เรียนอะไรใน ม.อ. 2559

Page 1

Untitled-1 1

6/7/16 3:32 PM 6/6/16 2:33 PM


»Õ 2559

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 1

6/6/16 10:23 AM


ป 2559 เรียนอะไรใน ม.อ. จัดพิมพโดย งานประชาสัมพันธ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี โทรศัพท 0 7428 2000 ตอ 2022, 2023 โทรสาร 0 7455 8941 e-mail: hatyai-pr@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th บรรณาธิการ ทวาทศ สุวรรณโร บรรณาธิการรอง หัทยา พงศทิพยพนัส บรรณาธิการจัดการ นิรันดร สุมาลี รูปเลม สกาวเดือน อุยเอง พิมพที่ โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส กรุงเทพฯ ปที่พิมพ มิถุนายน 2559

145x210mm_����������� �� 2560.indd 2

6/6/16 10:23 AM


คํานํา การตัดสินใจเลือกเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งใน การกําหนดอนาคตของการศึ กษาและการประกอบอาชี พ ดังนั้ นขอมูลที่ สมบู รณ และ สามารถที่จะตอบคําถามดานตางๆ ของมหาวิทยาลัย อาทิ คณะ/สาขาวิชาที่เปดสอน คาใชจายในการศึกษา ขอควรทราบเกี่ ยวกับการใชชีวิตในรั้ วมหาวิทยาลัย และสถานที่ ติดตอสอบถาม ซึ่งเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการประกอบการตัดสินใจเลือกคณะ/สาขา วิชาของนักเรียน และเปนขอมูลสําหรับอาจารยแนะแนว รวมทั้งผูปกครองและผูสนใจ ทั่วไป ป 2559 เรียนอะไรใน ม.อ. เลมนี้ จะสามารถตอบคําถามและประกอบการ ตัดสินใจในการเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทั้ง 5 วิทยาเขต ไดเปนอยางดี หนังสือ ป 2559 เรียนอะไรใน ม.อ. จะเผยแพรในการจัดสัมมนาอาจารยแนะแนว การจั ดประชาสั มพั นธและแนะแนวแก นั กเรี ยนในภาคใต การจัดนิ ทรรศการตลาดนั ด อุดมศึกษาทั่วประเทศ และเปนเอกสารเผยแพรแกผูมาเยือนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในโอกาสตางๆ บรรณาธิการ

145x210mm_����������� �� 2560.indd 3

6/6/16 10:23 AM


สารบัญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติและมหาวิทยาลัยชัน้ นําในภูมภิ าคเอเชีย ...................................... ตรา สัญลักษณ ดอกไม และสีของมหาวิทยาลัย ...................................................................... ปณิธาน เจตนารมณ วิสัยทัศน และพันธกิจ ......................................................................................... ประวัติการจัดตัง้ ...................................................................................................................................................... รายนามนายกสภามหาวิทยาลัย ..................................................................................................................... รายนามอธิการบดีมหาวิทยาลัย .................................................................................................................... มหาวิทยาลัยในปจจุบัน ........................................................................................................................................ หลักสูตรการศึกษา ประจําป 2559 ............................................................................................................ การคัดเลือกนักศึกษาเขาศึกษาขั้นปริญญาตรี ................................................................................... การจัดการศึกษา ....................................................................................................................................................... คาธรรมเนียมในการศึกษา ................................................................................................................................

3 4 5 6 13 14 15 18 43 50 58

คณะ/หลักสูตรการศึกษา วิทยาเขตหาดใหญ

คณะการจัดการสิง่ แวดลอม ..................................................................................................................... คณะทันตแพทยศาสตร ............................................................................................................................... คณะทรัพยากรธรรมชาติ ........................................................................................................................... คณะพยาบาลศาสตร ..................................................................................................................................... คณะแพทยศาสตร ......................................................................................................................................... คณะเภสัชศาสตร ............................................................................................................................................. คณะวิทยาการจัดการ .................................................................................................................................. คณะวิทยาศาสตร ........................................................................................................................................... คณะวิศวกรรมศาสตร .................................................................................................................................. คณะศิลปศาสตร ...........................................................................................................................................

145x210mm_����������� �� 2560.indd 4

63 67 75 81 91 104 114 123 138 152

6/6/16 10:23 AM


คณะอุตสาหกรรมเกษตร ........................................................................................................................ คณะนิตศิ าสตร .............................................................................................................................................. คณะเศรษฐศาสตร ....................................................................................................................................... คณะแพทยแผนไทย ....................................................................................................................................... คณะเทคนิคการแพทย ............................................................................................................................ โครงการจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร .......................................................................................... โครงการจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ................................. สถาบันสันติศึกษา ....................................................................................................................................... สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝง .................................................................................................. สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต .......................................................................................... บัณฑิตวิทยาลัย ..............................................................................................................................................

วิทยาเขตปตตานี

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ................................................................................................ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ......................................................................................................... คณะศึกษาศาสตร .......................................................................................................................................... คณะวิทยาการสื่อสาร ............................................................................................................................... คณะศิลปกรรมศาสตร ................................................................................................................................ คณะรัฐศาสตร ............................................................................................................................................... คณะพยาบาลศาสตร วิทยาเขตปตตานี ........................................................................................ วิทยาลัยอิสลามศึกษา ...............................................................................................................................

วิทยาเขตภูเก็ต

วิทยาเขตภูเก็ต .................................................................................................................................................. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ........................................................................................................... คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม ............................................................................................................ คณะการบริการและการทองเทีย่ ว ..................................................................................................... คณะวิเทศศึกษา .............................................................................................................................................. วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต ..................................................................................................................................... สถาบันขงจือ๊ ภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ................................................................... โครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตรระบบโลก และการจัดการภัยธรรมชาติอันดามัน ..................................................................................... วิทยาลัยนานาชาติศลิ ปวิทยาศาสตร ภูเก็ต .................................................................................

145x210mm_����������� �� 2560.indd 5

158 164 174 180 187 191 194 197 202 206 208 219 231 244 258 265 268 274 277 283 286 288 293 297 302 304 306 309

6/6/16 10:23 AM


วิทยาเขตสุราษฎรธานี

วิทยาเขตสุราษฎรธานี ................................................................................................................................ 313 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ............................................................................ 316 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ ............................................................................................. 323

วิทยาเขตตรัง

คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ .................................................................................................. 329 คณะสถาปตยกรรมศาสตร ...................................................................................................................... 337

หนวยงานในมหาวิทยาลัย สํานักงานอธิการบดี ........................................................................................................................................... สํานักวิจยั และพัฒนา ........................................................................................................................................... ศูนยคอมพิวเตอร .................................................................................................................................................... ศูนยเครือ่ งมือวิทยาศาสตร ............................................................................................................................... หองสมุดมหาวิทยาลัย 5 วิทยาเขต .............................................................................................................. สํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนือ่ ง ........................................................................................................ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ................................................................................................... ศูนยบริการวิชาการ ...............................................................................................................................................

341 343 344 345 346 351 354 355

สวัสดิการและกิจการนักศึกษา วิทยาเขตหาดใหญ

หอพักนักศึกษา ................................................................................................................................................ การประกันสุขภาพ ........................................................................................................................................ บริการปรึกษา/แนะแนว ........................................................................................................................... ทุนการศึกษาและเงินยืมเพือ่ การศึกษา ........................................................................................... กิจกรรมนักศึกษา ..........................................................................................................................................

359 360 362 363 364

วิทยาเขตปตตานี

หอพักนักศึกษา ............................................................................................................................................... 366 บริการสุขภาพ ................................................................................................................................................ 368

145x210mm_����������� �� 2560.indd 6

6/6/16 10:23 AM


กิจกรรมนักศึกษา ............................................................................................................................................ 369 ทุนการศึกษาและเงินยืมเพือ่ การศึกษา ......................................................................................... 371

วิทยาเขตภูเก็ต

หอพักนักศึกษา .............................................................................................................................................. การประกันสุขภาพ ...................................................................................................................................... บริการสุขภาพ .................................................................................................................................................. ทุนการศึกษาและเงินยืมเพือ่ การศึกษา .......................................................................................... ภารกิจเกีย่ วกับการจัดหางาน ............................................................................................................... บริการใหคําปรึกษา ...................................................................................................................................... การศึกษาวิชาการทหาร/การขอผอนผัน ....................................................................................... งานกีฬา ................................................................................................................................................................ กิจกรรมนักศึกษา ...........................................................................................................................................

วิทยาเขตสุราษฎรธานี

หอพักนักศึกษา ............................................................................................................................................... การประกันสุขภาพ ..................................................................................................................................... ทุนเพื่อการศึกษา ............................................................................................................................................. บริการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ................................................................................................ กิจกรรมนักศึกษา ........................................................................................................................................... กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพือ่ พัฒนานักศึกษา ................................................................................

วิทยาเขตตรัง

หอพักนักศึกษา ................................................................................................................................................ การประกันสุขภาพ ...................................................................................................................................... บริการการใหคําปรึกษา ...................................................................................................................... การบริการแนะแนวอาชีพและการศึกษาตอ ............................................................................... ทุนการศึกษาและเงินยืมเพือ่ การศึกษา ........................................................................................... กิจกรรมนักศึกษา ............................................................................................................................................

145x210mm_����������� �� 2560.indd 7

372 375 376 377 379 380 380 380 381 382 383 384 385 385 386 387 388 391 391 392 392

6/6/16 10:23 AM


ภาคผนวก โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพเิ ศษของมหาวิทยาลัย ........................................................................ 397 โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษของคณะตางๆ

วิทยาเขตหาดใหญ

คณะวิทยาศาสตร ................................................................................................................................... คณะพยาบาลศาสตร ....................................................................................................................... คณะทรัพยากรธรรมชาติ ............................................................................................................... คณะวิศวกรรมศาสตร ..................................................................................................................... คณะวิทยาการจัดการ ..................................................................................................................... คณะการแพทยแผนไทย ................................................................................................................ คณะเศรษฐศาสตร ............................................................................................................................

400 405 406 406 412 413 414

วิทยาเขตปตตานี

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี .............................................................................................. 419 คณะศิลปกรรมศาสตร .................................................................................................................... 422 วิทยาลัยอิสลามศึกษา ...................................................................................................................... 423

วิทยาเขตภูเก็ต

วิทยาเขตภูเก็ต ...................................................................................................................................... คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม .................................................................................................. คณะการบริการและการทองเทีย่ ว ........................................................................................... คณะวิเทศศึกษา วิทยาเขตภูเก็ต ............................................................................................ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร ............................... โครงการจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ภูเก็ต ..........

424 426 430 431 433 434

วิทยาเขตตรัง

คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ ...................................................................................... 435 โครงการจัดตัง้ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ......................................................................... 437 วิทยาเขตสุราษฎรธานี วิทยาเขตสุราษฎรธานี ..................................................................................................................... 438

145x210mm_����������� �� 2560.indd 8

6/6/16 10:23 AM


ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤ÃÔ¹·Ãì Prince of Songkla University

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 9

1

6/6/16 10:23 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

10

สมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร Prince Mahidol of Songkla สมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ Prince Mahidol of Songkla ��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 10 10

11/3/14 10:23 6/6/16 7:12 AM PM


0

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร:

มหาวิ มหาวิททยาลั ยาลัยยวิวิจจัยัยแห แหงงชาติ ชาติแและมหาวิ ละมหาวิททยาลั ยาลัยยชัชั้น้นนํนําาในภู ในภูมมิภภิ าคเอเชี าคเอเชียย “ครั “ครั้ง้งนีนี้เ้เปปนนครั ครั้ง้งแรกที แรกที่ไ่ไดดมมาเยี าเยี่ย่ยมมหาวิ มมหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทร ทร และขอแสดงความ และขอแสดงความ ยิยินนดีดีทที่มี่มหาวิ ท ยาลั ย นี ้ ไ ด ก  อ ตั ้ ง ขึ น ้ เป น ผลสํ า เร็ จ และมี น ก ั ศึ ก ษาได ส า ํ เร็ หาวิทยาลัยนี้ไดกอตั้งขึ้นเปนผลสําเร็จ และมีนักศึกษาไดสําเร็จจการศึ การศึกกษามาแล ษามาแลวว แสดงว แสดงวาาเป เปนนผลที ผลที่ ส่ สมบู มบูรรณณแแลลวว การที การที่ ม่ มหาวิ หาวิททยาลั ยาลัยยได ไดตตั้ งั้ งขึขึ้ น้ นมาก็ มาก็ตตอองพิ งพิจจารณาดู ารณาดูววาาตตอองง ประกอบด ประกอบดววยองค ยองคปประกอบหลายอย ระกอบหลายอยาางที งที่เ่เปปนนสํสําานันักกศึศึกกษาและสถาบั ษาและสถาบันนใดๆ ใดๆ เราก็ เราก็ตตอองมาคิ งมาคิดด ดูดูววาา ตตอองมี งมีสสถานที ถานที่ค่คือือ อาคาร อาคาร หหอองเรี งเรียยนน เครื เครื่อ่องมื งมืออ สํสําาหรั หรับบสอน สอน สํสําาหรั หรับบเรี เรียยนก็ นก็มมีอีอยูยูแแลลวว โดยได ต ง ้ ั ขึ น ้ มาถึ ง สองแห ง ที ห ่ าดใหญ แ ละที ป ่ ต  ตานี การสร า งก็ น บ ั ว า สร า งขึ น ้ มาได โดยไดตั้งขึ้นมาถึงสองแหงที่หาดใหญและที่ปตตานี การสรางก็นับวาสรางขึ้นมาไดใใชชแแลลวว และเข และเขาาใจว ใจวาาตตอองสร งสราางต งตออไปอี ไปอีกก เพื เพื่อ่อให ใหเเหมาะสมกั หมาะสมกับบความต ความตอองการคื งการคืออหลั หลักกสูสูตตรที รที่ด่ดี ี ซึซึ่ง่งตตอองง ได าจารย ตัตั้ง้งหลั หลักกสูสูตตรและวิ รและวิธธีกีการสอน ารสอน วิวิธธี ี ไดศศึกึกษามา ษามา ผูผูทที่ศี่ศึกึกษาวิ ษาวิธธีกีการก็ ารก็ไไดดแแกกผผูทูที่เี่เปปนนครู ครูออาจารย การเรี การเรียยนน ซึซึ่ง่งก็ก็ไไดดจจัดัดมาเป มาเปนนลํลําาดัดับบจนเป จนเปนนผลสํ ผลสําาเร็เร็จจมาขั มาขั้น้นหนึ หนึ่ง่งแล แลวว องค องคปประกอบต ระกอบตออไปก็ ไปก็คคือือ อาจารย อาจารย อาจารย อาจารยผผูทูที่จี่จะมาประสาทความรู ะมาประสาทความรูแแกกผผูทูที่จี่จะมาศึ ะมาศึกกษา ษา ก็ก็ตตอองพร งพรออมด มดววยความรู ยความรู  และ และ ความตั ความตั้ ง้ งใจที ใจที่ จ่ จะให ะใหคความรู วามรู แ แกกออนุนุชชนรุ นรุ น นหลั หลังง เพื เพื่ อ่ อทีที่ จ่ จะสร ะสราางความมั งความมั่ น่ นคง คง โดยสร โดยสราางคนที งคนที่ ม่ มี ี ความรู ค  วามสามารถเพื อ ่ ที จ ่ ะได เ ป น ผลในภายภาคหน า คื อ ผู ท  เ ่ ี รี ย นรู แ  ล ว ได ส ามารถที ความรูความสามารถเพื่อที่จะไดเปนผลในภายภาคหนาคือ ผูที่เรียนรูแลวไดสามารถที่จ่จะะ สร สราางความเจริ งความเจริญญ แก แกตตนเอง นเอง และแก และแกบบาานเมื นเมือองเป งเปนนสสววนรวม นรวม ................... ................... ““ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จจพระเจ พระเจาาอยู อยูหหัวัวฯฯ พระราชทานแก พระราชทานแกนนักักศึศึกกษา ษา มหาวิ มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทร ทรเเมืมื่อ่อวัวันนทีที่ ่ 31 31 สิสิงงหาคม หาคม พุพุททธศั ธศักกราช ราช 2515 2515 ณ ณ หอประชุ หอประชุมม มหาวิ มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทร ทร วิวิททยาเขตป ยาเขตปตตานี

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

7:12 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 11

3

6/6/16 10:23 AM


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Prince of Songkla University

ตรา สัญลักษณ ดอกไม และสีของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ตรา พระมหาพิชัยมงกุฏ คือ ศิราภรณ ซึ่งเปนสัญลักษณสําคัญ แสดงวาทรงเปน พระมหากษัตริย จักรกับตรีศูล คือ ตราเครื่องหมายประจําพระบรมราชวงศจักรี ซึง่ เปน พระมหากษัตริยแหงประเทศไทย ม.อ. (ไขว) คือ อักษรยอมาจากพระนามเดิมของ สมเด็จพระราชบิดา เจาฟา “มหิดลอดุลยเดช” และอักษรยอ ม.อ. นี้ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวโปรดเกลาฯ ใหแกะสลักดวยงาที่ นมตาลิปดใบตาล ถวายเมื่อสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟา มหิดลอดุลยเดช ทรงผนวชเปนสามเณร สงขลานครินทร คือ พระนามฐานันดรศักดิท์ พี่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวฯ โปรดเกลาฯ สถาปนาดํารงพระอิสริยยศ ฐานันดรศักดิ์ เปนเจาตางกรม ในพระนามสมเด็จเมือง สงขลา เปนพระนามทรงกรม กรมขุนสงขลานครินทร เพื่อเปนเกียรติแกเมืองสงขลา เมื่อ พ.ศ. 2446 เสมือนเปน เจาแหงนครสงขลา ดอกไม คือ ดอกศรีตรัง (Jacaranda filicifolia (Anders) D.Don) สี คือ สีน้ําเงิน (blue)

4

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 12

6/6/16 10:23 AM


ปณิธาน

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ยึดพระราชปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เปนปณิธานในการดําเนินงาน คือ “ขอใหถอื ผลประโยชนสวนตัวเปนทีส่ อง ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย และเกียรติยศจะตกมาแกทานเอง ถาทานทรงธรรมะแหงอาชีพยไวใหบริสุทธิ” “Our Soul is for the Benefit of Mankind”

เจตนารมณ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนสถานศึกษาและการคนควาวิจัย มีวัตถุประสงค หลักในดานการผลิ ตบัณฑิ ตกั บการพั ฒนาและถายทอดวิ ชาการและวิ ชาชีพชั้ นสู ง โดย กระบวนการสอน วิจัย บริการทางวิชาการแกสังคมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของ ชาติ

วิสัยทัศน

“มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร เป นมหาวิ ทยาลั ยชั้ นนําในระดั บภู มิ ภาคเอเชี ย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน”

พันธกิจ

1. พัฒนา มหาวิทยาลัยใหเปนสังคมฐานความรูบนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม และ หลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยใหผใู ฝรไู ดมีโอกาสเขาถึงความรูใ นหลากหลายรูปแบบ 2. สรางความเปนผูนําทางวิชาการในสาขาที่สอดคลองกับศักยภาพพื้นฐานของ ภาคใต และเชื่อมโยงสูเครือขายสากล 3. ผสมผสานและประยุกตความรูบนพื้นฐานประสบการณการปฏิบัติสูการสอน เพื่อสรางปญญา คุณธรรม สมรรถนะและโลกทัศนสากลใหแกบัณฑิต

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 13

5

6/6/16 10:23 AM


ประวัติการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป พ.ศ. 2505 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ไดรับมอบหมายจากรัฐบาล ใหตั้งคณะกรรมการจัดทําโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยภาคใตขึ้น โดยใหเปนสวนหนึ่งของ แผนพัฒนาภาคใต ในระยะแรกคณะกรรมการฯ มีความเห็นวาควรตั้งเปนวิทยาลัย ศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร (College of Arts and Sciences) กอน แลวจึงจะขยาย เปนมหาวิทยาลัย คณะกรรมการชุดนี้ไดดําเนินการจนถึงขั้นสํารวจบริเวณที่จะจัดสราง มหาวิทยาลัยที่ทุงนเรนทร ตําบลบอทอง อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี แตการดําเนินงาน ตองหยุดชะงักลง ใน พ.ศ. 2506 เพราะไมไดรับงบประมาณ และมีการเปลี่ยนรัฐบาล เมื่อมีรัฐบาลชุดใหมแลวจึงไดตั้งคณะกรรมการพัฒนาภาคใต ขึ้นอีกครั้งโดยมี พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เปนประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาภาคใตชุดนี้ ไดดําเนินการสํารวจ และศึกษาความเปนไปได ในการที่จะจัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต ในชวงป พ.ศ. 2506-2508 แลวไดขอเสนออนุมัติ หลักการจากรัฐบาล 2 ขอ คือ 1. มหาวิทยาลัยภาคใต จะเปนมหาวิทยาลัยที่มีการจัดตั้ งคณะวิชากระจายอยู ตามจังหวัดตางๆ โดยมีศนู ยกลางอยูที่ ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี โดย จะจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตรขึ้นกอน จากนั้นจะจัดตั้งคณะวิชาอื่นๆ เชน จะจัดตั้งคณะ ครุศาสตรและรัฐศาสตร ที่ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี (เขาตูม เปนตําบล ในเขตจั งหวั ดปตตานี แต อยู ติ ดกับเขตเทศบาลเมื องยะลา) จั ดตั้ งคณะแพทยศาสตร ที่ตําบลเขารูปชาง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา และจัดตั้งคณะพาณิชยศาสตรและการ บัญชี ที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เปนตน 2. ขอใหจัดสรรงบประมาณเพื่อดําเนินการตามขอ 1 ในป 2509 ในวงเงิน 30 ลานบาท ป พ.ศ. 2508 คณะกรรมการพัฒนาภาคใต ไดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการ กอตั้งมหาวิทยาลัยภาคใตขึ้น โดยมี พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร เปนประธานคณะ กรรมการฯ ป พ.ศ. 2509 เริ่ มดําเนิ นการให มี การก อสรางอาคาร “มหาวิ ทยาลั ยภาคใต ” ขึ้นที่ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี โดยมุงที่จะใหเปนอาคารของคณะ วิศวกรรมศาสตรก อน และมีสํานักงานชั่ วคราวของมหาวิทยาลัยอยู ที่ อาคารคณะ วิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร กรุงเทพมหานคร (ปจจุบันคือ คณะ เภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล) ในระยะนี้คณะผูบริหารมหาวิทยาลัยอยูในรูปของคณะ

6

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 14

6/6/16 10:23 AM


กรรมการดําเนินการกอตั้งมหาวิทยาลัยภาคใต โดยมีประธานคณะกรรมการ (พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร) ทําหนาที่อธิการบดี ตอมาคณะกรรมการฯ เห็นวา เพื่อใหสถาบันแหงนี้เปนศูนยรวมใจของประชาชน และเปนสิรมิ งคลแกมหาวิทยาลัย ควรที่จะนําความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวฯ เพื่อขอพระราชทานชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ชื่อเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2510 วา “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร” ตามพระอิสริยยศ ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกฯ (ซึ่งทรงเปนสมเด็จ พระเจาลูกยาเธอเจาฟามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร ในรัชกาลที่ 5 เปนสมเด็จ พระเจานองยาเธอ เจาฟามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร ในรัชกาลที่ 6 เปน สมเด็จพระเจาพี่ยาเธอ เจาฟามหิดล อดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร ในรัชกาลที่ 7 และเป นสมเด็ จพระราชบิ ดา เจ าฟ ามหิ ดลอดุ ลเดช กรมหลวงสงขลานคริ น ทร ใน รัชกาลที่ 8 และเปนสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกฯ ใน รัชกาลที่ 9) มหาวิทยาลัยจึงถือวา วันที่ 22 กันยายน ของทุกปเปนวันสําคัญวันหนึ่ง ของมหาวิทยาลัย โดยเรียกวา “วันสงขลานครินทร” ป พ.ศ. 2510 มหาวิทยาลัยเปดรับนักศึกษาเข าเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร ซึ่งเปนนักศึกษารุนแรกของมหาวิทยาลัย จํานวน 50 คน โดยใชอาคารเรียนของคณะ วิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร ดานการเรียนการสอนนั้นไดจัดตั้ง คณะวิทยาศาสตร ขึ้ น เพื่ อเป นแกนกลางในการสอนวิชาพื้ นฐานทางวิ ทยาศาสตร และ ศิลปศาสตรแกคณะวิศวกรรมศาสตร (ที่เปดรับนักศึกษาแลว) และคณะอื่นๆ ที่จะเปดรับ ตอไป ในเดื อนพฤษภาคม 2510 มหาวิ ทยาลั ยรั บอาจารย รุ นแรกจํานวน 5 คน คื อ ดร.ประดิษฐ เชยจิตร ดร.ปรีดา วิบูลยสวัสดิ์ ดร.นาท ตัณฑวิรุฬห อาจารยเย็นใจ เลาหวณิชย และ ดร.ศิริพงษ ศรีพิพัฒน ทําการสอนวิชาทางดานวิทยาศาสตร สวนวิชา พื้ นฐานวิศวกรรมศาสตร นั้ น ได รับความรวมมือในการสอนเครื่ องมื อและอุปกรณการ ปฏิบตั ทิ ดลองจากโรงเรียนชางฝมอื ทหารกรุงเทพฯ ระหวางที่ดําเนินการกอสรางมหาวิทยาลัยที่ปตตานีนั้น ศาสตราจารย ดร.สตางค มงคลสุ ข และคณาจารย ของมหาวิ ทยาลั ยได ดําเนิ นการสํารวจและดู แ ลการก อสร าง พบวาบริเวณพื้นที่ดังกลาวไมเหมาะที่จะสรางอาคารวิศวกรรมศาสตร เพราะสภาพพื้นดิน เปนที่ลุมและโครงสรางทางธรณีวิทยาของพื้นที่ไมแข็งแรงพอที่จะรองรับน้ําหนักอาคาร ขนาดใหญและเครื่องจักรกลที่มีน้ําหนักมากได กอปรกับบริเวณนี้อยูติดชายทะเล ความ ชื้นจากไอน้ําและความเค็มจากทะเลจะทําใหเครื่องมือและอุปกรณตางๆ ซึ่งสวนใหญเปน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 15

7

6/6/16 10:23 AM


โลหะและเครื่องอิเล็กทรอนิกสจะเสื่อมสภาพไดงาย คณะสํารวจจึงเห็นวาพื้นที่ที่ปตตานี เหมาะที่ จะใชเปนที่ ตั้ งของคณะศึกษาศาสตร และคณะวิ ชาทางด านสังคมศาสตร และ มนุษยศาสตรมากกวาที่จะตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร จึงมีการพิจารณาหาสถานที่ใหมที่มี ความเหมาะสม และพบวาพื้ นที่ บริเวณตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา มี ความเหมาะสมที่ จะตั้ งเป นคณะวิศวกรรมศาสตร และคณะวิ ชาทางด านวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี คณะผู บริ หารจึ งติ ดต อซื้ อที่ ดิ นบริ เวณดั งกล าวจากคุ ณหญิ งหลง อรรถกระวีสุนทร และเรียนใหคุณหญิงทราบวาจะขอซื้อเพื่อตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเปน การกระจายโอกาสทางการศึกษาและยกมาตรฐานการศึกษาในทองถิ่ นใหถึงระดับอุดม ศึกษา คุณหญิงฯ ไดขอเวลาปรึกษากับบุตรธิดาของทานกอน ซึ่งบุตรธิดาของทานทุกคน เห็นพองตองกันวาสมควรที่จะมอบที่ดินใหแกทางราชการเพื่อตั้งมหาวิทยาลัย จะไดสม ความปรารถนาของคุณหญิงที่เคยปรารภอยูเสมอวา “เมื่อสิ้นคุณพอ (พระยาอรรถกระวี สุนทร) แลว หากขายที่ดินไดเงินกอนใหญเมื่อใด จะบริจาคชวยเหลือทางดานการศึกษา ให เป นล่ํา เป น สั นสั กก อน “คุ ณหญิ งจึ งยกที่ ดิ นให เพื่ อสนั บสนุ นรั ฐบาลในการตั้ งมหาวิทยาลัยในภาคใต พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร และศาสตราจารย ดร. สตางค มงคลสุข จึ งนําคุ ณหญิ งและบุ ต รธิ ดา เข าเฝ าพระบาทสมเด็ จพระเจ าอยู หั วฯ ณ พระตําหนั ก จิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2510 ถวายโฉนดที่ดินจํานวน 690 ไร เพื่อพระราชทานแกมหาวิทยาลัย โดยคุณหญิงและบุตรธิดาไดแสดงความรูสึก และย้ํ า เจตจํานงในการบริ จาคที่ ดิ นว า “พวกเรามี ค วามภู มิ ใจเป นอั นมากที่ ได มี ส วน ชวยเหลือประเทศชาติในครั้ งนี้ ” (ตอมาผูจั ดการมรดกตระกูลอรรถกระวีสุนทรไดมอบ ที่ดินใหแกมหาวิทยาลัยเพิ่มอีก 90 ไร) ในวั นที่ 12 มี นาคม 2511 มี ประกาศใช พระราชบั ญญั ติ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทร ในราชกิจจานุเบกษา (เลมที่ 85 ตอนที่ 24 ราชกิจจานุเบกษา 12 มีนาคม 2511) มหาวิทยาลัยจึงกําหนดเอาวันถัดจากนั้น 1 วัน คือ วันที่ 13 มีนาคม เปนวัน สถาปนามหาวิทยาลัย และในวันที่ 8 เมษายน 2511 ไดมีพระราชกฤษฎีกา แบงสวน ราชการในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประกอบดวย 3 หนวยงาน คือ 1. สํานักงานอธิการบดี 2. คณะวิทยาศาสตร 3. คณะวิศวกรรมศาสตร และในวันที่ 17 เมษายน 2511 ไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งให พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร เปนอธิการบดี และมีการแตงตั้งใหศาสตราจารย ดร.สตางค มงคลสุข เปนรองอธิการบดี

8

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 16

6/6/16 10:23 AM


ในป พ.ศ. 2511 มหาวิทยาลัยเปดรับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร รุนแรก จํานวน 60 คน เปนนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร 35 คน สาขาศิลปศาสตร 25 คน ในภาคการ ศึกษาแรกเรียนอยู ที่คณะวิทยาศาสตรการแพทย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรจนถึงภาค การศึกษาที่ 2 คณะอาจารยและนักศึกษาจึงไดยายมาอยูที่ศูนย การศึกษาที่ปตตานี เมื่อ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2511 สวนนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรยังคงเรียนอยูที่กรุงเทพฯ วันที่ 5 ธันวาคม 2511 ไดมีพระราชกฤษฎีกาฉบับใหมใหเพิ่ม คณะศึกษาศาสตร เปนสวนราชการของมหาวิทยาลัยเพิ่มเติม สําหรับการกอสรางมหาวิทยาลัยศูนยหาดใหญ ที่ตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เริ่มกอสรางในป 2512 จนถึงวันที่ 5 กรกฎาคม 2514 จึงไดยายอาจารย และนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร ชั้นปที่ 2, 3 และ 4 ประมาณ 200 คน มาเรียนที่ ศูนยหาดใหญ สวนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ยังคงเรียนที่กรุงเทพฯ และยายตามลงมาในปลาย ป การศึ กษา 2514 พร อมกั บนั กศึ กษาคณะวิ ท ยาศาสตร รุ นแรก (เป ดรั บในป 2512) จํานวน 60 คน และบุคลากรของมหาวิทยาลัยทุกสวน ราชการไดยา ยมาอยูที่ศูนยหาดใหญ ในป 2514 เชนเดียวกัน จึ งถื อได วา มหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทรได มีศู นยดําเนิ นการปฏิบัติพั นธกิ จ ดานตางๆ ที่ปตตานีและหาดใหญเปนการถาวรตั้งแตป 2514 นับถึงปจจุบันมหาวิทยาลัยฯ ไดดําเนินงานมาดวยความเจริญกาวหนา มีการตั้ง คณะวิชาตางๆ จนถึงขณะนี้ 38 คณะ ตามลําดับดังนี้ พ.ศ. 2510 - รับนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร 2511 - รับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร 2512 - รับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร 2516 - รับนักศึกษาคณะแพทยศาสตร 2517 - รับนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร 2518 - รับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 2519 - รับนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ 2520 - รับนักศึกษาคณะทรัพยากรธรรมชาติ - รับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต (อนุปริญญา) 2522 - รับนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร - รับนักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย สาขาเคมีศึกษาเปนสาขาแรก 2526 - รับนักศึกษาคณะทันตแพทยศาสตร 2528 - รับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 17

9

6/6/16 10:23 AM


2529 - รับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตอเนื่อง (1 ป และ 2 ป) 2532 - รับนักศึกษาวิทยาลัยอิสลามศึกษา 2533 - รับนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี (อนุปริญญา) - เริม่ โครงการจัดตัง้ วิทยาเขตภูเก็ต 2534 - รับนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ โครงการขยายการศึกษาทีจ่ ังหวัดตรัง 2535 - โครงการจัดตัง้ คณะการจัดการสิง่ แวดลอม ทีว่ ิทยาเขต หาดใหญ 2536 - โครงการจัดตัง้ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ทีว่ ิทยาเขต หาดใหญ 2537 - รับนักศึกษาคณะการจัดการโรงแรมและการทองเทีย่ ว ทีว่ ทิ ยาเขตภูเก็ต 2538 - รับนักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาชีวเคมี เปนสาขาแรก 2539 - พัฒนาโครงการขยายการศึกษาที่จังหวัดตรัง เปนวิทยาเขต สารสนเทศ 2540 - โครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร ทีว่ ิทยาเขตหาดใหญ 2542 - รับนักศึกษาโครงการจัดตัง้ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ที่วิทยาเขตสุราษฎรธานี 2543 - เปลีย่ นชือ่ โครงการจัดตัง้ คณะการจัดการโรงแรมและการ ทองเที่ยว วิทยาเขตภูเก็ต เปนคณะอุตสาหกรรมบริการ - จัดตัง้ คณะศิลปกรรมศาสตร ทีว่ ิทยาเขตปตตานี - จัดตั้งสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ที่วิทยาเขต ปตตานี 2545 - จัดตั้งคณะวิทยาการสือ่ สาร ที่วทิ ยาเขตปตตานี - จัดตั้งคณะนิติศาสตร ที่วิทยาเขตหาดใหญ - เปลีย่ นชือ่ โครงการจัดตัง้ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม วิทยาเขตสุราษฎรธานี เปนคณะเทคโนโลยีและการจัดการ 2546 - จัดตั้งคณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ ทีเ่ ขตการศึกษาตรัง - จัดตัง้ คณะเศรษฐศาสตร ทีว่ ิทยาเขตหาดใหญ

10

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 18

6/6/16 10:23 AM


2547 - กําหนดใหเรียกสวนขยายการจัดการศึกษาของ มหาวิทยาลัยที่ภูเก็ต สุราษฎรธานีและตรัง เปน เขตการศึกษาภูเก็ต เขตการศึกษาสุราษฎรธานี และเขตการศึกษาตรัง - จัดตั้งสถาบันสันติศกึ ษา 2548 - เริม่ โครงการจัดตั้งคณะการแพทยแผนไทย ทีว่ ิทยาเขต หาดใหญ 2549 - เริม่ โครงการจัดตั้งคณะรัฐศาสตร ที่วทิ ยาเขตปตตานี 2550 - จัดตั้งคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ที่เขตการศึกษา สุราษฎรธานี - เปลี่ยนชือ่ คณะอุตสาหกรรมบริการ เขตการศึกษาภูเก็ต เปนคณะบริการและการทองเทีย่ ว - จัดตั้งคณะวิเทศศึกษา ที่เขตการศึกษาภูเก็ต - กําหนดใหเขตการศึกษาภูเก็ต เขตการศึกษาสุราษฎรธานี เปนวิทยาเขตภูเก็ต และวิทยาเขตสุราษฎรธานี ตามลําดับ 2551 - เริม่ โครงการจัดตัง้ คณะเทคนิคการแพทย ทีว่ ิทยาเขต หาดใหญ - เปลีย่ นชื่อคณะเทคโนโลยีการจัดการ ที่วิทยาเขตสุราษฎรธานี เปนคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม - เปลีย่ นชื่อคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร วิทยาเขต สุราษฎรธานี เปนคณะศิลปศาสตรและการจัดการ 2552 - เริม่ โครงการจัดตัง้ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ทีว่ ทิ ยาเขต ตรัง 2553 - เริม่ โครงการจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร ทีว่ ทิ ยาเขต หาดใหญ - เริม่ โครงการจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติ - เริม่ โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร ทีว่ ิทยาเขตปตตานี 2555 - รับนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ 2558 - รับนักศึกษาโครงการจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร 2559 - รับนักศึกษาโครงการจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติศิลปศาสตร และวิทยาศาสตรภเู ก็ต àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 19

11

6/6/16 10:23 AM


ปจจุบันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปดสอนสาขาวิชาตางๆ จํานวน 319 สาขา เป นการศึ กษาระดั บปริ ญญาเอกและเที ย บเท า 64 สาขา ปริ ญญาโท 104 สาขา ประกาศนียบัตรชั้นสูง 5 สาขา ประกาศนียบัตรบัณฑิต 2 สาขา ปริญญาตรี (4-6 ป) 144 สาขา

12

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 20

6/6/16 10:23 AM


รายนามนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นับตั้งแตมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2557) มีผูดํารงตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย จํานวน 6 คน ดังตอไปนี้ 1. จอมพลถนอม กิตติขจร 13 มีนาคม 2511 - 17 กันยายน 2515 2. พันเอก(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร 18 กันยายน 2515 - 17 กันยายน 2517 18 กันยายน 2517 - 17 กันยายน 2519 18 กันยายน 2519 - 17 กันยายน 2521 18 กันยายน 2521 - 17 กันยายน 2522 3. นายโอสถ โกศิน 24 สิงหาคม 2522 - 23 สิงหาคม 2524 24 สิงหาคม 2524 - 23 สิงหาคม 2526 24 สิงหาคม 2526 - 23 สิงหาคม 2528 4. นายเกษม จาติกวนิช 24 สิงหาคม 2528 - 23 สิงหาคม 2530 24 สิงหาคม 2530 - 23 สิงหาคม 2532 5. ศาสตราจารย ดร.เกษม สุวรรณกุล 5 กันยายน 2532 - 4 กันยายน 2534 14 ตุลาคม 2534 - 13 ตุลาคม 2536 15 ธันวาคม 2536 - 14 ธันวาคม 2538 19 มกราคม 2539 - 18 มกราคม 2541 22 มกราคม 2541 - 21 มกราคม 2543 19 กุมภาพันธ 2543 - 18 กุมภาพันธ 2545 19 กุมภาพันธ 2545 - 18 กุมภาพันธ 2547 19 กุมภาพันธ 2547 - 18 กุมภาพันธ 2549 19 กุมภาพันธ 2549 - 27 กันยายน 2557 6. ศาสตราจารย นพ.จรัส สุวรรณเวลา - ปจจุบัน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 21

13

6/6/16 10:23 AM


เร

รายนามอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตัตั้ ง้ งแต แตเเริริ่ ม่ มมีมีพพระราชบั ระราชบัญญญัญัตติมิมหาวิ หาวิททยาลั ยาลัยยมาเมื มาเมื่ อ่ อปป พ.ศ. พ.ศ. 2511 2511 จนถึ จนถึงงปปจจจุจุบบันัน มีมี ผูผูดดําํารงตํ รงตําาแหน แหนงงอธิ อธิกการบดี ารบดี จํจําานวน นวน 11 11 คน คน ดัดังงนีนี้ ้ สมั สมัยยทีที่ ่ 11 เมษายน พ.อ.(พิ เมษายน 2511 2511 -- มีมีนนาคม าคม 2512 2512 พ.อ.(พิเเศษ) ศษ) ถนั ถนัดด คอมั คอมันนตร ตร สมั ย ที ่ 2 สมัยที่ 2 มีมีนนาคม ศ.ดร.สตางค าคม 2512 2512 -- กรกฎาคม กรกฎาคม 2514 2514 ศ.ดร.สตางค มงคลสุ มงคลสุขข สมั สมัยยทีที่ ่ 33 กรกฎาคม ศ.ดร.บั ทอง กรกฎาคม 2514 2514 -- กรกฎาคม กรกฎาคม 2516 2516 ศ.ดร.บัววเรศ เรศ คํคําาทอง สมั ย ที ่ 4 สมัยที่ 4 กรกฎาคม ศ.นพ.สวั กรกฎาคม 2516 2516 -- กรกฎาคม กรกฎาคม 2518 2518 ศ.นพ.สวัสสดิดิ์ ์ สกุ สกุลลไทย ไทย สมั ย ที ่ 5 และ 6 สมัยที่ 5 และ 6 กรกฎาคม ผศ.ดร.ผาสุ กรกฎาคม 2518 2518 -- มิมิถถุนนุ ายน ายน 2522 2522 ผศ.ดร.ผาสุขข กุกุลลละวณิ ละวณิชชยย สมั สมัยยทีที่ ่ 77 และ และ 88 กรกฎาคม รศ.นพ.ทองจั กรกฎาคม 2522 2522 -- มิมิถถุนนุ ายน ายน 2528 2528 รศ.นพ.ทองจันนทร ทร หงศ หงศลลดารมภ ดารมภ สมั สมัยยทีที่ ่ 99 และ และ 10 10 กรกฎาคม ผศ.ดร.ผาสุ กรกฎาคม 2528 2528 -- พฤษภาคม พฤษภาคม 2534 2534 ผศ.ดร.ผาสุขข กุกุลลละวณิ ละวณิชชยย สมั ย ที ่ 11 และ 12 สมัยที่ 11 และ 12 มิมิถถุนนุ ายน รศ.ดร.ศิ ายน 2534 2534 -- พฤษภาคม พฤษภาคม 2540 2540 รศ.ดร.ศิรริพพิ งษ งษ ศรีพิพัฒน สมั สมัยยทีที่ ่ 13 13 มิมิถถุนนุ ายน ผศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ ายน 2540 2540 -- พฤษภาคม พฤษภาคม 2543 สมั สมัยยทีที่ ่ 14 14 และ และ 15 15 มิมิถถุนุนายน รศ.ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ ายน 2543 2543 -- พฤษภาคม พฤษภาคม 2549 สมั สมัยยทีที่ ่ 16 16 และ และ 17 17 มิมิถถุนุนายน 2549 รศ.ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข ายน 2549 -- พฤษภาคม พฤษภาคม 2555 สมั สมัยยทีที่ ่ 18 18 รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล มิมิถถุนุนายน ายน 2555 2555 - พฤษภาคม ปจจุบัน 2558 สมัยที่ 19 มิถุนายน 2558 - ปจจุบัน รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล

14 14

àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹ ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 22

6/6/16 10:23 AM

������


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

23

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในปจจุบัน

ปปจจจุจุบบันนั มหาวิ มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทร ทร แบ แบงงสถานศึ สถานศึกกษาออกเป ษาออกเปนน 55 วิวิททยาเขตดั ยาเขตดังงนีนี้ ้ 1.1. วิวิททยาเขตหาดใหญ ยาเขตหาดใหญ ตัตั้ง้งอยู อยู ท ที่ตี่ตําําบลคอหงส บลคอหงส อํอําาเภอหาดใหญ เภอหาดใหญ จัจังงหวั หวัดดสงขลา สงขลา มีมีคคณะ/หน ว ยงานที ส ่ า ํ คั ญ ดั ง นี ้ ณะ/หนวยงานที่สําคัญ ดังนี้ 1.1. บับัณณฑิฑิตตวิวิททยาลั 14. ยาลัยย 14. คณะเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร 2.2. คณะวิ ศ วกรรมศาสตร 15. คณะแพทย คณะวิศวกรรมศาสตร 15. คณะแพทยแแผนไทย ผนไทย 3.3. คณะวิ ท ยาศาสตร 16. คณะเทคนิ ค การแพทย คณะวิทยาศาสตร 16. คณะเทคนิคการแพทย 4.4. คณะแพทยศาสตร 17. คณะแพทยศาสตร 17. โครงการจั โครงการจัดดตัตัง้ ง้ คณะสั คณะสัตตวแพทยศาสตร วแพทยศาสตร 5.5. คณะพยาบาลศาสตร 18. วิ ท ยาลั ย นานาชาติ คณะพยาบาลศาสตร 18. โครงการจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติ 6.6. คณะวิ ท ยาการจั ด การ 19. คณะวิทยาการจัดการ 19. สถาบั สถาบันนทรั ทรัพพยากรทะเลและชายฝ ยากรทะเลและชายฝงง 7.7. คณะทรั 20. คณะทรัพพยากรธรรมชาติ ยากรธรรมชาติ 20. สถาบั สถาบันนสัสันนติติศศึกึกษา ษา 8.8. คณะเภสั ช ศาสตร 21. สถาบั น การจั ด การระบบสุ คณะเภสัชศาสตร 21. สถาบันการจัดการระบบสุขขภาพภาคใต ภาพภาคใต 9.9. คณะทั น ตแพทยศาสตร 22. ศู น ย ค อมพิ ว เตอร คณะทันตแพทยศาสตร 22. ศูนยคอมพิวเตอร 10. คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร 23. 10. คณะอุตสาหกรรมเกษตร 23. สํสําานันักกวิวิจจัยัยและพั และพัฒ ฒนา นา 11. คณะการจั ด การสิ ง ่ แวดล อ ม 24. ศู น ย เ ครื อ ่ งมื อ วิ ท ยาศาสตร 11. คณะการจัดการสิง่ แวดลอม 24. ศูนยเครือ่ งมือวิทยาศาสตร 12. 25. 12. คณะศิ คณะศิลลปศาสตร ปศาสตร 25. ศูศูนนยยบบริริกการวิ ารวิชชาการ าการ 13. 26. คณะนิตตศิ ศิ าสตร าสตร 26. อุอุททยานวิ ยานวิททยาศาสตร ยาศาสตรภภาคใต าคใต 13. คณะนิ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 15

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 23 23

11/3/14 10:23 6/6/16 7:12 AM PM


เร 2. วิทยาเขตปตตานี ตั้งอยูที่ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี มี คณะ/หนวยงานทีส่ ําคัญ ดังนี้ 1. คณะศึกษาศาสตร 7. วิทยาลัยอิสลามศึกษา 2. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 8. โครงการจัดตัง้ คณะพยาบาลศาสตร 3. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9. สํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนือ่ ง 4. คณะศิลปกรรมศาสตร 10. สํานักวิทยบริการ 5. คณะวิทยาการสือ่ สาร 11. สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวฒ ั นา 6. คณะรัฐศาสตร 12. สถาบันฮาลาล

3. วิทยาเขตภูเก็ต ตั้งอยูที่ ตําบลกะทู อําเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต มีคณะ/ หนวยงาน จัดการศึกษาดังนี้ 1. คณะการบริการและการทองเทีย่ ว 2. คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม 3. คณะวิเทศศึกษา 4. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร 5. วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

16

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 24

6/6/16 10:24 AM

������


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

25

4.4.4. วิวิวิทททยาเขตสุ ้ย้ย ้ยอํอําาอํเภอ ยาเขตสุรรราษฎร าษฎรธธธานี ้งอยูอยูทที่ที่ บี่ บาบานเขาท านเขาทาาเพชร าเพชรตํตําตําบลมะขามเตี าบลมะขามเตี าเภอ ยาเขตสุ าษฎร านีานีตัตัตั้ง้งอยู นเขาท เพชร บลมะขามเตี เภอ เมื อ ง จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี มี ค ณะ/หน ว ยงานจั ด การศึ ก ษาดั ง นี ้ รานีาษฎร ธณะ/หน านี ตัว้งวยงานจั อยู ที่ บดาดการศึ นเขาท าษาดั เพชร เมืเมือองง จัจัง4.งหวั มีมีคคณะ/หน งนีงนี้ ตํ้ าบลมะขามเตี้ย อําเภอ หวัดวิดสุทสุรยาเขตสุ ราษฎร าษฎรธธานี ยงานจั การศึกกษาดั 1. วิ ท ยาลั ย ชุ ม ชนสุ ร าษฎร ธ านี เมือง จังหวั1.1.ดสุวิรวิทาษฎร มีครณะ/หน ทยาลั ยาลัยธยชุานีชุมมชนสุ ชนสุ ราษฎร าษฎรธวธานียงานจั านี ดการศึกษาดังนี้ 2.2.1.2. คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี วิคณะวิ ทยาลัททยาศาสตร ยยาศาสตร ชุมชนสุรแาษฎร ธานี ออตุ ตุ อสาหกรรม คณะวิ สาหกรรม และเทคโนโลยี ละเทคโนโลยี ุตสาหกรรม 3.3.2.3. คณะศิ ล ปศาสตร แ ละวิ ท ยาการจั ด การ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี อ ุตสาหกรรม คณะศิ ล ปศาสตร แ ละวิ ท ยาการจั ด การ คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ 3. คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ

ยาเขตตรังง ตัตั้งอยู ้งอยูทที่ ตํี่ ตําบลควนปริ าบลควนปริง งอําอํเภอเมื าเภอเมืององจังจัหวั งหวัดตรั ดตรัง ง มีคมีณะ/ คณะ/ 5.5.5. วิวิวิทททยาเขตตรั ยาเขตตรั ง ตั ง ้ อยู ท  ่ ี ตํ า บลควนปริ ง อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ตรั ง มี ค ณะ/ 5. วิ ท ยาเขตตรั ง ตั ง ้ อยู ท  ่ ี ตํ า บลควนปริ ง อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ตรั ง มี คณะ/ หนววยงาน ยงาน จัจัดดการศึ การศึกกษาดั ษาดังนีงนี้ ้ หน หน ว ยงาน จั ด การศึ ก ษาดั ง นี ้ หนวยงาน จั1.ดการศึ กษาดังชนียศาสตร ้ คณะพาณิ และการจัดการ ดการ 1.1. คณะพาณิ ชชยศาสตร แและการจั ละการจั ด คณะพาณิ ยศาสตร 1. คณะพาณิ ยศาสตร และการจั ดการ การ โครงการจัตชดยกรรมศาสตร ตั้งคณะสถาป ตยกรรมศาสตร 2.2.2. คณะสถาป คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร 2. โครงการจัดตั้งคณะสถาปตยกรรมศาสตร

14 14

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 25 25

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

17

11/3/14 10:24 6/6/16 7:12 AM PM


18

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 26

6/6/16 10:24 AM

วิทยาเขตหาดใหญ 1. คณะการจัดการสิ่งแวดลอม

คณะ

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 1) สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม 1) สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 5 กลุมวิชา ดังนี้ ประกอบดวย 6 สาขา ดังนี้ - กลุมวิชาสังคมสิ่งแวดลอมและ - วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมศึกษา - เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม - กลุม วิชาวิทยาศาสตร - สังคมศาสตรสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมและเทคโนโลยี - สิ่งแวดลอมศึกษา สิง่ แวดลอม - อนามัยสิ่งแวดลอม - กลุม วิชาอนามัยสิง่ แวดลอม - การรับรูระยะไกลและระบบ - กลุมวิชาสิ่งแวดลอมระบบโลก สารสนเทศภูมิศาสตร 2) สาขาวิชาการจัดการทองเที่ยว ผังเมืองและภูมิสารสนเทศ ศาสตร เชิงนิเวศชุมชน - กลุมวิชาการทองเที่ยวเพื่อ 3) สาขาวิชาสิง่ แวดลอมระบบโลก สิง่ แวดลอม 4) สาขาวิชาการจัดการพลังงาน 2) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา อยางยัง่ ยืน สิ่งแวดลอมระบบโลก 2. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาสังคมศาสตรเพื่อการ จัดการสิ่งแวดลอม

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 27

19

6/6/16 10:24 AM

2. คณะทันตแพทยศาสตร

คณะ

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 1. ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาศัลยศาสตรชองปาก (หลักสูตร 1 ป) - สาขาวิชาวิทยาศาสตรการ และแม็กซิลโลเฟเชียล - สาขาทันตกรรมประดิษฐ แพทย - สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ - สาขาศัลยศาสตรชอ งปากและ ชองปาก ประกอบดวย วิชาเอก แม็กซิลโลเฟเชียล 1) ทันตกรรมประดิษฐ - สาขาอายุรศาสตรชองปาก 2) ทันตกรรมจัดฟน - สาขาปริทันตวิทยา 3 ทันตกรรมสําหรับเด็ก 4) ทันตสาธารณสุข 2. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิทยาศาสตรสขุ ภาพ 5) ทันตกรรมบูรณะ ชองปาก (มี 3 สาขายอย คือ 6) ปริทันตวิทยา วิทยาศาสตรชองปาก, วิจัยทาง 7) วิทยาเอ็นโดดอนต คลินิกและสาธารณสุขชองปาก 8) วิทยาการวินจิ ฉัยโรคชองปาก 9) อายุรศาสตรชองปาก และทันตวัสดุ) 10) ความปวดชองปากใบหนา 3. ระดับวุฒิบัตร (หลักสูตรฝกอบรม - สาขาวิชาวิทยาการสุขภาพ ทันตแพทยประจําบาน/ทันตแพทย เฉพาะทาง) หลักสูตร 3 ป ชองปากประยุกต * - ทันตกรรมจัดฟน

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


20

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 28

6/6/16 10:24 AM

1. นิติศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 4 ป และภาคบัณฑิต 3 ป - สาขาวิชากฎหมายมหาชน - สาขาวิชากฎหมายแพงและ อาญา - สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ - สาขาวิชากฎหมายระหวาง ประเทศ 2. นิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ป) - สาขาวิชากฎหมายอิสลาม 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร ) - สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช

4. คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ระดับปริญญาตรี

3. คณะนิติศาสตร

คณะ

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการทรัพยากร ดิน

-

- สาขาการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร (*ไมตองจบทันตแพทยศาสตรก็ สมัครหลักสูตรนี้ได)

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาพืชศาสตร - สาขาวิชาวาริชศาสตร

-

- ศัลยศาสตรชองปากและ แม็กซิลโลเฟเชียล - ทั นตกรรมประดิษฐ - ทันตสาธารณสุข

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 29

21

6/6/16 10:24 AM

5. คณะพยาบาลศาสตร

คณะ

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต

- สาขาวิชาปฐพีศาสตร - สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร - สาขาวิชาพืชศาสตร - สาขาวิชาสัตวศาสตร 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วาริชศาสตร)

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาเอก

1. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต 1. พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นานาชาติ) (ภาคปกติ) - สาขาการพยาบาลเด็ก - สาขาการพยาบาล (นานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 - สาขาการพยาบาลผูใ หญ - สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต

- สาขาการจัดการทรัพยากร- สาขาวิชากีฏวิทยา เกษตรเขตรอน - สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร (ภาคปกติ -สมทบ) - สาขาวิชาพืชศาสตร - สาขาวิชาโรคพืชวิทยา - สาขาวิชาวาริชศาสตร - สาขาวิชาสัตวศาสตร - สาขาวิชาการผลิต เทคโนโลยีและ การจัดการยางธรรมชาติ (หลักสูตรนานาชาติ)

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


22

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 30

6/6/16 10:24 AM

6. คณะแพทยศาสตร

คณะ 2. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) - สาขาการพยาบาลผูใ หญ - สาขาวิชาการผดุงครรภ 3. การพยาบาลมหาบัณฑิต (นานาชาติ) - สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติ ชุมชน - สาขาการบริหารการพยาบาล

ระดับปริญญาโท

1. แพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาระบาดวิทยา - สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย (นานาชาติ) - สาขาชีวเวชศาสตร (แบบกาวหนา) - สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการ - สาขากายภาพบําบัด แพทย - สาขารังสีเทคนิค - สาขาวิชาชีวเวชศาสตร - สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาระบาดวิทยา (นานาชาติ) - สาขาวิชาชีวเวชศาสตร - สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย - สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 2. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง - สาขาวิทยาศาสตรการแพทย คลินกิ

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 23

145x210mm_����������� �� 2560.indd 31

6/6/16 10:24 AM

8. คณะวิทยาการจัดการ

7. คณะเภสัชศาสตร

คณะ 2. วุฒิบัตรทางการแพทย (46 สาขา) 3. ประกาศนียบัตรบัณฑิต - สาขาวิชาวิสัญญีพยาบาล

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. บริหารธุรกิจบัณฑิต - สาขาวิชาการเงิน - สาขาวิชาระบบสารสนเทศ

1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (ภาคค่ําและภาคสมทบ) - สาขาวิชาการตลาด

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการ

1. เภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ป) 1. เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ - สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก - สาขาวิชาการบริบาลทาง (มี 2 โปรแกรม คือ โปรแกรม - สาขาวิชาเภสัชศาสตร เภสัชกรรม ปกติ และโปรแกรมกาวหนา) - สาขาวิชาเภสัชศาสตรสังคมและ - สาขาวิชาเภสัชศาสตร - สาขาวิชาการบริบาลทาง - สาขาเภสัชศาสตรสังคมและ การบริหาร เภสัชกรรม การบริหาร (นานาชาติ) 2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ * ระดับวุฒิบัตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่อง - สาขาเภสัชบําบัด (หลักสูตร สําอาง(นานาชาติ) รวมกับวิทยาลัยเภสัชบําบัด - สาขาวิชาวิทยาศาสตรสมุนไพร สภาเภสัชกรรม) (นานาชาติ)

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


24

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 32

6/6/16 10:24 AM

คณะ

ระดับปริญญาโท

- สาขาวิชาการจัดการการ - สาขาวิชาการตลาด ทองเที่ยว - สาขาวิชาการบริหารทรัพยากร - สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มนุษย (หลักสูตรพิเศษ) - สาขาวิชาการจัดการ 2. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) (หลักสูตรนานาชาติ) - สาขาวิชาการจัดการโลจีสติกส 3. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการประชุม (ภาคปกติ/ภาคสมทบ) นิทรรศการและการทองเที่ยว เพื่อเปนรางวัล 4. บัญชีมหาบัณฑิต (ภาคปกติและภาคสมทบ) 2. บัญชีบัณฑิต 3. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (มี 4 วิชาเอก) - การจัดการทรัพยากรมนุษย - การจัดการและการปกครอง ทองถิ่น - นโยบายสาธารณะและ การวางแผน - องคการและการจัดการ

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559 ระดับปริญญาเอก


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 25

145x210mm_����������� �� 2560.indd 33

6/6/16 10:24 AM

9. คณะวิทยาศาสตร

คณะ

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชากายวิภาคศาสตร - สาขาวิชาคณิตศาสตร - สาขาวิชาเคมีอินทรีย - สาขาวิชาคณิตศาสตรและสถิติ - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาเคมี - สาขาวิชาชีววิทยา - สาขาวิชาชีวเคมี - สาขาวิชาวัสดุศาสตร - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาชีววิทยา - สาขาวิชาเคมีอินทรีย - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ - สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและ - สาขาวิชาชีวเคมี - สาขาวิชาฟสกิ ส ชีวสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร - สาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและ - สาขาวิชาฟสกิ ส - สาขาวิชาวิทยาศาสตรพอลิเมอร ชีวสารสนเทศ - สาขาวิชาจุลชีววิทยา - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ - สาขาวิชาวัสดุศาสตร เทคโนโลยีพอลิเมอร - สาขาวิชาธรณีฟส ิกส - สาขาวิชาสถิติ - สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร - สาขาวิชาสรีรวิทยา - สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา - สาขาวิชานิเวศวิทยา (นานาชาติ) - สาขาวิชาธรณีฟส ิกส - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร และการสื่อสาร - สาขาวิชาเภสัชวิทยา (นานาชาติ) - สาขาวิชาพฤกษศาสตร 2. เทคโนโลยีบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาฟสกิ ส - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีพอลิเมอร

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


26

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 34

6/6/16 10:24 AM

10. คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะ - สาขาคณิตศาสตร - สาขาวิชาสัตววิทยา - สาขาวิชาสรีรวิทยา - สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี - สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต (ภาคสมทบ) - สาขาวิศวกรรมไฟฟา - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร - สาขาวิศวกรรมวัสดุ - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี - สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี - สาขาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร - สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร - สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา - สาขาวิศวกรรมอุตสาหกรรม - สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร - สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ - สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ และระบบ - สาขาวิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม - สาขาเทคโนโลยีพลังงาน - สาขาวิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม - สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกสและ - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย โซอุปทาน

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 27

145x210mm_����������� �� 2560.indd 35

6/6/16 10:24 AM

1. วิทยาศาสตรบัณฑิต

13. คณะอุตสาหกรรมเกษตร

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

1. เศรษฐศาสตรบัณฑิต 1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - สาขาวิชาเศรษฐศาสตร - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต เกษตร - สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร

12. คณะเศรษฐศาสตร

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

-

1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ เปนภาษานานาชาติ เปนภาษานานาชาติ - สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม - สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม - สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทย ประยุกต

- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบ 2. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ระดับปริญญาโท

1. ศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาภาษาและภาษาไทย ประยุกต - ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน - ชุมชนศึกษา

ระดับปริญญาตรี

11. คณะศิลปศาสตร

คณะ

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


28

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 36

6/6/16 10:24 AM

14. คณะแพทยแผนไทย

คณะ

1. การแพทยแผนไทยมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการแพทยแผนไทย

1. การแพทยแผนไทยดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาการแพทยแผนไทย

- สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (นานาชาติ) - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอาหาร - สาขาวิชาอาหารสุขภาพและ โภชนาการ

- สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (นานาชาติ) - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอาหาร - สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ - สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร - สาขาวิชาอาหารสุขภาพและ โภชนาการ

- สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอาหาร - สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุและ บรรจุ ภัณฑ

1. การแพทยแผนไทยบัณฑิต - สาขาวิชาการแพทยแผนไทย (เนนสอนครอบคลุม 4 สาขาวิชา ของการแพทยแผนไทยคือ เวชกรรมไทย, เภสัชกรรมไทย, การนวดไทย และการผดุงครรภ ไทย)

ระดับปริญญาเอก

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 29

145x210mm_����������� �� 2560.indd 37

6/6/16 10:24 AM

1. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาเทคนิคการแพทย

ระดับปริญญาตรี

20. สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต

-

-

18. สถาบันสันติศึกษา

19. สถาบันทรัพยากรทะเลและ ชายฝง

1. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาดิจิทัลมีเดีย (นานาชาติ)

17. วิทยาลัยนานาชาติ

16. โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทย- 1. สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ศาสตร - สาขาสัตวแพทยศาสตร (เปดปการศึกษา 2558)

15. คณะเทคนิคการแพทย

คณะ

-

-

-

-

ระดับปริญญาเอก

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ

-

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - การจัดการทรัพยากรทะเลและ - การจัดการทรัพยากรทะเลและ ชายฝง ชายฝง

1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาความขัดแยงและ สันติศึกษา

-

1. สัตวแพทยศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาระบาดวิทยา + ประกาศนียบัตร IFETP-V (International Field Epidemiology Training Program-Veterinarian)

-

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


30

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 38

6/6/16 10:24 AM

วิทยาเขตปตตานี 21. คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร

21. บัณฑิตวิทยาลัย (สนับสนุนใหทนุ การศึกษาและ ทุนการวิจัยเพือ่ วิทยานิพนธให กับนักศึกษาและอาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ)

คณะ

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. ศิลปศาสตรบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาภาษาไทย - สาขาวิชาภาษาไทย - สาขาวิชาประวัติศาสตร - สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ - สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา - สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา - สาขาวิชาพัฒนาสังคม สังคม - สาขาวิชาภาษาเกาหลี - สาขาวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีนนานาชาติ - สาขาวิชาภาษาเยอรมัน - สาขาวิชาภาษาญีป่ ุน - สาขาวิชาภาษาผรั่งเศส - สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 39

31

6/6/16 10:24 AM

คณะ - สาขาวิชาภาษามลายู - สาขาวิชามลายูศึกษา - สาขาวิชาภาษาอาหรับและ ภาษาอาหรับธุรกิจ - แขนงวิชาภาษาอาหรับ - แขนงวิชาภาษาอาหรับธุรกิจ - สาขาวิชาภาษาอังกฤษ - สาขาวิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาภูมิศาสตร 3. บริหารธุรกิจบัณฑิต - แขนงวิชาการจัดการทรัพยากร มนุษยและองคการ 4. เศรษฐศาสตรบัณฑิต - แขนงวิชาเศรษฐศาสตรการ พัฒนา - แขนงวิชาเศรษฐกิจอาเซียน

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559 ระดับปริญญาเอก


32

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 40

6/6/16 10:24 AM

22. คณะศึกษาศาสตร

คณะ

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

1. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร 1. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต ก. หลักสูตร 5 ป 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) บัณฑิต - สาขาวิชาการบริหารการศึกษา - สาขาวิชาชีพครู มี 5 วิชาเอก 2. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต 2. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต - วิชาเอกคณิตศาสตร - สาขาวิชาภาวะผูน ําและ - สาขาวิชาการบริหารการศึกษา* - วิชาเอกเคมี นวัตกรรมทางการศึกษา - สาขาวิชาการวิจัยและประเมิน * เปนหลักสูตรทั้งภาคปกติและ - วิชาเอกชีววิทยา ผลการศึกษา - วิชาเอกฟสกิ ส ภาคสมทบ - สาขาวิชาจิตวิทยา* - วิชาเอกวิทยาศาสตรทั่วไป 2. ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) - สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สือ่ สารการศึกษา* มี 2 สาขาวิชา - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - วิชาเอกภาษาไทย - สาขาวิชาการศึกษาเพื่อการพัฒนา - วิชาเอกภาษาอังกฤษ 3. ศึกษาศาสตรบัณฑิต มี 5 สาขาวิชา ที่ยงั่ ยืน - สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร - วิชาเอกการประถมศึกษา และคณิตศาสตร - วิชาเอกศิลปศึกษา - วิชาเอกสุขศึกษา

5. สังคมสงเคราะห ศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาสังคมสงเคราะห

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 33

145x210mm_����������� �� 2560.indd 41

6/6/16 10:24 AM

- วิชาเอกพลศึกษา - วิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศ และการประเมินผลการศึกษา ข. หลักสูตร 4 ป เปดสอน 2 วิชาเอก 1. ศิลปศาสตรบัณฑิต - วิชาเอกเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต - วิชาเอกจิตวิทยา

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

23. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต - สาขาวิชาเคมีประยุกต - สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร - สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา - สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร - สาขาวิชาวิธวี ิทยาการวิจยั - สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม - สาขาวิชาฟสิกสประยุกต - สาขาวิชาฟสกิ ส - สาขาวิชาวิธวี ิทยาการวิจยั - สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร - สาขาวิทยาศาสตรการอาหารและ (ดานเทคโนโลยีการผลิตพืช) โภชนาการ - สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร - สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานเทคโนโลยีการผลิตสัตว)

คณะ

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


34

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 42

6/6/16 10:24 AM

24. คณะวิทยาการสือ่ สาร

คณะ

-

- สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต - สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต

- สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ชายฝง ) - สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานผลิตภัณฑประมง) - สาขาวิชาวิทยาศาสตรนิเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยียาง - สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหาร และโภชนาการ - สาขาวิชาโภชนศาสตรและการ กําหนดอาหาร 1. นิเทศศาสตรบัณฑิต 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 3. ศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ และสรางสรรคสื่อ

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559

-

ระดับปริญญาเอก


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 35

145x210mm_����������� �� 2560.indd 43

6/6/16 10:24 AM

1. รัฐศาสตรบัณฑิต - แขนงวิชาการปกครอง - แขนงวิชาการปกครองทองถิ่น - แขนงวิชาความสัมพันธระหวาง ประเทศ - แขนงวิชานโยบายสาธารณะ 1. ศิลปศาสตรบัณฑิต - แขนงวิชาทัศนศิลป - แขนงวิชาศิลปะประยุกต 1. ศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาอิสลามศึกษา - สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา - สาขาวิชาเศรษฐศาสตรและ การจัดการในอิสลาม - สาขาวิชากฎหมายอิสลาม - สาขาวิชาอิสลามศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)

26. คณะศิลปกรรมศาสตร

27. วิทยาลัยอิสลามศึกษา

ระดับปริญญาตรี

25. คณะรัฐศาสตร

คณะ -

-

-

-

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 1. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาวิชาอิสลามศึกษา - สาขาวิชาอิสลามศึกษา (ใหเลือกศึกษา 5 กลุมวิชา) - วิชาชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม) - วิชาอุศูลุดดีน (หลักการอิสลาม) - วิชาครุศาสตรอิสลาม - วิชามุสลิมศึกษา

ระดับปริญญาเอก

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


36

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 44

6/6/16 10:24 AM

-

-

ระดับปริญญาเอก

30. คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยีและการ - สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร จัดการสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม (หลักสูตรนานาชาติ) - สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ - สาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส - สาขาวิชาเทคโนโลยี สิง่ แวดลอม (หลักสูตรนานาชาติ) - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม - สาขาวิชาเทคโนโลยีและการ จัดการสิ่งแวดลอม

-

-

- วิชาประวัติศาสตรและ อารยธรรมอิสลาม 2. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต - วิชาการบริหารและการจัดการ ศึกษาอิสลาม

2. ศึกษาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา

พยาบาลศาสตรบัณฑิต

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาตรี

วิทยาเขตภูเก็ต 1. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 29. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร

28. คณะพยาบาลศาสตร

คณะ

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 37

145x210mm_����������� �� 2560.indd 45

6/6/16 10:24 AM

-

-

1. ศิลปศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) - สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ : จีน - สาขาวิชาจีนศึกษา - สาขาวิชาไทยศึกษา - สาขาวิชาวิเทศศึกษา - วิชาเอกวิเทศธุรกิจ : เกาหลี - วิชาเอกเกาหลีศึกษา - สาขาวิชายุโรปศึกษา - อังกฤษ-ฝรั่งเศส - สาขาวิชาอาเซียนศึกษา

32. คณะวิเทศศึกษา

ระดับปริญญาเอก -

ระดับปริญญาโท

1. บริหารธุรกิจบัณฑิต 1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการการบริการ - สาขาวิชาการจัดการการบริการ (นานาชาติ) และการทองเที่ยว (นานาชาติ) - สาขาวิชาการจัดการการ ทองเที่ยว (นานาชาติ)

ระดับปริญญาตรี

31. คณะการบริการและ การทองเที่ยว

คณะ

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


38

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 46

6/6/16 10:24 AM

36. บัณฑิตวิทยาลัย

35. วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต * (มีภารกิจดานบริการวิชาการเพื่อ ตอบสนองความตองการของชุมชน และสังคม/การจัดหลักสูตรพิเศษ รวมกับหนวยงาน/สถาบันการศึกษา อื่นๆ รวมทั้งหลักสูตรระยะสั้น)

34. โครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย สหวิทยาการระบบโลกและการ จัดการภัยธรรมชาติอันดามัน

33. วิทยาลัยนานาชาติ ศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต

คณะ

-

1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) - สาขาวิชาการจัดการระบบ วิศวกรรม 2. ศิลปศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) - สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสาร มวลชน

ระดับปริญญาตรี -

ระดับปริญญาเอก

1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - สาขาบริหารธุรกิจ

-

-

-

1. ปรัชญามหาบัณฑิต (นานาชาติ) 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นานาชาติ) - สาขาวิชาวิทยาศาสตรระบบโลก - สาขาวิชาวิทยาศาสตรระบบโลก

-

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 39

145x210mm_����������� �� 2560.indd 47

6/6/16 10:25 AM

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

38. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต 1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต อุตสาหกรรม - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ - สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการเกษตร - สาขาวิชาเคมีเพื่ออุตสาหกรรม - สาขาวิชาเทคโนโลยียาง - สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ - สาขาวิชาการเพาะเลีย้ งสัตวน้ํา อุตสาหกรรม (นานาชาติ) - สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ยางพารา - สาขาวิชาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย - สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ สิง่ แวดลอม

วิทยาเขตสุราษฎรธานี 37. วิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี (มีภารกิจดานบริการวิชาการเพื่อ ตอบสนองความตองการของ ชุมชนและทองถิ่นในภูมิภาค)

คณะ

ระดับปริญญาเอก

1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต - สาขาวิชาเทคโนโลยียาง - สาขาวิชาการเพาะเลีย้ งสัตวน้ํา (นานาชาติ)

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559


40

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 48

6/6/16 10:25 AM

39. คณะศิลปศาสตรและ วิทยาการจัดการ

คณะ

1. ศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาภาษา การสื่อสาร และธุรกิจ 2. บริหารธุรกิจบัณฑิต - สาขาวิชาพัฒนาธุรกิจ - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ ทองเที่ยว - สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยี สารสนเทศ 3. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจ 4. บัญชีบัณฑิต - สาขาวิชาบัญชี

- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร 2. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาการจัดการงานวิศวกรรม

ระดับปริญญาตรี

-

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559

-

ระดับปริญญาเอก


àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 49

41

6/6/16 10:25 AM

วิทยาเขตตรัง 40. คณะพาณิชยศาสตรและ การจัดการ

คณะ 1. บริหารธุรกิจบัณฑิต - สาขาวิชาการประกันภัยและ การจัดการความเสี่ยง - สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ และคอมพิวเตอร - สาขาวิชาการจัดการการ ทองเที่ยว - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวิชาการจัดการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส 2. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต - สาขาการจัดการรัฐกิจและ วิสาหกิจ 3. บัญชีบัณฑิต - สาขาวิชาการบัญชี - สาขาวิชาระบบสารสนเทศทาง การบัญชี

ระดับปริญญาตรี -

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559

-

ระดับปริญญาเอก


42

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 50

6/6/16 10:25 AM

42. บัณฑิตวิทยาลัย

41. คณะสถาปตยกรรมศาสตร

คณะ

-

1. สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาสถาปตยกรรม

4. ศิลปศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ - สาขาวิชาศิลปะการแสดงและ การจัดการ

ระดับปริญญาตรี

1. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

-

ระดับปริญญาโท

หลักสูตรการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําป 2559

-

ระดับปริญญาเอก


การคัดเลือกนักศึกษาเขาศึกษาขั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีวิธีการรับนักศึกษาเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยขั้น ปริญญาตรี 3 วิธีการ คือ 1. การคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระบบกลาง (ระบบ Admissions หรือรับรวม) เปนการดําเนินการโดย สมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) มีองคประกอบ การพิจารณาและวิธีการ ดังนี้ 1) องค ประกอบและค าน้ําหนัก ที่ ใช ในการพิจารณา ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ องคประกอบ 1. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา (GPAX) 2. ผลการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 4 (Ordinary National Educational Test - ONET) 3. ผลการสอบวิชาความถนัดทัว่ ไป (General Aptitude Test - GAT) 4. ผลการสอบวิชาความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (Professional and Academic Test - PAT) รวม

คาน้ําหนัก 20% 30% 10-50% 0-40% 100%

2) วิธีดําเนินการ ประกอบดวย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการสอบวิชาตางๆ เพื่อ เก็บคะแนนไปใชในการแขงขัน และขัน้ ตอนการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในคณะ/สาขาวิชา ของสถาบันอุดมศึกษาตางๆ 2.1) ขั้ นตอนการสอบวิชาตางๆ เป นการจั ดสอบโดยสถาบั นทดสอบทาง การศึกษาแหงชาติ (สทศ.) ดังนี้ (1) การทดสอบทางการศึ กษาแห ง ชาติ ขั้ นพื้ นฐาน ช วงชั้ น ที่ 4 (ONET) จัดสอบปละ 1 ครั้ง ในชวงเดือนกุมภาพันธของทุกป นักเรียนทุกคนที่กําลัง àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 43

145x210mm_����������� �� 2560.indd 51

6/6/16 10:25 AM


เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ชั้นปที่ 6 (ม.6) มีสิทธิ์เขาสอบทุกคนโดยไมตอง สมัคร (โรงเรียนจะเปนผูสงชื่อให สทศ. เพื่อจัดที่นั่งสอบให) โดยนักเรียน ม.6 ทุกคน มีสิทธิ์เขาสอบเพียงคนละ 1 ครั้ง ขณะที่กําลังเรียนอยูชั้น ม.6 เทานั้น คะแนนที่สอบได สามารถเก็บไวใชไดตลอดไป สวนนักเรียนอื่นๆ ที่เทียบเทาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ จะตองทําการสมัครสอบกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการ มหาชน) (สทศ.) จึงจะมีสิทธิ์เขาสอบ และมีสิทธิ์เขาสอบเพียงคนละ 1 ครั้งเทานั้น เชนเดียวกับนักเรียน ม.6 สายสามัญ (2) การสอบวิชาความถนัด GAT/PAT จัดสอบปละ 2 ครั้ง โดย จัดสอบในชวงเดือนตุลาคมและมีนาคมของแตละป คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์สอบจะตอง เปนผูที่สําเร็จการศึกษาชั้น ม.6 แลว หรือเปนผูที่กําลังเรียนอยูชั้น ม.6 เทานั้น ผูจะเขา สอบตองสมัครสอบดวยตนเองกับ สทศ. แตละคนสามารถสอบไดหลายครั้ง ในการสอบ แตละครั้งจะเลือกสมัครสอบกี่วิชาก็ได คะแนนที่สอบไดสามารถเก็บไวใชได 2 ป อนึ่ง ผูที่สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแลว สามารถจะสมัครสอบครั้ งใดก็ไดใน แตละรอบป 2.2) ขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษา ในคณะ/สาขาวิชาของสถาบัน อุดมศึกษา ขั้นตอนนี้เปนการดําเนินการโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) กําหนดใหยนื่ ใบสมัครเพือ่ เลือกคณะ/สาขาวิชาในชวงเดือนพฤษภาคมของทุกป โดย สอท. จะทําการสืบคนผลคะแนนวิชาตางๆ ในการสอบ ONET ของผูสมัครจาก สทศ. และ สืบคนผลคะแนนที่ดีที่สุดของวิชา GAT/PAT ที่ผูสมัครไดเคยสอบไว และยังไมหมดอายุ ความจาก สทศ. เพื่ อนํามารวมกั บคะแนนที่ คํานวณจากผลการเรียนเฉลี่ ยสะสมตลอด หลักสูตรม.ปลาย (GPAX) ของผูสมัคร ไดเปนคะแนนสุดทายที่ใชพิจารณาแขงขันตัดสิน ผลการคัดเลือก และจะประกาศผลการคัดเลือกเข ามหาวิทยาลัยประมาณตนเดือน กรกฎาคมของแตละป 2. การคัดเลือกนักเรียนเขาศึกษาโดยวิธีรับตรง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีนโยบายที่ จะพยายามใหมหาวิทยาลัยเปนแหลง เรี ยนรู รับใชชุ มชนใต จึ งได หาแนวทางที่ จะเพิ่ มโอกาสทางการศึ กษาเพื่ อให นั กเรี ยนมี โอกาสเข าศึ กษาในมหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร ได มากยิ่ งขึ้ น โดยในป 2516-2517 มหาวิทยาลัยเริ่มจัดโควตาใหเฉพาะนักเรียนทีเ่ รียนดีในชั้น ม.ศ. 5 สายสามัญ (ม.6 ปจจุบัน) ในภาคใต เขาศึกษาโดยวิธีรับตรงจํานวนรอยละ 10 ของจํานวนที่ รับไดทั้งหมด ตอมา ในป 2518 เริ่มเปดโอกาสใหนักเรียนในภาคใตแขงขันเขาเรียนไดอยางเสมอภาคดวยวิธี

44

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 52

6/6/16 10:25 AM


การสอบแขงขัน โดยรับเขาศึกษาจํานวนรอยละ 30 ของจํานวนที่รับไดทั้งหมด และเพิ่ม เปนรอยละ 40 ในป 2519-2522 และตั้ งแตป 2523-2551 เพิ่ มเปนรอยละ 50 จนถึง ปจจุบันรับเขาศึกษารอยละ 75 ของจํานวนรับทั้งหมดในปแตละปการศึกษา ในการคัดเลือกโดยวิธีรับตรงนี้ มหาวิทยาลัยยังพบวานักเรี ยนโรงเรียนใหญ ๆ ที่ มีมาตรฐานการสอนดี จะมีโอกาสสอบคั ดเลือกไดมากกวาโรงเรี ยนประจํา จังหวัดหรือ โรงเรียนประจําอําเภอเล็กๆ มหาวิทยาลัยจึงไดพัฒนาเพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหกระจาย มากขึ้น โดยการแบงผูสมัครออกเปน 2 กลุม คือกลุม 1 และกลุม 2 โดยกําหนดโควตา ใหแตละกลุมจํานวนรอยละ 40 และ 60 ของจํานวนที่จะรับไดโดยวิธีรับตรงตามลําดับ ผูสมัครในกลุม 1 คือนักเรียนที่เรียนดีที่สุด 10% แรกของแตละโรงเรียน สวนนักเรียน ที่เหลือของแตละโรงเรียนที่ไมใชกลุม 1 ใหถือเปนกลุม 2 จากวิธีการแบงกลุมเชนนี้ ทําใหนักเรียนในโรงเรียนมัธยมเล็กๆ มีโอกาสเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยไดมากขึน้ การดําเนินการคั ดเลื อกฯ โดยวิ ธี รับตรง ตั้ งแต ปการศึ กษา 2550 เปนต นไป มหาวิทยาลัยไดกําหนดรูปแบบและวิธีการคัดเลือกไวดังนี้ 2.1 การรับนักเรียนที่มีผลการเรียนดีจากทั่วประเทศ รับเขาศึกษาจํานวนรอยละ 15 ของจํานวนที่ ได รับทั้ งหมด องคประกอบ ทีใ่ ชพิจารณาคัดเลือก มีดังนี้ (1) คุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะของผูสมัคร (ไมคิดน้ําหนักคะแนน แตผสู มัครตองมีคณ ุ สมบัตติ รงตามทีม่ หาวิทยาลัยประกาศ จึงจะไดรับการพิจารณา) (2) ดัชนีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของชั้น ม.4-5 (รวม 4 เทอม) คิดคาน้ําหนัก 75% (คา GPAX ของนักเรียนจะถูกแปลงเปนคะแนนและปรับคาคะแนน อีกครั้งโดยมหาวิทยาลัย กอนนําไปใชแปลงคะแนนจัดลําดับที)่ (3) การสอบสัมภาษณและขอมูลอื่นๆ ของผูสมัคร คิดคาน้ําหนัก 25% 2.2 การรับผานการคัดเลือกนักเรียนโดยวิธีรับตรงของมหาวิทยาลัยภูมิภาค เพื่ อให นั กศึ กษาของมหาวิ ทยาลั ย ได มี โอกาสที่ จะเรี ยนรู ผสมผสานและ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทยมากขึ้ น รับเขาศึกษา จํานวนรอยละ 10 ของจํานวนที่รับไดทั้งหมด ไดแก (1) การรั บนั ก เรี ย นในเขตพั ฒ นาภาคเหนื อ เข า ศึ กษาในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร โดยใชขอสอบรวมกับการรับตรงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม คุณสมบัติ ของผูส มัครมีดงั นี้ - เปนผูมีสัญชาติไทย และกําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายสามั ญของโรงเรี ยนต า งๆ ในเขตภาคเหนื อพั ฒนา ซึ่ งมี สิ ทธิ์ สมั ครเข า ศึ กษาโดย วิธีรบั ตรงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 45

145x210mm_����������� �� 2560.indd 53

6/6/16 10:25 AM


- เปนผูทมี่ ีคะแนนสอบวิชาตางๆ ซึ่งจัดสอบโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม ในการสอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาโดยวิธีรับตรง และวิชาเฉพาะที่จัดสอบโดย สทศ. ตามทีม่ หาวิทยาลัยสงขลานครินทรกําหนด (2) การรั บนั กเรี ยนในเขตภาคตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ เข าศึ ก ษาในมหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร โดยใชข อสอบร วมกั บการรั บตรงของมหาวิ ทยาลัยขอนแก น คุณสมบัตขิ องผูส มัครมีดงั นี้ - เปนผูมีสัญชาติไทย และกําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายสามัญของโรงเรียนตางๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีสิทธิ์สมัคร เขาศึกษาโดย วิธรี ับตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน - เป น ผู ที่ มี ค ะแนนสอบวิ ช าต า งๆ ซึ่ งจั ด สอบโดยมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแกนในการสอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษา โดยวิธีรับตรง และวิชาเฉพาะที่จัดสอบโดย สทศ. ตามทีม่ หาวิทยาลัยสงขลานครินทรกําหนด 2.3 การรับนักเรียนจากทั่วประเทศ โดยใชผลคะแนนสอบ GAT/PAT และ วิชาสามัญ 9 วิชา ของ สทศ. มหาวิทยาลัยมีนโยบายที่จะสงเสริมและใหโอกาสแก บุคคลทั่วไป นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา รวมทั้งนักเรียนที่ เรียนมาทางดานสายอาชีพ (ปวช.) ไดเขาศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย โดย คุณสมบัตขิ องผูส มัครมีดงั นี้ - เปนผูกําลังเรียนอยูในชั้น ม.6 หรือสําเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบ เทาแลวจากทัว่ ประเทศ - ผู กําลังเรี ยนอยู ในชั้ น ม.6 ต องมี ผลการเรี ยนเฉลี่ ย (ม. 4-5) ไมต่ํา กวา 2.25 สวนผูที่สําเร็จการศึกษาชั้น ม.ปลาย หรือเทียบเทาแลว ตองมีผลการเรียน (รวม 6 ภาค) ไมต่ํากวา 2.00 - เปนผูมีคุณสมบัติเฉพาะ และเกณฑ % ขั้นต่ํารายวิชา GAT/PAT ตาม ที่ คณะ/สาขาวิชา กําหนด กําหนดให ยื่ นใบสมั ครหลั งจากที่ สทศ. ประกาศผลการสอบ GAT/PAT และวิชาสามัญ 9 วิชา ของการจัดสอบเดือนธันวาคมของแตละป โดยวิชาตางๆ (GAT/ PAT และวิชาสามัญ 9 วิชา) ที่ใชคัดเลือกในโครงการนี้ มหาวิทยาลัยจะใช GAT/PAT เฉพาะของเดือนตุลาคม และวิชาสามัญ 9 วิชา ของเดือนธันวาคม

