาล ทั้งด้านท่องเที่ยว สาธารณสุข ท�ำให้ รัฐบาลไทยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการขยายตัวด้าน ฮาลาลมากขึ้น หลาย ๆ ประเทศในอาเซียนมีความพร้อมใน การเป็นศูนย์อาหารฮาลาลโลก ดังนั้นการรวมตัวของประเทศ ในประชาคมอาเซี ย นจะมี ส ่ ว นสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้ ประชาคมอาเซียนเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกอาหาร ฮาลาลโลก จึงควรสร้างความร่วมมือในระดับภูมิภาคให้เป็น เอกภาพและเป็นที่ยอมรับของประเทศสมาชิก ทั้ ง นี้ ภ ายในงานมี ก ารจั ด บู ท ของร้ า นและหน่ ว ยงาน ต่าง ๆ และจัดการบรรยายในหลายหัวข้อดังนี้ • บรรยาย เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในการผลิตอาหารฮาลาล โดย ดร.กิตติ เจิดรังสี ต�ำแหน่ง รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนา สถาบันฮาลาล • บรรยาย เรื่อง การแปรรูปและการยืดอายุการเก็บด้วย
เทคโนโลยีการอาหาร โดย ผศ.ดร.เสาวคนธ์ วัฒนจันทร์ ต�ำแหน่ง อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร บรรยาย เรื่อง ทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ ฮาลาลสู่ตลาดอาเซียน โดย ผศ.ไพรัช วัชรพันธ์ ต�ำแหน่ง อดีตอาจารย์คณะวิทยาการจัดการ ปัจจุบันผู้เชี่ยวชาญ ด้านการตลาดฮาลาลและการงาน บรรยาย เรื่อง การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สู่ตลาดสากล และ เรื่ อ งเราจะยกระดั บ คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อ ย่ า งไรให้ สู ่ ตลาดอาเซียน โดย คุณฉัตรชัย ระเบียบธรรม / กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ยอดคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
สารบัญ รอบรั้วศรีตรัง 14 นิทรรศการ “5 วิทยาเขตในมุมมองช่างภาพ” 14-15 พระราชภารกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ ม.อ. 24-25 รัฐเห็นชอบอนุมัติให้สร้างอาคารส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขต ปัตตานีหลังใหม่ วงเงินกว่า 250 ล้านบาท 33 วอล์คแรลลี่ สานสัมพันธ์บุคลากรและครอบครัวชาวส�ำนักงาน อธิการบดี ม.อ. 34 โครงการ “การดูแลสุขภาพคนวัยท�ำงาน”
ลงนามความร่วมมือ 2 ลงนามพัฒนาสินค้าและอาหารฮาลาล 13 คณะนิติศาสตร์ ม.อ.ร่วมมือกรมการค้าภายในกระตุ้นการรับรู้การ บังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้า
18-19 ม.อ.ลงนามร่วมเอกชนใช้สิทธิงานวิจัย น�้ำยาพ่นเคลือบผิวกันน�้ำ น�้ำยาง
รางวัลแห่งคุณภาพ 4 คลังปัญญา ม.อ. ติดอันดับ 1 ของไทยใน Ranking Web of Repositories 5 ม.อ. ติดมหาวิทยาลัยคุณภาพ จากการจัดอันดับของ QS Rankings 14 นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์คว้ารางวัลชนะเลิศจากส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง 22 ศูนย์ประชุมนานาชาติ รับ มอก.22300 สร้างความเชื่อมั่น ความปลอดภัย 32 ทีมนักศึกษาจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณวิศวะฯ ม.อ. คว้ารางวัลการแข่งขัน “คอนกรีตมวลเบา”
การศึกษา 10-12 ม.อ.เผยผลสัมภาษณ์นักเรียนเรียนดีทั่วประเทศ ปี 58 เด็ก เก่งแห่สมัครเกือบ 10,000 คน คณะเภสัชฯติดท็อปผู้สมัคร มากที่สุด 29 คณบดี วจก. เชื่อ ความรู้ “การเป็นผู้ประกอบการ” จ�ำเป็น ส�ำหรับบัณฑิตรุ่นใหม่
ประชุม/สัมมนา 6-7 เร่งเชิญผู้ประกอบการยางพารา ทั้งไทยและต่างชาติ สร้าง โรงงานผลิตยางรถยนต์ที่นิคมฉลุง จ.สงขลา 32 “เถ้าแก่น้อย” ในงาน “Young Inspirations : Mindset of Success”
บริการวิชาการ 8-9 คณะทรัพย์ ม.อ. เปิดคลินิกให้ค�ำปรึกษาเกษตรกร พร้อมน�ำ ความรู้วิชาการสู่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
บุคคล 12 ศิษย์เก่าคณะวิทยาการสื่อสาร ได้รับเลือกเป็นบุคคลแบบ อย่าง คนดีต้นแบบ “คุณธรรมไทย” 20-21 “พัชรา ยิ่งด�ำนุ่น” ผู้สื่อข่าวสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ได้รับ คัดเลือกเป็นที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นในรอบปีของจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ประจ�ำปี 2557 ในกลุ่มสื่อสารมวลชน 28 ผศ.จงพิศ ศิริรัตน์ “นักบริหารดีเด่น ปี 57” จากมูลนิธิ เพื่อสังคมไทย
30-31 ดร.สมสมัย สุธีรศานต์ กับความก้าวหน้าในอาชีพพยาบาล
วิจัย 15 นักวิจัย ม.อ.คว้ารางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นปี 2557 สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยโดยมุ่งเน้นหน่วยงาน ภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมาย ดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย มากยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ หรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน
เพื่อสังคม/ชุมชน 23 หลายฝ่ายในสงขลา พร้อมรับมือหน้าฝนภาคใต้ 26-27 สถานีวิทยุกระจายเสียง ม.อ.ปัตตานี ได้รับคัดเลือกเป็น หน่วยงานที่สนับสนุนงานด้านพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ดีเด่นจังหวัดปัตตานี ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
3
รางวัลแห่งคุณภาพ
คลังปัญญา ม.อ. ติดอันดับ 1 ของไทยใน Ranking Web of Repositories
“คลั ง ปั ญ ญามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ” หรื อ PSU Knowledge Bank ได้รับการจัดอันดับ ให้อยู่ ในอันดับ 1 ของประเทศไทย อั น ดั บ ที่ 146 ของเอเชี ย และติ ด อั น ดั บ ที่ 890 ของโลก จาก Ranking Web of Repositories เมื่ อ กรกฎาคม 2557 โดยเป็ น ฐานข้ อ มู ล ในเว็ บ ไซต์ ที่ เ ปิ ด โอกาส ให้ มี ก ารเข้ า ถึ ง เนื้ อ หาความรู ้ ของเอกสารที่ ตี พิ ม พ์ ใ นสาขา ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ในรู ป แบบสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ สื่ อ ทางวิ ช าการอื่น โดยวัดจากจ�ำนวนการเข้า ถึ งและการน� ำ ไปใช้ อ ้ า งอิ ง ของผู ้ ช มทั่ ว โลก (รายละเอี ย ดใน http:// repositories.webometrics.info/en/Asia/Thailand)
4
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ที่พัฒนาขึ้นใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นระบบที่คล่องตัวใน การใช้ทันสมัย มีประสิทธิภาพทั้งระบบจัดเก็บ สืบค้น และการแสดงผลองค์ ค วามรู ้ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความภู มิ ใ จ และมีชุมชนความร่วมมือระหว่าง นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร โดยส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิง หลง อรรถกระวีสุนทร ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีประสบการณ์ ด้านการจัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศ เป็นผู้ด�ำเนิน งาน ได้ เ ปิ ด ตั ว เป็ น ครั้ ง แรก ในงานวั น นั ก วิ จั ย และ นวั ต กรรม ม.อ.ประจ� ำ ปี 2553 ท� ำ การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ ก�ำกับด้วยมาตรฐาน Metadata เพื่อความสะดวกในการค้นหา และเผยแพร่แก่ผู้สนใจ ส� ำ หรั บ หั ว ใจของระบบ คื อ ชุ ด โปรแกรม Dspace ซึ่งพัฒนาโดย MIT และปัจจุบันเผยแพร่สู่สาธารณะ ในลักษณะ Open Source Software ดูแล และพัฒนา โดยชุมชน DuraSpace
รางวัลแห่งคุณภาพ
ม.อ. ติดมหาวิทยาลัยคุณภาพ
จากการจัดอันดับของ QS Rankings
นักการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก QS World University Rankings (Quacquarelli Symonds) ประเทศอังกฤษ ได้ จัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกประจ�ำปี 2557/58 โดยจัดอันดับจากข้อมูลที่ประกอบด้วย 6 ตัว ชี้วัด คือ ชื่อเสียงทางวิชาการ จากการส�ำรวจของ QS Global Academic Survey ชื่อเสียงจากนายจ้าง จากการ ส�ำรวจผ่าน QS Global Employer Survey อัตราส่วน จ� ำ นวนนั ก ศึ ก ษาต่ อ จ� ำ นวนอาจารย์ จ� ำ นวนงานวิ จั ย ที่ถูกน�ำไปใช้อ้างถึง จากฐานข้อมูลของ Scopus อัตราส่วน จ�ำนวนอาจารย์ต่างประเทศ/นานาชาติ อัตราส่วนจ�ำนวน นักศึกษาต่างประเทศ/นานาชาติ ท�ำให้เราทราบผลอันดับ มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลก มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชีย และรวมไปถึง อันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศไทย อีกด้วย
ส�ำ
ทั้ ง นี้ ในปี 2557/58 มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ถู ก จัดให้อยู่ในกลุ่มของ มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศไทย ที่ ถู ก จั ด อั น ดั บ โดย QS World University Rankings คื อ อยู ่ ในอั น ดั บ ที่ 142 ของเอเชี ย และ ติ ด กลุ ่ ม มหาวิ ท ยาลั ย ที่ อ ยู ่ ในอั น ดั บ ที่ 701 ขึ้ น ไปของโลกอั น ดั บ โดยมี ร ายละเอี ย ดคื อ อันดับของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย จากการจัดอันดับโลก อันดับที่ 243 : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับที่ 257 : มหาวิทยาลัยมหิดล อันดับที่ 501-550 : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อันดับที่ 601-650 : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันดับที่ 651-700 : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กลุ่มมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับที่ 701 ขึ้นไปของโลก : มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 10 อันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชีย อั น ดั บ 1 : National University of Singapore (NUS) (อันดับที่ 22 ของโลก) อันดับ 2 : University of Hong Kong (อันดับที่ 28 ของโลก) อันดับ 3 : The University of Tokyo (อันดับที่ 31 ของโลก) อันดับ 3 : Seoul National University (อันดับที่ 31 ของโลก) อันดับ 5 : Kyoto University (อันดับที่ 36 ของโลก) อั น ดั บ 6 : Nanyang Technological University (NTU) (อันดับที่ 39 ของโลก) อั น ดั บ 7 : The Hong Kong University of Science and Technology (อันดับที่ 40 ของโลก) อันดับ 8 : The Chinese University of Hong Kong (อันดับที่ 46 ของโลก) อันดับ 9 : Tsinghua University Tsinghua University (อันดับที่ 47 ของโลก) อั น ดั บ 10 : KAIST - Korea Advanced Institute of Science & Technology (อันดับที่ 51 ของโลก) 10 อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก อั น ดั บ 1 : Massachusetts Institute of Technology (MIT) อันดับ 2 : University of Cambridge อันดับ 2 : Imperial College London อันดับ 4 : Harvard University อันดับ 5 : University of Oxford อันดับ 5 : UCL (University College London) อันดับ 7 : Stanford University อันดับ 8 : California Institute of Technology (Caltech) อันดับ 9 : Princeton University อันดับ 10 : Yale University 1. 2. 3. 4.
ข่าวที่เกี่ยวข้อง … http://www.hotcourses.in.th/study-abroad-info/latestnews/times-higher-education-2014-world-reputationrankings/ http://www.thairath.co.th/content/420777 http://blog.eduzones.com/socialdome/134103 http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews. aspx?NewsID=9570000106546 ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
5
ประชุม/สัมมนา
เร่งเชิญผู้ประกอบการยางพารา ทั้งไทยและต่างประเทศ
สร้างโรงงานผลิตยางรถยนต์ที่นิคมฉลุง จ.สงขลา จ
ากการที่ ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเ ทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมกับ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 11 และกรมส่งเสริม อุ ต สาหกรรม จั ด อบรมพั ฒ นาผู ้ ป ระกอบการยางพารา 95 ราย ระหว่ า ง กุ ม ภาพั น ธ์ ถึ ง เดื อ น กั น ยายน 2557 และได้ มี ก ารจั ด สั ม มนาเสนอผลงานปิ ด โครงการส่ ง เสริ ม และพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราและไม้ยางพารา ขึ้น เมื่อ วั น ที่ 14 ตุ ล าคม 2557 ณ โรงแรมบุ รี ศ รี ภู บู ติ ค โฮเต็ ล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมี น ายกอบชั ย สั ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นประธาน รศ.ดร.ซุ ก รี หะยี ส าแม คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี กล่ า วว่ า คณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ท� ำ วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ทางการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมยางพาราเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากการ แปรรูปยางพารา เพื่อลดต้นทุน รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ในโรงงาน ต่อยอดงานวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ให้ผู้ประกอบการของไทย โดยเฉพาะในจังหวัดภาคใต้แข่งขันได้ระดับสากล รวมทั้งคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ น� ำ เทคโนโลยี ก ารใช้ ย างพาราไปปู พื้ น บ่ อ น�้ ำ หรื อ สระ น�้ ำ เพื่ อ ให้ เ ก็ บ รั ก ษาน�้ ำ ได้ ซึ่ ง ท� ำ ในหลายพื้ น ที่ และมี ก ารประสานงานกั บ ศอ.บต.เพื่ อ ที่ จ ะน� ำ ผลวิ จั ย ดั ง กล่ า วไปประยุ ก ต์ เ ป็ น สนามฟุ ต ซอลต่ อ ไป
6
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
นายกอบชั ย สั ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ์ รองอธิ บ ดี ก รม ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม เปิ ด เผยว่ า รั ฐ บาลโดยนาย จั ก รมณฑ์ ผาสุ ก วนิ ช รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง อุตสาหกรรม ได้เชิญผู้ประกอบการจากจีนมาลงทุน ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมฉลุ ง ต.ฉลุ ง อ� ำ เภอหาดใหญ่ จ.สงขลา สร้ า งแรงจู ง ใจด้ ว ยสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ผ ่ า น ทางส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น หรื อ บี โ อไอ เช่ น ลดภาษี ให้ นั ก ลงทุ น จี น มาแปรรู ป ยางที่ บ ้ า นเรา ซึ่ ง ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การลงทุ น ปั จ จุ บั น ได้ ย ้ า ย
ไปสั ง กั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี จากที่ เ คยสั ง กั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม ทั้งนี้ประเทศไทยผลิตยางพาราได้ 4 ล้านตัน ใช้ในประเทศไทย 5 แสน ตัน ส่งออก 3.5 ล้านตัน ส่งออกไปจีน 2 ล้านตัน พอจีนชะลอ ยางพาราก็ กองอยู่บ้านเรา ราคาก็ตก ท�ำอย่างไร ให้สามารถผลิตในบ้านเราให้มาก ขึ้น รัฐบาลตั้งเป้าไว้ว่า กลางปีหน้า จะมีโรงงานทั้งไทยและต่างชาติมา ผลิต และใช้ในบ้านจ�ำนวน 5 แสน ถึง 1 ล้านตัน ถ้ามีการใช้ในประเทศ มากขึ้น ราคาก็ไม่ถูกก�ำหนดโดยต่างประเทศเพราะต้องพึ่งการส่งออก โดย