46

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 54

6/6/16 10:25 AM


2.4 การสอบคัดเลือกนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต (1) คุณสมบัตขิ องผูสมัคร มีดังนี้ 1) คุณสมบัติทั่วไป - เปนบุคคลทีอ่ ยูใ นประเทศไทยโดยถูกตองตามกฎหมาย - เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 (สายสามัญ) หรือกําลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปที่ 3 (ปวช.3) ในโรงเรียน/วิทยาลัย ตางๆ ที่สังกัดอยูใน 14 จังหวัดภาคใต และตองมีคุณสมบัติเฉพาะตามที่คณะ/สาขาวิชา นั้นๆ ไดกําหนดไว - เปนผูที่ผานการทดสอบความพรอมทางการศึกษา ตามที่คณะ/ สาขาวิชานั้นๆ ไดกําหนดไว 2) คุณสมบัติเฉพาะและความพรอมทางการศึกษาของผูสมัคร นอกจากคุ ณสมบั ติทั่วไปดังที่ ไดกลาวไวแลวข างตนนั้ น ผู สมัคร เขารับการคัดเลือกยังจะตองมีคุณสมบัตเิ ฉพาะ และตองผานการทดสอบความพรอมทาง การศึกษาตามที่คณะตางๆ ไดกําหนด (2) มีวิธีการรับและองคประกอบในการคัดเลือก ดังนี้ 1) ใชผลคะแนนสอบข อเขี ยนวิชาความถนัดทั่ วไป (GAT) ตอนที่ 1 (ภาษาไทย) ซึ่งจัดสอบโดยสทศ. โดยใหคะแนนเต็ม 100 คะแนน 2) สอบขอเขียนที่มหาวิทยาลัยจัดสอบเอง รับเขาศึกษาจํานวน รอยละ 50 ของจํานวนที่ รับได ทั้ งหมด จัดสอบ 10 วิ ชา นั กเรี ยนสามารถเลื อกสอบได เพี ยง ชุดวิชาใดชุดวิชาหนึ่งตามกลุมสาขาวิชาที่สมัครเขาศึกษา ดังนี้ - ชุดวิชา A เนนวิทยาศาสตร สอบวิชาภาษาไทย ก, ภาษาอังกฤษ ก, สังคมศึกษา ก, คณิตศาสตร กข, วิทยาศาสตร (เคมี ชีววิทยา ฟสิกส) - ชุ ดวิ ชา B เน นศิ ลป -คํา นวณ สอบวิ ชาภาษาไทย กข, ภาษา อังกฤษ กข, สังคมศึกษา กข, คณิตศาสตร กข, วิทยาศาสตร ทั่วไป - ชุดวิชา C เนนศิลปภาษา/ทั่วไป สอบวิชาภาษาไทย กข, ภาษา อังกฤษ กข, สังคมศึกษา กข, คณิตศาสตร ก, วิทยาศาสตร ทั่วไป นอกจากนี้ ยั งมีการรับนั กศึกษาในโครงการพิ เศษอื่ นๆ ที่ ทําการสอบคั ดเลือก พรอมกับการสอบตรง (ใชขอเขียน) นี้ดวย เชน โครงการผลิตแพทยเพิ่มเพื่อชาวชนบท โครงการรับนักศึกษาทันตแพทยโควตาจังหวัด เปนตน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 47

145x210mm_����������� �� 2560.indd 55

6/6/16 10:25 AM


3. การสอบคัดเลือกนักศึกษาในหลักสูตรอื่นๆ โดยคณะจัดสอบเอง เปนการรับนักศึกษาเพื่อเขาศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี และปริญญาตรี ตอเนื่องตามโครงการพิเศษอื่นๆ โดยคณะวิชาตางๆ ที่รับผิดชอบหลักสูตรหรือโครงการ พิเศษเหลานี้จะเปดรับสมัครและทําการสอบคัดเลือกเองโดยตรง ชวงเวลาที่เปดรับสมัคร และวันสอบแขงขันเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนคราวๆ ไป ติดตามขอมูลการรับสมัครโครงการตางๆ ไดที่ www.entrance.psu.ac.th

48

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 56

6/6/16 10:25 AM


ขอตกลงทวิภาคี

ระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร กับสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดทําความตกลงทวิภาคีกับสมาคมอธิการบดีแหง ประเทศไทย ดังนี้ ผูใดที่ไดรับการคัดเลือกเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยวิธีรับตรง หลักสูตรระดับปริญญาตรี และไดยืนยันการใชสิทธิ์เขาศึกษาในคณะ/ประเภทวิชา ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรแลว จะมีผลทําใหผูนนั้ 1. ขาดคุณสมบั ติในการที่ จะได รับการคั ดเลือกเข าศึกษาในสถาบั นอุ ดมศึ กษา ตางๆ ที่สมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (ระบบ Admission) เปนผูดําเนินการ 2. หากผูนั้นสมัครเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาที่สมาคมอธิการบดีแหงประเทศ ไทยเปนผู ดําเนินการ ผู นั้ นจะถูกตัดสิ ทธิ์ การเข าศึกษาในมหาวิ ทยาลัยสงขลานคริ นทร โดยวิธีรับตรง และสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทยจะตัดสิทธิ์การคัดเลือกฯ (ระบบ Admission) ซึ่งจัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทยดวย

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 49

145x210mm_����������� �� 2560.indd 57

6/6/16 10:25 AM


การจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร การศึกษาในคณะวิชาตางๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีแนวทางและ ระเบียบตางๆ โดยสังเขปดังตอไปนี้ (ยกเวน แนวทางการศึกษาของคณะแพทยศาสตร คณะทั นตแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะพยาบาลศาสตร ซึ่ งมีแนวทางที่ แตกตางกันบางประการ ซึ่งจะกลาวไวในตอนทาย) สวนรายละเอียดขอใหศึกษาจาก ระเบียบมหาวิทยาลัยฯ วาดวยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2558 1. ระบบการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาโดยใชระบบทวิภาคเปนหลัก โดยปการศึกษาหนึ่งๆ มี 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่งเปนภาคการศึกษาบังคับคือ ภาคการศึกษาที่หนึ่ง และภาคการ ศึกษาที่สอง โดยแตละภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และ มหาวิทยาลัยอาจเปดภาคฤดูรอนเพิ่มอีกได ซึ่งเปนภาคการศึกษาที่ไมบังคับ มีระยะเวลา ศึกษาไมนอยกว า 7 สั ปดาห แตใหมี จํานวนชั่ วโมงเรียนของแตละรายวิชาเทากับภาค การศึกษาปกติ 2. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลในแตละรายวิชา ใหวัดและประเมินผลเปนระดับคะแนน หรือสัญลักษณ 1) การวัดและประเมินผลเปนระดับคะแนน แบงเปน 8 ระดับ มีความหมาย ดังนี้ ระดับคะแนน ความหมาย คาระดับคะแนน (ตอ 1 หนวยกิต) A ดีเยี่ยม (Excellent) 4.0 ดีมาก (Very Good) 3.5 B+ B ดี (Good) 3.0 C+ พอใช (Fairly Good) 2.5 C ปานกลาง (Fair) 2.0 D+ ออน (Poor) 1.5 D ออนมาก (Very Poor) 1.0 E ตกออก (Fail) 0.0

50

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 58

6/6/16 10:25 AM


2) การวัดและประเมินผลเปนสัญญลักษณ มีความหมายดังนี้ รายวิชาที่ไมมีจํานวนหน วยกิต เชน รายวิชาฝกงานและรายวิชาที่ มีจํานวน หนวยกิต แตหลักสูตรกําหนดใหมีการวัดและประเมินผลเปนสั ญลักษณ เชน รายวิชา สหกิจศึกษา หรือรายวิชาที่กําหนดในระเบียบฯ ของคณะ กําหนดสัญลักษณดังนี้ G (Distinction) หมายถึง ผลการศึกษาอยูใ นขัน้ ดี P (Pass) หมายถึง ผลการศึกษาอยูในขัน้ พอใช F (Fail) หมายถึง ผลการศึกษาอยูใ นขัน้ ตก รายวิชาทีไ่ มนบั หนวยกิตเปนหนวยกิตสะสม กําหนดสัญลักษณดังนี้ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการศึกษาเปนที่พอใจ U (Unsatisfactory) หมายถึง ผลการศึกษาไมเปนที่พอใจ สัญลักษณอื่นๆ ไดแก I (Incomplete) W (Withdrawn) R (Deferred)

หมายถึง การวัดและประเมินผลยังไมสมบูรณ หมายถึง ถอนหรือยกเลิกการลงทะเบียนเรียน หมายถึง เลือ่ นกําหนดการวัดผลและประเมินผล ไปเปนภาคการศึกษาปกติถัดไป

การทุ จริตในการวัดผล เมื่ อมี การตรวจพบวานั กศึกษาทุ จริตในการวั ดผล เช น การสอบรายวิชาใดใหผู ที่ รับผิดชอบการวัดผลครั้ งนั้ น หรือผู ควบคุมการสอบ รายงาน การทุ จริตพรอมส งหลั กฐานการทุ จริตไปยังคณะที่ นักศึ กษานั้ นสั งกั ด ตลอดจนแจ งให อาจารยผูสอนรายวิชานั้ นทราบ โดยใหนักศึกษาที่ทุจริตในการวัดผลดังกลาวไดระดับ คะแนน E หรือสัญลักษณ F หรื อ U ในรายวิ ชานั้ น และอาจพิ จารณาโทษทางวิ นัย ประการใดประการหนึ่ง ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยวินัยนักศึกษา 3. สถานภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยจะจําแนกสถานภาพนักศึกษาตามผลการศึกษาในทุกภาคการศึกษา ทั้งนี้ ไมนับภาคการศึกษาที่ไดลาพักหรือถูกใหพัก สถานภาพนักศึกษามี 3 ประเภท คือ นักศึกษาในภาวะปกติ นักศึกษาในภาวะวิกฤต และนักศึกษาในภาวะรอพินิจ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 59

51

6/6/16 10:25 AM


4. การลา การลาปวยหรือลากิจ การลาไมเกิน 7 วันในระหวางเปดภาคการศึกษา ตองไดรับ การอนุมัติจากอาจารยผูสอนและแจงอาจารยที่ปรึกษาทราบ ถาเกิน 7 วัน ตองไดรับ การอนุมัติจากคณบดีโดยผานอาจารยที่ปรึกษา สําหรับงานหรือการสอบที่นักศึกษาได ขาดไปในชวงเวลานั้น ใหอยูในดุลยพินิจของอาจารยผสู อน ซึ่งอาจจะอนุญาตใหปฏิบตั ิงาน หรือสอบทดแทน หรือยกเวนได การลาพักการศึกษา การลาพักการศึกษาเปนการลาพักทั้งภาคการศึกษา และถา ไดลงทะเบียนเรียนไปแลว ใหเปนการยกเลิกการลงทะเบียน โดยรายวิชาที่ไดลงทะเบียน เรียนทัง้ หมดในภาคการศึกษานัน้ จะไมปรากฏในใบแสดงผลการศึกษา การลาออก นักศึกษายื่ นใบลาออก พรอมหนังสือรับรองของผู ปกครองผาน อาจารยที่ปรึกษา เพื่อขออนุมัติตออธิการบดี ผูที่ จะไดรับอนุมัติใหลาออกไดตองไมมี หนีส้ ินกับมหาวิทยาลัย 5. การเสนอชื่อเพื่อรับปริญญา นักศึกษาทีจ่ ะไดรับการเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาตองมีคณ ุ สมบัตคิ รบถวนดังนี้ 1) ไดศึกษาและผานการวัดและประเมินผลรายวิชาตางๆ ครบถวนตามหลักสูตร และขอกําหนดของสาขาวิชาทีจ่ ะรับปริญญา โดยไมมีรายวิชาใดที่ไดสัญลักษณ I หรือ R คางอยู ทั้งนี้นับรวมถึงรายวิชาที่ไดรับการรับโอนและเทียบโอน และนักศึกษาจะตองผาน การเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนานักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดดวย 2) ยังมีสถานภาพเปนนักศึกษาอยู และไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํา กวา 2.00 หากเปนนักศึกษาที่โอนยายมาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น จะตองศึกษาอยูใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรอยางนอยหนึง่ ปการศึกษา 3) ระยะเวลาการสําเร็จการศึกษา 4) ไมอยูระหวางการรอพิจารณาโทษทางวินัยนักศึกษา 5) ไดปฏิบัติตามระเบียบตาง ๆ ครบถวนและไมมีหนี้สินใด ๆ ตอมหาวิทยาลัย 6) ไดดําเนินการเพือ่ ขอรับปริญญาตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนด 6. การขอเขาศึกษาเพื่อปริญญาที่สอง 1) นักศึกษาที่ สําเร็จการศึ กษาขั้นปริญญาตรี จากมหาวิ ทยาลัยสงขลานครินทร หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น อาจขอเขาศึกษาตอในหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาอื่นเปนการ เพิม่ เติมได

52

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 60

6/6/16 10:25 AM


2) การรับเขาศึกษา ตองไดรบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการประจําคณะทีน่ กั ศึกษา ขอเขาศึกษา และอธิการบดี 3) การรับโอนและเทียบโอนรายวิชา 7. การศึกษาสองปริญญาพรอมกัน นักศึกษาที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อาจขอศึกษาสองปริญญา พรอมกันได โดยตองเปนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตรที่ใหผูเรียนศึกษาพรอมกัน โดยผูสําเร็จการศึกษาจะไดรับปริญญาจากทัง้ สองหลักสูตร 8. การพนสภาพการเปนนักศึกษา 1) ตายหรือลาออก 2) ตองโทษทางวินัยใหพนสภาพการเปนนักศึกษา 3) ไมไดลงทะเบียนเรียนภายใน 30 วัน นับจากวันเปดภาคการศึกษาปกติ โดย มิไดรับการอนุมัติใหลาพักการศึกษา หรือไมไดรักษาสถานภาพ 4) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.00 ในภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา ในมหาวิทยาลัย 5) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.25 ในสองภาคการศึกษาแรกที่เขา ศึกษาในมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ไมนับภาคการศึกษาทีล่ าพักหรือถูกใหพัก 6) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ ยสะสมต่ํากวา 1.50 ยกเว นนักศึกษาที่ ลงทะเบียน เรียนในสองภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาในมหาวิทยาลัย 7) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.70 ในภาคการศึกษาถัดไป หลังจาก ไดรบั ภาวะรอพินิจครั้งที่ 1 8) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.90 ในภาคการศึกษาถัดไป หลังจาก ไดรบั ภาวะรอพินิจครั้งที่ 2 9) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 2.00 ในภาคการศึกษาถัดไป หลังจาก ไดรบั ภาวะรอพินิจครั้งที่ 3 10) ไดขึ้ นทะเบียนเปนนักศึ กษามหาวิ ทยาลั ยมาแลวเปนระยะเวลาเกิ น 2 เท า ของจํานวนปการศึกษาตอเนื่องกัน ตามที่ไดกําหนดไวในแผนการศึกษาของสาขาวิชาที่ ศึกษาอยู สําหรับนักศึกษาที่รับโอนใหนับเวลาที่เคยศึกษาอยูในสถาบันเดิมรวมเขาดวย 11) ไดรับการอนุมัติปริญญา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 53

145x210mm_����������� �� 2560.indd 61

6/6/16 10:25 AM


12) ไดรับการวินิจฉัยโดยคณะกรรมการแพทย ซึ่งแตงตั้งโดยอธิการบดี วาปวย จนเปนอุปสรรคตอการศึกษาหรือเปนอันตรายตอผูอื่น ทั้งนี้ตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจําคณะ

การศึกษาในคณะแพทยศาสตร ผูที่ สอบไดคณะแพทยศาสตร จะตองทําสัญญาการเปนนักศึกษา และมีสัญญา ค้ําประกัน โดยบิดาหรือมารดาเป นผู ค้ําประกันตามประกาศของมหาวิ ทยาลัยสงขลานครินทร ภายหลังจากที่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแลวตองปฏิบัติงานในสวนราชการ หรือองคการไมนอยกวา 3 ปติดตอกัน หากไมปฏิบัติตามสัญญา จะตองชดใชเงินใหกับ มหาวิทยาลัยเปนจํานวน 400,000 บาท หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตเปนหลักสูตร 6 ป โดยแบงเวลาศึกษาเปน 3 ระยะ คือ 1. ระยะที่หนึ่ง (Premedical year) ในชั้นปที่ 1 เปนการบูรณาการเนื้อหาดานการศึกษาทั่วไป ใหสามารถนําความรูไ ปประยุกต ใชในชีวิตประจําวันได และยังเชื่อมโยงไปสูการเรียนในระยะที่ 2 และ 3 ตอไป เปนการ ศึกษารายวิชาของคณะศิลปศาสตร คณะวิทยาศาสตร และคณะแพทยศาสตร 2. ระยะที่สอง (Preclinical years) ในชั้นปที่ 2 และ 3 เปนการศึกษาวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตรการแพทย โดยบูรณาการความรู เกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่การทํางานโดยปกติของรางกายมนุษยกับพยาธิสภาพตางๆ อันเปนพืน้ ฐานของการเรียนในระดับทีส่ งู ขึน้ ตอไป 3. ระยะที่สาม (Clinical years) ในชั้นปที่ 4-6 เปนการเรียนรูความผิดปกติหรือโรคตางๆ ทั้งทางกายและจิตใจ โดยมีการ บูรณาการความรูจากทฤษฎีกับประสบการณในผูปวยจริง เพื่อใหมีความรูและทักษะตาม เกณฑมาตรฐานของแพทยสภา โดยในชั้ นป ที่ 6 จะเปนการฝ กปฏิบัติงานในการตรวจ รักษาผู ปวยดวยตนเอง ภายใต ความรั บผิดชอบของอาจารยแพทย ทั้ งในโรงพยาบาล สงขลานครินทร และโรงพยาบาลสมทบ ในกรณี ที่ นั กศึ กษาไม สามารถศึ กษาจนจบ หรื อไม ประสงค จะเรี ยนหลั กสู ตร แพทยศาสตรบัณฑิต สามารถยื่นคํารองขอรับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการแพทยได หากนักศึ กษาได ลงทะเบี ยนเรียนรายวิชาครบตามโครงสรางของ หลักสูตร

54

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 62

6/6/16 10:25 AM


การศึกษาในคณะทันตแพทยศาสตร ผูมีสิทธิ์เขาศึกษาในคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จะตอง ทําสัญญาการเปนนักศึ กษาเพื่อศึกษาวิชาทันตแพทยศาสตร และสัญญาค้ําประกันตาม ประกาศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ภายหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแลว จะต องเข ารั บราชการหรื อทํางานในสถานศึ กษาส วนราชการ หรื อองค กรของรั ฐบาล แหงใดแหงหนึ่ งไมนอยกว า 3 ปติดต อกันไป นับตั้ งแตวันที่ ไดกําหนดในคําสั่ง หากไม ปฏิบัติตามสัญญาจะตองรับผิด ชดใชเงินใหแกมหาวิทยาลัยเปนเงินจํานวนเงิน 400,000 บาท และหากยุติหรือเลิกการศึกษากอนสําเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรทันตแพทยศาสตร บัณฑิต โดยลาออกจากการเปนนักศึกษา หรือมีเจตนา จงใจ ละเลย ทอดทิ้งการศึกษา หรือประพฤติตนไมสมควร จนเปนเหตุใหพนสภาพการเปนนักศึกษา จะตองรับโทษโดย ตองชดใชเงินเปนเบีย้ ปรับใหแกมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิตเปนหลักสูตร 6 ป กําหนดใหนักศึกษาชั้นปที่ 1 ลงทะเบียนเรียนเปนระบบทวิภาค และในชั้นปที่ 2 ถึงชั้นปที่ 6 ลงทะเบียนเรียนเปนรายป ใน 2 ปแรกนักศึกษาเรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป และพื้ นฐานทางการแพทย ใน 4 ปหลัง นักศึกษาเรียนวิชาทางทันตแพทยศาสตร และฝกปฏิบตั ทิ างทันตกรรมทัง้ ในและนอกสถานที่ นักศึ กษาชั้ นปที่ 3 และชั้ นป ที่ 6 ตองสอบผ านการสอบประมวลความรู เพื่ อ ประเมินความรูความสามารถระดับการแพทยพื้นฐาน และระดับการแพทยคลินิก จึงจะ มีสิทธิ์ขอรับปริญญาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต

การศึกษาในคณะเภสัชศาสตร การศึกษาเพื่อปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิตของคณะเภสัชศาสตร เปนหลักสูตร 6 ป จํานวน 2 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557 โปรแกรมปกติ ไดรับปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือ ภ. บ. (เภสัชกรรม อุตสาหการ) Pharm.D. (Industrial Pharmacy) โปรแกรมแบบกาวหนา ไดรับปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (เภสัชกรรม อุตสาหการ โปรแกรมแบบกาวหนา) Pharm.D. (Industrial Pharmacy, Honors Program) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 55

145x210mm_����������� �� 2560.indd 63

6/6/16 10:25 AM


โปรแกรมปกติ มุงเนนสรางเภสัชกรในภาคอุตสาหกรรมยา ไดแก • เภสั ชกรด านการผลิ ตที่ มี ความชํานาญในการพั ฒนาระบบคุณภาพและ การผลิ ตยา สมุนไพร เภสัชภัณฑสุขภาพ อาหาร และเครื่องสําอาง รวมทั้งมีความ สามารถในการวิจัยพัฒนาคิดคนยาใหมหรือตํารับยาใหม ๆ • เภสัชกรด านการตลาดยา สร างผู เชี่ ยวชาญในการเสนอขอมูลยาและ เภสัชภัณฑสุขภาพ • เภสั ชกรดานการคุ มครองผู บริ โภคดานยา และสรางศั กยภาพที่ จะเปน ผูน ําระดับสูงขององคกรธุรกิจ อยางไรก็ตาม เภสัชกรที่สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ยังคงสามารถปฏิบัติ งานเปนเภสัชกรในรานยา หรือในสถานบริการสุขภาพได เชน การจายยา การผลิตยาใน โรงพยาบาล การจัดซื้อ และจัดหายาเขามาใชในโรงพยาบาล แตจะมีความรูและทักษะ ในการดูแลดานการใชยาในผูปวยในเชิงลึก ไมมากเทากับผู สําเร็จการศึกษาในสาขาการ บริบาลทางเภสัชกรรม ในปนี้นักศึกษายังคงตองทําสัญญาการเปนนักศึกษา และมีสัญญาค้ําประกัน โดยบิดาหรือมารดาเปนผูค้ําประกันตามประกาศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดย เมื่ อภายหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแลว ตองปฏิบัติงานในสวนราชการหรือ องคกรของรัฐบาลตางๆ ตามที่รัฐกําหนดเปนเวลา 2 ปติดตอกัน หรือชดใชเงินจํานวน 250,000 บาท (สองแสนหาหมื่นบาทถวน) โปรแกรมแบบกาวหนา (Honors Program) เป นการเตรี ยมความพรอม สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการที่ มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสเรียน รายวิชาระดับปริญญาโท-เอกในขณะที่ยังศึกษาในระดับปริญญาตรี ทําใหสามารถศึกษา ตอในระดับปริญญาโท-เอก โดยมีระยะเวลาการศึกษาในระดับปริญญาโท-เอกลดลง 2. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557 ไดรับปริญญาเภสั ชศาสตรบั ณฑิต หรือ ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) Pharm. D. (Pharm. Care) มีเปาหมายเพื่อผลิตเภสัชกรที่มีความรู ทักษะและความชํานาญในการใหการ บริบาลทางเภสัชกรรม เพื่อดูแลการใชยาในผู ปวยใหมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย สามารถเปนที่ปรึกษาเรื่องการใชยาใหกับบุคลากรทางการแพทยได และสามารถประสาน งานและทํางานเปนทีมรวมกับสหวิชาชีพ ในขณะเดียวกันก็มีความรูดานเภสัชกรรม อุตสาหการ ในเรื่องยา สมุนไพร เภสัชภัณฑสุขภาพ และอาหาร รวมทั้งดานการบริหาร จัดการ ในระดับที่สามารถประยุกตกับงานบริบาลทางเภสัชกรรมได

56

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 64

6/6/16 10:25 AM


อาชีพที่สามารถประกอบไดภายหลังสําเร็จการศึกษา: เภสัชกรในสถานบริการ สุขภาพ เภสัชกรชุมชน (รานยา) เภสัชกรการตลาด (บริษัทยา) เภสัชกรคุมครองผูบริโภค (สาธารณสุขจังหวัด) เภสัชกรนักวิจัยและพัฒนา เภสัชกรในสถาบันการศึกษา สําหรับ เภสัชกรการผลิต ประกันคุณภาพ และขึ้นทะเบียนยา (โรงงาน) นั้น ผูสําเร็จการศึกษาใน สาขานี้สามารถปฏิบัติงานไดในระดับหนึ่ง แตจะไมมีความรูและทักษะมากเทากับผูสําเร็จ การศึกษาในสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ การฝกปฏิบัติงาน นักศึ กษาทั้ ง 2 หลักสูตร จะมีการฝกปฏิบัติงานภาคฤดู รอนของชั้ นปที่ 4 ไมนอยกวา 420 ชั่วโมง และในปสุดทายตองฝกงานทั้งปไมนอยกวา 1,680 ชั่วโมง ซึ่ง การฝกปฏิบัติงานมีทั้งภาคบังคับและใหนักศึกษาเลือกเพื่อสรางความเชี่ยวชาญในสาขา ทีต่ นเองสนใจ ในปนี้ นักศึกษายังคงตองทําสัญญาการเปนนักศึกษา และมีสัญญาค้ําประกัน โดยบิดาหรือมารดาเปนผูค้ําประกันตามประกาศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดย เมื่ อภายหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแลว ตองปฏิบัติงานในสวนราชการหรือ องคกรของรัฐบาลตางๆ ตามที่รัฐกําหนดเปนเวลา 2 ปติดตอกัน หรือชดใชเงินจํานวน 250,000 บาท (สองแสนหาหมื่นบาทถวน) สัญญานี้เปนสัญญาฝายเดียว หากรัฐบาลมี ตําแหนงก็จะประกาศใหชดใชทนุ แตหากรัฐบาลไมมตี ําแหนง ผูส าเร็จการศึกษาก็เปนอิสระ ไมผูกพันกับรัฐบาล

การศึกษาในคณะพยาบาลศาสตร ผูที่จะศึกษาคณะพยาบาลศาสตร นอกจากจะมีคุณสมบัติเชนเดียวกันกับนักศึกษา คณะอื่นๆ ดังกลาวขางตนแลว ยังจะตองมีคุณสมบัติเฉพาะดังนี้คือ มีรางกายสมบูรณ แข็งแรง ไมพิการ หรือทุพพลภาพ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มีระยะเวลาในการ ศึกษา 4 ป แบงเปน 2 ระยะคือ 2 ปแรก ศึกษาวิชาพื้นฐานทั่วไปและพื้นฐานวิชาชีพ 2 ป หลังศึกษาเฉพาะวิชาชีพพยาบาลและผดุงครรภ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตรมรี ายวิชาบังคับซึ่งจัดการเรียนการสอนภาคฤดูรอน 1 ภาคการศึกษา คือชั้นปที่ 3 การวัดผลรายวิชาชีพการพยาบาลนี้ รายวิชาทฤษฎีจะตอง ไดคะแนนไมต่ํากวา 1 และรายวิชาปฏิบัติจะตองไดคะแนนไมต่ํากวา 2 จึงจะถือวาสอบได ในรายวิชานั้น

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 57

145x210mm_����������� �� 2560.indd 65

6/6/16 10:26 AM


คาธรรมเนียมในการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จะตองเสียคาใชจาย เปนคาธรรมเนียมการศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยจะเรียกเก็บตามรายการตางๆ ในอัตรา ดังตอไปนี้ กลุม 1 1) คณะทันตแพทยศาสตร 2) โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร 3) คณะเภสัชศาสตร 4) คณะแพทยศาสตร กลุม 1.1 1) คณะการแพทยแผนไทย 2) คณะพยาบาลศาสตร กลุม 2 1) คณะวิทยาศาสตร 2) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3) คณะแพทยศาสตร (กายภาพบําบัด) 4) คณะวิศวกรรมศาสตร 5) คณะทรัพยากรธรรมชาติ 6) คณะอุตสาหกรรมเกษตร 7) คณะเทคนิคการแพทย กลุม 3 1) คณะเศรษฐศาสตร 2) คณะนิติศาสตร 3) คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 4) คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ 5) คณะวิทยาการจัดการ 6) คณะศิลปศาสตร กลุม 4 1) คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ (การจัดการการทองเที่ยว)

58

ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ

28,000 28,000 28,000 28,000

บาท บาท บาท บาท

ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ

18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000 18,000

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ

16,000 16,000 16,000 16,000 16,000 16,000

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

ภาคการศึกษาละ 17,000 บาท

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 66

6/6/16 10:26 AM


2) คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ (การจัดการธุรกิจ) 3) คณะเทคโนโลยี และสิ่ งแวดลอม 4) คณะวิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) หาดใหญ 5) คณะวิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) ภูเก็ต 6) คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ (เรียนที่ มาเลเซีย) 7) โครงการจัดตั้งคณะสถาปตยกรรมศาสตร 8) คณะบริการและการทองเที่ยว 9) คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ (เรียนที่จีน) 10) คณะวิเทศศึกษา กลุม 5 1) คณะศิลปกรรมศาสตร 2) คณะรัฐศาสตร 3) คณะศึกษาศาสตร (4 ป และ 5 ป) 5) วิทยาลัยอิสลามศึกษา (4 ป และ 5 ป) 6) คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ยกเวน การจัดการสารสนเทศ ภาษาจีน (ภาคปกติ, นานาชาติ) 7) คณะวิทยาการสื่อสาร 8) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยกเวน สาขาวิศวกรรมเคมี 9) คณะพยาบาลศาสตร (ปตตานี)

ภาคการศึกษาละ 21,000 บาท ภาคการศึกษาละ 23,000 บาท ภาคการศึกษาละ 28,000 บาท ภาคการศึกษาละ 29,000 บาท ภาคการศึกษาละ 30,000 บาท ภาคการศึกษาละ 30,000 บาท ภาคการศึกษาละ 32,000 บาท ภาคการศึกษาละ 46,000 บาท ภาคการศึกษาละ 60,000 บาท ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ

11,000 11,000 11,000 11,000 11,000

บาท บาท บาท บาท บาท

ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ ภาคการศึกษาละ

12,000 14,000 14,000 15,000 22,000

บาท บาท บาท บาท บาท

หมายเหตุ 1. คาธรรมเนียมการศึกษาในภาคการศึกษาฤดูร อน นั กศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินภาคการ ศึกษาที่ กําหนดไวในหลั กสูตร และบุ คคลภายนอกที่ ลงทะเบียนเรียนในบางรายวิชา (ไม เกิน ภาคการศึกษาละ 6 หนวยกิต) ใหชําระคาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจายครึ่งหนึ่งของคา ธรรมเนียมการศึกษาภาคปกติ ยกเวน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 59

145x210mm_����������� �� 2560.indd 67

6/6/16 10:26 AM


- คณะบริการและการทองเที่ยว คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจายภาคปกติ และภาค ฤดูรอน 12 ภาคการศึกษาละ 32,000 บาท - คณะวิเทศศึกษา คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจายภาคปกติ และภาคฤดูรอน 10 ภาค การศึกษาละ 60,000 บาท 2. นักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรี ยนเกินกวาจํานวนหนวยกิ ตที่ กําหนดไวในหลักสูตร จะตองชําระ คาธรรมเนียมการศึกษาในสวนเกินตามอัตราที่มหาวิทยาลัยกําหนด 3. คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจาย ประกอบดวยรายการตอไปนี้ 3.1 คาขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา 3.2 คาบํารุงมหาวิทยาลัย 3.3 คาบํารุงสื่อการเรียนรู 3.4 คาบํารุงกิจกรรมนักศึกษา 3.5 คาบํารุงสุขภาพ 3.6 คาบํารุงเครือขายคอมพิวเตอร 3.7 คาหนวยกิต 3.8 คาธรรมเนียมพิเศษ 3.9 คาประกันทรัพยสินมหาวิทยาลัย 3.10 คาเอกสารลงทะเบียนเรียน 3.11 คาบัตรประจําตัวนักศึกษา

60

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 68

6/6/16 10:26 AM


¤³Ð/ËÅÑ¡ÊÙμáÒÃÈÖ¡ÉÒ

145x210mm_����������� �� 2560.indd 69

6/6/16 10:26 AM


62

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 70

6/6/16 10:26 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ÇÔÇÔ·า·เข้ าเล่ม 75 ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ ÂÒࢵËÒ´ãËÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹‹

คณะการจั คณะการจัดดการสิ การสิ่ง่งแวดล แวดลออมม

Faculty Faculty Faculty of of Environmental Environmental Management Management

ทีทีที่อออ่​่ ยูยูยู 

คณะการจั การสิ แวดล มหาวิ ยาลั สงขลานคริ คณะการจั ทร คณะการจัดดดการสิ การสิ่ง่ง่งแวดล แวดลอออมมม มหาวิ มหาวิทททยาลั ยาลัยยยสงขลานคริ สงขลานครินนนทร ทร ปณฝ. 50 50 ต.คอหงส ต.คอหงส อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา จ.สงขลา 90112 90112 ตูตูตู  ปณฝ. ปณฝ. 50 ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพพทท 00 7428 7428 6810 6899, 6810 โทรสาร 00 7442 7442 9758 โทรศั โทรสาร โทรศัพท 0 7428 6899, 6810 โทรสาร 0 7442 9758 9758 E-mail: envi-mgt@psu.ac.th fem.psu.ac.th@gmail.com, Homepage: kunanya.n@psu.ac.th, sasipatch.p@psu.ac.th E-mail: http://www.envi.psu.ac.th E-mail: envi-mgt@psu.ac.th Homepage: http://www.envi.psu.ac.th Homepage: http://www.fem.psu.ac.th

คณะการจั คณะการจัดดการสิ การสิ่ง่งแวดล แวดลออมมี มมีจจุดุดมุมุงงหมายที หมายที่จ่จะผลิ ะผลิตตดุดุษษฎีฎีบบัณัณฑิฑิตต และมหาบั และมหาบัณณฑิฑิตต คณะการจั ด การสิ ่ ง แวดล อ มมี จ ุ ด มุ  ง หมายที ่ จ ะผลิ ต ดุ ษ ฎี บ ั ณ ฑิ ต และมหาบั ณฑิต ทางด ม งบูโดยมุ งพัฒโดยมุ นาใหงมพัีกฒารจํ าเพาะที ่ สอดคล ทางดาานการจั นการจัดการสิ่งแวดลอมเชิ รณาการ นาให มีความรู และทัอกงกั ษะจํบความ าเพาะ านการจัดการสิ่งแวดล อมเชิ งบูรณาการ มการวิ ีความรู ละทับกบัษะจํ ตทีทางด อ่สงการของสั หาสิ ่งแวดล อมที่สําคัโดยมุ เพืง่องพัแวดล สฒงนาให เสริอมมที ัยแระดั ฑิตาเพาะ กษา อดคลองกังบคมและป ความตอญ งการของสั งคมและป ญญหาสิ ่สําคัจญ เพื่อสณงเสริ มศึการ ที ส ่ อดคล อ งกั บ ความต อ งการของสั ง คมและป ญ หาสิ ง ่ แวดล อ มที ส ่ า ํ คั ญ เพื อ ่ ส ง เสริ ม การ ซึวิ่งจจะมี บทบาทในการแก หาทางด ่งแวดลอม ตลอดจนการประเมิ ั ยระดั บบั ณฑิ ตศึ ก ษาไขป ซึ่ งญจะเข าไปมีาบนสิทบาทในการแก ไขป ญหาทางด านสินผลกระทบ ่ งแวดล อม วิ จั ยระดั บบั ณฑิ ตศึฒกนาที ษา ่ มซึ่ีตงจะเข ายากรธรรมชาติ ไปมี บทบาทในการแก ไ่ งขป ญหาทางด านสิ่ งแวดล อม จากกระบวนการพั  อ ทรั พ แ ละสิ แวดล อ ม คณะการจั ตลอดจนการประเมิ นผลกระทบจากกระบวนการพัฒนาที่ มีต อทรัพยากรธรรมชาติดการ และ ฒนาที่ มีต อทรัพยากรธรรมชาติ และ สิสิตลอดจนการประเมิ ่ง่งแวดล ผลิตบันณผลกระทบจากกระบวนการพั ฑิดตการสิ ในระดั่งแวดล บปริญอญาโทรุ นแรกในป พ.ศ. บ2531 แวดลออมเริ ม ่มคณะการจั มเริ่มผลิ ตบัณฑิตในระดั ปริญโดยในระยะแรก ญาโทรุนแรกในป สิ่งแวดลอม คณะการจัดการสิ่งแวดลอมเริ่มผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาโทรุนแรกในป อยู  ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มี ก ารสอนแบบสหสาขาวิ ช พ.ศ. 2531 โดยในระยะแรกอยู ในความรับผิดชอบของบัณฑิตวิทยาลัยา มีและประกาศ การสอนแบบ พ.ศ. 2531 โดยในระยะแรกอยู ในความรับผิดชอบของบัณฑิตวิทยาลัย มีการสอนแบบ จัสหวิ ดตั้งทอย างเปนชทางการเมื ่อเดือนตุ าคมางเป พ.ศ. 2539 โดยมี กสูลตาคม รหลัพ.ศ. กคือ 2539 สาขาการ ยาการวิ า และประกาศจั ดตัล้งอย นทางการเมื ่อเดืหอลันตุ โดยมี สหวิทยาการ และประกาศจัดตั้งอยางเปนทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2539 โดยมี จัหลั ดการสิ ่งแวดล ดําเนินชาการจั การและสอนโดย 15 อภาควิ าในนการและสอนโดย 5 คณะ คือ คณะวิ กสูตรหลั กคือมสาขาวิ ดการสิ่งแวดล ม ดําชเนิ 15ศวกรรมภาควิชา หลักสูตรหลักคือ สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม ดําเนินการและสอนโดย 15 ภาควิชา ศาสตร คณะวิคือทยาศาสตร คณะวิทยาการจั ดการ คณะทรัพคณะวิ ยากรธรรมชาติ และคณะ ใน คณะ คณะวิศศวกรรมศาสตร วกรรมศาสตร คณะวิ ยาศาสตร ยาการจัดดการ การ คณะ ใน 55 คณะ คือ คณะวิ คณะวิ ททยาศาสตร คณะวิททยาการจั คณะ แพทยศาสตร ตอและคณะแพทยศาสตร มาในป 2538 ไดมีการปรั บปรุงหลั2538 กสูตรให ีคารปรั วามทับนปรุสมังหลั ยยิ่ งขึ้ น ทรั มาในป ไดมมมีกีการปรั ทรัพพยากรธรรมชาติ ยากรธรรมชาติ และคณะแพทยศาสตร ตตออมาในป 2538 ได บปรุงหลักกสูสูตตรร ตลอดจนได มีกสมัารปรั บปรุงตลอดจนได ภายในระดัมบีกสาขาวิ า/รายวิ ชาอยางต อเนื่ อชงา/รายวิ อยางไรก็าอย ตาม ารปรับบชปรุ ปรุ ภายในระดั สาขาวิ ให งงภายในระดั บบสาขาวิ ชา/รายวิชชาอย าางง ใหมมีคีความทั วามทันนสมั ยยยิยิ่ง่งขึขึ้น้น ตลอดจนได มกี ารปรั ตอเนื่อง อยางไรก็ตาม เพื่อใหสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 63 àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 63 67

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 75 71

11/3/14 10:26 6/6/16 7:14 AM PM


ตอเนื่อง อยางไรก็ตาม เพื่อใหสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 และแนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 จึงดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งหนึ่ง ในปจจุบัน คณะฯ มีความพรอมในดาน บุคลาการทางวิชาการระดับปริญญาเอกที่มปี ระสบการณในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิต ศึกษาทั้งปริญญาเอกและปริญญาโท ซึ่งปจจุบันมีการดําเนินการใน 3 หลักสูตร

หลักสูตรคณะการจัดการสิ่งแวดลอม คือ

คณะการจัดการสิ่งแวดลอมเปดสอนหลักสูตร 2 ระดับบัณฑิตศึกษา 5 หลักสูตร

1. ระดับปริญญาเอก เป ด สอนหลั ก สู ตรปรั ช ญาดุ ษฎี บั ณ ฑิ ต (Ph.D) สาขาวิ ช าการจั ด การ สิ่งแวดลอม และสาขาวิชาสิ่ งแวดลอมระบบโลก โดยสาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม ยั งแบ งหมวดวิ ชาเลื อกออกเป น 5 กลุ มวิ ชาดวยกั น ได แก กลุ มวิ ชาสังคมศาสตร สิ่งแวดลอมและสิ่งแวดลอมศึกษา กลุ มวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมและเทคโนโลยี สิ่งแวดลอม กลุมวิชาอนามัยสิ่งแวดลอม กลุมวิชาผังเมืองและภูมิสารสนเทศศาสตร และกลุมวิชาการจัดการทองเที่ยวเพื่อสิ่งแวดลอม มุงผลิตนักวิชาการขั้นสูงที่พรอมดวย คุ ณธรรมและจริ ยธรรมด านสิ่ งแวดล อมควบคู ไปกั บการสร า งผลงานวิ จั ยที่ มี รากฐาน มาจากการมุงแกประเด็นปญหาในทองถิ่น และสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมของประเทศ ทั้ งในระยะสั้ นและระยะยาว โดยใหความสําคัญกับพื้ นที่ ภาคใต เชน การพัฒนาลุมน้ํา ทะเลสาบสงขลา ซึ่งไดรับงบประมาณแผนดินมาสนับสนุนงานวิจัยเชิงพื้นที่อยางตอเนื่อง การจัดการพื้นที่ชายฝง การจัดการพื้นที่ชุมน้ํา การแกไขปญหาดินพรุ การจัดการกาก ของเสียอันตราย ปญหามลพิษทางทะเล การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมโลกอันเนื่องมา จากโลกรอน ผลกระทบของวิกฤตอาหารและพลังงาน ความขัดแยงของการใชทรัพยากร รูปแบบต างๆ ตลอดจนความขัดแยงทางสั งคมอันเนื่ องจากปญหาการใช ทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม สาขาการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน และสาขาวิชาสิ่งแวดลอมระบบโลก มุงผลิต มหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการสรางองคความรูใหมอยางบูรณาการเพื่อการ จัดการสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน รวมทั้งมีจิตสํานึก คุณธรรม และจริยธรรมดานสิง่ แวดลอม โดยสาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอมยังแบงหมวดวิชาเลือกออกเปน 6 สาขาวิชา ไดแก

64

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 72

6/6/16 10:26 AM


สาขาสังคมศาสตรสิ่งแวดลอม สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม สาขาอนามัยสิ่งแวดลอม และสาขาการรับรูระยะไกลและ ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร

จุดเดน-ตลาดแรงงานในภาพรวมของคณะ

1. ป จ จุ บั น คณะเป น หน ว ยงานหลั ก ทํ า หน า ที่ เป น หน ว ยประสานงานของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในเครือขายเพื่อการสงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนดานบัณฑิต ศึกษาและวิจัย (ProSPER.Net) ภายใตมหาวิทยาลัยแหงสหประชาชาติ (UNU) ทําใหมี เครือขายความรวมมือกับมหาวิทยาลัยอื่ นมากกวา 30 สถาบัน สามารถสนับสนุนการ ทํางานในระดับนานาชาติไดเปนอยางดี 2. คณะฯ เปนศูนยประสานงานของศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการ สิ่งแวดลอมและของเสียอันตรายเครือขายภาคใต และเปนศูนยอํานวยการภาคใต ของ สํานักงานเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแหงชาติ (GISTDA) ซึ่งใหการสนับสนุน ดานงบประมาณสําหรับบัณฑิตศึกษาและการวิจยั ในทิศทางที่สอดคลอง 3. ทรัพยากรบุคคล โดยสรางพื้ นฐานอุปกรณสนับสนุน อาจารยสวนใหญ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก เปนคนรุนใหม มีเวลาและทุมเทใหกับนักศึกษาไดอยาง เต็มที่ มีสถานที่กวางขวาง หองปฏิบัติการที่ไดมาตรฐาน อุปกรณคอมพิวเตอรที่ทันสมัย อุปกรณการเรียนการสอน การวิจัย ทุกชนิดไดมาตรฐาน 4. ทุนวิจัย คณะฯ มีแหลงทุนวิจัยที่สามารถสนับสนุนการวิจัยของบัณฑิตศึกษา โดยนักศึกษามีแหลงทุนจากบัณฑิตวิทยาลัยเปนทุนวิจัยพื้นฐานทุกคน และยังมีโอกาสได รับทุนสนับสนุนจากทุนประเภทอื่นของมหาวิทยาลัย รวมทั้งจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาภายใตเครือขายความรวมมือของ 8 มหาวิทยาลัย ซึ่งรวมกันดําเนินงาน ศูนยความเปนเลิศแหงชาติด านการจัดการสิ่ งแวดล อมและของเสียอันตราย และจาก สํานั กงานเทคโนโลยี อวกาศและภู มิ สารสนเทศแห งชาติ ภายใต การสนั บสนุ นของ 5 มหาวิทยาลัย อีกทัง้ ทุนภายนอกทัง้ ในและตางประเทศ 5. คณะฯ มีการติดตอกับสถาบันการศึกษาตางประเทศ ทั้งในเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา สามารถสนับสนุนงานบัณฑิตศึกษา ไมวาจะเปนการแลกเปลี่ยน อาจารย นักศึกษา การทําวิจัยรวม ซึ่งจะสงผลมาสูการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และงานวิจยั ไดเปนอยางดี 6. มีคณาจารยประจําหลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชาจากหลายคณะมารวม สอนและควบคุมวิทยานิ พนธภายใตกรอบปรัชญาบูรณาการของคณะ จึงสามารถผลิต บัณฑิตที่มคี วามรูจ าํ เพาะทีห่ ลากหลาย และเขาใจในองครวมของการจัดการสิ่งแวดลอมได àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 65

145x210mm_����������� �� 2560.indd 73

6/6/16 10:27 AM


7. เป นหลั กสู ตรที่ มุ งผลิ ตนั กวิ ช าการชั้ นสู ง ทางด า นการจั ดการสิ่ ง แวดล อม จํา เพาะในระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา ควบคู ไปกั บการสร า งงานวิ จั ย อั น เป นองค ความรู ใ หม ที่มีรากฐานมาจากการมุงแกประเด็นปญหาในทองถิ่น เพื่อพัฒนาไปสูประเด็นที่เปนสากล เปนที่รูจักในระดับประเทศและนานาชาติ มีกระบวนการประกันและพัฒนาคุณภาพอยาง ตอเนื่อง เปนที่ยอมรับในตลาดแรงงาน ในวงราชการ ธุรกิจ ในสังคม และสถาบันการ ศึกษาอื่นๆ 8. คณะฯ มีความสัมพันธกับองคกรรัฐ องคกรเอกชน และชุมชนในพื้นที่อยาง ใกลชิด สามารถใชเปนแหลงขอมูล แหลงศึกษา และแลกเปลี่ยนความรูสําหรับทําการ วิจยั ได 9. นั กศึ กษาผู ที่ มี ความสนใจ สามารถจะใช เวลาส วนหนึ่ งของเวลาเรี ยนใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไปศึกษาตอในประเทศและตางประเทศได อาทิ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยในตางประเทศทีม่ ขี อตกลงความรวมมือกัน 10. บั ณฑิ ตของคณะฯ สามารถเข าทํางานได ทั้ งหน วยงานรั ฐและเอกชน เช น โรงงานอุตสาหกรรม กรมอนามัย สํานั กงานสาธารณสุข สํานักนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม โรงพยาบาล และสถาบันการศึกษาและองคกรพัฒนาเอกชนดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งประกอบอาชีพอิสระทีเ่ กีย่ วของกับสิ่งแวดลอม

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

ประมาณ 120,000 บาท/คน/ป (รวมคาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียน เรียน และคาดํารงชีพ)

66

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 74

6/6/16 10:27 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะทันตแพทยศาสตร Faculty of Dentistry

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 7567 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: aunchalee.su@psu.ac.th Homepage: http://www.dent.psu.ac.th คณะทันตแพทยศาสตรจัดตัง้ ขึ้นในป พ.ศ. 2526 เพื่อผลิตบัณฑิตทันตแพทยศาสตร สนองความตองการของชุมชนในภาคใต เผยแพรความรู และใหบริการทางทันตสุขภาพ แกประชาชนทั่วไป ตลอดจนเปนแหลงคนควาและวิจัยทางทันตแพทยศาสตรเพื่อสุขภาพ ที่ดขี องประชาชน คณะทันตแพทยศาสตร ประกอบดวย 6 ภาควิชา ดังนี้

ภาควิชาชีววิทยาชองปากและระบบการบดเคี้ยว

(Department of Oral Biology and Occlusion) โทรศัพท 0 7442 9873 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: atchara.th@psu.ac.th, prakaimas.c@psu.ac.th àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 75

67

6/6/16 10:27 AM


จัดการเรียนการสอน วิจัย และบริการวิชาการ ในเรื่องชีววิทยาชองปาก ตั้งแต เรื่ อ งกํา เนิ ดและพั ฒนาการของฟ นและอวั ย วะที่ เ กี่ ย วข องภายในกระดู กขากรรไกร โครงสราง หนาที่ ความสัมพันธกับการเกิดโรคในชองปาก และความเกี่ยวของกับการ รักษาในคลินิกของฟนและอวัยวะที่เกี่ยวของทั้งหมดโดยละเอียด ในสวนของระบบการ บดเคี้ยวจะเนนเกี่ยวกับรูปลักษณะและการทํางานของฟนแตละซี่ รวมถึงอวัยวะอื่นๆ ที่ เกี่ ยวของสัมพันธกับการบดเคี้ยวและการสบฟน นอกจากนี้ ภาควิชาฯ ยังรับผิดชอบ การสอนในเรื่องชีวสถิติ และกระบวนการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร เพื่อเพิ่มพูนความรู ความเขาใจ ตลอดจนสามารถนําสถิติและการวิจัยมาประยุกตใชใน วิชาชีพทันตแพทย ตอไป

ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ

(Department of Prosthetic Dentistry) โทรศัพท 0 7428 7560, 0 7442 9874 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: sdjammar@psu.ac.th, ampa.i@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย และใหบริการรักษาผูปวยทางดานการใสฟนปลอม ชนิดตางๆ และการทําอวัยวะเทียมบนใบหนาและขากรรไกร (Maxillofacial Prostheses) โดยศึกษาวิธีการตรวจ บันทึกประวัติ ลักษณะกายวิภาคในชองปาก เทคนิคการพิมพปาก และวิธีการสบฟนที่ผิ ดปกติ เพื่ อวางแผนการรักษาที่เหมาะสมกับการใสฟนปลอม โดย ฝ กปฏิ บัติ งานในห องปฏิบัติ การและคลิ นิกในการออกแบบซอม เตรี ยมฟ น และใส ฟ นปลอมทั้ งแบบถอดได บางส วนและฟ นปลอมทั้ ง ปาก รวมทั้ ง การแก ไขป ญหาต างๆ จากการใสฟนปลอม นอกจากนี้ภาควิชาฯ ยังรับผิดชอบการเรียนการสอนและการวิจัย เกี่ยวกับวัสดุทางทันตกรรม ไดแก ทันตวัสดุ และวัสดุ อุปกรณที่ใชทางทันตกรรมประเภท ตางๆ โดยศึกษาคุณสมบัติ ชนิด หรือประเภทและประโยชนของวัสดุ รวมทั้งวิธีการใช การเก็บรักษา และการพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ

ภาควิชาทันตกรรมปองกัน

(Department of Preventive Dentistry) โทรศัพท 0 7428 7601 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: nongyaow.u@psu.ac.th

68

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 76

6/6/16 10:27 AM


จั ดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ที่ จะให นั กศึ ก ษามี ค วามคิ ด รวบยอดในปรั ช ญาด าน ทั นตกรรมปองกั น และมุ งเนนให นักศึ กษาให การรั กษาทางทั นตกรรมแก ผู ปวยภายใต จิตสํานึกและบนหลักการของการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค การดําเนินงาน ในภาควิชาฯ ไดแบงออกเปน 3 สาขาวิชาคือ 1. สาขาวิชาทันตกรรมสําหรับเด็ก การดูแลสุขภาพช องปากที่ ถูกตองตั้ งแตวัยเด็ ก เปนสิ่ งสําคั ญซึ่ งจะนํามาสู ประชากรในชุมชนที่ มีสุขภาพชองปากที่ ดี การประมวลความรู เกี่ ยวกั บพัฒนาการดาน รางกาย จิตใจ กระดูกขากรรไกรและใบหนา รวมทั้งพยาธิสภาพที่เกิดขึ้น จึงมีความสําคัญ เพือ่ นําไปสูก ารวางแผนทางทันตกรรมปองกันทีเ่ หมาะสมและการตรวจรักษาทีถ่ กู ตอง 2. สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟน มุงเนนใหบัณฑิตสามารถวินิจฉัยความผิดปกติของการสบฟนและโครงสราง ของกระดูกขากรรไกรและใบหนา รวมถึงความรูความเขาใจถึงสาเหตุของความผิดปกติ เพื่ อประโยชน ในงานป องกั นและรั กษาขั้ นต นในกรณี ที่ มี ความผิ ดปกติ ไม รุนแรง และ สามารถสงตอผูป ว ยไดในกรณีทมี่ คี วามผิดปกติรนุ แรง 3. สาขาวิชาทันตกรรมชุมชน การเรี ยนการสอนเน นให นั กศึ กษาสามารถประมวลวิชาความรู พื้ นฐานทาง สังคมและมนุษยวิทยาที่เกี่ยวของมาผสมผสานกับวิชาการตางๆ ทางสาธารณสุขศาสตร ไปใชในการคนหาปญหาทางทันตสุขภาพที่สําคัญในชุมชน รวมทั้งวิธีการแกไขปญหาและ ประเมินผลอยางถูกตองและเปนระบบ สามารถเลือกใชกลวิธีทางทันตกรรมสงเสริม และทันตกรรมปองกันในการแกไขปญหาทันตสุขภาพของผูปวยและชุมชน โดยใชความรู ความเขาใจทางวิทยาศาสตรพื้นฐาน ความรูความชํานาญทางคลินิกมาผสมผสานความรู ทางสั งคมศาสตร และพฤติ กรรมศาสตร ได อย างเหมาะสม นอกจากนี้ ยั งได มีการสอด แทรกประสบการณการเรียนรู แกนักศึกษาในการปฏิ บัติงานในชุมชนจริง โดยนักศึกษา จะไดออกฝกปฏิบัตงิ านในชุมชนและโรงเรียนในเขต ชนบทภาคใต

ภาควิชาทันตกรรมอนุรักษ

(Department of Conservative Dentistry) โทรศัพท 0 7428 7571, 0 7442 9877 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: sudawan.j@psu.ac.th, kanlaya.l@psu.ac.th

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 69

145x210mm_����������� �� 2560.indd 77

6/6/16 10:27 AM


จัดการเรียนการสอนการวิจัยและการใหบริการดานการบูรณะฟนที่ยังมีชีวิต ไมมี ชีวิต และฟนที่สูญเสียไป รวมทั้งเนื้อเยื่อปริทันตใหอยูในสภาพที่ใกลเคียงธรรมชาติมาก ที่สุด และสามารถทํางานไดตามปกติ โดยนักศึกษาจะลงปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ และลงปฏิบัติ งานในคลินิก เพื่อใหการรักษาผู ปวยโดยการอุดฟน รักษา คลองรากฟน การใสฟนปลอมชนิดติดแนน และการรักษาโรคเหงือกโดยวิธีตางๆ การดําเนินงานใน ภาควิชาฯ ไดแบงออกเปน 4 ภาควิชาคือ 1. สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ รับผิดชอบงานดานบรูณะฟนธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห ปองกัน และ ใหการรักษารอยโรคของฟนธรรมชาติ ซึ่งรอยโรคนี้อาจเปนการผุ การสึกจากสาเหตุตางๆ ความผิดปกติของฟน รวมถึงฟนทีม่ ีสีผดิ ปกติและฟนทีม่ ีการแตกหัก 2. สาขาวิชาวิทยาเอนโดดอนต มุงเนนใหบัณฑิตสามารถวินิจฉัยโรคของพัลปและเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟน ชนิดตางๆ ตลอดจนสามารถใหการรักษาไดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ 3. สาขาวิชาปริทันตวิทยา มุ งเน นให บัณ ฑิ ตสามารถวิ นิ จฉั ยโรคทางปริ ทั นตวิ ทยาชนิ ดต างๆ รวมทั้ ง สามารถให การรั กษาด วยวิ ธี การที่ ถู กต อง เพื่ อประโยชน ในงานป องกั นและรั กษาโรค ปริทันต ซึ่งเปนปญหาสําคัญมากอันหนึ่งทางทันตสุขภาพของประชาชนชาวไทย 4. สาขาวิชาครอบและสะพานฟน จัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษาเรียนรูขอบขายงานครอบและสะพานฟน เครื่องมือเครื่องใชตางๆ ตลอดจนวัสดุทันตกรรมที่เกี่ยวของ เรียนรูขั้นตอนในการทํางาน ครอบและสะพานฟน โดยมีการปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการและในคลินิก ซึ่งนักศึกษา จะตองสามารถวินิจฉัยวางแผนการรักษา และใหการรักษาในงานครอบและสะพานฟน แกผปู วยได

ภาควิชาศัลยศาสตร

(Department of Surgery) โทรศัพท 0 7428 7591 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: tnavudh@ratree.psu.ac.th, twannare@ratree.psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการใหบริการเกี่ ยวกับงานดานศัลยศาสตร ชองปาก โดยมีวัตถุประสงคใหนักศึกษาสามารถทําการตรวจ วินิจฉัย วางแผนการรักษา

70

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 78

6/6/16 10:27 AM


และใหการรักษาทางศัลยกรรมชองปาก เชน การถอนฟน การผาตัดฟนคุด การผาตัด ปลายรากฟน การรักษาอุบัติเหตุที่ เกิดตอฟนและกระดูกขากรรไกร การรักษาภาวะ ติ ดเชื้ อ บริ เวณช องปากและใบหน า รวมถึ งมี ความเข าใจถึ งการรั กษาความเจ็ บปวด บริเวณใบหนา การรักษาถุงน้ําและเนื้องอกของกระดูกขากรรไกร การผาตัดแกไขความ ผิดปกติของการสบฟนและกระดูกขากรรไกรทั้งที่เปนมาแตกําเนิดหรือเนื่องจากอุบัติเหตุ การผาตัดใสรากฟ นเทียม เปนต น นอกจากนี้ ยังรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอน เกี่ ยวกับวิชาอายุรศาสตรทั่วไป ศัลยศาสตรทั่ วไป และวิสัญญีวิทยาสําหรับนักศึกษา ทันตแพทย

ภาควิชาโอษฐวิทยา

(Department of Stomatology) โทรศัพท 0 7428 7581 โทรสาร 0 7421 2922 E-mail: jinjit.b@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การบริ การ และการวิจั ยเกี่ยวกับโรคชนิ ดตางๆ ที่พบใน ชองปากและอวัยวะขางเคี ยง ในดานของการตรวจพิเคราะห โรค การใชภาพถายรั งสี และวิธีตางๆ ทางหองปฏิบัติ การมาประกอบการรักษาทางยา การดําเนินงานในภาค วิชาฯ ไดแบงออกเปน 4 สาขาวิชาคือ 1. สาขาวิชาอายุรศาสตรชองปาก มุ งเน นให นั กศึ กษามี ความรู ความสามารถในการตรวจในช องปาก การส ง ตรวจทางรังสีและหองปฏิบัติการ การใหการวินิจฉัยและรักษารอยโรคตางๆ ในชองปาก ให การบําบั ดฉุกเฉิ นทางทั นตกรรม และการดูแลรั กษาทางทั นตกรรมแก ผู ปวยที่ มี โรค ทางระบบรวมดวย 2. สาขาวิชารังสีวิทยาชองปาก มุ ง เน นให นั ก ศึ กษาได มี ความรู และความเข า ใจในเรื่ องรั งสี วิ ทยาของฟ น กระดูกขากรรไกรและอวัยวะที่เกี่ยวของในชองปาก ตั้งแตพื้นฐานของการเกิดรังสี ผล ทางชีวภาพ อันตรายจากรังสี และวิธีปองกั น กระบวนการในการเกิดภาพรังสี วิธีถาย ภาพรังสีบริเวณใบหนาแบบตางๆ ตลอดจนบทบาทของภาพรังสีในการใหการวินิจฉัยโรค 3. สาขาวิชาจุลชีววิทยาชองปาก จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับพื้นฐานและกลไกการติดเชื้ อจุลชีพในชองปาก ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นกับรางกาย การตรวจสอบความไวของยาตอเชื้อ การปองกันการแพร àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 79

71

6/6/16 10:27 AM


กระจายการติดเชื้อ วิธีทําใหปราศจากเชื้อในงานทันตกรรม หลัก วิธีการเก็บและสง สิ่งสงตรวจ รวมถึงการแปลผลการทดสอบในหองปฏิบัตกิ าร 4. สาขาวิชาพยาธิวิทยาชองปาก จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับหลักทั่วไปทางพยาธิวิทยาทางระบบและพยาธิ วิ ทยาช องปาก โดยเน นเกี่ ยวกับสาเหตุ และกลไกของการเกิดโรค การเปลี่ ยนแปลงที่ เกิดขึ้นในระดับเซลลและเนื้อเยื่อ การติดเชื้อจุลชีพและภูมิคุมกันวิทยาพื้นฐาน โรคทาง ระบบและโรคที่ พบในช องปาก ตลอดจนถึ งความสั มพั นธ ของโรคทั้ งสองนี้ ลักษณะ พยาธิสภาพที่เห็นดวยตาเปลาและดวยกลองจุลทรรศน พรอมทั้งความสัมพันธระหวาง ลักษณะทางพยาธิสภาพและลักษณะทางคลินิก

หลักสูตรคณะทันตแพทยศาสตร

คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดเปดหลักสูตรตางๆ ดังนี้ 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี ทําการสอน 2 หลักสูตร คือ 1) หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (D.D.S.) เปนหลักสูตร 6 ป เปดรับ นักศึกษาปละ 50 คน 2) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการแพทย (B.Sc. in Medical Science) เป นหลั กสู ตรสําหรั บนั กศึ กษาที่ ศึ กษาหลั กสู ตรทั นตแพทยศาสตร บัณฑิตไปแลวระยะหนึ่งและไมประสงคจะศึกษาตอ หรือไมสามารถศึกษาจนจบหลักสูตร ทันตแพทยศาสตรบัณฑิตได สามารถศึกษาตอในหลักสูตรนี้ได 2. หลักสูตรหลังปริญญา 2.1 หลั กสู ตรประกาศนี ยบั ตรบั ณฑิ ตชั้ นสู งทางวิ ทยาศาสตร การแพทย คลินิก Higher Grad. Dip. (หลักสูตร 1 ป) 1) สาขาวิชาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 2) สาขาวิชาปริทันตวิทยา 3) สาขาวิชาอายุรศาสตรชองปาก 4) สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ 3. หลักสูตรระดั บปริญญาโท ทําการสอนหลั กสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) 4 สาขา คือ 1) สาขาวิชาการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร (ไมตองจบทันตแพทยก็สมัคร หลักสูตรนีไ้ ด) 2) สาขาวิชาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

72

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 80

6/6/16 10:27 AM


3) สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพชองปาก มีสาขาวิชาเอกดังนี้ ทันตกรรม ประดิษฐ ทันตกรรมสําหรับเด็ก ทันตสาธารณสุข ทันตกรรมจัดฟน ทันตกรรมบูรณะ ปริทนั ตวิทยา วิทยาเอ็นโดดอนต วิทยาการวินจิ ฉัยโรคชองปาก ความปวดชองปากใบหนา อายุรศาสตรชองปาก 4) สาขาวิชาวิทยาการสุขภาพชองปากประยุกต (ไมตอ งจบทันตแพทยศาสตร ก็สมัครหลักสูตรนีไ้ ด) 4. หลักสูตรการฝกอบรมทันตแพทยเฉพาะทาง/ทันตแพทยประจําบานระดับ วุฒิบัตร (หลักสูตร 3 ป) 1) สาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 2) สาขาทันตกรรมจัดฟน 3) สาขาทันตกรรมประดิษฐ 4) สาขาทันตสาธารณสุข 5. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Ph.D. สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพชองปาก (3 สาขายอย คือ สาขาวิทยาศาสตรชองปาก สาขาวิจัยทางคลินิกและสาธารณสุขชอง ปาก และสาขาทันตวัสดุ)

จุดเดนของคณะทันตแพทยศาสตร

1. หลั กสู ตรและการจั ด การเรี ยนการสอนของคณะทั นตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรใหม เพื่อพัฒนาการจัด การศึกษาและการประเมินผลใหเหมาะสมกับการไดมาซึง่ บัณฑิตทันตแพทยทมี่ ีคณ ุ ลักษณะ ที่พึงประสงค หลักสูตรใหมนี้จะเนนกระบวนการเรียนรูที่มีผูเรียนเปนศูนยกลาง พัฒนา นั กศึกษาทันตแพทยให มีความสามารถในวิ ชาชี พ สามารถดู แลสุ ขภาพของประชาชน ภายใตแนวคิดการดูแลสุขภาพองครวม นอกจากนี้ยังเนนถึงการสงเสริมใหนักศึกษามี ทักษะในการเรียนรู ตลอดชีวิ ต เพื่ อใหทันกั บความเจริญกาวหนาทางวิชาการใหม ๆ ใน วงการวิชาชีพ 2. คณะฯ มีโรงพยาบาลทันตกรรม ซึ่งจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเปนแหลงฝกปฏิบัติงาน ของนักศึกษา เปนฐานการวิจัย คลินิกและพัฒนาเทคโนโลยีทางคลินิกทันตกรรม เปน ศูนยกลางการบริ การทางทันตกรรมในภาคใต นั กศึ กษาได เรี ยนรู ถึงสภาพป ญหาและ ความต องการที่ แท จริงของชุมชนในภาคใต และนอกจากโรงพยาบาลทั นตกรรมจะให บริการในรูปแบบตางๆ ภายในโรงพยาบาลแลว ยังมีการออกหนวยทันตกรรมเคลื่อนที่ สูช ุมชนเพือ่ ใหบริการทางทันตกรรมอีกดวย àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 73

145x210mm_����������� �� 2560.indd 81

6/6/16 10:27 AM


3. นักศึกษาทันตแพทยจะไดออกฝกปฏิบัติงานในชุมชนภาคใต เพื่อไดเรียนรูถึง ปญหาความตองการของชุมชน นอกจากนี้ นักศึ กษาทันตแพทยชั้ นปที่ 6 ยังไดฝกงาน นอกสถานที่ เพื่ อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสมทบเพื่อใหนักศึกษาสามารถใชความรูและ ทักษะในการปฏิบัติงานทางทันตกรรมรวมกับบุคลากรทางการแพทยอื่นๆ ได โดยกําหนด ใหนักศึกษาฝกปฏิบัติงานในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล ทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชน 4. คณะฯ เห็ นความสําคั ญของการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนานั กศึ กษา โดยได จัดสรรเงินงบประมาณใหแกสโมสรนักศึกษาและชมรมต างๆ เพื่อใหนักศึกษาใช ในการบริหารงานกิจกรรมนักศึกษา อันเปนการเสริมสรางบุคลิกภาพและสมรรถภาพ ในดานตางๆ เพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสเรียนรูประสบการณชีวิตนอกเหนือจากหลักสูตร การเรียนการสอนของคณะฯ อีกทัง้ ไดจดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาจิตใจและวุฒภิ าวะทางอารมณ ใหแกนักศึกษาทุกชั้นป เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งจากภายในจิตใจ ไดเรียนรูตนเองและ ผูอื่น พัฒนาทักษะการใชชีวิตใหสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม สังคม และ สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนสามารถนําไปประยุกตใชกับชีวิตไดอยางมีความสุข ตัวอยางกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมสนับสนุนใหนักศึกษาจัดขึ้นเอง เชน กิจกรรมสโมสรนักศึกษา กิจกรรม ชมรม 10 ชมรม (ชมรมกีฬา ชมรมดนตรีไทย ชมรมดนตรีสากล ชมรมบําเพ็ญประโยชน ชมรมรักษธรรมชาติ ชมรมศิลปกรรม ชมรม Handicraft ชมรมธารใจ และชมรม ถายภาพ) กิจกรรมที่ คณะฯ จัดขึ้นเพื่ อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับนักศึกษา เชน โครงการ พัฒนาอารมณและจิตวิญญาณ โครงการงานพลังกลุม พลังความสุข โครงการพัฒนา ภาวะความเปนผูนํา โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โครงการพัฒนาบุคลิกภาพ ฯลฯ

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

คาธรรมเนียมการศึกษารวมคาธรรมเนียมพิเศษตลอดหลักสูตรประมาณ 336,000 บาท เฉลี่ย 28,000 บาท/คน/ภาคการศึกษา

74

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 82

6/6/16 10:27 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

Faculty of Natural Resources

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท ปริญญาตรี 0 7428 6049, 0 7428 6235, บัณฑิตศึกษา 0 7428 6048 โทรสาร 0 7455 8803 E-mail: natural-res@group.psu.ac.th Homepage: http://www.natres.psu.ac.th คณะทรัพยากรธรรมชาติจัดการเรียนการสอน วิจัย และบริการวิชาการ ใน 6 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช ปฐพีศาสตร พัฒนาการเกษตร พืชศาสตร สัตวศาสตร และวาริชศาสตร ครอบคลุมทรัพยากรดานการเกษตร ดิน ปศุสัตว ปาไม น้ํา สิ่งแวดลอมและสังคมศาสตรทรัพยากร โดยเนนใหนักศึกษาทุกสาขาวิชารูจักการนํา องคความรู ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการทางเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติไปใชใน การอนุรักษพัฒนาและฟนฟูทรัพยากรในทองถิ่นภาคใต ทั้งในเชิงอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสั งคม เพื่ อ ยกระดั บชี วิ ตความเป น อยู ข องประชาชนในพื้ น ที่ ให สู งขึ้ น และเพื่ อ คุ ณภาพที่ ดี ของสภาพแวดล อมและระบบนิ เวศ อั นสงผลใหสังคมและประเทศบรรลุ เปาหมายของการพัฒนาทีย่ ั่งยืนตลอดไป àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 75

145x210mm_����������� �� 2560.indd 83

6/6/16 10:27 AM


ในปจจุบัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบดวย 6 ภาควิชาดังนี้

ภาควิชาพืชศาสตร

(Department of Plant Science) โทรศัพท 0 7428 6138-9 โทรสาร 0 7455 8803 E-mail: arpom.c@psu.ac.th, nr-plantscience@group.psu.ac.th สอนและวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรเกษตร ประเภทพืชปลูก โดยเฉพาะพืชที่มีความ สําคั ญตอเศรษฐกิ จและสังคมของภาคใต เช น ยางพารา ปาลมน้ํามั น ไมผล ธั ญพืช พืชอาหารสัตว พืชผัก ไมดอก-ไมประดับ และพืชวนเกษตร เนนวิทยาการดานเทคโนโลยี และระบบการผลิต การปรับปรุงพันธุพืชดวยวิธีการมาตรฐานและวิธีการทางเทคโนโลยี ชีวภาพ การใชเครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลื อกและปรับปรุงพันธุ พืช เทคโนโลยี เมล็ดพันธุ สรีรวิทยา นิเวศวิทยา การจัดการวัชพืช และวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว

ภาควิชาสัตวศาสตร

(Department of Animal Science) โทรศัพท 0 7428 6068-69, 0 7455 8805 E-mail: benjamas.ch@psu.ac.th

โทรสาร 0 7455 8805

สอนและวิจัยเกี่ยวกับสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก สุกร สัตวปก โคเนื้อ-โคนม และแพะ-แกะ โดยคลอบคลุมดานสรีรวิทยาและกายวิภาคของสัตว การปรับปรุงพันธุ สัตว การเพิ่ มประสิ ทธิภาพการสืบพันธุ ของสั ตวเศรษฐกิจ โภชนศาสตรและการให อาหารสัตว เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตว วิทยาศาสตร เนื้ อสั ตว การสุขาภิบาล การปองกันโรค และมาตรฐานฟารมสัตว การวางแผนการจัดการฟารม และการตลาด ปศุสตั ว

ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

(Department of Agricultural Development) โทรศัพท 0 7428 6121-2, 0 7455 8810 โทรสาร 0 7455 8810 E-mail: sudara.k@psu.ac.th, kochaporn.j@psu.ac.th

76

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 84

6/6/16 10:27 AM


สอนและวิ จั ย เกี่ ยวกั บการพั ฒนาการเกษตร เน นการผสมผสานความรู ด าน วิ ทยาศาสตร เกษตรกับความรู ด านสังคมศาสตร โดยมี จุดมุ งหมายเพื่ อสนั บสนุ นการ พัฒนาการผลิตทางการเกษตรและสังคมเกษตรกรรม คลอบคลุมเนื้อหาการพัฒนาการ เกษตร ระบบเกษตร การสงเสริมและติดตอสื่อสารทางการเกษตร องคกรและสถาบัน ทางการเกษตร จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธในการพัฒนาการเกษตร เศรษฐศาสตรการ พัฒนา ธุรกิจเกษตร สารสนเทศทางการเกษตร การวางแผนและวิเคราะหโครงการ พัฒนาการเกษตร

ภาควิชาวาริชศาสตร

(Department of Aquatic Science) โทรศัพท 0 7428 6193-4, 0 7455 8807 โทรสาร 0 7455 8807 E-mail: rattana.po@psu.ac.th, malee.j@psu.ac.th สอนและวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดลอมในแหลงน้ํา โดยรวม ถึงทรัพยากรชายฝง เชน ปาชายเลน หญาทะเล ทรัพยากรประมง การเพาะเลี้ยง สัตวน้ําชนิดตางๆ ทั้งน้ําจืด น้ํากรอย และน้ําทะเล สมุทรศาสตร ชลธีวิทยา การใช เทคโนโลยี ชี วภาพเพื่ อการเพิ่ มผลผลิ ตสั ตว น้ํา เพื่ อพั ฒนาการใช ท รั พยากรทางน้ํา และ สิ่ งแวดลอม การใชและการจัดการทรัพยากรทางน้ําที่ มีชีวิ ตอยางถูกวิธีมีประสิทธิภาพ และยัง่ ยืน

ภาควิชาธรณีศาสตร

(Department of Earth Science) โทรศัพท 0 7428 6171-2, 0 7455 8809 โทรสาร 0 7455 8809 E-mail: sikarase.s@psu.ac.th, marisa.r@psu.ac.th สอนและวิจัยเกี่ ยวกับการจัดการและพัฒนาทรัพยากรดินใหมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืนในดานการเกษตร โดยเนนการกําเนิดดิน การจําแนกดิน ความอุดมสมบูรณของดิน ธาตุอาหารพืช ปุยและสารปรับปรุงดิน จุลินทรียในดิน ปุยอินทรีย และปุยชีวภาพ การอนุรักษฟนฟูทรัพยากรดินและน้ํา และการประยุกตใชขอมูลดาวเทียม และระบบ สารสนเทศภูมิศาสตรในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรทีด่ นิ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 85

77

6/6/16 10:27 AM


ภาควิชาการจัดการศัตรูพชื

(Department of Pest Management) โทรศัพท 0 7428 6101-2, 0 7455 8806 โทรสาร 0 7455 8806 E-mail: pattamaporn.i@psu.ac.th, siriporn.s@psu.ac.th สอนและวิจัยเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช โรคพืช การนําแมลง (ตัวห้ํา ตัวเบียน) และ จุลินทรียมาใชประโยชนทางการเกษตร โดยเนนเรื่องการปองกันและกําจัดศัตรูพืชแบบ ผสมผสานตามกระบวนการผลิตทางการเกษตรที่ดแี ละเหมาะสม (GAP) การใชเทคโนโลยี ชีวภาพและชีวโมเลกุลเพื่อใหไดผลผลิตที่ปลอดภัย รวมทั้งการเลี้ยงแมลงอุตสาหกรรม (ผึ้ง ไหม หนอนนก ฯลฯ) และการผลิตเห็ดชนิดตางๆ

หลักสูตรคณะทรัพยากรธรรมชาติ

คณะทรัพยากรธรรมชาติ เปดสอนทั้ง 3 ระดับ คือ 1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี เปดสอน 2 หลักสูตร ดังนี้ 1.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร) (B.Sc.Agriculture) มี 5 สาขาวิชา ใหเลือกศึกษาคือ 1) สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช 4) สาขาวิชาพืชศาสตร 2) สาขาวิชาปฐพีศาสตร 5) สาขาวิชาสัตวศาสตร 3) สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วาริชศาสตร) (B.Sc.Aquatic Science) 2. หลักสูตรระดับปริญญาโท เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) 8 สาขา คือ 1) สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรดิน 5) สาขาวิชาโรคพืชวิทยา 2) สาขาวิชากีฏวิทยา 6) สาขาวิชาวาริชศาสตร 3) สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร 7) สาขาวิชาสัตวศาสตร (ภาคปกติ-สมทบ) 8) สาขาวิชาการผลิต 4) สาขาวิชาพืชศาสตร เทคโนโลยี และการจัดการ ยางธรรมชาติ (หลักสูตร นานาชาติ)

78

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 86

6/6/16 10:27 AM


3. หลักสูตรระดับปริญญาเอก เปดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) 3 สาขา คือ 1) สาขาวิชาพืชศาสตร 2) สาขาวิชาวาริชศาสตร 3) สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตรเขตรอน

จุดเดนของคณะทรัพยากรธรรมชาติ

1. ทําเลที่ ตั้ ง คณะทรั พยากรธรรมชาติ ตั้ งอยู ที่วิ ทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา ซึ่ งเป นจุ ดเชื่ อ มระหว างภาคใต ตอนบนและภาคใต ตอนล าง ประกอบกั บอยู ห างจาก ทะเลสาบสงขลา ซึ่งเปนทะเลสาบเพียงแหงเดียวของไทยที่ มีทั้ งน้ําจืด น้ํากรอย และ น้ําเค็ม เพียง 30 กิโลเมตร อีกทั้งยังเปนพื้นที่ซึ่งจะเปดสูประเทศอื่นๆ ในกลุมอาเซียน (ASEAN) ไดง าย จึ งอยู ในทําเลที่ มีศั กยภาพ และ/หรื อเหมาะแกการศึกษาและวิจั ย การผลิตพืชและสัตวเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศหลายชนิด เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน มังคุด ลองกอง แพะ แกะ โคเนื้อ โคนม ปลากะพงขาว กุงกุลาดํา ฯลฯ ทั้งเพื่อบริโภค ในประเทศและสงออกไปตางประเทศ 2. ผูนําดานหลักสูตร คณะทรัพยากรธรรมชาติตางจากคณะอื่นๆ ในสาขาวิชา เกษตรศาสตร ตรงที่เปนคณะแรกของประเทศที่บังคับใหนักศึกษาทุกหลักสูตรในระดับ ปริญญาตรีตองเรียนวิชาทรัพยากรธรรมชาติ ด วยตระหนักถึงความสําคั ญของการนํา ทรัพยากรธรรมชาติมาใชในการผลิตทางการเกษตรอย างยั่งยืน คุ มคา และหลี กเลี่ยง ผลกระทบที่ จะเกิ ดตอสิ่ งแวดล อม ซึ่ งเป นแนวทางที่ นานาอารยประเทศเห็ นพ องและ สนับสนุนในปจจุบัน และคณะทรัพยากรธรรมชาติไดเปดโอกาสใหนักศึกษาในสาขาวิชา ตางๆ เลื อกการปฏิบัติงานในโครงการสหกิ จศึ กษา ซึ่ งเป นการเตรี ยมความพรอมของ นักศึกษาในการหางานและประกอบอาชีพ 3. มีโอกาสเลือกสาขาวิชาตามความตองการ คณะทรัพยากรธรรมชาติเปดสอน ระดับปริญญาตรีถึง 6 สาขาวิชา ซึ่งสาขาวิชาวาริชศาสตรและสัตวศาสตรนั้น นักศึกษา ต องตั ดสิ น ใจเลื อ กระบุ สาขาวิ ชาในตอนเลื อ กอั น ดั บสอบคั ด เลื อ กเพื่ อเข าศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัย แตอีก 4 สาขาวิชาในสายวิชาเกษตรศาสตร คือ การจัดการศัตรูพืช ปฐพีศาสตร พั ฒนาการเกษตร และพืชศาสตร นั้ น รวมกันเปนตั วเลือกหนึ่ งอันดับในการ สมัครสอบคัดเลือกเพื่อเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย เมื่อนักศึกษาเรียนป 2 จึงตัดสินใจเลือก เขาเรียนสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งใน 4 สาขาวิชานี้ ตามความตองการและดัชนีสะสม เฉลีย่ ของนักศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 79

145x210mm_����������� �� 2560.indd 87

6/6/16 10:27 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

93

ตลาดแรงงานของบั ตลาดแรงงานของบัณณฑิฑิตคณะทรั ตคณะทรัพยากรธรรมชาติ พยากรธรรมชาติ

1.1. ภาคเอกชน กษาจากคณะทรั พยากรธรรมชาติ กวกาวครึาครึ ่ง ่ง ภาคเอกชนบัณ บัณฑิตฑิทีต่ สทีํา่ สเร็ําเร็จการศึ จการศึ กษาจากคณะทรั พยากรธรรมชาติ ไดไดทําทงานในภาคเอกชน นนันกนัวิกชวิาการประจํ าฟาร ม มประจํ าา ํางานในภาคเอกชนเชเชน นเปเปนผูน จผูัด จการแผนก ัดการแผนกเปเป ชาการประจํ าฟาร ประจํ หอหงปฏิ บ ต ั ก ิ าร นั ก วิ ช าการส ง เสริ ม การขายผลิ ต ภั ณ ฑ ข องบริ ษ ท ั นั ก วิ จ ย ั ฯลฯ องปฏิบัติการ นักวิชาการสงเสริมการขายผลิตภัณฑของบริษัท นักวิจัย ฯลฯ 2.2. ธุรธุกิรจกิสจวสนตั พยากรธรรมชาติ วนตัว วบัณ บัณฑิตฑิทีต่ สทีํา่ สเร็ําเร็จการศึ จการศึกษาจากคณะทรั กษาจากคณะทรั พยากรธรรมชาติสวสนวน หนึหนึ่งก็่งใก็ชใคชวามรู ว วเชเช น นทําทํฟาร มเลีมเลี ้ยงสั ตวตเพาะเลี ้ยงสั ตวตนว้ําน้ํา ความรูที่เทรี​ี่เยรีนมาประกอบธุ ยนมาประกอบธุรกิรจกิสจวสนตั วนตั าฟาร ้ยงสั ว เพาะเลี ้ยงสั ธุ รธุกิรกิจการผลิ ่ อสํ่ อาสํเร็าเร็จการศึ กษาแล วก็วไก็ปหาประสบการณ ทําทงาน จการผลิตพืตพืช ชฯลฯ ฯลฯ บางคนเมื บางคนเมื จการศึ กษาแล ไปหาประสบการณ าํ งาน กับกับริ ษ ท ั เอกชนจนกระทั ง ่ มี ค วามพร อ มและมั น ่ ใจแล ว จึ ง ออกมาประกอบธุ ร กิ จ ส ว นตั ว บบริษัทเอกชนจนกระทัง่ มีความพรอมและมัน่ ใจแลวจึงออกมาประกอบธุรกิจสวนตัว 3.3. ภาครั ่งสมั ครทํ างานในภาครั ฐดฐวดยเห็ นน ภาครัฐ ฐบัณ บัณฑิตฑิทีต่สทีํา่สเร็ําเร็จการศึ จการศึกษา กษาสวสนหนึ วนหนึ ่งสมั ครทํ างานในภาครั วยเห็ ความมั น ่ คงในอาชี พ และสวั ส ดิ ก ารต า งๆ นอกจากนี ้ บั ณ ฑิ ต ที ส ่ า ํ เร็ จ การศึ ก ษายั ง ศึ ก ษา ความมั่นคงในอาชีพและสวัสดิการตางๆ นอกจากนี้ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษายังศึกษา ตอตในระดั ญาเอกในสถาบั นชัน้นชันํ้นานํทัาง้ ทัในและต างประเทศ อในระดับปริ บปริญญญาโทและปริ ญาโทและปริญญ ญาเอกในสถาบั ง้ ในและต างประเทศ

ประมาณการค ประมาณการคาใช าใชจาจยในการศึ ายในการศึกษา กษา

นักนัศึกศึกษาคณะทรั ตอตงเสี ยคยาคใชาใช จาจยาย(ค(ค าลงทะเบี ยนเรี ยนยนคาคา กษาคณะทรัพยากรธรรมชาติ พยากรธรรมชาติ องเสี าลงทะเบี ยนเรี ธรรมเนียมการศึกษา และคาหอพัก) ธรรมเนียมการศึกษา และคาหอพัก) คนละประมาณ 40,000-45,000 บาท/ป ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี คนละประมาณ 30,000-40,000 บาท/ป ระดับปริญญาโท คนละประมาณ 60,000-65,000 บาท/ป ระดับปริญญาโท คนละประมาณ 44,000-54,000 บาท/ป ระดับปริญญาโท (นานาชาติ) คนละประมาณ 90,000-100,000 บาท/ป ระดับปริญญาเอก คนละประมาณ 56,000-66,000 บาท/ป ระดับปริญญาเอก คนละประมาณ 60,000-70,000 บาท/ป

80

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 93 88

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 85

11/3/14 10:27 6/6/16 7:15 AM PM


3

ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะพยาบาลศาสตร Faculty of Nursing

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ตู ปณ.9 ปทฝ.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 6451, 0 7428 6551 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: www.nur.psu.ac.th คณะพยาบาลศาสตร เปนสถาบันการศึกษาสาขาการพยาบาลที่ เริ่มดําเนินการ รับนักศึกษามาตั้ งแต ปการศึกษา 2516 โดยระยะแรกเปดสอนหลั กสู ตรอนุปริ ญญา พยาบาลและผดุงครรภ ในปการศึกษา 2517 จึงไดเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาล) ซึ่ งเปนหลั กสูตรปริ ญญาตรี 4 ป ดําเนินการรับนักศึ กษามาอย างตอเนื่ อง ในปการศึกษา 2537 คณะฯ ไดปรับหลักสูตรเปนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต และ เพื่อใหหลักสูตรมีความทันสมัยสอดคลองกับความตองการของสังคม คณะฯ ไดมีการ ปรับปรุงหลักสูตรทุกรอบ 5 ปการศึกษา ปจจุบันจึงเปนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 นอกจากนี้ คณะพยาบาลศาสตรยังไดพัฒนาการจัดการ ศึ กษาไปจนถึ งระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา โดยเป ดสอนหลั ก สู ต รพยาบาลศาสตรมหาบั ณฑิ ต ในปการศึกษา 2533 เปดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร (นานาชาติ) ในปการศึกษา 2545 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

7:15 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 89

81

6/6/16 10:28 AM


วิสัยทัศน

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนเลิศทางวิชาการพยาบาล ทีผ่ สมผสานภูมปิ ญญาตะวันออก มุงสูค วามเปนนานาชาติ

พันธกิจ

1. บมเพาะนักศึกษาใหเปนคนดี ใฝรู มีปญญา ทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานสากล บูรณาการภูมิปญญาตะวันออก บนพื้นฐานพหุวัฒนธรมและประโยชนเพือ่ นมนุษย 2. สรางองคความรูทางการพยาบาลแบบองครวมที่มีวิจัยเปนฐานโดยบูรณาการ กับการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 3. ประสานความร วมมือกั บเครื อขายระดั บท องถิ่ น ระดั บชาติ และนานาชาติ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพและสังคมโลก คณะพยาบาลศาสตร ดําเนินการจัดการศึกษาหลักสูตรตางๆ การวิจัย และการ บริการวิชาการ ประกอบดวย 7 ภาควิชา และ 1 ฝาย ดังนี้

ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร

(Department of Pediatric Nursing) โทรศัพท 0 7428 6560 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Kindex.aspx ภาควิ ชาการพยาบาลกุ มารเวชศาสตร จั ดการเรี ยนการสอนด านการพยาบาล กุ มารเวชศาสตร โดยเน นการศึกษาเกี่ ยวกั บการเจริ ญเติ บโตและพั ฒนาการของเด็ ก ผลของโรคตอสภาพรางกายและจิตใจ การใหการพยาบาลเด็ก การแนะนําสงเสริม ปองกัน และการรักษาใหเด็กหายจากโรคหรือมีความพิการทุพพลภาพนอยที่สุด เปนตน

ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

(Department of Psychiatric Nursing) โทรศัพท 0 7428 6580 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Jindex.aspx ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช จัดการเรียนการสอนดานการพยาบาลจิตเวช โดย เน นการศึ กษาเกี่ ยวกั บการปรั บตั วของบุ คคลในทางที่ ผิ ดปกติ การเจ็ บป วยทางจิ ต

82

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 90

6/6/16 10:28 AM


พฤติกรรมที่ผิดปกติ พยาธิสภาพของการเจ็บปวยทางจิต วิธีการพยาบาลและการรักษา การสรางสัมพันธภาพ และทัศนคติเกี่ยวกับผูปวยจิตเวชในชุมชน เปนตน

ภาควิชาบริหารการศึกษาพยาบาลและบริการการพยาบาล

(Department of Administration in Nursing Education and Nursing Service) โทรศัพท 0 7428 6530 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Bindex.aspx ภาควิ ช าบริ หารการศึ กษาพยาบาลและบริ การการพยาบาล จั ดการเรี ยนการ สอนสาขาการบริ หารการศึ กษาพยาบาล โดยเน นการศึกษาเกี่ ยวกั บการบริ หารจั ดการ ทางการพยาบาล ผูนําทางการพยาบาล หลักการเรียนการสอนทางการพยาบาล การวิจัย การวิเคราะหปญหาและสถานการณ แนวโนมของวิชาชีพทางการพยาบาล เปนตน

ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร

(Department of Surgical Nursing) โทรศัพท 0 7428 6510 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Slindex.aspx ภาควิ ชาการพยาบาลศัลยศาสตร จั ดการเรียนการสอนดานการพยาบาลศั ลยศาสตร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการพยาบาลผูใหญและผูสูงอายุ การพยาบาลในระยะ กอนผาตัด ระหวางผาตัด หลังการผาตัด และการฟนฟูสมรรถภาพ การพยาบาลผูปวย ภาวะวิกฤต ผูปวยฉุกเฉิน ผูที่ไดรับอุบัติเหตุ และการพยาบาลสาธารณภัย เปนตน

ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร

(Department of Public Health Nursing) โทรศัพท 0 7428 6570 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Saindex.aspx ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร จัดการเรียนการสอนดานการพยาบาล สาธารณสุ ขศาสตร โดยเน นการศึ กษาเกี่ ยวกั บการอนามั ยชุ มชน การควบคุ มและ ป องกั นโรคติดต อ อนามั ยสิ่ งแวดลอม การพยาบาลครอบครัว อนามั ยโรงเรี ยน สุขศึกษาและกฎหมายสาธารณสุข การสงเสริมสุขภาพและการฟนฟูสภาพ เปนตน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 83

145x210mm_����������� �� 2560.indd 91

6/6/16 10:28 AM


ภาควิชาการพยาบาลสูติ-นรีเวชและผดุงครรภ

(Department of Obstetric-Gynaecologic Nursing and Midwifery) โทรศัพท 0 7428 6550 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Suindex.aspx ภาควิชาการพยาบาลสู ติ -นรีเวชและผดุงครรภ จัดการเรี ยนการสอนดานการ พยาบาล โดยเน นการศึ กษาเกี่ ยวกั บกายวิภาคและสรีรวิ ทยาของระบบสื บพันธุ สตรีใน วัยเด็ก วัยเจริญพันธุ วัยชรา การพยาบาลผูปวยสตรีที่ไมรับการผาตัดทางนรีเวช การ พยาบาลสตรีระยะตั้ งครรภ ระยะคลอด และหลังคลอด การดูแลทารกแรกคลอด การใหคําแนะนํามารดา การเลี้ยงดูบุตร การวางแผนครอบครัว

ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร

(Department of Medical Nursing) โทรศัพท 0 7428 6520 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/WebPak/Rvisai.aspx ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร จัดการเรียนการสอนดานการพยาบาลอายุรศาสตร โดยเน นการศึ กษาเกี่ ยวกั บการพยาบาลผู ใหญ และผู สูงอายุ ที่ มี ภาวะเจ็ บป วย เฉียบพลัน เรื้อรัง และวิกฤต ดวยการสงเสริม ปองกัน ดูแลรักษาและฟนฟูสภาพ

ฝายพัฒนาเด็กปฐมวัย

(Early Childhood Development Center) โทรศัพท 0 7428 6591 โทรสาร 0 7428 6421 Homepage: http://www.nur.psu.ac.th/sidechild/index.aspx ฝายพัฒนาเด็กปฐมวัย เปนหนวยงานเทียบเทาภาควิชา ใหบริการดานการดูแล เด็กวัยทารก และวัยกอนเรียนอายุ 2 เดือน ถึง 3 ป รวมทั้งจัดการเรียนการสอนภาค ปฏิบัติเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็ก การปองกันโรคและความเจ็บปวย ของเด็กวัยทารกและวัยกอนเรียน และเปนแหลงศึกษาวิจัยของหลักสูตรตางๆ ทั้งของ คณะฯ และมหาวิทยาลัย

84

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 92

6/6/16 10:28 AM


หลักสูตรคณะพยาบาลศาสตร

คณะพยาบาลศาสตร เปดสอนหลักสูตรทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี มี 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 มีหนวยกิต รวม 142 หนวยกิต จัดการเรียนการสอนเปนระบบวิภาค 4 ปการศึกษา การจัดการเรียน การสอนเนนผูเรียนเปนสําคัญ เรียนรูรวมกันภายใตบรรยากาศความรักความเอื้ออาทร คํานึงประโยขนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง เพื่ อใหผูเรียนมีความภาคภูมิใจในสถาบันและ วิชาชีพ มีความรูในศาสตรทางการพยาบาล ศาสตรภูมิปญญาตะวันออก และศาสตรที่ เกี่ ยวของ มีทักษะทางปญญาในการคิดวิเคราะหเชิงระบบ มีความรับผิดชอบ มีทักษะ ในการสื่ อสารอยางมี ประสิ ทธิ ภาพ เขาใจและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการอยูรวมกันอยางสมานฉันท และสามารถปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพ และระบบคุณภาพอยามีคุณธรรมจริ ยธรรม ยึดมั่ นในจรรยาบรรณวิ ชาชีพ และพัฒนา ตนเองอยางตอเนือ่ ง 2. ระดับปริญญาโท มี 3 หลักสูตร ดังนี้ 2.1 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 วัตถุประสงคหลัก มุงเนนการพัฒนาบุคลากรพยาบาลใหมีสมรรถนะในดานการ พยาบาลเฉพาะสาขาตามมาตรฐานการเรียนรูท ี่กระทรวงศึกษาธิการและสภาการพยาบาล กําหนด ครอบคลุมปญหาที่ ซับซอน โดยมุ งเน นการสรางเสริมสุ ขภาพและการปองกัน การมี สวนร วมของภาคี ทุ กภาคส วน การพั ฒนาคุ ณภาพในระบบบริ การสาธารณสุ ข การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยบูรณาการแนวคิดเรื่องการพยาบาลแบบ องครวมที่ผสมผสานภูมิปญญาตะวันออกและภูมิปญญาทองถิ่น ระยะเวลาการศึกษา 2 ปการศึกษา จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต การศึกษาแบบแผน ก แบบ ก1 เนนใหมหาบัณฑิตมีความสามารถในการเปนนักวิจัยทางคลินิก แผน ก แบบ ก2 เนนใหมหาบัณฑิต สามารถใชกระบวนการวิจัยในการศึกษาหาความรูเพื่อพัฒนาคุณภาพ การปฏิบัติการพยาบาลในบริบทของพหุวั ฒนธรรมดานการพยาบาลเฉพาะสาขา และ แผน ข เนนใหมหาบัณฑิตเปนนักปฏิบัติการพยาบาลที่สามารถนําผลการวิจัยไปใชในการ พัฒนางานทางคลินิกเฉพาะสาขา ประกอบดวยสาขาวิชาตางๆ ดังนี้ ภาคปกติ 1) สาขาการพยาบาลผูใหญ 2) สาขาการพยาบาลเด็ก 3) สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 85

145x210mm_����������� �� 2560.indd 93

6/6/16 10:28 AM


ภาคพิเศษ 1) สาขาการผดุงครรภ 2.2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) สาขาวิชาการพยาบาล เวชปฏิบัติชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 เปนหลักสูตรที่เนนการผลิตมหาบัณฑิต ที่สามารถสรางเสริม ปองกัน และแกปญหาสุขภาพที่มีความซับซอน ชวยใหเกิดความ เขาใจและลดช องว างความขั ดแย งในสังคมวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ส งเสริ มการนํา องคความรู ที่พัฒนาจากการวิจัยสู การปฏิบัติผ านกระบวนการปฏิบัติการพยาบาลระดับ ปฐมภูมิ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษอยางเปนรูปธรรม ระยะเวลาการศึกษา 2 ปการ ศึกษา จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต การศึกษาแบบแผน ก แบบ ก1 เนนการผลิ ตมหาบัณฑิ ตที่ เปนนักวิจัยดานการพัฒนาศาสตรทางการพยาบาลเวชปฏิบัติ ครอบครั ว และการพยาบาลเวชปฏิ บัติ อาชี วอนามั ยที่ สามารถใช กระบวนการวิ จั ยที่ หลากหลายในการศึ กษาหาความรู เ พื่ อ พั ฒ นาคุ ณภาพการปฏิ บั ติ พ ยาบาลเวชปฏิ บั ติ ภายใตขอบเขตแขนงวิ ชาแผน ก แบบ ก2 เป นหลักสู ตรที่ เน นการผลิตมหาบั ณฑิตที่ เปนผูเชี่ ยวชาญดานการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว และการพยาบาลเวชปฏิบัติอาชีว อนามั ย และแผน ข เป นหลั กสู ตรที่ เนนการผลิ ตนั กปฏิ บัติ การพยาบาลเวชปฏิ บัติ ครอบครัวที่สามารถนําผลการวิจัยไปพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลเวชปฏิบัติ แขนงวิชา ที่เปดสอนคือ แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว คาใชจายตลอดหลักสูตร - หลักสูตรภาคปกติ 120,000 บาท - หลักสูตรภาคพิเศษ 175,000 บาท 2.3 หลั กสูตรพยาบาลศาสตรมหาบั ณฑิต (หลั กสู ตรนานาชาติ ) ชื่ อย อ M.N.S. เปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 จัดการศึกษาภาคปกติ โดยมีวัตถุประสงคหลัก มุงเนนการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาลใหมีสมรรถนะในดานการพยาบาลเฉพาะสาขา ตามมาตรฐานการเรียนรูที่กระทรวงศึกษาธิการและสภาการพยาบาลกําหนด ครอบคลุม ปญญาที่ซับซอน โดยมุงเนนการสรางเสริมสุขภาพและการปองกัน การมีสวนรวมของ ภาคีทุกภาคสวน การพัฒนาคุณภาพในระบบบริการสาธารณสุข การพัฒนาและรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล โดยบูรณาการแนวคิดเรื่องการพยาบาลแบบองครวมที่ ผสมผสาน ภูมิปญญาตะวันออกและภูมิปญญาทองถิ่น ระยะเวลาการศึกษา 2 ปการศึกษา จํานวน หนวยกิตตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต แผนการศึกษาแบบแผน ก แบบ ก2 เนนผลิต มหาบัณฑิตที่เปนผูปฏิบัติการพยาบาลที่สามารถใชกระบวนการวิจัยในการศึกษาหาความรู เพื่อพัฒนาคุณภาพการปฏิ บัติการพยาบาลในบริ บทของพหุ วัฒนธรรมดานการพยาบาล เฉพาะสาขา

86

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 94

6/6/16 10:28 AM


คาใชจายตลอดหลักสูตร - หลักสูตรภาคปกติ 140,000 บาท (สําหรับนักศึกษาไทย) - หลักสูตรภาคพิเศษ 320,000 บาท (สําหรับนักศึกษาตางชาติ) 2.4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) สาขาวิชาการบริหาร การพยาบาล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 เปนหลักสูตรที่เนนผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู ทางการบริหารการพยาบาลอยางลึกซึ้ง ทําวิจัยและ/หรือการใชผลงานวิจัย เพื่อพัฒนา คุ ณภาพด า นการบริ ห ารการพยาบาลและการบริ ก ารการพยาบาลได อ ย า งต อ เนื่ อ ง ระยะเวลาการศึกษา 2 ป การศึ กษา จํานวนหน วยกิ ตตลอดหลั กสู ตร 36 หน วยกิ ต การศึกษาแบบแผน ก แบบ ก2 เนนผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรูความสามารถดานการ บริหารการพยาบาลอยางลึกซึ้ง สามารถเปนแบบอยางของผูบริหารทางการพยาบาลที่ดี เปนผูนําในการเปลี่ยนแปลงองคกรใหมีบรรยากาศจริยธรรมในสถานที่ทํางาน มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพโดยยึดหลั กธรรมาภิบาล สามารถบริหารงานภายใต ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและทรัพยากรที่มีจํากัด และสามารถสรางองคความรู ดานการบริหารพยาบาลโดยใชกระบวนการวิจัยได และการศึกษาแบบแผน ข เนนผลิต มหาบัณฑิตให มีความรู ความสามารถดานการบริหารการพยาบาลอยางลึกซึ้ ง สามารถ เปนแบบอยางของผูบริหารทางการพยาบาลที่ดี เปนผูนําในการเปลี่ยนแปลงองคกรใหมี บรรยากาศจริยธรรมในสถานที่ทํางาน มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล สามารถบริหารงานภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรมและ ทรัพยากรที่มจี ํากัด และสามารถใชความรูจ ากการงานวิจัยดานการบริหารการพยาบาลได 3. ระดับปริญญาเอก 3.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อยอ Ph.D. (Nursing) เปนหลักสูตรที่มุงเนนผลิต ผู นําทางการพยาบาลที่ สามารถใช กระบวนการวิ เคราะห อย างมี วิ จารณญาณและเป น ระบบเพื่อตอบสนองความตองการของชุมชนในดานการพัฒนาระบบการดูแลและระบบ สุขภาพที่ สอดคล องกับป ญหา หรื อสถานการณ หรื อแนวโน ม การเปลี่ ยนแปลงทาง ด านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรม ทั้ งในระดับบุ คคล ครอบครั ว ชุ มชน ประเทศชาติและภูมิภาคเอเชีย หลักสู ตรนี้ มีความสําคัญต อการสรางผู นําทางการ พยาบาล องค ความรู ใหม และการเผยแพรความรู เพื่ อแกไขปญหาสุ ขภาพและพั ฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งเปนการยกระดับวิชาชี พการพยาบาล และเปนการ เสริมสรางเครือขายผูนําทางการพยาบาลในภูมิภาคเอเชีย ระยะเวลาการศึกษา 3 ปการ ศึกษา จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 52 หนวยกิต àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 95

87

6/6/16 10:28 AM


นอกจากนี้ คณะพยาบาลศาสตร มี ค วามร วมมื อกั บมหาวิ ท ยาลั ยในต า ง ประเทศ เพื่ อให นักศึ กษาไดมี โอกาสเรี ยนรู การทํางานร วมกั บผู เชี่ ยวชาญต างประเทศ และไดเรียนรูวัฒนธรรมการศึกษาในตางประเทศ ซึ่ งจะช วยเปดโลกทัศนของนักศึกษา ใหกวางขึ้น โดยสนับสนุนใหนักศึกษาเดินทางไปศึกษาและคนควาวิจัยเพื่อทําวิทยานิพนธ รวมกับอาจารยชาวตางประเทศในชวงระยะเวลาหนึง่ อยางนอยหนึง่ ภาคการศึกษา คาใชจายตลอดหลักสูตร - นักศึกษาไทย กรณีไดรับทุน 65,000 บาท/ภาคการศึกษา - นักศึกษาไทย กรณีไมไดรับทุน 50,000 บาท/ภาคการศึกษา - นักศึกษาตางชาติ 125,000 บาท/ภาคการศึกษา

การจัดการเรียนการสอน

คณะพยาบาลศาสตร มีการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนการเรียนรูดว ยตนเอง (Self Directed Learning) โดยคณะพยาบาลศาสตรมีศูนยการเรียนรูทางการพยาบาล (Nursing Learning Resource Center) ซึ่งมีอุปกรณพรอมใหนักศึกษาสามารถฝกทักษะทางการ พยาบาลไดที่อาคารเรียนและที่หอพักนักศึกษา เปดใหบริการทั้งในและนอกเวลาราชการ และมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่อาคารเรียนและหอพักนักศึกษาที่ใชไดทั้งในและนอก เวลาราชการเช นกั น นอกจากนี้ ยังมีระบบ WiFi ที่ ชวยสงเสริมการศึกษาค นควาดวย ตนเองตามความตองการของนักศึกษา วิธีการสอนฝกใหนักศึกษามีความคิด วิเคราะห สรางสรรค วิพากษวิจารณเชิงวิชาการ โดยมีศุนยดูแลสุขภาพแบบองครวม เปนสถานที่ ฝ กปฏิ บัติการพยาบาลแบบองค รวมที่ ผสมสานภู มิปญญาตะวั นออก ในดานการบําบั ด ทางการพยาบาล เชน สมาธิบําบัด โยคะ การนวดแผนไทย การอบ ประคบดวยสมุนไพร มี ฝายพั ฒนาเด็ กปฐมวัยเป นสถานที่ สําหรั บฝ กปฏิ บัติ การประเมินพั ฒนาการเด็ ก เพื่ อ วางแผนและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยใหมีภาวะสุขภาพดี มีศูนยสงเสริมสุขภาพและ ฟนฟูสภาพผูสูงอายุสําหรับฝกปฏิบัติงานดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และฟนฟู สภาพผู สูงอายุ นอกจากนี้ยั งมีเครื อขายในชุมชนเพื่ อใหนั กศึกษาฝกใชหลักการของ ชุมชนหรือครอบครัวเปนฐานในการดูแลสุขภาพ การฝกปฏิบัติงานภายนอกคณะฯ จะมี รถบริการรับ-สง เพื่อความปลอดภัยของนักศึกษา และมีอาจารยดูแลใหคําปรึกษาตลอด ชวงเวลาการฝกปฏิบัติงานอยางใกลชิด

88

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 96

6/6/16 10:28 AM


ระบบประกันคุณภาพการศึกษา

คณะพยาบาลศาสตร มี การพั ฒนาระบบและกลไกการประเมินคุ ณภาพมาโดย ตลอด โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพ รับผิดชอบวางแผน ควบคุม และติดตามผล การดําเนินงานใหเปนไปตามวงจรคุณภาพ PDCA-Par และสอดคลองกับองคประกอบ และตัวชี้วัดคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสํานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

อาคารเรียนและหอพัก

อาคารเรียน คณะพยาบาลศาสตรมีอาคารเรียนจํานวน 3 หลัง ซึ่งประกอบดวย หองเรียน ที่มีขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ทําใหสามารถจัดการเรียนการสอนที่เอื้ อตอ การเรียนรูของนักศึกษาไดหลากหลายรูปแบบ หอพักนักศึกษาพยาบาล มีหอพักนักศึกษาพยาบาล จํานวน 2 หลัง ที่ทันสมัย สะดวกสบาย มีความเปน สั ดส วน โดยมี ห องน้ํา อยู ภายในห อ งพั กนั กศึ ก ษา มี โทรทั ศน ประจํา ห องพั กผ อนของ นั กศึ กษาที่ ติ ดตั้ งจานรั บสั ญญาณดาวเที ยม มี เครือข ายคอมพิ วเตอร ที่ สามารถสื บค น ข อมูลทั้ งในและตางประเทศไดตลอด 24 ชั่ วโมง นอกจากนี้ ยั งมีเครื่ องอํานวยความ สะดวกมากมายภายใต หอพั กนั กศึกษา เชน รานอาหาร ร านเสริมสวย รานซักอบรีด และรานมินิมารท เปนตน

จุดเดนของคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

1. เปนคณะที่มีหลักสูตรผสมผสาน เนนการพยาบาลแบบองครวมที่ผสมผสาน ภูมิปญญาตะวันออก เชน การนวดไทย สมาธิบําบัด 2. คณะฯ มีแหลงฝกปฏิบัติการพยาบาลทั้งผู รับบริการภาวะสุขภาพดีและปวย คณะฯ มี ฝ า ยพั ฒนาเด็ กปฐมวั ยที่ สามารถให นั กศึ กษาได ฝ ก ปฏิ บัติ การดู แลเด็ ก ภาวะ สุ ขภาพดี เช นเดี ยวกั บการดู แลผู สูงอายุ ที่ คณะฯ มี ศู นย สงเสริ มสุ ขภาพและฟ นฟู สุขภาพผูส ูงอายุ และศูนยการดูแลสุขภาพองครวมและภูมปิ ญญาตะวันออก 3. คณะฯ มีศูนยศึกษาดวยตนเอง และโสตทัศนูปกรณ ซึ่งนักศึกษาสามารถ เขาฝกปฏิบตั ิการพยาบาลดวยตนเองไดตลอดเวลาในวันราชการและนอกเวลาราชการ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 89

145x210mm_����������� �� 2560.indd 97

6/6/16 10:28 AM


4. คณะฯ มี ห ลั กสู ตรพยาบาลศาสตรมหาบั ณฑิ ต (นานาชาติ ) ซึ่ งเป น คณะ พยาบาลศาสตร แห งแรกและคณะเดี ยวในประเทศไทยที่ เปดหลักสูตรนานาชาติ โดยมี นักศึกษาจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย จีน ภูฏานและบังคลาเทศ มาศึกษา 5. เปนแหลงขอมูลทางภูมิปญญาตะวันออก คณะฯ มีคณะกรรมการภูมิปญญา ตะวันออกทีร่ วบรวมขอมูลและสกัดเปนองคความรูท างภูมปิ ญญาตะวันออก 6. คณะฯ มี ศู นย วิ จั ยทางการพยาบาลและสาธารณสุ ขที่ ให บริ การคําปรึ กษา เกี่ยวกับงานวิจัยทางดานสุขภาพ และมีงานวิจัยที่เนนการสงเสริมสุขภาพประชาชนใน ชุมชน 7. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มีกรอบแนวคิดที่ชัดเจนที่ผสมผสานกับ ระบบบริหารจัดการไดอยางกลมกลืน

โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพเิ ศษ

- โครงการไนติงเกล - โครงการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ดวยความ รวมมือระหวางมูลนิธิชัยพั ฒนา สํานักงานสาธารณสุขจั งหวัดพังงา และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร (วิธีพิเศษของมหาวิทยาลัยฯ)

ตลาดแรงงาน

1. โรงพยาบาลของรัฐ 4. โรงงานตางๆ

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี

90

2. โรงพยาบาลเอกชน 5. โรงเรียนตางๆ ประมาณ

3. บริษัทเอกชน

50,000 บาท/ป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 98

6/6/16 10:28 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะแพทยศาสตร

Faculty of Medicine

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7421 2902, 0 7445 5000 ตอ 1100, 1102, 0 7442 9900 โทรสาร 0 7421 2900, 0 7421 2903 E-mail: medicine@psu.ac.th Homepage: http://www.medicine.psu.ac.th, http://www.psu.ac.th คณะแพทยศาสตรเปดรับนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต เปนหลักสูตร 6 ป ที่มีการบูรณาการในรายวิชาตางๆ และใชปญหาเปนฐาน (PBL) จัดการเรียนการสอน โดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง แบงการเรียนเปน 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 ชั้นปที่ 1 เปน การเรียนรายวิชาการศึกษาทั่วไป ระยะที่ 2 ชั้นปที่ 2-3 เปนการเรียนรายวิชาพื้ นฐาน เฉพาะแพทย เพื่ อเตรียมความพร อมเขาสู ระยะที่ 3 คื อชั้ นป ที่ 4-6 ซึ่ งเปนการเรียน เวชปฏิบัติ การจัดประสบการณการเรียนรูใชกระบวนการกลุม และใชปญหาเปนฐาน (PBL) ในการกระตุนใหนักศึกษาแสวงหาความรู วิเคราะหแกไขปญหา และฝกฝนทักษะตางๆ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 99

91

6/6/16 10:28 AM


ดวยตนเอง โดยมีอาจารยและแพทยรุนพี่เปนที่ปรึกษาใหคําแนะนํา ชี้แนะ มีระบบ Wi Fi ครอบคลุมทัง้ คณะ เพือ่ ใหนกั ศึกษาสามารถเขาถึงขอมูลในการสืบคนไดโดยงาย นอกจากนี้ ยังมีสื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณและเทคโนโลยีที่หลากหลาย เชน e-Learning หุ นจําลอง ผู ปวยจําลอง ห องปฏิ บัติการคอมพิ วเตอร ห องสมุ ดวิทยาศาสตร สุขภาพ พิพิธภัณฑกายวิภาคศาสตรเกษม แกวอิ่ม หองปฏิบัติการรวม และหองฝกทักษะทาง คลินิก มีโรงพยาบาลสงขลานครินทรเปนศูนยกลางหลักในการจัดการเรียนการสอนชั้น คลินิก และมีโรงพยาบาลหาดใหญ โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลตรัง โรงพยาบาล มหาราช นครศรีธรรมราช โรงพยาบาลทุงสง และโรงพยาบาลสุราษฎรธานี เปน โรงพยาบาลสมทบในการฝกเวชปฏิบัติ นอกจากนี้ ยังมีโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคใต เปนโรงพยาบาลเครือขายในการจัดประสบการณการเรียนรู คณะฯ รับนักศึกษาแพทยปละประมาณ 200 คน โดยรับนักเรียนสวนหนึ่งจาก 14 จังหวัดภาคใต และสวนหนึ่งจากทั่วประเทศ มีความรวมมือในการผลิตแพทยกับ กระทรวงสาธารณสุ ข โดยศู น ย แพทยศาสตรศึ กษาชั้ น คลิ นิ ก โรงพยาบาลหาดใหญ ในโครงการผลิ ตแพทย เพิ่ มเพื่ อชาวชนบท และศู นย แพทยศาสตรศึ กษาชั้ นคลิ นิ ก โรงพยาบาลยะลา ในโครงการผลิตแพทยเพื่อ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ในระดับการศึ กษาหลั งปริญญา มีการฝกอบรมบุ คลากรทางการแพทยในสาขา ขาดแคลน ไดแก หลักสูตรประกาศนียบัตรวิสัญญีพยาบาล ในระดับปริญญาโท เปดสอน 4 หลั กสูตร คื อ หลั กสู ตรวิทยาศาสตรมหาบั ณฑิต สาขาวิ ชาระบาดวิ ทยา สาขาวิชา อาชี วเวชศาสตร สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมชี วการแพทย สาขาวิ ชาชี วเวชศาสตร ส วนใน ระดับปริญญาเอก เปดสอน 3 หลักสูตร คือ มีหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา ระบาดวิทยา (เปนหลักสูตรภาษาอังกฤษ) สาขาวิชาชีวเวชศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรม ชีวการแพทย เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิ ตชั้ นสูง สาขาวิทยาศาสตรการ แพทยคลินิก นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรฝกอบรมแพทยเฉพาะทางจํานวน 46 หลักสูตร คือ จิตเวชศาสตร พยาธิวิทยากายวิภาค พยาธิวิทยาคลินิก เวชศาสตรครอบครัว เวชศาสตร ฉุกเฉิน กุมารเวชศาสตร กุมารศัลยศาสตร จักษุวิทยา ประสาทวิทยา ประสาท ศั ลยศาสตร รั งสี วิ ทยาวิ นิ จฉั ย วิ สัญญี วิ ทยา เวชศาสตร ปองกั น (แขนงอาชี ว เวชศาสตร) เวชศาสตรฟนฟู ศัลยศาสตร ศัลยศาสตรทรวงอก ศัลยศาสตรยูโรวิทยา ออรโธปดิกส สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา โสต ศอ นาสิกวิทยา อายุรศาสตร อายุรศาสตรโรคเลือด โลหิตวิทยาและมะเร็งในเด็ก กุมารเวชศาสตรทารกแรกเกิดและ ปริกําเนิด กุมารเวชศาสตรโรคตอมไรทอและเมตาบอลิสม กุมารเวชศาสตรโรคภูมิแพ และภูมิคุมกัน กุมารเวชศาสตรโรคหัวใจ มะเร็งนรีเวชวิทยา รังสีรวมรักษาของลําตัว

92

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 100

6/6/16 10:28 AM


เวชศาสตรการเจริญพันธุ เวชศาสตรมารดาและทารกในครรภ อายุรศาสตรโรคขอ และรูมาติซั่ม อายุรศาสตรโรคติดเชื้อ อายุรศาสตรโรคตอมไรทอและเมตาบอลิสม อายุ รศาสตร โรคไต อายุรศาสตร โรคระบบทางเดิ นอาหาร อายุ รศาสตรโรคระบบ หายใจและภาวะวิกฤตระบบการหายใจ อายุรศาสตรโรคหัวใจ จักษุวิทยาตาเด็กและ ตาเข จอประสาทตาและวุ นตา จั กษุวิ ทยาโรคต อหิ น ศั ลยศาสตร กระดู กสั นหลั ง รั งสี วิ ทยากระดู ก และข อ เวชบําบั ดวิ กฤต วิ สัญญี วิ ทยาสําหรั บการผ าตั ดหั วใจ หลอดเลือดใหญและทรวงอก และรังสีรักษาและมะเร็งวิทยา คณะแพทยศาสตรประกอบดวย 14 ภาควิชา ดังนี้

ภาควิชากุมารเวชศาสตร

(Department of Pediatrics) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1250-2, 0 7442 9618 E-mail: ped@medicine.psu.ac.th

โทรสาร 0 7421 2912

ภาควิชากุมารเวชศาสตรจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดานกุมารเวชศาสตร โดยเนนการศึกษาเกี่ ยวกับการเจริญเติบโตทางรางกาย และการ พัฒนาการตั้งแตแรกเกิดจนถึงวัยหนุมสาว การวินิจฉัยโรคที่พบบอยๆ ในเด็ก การรักษา และปองกั นโรค การส งเสริ มสุ ขภาพและพั ฒนาการของเด็ก ตลอดจนทั ศนคติที่ ดี ในการดูแลผูป วย

ภาควิชาจักษุวิทยา

(Department of Ophthalmology and Otolaryngology) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1380-3, 0 7442 9619 โทรสาร 0 7421 2900, 0 7421 2903 E-mail: eye@medicine.psu.ac.th ภาควิชาจักษุวิทยาจัดการเรียนการสอนดานจักษุวิทยา โดยเนนการศึกษาเกี่ยว กับการตรวจวินิจฉัย โรคตา การรักษา การปองกันโรคทางจักษุวิทยาและการผาตัดเล็ก โรคตาอยางงาย รวมทัง้ การสงตอผูป วยโรคตาใหเหมาะสม

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 93

145x210mm_����������� �� 2560.indd 101

6/6/16 10:28 AM


ภาควิชาจิตเวชศาสตร

(Department of Psychiatry) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1351-2, 0 7442 9922 E-mail: pradtiya@medicine.psu.ac.th

โทรสาร 0 7421 2912

ภาควิ ชาจิ ตเวชศาสตร จัดการเรียนการสอน การวิจั ย และการบริการวิ ชาการ ดานจิตเวชศาสตร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการเก็บขอมูลเกี่ยวกับโรคทางจิตเวชจาก ผูปวย การซักถามประวัติ การตรวจสภาพจิต การวินิจฉัยโรค การรักษาโดย การใชยา การใชจิตบําบัด พฤติกรรมบําบัด การปองกันโรคทางจิตเวช การจัดการกับสภาวะ ฉุกเฉินทางดานจิตเวช การใชจิตเวชควบคูกับการรักษาโรคทางกาย

ภาควิชาพยาธิวิทยา

(Department of Pathology) โทรศัพท 0 7421 2908, 0 7445 5000 ตอ 1551-2 E-mail: nattya.p@psu.ac.th

โทรสาร 0 7421 2908

ภาควิชาพยาธิวิทยาจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดาน พยาธิวทิ ยา โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับพยาธิวิทยา กําเนิดของโรคในทุกระบบของรางกาย การตรวจทางห องปฏิบัติการ การแปลผล และการใชผลการทดสอบในการวินิจฉัยโรค ทางโลหิตวิทยา น้ําเหลืองวิทยา นอกจากนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับยีนและโครโมโซม แบบแผน การถายทอด ลักษณะทางกรรมพันธุ ความสัมพันธระหวางกรรมพันธุกับสภาวะแวดลอม เปนตน

ภาควิชารังสีวิทยา

(Department of Radiology) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1501-4, 0 7442 9927 E-mail: radio@medicine.psu.ac.th

โทรสาร 0 7442 9927

ภาควิชารังสีวิทยาจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดาน รังสีวิทยา โดยเนนการศึกษาเกี่ ยวกับรังสีวินิจฉัย เทคนิคการตรวจทางรังสี การคนหา

94

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 102

6/6/16 10:28 AM


ความผิดปกติในภาพรังสี และการใชในการวินิจฉัยโรค การรักษาดวยเทคนิคทางรังสี รวมรักษา การรักษาผูปวยโรคมะเร็งดวยรังสีชนิดตางๆ และเวชศาสตรนิวเคลียร

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา

(Department of Anesthesiology) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1650-4, 0 7442 9621 โทรสาร 0 7421 2912, 0 7421 2903 E-mail: bsathapo@ratree.psu.ac.th ภาควิชาวิสัญญีวิทยาจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดาน วิสัญญีวิทยา โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินสภาพผูปวยกอนไดรับยาระงับความ รู สึก การใหยาสลบและยาชา คุ ณสมบัติของยาสลบและยาชา ฤทธิ์แทรกซอน ระบบ การหายใจและการไหลเวียนเลือด การใหการชวยเหลือดานการหายใจและหั วใจหยุด ทํางาน

ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน

(Department of Community Medicine) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1330-2, 0 7442 9921 E-mail: rthasane@medicine.psu.ac.th

โทรสาร 0 7442 9921

ภาควิชาเวชศาสตรชุมชนจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดานเวชศาสตรชุ มชน โดยเนนการศึกษาเกี่ ยวกั บสาธารณสุขมูลฐาน อนามั ยชุ มชน อนามัยสิ่งแวดลอม อาชีวอนามัย ระบาดวิทยา ชีวสถิติ ระบบการบริการสาธารณสุข ของประเทศ การฝกปฏิบัติงานในชุมชน

ภาควิชาศัลยศาสตร

(Department of Surgery) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1401-4, 0 7442 9384 โทรสาร 0 7421 2912, 0 7421 2900 E-mail: surgery@medicine.psu.ac.th ภาควิชาศัลยศาสตรจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดาน ศัลยศาสตร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลผูปวยศัลยกรรมทั่วไป ศัลยกรรมเฉพาะ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 95

145x210mm_����������� �� 2560.indd 103

6/6/16 10:29 AM


ทางในเรื่องโรคติดเชื้อ โรคฉุกเฉิน โรคเนื้องอก การบาดเจ็บ ความพิการแตกําเนิด การทําแผล การผูกเงื่อน หามเลือด การใชเครื่องมือและเทคนิคตางๆ ในการผาตัด ศัลยศาสตรหตั ถการ

ภาควิชาศัลยศาสตรออรโธปดกิ สและกายภาพบําบัด

(Department of Orthopedic Surgery and Physical Medicine) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1601, 0 7421 2915 โทรสาร 0 7421 2900, 0 7421 2903 E-mail: ortho@medicine.psu.ac.th ภาควิชาศัลยศาสตรออรโธปดิกสและกายภาพบําบัดจัดการเรียนการสอน การ วิ จัย และการบริ การวิ ชาการ ด านศัลยศาสตรออรโธป ดิกส และเวชศาสตร ฟ นฟู โดย เนนการศึกษาเกี่ยวกับโรคและบาดเจ็บของกระดูก ขอ และเนื้อเยื่ อออน ที่สัมพันธกัน การเขาเฝอกและการดึงกระดูก การบําบัดรักษาและเวชศาสตรฟนฟู

ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยา

(Department of Obstetrics and Gynecology) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1201-3, 0 7442 9617 E-mail: ampha.a@psu.ac.th

โทรสาร 0 7442 9617

ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยาจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการ วิชาการดานสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการตั้งครรภ การเจ็บ ครรภ การคลอด การตรวจวินิจฉัย การปฏิบัติทันทีตอทารกแรกเกิด การดูแลระยะหลัง คลอด ความผิดปกติและโรคแทรกซอน โรคทางนรีเวชระบบสืบพันธุสตรีในวัยตางๆ การวางแผนครอบครัว

ภาควิชาอายุรศาสตร

(Department of Internal Medicine) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1451-2, 0 7442 9385 E-mail: med@medicine.psu.ac.th

96

โทรสาร 0 7442 9385

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 104

6/6/16 10:29 AM


ภาควิ ชาอายุ ศาสตร จั ดการเรี ยนการสอน การวิ จั ย และการบริ การวิ ชาการ ดานอายุรศาสตร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค การซักประวัติ ตรวจรางกาย ตรวจทางหองปฏิบัติการและตรวจพิเศษ หัตถการทางคลินิก การเขียน รายงานผูปวย และติ ดตามการเปลี่ ยนแปลงของผู ปวย และการดูแลรักษาผู ปวยทางอายุรศาสตร ทัง้ หมดโดยเฉพาะโรคทีพ่ บบอยหรือสําคัญ

ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

(Department of Otolaryngology) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1390-2, 0 7442 9620 โทรสาร 0 7421 2912, 0 7421 2900 E-mail: ent@medicine.psu.ac.th ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการ วิชาการดานโสต นาสิก ลาริงซวิทยา โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการวินิจฉัย การรักษา ทางยา และการผาตัด ตลอดจนการปองกันโรคทางหู คอ จมูก และอวัยวะขางเคียง

ภาควิชาชีวเวชศาสตร

(Department of Bio-Medical Science) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1180-1, 1184-5, 0 7442 9584 โทรสาร 0 7442 9584 E-mail: biomed@medicine.psu.ac.th ภาควิชาชีวเวชศาสตร จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและระดับปริญญา เอก ประกอบดวยสาขาตางๆ 7 สาขา ไดแก โภชนวิทยา พันธุวิทยา จุลชีววิทยา เภสัชศาสตรและพิษวิทยา วิ ทยาภูมิคุ มกันและภูมิ คุมพันธุศาสตร โลหิตวิทยา ชีววิทยาของ เซลลและการวิจัยมะเร็ง ทั้ง 7 สาขามุงเนนการผลิตบุคลากรในระดับนักวิจัยผูปฏิบัติ การที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยเนนการศึกษาดวยตนเองคนควาและการทําวิจัย ในสาขาทีเ่ ลือกศึกษา

ภาควิชาเวชศาสตรฉุกเฉิน

(Department of Emergency Medicine) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1705 โทรสาร 0 7445 1702 E-mail: sprapats@medicine.psu.ac.th àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 97

145x210mm_����������� �� 2560.indd 105

6/6/16 10:29 AM


ภาควิชาเวชศาสตรฉุกเฉิน จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดานเวชศาสตรฉุกเฉิน โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคและภาวะฉุกเฉินตางๆ การทําหั ตถการทางคลินิ ก โดยเฉพาะการชวยฟ นคืนชี พและการช วยชีวิ ตผู ปวย การ ทําแผล การใช เครื่ องมื อ การเขี ยนรายงานผู ปวย และการดู แลรักษาผู ปวยที่ มี ภาวะ ฉุกเฉินทุกระบบ รวมทั้งใหการดูแลผูปวย ณ สถานที่เกิดเหตุ (pre-hospital care)

โรงพยาบาลสงขลานครินทร

(Songklanagarind Hospital) โทรศัพท 0 7445 5000 ตอ 1011-2 โทรสาร 0 7421 2912 E-mail: susnah@medicine.psu.ac.th โรงพยาบาลสงขลานครินทร จัดการเรียนการสอนดานการรักษาพยาบาลสําหรับ นั กศึ กษาในหลั กสู ตรแพทยศาสตรบั ณฑิ ตและหลั กสูตรอื่ นๆ ในมหาวิทยาลัย โดยเป น สถานที่สอนและฝกนักศึกษาใหมีความรูความชํานาญตามมาตรฐานของแพทยสภา และ ใหบริการดานรักษาพยาบาลแกประชาชน

โครงการจัดตั้งสถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย

(Institute of Biomedical Engineering) โทรศัพท 0 7445 1743 โทรสาร 0 7445 1744 E-mail: bme2552@gmail.com Webmail: www.bme.psu.ac.th โครงการจั ดตั้ งสถาบั น วิ ศวกรรมชี วการแพทย จั ดการเรี ยนการสอนในระดั บ ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิ ศวกรรมชีวการแพทย ซึ่ งเปนสาขาวิชา ที่ บูรณาการศาสตร ต างๆ ทางดานวิ ศวกรรมศาสตร วิ ทยาศาสตร และการแพทย มา ประยุกตใชรวมกัน มุ งผลิตบัณฑิตที่มี ความรู ความสามารถในการทําวิ จัย วิเคราะห นําเสนอ เสวนา ถายทอด แลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิศวกรรมชีวการแพทย และสามารถ สรางองคความรูใหมและนวัตกรรมใหมๆ ที่เปนประโยชนตอสังคมและการแพทย รวมทั้ง มีคุณธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

98

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 106

6/6/16 10:29 AM


หลักสูตรคณะแพทยศาสตร

คณะแพทยศาสตร จัดการศึกษาโดยเปดหลักสูตรตางๆ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี 1.1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (MD.) เปนหลั กสู ตร 6 ป จํานวนหนวยกิต 254 หนวยกิต ซึ่ งใน 3 ป แรก นักศึกษาจะศึกษารายวิชาพื้นฐานทั่วไปและรายวิชาวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน สวน 3 ปตอมาจะศึกษาดานคลินิก โดยในปสุดทายปฏิบัติงานเปนนักศึกษาแพทย ภาคเวชปฏิบัติ (Extern) จะฝ กปฎิ บัติ งานในโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยเปนเวลา 6 เดือน และปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสมทบอีก 6 เดือน 1.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทย B.Sc.(Medical Science) เป น หลั กสู ตรที่ มี ลัก ษณะพิ เศษคื อ ใช กั บนั กศึ กษาที่ ศึ กษาหลั ก สู ตร แพทยศาสตรบัณทิตไปแลวระยะหนึ่งและไมประสงคที่จะศึกษาตอ หรือไมสามารถศึกษา จนจบหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตได ผูที่จะจบหลักสูตรจะตองศึกษาไมนอยกวา 132 หนวยกิต ไดดัชนีสะสมไมต่ํากวา 2.00 1.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร (แบบกาวหนา) เป นหลั กสู ต รที่ เป ด โอกาสให นั กศึ ก ษาแพทย ที่ จบชั้ น ป ที่ 3 ที่ สนใจ ใหมีความรูและทักษะในการวิจัยดานเซลลและชีววิทยาโมเลกุลเปนเบื้องตน ทั้งนี้จะเปน การเตรี ยมนั ก ศึ กษาเข า สู หลั กสู ตรระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา สาขาวิ ชาชี วเวชศาสตร หรื อ หลักสูตรอื่นๆ ตอไป 1.4 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบําบัด เปนหลักสูตร 4 ป จํานวนหนวยกิต 148 หนวยกิต การจัดการศึกษา ในสามปแรกของหลักสูตรเปนระบบทวิภาค การจัดการศึกษาในชั้นปที่ 4 ของหลักสูตร เปนชั้นป ใหศึกษาและฝกปฏิบัติงานเปนกลุมหมุนเวียนกันไปในแตละรายวิชา 1.5 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค เปนหลักสูตร 4 ป จํานวนหนวยกิต 139 หนวยกิต รับนักศึกษาปละ 30 คน การศึกษาเปนระบบทวิภาค มุ งเนนการผลิตบัณฑิตรังสีเทคนิคใหมีความรู ความ สามารถดานวิชาชีพรังสีเทคนิคทั้ง 3 สาขา ไดแก รังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตร นิวเคลียร

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 99

145x210mm_����������� �� 2560.indd 107

6/6/16 10:29 AM


ชั้นปที่ 1 ศึกษาวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร และรายวิชาศึกษาทั่วไป ชั้นปที่ 2 ศึกษาวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร รายวิชาศึกษาทั่วไป และ พื้นฐานวิชาชีพบางสวน ชั้ นปที่ 3 และ 4 ศึ กษารายวิชาพื้ นฐานวิชาชีพ และวิชาชี พทางรั งสี เทคนิค พรอมทัง้ ฝกภาคปฏิบตั ิทงั้ ในและนอกสถานที่ 2. ระดับหลังปริญญาตรี 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิสัญญีพยาบาล (Cert. in Anesth.) เปนหลักสูตรหลังปริญญาตรี ใชเวลาฝกอบรม 1 ป จัดฝกอบรมโดย ภาควิชาวิสัญญีวิทยารวมกับราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศไทย มีวัตถุประสงค เพื่อชวยลดปญหาขาดแคลนวิสัญญีแพทย และเพื่อผลิตบุคลากรทางดานวิสัญญีพยาบาล ซึ่งรับจากผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางวิชาพยาบาลศาสตร หรือเทียบเทาจาก สถาบันพยาบาลที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรรับรอง และมีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา 24 แห งพระราชบัญญัติระเบียบข าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 รับเขาศึกษาปละ ประมาณ 5-10 คน 3. ระดับปริญญาโท 3.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยา เป นหลั กสู ตรที่ จั ดการเรี ยนการสอนเป นภาษาอั งกฤษ ใช เวลาศึ กษา 2 ป ปแรกเปนภาคทฤษฎีและปฏิบัติเบื้องตน ในปที่ 2 เปนภาควิทยานิพนธ รับผูสําเร็จ การศึกษาขั้นปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ ซึ่งเปนนักศึกษาไทยปละ 5 คน และ นักศึกษาตางประเทศปละ 5 คน มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตนักวิจัยสาขาระบาดวิทยาใหแก สถาบันทางสาธารณสุขในประเทศไทยและประเทศกําลังพัฒนา 3.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร เปนหลักสูตรที่เนนการผลิตนักชีวอนามัยใหมีความรูความสามารถ และ ความชํานาญเฉพาะทาง ใชเวลาศึกษา 2 ป รับผูสําเร็จการศึกษาสาขาวิทยาศาสตร สุขภาพ/สาขาที่เกี่ยวของ มีการศึกษาดูงานทั้งในและตางประเทศ 3.3 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย เปนหลักสูตรรวมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร และ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่มีแนวทางการศึกษาสาขาวิชาที่วาดวย ความกาวหนาในองคความรูดานวิศวกรรม วิทยาศาสตร และการแพทย ที่ใชประโยชน

100 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 108

6/6/16 10:29 AM


ในการสรางเสริมสุ ขภาวะที่ ดี ของมนุษย การสร างองค ความรู ในสาขาวิ ชาวิ ศวกรรม ชีวการแพทย เกิดจากการศึกษาวิจัยชนิดบูรณาการความรูขามสาขาวิชาดานวิศวกรรม ศาสตร วิทยาศาสตร วิทยาศาสตรการแพทย และเวชปฏิบัติ โครงสรางหลักสูตร มีจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 36 หนวยกิต สามารถเลือกศึกษาได 2 แผน คือ แผน ก แบบ ก 1 ศึกษาเฉพาะรายวิชาวิทยานิพนธ และแผน ก แบบ ก 2 ศึกษา รายวิชารวมกับการทําวิทยานิพนธ 4. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก เปนหลั กสู ตรที่ เนนผลิตบั ณฑิตแพทย เฉพาะทาง ในสาขาวิทยาศาสตรการ แพทยคลินิกตางๆ ใชเวลาศึกษา 3 ป ผูเขาศึกษาสําเร็จการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตร บัณฑิต เปดรับในสาขาวิชากุมารเวชศาสตร จักษุวิทยา จิตเวชศาสตร พยาธิวิทยาคลินิก พยาธิวิทยากายวิภาค รังสีวิทยาวินิจฉัย วิสัญญีวิทยา เวชศาสตรครอบครัว ศัลยศาสตร ประสาทศัลยศาสตร ศัลยศาสตรออรโธปดิกส เวชศาสตรฟนฟู สูติศาสตรและนรีเวช วิทยา โสต ศอ นาสิกวิทยา อายุรศาสตร ประสาทวิทยา และเวชศาสตรฉุกเฉิน 5. ระดับปริญญาเอก 5.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยา เป นหลั กสู ตรที่ จั ดการเรี ยนการสอนเป นภาษาอั งกฤษ ใช เวลาศึ กษา 3-5 ป เปดรับผูสําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาขั้ นปริญญาตรีหรือเทียบเทาในสาขาวิชาสถิติ หรือคณิตศาสตร หรือวิทยาศาสตรสุขภาพ มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตทาง ระบาดวิทยาที่ มีความเชี่ ยวชาญพิเศษด านสถิ ติการแพทยใหแกสถาบันทางสาธารณสุข ในประเทศไทยและประเทศกําลังพัฒนา 5.2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร เป นหลั กสู ตรที่ เ น น การวิ จั ยที่ ต องอาศั ย บู รณาการของความรู และ เทคโนโลยีสาขาวิชาตางๆ เพื่อตอบคําถามวิจัย มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาหรือชวยแก ปญหาในการตรวจวินิจฉัย และการบําบัดรักษาทางการแพทย 5.3 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย เปนหลักสูตรรวมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตร และ บัณฑิตวิทยาลัย แนวทางการศึกษาสาขาวิชาที่วาดวยความกาวหนาในองคความรูดาน วิ ศวกรรม วิ ทยาศาสตร และการแพทย ที่ เด นในเรื่ องการประยุ กต องค ความรู แบบ บูรณาการในการศึกษาวิจัยเพื่อใหไดนวัตกรรมและองคความรูใหม และเปนผู นําในการ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 101

145x210mm_����������� �� 2560.indd 109

6/6/16 10:29 AM


วิจัยที่มีที่ใชประโยชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหคิดเปน ทําเปน แกปญหาได และ กาวทันเทคโนโลยี ทําใหรูจักเลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม คุมคา และสามารถพัฒนา เทคโนโลยีดวยตนเอง โครงสรางหลักสูตรแบงเปน 2 แบบคือ แบบ 1 ศึกษาเฉพาะ รายวิชาวิ ทยานิพนธ และแบบ 2 ศึ กษารายวิ ชารวมกับการทําวิทยานิพนธ โดยผู ที่ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 48 หนวยกิต และผู ที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีหรือกําลังศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 72 หนวยกิต

จุดเดนของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หลักสู ตรแพทยศาสตรบั ณฑิต ของ คณะแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทร มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตบัณฑิตแพทยใหมีความรู ความสามารถ และคุณลักษณะ ตางๆ ตามมาตรฐานของแพทยสภาและตรงตามความมุงหวังของสังคม โดยมุงเนนการ สงเสริมจริยธรรม การสรางเสริมความเขาใจและใสใจในเพื่อนมนุษย สังคม และสิ่ง แวดลอม การพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูและแสวงหาความรู ตลอดจนการสรางเสริม กระบวนการคิด วิเคราะห และแกปญหาโดยองครวมอยางมีวิจารณญาณ ทั้ งนี้ โดยมี การบูรณาการเนื้อหารายวิชาตางๆ รวมทั้งเวชจริยศาสตร ในหลักสูตรอยางเปนระบบ ให นักศึ กษามี ประสบการณ จริงทางคลินิ กหรื อมี กิ จกรรมที่ เกี่ ยวข องกั บผู ปวยตั้ งแต ใน ระยะแรกของการศึกษา และมีโอกาสเรียนรูวิถีชีวิต ภูมิปญญา วัฒนธรรม คานิยม และ ปจจัยทีม่ ผี ลตอสุขภาพของประชาชนในชุมชนอยางตอเนือ่ งตลอดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนมุ งเนนการจัดประสบการณการเรียนรู โดยใชกระบวน การกลุ ม และใช ปญหาทางคลิ นิ กและป ญหาด านสาธารณสุ ขในชุ มชนเป นฐานในการ กระตุนใหนักศึกษาแสวงหาความรู วิเคราะหแกไขปญหา และฝกฝนทั กษะตางๆ ดวย ตนเอง โดยมีอาจารยและแพทย รุนพี่ เปนที่ ปรึกษาใหคําแนะนํา ชี้ แนะ มี สื่อการเรียน การสอน โสตทัศนูปกรณและเทคโนโลยีที่หลากหลาย อาทิ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชวยสอน หองสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ พิพิธภัณฑหุนจําลองกายวิภาค หองปฏิบัติการ วิทยาศาสตรและหองฝกทักษะทางคลินิก มีโรงพยาบาลสงขลานครินทรเปนศูนยกลาง หลักในการจัดการเรียนการสอนชั้ นคลินิก มี โรงพยาบาลหาดใหญ โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลตรัง โรงพยาบาลมหาราชนครศรี ธรรมราช และโรงพยาบาลสุ ราษฎรธานี เปนโรงพยาบาลสมทบในการฝกเวชปฏิบตั ิ และมีโรงพยาบาลชุมชนในเขตจังหวัดภาคใต เปนโรงพยาบาลเครื อข ายในการจัดประสบการณเรี ยนรู ให นักศึกษาแพทยชั้ นปรีคลิ นิก

102 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 110

6/6/16 10:29 AM


นอกจากนี้ ยั งมี ความร วมมื อ กั บศู น ย แพทยศาสตรศึ กษา โรงพยาบาลหาดใหญ ใน โครงการรวมผลิตแพทยเพิ่มเพื่อชาวชนชทเปนกรณีพิเศษอีกดวย กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อให นักศึกษามีโอกาสไดพัฒนาตนเองในดานตางๆ ไดครบถวน มีเจตคติที่ เหมาะสมตอการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในอนาคต มีความรูรอบตัวดี มีวุฒิภาวะทาง อารมณ มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีจิตวิญญาณประชาธิปไตย และมีความ สามารถในการดํารงชีวิตในสังคมรวมกับผูอื่นไดอยางสันติสุขและมีคุณคา คณะแพทยศาสตรจึงไดสนับสนุนใหนักศึกษารวมกันคิดและทํากิจกรรมเสริมหลักสูตรในนามสโมสร นักศึกษา คณะแพทยศาสตร และจัดโอกาสใหนักศึกษาทุกคนเขารวมกิจกรรมสงเสริม จริยธรรม กิจกรรมสรางเสริมทักษะชีวิตและสังคม กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน กิจกรรม สงเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมสรางเสริมทักษะการเรียนรูและการสื่อสาร ทักษะในการ บริหารจัดการ และทักษะการเรียนและทํางานเปนทีมอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้โดยพิจารณา ปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักสูตรและการ จัดการเรียนการสอน สวัสดิการและทุนการศึกษา นอกจากสวัสดิการตางๆ ของมหาวิทยาลัยแลว คณะแพทยศาสตรมีหอพัก นักศึกษาแพทยเปนบริการสําหรับนักศึกษาแพทยตั้งแตชั้นปที่ 2 ขึ้นไป (ชั้นปที่ 1 มีสิทธิ์ พักในหอพักนักศึกษาของมหาวิทยาลัย) ในบริเวณหอพักมีหองพักผอน หองสมุด หอง คอมพิวเตอร หองออกกําลังกาย และสนามกีฬา เปนสวัสดิการรวมของนักศึกษา โดย นักศึกษามีสวนรวมเปนกรรมการในการบริหารจัดการหอพักและจัดกิจกรรมตางๆ ของ หอพักเพื่ อพัฒนาคุ ณภาพชีวิตและการใชชีวิตรวมกันอยางสั นติสุขของนักศึกษา และมี อาจารยเปนที่ปรึกษา คณะแพทยศาสตร พิ จารณาให ค วามช ว ยเหลื อนั ก ศึ กษาทุ กคนที่ มี ป ญหาด าน เศรษฐกิจในรูปแบบตางๆ จนจบการศึกษา โดยมีมูลนิธิโรงพยาบาลสงขลานครินทรเปน แหลงสนับสนุนทีส่ ําคัญในการจัดสรรทุนการศึกษา

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

ตามประกาศมหาวิทยาลัยเรื่องคาธรรมเนียมการศึกษา และหลักสูตรวิทยาศาสตร บัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ประมาณ 18,000 บาท/ภาคการศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 103

145x210mm_����������� �� 2560.indd 111

6/6/16 10:29 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะเภสัชศาสตร

Faculty of Pharmaceutical Sciences

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 8800, 0 7428 8816, 0 7421 8503 โทรสาร 0 7421 8503 E-mail: pharma-sci@psu.ac.th Homepage: http://www.pharmacy.psu.ac.th, http://www.psu.ac.th

คณะเภสัชศาสตร ไดรับการจัดตั้งอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2521 ณ วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา ตลอด 3 ทศวรรษที่ผานมา คณะฯ ไดพัฒนา ศักยภาพของอาจารย บุคลากรสายสนับสนุน และบัณฑิต อยางเต็มกําลังความสามารถ จนทําใหคณะเปนที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและมุงสูระดับสากล สําหรับทศวรรษที่ 4 นี้ คณะฯ ยั งคงวิสัยทัศนที่ จะเปนสถาบั นชั้ นนําทางเภสัชศาสตร ในภู มิภาคอาเซียน โดยจัดการเรียนการสอนที่เนนการเรียนรูจ ากการปฏิบตั ิวชิ าชีพจริง คณะเภสัชศาสตร ประกอบดวย 5 ภาควิชา ดังนี้

104 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 112

6/6/16 10:29 AM


ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก

(Department of Clinical Pharmacy) โทรศัพท 0 7428 8871 โทรสาร 0 7442 8222 E-mail: pharmacy-clinic@group.psu.ac.th ภาควิ ชาเภสัชกรรมคลิ นิก ทําการสอน วิ จัย และบริการวิ ชาการเกี่ ยวของกับ การใชยาบําบัดในผูปวย ในดานหลักการใชยาบําบัด ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลของการ ใชยาในการบําบัดโรค อาการไมพึงประสงค/ความเปนพิษจากยา โดยเนนการใชยาอยาง สมเหตุ สมผล เพื่ อใหนั กศึ กษาสามารถประยุกต ใช ความรู ทางเภสั ชวิทยาและหลั กการ ใชยาบําบัดโรคในการดูแลการใชยาในผูปวยโดยสามารถวางแผนการใชยา คนหา แกไข และป องกั นป ญหาที่ เกี่ ยวข องกั บการใช ยาในลั กษณะที่ รวมมื อกั บแพทย และพยาบาล โดยมีเปาหมายใหนักศึกษาสามารถปฏิบัติงานในฐานะเภสัชกรในโรงพยาบาล รานขายยา และสถานบริบาลทางสาธารณสุขที่เกี่ยวของอื่นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ภาควิชายังมีการสอนและวิจัยทางดานเภสัชวิทยาของยากลุมตางๆ รวมทั้งการ วิ จั ย ทางเภสั ชวิ ทยาของสารสกั ดจากสมุ นไพรที่ ใ ช ทางยา เพื่ อคั ดกรองสมุ นไพรที่ มี ศักยภาพเพื่อการผลิตเปนยาตอไป นอกจากนี้ ภาควิ ชายั งได มี การสอนและวิ จั ยทางเภสั ชระบาดวิ ทยาเพื่ อศึ กษา ความปลอดภัยของยาตางๆ ซึ่งขอมูลทางดานเภสัชระบาดวิทยาจะมีประโยชนอยางยิ่ง ตอหนวยงานต างๆ ที่ เกี่ ยวข องเพื่ อการคุ มครองผู บริ โภคด านยา ซึ่ งยั งประโยชนให ประชาชนไดรับยาที่มีประสิทธิผลในการบําบัดโรคและมีความปลอดภัย

ภาควิชาเภสัชเคมี

(Department of Pharmaceutical Chemistry) โทรศัพท 0 7442 8239 โทรสาร 0 7442 8239 E-mail: chem@pharmacy.psu.ac.th, chem@makok.pharmacy.psu.ac.th ภาควิชาเภสัชเคมี ทําการสอนและวิจัยเกีย่ วกับ 1. การสังเคราะหยา สารชวย หรือวัสดุที่เกี่ยวของกับงานเภสัชกรรม มุงที่จะ ทําการศึ กษาเพื่ อปรับปรุ งหรื อดั ดแปลงโครงสร างของยาเพื่ อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการ รักษาและลดความเปนพิษหรืออาการไมพึงประสงคของยา โดยอาจใชวิธีสังเคราะหทาง เคมีหรือโดยเทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ สวนการสังเคราะห สารชวยหรือวัสดุ ที่เกี่ยว àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 105

145x210mm_����������� �� 2560.indd 113

6/6/16 10:29 AM


ข องกั บงานเภสั ชกรรมนั้ นมุ งที่ จะค นหาสารเพื่ อทําการพั ฒนาให ตํารั บมี ประสิ ทธิ ภาพ ในการรักษามากขึ้น 2. การวิเคราะหและการควบคุมคุณภาพยา เปนการศึกษา ปรับปรุงและพัฒนา วิธีวิเคราะห ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยวิธีทางเคมี ชีวภาพ หรือโดยเครื่องมือ วิเคราะหที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพื่อชวยในการวิเคราะหตัวยาสําคัญ สารชวย สารพิษหรือ สารที่ เกิ ดจากการสลายตั วของตั ว ยาสํา คั ญในตํารั บยา เพื่ อประโยชน ใ นการควบคุ ม คุณภาพยา และวิเคราะหยาในตัวอยางจากสิ่ งมีชีวิตและตัวอยางจากกระบวนการทาง เทคโนโลยีชีวภาพ เชน เลือด ปสสาวะ หรือน้ําลาย เพื่อเปนการติดตามคุณภาพของยา ในดานการรักษา การศึกษาชีวสมมูลและเภสัชจลนศาสตรของยา รวมทั้งการวิเคราะห หาชนิดและปริมาณของสารปนเปอนในผลิตภัณฑ เชน ยา หรืออาหาร การศึกษาความ คงตัวทางเคมีและทางกายภาพของสารเหลานัน้ 3. เภสัชเทคโนโลยีชีวภาพ ศึกษาโครงสราง หนาที่ของสารพันธุกรรม เทคนิค ทางพันธุวิศวกรรม การควบคุมการแสดงออกของยีนในสิ่ งมี ชีวิตชนิ ดต างๆ การเพาะ เลี้ ยงเซลล สัตว การพั ฒนาและสั งเคราะห ยาทางเทคโนโลยี ชี วภาพ การแยกและทํา ผลิตภัณฑใหบริสุทธิ์ รวมทั้งการประยุกตใชเทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชกรรม เชน การ ศึกษากลไกการเกิดโรค การศึกษาเปาหมายยา เปนตน รวมทั้งการวิเคราะหผลิตภัณฑ ทางดานเทคโนโลยีชีวภาพ และการศึกษาผลของยาตอโครงสราง และการทํางานของ สารชีวภาพ

ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร

(Department of Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany) โทรศัพท 0 7442 8891-2, 0 7442 8220 โทรสาร 0 7442 8220 E-mail: pensri.s@psu.ac.th Homepage: http://pcog.pharmacy.psu.ac.th ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร ทําการสอน วิจัย และบริการวิชาการ เกี่ยวกับสมุนไพร ตลอดจนผลิตภัณฑธรรมชาติที่นํามาใชเปนยารักษาโรค ศึกษาวิธี วิเคราะห และจําแนกชนิดของพืชและสมุนไพรตางๆ การจัดกลุมสารเคมีของพืชแตละ ชนิดที่จะนํามาใชประโยชนทางยา การกําหนดมาตรฐานสมุนไพร การศึกษาทางเคมี ของสารสําคัญที่มีฤทธิ์ทางยา ตลอดจนวิธีการสกัดเพื่อแยกสารและพิสูจนโครงสรางทาง เคมีของสารที่ ไดจากพื ชสมุ นไพรและผลิตภั ณฑธรรมชาติ เพื่ อนํามาใช เป นยารั กษาโรค

106 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 114

6/6/16 10:29 AM


ตลอดจนการเพาะเลีย้ งเนื้อเยือ่ สมุนไพรเพื่อประโยชนในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงคุณภาพ สมุนไพรและอนุรักษพันธุพ ืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษากระบวนการชีวสังเคราะหในพืช

ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ

(Department of Pharmacy Administration) โทรศัพท 0 7428 8901, 0 7442 8167 โทรสาร 0 7442 8167 E-mail: siripun.v@psu.ac.th สอน วิจัย และบริการวิชาการดานเภสัชกรรมชุมชน (รานขายยา) ผลิตเภสัชกร ชุ มชนที่ มี ความรู ความสามารถที่ จะบริ การประชาชนในเรื่ องยา การบริ หารจั ดการ ในฐานะที่จะปฏิบัติงานเปนเภสัชกรโรงพยาบาล การคุมครองผูบริโภคทางดานอาหาร และยา ระบาดวิทยา และการเฝาระวังอันตรายที่อาจเกิดจากการใชยา กฎหมายตางๆ ที่ เกี่ ยวของกับวิชาชีพเภสัชกรรม นอกจากนี้ ยังสรางองคความรูในดานเภสัชกรรมการ ตลาดและเศรษฐศาสตร ของระบบยาเพื่ อสนองความตองการบุคลากรทางดานนี้ ให กับ บริษัททีด่ ําเนินธุรกิจเกี่ยวกับยาทั้งภายในและตางประเทศ

ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม

(Department of Pharmaceutical Technology) โทรศัพท 0 7428 8841, 0 7442 8148 โทรสาร 0 7442 8148 E-mail: saowarat.m@psu.ac.th Homepage: http://techno.pharmacy.psu.ac.th ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรมทําการสอน วิจัย และบริการวิชาการทางดานการ เตรียมเภสัชภัณฑ หรือยาเตรียมในรูปแบบตางๆ ทั้งที่เปนยาที่ใชภายนอกและใชภายใน ทั้ งในปริ มาณน อยๆ จนถึ งขั้ นอุ ตสาหกรรม ศึ กษาเทคนิ คต างๆ ในการเตรี ยมยา คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของตัวยาตางๆ การพัฒนาสูตรตํารับยา เครื่องสําอาง และอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดํา เทคโนโลยีการผลิตยาชนิดตางๆ เชน ยาเม็ด ยาน้ํา การเคลือบยาเม็ด การเตรียมเภสัชภัณฑปราศจากเชื้อ ผลิตภัณฑยาสูดพน ระบบนํา สงยา เภสัชภัณฑรังสี เภสัชบรรจุภัณฑ ผลิตภัณฑอาหารที่ ใหทางหลอดเลือดดํา การ ควบคุมและตรวจสอบ คุณภาพของผลิตภัณฑในกระบวนการผลิต การทําจุลชีววิเคราะห ตลอดจนการออกแบบและวางผังโรงงานผลิตยาตามหลักเกณฑวธิ กี ารที่ดใี นการผลิตยา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 107

145x210mm_����������� �� 2560.indd 115

6/6/16 10:29 AM


หลักสูตรคณะเภสัชศาสตร

1. หลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเภสัชศาสตรจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร ใช เวลาศึกษา 6 ป ซึ่งแตละหลักสูตรมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 หลั กสู ตรเภสั ชศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิชาการบริ บาลทางเภสั ชกรรม ไดรับปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือ ภ.บ. (การบริบาลทางเภสัชกรรม) – Pharm. D. (Pharm. Care) หลักสู ตรนี้ มีเป าหมายเพื่ อผลิตเภสัชกรที่ มี ความรู ทั กษะ และความ ชํานาญในการใหการบริบาลทางเภสัชกรรมเพื่ อดูแลการใชยาในผูปวยใหมีประสิทธิภาพ และความปลอดภัย สามารถเปนที่ปรึกษาเรื่องการใชยาใหกับบุคลากรทางการแพทยได และสามารถประสานงานและทํางานเปนทีมรวมกับสหวิชาชีพ ในขณะเดียวกันก็มีความรู ดานเภสัชกรรมอุตสาหการในเรื่อง ยา สมุนไพร เภสัชภัณฑสุขภาพและอาหาร รวมทั้ง ดานการบริหารจัดการ ในระดับที่สามารถประยุกตกับงานบริบาลทางเภสัชกรรมได อาชีพที่สามารถประกอบไดภายหลังสําเร็จการศึกษา: เภสัชกรในสถาน บริการสุขภาพ เภสัชกรชุมชน (รานยา) เภสัชกรการตลาด (บริษัทยา) เภสัชกร คุมครองผูบริโภค (สาธารณสุขจังหวัด) เภสัชกรนักวิจัยและพัฒนา เภสัชกรในสถาบัน การศึกษา สําหรับเภสัชกรการผลิต ประกันคุณภาพ และขึ้นทะเบียนยา (โรงงาน) นั้น ผูสําเร็จการศึกษาในสาขานี้สามารถปฏิบัติงานไดในระดับหนึ่งแตจะไมมีความรูและทักษะ มากเทากับผูสําเร็จการศึกษาในสาขาเภสัชกรรมอุตสาหการ 1.2 หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ โปรแกรมปกติ ไดรับปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต หรือ ภ.บ. (เภสัชกรรมอุตสาหการ) Pharm.D. (Industrial Pharmacy) โปรแกรมแบบกาวหนา ไดรับปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ. (เภสัชกรรมอุตสาหการ โปรแกรมแบบกาวหนา) Pharm.D. (Industrial Pharmacy, Honors Program) โปรแกรมปกติ มุงเนนสรางเภสัชกรในภาคอุตสาหกรรมยา ไดแก • เภสัชกรดานการผลิตที่ มีความชํานาญในการพั ฒนาระบบคุณภาพ และการผลิตยา สมุนไพร เภสัชภัณฑสุขภาพ อาหาร และเครื่องสําอาง รวมทั้งมีความ สามารถในการวิจยั พัฒนาคิดคนยาใหมหรือตํารับยาใหมๆ • เภสั ชกรดานการตลาดยา สร างผู เชี่ ยวชาญในการเสนอขอมู ลยา และเภสัชภัณฑสขุ ภาพ

108 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 116

6/6/16 10:30 AM


• เภสัชกรดานการคุมครองผูบริโภคดานยาและสรางศักยภาพที่จะเปน ผูน ําระดับสูงขององคกรธุรกิจ อยางไรก็ตาม เภสัชกรที่สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ยังคงสามารถ ปฏิบัติงานเปนเภสัชกรในรานยา หรื อในสถานบริการสุขภาพได เชน การจายยา การ ผลิตยาในโรงพยาบาล การจัดซื้ อและจัดหายาเขามาใชในโรงพยาบาล แตจะมีความรู และทักษะในการดูแลดานการใชยาในผูปวยในเชิงลึกไมมากเทากับผู สําเร็จการศึกษาใน สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม โปรแกรมแบบกาวหนา (Honors Program) เปนการเตรียมความพรอม สําหรั บนั กศึ กษาในหลักสูตรสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสหาการที่ มี ศักยภาพสูงให มีโอกาส เรียนรายวิชาระดับปริญญาโท-เอกในขณะที่ยังศึกษาในระดับปริญญาตรี ทําใหสามารถ ศึกษาตอในระดับปริญญาโท-เอก โดยมีระยะเวลาการศึกษาในระดับปริญญาโท-เอกลดลง ทิศทางวิชาชีพเภสัชกรรม สืบเนื่องจากทิศทางวิชาชีพตองการผูเชี่ยวชาญแตละสาขา ดังนั้นผูที่สนใจวิชาชีพ นีต้ องตัดสินใจและกําหนดทิศทางตัวเองใหชดั เจนวาสนใจสาขาใดตั้งแตการเลือกคณะทีจ่ ะ ศึกษาตอ จะไดวางแผนใหเหมาะสม ซึ่งบุคลากรในวิชาชีพนี้นอกจากความรูความสามารถ ทางวิชาการแลว ยังตองสามารถทํางานรวมกับวิชาชีพอื่นๆ ได รายวิชาที่เรียน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เปนกลุมวิชาเกี่ยวกับภาษามนุษยศาสตร สังคมศาสตร วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร หมวดวิชาเฉพาะ เปนกลุมวิชาพื้นฐานทางวิชาชีพและกลุมวิชาชีพ กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ไดแก วิชาที่เรียนตอเนื่องจากมัธยมปลาย เชน เคมี ฟสิกส ชีววิทยา เปนตน วิชาเหลานี้จะเปนพื้นฐานใหนักศึกษาไดเขาใจวิชาพื้นฐานทาง วิชาชีพอื่นๆ เชน กายวิภาคศาสตร ชีวเคมี เภสัชวิทยา พิษวิทยา สรีรวิทยา และ จุลชีววิทยา และตอเนือ่ งมายังรายวิชาชีพบังคับของคณะ กลุมวิชาชีพบังคับ ประกอบดวยกลุมวิชา ดังตอไปนี้ 1. กลุมวิชาดานตัวยาและการเตรียมหรือผลิตเภสัชภัณฑสุขภาพ เรียนรูเกี่ยวกับ ตัวยาจากธรรมชาติหรือสมุนไพร ตัวยาจากการสังเคราะหทางเคมีและชีวภาพ เคมีของยา การวิเคราะหยา การผลิตและควบคุมคุณภาพเภสัชภัณฑ ระบบ คุณภาพในการผลิต เภสัชภัณฑ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 109

145x210mm_����������� �� 2560.indd 117

6/6/16 10:30 AM


2. กลุ มวิ ชาด านการใช ยาในผู ปวย เรี ยนรู เกี่ ยวกั บหลั กเภสั ชบําบั ด หรือการ รักษาบําบัดโรคดวยยา เภสัชกรรมปฏิบัติทักษะการใชบริการทางเภสั ชกรรม และการ คนควาขอมูลทางเภสัชศาสตร 3. กลุ มวิ ช าด า นเภสั ช ศาสตร สั งคมและการบริ หารเรี ยนรู เ กี่ ย วกั บระบบยา ระบบสาธารณสุขที่เกี่ยวของกับงานดานเภสัชกรรม กฎหมายและจริยธรรมของเภสัชกร ระเบียบวิธีวิจัย และการบริหารจัดการ หมวดวิ ชาเลื อกเสรี เป น กลุ มวิ ช าที่ นั กศึ กษาสามารถเลื อกรายวิ ชาใดที่ สนใจ ทีเ่ ปดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หลักสูตรสาขาวิชาเภสัชกรรมอุตสาหการ โปรแกรมกาวหนา เรียนและฝกงาน เหมือนโปรแกรมปกติ แตเพิ่มรายวิชาบัณฑิตศึกษาและวิทยานิพนธ การฝกปฏิบัติงาน นักศึกษาทั้ง 2 หลักสูตร จะมีการฝกปฏิบัติงานภาคฤดูรอนของชั้นปที่ 4 ไมนอย กวา 420 ชั่วโมง และในปสุดทายตองฝกงานทั้งปไมนอยกวา 1,680 ชั่วโมง ซึ่งการฝก ปฏิบัติงานมีทั้งภาคบังคับและใหนักศึกษาเลือกเพื่อสรางความเชี่ยวชาญในสาขาที่ตนเอง สนใจ การประกอบวิชาชีพ ผูสําเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานในทุกสาขา แตจะมีจุดเนนตางกันดังที่ได กลาวแลวในคําอธิ บายแตละสาขาโดยจุดรวมคือ ผู ที่ จบจากทั้ ง 2 หลั กสู ตร สามารถ ปฏิบัติงานในร านยา หรื อเป นนั กวิจั ยและนักวิ ชาการได อย างไรก็ตามผู จะปฏิบัติงาน วิชาชีพทุกสาขา จําเปนตองสอบขึ้นทะเบียนเปนผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมใหไดกอน เข าเว็ บบอร ดและดู หลั กสู ตรฉบั บเต็ ม http://service.pharmacy.psu.ac.th (เว็บไซตงานบริการการศึกษา) 2. ระดับปริญญาโท เปดสอน 2 หลักสูตร ไดแก 2.1 หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (M.Pharm.) เปดสอน 3 สาขา คือ 1) สาขาเภสัชกรรมคลินิก 2) สาขาเภสัชศาสตร 3) สาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร

110

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 118

6/6/16 10:30 AM


2.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ (M.Sc.) เปด สอน 2 สาขา คือ 1) สาขาวิทยาศาสตรสมุนไพร 2) สาขาวิทยาศาสตรเครือ่ งสําอาง 3. ระดับปริญญาเอก เปดสอน 1 หลักสูตร ไดแก 3.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) เปดสอน 3 สาขา คือ 1) สาขาเภสัชศาสตร 2) สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม 3) สาขาเภสัชศาสตรสังคมและการบริหาร (นานาชาติ) 4. ระดับวุฒิบัตร แสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ หลักสู ตรฝกอบรมเป นผู มีความรู ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบําบัด (จัดการเรียนการสอนรวมกับ วิทยาลัยเภสัชบําบัด สภาเภสัชกรรม)

จุดเดนของคณะเภสัชศาสตร

1. นอกจากการพั ฒนาดานวิ ชาการที่ อยู บนพื้ นฐานของหลั กการเรี ยนรู แบบมี ส วนร วมแล ว นั กศึ ก ษาจะได พั ฒนาตนเองในด านสั งคมที่ เอื้ อ ต อการประกอบวิ ชาชี พ ควบคู ไปดวย โดยเฉพาะการไดรับประสบการณตรงในการรับรูและสัมผัสกับสภาพของ ชุมชน การใชทักษะการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนกิจกรรมที่คณะเภสัชศาสตร เปนผูร ิเริม่ และดําเนินการตอเนือ่ ง 2. มี ระบบการฝ กปฏิ บัติ งานวิ ช าชี พที่ เอื้ อโอกาสต อการประกอบวิ ช าชี พเมื่ อ สําเร็จการศึกษา นั กศึกษาจะไดรับการสงเสริมใหเพิ่ มพูนประสบการณวิชาชี พด วยการ ฝกปฏิบัติงานในสถานปฏิบัติงานจริงซึ่งมีความรวมมือทางวิชาการกับคณะเภสัชศาสตร อยางเปนระบบ นอกจากนั้นคณะเภสัชศาสตรเองยังมีสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน หรื อร านยาเภสั ช ม.อ. ซึ่ งตั้ งอยู ในวิ ทยาเขตหาดใหญ สําหรับการบริ การจําหน ายยา แนะนําความรูเ รื่องยาแกชุมชน และใชสําหรับการเรียนการสอน การฝกปฏิบตั ิงานดวย 3. คณะฯ มีศูนยคอมพิวเตอรทางเภสัชศาสตรซึ่งบริการเครื่องคอมพิวเตอรที่ ทันสมัยเพื่ อใหนักศึกษาสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารทันสมัย และโสตทัศนูปกรณที่เอื้อ ตอการพัฒนาตนเองของนักศึกษาตามความถนัดและความสนใจ ตลอดจนมีศูนยขอมูล ยาทีใ่ หคําปรึกษาและบริการสืบคนขอมูลจากฐานขอมูลที่สําคัญทางเภสัชศาสตรดวย àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 111

145x210mm_����������� �� 2560.indd 119

6/6/16 10:30 AM


4. คณะฯ มีศูนยสมุนไพรทักษิณและสวนสมุนไพรที่รวบรวมสมุนไพรและเครื่อง ยานานาชนิ ด รวมทั้ งความรู ทางด า นการแพทย แผนไทยและภู มิ ปญญาพื้ นบ าน เป น แหลงอางอิงพันธุพืชสมุนไพรของภาคใต ใหบริการและเผยแพรความรูทางวิชาการแก ชุมชนและเปนแหลงฝกอบรมดูงาน เนื่องจากภาคใตเปนศูนยกลางของแหลงที่ มีระบบ นิเวศวิทยาที่มีสมุนไพรอยูมาก เชน สมุนไพรทองถิ่น ผลิตภัณฑธรรมชาติจากพืช สัตว และทางทะเล ซึ่ งสามารถนํามาใชประโยชนในการวิจัยและพัฒนาสมุนไพรไดเปนอยาง มาก 5. คณะฯ มี ค วามร วมมื อ กั บหน วยงานทั้ งภาครั ฐและเอกชนเพื่ อ การพั ฒนา วิชาชีพและวิ ชาการอย างสม่ําเสมอ เชน ความรวมมือกับกระทรวงสาธารณสุขในการ คุ มครองผู บริ โภคและการพัฒนางานเภสั ชกรรมคลิ นิ กในเขตภาคใต ความร วมมือกั บ ภาคเอกชนในการบริหารจัดการระบบยา การใหบริการวิเคราะหและวิจัยเภสัชภัณฑตอ หนวยงานตางๆ ซึ่งกิจกรรมเหลานี้จะเปนฐานการพัฒนาการวิชาการเพื่อการพึ่งตนเอง ที่สําคัญ และยังเปนแหลงเรียนรูส ําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตรดวย

ตลาดแรงงาน

1. เภสัชกรโรงพยาบาล ปฏิบัติหนาที่ใหการบริบาลเภสัชกรรมใหกับทั้งผูปวยใน และผู ปวยนอก ซึ่ งหมายถึ งการดู แลและจัดการให การใช ยารั กษาโรคและอาการเกิ ด ประสิทธิ ภาพสู งสุด โดยปฏิ บัติงานร วมกั บบุคลากรดานสาธารณสุ ขอื่ นๆ เช น แพทย พยาบาล ทั้งนี้สามารถปฏิบัติงานไดทั้งในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน อนึ่ง ลักษณะ การปฏิบัติงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาลนั้นมีความหลากหลาย เชน การสงมอบยาใหกับ ผูปวย การใหคําปรึกษาเรื่องยาแกผูปวยและบุคลากรอื่น การบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ การผสมหรือผลิตยาสําหรับผูปวยเฉพาะโรค การรวมในทีมบําบัดรักษาบนหอผูปวย 2. เภสัชกรชุมชน ปฏิบัติหนาที่ในการใหการบริบาลเภสัชกรรมเบื้องตนแกผูมา รับบริการ ซึ่ งหมายถึงการใหคําปรึกษาเรื่องยาและสุขภาพ จัดและสงมอบยาใหกับ ผู ปวยในขอบเขตที่ ไดรับอนุญาตตามกฎหมาย จัดการและบริหารระบบคลังยาในสถาน ปฏิบัติการนั้น โดยสวนใหญแลวจะปฏิบัติงานในรานยาหรือสถานปฏิบัติการเภสัชกรรม ชุมชนทัง้ ของรัฐและเอกชน หรืออาจะเปนกิจการที่ดําเนินการโดยเภสัชกรเอง 3. เภสัชกรในภาคอุตสาหกรรมการผลิตยา ปฏิ บัติหนาที่ไดตั้ งแตการวิจัยและ พั ฒนายาและสูตรตํารับยา การขอขึ้ นทะเบี ยนตํารั บยา การควบคุ มการผลิ ตยา การ ควบคุมคุณภาพของตํารับยา ซึ่งปกติเภสัชกรหนึ่งคนจะทําหนาที่เพียงอยางเดียว

112 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 120

6/6/16 10:30 AM


4. เภสัชกรการตลาด ปฏิบัติหน าที่ ในการกระจายยาสู โรงพยาบาลและรานยา ใหขอมูลของยาและตํารับยาแกแพทย เภสัชกรรม และบุคลากรสาธารณสุข และดําเนิน กลยุ ทธ ในเชิงธุรกิจภายใต กรอบของกฎหมายและแนวปฏิ บัติที่ ถู กต อง อนึ่ งในป จจุ บัน เภสั ชกรมักได ทําหน าที่ ในการดําเนิ นกลยุทธ การตลาดของผลิ ตภั ณฑ เสริ มอาหารด วย ซึง่ เปนงานสาขาใหมที่เพิ่งเกิดขึ้นมาไมนานนี้ 5. นักวิจัย ปฏิ บัติหนาที่ เป นนั กวิ จัยในสถาบันการศึกษาระดับสูง สถาบั นวิ จัย ทางการแพทยและสาธารณสุข หรือหนวยงานวิจัยของเอกชนที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ยาและตํารับยา การวิจัยที่เกี่ยวของนั้ นอาจเปนงานวิจัยเชิงทดลองในหองปฏิบัติการ หรืออาจเปนงานวิจัยเชิงสังคมศาสตรที่ เกี่ยวเนื่องกับยาและระบบสุขภาพก็ได (สําหรับ หนาที่นักวิจัยนั้ น บางครั้งไมตองการใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ทั้งนี้ขึ้ น อยูก ับหนวยงาน) 6. ปฏิบัติหน าที่ คุมครองผู บริโภค โดยปกติจะปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐที่ ทําหนาที่ควบคุมเฝาระวังใหกับผูบริโภคยาและอาหาร ซึ่งสวนใหญปฏิบัติงานในเชิงการ จัดการและนโยบาย เชน ปฏิบัติหนาที่เภสัชกรในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือสํานักงานสาธารณสุขประจําจังหวัด ยกเวนสําหรับเภสัชกรในกรมวิทยาศาสตรการ แพทยทจี่ ะปฏิบตั ิหนาทีเ่ ปนผูต รวจวิเคราะหยาและเวชภัณฑ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 113

145x210mm_����������� �� 2560.indd 121

6/6/16 10:30 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะวิทยาการจัดการ

Faculty of Management Sciences

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 0 7428 7841-2 โทรสาร 0 7428 7890 E-mail: fms-infor@group.psu.ac.th Homepage: http://www.fms.psu.ac.th

คณะวิทยาการจัดการเปดรับนักศึกษารุนแรกในป พ.ศ. 2519 นับเปนคณะแรก ของภาคใตที่จัดการเรียนการสอนดานการบริหารจัดการ ทัง้ ในสวนของภาครัฐและเอกชน ป จจุ บั น มี บั ณฑิ ต ที่ สํา เร็ จ การศึ ก ษาทํา งานอยู ในองค กรต างๆ มากกว า 10,000 คน กระจายทั่ วไปทั้ งในสวนกลางและทุ กภู มิภาคของประเทศ และมีจํานวนบัณฑิ ตไม นอย ที่เปนผูประกอบการธุรกิจทั้งภาคอุตสาหกรรม การคา และการบริการ ในสวนของคณาจารยคณะวิทยาการจัดการทั้ง 3 ภาควิชา นอกจากจะทําหนาที่ นักวิชาการรับผิดชอบงานสอนและงานวิจัยในสาขาแลว ยังไดรับเชิญเปนวิทยากรพิเศษ ใหกับหนวยงานตางๆ เปนที่ปรึกษาใหกับหนวยงานของรัฐในสาขาที่เกีย่ วของ นอกจากนี้ แลว คณะวิทยาการจัดการมีหนวยงานที่ ทําหนาที่ใหบริการแกชุมชน ไดแก สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และศูนยขอมูลตลาด หลักทรัพย (SMIC)

114 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 122

6/6/16 10:30 AM


ปจจุบัน คณะวิทยาการจัดการมีการจัดการเรียนการสอนออกเปน 3 ภาควิชาดังนี้

ภาควิชาบริหารธุรกิจ

(Department of Business Administration) โทรศัพท 0 7428 7856-7 โทรสาร 0 7455 8855 ดังนี้ ศึกษา

ภาควิชาบริ หารธุ รกิ จ จัดการเรียนการสอนในระดับปริ ญญาตรีและปริญญาโท 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอน 2 หลักสูตร ไดแก 1.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) มี 6 สาขาวิชาใหเลือก

1) สาขาการเงิ น ศึ กษาเกี่ ยวกั บการบริ หารการเงิ น หลั กการลงทุ น การบริหารสินเชื่อ การวิเคราะหหลักทรัพย การบริหารความเสี่ยง การบริหารสถาบัน การเงิน การเงินระหวางประเทศ ธุรกิจวาณิชธนกิจ 2) สาขาการตลาด ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารการตลาด พฤติกรรม ผูบริโภค การวิจัยตลาด การบริหารการขาย การสื่อสารทางการตลาด ตลาดโลก การ พยากรณการตลาด นโยบายผลิตภัณฑและราคา การบริหารชองทางและการจัดจําหนาย และสัมมนาปญหาการตลาด 3) สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษย ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมองคกร การจัดหาทรัพยากรมนุษย แรงงานสั มพั นธ การบริ หารผลตอบแทน การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การเจรจาตอรองทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากร มนุษย การพัฒนาองคกร การบริหารผลการปฏิบัติงาน สัมมนาการบริหารทรัพยากร มนุษย 4) สาขาระบบสารสนเทศ ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การ เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเบื้องตน ระบบฐานขอมูล การเขียนโปรแกรมทางธุรกิจ การสื่อสารขอมูลและระบบเครือขายคอมพิวเตอร การวิเคราะหระบบงาน เทคโนโลยี อินเทอรเน็ตและอินทราเน็ต การออกแบบและพัฒนาระบบงาน เทคนิคและการจัดการ ระบบปฏิ บัติ การ ระบบสารสนเทศเพื่ อการจั ดการ สั มมนาทางการจั ดการเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงงานการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส ศึ กษาเกี่ ยวกั บลักษณะบูรณาการ ในวิชาชีพทางดานการจัดการโลจิสติกส เพื่อสนับสนุนใหเกิดการประยุกตใชองคความรู àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 115