ความสมดุ ล เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การผลิ ต อ้ อ ย ซึ่ ง มี พระราชบัญญัติรองรับ ขณะนี้อ้อยไม่พอป้อนโรงงาน นายประสาทสุ ข นิ ย มราษฎร์ รั ก ษาราชการ แทนผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 จ.สงขลา กล่ า วว่ า ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ทั้ ง 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา สตู ล จะไปเชิ ญ ชวนผู ้ ป ระกอบการจากจี น มาลงทุ น แปรรูปยางพารา ในนิคมอุตสาหกรรมฉลุง และได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางบีโอไอ ส�ำหรับภายในประเทศรัฐบาลได้ส่ง เสริมให้น�ำไปใช้ในสนามฟุตซอล ใช้ยางปูพื้นอ่างเก็บน�้ำ ผลิตเป็นหมอน โดยใช้ยางพาราเป็นวัตถุดิบ หากสามารถ มี ต ลาดที่ ป ระเทศจี น จะมี ค� ำ สั่ ง ซื้ อ หมอนเป็ น ล้ า นใบ จากการเสวนาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพารา มี ข้อมูลว่า ทั่วโลกผลิตยางพาราได้ 11.67 ล้านตัน การใช้ ยางของโลกจ�ำนวน 11.29 ล้านตัน จีนบริโภคยางพารา 4.2 ล้ า นตั น น� ำ เข้ า 2.4 ล้ า นตั น เศษ ประเทศไทยส่ ง ออก 3 ตันเศษ ในจ�ำนวนนี้ส่งไปที่จีนมากที่สุด ดังนั้น การผลิต และการบริโภคยางพารา ถือว่าใกล้เคียงกัน นายช� ำ นาญ เมฆตรง จากสหกรณ์ ก องทุ น สวนยางอุไดเจริญ 1 จ�ำกัด กล่าวว่า มีความ ร่ ว มมื อ จากประเทศจี น เพื่ อ รั บ ซื้ อ ยางพารา จากประเทศไทย ซึ่ ง จี น เชื่ อ ถื อ ในคุ ณ ภาพ ยางพาราของไทย และได้ เ ชิ ญ ผู ้ ป ระกอบ การไปที่ สถาบันวิจัยยางธรรมชาติ (Rubber Valley) ในเมื อ งชิ ง เต่ า มณฑลซานตุ ง ป ร ะ เ ท ศ จี น โ ด ย จี น ไ ด ้ ใ ห ้ ก า ร ต ้ อ น รั บ ผู้ประกอบการของไทยเป็นอย่างมาก สถาบั น วิ จั ย ยางชิ ง เต่ า แห่ ง นี้ ท� ำ หน้ า ที่ ส� ำ คั ญ ๆ 5 ด้ า น คื อ 1. เป็ น ศู น ย์ การค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างพารา โลก 2. ศู น ย์ วิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. ศูนย์ การแสดง นิทรรศการและวัฒนธรรม 4. ศูนย์ ฝึ ก ฝนและแลกเปลี่ ย น ทั ก ษะ และ 5. เป็ น ศูนย์ข้อมูลใหญ่ของผลผลิตยางพาราในโลก ซึ่งมีมหาวิทยาลัยชิงเต่าตั้งอยู่ด้วย
กลุ่มทุนท้องถิ่น เช่น บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ผลิตถุงมือยาง มีการ เพิ่มทุน ผู้ผลิตยางล้อรถยนต์รายใหญ่อย่างมิชลิน จากประเทศฝรั่งเศส ก็ได้มาตั้งฐาน การผลิตที่นิคมอุตสาหกรรมฉลุงแล้ว ในขณะนี้ ถ้าผู้ประกอบการจะลงทุนอุตสาหกรรม ยางพารา หากโรงงานตั้งอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็ได้สิทธิประโยชน์มากขึ้น รัฐบาลมีนโยบาย ตั้ง RUBBER CITY ให้อุตสาหกรรมยางพารา มาตั้งในบริเวณเดียวกัน บนเนื้ อ ที่ 700 ไร่ เ ศษ ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมฉลุ ง จ.สงขลา ขณะนี้ มี โ รงงานมาตั้ ง กว่ า 10 โรงงาน เราพยายามเพิ่มการผลิตยางพาราในประเทศ ให้ผลผลิตยางพาราอยู่ใน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
7
บริการวิชาการ
คณะทรัพย์ ม.อ. เปิดคลินิกให้ค�ำปรึกษาเกษตรกร
พร้อมน�ำความรู้วิชาการสู่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ช่ ว ยศาสตราจารย์ ท วี ศั ก ดิ์ นิ ย มบั ณ ฑิ ต คณบดี ค ณะทรั พ ยากร ธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คณะทรัพยากร ธรรมชาติ เป็ น คณะหนึ่ ง ที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ด้ า นการบริ ก ารวิ ช าการ เนื่ อ งจาก มี ก ลุ ่ ม งานบริ ก ารวิ ช าการ สถานี วิ จั ย หน่ ว ยปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห์ ก ลางที่ มี ประสิทธิภาพ มีบุคลากรที่ท�ำงานใกล้ชิดชุมชน และ มีงานวิจัยและบริการวิชาการ เป็นที่ยอมรับของเกษตรกรและผู้รับบริการ
ผู้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ
8
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ปัจจุบัน คณะทรัพยากรธรรมชาติได้มีการจัดตั้ง อีกหนึ่งหน่วยงาน เพื่อบริการตอบโจทย์ของเกษตรกรที่มี ปัญหาด้านผลผลิตและการจัดการด้านเกษตรกรรม คือ “คลินิกเทคโนโลยีเกษตร” ที่สามารถให้ค�ำปรึกษาปัญหา ด้านผลผลิต โดยอาศัยข้อมูลและประสบการณ์ ทั้งจาก นั ก วิ ช าการ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา และจากเครื อ ข่ า ยผู ้ เกี่ยวข้อง ผู้จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ผลิตผล อุปกรณ์ทางการ เกษตรที่ได้รับการรับรอง โดย “คลินิกเทคโนโลยีเกษตร” ไม่เพียงแต่รับปรึกษาในสถานที่ของคณะเท่านั้น แต่ยัง จะมีการส่งเจ้าหน้าที่ไปดูและวิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่ อีกด้วย เป็นการเปิดโอกาสให้นักวิชาการและนักศึกษา มีประสบการณ์จากสถานการณ์จริง และได้น�ำวิชาการ ไปใช้ ใ นการพั ฒ นาตนเอง การเรี ย นการสอน รวมทั้ ง สร้างโอกาสในการมีรายได้เข้ามาพัฒนาคณะ
“ทุกวันนี้ บางท่านซื้อพืชพันธุ์ทางการเกษตรมาปลูก จะไม่ สามารถทราบได้ว่าเป็นพันธุ์แท้หรือไม่ คลินิกเทคโนโลยีเกษตร สามารถให้ ค� ำ แนะน� ำ ได้ โดยต่ อ ไปจะเป็ น เหมื อ นโรงพยาบาล อีกแห่งที่รับดูแลผู้มีปัญหาด้านการเกษตร เราจะมีนักวิชาการที่จะ ให้การปรึกษาเรื่องการเพาะปลูก หากมีปัญหาที่ไม่สามารถตอบ ได้ในทันที จะมีการค้นคว้าหรือให้ทุนวิจัยเพื่อตอบโจทย์เหล่านั้น ทั้งยังเป็นการเรียนการสอนแบบ Active Learning ที่ครบวงจร โดยไม่ เ พี ย งแต่ เ รี ย นรู ้ ทั ก ษะในการท� ำ ให้ เ ป็ น แต่ จ ะมี โ อกาส แก้ ป ั ญ หา และต่ อ ยอดสู ่ ก ารวิ จั ย ด้ ว ย” คณบดี ค ณะทรั พ ยากร ธรรมชาติ กล่าว “คลินิกเทคโนโลยีเกษตร” ก�ำลังได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากเอกชนในการท� ำ ห้ อ ง ปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งได้จากการ วิ จั ย เพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ ปาล์ ม โดยจุ ด เด่ น คือเป็นการคัดเลือกน�ำเนื้อเยื่อมาจากปาล์ม ต้นที่ดีที่สุด มาเพาะเลี้ยงจะท�ำให้ได้ปาล์ม ต้ น ใหม่ ที่ ดี เ หมื อ นต้ น เดิ ม โดยต่ อ ไปจะมี การพัฒนาสู่การคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุดจาก ภาคต่างๆ เพื่อความเหมาะสมในการปลูก แต่ละภูมิภาคต่อไป นอกจากนั้น คณะทรัพยากรธรรมชาติ ก� ำ ลั งจ ะ พั ฒน าพื้ น ที่ แ ป ล ง ส า ธิ ต ขอ ง นักศึกษา ในช่วงเวลาที่ไม่ได้ใช้เพื่อการเรียน การสอน สู่ “ท่องเที่ยวเชิงเกษตร” เพื่อเพิ่ม ความเป็ น พื้ น ที่ สี เ ขี ย วที่ แ ท้ จ ริ ง โดยร่ ว มมื อ กั บ เอกชนปลู ก ทานตะวันซึ่งสามารถพัฒนาให้มีดอกใหญ่กว่าปกติสองเท่า ข้าวโพดหวานลูกผสมสีแดง Siam Ruby Queen พันธุ์เดียว ของโลกที่พัฒนาขึ้นโดยคนไทย มีการปลูกผักที่ไม่ต้องใช้ดิน และจัดท�ำการเกษตรแบบครบวงจรที่เอื้อกันระหว่างการปลูก พืชและเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงโคโดยใช้ใบปาล์มหมัก เลี้ยงไก่ให้ กินอาหารจากแมลงและหนอนจากมูลโค เป็นต้น นอกจาก นั้นยังมีแผนจะปลูกไม้ดอกยืนต้น มีร้านจ�ำหน่ายอาหารและ ผลผลิ ต ทางการเกษตร โดยใช้วัต ถุดิบส่วนหนึ่งจากผลผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพของคณะ โดยหวั ง ผลทั้ ง การพั ฒ นาเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว การจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ผล สิ น ค้ า แปรรู ป จากผลผลิ ต ทางการเกษตร และเป็นหนึ่งในกิจกรรมของนักศึกษาให้เรียนรู้ การประกอบอาชีพเกษตรกรจากทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง หากประสบความส�ำเร็จตามที่วางเอาไว้ พื้นที่ดังกล่าว จะกลายเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วแห่ ง หนึ่ ง ของเมื อ งหาดใหญ่ รองรับผู้มาเยือนมหาวิทยาลัย รวมถึงนักท่องเที่ยวจากทั้งใน และต่างประเทศ ที่ส�ำคัญคือเป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งกิจกรรม และแหล่ ง รายได้ ข องคณะ บุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษา รวมทั้ ง เสริมการพัฒนาของชุมชนข้างเคียงอีกด้วย ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
9
การศึกษา/บุคคล
ม.อ.เผยผลสัมภาษณ์นักเรียนเรียนดีทั่วประเทศ ปี 58
เด็กเก่งแห่สมัครเกือบ 10,000 คน คณะเภสัชฯ ติดท็อปผู้สมัครมากที่สุด ากการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดรับสมัคร เพื่ อ เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ใ นโครงการรั บ นักเรียนที่มีผลการเรียนดี ประจ�ำปีการศึกษา 2558 โดยวิธีการ สอบสั ม ภาษณ์ มี นั ก เรี ย นทุ ก ภาคสนใจสมั ค รเกื อ บหมื่ น คน คณะเภสัชศาสตร์ยังคงติดท็อปผู้สมัครมากที่สุด
จ
ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย การรับนักศึกษา ประธานกรรมการด�ำเนินการคัดเลือก นั ก เรี ย นโดยวิ ธี รั บ ตรงทั่ ว ประเทศ ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2558 ได้ เ ปิ ด เผยว่ า การรั บ นั ก เรี ย นโครงการดั ง กล่ า ว ในปี นี้ ไ ด้ รั บ การตอบรั บ มากกว่ า ปี ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง การจั ด โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ นักเรียนที่มีผลการเรียนดีได้เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย และเป็นการกระจายโอกาสทางการศึกษาไปในทุกภาคของไทยให้มีโอกาส ได้รับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและสอดคล้องกับนโยบายการสนับสนุน การศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพไปพัฒนาประเทศ ซึ่งการรับนักเรียนใน โครงการครั้งนี้มีการวัดผลที่ได้มาตรฐาน ทั้งนี้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มี วิ ธี ก ารคั ด เลื อ กนั ก เรี ย นในเบื้ อ งต้ น โดยใช้ ห ลั ก เกณฑ์ ดู ผ ลการเรี ย นรวม จากทุ ก หมวดการเรี ย น 4 ภาคการศึ ก ษาของชั้ นมั ธ ยมปลาย ม.4-ม.5 โดย มหาวิทยาลัยได้น�ำคะแนนดังกล่าวมาแปลงเป็นคะแนนเพื่อจัดล�ำดับ โดยน�ำ ค่าเฉลี่ยของคะแนนO-NET ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาประกอบการพิจารณา ซึ่งท้ายที่สุดจะคิดคะแนนจากผลการเรียนร้อยละ 75
10
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ผลปรากฎว่าในปีนี้ มีผู้สนใจจากโรงเรียน ต่างๆ สมัครผ่านทางออนไลน์และมีผู้ผ่านเกณฑ์ ตามคุ ณ สมบั ติ ข ้ า งต้ น ในทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ มากกว่าปีที่ผ่านมา รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 9,358 คน จ� ำ แนกผู ้ ส มั ค รเป็ น รายภาค ได้ แ ก่ ภาคกลาง จ� ำ นวน 846 คน ภาคตะวั น ตก จ� ำ นวน 90 คน ภาคตะวันออก จ�ำนวน 347 คน ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จ�ำนวน 968 คน ภาคใต้ จ�ำนวน 6,955 คน ภาคเหนือ จ�ำนวน 152 คน ทั้งนี้ได้คัดเลือก ผู ้ มี สิ ท ธิ์ เ ข้ า มาสอบสั ม ภาษณ์ จ� ำ นวน 4,558 คน และผ่ า นการคั ด เลื อ ก จ� ำ นวน 2,028 คน โดยคณะเภสัชศาสตร์ สาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ ผู้สนใจเลือกเข้าศึกษามากที่สุด คณะที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการรั บ ในครั้ ง นี้ ข อง มหาวิทยาลัย มีจ�ำนวน 27 คณะ 152 สาขาวิชา กระจายไปใน 5 วิทยาเขต สามารถจ�ำแนกคณะ ที่มีผู้สมัครมากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ คณะ เภสั ช ศาสตร์ จ� ำ นวน 1,336 คน คณะศึ ก ษา ศาสตร์ จ�ำนวน 1,142 คน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จ� ำ นวน 1,140 คน คณะวิ ท ยาศาสตร์ จ� ำ นวน 795 คน คณะเทคนิคการแพทย์ จ�ำนวน 596 คน
คณะศิ ล ปศาสตร์ จ� ำ นวน 544 คน คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม จ�ำนวน 513 คน คณะพยาบาลศาสตร์ จ�ำนวน 406 คน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จ�ำนวน 353 คน และคณะเศรษฐศาสตร์ จ�ำนวน 299 คน ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล ได้เปิดเผยต่อไปว่า มหาวิทยาลัย ได้จัดให้มีการสอบสัมภาษณ์ โดยใช้สถานที่ 2 แห่ง แก่นักเรียน ที่ ไ ด้ ผ ่ า นการคั ด เลื อ กในเบื้ อ งต้ น แล้ ว กล่ า วคื อ ที่ โ รงแรม แอมบาสเดอร์ สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร โดยสัมภาษณ์นักเรียน จากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ ภาคกลางเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2557 ส่วน ภาคใต้ ที่มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ แ ละ วิ ท ยาเขตต่ า งๆ ที่ มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2557 ส�ำหรับวิทยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี ไ ด้ จั ด สอบสั ม ภาษณ์ ไ ปก่ อ นหน้ า นี้ แ ล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 11 ตุลาคม 2557 ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล ได้กล่าว ต้ อ นรั บ คณะผู ้ ป กครองและนั ก เรี ย น ที่มาสอบสัมภาษณ์ที่กรุงเทพมหานคร ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ ป็ น แหล่ ง ฟู ม ฟั ก ให้ นั ก ศึ ก ษาเป็ น คนเก่ ง คนดี เพื่ อ ออกไปรั บ ใช้ สั ง คมและ ประเทศชาติ แนวทางการพั ฒ นา นักศึกษาจึงต้องเริ่มตั้งแต่กระบวนการ รับนักศึกษา การสร้างแรงจูงใจให้เข้าศึกษา ซึ่งโครงการนี้ก็เป็น เป้าหมายที่มหาวิทยาลัยให้ความส�ำคัญมาตลอด 45 ปี จะเห็น ได้จากรางวัลคุณภาพทางการศึกษาที่มหาวิทยาลัยได้รับมาอย่าง ต่อเนื่องทั้งระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งจะเห็นได้จากสื่อต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยได้น�ำเสนอออกไป นอกจากการรับเข้าศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยยังเตรียมพร้อมนักศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงานด้วยการ ด�ำเนินการด้านสหกิจศึกษา เป็นการจัดการศึกษาบูรณาการองค์ ความรู้จากห้องเรียนของนักศึกษาเชื่อมโยงกับการปฎิบัติงานจริง ในสถานประกอบการ เป็นต้น ในส่วนคุณภาพของนักศึกษาที่ผ่าน การคัดเลือกจากโครงการดังกล่าว ดร.สุขสวัสดิ์ กล่าวว่าสามารถ คัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณภาพเข้าศึกษาต่อ และให้นักศึกษาจาก ต่างภูมิภาคได้มาศึกษา พัฒนาทักษะวิชาชีพ จริยธรรม บนพื้นฐาน ต่างพหุวัฒนธรรม ออกไปรับใช้สังคมอย่างมีคุณภาพต่อไป