145x210mm_����������� �� 2560.indd 123

6/6/16 10:30 AM


และเรียนรู เทคโนโลยีสมั ยใหมในดานวิทยาการโลจิสติกสมาใชแกปญหาและพัฒนาการ จัดการใหมีประสิทธิภาพ 6) สาขาวิชาการจัดการประชุม นิทรรศการ และการทองเที่ยว เพื่อ เปนรางวัล หลักสูตรนี้มุ งผลิตบัณฑิตใหเปนที่ ตองการของตลาดแรงงานทั้ งภายในและ ต างประเทศ เพื่ อให บัณฑิ ตมี ความรู ความสามารถด านการบริหารจัดการ การจั ดการ ประชุมนานาชาติ (Meeting and convention) การทองเที่ยวเพื่อเปนรางวัล (Incentive travel) และงานแสดงนิทรรศการิ (Exhibition) โดยศึกษาเกี่ยวกับการตลาดสําหรับการ ทองเที่ยวและอุตสาหกรรมไมซ การจัดการอาหารและเครื่องดื่ม การเปนผูประกอบการ ในธุรกิจการทองเที่ยว การจัดการสถานที่จัดงานและที่พัก (Venue and accommodation management) การจัดการกิจกรรมพิเศษ (Events management) การวิจัยทางการ ทองเที่ยวและไมซ ตลอดจนนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับการจัดการการ ทองเทีย่ วในอุตสาหกรรมไมซ 7) สาขาวิ ชาการจั ดการ (ภาษาอั งกฤษ) ศึ กษาเกี่ ยวกั บการบริ หาร จัดการองคกรธุรกิจ พฤติกรรมองคกร การบริหารการเงิน การบริหารการตลาด ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ การจัดการเปรียบเทียบ สัมมนาปญหาการจัดการทางธุรกิจ การจัดการธุรกิจขนาดยอม และการเปนผูประกอบการ โดยมีแผนการศึกษา 2 ทางเลือก ดังนี้ 1. แผนการศึกษาปกติ 2. แผนการศึกษาหลักสูตรปริญญาสองสถาบั น (Dual Degree) รวมกับ The University of Nottingham Malaysia Campus ปการศึกษาที่ 1-2 ศึกษาที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษาที่ 3-4 ศึกษาที่ The University of Nottingham Malaysia Campus 2. ระดับปริญญาโท เปดสอน 2 หลักสูตร 2.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) เปดสอน 2 หลักสูตร ไดแก 1) หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A) ศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรเพื่อการจัดการ การจัดการ การดําเนินการการวิจัยทางธุรกิจ การบัญชีเพื่อการ จัดการ การจัดการการเงิน การจัดการการตลาด พฤติกรรมองคการ การจัดการ ทรัพยากรมนุษย การจัดการเชิงกลยุทธ โดยมีแผนการศึกษา 2 ทางเลือกดังนี้ - แผนการศึกษาภาคค่ํา - แผนการศึกษาภาคสมทบ

116

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 124

6/6/16 10:30 AM


2) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นานาชาติ) (I.M.B.A.) มุงเนนใหบัณฑิต มีองคความรูดานเทคนิคบริหารขั้ นสูง มีมุมมองในการจัดการและการตัดสินใจโดยมอง องครวมทั้งระบบ สามารถใชกระบวนการวิจัยในการคนควาเพื่อสรางองคความรูใหมใน สาขาธุรกิจที่ตนสนใจเพื่อพัฒนาไปสูความเปนนักธุรกิจระดับประเทศ และเพิ่มความมั่นใจ ในการทําธุรกิจใหแกนกั ธุรกิจไทยในระดับนานาชาติ

ภาควิชาการบัญชี

(Department of Accountancy) โทรศัพท 0 7428 7844

โทรสาร 0 7428 7844

ภาควิชาการบัญชี จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) ศึ กษาเกี่ ยวกั บหลั กการบั ญชี ขั้ นต น การบั ญชี ขั้ นกลาง การบั ญชี ขั้ นสู ง การบัญชีตนทุน การบัญชีบริหาร การสอบบัญชี การตรวจสอบภายใน ระบบสารสนเทศ ทางการบั ญชี โปรแกรมสําเร็ จรูปเพื่ องานทางบั ญชี การภาษี อาการ การฝ กงานทาง การบัญชี การรายงานงบการเงินและการวิเคราะห 2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มุงเนนการผลิตมหาบัณฑิตที่มีองคความรูทางดานการบัญชีในระดับสูง และ มีความสามารถในการวิจัยและการประยุกตใชขอมูลทางการบัญชีใหเปนประโยชนสูงสุด อยางมีจริยธรรมตอองคกรและสังคมโดยรวม โดยเปดสอน 2 หลักสูตร 2.1 หลักสูตรภาคปกติ 2.2 หลักสูตรภาคสมทบ

ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร

(Department of Public Administration) โทรศัพท 0 7428 7846-7 โทรสาร 0 7428 7847 ภาควิ ชารั ฐ ประศาสนศาสตร จั ดการเรี ย นการสอนในระดั บปริ ญญาตรี และ ปริญญาโท ดังนี้

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 117

145x210mm_����������� �� 2560.indd 125

6/6/16 10:30 AM


ไดแก

1. ระดับปริญญาตรี หลักสู ตรรั ฐประศาสนศาสตรบั ณฑิต (รป.บ.) ให เลือกศึกษา 4 วิชาเอก

1) วิ ชาเอกการจั ดการทรั พยากรมนุ ษย ศึ กษาเกี่ ยวกั บการวางแผน ทรัพยากรมนุษย การสรรหาและการคัดเลือก การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การประเมิน ผลการปฏิบัติงาน การจัดการทุนมนุษย การบริหารคาตอบแทน การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย 2) วิ ชาเอกนโยบายสาธารณะและการวางแผน ศึ กษาเกี่ ยวกั บการ วิเคราะหและนโยบายการวางแผนกลยุทธ การจัดทําและวิเคราะหโครงการ การบริหาร โครงการ การประเมินผลโครงการ หัวขอพิเศษทางนโยบายสาธารณะและการวางแผน 3) วิชาเอกการจั ดการและการปกครองทองถิ่ น ศึกษาเกี่ ยวกั บการเมือง การปกครองทองถิ่ นไทย การวางแผนและการจัดการระดับทองถิ่ น อัตลักษณและ กลยุ ทธ การจั ด การชุ มชน การปกครองท องถิ่ นเปรี ยบเที ยบ การคลั งท อ งถิ่ น หั วข อ พิเศษทางการจัดการและการปกครองทองถิน่ 4) วิ ชาเอกองคการและการจั ดการ ศึกษาเกี่ ยวกั บการจั ดการความรู การประเมินผลองคการ การพัฒนาองคการและการเปลี่ยนแปลง การบัญชีเพื่อการ จัดการ การจัดการเชิงกลยุทธสําหรับภาครัฐ หัวขอพิเศษทางองคการและการจัดการ 2. ระดับปริญญาโท หลักสู ตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) ศึกษาเกี่ ยวกับทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร องคการและการจัดการ การบริหารทรัพยากรมนุษย นโยบาย สาธารณะและการวางแผน วิธีวิทยาการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร การบริหารงาน คลังและงบประมาณ โดยเปดสอนหลักสูตร 2.1 หลักสูตรภาคปกติ 2.2 หลักสูตรภาคสมทบ

118

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 126

6/6/16 10:30 AM


3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ปร.ด. (การจัดการ) หลั กสู ตรปรั ชญาดุ ษฎี บัณฑิ ต สาขาวิชาการจั ดการ เป นหลั กสู ตรกลางใน ระดับปริญญาเอกของคณะวิทยาการจัดการ หลักสูตรมุงสรางองคความรู และผลิต ดุ ษฎี บัณฑิ ตสาขาวิ ชาการจั ดการที่ มี ความรู ค วามเข าใจอย างลึ กซึ้ งเกี่ ยวกั บการวิ จั ยที่ เชือ่ มโยงกับแนวคิดทฤษฎีการจัดการเชิงบูรณาการ เครื่องมือการจัดการและการประยุกต ใชองคความรูอยางเหมาะสมกับสภาพบริบทและสถานการณเพื่ อนําพาองค กรให บรรลุ เปาหมายภายใตวิสัยทัศน กระบวนการควบคุม ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลขององคการไดดวยแนวทางการบริหารแบบธรรมาภิบาล

จุดเดนและตลาดแรงงาน

บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากคณะวิทยาการจัดการ เปนบุคลากรที่มีความรูความ สามารถในการตัดสิ นใจและแกปญหาตางๆ มีทักษะในการบริหารธุรกิจและการจัดการ สําหรับภาครัฐหรือเอกชน มีความสามารถในการประกอบกิจการไดดวยตนเอง และเปน บุ คลากรที่ มี คุ ณภาพเพียบพร อมด วยคุ ณธรรม จริ ยธรรม ส วนโอกาสของบัณฑิ ตใน ตลาดแรงงานนั้น ในแตละสาขาวิชาเอก บัณฑิตจะมีทางเลือกที่หลากหลายดังนี้ ภาควิชาบริหารธุรกิจ 1. บธ.บ.(การเงิน) สามารถประกอบอาชีพในตําแหนงเจาหนาที่วิ เคราะหการ เงิน สินเชื่อ พนักงานธนาคาร ผูจัดการธนาคาร เปนตน 2. บธ.บ.(การตลาด) สามารถประกอบอาชีพในตําแหนงนักการตลาด เจาหนาที่ สงเสริมการขาย นักโฆษณาและประชาสัมพันธ และผูจัดการฝายการตลาด 3. บธ.บ.(การบริ หารทรั พยากรมนุษย ) สามารถประกอบอาชี พในตําแหน ง เจาหนาที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย เจาหนาที่ ฝายแรงงานสั มพันธ เจาหนาที่บริหาร ทรัพยากรมนุษย ผูจัดการฝายบริหารทรัพยากรมนุษย เปนตน 4. บธ.บ.(ระบบสารสนเทศ) สามารถประกอบอาชีพในตําแหนงเจาหนาที่ ฝาย คอมพิวเตอร นักวิเคราะหขอมูล นักพัฒนาและออกแบบระบบงาน โปรแกรมเมอร เปนตน 5. บธ.บ. (การจัดการโลจิสติกส) สามารถประกอบอาชีพในหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ไดแก กระทรวงพาณิชย เชน กรมการคาตางประเทศ กรมการคา ภายใน กรมพัฒนาธุรกิจการคา กรมสงเสริมการสงออก บริษัทรับจัดการขนสงสินคา บริษัทสายเดินเรือ บริษัทไปรษณียไทย สายการบิน เปนตน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 119

145x210mm_����������� �� 2560.indd 127

6/6/16 10:30 AM


6. บธ.บ. (การจัดการประชุม นิทรรศการ และการทองเที่ยวเพื่อเปนรางวัล) สามารถประกอบอาชีพผูจัดงานแสดงสินคาและนิทรรศการ (PEO) ผู ออกแบบและจัด ประชุมนานาชาติ (PCO) ผูจัดการและปฏิบัติงานในศูนยการประชุมและงานแสดงสินคา (Venue and convention center) ผูประกอบการดานการจัดงานอีเวนท (Event and organizer) มัคคุเทศก และอาชีพอิสระ เปนตน 7. บธ.บ.(การจั ดการ) ภาษาอั งกฤษ; B.B.A.(Management) สามารถ ประกอบอาชี พในตําแหน งเจ าหน าที่ บริ หารธุ รกิ จระหว างประเทศ ผู ประสานงานของ หนวยงาน (Liaison Officer/Staff) การเปนผูประกอบการ ผูจัดการทั่วไป เปนตน ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร 1. รป.บ. (การจั ดการทรั พยากรมนุ ษย ) สามารถประกอบอาชี พในตําแหน ง ขาราชการพลเรือนในหนวยงานฝายบริหารทรัพยากรมนุษย เจาหนาที่ฝกอบรม เจาหนาที่ แรงงานสัมพันธ พนักงานในสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น อบต. เทศบาล อบจ. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ และหนวยงานเอกชน 2. รป.บ. (นโยบายสาธารณะและการวางแผน) สามารถประกอบอาชี พใน ตําแหนงขาราชการพลเรือนที่รับผิดชอบงานนโยบายและแผน พนักงานในสังกัดองคกร ปกครองสวนทองถิ่น อบต. เทศบาล อบจ. หนวยงานรัฐวิสาหกิจและหนวยงานเอกชน 3. รป.บ. (การจั ดการและปกครองส วนท องถิ่ น) สามารถประกอบอาชีพใน ตํ า แหน ง ข าราชการที่ รั บ ผิ ด ชอบงานด านปกครอง ปลั ด อํ า เภอ พนั ก งานใน สังกัดองคการปกครองสวนทองถิ่น อบต. เทศบาล อบจ. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ และ หนวยงานเอกชน เปนตน 4. รป.บ. (องค การและการจั ด การ) สามารถประกอบอาชี พในตําแหน ง ข าราชการพลเรื อนที่ รั บผิ ดชอบในหน วยงานภาครั ฐงานด านปกครอง ปลั ด อําเภอ เจาหนาที่ บริหารงานทั่ วไป พนักงานในสั งกัด องคกรปกครองสวนทองถิ่ น อบต. เทศบาล อบจ. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ และและหนวยงานเอกชน เปนตน ภาควิชาการบัญชี 1. บช.บ. (การบั ญ ชี ) สามารถประกอบอาชี พในตํา แหน ง พนั กงานบั ญชี นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการพัสดุ เจาหนาที่สรรพากร เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน เจาหนาที่ตรวจสอบภาษี ผูสอบบัญชีภาษีอาการ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต และอาชีพอิสระ เปนตน

120 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 128

6/6/16 10:31 AM


2. บช.ม. (การบัญชี) สามารถประกอบอาชีพในตําแหนงผูทําบัญชี ผูสอบบัญชี นักบัญชีบริหาร นักวางระบบบัญชี นักบัญชีภาษีอากร อาจารย/นักวิชาการทางดาน การบัญชี และบริการเกี่ยวกับการบัญชีดานอื่นตามที่กําหนดโดยกฎกระทรวง เปนตน

คาใชจา ยในการศึกษา

(เฉพาะคาธรรมเนียมการศึกษาและลงทะเบียน ไมรวมคาครองชีพ) ระดับปริญญาตรี หลักสูตรปกติ ประมาณ 32,000 บาท/ป หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) แผนการศึกษา ปกติ - สําหรับนักศึกษาไทย 106,000 บาท/ป - สําหรับนักศึกษาตางชาติ 128,000 บาท/ป หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) แผนการศึกษา หลักสูตรปริญญาสองสถาบัน (Dual degree) - ปการศึกษาที่ 1-2 สําหรับนักศึกษาไทย 106,000 บาท/ป สําหรับนักศึกษาตางชาติ 128,000 บาท/ป - ปการศึกษาที่ 3-4 38,000 ริงกิตมาเลเซีย/ป (ทุนการศึกษา 25% ของคาธรรมเนียมการศึกษา เงื่อนไขการรับทุน ติดตอ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ)) ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (ภาคค่ําและภาคสมทบ) 44,000 บาท/ป หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นานาชาติ) - สําหรับนักศึกษาไทย 120,000 บาท/ป - สําหรับนักศึกษาตางชาติ 144,000 บาท/ป หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติ) 32,000 บาท/ป หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคสมทบ) 44,000 บาท/ป หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (ภาคปกติ) 32,000 บาท/ป หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต (ภาคสมทบ) 88,000 บาท/ป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 121

145x210mm_����������� �� 2560.indd 129

6/6/16 10:31 AM


ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ - สําหรับนักศึกษาไทย 154,000 บาท/ป - สําหรับนักศึกษาตางชาติ 194,000 บาท/ป

ทุนการศึกษา

- ทุนขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ไดรับการคัดเลือกสูงสุดไมเกิน 31,000 บาท/คน/ป ยกเวนนักศึกษาหลักสูตรบริหาร ธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) - เงินยืมฉุกเฉินเพื่อการศึกษา กรณีนักศึกษาระดับปริญญาตรีมีความจําเปน เรงดวน สามารถติดตอขอยืมเงินไดที่ฝายกิจการนักศึกษาไดครั้งละ 2,000 บาท - เงินกูเพื่อการศึกษาของรัฐบาล นักศึกษาระดับปริญญาตรีสามารถกูยืม เงินกู เพื่อการศึกษาของรัฐบาล (กยศ.) ไดตั้งแตชั้นปที่ 1 ตอเนื่องจนสําเร็จการศึกษา โดยจะไดรบั คาลงทะเบียนและคาใชจา ยรายเดือนตามเงือ่ นไขทีร่ ฐั บาลกําหนด

122 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 130

6/6/16 10:31 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะวิทยาศาสตร

Faculty of Science

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 8022 โทรสาร 0 7444 6657 E-mail: sci-pr@group.psu.ac.th Homepage: http://www.sc.psu.ac.th Facebook: PSUSci Twitter: PSUSci คณะวิทยาศาสตร เปนคณะที่จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรระดับอุดมศึกษา และมีชื่อเสียงที่สุดแหงหนึ่งในภาคใต ทั้งในดานการเรียนการสอน งานวิจัย และบริการ วิ ชาการ จั ดตั้ งขึ้ น อย างเป นทางการในป พ.ศ. 2510 ซึ่ งเป น ป เดี ยวกั บการก อตั้ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปจจุบัน คณะวิ ทยาศาสตรเปดดําเนินการสอนในระดับปริญญาตรี ปริ ญญาโท และปริญญาเอก ทั้งหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ โดยจัดการเรียนการสอน ออกเป น หลักสูตรปริญญาตรี 12 สาขาวิชา ปริ ญญาโท 19 สาขาวิชา (หลั กสูตร นานาชาติ 1 หลักสูตร) และปริญญาเอก 11 สาขาวิชา ทั้งนี้ตลอดระยะเวลาแหงการ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 123

145x210mm_����������� �� 2560.indd 131

6/6/16 10:31 AM


กอนตั้ง คณะฯ ไดพัฒนาความเขมแข็งทางวิชาการ การเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี อย างไมหยุ ดยั้ ง ตามพั นธกิ จของคณะวิ ทยาศาสตรที่ ว า สร างบั ณฑิ ต วิทยาศาสตรที่มีความรูคู คุณธรรม ถายทอดองคความรูและใหบริการวิชาการที่ ถูกตอง ทันสมัยสูสังคม ผลิตงานวิจัยเปนที่ยอมรับระดับสากล

หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร

คณะวิทยาศาสตรเปดสอนหลักสูตรทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) โดยนักศึกษาสามารถเลือก ศึกษาได 12 สาขา แบงเปน 2 ประเภทวิชา คือ ประเภทวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ และ ประเภทวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ดังนี้ 1.1 ประเภทวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพ ประกอบดวย 4 สาขาวิชาเอก ดังนี้ 1) สาขาวิชาจุลชีววิทยา 2) สาขาวิชาชีววิทยา 3) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 4) สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 1.2 ประเภทวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ ประกอบดวย 9 สาขาวิชาเอก ดังนี้ 1) สาขาวิชาคณิตศาสตร 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาฟสิกส 4) สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร 5) สาขาวิชาวิทยาศาสตรพอลิเมอร 6) สาขาวิชาสถิติ 7) สาขาวิชาวัสดุศาสตร 8) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 9) สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 2. ระดับปริญญาโท เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) จํานวน 19 สาขาวิชา ดังนี้ 1) สาขาวิชากายวิภาคศาสตร (Anatomy) 2) สาขาวิชาคณิตศาสตร (Mathematics)

124 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 132

6/6/16 10:31 AM


3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19)

สาขาวิชาคณิตศาสตรและสถิติ (Mathematics and Statistics) สาขาวิชาเคมี (Chemistry) สาขาวิชาเคมีอินทรีย (Organic Chemistry) สาขาวิชาชีวเคมี (Biochemistry) สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ (Molecular Biology and Bioinformatics) สาขาวิชาจุลชีววิทยา (Microbiology) สาขาวิชาฟสิกส (Physics) สาขาวิชาธรณีฟสิกส (Geophysics) สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร (Forensic Science) สาขาวิชาเภสัชวิทยา (Pharmacology) สาขาวิชานิเวศวิทยา – หลักสูตรนานาชาติ (Ecology – International program) สาขาวิชาพฤกษศาสตร (Botany) สาขาวิชาสัตววิทยา (Zoology) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพอลิเมอร (Polymer Science and Technology) สาขาวิชาสรีรวิทยา (Physiology) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร (Computer Science) สาขาวิชาวัสดุศาสตร (Materials Science)

3. ระดับปริญญาเอก เปดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) จํานวน 11 สาขาวิชา ดังนี้ 1) สาขาวิชาเคมี (Chemistry) 2) สาขาวิชาเคมีอินทรีย (Organic Chemistry) 3) สาขาวิชาจุลชีววิทยา (Microbiology) 4) สาขาวิชาชีวเคมี(Biochemistry) 5) สาขาวิชาชีววิทยา (Biology) 6) สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ (Molecular Biology and Bioinformatics) 7) สาขาวิชาฟสิกส (Physics) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 125

145x210mm_����������� �� 2560.indd 133

6/6/16 10:31 AM


8) สาขาวิชาธรณีฟสิกส (Geophysics) 9) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพอลิเมอร (Polymer Science and Technology) 10) สาขาวิชาสรีรวิทยา (Physiology) 11) สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร – หลักสูตรนานาชาติ (Computer Science-International Program)

ภาควิชา/สาขาวิชา ในคณะวิทยาศาสตร ภาควิชากายวิภาคศาสตร

(Department of Anatomy) โทรศัพท 0 7428 8132 โทรสาร 0 7444 6663 E-mail: Sci-head-anatomy@group.psu.ac.th Website: http://www.sc.psu.ac.th/Department/ANATOMY/web_new/ ภาควิ ชากายวิ ภาคศาสตร เริ่ มก อตั้ งเป นหน วยวิ ชาหนึ่ ง ใน 5 หน วยวิ ชาของ หนวยงานพรีคลินิก เมื่อป พ.ศ. 2516 เพื่อรวมจัดการเรียนการสอนวิชาพรีคลินิกใหแก หลักสูตรวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ ซึ่ งในขณะนั้นมีเพียงนักศึกษาคณะแพทยศาสตรและ พยาบาลศาสตร ทําหนาที่สอนวิชากายวิภาคศาสตร ปจจุบันภาควิชาฯ บริการจัดการเรียน การสอนใหกับนักศึกษาแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร ทันตแพทยศาสตร เภสัชศาสตร และสอนวิชาโครงงานทางวิทยาศาสตรใหนักศึกษาภาควิชาวิทยาศาสตรทั่ วไป ในปการ ศึ กษา 2541 ได รวมรั บนั กศึกษาหลั กสู ตรวิ ทยาศาสตรมหาบั ณฑิ ตชี วภาพ (กายวิภาค ศาสตร) ปการศึกษา 2547 มีการเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขากายวิภาค ศาสตรขึ้นเองในภาควิชาฯ ซึ่งปจจุบันมีนักศึกษาปริญญาโท จํานวน 10 คน และในปการ ศึกษา 2548 ไดเปดสอนวิชาเลือกเสรี จํานวน 2 รายวิชา ภาควิชาฯ มีงานวิจัยในสาขา วิทยาศาสตรสุขภาพและวิทยาศาสตรชีวภาพ งานผลิตหุนจําลอง เพื่อใชในการเรียนการ สอน สวนงานบริการวิชาการ ไดแก ตัดยอมชิ้นเนื้อ เพื่อการศึกษาและงานวิจัยแก ภาควิชาที่เกี่ยวของ และหุน จําลองก็สามารถใหบริการหนวยงานภายนอกไดดว ย

126 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 134

6/6/16 10:31 AM


ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ

(Department of Mathematics) โทรศัพท 0-7428-8630 Website www.math.psu.ac.th

โทรสาร 0-7455-8842

ภาควิชาคณิตศาสตร จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา วิ ชาคณิตศาสตร และสาขาวิ ชาสถิ ติ หลั กสู ตรวิ ทยาศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิ ชา คณิตศาสตรและสถิติ และสอนรายวิชาทางคณิตศาสตรและสถิติใหหลักสูตรอื่นๆ ใน มหาวิทยาลัย โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับคณิตศาสตรบริสุทธิ์ คณิตศาสตรประยุกต และ สถิติประยุกต เพื่อผลิตนักคณิตศาสตรและนักสถิติ ซึ่งเปนบุคลากรในสาขาขาดแคลน ซึ่งเปนที่ตองการของตลาดในปจจุบันและอนาคต บัณฑิตสามารถทํางานในอาชีพตางๆ หรือศึกษาตอในหลักสูตรที่สนใจไดอยางหลากหลายดวยความมั่นใจ เพราะไดรับการติด อาวุธทางปญญาคือ การคิดวิเคราะหดวยเหตุและผลอยางเปนระบบตามธรรมชาติของ สาขาคณิตศาสตรและสถิติทไี่ ดบมเพาะมาแลว

ภาควิชาเคมี

(Department of Chemistry) โทรศัพท 0 7428 8401-2 โทรสาร 0 7455 8841 E-mail: Sci-head-chem@group.psu.ac.th Website: http://www.chem-sci-psu.com/ ภาควิชาเคมีจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 หลักสูตร คือ สาขาเคมี เคมีอินทรีย (ซึ่งเปน หลักสูตรรวม เคมีเชิงฟสิกส เคมีวิเคราะหและเคมีอนินทรีย) และหลักสูตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต 2 หลักสูตร คือ สาขาวิชาเคมีและเคมีอินทรีย นอกจากนั้นยังใหบริการสอนวิชา เคมีพื้นฐานแกนักศึกษาหลักสูตรตางๆ ในมหาวิทยาลัย โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับเคมี เชิงฟสิกส เคมีวิเคราะห เคมีอินทรีย และเคมีอนินทรีย ในปจจุบันตลาดแรงงานเป ดกวางมาก บั ณฑิตเคมีสามารถทํางานในหน วยงาน ราชการและรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้บัณฑิตเคมีเปนที่ตองการของโรงงานอุตสาหกรรม ตางๆ เชน โรงงานปโตรเคมี สิ่งทอ พลาสติก พอลิเมอร ยาง ยารักษาโรค ปูนซิเมนต เครือ่ งดื่ม และอาหารกระปอง ฯลฯ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 127

145x210mm_����������� �� 2560.indd 135

6/6/16 10:31 AM


ภาควิชาจุลชีววิทยา

(Department of Microbiology) โทรศัพท 0 7428 8311 โทรสาร 0 7444 6661 E-mail Sci-head-micro@group.psu.ac.th Website: http://www.micro.sci.psu.ac.th/ ภาควิ ชาจุ ลชี ววิ ทยา ดําเนิ นการสอนวิ ชาเกี่ ยวกั บจุ ลินทรี ย ชนิ ดต างๆ เช น แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา สาหราย และโปรโตซัว และบทบาทของจุลินทรียเหลานี้ในดาน ตางๆ เชน จุลชีววิทยาทางอาหาร อุตสาหกรรม สิ่งแวดลอม เกษตรศาสตร ทรัพยากร ธรรมชาติ การแพทยและสาธารณสุข รวมถึงภูมิคุมกันวิทยาและปรสิตวิทยา เพื่อ ประยุ ก ต ใช ในสาขาวิ ช าชี พ ต า งๆ ดั ง นั้ น ภาควิ ชาจึ งให บริ การการสอนแก นั กศึ ก ษา สาขาวิ ทยาศาสตร ชี วภาพและวิ ท ยาศาสตร สุขภาพ นอกจากนี้ ภาควิ ชายั งรั บผิ ดชอบ การผลิตวิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชา จุลชีววิทยา

ภาควิชาชีวเคมี

(Department of Biochemistry) โทรศัพท 074 288242 โทรสาร 074 446656 E-mail: Sci-head-biochem@group.psu.ac.th Website: http://www.sc.psu.ac.th/Department/BIOCHEM/THAI/index.htm ภาควิชาชีวเคมี มีภารกิจหลักในการจัดการเรียนการสอนดานอณูชีวเคมี (molecular biochemistry) และชีวเคมีประยุกต (applied biochemistry) เพื่อผลิตบัณฑิต ระดับวิทยาศาสตรมหาบัณฑิ ตและปรั ชญาดุ ษฏี บัณฑิ ต สาขาวิ ชาชี วเคมี ซึ่ งเปน 2 หลั กสูตรแรกที่ ได รับการสนั บสนุ นให เป นสาขาความเป นเลิ ศของมหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทร โดยเนนการศึกษาเพื่ อผลิตผลงานวิจัยที่เปนประโยชนระดับประเทศและ นานาชาติ ทางดานพืช สัตวน้ํา โภชนาการ และการแพทย เปดรับผูที่สําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท หรื อผู ที่ กําลังศึกษาอยูในภาคการศึกษาสุ ดทายระดับ ปริ ญญาตรี ทั้ งในสาขาวิ ทยาศาสตรและสาขาที่ เกี่ ยวข อง อาทิ วิ ทยาศาสตร สุขภาพ เทคนิคการแพทย เภสัชศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร และทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชา ชีวเคมีไมมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี แตจัดการเรียนการสอนดานชีวเคมีพื้ นฐานใหแก

128 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 136

6/6/16 10:31 AM


หลักสูตรระดับปริญญาตรีตางๆ ในมหาวิทยาลัย อาทิ วิทยาศาสตร แพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร เภสัชศาสตร พยาบาลศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร และทรัพยากร ธรรมชาติ ป จจุบัน ภาควิ ชามี ผลงานการวิจั ยที่ เกิ ดจากบั ณฑิ ตของภาควิชาเผยแพร ในวงการวิ ชาการทั้ งระดั บประเทศและนานาชาติ เป นจํานวนมาก รวมทั้ งมี ผลงานที่ สามารถนําสู การใช ประโยชน อย างเป นรู ปธรรม และจดอนุ สิทธิ บัตรได แล วอี กหลาย ผลงาน บัณฑิ ตของภาควิชาที่ สําเร็จการศึ กษาแลวได เขาสู และเปนที่ ยอมรับของตลาด แรงงานหลากหลายอาชีพ อาทิ 1. อาจารยสอนในโรงเรียนระดับมัธยม และมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐและเอกชน 2. นักวิเคราะห ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการทางชีวเคมี ในโรงพยาบาล สถาบัน วิจัย หนวยควบคุมคุณภาพ (Quality Control) ทั้งภาครัฐและเอกชน 3. นักวิจัย/นักวิทยาศาสตรในสถาบันการวิจัยตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน 4. Product specialist ในบริษัทและโรงงานที่จําหนายหรือผลิตน้ํายาเคมีเพื่อ การวิเคราะหตา งๆ

ภาควิชาชีววิทยา

(Department of Biology) โทรศัพท 0 7428 8481-2 โทรสาร 0 7455 8840 E-mail: sci-biology@group.psu.ac.th Website: http://www.biology.sci.psu.ac.th ภาควิ ชาชีววิ ทยารั บผิ ดชอบการผลิ ตวิ ทยาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาชี ววิทยา และ ผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพรวมกับภาควิชาจุลชีววิทยาและชีวเคมี มีหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบั ณฑิต สาขานิ เวศวิทยา (นานาชาติ ) พฤกษศาสตร สั ตววิทยาและ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาชีววิทยา ตลอดจนเปดสอนรายวิชาทางดานชีววิทยา ใหแกนักศึกษาทุกหลักสูตร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับสัตววิทยา พฤกษศาสตร และนิเวศ วิทยา นักศึ กษาที่ จบการศึกษาจากภาควิชาชีววิทยาจะมีความรู ความเขาใจพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิตในแงมุมตางๆ เปนอยางดี ที่สําคัญคือการมีโอกาสไดศึกษาและฝกฝนการ ทํางานวิ จั ยในระบบนิ เวศจริ งซึ่ งมี ความหลากหลายสู งมากในภาคใต ยิ่ งไปกว านั้ น ป จจุ บั น ภาควิ ชาชี ว วิ ทยายั งมี ห น วยวิ จั ย ในภาควิ ชาที่ หลากหลายมาก เป ด โอกาสให นั กศึ กษาได เข ามาฝ ก ฝนเรี ยนรู การทํางานวิ จั ยกั บอาจารย ตั้ งแต ชั้ นป แรก และการที่ นักศึกษามีประสบการณระหวางศึกษาหลายดานนี้เอง ทําใหบัณฑิตชีววิทยาเปนที่ยอมรับ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 129

145x210mm_����������� �� 2560.indd 137

6/6/16 10:31 AM


และเปนที่ ต องการของหน วยงานทั้ งราชการและเอกชน เช น มหาวิทยาลั ย โรงเรียน อุทยานแหงชาติฯ กรมฯ กองฯ ตางๆ ที่เกี่ยวของ หรือแมแตภาคอุตสาหกรรม เชน โรงงานอาหาร เครือ่ งดื่ม เปนตน

ภาควิชาฟสิกส

(Department of Physics) โทรศัพท 0 7428 8722-4 โทรสาร 0 7455 8849 Website: Sci-head-physics@group.psu.ac.th Website: http://www.physics.sci.psu.ac.th/ ภาควิ ชาฟ สิกส จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบั ณฑิต สาขาวิชา ฟสิกส และผลิตวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ชาฟ สิกส และสาขาวิ ชาธรณีฟสิกส และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาฟสิกส และสอนวิชาหลั กทางฟสิกสใหกั บหลักสูตร ตางๆ โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับธรณีฟสิกส ฟสิกสนิวเคลียรและรังสีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอร ฟสิกสวัสดุ พลาสมาและพลังงาน ชีวฟสิกสและฟสิกสทฤษฎี ฟสิกสจัด เปนศาสตรพื้นฐานที่สําคัญ อธิบายปรากฎการณธรรมชาติ ตั้งแตระดับจุลภาคไปจนถึง จักรวาล

ภาควิชาเภสัชวิทยา

(Department of Pharmacology) โทรศัพท 0 7428 8171-2 โทรสาร 0 7444 6678 E-mail: Sci-head-pharma@group.psu.ac.th Website: http://www.psupharmacology.com ภาควิชาเภสัชวิทยา ใหบริการการสอนวิชาเภสัชวิทยาและ/หรือวิชาพิษวิทยาแก นักศึ กษาในหลั กสู ตรต างๆ ของมหาวิ ทยาลัย ได แก หลั กสูตรแพทยศาสตรบั ณฑิต หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต หลักสูตรเภสัชศาสตร สาขาวิ ชาการบริ บาลทางเภสั ชกรรม หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาการแพทย โดยเน นการศึ กษาเกี่ ยวกั บกลไกการออกฤทธิ์ ผลทางเภสัชวิทยาตอระบบตางๆ ของรางกาย ผลขางเคียง และเภสัชจลนศาสตรของยา ภาควิชาเภสัชวิทยามีเฉพาะหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา ซึ่งเปด

130 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 138

6/6/16 10:31 AM


รับผูสําเร็จการศึกษา หรือกําลังศึกษาอยูในภาคการศึกษาสุดทายระดับปริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ หรือวิทยาศาสตรกายภาพ

ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต

(Department of Applied Science) โทรศัพท 0 7428 8561 โทรสาร 0 7444 6681 E-mail: Sci-head-applisci@group.psu.ac.th Website: http://www.appsci.sci.psu.ac.th/ ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต จัดการเรียนการสอน 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา และหลั กสู ตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ชานิ ติ วิทยาศาสตร โดยหลั กสูตรสาขาวิ ชาเคมี-ชี ววิทยา มุ งเนนใหบัณฑิตมี ความรูความสามารถใน 2 ดาน คือ เคมี และชีววิทยา ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชใน การทํางานและการศึกษาตอไดอยางกวางขวางในปจจุบัน สวนหลักสูตรนิติวิทยาศาสตร มุง เนนในการผลิตบุคลากรที่มคี วามรูความสามารถในการนํากระบวนการทางวิทยาศาสตร มาใชในการพัฒนางานนิติวิทยาศาสตร นอกจากนี้แลว ภาควิชาฯ ยังรับผิดชอบบริการ การเรียนการสอนในรายวิชาทางดานวิทยาศาสตรประยุกตใหกับนักศึกษาทุกคณะฯ ใน มหาวิทยาลัยดวย เชน การพิสูจนหลักฐานทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีทางการพิมพ วิทยาศาสตรการถายภาพ เปนตน ซึ่งทําใหนักศึกษาไดรับความรูเกี่ยวกับการประยุกต กระบวนการทางวิทยาศาสตรไปใชในงานดานตางๆ ไดเปนอยางดี

ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวัสดุ

(Department of Materials Science and Technology) โทรศัพท 0 7428 8395, 0 7428 8561 โทรสาร 0 7444 6681 E-mail: Sci-head-material@group.psu.ac.th Website: http://www.mst.psu.ac.th/ ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวัสดุ จัดการเรียนการสอนเชิงวิทยาศาสตร ทางดานวัสดุ โดยมีการเรียนการสอนใน 3 ระดับ คือ ระดับปริญญาเอก หลักสูตร ปรั ชญาดุ ษฎี บัณ ฑิ ต สาขาวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี พอลิ เ มอร ระดั บปริ ญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพอลิเมอร และระดับ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 131

145x210mm_����������� �� 2560.indd 139

6/6/16 10:31 AM


ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต ซึ่ งมีการเรียนการสอน 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตร วิทยาศาสตรพอลิเมอร (สอนเนนเฉพาะวัสดุกลุมยางและพลาสติก) และหลักสูตรวัสดุ ศาสตร (สอนโดยภาพรวมของวัสดุทุกประเภท) การเรียนการสอนในหลักสูตรตางๆ ของภาควิชาฯ เนนการศึกษาในหลากหลาย ลั กษณะตั้ งแต การทําให เกิดวัสดุ สังเคราะหหรือการดั ดแปลงวัสดุธรรมชาติเพื่ อการใช ประโยชนที่จําเพาะหรือมีสมบัติพิเศษ การศึกษาสมบัติตางๆ ของวัสดุเพื่อใหประยุกตใช ในงานดานตางๆ ไดแก พลาสติกและยางผสมสารเคมี สีและสารเคลือบผิว กาว เสนใย และสิ่ งทอ โลหะ และเซรามิกส นอกจากนี้ ทางภาควิชาฯ ยั งมี การเรียนการสอนใน เทคโนโลยีขั้นสูงของวัสดุ เชน พอลิเมอรนาโนเทคโนโลยี พอลิเมอรนําไฟฟา พอลิเมอร ชีวภาพ เมมเบรน และวัสดุอิเล็กทรอนิกส เปนตน ภาควิชาฯ ยังมีศูนยถายทอด เทคโนโลยียางพาราซึ่ งมี อุปกรณระดับโรงงานสามารถเป นแหลงฝกฝนภาคปฎิบัติ ของ นักศึกษาตลอดจนผูส นใจทัว่ ไปในอุตสาหกรรมยางพาราอีกดวย

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

(Department of Computer Science) โทรศัพท 0 7428 8578-9 โทรสาร 0 7444 6917 E-mail: Sci-head-comsci@group.psu.ac.th Website: http://www.cs.psu.ac.th ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ชาวิทยาการคอมพิ วเตอร และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร โดยเนนใหความรูและทักษะในเชิงลึกเกี่ยวกับ การโปรแกรม วิธีการแกปญหาทางวิทยาการคอมพิวเตอรอยางมีประสิทธิภาพ ออกแบบ และจัดการฐานขอมูล วางแผนและจัดการโครงสรางระบบคอมพิวเตอรและเครือขาย วิศวกรรมซอฟตแวร สามารถพัฒนาซอฟตแวรประยุกต ซอฟตแวรระบบ ประยุกตใช เทคโนโลยีทางอินเตอรเน็ตไดอยางเหมาะสม จัดการระบบสารสนเทศ รวมถึงศาสตรที่ เกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอรชั้นสูง เชน คลังขอมูลและเหมืองขอมูล การทดสอบ ซอฟตแวร ปญญาประดิษฐ การประมวลผลภาพ ความปลอดภัยเครือขายคอมพิวเตอร เป นตน นอกจากนี้ ภาควิ ชาวิ ทยาการคอมพิ วเตอร ยั งรั บผิ ดชอบการสอนวิ ชาบริ การ พืน้ ฐานดานคอมพิวเตอรใหแกคณะตางๆ ในวิทยาเขตหาดใหญอกี ดวย

132 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 140

6/6/16 10:31 AM


จุดเดนของหลักสูตรคือ นักศึกษาสามารถทํางานเปนนักพัฒนาซอฟตแวร ผูดูแล ระบบในหนวยงานของรัฐและเอกชน เจาของกิจการสวนตัว นักวิจัย และเปนที่ตองการ ของตลาดแรงงานในปจจุบนั

ภาควิชาสรีรวิทยา

(Department of Physiology) โทรศัพท 0 7428 8201 โทรสาร 0 7444 6680 E-mail: Sci-head-physio@group.psu.ac.th Website: http://www.sc.psu.ac.th/Department/PHYSIO/index.html ภาควิชาสรีรวิทยา จัดการเรียนการสอนดานสรีรวิทยาแกนักศึกษาหลักสูตรตางๆ ของมหาวิทยาลัย และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา วิชาสรีรวิทยา จุดเดนของหลักสูตรคือ เปนหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาขั้ นสูงที่ เปดสอนแห งเดียวในภาคใต โดยเนนการศึกษาเกี่ ยวกั บการทํางานของอวั ยวะและ เนื้อเยื่อตางๆ ในรางกายมนุษยและสัตวที่มีกระดูกสันหลัง ในภาวะปกติและพยาธิสภาพ หรือภาวะทีเ่ กิดการเปลี่ยนแปลงสิง่ แวดลอม

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ

(Department of Molecular Biotechnology and Bioinformatics) โทรศัพท 0 7428 8117, 0 7428 381 โทรสาร 0 7428 8117 E-mail: Sci-head-genome@group.psu.ac.th Website: http://www.mbb.psu.ac.th/ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ ( MBB ) ตั้งอยูที่ชั้น 2 และ 10 อาคารเรียนและปฏิบัติการพื้นฐานวิทยาศาสตรพื้นฐาน (B.Sc) และยังไดรวมสถานวิจัย จีโนมและชีวสารสนเทศ ที่กอตั้งขึ้นในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เนื่องจากความรูทาง ดานชีววิทยามีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว อีกทั้งเทคโนโลยีทางดานชีวสารสนเทศเขามา มีบทบาทเปนอย างมากในงานวิจัยทางดานชีววิทยาโมเลกุล ทําใหมีความจําเปนในการ พั ฒนาทั้ งความรู พื้ นฐานและกําลั งคนที่ มี ความสามารถด านการคํานวณและโปรแกรม คอมพิวเตอร ควบคูไปกับความสามารถดานชีววิทยาโมเลกุลเพื่อชวยในการสรางงานวิจัย ใหมขนึ้ มา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 133

145x210mm_����������� �� 2560.indd 141

6/6/16 10:32 AM


ในสาขาวิชานี้มสี ถานวิจยั จีโนมและชีวสารสนเทศมีหนาทีใ่ นการถอดรหัสพันธุกรรม ของพืชและสัตวที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคมในภาคใต จัดทําฐานขอมูลรหัส พันธุกรรมเพื่อการเผยแพรและการนําไปใชประโยชน สรางองคความรูและติดตามความ กาวหนาดานชีวสารสนเทศ ผลิตวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขา วิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ บัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลและชีวสารสนเทศ สามารถทํางานได หลากหลายวิชาชีพ ตลาดแรงงานสําหรับสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลฯ ถือไดวา เปดกวางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพโมเลกุลฯ สามารถ ทํางานในสวนของหองปฏิบัติการของสถาบันวิจัยตางๆ ทั้งสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยของเอกชน รวมถึงทางดานอุตสาหกรรม ซึ่งเปนที่ตองการของโรงงาน อุตสาหกรรมตางๆ ไมวาจะเปนอาหารแปรรูป ยารักษาโรค ยางพารา เครื่องดื่ม ฯลฯ

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

(Information and Communication Technology Program) โทรศัพท 0 7428-8680, 0 7428 8697 โทรสาร 0 7428 8697 E-mail: Sci-head-ict@group.psu.ac.th Website: http://ict.sci.psu.ac.th สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (ICT) ถูกจัดตั้ งขึ้ นในป พ.ศ. 2548 ปจจุบันตั้งอยูที่ชั้น 4 และ 5 ของอาคารปฏิบัติการพื้นฐานฯ คณะวิทยาศาสตร (BSc) มี เครื่ องมื อที่ ใช สํ า หรั บจั ดทํ า การเรี ยนการสอน ได แก เครื่ องคอมพิ วเตอร ระดับสูง (PC และ iMac) และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ทันสมัย เชน อุปกรณเคลื่อนที่ เปนตน นักศึกษาทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมทั้งคณาจารยไดรับรางวัลทั้งระดับชาติและนานาชาติ อยางตอเนื่อง เชน รางวัลนวัตกรรมแหงชาติ รางวัลเจาฟาไอที และยังมีผลงานตีพิมพ ที่ ไดรับการยอมรับทั้ งระดับชาติและนานาชาติ ปจจุบันหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร) จั ดการเรี ยนการสอนระดั บปริ ญญาตรี 4 ป โดยทําการเรียนการสอนในเนื้ อหาที่ มีความหลากหลายแขนง เชน เทคโนโลยีสมัยใหม เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีไรสายและเคลื่ อนที่ สถาป ตยกรรมโครงขายและ คอมพิ ว เตอร ทั ศ นศิ ลป และการออกแบบ และระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ หลักสูตรฯ รับนักศึกษาใหมเขาศึกษาปละ 70 คน ชองทางการเขาศึกษาหลักสูตรฯ ไดแก ระบบการคัดเลื อกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบกลาง ระบบการสอบตรง

134 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 142

6/6/16 10:32 AM


และระบบโควตาของคณะวิทยาศาสตร หลักสูตรฯ มีคณาจารยจํานวน 8 คน และ เจาหนาที่ฝายสนับสนุน 3 คน นอกจากนี้ทางหลักสูตรฯ ไดเชิญผูที่มีความรูความสามารถ เฉพาะทางมาเปนอาจารยพิเศษ หลักสูตรฯ จะทําการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา และหลักสูตรฯ สมัยใหมอื่นๆ ในอนาคตเพิ่มเติมดวย

ตลาดแรงงานในภาพรวม

เรียนจบวิทยาศาสตร สามารถทํางานไดทั้ งหนวยงานราชการและเอกชน โดย ประกอบอาชีพไดหลากหลาย เชน นักวิทยาศาสตร ครู-อาจารยในสถาบันการศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ นักวิเคราะหขอมูล ทัง้ ยังสามารถทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ และหน วยงานวิ เคราะห วิจั ยของรัฐบาล เชน มหาวิ ทยาลัย โรงพยาบาล กระทรวง วิ ทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงอุ ตสาหกรรม การไฟฟาฝายผลิต สํานักงานตํารวจแหงชาติ สถาบันวิจัย ห องวิจัยเอกชนและบริษัท ตางๆ ที่เกี่ ยวของกับการตรวจสอบและควบคุมคุ ณภาพ หรือสามารถประกอบอาชีพ อิสระ

คาใชจา ยตอหัวตอป

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา ขอมูลในสวนของคาธรรมเนียมพิเศษ ปจจุบันใชคาธรรมเนียมการศึกษาในระบบ เหมาจาย ซึ่งไดรวมคาธรรมเนียมพิเศษอยูดวย ตั้งแตปการศึกษา 2555 เปนตนไป โดย เรียกเก็บในอัตราดังนี้ คาใชจายตอหัวตลอดหลักสูตรระดับปริญญาตรี - หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาละ 18,000 บาท (หลักสูตร 4 ป) คาใชจายตอหัวตลอดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา - ปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท - ปริญญาโท ภาคการศึกษาละ 44,000 บาท (หลักสูตรนานาชาติ/นักศึกษาตางชาติ) - ปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 28,000 บาท - ปริญญาเอก ภาคการศึกษาละ 56,000 บาท (หลักสูตรนานาชาติ/นักศึกษาตางชาติ) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 135

145x210mm_����������� �� 2560.indd 143

6/6/16 10:32 AM


ทุนการศึกษา

คณะวิทยาศาสตรใหความสําคัญกับการชวยเหลือนักศึกษาที่ยากจน จึงมีนโยบาย สนั บสนุ นในด านทุ น การศึ กษา โดยได จั ดสรรทุ นการศึ ก ษาสํา หรั บนั กศึ กษาที่ มุ ง เน น วัตถุประสงคของทุนการศึกษาที่แตกตางกัน โดยคณะฯ ไดคํานึงถึงความเหมาะสมและ ประโยชน ของการนํา ทุ นการศึ กษาไปใช เพื่ อ เป ด โอกาสให นั กศึ ก ษายากจนได ศึ ก ษา เลาเรี ยนจนสําเร็ จการศึ กษา โดยจัดเปนทุ นการศึ กษาประเภททุ นทํางานแลกเปลี่ ยน ทุนฉุกเฉิน และทุนขาดแคลนทุนทรัพย เปนตน

ทุนการศึกษาประเภททั่วไป ทุ นการศึ กษาที่ จั ด สรรงบประมาณของมหาวิ ทยาลั ย และรายได ที่ ไ ด รั บการ สนับสนุนจากบริษัท หางราน มูลนิธิ ธนาคาร สถาบันตางๆ รวมทั้งเอกชน เพื่อจัดสรร ใหนักศึกษา เปนทุนการศึกษาใหเปลามีทั้งประเภทรายปและใหตอเนือ่ งจนสําเร็จการศึกษา นักศึกษายื่นใบสมัครผานทางกองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ดําเนิน การคัดเลือกโดยตัวแทนคณะกรรมการจัดสรรทุนจากคณะตางๆ มูลคาทุนตั้งแต 3,000– 50,000 บาท ทุนจากกองทุนคณะวิทยาศาสตร 1. ทุนการศึกษาประเภทขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนการศึกษาประเภทใหเปลา ตั้งแตชั้นปที่ 1-4 ตั้งแต 500-1,200 บาท ตอเดือน ตามความเหมาะสมของความขาดแคลน มีจํานวน 100 ทุน 2. ทุนการศึกษาประเภททํางานทุนแลกเปลี่ยน เปนทุนการศึกษาที่คณะฯ จัดสรรใหนกั ศึกษาที่ประสงคขอรับทุนเพื่อชวยเหลือ ตนเอง โดยนักศึกษาจะตองใชเวลาวางปฏิบัติงานตามหนวยงานภายในคณะวิทยาศาสตร ที่แจงความประสงคขอนักศึกษาชวยงาน ไดรับการสนับสนุนจากเงินรายไดคณะฯ และ เงินกองทุนคณะฯ นักศึกษาทํางานภาคการศึกษาละไมเกิน 90 ชั่วโมง ทํางานในอัตรา 100 บาท ตอ 3 ชั่วโมง ทุนละไมเกิน 3,000 บาทตอคนตอภาคการศึกษา ภาคการศึกษา ละ 80 ทุน 3. ทุนการศึกษาผลการเรียนดีเดนและพัฒนาดีเดน เป น ทุ น การศึ ก ษาที่ ส ง เสริ ม ให บ รรยากาศการเรี ย นการสอนของคณะ วิทยาศาสตรมีการพัฒนาการที่ ดีขึ้น มีการแขงขันในดานผลการเรียนในหมู นักศึกษาทุก ชั้นป โดยไดรับการสนับสนุนจากเงินกองทุนคณะวิทยาศาสตร เปนเงินรางวัลทุนละ 2,000

136 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 144

6/6/16 10:32 AM


บาท ดําเนินการคัดเลือกโดยภาควิชาคัดเลือกนักศึกษาเอง สาขาวิชาละ 2 ทุน มีจํานวน 22 ทุน 4. ทุนการศึกษาสําหรับนักกิจกรรมดีเดน เป นทุ นการศึกษาที่ สงเสริ มให การผลิ ตบั ณฑิ ตคณะวิ ทยาศาสตร มี คุ ณภาพ อยางสมบู รณ บั ณฑิ ตมีความพร อมทั้ งด านวิชาการ ทักษะการจั ดการบริ หาร ความมี มนุษยสัมพันธและชวยเหลือผูอื่น ทุนละ 2,000 บาท ปการศึกษาละ 5 ทุน 5. ทุนฉุกเฉิน เปนเงินยืมสําหรับนั กศึ กษาไวใชยามจําเป นเร งด วน สามารถยืมไดทุ กคน ไมเกิน 1,000 บาท และกําหนดคืนภายใน 1 เดือน ทั้งนีค้ ณะยังมีทุนที่ไดรับบริจาคโดยบริษทั หางราน ศิษยเกาและผูมจี ิตศรัทธา เชน ทุ นบริ ษัทไทยพลาสติ กและเคมี ภัณฑ ทุนคุ ณป ยะวดี ทุนไทยปาร คเกอร ไรซิ่ ง ทุนไทย บริดสโตน ทุนหลุยส.ตี.เลียวโนเวนส ทุนอํานวยเฉพาะกิจ-ขจัดภัย และทุนมูลนิธิชูเกียรติ ปติเกียรติกิจ เปนตน สนใจสมัครทุนการศึกษาและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หนวยกิจการนักศึกษา ชั้น 1 อาคารบริหาร คณะวิทยาศาสตร โทรศัพท 074-288032

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 137

145x210mm_����������� �� 2560.indd 145

6/6/16 10:32 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะวิศวกรรมศาสตร Faculty of Engineering

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 7111, 0 7428 7084-5 โทรสาร 0 7455 8838, 0 7455 8836 E-mail: info@eng.psu.ac.th Homepage: http://www.eng.psu.ac.th

คณะวิศวกรรมศาสตรเปนคณะวิชาแรกที่มหาวิทยาลัยรับนักศึกษาเขาศึกษา และ เปนคณะที่เกิดขึ้นพรอมๆ กับการกอตั้งมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2510 นักศึกษารุนแรกมี จํานวน 50 คน และเปดสอนเพียง 3 สาขาวิชาคือ วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมโยธา โดยใช อาคารเรี ยนที่ คณะวิ ทยาศาสตร การแพทย มหาวิ ทยาลั ย แพทยศาสตร ซึ่งตอมาเปลี่ยนเปนมหาวิทยาลัยมหิดล เมื่ออาคารวิศวกรรมศาสตรที่ศูนย หาดใหญสรางเสร็ จ คณะวิศวกรรมศาสตรจึงได ยายมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2514 ซึ่งปจจุบันมี 7 ภาควิชา ประกอบดวย

138 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 146

6/6/16 10:32 AM


ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

(Department of Computer Engineering) โทรศัพท 0 7428 7075-6 โทรสาร 0 7428 7076, 0 7455 8832 E-mail: darunee.s@psu.ac.th Hompage: http://www.coe.psu.ac.th จัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร โดยเนนการศึกษาเกี่ยวกับ ออกแบบการสร า งและการใช ง านระบบคอมพิ วเตอร ทั้ ง ด านการพั ฒนาซอฟต แวร ฮารดแวร การสื่อสารระบบเครือขาย ระบบคอมพิวเตอร ระบบควบคุมคอมพิวเตอร และหุน ยนต

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี

(Department of Chemical Engineering) โทรศัพท 0 7428 7055-6, 0 7455 8833 โทรสาร 0 7455 8833 E-mail: kunyanunt.c@psu.ac.th Homepage: http://www.chem.eng.psu.ac.th จัดการเรี ยนการสอนในหลักสูตรวิศวกรรมเคมี โดยเนนการศึกษาเกี่ ยวกับการ ออกแบบและปฏิ บัติการของหน วยดําเนิ นการ ในกระบวนการผลิ ตและกระบวนการ สนับสนุนของโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งอุตสาหกรรมปโตรเคมี โดย ยึ ดหลั กให ได ผลิ ต ภั ณฑ ที่ มี คุ ณภาพดี ประหยั ดค าใช จ าย และไม สร างมลภาวะแก สิง่ แวดลอม

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล

(Department of Mechanical Engineering) โทรศัพท 0 7428 7035-6 หรือ 0 7455 8830 E-mail: mech@me.psu.ac.th Homepage: http://www.me.psu.ac.th

โทรสาร 0 7455 8830

จั ดการเรี ยนการสอนในหลั กสู ตรวิ ศวกรรมเครื่ องกล และหลั กสู ตรวิ ศวกรรม เมคาทรอนิกส โดยหลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลจะเนนการศึกษาเกี่ ยวกับทฤษฎี หลัก àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 139

145x210mm_����������� �� 2560.indd 147

6/6/16 10:32 AM


การทํางาน และการออกแบบระบบอุปกรณเครื่องจักรกล วัฏจักรทางความรอน และ ระบบของไหล ฯลฯ สําหรับหลักสูตรวิศวกรรมเมคาทรอนิกสจะเรียนหลักการพื้นฐาน เหมือนกับวิศวกรรมเครือ่ งกล และจะเนนเพิม่ เติมเกี่ยวกับทักษะระบบการควบคุมอัตโนมัติ ซึง่ สอดคลองเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหมของภาคอุตสาหกรรมใน ปจจุบนั

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา

(Department of Electrical Engineering) โทรศัพท 0 7428 7045, 0 7455 8831 E-mail: arphaphan.s@psu.ac.th Homepage: http://www.ee.psu.ac.th

โทรสาร 0 7445 9395

จั ดการเรี ยนการสอนหลั กสูตรวิ ศวกรรมไฟฟ า และสาขาวิ ชาวิ ศวกรรมชีวการ แพทย โดยหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟาจะเนนการศึกษาเกี่ยวกับไฟฟากําลัง การออกแบบ ระบบไฟฟาและแสงสวาง อิเล็กทรอนิกสกําลัง ไฟฟาสื่อสาร วิศวกรรมไมโครเวฟและ สายอากาศ อิเล็กทรอนิกส ระบบควบคุม วิศวกรรมคอมพิวเตอร เครื่องมือ และการวัด ทางไฟฟา สวนวิศวกรรมชีวการแพทยจะเนนการออกแบบเครื่องมือวัดทางการแพทย และการวิเคราะหสัญญาณทางการแพทย

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

(Department of Civil Engineering) โทรศัพท 0 7428 7015-6, 0 7455 8839 E-mail: nsupit@eng.psu.ac.th Homepage: www.civil.eng.psu.ac.th

โทรสาร 0 7445 9396

จั ด การเรี ยนการสอนในหลั กสู ต รวิ ศวกรรมโยธา และหลั ก สู ต รวิ ศ วกรรม สิ่ งแวดลอม โดยวิศวกรรมโยธาเนนการศึกษาเกี่ ยวกับวิศวกรรมโครงสร าง วิศวกรรม ธรณีเทคนิค วิศวกรรมการขนสง วิศวกรรมแหลงน้ํา วิศวกรรมสํารวจ สวนวิศวกรรม สิ่งแวดลอมศึกษาเกี่ยวกับระบบประปา บําบัดน้ําเสีย จัดการมูลฝอย และของเสีย อันตราย และการควบคุมมลพิษในอากาศ

140 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 148

6/6/16 10:32 AM


ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแรและวัสดุ

(Department of Mining and Materials Engineering) โทรศัพท 0 7428 7065-6 หรือ 0 7445 9398 โทรสาร 0 7455 8834 E-mail: thawatchai.p@psu.ac.th Homepage: http://www.mne.eng.psu.ac.th จัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมเหมืองแร และหลักสูตรวิศวกรรมวัสดุ โดยหลั กสูตรวิ ศวกรรมเหมื องแร จะเนนการศึกษาเกี่ ยวกับธรณี วิทยา การทําเหมื อง การแตงและใชประโยชนจากแร โลหะวิทยา เศรษฐศาสตรเหมืองแร การควบคุมและ การจัดการสิ่ งแวดลอมในอุตสาหกรรมแรและการจัดการทรั พยากรแร สวนหลักสูตร วิศวกรรมวัสดุจะเนนการศึกษาเกี่ยวกับดานโครงสรางจุลภาค สมบัติของวัสดุ การเลือก วัสดุ กระบวนการผลิตและขึ้นรูปโลหะ เซรามิกส พอลิเมอรและวัสดุผสม การเสื่อม สภาพและการปองกัน การวิเคราะหความเสียหาย และวิศวกรรมยอนรอย

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

(Department of Industrial Engineering) โทรศัพท 0 7428 7025-6 โทรสาร 0 7455 8829 E-mail: ie-psu@eng.psu.ac.th Homepage: http://www.ie.psu.ac.th, http://www.facebook.com/ie.psu วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) เปนวิศวกรรมสาขาหนึ่ง ซึ่ง เนนการประยุกตใชความรูดานวิศวกรรมศาสตรมาผสมผสานกับความรูดานการจัดการ เพื่ อใชในการวางแผน การดําเนินการและการควบคุม ใชงานในอุตสาหกรรม ไมวาจะ เปนงานผลิต (Manufacturing) งานบริการ (Service) ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิผล โดยใหผลตอบแทนสูงสุดและใชทรัพยากรทีม่ อี ยูจ ํากัดอยางคุม คา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มีความพรอมในดานทรัพยากรบุคคล เครื่องจักร อุปกรณ และหองปฏิบัติการ สําหรับบริการแกบุคลากรและนักศึกษา อีกทั้ งยังมีการ บริการวิชาการแกสังคม เชน การฝกอบรมดานคุณภาพ ดานการปรับปรุงประสิทธิภาพ และการเพิ่มผลผลิตดานหวงโซอุปทานและโลจิสติกส เปนตน นอกจากนี้ ยังมีทีมงาน ที่ ทําวิจั ยในด านต างๆ เช น การเพิ่ มผลผลิ ต การจั ดการห วงโซ อุปทาน การยศาสตร และความปลอดภั ย เทคโนโลยี การผลิ ต เปนต น ในปจจุ บันมี การเป ดสอนนักศึ กษา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 141

145x210mm_����������� �� 2560.indd 149

6/6/16 10:32 AM


ปริญญาตรีสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิ ศวกรรมอุ ตสาหการและระบบ สาขาการจั ดการอุ ตสาหกรรม และระดั บ ปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ ทุกหลักสูตรของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการการผลิต ยึดหลัก ในการผลิตบัณฑิตที่พึงประสงคตามแนวทางของมหาวิทยาลัย โดยเนนที่การเปนคนเกง และคนดีออกสูสังคม ความเกงคือใหมีความคิดสรางสรรค มีความรูและความเชี่ยวชาญ ดานเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการการผลิตอยางบูรณาการที่สอดคลองกับยุคสมัย อันจะนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ความดีคือใหมีจิตสํานึกและจรรยาบรรณในวิชาชีพ และรับผิดชอบตอผลของการนําความรูไปใชเพื่อสนองตอนโยบายขององคกรและสังคม โดยรวม

การเรียนการสอนในคณะวิศวกรรมศาสตร

คณะวิ ศวกรรมศาสตร ไดจั ดการเรี ยนการสอนในระดั บปริ ญญาตรี หลั กสู ตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จํานวน 12 สาขา ระดับปริญญาโท 11 สาขา และระดับ ปริญญาเอก 8 สาขา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (B.Eng.) มีสาขาวิชาใหเลือกศึกษาจํานวน 12 สาขา 1) สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 2) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา 3) สาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล 4) สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 5) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 6) สาขาวิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม 7) สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 8) สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต 9) สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร 10) สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ 11) สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส 12) สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย

142 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 150

6/6/16 10:32 AM


2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (M.Eng.) จํานวน 11 สาขา 1) สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2) สาขาวิศวกรรมเคมี 3) สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล 4) สาขาวิศวกรรมไฟฟา 5) สาขาวิศวกรรมเหมืองแร 6) สาขาวิศวกรรมโยธา 7) สาขาวิศวกรรมวัสดุ 8) สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ 9) สาขาการจัดการอุตสาหกรรม (ภาคสมทบ) 10) สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม 11) การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคสมทบ) 3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) จํานวน 8 สาขา คือ 1) สาขาวิศวกรรมเคมี 2) สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล 3) สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 4) สาขาวิศวกรรมไฟฟา 5) สาขาวิศวกรรมวัสดุ 6) สาขาวิศวกรรมโยธา 7) สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม 8) สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ ดังนี้

แตละสาขาของระดับปริญญาตรี มีแนวการศึกษาและแนวทางการประกอบอาชีพ

1. สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี การศึ กษาทางสาขาวิศวกรรมเคมี เป นสาขาหลักสาขาหนึ่ งที่ จําเปนในการ พัฒนาอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมีและปโตรเคมี ซึ่งกําลังคนในสาขานี้เปน สาขาที่ขาดแคลน และเปนที่ตองการของประเทศ นอกจากนี้ความรูดานวิศวกรรมเคมี àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 143

145x210mm_����������� �� 2560.indd 151

6/6/16 10:32 AM


ยังสามารถประยุกตใชกับงานไดหลากหลาย ไมวาจะเปนในกระบวนการผลิตสินคาเพื่อ การอุ ปโภค บริ โภค หรื อสาธารณู ปโภคตางๆ การพัฒนากําลั งพลที่ มี ความรู ดาน วิศวกรรมเคมีจึงเปนการสรางปจจัยเกื้อหนุนที่สําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ของประเทศ นอกจากนี้แลว การพัฒนาทางอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยน แปลงทางสั งคมและวั ฒนธรรมของกลุ มชุ มชนอย างปฏิ เสธไม ไ ด ดั งนั้ นวิ ศ วกรที่ ดี นอกเหนือจากมีความเชี่ ยวชาญทักษะในเชิงวิศวกรรมแลว ยังมีความจําเปนที่ จะตองมี ความคํานึงถึงสภาพสังคมและสิ่งแวดลอม มีทักษะการสื่อสารเจรจา และมีจิตสํานึกที่ดี ต อจรรยาบรรณวิ ชาชี พ เพื่ อสรางผลกระทบที่ น อยที่ สุดจากภาคอุ ตสาหกรรมอันจะมี ตอวิถกี ารดําเนินชีวิตของชุมชนรอบดาน สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ตลอดหลักสูตรวิ ศวกรรมศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิ ศวกรรมเคมี มี จํานวน หนวยกิตทั้งหมด 148 หนวยกิต สองป แรก จะเป นการศึกษาแนวกว างในหลักวิ ศวกรรมพื้ นฐานทั่ วไป เช น วัสดุวิศวกรรม เศรษฐศาสตร โปรแกรมคอมพิวเตอร ไฟฟาพื้นฐาน พลศาสตรความรอน และอืน่ ๆ เหมือนวิศวกรทัว่ ไป สองปหลัง จะเนนการศึกษาในวิชาชีพ เชน การออกแบบอุปกรณวิศวกรรม เคมีและโรงงานอุตสาหกรรมเคมี วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมี หลักปฏิบัติการเฉพาะหนวย ระบบควบคุมกรรมวิธีสิ่งแวดลอม และความปลอดภัยในการปฏิบัติการทางเคมี เปนตน รวมทัง้ การทัศนศึกษาโรงงานอุตสาหกรรมและการฝกงานจริง ในชัน้ ปที่ 3 ในชั้ นป ที่ 4 นักศึกษาจะไดฝ กการแก ปญหาทางวิ ศวกรรมเคมีด วยตนเอง ในการทําโครงงานวิศวกรรมเคมี ซึ่งจะมีหัวขอที่เกี่ยวของกับปญหาที่เกิดในอุตสาหกรรม เชน การบําบัดน้ําเสีย บําบัดอากาศเสีย เมมเบรน ปโตรเคมี ไบโอดีเซล เทคโนโลยี การยาง เทคโนโลยีอาหาร เปนตน ภาควิชาวิศวกรรมเคมี ยังมีวิชาเลือกเพือ่ สนองตอบความถนัดและความสนใจ ของนักศึกษาแตละคน และเพื่อเปนประโยชนสําหรับการทํางานในอนาคตดังนี้ ทางดานปโตรเคมี โพลีเมอร น้ําใชในอุตสาหกรรม เมมเบรน เทคโนโลยีอาหาร เทคโนโลยียาง รวมทั้งรายวิชาทีน่ าสนใจในสาขาวิศวกรรมอื่นๆ จากภาควิชาตางๆ ดวย

144 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 152

6/6/16 10:32 AM


อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 1. นักวิชาการหรือนักวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับงานวิศวกรรมเคมี 2. วิศวกรในหนวยงานรัฐหรือเอกชน เชน วิศวกรเคมี วิศวกรกระบวนการ ผลิต วิศวกรโครงการ วิศวกรออกแบบ วิศวกรที่ปรึกษา วิศวกรขาย เปนตน 3. รับราชการ 4. ประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวของกับงานวิศวกรรมเคมี เชน เจาของกิจการ ที่ปรึกษา เปนตน 2. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ศึกษาเกี่ยวกับระบบไฟฟากําลัง วิศวกรรมไฟฟาแรงสูง เครื่องจักรกลไฟฟา วิศวกรรมสองสวาง การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟา ทฤษฎีและระบบไฟฟาสื่อสาร วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสกําลัง อิเล็กทรอนิกสกับการควบคุมใน อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกสทางการแพทย ระบบไมโครคอมพิวเตอร การสื่อสารขอมูล และเครือขายคอมพิวเตอร การประมวลสัญญาณเชิงเลข การวัด และเครื่องมือวัดทาง ไฟฟา ผูที่สําเร็จการศึกษาในสาขานี้สามารถประกอบอาชีพดานการออกแบบ ติดตั้ง และควบคุมระบบไฟฟาในอาคารสํานักงาน โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ งานที่เกี่ยวของ กับวิศวกรรมไฟฟาแรงสูง เครื่องจักรกลไฟฟา ไฟฟาสื่ อสาร ระบบอิเล็กทรอนิกส ไมโครคอนโทรลเลอร การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟา การควบคุมในอุตสาหกรรม และงานดานคอมพิวเตอร เชน ระบบไมโครคอมพิวเตอร การสื่อสารขอมูลและเครือขาย คอมพิวเตอร การประมวลสัญญาณเชิงเลข ผูที่สําเร็จการศึกษาในสาขาวิชานี้ เปนที่ยอมรับและสามารถศึกษาตอในระดับ ปริญญาโท-ปริญญาเอกในสาขาวิศวกรรมไฟฟา และสาขาวิชาอื่นที่ใกลเคียง เชน สาขา วิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หรือวิทยาการคอมพิวเตอร 3. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล เปนศาสตรที่ครอบคลุมพื้นฐานของวิศวกรรมหลายแขนง ประกอบดวย ความรูทางทฤษฎีและการประยุกต เกี่ ยวกับของแข็ ง ของไหล กาซ ความรอน และกลไกในระบบตางๆ เชน เครื่องจักรกล เครื่องยนต กระบวนการผลิต การออกแบบ พลังงานรูปแบบตางๆ การทําความเย็นและปรับอากาศ เปนตน ดังนั้น วิศวกรรมเครื่องกลจึงมีบทบาทหลักในการออกแบบ พัฒนา และผลิตอุปกรณตางๆ ที่ เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของมนุษยใหมีความปลอดภัย มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ สูงสุด àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 145

145x210mm_����������� �� 2560.indd 153

6/6/16 10:32 AM


ผูท ี่สําเร็จการศึกษาเปนวิศวกรรมเครือ่ งกล สามารถทํางานไดอยางกวางขวาง ไดรับค าตอบแทนและมีโอกาสก าวหน าทางการงานสู ง มีข อได เปรียบในแง ที่ มี ความรู ในหลายสาขาวิชา ทําใหสามารถแกไขปญหาไดหลากหลาย จึงเปนที่ตองการของอุตสาหกรรมทุ กประเภท รวมทั้ งในสวนงานราชการ รัฐวิ สาหกิ จ และเอกชน โดยสามารถ ประกอบอาชีพไดหลากหลาย เชน งานออกแบบ งานตรวจสอบ งานใหคําปรึกษา การ จัดการเกี่ยวกับการสราง การประกอบ ควบคุมการทํางานอัตโนมัติของเครื่องจักร และ เครื่องมือทั่วไปในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงงานวิจัยและพัฒนา งานวิชาการ งานขาย และธุรกิจสวนตัวตางๆ ซึง่ ไมไดจํากัดอยูแ คในโรงงานและเครือ่ งจักรเทานัน้ 4. สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร วิศวกรรมคอมพิวเตอร เปนศาสตรที่เกี่ยวของกับการออกแบบและการสราง การใชงานระบบคอมพิ วเตอร โดยจะศึกษาครอบคลุมทางดานฮารดแวร ซอฟตแวร การสื่อสาร ระบบเครือขาย รวมทั้งการประยุกตใชงานคอมพิวเตอรทั้งดานการพัฒนา ซอฟตแวร การดูแลและออกแบบระบบเครือขาย ระบบคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศ และสื่อสาร ระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต หลักสูตรมุงเนนการศึกษาทั้ง ดานทฤษฎีและการฝกปฏิบัติ อีกทั้งสงเสริมใหนักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห การสังเคราะห การแกปญหา การประยุกตและการวิจัย และเปนวิศวกรที่มีคุณธรรม และจริยธรรม หลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ไดแบงออกเปน 4 แขนงวิชา ดังตอไปนี้ - แขนงวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ (Information Engineering) เกี่ยวกับ การพัฒนาซอฟตแวร การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศ การวางระบบฐานขอมูล การ พัฒนาโปรแกรมมัลติมีเดีย เปนตน - แขนงวิชาวิ ศวกรรมเครื อข ายคอมพิวเตอรและสื่ อสาร (Computer Networks and Communications) เกี่ยวกับการสื่อสาร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบเครือขายรุนตอไป เปนตน - แขนงวิ ชาวิ ศ วกรรมการออกแบบระบบคอมพิ วเตอร (Computer System Design Engineering) เกี่ยวกับการออกแบบระบบคอมพิวเตอรหรือระบบที่ เชื่อมตอกัน สถาปตยกรรม อุปกรณฝงตัว อุปกรณเครือขาย ตัวตรวจรู ระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร เปนตน

146 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 154

6/6/16 10:33 AM


- แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและหุนยนต (Computer Control Systems and Robotics Engineering) เกี่ยวกับระบบควบคุมหุนยนต หุนยนต การวิเคราะหและประมวลผลภาพ เสียงและสัญญาณดิจิตอล เครื่องจักรกล อัจฉริยะ เปนตน การศึ ก ษาในสาขาวิ ช านี้ นั ก ศึ ก ษาจะต อ งลงทะเบี ยนเรี ย นจํา นวน 136 หนวยกิตตลอดหลักสูตร อีกทั้งนักศึกษายังมีแผนการศึกษาทางเลือกเพื่อเขาศึกษาในแผน การศึกษาปริญญาตรี-โท 5 ปอีกดวย นอกจากนี้ภาควิชาฯ ยังไดจัดกิจกรรมตางๆ ทั้ง ทางดานวิชาการเพือ่ เสริมความรูแ ละสงเสริมสังคม ตลอดจนการปลูกฝงคุณธรรมพืน้ ฐาน ใหกับนักศึกษา บัณฑิตจากภาควิชาฯ สามารถประกอบกิจการสวนตัวหรือเขาทํางานใน บริษัทตางๆ ในตําแหนงดั งต อไปนี้ วิศวกรคอมพิวเตอร วิ ศวกรควบคุ มดูแลระบบ คอมพิวเตอร นักวิ ชาการคอมพิวเตอร นักวิจัย ผู พัฒนาซอฟตแวร วิศวกรซอฟตแวร นักวิเคราะห/ออกแบบ/พัฒนา/บริหาร/จัดการระบบคอมพิวเตอร นักวิเคราะห/ออก แบบ/พัฒนา/บริหาร/จัดการระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห/ออกแบบ/พัฒนา/บริหาร/ จัดการระบบเครือขาย วิศวกรควบคุมคุณภาพ ผูออกแบบ/พัฒนาเว็ปไซต วิศวกร ฝายขายหรือการตลาด ผูจัดการไอที วิศวกรวงจรรวม วิศวกรผูดูแลโครงการพัฒนา ตางๆ ผูทดสอบระบบ เปนตน คาใชจายตอหัวตอปของสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร โครงการปกติ คาลงทะเบียนเหมาจาย 36,000 บาทตอป โครงการพิเศษ คาลงทะเบียนเหมาจาย 48,000 บาทตอไป 5. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ศึกษาเกี่ยวกับวิศวกรรมโครงสราง วิศวกรรมธรณีเทคนิค วิศวกรรมแหลงน้ํา วิศวกรรมขนสง วิศวกรรมสํารวจ การออกแบบ ควบคุมการกอสราง วางแผนการ ขนสงและระบบการจราจร สํารวจและวิเคราะหสภาพดิน ผูที่สําเร็จการศึกษาในสาขานี้ สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขา วิชาวิศวกรรมโยธาจากสภาวิศวกรเพื่อประกอบวิชาชีพทางดานวิศวกรรมโยธาตางๆ เชน งานออกแบบและควบคุมการก อสรางดานวิ ศวกรรมโครงสราง วิศวกรรมธรณีเทคนิค แหลงน้ํา การวางแผนการขนสงหรือระบบจราจร และวิศวกรรมการสํารวจ หรือสามารถ ศึกษาตอปริญญาโท-เอกไดทงั้ ในและตางประเทศ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 147

145x210mm_����������� �� 2560.indd 155

6/6/16 10:33 AM


6. สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ศึกษาเกี่ ยวกับการวิเคราะห การคํานวณการออกแบบการกอสรางและการ ดูแลระบบตางๆ เชน ระบบประปา ระบบสุขาภิบาล การบําบัดน้ําเสีย การจัดการขยะ มูลฝอย การกําจัดและควบคุมมลพิษในอากาศ การนําน้ําทิ้งและมูลฝอยกลับมาใชอีก ผูที่สําเร็จการศึกษาในสาขานี้ สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบอาชีพสาขา วิศวกรรมสิ่ งแวดล อมจากสภาวิ ศวกรเพื่ อประกอบอาชีพได ทั้ งในหนวยงานของรัฐและ เอกชน ทางดานการออกแบบการกอสราง และการดูแลระบบตางๆ เชน ระบบประปา ระบบสุขาภิบาล การบําบั ดน้ํา เสี ย การจัดการขยะมู ลฝอยและของเสี ยอั นตราย การ กําจัดและควบคุมมลพิษในอากาศ การนําน้ําทิ้งและมูลฝอยกลับมาใชอีก และนอกจากนี้ ยังสามารถศึกษาตอในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกไดทงั้ ในและตางประเทศ 7. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมอุตสาหการ เปนสาขาวิชาทีม่ ีความสําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรม ของประเทศ หลักสูตรวิศวกรรมอุตสาหการ มุง เนนผลิตวิศวกรอุตสาหการทีม่ ีคุณภาพสูง มีความรูทั้งพื้นฐานและการประยุกตใชความรูดานวิศวกรรมอุตสาหการ มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค สามารถเรียนรูและประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆ ไดอยางเหมาะสม มีความ สามารถในการคิดวิเคราะหและสังเคราะหอยางเปนระบบ และสามารถติดตอสื่อสารกับ ผูอื่นไดเปนอยางดี รวมทั้งมุงเนนใหบัณฑิตเปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้เพื่อให สามารถรองรับแผนการพัฒนาทางอุตสาหกรรมของประเทศ ในสาขาวิ ศวกรรมอุ ตสาหการ จะศึ กษาเกี่ ยวกั บทฤษฎี และหลั กการต างๆ ในการจัดการทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหมีความคุมคามากที่สุด เชน วัตถุดิบ แรงงาน เครื่องจักร เงินทุน พื้นที่ในโรงงาน เปนตน ตัวอยางรายวิชา เชน วิชาดานการวางแผน และควบคุมการผลิต การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม เศรษฐศาสตร วิศวกรรม การ ศึกษาการทํางาน เทคโนโลยีดานกระบวนการผลิต การจัดการความปลอดภัย การ จัดการคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ เปนตน ผู สํา เร็ จการศึ กษาในสาขาวิ ศวกรรมอุ ตสาหการ สามารถเข าไปทํา งานใน โรงงานอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน หรือองคกรใดๆ ก็ได เนื่องจาก ความรั บผิ ด ชอบหลั กของวิ ศวกรรมอุ ตสาหการคื อ การปรั บปรุ ง การดําเนิ นงานให มี ประสิทธิภาพมากขึ้นโดยใชเทคนิคต างๆ เชน การวางแผนและควบคุ มการดําเนินงาน ผลิต/บริการ วางผังโรงงาน วิเคราะหและปรับปรุงกระบวนการผลิต/บริการ กําหนด ขั้ นตอนปฏิบัติงานมาตรฐานและเวลามาตรฐาน ออกแบบและเลือกใชเทคโนโลยีและ เครื่องจักรอุปกรณทเี่ หมาะสมในการผลิต เปนตน

148 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 156

6/6/16 10:33 AM


8. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต ในสาขานี้จะศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการตางๆ ดานเทคโนโลยีการผลิต การเลือกใชกระบวนการผลิตที่เหมาะสม เชน วิชาคอมพิวเตอร ชวยในการออกแบบและ การผลิต การควบคุมอัตโนมัติในอุตสาหกรรม การออกแบบเครื่องจักรกล เทคโนโลยี การผลิ ตแบบตางๆ เปนต น นอกจากนี้ ในหลั กสูตรได มีการเพิ่ มเติ มให ผู เรียนมีความรู ดานการปรับปรุงการดําเนิ นการ และการจัดการการทํางานด วยเช นกัน เชน วิ ชาการ วางแผนและการควบคุมการผลิต การศึกษาการทํางาน เศรษฐศาสตร วิศวกรรม การ จัดการความปลอดภัย เปนตน นอกจากนี้ หลักสูตรของสาขาวิศวกรรมการผลิต ไดมีการออกแบบหลักสูตร ใหผูเรียนสามารถที่จะฝกงานระยะสั้นในชวงภาคฤดูรอน หรือฝกงานระยะยาวตลอด 1 ภาคการศึกษาในรูปแบบของโครงการสหกิจเพื่อเพิ่ มการมีประสบการณ การนําความรู ไปใชในสถานการณจริงมากขึ้น ผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิศวกรรมการผลิต สามารถเขาไปทํางานในโรงงาน อุตสาหกรรมที่เนนดานกระบวนการผลิต หรือทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือองคกร ใดๆ ก็ได ที่ตองการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทํางานใหมีมากขึ้น 9. สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร ศึกษาเกี่ยวกับการวางแผน ออกแบบและควบคุมการทําเหมืองแร กระบวน การผลิตสินแร การออกแบบและควบคุมการระเบิด และกระบวนการแยกแร งานโลหะ กรรมและวัสดุศาสตร เทคโนโลยีปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ เศรษฐศาสตรเหมืองแร และการจัดการสิง่ แวดลอมเหมืองแร ผู ที่ สําเร็จการศึ กษาในสาขานี้ สามารถประกอบวิ ชาชีพไดทั้ งในภาคเอกชน และภาครัฐ ทางดานการวางแผน การออกแบบและควบคุมการทําเหมืองแร กระบวน การผลิตสินแร การออกแบบและควบคุมการระเบิด และกระบวนการแยกแร รวมทั้ ง สามารถทํางานรวมกับทีมงานทางดานธรณีวิทยา วิศวกรรมโลหะการ วิศวกรรมวัสดุ เทคโนโลยีปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ และงานที่เกีย่ วของกับการจัดการสิ่งแวดลอม 10. สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุ ศึ กษาเกี่ ยวกับวิ ทยาการทางดานโลหะ เซรามิ ก พอลิเมอร และวั สดุผสม คนควาและวิจัยเกี่ยวกับการสกัด การผลิต การขึ้นรูป การออกแบบและเลือกวัสดุ วิศวกรรมรวมถึงยางพลาสติก แกว วัสดุผสม วัสดุอิเล็กทรอนิกส ผสมผสานกับความรู ในการใชคอมพิวเตอรในงานออกแบบและการผลิต ระบบมาตรฐานและการประกัน คุณภาพ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 149

145x210mm_����������� �� 2560.indd 157

6/6/16 10:33 AM


ผู ที่ สําเร็จการศึ กษาในสาขานี้ สามารถประกอบวิ ชาชีพไดทั้ งในภาคเอกชน และภาครัฐ ทางดานการวางแผน ออกแบบ และควบคุมกระบวนการผลิตวัสดุ ทั้งที่ เกี่ยวของกับโลหะ เซรามิก พอลิเมอร พลาสติก แกว วัสดุผสม และวัสดุอิเล็กทรอนิกส รวมทัง้ งานทางดานการเลือกใชวสั ดุ การใชงานและการกัดกรอนของวัสดุ 11. สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส วิศวกรรมเมคาทรอนิกส เปนสาขาวิชาที่เกิดจากการผสมผสานกันของศาสตร ทางดานวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา และวิศวกรรมคอมพิวเตอร จึงเปนที่มา ของคําวา เมคาทรอนิกส (Mechatronics) ซึ่งเกิดจากการรวมกันของคําวา Mechanical และ Electronics เปนหลักสูตรวิศวกรรมสมัยใหม ที่มุงผลิตวิศวกรใหมีความรูความ สามารถในการออกแบบ วิเคราะห สราง บํารุงรักษา เครื่องจักรกลสมัยใหม เชน หุนยนต เครื่ องจักรที่ควบคุ มดวยคอมพิ วเตอร และการนําคอมพิ วเตอรมาชวยในการออกแบบ วิ เคราะห และผลิ ต กระบวนการผลิตแบบอั ตโนมั ติ เป นสาขาที่ ตอบสนองกั บความ ตองการของภาคอุตสาหกรรมที่ ต องการใช เทคโนโลยีขั้ นสู งอย างป จจุ บัน จึ งเป นที่ ตองการของอุตสาหกรรมมากขึน้ เรือ่ ยๆ 12. สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย ปจจุบัน วิศวกรรมชีวการแพทยเปนสาขาวิชาที่มีการเติบโตอยางรวดเร็วทั้ง ในดานการวิจัย ดานหลั กสูตรการศึกษา และด านอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของกับการดูแล รักษาสุขภาพ การศึกษาในสาขาวิชานี้เปนการนําเอาความรูดานวิศวกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหมมาวิเคราะหและแกไขปญหาทางการแพทยและชีววิทยาที่เกี่ยวของเพื่อปรับปรุง ประสิ ทธิภาพของการตรวจวินิ จฉัยและการรั กษาโรคให ดียิ่ งขึ้ น ทั้ งนี้ ยังรวมถึ งการ ปรับปรุงคุ ณภาพชีวิตของมนุษยในดานที่ เกี่ ยวของกับสุขภาพดวย ในชวงแรกนักศึกษา จะเรียนรูเกี่ยวกับพื้นฐานทางดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมที่เกี่ยวของ จากนั้นก็จะนํา ความรูดังกลาวไปประยุกตใชในสาขายอยดานตางๆ ที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพของ มนุษย เชน - Biomedical Instrumentation เป นสาขายอยที่ ศึกษาเกี่ ยวกับการออก แบบและพัฒนาเครื่องมือแพทยเพือ่ ทีจ่ ะเฝาสังเกตหรือตรวจวัดสัญญาณทางสีรรวิทยา - Biomedical Signal Processing เป นสาขาย อยที่ ศึ กษาเกี่ ยวกั บการ วิเคราะหและประมวลผลสัญญาณที่ไดจากสวนตางๆ ของรางกาย เพื่อการเฝาสังเกต และวินจิ ฉัยโรค - Medical imaging เปนสาขายอยที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนา ระบบการแสดงภาพของฟงกชันทางสรีระ หรือรายละเอียดทางกายวิภาคของรางกาย เพื่อการวินิจฉัย และ/หรือวางแผนรักษา

150 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 158

6/6/16 10:33 AM


- Rehabilitation Engineering เปนสาขายอยที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ และพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการรักษาและฟนฟูคนไข คนชรา หรือคนพิการ เพื่อการมี คุณภาพชีวติ ทีด่ ียงิ่ ขึน้ - Clinical Engineering เปนสาขายอยที่ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและ พัฒนาสิ่ งอํานวยความสะดวก บริหาร และ/หรือ จัดการเครื่ องมือและระบบทางดาน คลินกิ ในโรงพยาบาล ผู ที่ สําเร็จการศึ กษาในสาขานี้ สามารถนําความรู ไปใช ทํางานดานต างๆ ใน สาขายอยดังที่กลาวมาขางตน โดยแหลงงาน ไดแก โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถาบันวิจัยที่เกี่ยวของกับการแพทย มหาวิทยาลัย และหนวยงานของรัฐบาลที่เกี่ยวของ ตัวอยางของลักษณะงานที่ทํา ไดแก การออกแบบ พัฒนาและทดสอบผลิตภัณฑ การ ออกระเบียบและควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยสําหรับเครื่องมือทางการแพทย การให คําแนะนําในการเลือกและใชอุปกรณทางการแพทยในโรงพยาบาล การสรางเครื่องมือ เฉพาะเพื่อการวิจัย และการเปนที่ปรึกษาทางเทคนิคใหกับแผนกการตลาดของบริษัท เปนตน นอกจากนี้นักศึกษาที่เรียนจบในสาขาวิศวกรรมชีวการแพทยยังสามารถศึกษาตอ ในระดับทีส่ ูงขึ้นไดในสถาบันการศึกษาชัน้ นําทัง้ ในและนอกประเทศ

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร มีคาใชจายประมาณ 36,000 บาท/คน/ป ยกเวน ในสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอรโครงการพิเศษ มีคาใชจายประมาณ 48,000 บาท/คน/ป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 151

145x210mm_����������� �� 2560.indd 159

6/6/16 10:33 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะศิลปศาสตร

Faculty of Liberal Arts

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 6709 โทรสาร 0 7428 6707 E-mail: libarts@group.psu.ac.th Homepage: http://www.libarts.psu.ac.th คณะศิลปศาสตร ไดมีการจัดการศึกษาดานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร พลศึกษา ภาษาและภาษาศาสตร ที่ เนนเรื่ องของศิลปวัฒนธรรมทองถิ่ น และเปนแหลงสราง องคความรูงานวิจัยที่เปนประโยชนแกภูมิภาคเพื่อนําไปสูระดับสากล มีการสงเสริมการ ศึ กษาต อเนื่ อง และจั ดบริ การวิ ชาการสู ชุ มชนในด านอื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข อง ทําให สามารถ ยกระดับและพัฒนาคุณภาพของประชากรในภูมิภาคนั้นๆ ทั้งนี้ คณะมีการเปดสอน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต จํานวน 4 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาภาษาและภาษาไทย ประยุกต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาจีน และสาขาวิชาชุมชนศึกษา หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาคปกติและภาคพิเศษ) จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชา พัฒนามนุษยและสังคม สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ และสาขา วิ ชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต และหลั กสู ตรศิ ลปศาสตรดุ ษฎี บัณฑิ ต จํานวน

152 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 160

6/6/16 10:33 AM


2 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ และสาขาวิชา พัฒนามนุษยและสังคม คณะศิลปศาสตรประกอบดวย 2 ภาควิชา คือ

ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร

(Department of Languages and Linguistics) โทรศัพท 0 7428 6762 โทรสาร 0 74428 6762 E-mail: tunyaporn.g@psu.ac.th จั ดการเรี ยนการสอนด านภาษาต างประเทศให แก นั กศึ กษาหลั กสู ตรต างๆ ใน ระดั บปริ ญญาตรีของมหาวิทยาลั ย โดยเน นการศึ กษาพั ฒนาทั กษะเกี่ ยวกั บการอ าน การเขี ยน การพูด การฟง และสนทนาโตตอบภาษาอังกฤษ ญี่ ปุน เขมร จีน เกาหลี มลายู และภาษาตางประเทศอื่นๆ และจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ และสาขาวิชาภาษาจีน นอกจากนั้ น ยั งจัดการเรี ยนการสอนในระดั บปริ ญญาโท สาขาการสอนภาษา อังกฤษเปนภาษานานาชาติ โดยมุงเนนความรูที่จําเปนและการวิจัยดานการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ

ภาควิชาสารัตถศึกษา

(Department of Educational Foundation) โทรศัพท 0 7428 9505 โทรสาร 0 7428 6722 E-mail: phiangphen.s@psu.ac.th จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและภาษาไทยประยุกต และหลั กสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ชาชุมชนศึกษา ระดั บปริ ญญาโทในหลักสู ตรศิ ลปศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาพั ฒนามนุษย และสังคม ทั้ งภาคปกติและภาคพิเศษ และสาขาวิ ชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต ภาคปกติ ระดับปริญญาเอกในหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม นอกจากนี้ยังจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ดานมนุษยศาสตร สังคมศาสตร กีฬา พลศึกษา และนันทนาการ ใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรตางๆ ของ มหาวิทยาลัย เพื่อเสริมสรางใหนักศึกษามีความรอบรู มีทักษะ มีทัศนะกวางไกล เขาใจ ธรรมชาติแวดลอม สภาพสังคม เขาใจตนเองและผู อื่ น พรอมทั้ งสามารถปรับตัวและ ดํารงชีวติ อยูใ นสังคมไดอยางมีความสุข àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 153

145x210mm_����������� �� 2560.indd 161

6/6/16 10:33 AM


หลักสูตรคณะศิลปศาสตร

คณะศิลปศาสตร ดําเนินการสอนหลักสูตร 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต 4 สาขาวิชา คือ 1.1 สาขาวิชาภาษาและภาษาไทยประยุกต เนนศึกษาวิชาภาษาไทย เพื่อใหเชี่ยวชาญทั้งดานวิชาการและดานทักษะ จนสามารถนําความรูไปประยุกตใชกับวิชาชีพตางๆ เชน การสื่อสารมวลชน การประชาสัมพันธ ครู อาจารย นักวิชาการดานภาษา เลขานุการ การใชภาษาไทยในวงการธุรกิจ และการสอนภาษาไทยใหชาวตางชาติ เปนตน นอกจากนี้นักศึกษาสามารถเลือกศึกษา ภาษาตางประเทศเพิ่มอีก 1 ภาษา (จํานวน 18 หนวยกิต) ไดแก ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ ปุน ภาษามลายู และภาษาเกาหลี เพื่ อเปนพื้ นฐานสําหรับประกอบวิชาชี พที่ ใช ภาษาเปนเครือ่ งมือสือ่ สารในสังคมโลกและสังคมไทยยุคอาเซียน 1.2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เนนผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในระดับ สูงควบคู กับการเรียนรู วิชาโทในสาขาวิชาชีพตามความสนใจของผู เรียน เชน กฎหมาย เศรษฐศาสตร บริหารธุรกิจ ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน และมัคคุเทศก เปนตน เพื่อ เปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และการฝกทักษะภาษาที่ 3 เพิ่มเติมอีก 1 ภาษา ไดแก ภาษาจีน ภาษามลายู ภาษาญี่ปุน และภาษาเกาหลี 1.3 สาขาวิชาภาษาจีน เนนผลิตบัณฑิตที่เพียบพรอมไปดวยความรูความสามารถดานภาษาและ วัฒนธรรมจีน เตรียมพรอมเขาสู ประชาคมอาเซียน โดยนักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่ คณะศิลปศาสตรตลอด 4 ป หรือเลือกโปรแกรม 3+1 คือไปเรียนที่ประเทศจีนในชั้นปที่ 3 เปนเวลา 1 ปการศึกษา ปจจุบันสาขาวิชาภาษาจีนมีคณาจารยชาวไทยและชาวจีน เจาของภาษาผูมีความรูความสามารถ นอกจากนี้ยังมีความรวมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนํา ของจีน ไดแก Beijing Language and Culture University, Fudan University, Sichuan University 1.4 สาขาวิชาชุมชนศึกษา มุงเนนใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการแสวงหาความรูโดยเขาใจ ขนบประเพณี ภูมิปญญา และตระหนักถึงคุณคาของชุมชนดวยกระบวนการวิจัยอยาง เปนรูปธรรม และสามารถจัดการความรูชุมชนเพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางมีสวนรวมและ ยั่งยืน โดยมีรายวิชาที่เรียนรูรวมกับชุมชนผานการปฏิบัตกิ ารในพื้นทีจ่ ริง

154 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 162

6/6/16 10:33 AM


2. ระดับปริญญาโท เปดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 3 สาขา คือ 2.1 สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ (ภาคปกติและภาคพิเศษ) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชาการสอนภาษาอั งกฤษเปน ภาษานานาชาติ มุ งผลิ ตบัณฑิตให เป นผู นําในการประยุ กต ใชและถายทอดองคความรู ดานการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ มีคุณธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ รวมทั้ งมีความสามารถทางการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรู ดานการเรียน การสอนภาษาอังกฤษ 2.2 สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม (ภาคปกติและภาคพิเศษ) มุ งผลิตบั ณฑิตให มีคุณธรรม มีความรู ความสามารถ แสวงหาความรู ดวยกระบวนการวิจัย และนําความรูที่ไดไปพัฒนาตนเองและสังคม เปนหลักสูตรที่เนน ศึ กษาประเด็ นดานการพั ฒนาบุ คคลและสังคมในพื้ นที่ ภาคใต (Area-based Studies) โดยใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่ องมือที่ สําคัญ นักศึกษามีโอกาสไดเรียนและปฏิบัติการ วิจยั ในภาคสนามทีม่ ากพอทีจ่ ะสามารถนําไปประยุกตใชไดจริงหลังจากสําเร็จการศึกษา 2.3 สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต (ภาคปกติ) เปนหลักสูตรเนนความรูความสามารถทางภาษาไทย วรรณคดีไทย และ คติชนวิทยา ทั้งในแงรากฐานและวิชาการประยุกตอันเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น เพื่อพัฒนา ตนเองเทาทันความเปลี่ยนแปลงของภาษาทามกลางพลวัต และความเปนพหุลักษณของ สังคมไทยและสังคมโลก 3. ระดับปริญญาเอก เปดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต 2 สาขา คือ 3.1 สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ (ภาคปกติ / 3 ปการศึกษา) มุ งผลิตดุษฎีบัณฑิตให เปนผู นําในการพัฒนาและสรางองคความรูใหม ใหกับวงการศึกษา และการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ มีคุณธรรมและ จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีความสามารถทางการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรู ดานภาษาอังกฤษและการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3.2 สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม มุ งผลิ ตดุ ษฎีบัณฑิตให มีคุ ณธรรมความรู ความเขาใจมนุ ษยและสังคม แบบองครวม สามารถแสวงหาความรูดวยกระบวนการวิจัย นําความรูไปประยุกตใชและ สรางองคความรูใ หมในการพัฒนาตนเองและสังคมทัง้ ระดับชาติและระดับสากล àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 155

145x210mm_����������� �� 2560.indd 163

6/6/16 10:34 AM


จุดเดนของคณะศิลปศาสตร คณะศิ ลปศาสตร เป นคณะที่ จั ดการศึ กษาด านสั งคมศาสตร มนุษยศาสตร พลศึกษา ภาษา และภาษาศาสตร และเนนศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น คณะมีพันธกิจที่จะ เสริมสรางบัณฑิตใหสามารถดํารงตนในสังคมไดอยางมีความสุข มีทัศนะกวางไกล เขาใจ ปญหา และเรียนรูวิธีแกไขอยางสันติ นอกจากนี้คณะศิลปศาสตรยังเปนแหลงสราง องคความรูและงานวิจัยที่เปนประโยชนแกภูมิภาค และขยายผลไปสูสากล โดยเนนการ ทํางานเปนทีมและสหศาสตร สงเสริมการศึกษาตอเนื่อง และบริการวิชาการสูชุมชนใน ดานตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพประชากรในภูมิภาค

สวัสดิการและบริการตางๆ แกนักศึกษา

1. ศูนย Self-Access Learning Center ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแก คณาจารย บุคลากร นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และประชาชนทั่วไป ใหศึกษา คนควาหาความรูดวยตนเองจากสื่อตางๆ เชน สื่อสิ่งพิมพ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) VCD และ DVD เพื่อการศึกษา รายการการศึกษาผานดาวเทียม และจัดกิจกรรม ที่สงเสริมการเรียนรู ซึมซับทางดานศิลปวัฒนธรรม 2. หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร และหองปฏิบัติการทางภาษา 3. หอง ELLIS (English Language Learning and Instruction System) เพื่อพัฒนาทักษะการฟง-พูดภาษาอังกฤษ โดยไดรับการสนับสนุนโปรแกรม ELLIS จาก ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 4. หองสมุดคณะศิลปศาสตร หองสโมสรนักศึกษา และหองพยาบาล 5. ระบบอินเตอรเน็ตไรสาย (Wi-Fi) และตู ATM ธนาคารไทยพาณิชย

ทุนการศึกษา

คณะเล็งเห็นความสําคัญของผูที่มีความสามารถดานตางๆ จึงมีนโยบายสงเสริม สนับสนุน โดยจัดใหมีทุนการศึกษา เชน ทุนเรียนดี ทุน English Camp ทุนทํางานแลก เปลี่ยน ทุนยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษา ทุนสนับสนุนนักศึกษาขาดแคลน กองทุนเงิน กูยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล (กยศ.) ฯลฯ

โครงการ Study Abroad

คณะศิลปศาสตร มีความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยหลายแหงในตาง ประเทศ จึงเปดโอกาสใหนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรสามารถเรียนวิชาภาษา

156 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 164

6/6/16 10:34 AM


อั งกฤษ ภาษาจี น และภาษาต า งประเทศอื่ น ๆ ช วงป ด ภาคฤดู ร อน (มี . ค.-พ.ค.) ที่ มหาวิ ทยาลั ยในต างประเทศ เพื่ อฝ กทักษะทางภาษากั บเจ าของภาษาและตระหนั กถึ ง ความสําคัญของการสื่อสารภาษาตางประเทศ โดยมีคณะศิลปศาสตรอํานวยความสะดวก ในการติ ดต อประสานงานและการเดิ นทาง นอกจากนี้ ยั งสามารถเทียบโอนหน วยกิ ต รายวิชาได

ตลาดแรงงาน

ผู สําเร็ จการศึ กษาสามารถเข าทํา งานได ทั้ งหน วยงานภาครั ฐและเอกชน เช น งานบริการ งานประชาสัมพันธ งานสื่อสารธุรกิจ งานมัคคุเทศก งานสํานักงาน งาน เลขานุการ งานสอน งานวิชาการทางภาษา งานพิธีกร/ผูประกาศ นักสังคมสงเคราะห นักวิชาการ/นักวิจัย องคการปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมอุตสาหกรรมทองถิน่ บริหาร จัดการโครงการ ธุรกิจการจัดการชุมชน งานจัดการทางวัฒนธรรม และประกอบอาชีพ อิสระเชน งานแปล ลาม เปนตน

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

ระดับปริญญาตรี มีคาใชจายโดยประมาณภาคการศึกษาละ 16,000 บาท ระดับปริญญาโท 1. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ ภาคปกติ ในอัตราเหมาจาย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา ภาคพิเศษ ในอัตราเหมาจาย 30,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. สาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม ภาคปกติ ในอัตราเหมาจาย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา ภาคพิเศษ ในอัตราเหมาจาย 30,000 บาท/ภาคการศึกษา 3. สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต ภาคปกติ ในอัตราเหมาจาย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา ระดับปริญญาเอก 1. สาขาการสอนภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ ภาคปกติ / 3 ปการศึกษา ในอัตราเหมาจาย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. สาขาพัฒนามนุษยและสังคม ภาคปกติ ในอัตราเหมาจาย 27,000 บาท/ภาคการศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 157

145x210mm_����������� �� 2560.indd 165

6/6/16 10:34 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะอุตสาหกรรมเกษตร Faculty of Agro-Industry

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 6302-16 โทรสาร 0 7455 8866 Homepage: http://agro.psu.ac.th คณะอุตสาหกรรมเกษตร เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สําคัญในภาคใต ที่มีสวนในการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแกประเทศไทยโดยเฉพาะภาคใต โดยดําเนินการ เปดสอนหลักสูตรปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอุตสาหกรรมเกษตร ตั้งแตป พ.ศ. 2519 และในป พ.ศ. 2530 ไดเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร และสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ โดยอยูในความดูแลของภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ ตอมาจึงไดรับการยกระดับจากภาควิชาใหเปนหนวยงานระดับคณะ เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาสังคมเกษตรใหมีรายไดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งไดรับการประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา เลม 112 ตอนที่ 6 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ 2538 ใหคณะอุตสาหกรรมเกษตรมีการแบงโครงสรางเปน 5 หนวยงาน คือ (1) ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร (2) ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม (3) ภาควิชา

158 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 166

6/6/16 10:34 AM


เทคโนโลยีวสั ดุภัณฑ (4) ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหการอาหาร และ (5) สํานักงานเลขานุการคณะ ตอมาไดมกี ารจัดตั้งหนวยงานภายในโดยผานการอนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัย เพื่อทําหนาที่ในดานบริการวิชาการ คือ ศูนยพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการสงออก และศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัด และเพื่อเอื้อตอการพัฒนาการบริหารงานของคณะฯ ให ไปสูการเปนองคกรที่เขมแข็ง มีเอกภาพ คลองตัว รวดเร็ว และงายตอการประสานงาน จึ งมี การจั ดตั้ งฝ ายปฏิ บัติ การวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี โดยแยกออกจากสํานั กงาน เลขานุการคณะฯ เปนหนวยงานภายในโดยผานการอนุมัติจากที่ประชุมคณบดี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555

ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร

(Department of Food Technology) โทรศัพท 0 7428 6301 โทรสาร 0 7455 8866 E-mail: pittaya.a@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการที่เกี่ยวกับการนําความรูทาง ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในอุตสาหกรรมอาหาร โดยครอบคลุมสาขาวิชาเคมี และชีวเคมีอาหาร จุลชีววิทยาอาหาร วิศวกรรมและการแปรรูปอาหาร ระบบควบคุม คุณภาพอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม

(Department of Industrial Biotechnology) โทรศัพท 0 7428 6301 โทรสาร 0 7455 8866 E-mail: apichat.u@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ที่เกี่ยวของกับการนํา เทคโนโลยีชีวภาพมาใชในการผลิตผลิตภัณฑทั้งที่เปนอาหารและไมเปนอาหาร โดยครอบ คลุมดานเทคโนโลยีเอนไซมและเทคโนโลยีชีวภาพอาหาร เทคโนโลยีการหมัก วิศวกรรม กระบวนการชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดลอม และการใชประโยชนจากวัสดุเศษเหลือ พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 159

145x210mm_����������� �� 2560.indd 167

6/6/16 10:34 AM


ภาควิชาเทคโนโลยีวัสดุภัณฑ

(Department of Material Product Technology) โทรศัพท 0 7428 6301, 0 7428 6345 โทรสาร 0 7455 8866 E-mail: supachai.p@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ เกี่ยวกับการนําวัสดุ ธรรมชาติ วัสดุชีวภาพ และวัสดุสังเคราะห มาแปรรูปเปนบรรจุภัณฑ ผลิตภัณฑอุปโภค อุปกรณทใี่ ชในทางการแพทย โดยเนนผลิตภัณฑทกี่ อ ใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอมนอยที่สดุ การเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ วิศวกรรมการบรรจุ วัสดุ บรรจุภัณฑ การออกแบบบรรจุภัณฑ และเทคโนโลยีพอลิเมอรชีวภาพ

ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหการเกษตร

(Department of Agro-Industrial Technology) โทรศัพท 0 7428 6380-1 โทรสาร 0 7455 8866 E-mail: kriangkrai.w@psu.ac.th จัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ทางดานการจัดการ เทคโนโลยีการผลิตในอุตสาหกรรมเกษตร การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ วัตถุดิบ การตลาดสินคาอุตสาหกรรมเกษตร การประกันคุณภาพ การคุมครองผูบริโภค การวางแผนการผลิต และกระบวนการนําเขาและสงออกของผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เกษตร

หลักสูตรคณะอุตสาหกรรมเกษตร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร ดําเนินการสอนหลักสูตรทั้ง 3 ระดับ คือ 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอนหลักสู ตรวิทยาศาสตรบั ณฑิต (B.Sc.) มีสาขาวิชาให เลือกศึกษา 3 สาขา คือ 1) สาขาวิชาวิทยาศาตรและเทคโนโลยีอาหาร 2) สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภณ ั ฑ 3) สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเกษตร

160 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 168

6/6/16 10:34 AM


2. ระดับปริญญาโท เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) 6 สาขา คือ 1) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอาหาร 2) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 3) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 4) สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมเกษตร 5) สาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุบรรจุภณ ั ฑ 6) สาขาวิชาอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ 3. ระดับปริญญาเอก เปดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) 5 สาขา คือ 1) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอาหาร 2) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 3) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) 4) สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ 5) สาขาวิชาอาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการ

ทุนการศึกษา

นอกเหนือจากสวัสดิการดานตางๆ ของมหาวิทยาลัย คณะฯ ยังมีทุนการศึกษาให นักศึกษาของคณะฯ ดังนี้ 1. ทุนขาดแคลนทุนทรัพย 1.1 ทุนขาดแคลนทุนทรัพยคณะอุตสาหกรรมเกษตร จํานวน 5 ทุน มูลคา ทุนละ 12,000 บาท/ป 1.2 ทุนรองศาสตราจารย ดร.ไพรัตน โสภโณดร จํานวน 1 ทุน มูลคาทุนละ 10,000 บาท/ป 2. ทุนทํางานแลกเปลี่ยนกองทุนคณะอุตสาหกรรมเกษตร 2.1 ทุนอาจารยไพบูลย ธรรมรัตนวาสิก จํานวน 2 ทุน 2.2 ทุนอาจารยนงลักษณ สุทธิวานิช จํานวน 2 ทุน โดยมีมูลคาทุนๆ ละ 12,000 บาท/ป ใหเปนคาใชจายรายเดือนๆ ละ 1,500 บาท

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 161

145x210mm_����������� �� 2560.indd 169

6/6/16 10:34 AM


3. ทุนรางวัลผลการเรียนยอดเยี่ยมคณะอุตสาหกรรมเกษตร รางวัลละ 5,000 บาท พรอมโล 4. ทุนการศึกษาประเภทอื่นๆ เชน ทุนสนับสนุ นนั กศึกษาโครงการแลกเปลี่ ยนนั กศึกษากับตางประเทศ ทุนสนับสนุนการทําวิจัยฯ ทุนสนับสนุนการแขงขันทางวิชาการ เปนตน 5. ทุนประเภททั่วไป เปนทุ นที่ หน วยงานภายนอกสนั บสนุ นให ทุ นการศึกษาผ านทางคณะ, มหาวิทยาลัย เงื่อนไขการรับทุนขึ้นอยูกับเจาของทุน

กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

ตลอดการศึกษานั้น คณะฯ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรแกนักศึกษา เพื่ อพัฒนา ทักษะในดานตางๆ ทั้งดานคุณธรรมจริยธรรม จิตสํานึกสาธารณะ กระบวนการทํางาน รวมกับผูอื่น และทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรค เชน โครงการปฐมนิเทศและปจฉิม นิเทศตามแนวทางสันติศึกษา โครงการนองใหมบําเพ็ญประโยชน โครงการคายพัฒนา ศักยภาพทางผูนําและการทํางานเปนทีม โครงการพัฒนาบุคลิกภาพ โครงการเตรียม ความพรอมสู เสนทางสายอาชีพ โครงการคายอุตสาหกรรมเกษตรเพื่ อชนบท และ โครงการสงเสริมผูป ระกอบอาชีพอิสระ เปนตน

การประกอบอาชีพของผูสําเร็จการศึกษา

จากหลักสูตรเนื้อหาวิชาที่ไดรับการพัฒนาใหทันสมัย สอดคลองกับความตองการ ของสั งคมอยู ตลอดเวลา ทําให บัณฑิ ตของคณะอุตสาหกรรมเกษตรสามารถทํางานได หลากหลายสาขา ดังนี้ 1. ภาคเอกชนและโรงงานอุตสาหกรรม : ดูแลฝายการผลิต ควบคุมคุณภาพ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ วางแผนและจัดทําโครงการเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพใหตรง กับขอกําหนดสากลและความตองการของผูบริโภคในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร โรงงานดานวัสดุและบรรจุภัณฑ โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 2. ในหนวยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ : ครูและอาจารย นักวิจัย นักวิชาการ หรือ ที่ปรึกษา ดานการออกแบบ วางแผน ควบคุม และจัดการการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพสูงสุด 3. ประกอบอาชีพอิสระ/ผู ประกอบการในอุ ตสาหกรรมขนาดเล็ก-กลาง หรือ อุตสาหกรรมครัวเรือน

162 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 170

6/6/16 10:34 AM


เรียนดี)

4. การศึกษาตอในระดับปริญญาโทและเอก (โดยมีทุนการศึกษาใหหากมีผลการ

การรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

1. การสอบคัดเลือกนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใตโดยวิธีรับตรงของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร 2. การสอบคัดเลือกนักเรียนและบุคคลทั่วไปเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา โดย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 3. การคัดเลือกนักเรียนตามโครงการคัดเลือกนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนดี โดยงาน รับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 4. รับตรงของคณะ 3 โครงการ คือ โครงการบัณฑิตอุตสาหกรรมเกษตรศรีตรัง โครงการบัวหลวง โครงการทายาทอุตสาหกรรมเกษตร 5. การรับนั กศึ กษาในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อผ านการรั บตรงของมหาวิทยาลัยขอนแกน 6. การรับนักศึกษาในเขตภาคเหนือผานการรับตรงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

เริ่มใชเหมาจายตั้งแตป 2550 - ระดับปริญญาตรี เหมาจายภาคการศึกษาปกติละ - ระดับปริญญาโท เหมาจายภาคการศึกษาปกติละ - ระดับปริญญาเอก เหมาจายภาคการศึกษาปกติละ

18,000 บาท 28,000 บาท 28,000 บาท

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 163

145x210mm_����������� �� 2560.indd 171

6/6/16 10:34 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะนิติศาสตร Faculty of Law

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ตู ปณ. 56 อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 2502, 0 7428 2520 โทรสาร 0 7428 2599 Homepage: http://www.law.psu.ac.th

ประวัติความเปนมา

มหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทรเปนมหาวิ ทยาลั ยของรัฐแหงแรกที่ ได จัดตั้ งขึ้ นใน ภาคใต โดยมีวัตถุประสงคสําคัญประการหนึ่งคือกระจายโอกาสทางการศึกษาในระดับ อุดมศึกษาสูป ระชาชนภาคใต เนื่ องดวยวิชากฎหมายเปนวิชาชีพสําคัญวิชาหนึ่งของสังคม สงผลสําคัญยิ่งตอ ความมั่ นคงของชาติ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ความสงบสุข ความมีระเบียบความเปน ธรรมในสังคม และโดยเฉพาะอยางยิ่งเนื่องดวยมหาวิทยาลัยมุงความเปนมหาวิทยาลัย ทีส่ มบูรณแบบ ที่มงุ เนนการวิจยั กฎหมายเพือ่ แกไขปญหาสังคมทองถิน่ ภาคใต ดวยเหตุผลข างตน คณะกรรมการพัฒนามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการ สงเสริมกิจการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเห็นชอบและสนับสนุนใหมีคณะนิติศาสตรขึ้น

164 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 172

6/6/16 10:34 AM


Þ‹

ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จึงแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โดยมี รศ.ดร.ปติ ทฤษฎิคุณ เปนประธานกรรมการ และในคราวประชุมครั้งที่ 235 (3/ 2545) เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2545 สภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติหลักสูตรดังกลาว และเปด รับนักศึกษารุนแรกในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2545 จํานวน 66 คน ตอมาใน คราวประชุมสภามหาวิ ทยาลั ยครั้ งที่ 255 (5/2545) เมื่ อวันที่ 13 กรกฎาคม 2545 สภาใหจัดตั้งเปนโครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตร และพัฒนาหลักสูตรนิติศาสตร โดยมี ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เปนประธานกรรมการพัฒนาหลักสูตรนิติศาสตร สุ ดท ายสภามหาวิ ทยาลั ยเห็ นชอบให ตั้ งคณะนิ ติ ศาสตร เป นหนวยงานภายใน มหาวิทยาลัย และประกาศจัดตั้งคณะนิติศาสตร เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2546 พรอม แบงสวนงานออกเปน 1. ฝายบริหารทั่วไป 2. ฝายสนับสนุนวิชาการ 3. สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ 4. สาขาวิชากฎหมายแพงและพาณิชย 5. สาขาวิชากฎหมายมหาชน 6. สาขาวิชากฎหมายระหวางประเทศ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดรับการอนุมัติจัดตั้งเปนคณะเมื่อ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2546 คณะนิติศาสตรเปนคณะที่ 10 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ถือเปนคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยของรัฐในภาคใตแหงแรก และ จัดเปนลําดับที่ 6 ของประเทศทีเ่ ปดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

วิสัยทัศน (Vision)

เปนคณะนิติศาสตรชนั้ นําระดับชาติ ผลิตบัณฑิตทีท่ รงคุณคา

พันธกิจ (Mission) 1. 2. 3. 4.

ผลิตบัณฑิตที่มคี วามรูค ูคณ ุ ธรรม และความสามารถดานภาษาตางประเทศ สรางองคความรูท างนิตศิ าสตรทสี่ อดคลองกับบริบททางสังคมไทย พัฒนาคณะนิตศิ าสตรใหเปนเปนชุมชนวิชาการและบริการสังคม สงเสริมและสนับสนุนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 165

145x210mm_����������� �� 2560.indd 173

6/6/16 10:34 AM


เปาประสงค

1. มุงผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม และความสามารถดานภาษาอังกฤษ สามารถอยูใ นสังคมไดอยางมีความสุข 2. ผลิตงานวิจัยทางดานนิติศาสตรที่สนับสนุนและเชื่อมโยงการจัดการเรียนการ สอนและการบริการวิชาการของคณะและนําไปใชประโยชนในสังคม 3. สรางความเขมแข็งดานวิชาการ วิชาชีพกฎหมาย และนําองคความรูส ูสังคม 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพือ่ สนับสนุนการดําเนินงานของคณะ

ปรัชญาคณะ

วัฒนธรรมองคกร: เรียนรู สูงาน สืบสานคุณธรรม ผูนําบริการ

“LAWS” L: Learning Organization = พัฒนาตนเองตลอดเวลา A: Active & Attenable = กระตือรือรน กลาแสดงออกในสิง่ ทีถ่ ูกตองอยางสรางสรรค W: Well Behavior = กาย วาจา ใจ โปรงใส เปนธรรมประชาธิปไตย S: Service Mind = จิตสาธารณะ ประโยชนสวนตัวเปนที่สอง

หลักสูตรที่เปดสอน

หลักการและเหตุผล การเปลี่ ยนแปลงอย างรวดเร็วและโครงสรางทางสังคมยังมี ความสลับซับซอน มากขึ้นนํามาซึ่ งปญหานานัปการ โดยเฉพาะปญหาความไมเปนธรรมและความไมเทา เทียมกันทางดานกฎหมายของคนในสังคม เชน ปญหาการเลือกปฏิบัติ (Discrimination) ในการบังคับใชกฎหมาย ทําใหการบังคั บใชกฎหมาย (Law Enforcement) ไมเกิดผล อยางแทจริง ปญหาดังกลาวมีมูลเหตุทสี่ ําคัญอยูทคี่ วามไมรแู ละไมเขาใจในตัวบทกฎหมาย ของประชาชน ทําใหเกิดการถูกเอารัดเอาเปรียบ ดังนั้นการเปดโอกาสใหประชาชนและ ผู สนใจไดรับการศึกษาทางดานนิติ ศาสตร และการเผยแพร การใหความรูความเขาใจ ทางด านกฎหมายแก ประชาชนโดยทั่ วไปจึ งถื อเปนเรื่ องสําคัญและจําเปนเป นอย างยิ่ ง

166 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 174

6/6/16 10:34 AM


โดยเฉพาะประชาชนในภาคใตซึ่งนอกจากโครงสรางทางสังคมของภาคใตจะมีความสลับ ซับซอนอันเนื่องมาจากความแตกตางและหลากหลายของประชาชนในพื้นที่ในดานภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมแลว ประชาชนในภาคใตยังมีความ สนใจในศาสตรทางดานกฎหมายเปนอยางมาก ดังนั้นภารกิจในดานการใหความรู ความ เขาใจทางดานกฎหมายแกสังคมและประชาชนในภาคใต นอกจากจะชวยใหปญหาความ ไมเปนธรรมและความไมเทาเทียมกันทางดานกฎหมายของคนในสังคมจะลดนอยลงแลว ยั งเป นการสนองตอบต อความต องการการศึ กษาทางด า นกฎหมายของประชาชนใน ภาคใตไดเปนอยางดียิ่ง ดวยเหตุผลดังกลาวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในฐานะที่เปน มหาวิทยาลัย หลักของภาคใตจึงไดเปดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเพื่อเปนฐานในการ สรางองคความรู ดานกฎหมายที่สอดคลองกั บภาคใตโดยการวิ จัยและการจัดการศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษาทางดานนิติศาสตรในอนาคต เปนการเสริมสรางความเขมแข็งให กับบทบาทและภารกิจโดยรวมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ใหมีศาสตรในสาขาตางๆ ครบทุ กศาสตร ทั้ งยังเป นการเสริมสร างและการบู รณาการองคความรู ต างๆ เข าหา ชุมชน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและแกไขปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยเฉพาะใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ดังนั้นการเปดสอนในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จึงเปนการสนองตอบตอทั้งความตองการของชุมชน ภาคใต และตอภารกิจโดยรวมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ไดปรับเปลี่ยนและเพิ่มรายวิชาเพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาดานนิติศาสตร มุงความเปนเลิศทางวิชาการ ผูสําเร็จการศึกษา สามารถนําความรู ไปใช ให เกิ ดผลในทางปฏิ บัติ ไดอยางแท จริง ด วยการเพิ่ มรายวิ ชาใน กลุมวิชาแกน เชน รายวิชาการใชภาษาไทยเพื่อใหผูเรียนมีทักษะการใชภาษาไทยในการ เรียนและประกอบวิชาชีพทางกฎหมาย รายวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความแพง: ภาค บังคับคดี กฎหมายการคาระหวางประเทศ และรายวิชากฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง เพื่อใหสอดคลองกับการบังคับใชกฎหมายที่มคี วามจําเปนกับสภาพสังคมปจจุบัน โครงสรางของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นอกจาก จะใหผูเรียนมีองคความรู ความเขาใจในศาสตรทางกฎหมาย โดยเฉพาะองคความรู ใน กฎหมายหลักที่สําคัญของประเทศไทยคือ กฎหมายสารบัญญัติ และกฎหมายวิธีสบัญญัติ อาทิ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความแพง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อผลิตนักกฎหมาย ใหมคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะดานตามความถนัดและความสนใจของผูเ รียน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 167

145x210mm_����������� �� 2560.indd 175

6/6/16 10:35 AM


โดยการแบงกลุมสาขาวิชากฎหมายออกเปน 4 สาขา - สาขากฎหมายธุรกิจ - สาขากฎหมายแพงและพาณิชย - สาขากฎหมายมหาชน - สาขาวิชากฎหมายระหวางประเทศ รวมทั้งไดจัดกลุ มวิชาเลือกเสรีใหผู เรียนสามารถเลือกเรียนวิชาตามความสนใจ ความถนัด จากรายวิชาที่เปดสอนอยูในทุกหลักสูตรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เพื่อเสริมสรางความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในสาขาวิชาอื่นๆ พรอมที่จะรองรับองคความรู ในสาขาวิชาเลือกดานกฎหมายใหกับผูเรียน อาทิ รายวิชาในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร หรือหลักสูตรรัฐศาสตร เพื่อเสริมสรางความเชี่ยวชาญใหกับผูเรียนที่เลือกเรียนสาขาวิชา กฎหมายมหาชน หรือรายวิชาในหลักสูตรบริหารธุรกิจ เพื่อเสริมสรางความเชี่ยวชาญให กับผูเรียนที่เลือกเรียนสาขาวิชากฎหมายธุรกิจ เปนตน นอกจากนี้หลักสูตรยังประกอบ ดวยกฎหมายอื่นๆ ที่สําคัญ และสอดคลองกับภาวการณของสังคม เศรษฐกิจของภาคใต อาทิ กฎหมายทะเล กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดลอม รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวกับการคา การลงทุนระหวางประเทศ อาทิ กฎหมายพาณิชยนาวี กฎหมายสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (ASEAN) กฎหมายเกี่ยวกับ อุตสาหกรรม กฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน เปนตน ทั้งนี้เพื่อรองรับการคาและการลงทุน สูการพัฒนาภาคใตตอไป วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ ีความรูใ นกฎหมายหลักและกฎหมายเฉพาะสาขา 2. เพื่อผลิตบั ณฑิ ตที่ สามารถนําความรู ไปใชในการประกอบวิชาชี พกฎหมายให เกิดผลในทางปฏิบัตไิ ดอยางมีประสิทธิภาพเปนทีย่ อมรับของสังคม 3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมของผูประกอบวิชาชีพกฎหมายเปน ทีป่ ระจักษแกสงั คม 4. เพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ ีความรูแ ละทักษะดานภาษาตางประเทศ 5. เพื่ อผลิ ตบั ณฑิ ตที่ มี องค ความรู ดานการวิจั ยทางกฎหมาย เป นพื้ นฐานการ ศึกษาคนควาและการศึกษาในระดับสูงกวาปริญญาตรีได

168 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 176

6/6/16 10:35 AM


หลักสูตรการศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (LL.B.) จํานวน 2 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป (ภาคปกติ) จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 144 หนวยกิต เปดสอน 4 สาขาวิชา ไดแก - สาขาวิชากฎหมายมหาชน - สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ - สาขาวิชากฎหมายแพงและอาญา - สาขาวิชากฎหมายระหวางประเทศ - สาขาวิชากฎหมายอิสลาม โครงการคัดเลือกเขาศึกษาตอ - การคัดเลือกบุคคลเพื่อเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา โดยวิธี Admissions (รับรวม) - โครงการสอบคั ดเลื อกตรง (มหาวิ ทยาลั ย สงขลานคริ น ทร ดํา เนิ นการ คัดเลือกเอง) - โครงการสงเสริมเด็กดีมีคุณธรรมเขาศึกษาระดับปริญญาตรี - โครงการนักศึกษาผูม ีความสามารถดีเดนในการกีฬา - โครงการเด็กเรียนดีจากทัว่ ประเทศ 2. หลักสูตรปริญญาตรี 3 ป (ภาคบัณฑิต) เปดสอน 4 สาขาวิชา ไดแก - สาขาวิชากฎหมายมหาชน - สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ - สาขาวิชากฎหมายแพงและอาญา - สาขาวิชากฎหมายระหวางประเทศ (เปดสอนวันศุกร เสาร และอาทิตย) สําหรับผูที่ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาใดก็ได ยกเวนสาขานิติศาสตร การคัดเลือกโดยวิธีสอบขอเขียนและสัมภาษณ ประมาณเดือนมีนาคมของ ทุกป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 169

145x210mm_����������� �� 2560.indd 177

6/6/16 10:35 AM


ประมาณการคาใชจายในการศึกษา 1. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตหลักสูตร 4 ป คาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย 12,000 บาท/เทอม 2. หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต) หลักสูตร 3 ป คาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย 34,000 บาท/ป ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. หองศาลจําลอง จําลองรูปแบบศาล เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรู 2. มีหองอานหนังสือ ซึ่งมีหนังสือ ฎีกา คําพิพากษา และวารสารทางกฎหมาย เพือ่ สนับสนุนการคนควาของนักศึกษา 3. จัดใหมหี องเรียน และสถานฝกปฏิบัตงิ าน ตามเนือ้ หาหลักสูตร 4. เชิญผูท รงคุณวุฒิทงั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเปนอาจารยพเิ ศษ 5. จัดใหมีรายวิชาที่มีการสอน โดยการจําลองการเรียนรูจากสถานการณจริง 6. จัดใหมี หองปฏิบัติการทางกฎหมาย โดยจัดโครงการนักศึ กษากฎหมายให บริการความรู กฎหมายแก ชุมชน เพื่ อใหนักศึกษาไดมี โอกาสบริการความรู กฎหมายแก ชุมชน ไดเรียนรูส ภาพขอเท็จจริงทางกฎหมาย และการประยุกตใชกฎหมาย รวมทั้งเรียนรู การแกปญหาในสถานการณจริง

ผลงาน และกิจกรรมเดนๆ ของคณะ

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นอกจากมุงหวังที่จะใหนักศึกษาได ผานกระบวนการการผลิตเปนผูส ําเร็จการศึกษานิตศิ าสตรบัณฑิตทีม่ ีความรู ความสามารถ และเชีย่ วชาญในวิชาการความรูท างกฎหมายแลว ยังมุงหวังที่จะใหบณ ั ฑิตมีความสามารถ ที่ จะนําศาสตร ดังกลาวไปประยุ กต และปรั บใช ใหสอดคล องกับสภาพการณ ทางสั งคม วัฒนธรรม ตลอดจนสามารถแกปญหาของตนเองและของสังคมสวนรวมทั้งในระดับ ภาคใตและประเทศ รวมทั้งมีความมุงหวังที่จะใหผูสําเร็จการศึกษามีความประพฤติและ การปฏิบัติตนอยูในกรอบของคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบในการใชและ การประกอบวิชาชีพนักกฎหมายอยาง มีประสิทธิภาพ คณะนิติศาสตร จึงจัดใหมีโครงการและกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบทั้งภายใน และภายนอกคณะ รวมทัง้ ใหความรวมมือกับหนวยอื่นๆ ทุกภาคสวนในการใหความรวมมือ สนับสนุน สงเสริมและพัฒนางานดานตางๆ ทั้งดานวิชาการ ดานวิชาชีพ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานกีฬา ดานสิ่งแวดลอม ดานศิลปะและวัฒนธรรม อาทิเชน

170 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 178

6/6/16 10:35 AM


-

ดังนี้

กิจกรรมศาลจําลอง กิจกรรมแขงขันทางวิชาการตางๆ กิจกรรมนิทรรศการทางดานกฎหมายในวันรพี กิจกรรมเขาวัดถวายเทียนพรรษา กิจกรรมกีฬามหาวิทยาลัย กิจกรรมวันไหวครู กิจกรรมประชุมเชียร กิจกรรมสืบสานงานลอยกระทง ฟุตบอลประเพณีลูกรพีสัมพันธ โครงการเรียนรูก ารสือ่ สารดวยความกรุณา โครงการดานบําเพ็ญประโยชน ของ ชุมนุมนิติอาสาพัฒนา โครงการสงเสริมความรูดา นสิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม โครงการนักศึกษาแลกเปลีย่ นดานวิชาการและศิลปวัฒนธรรมกับประเทศ มาเลเซีย ศูนยชวยเหลือประชาชนทางกฎหมาย เครือขายของสคบ.จังหวัดสงขลา โครงการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา โครงการแขงขันตอบปญหากฎหมายระดับภาคใต ใหบริการคําปรึกษาทางกฎหมาย ใหบริการดานวิทยากร และอาจารยพิเศษ ใหบริการออกขอสอบเพื่อคัดเลือกตําแหนงนิตกิ ร ในหนวยงานตางๆ ใหบริการความรูกฎหมาย ทางสถานีวิทยุ มอ. รายการ “รูกฎหมายงาย นิดเดียว”

ประมวลผลงานนักศึกษาที่ไดรับประกาศเกียรติคุณยกยอง ในรอบ 5 ปที่ผานมา

- รางวัลรองชนะเลิ ศอั นดั บ 1 ชิ งถวยพระราชทานจากสมเด็จพระบรมโอรสา ธิราชสยามกุฎราชกุมาร ในการแขงขันตอบปญหากฎหมาย ประจําป 2551 - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 กิจกรรมแขงขันแถลงการณปดคดีดวยวาจาในชั้น อุทธรณ ประจําป 2552 (ณ คณะนิติศาสตรปรีดีย พนมยงค มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย) - รางวัลชนะเลิศการแขงขันตอบปญหากฎหมายแรงงาน เนือ่ งในวันรพี 2550 - รางวัลชมเชยการแขงขันแถลงการณปดคดีดวยวาจา เนื่องในวันรพี 2550 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 171

145x210mm_����������� �� 2560.indd 179

6/6/16 10:35 AM


ประมวลกิจกรรมเดนของคณะ 1. กระบวนพิจารณาคดีผานศาลจําลอง นักศึกษาปที่ 4 คณะนิติศาสตร แสดง ทักษะการวาความในศาล หาขอมูลกฎหมาย เตรียมคดีและแสดงทุกกระบวนการในศาล ใหนองๆ นักเรียนชมในงาน ม.อ. วิชาการ ประจําปของทุกป 2. Study Abroad โดยคณะนิติศาสตรไดทําความรวมมือทางวิชาการกับ University of Malaya ณ ประเทศมาเลเซีย จัดโครงการนักศึกษาแลกเปลี่ยน (Exchange Program) เพื่ อศึกษา เรียนรู แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและภาษาระหวางทั้งสองมหาวิทยาลัย 3. บริการความรูกฎหมาย โดยฝายบริการวิชาการของคณะนิติศาสตร ไดจัด กิจกรรมรูปแบบตางๆ มากมาย เพื่อใหบริการเผยแพรความรูทางกฎหมายที่ถูกตองแก ชุมชน อาทิเชน - รายการ “รูกฎหมายงายนิดเดียว” ออกอากาศทางสถานีวิทยุ ม.อ. ทุก วันเสาร เวลา 12.30–13.00 น. - คลินิกใหคําปรึกษาทางกฎหมาย

ความรวมมือทางวิชาการ

ปจจุบันคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดมีความสัมพันธในดาน ความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันทางนิติศาสตร ทั้งในและตางประเทศ อาทิ - สํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม - The Asian Law Institute ( ASLI) - American Bar Association (ABA) - University of Malaya, Malaysia - Xiamen University, PR.China - Chengdu University, PR.China

แนวทางการประกอบอาชีพ

เมื่อสําเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิตแลว สามารถเขาศึกษาตอในสาขากฎหมาย ชั้ นสูงได หลากหลายสถาบั นทั้ งในและต างประเทศ หรื อสามารถเข าทํางานในวิชาชีพที่ เกี่ยวของกับกฎหมายไดทั้งในหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ประกอบ อาชีพไดดังตอไปนี้

172 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 180

6/6/16 10:35 AM


ภาครัฐ - ผูพิพากษา - อัยการ - เจาพนักงานตํารวจ - เจาพนักงานคดีปกครอง - อาจารยสอนวิชากฎหมายในมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือเอกชน - นิติกรในสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือในกระทรวงทบวงกรมตางๆ - นายทหารพระธรรมนูญ ในกระทรวงกลาโหม ภาครัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน - ที่ปรึกษากฎหมาย - นิตกิ ร - เจาพนักงานอืน่ ๆ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 173

145x210mm_����������� �� 2560.indd 181

6/6/16 10:35 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะเศรษฐศาสตร

Faculty of Economics

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 2400 โทรสาร 0 7428 2410 E-mail: economics@psu.ac.th Homepage: http://www.economics.psu.ac.th คณะเศรษฐศาสตรเกิดจากการนําสาขาวิชาทางดานเศรษฐศาสตรที่ มีการเรียน การสอน การวิจัย และบริการวิชาการ ในคณะตางๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมา รวมกัน เพื่อใหเปนหนวยงานที่สามารถพัฒนาวิชาการทางสาขาเศรษฐศาสตรที่เขมแข็ง ขึ้น ความรูทางเศรษฐศาสตรสามารถนําไปประยุกตใชในภาคเอกชนและภาครัฐบาลทั้งใน สวนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการกําหนดนโยบายเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเห็นถึงความสําคัญองคความรูน จี้ งึ ไดจดั ตัง้ คณะเศรษฐศาสตร โดยเปนการรวมระหวาง ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตรและทรัพยากร คณะทรัพยากรธรรมชาติ และสาขาเศรษฐศาสตร จากคณะวิทยาการจัดการ เมื่อป 2546 ปจจุบันเปด

174 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 182

6/6/16 10:35 AM


Þ‹

สอนระดับปริญญาตรี 2 สาขา คือ สาขาเศรษฐศาสตร และสาขาเศรษฐศาสตรเกษตร สวนระดับปริญญาโทเปดสอนสาขาการจัดการธุรกิจเกษตร

วิสัยทัศน

เปนองคกรในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และบริการวิชาการ ดานเศรษฐศาสตร เปนทีย่ อมรับทัง้ ในระดับชุมชน ทองถิน่ และระดับประเทศ

พันธกิจ

1. ผลิตบัณฑิตทีม่ ีความรูทางเศรษฐศาสตรในระดับที่ประยุกตใชไดอยางเหมาะสม รวมทัง้ เปนผูม คี ณ ุ ธรรมและจริยธรรม 2. สรางสรรคงานวิจัยและบริการวิชาการที่มคี ุณภาพโดยตระหนักถึงผลประโยชน สวนรวมเปนทีต่ งั้

หลักสูตรคณะเศรษฐศาสตร

คณะเศรษฐศาสตร เปดสอนหลักสูตร 2 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอน 2 หลักสูตร คือ 1.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (B.Econ) หลักสูตรปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต กําหนดใหผูจบหลักสูตรตอง เรียนรายวิ ชาตางๆ ไมนอยกวา 131 หนวยกิ ต ซึ่ งประกอบดวย 3 หมวดวิชา คือ (1) หมวดวิชาเฉพาะ ประกอบดวย กลุ มวิชาแกนทางเศรษฐศาสตร กลุมวิชาชีพเลือก ทั้งในและนอกสาขาเศรษฐศาสตร (2) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบดวย กลุมวิชา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร กลุมวิชาภาษาและกลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (3) หมวดวิชาเลือกเสรี 1.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรเกษตร (B.Econ.(Agricultural Economics)) หลักสูตรปริ ญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตรเกษตร ไดกําหนดใหผู เรียน เรียนวิชาตางๆ ตามหลักสูตรรวม 133 หนวยกิต ซึ่งประกอบดวย กลุมวิชาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร กลุมวิชาภาษา กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรพื้นฐานทาง การเกษตร วิ ชาดานเศรษฐศาสตรและเศรษฐศาสตร เกษตร และสาขาที่ เกี่ ยวข อง ประกอบดวย วิชาแกน วิชาชีพบังคับ และวิชาชีพเลือกในสาขา และนอกสาขาเศรษฐศาสตรเกษตร และการฝกงานทางเศรษฐศาสตรเกษตร 400 ชั่วโมง (การเรียนรูวิถี àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 175

145x210mm_����������� �� 2560.indd 183

6/6/16 10:35 AM


ชุมชนเกษตรและการฝกงานทางเศรษฐศาสตรเกษตร) 2. ระดับปริญญาโท มีหลักสูตรบริหารธุรกิ จมหาบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจเกษตร (M.B.A. (Agribusiness Management) และเปนที่รูจักกันในนามหลักสูตร MAB ไดเปดสอนมา ตั้งแตปการศึกษา 2542 โดยหลักสูตรมุงผลิตมหาบัณฑิตใหเปนผูมคี วามรูทางธุรกิจเกษตร และมีทักษะในการคนควาวิจัย การเลือกใชเครื่ องมือทางเศรษฐศาสตรและการจัดการ ในการจัดการธุรกิจเกษตรอยางเหมาะสม มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอ ผูผ ลิต ผูบ ริโภคและสังคม จนถึงปจจุบนั (พ.ศ. 2558) หลักสูตรการจัดการธุรกิจเกษตรไดเปดรับนักศึกษา มาแลว 17 รุน จํานวน 670 คน ซึ่งผูเรียนรอยละ 29 มาจากภาคราชการและรัฐวิสาหกิจ รอยละ 28 เปนพนักงานบริษัทเอกชน รอยละ 16 ประกอบธุรกิจสวนตัว รอยละ 15 ทํางานธนาคาร และรอยละ 13 ประกอบอาชีพอื่นๆ ซึ่งชวงเวลาที่ผ านมาได มีการ ปรับปรุงหลักสูตรอยางตอเนื่องใหสอดคลองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป โดยนักศึกษา สวนใหญเลือกเรียนในแผน ข ในชวงที่ ผ านมา นอกจากหลั กสูตรจะรั บนั กศึ กษาไทยแล ว ยั งมี การรั บ นักศึกษาตางชาติมาเรียนดวย ทั้งนักศึกษาอินโดนีเซียและเวียดนาม หลักสูตรไดทํา ความรวมมือ (MOU) กับ Brawijaya University ในโครงการ Double Degree Program และกับ University of Sumatera Utara (USU) ประเทศอินโดนีเซีย ปจจุบัน (พ.ศ. 2558) มีมหาบัณฑิตสําเร็จการศึกษาไปแลว 15 รุน 550 คน โดยหลักสูตรสามารถผลิตมหาบัณฑิตใหสําเร็จการศึกษาภายในเวลาที่กําหนด (2 ปการ ศึกษา) เฉลี่ยคอนขางสูง กลาวคือ รอยละ 80.8 จุ ดเด นของหลั กสู ตร จากผลการประเมิ นมหาบัณฑิ ตหลายๆ รุ นที่ ผ านมา มหาบัณฑิตเห็นวาคณาจารยและบุคลากรของหลักสูตรเอาใจใสในการใหคําปรึกษาและ ดู แ ลนั กศึ กษาเป นอย างดี ทุ มเทในการดู แลติ ดตามงานให กั บนั กศึ ก ษาให มี คุ ณ ภาพ หลั กสู ตรมี คณาจารย ที่ ทรงคุ ณวุ ฒิ มี องคความรู ความพรอมในการถ ายทอดความรู มีความสัมพันธที่ดีระหวางอาจารย นักศึกษา และศิษยเกา รวมทั้งมีเครือขายชวยเหลือ กันในหลักสูตร ในภาพรวมเปนหลักสูตรที่ผลิตมหาบัณฑิตไดคุณภาพ มีความเขมขน ทั้งเชิงวิชาการและการประยุกตใช ไดความรูที่ตรงกับชื่อหลักสูตร เปนที่ยอมรับและ เชือ่ มัน่ ในสังคม

176 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 184

6/6/16 10:35 AM


จุดเดนของคณะเศรษฐศาสตร

คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร เปนคณะเศรษฐศาสตรแหง แรกของภาคใต มีระบบการบริหารงานแบบไมมีภาควิ ชา ซึ่ งมีความคลองตัวและมี ประสิทธิภาพในการดําเนินภารกิจ มีการบริหารแบบมีสวนรวมโดยบุคลากรทุกฝายและ นักศึกษาซึ่งเปนผูมีสวนไดสวนเสียโดยตรง สวนบรรยากาศการเรียนการสอนในคณะ เศรษฐศาสตรนั้น นักศึกษา อาจารย และบุคลากร มีความเปนกันเอง เนนใหนักศึกษา เขาใจชีวติ และสิง่ รอบขางดวยเหตุดว ยผลและความเปนจริง

ตลาดแรงงาน

บั ณฑิ ตที่ จบทางด านเศรษฐศาสตร สามารถประกอบอาชี พได หลากหลาย ดั ง ตัวอยางตอไปนี้ 1. บริ ษัทเอกชนและสถาบั นการเงิ น สามารถทําหน าที่ ในการวิ เคราะห และ วางแผนในสวนตางๆ ขององคกร วิเคราะหโครงการลงทุน วิเคราะหขอมูลทาง เศรษฐกิจ สังคม และธุรกิจ รวมถึงทําหนาที่ในฝายตางๆ เชน ฝายพัฒนาธุรกิจ ฝาย นําเขา-สงออก เปนตน 2. หนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ เชน นักวิจัย นักวิชาการ ทางดานการ วิ เคราะห และวางแผนในตําแหน งต างๆ ได แก เจ าหน าที่ วิ เ คราะห น โยบายและแผน เจาหนาที่ วิเคราะหระบบงาน เจาหนาที่ บุคคล เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป นักสถิติ เศรษฐสังคม นักวิชาการคลัง เศรษฐกร เจาหนาที่สงเสริมการลงทุน นักวิชาการแรงงาน นักวิชาการประกันสังคม และอาจารย 3. ประกอบอาชีพอิสระ

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

นักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร จะตองเสียคาใชจาย (รวมคาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียนเรียนและคาธรรมเนียมพิเศษ ไมรวมคาครองชีพ) ประมาณ 32,000 บาท/ป

สวัสดิการและกิจการนักศึกษา

นักศึกษาทุกคนสามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่จัดโดย สโมสรนักศึกษา ชุมนุม ไดตลอดปการศึกษา โดยเฉลี่ยปละ 25-30 โครงการ และทุกกิจกรรมที่นักศึกษาเขารวม จะไดรับการบันทึกลง Transcript กิจกรรมเพื่อสะสมชั่วโมงกิจกรรมตามที่มหาวิทยาลัย กําหนด àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 177

145x210mm_����������� �� 2560.indd 185

6/6/16 10:35 AM


มหาวิ ทยาลัยสงขลานคริ นทร กําหนดให นักศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี ต องเข ารวม กิจกรรมเสริมหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่ ศึกษาในมหาวิทยาลัย และมีหนวยชั่ วโมงการ เขารวมไมนอยกวา 100 หนวยชั่วโมง 1. ทุนการศึกษา - จัดสรรทุนการศึกษาใหนักศึกษาในคณะ - ประสานเรื่องทุนการศึกษากับมหาวิทยาลัย - แจงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับทุนการศึกษาใหนักศึกษาทราบ 2. เงินกูยืมฉุกเฉิน ครั้งละ 1,000 บาท 3. งานบริการและสวัสดิการ - ประสานงานเกี่ยวกับหอพัก ระบบประกันสุขภาพ บริการขอมูลขาวสาร (บอรด/เว็ปไซด/แจงผานประธานสาขา-ชั้นป) - มีหอ งละหมาด - หองกิจกรรม / สถานที่จัดกิจกรรม / study room จํานวน 12 หอง

แนะแนวอาชีพ

คณะได ประสานงานระหว างบริ ษัท หน ว ยงานต า งๆ ให แ ก นั กศึ กษา ผู สนใจ สมัครงาน รวมทั้ งจัดอบรมพั ฒนาเพื่ อเตรี ยมความพร อมในการประกอบอาชีพใหแก นักศึกษาดวย

งานวินยั นักศึกษา

- ดู แ ลสอดส องพฤติ กรรมของนั กศึ กษาที่ แสดงออกหรื อปฏิ บัติ ตนอย างไม เหมาะสมทั้งดานการเรียน การแตงกาย หรือการกระทําอื่นใดที่ขัดตอระเบียบ วาดวย การเป นนั กศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยดําเนิ นการตามกระบวนการในประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยวินัยนักศึกษา - สงเสริม สนับสนุน และรณรงคเพื่อพัฒนานักศึกษา ไมใหกระทําผิดตาม ระเบียบของคณะและมหาวิทยาลัย เชน รณรงคการแตงกาย เปนตน

คอมพิวเตอร

- หองคอมพิวเตอรมีเครื่องคอมพิวเตอรรวม 40 เครื่อง พรอมเจาหนาที่ดูแล ระบบและใหคําปรึกษาตลอดเวลาราชการ - Wireless Lan ทุกชั้นตลอดทั้งตึก

178 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 186

6/6/16 10:36 AM


- Software ในการเรี ยนการสอนมี การพั ฒนาให เ ป นป จจุ บั นตลอด ทําให นักศึกษาไดรับความสะดวกในการเขาถึงขอมูล

หองอานหนังสือ

- บริการหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ หนังสือพิมพ

ระบบการดูแลและใหคําปรึกษา -

มีระบบอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการ กิจกรรม อยางใกลชิด ทั้งใน-นอกเวลา มีกิจกรรมเพื่อรับฟงขอมูล ความคิดเห็น ปญหาจากนักศึกษา มีระบบรุนพี่ รุนนอง ใหคําปรึกษาโดยเจาหนาที่ อาจารย และการสงตอผูเกี่ยวของ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 179

145x210mm_����������� �� 2560.indd 187

6/6/16 10:36 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะแพทยแผนไทย

Faculty of Traditional Thai Medicine

ทีอ่ ยู

สํานักงานชั่วคราว อาคารคณะการจัดการสิ่งแวดลอม ชั้น 8 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 0-7428-2702, 0-7428-2707 โทรสาร 0-7428-2709 E-mail: ttmed@group.psu.ac.th Homepage: http://www.ttmed.psu.ac.th

ในป พ.ศ. 2543 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดมีแนวคิดในการจัดการศึกษา ด านการแพทยแผนไทย เพื่ อเป นการอนุ รักษ สื บทอด และพั ฒนาภู มิ ปญญาด านการ แพทยแผนไทย ให เกิ ดประโยชนต อการดูแลสุขภาพของคนไทย เปนสวนหนึ่ งของการ สรางความเขมแข็งในการพึ่งพาตนเองดานการดูแลสุขภาพของประชาชน ตอมาในป พ.ศ. 2547 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดจัดตั้ง “โครงการจัดตั้งคณะการแพทยแผนไทย” และไดรับอนุมัติใหจัดตั้งเปน “คณะการแพทยแผนไทย” ในป พ.ศ. 2550 (ตามมติที่ประชุม สภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 302 (9/2550) เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2550) คณะการแพทยแผนไทย จัดแบงโครงสรางการบริหารงานเปน 5 หนวยงานยอย คือ สาขาวิชาเวชกรรมไทย สาขาวิชาเภสัชกรรมไทย สาขาวิชาการนวดไทย สาขาวิชา

180 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 188

6/6/16 10:36 AM


การผดุ งครรภ ไทย และโรงพยาบาลการแพทย แผนไทย หนวยงานที่ เป นสาขาวิ ชา ทําหนาที่ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่สังกัดในสาขาวิชาตามที่หลักสูตรกําหนด สวนโรงพยาบาลการแพทยแผนไทย ทําหนาที่ ใหบริการวิชาชี พดานการแพทยแผนไทย แกบุคคลทั่วไป โดยใหบริการวิชาชีพครบทั้ง 4 ประเภทคือ เวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การนวดไทย การผดุงครรภไทย และเปนแหลงฝกปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพใหแกนักศึกษา คณะการแพทยแผนไทย บุคลากรที่ใหบริการของโรงพยาบาลการแพทยแผนไทย เปนผู ที่ไดรับใบประกอบโรคศิลปะ มีความรู ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ ในสวนของสํานักงาน คณะไดจัดโครงสรางการบริหารงานเปน 2 ฝาย คือ ฝายสนับสนุนวิชาการ และฝาย บริ ห ารทั่ ว ไป มี บุ คลากรสายสนั บสนุ น ปฏิ บัติ ง านในส ว นงานต างๆ ในการสนั บสนุ น การจัดการศึกษา และการปฏิบัติภารกิจอื่นๆ ของคณะฯ ใหเปนไปตามวิสัยทัศน พันธกิจ ทีค่ ณะฯ กําหนด

หลักสูตรคณะการแพทยแผนไทย

คณะการแพทยแผนไทย เปดสอนหลักสูตร 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับปริญญาตรี เปดสอนหลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต (พท.บ.) เปนหลักสูตร 4 ป เพื่อ ผลิตบัณฑิตทางดานการแพทยแผนไทย ที่สามารถนําความรูและทักษะทางดานการแพทย แผนไทยไปประกอบวิ ชาชี พได เป นอย างดี มีทั กษะในเชิ งวิ ชาชี พ ทั กษะในการสื่ อสาร ทักษะในการจัดการ วิเคราะห สามารถพัฒนาองคความรู ทางด านการแพทย แผนไทย และผสมผสานความรู ทางด านแพทยแผนไทยและแผนปจจุ บันใหเกิ ดเป นความรู ที่ เอื้ อ ประโยชนตอสังคมและการพึง่ ตนเองดานสุขภาพ สาระความรูที่เรียน ประกอบดวย 4 หลักวิชาดานการแพทยแผนไทย ดังนี้ 1. เวชกรรมไทย เกี่ยวกับการตรวจโรค การหาสาเหตุของการเกิดโรค การ วางแผนการรักษาโรค และการตั้งตํารับยารักษาโรค 2. เภสัชกรรมไทย เกี่ยวกับเภสัชวัตถุ สรรพคุณเภสัช คณาเภสัช และ เภสัชกรรมไทย (การปรุงยาแผนไทย) 3. ผดุงครรภไทย เกี่ ยวกับการดูแลสุขภาพแมและเด็ก ทั้ งกอน-ระหวางหลังคลอด 4. การนวดไทย เกี่ยวกับการนวดพื้นฐาน นวดราชสํานัก นวดเพือ่ การรักษา นวดไทยทักษิณ นวดบริการสุขภาพ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 181

145x210mm_����������� �� 2560.indd 189

6/6/16 10:36 AM


2. ระดับปริญญาโท เปดสอนหลักสูตรการแพทยแผนไทยมหาบัณฑิต (พท.ม.) เปนหลักสูตร 2 ป เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความเขาใจในทฤษฎีการแพทยแผนไทย สามารถบูรณาการ องค ค วามรู กั บศาสตร อื่ นที่ เกี่ ย วข อง มี ทั ก ษะในกระบวนการวิ จั ยและการพั ฒ นา องค ความรู ท างด านการแพทย แ ผนไทย โดยผ านกระบวนการวิ จั ยเชิ งวิ ท ยาศาสตร สังคมศาสตร และ/หรือศาสตรอื่นที่เกี่ยวของ และสามารถนําความรูจากการวิจัยไปใช ประโยชนตอการพัฒนาวิชาชีพ เปนหลักสูตรที่มุงเนนผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความ สามารถในการแพทยแผนไทยที่ ลุมลึกมากขึ้ น และสงเสริมการวิจัยเพื่ อพิสูจนศาสตร การแพทย แผนไทย โดยอาศั ยความรู ทางดานวิ ทยาศาสตร สั งคมศาสตร และ/หรื อ ศาสตรอื่นที่เกี่ยวของ หลักสูตรปริญญาโทนี้เนนการทําวิทยานิพนธ เปนการศึกษาแบบ แผน ก แบบ ก 1 และแบบ ก 2 3. ระดับปริญญาเอก เปดสอนหลักสูตรการแพทยแผนไทยดุษฎีบัณฑิต (พท.ด.) เปนหลักสูตรที่เปด รับนักศึกษา 2 แบบ คือแบบ 1 ทําวิทยานิพนธเพียงอยางเดียว โดยแบงออกเปน 2 แบบ คือ แผน 1.1 สําหรบนักศึกษาปริญญาโท ใชเวลาเรียน 3 ป แผน 1.2 สําหรับนักศึกษา ปริญญาตรี ใชเวลาเรี ยน 4 ป และแบบที่ 2 ลงเรี ยนรายวิ ชาและทําวิ ทยานิ พนธ โดยแบงออกเปน 2 แผน คือ แผน 2.1 สําหรับนักศึกษาปริญญาโท ใชเวลาเรียน 3 ป แผน 2.2 สําหรับนักศึกษาปริญญาตรี ใชเวลาเรียน 4 ป หลักสูตรมีเปาหมายเพื่อเปน หลักสูตรที่มงุ ผลิตนักวิจยั และนักวิชาการทีม่ ีพนื้ ความรูด านการแพทยแผนไทย และมีทกั ษะ ทางดานการวิจัยระดับสูง เปนผูนําทางวิชาการที่ผลิตงานวิจัยดานการแพทยแผนไทยที่มี คุณภาพ และสรางองคความรูใ หมใหเปนที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจน เปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ

จุดเดน

1. หลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต เปนหลักสูตรที่เนนทั้งวิชาบรรยาย วิชาปฏิบัติการ และการฝกปฏิบัติงาน เชิ งวิ ชาชีพหรื อฝ กประสบการณทางวิ ชาชี พ ในวิ ชาปฏิบัติ การจะเน นสอนให นั กศึ กษา ไดฝกปฏิบัติตรวจวินิจฉัยโรคและจายยารักษาผูปวยจริง รูจักสมุนไพรที่ มีการนํามาใช เปนยาทั้ งในรูปแบบสดและแหง ฝกใหสามารถเตรียมยาแผนไทยในรูปแบบยาเตรียม ตางๆ เชน ผง เม็ด แคปซูล ฯลฯ นอกจากนี้ยังฝกใหสามารถเตรียมผลิตภัณฑจาก

182 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 190

6/6/16 10:36 AM


สมุนไพรในหลากหลายรูปแบบ เชน ครีม เจล แคปซูล ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความสามารถและทักษะที่จะออกไปประกอบอาชีพดานการแพทยแผนไทยไดเปนอยางดี มีการเตรียมความพรอมใหกับผูที่จะสําเร็จการศึกษา โดยจัดใหมีการสอบประมวลความ รอบรู ก อ นสํา เร็ จ การศึ กษา ซึ่ งเป นส วนหนึ่ งของการประกั นคุ ณภาพการศึ กษาของ หลักสูตร และเปนการวัดผลการประมวลความรูเชิงวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อใหมีความมั่นใจไดวาบัณฑิตที่จะสําเร็จการศึกษาออกไปประกอบวิชาชีพ เปนผูที่ มีความรูความสามารถอยางแทจริง นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมความพรอมดานตางๆ ให กับนักศึกษา ไดแก การพัฒนาทักษะทางดานภาษาอังกฤษ การเตรียมความพรอมอยาง เขมแข็งและตอเนื่อง เพื่อใหสามารถสอบใบประกอบโรคศิลปะดานการแพทยแผนไทยใน 4 ประเภท คือ เวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การนวดไทย และการผดุงครรภไทย มีการ เตรี ยมความพร อมและปลูกฝงให นักศึกษามีความคิดในการสรางงานและการประกอบ อาชีพอิสระตั้งแตชั้นปที่ 1 เปนตนไป และมีการจัดโครงการเตรียมความพรอมใหกับ นักศึกษาชั้นปที่ 4 ในการสมัครงาน สัมภาษณงานและการทํางาน 2. หลักสูตรการแพทยแผนไทยมหาบัณฑิต เปนหลักสูตรที่ มุงเนนผลิตมหาบัณฑิตที่ มีความรูความสามารถในการแพทย แผนไทยที่ลุมลึก สงเสริมการวิจัยเพื่อพิสูจนศาสตรการแพทยแผนไทยโดยอาศัยความรู ทางดานวิทยาศาสตร สังคมศาสตร และ/หรือศาสตรอื่นที่เกี่ยวของ สงเสริมใหผูเรียน มีความเชี่ ยวชาญในเชิ งวิ ชาการและวิ ชาชีพขั้ นสูง เน นกระบวนการวิจัยทางการแพทย แผนไทย โดยอาศัยกระบวนการวิจั ยอยางเปนระบบ มี การใช องค ความรู จากท องถิ่ น เขามาชวยเสริมการเรียนการสอน โดยเชิญแพทยพื้ นบานและแพทย แผนไทยที่ มีความ เชี่ยวชาญในวิชาชีพการแพทยแผนไทย เปนอาจารยพิเศษรวมสอนในรายวิชาที่เกี่ยวของ เพื่ อให ผู เรียนไดเรี ยนรู ทั้ งองค ความรู จากทองถิ่ น เรียนรู ภูมิ ปญญาจากแพทยพื้ นบาน และแพทย แผนไทย และองค ความรู เชิงวิ ทยาศาสตรที่ เกี่ ยวข องกับวิ ชาชี พการแพทย แผนไทย โดยมีความเชื่อมั่นวามหาบัณฑิตจะเปนผูนําในวิชาชีพ และเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนาองคความรู ดานการแพทยแผนไทย สรางผลงานวิชาการที่จะเปนประโยชน/ ขยายผลนําไปประยุกตใชในวงการวิชาชีพการแพทยแผนไทย เปนบุคลากรสําคัญในการ พัฒนาวิทยาการความรูใ หกาวทันกับวิชาชีพในแขนงอื่น 3. หลักสูตรการแพทยแผนไทยดุษฎีบัณฑิต เปนหลักสูตรที่ เนนผลิตบุ คลากรที่ มีความรู ความชํานาญในสาขาการแพทย แผนไทย สามารถผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเปนที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 183

145x210mm_����������� �� 2560.indd 191

6/6/16 10:36 AM


พัฒนาองคความรูใ หมที่สามารถนําไปพัฒนาและประยุกตใชใหสอดคลองกับความตองการ ของสังคมและประเทศชาติ

แหลงงานรองรับ

เมื่ อสํา เร็ จการศึ กษา สามารถเข า ทํางานทั้ ง ในหน ว ยงานภาครั ฐและเอกชน โดยเฉพาะในโรงพยาบาล และ/หรื อสถานพยาบาลที่ มี การให บริ การสุ ขภาพด านการ แพทยแผนไทย ในปจจุบันสถานบริการสุขภาพของภาคเอกชน เชน สถานบริการนวดไทย สปาไทย มีความตองการบุคลากรทางด านการแพทยแผนไทยสูงมาก อีกทั้งในสถาบัน อุดมศึกษายังมีความตองการนักวิชาการ/นักวิจัย ไปพัฒนาองคความรูทางดานการแพทย แผนไทย นอกจากนี้เมื่ อไดรับใบประกอบโรคศิลปะยังสามารถประกอบอาชีพอิสระดาน การแพทยแผนไทยไดอีกดวย ไดแก เวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การนวดไทย และ การผดุงครรภไทย

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

1. นักศึกษาระดับปริญญาตรี เหมาจาย 22,000 บาท/ภาคการศึกษา หรือ ประมาณ 176,000 บาท ตลอดหลักสูตร 2. นักศึกษาระดับปริญญาโท เหมาจาย 30,000 บาท/ภาคการศึกษา หรือ ประมาณ 120,000 บาท ตลอดหลักสูตร 3. นั กศึกษาระดั บปริ ญญาเอก เหมาจาย 35,000 บาท/ภาคการศึ กษา หรื อ ประมาณ 2,800,000 บาท (สําหรับแผน 1.2, 2.2) และ 2,100,000 บาท (สําหรับแผน 1.1 และ 2.1)

โรงพยาบาลการแพทยแผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ทีอ่ ยู อาคารคาเฟต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โทรศัพท 074-282710-14 โทรสาร 074-282711 Website: http://www.ttmed.psu.ac.th/hospital/

โรงพยาบาลการแพทยแผนไทย เริ่ มกอตั้ งเมื่ อวันที่ 24 กรกฎาคม 2551 โดย ปรับปรุงจากอาคารคาเฟตเกาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เพื่อเปดใหบริการวิชาชีพ ทางการแพทย แผนไทย และเปนแหล งฝ กปฏิบัติงานเชิ งวิ ชาชี พแกนั กศึ กษาการแพทย แผนไทย หลังจากนั้นประมาณ 1 ป ได มีการตอเติ มจากอาคารเดิมเป นห องผลิ ตยา

184 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 192

6/6/16 10:36 AM


แผนไทย เพื่ อใช เปนสถานที่ ผลิตยาสําหรั บจายแก ผู ปวยในโรงพยาบาล และได จัดใหมี พิธีเปดอยางเปนทางการขึ้นในวันที่ 29 ตุลาคม 2552 ปจจุบันโรงพยาบาลการแพทยแผนไทยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดเปดให บริการวิชาชีพทางการแพทยแผนไทยอยางเต็มรูปแบบครอบคลุมทั้ง 4 สาขา คือ เวชกรรมไทย ไดแก การตรวจวินิจฉัยโรค เปรียบเทียบหาความสัมพันธของ สาเหตุการเกิดโรค อาการและพยาธิสภาพของโรค วิเคราะหความสัมพันธของธาตุ กําเนิด ธาตุปจจุบันและอาการเจ็บปวย และหลักการของการแพทยแผนไทย และให การรักษาดวยยาแผนไทยหรือยาสมุนไพร

เภสัชกรรมไทย ไดแก การเตรียมหรือผลิตยาแผนไทย สําหรับการจายแกผูปวย ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลฯ ทั้งยาสมุนไพรเดี่ยว ยาสามัญประจําบาน แผนโบราณ และตํารับยาสมุนไพรอื่นๆ กวา 40 ตํารับ

การนวดไทย ไดแก การตรวจ การวินิจฉัย และการบําบัดโรคดวยการนวดโดย ผู ประกอบโรคศิ ลปะสาขานวดไทยที่ มี ความรู ความสามารถในหลากหลายรู ปแบบ เช น การนวดเพื่อสุขภาพ นวดบําบัดโรค นวดน้ํามัน นวดฝาเทา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 185

145x210mm_����������� �� 2560.indd 193

6/6/16 10:36 AM


การผดุงครรภไทย ไดแก การสงเสริมสุขภาวะของทารก หญิงในระยะตั้งครรภ ระยะคลอด และภายหลังคลอด และการดูแลตามหลักการแพทยแผนไทย ผนวกกับการ นําภูมิปญญาการดูแลสุขภาพตามวิถีไทยโบรารณมาประยุกตใช เชน การทับหมอเกลือ การอยูไฟ การประคบสมุนไพร การนั่งถาน ทั้งนี้เพื่อใหมารดาหลังคลอดกลับมามี สุขภาพทีแ่ ข็งแรงดวยบริการทีพ่ รอมดวยคุณภาพและมาตรฐาน

นอกจากนี้ ยังใหบริการวิชาการและวิชาชีพแก ชุมชน และยังเปนสถานที่หลักใน การฝกปฏิบัติงานหรือฝกประสบการณทางวิชาชีพการแพทยแผนไทยในสถานการณจริง ใหกับนักศึกษาหลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต เพื่อเตรียมความพรอมใหกับนักศึกษา การแพทยแผนไทย เปนบัณฑิตที่มีความรูและทักษะ วิชาชีพ มีภาวะผูนํา มีคุณธรรมและ จริยธรรม ตามคุณลักษณะที่พึงประสงคของบุคลากรดานการแพทยแผนไทย

186 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 194

6/6/16 10:36 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

คณะเทคนิคการแพทย

Faculty of Medical Technology

ทีอ่ ยู

(อาคารชั่วคราว) ชั้น 3-4 อาคารบริหารวิชาการรวม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 0 7428 9102-24 โทรสาร 0 7428 9101 E-mail: medtech@group.psu.ac.th Homepage: http://medtech.psu.ac.th หลักสูตรวิทยาศาสตรบั ณฑิต สาขาเทคนิคการแพทย (Bachelor of Science Program in Medical Technology) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปดรับนักศึกษา รุนแรกเมื่อปการศึกษา 2551 เปนหลักสูตร 4 ป รับนักศึกษาปละ 60 คน มีจํานวน หนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 143 หนวยกิต

จุดเดน

1. เปดสอนในวิทยาเขตหาดใหญที่มีความพรอมในดานสถานที่ อุปกรณการเรียน การสอน ความทันสมัยในเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหองสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ มีสถานที่ ฝกงานทีท่ นั สมัยและมีความพรอมทีส่ ดุ ในภาคใต àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 187

145x210mm_����������� �� 2560.indd 195

6/6/16 10:36 AM


2. มีความพรอมในดานบุคลากร คณาจารยและนักเทคนิคการแพทยของมหาวิทยาลั ยสงขลานคริ นทร มี ทักษะและความชํานาญสู งในการสอน การให บริ การตรวจ วิเคราะหในงานชันสูตรโรค และการทําวิจัย 3. มุงเนนการวิจัยและพัฒนา เพื่อสรางนวัตกรรมในการตรวจวินิจฉัยโรค ผลิต ชุดการตรวจวินจิ ฉัยโรคเชิงพาณิชย โดยเฉพาะที่เปนปญหาสาธารณสุขของภูมิภาคภาคใต 4. จัดการศึกษาที่สอดคล องกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม และแสวงหา ความรวมมือกับตางประเทศเพื่อพัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการ แพทยเพื่อสรางความเปนเลิศทางวิชาการ 5. ผลิตบัณฑิตนักเทคนิคการแพทยที่มีคุณธรรมจริยธรรม มีทักษะสังคม และมี จิตบริการ มีความรูตามมาตรฐานวิชาชีพ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถเรียนรู และทําวิจยั ดวยตนเอง

แนวทางในการประกอบอาชีพ

ผูจบการศึกษาจะไดรับปริญญา วท.บ. (เทคนิคการแพทย) มีตําแหนงงานรองรับ มากมายทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตเทคนิคการแพทยสามารถเลือกประกอบ อาชีพไดหลากหลาย อาทิ 1. นั กเทคนิ ค การแพทย ปฏิ บั ติ ง านชั น สู ต รโรคในห อ งปฏิ บั ติ ก ารของ โรงพยาบาล หองปฏิบัติการนิติวิทยาศาสตร และหองปฏิบัติการอาหารและน้ําของ หนวยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน วิ ช าชี พเทคนิ คการแพทย เป น วิ ช าชี พ ที่ ปฏิ บั ติ ง านภายใต พ ระราชบั ญญั ติ วิชาชีพเทคนิคการแพทย พ.ศ. 2547 มีสภาเทคนิคการแพทยทําหนาที่ควบคุมดูแลการ ประกอบวิชาชีพ บัณฑิตเทคนิคการแพทยที่จะประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยจะตอง สอบเพื่ อขอใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเทคนิ คการแพทยจากสภาเทคนิคการแพทยกอน จึงจะทํางานได 2. นักวิจัยในสถาบันวิชาการ อาทิ มหาวิทยาลัย กระทรวงสาธารณสุข สถาบัน วิจัยทางวิทยาศาสตรการแพทย สถาบันนิติเวชศาสตร ศูนยไบโอเทค กรมวิทยาศาสตร การแพทย กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ องคการเภสัชกรรม โรงงาน อุตสาหกรรม และบริษัทเอกชน 3. อาจารยในมหาวิทยาลัย สอนในคณะเทคนิคการแพทย คณะแพทยศาสตร และคณะวิทยาศาสตร ตลอดจนคณะตางๆ ทางวิทยาศาสตรและวิทยาศาสตรการแพทย

188 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 196

6/6/16 10:37 AM


4. ผูแทนขาย สามารถทํางานดานแนะนํา นําเสนอ น้ํายา ชุดตรวจวิเคราะห วัสดุ อุปกรณ และ/หรือเครื่องมือวิทยาศาสตรที่ใชในหองปฏิบัติการชันสูตรโรค หอง ปฏิบัตกิ ารวิจัย ตลอดจนหองปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรม 5. ประกอบอาชี พอิ สระ เป ดคลิ นิ กแล็ บเอกชน เป ดบริ ษัทหรือโรงงานผลิ ต น้ํายาที่ใชในโรงงานชันสูตรโรค เปนบริษัทตัวแทนจําหนายหรือนําเขาน้ํายา วัสดุอุปกรณ ทางการแพทย และเครือ่ งมือวิทยาศาสตรจากตางประเทศ 6. ศึ กษาต อ ศึกษาตอในระดับปริ ญญาโทและปริ ญญาเอกในสาขาเทคนิ ค การแพทย หรือวิทยาศาสตรหลากหลายสาขาวิชาทีส่ นใจได 7. อื่ นๆ มีนักเทคนิคการแพทยหลายทานที่ มีความสามารถพิเศษ และประสบ ความสําเร็จในวิชาชีพศิลปน นักธุรกิจ นักการเมือง เปนตน

วิธีการคัดเลือกและคุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขารับการศึกษา

1. นักเรียนโควตาเรียนดี เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาชั้น ม. 6 สายวิทยาศาสตร ทั่วประเทศ มีผลการเรียน GPA และกลุมสาระภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และสังคม เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.25 2. นักเรียนมีความสามารถพิเศษทางดานกีฬา มีผลการเรียน GPA และกลุม สาระภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.25 3. วิธีรับตรงของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยเปนนักเรียนที่กําลังศึกษา อยู ชั้ นมัธยมศึ กษาปที่ 6 สายวิทยาศาสตรของโรงเรี ยนที่ ตั้ งอยู ใน 14 จั งหวั ดภาคใต มีโควตาสําหรับนักเรียนจากภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. การสอบคัดเลือกในระบบกลาง (admission) ของที่ประชุมอธิการบดีแหง ประเทศไทย (สอท.) โดยเปนผูจบการศึกษามัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทยาศาสตร 5. นั กเรี ย นโครงการคั ด เลื อกนั กศึ กษาชาวไทยที่ นั บถื อศาสนาอิ ส ลามใน จังหวัดชายแดนภาคใต ตามโครงการกระทรวงมหาดไทย มีผลการเรียน GPA และ กลุมสาระภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.50 6. นั กเรี ยนจากมู ลนิ ธิ สงเสริ มโอลิ มป กวิ ชาการและพั ฒนามาตรฐานวิ ทยาศาสตรศึกษา (สอวน.) มีผลการเรียน GPA และกลุมสาระภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.50 7. รับนักศึกษาจากโรงเรียนในโครงการหองเรียนวิทยาศาสตรโดยการกํากับ ดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ ว.ม.ว.) มีผลการเรียน GPA และกลุมสาระภาษา อังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.50 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 189

145x210mm_����������� �� 2560.indd 197

6/6/16 10:37 AM


8. นักเรียนโครงการรับผูผานการแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธ มีผลการ เรียน GPA และกลุมสาระภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร เฉลี่ยไมต่ํากวา 3.50

ระยะเวลาในการศึกษา

เปนหลักสูตรทวิภาคทั้งหลักสูตร 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

เหมาจาย 18,000 บาทตอภาคการศึกษา หรือประมาณ 144,000 บาท ตลอด หลักสูตร

ศูนยบริการเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทีอ่ ยู

(อาคารชั่วคราว) อาคารบริหารวิชาการรวม ชั้น 4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 0 7428 9134 โทรสาร 0 7428 9101 E-mail: jariya.j@psu.ac.th เวลาเปดบริการ : จันทร – อาทิตย เวลา 08.30 – 16.30 น.