ส� ำ หรั บ เยาวชนที่ ม าสอบสั ม ภาษณ์ ใ น ครั้ ง นี้ นายสิ ริ วั ฒ น์ สมบั ติ มี โรงเรี ย น หนองแสงวิ ท ยศึ ก ษา จั ง หวั ด อุ ด รธานี ได้ บอกว่ า ตนได้ รู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์จากการติดตามทางอินเตอร์เน็ต ได้ เลื อ กคณะวิ ท ยาการจั ด การ สาขาการเงิ น คิ ด ว่ า เมื่ อ จบการศึ ก ษาสามารถน� ำ ไปพั ฒ นาธุ ร กิ จ ที่ บ ้ า นได้ ส�ำหรับโครงการนี้คิดว่าเป็นโครงการที่ดีมาก ให้โอกาสนักเรียน ทั่วประเทศและการสอบสัมภาษณ์มีการวัดผลที่มีประสิทธิภาพ ก็ อ ยากแนะน� ำ ให้ น ้ อ งๆ มาเลื อ กเรี ย นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ เพราะเห็นว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่ดี ได้รับรางวัลต่างๆ และเป็นมหาวิทยาลัย 1 ใน 5 ของประเทศที่มีผลงานโดดเด่น สิ่ ง ที่ อ ยากฝากมายั ง มหาวิ ท ยาลั ย สิ ริ วั ฒ น์ บ อกว่ า อยากให้ มหาวิทยาลัยจัดนิทรรศการและแนะแนวในโรงเรียนแถวภาค อีสานตอนบนบ้าง จะได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยมากขึ้น นางสาวมยุรฉัตร แวดไธสง โรงเรียน ง�ำเมืองวิทยาคม จังหวัดพะเยา บอกว่า ตน เลือกคณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ สาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว เพราะชอบ สนใจและใฝ่ ฝ ั น ว่ า จะเป็ น ไกด์ เลื อ กสมั ค ร โครงการนี้ เ พราะเพื่ อ นแนะน� ำ และดู ร าย ละเอียดโครงการเพิ่มเติมทางเว็ปไซด์ของมหาวิทยาลัย ส่วนผู้ ปกครองสนับสนุนให้เลือกเรียนที่นี่เพราะเห็นว่ามหาวิทยาลัยมี คุณภาพ บัณฑิตที่จบมามีประสิทธิภาพค่ะ นางสาวมยุรฉัตร กล่าว นางสาวพิ ม พ์ นิ ภ า สุ ข มาศรี นางสาวจิตตราภรณ์ มาละแซม และ นางสาวสกุลรัตน์ จันทร์ชะนะ 3 สาว จากโรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ จังหวัด ล�ำพูน โดยนางสาวพิมพ์นิภา บอกว่า ตน และเพื่อนๆ เลือกเรียนคณะวิทยาศาสตร์ สาขาสถิ ติ เพราะชอบวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ค�ำนวณ ส่วนเพื่อนอยากเป็นครูฟิสิกส์ โครงการนี้พวกเราคิดว่า เป็ น โครงการที่ ดี ม าก เพราะให้ โ อกาสนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นดี ไ ด้ เ ข้ า ศึกษาอีกทั้งเป็นการวัดระดับโรงเรียนด้วย อยากแนะน�ำน้องๆ ให้ ม าสมั ค ร เพราะคิ ด ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ มี คุ ณ ภาพสู ง ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพค่ะ นางสาวประภัสสร ทองแจ่ม โรงเรียน บ่อพลอยรัชดาภิเษก จังหวัดกาญจนบุรี บอก ว่ า รู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จ าก เว็ปไซด์ของ eduzone ค่ะ โดยศึกษาเกี่ยวกับ คณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ท้ายสุดได้ตัดสิน ใจเลือกเรียนคณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร คิดว่าเลือกสาขานี้สามารถ น�ำมาใช้จริงในชีวิตประจ�ำวันได้โดยเฉพาะสภาพท้องถิ่นที่อยู่ อาศัยของตนในจังหวัดกาญจนบุรี และราชบุรี มีวัตถุดิบทางการ ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
11
การศึกษา/บุคคล เกษตรมากมาย เช่น มันส�ำปะหลัง สับปะรด ซึ่งสามารถน�ำความรู้ ที่ได้รับไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ อีกทั้งตนเองมีความภูมิใจที่จะ เข้ามาเป็นลูกพระบิดาค่ะ ขอบคุณมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ให้สิทธิ์ในการเข้าร่วมโครงการนี้ นางสาวประภัสร กล่าว นายชตินนท์ เหลืองอ่อน โรงเรียน มารีวิทย์ จังหวัดชลบุรี บอกว่า โครงการนี้ เป็นโครงการแรกๆ ที่เปิดโอกาสให้ตนเองได้ เข้ามาสมัคร และเห็นว่าเปิดรับหลากหลาย สาขารู้จักมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จาก ครูแนะแนวในชั่วโมงเรียน สนใจเลือกสาขา ดิจิทัลมีเดีย โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ ชอบศาสตร์ทาง ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ศิ ล ปะและการสื่ อ สาร ได้ พั ฒ นาความคิ ด สร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการออกแบบและการ ผลิ ต สื่ อ ดิ จิ ทั ล จบแล้ ว คิ ด ว่ า มี แ หล่ ง งานรองรั บ อยากฝากถึ ง มหาวิทยาลัยว่า น่าจะเปิดวิทยาเขตที่ไม่ได้อยู่ในภาคใต้บ้าง เพื่อให้โอกาสคนในพื้นที่ได้ศึกษาและเข้าถึงแหล่งงาน นางสาวกมลรัตน์ แย้มกมล โรงเรียน วิ นิ ต ศึ ก ษา จั ง หวั ด ลพบุ รี บอกว่ า สนใจใน คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มาก เลื อ กเรี ย นสาขาประวั ติ ศ าสตร์ เรี ย นวิ ช านี้ แล้วมีความสุข รู้จักมหาวิทยาลัยแห่งนี้จาก อาจารย์ที่ปรึกษาและรุ่นพี่ค่ะ คิดว่าวิทยาเขต
ปัตตานีเป็นวิทยาเขตที่อบอุ่น ปลอดภัย น่าอยู่อีกวิทยาเขตหนึ่ง ส่วนนางสาวอัมรินทร์ อนันต์จิตสุภา จากโรงเรียนมารีวิทย์ จังหวัดชลบุรี เลือกเรียนที่วิทยาเขตปัตตานีเช่นกันโดยเลือกเรียน คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาทัศนศิลป์ คิดว่าเรียนที่ไหนนิสิต นักศึกษาก็เหมือนกันทุกที่ไม่แตกต่างกัน มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ก็ ส ามารถผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ ทราบจากผลงาน ที่ผ่านตาตามสื่อต่างๆ ภาคภูมิใจมากที่ได้เข้าร่วมโครงการนี้ค่ะ นางสาวอัมรินทร์ กล่าวทิ้งท้าย อนึ่งผู้ที่ผ ่านการคัดเลือกฯ มหาวิทยาลัยขอให้ช�ำระเงิน ค่ า ประกั น ที่ เ รี ย น จ� ำ นวน 5,000 บาท และมหาวิ ท ยาลั ย ได้ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาที่ http://www.entrance.psu. ac.th ในวั น ที่ 14 พฤศจิ ก ายน 2557 หากเยาวชนพลาดจาก โครงการนี้ มหาวิทยาลัยยังมีโครงการพิเศษที่คณะและวิทยาเขต ของมหาวิทยาลัยรับโดยตรง เช่น การรับบุคคลเข้าศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี โ ดยใช้ ผ ลคะแนน GAT/PATครั้ ง ที่ 1 /2558 (สอบ พฤศจิกายน 2557) และวิชาสามัญ 7 วิชา (สอบ มกราคม 2558) สามารถติดตามรายละเอียดได้ทางเว็บไซต์ ของมหาวิทยาลัย ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2558 และโครงการอื่นๆ จ�ำนวนกว่า 30 โครงการที่รับอยู่ในขณะนี้ ทาง http://www.entrance.psu. ac.th
ศิษย์เก่าคณะวิทยาการสื่อสาร ได้รับเลือกเป็นบุคคลแบบอย่าง
คนดีต้นแบบ “คุณธรรมไทย” ประจ�ำปี 2557 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดง ความยินดี กับศิษย์เก่าคณะวิทยาการสื่อสาร คุณบี กมลาสน์ เอียดศรีชาย ผู้ประกาศข่าว จากทางสถานี โ ทรทั ศ น์ สี ก องทั พ บกช่ อ ง 7 ได้รับเลือกเป็นบุคคลแบบอย่าง คนดีต้นแบบ “คุณธรรมไทย” ประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 คุณกมลาสน์ เอียดศรีชาย ได้เข้ารับโล่ รางวัล คนดีต้นแบบ “คุณธรรมไทย” ประจ�ำปี 2557 ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม สถาบั น วิ จั ย จุ ฬ าภรณ์ กรุ ง เทพมหานคร จากโครงการสร้ า งกระแส พั ฒ นาคนและสั ง คมไทย เนื่ อ งในวั น สั ง คม สงเคราะห์แห่งชาติ 21 ตุลาคม น้อมร�ำลึกถวาย พระเกียรติคุณ วันคล้ายวันพระราชสมภพของ สมเด็จย่า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
12
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ลงนามความร่วมมือ
คณะนิติศาสตร์ ม.อ.ร่วมมือกรมการค้าภายใน
กระตุ้นการรับรู้การบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้า
ค
ณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ โดย อาจารย์วศิน สุวรรณรัตน์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ลงนามความร่วมมือ กับ กรม การค้าภายใน โดย นายสันติชัย สารถวัลย์แพศย์ รองอธิ บ ดี ก รมการค้ า ภายใน เสริ ม สร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจในหลั ก และสาระส� ำ คั ญ ของกฎหมาย การแข่ ง ขั น ทางการค้ า ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษา ตลอดจน ประชาชน ให้เกิดวัฒนธรรมการแข่งขันทางการค้า ที่ เ สรี แ ละเป็ น ธรรม เมื่ อ วั น ที่ 26 กั น ยายน 2557 ณ ห้ อ งประชุ ม ปิ ติ ทฤษฎี คุ ณ คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ ว ศิ น สุ ว รรณรั ต น์ คณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ กล่าวว่า การลงนามความร่วมมือ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ สร้างความร่วมมือทางวิชาการด้านการแข่งขันทางการค้าใน สถาบันการศึกษาอันเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจใน หลักและสาระส�ำคัญของกฎหมายการแข่งขันทางการค้าให้ แก่ นักศึกษา ตลอดจนประชาชน ให้เกิดวัฒนธรรมการแข่งขัน ทางการค้าที่เสรีและเป็นธรรมให้เกิดขึ้นโดยทั่วไป อีกทั้ง เพื่อให้ เกิดความร่วมมือด้านการบริการวิชาการเผยแพร่ความรู้ในเชิง ปฏิบัติเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้าแก่ ผู้ประกอบธุรกิจและผู้สนใจทั่วไป ตลอดจน เผยแพร่กฎหมาย การแข่งขันทางการค้าส�ำหรับน�ำไปประยุกต์ใช้กับกิจการธุรกิจ ทั้ ง นี้ คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ให้บริการทางวิชาการโดยการจัดโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ในเขตภูมิภาค เพื่อพัฒนาผู้ประกอบธุรกิจ สนับสนุนให้เกิด
การแข่ ง ขั น ทางการค้ า ที่ เ สรี แ ละเป็ น ธรรม มากยิ่งขึ้น จัดหลักสูตรสนับสนุนการแข่งขัน ทางการค้าส�ำหรับผู้ประกอบธุรกิจ เพื่อพัฒนา ศักยภาพเชิงธุรกิจ รวมทั้ง จัดให้มีการบริการ ความรู ้ ห รื อ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กฎหมาย การแข่งขันทางการค้า ตลอดจน จัดท�ำงานวิจัย และถ่ า ยทอดผลงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒ นากิ จ กรรมของ ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม การ แข่งขันทางการค้า กรมการค้าภายใน กรมการค้ า ภายใน สนั บ สนุ น ข้ อ มู ล ด้ า น กฎหมายการแข่งขันทางการค้าแก่มหาวิทยาลัย เพื่อน�ำไปเผยแพร่องค์ความรู้แก่ชุมชน สังคม และภู มิ ภ าค สนั บ สนุ น องค์ ค วามรู ้ ด ้ า นการ แข่งขันทางการค้าที่เสรีและเป็นธรรมแก่โครงการหรือกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยด้านการบริการวิชาการแก่ผู้ประกอบธุรกิจ และผู้สนใจทั่วไป อีกทั้ง สนับสนุนข้อมูลอันเป็นประโยชน์ที่ส�ำนักส่งเสริม การแข่งขันทางการค้ามีอยู่ เพื่อส่งเสริมงานวิจัยต่างๆ ของ นักศึกษา อาจารย์ รวมถึงบุคลากรของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้าฝึกงาน ด้านการก�ำกับดูแลการแข่งขันทางการค้า ณ ส�ำนักส่งเสริม การแข่งขันทางการค้า กรมการค้าภายใน ประมาณปีละ 10 คน ตลอดจนจัดวิทยากรร่วมให้ความรู้ความเข้าใจด้านการแข่งขัน ทางการค้าหรือ ด้านที่เกี่ยวข้องเพื่อกระตุ้นการรับรู้และเข้าใจ แนวทางการบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้า อันน�ำ ไปสู่การร่วมเฝ้าระวังพฤติกรรมการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เสรี และไม่เป็นธรรม
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
13
รางวัลแห่งคุณภาพ
นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์คว้ารางวัลชนะเลิศ จากส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ค ณ ะ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คว้ารางวัลชนะเลิศจากส�ำนัก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร ค ลั ง กระทรวงการคลั ง โดยนาย เจตสันต์ ชิตเดชะ นักศึกษา สาขาเศรษฐศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ได้รับเงินสนับสนุนการศึกษา จ� ำ นวน 60,000 บาท พร้ อ มโล่ เ กี ย รติ ย ศ ภายใต้ ก ารดู แ ล ของอาจารย์สรรพศักดิ์ ชัชวาลย์ อาจารย์จริยภัทร บุญมา และอาจารย์ ส าขาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่ อ วั น ที่ 18 กั น ยายน ที่ ผ ่ า นมา ส� ำ นั ก งานเศรษฐกิ จ การคลัง (สศค.) กระทรวงการคลังจัดการแข่งขันตอบปัญหา เศรษฐศาสตร์ระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปี 2557 มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ให้กับนิสิตและ นักศึกษา โดยเน้นการสนับสนุนให้เกิดความรู้ความเข้าใจด้าน เศรษฐกิจ การคลัง การเงิน เศรษฐกิจระหว่างประเทศ และการ ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง การให้ความรู้เกี่ยวกับกระทรวงการคลัง โดยขอให้ส่งตัวแทน
นิทรรศการ “5
14
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
จากสถาบันการศึกษาที่มีคณะเศรษฐศาสตร์ แห่งละ 1 ท่าน มีผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั่วประเทศจ�ำนวน 24 คน โดย การแข่ ง ขั น แบ่ ง เป็ น 2 รอบ รอบที่ 1 รอบคั ด เลื อ กโดยใช้ การสอบแบบปรนั ย โดยคั ด ให้ เ หลื อ 5 คน เพื่ อ เข้ า สู ่ ร อบ ชิ ง ชนะเลิ ศ ช่ ว งที่ 1 เป็ น การดู ไ หวพริ บ ผู ้ เ ข้ า แข่ ง ขั น โดยการ กดไฟเพื่ อ ชิ ง ความเร็ ว ในการตอบค� ำ ถามเพื่ อ คั ด เลื อ กให้ เหลือเพียง 3 คน เข้าแข่งขันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น โจทย์ที่ได้รับในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศช่วงที่ 2
วิทยาเขตในมุมมองช่างภาพ”
หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดนิทรรศการเฉพาะกิจ หัวข้อ “5 วิทยาเขตในมุม มองช่างภาพ” เมื่อวันที่ 1-10 ตุลาคม 2557 ระหว่างเวลา 09.00 - 16.00 น. ณ บริเวณลานชั้น 1 หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พิธีเปิดนิทรรศการมีขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557 โดย อาจารย์ ม นั ส กั น ตวิ รุ ฒ ผู้อ�ำนวยการหอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวรายงาน การจัดนิทรรศการ อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี ประธานเปิดงาน ภาพที่ น� ำ มาจั ด แสดง เป็ น ภาพบรรยากาศและภู มิ ทั ศ น์ อั น งดงาม ภายในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต ได้ แ ก่ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี และวิ ท ยาเขตตรั ง จ� ำ นวน 10 ภาพ มี ค วามสวยงาม สะท้ อ นถึ ง ความ เป็นอยู่ของนักศึกษาและบุคลากรผ่านทางภาพถ่าย ในมุมมองของช่างภาพ คุณชาญ วารีรัตน์ ศิลปินดีเด่นสาขาถ่ายภาพ จังหวัดสงขลา หลังจากพิธีเปิดนิทรรศการ มีการเสวนา “5 วิทยาเขต ในมุมมองช่างภาพ” โดย คุณชาญ วารีรัตน์ ศิลปินดีเด่น สาขาถ่ายภาพ จังหวัดสงขลา ปี 2552 และ ช่างภาพโครงการ อาเซียน ASEAN EYE CULTRE ปี 2557 ด�ำเนินรายการ โดย คุณบัญชร วิเชียรศรี สถานีวิทยุ ม.อ. F.M. 88
วิจัย
นักวิจัย ม.อ.
คว้ารางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นปี 2557
องศาสตราจารย์ ดร. เจษฎา วรรณสินธุ์ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. รับรางวัล นักเทคโนโลยีดีเด่น ปี 2557 จากผลงานเทคโนโลยี การหล่ อ โลหะแบบสเลอรี่ ลดข้ อ จ� ำ กั ด ของ กระบวนการหล่อโลหะแบบเดิม ช่วยหล่อฉีดชิ้นส่วน อลูมิเนียมได้ด้วยต้นทุนต�่ำแต่คุณภาพสูง
ร
มูล นิ ธิส ่ง เสริ ม วิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดแถลงข่าว รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและนักเทคโนโลยีรุ่น ใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมเดอะสุโกศล ซึ่งมีผู้ได้รับรางวัลนัก เทคโนโลยีดีเด่นในปีนี้ ได้แก่ ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการจัดการประมง และคณะกรมประมง กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา วรรณสิ น ธุ ์ ภาควิ ช า วิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ดร.บรรพท ศิริเดชาดิลก นักวิจัยหน่วยเทคโนโลยี ชี ว ภาพทางการแพทย์ ศู น ย์ พัน ธุ วิ ศ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่ ง ชาติ (BIOTEC) ดร.ปราการเกี ย รติ ยั ง คง อาจารย์ ป ระจ� ำ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นประธานคณะกรรมการคัดเลือกผู้ได้รับรางวัล ในงานดังกล่าว ดร.พิ เ ชฐ ดุ ร งคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ร่วมสนทนาพิเศษในหัวข้อ “วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม เพื่ อ น� ำ พาไทย ออกจากกั บ ดั ก ประเทศรายได้ ป านกลาง” และร่ ว มชมผลงาน ที่ได้รับรางวัล ทั้ ง นี้ รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา วรรณสิ น ธุ ์ ภาควิ ช า วิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ เจ้าของรางวัล “นักเทคโนโลยีดีเด่น ประเภทบุคคล ประจ� ำ ปี 2557” จากมู ล นิ ธิ ส ่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ เปิ ด เผยถึ ง งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี การหล่อโลหะแบบสเลอรี่ (Slurry Metal Casting Technology) ว่า เป็นงานวิจัยที่มีการคิดค้นและพัฒนามากกว่า 11 ปี โดยเป้าหมาย เพื่อแก้ปัญหาและลดข้อจ�ำกัดของกระบวนการหล่อโลหะแบบเดิม ที่ ใ ช้ วิ ธี ห ล่ อ ด้ ว ยน�้ ำ โลหะที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง และการหล่ อ โลหะแบบ กึ่ ง ของแข็ ง ซึ่ ง เทคโนโลยี นี้ ส ามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ เครื่ อ งหล่ อ ฉี ด ชิ้ น ส่ ว นอลู มิ เ นี ย ม (Aluminum Die Casting) ได้ อ ย่ า งง่ า ย โดย ไม่ต้องท�ำการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร แม่พิมพ์ และกระบวนการผลิต ที่ใช้อยู่แล้ว เพื่อช่วยให้สามารถหล่อฉีดชิ้นส่วนอะลูมิเนียมได้ใน ราคาต้นทุนที่ต�่ำลงและมีคุณภาพสูงขึ้น รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา ระบุ ว ่ า จากอั ต ราการ เติบโตในอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักในการน�ำ เทคโนโลยี ดั ง กล่ า วมาใช้ ยั ง มี อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และ อุตสาหกรรมของเล่น ซึ่งมีแนวโน้มความต้องการเพิ่มสูงขึ้น ส่งผล ให้การผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น ล้อแม็ก พวงมาลัย ชิ้นส่วนมอเตอร์ ชิ้นส่วนปั้ม ฝาครอบโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น ท�ำให้ผู้ผลิตต้องมีการ พั ฒ นาเทคนิ ค ใหม่ ๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ชิ้ น งานที่ มี คุ ณ ภาพเป็ น ที่ ต ้ อ งการ ของตลาด ซึ่งการน�ำเทคโนโลยีการหล่อโลหะแบบสเลอรี่มาใช้ใน อุตสาหกรรมโลหะจะช่วยลดต้นทุนการผลิตให้แก่ในโรงงานไม่ต�่ำกว่า 10 % ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวได้ยื่นจดสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว
“การก้าวกระโดดขึ้นเป็นผู้น�ำในแวดวงอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีนั้น สิ่งส�ำคัญคือการพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง เพื่ อ ตอบโจทย์ กั บ ความต้ อ งการของทิ ศ ทาง การเคลื่ อ นไหวในตลาดโลกที่ จ ะน� ำ เทคโนโลยี ไ ทยไปใช้ ใ นเชิ ง พาณิ ช ย์ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น ของเศรษฐกิ จ ไทยด้ ว ย” รองศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา กล่าวทิ้งท้าย ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
15
รอบรั้วศรีตรัง
พระราชภารกิจ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่ ม.อ. เ มื่ อ วั น ที่ 2 4 กั น ย า ย น 2 5 5 7 เ ว ล า 08.20 น. สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปยั ง คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทรงเปิดอาคาร “รัตนชีวรักษ์” สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นอาคารศูนย์อุบัติเหตุฉุกเฉิน โรง พยาบาลสงขลานคริ น ทร์ แล้ ว ทรงประกอบพิ ธี วางศิ ล าฤกษ์ “อาคารศู น ย์ ก ารศึ ก ษาและบริ ก าร วิชาการ” สร้างขึ้นเพื่อรองรับการขยายงานทั้งด้าน การเรียนการสอน และการบริการรักษาพยาบาล รวมทั้งเป็นสถานที่จัดการศึกษาแพทย์ และให้บริการ ค้นคว้าวิจัยความก้าวหน้าทางการแพทย์ของภาคใต้ เป็นอาคารสูง 15 ชั้น คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2560
โอกาสนี้ ทอดพระเนตรนิทรรศการประวัติการก่อสร้างอาคาร “รั ต นชี ว รั ก ษ์ ” และนิ ท รรศการนวั ต กรรมทางการแพทย์ ข อง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เช่น อุปกรณ์ ผ่าตัดผังผืดกดรัดเส้นประสาท และเครื่องมือผ่าตัดโรคนิ้วล๊อค ได้รับรางวัลมาแล้วจากทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
16
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ พระราชทานนาม “อาคารรัตนชีวรักษ์” หมายถึง อาคารซึ่งเป็น สถานที่ ดูแ ลรั กษาชี วิตอั น ยอดเยี่ ยม เป็ นอาคาร 14 ชั้น ใช้เ ป็น ศูนย์รักษาผู้ป่วยบาดเจ็บและฉุกเฉินแบบเบ็ดเสร็จ ด�ำเนินงาน อย่ า งเป็ น ระบบครบวงจรทั้ ง การรั ก ษาหลั ก และวิ นิ จ ฉั ย ร่ ว ม
มีห้องปฏิบัติการต่างๆ ที่ส�ำคัญต่อการช่วยชีวิตผู้ป่วย เช่น ส่วน บริ ก ารของห้ อ งฉุ ก เฉิ น และอุ บั ติ เ หตุ , ห้ อ งสั ง เกตอาการ, ห้ อ ง ตรวจผู้ป่วยที่ต้องติดตามการรักษา, ห้องผ่าตัด 6 ห้อง แยกเป็น ห้องผ่าตัดระบบ HYBRID ที่มีอุปกรณ์การผ่าตัดแบบครบวงจร และห้ อ งผ่ า ตั ด ศั ก ยภาพสู ง , หออภิ บ าลผู ้ ป ่ ว ยหนั ก และลาน จอดเฮลิคอปเตอร์ ส�ำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางอากาศ
ต่ อจากนั้ น เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ นไปยัง อาคาร เฉลิมพระบารมี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ พระราช ทานพระราชวโรกาสให้ ศาสตราจารย์ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา อุปนายกสภามหาวิทยาลัย เฝ้าทูลละออง พระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายปริญญาแพทย ศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เฉลิมพระเกียรติที่ทรง ปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์ และสาธารณสุข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนคนไทยให้ดีขึ้น โดยเฉพาะในพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ มี พ ระ ราชด�ำริให้จัดตั้ง “ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภาคใต้” ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เพื่อเป็นศูนย์กลาง การดูแลรักษา ฟื้นฟูผู้ป่วยทั่วไป หรือผู้พิการจากปัญหา ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และอุบัติเหตุ มีศูนย์ สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติเป็นแม่ข่าย
จากนั้ น ทรงเปิ ด หอประวั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สร้างขึ้นภายใต้แนวคิด “ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่ หนึ่ ง ” เพื่ อ เทิ ด พระเกี ยรติ สมเด็จพระมหิต ลาธิเบศร อดุ ลยเดช วิ ก รม พระบรมราชชนก, พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ พระบรมวงศานุ ว งศ์ ตลอดจนเพื่ อ เฉลิ ม ฉลองเนื่ อ งในโอกาส ครบรอบ 40 ปี ก ารก่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฯ ภายในมี ก ารจั ด แสดง นิ ท รรศการ 3 โซน ได้ แ ก่ โซนพระราชประวั ติ ข องสมเด็ จ พระ มหิ ตลาธิเบศร อดุล ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก จัดแสดงพระ ราชประวัติและพระราชกรณียกิจที่ก่อประโยชน์ต่อวงการแพทย์ ของประเทศไทย ในฐานะพระบิ ด าแห่ ง การแพทย์ แ ผนปั จ จุ บั น และการสาธารณสุขของไทย, โซนใต้ร่มพระบารมี จัดแสดงพระ มหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรม วงศานุ ว งศ์ ที่ ท รงมี ต ่ อ มหาวิ ท ยาลั ย ฯ รวมถึ ง การสื บ สานพระ ราชปณิ ธ าน และการสนองพระราชด� ำ ริ เช่ น การผลิ ต น�้ ำ มั น ไบโอดีเซล และโซนประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
17
ลงนามร่วมมือ
ม.อ.ลงนามร่วมเอกชนใช้สิทธิงานวิจัย
น�้ำยาพ่นเคลือบผิวกันน�้ำ - น�้ำยาง
นย์ ท รัพ ย์สินทางปัญ ญา อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด พิ ธี ล งนาม อนุ ญ าตให้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ นอนุ สิ ท ธิ บั ต รน�้ ำ ยาพ่ น เคลื อ บผิ ว กันน�้ำและไม่ท�ำให้น�้ำยางติดจอกยาง
ศู
ศู น ย์ ท รั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ จั ด ให้ มี พิ ธี ล งนามอนุ ญ าตให้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ นอนุ สิ ท ธิ บั ต ร ระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 ณ ศูนย์ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ โ ดย รองศาสตราจารย์
18
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัย และบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ตั น รั ต นกุ ล รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและจัดการทรัพย์สิน และ บริษัท วอนนาเทค จ�ำกัด โดย นายทวีรัตน์ รังสฤษฎ์วีระโชติ กรรมการผู้จัดการ โดย บริษัท วอนนาเทค จ� ำ กั ด ที่ มี ค วามสนใจขออนุ ญ าต ใช้ สิ ท ธิ ใ นอนุ สิ ท ธิ บั ต รของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ จ� ำ นวน 2 เรื่ อ ง ประกอบด้ ว ย น�้ ำ ยา พ่ น เคลื อ บผิ ว ที่ มี ส มบั ติ ไ ม่ ช อบน�้ ำ อย่ า งยิ่ ง ยวด และกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต และน�้ ำ ยาพ่ น เคลื อ บ ผิ ว ที่ มี ส มบั ติ ไ ม่ ช อบน�้ ำ ยางอย่ า งยิ่ ง ยวด และ กรรมวิธีการผลิต ซึ่งเป็นผลงานของ ดร.ฉลองรัฐ แดงงาม และคณะวิ จั ย คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยอนุ สิ ท ธิ บั ต ร ทั้ง 2 เรื่องดังกล่าว มีรายละเอียดดังนี้ 1. น�้ ำ ยาพ่ น เคลื อ บผิ ว ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ไม่ชอบน�้ำอย่างยิ่งยวดและกรรมวิธีการผลิต ที่ผ่านมาหลายคนคงมีประสบการณ์ “กลิ่น” ไม่พึง ประสงค์ในห้องน�้ำและคราบเหลืองบนผิวสุขภัณฑ์ จึงมีงานวิจัยที่อาศัยความรู้ด้านนาโนเทคโนโลยี ผนวกกับกฏทางฟิสิกส์ โดย ดร. ฉลองรัฐ แดงงาม ร่ ว มด้ ว ย รศ.ดร.นั น ทกาญจน์ มุ ร ศิ ต ร่ว มกัน
ง่ายดายโดยไม่ต้องพึ่งพาไม้ปาดยาง ด้วยประสิทธิภาพดีเด่น ของน�้ำยาเคลือบผิวท�ำให้ บริษัท วอนนาเทค จ�ำกัด ขออนุญาต ใช้สิทธิจากทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำอนุสิทธิบัตร การเตรียมและกรรมวิธีการผลิตน�้ำยาเคลือบผิวดังกล่าว เพื่อ ท�ำเป็นผลิตภัณฑ์สองประเภท ภายใต้ชื่อทางการค้าว่า “ฟาส ซี่ (Fazzy)” ส� ำ หรั บ เคลื อ บผิ ว จอกยาง และ “แล็ ก ซ์ (Lax)” ส�ำหรับเคลือบผิวภาชนะที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการแปรรูปน�้ำ ยางพารา เช่น ถังบรรจุน�้ำยาง รางหรือท่อที่ต้องการให้น�้ำยาง ไหลผ่าน โดยมีขั้นตอนการใช้งานที่ง่าย เช่น การพ่นเคลือบ การจุ่มเคลือบ ทั้งนี้ อยู่ระหว่างพัฒนาการยึดติดของชั้นเคลือบ พัฒนา น�้ำยาเคลือบผิววัสดุนานาชนิดในสูตรเดียวและใช้งาน ให้ น านยิ่ ง ขึ้ น จาก 3-4 สั ป ดาห์ เ ป็ น 2-3 เดื อ น เพื่ อ ลดภาระ ได้ในขั้นตอนเดียว ซึ่ง บริษัท วอนนาเทค จ�ำกัด (WONNAT- ผู ้ ป ระกอบการด้ า นเกษตรสวนยางพาราให้ น ้ อ ยที่ สุ ด เท่ า ที่ ECH CO.,LTD) ได้ขออนุญาตใช้สิทธิจากทางมหาวิทยาลัย จะน้อยได้นั่นเอง สงขลานคริ น ทร์ น� ำ อนุ สิ ท ธิ บั ต ร การเตรี ย มและกรรมวิ ธี ก าร ข่าวจาก : ประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ ผลิ ต น�้ ำ ยาเคลื อ บผิ ว ดั ง กล่ า ว ไปท� ำ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละใช้ ชื่ อ ทางการค้ า ว่ า “สตริ ง เกอร์ (Strinker)” โดยสตริ ง เกอร์ มี คุณสมบัติดีเด่นสามารถท�ำให้น�้ำรวมตัวเป็นหยดและท�ำมุม มากกว่า 150-160 องศากับผิววัสดุที่ถูกเคลือบ หยดน�้ำจะกลิ้ง ลงไปอย่างง่ายดายพร้อมทั้งน�ำฝุ่นหรือสิ่งสกปรกติดออกไปด้วย นั่นคือมีกลไกท�ำความสะอาดตัวเอง (Self-cleaning surface) 2. น�้ำยาพ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน�้ำยางอย่าง ยิ่งยวดและกรรมวิธีการผลิต ดร.ฉลองรัฐ แดงงาม ได้คิดค้น วิจัยสารเคลือบที่น�ำมาใช้กับจอกยาง แล้วท�ำให้น�้ำยางไม่ติดผิว ทั้งยังสามารถเทออกจากจอกยางไหลลงภาชนะอื่นๆ ได้อย่าง ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
19
บุคคล
“พัชรา ยิ่งด�ำนุ่น”
ผู้สื่อข่าวสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ได้รับคัดเลือก เป็นผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นในรอบปีของ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจ�ำปี 2557 ในกลุ่มสื่อสารมวลชน
นย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ประกาศผลการ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กผู ้ ที่ มี ผ ลการปฏิ บั ติ ง านดี เ ด่ น ในรอบปี ข องจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ประจ� ำ ปี 2557 ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น 14 กลุ ่ ม ครอบคลุ ม ในหลากหลาย ด้ า น โดยคั ด เลื อ กจากผู ้ ที่ มี ผ ลการปฏิ บั ติ ง านดี เ ด่ น ในรอบปี ข อง 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ คือ สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ซึ่ง “นางสาวพัชรา ยิ่งด�ำนุ่น” ผู้สื่อข่าวและนักจัดรายการของสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี FM 107.25 MHz ได้รับคัดเลือกเป็นผู้ท่ีมีผล การปฏิ บั ติ ง านดี เ ด่ น ในรอบปี ข องจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ประจ� ำ ปี 2557 ในกลุ่มสื่อสารมวลชน
ศู