ขอบเขตการใหบริการ

ใหบริการตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภเพื่อคนหาหญิงตัง้ ครรภที่มภี าวะเสี่ยงสูงตอ การมีลูกเปนดาวนซินโดรม และภาวะ pre-eclampsia (ครรภเปนพิษ) ในคนที่ใหผลบวก ตอการคัดกรองโรคดาวน ซินโดรม ทางศูนยบริการเทคนิคการแพทยจะทําการทดสอบ Karyotyping กับตัวอยางน้ําคร่ํา เพื่อยืนยันผลตรวจคัดกรองดาวนซินโดรม นอกจากนี้ ทางศูนยบริการเทคนิคการแพทยยังใหบริการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดเพื่อคนหาทารก ที่มีความผิดปกติแตกําเนิด ไดแก โรคเออ (ภาวะ TSH สูงกวาปกติ) และโรค PKU เปนตน นอกจากนี้ ยังเปนสถานทีส่ ําหรับการฝกปฏิบัตงิ านและฝกประสบการณทางวิชาชีพ เทคนิคการแพทยใหกบั นักศึกษาเทคนิคการแพทยอีกดวย

190 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 198

6/6/16 10:37 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร Faculty of Veterinary Sciences (The establishment project)

ทีอ่ ยู

โครงการจัดตัง้ คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ 15 ถ.กาญจนวนิช ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 08 7630 5995 E-mail: vetpsu@gmail.com Homepage: http://www.vet.psu.ac.th Facebook Fanpage: โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลัยสงขลานครินทรมี ความมุ งมั่ นในการจัดตั้ งคณะสัตวแพทยศาสตร เพื่อตอบสนองความตองการของสังคมและประเทศชาติ โดยมีเอกลักษณที่ไมซ้ํากับคณะ สัตวแพทยศาสตรที่มีอยูแลวในประเทศไทย ซึ่งไดเปดหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต จัดการศึกษาดานสัตวแพทยในระดับปริญญาตรี ตั้งแตปการศึกษา 2558 นอกจากนี้ มีความรวมมือดานหลักสูตรกับหนวยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาระบาดวิทยา + ประกาศนียบัตร IFETP-V àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 191

145x210mm_����������� �� 2560.indd 199

6/6/16 10:37 AM


(International Field Epidemiology Training Program – Veterinarian) ซึ่งมีความ รวมมือกับ (1) สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเปนตัวแทนระดับภูมิภาคของ องคการอนามัยโลกและศูนยควบคุมโรค ประเทศสหรัฐอเมริกา และ (2) โครงการจัดตั้ง คณะสัตวแพทยศาสตร หลักสูตรนี้เปนหลักสูตรนานาชาติ เปดสอนในปการศึกษา 2555 โดยรับผูที่จบการศึกษาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต โดยเฉพาะผูที่มีประสบการณการทํางาน ในพื้นที่ ใชเวลาศึกษา 3 ป

จุดเดน

1. เนนวิทยาศาสตรการสัตวแพทย ที่มพี ื้นฐานจากงานวิจัย 2. เนนความเปนเลิศในสัตวเคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก นกเขาชวาเสียง และนกกรง หัวจุก รวมถึงสัตวน้ําซึง่ เปนสัตวเศรษฐกิจของภาคใต 3. เนนความเปนเลิศทางดานอาหารปลอดภัย อาหารฮาลาล 4. มีการเรียนการสอนทีฝ่ กการปรับตัวใหเขากันชุมชนมุสลิม สามารถสื่อสารดวย ภาษามลายู เนนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นๆ พรอมรับการปรับตัวสูประชาคมอาเซียน 5. เนนการศึกษาทางระบาดวิทยาเพือ่ การควบคุมโรคในสัตวและโรคสัตวสคู น 6. มุงเนนการผลิตบัณฑิตที่รอบรูทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ สามารถบูรณาการความรู นี้เขากับวิทยาศาสตรแขนงอื่นๆ ตามกรอบความคิดเรื่อง “สุขภาพคน สุขภาพสัตว และ สุขภาวะสิ่งแวดลอม (One world One health)” และสามารถปฏิบัติงานในสังคม พหุวัฒนธรรมและอาเซียนไดเปนอยางดี

แนวทางในการประกอบอาชีพ

1. หนวยงานราชการ เชน กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรม ควบคุมโรคระบาด กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และกระทรวงมหาดไทย เปนตน 2. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ เชน องคการสวนสัตว และองคการอุตสาหกรรมปาไม เปนตน

192 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 200

6/6/16 10:37 AM


3. หนวยงานเอกชน เชน โรงพยาบาลสัตว คลินิกรักษาสัตว สถานประกอบ กิจการเลี้ยงสัตว และบริษัทยาและอาหารสัตว เปนตน 4. องคการระหวางประเทศ เชน องคการอนามัยโลก (WHO) องคการอาหาร โลก (FAO) และองคการโรคระบาดสัตวระหวางประเทศ (OIE) เปนตน 5. กระทรวงศึกษาธิการ เชน อาจารยในมหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย และ สัตวแพทยผดู ูแลสัตวทดลอง เปนตน 6. ประกอบธุรกิจสวนตั ว เชน โรงพยาบาลสัตว คลินิกรักษาสัตว และธุรกิจ ฟารมเลี้ยงสัตว เปนตน 7. ศึกษาต อระดั บปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาสั ตวแพทยหรือสาขาอื่ นๆ ทีเ่ กีย่ วของ

คาธรรมเนียมการศึกษา 28,000

บาท/ภาคการศึกษา

โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษตางๆ

1. โครงการทายาทเกษตรกร 2. โครงการผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (สาขาทางวิทยาศาสตรชีวภาพ และสุขภาพ) 3. โครงการนักเรียนมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต (ปตตานี ยะลา นราธิวาส) และ 5 อําเภอในจังหวัดสงขลา (นาทวี จะนะ เทพา สะเดา และสะบายอย) 4. โครงการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง (Admission)

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 193

145x210mm_����������� �� 2560.indd 201

6/6/16 10:37 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Prince of Songkla University International College

ทีอ่ ยู

ศูนยทรัพยากรการเรียนรู (LRC) ชั้น 12 (อาคาร 2) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท 0-7428-9400-4 โทรสาร 0-7428-2831 E-mail: psuic-admission@psu.ac.th Homepage: www.uic.psu.ac.th วิทยาลัยนานาชาติ เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดิจิทัลมีเดีย (นานาชาติ) ซึ่งเปนหลักสูตร 4 ป เปดรับนักศึกษาในปการศึกษา 2555 เปนปแรก มีแผน การรับนักศึกษาปการศึกษาละ 60 คน เนื้อหาของหลักสูตรเนนในศาสตรคอมพิวเตอร ศิลปะและการสื่อสาร รวมทั้งการพัฒนาความคิดสรางสรรค โดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในการออกแบบและการผลิตสือ่ ดิจิทลั นอกจากนี้ วิทยาลัยนานาชาติมีหนาที่จัดการเรียนการสอนรายวิชาในหมวดการ ศึกษาทั่วไป (General Education) ใหแกหลักสูตรนานาชาติในระดับปริญญาตรีที่เปดสอน ในวิทยาเขตหาดใหญดว ย

194 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 202

6/6/16 10:37 AM


ตลาดแรงงานหลักสูตรดิจิทัลมีเดีย

เมื่อสําเร็จการศึกษา บัณฑิตสามารถทํางานในดานตางๆ เชน • นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต • ผูผ  ลิตและทีป่ รึกษาดานดิจทิ ัลมีเดีย • 2D/3D แอนนิเมเตอร • ผูเชี่ยวชาญดานสเปเชียลเอฟเฟกต • ผูเ ชี่ยวชาญดานวิดโี อ • นักพัฒนาสื่อดิจท ิ ัล

จุดเดนของหลักสูตร

1. รายวิชาในหลักสูตรไดถูกออกแบบใหเนนการพัฒนาทักษะ โดยใชเทคโนโลยี ที่ทันสมัย เพื่อใหนักศึกษามีความเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบและการผลิต 2D/3D แอนิเมชันโดยเฉพาะ 2. มีความพรอมด านสถานที่ และอุ ปกรณการเรียนการสอนที่ เหมาะสมกับการ ออกแบบและการผลิตสื่อดิจิทัล เชน หองผลิตสื่อดิจิทัล หองตัดตอ อุปกรณคอมพิวเตอร เพื่ อใหนั กศึ กษาได ฝกปฏิบัติ ใช งานจริ งในหองปฏิบัติการคอมพิ วเตอร iMac และ PC สมรรถนะสูง และซอฟทแวรตางๆ ที่ใชในการออกแบบและการผลิตสื่อดิจิทัล 3. เปนหลักสูตรนานาชาติที่ใชภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน ซึ่งเปนการเพิ่ม โอกาสการประกอบอาชีพในองคกรทัง้ ในและตางประเทศ 4. นักศึกษามีโอกาสไดฝกงาน ณ ตางประเทศ และบริษัทในอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของในประเทศไทย อันเปนการเสริมสรางทักษะใหนักศึกษาฝกและทดลองงานกับ องคกรมืออาชีพ

คาธรรมเนียมการศึกษาสําหรับนักศึกษาไทย

คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจาย ภาคการศึกษาละ 85,000 บาท

ทุนการศึกษา

ทุนการศึกษาประเภททุนเรียนดี แกนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาดิจิทัลมีเดีย จํานวน 10,000 บาท สําหรับนักเรียนที่มีผลการเรียนในแตละภาคการ ศึกษาไมนอยกวา 3.00 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 195

145x210mm_����������� �� 2560.indd 203

6/6/16 10:37 AM


ÇÔเรี·Çย

หากสนใจเขาศึกษาตอในหลักสูตรดิจิทัลมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ) แตความ สามารถดานภาษาอังกฤษยังไมดีพอ จะสามารถเรียนในหลักสูตรนี้ไดหรือไม

หลั กสู ตรมีหลั กเกณฑ การรั บสมั ครหลายรู ปแบบ ที่ เน นคุ ณสมบั ติ ของผู สมั คร แตกต างกั น ซึ่ ง นั กเรี ยนสามารถตรวจสอบคุ ณ สมบั ติ การสมั ครในแต ละโครงการได หากไดรับการคัดเลือกเขาศึกษาต อในหลักสู ตร แตมี ผลคะแนนภาษาอังกฤษไมเป นไป ตามเกณฑที่ กําหนดในหลั กสูตร นักศึ กษาจะตองเรียนรายวิ ชาเตรี ยมความพร อมดาน ภาษาอั งกฤษ (Preparatory Course) เพื่ อเสริ มทั กษะด า นการฟ ง พู ด อ าน เขี ยน กอนที่จะเขาศึกษาในภาคเรียนที่ 1 และเรียนภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะตลอดระยะ เวลา 4 ป ที่ศึกษาในหลักสูตร

โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษตางๆ

1. โครงการรั บนั กเรี ยนที่ มี ผลการเรี ย นดี เข าศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2. โครงการรับนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต 3. โครงการรั บนั กเรี ย นในเขตภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ผ า นการรั บตรง มหาวิทยาลัยขอนแกน 4. โครงการรับนักเรียนในเขตภาคเหนือ ผานการรับตรงมหาวิทยาลัยเชียงใหม 5. โครงการรับบุคคลเขาศึกษาขั้นปริญญาตรีโดยวิธีรับตรง ดวยการใชคะแนน GAT/PAT และ/หรือ วิชาสามัญ 9 วิชา 6. โครงการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในระบบกลาง (Admission) 7. โครงการพิเศษ รับตรงโดยวิทยาลัยนานาชาติ แบบที่ 1 (ทั่วไป) 8. โครงการพิเศษ รับตรงโดยวิทยาลัยนานาชาติ แบบที่ 2 (ความสามารถดาน ภาษาอังกฤษ) รายละเอียดการรับสมัครแตละโครงการ สามารถอานเพิม่ เติมไดที่ www.uic.psu.ac.th หรือ www.facebook.com/PSUInternationalCollege

196 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 204

1

6/6/16 10:37 AM

������


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ มอ ‹ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม 214 ÇÔเรี·ÇÔยÂÒࢵËÒ´ãËÇÔ·นอะไรใน ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร นสันนนสัสัตินนศติติproject ึกศศษา สถาบั ษา of Theสถาบั establishment สถาบั กึ กึ ษา Faculty offor Veterinary Sciences Institute Institute forPeace PeaceStudies Studies Institute for Peace Studies

โครงการจั ้งยคณะสั (ชัน้นทร1 อาคารสถาบั นสันติศึกษา) มหาวิ สงขลานคริ นทร วิทยาเขตหาดใหญ ทีที่อยู่อที ยูอ่ทียูอ่ ยู สถาบั นสันทติทยาลั ศดยาลั ึกตัยษา มหาวิตวแพทยศาสตร ทยาลั วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิ สงขลานคริ นทรยสงขลานคริ วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิ ทยาลัจ.สงขลา ยสงขลานคริ นทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 อ.หาดใหญ 90110 อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 ถ.กาญจนวนิช ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศั ท15 0-7428-9465 โทรสาร 0-7428-9451 โทรศั พท พพท0-7428-9450 โทรสาร โทรศั 0-7428-9465 โทรสาร0-7428-9451 0-7428-9451 E-mail: psu-peace@group.psu.ac.th โทรศั พท 0 7428 9491 หรือ 08 7630 5995 E-mail: E-mail: psu-moe0521.23@group.psu.ac.th psu-peace@group.psu.ac.th Homepage: http://peacestudies.psu.ac.th E-mail: sasitorn.ch@psu.ac.th Homepage: http://peacestudies.psu.ac.th Homepage: http://peacestudies.psu.ac.th Homepage: http://www.vet.psu.ac.th มหาวิ ทยยาลั ยสงขลานคริ เล็ งและตระหนั เห็ นและตระหนั กถึ งบทบาทของระบบการ มหาวิ ทยาลั สงขลานคริ นทรนไนทร ดทร เล็ไดไงดเเห็ กถึ งกบทบาทของระบบการ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ ล็ งนเห็ นและตระหนั ถึ งบทบาทของระบบการ ศึ ก ษาในการสร า งสรรค แ ละธํ า รงไว ซ ่ ึ ง สั น ติ ภ าพและสั น ติ ส ข ุ ในสั คม แนวทางสํ ศึกษาในการสร ละธํ ารงไว ซนึ่งสัทร งคมงดงคม ญาาคัทีคัญ ่จญะทีที่จ่จะะ มหาวิาทงสรรค ยาลั ยแสงขลานคริ คติภวามมุ  งนมัติ่ นสนุขในการจั ตัแนวทางสํ ้ งคณะสั ตาคัวแพทยศึกษาในการสร างสรรค และธํ ารงไว ซนึ่งติสัภมีนาพและสั าพและสั ติในสั สุขในสั แนวทางสํ าั งให สัง่ อสคมมี ั นติ ภาพได ี่ ยมในุนสั ษย ใคมจะต นสังงคมและประเทศชาติ คมจะต งมีิ ภวาวะและจิ ุ ฒิ ภ าวะและจิ ตอกลั ภาวะที ่ ใฝ สันติ ทํศาสตร าใหทําทํสให คมมี ั นติสภัสนาพได อ ยู ทอี่อมยูยูนุ ทอ ทษี่ มงการของสั องมีอวองมี ุฒ ตภาวะที ่ ใฝกสษณ ตอบสนองความต โดยมี สเพื ั ง คมมี ติ ภาพได นุ ษย ใงนสั งคมจะต วุ ฒิ ภ าวะและจิ ตเภาวะที ่ ใั นฝติสทั นี่ ติ มีคกัวามเคารพในสิ แหงความเป ษลยวขในประเทศไทย นและกั มีแนวทางป งกัดนตัและแก มีไม ความเคารพในสิ ธิแทหทธิงแธิความเป นทมนุี่ มนษนีอมนุ ยมนุ นองกั และกั น นมีนแนวทางป องกัอนองกั และแก ไข ไไขข บคณะสัตทวแพทยศาสตร ยูข ษแองกั โครงการจั ้ งคณะ มีซค้ําวามเคารพในสิ หงความเป ยของกั นและกั มีแนวทางป นและแก ปญหาความขั แย งเโดยสั งัดสูไดให มี “สถาบั ศึกษา” ้น สร เพื่อางองค สรางองค ปสัญตปหาความขั ดแยดงดแย โดยสั นติยวนมเป ิธนติี ติวจึิธวดงิธี หลั ไดีจึจึงจกได มัดให ี ให นสันนตินสัสัศนนึกติติษา” ขึ้น ขึขึเพื - -วแพทยศาสตร ได ตรี ตจจัดรดั ง“สถาบั ญหาความขั งโดยสั มนี​ี ้ “สถาบั ศึกษา” ้น ่อเพื ่อสรางองค ความรู ใ นกระบวนการสร าติงสัภาพและสั นติภาพและสั สุขางผู สรเาชีงผู เชี่ยวชาญที ่สามารถเป วิทยากร ความรู ในกระบวนการสร นงสั นณติฑิสนุขนติตติสสร ่ยเวชาญที นวิทนนยากร 1.ใ นกระบวนการสร หลักสูตรวิทางสั ยาศาสตรมหาบั สาขาระบาดวิ ทยา่สามารถเป +่สามารถเป ประกาศนี ยทบัยากร ตร ความรู า น ติ ภ าพและสั ข ุ สร า งผู ชี ย ่ วชาญที วิ เกิดกระบวนการเพื อ่ การแสวงหาสั นุขติของคนในสั สขุ ของคนในสั งคมมากขึ น้ หรืIFETP-V อหรื ผูหรื ปอฎิผูอบปผูัตฎิป (International ิใบฎิหัตบเใิัตกิหใิ ดเหกิกระบวนการเพื ่ อ การแสวงหาสั น ติ ส ง คมมากขึ ้ น Field Epidemiology Program – Veterinarian) ดกระบวนการเพื อ่ การแสวงหาสัTraining นติสขุ ของคนในสั งคมมากขึ น้ เปนหลั กสูตรหนึ่ งของหน วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร ซึ่ งมีความรวมมื อกั บ

Á.Í.Á.Í. 188206àÃÕÂàÃÕ¹ÍÐäÃ㹠¹ÍÐäÃã¹

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 214 205

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 203 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 197

11/3/14 10:37 6/6/16 7:27 AM PM


สถาบันสันติศึกษา ประกอบดวย 4 สวนดังนี้ 1. การจัดการความขัดแยง (Conflict Management) การเปลี่ ยนแปลงเชิ งโครงสร างที่ เกิ ดขึ้ นในสั งคมป จจุบันส งผลความขัดแย งมี แนวโนมเพิ่มมากขึ้น อาทิเชน ปญหาการแยงชิงทรัพยากรระหวางรัฐกับประชาชน หรือ ระหวางประชาชนกับประชนด วยกันเอง หรือแมกระทั่ งปญหาที่เกิดขึ้ นจากการดําเนิน การปกครองของรัฐ เชน ปญหาความขัดแยงในจังหวัดชายแดนภาคใต มีผลใหชีวิตของ สมาชิกในสังคมดําเนินไปดวยความตึ งเครียด มนุ ษยจึงขาดสมดุลในการดําเนินชีวิต ทายที่สุดจึงนําไปสูปญหาความขัดแยงและความรุนแรง ดวยเหตุนี้ จึงมีความพยายาม ในระดั บประเทศและระดั บนานาชาติ ที่ จะดําเนินการในทุ กด านและหลากหลายรู ปแบบ วิธีการที่จะกอใหเกิดสันติในสังคมและสันติภาพขึ้นในโลก โดยการนําแนวทาง “สันติวิธี” มาใชเปนยุทธศาสตรในการแกปญหาความขัดแยงในสังคม เพราะสันติวิธีคือการแกไข และแปรเปลี่ ยนป ญหาความขั ดแย งด วยการไม ใช ความรุ นแรงมาจั ดการความขั ดแย ง หรือกลาวในอีกนัยยะหนึ่งคือ สันติวิธีเปนวิธีการที่ใหความเคารพกับสิทธิขั้นพื้นฐานของ ความเปนมนุษยโดยไมคํานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา ฐานะ เพศ หรือวัย 2. จิตตปญญาศึกษา (Contemplative Education) จิตตปญญาศึกษา คือ การศึกษาที่เนนกระบวนการใหเกิดการเรียนรูดวยใจอยาง ใครครวญ ใหผูศึกษายอนกลับไปหารากของคุณคาและความหมายที่แทจริงของชีวิตและ การเรียนรู สะทอนคิดใหเห็นความเปนพลวัตรไมหยุดนิ่ง สามารถมองเห็นสรรพสิ่งตาม ความเป นจริ งที่ มี ความสั มพั นธ เชื่ อมโยงกั นและเปลี่ ยนแปลงตลอดเวลา โดยใช หลั ก คําสอนทางศาสนา ดนตรี ศิลปะ ธรรมชาติ ซึ่งถือเปนเครื่องมืออยางดีที่สามารถทําให เกิดการหยั่งรูภายในจิตใจเปนอิสระจากภาพมายา กาวพนสูการสัมผัสความจริง ความดี และความงามของชีวิต จนกอใหเกิดการคนพบแนวทางในการดําเนินชีวิตที่ดี มีความสุข สงบอยางแทจริงดวยตัวของตัวเอง และสามารถสัมผัสคุณคาของการดํารงชีวิตอยูรว มกัน เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อใหเกิดความมีดุลยภาพของสรรพสิ่ง ภารกิจหลักของดานจิตต ปญญาศึกษา

198 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 206

6/6/16 10:38 AM


3. วิถีอิสลามเพื่อสันติภาพและการพัฒนา (Islamic Perspective for Peace and Development) วิถีอิสลามเพื่อสันติภาพและการพัฒนา คือ การใชหลักศาสนาอิสลามเปนแนว ทางในการพัฒนาชุมชนมุสลิมใหเกิดสันติสุข เนนในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เนื่องจากชาวมุสลิมใชหลักการของศาสนาอิสลามเปนหลักในการดําเนินชีวิต โดยประสาน งานกับวิทยาลัยอิสลามศึกษา วิทยาเขตปตตานี ในการดําเนินการใหความรูความเขาใจ ในหลักการศาสนาที่ถูกตอง และใชหลักการทางศาสนาเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชน สันติสขุ 4. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) สิทธิมนุษยชน ประเด็นศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค ของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เปน เรื่ องที่มีความสําคัญในกระบวนการสรางความยุติธรรมอันจะนําไปสูการสรางสันติภาพ ใหเกิดขึ้นในสังคม มหาวิทยาลัยจึงเห็นความจําเปนในเรื่องนี้ และตองการมีสวนในการ เผยแพรความรูด า นสิทธิมนุษยชนใหเปนหลักสันติธรรมทีส่ ําคัญในสังคม

วิสัยทัศน

สถาบันสันติศึกษาชั้นนําในอาเซียน มุง สรางองคความรูเ พื่อสังคมพหุวัฒนธรรม

พันธกิจ

1. วิจยั และบูรณาการองคความรูสนั ติศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสังคม 2. ผลิตบัณฑิตทีเ่ ปนผูน ําการเปลี่ยนดวยสันติวิธี 3. รวมขับเคลือ่ นสังคมพหุวัฒนธรรมเพือ่ การอยูร วมกันดวยองคความรู สันติศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 199

145x210mm_����������� �� 2560.indd 207

6/6/16 10:38 AM


หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาความขัดแยงและ สันติศึกษา หลักสูตรปรับปรุง 2554 M.A. (Conflict and Peace Studies)

จุดเดน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความขัดแยงและสันติศึกษา จัดตั้งขึ้น เพื่อพัฒนาบุคลากรและองคความรู อันจะนําไปสูการจัดการความขัดแยงตางๆ ไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยมีโครงสรางหลักสูตรที่เนนความรูความเขาใจในภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการคนควาวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหมในดานความขัดแยงและสันติภาพ ผูสําเร็จ การศึ กษาสามารถสรางองคความรู และนําองค ความรู ไปประยุ กต ใชในด านการจั ดการ ความขัดแยงและการสรางเสริมสันติภาพเพือ่ การปฏิบตั ิภารกิจทัง้ ทางตรงและทางออม วัตถุประสงค 1. เพื่อผลิตบุคลากรในระดับมหาบัณฑิตทีม่ ีความรูความสามารถในการวิเคราะห วิจัยดานความขัดแยงและสันติภาพ และมีทักษะในการจัดการและการแกไขปญหาความ ขัดแยงโดยสันติวิธี และการสรางเสริมสันติภาพ 2. เพื่อสรางองคความรูดานความขัดแยงและสันติภาพ สามารถนําความรูไปใช ในการปองกัน บรรเทา แกไข หรือเยียวยาปญหาความขัดแยงและสรางเสริมสันติภาพ อันจะนําไปสูก ารอยูรว มกันอยางสันติสุขในสังคมระดับชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ

โครงสรางหลักสูตร เปนหลักสูตรปกติ มีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต แบงออกเปน 2 แผนการศึกษา 1. แผนการศึกษาที่ 1 แผน ก แบบ ก 1 การเรียนที่มีเพียงการทําวิทยานิพนธ อยางเดียว มีหนวยกิตสะสมไมนอยกวา 36 หนวยกิต อาจมีการเรียนกระบวนวิชา เพิม่ เติมไดโดยไมนบั หนวยกิตสะสม 2. แผนการศึกษาที่ 2 แผน ก แบบ ก 2 การเรียนที่เปนลักษณะของการศึกษา กระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไมนอยกวา 18 หนวยกิต และทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 18 หนวยกิต หนวยกิตสะสมเปนไปตามโครงสรางหลักสูตรของสาขาวิชา

200 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 208

6/6/16 10:38 AM


คุณสมบัติของผูสมัคร 1. สําหรับผูที่จะเขาศึกษา แผน ก แบบ ก 1 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากทุกสาขาวิชา โดยมีคะแนนเฉลี่ย สะสมไมต่ํากวา 3.00 2. สําหรับผูที่จะเขาศึกษาแผน ก แบบ ก 2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีจากทุกสาขาวิชา โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.50 3. ผูมีประสบการณการทํางานดานความขัดแยงและสันติศึกษาไมนอยกวา 2 ป จะไดรับการพิจารณาใหสอบสัมภาษณเพียงอยางเดียว และอาจไดรับการพิจารณาใหทุน การศึกษาไดโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร การศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานทั้งในประเทศและตางประเทศ เปนสวนสําคัญของการเรียนรูเพื่อ เปดโลกทัศนของผูเ รียนใหเทาทันกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลก วันและเวลาเรียน เรียนนอกเวลาราชการ ศุกร (หลัง 16.30 น.) เสาร-อาทิตย ประมาณการคาใชจายในการศึกษา การศึกษาตามหลักสูตรนี้ นักศึกษาจะตองเสียคาธรรมเนียมเหมาจายภาคการ ศึกษาละ 30,000 บาท รวมคาใชจายตลอดหลักสูตร 2 ป โดยประมาณ 120,000 บาท ไมรวมคาตําราและเอกสาร แหลงงานรองรับ สังคมไทยกําลังใหความสําคั ญกั บการจั ดการและแกไขปญหาความขั ดแยงดวย แนวทางสันติวิธี เพื่อรองรับปญหาความขัดแยงที่มีความหลากหลายมากขึ้น ดังนั้นทั้ง ภาครัฐและเอกชนจึงมีการจัดตั้งหนวยงานขึ้นมา แตหนวยงานดังกลาวยังขาดบุคลากร ที่ ยังความความรู ความเขาใจในเรื่องความขัดแยงและสันติ ภาพ หลั กสูตรนี้จึงสามารถ ผลิตบุคลากรขึน้ มารองรับความตองการดังกลาวได

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 201

145x210mm_����������� �� 2560.indd 209

6/6/16 10:38 AM


เรีÇÔยÇÔ·นอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

219

สถาบั สถาบันนทรั นทรัทรั พยากรทะเลและชายฝ ยากรทะเลและชายฝงง สถาบั พพยากรทางทะเลและชายฝ

Marine Institute Marineand andCoastal Coastal Resources Marine and CoastalResourses ResoursesInstitute Institute (MACORIN) (MACORIN) (MACORIN)

ทีอ่ ยูที ่อยู อาคารบริ ารวิชาการวม ชั้น 5 ชั้น 5 หอาคารบริ หารวิชาการวม ทีอ่ ยู อาคารบริ หารวิชาการวม ชั้น 5 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร นทร วิวิททยาเขตหาดใหญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญจ.สงขลา จ.สงขลา 90110 90112 อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 0 7421 2800, 0-7428-2330-4 0 7421 2752, 0 7428 โทรสาร 2320-1 0-7421-2782 โทรศัโทรศั พท พท0-7428-2320-9, โทรศั พท 0-7428-2320-9, 0-7428-2330-4 โทรสาร 0-7421-2782 โทรสาร 0 7421 2782 E-mail siriporn.pra@psu.ac.th, sukanya.t@psu.ac.th E-mail siriporn.pra@psu.ac.th, sukanya.t@psu.ac.th E-mail: Server Admin:prawit.t@psu.ac.th sukanya.t@psu.ac.th Homepage: www.corin.psu.ac.th Server Admin: waratchaya.n@psu.ac.th Homepage: http://www.corin.psu.ac.th Homepage: สถาบัhttp://www.corin.psu.ac.th นทรัพยากรชายฝง ประกอบดวย 1. สํานักงานบริหารทั่วไป

สถาบันทรั พยากรทะเลและชายฝ ง และบั ณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยสงขลา2. กลุ มงานวิ จัยและการเรียนการสอน สถาบั นทรั พยากรทะเลและชายฝ  ง และบั ณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ได3.เปดศูสอนระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา สาขาวิ ชาการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ศึกษาวิจบัยบัทะเลสาบสงขลา นครินทร ไดเปนดยสอนระดั ณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะและความสามารถในการพัฒนาองค หลักสูตรใหม พ.ศ. 2553 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะและความสามารถในการพัฒนาองค ความรูเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงที่มีพลวัตการเปลี่ยนแปลงอยูตลอด ความรูเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงที่มีพลวัตการเปลี่ยนแปลงอยูตลอด เวลาในลักษณะสหวิทยาการ (interdisciplinary) โดยการบูรณาการมิติดานทรัพยากร เวลาในลักษณะสหวิทยาการ (interdisciplinary) โดยการบูรณาการมิติดานทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอันเปนรากฐานสําคัญที่มี ธรรมชาติ สิ่งแวดลถอีชมีวิตสภาพสั คม กเศรษฐกิ จ และการเมื องอังนเปโดยให นรากฐานสํ ผลต อกิจกรรมและวิ อันเปนงเอกลั ษณ ของคนในพื ้ นที่ชายฝ ความสําาคัคัญญที่มี àÃÕ Â¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 325 ผลต อ กิ จ กรรมและวิ ถ ี ช ี ว ิ ต อั น เป น เอกลั ก ษณ ข องคนในพื ้ น ที ่ ช ายฝ  ง โดยให กับการมีสวนรวมของชุมชน (Community participation) โดยมีรายละเอียดดัคงวามสํ ตอไปนีาคั้ ญ กับการมีสวนรวมของชุมชน (Community participation) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

202 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 219 210

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 211

11/3/14 10:38 6/6/16 7:28 AM PM


19 ชายฝง

ชายฝง

สถาบันทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เปดสอน 2 หลักสูตรคือ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและ - แบบ ก 1 ทําวิทยานิพนธอยางเดียว - แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธและเรียนรายวิชา 2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและ - แบบ 1 ทําวิทยานิพนธอยางเดียว 1.1 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 1.2 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี - แบบ 2 ทําวิทยานิพนธและเรียนรายวิชา 2.1 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 2.2 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและ ชายฝง

หลักสูตรแบบ ก 1 1. เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเกียรตินิยม หรือมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา 3.00 ในสาขาวิชาวิทยาศาสตรประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดลอม หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ 2. ในกรณีที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวาที่กําหนด จะตองมีประสบการณในการ ทําวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ไมนอยกวา 2 ป หลักสูตรแบบ ก 2 1. เป น ผู สํา เร็ จ การศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร ประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 203

7:28 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 211

6/6/16 10:38 AM


2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรทะเลและ ชายฝง

หลักสูตรแบบ 1 (เนนวิจัย ทําวิทยานิพนธโดยไมตองลงทะเบียนเรียน รายวิชา) แบบ 1.1 สําหรับผูสําเร็จปริญญาโท - เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตรประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ และไดคะแนนเฉลี่ย สะสมตั้ งแต 3.50 ขึ้ นไป เปนผู มีความรู ความเข าใจในเรื่องของการทําวิจัยเปนอยางดี และมีประสบการณงานวิจัยทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ในกรณีที่ผูสําเร็จการศึกษาและมีคะแนนเฉลีย่ สะสมต่ํากวาที่กําหนด จะตองมี ประสบการณในการทําวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ไมนอ ยกวา 2 ป โดยมีเอกสารที่เชื่อถือไดรับรองหรืออยูใ นดุลยพินิจของคณะกรรมการประจําหลักสูตร แบบ 1.2 สําหรับผูสําเร็จปริญญาตรี - เปนผู สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิ ยมอันดับ 1 สาขาวิทยาศาสตร ประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หรือสาขาวิชาอื่น ที่เกี่ยวของ และมีประสบการณงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรทะเลและ ชายฝง หลักสูตรแบบ 2 (ลงทะเบียนเรียนรายวิชาและวิทยานิพนธ) แบบ 2.1 สําหรับผูสําเร็จการศึกษาปริญญาโท - เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิทยาศาสตรประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดลอมหรือสาขาอื่นที่เกีย่ วของ แบบ 2.2 สําหรับผูสําเร็จปริญญาตรี - เป นผู สําเร็ จ การศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี เกี ยรติ นิ ย ม สาขาวิ ทยาศาสตร ประมง วาริชศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร เกษตรศาสตร การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ หรือไดคะแนนสะสมเฉลี่ยตั้งแต 3.00 ขึ้นไป และมีประสบการณงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง

204 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 212

6/6/16 10:38 AM


คาใชจา ยการเรียนตลอดหลักสูตร

1. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ไมนอยกวา 28,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ไมนอยกวา 28,000 บาท/ภาคการศึกษา หมายเหตุ คาใชจายดังกลาวอาจมีการเปลีย่ นแปลงไดตามนโยบายของมหาวิทยาลัย

ทุนการศึกษา

มีทุนการศึกษาสําหรับผูเรียน อาทิ ทุนจากบัณฑิตวิทยาลัย ทุนบัณฑิตศึกษา สงขลานครินทร ทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ ทุนบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาเอกเพื่อฟนฟู ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา

กําหนดการรับสมัคร

รับสมัครตลอดทั้งป แตควรสมัครกอนเปดภาคเรียนอยางนอย 2 เดือน สอบถาม รายละเอียดและสมัครเรียน online ไดที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โทรศัพท 0-7428-6997 หรือ www.grad.psu.ac.th สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝง โทรศัพท 0-7428-2333 E-mail: sukanya.t@psu.ac.th

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 205

145x210mm_����������� �� 2560.indd 213

6/6/16 10:38 AM


·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ เรีÇÔยÇÔ·นอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ÇÔาเข้ าเล่ม 223 ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹ ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

โครงการจั ตัการระบบสุ ้งวิทยาลัขยภาพภาคใต สถาบั นนการจั สถาบั การจัดดดการระบบสุ ขนานาชาติ ภาพภาคใต มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร Health Syste Management Institute Health Syste Management Institute

Prince of Songkla University International College (Southern HSMI) (Southern HSMI)

ทีอที่ทียูออ่​่ ยูยู

พอาคารศู ยากรการเรี  น(LRC) ชัย้นนรู12 (LRC) (อาคาร 2) ชั้นชัศู้นน10ย10ทรัอาคาร 1 นอาคารศู ยทรัพยากรการเรี ยนรู (LRC) ยทยรันรู พยากรการเรี มหาวิทยาลั ยาลัยสงขลานคริ สงขลานคริ ทรวิทวิวิยาเขตหาดใหญ ยาเขตหาดใหญ มหาวิ นทร มหาวิ ททยาลั ยยสงขลานคริ นนทร ททยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา จ.สงขลา90110 90110 อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 โทรศัพพพททท 0-7428-2900, 0-7428-9400-4 โทรศั 0-81541-5227 โทรศั 0-7428-2900, 0-81541-5227โทรสาร 0-7428-2831 E-mail: psuic-admission@psu.ac.th Homepage: hsmi.psu.ac.th Homepage: hsmi.psu.ac.th Homepage: www.uic.psu.ac.th สถาบั ทยาลั ยสงขลานคริ นทร ออ สถาบันการจั นการจัดการระบบสุ ดการระบบสุขภาพภาคใต ขภาพภาคใต มหาวิ มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร หรืหรื สจรส.มอ. เป น สถาบั น จั ด การงานวิ จ ย ั ที เ ่ ป น หน ว ยงานอิ ส ระกลางของมหาวิ ท ยาลั ย มี ว ต ั ถุ โครงการจั ด ตั ้ ง วิ ท ยาลั ย นานาชาติ เป ด สอนหลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขา สจรส.มอ. ภาคใต เปนสถาบันจัดการงานวิจัยที่เปนหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยที่ม-ิใช ประสงค อ ) ซึวง่ มมื จใิทนการดํ ัลมีเดีจัยดาเนิ เปอนระหว หลักสูาตงมหาวิ ร 4 ทยาลั ป ยเปสงขลานคริ ดรับนักศึกนษาในป การศึกษาน สวิชวาดิ นราชการ ตั้งน(นานาชาติ ขึงานคื ้นโดยความร ทร และสถาบั 1. นเป สถาบั นจัดแการงานวิ ําหนากทีารศึ ่กําหนดทิ ทาง สนัดบตัเนืสนุ นหาของหลั และส เป ปแนรก และมี ผนการรั กษาป กวษาละ 60 คน วิ2555 จัยสาธารณสุ ข (สวรส.) และไดมบจีนัพัยกิธทีศึีล่ทงนามความร มมือศในการจั ้ง้อสถาบั น งเมืเสริ ่อกวัสูมนตทีร่ งานวิ จในศาสตร ัยระบบสุ2546 ภาพในระดั ที่ภาคใตเพื่อโดยสร ละกระบวนการเรี ยนรู เนนเมษายน คขอมพิ วเตอรวัตบศิถุพืลป้นปะและการสื ่อสารางองค รวมทัค้งวามรู การพัแฒ นาความคิดสรางสรรค 25 โดยมี ระสงค สําโดยใช หรับการแก ฒการงานวิ นาระบบสุ ่มีคาวามเฉพาะและหลากหลายของชุ เทคโนโลยี ทหาและพั ที่ นั สมั สือ่ ดิจศิทลัทาง สนับสนุนและสมงชน 1. เปปญ นสถาบั นจัยดในการออกแบบและการผลิ จัยขภาพที ที่ทําหน ที่กําตหนดทิ เสริม ในพื ้ น ที ่ ภ าคใต ตลอดจนเผยแพร ผ ลงานวิ จ ั ย เพื อ ่ นํ า ไปสู  ก ารใช ป ระโยชน และตอบสนอง นอกจากนี ้ โครงการจั ด ตั ้ ง วิ ท ยาลั ย นานาชาติ มี ห น า ที ่ จ ด ั การเรี ย นการสอนราย งานวิจัยระบบสุขภาพในระดับพืน้ ทีภ่ าคใต โดยสรางองคความรูแ ละเกิดกระบวนการเรียนรู การปฏิ ขภาพ วิช่อาในหมวดการศึ กฒ ษาทั ่ วไป (General ใหแกหลักสูตรนานาชาติ ในระดั้นทีบ่ เพื แกรูปประบบสุ ญหาและพั นาระบบสุ ขภาพที่มEducation) ความเฉพาะและหลากหลายของชุ มชนในพื ปริญญาตรี ทเี่ ปดสอนในวิทยาเขตหาดใหญ ดว ่อยนําไปสูการใชประโยชน และตอบสนองการ ภาคใต ตลอดจนการเผยแพร ผลงานวิจัยเพื ปฏิรูประบบสุขภาพ

202 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 206 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 223 145x210mm_����������� �� 2560.indd 214

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 215

11/3/14 7:28 PM 6/6/16 10:39 AM


Þ‹ 23 2. สร างกลไกการขั บเคลื่ อนนโยบายสาธารณะ เพื่ อการพั ฒนาระบบสุ ขภาพ ในเชิงสหวิทยาการที่เขมแข็ง และมีความตอเนื่องโดยอาศัยเครือขายความรวมมือของ ภาคีภาคสวนตางๆ ทั้งจากสถาบันอุดมศึกษา หนวยงานภาครัฐและเอกชน องคกรพัฒนา เอกชนและชุมชน 3. เพื่อบูรณาการองคความรูและกระบวนการพัฒนาศักยภาพคนโดยการจัดการ ศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ อีกทั้งยังเอื้อตอการ สนับสนุนและสรางความเขมแข็งของงานวิจยั บัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต จัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ 1. วิชาเอกการจัดการระบบสุขภาพ รับนักศึกษาเฉพาะแผน ก (ก1 และ ก2) 2. วิชาเอกการประเมินผลกระทบดานสุขภาพ รับนักศึกษาแผน ก (ก1 และ ก2) และแผน ข โดย 1. แผนการเรียนแบบ ก1 ทําเฉพาะวิทยานิพนธอยางเดียว 2. แผนการเรียนแบบ ก2 และแผน ข เรียนรายวิชา และทําวิทยานิพนธ/สาร นิพนธ จัดการเรียนการสอนแบบเรียนในหองเรียน และการจัดประชุมวิชาการ (Module)

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 207

7:28 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 215

6/6/16 10:39 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞ‹

บัณฑิตวิทยาลัย Graduate School

ทีอ่ ยู

ชั้น 10-11 อาคาร 2 ศูนยทรัพยากรการเรียนรู (LRC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ จ. สงขลา 90112 โทรศัพท 074–286989, 074-286997, 074-286990 โทรสาร 074-286992 E-mail: Grad@group.psu.ac.th Homepage: www.grad.psu.ac.th ใ บัณฑิตวิทยาลัยเริ่มกอตั้งตั้งแตป พ.ศ. 2523 มหาวิทยาลัยฯ มีความมุงมั่นที่จะ พัฒนาความเขมแข็งทางวิชาการเพื่อจะนําไปสูก ารเปนมหาวิทยาลัยวิจัย โดยบัณฑิตศึกษา เปนปจจัยที่สําคัญที่จะทําใหมหาวิทยาลัยบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว ดังนั้ นการบริหาร จัดการระบบบัณฑิตศึกษาจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการนํามหาวิทยาลัยไปสูองคกรแหง การเรียนรู องคกรแหงคุณภาพ และเปนองคกรที่เปนประโยชนตอ สังคมและประเทศชาติ

208 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 216

6/6/16 10:39 AM


วิสัยทัศน (Vision)

การจัดการบัณฑิตศึกษาใหไดมาตรฐานสากล

พันธกิจ (Mission) สากล

1. กําหนด กํากับ ดูแลมาตรฐานและการประกันคุณภาพหลักสูตรใหไดมาตรฐาน 2. สงเสริม สนับสนุน ปจจัยเกื้อหนุนระดับบัณฑิตศึกษา

คานิยม (Value) บริการดวยใจ หวงใยคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัยมีหนาที่ หลั กคือ ประสานงานในการจัดการเรียนการสอนระดับ บั ณ ฑิ ตศึ ก ษา รั ก ษามาตรฐานการศึ กษาและประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา ส ง เสริ ม สนับสนุนการค นคว าวิจั ย และเป นหน วยงานกลางในการรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคล เขาศึ กษาต อระดั บบัณฑิตศึกษา รวมถึงในการพั ฒนาป จจัยเกื้อหนุ นใหระบบการผลิต บัณฑิตมีความเขมแข็งและมีคุณภาพ โดยพิจารณาตั้งแตปจจัยนําเขา กระบวนการผลิต ผลผลิต และสัมฤทธิผ์ ล ทางดานปจจัยนําเขา ไดแก การใหทุนการศึกษาประเภทตางๆ การเปดโอกาส ให ท ดลองเรี ย น การลงทะเบี ย นเป น ผู รว มเรี ย น และการประชาสั มพั นธ ในวงกว าง รวมถึงการยกเวนคาธรรมเนียมการสมัครสําหรับบัณฑิตเกียรตินยิ ม ในกระบวนการผลิต เปนปจจัยเกื้อหนุนที่มีความสําคัญอยางมาก ไดแก การให ทุนสนับสนุนการทําวิทยานิ พนธ แก นักศึกษาทุ กคน บัณฑิตวิ ทยาลัยไดเพิ่ มวงเงินพิ เศษ สําหรับวิทยานิพนธที่ระบุวาจะตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารทางวิชาการ นอกจากนั้น ยังมีทนุ ชวยสอน และทุนอุดหนุนการวิจัยสําหรับอาจารยที่ปรึกษาหลักและนักศึกษา ในป การศึ กษา 2558 บั ณฑิ ตวิ ทยาลั ยมี หลั กสู ตรที่ เป ดสอนระดั บปริ ญญาเอก จํานวน 43 สาขาวิชา ระดับปริญญาโท จํานวน 104 สาขาวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตร บัณฑิตชั้นสูง จํานวน 5 สาขาวิชา และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวน 1 สาขาวิชา รวมแลวทั้งสิ้นมีหลักสูตรที่เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาจํานวน 162 สาขาวิชา และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวนประมาณ 5,025 คน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 209

145x210mm_����������� �� 2560.indd 217

6/6/16 10:39 AM


กําหนดการรับสมัครบุคคลเพื่อสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา รับสมัครประจําปการศึกษา 2559 : สมัครทางอินเตอรเน็ต รับสมัครครั้งที่ 1 : รับสมัครวันที่ 15 ธันวาคม 2558 – 31 มกราคม 2559 รับสมัครครั้งที่ 2 : รับสมัครประมาณเดือน พฤษภาคม 2559 รับสมัครตลอดป : บางสาขาวิชา

คาธรรมเนียมการสมัครสอบ

1. คาสมัครสอบดวยตนเอง จํานวน 600 บาท 2. สําหรับผู สมัครประเภทผลการเรียนระดับเกียรตินิยม ไดรับการยกเวนคา ธรรมเนียมการสมัครสอบ

ทุนการศึกษาและทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ

บัณฑิตวิทยาลัยไดจัดสรรทุนตางๆ ไว 2 ประเภท ดังนี้ 1. ทุนที่ไดรับจัดสรรจากมหาวิทยาลัยฯ 1.1 ทุนบัณฑิตศึกษาสงขลานครินทร จํานวนทุน : หลักสูตรปริญญาเอก 50 ทุน มูลคาทุน : 1. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทุนละ 480,000 บาท 2. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทุนละ 288,000 บาท - เงินสนับสนุนเพือ่ วิจยั จากคณะตามความเหมาะสม - เงินเดือนนักศึกษา เดือนละ 8,000 บาท - ไดรับยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจายจาก มหาวิทยาลัย ระยะเวลาการรับทุน : 1. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 5 ป 2. สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 3 ป เงื่อนไข : 1. ผูไดรับทุนตองทําสัญญาการรับทุนกับมหาวิทยาลัย และตองชดใช ทุนหากไมสามารถปฏิบัติตามสัญญา

210 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 218

6/6/16 10:39 AM


2. คณะผูท รงคุณวุฒคิ อยติดตามการดําเนินงานเปนระยะ 3. ผูไดรับทุนจะตองเขาศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาที่ไดรับการ จัดสรรทุน 4. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและนักศึกษา ตองรายงานผลทุก 6 เดือนตามแบบฟอรมทีบ่ ัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 5. มีผลงานตีพิมพในวารสารนานาชาติ กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนมีนาคม-พฤษภาคมของทุกป วิธีการคัดเลือก : คณะฯ เปนผูพ ิจารณาคัดเลือกผูไ ดรับทุน 1.2 ทุนสนับสนุนการเดินทางไปทํางานวิจัยเพื่อวิทยานิพนธใน ตางประเทศ สําหรับนักศึกษาปริญญาเอก จํานวนทุน : 5 ทุน มูลคาทุน : ทุนละ 300,000 บาท เงื่อนไข : ในการไปทํางานวิจัยในตางประเทศตองไดผลงานตีพิมพใน วารสารระดับนานาชาติอยางนอย 1 เรื่อง กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนกุมภาพันธ–มีนาคม ของทุกป วิธีการคัดเลือก : โดยการสัมภาษณผูสมัครขอรับทุน

ผูช ว ยสอน

1.3 ทุนผูชวยสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จํานวนทุน : 40 ทุน มูลคาทุน : ทุนละ 3,000 บาท ระยะเวลาการรับทุน : 10 เดือน ตั้งแตเดือนมิถุนายน-มีนาคมปถัดไป เงื่อนไข : 1. ชวยทํางานที่มีลกั ษณะเกี่ยวกับวิชาการในสาขาทีก่ ําลังศึกษาอยู 1.1 ชวยควบคุมการปฏิบัติการในระดับปริญญาตรี 1.2 ชวยตรวจแบบฝกหัดและรายงานในระดับปริญญาตรี 1.3 เปนผูชวยสอน หรือผูบรรยายทบทวนในระดับปริญญาตรี 1.4 งานอื่นๆ ดานวิชาการที่หัวหนาภาควิชามอบหมาย 2. ทํางานใหกบั ภาควิชาในหนาทีต่ ามขอ 1 กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนเมษายน-พฤษภาคมของ ทุกป วิธีการคัดเลือก : คณะฯ เปนผู พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาเขารับทุน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 211

145x210mm_����������� �� 2560.indd 219

6/6/16 10:39 AM


1.4 ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ จํานวนทุน : ประมาณ 400 ทุน มูลคาทุน : 1. ระดับปริญญาเอก 1.1 งานวิจัยประเภททดลองทางวิทยาศาสตร/พัฒนาเครื่องมือ/ พัฒนานวัตกรรมทีต่ องใชวสั ดุราคาแพง - กรณีไมไดรับอนุมัตโิ ครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 50,000 บาท - กรณีไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 100,000 บาท 1.2 งานวิจัยประเภทเชิงสํารวจ/ศึกษาเชิงพรรณนา/ทดลองทาง สังคมศาสตร - กรณีไมไดรับอนุมัตโิ ครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 28,000 บาท - กรณีไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 56,000 บาท 2. ระดับปริญญาโท 2.1 งานวิจัยประเภททดลองทางวิทยาศาสตร/พัฒนาเครื่องมือ/ พัฒนานวัตกรรมทีต่ องใชวสั ดุราคาแพง - กรณีไมไดรับอนุมัตโิ ครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 15,000 บาท - กรณีไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 30,000 บาท 2.2 งานวิจัยประเภทเชิงสํารวจ/ศึกษาเชิงพรรณนา/ทดลองทาง สังคมศาสตร - กรณีไมไดรับอนุมัตโิ ครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 6,000 บาท - กรณีไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธ โครงการละไมเกิน 12,000 บาท ระยะเวลาการรับทุน : ภายใน 2 ปงบประมาณ กําหนดการรับสมัคร : ธันวาคม – 15 มกราคม ของทุกป

212 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 220

6/6/16 10:39 AM


1.5 ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธในหัวขอการแกไขปญหาชุมชน จํานวนทุน : ประมาณ 5 ทุน มูลคาทุน : ทุนละไมเกิน 50,000 บาท ระยะเวลาการรับทุน : ไมเกิน 2 ป เงื่อนไข : 1. ตองเปนหัวขอแกไขปญหาชุมชนภาคใต 2. เปนลักษณะมีผลกระทบในเชิงสาธารณะทัง้ ภาคสังคม และเศรษฐกิจ 3. มีผลลัพธ (Outcome) เชิงประจักษและเปนรูปธรรม กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนกุมภาพันธของทุกป วิธีการคัดเลือก : 1. พิจารณารอบแรกจากเอกสารเชิงหลักการ โครงการวิจยั ฯ 2. หากผานการคัดเลือกรอบแรก เขารับการ สัมภาษณจากคณะกรรมการ 2. ทุนที่ไดรับจัดสรรจากภายนอก 2.1 ทุนราชกรีฑาสโมสร จํานวนทุน : 3 ทุน มูลคาทุน : ทุนละ 15,000 บาทตอป ระยะเวลาการรับทุน : ไมเกิน 2 ป เงื่อนไข : ผลการศึกษาจะตองไดรับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 ทุก ภาคการศึกษา กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนพฤศจิกายน–มกราคม ของทุกป วิธีการคัดเลือก : โดยการสัมภาษณผูสมัครขอรับทุน 2.2 ทุนอุดหนุนการวิจัยของมูลนิธิการศึกษาเชลล 100 ป จํานวนทุน : ไมกําหนดจํานวนทุน มูลคาทุน : ทุนละไมเกิน 100,000 บาท เงื่อนไข : 1. เรื่องที่เสนอขอรับทุนเพื่อการทําวิจัย/วิทยานิพนธตองไดรับอนุมัติ จากสถาบันอุ ดมศึ กษาที่ ผู ขอรั บทุนกําลั งศึกษาอยู และมีอาจารย ในสถาบั น อุดมศึกษานั้นเปนผูควบคุม หรือเปนที่ปรึกษาในการทําวิจัย/วิทยานิพนธ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 213

145x210mm_����������� �� 2560.indd 221

6/6/16 10:39 AM


2. การเปลี่ ยนแปลงใดๆ เกี่ ยวดวยรายละเอียดตามโครงการที่ ไดรับ อนุมตั แิ ลวตองไดรับอนุมตั ิจากคณะกรรมการฯ กอน 3. ในกรณีที่ผูรับทุนไมสามารถทําการวิจัย/วิทยานิพนธตอไปได หรือ ไมอาจทําการวิจั ย/วิทยานิพนธใหแลวเสร็จได และประสงคจะขอยุติงานวิจัย/ วิ ทยานิ พนธ ตามโครงการที่ ไดรับอนุมั ติ ผู รับทุน หรื อผู แทนยื่ นคําร องตอคณะ กรรมการฯ 4. งานวิจัย/วิทยานิพนธ ควรเปนงานเชิงพัฒนาไมใชสํารวจอยางเดียว 5. คณะกรรมการฯ สงวนสิทธิ์ ที่จะระงับการใหทุนในกรณีที่ผูรับทุน ไมไดปฏิบัตติ ามระเบียบหรือตามโครงการวิจยั /วิทยานิพนธ กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนสิงหาคม ของทุกป วิธีการคัดเลือก : 1. คณะกรรมการผู ทรงคุ ณวุฒิ ในสาขาวิชาที่ ผู สมั ครขอรั บทุนจะเป น ผูพิจารณาคัดเลือกงานวิจัย/วิทยานิพนธที่สมควรไดรับทุนเบื้องตนและนําเสนอ คณะกรรมการบริหารทุนฯ ถือเปนอันสิ้นสุด 2. เมื่ อไดรับแจงอนุมัติทุนแลว ผูรับทุนจะตองทําสัญญาขอรับทุน จํานวน 2 ชุด ยื่นตอคณะกรรมการบริหารทุนฯ 2.3 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (แบบรวมทุน) จํานวนทุน : ประมาณ 30 ทุน/ป มูลคาทุน : ทุนประมาณ 2,000,000 บาท เงื่อนไข : ตองไดรับการตีพิมพหรือตอบรับเพื่อตีพิมพผลงานวิจัย อัน เปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธปริญญาเอกอยางนอย 2 เรื่องกอนสําเร็จการศึกษา โดยเรื่องที่ 1 ในวารสารระดับนานาชาติในฐานขอมูลที่ สกว. ยอมรับ หรือยื่นจด สิทธิบัตร เรือ่ งที่ 2 ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติในฐานขอมูลที่ สกว. ยอมรับ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติที่ สกว. ยอมรับ (เปนภาษาไทยก็ได) หรือผลงาน อื่นที่มีคุณภาพเทียบเทาที่ สกว. เห็นชอบ กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนธันวาคม-มีนาคมของทุกป วิธีการคัดเลือก : 1. เนื่องจากโครงการ คปก. มีวัตถุประสงคหลักเพื่อผลิตนักวิจัยและ ผลงานวิจัย ดังนั้น คปก. จะใหความสําคัญตอหัวขอและเคาโครงวิทยานิพนธที่จะ ทํา โดยตองมีเนื้อหาครบตามที่ คปก. กําหนด และในการพิจารณา คปก. จะให ความสําคัญตอโอกาสประสบความสําเร็จ ประโยชนและความใหมของการวิจัย

214 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 222

6/6/16 10:40 AM


2. ในบางกรณี คปก. อาจจะมี การสัมภาษณ นั กศึ กษาเพื่ อประกอบ การพิจารณาใหทนุ และอาจจะใหผทู รงคุณวุฒปิ ระเมินความเหมาะสมของนักศึกษา และเคาโครงวิทยานิพนธทเี่ สนอมา 3. นักศึกษาที่สมัครขอรับทุน คปก. ตองมีอายุไมเกิน 40 ป 4. นักศึกษาที่ไดรับทุนการศึกษาหรือทุนวิจัยอื่นที่มีวัตถุประสงคเฉพาะ สําหรับทุนนั้นๆ แลว เชน ทุน พสวท. และทุนโครงการสงเสริมการผลิตครูที่มี ความสามารถพิเศษดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (สควค.) เปนตน จะไมได รับการสนับสนุนใหรับทุน คปก. 5. นั กศึ ก ษาที่ ได รั บทุ น การศึ กษาหรื อทุ นวิ จั ยจากสถาบั นการศึ ก ษา โครงการ หรือศูนยความเปนเลิศตางๆ ซึ่งสนับสนุนทุนการศึกษาอยูแลว คปก. จะใหความสําคัญในการพิจารณาใหทุ น คปก. เสริ มกับนักศึกษาที่ ไดรับทุนจาก สถาบันการศึกษา โครงการหรือศูนยฯ ที่มีขอตกลง (MOU) จะรวมทุนกับ คปก. 6. อาจารยที่ปรึกษาที่เคยไดทุน คปก. และ/หรือไดทุนวิจัยอื่นๆ ของ สกว. แลว จะตองมีผลการดําเนินการดี และไมมีทุน คปก. สําหรับนักศึกษาที่ได สําเร็จปริญญาเอกไปแลวนานกวา 2 ปคางปดโครงการ ตลอดจนไดปฏิบัติตาม เงื่อนไขในการรับทุนสําหรับทุนของ สกว. ที่ไดรับไปครบถวนแลว 7. ในการพิ จารณาให ทุ นนักศึ กษา คปก. จะให ความสําคัญต อความ ชั ดเจนของความรวมมือระหวางอาจารย ที่ ปรึกษาชาวไทยกั บอาจารย ที่ ปรึกษา ชาวตางประเทศ 8. สําหรับนักศึกษาที่เขาเรียนปริญญาเอกเกิน 2 ปแลว คปก. จะให ความสําคัญในการพิจารณาเปนลําดับทายๆ 9. เนื่ องจาก คปก. มีวั ตถุ ประสงค หลั กที่ จะผลิตดุษฏีบัณฑิตที่ จะไป ทําหนาที่เปนนักวิจัยระดับสูง คปก. จึงจะใหความสําคัญระดับทายๆ กับผูขอรับทุน ทีท่ ํางานไมเกี่ยวกับการวิจัยโดยตรงและขอลาศึกษาตอ 10. อาจารยที่ปรึกษาที่เกษียณอายุราชการ อาจารยที่ ปรึกษาเปนชาว ตางประเทศ หรืออาจารยทปี่ รึกษาที่ไมใชอาจารยประจําในสถาบันทีน่ ักศึกษาไดรับ ทุนคปก. จะตองมีหลักฐานแสดงชัดเจนจากมหาวิทยาลัย/สถาบันนั้นวาจะสามารถ อยูทํางานกับมหาวิทยาลัย/สถาบันนานพอที่จะรับผิดชอบดูแลนักศึกษาจนสําเร็จ การศึกษา 11. หากขอมูลที่ได รับไมพอเพียง คปก. จะขอขอมูลเพิ่มจากผูสมัคร

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 215

145x210mm_����������� �� 2560.indd 223

6/6/16 10:40 AM


2.4 ทุนโครงการศูนยกลางการศึกษาสําหรับภูมิภาคอาเซียนตอนลาง (Education Hub) 2.4.1 ทุนสงเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและการโอนหนวยกิต ระหวางประเทศในประชาคมอาเซียน จํานวนทุน : 20 ทุน มูลคาทุน : ทุนละ 200,000 บาท เงื่อนไข : 1. กรณีผูรับทุนไปศึกษา 1.1 ตองลงทะเบียนเรียนอยางนอย 2 รายวิชา ในหลักสูตร ที่เปดสอนตามปกติของสถาบันการศึกษาในตางประเทศ 1.2 รายวิชาที่ไปศึกษาในสถาบันตางประเทศ (Host institution) ตองเปนรายวิชาที่สัมพันธกับวิชาทีศ่ ึกษาอยู ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (และตองไมใชการฝกอบรมหรือดูงาน) 1.3 ต องสามารถเข าร วมเรี ยนได ตลอดภาคการศึ กษาตาม ระบบการศึกษาของสถาบันที่ไปแลกเปลี่ยน ทุกวิชาตองไดระดับคะแนน B ขึ้นไป 1.4 หลังกลับจากตางประเทศใหรายงานผลการศึกษา และ หนวยกิตที่เทียบโอนกลับมายังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมทั้งรายงานการ ใชจายเงินภายใน 1 เดือน 2. กรณีผูรับทุนไปทําวิจัย 2.1 ตองสามารถเขารวมทําวิจัยไดเปนระยะเวลาไมนอยกวา 3 เดือน 2.2 การวิจยั ตองเปนสวนหนึง่ ของการทําวิทยานิพนธ 2.3 หลังกลับจากตางประเทศให รายงานความกาวหนาของ ผลงานวิ จั ย ที่ ได ทํ า ณ ต า งประเทศ และหน ว ยกิ ต ที่ เที ย บโอนกลั บมายั ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมทั้งรายงานการใชจายเงินภายใน 1 เดือน กําหนดการรับสมัคร : ตุลาคม – พฤศจิกายน วิธีการคัดเลือก : 1. บัณฑิตวิทยาลัยจะคัดเลือกผูมีสิทธิ์รับทุนฯ จากจํานวนผูสมัคร ทัง้ หมด 2. ผูส มัครขอรับทุนมีคุณสมบัติครบถวน 3. ผู สมั ครขอรั บทุ นต องเข า สอบสั มภาษณ จากคณะกรรมการ คัดเลือกทุน

216 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 224

6/6/16 10:40 AM


2.4.2 ทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาตางชาติ จํานวนทุน : 100 ทุน มูลคาทุน : ปริญญาโท ทุนละ 360,000 บาท ปริญญาเอก ทุนละ 400,000 บาท เงื่อนไข : ผูรบั ทุนจะตองตีพิมพผลงานทางวิชาการของตนในฐาน ขอมูล Peer-reviewed ที่เปนที่ยอมรับในวารสารนานาชาติ โดยระดับปริญญาเอก จํานวน 2 ผลงาน และปริญญาโท จํานวน 1 ผลงาน กําหนดการรับสมัคร : ธันวาคม - มกราคม วิธีการคัดเลือก : คณะกรรมการคัดเลือกพิจารณาจากคุณสมบัติ ของผูสมัครซึ่งเนนนักศึกษาตางชาติจากประเทศในแถบ ASEAN และอื่นๆ 2.5 ทุนผลการเรียนดีเดนเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา จํานวนทุน : ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของมหาวิทยาลัย มูลคาทุน : 1. เขาศึกษาตอในระดับปริญญาโท ทุนละ 96,000 บาท ตอป 2. เขาศึกษาตอในระดับปริญญาเอก ขึ้นอยูกับระยะเวลาการรับทุน ระยะเวลาการรับทุน : 1. ระดั บปริ ญญาโท ได รั บการยกเว นค าธรรมเนี ย มการศึ ก ษาและ สนับสนุนทุนรายเดือนในชั้นปที่เริม่ เขาศึกษา และกําหนดใหนกั ศึกษาจะตองสําเร็จ การศึกษาภายใน 1 ป การศึกษา นับตั้งแตเริ่มเขาศึกษา 2. ระดับปริญญาเอก ตามระยะเวลาแผนการศึกษาที่หลักสูตรกําหนด โดยกําหนดใหนกั ศึกษาจะตองสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาดังกลาว เงื่อนไข : 1. มี สถานภาพเปนนั กศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2. ลงทะเบี ยนเรี ยนเก็บหน วยกิตสะสมในระดับปริญญาตรีมาแลวไม นอยกวารอยละ 75 ของจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร และไดแตมระดับคะแนน เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.25 3. ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาเพื่อการศึกษา ตอในระดับบัณฑิตศึกษาไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร บัณฑิตศึกษา และไดแตมระดับคะแนนแตละวิชาไมต่ํากวาสัญลักษณ “B” àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 217

145x210mm_����������� �� 2560.indd 225

6/6/16 10:40 AM


4. นั กศึกษาที่ มีคุ ณสมบัติ นอกเหนื อจากเงื่ อนไขดั งกล าว ให อยู ใน ดุลยพินจิ ของมหาวิทยาลัย กําหนดการรับสมัคร : ประมาณเดือนมีนาคม – มิถุนายนของทุกป วิธกี ารคัดเลือก : พิจารณาคุณสมบัตขิ องผูส มัครจากทีร่ ะบุไวในประกาศฯ ประจําปการศึกษานั้นๆ หมายเหตุ: 1. การจัดสรรทุนต างๆ อาจเปลี่ ยนแปลงไดตามความเหมาะสม ซึ่ งขึ้ นอยู กับ งบประมาณที่ไดรบั จัดสรรในแตละปการศึกษา 2. เงือ่ นไขการรับทุนเปนไปตามประกาศฯ ประจําปการศึกษานั้นๆ

218 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 226

6/6/16 10:40 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ‹

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Faculty of Humanities and Social Sciences

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3019, 0 7333 1304 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: human-soc@pn.psu.ac.th Homepage: http://huso.pn.psu.ac.th คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปดรับนักศึกษารุนแรกเมื่อปการศึกษา 2518 มี วัตถุ ประสงค และภารกิ จหลั กคื อ ผลิ ตบัณฑิ ต มหาบั ณฑิต และปรั ชญาดุษฎี บัณฑิ ต ในสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากล และตอบสนองความตองการของสังคมและทองถิ่ น สามารถประกอบอาชีพทั้ ง ภาครัฐและเอกชน อีกทั้งยังสามารถศึกษาตอในตางประเทศ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 219

145x210mm_����������� �� 2560.indd 227

6/6/16 10:40 AM


วิสัยทัศน

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จะเปนองคกรชั้ นนําในศิลปวิทยาการดาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรของเอเชียแปซิฟก โดยมุงจัดการเรียนการสอนและสราง ประโยชนในเชิงพัฒนาชุมชนและสังคม ดวยฐานการวิจัยและคุณธรรมจริยธรรม

พันธกิจ

1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนทุกระดับบนฐานของการวิจัย เพื่อใหนักศึกษา มีความรูที่สามารถแขงขันและปรับตัวในบริบทเอเชียแปซิฟก 2. สรางความเขมแข็งดานการวิจัยและนําการวิจัยมาใชเปนกลไกในการพัฒนา ชุมชนและสังคม 3. สรางความเขมแข็งในการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบ สนองความตองการของชุมชน

ภาควิชาภาษาไทย

(Department of Thai) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3039 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-thai@bunga.pn.psu.ac.th จัดการเรียนการสอนเปน 3 ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณคดีไทย และระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มี 3 กลุมวิชาคือ กลุมวิชาภาษาไทย กลุมวิชาวรรณคดีไทย และกลุ มวิ ชาภาษาไทยกับการสื่ อสาร และระดับปริญญาเอก เป ดหลักสูตรปรั ชญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย นอกจากนี้ภาควิชายังสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปในกลุม วิชาภาษาสําหรับนักศึกษาทุกคณะในวิทยาเขตปตตานี และใหการสนับสนุนดานการเรียน การสอนแกหลักสูตรอืน่ ๆ ของมหาวิทยาลัยอีกดวย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณคดีไทย เนนสาระในวิทยาการ ของภาษาไทย 2 สวน คือ 1. ความรู ทางสั ทศาสตร และโครงสรางทางไวยกรณ ของภาษาไทยตามแนว ภาษาศาสตร การศึกษาความหมายในภาษา ภาษาไทยเชิงประวัติ ภาษาถิ่ น ภาษากับ วัฒนธรรม ภาษาศาสตรสังคม การฝกทักษะการใชภาษา การอานเขียนทางวิชาการ การแตงคําประพันธและบันเทิงคดี ภาษาบาลีสันสกฤต

220 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 228

6/6/16 10:40 AM


2. ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติและภารกิจของวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี ตามยุคสมั ยและตามประเภทงาน สุนทรี ยภาพในบทประพันธ ไทย วรรณคดีวิจารณ วรรณคดีแบบฉบับ และวรรณคดีเปรียบเทียบ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย เนนการผลิตนักวิชาการ และการสรางองค ความรู อย างบู รณาการ โดยปรั บความรู ทฤษฎี ทั้ งทางภาษาศาสตร วรรณคดีและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มพูนวิจารณญาณแกสังคม รวมทั้งประสิทธิผลของการ สือ่ สารในวงการตางๆ

ภาควิชาภาษาตะวันตก

(Department of Western Languages) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3073 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-west@bunga.pn.psu.ac.th จั ดการเรี ยนการสอนตามหลั กสูตรศิ ลปศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาภาษาอั งกฤษ ภาษาฝรั งเศส และภาษาเยอรมั น รวมทั้ งใหบริ การแกหลั กสูตรอื่ นๆ ในมหาวิ ทยาลั ย โดยเนนการฝกทักษะทั้ง 4 คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อประโยชน ในการสื่อสาร พรอมทั้ งใหการศึกษาดานวรรณคดีและวัฒนธรรมของชนชาติที่ ใชภาษา อังกฤษ ภาษาฝรั่ งเศส และภาษาเยอรมัน และยังสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชา ภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาทุกคณะในวิทยาเขตปตตานี หลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษ เนนการศึกษาเกี่ยวกับทักษะทั้ง 4 รวมทั้ง ไวยากรณ ภาษาศาสตร การแปล วรรณกรรมประเภทรอยแกวและรอยกรอง หลักสูตรสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส เนนการศึกษาเกี่ยวกับทักษะทั้ง 4 ไวยากรณ การฝกการออกเสียงใหถูกตองตามหลักสัทศาสตร และศึกษาวรรณกรรมประเภทรอยแกว รองกรอง และบทละคร รวมทั้งอารยธรรมของชาวฝรั่งเศส หลักสูตรสาขาวิชาภาษาเยอรมัน เนนการศึกษาเกี่ยวกับทักษะทั้ง 4 ฟง พูด อาน เขียน รวมทั้งไวยากรณและอารยธรรมของชาวเยอรมัน

ภาควิชาบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร

(Department of Library and Information Sciences) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3057 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-libsci@bunga.pn.psu.ac.th àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 221

145x210mm_����������� �� 2560.indd 229

6/6/16 10:41 AM


จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการสารสนเทศ และศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต มีเปาหมายเพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถดําเนินงานในสถาบันบริการสารนิเทศและสํานักงาน ทั่ วไป ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพอิสระ สวนหลั กสู ตรศิลปศาสตรมหาบั ณฑิต มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถในการจัดการและบริการสารสนเทศ สามารถสรางองคความรูท างวิชาชีพและถายทอดความรูส สู ังคม

ภาควิชาสังคมศาสตร

(Department of Social Sciences) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3084 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-social@bunga.pn.psu.ac.th จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเอกสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา พัฒนาสังคม หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพัฒนาสังคม ตลอดจน ใหบริการแกหลักสูตรอื่นๆ ในมหาวิทยาลัย หลักสูตรสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา แบงเปน 2 แขนงวิชา คือ 1) แขนงวิชาสังคมวิทยาเนนสรางและสนับสนุนการวิจัยทางสังคมในระดับมหภาคและ ระดับจุลภาค โดยการบูรณาการศาสตรตางๆ ดานการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิง คุณภาพ ครอบคลุมพฤติกรรมกลุมและปจเจก จิตวิทยาทางสังคม ความเปนสังคมสวน รวม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ศาสนา ประชากร และการเคลื่อนยายถิ่นประเภทตางๆ แกไขปญหาความยากจนลดความเหลื่ อมล้ําทางสังคม ระบบความยุติธรรมทางสังคม ลดความขัดแยงและการอยูรวมกันอยางสันติ 2) แขนงวิชามานุษยวิทยา เนนสรางความ เขาใจความแตกต างทางสั งคม วัฒนธรรม ชาติ พันธุ โดยการบู รณาการศาสตรต างๆ โดยใชการวิจยั ภาคสนามอยางเขมขนและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาและสังคมศาสตรอนื่ ๆ หลักสูตรสาขาวิชาพัฒนาสังคม เนนการศึกษาการประยุกตวิชาตางๆ ที่เกี่ยว ของกับงานพัฒนาสังคม ไดแก สังคมวิทยา รัฐศาสตร เศรษฐศาสตร จิตวิทยา สังคม และประชากรศาสตร รวมทั้งกําหนดใหนักศึกษาไดมีการศึกษาอิสระในเรื่องที่สนใจเกี่ยว กับการพัฒนาสังคม

222 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 230

6/6/16 10:41 AM


หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐกิจอาเซียน เนนการศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอาเซียน การประกอบการและการลงทุน เขตการคาเสรีอาเซียน โลกาภิวัตนและการพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต เนนการพัฒนาความสามารถในการบริหารจัดการ ทรัพยากรมนุษยและองคการ การจัดการอุตสาหกรรม บริการ การตลาด การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส และการจัดการมูอามาลาต เพือ่ ใหสามารถดําเนินธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ การใชภาษาตางประเทศในการสื่อสารทางธุรกิจกับนานาชาติได ความรูความสามารถใน การเขาใจการบริหารจัดการและสื่อสารทางธุรกิจที่เขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรบัณฑิต เนนการเรียนการสอนทั้ งดานทฤษฎี และปฏิบัติงานจริงที่ สามารถตอบสนองความต องการของชุ มชนและการเปลี่ ยนแปลง ทางดานสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม หลั กสูตรศิ ลปศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาการบริ หารการพั ฒนาสังคม มี วั ตถุ ประสงค เพื่ อผลิ ตมหาบั ณฑิตที่ มี ความรู เชิ งทฤษฎี และสามารถบู รณาการความรู สูภาค ปฏิบัติในพหุสังคมวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเปนผูนําดานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการสรางความสมานฉันท ตลอดจนมีศักยภาพในการ สรางองคความรูท เี่ กีย่ วของกับการพัฒนาบนพืน้ ฐานพหุสงั คมวัฒนธรรมไดอยางตอเนือ่ ง

ภาควิชาปรัชญาและศาสนา

(Department of Philosophy and Religion) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3050 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-philos@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาปรัชญาและศาสนาจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา หลั กสู ตรสาขาวิ ชาปรั ช ญาและศาสนา ศึ ก ษาเกี่ ยวกั บปรั ชญาทั่ วไป ทั้ ง ปรั ชญาตะวั นออก และปรั ชญาตะวั น ตก เน นการศึ ก ษาเกี่ ยวกั บลั ทธิ ศาสนาฝ าย อัสดงคตประเทศ เชน ศาสนาคริสต อิสลามและยูดาย และฝายบูรพทิศ เชน ศาสนา ฮินดู พุทธ เชน ขงจื้อ และชินโต

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 223

145x210mm_����������� �� 2560.indd 231

6/6/16 10:41 AM


ภาควิชาประวัติศาสตร

(Department of History) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3066 โทรสาร 0 73312232 E-mail: huso-hist@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาประวั ติ ศาสตร จัดการเรียนการสอนตามหลั กสู ตรศิ ลปศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิชาประวัติ ศาสตร ตลอดจนใหบริการแกหลักสูตรอื่ นๆ ในมหาวิ ทยาลัย รวมทั้ ง เผยแพรความรูและใหบริการวิชาการดานประวัติศาสตร โบราณคดี ศิลปะและวัฒนธรรม แกชมุ ชน หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร เนนการศึกษาประวัติศาสตรไทย ระเบียบวิธี วิจัยทางประวัติศาสตรทองถิ่นภาคใต ประวั ติศาสตร ประเทศสําคัญบางประเทศ และ ประวัตศิ าสตรภมู ิภาคตางๆ ของโลกและประวัติศาสตรทางความคิด

ภาควิชาภาษาตะวันออก

(Department of Eastern Languages) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3051 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-east@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาภาษาตะวันออก จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ชาภาษาจี น แขนงวิชาภาษาจี นปกติ แขนงวิชาภาษาจี นนานาชาติ ภาษามลายู มลายูศึกษา ภาษาอาหรับและภาษาอาหรับ แขนงวิชาภาษาอาหรับ แขนงวิชาภาษา อาหรับธุรกิจ ภาษาญี่ปุน และภาษาเกาหลี โดยเนนศึกษาเกี่ยวกับทักษะทั้ง 4 คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อประโยชนในการสื่อสาร รวมทั้งการศึกษาวรรณคดี และศิลปะวัฒนธรรมของชนชาติที่ใชภาษาเหลานี้ ตลอดจนศึกษาถึงความสัมพันธระหวาง ภาษาไทยกับภาษาดังกลาว นอกจากนี้สาขาวิชามลายูศึกษาไดจัดหลักสูตรเพื่อการศึกษา เรื่องราวตางๆ เกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมมลายูและมลายูศึกษาในกรอบแนวคิดของ โลกมลายู (The Malay World) ของชนชาวมลายูในอาเซียน ที่เรียกวา ภูมิภาคมลายู (Nusantara) ดวย

224 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 232

6/6/16 10:41 AM


ภาควิชาภูมิศาสตร

(Department of Geography) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 3036 โทรสาร 0 7331 2232 E-mail: huso-geo@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาภูมิศาสตร จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาภูมิศาสตร ตลอดจนใหบริการแกหลักสูตรอื่นๆ ในมหาวิทยาลัย และใหบริการแก ชุมชน หลักสูตรภูมิศาสตร ประกอบดวย สาขาภูมิศาสตรกายภาพ ภูมิศาสตรสังคม ภูมิศาสตรเศรษฐกิจ และภูมิศาสตรปฏิบัติการ การเรียนการสอนเนนการศึกษาภูมิศาสตรขั้นพื้นฐาน (Basic Geography) และภูมิศาสตรประยุกต (Applied Geography) โดยใชเทคนิควิธีการสมัยใหม เชน การสํารวจจากระยะไกล (Remote Sensing) ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System) และการทําแผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Cartography)

หลักสูตรคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (B.A.) จํานวน 15 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีไทย 2) สาขาวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีน - แขนงวิชาภาษาจีนนานาชาติ 3) สาขาวิชาภาษามลายู 4) สาขาวิชามลายูศึกษา 5) สาขาวิชาภาษาอาหรับและภาษาอาหรับธุรกิจ - แขนงวิชาภาษาอาหรับ - แขนงวิชาภาษาอาหรับธุรกิจ 6) สาขาวิชาภาษาเกาหลี 7) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 8) สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส 9) สาขาวิชาภาษาญี่ปุน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 225

145x210mm_����������� �� 2560.indd 233

6/6/16 10:41 AM


10) สาขาวิชาภาษาเยอรมัน 11) สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 12) สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 13) สาขาวิชาพัฒนาสังคม 14) สาขาวิชาประวัติศาสตร 15) สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) จํานวน 1 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาภูมิศาสตร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (B.B.A.) จํานวน 1 แขนงวิชา ไดแก 1) แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษยและองคการ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (B.Econ.) จํานวน 1 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาเศรษฐกิจอาเซียน หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรบัณฑิต (B.S.W.) จํานวน 1 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาสังคมสงเคราะห 2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (M.A.) จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาภาษาไทย 2) สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม 3) สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ 3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) จํานวน 1 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาภาษาไทย

จุดเดน

1. คณะฯ มีหลักสูตรทีเ่ นนผูเ รียนเปนสําคัญและมีความเปนบูรณาการ จึงสามารถ ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความเขาใจในสาขาวิชาทั้งในมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรอยาง แทจริง 2. คณะฯ มีหลักสูตรที่ไดรับการปรับปรุงใหมีความทันสมัย สอดคลองกับการ เปลีย่ นแปลงและความตองการของสังคม

226 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 234

6/6/16 10:41 AM


3. คณะฯ มีบุคลากรผูสอนที่เชี่ยวชาญในสาขาวิชาตางๆ ที่เปดสอน และมีการ พัฒนาคุณภาพอาจารยอยางตอเนือ่ ง 4. คณะฯ มีหอ งปฏิบตั กิ ารทีไ่ ดมาตรฐานและอุปกรณคอมพิวเตอรทที่ นั สมัย 5. นักศึกษาสามารถที่จะใชเวลาสวนหนึ่งของเวลาเรียนในมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร ไปศึ กษาต อต างประเทศได โดยสมั ครเข ารั บการคั ดเลื อกเพื่ อไปศึ กษาต อใน มหาวิทยาลัยตางประเทศที่คณะฯ มีความรวมมือ ซึ่งไดแก ประเทศออสเตรเลีย เกาหลี ญี่ปุน และสาธารณรัฐประชาชนจีน 6. คณะฯ มี การติ ดต อ กั บมหาวิ ท ยาลั ยชั้ นนํ า ในระดั บนานาชาติ ของเอเชี ย ยุโรป และอเมริกา สามารถรองรับกิจกรรมดานวิเทศสัมพันธทั้งการแลกเปลี่ยนอาจารย นักศึกษา การวิจัยรวม เพื่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการวิจัย 7. คณะฯ มีความสั มพันธกั บองค กรของรั ฐ เอกชน และชุ มชนในพื้ นที่ อยาง ใกลชิด ซึ่งสามารถใชเปนแหลงขอมูลเพือ่ การศึกษาและการทําวิจัยได

ตลาดแรงงานในภาพรวมของคณะฯ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มีสาขาวิชาที่เปดการเรียนการสอนที่มีความ หลากหลายเพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงาน ทั้งสาขาวิชาที่เปนวิชาชีพ เฉพาะ และสาขาวิชาที่สามารถปฏิบัติในสาขางานอื่นๆ อีกทั้งสามารถประยุกตใชกับงาน อื่นๆ ได สาขาวิชาดานมนุษยศาสตร (ความหลายหลายทางภาษา) ความโดดเด นด านภาษา มี ความหลากหลายทางภาษาที่ สามารถรองรั บตลาด แรงงาน อีกทั้งหากบัณฑิตที่ไดเขาทํางานในองคกรที่มีความจําเปนในดานภาษา สามารถ ชวยใหองคกรนั้นมีความกาวหนาไดอยางตอเนื่อง โดยงานที่สามารถนําความโดดเดนดาน ภาษามาใชใหเกิดประโยชนแกองคกร เชน - ลาม (โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม โรงพยาบาล หนวยงานราชการ ฯลฯ) - อาจารย (โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย สถาบันกวดวิชา) - นักแปลภาษา (หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน บริษัท) - ฝ ายดู แลลู กค า,ประสานงานกั บต างประเทศ (หน วยงานเอกชน หน วยงาน ราชการ) - พนักงานตอนรับภาคพื้นดิน พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน (สายการบินตางๆ ทัว่ โลก) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 227

145x210mm_����������� �� 2560.indd 235

6/6/16 10:41 AM


สาขาวิชาดานสังคมศาสตร ความโดดเดนดานสังคมศาสตร มีความหลากหลายของสาขาวิชาทีส่ ามารถรองรับ ตลาดแรงงานที่มีความจําเปน ซึ่งถือวาเปนสาขาที่สามารถชวยสังคมในการพัฒนาอยาง ยั่งยืน เชน - นักพัฒนาสังคม (หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน องคกรมหาชน) - นักสังคมสงเคราะห (หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน องคกรมหาชน) - นักบัญชี เศรษฐศาสตร (หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน รัฐวิสาหกิจ) - อาจารย ครู (สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษาเอกชน สถาบันกวดวิชา) - นักวิชาการดานประวัติศาสตร ปรัชญาและศาสนา เปนตน สาชาวิชาดานวิทยาศาสตร ความโดดเดนดานสาขาวิชาภูมิศาสตร ถือเปนอีกหนึ่งสาขาวิชาที่สามารถรองรับ ตลาดแรงงานไดในยุคปจจุบัน ซึ่งบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาไปจะมีความเชี่ยวชาญมีความรู ดานธรณีวิทยา ความรูความสามารถดานปฐพีวิทยา การใชโปรแกรมเกี่ยวกับแผนที่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เปนตน สาขาวิชาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ความโดนเดนดานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจะมี ความรู ความสามารถในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนําไปประยุกตกับการทํางานทั้ง ในสถาบันการบริการเทคโนโลยีสารนิเทศ หนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน องคกร มหาชน เปนตน

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

นักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรจะตองจายคาใชจายการลงทะเบียน คาธรรมเนียมการศึ กษา คนละประมาณ 22,000 บาท/ป โดยไมรวมคาใชจายส วนตัว ยกเวนสาขาการจัดการสารสนเทศ สาขาภาษาจีน สาขาภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) (ไมรวมคาใชจายศึกษาตอ ณ ประเทศจีน) คาใชจายประมาณ 24,000 บาท/ป และคา หอพักคนละประมาณ 1,500–3,000 บาท/ภาคการศึกษา

228 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 236

6/6/16 10:41 AM


ทุนการศึกษา

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษา เชน 1. ทุนมูลนิธิจุมภฏ-พันธุทิพย สําหรับนักศึกษาที่เรียนดี แตขาดแคลนทุนทรัพย โดยรับผิดชอบคาใชจายในการศึกษาตลอดหลักสูตร 2. ทุนการศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พิจารณาคัดเลือกนักศึกษารับทุน ปละ 1 ครั้ง โดยเปนทุน 2 แบบ คือ ใหตอเนื่อง และใหครั้งเดียว 3. ทุ นการศึกษาคณะมนุ ษยศาสตร และสั งคมศาสตร พิจารณาคั ดเลื อก นักศึกษารับทุนปละ 1 ครั้ง โดยเปนทุน 2 แบบ คือ ใหตอเนื่อง และใหครั้งเดียว

สวัสดิการและกิจการนักศึกษา

สวัสดิการและกิจการนักศึกษา เนนในดานการจัดการและใหบริการแกนักศึกษา ของคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ตลอดจนสรางเสริ มดานคุ ณธรรมจริ ยธรรม แกนักศึกษาของคณะฯ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด สวัสดิการนักศึกษา นั ก ศึ กษาสามารถได รั บบริ การและสวั สดิ ก ารจากที่ มหาวิ ท ยาลั ยกํา หนดตาม ระเบี ยบ เช น นักศึ กษามี สิทธิ ในการเขาอยู หอพั กในมหาวิทยาลั ย งานพยาบาล งาน ไปรษณีย เปนตน

กิจการนักศึกษา

ฝายกิจการนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มุ งเนนในดานการจัด กิจกรรมที่ชวยใหนักศึกษาเกิดทักษะ และพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยสามารถนําไปใช และประยุกตกับการประกอบอาชีพในอนาคตได อีกทั้งฝายกิจการนักศึกษายังสนับสนุน ใหนั กศึกษาไดใช เวลาวางจากการเรียนใหเกิ ดประโยชน โดยการสนั บสนุนใหนั กศึกษา ทํางานภายในคณะฯ พรอมรับคาตอบแทน และสงเสริมใหเห็นถึงการทํางานรวมกัน และการชวยเหลือสังคม ทั้งสังคมมหาวิทยาลัย ชุมชน และการอยูรวมกันในสังคม พหุวฒ ั นธรรม

โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษตางๆ

1. โครงการมูลนิ ธิสงเสริ มโอลิมป กวิ ชาการและพั ฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร ศึกษาในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่ นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร (สอวน.) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 229

145x210mm_����������� �� 2560.indd 237

6/6/16 10:41 AM


วมว.)