นางสาวพัชรา กล่าวว่า รู้สึกยินดีและภูมิใจอย่างยิ่ง การท�ำข่าวบวกกับการเป็นนักจัดรายการวิทยุ ท�ำให้ ที่ได้รับการพิจารณาและคัดเลือก เป็นผลมาจากการท�ำงานที่ การจั ด รายการมี ป ระเด็ น มี ล� ำ ดั บ มี แ ง่ มุ ม และ ผ่านมาทั้งการท�ำข่าวและจัดรายการวิทยุมากว่า 10 ปี รวมทั้ง สามารถเชื่ อ มโยงเรื่ อ งราวต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ” ยั ง ได้ รั บ โอกาสจากมหาวิ ท ยาลั ย และหน่ ว ยงานภายนอก ผู้สื่อข่าวสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานีกล่าวและว่า ให้ท�ำหน้าที่เป็นพิธีกรและด�ำเนินรายการเสวนา รู้สึกตนเอง ได้ รั บ โอกาสที่ ดี ได้ เ รี ย นรู ้ และพั ฒ นาตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขอบคุ ณ ผู ้ ฟ ั ง ทุ ก คนที่ ค อยแนะน� ำ ให้ ก� ำ ลั ง ใจ และ เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ สื่ อ ข่ า วและนั ก จั ด รายการวิ ท ยุ ใ ห้ ดี ที่ สุ ด ติดตามฟัง ขอบคุณแหล่งข่าวทุกท่านที่เอื้อเฟื้อทุกครั้งด้วย ความยิ น ดี ใ นการติ ด ต่ อ ขอสั ม ภาษณ์ และขอบคุ ณ อาจารย์ “ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่าน ทีมงาน 3 ท่าน คือ ผศ.ดร.วลั ก ษณ์ ก มล จ่ า งกมล ผศ.ดร.กุ สุ ม า สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานีทุกคน และหัวหน้าสถานีวิทยุ กูใหญ่ และดร.ชาลิสา มากแผ่นทอง ที่ได้ช่วยวางรากฐาน ม.อ.ปั ต ตานี ที่ มี ส ่ ว นช่ ว ยสนั บ สนุ น ในการท� ำ งาน ส�ำคัญในการท�ำงานข่าวและการจัดรายการวิทยุ ท�ำให้ตนเอง และคอยแนะน�ำการท�ำงานมาโดยตลอด งานข่าว ได้รับความรู้ ประสบการณ์ และแรงบันดาลใจ แม้ไม่ได้เรียน เป็นงานที่ไม่เลยหลับ และหยุดนิ่ง แม้จะหมดเวลา มาด้ า นนี้ โ ดยตรง แต่ ยั ง คงมุ ่ ง มั่ น ท� ำ งานต่ อ ไปด้ ว ยความ ท�ำงานไปแล้ว แต่ยังคงต้องติดตาม สังเกต ตรวจสอบ เชื่อมั่นในพลังแห่งการสื่อสารที่จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง และเฝ้าระวัง คอยแจ้งเตือน และคัดสรรสิ่งที่ดีที่สุด และช่ ว ยพั ฒ นาสั ง คมให้ ดี ขึ้ น และด้ ว ยความศรั ท ธาเชื่ อ มั่ น ให้แก่ผู้ฟังรายการเสมอ รู้สึกตัวเองโชคดีที่มีพื้นฐาน ในสิ่งที่ดีงาม เป็นแนวทางที่ตนเองยึดถือมาเสมอ
20
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
“ทุ ก วั น ของการท� ำ งานคื อ การเติ ม ความสุ ข ให้ตัวเอง และมีความสุขมากขึ้น เมื่อได้แบ่งปันสิ่ง เหล่านั้นแก่ผู้อื่น ทั้งความสุข ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร ความหวังก�ำลังใจ ความห่วงใย และการแจ้งเตือนภัย ให้แก่พี่น้องประชาชน และผู้ฟังรายการ เชื่อมั่นว่า สิ่งดีๆ จะเกิดขึ้นถ้าทุกคนมีความรัก ความสามัคคี และช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สันติภาพและสันติสุข จะ เกิดขึ้นได้อย่างแน่นอน”นางสาวพัชรากล่าวในที่สุด
ส� ำ หรั บ นางสาวพั ช รา ยิ่ ง ด� ำ นุ ่ น นั้ น จบการศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี วิ ช าเอกภาษาอั ง กฤษ คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปี พ.ศ. 2542 เริ่ ม สนใจงานข่ า ววิ ท ยุ ม าตั้ ง แต่ เ ป็ น สมั ย เป็ น นั ก ศึ ก ษา และ เข้ามาท�ำงานในต�ำแหน่งผู้สื่อข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง ม.อ.ปัตตานีมาตั้งแต่ปี 2542 โดยได้รับค�ำแนะน�ำในการท�ำ ข่ า วท้ อ งถิ่ น และการผลิ ต รายการวิ ท ยุ จ าก ผศ.ดร.ชาลิ ส า มากแผ่นทอง อดีตหัวหน้าสถานีวิทยุกระจายเสียง ม.อ.ปัตตานี ผศ.ดร.กุ สุ ม า กู ใ หญ่ อดี ต หั ว หน้ า ฝ่ า ยรายการ สถานี วิ ท ยุ ม.อ.ปัตตานี และผศ.ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล อดีตหัวหน้า ฝ่ายข่าวสถานีวิทยุกระจายเสียง ม.อ.ปัตตานีในสมัยนั้น นอกจากจะเป็นผู้สื่อข่าวและนักจัดรายการของสถานี วิ ท ยุ ม.อ.ปั ต ตานี ที่ เ กาะติ ด ความเคลื่ อ นไหว และเหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด ปั ต ตานี แ ล้ ว นางสาวพัชรา ยิ่งด�ำนุ่น ยังมีบทบาทท�ำงานร่วม กับเครือข่ายวิทยุชุมชนจังหวัดปัตตานี เคยเป็น นั ก จั ด รายการร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น จั ง หวั ด ปั ต ตานี เมื่ อ ปี 2545 -2547 เพื่ อ เป็ น สื่ อ กลางในการ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เป็น ผู้ที่ได้รับเชิญให้ท�ำหน้าที่เป็นพิธีกร และผู้ด�ำเนิน รายการประชุม เสวนา สัมมนา และกิจกรรมต่างๆ มากมายทั้งของภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเนื่อง นางสาวพัชรา ยังเคยได้รับเชิญจาก VOA ภาษาไทย ไปร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การ
ท� ำ งานและเดิ น ทางไปปฏิ บั ติ ง าน ณ สถานี วิ ท ยุ ว อยช์ ออฟ อเมริกา หรือ VOA ภาคภาษาไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศ สหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ.2549 ระยะเวลา 6 เดือน เคยเดินทาง ไปร่ ว มประชุ ม สั ม มนาเกี่ ย วกั บ วิ ท ยุ ชุ ม ชน (AMARC10) กั บ เครือข่ายวิทยุชุมชน ณ ประเทศอาเจนติน่า เมื่อปี พ.ศ. 2553 เป็นเวลา 1 เดือน ซึ่งท�ำให้ได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย ทั้งระดับประเทศและระดับโลกมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา เนื้อหารายการข่าวของสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานีได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันนางสาวพัชราจัดรายการร่วมแรง ร่วมใจชายแดนใต้ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 15.3517.00 น.ร่ ว มกั บ นางสาวเสาวณี ย ์ ดาโอะ เป็ น รายการที่ น� ำ เสนอข่ า วในท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยประเด็ น ที่ ประชาชนก�ำลังให้ความสนใจ และยังจัดรายการเปิด โลกวิจัยสู่ชุมชน ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.10-14.00 น. ที่ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากสถานวิ จัยความขั ด แย้ง และความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมภาคใต้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รายงานข่ า วต้ น ชั่วโมงในเวลา 09.00 น.และ 14.00 น. นอกจากนี้ ยังเป็นนักจัดรายการร่วมในรายการเครือข่ายสาย ตรงวิทยุสถาบัน ทุกวันจันทร์ เวลา 12.00-13.00 น. รายการดังกล่าวเป็นรายการที่ผลิตร่วมกันของ เครื อ ข่ า ยวิ ท ยุ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั่ ว ประเทศ และ ถ่ายออกอากาศพร้อมกัน 10 กว่าสถานี ทั้งนี้กลุ่มสื่อสารมวลชนของจังหวัดปัตตานี ในกลุ่มนี้มี ผู้ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นในรอบ ปีของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจ�ำปี 2557 อีก 2 จังหวัด คือ ยะลา ได้แก่ นายยุ ท ธนา ปลื้ ม ส� ำ ราญ นักจัดรายการและ ผู้บริหารสถานีวิทยุ FM 97.5 MHz และสตูล ได้แก่ นางสาว สุ กั ล ยา พรเจริ ญ ประธานชมรมนั ก ประชาสั ม พั น ธ์ จั ง หวั ด สตูล
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
21
รางวัลแห่งคุณภาพ
ศูนย์ประชุมนานาชาติ ม.อ. รับ มอก.22300
สร้างความเชื่อมั่นความปลอดภัย ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้างความเชื่อมั่นให้ผู้ประกอบ การด้ า น “MICE” หรื อ กลุ่ม ธุรกิจการจัด ประชุม (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive) ธุรกิจการจัดประชุม นานาชาติ (Convention) และธุรกิจการจัดแสดงงานสินค้า/ นิทรรศการ (Exhibition) โดยได้รับมาตรฐานระบบการจัดการ ด้ า นการรั ก ษาความปลอดภั ย มอก. 22300 ซึ่ ง ถื อ เป็ น การ รับประกันคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล ในระบบรักษา ความปลอดภั ย ให้ ผู ้ ที่ เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก าร ช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด สามารถ แข่งขันของศูนย์ประชุมกับนานาชาติ โดยเป็นผู้ประกอบการ MICE รายที่ 5 ที่ได้รับมอก. 22300 ต่อจาก ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค ศูนย์การ แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี และศูนย์ ประชุ ม และแสดงสิ น ค้ า พี ช เมื อ งพั ท ยา ซึ่ ง ได้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานดังกล่าวแล้ว รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารและปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งพื้ น ฐานของ ศู น ย์ ป ระชุ ม ฯ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการตั ด สิ น ใจเข้ า รั บ การ รับรองมาตรฐาน มอก. 22300 ครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจาก
22
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ในส่ ว นของศู น ย์ ประชุ ม และมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น อย่ า ง ดี โดยประโยชน์ ที่ จ ะได้ รั บ คื อ การ มี ร ะบบการรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ งการด้ า นความปลอดภั ย ของ ลู ก ค้ า และเป็ น การยกระดั บ อ� ำ เภอหาดใหญ่ ใ ห้ เ ป็ น เมื อ งที่ มี ศู น ย์ ป ระชุ ม ระดับมาตรฐานในภาคใต้ ซึ่งต้องรักษามาตรฐานนี้ไว้อย่างต่อเนื่อง โดยจะ พัฒนาต่อไปสู่การขอ ISO 20121 ที่เป็นเรื่องของการดูแลสังคม ค�ำนึงถึงความ ยั่งยืนของ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ด้านนายศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ ในฐานะผู้บริหารศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี หาดใหญ่ กล่าวว่า ตลอด 6 ปีที่บริหารศูนย์ประชุม นานาชาติฯ หาดใหญ่ มีผลการด�ำเนินงานเติบโตต่อเนื่อง แม้มีสถานการณ์ ไม่ ป กติ เ กิ ด บ่ อ ยครั้ ง ปี นี้ ค าดว่ า ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฯ หาดใหญ่ จะมี ผ ล ประกอบการใกล้ เ คี ย งปี ที่ ผ ่ า นมาที่ 50 ล้ า นบาท ซึ่ ง เป็ น ความภาคภู มิ ใ จที่ ได้ มี ส ่ ว นในการผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ ท้ อ งถิ่ น ให้ มี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยกลุ ่ ม ที่ ม า ใช้ บ ริ ก ารไม่ ไ ด้ มี แ ต่ เ พี ย งนั ก ท่ อ งเที่ ย ว แต่ ร วมถึ ง กลุ ่ ม นั ก ธุ ร กิ จ นั ก การเงิ น ซึ่ ง จะได้ ม าดู ลู ่ ท างการท� ำ ธุ ร กิ จ ในพื้ น ที่ ด ้ ว ย มาตรฐาน มอก. 22300 เป็ น มาตรฐานสากลที่ ทั่ ว โลกยอมรั บ เป็ น แบรนด์ ที่ จ ะช่ ว ยสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ ศูนย์ประชุม จะสร้างความมั่นใจให้ผู้ใช้บริการให้เป็นตัวเลือกอันดับแรก โดย ต่อไปจะได้ผลักดันให้มีการพัฒนาทั้งการบริการ บุคลากร สถานที่ ให้หาดใหญ่ เป็น MICE City เพื่อรองรับการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2557 ได้มีการแถลงข่าวผลส�ำเร็จของการ ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน มอก. 22300 โดย นายศั ก ดิ์ ชั ย ภั ท รปรี ช ากุ ล กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท เอ็ น .ซี . ซี . แมนเนจเม้ น ท์ แอนด์ ดิ เ วลลอปเม้ น ท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คุณอรชร ว่องพรรณงาม ผู้จัดการอาวุโสส่วนงานบริการ ฝ่ายพัฒนาศักยภาพ อุตสาหกรรมไมซ์ หรือ TCEB และ คุณจงรักษ์ โรจน์พลาเสถียร รองผู้อ�ำนวย การสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.)
เพื่อสังคม/ชุมชน
หลายฝ่ายในสงขลา
พร้อมรับมือหน้าฝนภาคใต้ ากประสบการณ์ก ารเกิด อุท กภัย ครั้งใหญ่ ในภาคใต้ โดย เฉพาะในอ� ำ เภอหาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น เมื อ งเศรษฐกิ จ หลั ก ของ ภาค ในปี 2531 2543 และครั้ ง ล่ า สุ ด ในปี 2553 ท� ำ ให้ ห ลายฝ่ า ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในจั ง หวั ด สงขลาต้ อ งมี ก ารเตรี ย มพร้ อ มเพื่ อ รั บ มื อ กับสถานการณ์น�้ำท่วมทุกครั้งที่เข้าหน้าฝนของภาคใต้ ในระหว่าง เดือนตุลาคม – ธันวาคม
ล่ า สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 6 ตุ ล าคม 2557 ส� ำ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นา และ ศู น ย์ วิ จั ย พิ บั ติ ภั ย ทางธรรมชาติ ภ าคใต้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ กองทุ น สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดเสวนา “หาดใหญ่เข้มแข็งสู้ภัยน�้ำท่วม” ครั้ง 6 ที่ โรงแรมหรรษาเจบีหาดใหญ่ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดความพร้อมของทุก ภาคส่วนในการรับมือกับสถานการณ์น�้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้น ตามแผนปฏิบัติการ Hat Yai Model ที่ทุกหน่วยงานและเครือข่ายได้ร่วมกันพัฒนาระบบการเตือนภัย แผนการช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาว การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ วิ จั ย ภั ย พิ บั ติ ท าง ธรรมชาติภาคใต้ การสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อช่วยบรรเทาภัยน�้ำท่วม ซึ่งแต่ละกิจกรรม ได้ ด� ำ เนิ น การต่ อ เนื่ อ งมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่ อ หวั ง ขยายผลสู ่ Songkhla Model ที่มาจากความร่วมมือร่วมใจของภาคประชาชนหน่วยงานทั้งจากภาครัฐ และ เอกชนของจังหวัดสงขลา การเสวนาครั้งนี้ได้มีการน�ำเสนอความคืบหน้าของหลายแผนการ ที่เป็น การเตรียมพร้อม เช่น การรับมือเมื่อระบบสาธารณูปโภคและหน่วยงานที่ให้บริการ โครงสร้างพื้นฐานได้รับผลกระทบ โดยการก�ำหนดหน่วยงานที่จะช่วยเอื้อทรัพยากร ระหว่างกัน มีการวิจัยเก็บข้อมูล ประเมินสภาพน�้ำในพื้นที่ลุ่มน�้ำในจังหวัดสงขลา เพิ่มเติม เช่น ลุ่มน�้ำคลองนาทวี ลุ่มน�้ำคลองภูมี รวมไปถึงลุ่มน�้ำคลองม�ำบัง จังหวัด สตู ล ซึ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงจากการใช้ พื้ น ที่ แ ละสภาพล� ำ คลอง เพื่ อ จั ด ระบบ การวั ด ระดั บ ความเร็ ว การไหลของน�้ ำ เพื่ อ วิ เ คราะห์ โดยใช้ ร ะบบเดี ย วกั น กั บ Hat Yai Model ส�ำหรับระบบการเตือนภัยและช่วยเหลือยังคงใช้การแสดงสีธง เขียว เหลือง แดง การแจ้งเตือนผ่านเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายเฝ้าระวัง การก�ำหนดจุด อพยพ จุดจอดรถ โดยในปีนี้ได้มีการให้ความส�ำคัญกับการช่วยเหลือนักท่องเที่ยว
ที่อาจอยู่ในพื้นที่ขณะเกิดอุทกภัย เพื่อให้ความมั่นใจ เนื่ อ งจากเศรษฐกิ จ ของอ� ำเภอหาดใหญ่ ส ่ ว นใหญ่ มาจากการลงทุนด้านการท่องเที่ยว โดยในวันที่ 7 ตุ ล าคม จะมี ก ารจั ด เวที พั ฒ นาศั ก ยภาพเครื อ ข่ า ย โรงแรม เพื่อรับมืออุทกภัย ที่โรงแรมบุรีศรีภู หาดใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้เมื่อปลายเดือนกันยายน จะเกิดฝนตกหนักท�ำให้เกิดน�้ำท่วมขังในเขตเทศบาล นครหาดใหญ่ แต่เป็นการเกิดในบางพื้นที่และระยะ เวลาไม่นาน และลักษณะอากาศยังเป็นลมตะวันตก เฉียงใต้จึงยังไม่ใช่ช่วงเวลาที่จะเกิดน�้ำท่วมในระยะนี้ การเกิ ด น�้ ำ ท่ ว มใหญ่ จ ะเกิ ด เมื่ อ มี ล มตะวั น ออก เฉียงเหนือซึ่งจะน�ำฝนหนักจากอ่าวไทยมายังภาคใต้ โดยตรงซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประมาณเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
23
รอบรั้วศรีตรัง
รัฐเห็นชอบอนุมัติให้สร้าง
อาคารส�ำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานีหลังใหม่
วงเงินกว่า 250 ล้านบาท
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เตรียมก่อสร้าง อาคารส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี ห ลั ง ใหม่ ข นาด 7 ชั้ น เพื่ อ รองรั บ การบริการนักศึกษาแบบรวมศูนย์แ ทนอาคารหลังเดิมที่มีอายุกว่า 45 ปี ในวงเงิ น ก่ อ สร้ า งกว่ า 250 ล้ า นบาท โดยรั ฐ ให้ ง บประมาณ 240 ล้ า น วิทยาเขตสมทบกว่า 12 ล้านบาท คาดเริ่มด�ำเนินการได้ ในเดือนตุลาคม 2557
ม
ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ น พพร เหรียญทอง รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนาระบบ วิทยาเขตปัตตานี แจ้งว่า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปัตตานี ได้รับอนุมัติงบประมาณแผ่นดิน ประจ� ำ ปี 2558 ในการก่ อ สร้ า งอาคาร ที่ ท� ำ การบริ ห ารส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิทยาเขตปัตตานี ในวงเงิน 252.88 ล้านบาท โดยเป็ น เงิ น จากภาษี ป ระชาชนจ� ำ นวน 240.236 ล้านบาท และวิทยาเขตปัตตานี ต้ อ งสมทบอี ก 12.644 ล้ า นบาท การ ออกแบบอาคารเป็นรูปทรงสถาปัตยกรรม ภาคใต้ ในลักษณะทรงเรือกอและ ขนาด 7 ชั้ น ซึ่ ง อาคารหลั ง นี้ จะประกอบด้ ว ย
24
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
หน่วยงานในกองธุรการ กองบริการการศึกษา กองแผนงาน บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย งานประกั น คุ ณ ภาพ ห้ อ งรองอธิ ก ารบดี ห้องผู้ช่วยอธิการบดี ห้องละหมาดหญิง ชาย รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบ วิทยาเขต ปัตตานี ชี้แจงเหตุผลความจ�ำเป็นที่จะต้องมีอาคารส�ำนักงาน อธิการบดีหลังใหม่ว่า สืบเนื่องจากอาคารส�ำนักงานอธิการบดี หลังปัจจุบันมีอายุการใช้งานมากว่า 45 ปี เดิมสามารถรองรับ การให้บริการนักศึกษาหลักพันคน แต่ปัจจุบันวิทยาเขตปัตตานี มี นั ก ศึ ก ษาไทยประมาณหนึ่ ง หมื่ น คน และนั ก ศึ ก ษาจาก ต่ า งประเทศกว่ า 20 ประเทศที่ มาเรี ยนในวิ ท ยาเขตปัต ตานี จ� ำ นวนกว่ า ร้ อ ยคน ปั จ จุ บั น การให้ บ ริ ก ารนั ก ศึ ก ษา จึ ง ต้ อ ง กระจายไปตามอาคารต่ า งๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง งานด้ า น ทะเบี ย นนั ก ศึ ก ษา แม้ จ ะย้ า ยไปให้ บ ริ ก ารที่ อ าคาร 2 แล้ ว ปั จ จุ บั น ก็ คั บ แคบ ดั ง นั้ น เมื่ อ มี อ าคารบริ ห ารหลั ง ใหม่ ก็ จ ะ
สามารถให้บริการแบบรวมศูนย์แบบครบวงจร นอกจากนี้เพื่อให้มีพื้นที่ที่สามารถรองรับ การประชุมต่าง ๆ ที่มีองค์ประชุมจาก 5 วิทยาเขต เช่น การประชุมคณบดี การประชุมคณะ กรรมการบริหารบุคคลฯ เป็นต้น และเพื่อให้มีสถานที่ที่เหมาะสมในการรับรองแขกของ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี จ�ำนวนมากขึ้น ทั้งที่ม าจากนานาชาติ รวมถึ ง ผู ้ บริ ห ารภายในประเทศ
ขยายเวลา คาดว่ า การก่ อ สร้ า งจะแล้ ว เสร็ จ ประมาณเดือนพฤษภาคม 2559 ส� ำ หรั บ อาคารส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี ห ลั ง เดิมซึ่งเป็นอาคารและพื้นที่ที่วิทยาเขตปัตตานี อนุรักษ์ไว้ ยังคงใช้งานในบางส่วนเช่นเดิม และ บางส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย จะมี ก ารปรั บ ใช้ ง านอื่ น เช่น เป็นอาคารหอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เพื่ อ แสดงประวั ติ ความเป็ น มา และเกี ย รติ ภู มิ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ต่อไป
แหล่งข่าวแจ้งว่าการออกแบบสถาปัตยกรรมของอาคาร ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ออกแบบให้ สื่ อ ถึ ง เอกลักษณ์ของพื้นที่โดยใช้ “เรือกอและ” เป็นแนวคิดในการ ออกแบบรูปลักษณ์ของอาคารและเน้นอาคารให้มีการประหยัด พลังงาน ออกแบบให้มีแผงกันแดด มีการวางอาคารให้ตรง ทิศทางแสงแดด เน้นให้แสงธรรมชาติเข้าสู่อาคาร โดยมีพ้ืนที่ ใช้สอย 11,329 ตารางเมตร ส่วนพื้นที่จอดรถไม่ถูกก�ำหนดไว้ ในรูปแบบเนื่องจากพื้นที่และงบประมาณจ�ำกัด โดยจะปรับ พื้นที่บริเวณสนามเด็กเล่นด้านทิศตะวันตกให้เป็นพื้นที่จอดรถ ต่อไป ซึ่งคาดว่าจะสามารถด�ำเนินการประกวดราคาได้ในเดือน ตุลาคม 2557 และหากทุกอย่างเป็นไปตามแผน และไม่มีการ
อาคารส�ำนักงานอธิการบดีหลังปัจจุบัน
ข่าวโดย งานประชาสัมพันธ์ ม.อ.วิทยาเขตปัตตานี ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
25
เพื่อชุมชนและสังคม
สถานีวิทยุกระจายเสียง ม.อ.ปัตตานี ได้รับคัดเลือก
เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนงานด้านพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่นจังหวัดปัตตานี
เมื่อวันที่ 28 สิงหาคมที่ผ่านมา ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปัตตานีได้จัดงานรวมพลังอาสา สมั ค รพั ฒ นาสั ง คม “เครื อ ข่ า ยคนท� ำ ดี ” ณ โรงแรมปาร์ ค วิ ว รีสอร์ท ปัตตานี อ.เมือง จ.ปัตตานี โดยมีนายนฤพล แหละตี รอง ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี เป็นประธาน พร้อมด้วยผู้มีเกียรติ ผู้แทนหน่วยงานราชการ ความมั่นคง องค์กรสาธารณประโยชน์ และเครือข่ายอาสาพัฒนาสังคมจังหวัดปัตตานีร่วมงาน 3,000 คน
26
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
การจัดงานดังกล่าว ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดปัตตานีได้มอบโล่ประกาศเกียรติคุณ ให้แก่สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี FM 107.25 MHz ในฐานะผู้สนับสนุนงาน ของกระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ดี เ ด่ น ซึ่ ง ผศ.ภี ร กาญจน์ ไค่ นุ ่ น นา หั ว หน้ า สถานี วิ ท ยุ กระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขึ้ น รั บ โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ จากนางเอมอร พานิ ช พงศ์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดปัตตานี นายธานิ น ทร์ สมบู ร ณ์ ส าร พัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดปัตตานี กล่าวว่า การจัดงานในครั้งนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ สั ง คมตระหนั ก ถึ ง บทบาทและความ ส�ำคัญของการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครที่มีส่วนร่วมพัฒนา สังคมทุกเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ตลอดจนเป็นการ สร้างเครือข่ายในการปฏิบัติงานระดับพื้นที่ที่จะเป็นพลังส�ำคัญ ในการพั ฒ นาสั ง คมให้ เ กิ ด สั น ติ สุ ข และมี ค วามสมานฉั น ท์ ปรองดอง ผศ.ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา หัวหน้าสถานีวิทยุกระจาย เสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า สิ่งที่ท�ำให้สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ ในครั้ ง นี้ เ ป็ น ผลมาจากการที่ ส ถานี ฯ ได้ ยึ ด ถื อ และน้ อ มน� ำ พระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนกที่ว่า “ถือประโยชน์ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” มาเป็ น แนวทางในการท� ำ งาน และมุ่งมั่นสู่การเป็นต้นแบบของสื่อสาธารณะเพื่อประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง “สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานีเป็นองค์กรสื่อมวลชนท้องถิ่น ที่ มุ่งหวังจะมีส่วนช่วยและสนับสนุนสังคมท้องถิ่นให้เกิดความ เข้มแข็ง ดังจะเห็นได้จากวิสัยทัศน์ของสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ที่ ก� ำ หนดว่ า จะเป็ น สื่ อ สาธารณะเพื่ อ ประโยชน์ ข องเพื่ อ น มนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง โดยวิสัยทัศน์นี้ได้สะท้อนผ่านเนื้อหาของ รายการในสถานีวิทยุที่จะต้องผลิตรายการที่เป็นประโยชน์ต่อ สังคม และสร้างสรรค์ เช่น รายการข่าวท้องถิ่น ที่น�ำเสนอความ เคลื่ อ นไหวของสั ง คมท้ อ งถิ่ น ชายแดนภาคใต้ ปั ญ หาสั ง คม ที่เกิดขึ้นและร่วมหาทางแก้ไขปัญหา หรือมีการส่งต่อข้อมูลไป ยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายการเด็กและครอบครัว ที่สถานีวิทยุ ได้มีส่วนสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายวิทยุเพื่อเด็กและครอบครัว ภาคใต้” หัวหน้าสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี กล่าวว่า สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ยังมีการบริการวิชาการให้แก่ สั ง คมท้ อ งถิ่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น โครงการเยาวชนคนวิ ท ยุ โครงการติวเตอร์ออนแอร์ โครงการวิทยุเคลื่อนที่การสื่อสาร เรื่องดีๆ ที่ชุมชนลุกขึ้นมาปฎิรูป ที่มีการลงไปจัดเวทีในชุมชน แล้ ว ถ่ า ยทอดสดผ่ า นสถานี วิ ท ยุ ม.อ.ปั ต ตานี รวมถึ ง การ สนั บ สนุ น ให้ บุ ค ลากรของสถานีวิทยุ ม.อ.ปัต ตานีใช้ ความรู ้
ความสามารถของตนเองเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมของท้องถิ่น อย่างต่อเนื่อง “สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี ยังมีส่วนในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสังคม เช่น การติดตามปัญหา เด็กหาย ปัญหาเด็กติดเกมคอมพิวเตอร์ ปัญหาเด็กที่ได้รับผล กระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การติดตามตรวจสอบข่าวลือเกี่ยวกับรถตู้จับเด็กที่แพร่ระบาด ไปทั่ว 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จนสร้างความตื่นตระหนกแก่ ประชาชน ซึ่งพบว่าเป็นเพียงข่าวลือ และร่วมมือกับเครือข่าย ผู ้ ห ญิ ง ยุ ติ ค วามรุ น แรงแสวงสั น ติ ภ าพ 3 จั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ เพื่ อ รณรงค์ ก ารยุ ติ ค วามรุ น แรงในครอบครั ว การ เผยแพร่บทบาทของผู้หญิงในสถานการณ์ความไม่สงบโดยได้ ผลิตรายการเสียงวานิตาผู้หญิงชวนคุย ทุกวันจันทร์- อังคาร เวลา 15.35-16.00 น.” หัวหน้าสถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี กล่าว ในงานดั ง กล่ า ว ยั ง ผู ้ ไ ด้ รั บ โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ ผู ้ สนับสนุนงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ดีเด่นได้แก่ นางเอมอร พานิชพงศ์ นายกเหล่า กาชาดจังหวัดปัตตานี คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัด ปั ต ตานี นายลาเต๊ ะ มาหะมะ นายจิ ต ติ วั ฒ โย องค์ ก าร บริหารส่วนจังหวัดปัตตานี มูลนิธิบราห์มา กุมารี ราชาโยคะ ปั ต ตานี (องค์ ก รสาธารณประโยชน์ ) สภาเด็ ก และเยาวชน จังหวัดปัตตานี สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยประจ�ำ จั ง หวั ด ปั ต ตานี สภาคนพิ ก ารทุ ก ประเภทจั ง หวั ด ปั ต ตานี และคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัดปัตตานี
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
27
บุคคล
ผศ.จงพิศ ศิริรัตน์
“นักบริหารดีเด่น ปี 57” จากมูลนิธิเพื่อสังคมไทย
ช่วยศาสตราจารย์จงพิศ ศิริรัตน์ คณบดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ เข้ า รั บ รางวั ล โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ และ มอบเกี ย รติ บั ต ร “นั ก บริ ห ารดี เ ด่ น แห่ ง ปี ” ประจ� ำ ปี 2557 สาขาบริหารวิชาการ จาก ฯพณฯ นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ในโครงการหนึ่ ง ล้ า นกล้ า ความดีถวายในหลวง จัดโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการ “รางวั ล ไทย” ส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สั ง คมไทย และ นิ ต ยสารเส้ น ทางไทย ที่ มี ขึ้ น เพื่ อ ยกย่ อ งบุ ค คลและ องค์ ก รที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในหน้ า ที่ ก ารงาน และมี ส่ ว นร่ ว มหรื อ อุ ทิ ศ ตนเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นา สั ง คม และประเทศ ซึ่ ง สมควรเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี โดย พิ ธี ม อบรางวั ล มี ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 6 ตุ ล าคม 2557 ที่ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร
ผู้
28
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงพิศ ศิริรัตน์ เริ่มเข้ารับราชการที่ คณะวิทยาการจัดการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เป็นผู้มีส่วนส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนและพัฒนาคณะอย่างต่อเนื่องด้วยผลงานทางด้านการ บริหารมากว่า 10 ปี ตั้งแต่เลขานุการคณะ หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้า ภาควิชา ผู้อ�ำนวยการหลักสูตร คณบดี เป็นอาจารย์ผู้อุทิศตนเพื่อ ความก้าวหน้าทางด้านวิชาการ การเรียนการสอน มีผลงานวิจัย และงานพิ ม พ์ เ ผยแพร่ กว่ า 30 โครงงาน ในด้ า นธุ ร กิ จ ธุ ร กิ จ ขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ การจัดการ การบัญชี บริหารธุรกิจ การพัฒนากลุ่มจังหวัด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การท่องเที่ยว เศรษฐกิจและสังคม นอกจากนั้น ยังเป็นวิทยากร ผู้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ควบคู่กับการเพิ่มพูนเทคนิค และวิ ท ยาการต่ า งๆ ในสาขาการบริ ห ารและการจั ด การ ให้ แ ก่ นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัย บุคคลภายนอก และหน่วยงาน ต่ า งๆ อาทิ แ ละด้ า นวิ ช าการ เช่ น หลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต สาขาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) หลักสูตรการจัดการโรงแรมและ การท่องเที่ยว ภาควิชาบริหารธุรกิจ ศูนย์บริการธุรกิจภาคใต้ ภาค วิชาบริหารธุรกิจ เป็นต้น หลักในการท�ำงาน ของ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ จ งพิ ศ ศิริรัตน์ คือ “ค�ำนึงถึงประโยชน์ ขององค์ ก รเป็ น หลั ก ขณะ เดี ย วกั น ต้ อ งมี ค วามถู ก ต้ อ ง ยุ ติ ธ รรม และซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ต่อการท�ำงาน” โดยได้รับรางวัลที่ถือได้ ว่ า เป็ น เกี ย รติ ย ศและความ ภาคภูมิใจ คือ รางวัล “Education Leadership Award” ในงาน 4th ASIA’s Best BSchool Awards ปี2556 ที่ Pan Pacific Singapore จัดโดย World Education Congress และ CMO ASIA เกี ยรติ บัตร “ในฐานะ อาจารย์ที่เป็นที่รัก ชื่นชม และศรัทธา ของศิษย์เก่า คณะวิทยาการ จั ด การ” ใน วั น เชิ ด ชู ค รู ส งขลานคริ น ทร์ ปี 2555 เกี ย รติ บั ต ร “ในฐานะอาจารย์ที่เป็นที่รัก ชื่นชม และศรัทธา ของศิษย์เก่า คณะ วิทยาการจัดการ” ใน วันเชิดชูครูสงขลานครินทร์ ปี 2554 และ รางวัลนิสิตบัญชีจุฬาฯ ดีเด่น ครั้งที่ 13 (พ.ศ.2554-2555) ในงาน คืนสู่เหย้า “ย้อน 75 ปี พาณิชย์-บัญชี จุฬาฯ” เมื่อ มกราคม 2556
การศึกษา
เชื่ อ บั ณ ฑิ ต รุ ่ น ใหม่ ร วยได้ จ ากการเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ รายย่ อ ย การเรี ย นยุ ค ใหม่ ใ นทุ ก สาขาควรเพิ่ ม เรื่ อ งการ วางแผน การคิดหาธุรกิจใหม่ และการจัดการ รองรับตลาด ธุรกิจอาเซียนและพัฒนาสู่ระดับโลก
คณบดี วจก. เชื่อ ความรู้
“การเป็นผู้ประกอบการ” จ�ำเป็นส�ำหรับบัณฑิตรุ่นใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จงพิศ ศิริรัตน์ คณบดีคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า ในฐานะที่ได้มี ส่วนในการพัฒนาคณะวิทยาการจัดการ โดยเฉพาะด้านหลักสูตร บริหารธุรกิจ ซึ่งเป็นสาขาที่มีความจ�ำเป็นในการเข้าสู่การค้าแบบ ไร้พรมแดนเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน เชื่อว่าความรู้เรื่อง “การ เป็นผู้ประกอบการ” หรือ Entrepreneurship เป็นวิชาหนึ่งที่น่า สนใจและนักศึกษาทุกคนควรมี เนื่องจากในปัจจุบัน การประกอบ ธุ ร กิ จ ขนาดย่ อ มกลายเป็ น เป้ า หมายหนึ่ ง ในการประกอบอาชี พ ของบัณฑิต ที่ต้องการมีกิจการเป็นของตนเอง และสามารถท�ำ รายได้จ�ำนวนมากในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปีหลังจบการศึกษา และ บางคนท� ำ ควบคู ่ กั บ งานประจ� ำ อี ก ทั้ ง ก� ำ ลั ง เป็ น ที่ ต ้ อ งการของ ทั้งตลาดของอาเซียนและในระดับโลก โดยร้อยละ 90 ของธุรกิจ ในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการประกอบการธุรกิจขนาดย่อม
แนวใหม่ มี ค วามต่ า ง ไม่ ซ�้ ำ กั บ ที่ เ คยมี ก ารคิ ด มา ซึ่ ง การสอน ในชั้ น เรี ย นที่ มี ผู ้ เ รี ย นจ� ำ นวนมากไม่ ส ามารถฝึ ก ให้ มี ก ารเรี ย นรู ้ ด้วยตนเองได้” คณบดีคณะวิทยาการจัดการ กล่าว ในส่วนการสนับสนุนการฝึกนักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบการ ตามแนวของคณะ คือให้มีการฝึกปฎิบัติ ใช้พื้นที่ของคณะเป็นพื้นที่ ฝึกบริหารจัดการธุรกิจ ฝึกจ�ำหน่ายสินค้าของนักศึกษา โดยความรู้ ภาษาอังกฤษยังมีส่วนส�ำคัญ ที่จะสื่อสารท�ำความเข้าใจ ส�ำหรับ ความร่วมมือและการเข้าสู่ตลาดแรงงานในอาเซียน ทั้งนี้ คณะ วิทยาการจัดการมีความหลากหลายด้านสาขาวิชา มีการร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยหลายแห่งใน อาเซียน ทั้งโดยความสัมพันธ์ใน ระดับผู้บริหาร และ ผ่าน AUN (ASEAN University Network) ปั จ จุ บั น คณะวิ ท ยาการจั ด การ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในความ สามารถ ทั้ ง ของนั ก วิ ช าการบุ ค ลากรของคณะ ในการพั ฒ นา หน่วยงานเทียบเท่ากับหลายสถาบันในประเทศและในภูมิภาค “ความรู ้ เ รื่ อ ง “การเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ” ควรเป็ น ความรู ้ คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ที่ ผ ลผลิ ต ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ และต้ อ งการของ พื้นฐานที่นักศึกษาทุกคนทุกคณะต้องทราบ ซึ่งจะประกอบไปด้วย ตลาดแรงงานทั้งในและต่างประเทศ และบางคนได้เข้าท�ำงาน กระบวนการคิ ด วางแผน การหาธุ ร กิ จ ใหม่ และการจั ด การ แต่ ในบริ ษั ท ที่ มี ชื่ อ เสี ย งระดั บ โลก เช่ น APPLE นโยบายหนึ่ ง ของ ปั ญ หาคื อ หากจะเปิ ด สอนเป็ น วิ ช าเรี ย น ให้ มี ค วามลึ ก ซึ้ ง ใน คณะคือ การสนับสนุนการพัฒนาความรู้ของนักวิชาการบุคลากร แต่ละห้องไม่ควรจะมีนักศึกษาเกิน 30 คน เพราะต้องมีการท�ำ ส่ ง เสริ ม บั ณ ฑิ ต ให้ ม าท� ำ งานเพื่ อ พั ฒ นาคณะ โดยการให้ ทุ น ไป โครงการที่สามารถท�ำได้จริง เป็นการสอนเพื่อให้มีการคิดที่เป็น ศึกษาต่อ ซึ่งในการพัฒนาคนต้องใช้เวลา ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
29
แนะน�ำบุคคล
งที่ ไ ด้ จ ากการท� ำ งานที่ โ รงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ คื อ การมี โ อกาสได้ คิ ด และท� ำ ในสิ่ ง ที่ อ ยากท� ำ เพื่ อ องค์ ก ร ผู ้ ป ่ ว ย ผู้ร่วมงาน ไม่ว่าจะอยู่ ในบทบาทใด หลักในการ ท� ำ งานที่ ท� ำ อย่ า งสม�่ ำ เสมอคื อ คิ ด ทบทวน ทุ ก วั น ว่ า วั น นี้ เ ราได้ ท� ำ อะไรบ้ า ง พรุ ่ ง นี้ จ ะท� ำ อะไรบ้าง
สิ่
ดร.สมสมัย สุธีรศานต์
“กับความก้าวหน้าในอาชีพพยาบาล” คณะแพทย์ ม.อ. หลักการท�ำงาน มีหลายปัจจัยที่ท�ำให้ท�ำงานจนเกษียณ อายุราชการ อันดับแรก คือความภาคภูมิใจในความเป็นข้าราชการ เป็นความรู้สึกมีเกียรติ มี ศักดิ์ศรีที่ได้ท�ำงานให้ประเทศชาติ อาจจะเป็นค่านิยมคนโบราณซึ่งยังอยู่ ในใจ มีความสุข ที่ได้ท�ำงานในสถาบันด้านการดูแลสุขภาพที่มี ชื่อเสียง ที่สุดในภาคใต้ ที่ส�ำคัญคือความสัมพันธ์กับผู้คนที่อยู่ใน ม.อ. ไม่ว่าจะ อยู่ในคณะไหน มีความสนิทสนมกับพี่ๆ น้องๆ เสมือนญาติกัน รับรู้ชีวิต ความเป็นอยู่ของแต่ละคน แต่ละครอบครัว เจอกันที่ใดรู้สึกเหมือนเจอ คนบ้านเดียวกัน อาจจะเป็นเพราะเคยอยู่บ้านพักในมหาวิทยาลัยเป็น เวลานาน ได้เดินเล่นออกก�ำลังกายในเกือบทุกพื้นที่ ที่มีภูเขา น�้ำ ทางเดิน ที่ ร ่ ม รื่ น จึ ง รู ้ สึ ก เหมื อ นบ้ า นจนกระทั่ ง บั ด นี้ กลั บ ไปที ไ รจะเข้ า ไปท� ำ กิจกรรมต่างๆ ใน ม.อ. ตลอดทั้งวัน ตั้งแต่ออกก�ำลังกาย กินกาแฟ เข้า ห้องสมุด รับประทานอาหาร ร้านเสริมสวย รวมทั้งพักผ่อน เช่น การนวด รอแต่ที่ shopping ว่าจะมีเมื่อไหร่ เหมือนจุฬาฯ สิ่งที่คณะแพทยศาสตร์ ม.อ. ด�ำเนินการอยู่เทียบกับที่อื่นแล้ว ดีกว่ามาก ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาคน สวัสดิการ สิ่งแวดล้อมในการ ท�ำงาน ความก้าวหน้าในการท�ำงาน อยากให้คงอยู่ต่อไปและเพิ่มขึ้นอีก โดยเฉพาะการพั ฒ นาคนทุ ก ระดั บ เพราะเป็ น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า มากที่ สุ ด มากกว่าเงินทองหรือก�ำไร มากกว่าตึกที่ดิน การมีคนดี มีความสามารถ จ�ำนวนมากขึ้นท�ำงานหรือไปท�ำงานที่อื่น จะท�ำให้องค์กรไปสู่เป้าหมาย ได้อย่างยั่งยืน ท�ำให้ประเทศชาติเจริญรุ่งเรือง หากมีโอกาสกลับเข้ามาท�ำงานตามเดิม สิ่งที่อยากจะท�ำเพิ่มมาก ขึ้น คือจัดการเรื่องความก้าวหน้าในอาชีพพยาบาล ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ของผู้บริหารบริการสุขภาพทุกระดับว่ามีความส�ำคัญและขาดแคลน แต่เมื่อมองย้อนกลับไปดูแล้วพบว่าความก้าวหน้าและค่าตอบแทน ไม่ได้สอดคล้องกับความขาดแคลนเลย ทั้งที่ตามหลักการแล้วควรจะ ท�ำได้ดีกว่านี้ และยังมีมุมมองของคนบางกลุ่มที่เห็นว่าพยาบาลมีค่า ตอบแทนมากเกินไป จึงคอยขัดขวางด้วยวิธีการตามที่คิดได้เพื่อไม่ให้
30
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
พยาบาลได้ตามที่สมควรได้ อีกประการหนึ่งคือการจัดการเรื่อง Staff mix ของบุคลากรพยาบาลที่เหมาะสม ควรให้พยาบาลวิชาชีพได้ใช้ ความรู้ความสามารถ ในส่วนที่เสี่ยงและเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยมากขึ้น ส่วนที่ไม่อันตรายอาจจะให้บุคลากรบริการสุขภาพอื่นช่วยเหลือภายใต้ การควบคุม การท�ำงานด้วยพยาบาลวิชาชีพ เพื่อลดภาระงานพยาบาล บางส่วน ช่วงเวลาที่มีความสุขในการ ท�ำงานมากที่สุด เป็นช่วงที่ได้รับ งานใหม่ ๆ เช่ น ช่ ว งเป็ น หั ว หน้ า หอผู้ป่วยทารกแรกเกิดใหม่ๆ ได้ ปรับการจัดเวร จัดการบริหารงาน หอผู้ป่วยการจัดโครงสร้างการท�ำงาน การมอบหมายงานบริหารบางส่วน เพื่อการมีส่วนร่วม การฝึกน้องท�ำงานที่ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบ อย่างสูง การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ร่วมงาน การแก้ปัญหาส่วน ตัวของน้องๆ ที่กระทบการท�ำงาน ได้ทราบวิถีชีวิตปัญหาส่วนตัวของ น้องๆ แต่ละคนท�ำให้สนุกกับงาน และช่วงที่รับงานเป็นผู้ตรวจการใหม่ๆ มีความสุขกับการได้ใส่ชุดพยาบาลเนื่องจากมาจากหอผู้ป่วยทารกแรก เกิดที่เป็นหน่วยปิดต้องเปลี่ยนชุดท�ำงาน การเป็นผู้ตรวจการจะท�ำงาน กว้ า งขึ้ น พบปั ญ หาการท� ำ งานที่ ต ่ า งออกไป ได้ จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม หัวหน้าหอ/หน่วยที่รับผิดชอบทุกวันศุกร์เพื่อสรุปงานและเตรียมงาน สัปดาห์ต่อมา เพื่อให้หัวหน้าได้เรียนรู้การท�ำงานร่วมกันและแลกเปลี่ยน จากประสบการณ์การบริหารงาน รวมทั้งการฝึกการช่วยเหลือซึ่งและกัน นอกจากนี้สนุกมากขึ้นตอนเป็นหัวหน้าพยาบาล ท�ำให้ได้ท�ำในสิ่งที่ ต้องการแก้ปัญหาหลายอย่าง เช่น การจัดโครงสร้างการท�ำงานเพื่อ ลดขอบเขตช่องว่างของแต่ละต�ำแหน่ง เป็นการฝึกการบริหารงานแก่ บุคลากรมากขึ้น เพิ่มการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน เน้นการติดตาม งานที่เป็นระบบเป็นการติดตามตัวชี้วัดทางการพยาบาลที่เป็นระบบ น�ำ มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ของสภาการพยาบาลสู่การปฏิบัติ
เพิ่ ม การพั ฒ นาบุ ค ลากรเชิ ง ลึ ก มี น โยบายผู ้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ ต้ อ งจบ ปริญญาโท ประสานงานการเรียนปริญญาโทกับคณะพยาบาลเพื่อขอ โควตาเรียนปริญญาโทแก่ฝ่ายการพยาบาล ส่งอบรมเฉพาะทางมากขึ้น และเป็นแกนน�ำร่วมกับคณะพยาบาลเปิดการอบรมเฉพาะทางที่ส�ำคัญ การพยาบาลวิกฤติการบริหารพยาบาล ในการทุ่มเทการท�ำงานของบุคลากรคณะแพทย์ ต้องเข้าใจตรง กันก่อนว่า ความทุ่มเทการท�ำงานกินความหมายแค่ไหน วัดจากอะไร ว่าทุ่มเทมากน้อย ถ้าบุคลากรท�ำงานส�ำเร็จตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ได้ ตามปริมาณงานที่ตั้งเป้าหมายไว้ และคุณภาพงานที่ออกมาดีไม่มีความ เสียหายเกิดขึ้น แสดงว่าคนนั้นมีความตั้งใจเป็นการดูจากทั้งพฤติกรรม ที่เห็นและผลลัพธ์ของงานที่ออกมามาเป็นตัววัด ไม่เพียงแค่เรื่องของ เวลาการมาท�ำงานแต่เช้า และกลับบ้านค�่ำหรือประชุมเกินเวลาบ่าย เป็นค�่ำ มาเป็นตัวบอกว่าบุคลากรทุ่มเท ความมุ่งมั่น ทุ่มเทของพนักงาน (Employee Passion) ตามหลักสากลจะดูจากความตั้งใจในการเป็น สมาชิกองค์กร พูดถึงองค์กรในทางบวกกับบุคคลอื่น เข้มแข็ง อดทน ไม่ ท้อถอยในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย อุทิศก�ำลังกายและก�ำลัง ใจอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ถ้า นิยามตามนี้แสดงว่าบุคลากรคณะแพทย์ทุ่มเทท�ำงานเกือบเต็มร้อย เพราะส่วนใหญ่ท�ำงานได้ตามภาระงานที่ก�ำหนด มีผลลัพธ์สัมพันธ์กับ ค่าตอบแทน แต่จะได้คะแนนน้อยในด้านการพูดถึงองค์กรในแง่บวก และความตั้งใจเป็นสมาชิกองค์กร ซึ่งต้องค่อยๆ พัฒนาต่อไป งานที่ยากจะเป็นงานที่ต้องใช้การมีส่วนร่วมสูง เป็นงานที่ต้อง ใช้หลายคนท�ำงานร่วมกันจึงจะส�ำเร็จได้ จะเน้นการเลือกคนท�ำงาน ที่มีความสามารถ มีความอดทนสูง และสามารถท�ำงานร่วมกับคนอื่น ได้ ดี วิ ธี ก ารคื อ ตนเองจะร่ ว มคิ ด หรื อ เสนอแนวทางท� ำ งานให้ ก ่ อ น ร่ ว มท� ำ งานกั บ ที ม งานด้ ว ยตนเองในช่ ว งแรก จะอยู ่ ด ้ ว ยจนแน่ ใ จว่ า งานจะเป็นไปตามที่ต้องการแล้วจึงจะปล่อยให้ท�ำต่อไป และติดตาม ผลงานอย่างต่อเนื่อง การจัดการผู้อาวุโส ลูกน้องที่ดื้อ ก่อนอื่นหาสาเหตุที่ดื้อ เพื่อดูว่า จริงๆ เขาต้องการอะไร พยายามหาที่สิ่งที่เกี่ยวกับการท�ำงานหรือสาระ ถ้าสิ่งที่ต้องการอยู่ในหลักการจะพยายามจัดให้ ที่ส�ำคัญปฏิบัติต่อเขา อย่างเท่าเทียมคนอื่น ยุติธรรม ไม่มากกว่าคนอื่น ถ้ามากเราจะได้คนดื้อ 2 ดื้อ 3 ตามมาเพราะดื้อแล้วได้ดี ถ้าไม่หายก็ควรปล่อยให้ดื้อต่อไป เพี ย งแต่ ดู แ ล ควบคุ ม ไม่ ใ ห้ ส ร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ ค นอื่ น บางครั้ ง จะเจอบางคนที่เล่นการเมือง ก็จะปฏิบัติเช่นเดียวกันคือเฉยๆ ท�ำงาน ตามปกติ ที่ส�ำคัญคือการพยายามสื่อสารข้อมูลการท�ำงานให้บุคลากร รับรู้มากที่สุด เพราะคิดว่าแม้จะพยายามแก้ปัญหาหรือลดความขัดแย้ง ก็จะไม่ประสบผลส�ำเร็จอยู่ดีเพราะเจตนาที่จะดื้อ บุคลากรในองค์กร โรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีความฉลาดมีวิจารณญาณในด้าน ความคิ ด การกระท� ำ สามารถตั ด สิ น ได้ ว ่ า อะไรผิ ด ถู ก ส� ำ หรั บ ผู ้ ด ้ อ ย สมรรถนะจะใช้การ coaching สิ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานบุคคลเมื่อคณะออกนอกระบบ คือ ความรู้ ความสามารถของผู้บริหารในการบริหารงานบุคคล บริหาร การตลาด บริหารรายได้ค่าตอบแทนเพื่อความสมดุลในการบริหารงาน คงต้องพัฒนาทักษะเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง หลายแนวคิด หลายแนวทาง และค่ อ ยๆ น� ำ มาปฏิ บั ติ โ ดยการท� ำ น� ำ ล่ อ งที ล ะหน่ ว ยและปรั บ ปรุ ง
วิ ธี ก าร แล้ ว ขยายไปสู ่ ห น่ ว ยงานอื่ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบน้ อ ยที่ สุ ด เหมาะสมกับบริบทมากที่สุด ความภาคภูมิใจ สิ่งที่ได้จากการท�ำงานที่โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ คือการมี โอกาสได้คิดและท�ำในสิ่งที่อยากท�ำเพื่อองค์กร ผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน ไม่ว่า จะอยู่ในบทบาทใด หลักในการท�ำงานที่ท�ำอย่างสม�่ำเสมอคือ คิดทบทวน ทุกวันว่าวันนี้เราได้ท�ำอะไรบ้าง พรุ่งนี้จะท�ำอะไรบ้าง ส่วนใหญ่จดไว้ ในกระดาษเล็กๆ และเก็บไว้ในกระเป๋าสตางค์ เมื่อมีเวลาจะเปิดอ่าน ข้อใดท�ำแล้วจะขีดออก และจดเพิ่มทันทีเมื่อนึกออก ซึ่งงานท�ำไม่ค่อยทัน มักจะกลายเป็นงานเร่งด่วน ไม่ค่อยใช้ความจ�ำแต่ชอบใช้ความคิด มากกว่าว่าจะท�ำสิ่งนั้นเพื่อให้เกิดอะไร และจะท�ำให้เกิดอะไรขึ้น ทั้งด้าน การงานและครอบครัว เมื่ออ่านหนังสือแล้วเกิดความคิดใหม่ๆอยากท�ำ นั่นนี่จะรีบจดไว้แล้วน�ำไปท�ำ หรือเสนอสิ่งที่จะท�ำแก่ผู้ร่วมงานหรือน้องๆ เพื่อฟังความคิดเห็นแล้วลองท�ำดู อีกประเด็นคือการเตรียมตัวก่อนท�ำงาน ในการประชุมพยาบาล จะร่วมก�ำหนดวาระการประชุม ก่อนการประชุมจะอ่านรายงานประชุม ก่อนเกือบทุกครั้ง ยกเว้นที่จ�ำได้เนื่องจากเป็นการประชุมต่อเนื่อง ส�ำหรับ ผู้ที่มาท�ำงานใหม่ เช่น น้องพยาบาลใหม่ที่ส�ำคัญคือการเตรียมตัว ประจ�ำ สาขาไหนให้พยายามศึกษา อ่านต�ำราก่อนขึ้นปฏิบัติงานเพื่อการเรียนรู้ เร็วขึ้น ต้องขึ้นท�ำงานเร็วขึ้น ลงจากงานช้าลงเพื่อจะได้มีเวลาศึกษา ประวัติผู้ป่วยก่อน ส่วนผู้ที่จะรับงานต�ำแหน่งใหม่ที่สูงขึ้นเช่นกัน สามารถ ศึกษาได้จากรายงานการประชุม ปรึกษาพูดคุย กับผู้ที่เคยปฏิบัติหน้าที่ ในต�ำแหน่งนั้นมาก่อนจะท�ำให้ลดหลุมพลางต่างๆ ลงได้
งานที่ คิ ด ว่ า ยากสุ ด คื อ การสร้ า งวั ฒ นธรรมการท� ำ งาน ร่วมกัน เป็นทีม ทั้งทีมในการดูแลผู้ป่วย ทีมบริหารพยาบาล ทีม ระหว่างหน่วยงานและทีมระหว่างวิชาชีพ เพราะคนท�ำงานร่วมกัน ได้ ดี จ ะท� ำ งานให้ ง านออกมาดี ม ากกว่ า โดยใช้ ก ลยุ ท ธ์ ทุ ก รู ป แบบ ตั้งแต่ท�ำให้แต่ละคนเข้าใจบทบาทและงานตนเอง เข้าใจงาน ของคนอื่ น เข้ า ใจสถานะตนเอง คนอื่ น ความแตกต่ า งของคน ด้านความคิด การท�ำงานความต้องการ และภาระของแต่ละคน ได้จัดโครงสร้างการท�ำงานที่เชื่อมรอยต่อของผู้บริหารระดับต่างๆ การจัดคนมาร่วมท�ำงาน บริหารมากขึ้นเพื่อเรียนรู้การบริหารงาน เพิ่มการมีส่วนร่วมในการท�ำงาน ที่ใช้เป็นประจ�ำคือการไม่โทษใคร กระตุ้นให้ช่วยกันคิดว่าจะท�ำอย่างไรมากกว่า ที่มา : ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 232 ประจ�ำเดือนสิงหาคม 2557 ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
31
รางวัลแห่งคุณภาพ/สัมมนา
ทีมนักศึกษาจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณวิศวะฯ ม.อ.
คว้ารางวัลการแข่งขัน “คอนกรีตมวลเบา” ครั้ ง นี้ มี จ� ำ นวนที ม เข้ า แข่ ง ขั น ทั้ ง สิ้ น 21 ที ม จากมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ทั่ ว ประเทศ เพื่ อ พั ฒ นานวั ต กรรมด้ า นวั ส ดุ ส� ำ หรั บ คอนกรี ต มวลเบา เพิ่มพูนความรู้ เทคโนโลยีใหม่ในงานคอนกรีตแก่นักศึกษาวิศวกรรม โยธาและผู้สนใจ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคี รี ขั น ธ์ เมื่ อ วั น ที่ 11 กั น ยายน 2557 ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา ในนามตั ว แทน นักศึกษาขอขอบคุณผู้ร่วมสนับสนุนวัสดุ และวิทยาการความรู้ใ ห้แ ก่ทีมนักศึกษา ได้แก่ บริษัท เอเชีย คอนกรีต แพลนท์ จ�ำกัด , บริษัท ซีเบาอุตสาหกรรม จ�ำกัด , หจก.หัวไทรแสงพัฒนากิจ ในการเตรียม ความพร้อมแก่นักศึกษาก่อนเข้าแข่งขัน ทีมนักศึกษาจากภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในครั้งนี้ ม.อ.ได้รับรางวัลคอนกรีตมวลเบา ประเภทเบาที่สุด อันดับที่ 2 ได้แก่ 1.นายปั ญ ญา ทองจั น ทร์ แ ก้ ว 2.นายพงค์ ภั ค เริ ง ฤทธิ ร งค์ 3. นายวิชญุตม์ สุขใส 4.นายทีฆทัศน์ หทัยพิทักษ์ ภายใต้การควบคุม ทีม โดย ดร.ปฐเมศ ผาณิตพจมาน ในการแข่งขันคอนกรีตมวลเบา ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 8 (8 th Lightweight Concrete Competition) ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การแข่งขันดังกล่าว จัดขึ้นโดยความร่วมมือของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ วิ ท ยาเขต วังไกลกังวล ร่วมกับ สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย ในการแข่งขัน
ในงาน “เถ้ า แก่ น อ ้ ย” “Young Inspirations : Mindset of Success” ศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซียมาเลเซี ย -ไทย ร่ ว มกั บ ศู น ย์ บ ่ ม เพาะวิ ส าหกิ จ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ (PSU-BIC) และ สาขาการจัดงานประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยว เพื่อเป็นรางวัล ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ และ วิทยาลัย นานาชาติ (PSUIC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดกิจกรรม Young Inspirations : “Mindset of Success” เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 12.00 – 16.30 น. ณ ห้อง Conference ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน ได้ รั บ ความรู ้ และความเข้ า ใจในการเตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ การ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ เข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ตลอดจนสร้ า ง แรงบันดาลใจแก่เยาวชนไทยให้สามารถพัฒนาตนเองให้ก้าวสู่ความ ส�ำเร็จและความเป็นมืออาชีพ กิจกรรมภายในงาน มีดังนี้ การบรรยายพิเศษ หัวข้อ “Mindset
32
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
of success” โดย คุ ณ ต๊ อ บ เจ้ า ของธุ ร กิ จ ชื่ อ ดั ง หรื อ คุณอิทธิพัทธ์ พีระเดชาพันธ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู๊ดแอนด์มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ผู้มีประสบการณ์ตรงในการท�ำ ธุ ร กิ จ ให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ตั้ ง แต่ อ ายุ ยั ง น้ อ ย มาบรรยายความรู ้ และเคล็ ด ลั บ ความส� ำ เร็ จ ในการท� ำ ธุ ร กิ จ ผ่ า นการเล่ า เรื่ อ งราวจาก ประสบการณ์ชีวิตจริง นิทรรศการให้ความรู้ด้าน AEC จากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนรู้ ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อุทยาน วิทยาศาสตร์ฯ (PSU-BIC) สาขา วิ ช า MICE Management คณะวิ ท ยาการจั ด การ และ PSUIC เกม และกิจกรรมส่งเสริมการตลาดเพื่อลุ้นรับรางวัล โดยผู้ให้การสนับสนุน ได้แก่ บริษัทเถ้าแก่น้อย และ บริษัทหาดทิพย์ จ�ำกัด (มหาชน)
รอบรั้วศรีตรัง
วอล์ ค แรลลี ่ สานสัมพันธ์บุคลากรและครอบครัว ชาวส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ.
ณะกรรมการ สนอ.สั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จั ด โครงการ Walk Rally สร้ า งความสั ม พั น ธ์ บุ ค ลากร ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี เมื่ อ วั น ที่ 4-5 ตุ ล าคม 2557 ณ เรือนไทยทักษิณา อ�ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อให้บุคลากรและครอบครัวได้สร้างสัมพันธ์กับบุคลากร ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ด้วยกัน กิจกรรมวอล์คแรลลี่ (Walk Rally) ผู้เข้าร่วม โครงการประกอบด้ ว ยบุ ค ลากร คู ่ ส มรสและบุ ต รของ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในส�ำนักงานอธิการดี จ�ำนวน 100 คน โดยได้รับงบประมาณจากโครงการพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต การท� ำ งานองค์ ก รภาครั ฐ ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557 สนับสนุนโดย สสส. และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โดยมีการจัดกิจกรรมวอล์คแรลลี่ในฐานต่างๆ มีคะแนนตาม กิจกรรมที่คณะกรรมการก�ำหนด ด�ำเนินการโดยบุคลากรจากกอง กิจการนักศึกษา เพื่อสร้างทักษะและเพิ่มศักยภาพทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ผสมผสานความ สนุกสนาน ตื่นเต้น ท้าทาย สร้างความ สามั ค คี แ ละมนุ ษ ยสั ม พั น ธ์ เน้ น การท� ำ งานเป็ น ที ม ด้ ว ยกิ จ กรรม ทดสอบทักษะ ไหวพริบ และสมรรถภาพทางร่างกายเข้าไว้ด้วยกัน มีการแข่งขันกันประกอบอาหารมื้อเย็น โดยที่ทุกกลุ่มจะได้รับ เงินตามจ�ำนวนและประเภทอาหารที่รับผิดชอบ และจะให้ไปจ่าย ตลาดเพื่ อ ชื้ อ วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ประกอบอาหารมื้ อ เย็ น และรั บ ประทาน ร่วมกัน เวลา 18.00 น ประเภทอาหาร ประกอบด้วย ปิ้งย่างพร้อมน�้ำจิ้ม 4 กลุ่ม ประเภทผัดผัก 2 กลุ่ม ประเภททอด 2 กลุ่ม ประเภทต้มจืด 1 กลุ่ม ประเภทย�ำ 1 กลุ่ม
ภาคกลางคืน จัดให้มีการ การแสดงของทุกกลุ่ม จากความ คิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความ สนุกสนาน และความสามัคคี กิ จ กรรมวอล์ ค แรลลี่ ได้ สร้างเสริมความรักความผูกพัน และสนิทสนมกันมากขึ้น ท�ำให้การติดต่อประสานงานเป็นไปด้วย มิ ต รภาพที่ ดี ต ่ อ กั น ท� ำ ให้ รู ้ จั ก การท� ำ งานเป็ น ที ม โดยเรี ย นรู ้ ที่ จ ะ รับผิดชอบร่วมกัน ร่วมกันใช้ความคิด ฟังเหตุผลและความคิดของกัน และกัน รวมทั้งรู้จักแก้ไขปัญหาร่วมกัน และสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว ให้อบอุ่น จากการประเมินผลโครงการผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น บุคลากรส�ำนักงานอธิการบดี คิด เป็นร้อยละ 80.3 และเป็นสมาชิก ครอบครัวของบุคลากรส�ำนักงาน อธิ ก ารบดี คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 19.7 เพศหญิ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 62.3 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 37.7 ผู ้ ร ่ ว มกิ จ กรรมมี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ ดี ความสนุ ก สนานและ บรรยากาศโดยรวมผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ กิ จ กรรมในฐานต่ า งๆ สนุ ก มี ค วามเหมาะสมของสถานที่ พั ก และ การเดินทางมีความเหมาะสม ควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ให้กับบุคลากร นางสุ นั น ทา แก้ ว เจริ ญ หัวหน้างานสวัสดิการ เลขานุการ คณะกรรมการ สนอ.สัมพันธ์ กล่าวว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสุข คณะกรรมการผู้จัดก็ทุ่มเท และพยายามคัดสรรกิจกรรมให้เหมาะกับ กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย เพราะสมาชิกของเรามีความหลากหลาย มีเด็กตั้งแต่อายุ 7 ขวบ จนถึงบุคลากรในวัยเกษียณคือ 60 ปี จึงต้อง พยายามคิดคัดสรร เกมส์ออกมาให้เล่นกันได้ทุกวัย เจ้าหน้าที่ของ กองกิจการนักศึกษาใช้เวลาเป็นวันในการสร้างฐานต่างๆ ให้กลุ่ม เป้ า หมายทั้ ง 100 คน กรรมการเหน็ ด เหนื่ อ ย แต่ เ มื่ อ เห็ น ทุ ก คนมี ความสุข ตอนท�ำกิจกรรมแรลลีก็ท�ำเต็มที่ เพื่อให้ทีมชนะตอนแข่งขัน ประกอบท�ำกับข้าว ก็ช่วยกันแบ่งงาน ให้ออกมาดูดีและอร่อย ทั้ง กรรมการและผู้ร่วมกิจกรรมก็พยายามแก้ปัญหาให้งานราบรื่น นางชุ ติ ม า มุ ต ตาหารั ช จากกองการเจ้ า หน้ า ที่ ก ล่ า วว่ า กิจกรรมได้สร้างความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว และสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรได้ดีมาก อยากให้จัดอีก และอยาก ให้บุคลากรคนอื่นๆ ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมนี้ด้วยกัน
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
33
รอบรั้วศรีตรัง
โครงการ
“การดูแลสุขภาพคนวัยท�ำงาน”
ส
ภาวะการท�ำงานเร่งรีบ จิตใจวนเวียนอยู่กับการท�ำงาน ท� ำ ให้ เ คร่ ง เครี ย ด หลายคนเป็ น โรคติ ด งาน (Workaholic) หรือโรคออฟฟิศซินโดรม เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในคน วัยท�ำงาน ไม่ว่าจะเป็นการนั่งท�ำงานตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหว ร่างกาย สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และปวด เมื่อยตามอวัยวะต่างๆ อาทิ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ ส่วน บางรายที่มีอาการของหมอนรองกระดูกเคลื่อน หากท�ำงานใน อริ ย าบทที่ ผิ ด จะท� ำ ให้ มี อ าการรุ น แรงมากขึ้ น มี อ าการ ปวดหั ว ปวดหลัง ปวดไหล่ ปวดท้ายทอย จากการที่ต้องนั่งท�ำงานหน้าจอ คอมพิ ว เตอร์ น านๆ อาการทางกายเหล่ า นี้ ส ่ ง ผลถึ ง อารมณ์ และส่งผลเสียต่อร่างกาย จนเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ
กองกลาง ส�ำนักงานอธิการบดี จึงได้จัดโครงการดูแลสุขภาพ คนวั ย ท� ำ งาน ภายใต้ โ ครงการส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี ส� ำ นั ก งาน สร้างสุข(Happy Workplace) โดยการสนับสนุนของ สสส. และ สถาบั น วิ จั ย สั ง คม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เรื่ อ ง โรคออฟฟิ ศ ซิ น โดรม แนวทางป้ อ งกั น และแก้ ไ ข โดย ผศ.พญ.วิ ภ าวรรณ ลีลาส�ำราญ และฝึกปฎิบัติ เรียนรู้ การดูแลสุขภาพ โดยวิธีกาย บริหารท่าฤาษีดัดตนและการนวดไทย เพื่อการดูแลสุขภาพของ ตนเอง โดย วิทยากรจากคณะการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย นางสาวดวงทิพย์ อรัญดร นางสาวสลิลทิพย์ ฟุ้งธรรมสาร นางสาวกชกร มุ สิ ก พงษ์ นางสาวพีช ยา อรุโณทัย นางสาว ฐาปนีย์ เขียวจีน นางสาวสิริพร จารุกิตติ์สกุล และนายจักเรศ สราญฤทธิชัย เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2557 มีบุคลากรส�ำนักงาน อธิการบดีและคณะ หน่วยงานร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 110 คน รวมทั้งจัดบรรยายหัวข้อ รู้ตัวล่วงหน้าก่อนเปลี่ยนวัยสู่วัยทอง โดย ผศ.พญ.กรัณฑรัตน์ ปิยนันท์จรัสศรี ภาควิชาสูติศาสตร์ และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557
34
ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
ผศ.พญ.วิภาวรรณ ลีลาส�ำราญ แพทย์ เ วชศาสตร์ ฟ ื ้ น ฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วว่ า กลุ ่ ม อาการที่ เ กิ ด จากการ ท� ำ งานในส� ำ นั ก งาน นั่ ง นาน นิ่ ง ค้ า ง เกร็ง เคลื่อนไหวซ�้ำๆ ในอิริยาบถเดิม ท�ำให้อ้วนลงพุง ความฟิตลดลง ไขมันในเลือดสูง เกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ลิ่มเลือดอุดตัน กระดูกบาง พรุน มะเร็ง และ ตายเร็วขึ้น ด้วยท่าทางที่ฝืนธรรมชาติ หมอนรองกระดูกเสื่อมและ เคลื่อน สภาวะร่างกาย ปวดเมื่อยหลัง และก้น อาการเมื่อย ปวด ล้า ชา ตึง บวม ทั้งนี้ความรุนแรงของอาการปวดเมื่อย แบ่งเป็น
- ระยะแรก : ปวดเวลาท�ำงาน หยุดท�ำ หายปวด ไม่รบกวน การท�ำงาน - ระยะกลาง : ปวดตั้งแต่เริ่มท�ำงานจนหลังเลิกงาน - ระยะรุนแรง : งานเบาๆ ก็ปวด พักหรือหลับก็ปวด แนวทางการป้ อ งกั น และการแก้ ไ ข จะต้ อ งไม่ ฝ ื น และ หยุดพักเมื่อมีอาการปวด ควรกายบริหาร ยืดกล้ามเนื้อ ท�ำช้าๆ ยืดค้างไว้ นับ 1-10 ท�ำอย่างน้อยทุกๆ 1 ชั่วโมง ท่าละ 1 - 3 ครั้ง จะต้ อ งออกก� ำ ลั ง กาย นอนให้ อิ่ ม ท� ำ ตั ว เองให้ ฟ ิ ต ทานอาหาร ที่มีคุณภาพ
บริการวิชาการ
ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม ช่วยเกษตรกรรู้ทันสภาพดิน รับรางวัลรองอันดับที่ 1
True Innovation Awards 2014 ดทดสอบสั ง กะสี ภ าคสนาม ผลงาน ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร ร่วมกับ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์อดุลย์ เที่ยงจรรยา รองศาสตราจารย์ ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา และ รองศาสตราจารย์ ดร. ปณต ถาวรังกูร รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ในการเเข่งขัน รายการ True Innovation Awards 2014 : The New Era Season 2 ประเภทสุดยอดนวัตกรรม (INNO TREE) ทางช่อง True4U จากที ม ที่ เ ข้ า แข่ ง ขั น หลายร้ อ ยที ม ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น อี ก 1 รายการที่ ส ร้ า งเวที แ ห่ ง โอกาสให้ กั บ นวั ต กรรมไทย ได้ น� ำ เสนอ และสร้ า งสรรค์ ง านนวั ต กรรมให้ ก ้ า วไกลเพื่ อ สร้ า งศั ก ยภาพให้ พ ร้ อ มกั บ การแข่ ง ขั น ระดั บ นานาชาติ และ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความตระหนั ก ในสั ง คมไทย โดยมี ก ารเสนอผ่ า น สื่อโทรทัศน์ ในรูปแบบเกมส์การแข่งขัน (Game Show) เพื่อ ถ่ า ยทอดแนวคิ ด นวั ต กรรมในรู ป แบบรายการที่ มี ส าระ พร้อมความบัน เทิงให้กับผู้ชม โดยนวัตกรรมต้องมีคุณค่า ประโยชน์ และถูกยอมรับจากผู้ ใช้งานจริง
ชุ
การเจริญเติบโต และการต้านทานโรค ของต้นข้าว ซึ่งสาเหตุที่ท�ำให้ดินขาด ธาตุสังกะสีเกิดจาก พืชดูดไปใช้โดย ไม่มีการเสริมเพิ่มให้ดิน และเกษตรกร ใส่ ปุ ๋ ย NPK มานั บ สิ บ ๆ ปี ท� ำ ให้ ฟอสฟอรั ส สะสมในดิ น มาก พื ช จึ ง ไม่ ส ามารถดู ด ธาตุ สั ง กะสี ม าใช้ ไ ด้ และหากดิ น ขาดธาตุ สั ง กะสี จะส่งผลให้การเติบโตไม่สมบูรณ์ ผลผลิตต�่ำ เป็นโรคได้ง่าย ดังนั้น การทดสอบสั ง กะสี ใ นดิ น จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น ต้ อ งท� ำ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ เ กษตรกรสามารถติ ด ตามสภาวะของธาตุ สั ง กะสี ใ นดิ น เมื่ อ ทราบผลเกษตรกรจะสามารถแก้ ไ ขด้ ว ยการ เพิ่มธาตุสังกะสีได้ทันท่วงที “ชุ ด ทดสอบสั ง กะสี ภ าคสนาม (Zinc field test kit)” จึ ง เป็นนวัตกรรม ด้านการเกษตรที่ใช้ได้ง่าย สะดวก รู้ผลรวดเร็วและ ใช้สารเคมีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยทีมผู้วิจัยได้ลงส�ำรวจพื้นที่ จริงจะเห็นว่าในการลงพื้นที่ภาคสนามของเราชาวนาสามารถทราบ ภาวะขาดธาตุสังกะสีในดิน ด้วยวิธีที่ง่าย สะดวก รู้ผลรวดเร็วด้วย ตัวเอง เมื่อทราบผล ชาวนาสามารถแก้ไข ด้วยการเพิ่มธาตุสังกะสี ได้ทันท่วงที ท�ำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น 2 เท่า นอกจากจะช่วยให้พืช มีการเจริญเติบโตและผลผลิตที่ดีขึ้นแล้วยังเพิ่มปริมาณธาตุสังกะสี ในพืช โดยจากการเก็บเกี่ยวจะเห็นได้ว่า จากเดิมเกษตรกรได้ผลผลิต 3 ตันกว่า/5 ไร่ เเต่เมื่อทราบค่าของสังกะสีจากชุดทดสอบ เมื่อเเก้ไขตรง จุด เกษตรกรได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 7 ตันกว่า/5 ไร่ (7,150 กิโลกรัม/5ไร่) ส�ำหรับเกษตรกรท่านใดสนใจในตัวนวัตกรรมเพื่อน�ำไปใช้กับ แปลงนา สามารถสอบถามเพื่อ ขอความเเนะน�ำหรือน�ำชุดทดสอบ ไปใช้ได้ โดยสามารถติดต่อที่หน่วย วิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ ธาตุ สั ง กะสี เ ป็ น ธาตุ ที่ มี ค วามจ� ำ เป็ น อย่ า งมากส� ำ หรั บ คณะวิทยาศาสตร์ ที่ 0 7428 8022 กระบวนการสังเคราะห์แสง การสร้างน�้ำตาล การสังเคราะห์โปรตีน ในวันและเวลาราชการ ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557
35