2. โครงการสงเสริมผูมีคุณธรรม จริยธรรม เขาศึกษาระดับปริญญาตรี 3. โครงการหองเรียนวิทยาศาสตรโดยการกํากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ 4. โครงการรับบุคคลทีม่ ีความสามารถทางดานกีฬา 5. โครงการคัดเลือกนักเรียนที่มผี ลการเรียนดีเขาศึกษาระดับปริญญาตรี

230 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 238

6/6/16 10:42 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ‹

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Faculty of Science and Technology

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1926 หรือ 0 7333 1303 โทรสาร 0 7333 5130 E-mail: sci&tech@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: www.sat.psu.ac.th คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นอกจากจะเปดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต 12 สาขาวิชา และหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 8 สาขาวิชา และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 2 สาขาวิชาแลว คณะฯ ยังใหบริการสอนวิชาพื้นฐานดาน วิ ทยาศาสตร คณิ ตศาสตร สถิ ติ และคอมพิวเตอร แก นั กศึ กษาทุ กคณะ/วิ ทยาลั ยใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี สอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) และศึกษาศาสตรบัณฑิต ใหแกคณะศึกษาศาสตร นอกจากนี้ คณะฯ ยัง ไดวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสาขาตางๆ และใหบริการวิชาการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและคอมพิวเตอร เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยี การประมง เทคโนโลยียาง วิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาและแปรรูปอาหาร อาหารฮาลาล àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 231

145x210mm_����������� �� 2560.indd 239

6/6/16 10:42 AM


ปจจุบันคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประกอบดวย ภาควิชา 6 ภาควิชา ดังนี้

ภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาการคอมพิวเตอร

(Department of Mathematics and Computer Science) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1891 หรือ 0 7331 2179 โทรสาร 0 7331 2179 E-mail: math&com@psu.ac.th จัดการเรียนการสอนทางดานคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอร การวิจัยและ บริการวิชาการ โดยครอบคลุมหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตรประยุกต หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาคณิตศาสตรประยุกต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาคณิตศาสตร

ภาควิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ

(Department of Food Science and Nutrition) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1856 หรือ 0 7331 2160 หรือ 0 7333 4609 โทรสาร 0 7333 4609 E-mail: FSN-PSU@psu.ac.th จัดการเรียนการสอนการวิจัยดานวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการที่ใชใน อุตสาหกรรมอาหาร โดยเนนการแปรรูปอาหาร การวิเคราะหอาหาร วิศวกรรมอาหาร เคมีอาหาร จุลชีวอาหาร การประกันคุณภาพอาหาร การออกแบบบรรจุภัณฑและงาน ดานโภชนาการ โภชนบําบัด หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการ อาหารและโภชนาการ สาขาวิชาโภชนศาสตร และการกําหนดอาหาร และหลักสูตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ ตลอดจนการใหบริการ วิชาการทางดานอาหารโภชนาการและอาหารฮาลาล

ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม

(Department of Technology and Industries) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1871 หรือ 0 7331 2159 โทรสาร 0 7333 5130 E-mail: tech&ind@bunga.pn.psu.ac.th

232 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 240

6/6/16 10:42 AM


จัดการเรียนการสอนการวิจัยและบริการวิชาการ ดานเทคโนโลยีประมง เทคโนโลยีเกษตร ที่สอดคลองกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ดานเทคโนโลยีการผลิตพืช ดานเทคโนโลยีการผลิตสัตว) สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง, ดานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑประมง) และหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการประมง

ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร

(Department of Rubber Technology and Polymer Science) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1861 หรือ 0 7331 2213 โทรสาร 0 7333 1099 E-mail: rubber&polymer@psu.ac.th จัดการเรียนการสอนการวิจัยดานเทคโนโลยียางและพอลิเมอร สําหรับหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยียาง หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร และใหบริการวิชาการดานเทคโนโลยี ยางแกโรงงานอุตสาหกรรมยางในประเทศและชุมชน

ภาควิชาวิทยาศาสตร

(Department of Science) โทรศัพท 0 7331 3930-50 ตอ 1830 หรือ 0 7331 2201 โทรสาร 0 7333 5130 E-mail: science@psu.ac.th จั ดการเรี ยนการสอนการวิ จั ยในหลั กสู ตรวิ ทยาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาเคมี ชีววิทยา สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม สาขาวิชาฟสิกส และสาขาวิทยาศาสตรนิเทศ หลักสูตรวิ ทยาศาสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิชาฟ สิกสประยุ กต สาขาวิชาเคมีประยุ กต สาขาชีววิทยาประยุกต และรวมกับคณะศึกษาศาสตร จัดการเรียนการสอนหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาเคมี ชีววิทยา ฟสิกส และวิทยาศาสตร ทั่วไป รวมทั้งจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไปกลุมวิชาวิทยาศาสตรใหทุกคณะ ในวิ ทยาเขตปตตานี และให บริ การวิชาการแกชุมชนดานการฝกอบรม การวิ เคราะห งานดานเคมี ชีววิทยา ฟสิกส และวิทยาศาสตรทั่วไป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 233

145x210mm_����������� �� 2560.indd 241

6/6/16 10:42 AM


ภาควิชาพรีคลินิก

(Department of Preclinic) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1823

โทรสาร 0 7333 5130

ทําหนาที่ รวมผลิ ตบั ณฑิ ตทางด านวิ ทยาศาสตร สุขภาพ โดยรองรั บการบริ หาร จัดการทางดานการเรียนการสอนใหแกนักศึกษาที่เรียนทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพและ วิชาพื้นฐานสําหรับนักศึกษาสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ผลิตบัณฑิตระดับสูงกวาปริญญาตรี ทางดานพรีคลินิก โดยมุง เนนใหนักศึกษามีความรู ทักษะในการคิดวิเคราะห และแกปญหา อยางมีแบบแผนถูกตองตามหลักวิทยาศาสตรสุขภาพ เพื่อผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร สุขภาพที่มีความรู ความสามารถไปประกอบวิชาชีพสนองตอความตองการของทองถิ่น และเปนประโยชนตอสังคม นอกจากนั้นยังมีภารกิจในการวิจัยและการบริการวิชาการ ทางดานพรีคลินกิ

หลักสูตรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คือ

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปดสอนทั้ง 3 ระดับ คือ 1. ระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (B.Sc.) มีสาขาวิชาใหเลือกศึกษา 12 สาขา 1) สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต 2) สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา 3) สาขาวิชาเคมีอตุ สาหกรรม 4) สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ดานเทคโนโลยีการผลิตพืช) 5) สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ดานเทคโนโลยีการผลิตสัตว) 6) สาขาวิชาเทคโนโลยียาง 7) สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ 8) สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง) 9) สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑประมง) 10) สาขาวิชาฟสิกส 11) สาขาวิทยาศาสตรนเิ ทศ 12) สาขาวิชาโภชนศาสตรและการกําหนดอาหาร

234 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 242

6/6/16 10:42 AM


2. ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.) เปดสอน 8 สาขาวิชา คือ 1) สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร 2) สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย 3) สาขาวิชาฟสิกสประยุกต 4) สาขาวิชาเคมีประยุกต 5) สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ 6) สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง 7) สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต 8) สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต 3. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) เปดสอน 2 สาขาวิชา คือ 1) สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร 2) สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัย สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีแตละสาขาวิชา มีจุดเนนและตลาดแรงงานแตกตาง กัน ทั้ งนี้เนื่องจากคณะฯ มีสาขาวิ ชาที่หลากหลาย แตจุดเน นที่ ทุกสาขาวิชามีลักษณะ เหมือนกันคือ การศึกษาวิชาพื้นฐานทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทั้งดานทฤษฎี และปฏิบัติการ ซึ่งเนนทางดานเคมี ฟสิกส ชีววิทยา คณิตศาสตร และคอมพิวเตอร อั นเป นพื้ นฐานที่ สําคั ญในการศึกษาสาขาวิชาอื่ นๆ ในคณะฯ และยั งเนนใหนั กศึกษา ไดรับประสบการณตรงจากการศึกษาดูงาน การฝกงาน (ไมนอยกวา 300 ชั่วโมง) และการทําวิจัย นอกจากนี้ทุกสาขาวิชามี 2 แผนการศึกษาเปนทางเลือกคือ กลุมทั่วไป และสหกิจศึกษา เพื่อสามารถนําความรูไปประยุกตใชในวิชาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต

มี 12 สาขา ดังนี้ สาขาวิชาเทคโนโลยียาง มุ งเน นศาสตร ของยางและพอลิ เมอร ทําใหมี ความเขาใจเนื้ อหาเกี่ ยวกับยาง ธรรมชาติและยางสังเคราะห ทางดานการออกแบบสูตร การแปรรูป การทดสอบและ วิเคราะห การทําผลิตภัณฑ เคมีของยางและพอลิเมอร ฟสิกสของยาง ความรูพื้นฐาน ดานน้ํายาง และการนําไปใชทําผลิ ตภัณฑ เมื่ อสําเร็จการศึกษาแลวสามารถประกอบ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 235

145x210mm_����������� �� 2560.indd 243

6/6/16 10:42 AM


อาชีพเปนนั กวิชาการประจําสํานักวิ จัยที่ เกี่ ยวของกับยาง สถาบันวิ จัยยาง สํานั กงาน สงเคราะหการทําสวนยาง องคการสวนยาง เปนอาจารยสอนในมหาวิทยาลัย เปน พนักงานสายการผลิตในบริษัทเอกชนที่เกี่ยวของกับธุรกิจดานยาง ประกอบอาชีพสวนตัว ในธุรกิจการผลิตวัตถุดิบยาง การนําเขาและสงออกสินคาที่เกี่ยวของกับยาง หรือจัดตั้ง บริษัทเพือ่ ใหคําปรึกษาและใหคําแนะนําในกระบวนการผลิตยางและผลิตภัณฑยางตางๆ สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง) ศึกษาดานการเพาะเลี้ ยงสัตว น้ําที่ มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยเนนกระบวนการในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและสาหรายชนิดตางๆ ความรูพื้นฐานที่ใช การจัดการเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การวิเคราะหและการจัดการคุณภาพน้ํา โรค และพาราสิตของสัตวน้ํา การออกแบบ การจัดการและการสรางฟารมและโรงเพาะฟก สัตวน้ํา วิศวกรรมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การผลิตอาหารสัตว พันธุศาสตรในการเพาะ เลี้ยงสัตวน้ําเพื่อใชในการปรับปรุงพันธุ เมื่อสําเร็จการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพ เปนนักวิชาการหรือนักวิจัย ประจําสถาบันวิจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา สํานักงานพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง สํานักงานประมงอําเภอ สํานักงานประมงจังหวัด กรมส งเสริ มการเกษตร กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ ง กรมศุ ลกากร หรื อเป นอาจารย สอนในมหาวิ ทยาลั ย เป นนั กวิ ชาการ นั กวิ จั ย หรื อ พนักงานประจําบริษัทเอกชน ที่เกี่ยวของกับธุรกิจการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ธุรกิจเวชภัณฑ และเคมีภั ณฑ สัตวน้ํา บริ ษัทผลิ ตอาหารสั ตว น้ํา ธนาคารเพื่ อการเกษตรและสหกรณ บริษัทแปรรูปและสงออกสัตวน้ํา สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (ดานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑประมง) หลั ก สู ตรมุ งเน นการศึ กษาความรู ทางวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี การประมง เคมี ของผลิ ตภั ณฑ ประมง เทคโนโลยีการแปรรู ปและเก็ บรั กษาผลิ ตภั ณฑ ประมง การวิเคราะหคุณภาพทางกายภาพ เคมี และจุลินทรีย การพัฒนาผลิตภัณฑประมง หลั กการควบคุ มคุ ณภาพ ระบบการจั ดการความปลอดภั ยด านอาหารและการบริ หาร จั ด การอุ ตสาหกรรมประมง รวมทั้ ง มี รายวิ ช าเลื อกต า งๆ ที่ ทั น สมั ย ในหลั กสู ต ร ฝกประสบการณการเรียนรู โดยเนนผู เรียนเป นสําคัญ มี การฝกงานและศึ กษาดูงานใน หนวยงานภาครัฐหรือเอกชนทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ การศึกษาวิจยั ดวยตนเอง

236 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 244

6/6/16 10:42 AM


สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต มุงเนนการศึกษาทางดานคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอรดานคณิตศาสตร มีทั้งคณิตศาสตรพื้นฐานและคณิตศาสตรประยุกต ดานสถิติ ศึกษาทั้งทฤษฎีและการนํา ไปใชในงานวิจัยดานคอมพิวเตอร มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอรเพื่อ การวิเคราะหงาน การเขียนโปรแกรมดวยภาษาตางๆ การพัฒนาระบบสารสนเทศใน องคกร การแกปญหาทางคณิตศาสตร การสรางรูปแบบจําลองทางคณิตศาสตร เปนตน มีการศึกษาดูงาน ฝกงาน และการทําวิจัย สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ เปนการบูรณาการทางดานวิทยาศาสตรการอาหารและดานโภชนาการเขาดวยกัน มุงเนนการเรียนรู การใชประโยชนจากอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหาร การเสื่อมเสีย ของอาหาร การวิเคราะหอาหาร ระบบประกันคุณภาพในอุตสาหกรรมอาหาร อาหาร ฮาลาล ภาวะโภชนาการ ตลอดจนหลักการกําหนดและการจัดอาหารใหเหมาะสม เมื่อจบ การศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพในดานนักวิทยาศาสตร นักวิทยาศาสตรการอาหาร ทั้งในหนวยงานของรัฐและเอกชน ทํางานในดานการผลิต การควบคุมคุณภาพ การ พัฒนาผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมอาหาร และนักโภชนากรในโรงพยาบาล สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ดานเทคโนโลยีการผลิตพืช) ศึกษาพื้นฐานตามหลักวิชาการเกษตร ศึกษาเพิ่มเติมดานเทคโนโลยีทันสมัยในการ ผลิตพืช การปรับปรุงและการขยายพันธุพืช การจัดการพืชสวน การจัดการดินและน้าํ การจัดการศัตรูพืช และเลือกเรียนรายวิชาที่สนใจ ไดแก เทคโนโลยีการผลิตพืชแบบ ไมใชดิน การผลิตพืชในแนวตั้ง การผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย เทคโนโลยีการผลิต เห็ด การผลิตพืชสมุนไพรและการใชประโยชน การผลิตไมดอกเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การผลิตพืชในกระแสนิยม เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร การวิจัยทางเทคโนโลยีการผลิตพืช การประกอบการทาง การเกษตร ผูเรียนดีจะไดรับโอกาสดูงานและฝกงานทั้งในและตางประเทศ ผูจบการ ศึกษาสามารถประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐและเอกชน หรือธุรกิจสวนตัว สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ดานเทคโนโลยีการผลิตสัตว) ศึกษาพื้นฐานตามหลักวิชาการเกษตร ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม ดานการผลิตสัตว การจัดการดานอาหารสัตว การปรับปรุงพันธุ การสุขาภิบาล การ ปองกันโรค การผลิตโคเนื้อ การผลิตสัตวเคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก การผลิตสัตวปก และ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 237

145x210mm_����������� �� 2560.indd 245

6/6/16 10:42 AM


เลือกเรียนรายวิชาที่สนใจไดหลากหลาย เชน การผลิตสัตวในระบบเกษตรอินทรีย การ ผลิตสัตวสันทนาการ การผลิตสัตวทางเลือก การจัดการทุงหญาและพืชอาหารสัตว การสรางสูตรอาหารและการผลิ ตอาหารสัตว การผลิตสัตว เพื่ อรองรั บอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล การประกอบการทางการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพการผลิตสัตว การวิจัย ทางเทคโนโลยีการผลิตสัตว ผูเ รียนดีจะไดรบั โอกาสดูงานและฝกงานทัง้ ในและตางประเทศ ผูจบการศึกษาสามารถประกอบอาชีพทั้งในภาครัฐและเอกชน หรือธุรกิจสวนตัว สาขาวิชาโภชนศาสตรและการกําหนดอาหาร เปนหลักสู ตรมุ งเน นการประยุ กต ใชความรู ทางด านโภชนาการและการกําหนด อาหาร เพื่อการบริหารจัดการ การวางแผนการผลิตและการใหบริการอาหาร ทั้งเฉพาะ บุคคลและหมูคณะ ตลอดจนการพั ฒนาผลิตภัณฑอาหารถูกตองตามหลักโภชนาการที่ เหมาะสมกับผูปวยหรือผูบริโภคในวัยตางๆ เมื่อจบการศึกษาแลวสามารถประกอบอาชีพ เปนนักโภชนาการ นักกําหนดอาหาร ที่ปรึกษาทางโภชนาการ นักวิจัย นักวิชาการ ทั้งในสถานประกอบการของรัฐบาลและเอกชน เชน โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานเสริมความงาม มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยตางๆ เปนตน หรือสามารถนําความรู ที่ไดไปประยุกตประกอบอาชีพอิสระ สาขาวิชาเคมี-ชีววิทยา เปดโอกาสการศึกษาทางดานเคมีและชีววิทยาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูทั้งทาง เคมีและชีววิทยา โดยเรียนรายวิชาเอกบังคับทางเคมีและชีววิทยา สาขาละ 29 หนวยกิต และวิชาเลือกทางดานเคมีและชีววิทยาอีกหลายวิชาไมนอยกวา 29 หนวยกิต ตามความ สนใจ โดยหลักสูตรมุงเนนทางดานตางๆ เชน จุลชีววิทยาทางอาหาร/อุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สรีรวิทยา พืชสมุนไพร เคมีวิเคราะห เคมีอินทรียและอนินทรีย เคมีพอลิเมอร เคมีสิ่งแวดลอม มีการทัศนศึกษาดูงาน สหกิจศึกษา/ฝกงานในสถาบัน ของรัฐและเอกชน โอกาสในการประกอบอาชีพ ไดแก ฝายประกันคุณภาพ QA ใน หองปฏิบตั ิการของโรงงาน นักวิทยาศาสตรฝายควบคุมในสายการผลิตของโรงงานตางๆ เปนครู/อาจารย นักวิชาการในหนวยงานตางๆ สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม มุ งเน นทั้ งภาคทฤษฎี และปฏิ บัติ ด านเคมี และเคมี อุ ตสาหกรรม เพื่ อผลิ ตนั ก เทคโนโลยี ด านอุ ตสาหกรรมเคมี ที่ มี ความรู ใ นกระบวนการผลิ ต การตรวจสอบและ วิ เคราะห คุ ณภาพในระดับอุ ตสาหกรรม ตลอดจนมี ทักษะด านการวิ จั ยและพั ฒนาอุ ต-

238 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 246

6/6/16 10:43 AM


สาหกรรมเคมีดานตางๆ เชน การสังเคราะห สารเคมี เคมีพอลิเมอร เคมีวิเคราะห เคมีสิ่งแวดลอม และพลังงานทางเลือก โดยนักศึกษาฝกปฏิบัติงานในอาคารกึ่งปฏิบัติ การระดั บโรงงานอุ ตสาหกรรมที่ พร อมด วยเครื่ องมื อและหน วยปฏิ บั ติ การในโรงงาน อุตสาหกรรมเคมี สาขาวิชาฟสกิ ส มุ งเนนการใช ความรู ทางดานฟสิกส จนสามารถสร างองคความรู ในฟ สิกส เชิ ง ประยุกต ซึ่งเปนพื้นฐานของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นอกจากนี้นักศึกษาที่มีความ สนใจเฉพาะด าน สามารถเลื อกเรียนรายวิ ชาตามความสนใจ ไดแก ฟสิกสพอลิ เมอร ฟสิกสเชิงคํานวณ ฟสิกสบรรยากาศ และฟสิกสนิวเคลียร ซึ่งสามารถบูรณาการความรู ต างๆ เหล านี้ เข ากั บกระบวนการพั ฒนาวั สดุ เชิ งฟ สิกส และการสร างผลิ ตภั ณฑ ใน กระบวนการอุตสาหกรรมตางๆ สาขาวิชาวิทยาศาสตรนิเทศ เน น ผลิ ต บั ณฑิ ตให มี ความรู ความเข า ใจทางด านวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี สามารถพั ฒนาและใช ระบบการสื่ อสารเพื่ อสร างความตระหนั กและความเข า ใจด าน วิทยาศาสตร สามารถเชื่อมโยงความรูทางวิทยาศาสตรไปสูสังคมผานสื่อประเภทตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพแพรหลายในสังคมไทย เปนสื่อกลางในการถายทอดความรูและ สรางระบบคิดเชิงวิทยาศาสตรใหประชาชนเกิดความเขาใจในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งปลูกฝงและสรางสํานึกที่ จะเรียนรูเพื่อลดชองวางแหงความเขาใจของประชาชน เกีย่ วกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

จํานวน 8 สาขาวิชา ดังนี้ สาขาวิชาวิธวี ิทยาการวิจัย มุงผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรูและทักษะดานการวิจัย สถิติ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถประยุกตใชวิธีการทางสถิติขั้นสูงเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับขอมูล และการคนหาความรู ใหมจากขอมูลที่มีอยู มหาบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพเปนนักวิชาการ นักวิจัยในภาครัฐหรือเอกชน นักสถิติ เปนตน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 239

145x210mm_����������� �� 2560.indd 247

6/6/16 10:43 AM


สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร มุงเนนศึกษาทางดานเทคโนโลยียางและพลาสติกเกี่ยวกับวัสดุยางและพลาสติก สารเติมแต งสําหรับยางและพลาสติก กระบวนการแปรรูปพอลิ เมอร การทดสอบยาง และพลาสติ ก การสังเคราะหพอลิเมอร สมบั ติทางกายภาพของพอลิเมอร วิศวกรรม ยางและพอลิเมอร การวิเคราะหพอลิเมอรโดยใชอุปกรณ การควบคุมกระบวนการโดย ใชคอมพิวเตอร การวิจัยในสาขาเทคโนโลยีพอลิเมอร ผูเรียนสามารถเลือกทําวิจัยจาก โครงการวิ จัยที่ คณาจารย ได รับงบประมาณสนั บสนุ นหรื ออาจกําหนดหัวข อวิ จัยภายใต คําแนะนําของคณาจารยทรี่ บั ผิดชอบหลักสูตร สาขาวิชาฟสกิ สประยุกต มุงผลิตนักวิจัยและนักวิชาการที่มีความสามารถในการวิจัยเชิงลึกในสาขาฟสิกส ประยุกต 2 กลุ มหลัก คือ กลุ มฟสิกสพอลิ เมอรและฟสิกสนิ วเคลียรใหมีคุณธรรม จริยธรรม เปนผู นําและเปนที่พึ่งทางวิชาการขององคกรที่ตนปฏิบัติงานได สามารถ ถายทอดและเชือ่ มโยงความรูแ ละความเขาใจใหแกผอู นื่ ไดเปนอยางดี สาขาวิชาเคมีประยุกต สาขาวิชาเคมี ประยุกต มุ งเน นผลิตมหาบั ณฑิตให มีความรู ดานการประยุกต ใช องคความรูเคมีสาขาตางๆ คือ เคมีวิเคราะห เคมีสิ่งแวดลอม เคมีพอลิเมอร และเคมี อินทรีย และเทคโนโลยีพลังงาน ในเชิงบูรณาการ สามารถประยุกตใชความรูไดอยางมี คุณภาพ ตอบสนองตอความตองการของทองถิ่นภาคใต ประเทศ และอาเซียนอยางมี คุณภาพ ตลอดจนผลิตนักวิจัยที่มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ มุงเนนการศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ การเพิ่มมูลคา ของผลิตผลทางการเกษตร การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑอาหาร การวิเคราะหอาหาร ดวยเครื่องมือวิเคราะหสมรรถนะสูง การศึกษาสภาวะโภชนาการ และการแกปญหา ภาวะทุพโภชนาการเพื่อเปนการแกปญหาภายในทองถิ่นภาคใต และเพื่อสนับสนุนการ พัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลในพื้นที่ ซึ่งผูเรียนสามารถเลือกทําวิจัยจากโครงการ วิจัยที่ คณาจารยไดรับทุนสนับสนุนการทําวิจัย หรือสามารถกําหนดหัวขอวิจัยภายใตคํา แนะนําของอาจารยทปี่ รึกษา

240 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 248

6/6/16 10:43 AM


สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต เนนการเรียน การวิจั ยทางด านชี ววิทยา เพื่ อคนหาองคความรู ใหม หรือองค ความรูทมี่ ีอยูในทองถิน่ โดยใชกระบวนการวิจัยทางชีววิทยาเขาไปบูรณาการและประยุกต ในการสรางทางเลือกอันจะนําไปสูค วามมัน่ คงและยัง่ ยืนตอไป สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง เปนการบูรณาการองคความรูทางดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเศรษฐกิจ การพัฒนา ผลิตภัณฑประมง เทคโนโลยีชีวภาพทางน้ํา และการจัดการทรัพยากรทางน้ําเขาดวยกัน เนนการพัฒนากรรมวิธีการผลิตสัตวน้ํา และผลิตภัณฑประมงที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และ ไดมาตรฐานสากลในทุกขั้ นตอนการผลิต เปนที่ยอมรับในระดับชาติ โดยใชเทคโนโลยีที่ เปนมิตรกั บสิ่ งแวดลอม รวมทั้ งการจัดการทรัพยากรประมงแบบชุมชนมีสวนรวมที่ สามารถพัฒนาการใชทรัพยากรประมงอยางยัง่ ยืน สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต มุงผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรูดานคณิตศาสตร สามารถประยุกตใชคณิตศาสตร เพื่ อการทํา วิ จั ยในสาขาต างๆ อาทิ คณิ ตศาสตร การเงิ น คณิ ตศาสตร สํา หรั บป ญหา อุตสาหกรรม คณิตศาสตรประยุกตทางการเกษตร คณิตศาสตรประยุกตสําหรับอุตุนิยม บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาสามารถ วิทยา หรือคณิตศาสตรประยุกตทางการแพทย ประกอบอาชีพอาจารยในมหาวิทยาลัย นักวิชาการ หรือนักวิจัยในภาครัฐหรือเอกชน

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

จํานวน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีพอลิเมอร มุงเนนการศึกษาและวิจัยทางดานเทคโนโลยียางและพอลิเมอรในขั้นสูง โดยมี การอภิปรายหัวขอพิเศษที่ นาสนใจและทันสมัย รวมทั้งจัดใหมีการสัมมนาโดยนักศึกษา ตองคนควาหัวขอการสัมมนาภายใตคําแนะนําของคณาจารยผูรบั ผิดชอบ สวนวิทยานิพนธ เนนการวิจัยเจาะลึกทางดานเทคโนโลยีพอลิเมอร โดยเนนการใชวัสดุยางธรรมชาติและ การเพิม่ ประโยชนและมูลคาของยางพาราเปนหลัก สาขาวิชาวิธวี ิทยาการวิจัย มุ งผลิตนักวิ จัย และนักวิ ชาการ ที่ มีความรู ความชํานาญขั้ นสูง เปนผู นําทาง วิชาการที่สามารถสรางองคความรูใหมที่มีอยูดวยคุณธรรมและจริยธรรม เนนการทําวิจัย àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 241

145x210mm_����������� �� 2560.indd 249

6/6/16 10:43 AM


โดยบูรณาการศาสตรทางสถิติและเทคโนโลยี เพื่ อประยุกตใชกับขอมูลอยางเหมาะสม และเนนการเรียนรูวิธีการทางสถิติและเทคโนโลยี เพื่อใหไดงานวิจัยที่มีคุณภาพดวยวิธี การทีห่ ลากหลาย

จุดเดนของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

1. คณะฯ มี ความหลากหลายในสาขาวิ ชา ทั้ งในด านวิ ทยาศาสตร ประยุ กต วิทยาศาสตรบริสุทธิ์และดานเทคโนโลยี ทําใหไดเปรียบในการเปดสาขาวิชาใหมๆ ที่ตรง กับความตองการของตลาดแรงงานไดมาก และมีสาขาวิชาที่มีความเขมแข็ง เชน สาขา วิชาเทคโนโลยียาง ซึ่งเปนสาขาที่มีศักยภาพและความพรอมสูงมาก 2. หลักสูตรทุกหลักสูตรมีการศึกษาดูงาน การฝกงาน สหกิจศึกษา และทําวิจัย ซึ่งเปนการสรางความเขมแข็งทางวิชาการใหกบั นักศึกษา 3. มีระบบคอมพิวเตอรและเครือขายทีส่ มบูรณทใี่ ชในระบบการเรียนการสอน 4. มีระบบการประเมินผลการสอนโดยนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร 5. คณะฯ มีครุภัณฑหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเพียงพอ เพื่อการเรียนการสอนและการวิจัย 6. มีแหลงอุตสาหกรรมในพื้นที่ เชน อุตสาหกรรมยางพารา อุตสาหกรรม ประมง อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมอาหารทะเล ทําใหคณะไดใชอุตสาหกรรม ตางๆ เหลานั้นเปนสถานที่เรียนรู ของนักศึกษา และฝกกิจกรรมดานการเรียนการสอน รวมทั้งการใหบริการวิชาการ 7. คณะฯ มีบคุ ลากรจบปริญญาเอกและมีตําแหนงทางวิชาการจํานวนมาก ทําให มีศักยภาพในการทําวิจัยอยางตอเนื่องและตีพิมพในวารสารนานาชาติ ซึ่งมีงบประมาณ สนับสนุนทีช่ ดั เจน 8. คณะฯ มีความรวมมือกับมหาวิทยาลัยและหนวยงานในตางประเทศ เพื่อการ พัฒนาทางวิชาการ เชน โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษา การลงทะเบียนใน มหาวิ ทยาลัยในตางประเทศ การฝกประสบการณ วิชาชีพในต างประเทศ ตลอดจน กิจกรรมแลกเปลี่ยนกับศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษา 9. คณะฯ มีการประกันคุณภาพการศึกษา 10. คณะฯ มี การบริ การวิ ชาการที่ หลากหลายสาขาและมี การให บริ การอย าง ตอเนื่อง มีการรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นๆ ในการดําเนินโครงการตางๆ และ มีบุคลากรที่มีศักยภาพในการเปนที่พึ่งพาทางวิชาการใหกับหนวยงานภาครัฐและเอกชน ในทองถิ่น คณะฯ มีทีมงานที่ปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรมดานยางที่มีความแข็งแกรงและ

242 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 250

6/6/16 10:43 AM


ไดรับรางวัลที่ปรึกษาดีเดนระดับประเทศ นอกจากนี้ คณะฯ ยังมีทีมงานสาขาอื่นๆ เชน ด า นอาหารฮาลาล และที มงานอบรมครู ผู สอนด านวิ ทยาศาสตร คณิ ตศาสตร และ คอมพิวเตอร ฯลฯ 11. คณะฯ มี ความสั ม พั น ธ กั บสั ง คมและชุ ม ชนในการพั ฒนาภาคใต ภายใต โครงการตางๆ มากมาย เชน โครงการโอลิมป กวิ ชาการ และพั ฒนาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรศึกษา โครงการความรวมมือเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการจัดการ ศึกษาวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีระดับโรงเรียน 12. คณะฯ มีโครงการพัฒนานักศึกษาทุกดานและมีงบประมาณสนับสนุนในการ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรดานวิชาการ การบําเพ็ญประโยชน กิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย การกีฬาและสันทนาการ บุคลิกภาพ ภาวะ ผูนํา การบริหารจัดการและทํางานเปนทีม 13. คณะฯ มีทุนชวยเหลือนักศึกษา เชน ทุนยกเวนคาธรรมเนียม รางวัลเรียนดี ทุนสนับสนุนการวิจัย ทุนเสนอผลงานวิจัย เปนตน

ตลาดแรงงาน

ตลาดแรงงานในภาพรวมของคณะ 1. ภาคเอกชน ทํางานเป นนั ก วิ ชาการประจําห องปฏิ บัติ การวิ จั ยและพั ฒนา การควบคุมคุณภาพ และควบคุมกระบวนการการผลิต นักวิชาการฟารม เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และฟารมด านเกษตร โรงงาน/บริษัทอุตสาหกรรมที่ เกี่ ยวกั บยาง อาหาร ผลิ ตและ จําหนายสารเคมี งานสํานักงานที่เกีย่ วของกับดานคอมพิวเตอร สถิติและการวางแผน 2. ภาครัฐบาล ทํางานเปนนักวิชาการ นักวิทยาศาสตร นักวิจัย พนักงาน ใน สถาบันการศึกษา หนวยงานดานวิทยาศาสตรบริการ วิทยาศาสตรการแพทย การประมง การเกษตร งานสํานักงาน งานดานคอมพิวเตอร สถิติและการวางแผน ฯลฯ 3. การประกอบธุรกิจสวนตัวที่เกี่ยวกับงานดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสาร สนเทศ พัฒนาระบบสารสนเทศ เขียนโปรแกรม ฟารมเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ฟารมเกษตร และธุรกิจดานอาหาร

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

นักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จะตองจายคาใชจา ยคาลงทะเบียนเรียน คาธรรมเนียมการศึ กษา และคาหอพักคนละประมาณ 35,000 บาท/ป โดยไม รวมคา ใชจายสวนตัว àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 243

145x210mm_����������� �� 2560.indd 251

6/6/16 10:43 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

คณะศึกษาศาสตร

Faculty of Education

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1608 หรือ 0 7331 3397, 0 7334 8322 โทรสาร 0 7334 8322, 0 7333 7385 E-mail: education@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://eduit.pn.psu.ac.th คณะศึกษาศาสตร เปนคณะที่ มีปณิธานและเปาหมายที่ชัดเจนที่ จะผลิตบัณฑิต เพื่ อประกอบวิ ชาชี พ ครู แ ละนั กวิ ชาการ ทั้ งในระดั บปริ ญญาตรี และบั ณฑิ ต ศึ กษา คณะศึกษาศาสตร เนนการสอนและพัฒนาบัณฑิ ตใหเปนครูมืออาชีพที่ มีจิตวิญญาณใน ความเปนครู มีความรู มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ซื่อสัตยตอวิชาชีพครู และมีความ รับผิดชอบตอชุมชนและสังคม โดยเนนความสามารถในการเปนผู นําทางดานการสอน การวิจัยทางวิชาการ และชี้นําสังคมไดอยางดีและมีประสิทธิภาพ

244 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 252

6/6/16 10:43 AM


คณะศึกษาศาสตร ไดรวมกับ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บุคลากรภายนอก และผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศที่มคี วามรู มี ประสบการณ เฉพาะด านมาช วยสอนเพื่ อพั ฒนาคุ ณ ภาพทางวิ ชาการตามเกณฑ การ ประกั นคุ ณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษาและคุรุสภา คณะศึ กษาศาสตรไดพัฒนาการเรียนการสอนใหทั นต อการเปลี่ ยนแปลงในยุคปจจุบัน โดยจั ดใหมี หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอรสําหรับนักศึกษา มีการใชระบบ IT เพื่อการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งมีหองปฏิบัติการทุกอยางมี มาตรฐานและเพียงพอสําหรับการเรียนการสอน การฝกอบรม การวิจัย เพื่อพัฒนาการ สอนและใชเปนที่สําหรับการฝกปฏิบัติการสอนนักศึกษา ปจจุบันคณะศึกษาศาสตรมีภาควิชาที่รับผิดชอบดานการสอนอยู 6 ภาควิชา กับ 1 หนวยงานเทียบเทาภาควิชา คือ ภาควิชาการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา ภาค วิชาจิตวิทยาและการแนะแนว ภาควิชาพลศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชา ประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ภาควิชาการศึกษา

(Department of Education) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1630 โทรสาร 0 7333 7382 E-mail: education@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาการศึกษาจัดการเรียนการสอนดานพื้นฐานการศึกษา และระดับปริญญา ตรี วิชาเอกประถมศึกษา วิชาเอกศิลปศึกษา รวมทั้งระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการศึกษา นอกระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน และสาขาวิชาการสอน วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร วิชาเอกประถมศึกษา จัดการเรียนการสอนเนนการจัดการศึกษาในโรงเรียนประถม เกี่ยวกับการเรียนการสอน งานกิจกรรมนักศึกษา สื่อการสอนและความสัมพันธกับชุมชน วิชาเอกศิ ลปศึกษา จั ดการเรียนการสอนโดยเน นใหมีความรู ความสามารถทาง ดานศิลปะพัฒนา คานิยมและการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณ สาขาวิชาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จัดการเรียนการสอนเนนการศึกษา วิจยั โดยใชโรงเรียนเปนศูนยกลางในการพัฒนาชุมชน สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน จัดการเรียนการสอนโดยเนนใหมีความรูความ สามารถ เปนการศึกษาและวิจัยตามโปรแกรมวิชาเอก 6 โปรแกรมคือ คณิตศาสตรศึกษา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 245

145x210mm_����������� �� 2560.indd 253

6/6/16 10:43 AM


วิทยาศาสตรศึกษา หลักสูตรและการเรียนรู การปฐมศึกษา สรางเสริมสุขภาพ และ พลศึกษา อนึ่ง ภาควิชาการศึกษายังมีแผนกวิชาหลักสูตรและการสอน สอนเกี่ยวกับวิชา พื้นฐานและวิชาชีพศึกษาศาสตร นอกจากนี้ยังมีหนาที่ประสานงานกับคณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การจัดการเรียนการสอนระดับ ปริญญาตรี โปรแกรมวิชาเอกภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร เคมี ฟสิกส ชีววิทยา และวิทยาศาสตรทวั่ ไป

ภาควิชาการบริหารการศึกษา

(Department of Educational Administration) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1624 โทรสาร 0 7334 8322 E-mail: education@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิ ชาบริ หารการศึ กษา เนนการผลิ ตบั ณฑิ ตระดั บมหาบั ณฑิ ต ดุษฎี บัณฑิ ต จัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตบุคลากรทางดานบริหารการศึกษา พัฒนาองคความรู และ เนนการวิจัย สงเสริมความกาวหนาทางวิชาชีพบริหาร เตรียมผูนําทางการศึกษา และ นักบริหารการศึกษา ตลอดจนสงเสริมการคนควาวิจัยและการใหบริการวิชาการแกสังคม

ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว

(Department of Psychology and Guidance) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1621 โทรสาร 0 7334 8322 E-mail: education@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว จัดการเรียนการสอนดานวิชาจิตวิทยา และ การแนะแนว เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยา จิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนว และมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา เพื่ อเตรียมผู นําทางการศึกษา สงเสริมการคนควา วิจัยทางดานจิตวิทยา มีความเขาใจในบริบททางวัฒนธรรมของสังคมไทยและสังคมภาคใต มีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ ยึดมั่นจรรยาบรรณแหงวิชาชีพและการเสียสละแกประโยชนสวน รวม จิตวิทยาการใหการปรึกษาและการแนะแนว รวมทั้งใหบริการวิชาการแกสังคม

246 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 254

6/6/16 10:44 AM


ภาควิชาพลศึกษา

(Department of Physical Education) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1643-4, 0 7331 3094 โทรสาร 0 7334 8322 E-mail: education@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิ ชาพลศึกษา จั ดการเรี ยนการสอนหลักสูตรปริญญาตรี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ป) สาขาวิชาพลศึกษาและสาขาวิชาสุขศึกษา ตลอดจนการใหบริการวิชาการแกชุมชนในดานการออกกําลังกาย การกีฬา จัดการเรียน การสอนดานพลศึกษา สุขศึกษาและสรางเสริมสุขภาพ สงเสริมศิลปวัฒนธรรมดานการ กีฬาพื้นเมือง และการวิจัยเพื่อการพัฒนาดานสุขศึกษาและสรางเสริมสุขภาพ พลศึกษา และวิทยาศาสตรการกีฬา

ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

(Department of Educational Technology) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1653, 0 7331 3095 โทรสาร 0 7331 3095 E-mail: edtech@bunga.pn.psu.ac.th ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป ) คื อ หลักสูตรศิ ลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ชาเทคโนโลยีและการสื่ อสารการศึ กษา และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาคือ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา และหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผูนําและ นวัตกรรมทางการศึกษา นอกจากนี้ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษายังเปนภาควิชาทางดาน วิ ช าชี พ เทคโนโลยี และการสื่ อสารการศึ กษาที่ มี ค วามรู ความชํานาญเป นพิ เศษในด าน เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา สงเสริมใหอาจารยและนักศึกษา ทําการวิจัย คิดคน ความกาวหนาตางๆ ในศาสตรของตนเอง รวมถึงการเผยแพรองคความรู ใหมๆ แก ชุมชนทั้งภายในและภายนอก เพื่อตอบสนองตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตามภารกิจ ของมหาวิทยาลัย

ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา

(Department of Education Evaluation and Research) โทรศัพท 0 7331 3928-50 ตอ 1627 โทรสาร 0 7334 8322 E-mail: eval.edu@bunga.pn.psu.ac.th àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 247

145x210mm_����������� �� 2560.indd 255

6/6/16 10:44 AM


ภาควิชาประเมินผลและวิจยั ทางการศึกษา จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี (หลั กสู ตร 5 ป ) สาขาวิ ชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการประเมิ นผลการศึ กษา และ หลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา นอกจากนั้ นยังเปด รายวิชาทางสถิ ติ วิจั ย และเป นที่ ปรึ กษาวิ ทยานิพนธ ใหกั บหลักสู ตรมหาบั ณฑิ ต และ ดุ ษฎี บัณฑิ ตสาขาอื่ นๆ ที่ เป ดสอนในคณะศึ กษาศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร วิทยาเขตป ตตานี และยังทําการวิจั ย บริการวิชาการทางดานการวิ จัยและประเมิ นผล ตลอดจนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

(Demonstration School) โทรศัพท 0 7333 5131 โทรสาร 0 7333 5131 E-mail: satitpsu@bunga.pn.psu.ac.th ป จจุ บันโรงเรี ยนสาธิ ต มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร ได จั ดการเรี ยนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการประเมินผลตามหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2546 ในชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) และชวงชั้นที่ 4 (ม.4-ม.6) ทั้งนี้ในระดับ ชั้น ม.4-ม.6 จัดใหมี 3 แผนการเรียน คือ แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ-ฝรั่งเศส ทางโรงเรียนไดเปดวิชาเลือกเสรีตางๆ ใหนักเรียนเลือกเรียน ตามความถนัดและความสนใจ ทั้งทางดานเกษตรกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม ศิลปะ ดนตรี คอมพิวเตอร และภาษาจีน

หลักสูตรคณะศึกษาศาสตร

คณะศึกษาศาสตรเปดสอน 4 ระดับ ไดแก ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ระดับปริญญาตรี เปดสอน 4 หลักสูตรไดแก 1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (B.A.) เปดสอนหลักสูตร 4 ป มี 1 สาขาวิชา 1.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต เปดสอนหลักสูตร 4 ป มี 1 สาขาวิชา 2.1 สาขาวิชาจิตวิทยา 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร), (B.Sc. in Ed.) เปดสอนหลักสูตร 5 ป มี 5 วิชาเอก ดังนี้

248 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 256

6/6/16 10:44 AM


3.1 วิชาเอกคณิตศาสตร 3.2 วิชาเอกเคมี 3.3 วิชาเอกวิทยาศาสตรทวั่ ไป 3.4 วิชาเอกฟสิกส 3.5 วิชาเอกชีววิทยา 4. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร), (B.A. in Ed.) เปดสอนหลักสูตร 5 ป มี 2 สาขาวิชา ดังนี้ 4.1 สาขาวิชาภาษาไทย 4.2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 5. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (B.Ed.) เปดสอนหลักสูตร 5 ป มี 5 สาขาวิชา ดังนี้ 5.1 การประถมศึกษา 5.2 ศิลปศึกษา 5.3 พลศึกษา 5.4 สุขศึกษา 5.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการประเมินผลการศึกษา หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เปดสอนหลักสูตรตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต เปดสอน 1 สาขาวิชา ไดแก 1.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาวิชาชีพครู 2. หลักสูตรระดับปริญญาโท เปดสอน 2.1 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Ed.) มี 7 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา 2) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 3) สาขาวิชาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4) สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 2.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (M.A.) มี 3 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา 2) สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา 3) สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 249

145x210mm_����������� �� 2560.indd 257

6/6/16 10:44 AM


3. หลักสูตรระดับปริญญาเอก เปดสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ed.D) มี 2 สาขาวิชา ไดแก 3.1 สาขาวิชาการบริหารการศึกษา 3.2 สาขาวิชาภาวะผูนําและนวัตกรรมทางการศึกษา

จุดเดนของและโอกาสในการประกอบอาชีพของบัณฑิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาคณิตศาสตร จุดเดนของหลักสูตร เป นหลั กสู ตรที่ นั กศึ ก ษาได เรี ยนเนื้ อหาวิ ชาเอกคณิ ต ศาสตร อย างเข มข น จาก คณาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหนักศึกษามีความรู ความชํานาญ ใน วิชาเอกอยางแทจริง นักศึกษาไดเรียนวิชาชีพครูจากอาจารยในคณะศึกษาศาสตรที่จบ ทางดานการสอนและคณิตศาสตรศึกษาโดยตรงในระดับปริญญาเอก และนักศึกษาไดรับ การฝ กอบรมทางดานบุคลิ กภาพจากคณะศึ กษาศาสตร ทําใหมี ความเหมาะสมกั บการ เปนครูอยางมืออาชีพ เปนหลักสูตรที่จบแลวไดรับวุฒิ วท.บ. และไดรับใบประกอบวิชาชีพ ครู โอกาสในการประกอบอาชีพของบัณฑิต 1. สามารถสมั ครเข าทํางานสอนไดทั้ งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทั้ งใน โรงเรียนรัฐบาลและเอกชน 2. สามารถเขาทํางานบริษัท/หางรานตางๆ ที่รับผูที่มีความรูดานคณิตศาสตร/ สถิติ 3. สามารถเขาทํางานเปนนักวิชาการของสถาบันการศึกษาหรือบริษัทเอกชน 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาเคมี จุดเดนของหลักสูตร เปนหลั กสู ตรที่ นั กศึ กษาได เรี ยนเนื้ อหาวิชาเอกเคมีอยางเข มข นจากอาจารยใน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหนักศึกษามีความรู ความชํานาญในวิชาเอกอยาง แทจริง นักศึกษาไดเรียนวิชาชีพครูจากอาจารยในคณะศึกษาศาสตรที่จบทางดานการ สอนและเคมีศึกษาโดยตรงในระดับปริญญาเอก และนักศึกษาไดรับการฝกอบรมทางดาน บุคลิ กภาพจากคณะศึ กษาศาสตร ทําให มีความเหมาะสมกั บการเปนครูอยางมืออาชีพ

250 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 258

6/6/16 10:44 AM


นักศึกษาสามารถใชความรูที่ไดรับเปนพื้นฐานในการเรียนตอระดับบัณฑิตศึกษาดานเคมี และวิทยาศาสตร นอกเหนือจากดานการศึกษา เปนหลักสูตรที่จบแลวไดรับวุฒิ วท.บ. และไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. นักศึกษามีโอกาสในการประกอบอาชีพสูง โดยเฉพาะดานการเปนครูอาจารย ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทัง้ ในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน 2. นั กศึ กษาสามารถใช ความรู ดานเคมี ในการประกอบอาชีพในสถานประกอบ การอื่น ๆ เชน บริษัทเอกชนทางดานเคมี 3. นักศึกษามีโอกาสสูงในการแขงขันเพื่อสอบบรรจุในการเปนครู-อาจารย 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาชีววิทยา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่นักศึกษาไดเรียนเนื้อหาวิชาเอกชีววิทยาอยางเขมขนจากอาจารย ในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหนักศึกษามีความรูความชํานาญในวิชาเอกอยาง แทจริง นักศึกษาไดเรียนวิชาชีพครูจากอาจารยในคณะศึกษาศาสตรที่จบทางดานการ สอนและชีววิทยาโดยตรง และนักศึกษาไดรับการฝกอบรมทางดานบุคลิกภาพจากคณะ ศึกษาศาสตร ทําใหมีความเหมาะสมกับการเปนครูอยางมืออาชีพ เปนหลักสูตรที่จบแลว ไดรับวุฒิ วท.บ. และไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. นักศึกษามีโอกาสในการประกอบอาชีพสูง โดยเฉพาะดานการเปนครูอาจารย ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทัง้ ในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน 2. นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพทางดานอื่นๆ ได เชน นักพฤกษศาสตร นักวิจัย หรือพนักงานบริษัททางดานวิทยาศาสตร 3. นักศึกษามีโอกาสสูงในการแขงขันเพื่อสอบบรรจุในการเปนครู-อาจารย 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาฟสิกส จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่สามารถผลิตบัณฑิตใหเปนครูอยางสมบูรณ ทั้งดานวิทยาศาสตร และการเปนครู โดยเฉพาะทางดานวิทยาศาสตร นักศึกษาไดเรียนเนื้อหาวิชาเอกฟสิกส อย างเขมข นจากอาจารยในคณะวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี ทําให นั กศึ กษามีความรู ความชํานาญในวิชาเอกอยางแทจริ ง นักศึ กษาไดเรียนวิ ชาชีพครูจากอาจารย ในคณะ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 251

145x210mm_����������� �� 2560.indd 259

6/6/16 10:44 AM


ศึกษาศาสตรที่จบทางดานการสอนและฟสิกสโดยตรง และนักศึกษาไดรับการฝกอบรม ทางดานบุ คลิกภาพจากคณะศึ กษาศาสตร ทําใหมี ความเหมาะสมกั บการเป นครู อย าง มืออาชีพ เปนหลักสูตรที่จบแลวไดรับวุฒิ วท.บ. และ ไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. นักศึกษามีโอกาสในการประกอบอาชีพสูง โดยเฉพาะดานการเปนครูอาจารย ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทัง้ ในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน 2. นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพทางดานอื่นๆ ที่รับพนักงานดานฟสิกส 3. นักศึกษามีโอกาสสูงในการแขงขันเพื่อสอบบรรจุในการเปนครู-อาจารย 5. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่นักศึกษาไดเรียนเนื้อหาวิชาเอกวิทยาศาสตรทั่วไปอยางเขมขนจาก คณาจารยในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหนักศึกษามีความรูความชํานาญใน วิชาเอกอยางแทจริง นักศึกษาไดเรียนวิชาชีพครูจากอาจารยในคณะศึกษาศาสตรที่จบ ทางด านการสอนและดานวิ ทยาศาสตร โดยตรง และนั กศึ กษาไดรับการฝ กอบรมทาง ดานบุคลิกภาพจากคณะศึกษาศาสตร ทําใหมีความเหมาะสมกับการเปนครูอยางมืออาชีพ เปนหลักสูตรที่จบแลวไดรับวุฒิ วท.บ. และไดรับ ใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. นักศึกษามีโอกาสในการประกอบอาชีพสูง โดยเฉพาะดานการเปนครูอาจารย ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทัง้ ในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน 2. นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพทางดานอืน่ ๆ ที่รับพนักงานดานวิทยาศาสตร 3. นักศึกษามีโอกาสสูงในการแขงขันเพื่อสอบบรรจุในการเปนครู–อาจารย 6. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ประเมินผลการศึกษา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรการวัดและประเมิ นผลที่ บูรณาการความรู ทางด านเทคโนโลยี สาร สนเทศกับการประเมินผลการศึกษาเขาดวยกัน มีคณาจารยผูมีความเชี่ยวชาญสาขา เฉพาะดานรวมกันผลิตบัณฑิตทั้งในสวนคณาจารยคณะศึกษาศาสตรเอง และคณาจารย จากคณะวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี สาระการเรียนรู ของหลั กสู ตรฯ เน นการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในงานบริหารจัดการทางการศึ กษาทั้ งระบบ โดยเฉพาะการ

252 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 260

6/6/16 10:44 AM


วัดและประเมินผล ตลอดจนเทคโนโลยีการทดสอบในอนาคต กระบวนการจัดการเรียนรู เนนความรูเชิงทฤษฎีควบคูกับการปฏิบัติจริง มีคณาจารยคอยใหคําปรึกษาอยางใกลชิด เพื่ อพั ฒนาคุ ณลั กษณะบั ณฑิ ตให มี คุ ณ ธรรมนํา ป ญญา เป น หลั กสู ตรที่ จ บการศึ กษา นักศึกษาจะไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ บั ณ ฑิ ต สามารถเข า ทํ า งานทั้ งในโรงเรี ย นโดยได รั บ ใบประกอบวิ ช าชี พ ครู หนวยงานราชการ รั ฐวิ สาหกิ จ ธุ รกิ จเอกชน ตลอดจนองค กรพั ฒนาเอกชนไดทั้ งสิ้ น เนื่องจากหลักสูตรฯ เปนแบบบูรณาการสหวิทยา บัณฑิตสามารถประยุกตความรูที่มีไปใช ในการประกอบอาชีพไดอยางกวางขวาง ไมวาจะเปนงานสอน งานวัดและประเมินผล งานวิจัยและสถิติ ตลอดจนงานพัฒนาองคกรหรือทรัพยากรมนุษยกต็ าม 7. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาภาษาไทย จุดเดนของหลักสูตร เป น หลั ก สู ตรที่ มุ งเน นให มี ความสั มพั น ธ สอดคล องกั บแผนพั ฒนาการศึ กษา ระดับอุดมศึกษาของชาติ ซึ่งมุงเนนใหผูเรียนมีความรอบรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนําความรู ไ ปประยุ ก ต ใช ได อ ย า งเหมาะสมทั้ งในการประกอบอาชี พและการ ดําเนินชีวิต นอกจากนี้หลักสูตรจัดใหมีการเรียนการสอนที่สอดคลองกับบริบททางสังคม และวัฒนธรรมในทองถิ่ น รวมทั้งปลูกฝงใหเปนผู มีคุณธรรมและจริยธรรม เมื่อจบการ ศึกษานักศึกษาจะไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. การประกอบวิชาชีพครูทั้ งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในโรงเรียน รัฐบาลและเอกชน 2. งานดานการประชาสัมพันธ 3. งานดานพัฒนาบุคลากร 4. งานอิสระอืน่ ๆ 8. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ จุดเดนของหลักสูตร เป นหลั กสู ตรที่ นั กศึ กษาได เรี ยนเนื้ อหาวิ ชาเอกภาษาอั งกฤษอย างเข มข นจาก คณาจารยในคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ทําใหนักศึกษามีความรู ความชํานาญ ในวิชาเอกอยางแทจริง นักศึกษาไดเรียนวิชาชีพครูจากอาจารยในคณะศึกษาศาสตรที่ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 253

145x210mm_����������� �� 2560.indd 261

6/6/16 10:44 AM


จบทางดานการสอนและดานภาษาอังกฤษโดยตรง และนักศึกษาไดรับการฝกอบรมทาง ดานบุคลิกภาพจากคณะศึกษาศาสตร ทําใหมีความเหมาะสมกับการเปนครูอยางมืออาชีพ เปนหลักสูตรที่นักศึกษาจบแลวจะไดรับใบประกอบวิชาชีพครู โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. การประกอบวิชาชีพครูทั้ งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในโรงเรียน รัฐบาลและเอกชน 2. งานดานการประชาสัมพันธ 3. งานดานการทองเที่ยว และงานที่เกีย่ วกับการใชภาษาอังกฤษ 4. งานอิสระอื่น ๆ 9. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่มุงผลิตครูพลศึกษาที่เนนใหบัณฑิตมีความรูและเขาใจทั้งดานการ พลศึกษาในโรงเรียน การกีฬา และการออกกําลังกาย โดยมีฐานความรูจากพลศึกษา วิทยาศาสตรการกีฬา และนันทนาการ เนนใหนักศึกษาไดลงมือปฏิบัติจริง ไดเรียนรูทั้ง ดานภาคทฤษฎีและปฏิบัติรวมถึงการฝกประสบการณวิชาชีพ ทําใหนักศึกษามีทางเลือก มากขึ้นในการประกอบอาชีพ โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตที่จบหลักสูตรนี้ นอกจากจะประกอบอาชีพครูพลศึกษาซึ่งเปนเปาประสงค หลักของหลั กสูตร บัณฑิตยังสามารถเลือกตลาดในการประกอบอาชีพไดหลากหลาย ทั้ ง ด า นการเป น ผู นํา ออกกํ า ลั ง กายในสถานประกอบการตามแหล ง ท อ งเที่ ย วต างๆ การเปนผูฝกสอนกีฬาหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการกีฬาและการออกกําลังกาย ทั้งใน ภาครั ฐและเอกชน การเป นผู นํานั นทนาการในการจั ดฝ กอบรม ฝ กปฏิ บัติ การต างๆ หรือการเปนผูปฏิบัติการดานทรัพยากรมนุษยในภาครัฐและเอกชน เปนตน และเมื่อ นักศึกษาจบการศึกษาแลวจะไดรับใบประกอบวิชาชีพครู 10. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่เนนทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ความเปนครูดานสุขศึกษาและ เปนผูนําทางดานการสรางเสริมสุขภาพ (Health Promotion) เมื่อนักศึกษาจบการศึกษา แลวจะไดรับใบประกอบวิชาชีพครู

254 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 262

6/6/16 10:45 AM


โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. การประกอบวิชาชีพครูทั้ งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในโรงเรียน รัฐบาลและเอกชน 2. งานดานการประชาสัมพันธ 3. งานดานพัฒนาบุคลากร 4. งานอิสระอืน่ ๆ 11. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่มุงเนนใหผูเรียนมีความชํานาญดานการจัดการสอนวิชาศิลปศึกษา และมีความรูเกี่ยวกับการทําวิจัย มีทักษะในการใชเทคโนโลยีทางการศึกษา สามารถนํา ความรูไปพัฒนางานดานศิลปศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพและทํางานรวมกับหนวยงาน ของรัฐและเอกชนในชุมชนไดเปนอยางดี โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. ครู สอนวิ ช าศิ ลปศึ กษาระดั บประถมศึ ก ษาและระดั บมั ธ ยมศึ กษา ทั้ ง ใน โรงเรียนรัฐและเอกชน 2. นักวิชาการทางวิจัยดานศิลปศึกษาและศิลปวัฒนธรรม 3. อาชีพทีเ่ กีย่ วของกับกิจกรรมทางดานศิลปะของรัฐและเอกชน 12. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา จุดเดนของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่เนนผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน การจัดการเรียนการสอนดานการประถมศึกษา โดยเนนใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง ของสั งคม เศรษฐกิ จ เทคโนโลยี และเนนสอนให บัณฑิ ตเปนผู มี คุ ณธรรม จริ ยธรรม และเจตคติที่ดี ตอวิชาชีพ เปนหลักสูตรที่ นักศึกษาจะได รับใบประกอบวิ ชาชีพครูเมื่ อ สําเร็จการศึกษา โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. ครูสอนระดับประถมศึกษาทัง้ ในโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน 2. นักวิชาการทางวิจยั ดานการประถมศึกษา 3. อาชีพที่เกีย่ วของกับกิจกรรมทางดานการประถมศึกษาของรัฐบาลและเอกชน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 255

145x210mm_����������� �� 2560.indd 263

6/6/16 10:45 AM


13. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุดเดนของหลักสูตร 1. บัณฑิตสามารถผลิต คิดคน นวัตกรรมและประยุกตองคความรูด านเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา 2. บัณฑิตสามารถประยุกตองคความรูดานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาเพื่อ ใชประโยชนและเพิม่ ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน 3. บัณฑิตสามารถเปนผูนําดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษา 4. บัณฑิตมีความสามารถในการเผยแพรผลงาน นวัตกรรม และองคความรูดาน เทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษาตอสาธารณชน 5. บัณฑิตมีความสามารถพัฒนาและเผยแพรสื่อในรูปแบบของสื่อสารมวลชนได โอกาสในการประกอบอาชีพ 1. สามารถปฏิบัตงิ านในตําแหนงนักวิชาการโสตหรือนักวิชาการศึกษา 2. สามารถปฏิบัติงานในตําแหนงผูดูแล บริหารจัดการระบบเทคโนโลยีการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. สามารถปฏิบัติงานในตําแหนงวิทยากรฝกอบรม การผลิตพัฒนาสื่อประเภท ตางๆ 4. สามารถปฏิบัติงานในตําแหนงผลิต พัฒนาสื่อเพื่อใชในการเรียนการสอนและ การฝกอบรม ซึ่งสามารถผลิต พัฒนาสื่อประเภทตางๆ ไมวาจะเปนสื่อสิ่งพิมพ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน สื่อประสม (Multimedia) สื่อ e-Learning สื่อประกอบการฝกอบรมตางๆ 5. สามารถปฏิบตั ิงานในตําแหนงตางๆ ของนักสื่อสารมวลชนได 14. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา จุดเดนของหลักสูตร 1. เป นหลั กสู ตรที่ ผลิ ตบัณฑิ ตในวิชาชี พจิ ตวิทยาที่ มีความรู ความสามารถตาม มาตรฐานวิชาชีพ เขาใจในบริบททางวัฒนธรรมของสังคมไทย สังคมภาคใต และสังคม พหุวั ฒนธรรม มี ทักษะและรอบรู ด านจิ ตวิ ทยาในเชิงป องกั น แก ไข และพัฒนา มี คุณธรรมนําความรู ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ และเสียสละแกประโยชนสวนรวม 2. มีคณาจารยที่ มีคุ ณวุ ฒิและความเชี่ ยวชาญในวิชาชี พจิตวิทยาที่ หลากหลาย ไดแก จิตวิทยาในสถานศึกษา จิตวิทยาคลินิก และจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคกร

256 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 264

6/6/16 10:45 AM


โอกาสในการประกอบอาชีพ บัณฑิตที่จบในสาขาวิชาจิตวิทยา มีโอกาสเลือกประกอบอาชีพดังนี้ 1. ครูแนะแนวในโรงเรียน 2. นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหในสถานบําบัดและฟนฟู อาทิ โรงพยาบาล ศูนยบําบัดยาเสพติด สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน 3. ทํางานในภาคเอกชน สถานประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมในฝายพัฒนา ทรัพยากรมนุษย

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 257

145x210mm_����������� �� 2560.indd 265

6/6/16 10:45 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

คณะวิทยาการสื่อสาร

Faculty of Communication Sciences

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7334 9692 โทรสาร 0 7334 9692 E-mail: lalita-y@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://comm-sci.pn.psu.ac.th

คณะวิทยาการสื่ อสาร ไดรับอนุมั ติใหจั ดตั้ งเปนคณะตามมติที่ ประชุ มของสภา มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2545 ดําเนินงานภายใตวิสัยทัศน พันธกิจ และ วัตถุประสงคหลัก ดังนี้

วิสัยทัศน

คณะวิทยาการสื่อสารเปนองคกรที่โดดเดนดานวิทยาการสื่ อสารและเทคโนโลยี สมัยใหมทบี่ ูรณาการองคความรูแ ละสงเสริมอัตลักษณทองถิน่ สูสากล เพือ่ รวมสรางสังคม สันติสขุ

258 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 266

6/6/16 10:45 AM


พันธกิจ

1. สร างบั ณฑิ ตที่ เชี่ ย วชาญด านวิ ท ยาการสื่ อสารและเทคโนโลยี สมั ย ใหม ที่ ตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสํานึกสาธารณะ 2. สรางและเผยแพรองคความรู งานวิจัย และงานสรางสรรคดานวิทยาการ สือ่ สารทีส่ ง เสริมความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมสันติภาพ 3. บู รณาการศาสตร ดานวิ ทยาการสื่ อสารกับอั ตลั กษณชุ มชนท องถิ่ นสู สากล ทั้งในภารกิจการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ 4. สรางศักยภาพขององคกรโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการ และการดําเนินภารกิจในทุกดาน 5. สรางเครือขายความรูทางวิชาการและบริการวิชาการที่ เขมแข็งและหลาก หลายทัง้ ระดับทองถิน่ และสากล

จุดประสงคและเปาประสงค

1. บัณฑิตคณะวิทยาการสือ่ สารมีความเชีย่ วชาญในวิชาชีพ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตสํานึกสาธารณะ 2. บัณฑิตคณะวิ ทยาการสื่ อสารเป นผู ที่ เรี ยนรู และเขาใจสังคมพหุวั ฒนธรรม สามารถใชความรูเ พื่อแกปญหาและพัฒนาสังคมได 3. คณะวิ ทยาการสื่ อสารเป นผู นําด านการวิ จั ยและเผยแพร องค ความรู ด าน วิทยาการสือ่ สารทีส่ ง เสริมความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมสันติภาพ 4. คณะวิทยาการสื่อสารเปนศูนยกลางแหงการบูรณาการศาสตรดานวิทยาการ สือ่ สารกับอัตลักษณของชุมชนทองถิ่นชายแดนภาคใตในระดับชาติและสากล 5. คณะวิทยาการสื่อสารเปนองคกรที่ใชเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหมเปนฐาน ในการพัฒนาและสนับสนุนภารกิจทุกดาน 6. คณะวิทยาการสื่อสารเปนศูนยกลางการเชื่อมประสานเครือขายตางๆ เพื่อ การปฏิบัตงิ านทีเ่ ปนประโยชนสาธารณะและรวมสรางสังคมสันติสุข

วัตถุประสงคดา นการสรางองคความรู

เพื่อสรางองคความรูจากการวิจัยที่จะนําไปสูการแกปญหาและขอจํากัดดานการ สื่อสาร ลดชองวางระหวางผูมีโอกาสในการเขาถึงการรับรู และการสื่อสารสารสนเทศ กับผูดอ ยโอกาส àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 259

145x210mm_����������� �� 2560.indd 267

6/6/16 10:45 AM


วัตถุประสงคดานการบริการวิชาการแกชุมชน

เพื่ อพั ฒนาและส งเสริ มให ชุ มชนมี ศักยภาพในการสื่ อสารและการใช เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยการสรางเครือขายการเรียนรูรว มกันระหวางสถาบันการศึกษาและชุมชน

หลักสูตรคณะวิทยาการสื่อสาร

คณะวิทยาการสื่อสาร เปดสอนหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต มุ งผลิตบัณฑิ ตที่ สามารถประยุ กต ใชความรู และทั กษะเชิงปฏิบัติในวิชาชีพ มีความตระหนักถึงมิติทางสังคม วัฒนธรรม และจริยธรรม สงเสริมสิทธิทางการสื่อสาร เพือ่ สรางความเปนธรรมในสังคมกาวสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. หลั กสู ตรวิ ทยาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ สือ่ สาร มุ งเน น ผลิ ตบั ณฑิ ตที่ มี ความสามารถประยุ ก ต ใ ช ค วามรู และทั กษะด าน เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสารในองคกรทุกระดับ ดวยความตระหนักถึง วัฒนธรรมขององคกรและมิติทางสังคม โดยการพัฒนาดานคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และพรอมกาวสูป ระชาคมอาเซียน 3. หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิ ชานวั ตกรรมการออกแบบและสราง สรรคสอื่ เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะที่มีความคิดสรางสรรค มีความรูความเขาใจ ในหลักการทางศิลปะและการออกแบบ และมีความสามารถในการออกแบบและสราง สรรคสื่อที่มีศักยภาพในการสื่อสารโดยใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทัง้ สามารถคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและแกปญ  หาอยางสรางสรรค

จุดเดนของคณะวิทยาการสื่อสาร

1. หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน คณะวิทยาการสื่อสารมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนมีสวน รวมในการปฏิบัติจริงและมีนวัตกรรมเทคโนโลยีสงเสริมการเรียนรู (Active and Innovative Learning) โดยคณาจารยของคณะฯ ไดทุมเทการฝกฝนนักศึกษาใหเปนผูที่มีทักษะ และความสามารถในการปฏิบัติงานในสาขาที่ นั กศึ กษาไดเรียนใหมี ความเชี่ ยวชาญมาก ที่สุดและมุงเนนการสอนที่สามารถใหนักศึกษาบูรณาการความรูจาก 3 สาขา คือสาขา นิ เทศศาสตร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร และสาขานวั ตกรรมการ ออกแบบและสรางสรรคสื่อเขาดวยกัน

260 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 268

6/6/16 10:45 AM


2. หองปฏิบัติการ คณะวิทยาการสื่อสารไดจัดเตรียมทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูเพื่อรองรับ การใชงานทีใ่ ชประกอบการเรียนการสอนไวมากมาย เชน 1. หองปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. หองปฏิบตั ิการผลิตสือ่ สิ่งพิมพ 3. หองปฏิบตั กิ ารมัลติมเี ดียและแอนิเมชัน่ 4. หองปฏิบัตกิ ารวาดเสนและงานสรางสรรค 5. หองปฏิบัติการ 2D แอนิเมชั่น และ stop motion 6. หองปฏิบัติการถายภาพ 7. สถานีวิทยุและโทรทั ศนฝ กปฏิบัติ CommSci Station เพื่ อใหนักศึกษา ไดใชฝก ปฏิบตั ิรายวิชาที่เกีย่ วกับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน 3. ศูนยการเรียนรูดวยตนเอง (Self-access Learning Center) ด วยมุ งหวั งให คณะวิ ทยาการสื่ อสารมีบรรยากาศทางวิชาการและสงเสริ ม การเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา คณาจารยและบุคลากร ศูนยการเรียนรูดวยตนเอง จึงเปนศูนยที่ ให บริ การสื่ อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรู นอกหองเรี ยน เชน หนังสืออางอิงที่จําเปนสําหรับการเรียนการสอน บทเรียนออนไลน บทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน สื่ อการเรียนการสอน อุปกรณโสตทัศนูปกรณ คอมพิวเตอรพรอมเครือขาย อินเทอรเน็ต นอกจากนี้ศูนยยังเนนการจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูและกิจกรรมทาง วิชาการตางๆ ตลอดปการศึกษา 4. สื่อและโครงการฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเรียนรูสูความเปนมืออาชีพ คณะวิทยาการสื่อสารไดจัดหองปฏิบัติการสนับสนุนการเรียนรู เพื่อรองรับ การใชงานการเรียนการสอน และใหนักศึกษาไดใชฝกทักษะวิชาชีพโดยการผลิตสื่อเพื่อ เผยแพรสูสาธารณะไดจริง ดังนี้ 4.1 สื่อหนังสือพิมพฝกปฏิบัติ “บูมีตานี” เปนหนังสือพิมพฝกปฏิบัติของนักศึกษาคณะวิทยาการสื่อสารทุกสาขา วิชาทีเ่ ปดโอกาสใหนักศึกษาไดเรียนรูกระบวนการผลิตหนังสือพิมพในแตละฝายอยางครบ วงจร ตั้งแตฝายบรรณาธิการ ฝายการประชาสัมพันธและสื่อสารการตลาด ฝายจัดหา รายไดและโฆษณา โดยไดเริ่มผลิตหนังสือพิมพตั้งแตป 2548 จนถึงปจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดทําและนําเสนอหนังสือพิมพฝกปฏิบัติในรูปแบบของหนังสือพิมพออนไลน เพื่อ ฝกทักษะของนักศึกษาใหทนั ตอการเปลีย่ นแปลงของสือ่ สิง่ พิมพสยู ุคดิจติ อล àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 261

145x210mm_����������� �� 2560.indd 269

6/6/16 10:46 AM


4.2 สถานีวิทยุกระจายเสียง CommSci Radio FM 105.5 MHz สถานีวิทยุกระจายเสียง CommSci Radio คลื่นความถี่ 105.5 MHz ออกอากาศทุกวันจันทร-วันศุกร ตั้งแตเวลา 11.00-20.00 น. นักศึกษาจะไดเปนนักจัด รายการหรือดีเจอยางที่ใจฝน มีโอกาสไดผลิตรายการขาวสาร สาระ บันเทิง ครบทุกรส และออกอากาศจริงทางสถานีวิทยุ CommSci Radio โดยมีทั้งคณาจารย เจาหนาที่ และพี่ๆ ที่ทํางานวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงมาใหความรู ถายทอดประสบการณและดูแล กระบวนการผลิตรายการของนักศึกษาอยางใกลชิ ด เพื่ อใหนักศึกษากาวไปสูการเปน นักจัดรายการและผูผ ลิตรายการวิทยุมอื อาชีพ

4.3 สถานีโทรทัศนฝกปฏิบัติ CommSci TV สถานีโทรทัศนฝกปฏิบัติ CommSci TV เปนสถานีโทรทัศนครบวงจร ดวยหองออกอากาศ (Control Room) ที่ทันสมัย หองสตูดิโอมีอุปกรณครบครัน ทั้งฉาก ไฟ กลองวิดีโอรุนใหมและการด P2 ที่ใชในการถายทําและผลิตรายการโทรทัศนในระบบ ภาพ High definition (HD) ตอบสนองตอเทคโนโลยีการออกอากาศทีวีดิจิตอล (Digital TV) เตรียมพรอมใหนักศึกษาทํางานโทรทัศนทั้งเบื้องหนาและเบื้องหลัง CommSci TV มีชองทางการเผยแพรรายการที่หลากหลาย ไดแก ทีวีวงจรปด ทีวีออนเว็บ เคเบิ้ล ทีวี ทองถิ่ น และการทําสัญญาผลิตรายการร วมกับสถานีโทรทั ศน ไทยพี บีเอส และ

262 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 270

6/6/16 10:46 AM


โมเดิรนไนนทีวี เพื่อการันตีคุณภาพผลงานและเปนเสนทางใหนักศึกษากาวไปสูก ารทํางาน โทรทัศนแบบมืออาชีพ

4.4 หองจัดนิทรรศการผลงานนักศึกษา เปนหองจัดนิทรรศการของนักศึกษาทุกสาขาวิชา เพื่อถายทอดศักยภาพ ของนักศึกษาผานงานที่จัดแสดง เปนแหลงเรียนรูและสรางแรงบันดาลใจใหกับนักศึกษา รวมถึงผูเขาชมผลงาน อีกทั้งยังสรางความภาคภูมิใจใหกับนักศึกษาตอยอดความคิดสู การพัฒนาในสาขาวิชาชีพตอไป 4.5 หองปฏิบตั ิการฮารดแวรและเครือขาย (Hardware & Network Lab) แหล งฝ กปฏิ บัติ การด า นฮาร ดแวร คอมพิ ว เตอร และระบบเครื อข าย คอมพิ วเตอร โดยนักศึกษาสามารถเรียนรู เกี่ ยวกับอุ ปกรณภายในเครื่ องคอมพิวเตอร การประกอบเครื่ องคอมพิวเตอร การติดตั้ งโปรแกรมและการติ ดตั้ งระบบเครื อขาย คอมพิวเตอร เพื่อใหนกั ศึกษาไดเพิ่มทักษะดานวิชาชีพใหมีความชํานาญมากยิง่ ขึ้น 4.6 กลุมกิจกรรม “ขาวยําละครเร” เป น กลุ มละครที่ มี ค วามสามารถด า นการถ า ยทอดเรื่ องราวต า งๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมโดยการสื่อสารผานละคร เนนเรื่องราวเชิงสรางสรรคความตระหนักให เกิดขึ้นในสังคม ลักษณะการดําเนินงานของกลุมเปนการถายทอดทักษะดานการแสดง ละครเร โดยการเปลี่ ยนผานจากรุ นสู รุน เสริ มสรางใหนั กศึ กษาที่ เข าร วมกลุ มมีทั กษะ กระบวนการคิด วิเคราะห การวางแผน จนเกิดความชํานาญดานการสื่ อสารเชิงสราง สรรค ฝกฝนการทํางานเปนทีม การกลาแสดงออก ซึ่งนักศึกษาสามารถนําเสนอละครเร ออกสูส าธารณะได 4.7 โครงการพัฒนาสื่อทางดานนวัตกรรม และการจัดแสดงผลงาน เปนโครงการฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะในดานการพัฒนาสื่อทางดาน นวัตกรรม เพื่อกระตุนและสงเสริมใหนักศึกษาไดฝกฝนและเพิ่มทักษะใหเกิดความชํานาญ ในการพัฒนาสื่อทางดานนวัตกรรม นักศึกษาจะตองมีทักษะในกระบวนการคิด วิเคราะห àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 263

145x210mm_����������� �� 2560.indd 271

6/6/16 10:46 AM


ออกแบบ สรางสรรคผลงาน และการจัดแสดงครอบคลุมในสื่อภาพยนตรสื่อแอนิเมชั่น สื่อออนไลน และสื่อสิ่งพิมพ เพื่อใหเกิดทักษะและความชํานาญในการบูรณาการสื่อตางๆ สามารถตอบโจทยที่ไดรับ ฝกฝนในการรวมทํางานเปนทีม และฝกทักษะในการนําเสนอ ผลงานออกสูส าธารณะ 5. ทุนการศึกษา นอกเหนือจากสวัสดิการดานตางๆ ของมหาวิทยาลัย คณะฯ ยังสนับสนุน ทุนการศึกษาใหกับนักศึกษาของคณะฯ ดังนี้ 5.1 ทุนเรียนดี เปนทุนยกเวนคาธรรมเนียมพิเศษและคาหนวยกิตในรายวิชาของคณะฯ ตลอดระยะเวลา 4 ปที่ศึกษาในคณะวิทยาการสื่อสาร มูลคาทุนประมาณ 70,000 บาท โดยนักศึกษาจะตองรักษาระดับผลการเรียนไมต่ํากวา 2.75 5.2 ทุนขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนที่มอบใหแกนักศึกษาที่มีความประพฤติดีแตขาดแคลนทุนทรัพย ปละ 200,000 บาท ทุนละ 5,000 บาท จํานวน 40 ทุน 5.3 ทุนประเภททั่วไป เป นทุนที่ หน วยงานภายนอกสนั บสนุ นให ทุ นการศึ กษาผ านทางคณะ/ มหาวิทยาลัย เงื่อนไขการรับทุนขึ้นอยูกับเจาของทุน

ตลาดแรงงาน

บัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษาจากคณะวิทยาการสื่อสาร สามารถเขาทํางานไดทั้งใน หนวยงานภาครัฐและเอกชน โดยสามารถประกอบอาชีพที่หลากหลาย อาทิ นักสื่อสาร มวลชน นักขาว/นักเขียน ผูผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ผูผลิตรายการโทรทัศน นักวิเคราะหระบบ นักพัฒนาฐานขอมูล Web Programmer, Computer Graphics, 3D/ 2D Animator, Creative

ประมาณการคาใชจายในการศึกษา

เฉพาะคาเลาเรียนและคาหอพักมหาวิทยาลัย ประมาณ 33,000 บาท/คน/ป

264 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 272

6/6/16 10:46 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

คณะศิลปกรรมศาสตร

Faculty of Fine and Applied Arts

ทีอ่ ยู

อาคาร 18 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7331 3126 โทรสาร 0 7331 3126 E-mail: allstaff.arts@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://finearts.pn.psu.ac.th

วิสัยทัศน

คณะศิลปกรรมศาสตร เปนองคกรที่มุงเนนการวิจัยและงานสรางสรรคทางดาน ศิลปกรรมในสังคมพหุวัฒนธรรมภาคใต เพื่อกาวสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2559

พันธกิจ

1. เปนแหลงบมเพาะความรูในศาสตรศิลปกรรมทีส่ อดคลองกับพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัยที่มคี ุณภาพในระดับชาติและสากลเพื่อกาวสูป ระชาคมอาเซียน 2. เปนผูนําทางวิชาการในศาสตรศิลปกรรมที่สอดคลองกับสังคมพหุวัฒนธรรม ภาคใตทมี่ ีมาตรฐานในระดับชาติและสากลเพือ่ กาวสูประชาคมอาเซียน 3. ประยุกตความรู ในศาสตรศิลปกรรมโดยใช เทคโนโลยีสารสนเทศบนพื้ นฐาน ของการวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อสรางปญญา คุณธรรม สมรรถนะ และโลกทัศนสากล ใหแกบัณฑิต àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 265

145x210mm_����������� �� 2560.indd 273

6/6/16 10:46 AM


ภารกิจหลัก

1. ดานการผลิตบัณฑิต เปดสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3 สาขาวิชา 2. ดานการวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตรมีเปาหมายกําหนดใหเปนคณะวิจัย โดย ใหความสําคัญในการศึกษาคนควาวิจัยแกอาจารยและนักศึกษาในขอบขายของศิลปกรรม การออกแบบ ศิลปะการแสดงและดนตรีของภาคใต 3. ดานการบริการวิชาการแกสังคม ดําเนินการประชุม สัมมนาและฝ กอบรม ใหแกเยาวชน ผู ประกอบการและบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับศิลปกรรม การออกแบบ ศิลปะ การแสดงและดนตรี 4. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตรจะเปนสถาบันที่ ชวยสรางจิตสํานึกในการอนุรกั ษสบื ทอดศิลปะและภูมปิ ญญาทองถิน่ ภาคใต

ปรัชญาของหลักสูตร

ผลิ ตบั ณฑิ ตให มี ความรู ทั กษะ และความเข าใจในศาสตร ท างด านศิ ลปกรรม รวมถึงประเพณีและวัฒนธรรม ตั้ งแตระดับทองถิ่ น ระดับชาติ จนถึงระดับนานาชาติ ควบคูไปกับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ เพื่อใหบัณฑิต สามารถประกอบอาชีพอิสระหรือทํางานรวมกับผูอ นื่ ไดอยางมีความสุขและมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรคณะศิลปกรรมศาสตร

หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.) แบงออกเปน 1. แขนงวิชาทัศนศิลป ศึกษาเกี่ยวกับ 1) วาดเสน 2) องคประกอบศิลป 3) จิตรกรรม 4) ประติมากรรม 5) ภาพพิมพ 6) สุนทรียศาสตร 7) หลักและระเบียบวิธวี ิจัย 8) การเขียนรายงานผลการสรางสรรคผลงานทางดานศิลปกรรม 9) ชั้นปที่ 4 ทําศิลปนิพนธ

266 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 274

6/6/16 10:46 AM


2. แขนงวิชาศิลปะประยุกต ศึกษาเกี่ยวกับ 1) วาดเสนศิลปะประยุกต 2) การออกแบบ 3) จิตรกรรมประยุกต 4) ประติมากรรมประยุกต 5) ภาพพิมพประยุกต 6) การออกแบบผลิตภัณฑ 7) คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบศิลปะประยุกต 8) การออกแบบสิง่ ทอ 9) หลักและระเบียบวิธวี ิจัย 10) ชั้นปที่ 4 ทําศิลปนิพนธ

อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา

1. แขนงวิชาทัศนศิลป 1) ศิลปน 2) ผูส อนศิลปะ 3) ภัณฑารักษ (นักจัดการทางดานศิลปะ) 4) นักวิจยั และนักวิชาการทางดานศิลปกรรม 5) ประกอบอาชีพอิสระ เชน เจาของกิจการแกลอรี่ 6) ประกอบอาชีพในหน วยงานของภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ ยวของทางดาน ศิลปกรรม 2. แขนงวิชาศิลปะประยุกต 1) นักออกแบบ 2) ผูสอนทางดานศิลปะประยุกต, ดานการออกแบบ 3) นักวิจัยและพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ 4) ประกอบอาชีพอิสระ เชน เจาของกิจการงานออกแบบกราฟก สือ่ สิ่งพิมพ, ออกแบบผลิตภัณฑของขวัญของที่ระลึก ผลิตภัณฑประดับตกแตงอาคารสถานที่ งาน ออกแบบแฟชั่นเสือ้ ผาเครื่องประดับ 5) ทํางานในหนวยงานของรัฐและบริษัทเอกชน (ดานการออกแบบ) 6) ศึกษาตอในระดับปริญญาโท โดยคณะศิลปกรรมศาสตรมีโครงการศึกษิตศิลปะ ซึ่งเปนการรับนักศึกษาโดยวิธี พิเศษ ซึ่งจะเปดรับสมัครนักศึกษา 2 รอบตอปการศึกษา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 267

145x210mm_����������� �� 2560.indd 275

6/6/16 10:46 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

คณะรัฐศาสตร

Faculty of Political Science

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ถนนเจริญประดิษฐ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7333 0810 Homepage: http://polsci.pn.psu.ac.th/ คณะรัฐศาสตร ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต ทําการวิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุง ศิลปะและวัฒนธรรม โดยเนนการเรียนการสอนสาขาวิชาการปกครอง นโยบายสาธารณะ (บริหารรัฐกิจ) และความสัมพันธระหวางประเทศ การเรียนการสอนที่คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีความโดดเดนในดานเนื้อหาเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมทองถิ่น และสอดคลองกับการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ในพื้นที่ภาคใต ในขณะ เดียวกันก็มีแกนวิชาการ หลักทางรัฐศาสตรที่ครอบคลุมทั้งการเมืองการปกครอง การ บริหารจัดการนโยบาย และความสัมพันธระหวางประเทศ

หลักสูตรคณะรัฐศาสตร

คณะรัฐศาสตร เปดสอนสาขาวิชาตางๆ ดังนี้

268 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 276

6/6/16 10:46 AM


¹Õ

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (Bachalor of Political Science Program) 4 แขนงวิชา คือ 1. แขนงวิชาการปกครอง 2. แขนงวิชาการปกครองทองถิน่ 3. แขนงวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ 4. แขนงวิชานโยบายสาธารณะ

จุดเดนของหลักสูตร

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ตั้งแตเริ่มตนคือ รัฐศาสตรทองถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต หลักสูตรเริ่มตนมีการแบงรัฐศาสตรเปน 2 แผน คือ แผน ก รัฐศาสตรทั่วไป และแผน ข รัฐศาสตรทองถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต การเนนลักษณะพิเศษทองถิ่นมีเหตุผลวาจังหวัดชายแดนภาคใตเปนพื้ นที่พิเศษ คณะ รัฐศาสตรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จึงควรมีอะไรที่พิเศษดวย ทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้นจึงยอมรับหลักสูตรดังกลาว และมีการปรับปรุงหลักสูตร เมื่อป พ.ศ. 2537 เพื่อใหทันสมัยกับเหตุการณมากขึ้น คณะรัฐศาสตร คือ การสรางอัตลักษณของวิชารัฐศาสตรในสวนภูมิภาคที่สอด คลองกับสภาพปญหาทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของทองถิ่น เพราะมีจุดไดเปรียบ คืออยูใกลขอมูลที่เปนจริง และชุมชนที่มีความหลากหลาย สามารถพัฒนาการศึกษา การ วิจัยและพัฒนาองคความรูทางรัฐศาสตรใหสอดคลองกับสภาพพื้นที่ คณะรัฐศาสตรจัด การเรียนการสอนที่สอดคลองกับองคประกอบพิเศษของการศึกษารัฐศาสตรภาคใต ซึ่ง สามารถแบงออกเปนแขนงวิชาดังนี้ 1. แขนงวิชาการปกครอง / แขนงวิชาการปกครองทองถิ่นจังหวัดชายแดน ภาคใต เปนการศึกษาที่เนนการผลิตบุคลากรภาครัฐและองคกรภาคสังคมที่มีความรู ความเขาใจในวิถชี ีวติ และวัฒนธรรมทองถิน่ ของจังหวัดชายแดนภาคใต 2. แขนงวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ เปนการศึกษาที่เนนองคความรูสากล โลกมุสลิมและอาเซียน ความสัมพันธ ข ามแดนไทย-มาเลเซีย แมว าบางสวนจะมีองคประกอบด านศาสตร ทางการทูต แตก็ ทําใหบัณฑิตสามารถทํางานเฉพาะดานในพื้นที่ชายแดน และความสัมพันธระหวางประเทศ ในโลกมุสลิมและอาเซียน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 269

145x210mm_����������� �� 2560.indd 277

6/6/16 10:46 AM


3. แขนงวิชานโยบายสาธารณะ เปนการศึ กษาที่ ประยุกตศาสตร ดานนโยบายสาธารณะเพื่ อการแก ปญหา จังหวัดชายแดนภาคใต โดยเนนนโยบายสาธารณะในสังคมพหุวัฒนธรรมในการสราง ความเขาใจตอปญหาในพื้นที่ คณะรัฐศาสตรไดรว มกับคณะอื่นๆ ในมหาวิทยาลัย เชน คณะวิทยาการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการ วิทยาลัยอิสลามศึกษา และสถาบันสันติศึ กษา จัดตั้ งสถานวิจัย ความขัดแยงและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต (Center for Confute Studies and Cultural Diversity-CSCD) เพื่ อส งเสริ ม สนั บสนุ นงานวิ ช าการและการวิ จั ย เกี่ยวกับความขัดแยงและสันติศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต อันเปนนวัตกรรมใหมของ การศึกษาวิจยั ทางรัฐศาสตร จุดเดนอีกประการหนึ่งที่คณะรัฐศาสตรสรางขึ้นมาในปจจุบันก็คือ การสราง หลักสูตรการศึกษาเรื่องการจัดการความขัดแยง และการจัดการในสังคมที่มีความหลาก หลายทางวัฒนธรรม โดยเนนทั้งประเด็นปญหาในทองถิ่นและการเปรียบเทียบกับตาง ประเทศ นอกจากนี้แลว คณะรัฐศาสตรยังมี “สหกิจศึกษา” เปนการจัดการเรี ยนการสอนเพื่ อพั ฒนาคุณภาพบัณฑิตในการเตรี ยมความ พรอมดานการประกอบอาชีพและการเขาสู ระบบการทํางานของบัณฑิตที่ สอดคลองตอ ความตองการของตลาดแรงงาน ประโยชนที่นกั ศึกษาสหกิจจะไดรับ 1. ไดรับประสบการณวิชาชีพตามสาขาวิชาเอก 2. เกิดการพัฒนาในดานการทํางานรวมกับผูอ ื่น ความรับผิดชอบ การจัดการ ในประสบการณจริง 3. ทํา ให รู ถึ งความถนั ด และเป นประโยชน ต อการเลื อ กสายงานอาชี พ ใน อนาคต

ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

ปรัชญา ผลิตบัณฑิตที่ มีความรูและสามารถทําการวิ จัยทางรัฐศาสตรที่ เชื่ อมโยงกับพื้นที่ เพือ่ จิตสาธารณะและความหลากหลายทางวัฒนธรรม

270 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 278

6/6/16 10:47 AM


ความสําคัญ 1. ผลิตบัณฑิตทีม่ ีความเขาใจความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม สามารถประยุกตใชความรู ในการพัฒนาการเมื อง การปกครอง การบริการสาธารณะ เพื่ อยกระดั บคุณภาพชีวิ ตของประชาชนในพื้ นที่ จั งหวั ดชายแดนภาคใต ทามกลางการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจการเมือง และโลกาภิวัตน 2. ตอบสนองตอการแกไขปญหาความขัดแยงในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนใต 3. สามารถผลิ ต บั ณฑิ ตที่ มี ค วามรู และทั กษะการวิ จั ยทางรั ฐศาสตร มี ความ รับผิดชอบตอสังคมและมีจติ สาธารณะ วัตถุประสงค 1. ผลิตบัณฑิตดานรัฐศาสตรที่มีองคความรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ สามารถปฏิบัติงานดานการเมือง การปกครอง การบริหารสาธารณะ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อสนองความตองการของสังคมทั้งในระดับทองถิ่น ประเทศ และความสัมพันธขา มแดน 2. ผลิตนักวิจัยทางรัฐศาสตรทมี่ ีการบูรณาการความรูก ับสาขาวิชาตางๆ 3. เปนฐานในการศึกษาคนควาวิจัยดานการเมือง การปกครอง การบริหาร สาธารณะ ปญหาความขัดแยงและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1. ตองสําเร็จการศึกษาไมต่ํากวามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 2. ผานการคัดเลือกตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ เปนไปตามระเบียบขอบังคับของการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3. ผ านการคั ดเลื อกตามเกณฑ การคั ดเลื อกภายใต โครงการเด็ กดี มี คุ ณธรรม โครงการนักเรียนที่มีผลการเรียนดี โครงการบุคคลที่มีความสามารถพิเศษทางดานกีฬา โครงการคัดเลือกนักเรียนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนื อและภาคเหนือ ใหเขาศึกษาใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และโครงการสอบคัดเลือกนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต เข าศึ กษาในสถาบั นอุ ดมศึ กษาภายใต การคั ด เลื อกโดยวิ ธี รับตรงที่ คณะรั ฐศาสตร เป น ผู ดําเนิ นการ นอกจากนั้ นยังมี การคั ดเลือกบุ คคลเข าศึ กษาในระบบกลาง (ระบบ Adminssion หรือการรับรวม) เปนการดําเนินการโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) 4. การรับตรงของคณะรัฐศาสตร àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 271

145x210mm_����������� �� 2560.indd 279

6/6/16 10:47 AM


อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 1. บุคลากรหนวยงานภาครัฐและเอกชน เชน นักวิชาการ เจาพนักงานปกครอง นักการทูต นักวิเคราะหนโยบายและแผน นักพัฒนาชุมชน เจาหนาที่ฝายบุคคล เจาหนาที่ ธุรการ เจาหนาที่ฝกอบรม เลขานุการ สื่อมวลชน เจาหนาที่องคกรพัฒนาเอกชน ผูทํางานภาคประชาสังคม อาชีพอิสระ ฯลฯ 2. ผูท ํางานทางดานการเมืองในระดับทองถิน่ และระดับชาติ 3. องคกรอิสระ และ NGO 4. บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามคุณสมบัติหลักสูตรที่ ก.ค.ศ. เปนผูก ําหนด ดานสวัสดิการ นอกจากสวัสดิการของมหาวิทยาลัยแลว คณะรัฐศาสตรมีการใหบริการหองสมุด บริการดานอุปกรณกีฬา บริการใหคําปรึกษาในเรื่องตางๆ ตลอดจนมีการใหทุนการศึกษา นักศึกษาเปนประจําทุกปการศึกษา ไดแก - ทุนเรียนดี - ทุนกิจกรรมเดน - ทุนชวยเหลือนักศึกษาขาดแคลน อีกทั้ งยั งมี กองทุนกู ยื มฉุกเฉิ นสําหรับนักศึ กษาที่ มีความจําเปนตองใช เปนกรณี เรงดวน ดานกิจการนักศึกษา คณะรัฐศาสตรสนับสนุนการดําเนินกิจกรรม/โครงการที่เปนประโยชน เสริมสราง ประสบการณและทักษะชีวิตดานตางๆ แกนักศึกษา ทั้งในสวนที่คณะดําเนินการ เชน - โครงการเตรียมความพรอมนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - โครงการรวมสืบสานประเพณีและศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม - โครงการพัฒนานักศึกษา - การประกวด/การแขงขัน - การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาทางดานวิชาการ/วิชาชีพ ฯลฯ และในส วนของกิจกรรมนักศึกษา คณะรั ฐศาสตรเปดโอกาสและสนับสนุนการ ดําเนินกิ จกรรม/โครงการตางๆ ของนั กศึกษา โดยการเนนใหนักศึกษาไดเรียนรู และ ดําเนินการจริงในรูปขององคกรกิจกรรมตางๆ เชน

272 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 280

6/6/16 10:47 AM


- สโมสรนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - ชุมนุมนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - กลุม นักศึกษาอิสระ โดยนั กศึ กษาสามารถที่ จะเข ารวม/จั ดตั้ งกลุ มตางๆ ไดตามความสนใจ อีกทั้ ง ยังมีองคกรชัน้ ปในการดูแลและใหคําปรึกษาแกนกั ศึกษาคณะรัฐศาสตรในดานตางๆ

คาใชจา ยตอหัวตอป

คาใชจายการลงทะเบียนภาคการศึกษาละ 11,000 บาท (คาหนวยกิ ตและคาบํารุ งอื่ นๆ ค าธรรมเนียมการศึกษาอื่ นๆ เรียกเก็ บตาม ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร)

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 273

145x210mm_����������� �� 2560.indd 281

6/6/16 10:47 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

คณะพยาบาลศาสตร วิทยาเขตปตตานี Faculty of Nursing Pattani Campus

ทีอ่ ยู

อาคาร 4 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 073-312185 โทรสาร 073-312185

ปรัชญาองคกร มนุษย”

“คณะพยาบาลศาสตรที่เปนเลิศ บนฐานพหุวัฒนธรรม เพื่อประโยชนของเพื่อน

วิสัยทัศน

“เปนสถาบันการศึกษาพยาบาลระดับสากล ทีม่ ุงมั่นผลิตบัณฑิตพยาบาลเพื่อสราง เสริมสุขภาวะชุมชนภายใตความตางทางวัฒนธรรม

ปณิธาน

มุงผลิตพยาบาลที่มีความรู คูคุณธรรม จริยธรรม เพื่อประโยชนสุขของเพื่อน มนุษยเปนกิจทีห่ นึง่

274 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 282

6/6/16 10:47 AM


¹Õ

พันธกิจ

1. ผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มคี ุณภาพระดับสากลที่มุงการพยาบาลภายใตความตาง ทางวัฒนธรรม 2. ผลิตงานวิจัยที่มีคณ ุ ภาพ เพื่อแกปญหาสุขภาพของชุมชน 3. บริ ก ารวิ ชาการด านการพยาบาลที่ สอดคล อ งกั บวิ ถี วั ฒ นธรรมและความ ตองการของชุมชน 4. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของทองถิน่ และของชาติ

หลักสูตร 2556)

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตหลักสูตรใหม พ.ศ. 2555 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

จุดเดนของคณะ

คณะพยาบาลศาสตร เป นคณะที่ มุ ง เน นผลิ ตพยาบาลที่ มี สมรรถนะด านการ พยาบาลต างวั ฒนธรรมและการพยาบาลบรรเทาสาธารณภั ย โดยบูรณาการการเรียน การสอนกับการวิจัยและบริการวิชาการ พัฒนาองคความรูดานการสงเสริม ปองกัน รักษา และฟนฟูสุขภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชนดวยการวิจัยที่มีคุณภาพสูงระดับสากล เนนความรวมมือทางวิชาการจากหลายสหสาขาวิชาชีพเพื่ อแกไขปญหาสุขภาพทั้งระดับ ทองถิน่ และสากล

อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา

1. พยาบาลวิชาชีพในสถานบริการสุขภาพทุกระดับของภาครัฐและเอกชน ทั้งใน และตางประเทศ 2. พยาบาลประจําโรงเรียน/มหาวิทยาลัย/โรงงาน/สํานักงาน 3 ประกอบอาชีพอิสระดานการพยาบาลและผดุงครรภหรือดานที่เกี่ยวของกับ วิทยาศาสตรสุขภาพ 4 ศึ กษาต อระดั บปริ ญญาโทและปริ ญญาเอกในสาขาการพยาบาลหรื อสาขา ทีเ่ กีย่ วของ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 275

145x210mm_����������� �� 2560.indd 283

6/6/16 10:47 AM


คาใชจา ยในการเรียนตลอดหลักสูตร

เหมาจาย 22,000 บาท ภาคการศึกษาปกติ และ 11,000 บาท ภาคฤดูรอน หรือ ประมาณ 209,000 บาท ตลอดหลักสูตร หมายเหตุ ไมรวมคาหอพัก อาหารและคาใชจายสวนตัว

โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษตางๆ

1. โครงการรับนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต (โดยมหาวิทยาลัย) 2. โครงการรับนั กเรียนในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ผ านการรั บตรงของ มหาวิทยาลัยขอนแกน 3. โครงการรั บนั ก เรี ยนในเขตภาคเหนื อ ผ านการรั บตรงของมหาวิ ทยาลั ย เชียงใหม 4. Admission

276 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 284

6/6/16 10:47 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

วิทยาลัยอิสลามศึกษา

College of Islamic Studies

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี 181 ถ.เจริญประดิษฐ ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท (สายตรง) 0 7333 1305 (สายภายใน) 0 7331 3928-50 ตอ 2210, 2216 โทรสาร 0 7334 8726 E-mail: colislam@bunga.pn.psu.ac.th, cispsu@gmail.com Homepage: http://www.cis.psu.ac.th วิทยาลัยอิสลามศึกษา ไดรับพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2532 โดยกํา หนดให เป นศู นย กลางการศึ กษา ค นคว า วิ จั ยด า นวิ ชาการและศิ ลปวิ ท ยาการ เกี่ยวกับอิสลามและบริการวิชาการแกสังคม รวมทั้งผลิตกําลังคนทางดานอิสลามศึกษา ทั่ วไปในทุ กสาขา วิ ทยาลั ยอิ สลามศึ กษาไดแบ งโครงสร างการบริหารงานออกเปน 3 หนวยงานคื อ สํานักงานเลขานุการ สํานักงานวิชาการและบริการชุมชน และภาควิชา อิสลามศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 277

145x210mm_����������� �� 2560.indd 285

6/6/16 10:47 AM


วิสัยทัศน

“วิทยาลัยอิสลามศึกษาเปนสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําดานวิทยาการอิสลามและโลก มุสลิมในภูมภิ าค โดยมีการวิจัยเปนฐาน”

พันธกิจ

1. พัฒนาวิทยาลัยใหเปนสังคมฐานความรูบ นพืน้ ฐานหลักการอิสลาม 2. พั ฒ นาวิ ท ยาลั ย ให เ ป น ศู น ย ก ลางเครื อ ข า ยทางการศึ ก ษาและวิ จั ย ด า น วิทยาการอิสลามในระดับภูมิภาค 3. พัฒนาวิทยาลัยใหเปนศูนยกลางการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับตะวันออกกลาง 4. พัฒนาวิ ทยาลัยใหเปนศูนยพั ฒนาบุคลากรทางการศึกษาอิ สลาม และศู นย พัฒนาทักษะทางภาษาเพื่ออิสลามศึกษา 5. พัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาการอิสลามเพื่อความเปนสากล 6. บูรณาการความรูบนพื้ นฐานอิสลามเพื่ อสรางป ญญา คุณธรรม สมรรถนะ และโลกทัศนสากลใหแกบัณฑิต 7. สงเสริมสังคมพหุวัฒนธรรมบนพื้นฐานของอิสลาม 8. ทํานุบํารุง และเผยแพร ศิลปะและวัฒนธรรมตามกรอบอิสลาม

เปาประสงค

1. ผลิ ตบั ณฑิ ตที่ มี ความรู ความสามารถดํารงด วยคุ ณธรรมบนพื้ นฐานอิ สลาม มีทักษะชีวิต จิตสาธารณะ (มุงประโยชนสวนรวม) และสมรรถนะสูตลาดแรงงาน 2. สรางงานวิจัยที่เปนเลิศ ดานวิทยาการอิสลาม ดานตะวันออกกลาง และโลก มุสลิมในภูมภิ าค 3. สงเสริมสังคมพหุวัฒนธรรมบนพืน้ ฐานของวิถีอลั -อิสลาม 4. สรางระบบบริหารและการจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพโปรงใส ตรวจสอบ ได 5. พัฒนาหลักสูตรวิทยาการอิสลาม เพื่อความเปนนานาชาติระดับสากล 6. มีหนวยงานทีจ่ ะเสริมสรางวิทยาลัยสูค วามเปนเลิศ 7. ทํานุบํารุง และเผยแพรศิลปวัฒนธรรม

278 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 286

6/6/16 10:47 AM


หลักสูตรวิทยาลัยอิสลามศึกษา

วิทยาลัยอิสลามศึกษา เปดสอนทั้ง 3 ระดับ คือ 1. ระดับปริญญาตรี มี 6 สาขาวิชา 1.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (B.A.) มีใหเลือกศึกษา 5 สาขาวิชา คือ 1) สาขาวิชาอิสลามศึกษา 2) สาขาวิชากฎหมายอิสลาม 3) สาขาวิชาเศรษฐศาสตรและการจัดการในอิสลาม 4) สาขาวิชาอิสลามศึกษา หลักสูตรนานาชาติ 5) สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา 1.2 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (B.Ed.) มี 1 สาขาวิชา คือ 1) สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา

2. ระดับปริญญาโท มี 2 สาขาวิชา 2.1 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (M.A.) สาขาวิชาอิสลามศึกษา มีกลุมวิชาใหเลือกศึกษา 5 กลุมวิชา คือ ชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), อูศูลุดดีน (หลักการอิสลาม), ประวัติศาสตรและอารยธรรมอิสลาม, ครุศาสตรอิสลาม และมุสลิมศึกษา 2.2 หลั กสู ตรศึ กษาศาสตรมหาบั ณฑิ ต (M.Ed.) สาขาวิ ช าการบริ ห าร และการจัดการการศึกษาอิสลาม 3. ระดับปริญญาเอก มี 1 สาขาวิชา 3.1 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (Ph.D) สาขาวิชาอิสลามศึกษา ในระดับปริญญาตรี มีรายละเอียดดังนี้ สาขาวิชาอิสลามศึกษา เนนการศึกษาเกีย่ วกับศาสตรวทิ ยาการอิสลาม บูรณาการ กับศาสตรทวั่ ไป และเนนผลิตบัณฑิตทีม่ ีองคความรูแ ละความเขาใจเกี่ยวกับศาสตรอสิ ลาม อยางครอบคลุม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมอยางสมดุลและประยุกต ใชในชีวิ ตประจําวันในพหุ สังคมอย างมี ความสุข มีความคิดริ เริ่ ม มีวิ จารณญานในการ สรางสรรคสงั คม ตลอดจนมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมสวนรวม สาขาวิชากฎหมายอิสลาม เนนการผลิตบุคลากรทางดานกฎหมายอิสลามที่ มี ศั กยภาพสู งในการพั ฒนาตนเองและมี ความเชี่ ยวชาญเฉพาะทาง ด านการศึ ก ษาเชิ ง àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 279

145x210mm_����������� �� 2560.indd 287

6/6/16 10:47 AM


บูรณาการและบุคลิกภาพใหเขากับลักษณะงานทั้งดานวิชาการและวิชาชีพ โดยยึดมั่นใน จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม สาขาวิชาเศรษฐศาสตรและการจัดการในอิสลาม เนนการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรและการจัดการในอิสลาม สามารถวิเคราะหปญหาทาง เศรษฐกิจและการจั ดการรวมสมัย อีกทั้งเปนการตอบสนองความตองการสังคมและ พัฒนาทรัพยากรมนุษยในการรองรับการขยายตัวทางสังคม เศรษฐกิจของภูมิภาคนี้ สาขาวิชาอิสลามศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) เนนการผลิตบัณฑิตที่มีองคความรู และความเขาใจในศาสตรอิสลามอยางครอบคลุม รวมถึงศาสตรใหมๆ โดยการใชภาษา อาหรับ ภาษาอั งกฤษ และภาษามลายูกลางเปนสื่ อหลั กในการศึกษา คนควา วิ จัยให กวางขวางยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมอยางสมดุล โดยประยุกต ใชในชีวิตประจําวันในพหุสังคมอยางมีความสุข มีความคิดริเริ่ม มีวิจารณญานในการ สรางสรรคสงั คม ตลอดจนมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมสวนรวม สาขาวิชาตะวันออกกลางศึกษา เนนการผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถ ความเขาใจ และสามารถวิเคราะหเหตุการณ ทั้งดานการเมือง สังคม และการปกครอง ของประเทศในภูมภิ าคศึกษาตะวันออกกลาง และมีความคิดริเริม่ สรางสรรค มีวจิ ารณญาณ ในการแกไขปญหา มีคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม สวนรวม สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา เนนการผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความสามารถ ในวิชาชีพครูอิสลามศึกษาที่มที ักษะในการจัดการและสามารถบูรณาการการเรียนรูอ ิสลาม ศึกษาใหเกิดการพัฒนาไดตามศักยภาพ มีคุณธรรมจริยธรรมและประพฤติตนเหมาะสม กับความเปนครูและบุคลากรอิสลามศึกษา มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค มีวิจารณญาณ ในการแกไขปญหา ตลอดจนมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมสวนรวม ในระดับปริญญาโท มีรายละเอียดดังนี้ สาขาวิชาอิสลามศึกษา เนนการผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความเขาใจสาขาวิชา ชะรีอะฮฺ (กฎหมายอิสลาม), อูศูลุดดีน (หลักการอิสลาม), ประวัติศาสตรและอารยธรรม อิสลาม, ครุศาสตรอิสลาม และมุสลิมศึกษา ใหเปนนักวิชาการและนักวิจัยทีม่ ีความรูระดับ สูง มีคุ ณธรรม และจริ ยธรรม มีเจตคติ ที่ สงเสริ มการพั ฒนา รวมทั้ งมี ความสามารถ ในการถายทอดและประยุกตความรูเพื่อแกปญหาสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปน กําลังสําคัญในองคกรของรัฐและเอกชน

280 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 288

6/6/16 10:48 AM


สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษา เนนการผลิตนักบริหาร นักวิชาการ และนักวิจัยที่มี ความรู ความสามารถ มีคุ ณธรรมจริยธรรมทางดานการบริหารและการ จั ดการที่ เชื่ อมโยงและบู รณาการแนวคิ ด หลั กการ ปรั ชญาของอิ สลามและสากล มีความคิดสรางสรรค มีความเปนผู นําทางวิชาการและนําความรู ไปประยุกตใชไดอยาง เหมาะสม ในระดับปริญญาเอก มีรายละเอียดดังนี้ สาขาวิชาอิสลามศึกษา มุงผลิตดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา ใหเปนผูนํา ทางวิ ชาการ มีมาตรฐานวิชาการที่ เปนสากล และเป นผู มีบทบาทในการสร างชาติเพื่ อ ความสงบสุขและสันติภาพ ตลอดจนเปนนักวิจัยที่มีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ ทางวิชาการ สามารถคิดคนองคความรู ใหมโดยอาศัยกระบวนการวิจัย และบูรณาการ ศาสตรเพือ่ การสรางสรรคความกาวหนาทางวิชาการไดอยางตอเนือ่ ง

จุดเดนของวิทยาลัยอิสลามศึกษา

1. วิ ท ยาลั ย ฯ เป น สถาบั น การศึ ก ษาระดั บอุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ แห ง แรกของ ประเทศไทยที่เปดสอนทางดานอิสลามศึกษา 2. วิ ท ยาลั ย ฯ มี ค วามร ว มมื อกั บองค กรที่ เกี่ ย วข องทั้ งในและต างประเทศ โดยเฉพาะกลุมประเทศอาเซียนและตะวันออกกลาง ทั้งดานการวิจัย การเรียนการสอน รวมถึงโครงการแลกเปลีย่ นอาจารยและนักศึกษา เปนตน 3. วิทยาลัยฯ มี การบริการวิชาการแกชุ มชนที่ หลากหลายและมี การใหบริ การ อยางตอเนื่อง มีความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานอื่นๆ ในการดําเนินงานโครงการ และงานวิจัยตางๆ และมีบุคลากรที่มีศักยภาพในการเปนที่พึ่งทางวิชาการใหกับหนวยงาน ภาครัฐและเอกชนในทองถิน่ 4. วิทยาลัยฯ มีบุคลากรที่มีตําแหนงทางวิชาการและจบปริญญาเอกดานอิสลาม ศึกษาจากประเทศตางๆ ทั่วโลก เชน จากแอฟริกา ตะวันออกกลาง ยุโรป และภูมิภาค อาเซียน เปนตน 5. มีการจัดสัมมนาทางวิชาการระดับนานาชาติดานอิสลามอิสลาม ทุกๆ 2 ป ซึ่งมีอุลามาอฺ นักปราชญ นักวิชาการดานอิสลาม ไมนอยกวา 40 ประเทศทั่วโลกที่เขา รวมสัมมนา 6. วิทยาลัยฯ จัดโครงการเครือขายอิสลามศึกษานานาชาติ หรือโครงการ International Islamic Studies Networking (IISN) ทุกๆ ป เพื่อสงนักศึกษาไปแลกเปลี่ยน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 281

145x210mm_����������� �� 2560.indd 289

6/6/16 10:48 AM


ระหวางประเทศ (Exchange Students) ในระยะเวลา 10–12 เดือน ปละไมนอยกวา 30 คน เชน ประเทศตุรกี จอรแดน การตา อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เปนตน 7. วิทยาลัยฯ ไดจัดตั้ งศูนยทดสอบภาษาอาหรั บและพัฒนาภาษาตางประเทศ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการเรียนการสอนดานอิสลามศึกษาใหเปนทีย่ อมรับในระดับสากล 8. วิทยาลัยฯ ไดจัดตั้งโรงเรียนสาธิตอิสลามตนแบบโดยการจัดการเรียนการสอน วิชาสามัญบูรณาการอิสลาม เนนความเปนเลิศทางวิชาการเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีทักษะ การเรียนรู มีความเปนผูนํา และดํารงชีวิตตามวิถีอิสลาม (เริ่มเปดรับนักเรียนปการศึกษา 2559) 9. มีทุนการศึกษาเพื่อจูงใจนักเรียนตางพื้นที่ ปละไมนอยกวา 25 ทุน 10. มีนักศึกตางชาติจากหลายประเทศ เชน ประเทศจีน กัมพูชา ไลบีเรียน กีนี คองโก อินโดนีเซีย และเซเนกัล เปนตน และมีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาตางประเทศ ปละไมนอยกวา 20 ทุน

ตลาดแรงงาน

บัณฑิตวิทยาลัยอิสลามศึกษาทุกสาขาวิชาสามารถเขาทํางานในหนวยงานของรัฐ และเอกชน อาทิ กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา โรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียน ประถมศึกษา รวมทั้งบริษัทตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในแถบอาเซี ยนและตะวั นออกกลางที่ ต องการบัณฑิตที่ สามารถใชภาษาอาหรับ มลายู และอังกฤษ ได ดี และเข าใจวั ฒนธรรมชี วิ ตความเป นอยู ของประเทศในแถบอาเซี ยน และตะวันออกกลาง

ประมาณคาใชจายในการศึกษา

- ระดับปริญญาตรี คาใชจายประมาณ 13,000 บาท/ภาคการศึกษา - ระดับปริญญาโท คาใชจายประมาณ 27,000 บาท/ภาคการศึกษา - ระดับปริญญาเอก คาใชจายประมาณ 27,000 บาท/ภาคการศึกษา หมายเหตุ ไมรวมคาหอพักและคาใชจายสวนตัว

282 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 290

6/6/16 10:48 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

วิทยาเขตภูเก็ต

Prince of Songkla University, Phuket Campus

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ม.1 ถ. วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 โทรศัพท +66(0) 7627 6012-3 โทรสาร +66(0) 7627 6010 E-mail: pr.psuphuket@gmail.com Homepage: http://www.phuket.psu.ac.th/ Facebook: https://www.facebook.com/phuketcampus

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต

PSU PHUKET Prince of Songkla University, Phuket Campus “BEST QUALITY” “BEST SCENERIES” “BEST GET JOB” àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 283

145x210mm_����������� �� 2560.indd 291

6/6/16 10:48 AM


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต มุงเนน “Flagship” 3 ประเด็นดังนี้ 1. เปนวิทยาเขตนานาชาติและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เปนศูนยกลางองคความรูดานการบริการ และการทองเที่ยวไทยและอาเซียน ศึกษา สิ่งแวดลอมและภัยพิบัติทางธรรมชาติ 3. เสริมสรางชุมชนเขมแข็งและยัง่ ยืน

จุดเดนของวิทยาเขตภูเก็ต

1. World-class tourist destination: “ภูเก็ต” สุดยอดแหงทิวทัศนและ ทัศนียภาพ จุดศูนยกลางการลงทุนของธุรกิจจากทั่วทุกมุมโลก 2. Endless opportunities and job prospects: นักศึกษามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต ไดรับโอกาสมากมาย - ฝกประสบการณ และฝกงานอยางมืออาชีพ - ทํางานเพื่อหารายไดขณะกําลังศึกษา - มีแหลงงานรองรับเมื่อสําเร็จการศึกษา 3. Campus facilities and student life: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต มีความหลากหลายสีสนั ดาน “กีฬาและนันทนาการ” “ประสานประโยชน เพื่อเพื่อนมนุษย” รวมทั้งหลากหลายความพรอมดวย “ระบบการสอนที่ทันสมัย” “เนน ความเปนนานาชาติ” 4. International Campus: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต เปนวิทยาเขตขนาดกลางที่ผสมผสานความเปนนานาชาติภายใตวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในบรรยากาศทางวิชาการและการใช ชีวิต เนนระบบการเรี ยนการสอนที่ เปนมากกวา ระบบการคิด ดวยการฝกประสบการณอยางมืออาชีพ คิดเปน ทํางานเปน (LearningThinking-Practicing) ตามมาตรฐานระบบคุณภาพสากล ใชระบบ E-learning ทั้ ง ภาษาอังกฤษและภาษาที่สามควบคูกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน เปนบทเรียน ทบทวน และทดสอบ เพื่อสนับสนุนการบริการการศึกษาที่เนนการศึกษาดวยตนเอง (Self-Studies) อันทําใหเกิดการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพ 5. เปนวิทยาเขตที่เนนสรางความรวมมือเครือขายดานวิชาการ การศึกษา การ วิจัย และดานอื่นๆ ระดับนานาชาติ รวมกับสถานศึกษา สถานประกอบการ และองคกร รัฐทัว่ โลก

284 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 292

6/6/16 10:48 AM


การจัดการศึกษา

วิทยาเขตภูเก็ต เปดการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ประกอบดวย 1. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2. คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม 3. คณะการบริการและการทองเทีย่ ว 4. คณะวิเทศศึกษา 5. วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต 6. สถาบันขงจื๊อภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 7. บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย สหวิ ท ยาการวิ ท ยาศาสตร ระบบโลกและการจั ด การภั ย ธรรมชาติอันดามัน (Interdisciplinary Graduate School of Earth System Science and Andaman Natural Disaster Management หรือ ESSAN) 8. วิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตรภูเก็ต International College of Arts and Sciences, Phuket (ICASP)

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 285

145x210mm_����������� �� 2560.indd 293

6/6/16 10:48 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร

Department of Computer Engineering

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ม.1 ถ. วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 โทรศัพท +66(0) 7627 6197 โทรสาร +66(0) 7627 6453 E-mail: pr@coe.phuket.psu.ac.th Homepage: http://www.coe.phuket.psu.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/computer.Engineering.PSU.Phuket.Campus ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร เปดสอนหลักสูตรในระดับ ปริญญาตรี ดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร ณ วิทยาเขตภูเก็ต

การจัดการเรียนการสอน

เปดสอนระดับปริญญาตรี 1 หลักสูตร ดังนี้ 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (Computer Engineering) หลักสูตรนี้เปนการจัดการเรียนการสอน โดยคณะวิศวกรรมศาสตร โดย วิทยาเขตภูเก็ตเปดรับนักศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2545 มีการสอนโดยภาษาอังกฤษ เปนบางรายวิชา มีเนื้อหาครอบคลุมในวิศวกรรมสารสนเทศ วิศวกรรมออกแบบระบบ

286 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 294

6/6/16 10:48 AM


คอมพิวเตอร วิศวกรรมเครือขายคอมพิวเตอรและสื่อสาร คอมพิวเตอรและหุน ยนต

วิศวกรรมควบคุมดาน

แนวทางการประกอบอาชีพ

บัณฑิตที่จบออกไปสามารถประกอบอาชีพดานตางๆ เชน วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิศวกรระบบ นักวิชาการ นักวิจัย และผูประกอบการธุรกิจสวนตัว ในหนวยงาน/องคกร ของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ บริษัทอุตสาหกรรมระดับนานาชาติ ตัวอยางหนวยงานภาคเอกชนและภาครัฐ ที่บัณฑิตทีจ่ บออกไปสามารถเขาทํางาน ไดแก - ธุรกิจทองเที่ยวในโรงแรมชั้นนําในจังหวัดภูเก็ต เชน โรงแรมลากูนา โรงแรม เมอรลนิ - ธุรกิจดานการสื่อสาร เชน True Corporation, DTAC, AIS, C.S.I และ Reuter เปนตน - ธุรกิจอุตสาหกรรม เชน Western Digital, Seagate และ Toyota เปนตน - หนวยงานรัฐวิสาหกิจ เชน ทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ต การไฟฟาฝายผลิต การไฟฟาภูมิภาค การประปา เปนตน - หนวยงานอิสระ เชน NECTEC และ SIPA เปนตน - หนวยงานราชการ เชน กระทรวงวิทยาศาสตร กระทรวงอุตสาหกรรม สํานักงานตํารวจแหงชาติ และโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนตน

ทุนการศึกษาและคาตอบแทนอื่นๆ

1. ทุนยกเว นคาธรรมเนียมพิเศษ (ขาดแคลนทุนทรัพย ) และทุนยกเว นคา ธรรมเนียมพิเศษ (เรียนดี) 2. ทุนเรียนตอปริญญาโท และปริญญาเอก 3. ทุนยืมฉุกเฉิน 4. ทุนผูม คี วามสามารถพิเศษดานคอมพิวเตอร 5. คาตอบแทนสําหรับผูช วยสอน 6. เงินรางวัลสําหรับผูส รางชือ่ เสียงใหแกภาควิชาฯ 7. กองทุนเงินใหกยู ืมเพือ่ การศึกษา (กยศ.) 8. กองทุนเงินกูย ืมเพือ่ การศึกษาที่ผกู กับรายไดในอนาคต (กรอ.)

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 287

145x210mm_����������� �� 2560.indd 295

6/6/16 10:48 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

Faculty of Technology and Environment

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ม.1 ถ.วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 โทรศัพท +66(0) 7627 6106 โทรสาร +66(0) 7627 6102 E-mail: lakana.w@phuket.psu.ac.th Homepage: http://www.te.psu.ac.th Facebook: Faculty of Technology and Environment PSU, Phuket Campus คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม จัดตั้งขึ้นโดยมีเปาหมายที่จะมุงผลิตบัณฑิตดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร และดานสิ่งแวดลอม โดยนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาประเทศใหยั่งยืน สราง งานวิจัยและเปนศูนยกลางทางวิชาการทางฝงทะเลอันดามัน ใหบริการวิชาการแกชุมชน ตระหนักในความเปนสากล เชื่อมโยงและแขงขันในระดับนานาชาติได โดยมีศูนยวิชาการ ที่รองรับการเรียนรูและอางอิงทางวิชาการ ประกอบดวย ศูนยเทคโนโลยีแอนิเมชันและ มัลติมีเดีย (Animation and Multimedia Technology Center : AMTEC) ศูนยวิจัย

288 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 296

6/6/16 10:48 AM


และนวั ตกรรมสิ่ งแวดลอม (Andaman Environmental and Innovation Center: AERIC) และหนวยวิจัยชีวเทคโนโลยีของกลศาสตรไฟฟา (Biotechnology of Electromechanics, BTEM)

การจัดการเรียนการสอน

เปดสอนตั้งแตระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ระดับปริญญาตรี เปดสอน 1 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มี 5 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เนนการเรียนรู พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสาร สนเทศ สามารถศึกษา ออกแบบ และสรางระบบสารสนเทศในองศกร ใหความรูดาน เทคโนโลยีเครือขาย (Network) รวมทั้งใหความรูดานแอนิเมชั่ น (Animation) ซึ่ง นักศึกษาสามารถนําความรูไปปฏิบัติไดจริงในสถานประกอบการ แนวทางการประกอบอาชีพ นักพัฒนาระบบ นักออกแบบและพัฒนา เว็บไซต นักบริหารจัดการเครือขาย นักวิเคราะห วิศวกรคอมพิวเตอร ผูสราง แอนิเมชั่น ผูผ ลิตสือ่ มัลติมเี ดีย 2) สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร (Software Engineering) เนนการนําหลักการทางวิศวกรรมมาประยุกตใชในการพัฒนาซอฟตแวร และการจัดการโครงการซอฟตแวร เพื่อใหสามารถพัฒนาไดมาตรฐานในระดับสากลโดย เริ่มปูพื้นฐานทางดานวิทยาการคอมพิวเตอรเชิงกวาง และตามดวยพื้นฐานทางวิศวกรรม ซอฟตแวรและองคความรูตางๆ ทางดานวิศวกรรมซอฟตแวรควบคูไปกับการฝกปฏิบัติ แนวทางการประกอบอาชีพ นักวิเคราะหและออกแบบซอฟตแวร นัก พัฒนาโปรแกรม นักบริหารโครงการซอฟตแวร ผูตรวจสอบทดสอบคุณภาพซอฟตแวร นักพัฒนาเกม 3) สาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส (Electronic Business) เนนกระบวนการทําธุรกิจในองคกร และสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกตในกระบวนการธุรกิจนั้นๆ เชน การทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) การทําการตลาดออนไลน (E-Marketing) การบริหารลูกคาสัมพันธโดยใชสื่ออิเล็กทรอนิกส (E-CRM) ฯลฯ แนวทางการประกอบอาชีพ นักวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ นักพัฒนาโปรแกรมโดยเฉพาะการใชสื่ออิเล็กทรอนิกส นักการตลาดออนไลน อาชีพ อิสระ เชน เปนผูประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 289

145x210mm_����������� �� 2560.indd 297

6/6/16 10:48 AM


4) สาขาวิชาภูมสิ ารสนเทศสิง่ แวดลอม (Environmental Geoinformatics) เนนองคความรูเ ชิงวิศวกรรมดานภูมิสารสนเทศ อันประกอบดวย การรับรู ระยะไกล (Remote Sensing, RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System, GIS) ระบบกําหนดตําแหนงบนโลก (Global Positioning System, GPS) เพื่อประยุกตใชในการสํารวจ ติดตาม วิเคราะห และจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม แนวทางการประกอบอาชีพ บริษัทที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม หนวยงาน และสถาบันวิจัยดานสิ่งแวดลอม องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) องคกรรัฐหรือเอกชน ที่ทํางานดานสิ่งแวดลอม เชน NECTEC สวทช. GISTDA เปนตน 5) สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดลอม (Environmental Technology and Management) เน นการบู รณาการและประยุ กต ใช เทคโนโลยี ที่ ทันสมั ยด านต างๆ เช น เทคโนโลยีทางดานสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และนาโนเทคโนโลยี เพื่อการ จัดการ ปองกันและแกไขปญหาทางดานสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน แนวทางการประกอบอาชีพ วิศวกรสิ่งแวดลอมประจําโรงงาน นัก วิทยาศาสตรในบริษัทวิเคราะหตัวอยางทางสิ่งแวดลอม บริษัทที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม หนวยงานและสถาบันวิจยั ดานสิง่ แวดลอมองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) ทุกหลักสูตรเนนการเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษโดยใหรอยละ 30 ของวิชาหลักสอน เปนภาษาอังกฤษ นอกจากนี้คณะฯ ไดจดั ใหมีการเตรียมความพรอมเพื่อใหบัณฑิตพรอม ที่จะทํางานไดทันที โดยนักศึกษาทุกคนจะตองผานการฝกงานหรือสหกิจศึกษาระยะเวลา ไมนอยกวา 18 สัปดาห ระดับปริญญาโท เปดสอน 1 หลักสูตร 3 สาขา คือ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) มี 3 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดลอม (Technology and Environmental Management) มุงเนนผลิตนักวิชาการ และนักวิจัยที่มีความรูและทักษะการใชเทคโนโลยี จัดการสิ่งแวดลอม เชน นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีจัดการน้ําเสียและของเสียอันตราย รวมทั้ งผลิ ตนักวิจั ยรุ นใหม ดานการรั บรู ระยะไกล (Remote Sensing, RS) ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System, GIS) เพื่อใชในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมถึงการจัดการภัยพิบัติธรรมชาติ

290 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 298

6/6/16 10:48 AM


2) สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม (หลักสูตรนานาชาติ) (Environmental Management Technology (International Program) มุงผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูและทักษะการวิจัยที่สามารถนําองคความรู ดานเทคโนโลยี ไปประยุกตใชในการปองกั น แกไขป ญหา และบริหารจั ดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหยั่งยืน อีกทั้งเปนมหาบัณฑิตที่มีคุณธรรมและจริยธรรมทาง วิชาการ 3) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มุงผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถอยางถองแททางดานเทคโนโลยี สารสนเทศ เนนการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีซอฟตแวร เทคโนโลยีเครือขาย และสื่อดิจิทัล ซึ่งสามารถนําไปประยุกตกับการประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพใน ระดับแนวหนา พัฒนามหาบัณฑิตที่มีความสามารถในการศึกษาคนควาวิจัย และพัฒนา วิทยาการใหมๆ อันจะนํามาซึ่งประโยชนของตนเองและสังคม และถึงพรอมดวยคุณธรรม และจริยธรรมในวิชาชีพ ระดับปริญญาเอก เปดสอน 1 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม (หลักสูตรนานาชาติ) (Environmental Management Technology (International Program) มุงเนนผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถและทักษะการวิจัยขั้นสูงใน ด านเทคโนโลยี แ ละการจั ด การสิ่ งแวดล อมที่ สามารถสร างองค ความรู ใ หม รวมทั้ ง บูรณาการและประยุกตใชองคความรู ดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เพื่ อการวางแผน บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทัง้ มีจิตสํานึก คุณธรรม จริยธรรมดานสิ่งแวดลอม

ทุนการศึกษา

ระดับปริญญาตรี 1. ทุนการศึกษาฉุกเฉิน เพื่ออุดหนุนใหนักศึกษาที่มีความประพฤติดี แตยังขาด ทุนทรัพยในการดํารงชีวิต ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง 2. ทุนการศึกษาของหนวยงานหรือบุคคลตางๆ ที่ประสงคสนับสนุนนักศึกษาที่ ศึกษาดานสิง่ แวดลอม 3. ทุนกูยืมเพื่อการศึกษา กยศ. àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 291

145x210mm_����������� �� 2560.indd 299

6/6/16 10:49 AM


Ç

ระดับบัณฑิตศึกษา 1. ทุนผูชวยวิจัยจากกองทุนวิจัยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม และจากแหลง ทุนภายนอก 2. ทุนสนับสนุนวิจยั จากบัณฑิตวิทยาลัย 3. ทุนผูชวยวิจัยจากกองทุนวิจัยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ครอบคลุมใน สวนของปริญญาโท 1) คาใชจายรายเดือน 5,000 บาทตอเดือน 2) เงินสนับสนุนในการทําวิทยานิพนธ 60,000 บาท 4. ทุนผูชวยวิจัยจากกองทุนวิจัยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ครอบคลุมใน สวนของปริญญาโทเอก 1) คาใชจายรายเดือน 8,000 บาทตอเดือน 2) เงินสนับสนุนในการทําวิทยานิพนธ 110,000 บาท 5. ทุนสนับสนุนในการทําวิทยานิพนธจากบัณฑิตวิทยาลัย 6. ทุนสนับสนุนจากแหลงทุนอืน่ ๆ

292 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 300

6/6/16 10:49 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

คณะการบริการและการทองเที่ยว

Faculty of Hospitality and Tourism

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ถนนวิชิตสงคราม ตําบลกะทู อําเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต 83120 ปริญญาตรี (BBA) โทรศัพท +66(0)7627 6826, +66(0)8 1271 0601 โทรสาร +66(0)7627 6203 ปริญญาโท (MBA) โทรศัพท +66(0)7627 6821 , +66(0)8 1537 7798 โทรสาร +66(0)7627 6014 E-mail fhtpsu@gmail.com Website http://www.fht.psu.ac.th Facebook https://www.facebook.com/FHT.PSU.phuket

กาวสูสถาบันชั้นนําดานการบริการและการทองเทีย่ วในอาเซียน

คณะการบริการและการทองเที่ยวเปนคณะที่ตั้งอยูในเมืองทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง ของประเทศไทย เปดสอนในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ดานการบริการและการ ทองเทีย่ ว àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 293

145x210mm_����������� �� 2560.indd 301

6/6/16 10:49 AM


คณะฯ ใหความสําคัญกับความกาวหน าอยางยั่ งยืนบนพื้ นฐานความมั่ นคงและ การพัฒนา และเปนองคกรที่ตองการแสดงใหเห็นถึงความสามารถของคณาจารยและ นักศึกษา คณะฯ มีความมุงมั่นที่จะเปนองคกรแหงการเรียนรูอยางตอเนื่อง และแสดง ใหเห็นถึงความรับผิดชอบตอชุมชน สังคมและผูมสี ว นไดสว นเสีย

10 เหตุผลที่ตองเลือกเรียนที่คณะการบริการและการทองเที่ยว

1. หลักสูตรนานาชาติทมี่ ชี อื่ เสียง 2. ตัง้ อยูใ นจังหวัดภูเก็ตซึง่ เปนแหลงทองเทีย่ วระดับโลก 3. โอกาสฝกงานทัง้ ในและตางประเทศ 4. โอกาสศึกษาตอหรือรวมโครงการแลกเปลีย่ นในตางประเทศ 5. อาจารยพิเศษที่มีประสบการณตรงจากโรงแรมชั้นนํา สายการบิน บริษัท นําเทีย่ วเปนตน 6. บรรยากาศที่เปนนานาชาติ โดยเรียนรวมกับนักศึกษาจากประเทศตางๆ ทั่ว โลก 7. หองปฏิบัติการที่ทั นสมัย ไดแก เครื่ องบินจําลอง ห องปฏิบัติการครัว หองอาหาร หองปฏิบัติการแมบาน ศูนยปฏิบัติการโรงแรม เปนตน 8. ประสบการณจัดการเรียนการสอนดานการบริการและการทองเที่ยวกวา 20 ป 9. มี ศิ ษย เก าที่ ประสบความสําเร็ จมากมายและมี เครื อข ายกั บอุตสาหกรรมที่ เขมแข็ง 10. เปนทีย่ อมรับของภาคอุตสาหกรรมการบริการและการทองเทีย่ ว

หองปฏิบัติการที่สนับสนุนการเรียนรู

คณะการบริการและการทองเที่ยว ม.อ.ภูเก็ต เล็งเห็นความสําคัญของการผลิต บุคลากรที่มีคุณภาพ เพื่อกาวสูอุตสาหกรรมการบริการและการทองเที่ยว จึงไดจัดสราง หองปฏิบัตกิ ารเพือ่ สงเสริมการเรียนรูดา นทฤษฎีควบคูก ับทักษะการปฏิบัติงานดังตอไปนี้ - ศูนยปฏิบัติการโรงแรม เปดใหบริการแกนักทองเที่ยวและผูมาเยือน ทั้งยัง เปนศูนยปฏิบัติการใหนักศึกษาเรียนรูการใหบริการของโรงแรม เชน การตอนรับสวนหนา การดูแลหองพัก การปูเตียง เปนตน - ห องปฏิ บัติ การครั ว ออกแบบโดยใช วั สดุ อุ ปกรณ ที่ มี มาตรฐานเที ยบเท า โรงแรมระดับ 5 ดาว ใหนักศึกษาเรียนรูการจัดการครัว การทําอาหาร การทําขนมอบ เปนตน

294 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 302

6/6/16 10:49 AM


- หองปฏิบัติการภัตตาคาร เปดใหบริการอาหารและเครื่ องดื่มแกนักศึกษา บุคลากรและผูมาเยือน ทั้งยังเปนหองปฏิบัติการใหนักศึกษาเรียนรูการใหบริการอาหาร และเครือ่ งดืม่ การผสมเครื่องดื่ม เปนตน - หองปฏิบัติการ PSU Terminal ประกอบดวยอาคารผูโดยสาร เคานเตอร เช็คอิน และเคานเตอรตรวจสอบการผานขึ้นเครื่องบิน หองปฏิบัติการ PSU Airlines เปนการจําลองเครื่ องบินรุ น 737-800 ที่ไดมาตรฐานและเสมื อนจริ ง ใหนักศึกษาฝก ปฏิบัติการใหบริการผูโ ดยสารทั้งภาคพื้นดินและระหวางทําการบิน - หองปฏิบัติการทางดานคอมพิวเตอร ใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติทักษะทางดาน คอมพิวเตอร การใชโปรแกรมจองหองพัก โปรแรมจองตั๋วเครื่องบิน เปนตน

การจัดการเรียนการสอน

เปดสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) ทั้ งระดับปริญญาตรี และ ปริญญาโท ดังนี้ ระดับปริญญาตรี เปดสอน 1 หลักสูตร คือ 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) เปดสอน 2 สาขาวิชา ไดแก - สาขาวิชาการจัดการการบริการ (Hospitality Management) - สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว (Tourism Management) แนวทางประกอบอาชีพ บัณฑิตที่จบการศึกษาในสาขาวิชาการจัดการบริการ สามารถประกอบอาชีพ ในสายงานธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจที่เกี่ยวของกับการจัดประชุม (MICE) ธุรกิจราน อาหาร ธุรกิจอาหารบริการดวน และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการบริการ เปนตน บัณฑิตที่จบการศึกษาในสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว สามารถประกอบ อาชีพในสายงานธุรกิจนําเที่ยว ธุรกิจเรือสําราญ ธุรกิจสายการบิน ทาอากาศยาน ธุรกิจขนสงทางอากาศ หนวยงานภาครัฐ เชน อุทยานแหงชาติ การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย เปนตน การวัดผลการศึกษา เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วาดวยการศึกษาชั้นปริญญา ตรี และผูที่จะสําเร็จการศึกษาจะตองมีผลการสอบวัดระดับกาษาอังกฤษมาตรฐานสากล (TOEIC) มาแสดง โดยมีผลการสอบไมต่ํากวา 630 คะแนน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 295

145x210mm_����������� �� 2560.indd 303

6/6/16 10:49 AM


คาใชจายระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป) คาธรรมเนียมแรกเขา 40,000 บาท คาธรรมเนียมการศึกษา เหมาจายปการศึกษาละ 96,000 บาท โดยแบงจาย เปน 3 งวด กอนการลงทะเบียนในทุกภาคการศึกษา ***นักศึกษาชั้นปที่ 1 จะรับคอมพิวเตอรพกพาคนละ 1 เครื่อง เพื่อใชเปน อุปกรณในการเรียน ระดับปริญญาโท 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต เปดสอน 1 สาขาวิชา คือ - สาขาวิชาการจัดการการบริการและการทองเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรนี้มุงผลิตบัณฑิตนักวิชาการและนักวิชาชีพที่มีความรูและทักษะทาง ดานการจั ดการการบริ การและการทองเที่ ยวที่ สามารถทําหนาที่บริหารระดับสูงในดาน อุตสาหกรรมการบริการและการทองเที่ยว สามารถศึกษาและวิจัยในงานที่ รับผิดชอบ เพื่อนําไปสู การสร างองคความรู การพั ฒนา และการแกปญหางาน ตลอดจนการวาง ยุทธศาสตรในการพัฒนาวิชาการและกําลังคนเพื่อตอบสนองตอการพัฒนาอุตสาหกรรม การบริการและการทองเที่ ยวของประเทศตอไป ทั้งนี้ผู ที่ ศึกษาสามารถเลือกหัวขอการ ศึกษาวิจยั ในศาสตรดานการบริการและการทองเทีย่ วไดตามถนัดและความสนใจ จุดเดนของหลักสูตร - เปนหลักสูตรนานาชาติ - มีทนุ สําหรับผูช วยทําวิจยั - เรียนชวงเสาร – อาทิตยเปนหลัก - มีความรวมมือกับมหาวิทยาลัยชัน้ นํา - โอกาสในการเรียนกับผูเชีย่ วชาญที่มีชอื่ เสียงระดับโลก - โอกาสใกลชดิ กับบุคคลในแวดวงอุตสาหกรรมการบริการและการทองเทีย่ ว การรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาโท คุณสมบัติของผูส มัคร 1. สําเร็จการศึกษาระดั บปริญญาตรีทางดานธุรกิจ หรือสาขาวิชาที่ เกี่ ยวของ หรือระดับปริญญาตรีดานอื่นๆ โดยมีประสบการณการทํางานที่เกี่ยวของอยางนอย 1 ป 2. คุณสมบัติอื่นๆ ตามทีบ่ ัณฑิตวิทยาลัยกําหนด คาใชจายระดับปริญญาโท (หลักสูตร 2 ป) คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจายภาคการศึกษาละ 64,000 บาท จํานวน 4 ภาค การศึกษา (16 เดือน)

296 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 304

6/6/16 10:49 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

คณะวิเทศศึกษา

Faculty of International Studies

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ม.1 ถ.วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 ทรศัพท +66(0) 7627 6600 โทรสาร +66(0) 7627 6263 E-mail: fis.info@phuket.psu.ac.th Homepage: http://www.fis.psu.ac.th คณะวิเทศศึกษา เป นคณะวิชาที่รับผิดชอบการสอนรายวิชาดานภาษา ดาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และกลุมวิชาศึกษาทั่ วไปของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะวิเทศศึกษาจึงมุงจัดการศึกษาและดําเนินงานวิจัย รวมทั้งการบริการวิชาการในดาน นานาชาติศึกษา ภาษาและวัฒนธรรม โดยประสานความรวมมือกับองคกรและสถาบัน ในระดั บภู มิ ภาคและนานาชาติ เพื่ อสร างเครื อข ายการเรี ย นรู และปฏิ บัติ งานร วมกั น โดยมีเปาหมายสูงสุดในการแลกเปลีย่ นและพัฒนาการเรียนรู

การจัดการเรียนการสอน

คณะวิเทศศึกษาดําเนินการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต และหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตในสาขาวิชาตางๆ ซึ่งเปนหลักสูตรนานาชาติทั้งหมด ไดแก àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 297

145x210mm_����������� �� 2560.indd 305

6/6/16 10:49 AM


1. 2. 3. 4.

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ : จีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศศึกษา - วิชาเอกวิเทศธุรกิจ : เกาหลี - วิชาเอกเกาหลีศึกษา 5. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชายุโรปศึกษา (อังกฤษ-ฝรั่งเศส) 6. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา

ระดับปริญญาตรี

1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) มี 5 สาขาวิชา ไดแก 1) สาขาวิเทศธุรกิจ: จีน (หลักสูตรนานาชาติ) International Business: China (IBC) หลักสูตรวิเทศธุรกิจ : จีน (IBC) รับนักศึกษารุนแรกตั้งแตปการศึกษา 2544 โดยใชภาษาอังกฤษและภาษาจีนเปนสื่อหลักในการเรียนการสอน ผูสมัครเขาเรียน ไมจําเปนตองมีพื้นความรูภาษาจีนมากอน หลักสูตรนี้มุงผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความ สามารถด านธุ รกิ จระหว างประเทศ สามารถนําความรู ทางด านภาษาและวั ฒนธรรม ตลอดจนเทคนิคดานการสื่อสารไปใชประโยชนในการประกอบธุรกิจกับชาวจีนและผูคนใน ประเทศอื่นๆ ที่ใชภาษาจีนได หลักสูตรนี้มีจุดเดนคือ นักศึกษาจะไดไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยในภูมิภาค ตางๆ ของสาธารณรัฐประชาชนจีนปละ 1 แหง รวม 3 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูรอน ปจจุบันนักศึกษาของหลักสูตรนี้จะไดไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยตางๆ ดังนี้ - Yunnan University: Kunming - Guangxi University: Nanning - Jiangxi University of Science and Technology: Ganzhou - South China University of Technology: Guangzhou - Chongqing University: Chongqing - Shanghai University: Shanghai - Harbin Engineering University: Harbin - Changzhou University: Changzhou - Weinan Normal University: Weinan

298 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 306

6/6/16 10:49 AM


2) สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) Chinese Studies (CNS) หลักสูตรจีนศึกษา (CNS) รับนักศึกษารุนแรกตั้งแตปการศึกษา 2547 มีลักษณะและขอกําหนดที่สําคัญเหมือนกับหลักสูตรวิเทศธุรกิจ: จีน แตมีจุดประสงคที่ แตกตางออกไป คือมุงผลิตบัณฑิตที่มีความรูความเขาใจเชิงสหวิทยาการในเรื่องจีนอยาง กวางขวาง ไดแก ความรูความเขาใจในเรื่องการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ภาษาและศิลปวัฒนธรรม หลักสูตรนี้มีจุดเดนคือ นักศึกษาจะไดไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยในภูมิภาค ตางๆ ของสาธารณรัฐประชาชนจีนปละ 1 แหง รวม 3 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูรอน ปจจุบันนักศึกษาของหลักสูตรนี้จะไดไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยตางๆ ดังนี้ - Yunnan University: Kunming - Guangxi University: Nanning - Jiangxi University of Science and Technology: Ganzhou - South China University of Technology: Guangzhou - Chongqing University: Chongqing - Shanghai University: Shanghai - Harbin Engineering University: Harbin - Changzhou University: Changzhou - Weinan Normal University: Weinan 3) สาขาวิชาไทยศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) Thai Studies (THS) หลักสูตรไทยศึกษา (THS) รับนักศึกษารุนแรกตั้งแตปการศึกษา 2548 โดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อหลักในการเรียนการสอน หลักสูตรนี้มุงผลิตบัณฑิตใหเปนผูมี ความรูเกี่ยวกับความเปนไทยในแงมุมตางๆ มีความคิดเชิงวิเคราะห รูจักใชวิจารณญาณ ในการพิจารณาจุดอ อนจุดแข็งของสั งคมไทย และความแตกตางระหวางสังคมไทยกับ สังคมนานาชาติ มีเจตคติที่ดีทั้งสังคมไทยและสังคมอื่น มีทักษะทางการสื่อสารและการ เรี ยนรู ด วยตนเองอยางมี ระบบจากแหล งความรู ที่ หลากหลายทั้ งในและนอกชั้ นเรี ยน สามารถบูรณาการความรูที่ ไดจากการศึกษาในหลักสูตรและจากการฝกงาน รวมทั้งมี ทักษะการใชภาษาเพื่อสรางสรรคและพัฒนาอาชีพ ตลอดจนเพื่อลดความขัดแยงระหวาง สังคมตางวัฒนธรรม หลักสูตรนี้มีจุดเดนคือ นักศึกษาจะไดไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยในประเทศ ไทยในภาคการศึกษาฤดูรอน รวม 2 ครั้ง เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาไดรูจักสังคมและ วัฒนธรรมไทย เห็นความสัมพันธระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 299

145x210mm_����������� �� 2560.indd 307

6/6/16 10:50 AM


4) สาขาวิชาวิเทศศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) มี 2 วิชาเอก - วิชาเอกวิเทศธุรกิจเกาหลี (International Business: Korea): IBK - วิชาเอกเกาหลีศึกษา (Korean Studies): KRS หลักสูตรวิเทศศึกษา วิชาเอกวิเทศธุรกิจ : เกาหลี (IBK) และวิชาเอก เกาหลีศึกษา (KRS) เปดรับนักศึกษารุนแรกตั้งแตปการศึกษา 2554 โดยใชภาษาอังกฤษ และภาษาเกาหลีเปนสื่อหลักในการเรียนการสอน หลักสูตรนี้มุงผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพ ดานภาษาควบคูไ ปกับความสามารถในการบริหาร อีกทัง้ มีความเขาใจสังคมและวัฒนธรรม เกาหลี มีทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพอยางมีจริยธรรม สาธารณรัฐเกาหลีเปน ประเทศหนึ่งในโลกที่มีความกาวหนาทางเทคโนโลยี และมีความสําคัญทางดานเศรษฐกิจ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บประเทศไทยและกลุ มประเทศอาเซี ย นอย างใกล ชิ ดในทุ ก ๆ ด า น การศึกษาหลักสูตรนี้จะชวยใหมีความรูความเขาใจในภาษาวัฒนธรรม และมีทักษะในการ ประกอบอาชีพในองคกรที่เกีย่ วของกับสาธารณรัฐเกาหลีไดอยางมีประสิทธิภาพ หลั กสู ตรนี้ มี จุ ดเด นคื อ นั กศึ ก ษาจะได ไ ปศึ กษา ณ มหาวิ ทยาลั ยใน สาธารณรัฐเกาหลีเกาหลี รวม 2 ครั้ง ในภาคการศึกษาฤดูรอน 5) สาขาวิชายุโรปศึกษา : อังกฤษ-ฝรั่งเศส (หลักสูตรนานาชาติ) European Studies: English-French (ERS) หลักสูตรยุโรปศึ กษา (ERS) เปดรับนักศึกษารุ นแรกตั้ งแต ปการศึ กษา 2558 โดยใชภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสเปนสื่อหลักในการเรียนการสอน เปนหลักสูตร แรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทยที่ มุ งเปาหมายการบูรณาการเนื้ อหาด านประวั ติศาสตร เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ ของกลุมประเทศยุโรป รวมกับการ พั ฒนาทั กษะความสามารถในการใชภาษาอั งกฤษและภาษาฝรั่ งเศส ซึ่ งเปนสองในหก ภาษาของสหประชาชาติและเปนสองภาษาสําคัญของสหภาพยุโรป โดยผูสมัครเขาเรียน ไมจําเปนตองมีพื้นความรูภ าษาฝรัง่ เศสมากอน

ระดับปริญญาโท

1. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจีนศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) Chinese Studies (International Program) หลั กสูตรศิ ลปศาสตรมหาบั ณฑิต สาขาวิ ชาจี นศึ กษา — M.A. (Chinese Studies) รับนักศึกษารุนแรกตั้ งแตปการศึกษา 2558 โดยใชภาษาอังกฤษและภาษาจีน เปนสื่อหลักในการเรียนการสอน แบงเปน 2 กลุมวิชาเลือก คือ กลุมจีนศึกษา เนนการ ศึกษาความรูดานเกี่ยวกับประเทศจีนในทุกมิติ เชน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร ปรัชญา

300 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 308

6/6/16 10:50 AM


ศาสนา สังคม การเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธระหวางประเทศ ฯลฯ และ กลุมวิเทศ ธุรกิจ : จีน เนนการศึกษาความรูดานธุรกิจระหวางประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีน อาทิ การตลาดสมัยใหม กลยุทธเพื่อความยั่งยืนทางธุรกิจ นโยบายและปญหาทางเศรษฐกิจ พฤติกรรมองคกร การบริหารทรัพยากรบุคคล โดยมีระยะเวลาการศึกษา 2 ปการศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาค 2 แบบ คือ 1) แบบเรียนที่ประเทศไทยตลอดหลักสูตร 4 ภาคการศึกษา ณ คณะวิเทศ ศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 2) แบบเรียนที่ ประเทศไทย 3 ภาคการศึ กษา และเรียนที่ ประเทศจี น 1 ภาคการศึ กษา ในปการศึกษาที่ 1 ภาคการศึ กษาที่ 2 ณ College of International Exchange, Shanghai University P.R. China ผูสมัครตองเปนผู สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเทาในสาขาทางดาน จีนศึกษา วิเทศธุรกิจ/ธุรกิจระหวางประเทศ (จีน) ภาษาจีน ภาษาจีนธุรกิจ หากสําเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาอื่นๆ ผูสมัครตองมีผลการสอบความรูภาษาจีน HSK ระดับ 5 ขึ้นไป

จุดเดนของคณะวิเทศศึกษา • •

ตัง้ อยูใ นจังหวัดภูเก็ตทีม่ บี รรยากาศของความเปนนานาชาติ คณะฯ จัดการเรียนการสอนรวมกับสถาบันขงจื๊อภูเก็ต และสถาบันระดับสูง ในตางประเทศ • ไดรับความชวยเหลือจากองคกรนานาชาติ เชน สถาบันขงจื๊อ สํานักงาน ความรวมมือระหวางประเทศแหงเกาหลี (KOICA) สมาคมฝรั่งเศส สมาคมชาวญี่ปุน ฯลฯ

นักศึกษาคณะวิเทศศึกษา สามารถ... • • • •

สําเร็จการศึกษาภายใน 3 ปครึ่ง สามารถเขาสูตลาดแรงงานไดเร็วขึ้น เขารวมโครงการแลกเปลีย่ นนักศึกษากับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ มีโอกาสไดรบั ทุนศึกษาจากแหลงทุนอันหลากหลายในตางประเทศ มีโครงการสนับสนุนคาใชจายในการศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 301

145x210mm_����������� �� 2560.indd 309

6/6/16 10:50 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

Phuket Community College

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 หมู 1 อําเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต 83120 โทรศัพท 0 7627 6401-4 โทรสาร 0 7627 6400 มือถือ 08-6476-7800 E-mail: pcc@phuket.psu.ac.th Homepage: http://www.pcc.psu.ac.th วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต เปนหนวยงาน ที่เทียบเทาคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยมีภารกิจหลักสําคัญคือ “การ ใหบริการทางวิชาการ” ทั้งประเภทใหเปลา (ฟรี) และการเก็บคาลงทะเบียนเพื่อกอให เกิดรายได เพื่อพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพบุคลากรภาครัฐ ธุรกิจ ประชาชน เยาวชน และนักเรียน ในพื้นที่เปาหมายของกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน (ภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง และตรัง) เนนดานการทองเที่ยวและการบริการ ดานการทองเที่ยวชุมชน ดาน การอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ดานสิ่งแวดลอม และดานการสราง องคความรูใหแกชุมชนเพื่ อสรางชุมชนใหเข็มแข็งอยางยั่งยืน และการวิจัยประเมินผล การดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) ในจังหวัดภูเก็ต

302 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 310

6/6/16 10:50 AM


ภารกิจของวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต

1. ศู นย ฝ กอบรมที่ มี มาตรฐานทางวิ ชาการและวิ ชาชี พและมี ชื่ อเสี ยง โดยให บริการแกทองถิ่นและสังคมตามความตองการของชุมชนกลุมจังหวัดภาคใตฝงอันดามัน ทั้งบุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป และเยาวชน 2. การจัดการองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชน โดยเสริ มสร างองค ความรู และภู มิ ป ญญาเพื่ อ สนั บสนุ น ความเข มแข็ งของชุ มชนด าน สิ่งแวดลอม ดานการทองเที่ยวและดานวัฒนธรรม ผานกระบวนการเรียนรู ของพหุ วัฒนธรรม รวมถึงสรางเครือขายการทํางานรวมกับชุมชนและสงเสริมการพัฒนาชุมชน อยางยัง่ ยืน 3. ดําเนินการวิจัยเพื่อประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการ ในดานคุณภาพการใหบริการประจําปใหกับหนวยงานขององคกรปกครองทองถิ่น ภายใน จังหวัดภูเก็ต

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 303

145x210mm_����������� �� 2560.indd 311

6/6/16 10:50 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

สถาบันขงจื๊อภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร Confucius Institute at Phuket, Prince of Songkla University

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80/1 ม.1 ถ.วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 โทรศัพท +66 (0) 7627 6616, +66 (0) 7627 6617 โทรสาร +66 (0) 7627 6263 Email: kzxypj@hanbanthai.org Homepage: http://cip-phuket.th.chinesecio.com สถาบันขงจื๊อภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Confucius Institute at Phuket, Prince of Songkla University) กอตั้งขึ้นภายใตความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ โดยไดรับการรับรองและสนับสนุน จากสํานักงานสงเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนนานาชาติ (The Office of Chinese Language Council International: HANBAN) ตั้งแตป พ.ศ. 2549

304 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 312

6/6/16 10:50 AM


สถาบันขงจื๊อภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมและ สนับสนุนการเรียนการสอนภาษาและวัฒนธรรมจีน การคนควาวิจัย และการประชาสั มพั นธเผยแพร วัฒนธรรมจี น ตลอดจนเพื่ อเปนการกระชั บสั มพันธไมตรี ระหว างไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีนใหแนนแฟนมากยิ่งขึน้

กิจกรรมและการดําเนินงานของสถาบัน

1. การจัดหลักสูตรอบรมภาษาจีน ระดับตน ระดับกลาง และระดับสูง สําหรับ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป โดยใชสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย 2. การจัดหลักสูตรอบรมภาษาจีนเฉพาะดาน อาทิ ภาษาจีนสําหรับครู สําหรับ มัคคุเทศก สําหรับนักธุรกิจ สําหรับผูเตรียมสอบวัดระดับความรูภาษาจีน (HSK) เปนตน 3. การจัดหลักสูตรอบรมดนตรีจนี และหลักสูตรดานวัฒนธรรม 4. การจัดนิทรรศการดานภาษาและวัฒนธรรมจีน 5. การจัดสอบวัดระดับความรูภาษาจีน (HSK Test) 6. การศึกษาวิจยั การเรียนการสอนภาษาและวัฒนธรรมจีน 7. การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใหกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 8. การจัดอบรมและสัมมนาทางวิชาการดานภาษาและวัฒนธรรมจีน 9. การผลิตและบริการสื่อ ตําราเรียนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมจีน 10. การใหบริการขอมูลเกี่ยวกับการเตรียมตัวศึกษา ณ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน 11. การบริการสอบถามและใหคําปรึกษาแกนกั เรียน นักศึกษา ที่ตอ งการไปศึกษา ณ ประเทศจีน 12. การสนั บสนุ นการจั ดกิ จกรรมและการแข งขั นเกี่ ยวกั บภาษาจี น ตลอดจน กิจกรรมอื่นๆ ที่เกีย่ วของ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 305

145x210mm_����������� �� 2560.indd 313

6/6/16 10:50 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตรระบบโลก และการจัดการภัยธรรมชาติอันดามัน Interdisciplinary Graduate School of Earth System Science and Andaman Natural Disaster Management (ESSAND)

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 80 ม.1 ถ.วิชิตสงคราม ต.กะทู อ.กะทู จ.ภูเก็ต 83120 โทรศัพท +66 (0) 7627 6432 โทรสาร +66 (0) 7627 6430 Email: info@essand.psu.ac.th Homepage: http://www.essand.psu.ac.th/ บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตรระบบโลกและการจัดการภัยธรรมชาติ อันดามัน (ESSAND) จัดตั้งขึ้นตามความคิดของ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ปรีดา วิบูลยสวัสดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ และประธานสภาวิทยาเขตภูเก็ต ซึ่งไดเล็งเห็นถึงความจําเปนและความสําคัญของการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการ

306 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 314

6/6/16 10:50 AM


ขึ้นเพื่อผลิตองคความรู เทคโนโลยี และบุคลากร ผานระบบบัณฑิตศึกษาและงานวิจัย เพื่อหาแนวทางปองกันและแกปญหาดานสิ่งแวดลอมและภัยธรรมชาติของประเทศและ ของโลก โดยจะใหความสําคัญในการขับเคลื่อนงานวิจัยที่ตอบสนองตอการพัฒนาพื้นที่ ในภูมิภาคอันดามันเปนพิเศษ ตอมา ESSAND ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดแตงตั้งให ผศ.ดร.ชินวัชร สุรสั วดี เปนผูอํานวยการ โครงการจัดตัง้ บัณฑิตวิทยาสหวิทยาการวิทยาศาสตรระบบโลกและการจัดการภัยธรรมชาติ อันดามัน ตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2557 โดยมีพิธีเปดสํานักงาน ESSAND อยางเปน ทางการเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2557 และตอมามหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดมีประกาศ จั ดตั้ งบัณฑิตวิ ทยาลั ยสหวิ ทยาการวิ ทยาศาสตรระบบโลกและการจั ดการภั ยธรรมชาติ อันดามัน ในวันที่ 31 ตุลาคม 2557

เปาหมาย

พัฒนางานวิจัย องคความรู และบุคลากรที่มีคุณภาพเปนเลิศ เพื่อแกไขปญหา ภัยธรรมชาติและสิง่ แวดลอมของประเทศและของโลก

วิสัยทัศน

เปนหนวยงานชั้นนําของเอเชียในการผลิตองคความรู งานวิจัย เทคโนโลยี และ บุคลากรทางดานวิทยาศาสตรระบบโลกและการจัดการภัยธรรมชาติ

พันธกิจ

• •

ผลิตผลงานทางวิชาการ ทีม่ คี ุณภาพเปนทีย่ อมรับทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ ผลิตบัณฑิตและนักวิจัยที่มีคุณภาพ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนที่ ยอมรับทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ • เปนทีพ ่ ึ่งทางวิชาการของสังคม

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 307

145x210mm_����������� �� 2560.indd 315

6/6/16 10:51 AM


หลักสูตรที่เปดสอน

ปรัชญามหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรระบบโลก (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Philosophy (M.Phil.) and Doctor of Philosophy (D.Phil.) in Earth System Science มุงผลิตมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถและทักษะการวิจัย ขั้ นสูงในดานวิ ทยาศาสตรระบบโลก ซึ่ งประกอบไปดวย การวิ จัยเชิงลึกในศาสตรดาน ธรณีศาสตร (Geosphere) อุทกศาสตร (Hydrosphere) ชีวภาค (Biosphere) และ วิทยาศาสตรบรรยากาศ (Atmosphere) ที่สามารถสรางองคความรูใหมและบูรณาการ องคความรูดวยเทคโนโลยี เพื่อใชในการปองกัน แกไขปญหาภัยธรรมชาติ และการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหมคี วามมัน่ คงและยัง่ ยืน

ทุนการศึกษา • • • •

ทุนการศึกษาของ ESSAND ทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทุนผูช วยวิจยั ทุนผูช วยสอน

308 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 316

6/6/16 10:51 AM


145x210mm_����������� �� 2560.indd 317

6/6/16 10:51 AM


การจัดการเรียนการสอน

เรียน 4 ป ที่ ICASP 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบวิศวกรรม 2. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร หรือ เรียน 2 ปที่ ICASP และเรียนตอป 3-4 ในตางประเทศ 1. มหาวิทยาลัยเรตากุ ประเทศญี่ปุน หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2. มหาวิทยาลัยฉางโจว ประเทศจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ 3. มหาวิทยาลัยเซีย่ งไฮ ประเทศจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรและการคาระหวาง ประเทศ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ 4. โครงการความรวมมือระหวาง ICASP กับคณะการบริการและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต และ International Hotel Management Institute (IMI) ประเทศสวิสเซอรแลนด โดยไดรับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จาก IMI และ Manchester Metropolitan University MMU) ประเทศอังกฤษ เลือกเรียนจาก 1 ใน 5 สาขาวิชาดังนี้ 4.1 การจัดการโรงแรมนานาชาติ 4.2 การจัดการโรงแรมและการทองเทีย่ วนานาชาติ 4.3 การจัดการโรงแรมและงานกิจกรรมนานาชาติ 4.4 การจัดการทองเทีย่ วและงานกิจกรรมนานาชาติ 4.5 การเปนผูประกอบการบริการนานาชาติ 5. North Dakota State University ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ในหลักสู ตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมศาสตร* 6. University of Queensland ประเทศออสเตรเลีย ในหลักสูตรวิทยาศาสตร บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ* 7. University of Wisconsin-Stout ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ในหลั กสู ตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา Professional Communication and Emerging Media * อยูระหวางการเทียบหลักสูตร

310 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 318

6/6/16 10:51 AM


จุดเดนของหลักสูตร

1. เราชวยเชื่อมเสนทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในตางประเทศ 2. เราเตรียมความพรอมใหนักศึกษาเพื่อการศึกษาตอและทํางานในบริบทของ เมืองนานาชาติและแหลงทองเทีย่ วระดับโลกเชน ภูเก็ต 3. เรามีรายวิชาทีห่ ลากหลายและไดรับการยอมรับจากสถาบันตางประเทศ 4. เราพัฒนาความสามารถและความเชื่อมั่นของนักศึกษาผาน Active learning การเรียนเปนภาษาอังกฤษ การทัศนศึกษาในตางประเทศ การฝกคิดวิเคราะห และการ คิดอยางสรางสรรค เพือ่ เพิ่มโอกาสการทํางานในระดับสากล 5. เราเปนชองทางการศึกษาในหลักสูตรอุดมศึกษาคุณภาพของสถาบันในตาง ประเทศทีค่ มุ คาและประหยัดกวาการศึกษาในตางประเทศตลอดหลักสูตร 6. เราใหเวลานักศึกษาคนหาความสนใจของตนกอนเลือกเรียนวิชาเฉพาะทาง 7. เราให คําแนะนํา และการสนั บสนุ นแก นั กศึ กษาด านโอกาสการศึ กษาต อใน ตางประเทศเปนรายบุคคล

เสนทางอาชีพและโอกาส

1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบวิศวกรรม มีทางเลือก อาชีพดังนี้ นักวิเคราะหและออกแบบระบบงานดานการจัดการโครงการ ทีป่ รึกษาโครงการ ผูจัดการโครงการ ผูวางแผน นักวิชาการ 2. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร มีทางเลือกอาชีพ ดังนี้ Copy Writer, Animator, Graphic Designer นักออกแบบผลิตภัณฑ นักออกแบบ โฆษณา เจาหนาที่ประชาสัมพันธ ผูบริหารงานลูกคาสัมพันธ นักหนังสือพิมพ นักขาว ผูประกาศขาว พิธีกร ผูผลิต/ผูกํากับรายการวิทยุและโทรทัศน ผูเขียนบท นักเขียน นักวิชาการ 3. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จาก 5 สาขาวิชา จากสถาบัน IMI และ MMU มีทางเลือกอาชีพดังนี้ ผูจัดการโรงแรม ผูจัดการการจัดงาน ผูจัดการการ ทองเที่ยว ที่ปรึกษาดานการจัดการโรงแรมและการทองเที่ยว ผูจัดการฝายอาหารและ เครือ่ งดื่ม เปนตน 4. หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต และหลักสูตรดานเศรษฐศาสตรและการคา ระหวางประเทศมีทางเลือกอาชีพดังนี้ ที่ปรึกษาดานธุรกิจ ธนาคาร บริษัทเอกชน สถาบันการลงทุน เจาของกิจการ นักวางแผนและผูบริหารระดับสูง เปนตน

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 311

145x210mm_����������� �� 2560.indd 319

6/6/16 10:51 AM


เรีÇย

ÇÔ·

คาธรรมเนียมการศึกษา

- คาธรรมเนียมแรกเขา 40,000 บาท - คาธรรมเนียมการศึกษาเหมาจาย ภาคการศึกษาปกติละ 85,000 บาท - ค าธรรมเนี ยมการศึกษาดู งานต างประเทศในภาคการศึ กษาที่ 3 (ชั้ นป ที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1) จํานวน 30,000 บาท

312 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 320

6/6/16 10:51 AM

������


เรีÇÔยÇÔ·นอะไรใน มอ ·ÂÒà¢μÊØ ÂÒà¢μÊØÃÃÒÉ®Ãì ÒÉ®Ãì2558 Ò¹Õ ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม ¸¸Ò¹Õ ÇÔ·ÂÒࢵÊØÃÒÉ®Ãì¸Ò¹Õ

322

ยาเขตสุรราษฎร ราษฎร าษฎรธธานี ธานี านี ยาเขตสุ วิวิทวิททยาเขตสุ SuratThani ThaniCampus Campus Surat Thani Campus Surat

ทีอ่ ยู ทีที่ออ่ ยูยู 

มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทรทรวิทวิทยาเขตสุ ยาเขตสุรราษฎร าษฎรธธานีานี มหาวิ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร ธานี ต.มะขามเตี้ย้ย อ.เมื อ.เมือองง จ.สุ จ.สุราษฎร ราษฎรธธานีานี 84000 84000 ต.มะขามเตี หมู  6 5040 ถนนสุราษฎรโทรสาร -นาสาร 0ตํา7735 บลมะขามเตี โทรศัพพทท 310 07735 7735 5041 ้ย โทรศั 5040 โทรสาร 0 7735 5041 าเภอเมื อง จังหวัดสุราษฎรธานี 84000 E-mail: อํsurat@psu.ac.th surat@psu.ac.th E-mail: โทรศั พท 0 7735 5040 โทรสาร 0 7735 5041 Homepage: http://www.surat.psu.ac.th Homepage: http://www.surat.psu.ac.th E-mail: surat@psu.ac.th Homepage:มหาวิ http://www.surat.psu.ac.th ทยาลั ย สงขลานคริ น ทร ได เริ่ มโครงการขยายการศึ กษามายั ง จั งหวั ด มหาวิ ทยาลั ย สงขลานคริ น ทร ได เริ่ มโครงการขยายการศึ กษามายั ง จั งหวั ด สุ ราษฎร ธานี ตั้ งแต ป 2533 โดยเริ่ มตั้ งแตการจั ดตั้ งคณะทํางานศึกษาความเป นไปได สุ ราษฎร ธานีทตยาลั ั้ งแตยปสงขลานคริ  2533 โดยเริทร่ มตั้ งไดแตเริก่ มารจั ดตั้ งคณะทํางานศึกกษามายั ษาความเป ไปได มหาวิ โครงการขยายการศึ ง จั างนจัหวั ดด ของโครงการ คณะทํางานเตรียนมความพร อมด านตางๆ ซึ่งจากการศึ กษาพบว งหวั ของโครงการ คณะทํ า งานเตรี ย มความพร อ มด า นต า งๆ ซึ ่ ง จากการศึ ก ษาพบว า จั ง หวั ด สุ ราษฎร ธานีธตานีั้ งมแตี ศักปยภาพด  2533 าโดยเริ ารจั ดตั้ งคณะทํ กษาความเป สุ ราษฎร นต างๆ่ มตัสู้ งงแตกเหมาะสมที ่ จะจั ดาตังานศึ ้ งสถานศึ กษาระดันบไปได สูงเพื่ อ สุ ราษฎรธานีมคณะทํ ี ศักยภาพด านตยามความพร งๆ สู ง อเหมาะสมที ่ จะจัซึ่งดจากการศึ ตั้ งสถานศึกกษาพบว ษาระดั บสูหวั งเพืด่ อ ของโครงการ มดงาคม นตางๆ รองรับการพัฒนาทัา้งงานเตรี ทางดานเศรษฐกิจและสั กอปรกั บจังหวัดสุราษฎรธาานีจังเองโดย บการพั ้งทางด านเศรษฐกิ งคม กอปรกั งหวัดสุกราษฎร สุรองรั ราษฎร ธานีมฒี ศพันาทั กอยภาพด านต างๆโดยเฉพาะอย สู ง จและสั เหมาะสมที ่ จะจั ดตับ้ งจัสถานศึ ษาระดัธบานี บสนุ สูเงองโดย ขาราชการ คา ประชาชน างยิ่งภาคเอกชน ไดใหความสนั นเพือย่ อาง ข า ราชการ พ อ ค า ประชาชน โดยเฉพาะอย า งยิ ง ่ ภาคเอกชน ได ใ ห ค วามสนั บ สนุ น อยาง รองรั ทางดานเศรษฐกิ จและสัรงาษฎร คม กอปรกั จังหวั ดสุราษฎร จริบงจัการพั ง จึฒ งทํนาทั าให้งโครงการจั ดตัง้ วิทยาเขตสุ ธานีมีกบารพั ฒนามาอย างตธานี อเนืเองโดย ่อง งจัง จึงพทํอาคใหาโครงการจั ง้ วิทยาเขตสุราาษฎร ธานีมีการพัฒไดนามาอย างตบอสนุ เนื่อนงอยาง ขจริ าราชการ ประชาชนดตัโดยเฉพาะอย งยิ่งภาคเอกชน ใหความสนั จริงจัง จึงทําใหโครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุราษฎรธานีมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง

¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í. 314 àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹ 290

��������������������2558.indd 320 321 145x210mm_����������� �� 2560.indd

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 313

11/3/14 10:52 7:42 AM PM 6/6/16


จุดเดนของวิทยาเขตสุราษฎรธานี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฏรธานี เปนสถาบันอุดมศึกษาชั้นนํา ของภาคใตตอนบน โดยไดกําหนดวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย เพื่อทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการและทํานุบํารุงวัฒนธรรม มุงเนนสรางความเปนเลิศในดานทรัพยากร ชีวภาพ เทคโนโลยีและการจัดการ โดยมีการวิจัยเปนพื้นฐาน ตลอดระยะเวลาที่ ผานมา วิ ทยาเขตสุราษฎรธานีมี ภารกิ จหลักในการสนั บสนุน และสงเสริมการวิจัยตางๆ อยางตอเนื่องตลอดมา ปจจุบันวิทยาเขตสุราษฏรธานีมี ผลงานวิจัยที่นาสนใจและโดดเดนมากมายที่ไดรับการยอมรับและตีพิมพในวารสารตางๆ มากมาย ทั้งวารสารในระดับชาติและระดับนานาชาติ ดวยความพรอมและศักยภาพดานตางๆ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต สุราษฎรธานี จึงมีความมุงมั่ นที่ กาวไปสู การเปนวิทยาเขตนานาชาติระดั บขนาดกลาง เปนศูนยกลางการศึกษาวิจัยและบริการวิชาการของภาคใตตอนบน เปนผูนําและมีความ เปนเลิศในสาขาวิชาที่บูรณาการศาสตรดานการจัดการเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม สําหรับ ทรัพยากรชีวภาพในพื้นที่ไดอยางยั่งยืน สรางสรรคบัณฑิตใหเปนปญญาชนที่สามารถใช ภาษาสากลและเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปนอยางดี อีกทั้งยังมีขุมพลังจากบุคลากรที่ มี ความสามารถและเสียสละ ซึ่งเปนแรงผลักดันใหองคกรกาวสูค วามเปนเลิศทางการศึกษา

การจัดการศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฏรธานี มีหนวยงานในการจัดการ ศึกษาดังนี้ 1. วิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี เปนหนวยงานที่จัดตั้ งขึ้ นเพื่อการจัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้ นที่ เปนความ ตองการของสังคม และจัดกิจกรรมบริการวิ ชาการการถ ายทอดองคความรู ถ ายทอด เทคโนโลยีสูชุมชน และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีกิจกรรมทางวิชาการหลายดาน เชน 1) การจั ดกิจกรรมบริ การวิ ชาการ เปนการสงเสริมและพั ฒนาศั กยภาพ องคกรชุมชน บุคลากรทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน เชน การพัฒนาบุคลากรทองถิ่น การพัฒนาบุคลากรทางดานการทองเที่ยว การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา 2) การถ ายทอดองค ความรู สูชุ มชน เป นการนําองคความรู จากการวิจั ย การเรี ยนการสอน และบริการวิ ชาการ เผยแพร ถายทอดใหแก ชุ มชนในรู ปของสื่ อ ตางๆ เชน วิดีทัศน นิทรรศการ สื่ออิเล็กทรอนิกส เปนตน

314 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 322

6/6/16 10:52 AM


3) การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยชุมชนมีนโยบายและเปาหมาย สงเสริมกิจกรรมทางดานศิลปและวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี ทองถิน่ 2. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีภารกิจหลักในดานการบริหารวิชาการทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อุตสาหกรรมในเชิงบูรณาการของทรัพยากรชีวภาพการเกษตร โดยเฉพาะยางพาราและ ปาล มน้ํามัน เพื่ อตอบสนองตอความตองการทางอุตสาหกรรมและสั งคม โดยบริ หาร ภายใตแนวทางของการพัฒนาที่ยั่งยืนครบวงจร ทั้งนี้ครอบคลุมองคความรูหลากหลาย ศาสตรทเี่ นนการบูรณาการทีใ่ ชในกระบวนการตางๆ ในวงจรของผลิตภัณฑ 3. คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ มีภารกิจหลักในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้ นฐานทางดานภาษาและ การสื่อสาร การจัดการธุรกิจ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ใหแกนักศึกษาทุกหลักสูตร ทุ กคณะ ที่ อยู ในวิ ทยาเขตสุ ราษฏร ธานีและเปนหน วยงานที่ มี พั นธกิจในการช วยเหลื อ แกไขปญหา และพัฒนาสังคมทองถิ่น 4. สํานักงานวิทยาเขตสุราษฎรธานี เปนหนวยงานทีมีหนาที่รับผิดชอบในการใหบริการสนับสนุน และรวมประสาน ภารกิจในการดําเนินงานดานตางๆ ขององคกร ประกอบดวย 1) กลุมงานสนับสนุนวิชาการ ไดแก กิจกรรมบริการการศึกษา กิจกรรม ทะเบียนและประเมินผล และกิจกรรมกิจการนักศึกษา 2) กลุมงานบริหารทั่วไป ไดแก กิจกรรมนโยบายและแผน กิจกรรมบริหาร ธุรการ กิจกรรมบริหารงบประมาณ และกิจกรรมอาคารสถานที่และสวัสดิการ 3) กลุ มงานบรรณสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก กิจกรรมหองสมุด กิจกรรมบริการคอมพิวเตอรและปฏิบัติการทางภาษา และกิจกรรมเทคโนโลยีทางการ ศึกษา 4) ศูนยปฏิบัติ การวิทยาศาสตรและเครื่ องมือกลาง เปนหนวยงานกลางที่ สนับสนุนการเรียนการสอนดานการปฏิบัติการวิทยาศาสตรใหแก คณะตางๆ สนับสนุน การวิจัยของบุคลากร และการบริการวิชาการทั้ งจากหน วยงานภายในและหน วยงาน ภายนอก

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 315

145x210mm_����������� �� 2560.indd 323

6/6/16 10:52 AM


เรียÇÔนอะไรใน ·ÂÒà¢μÊØÃมอ ÒÉ®Ãì2558 ¸Ò¹Õ ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม ÂÒࢵÊØÃÃÒÉ®Ãì ÒÉ®Ãì¸¸Ò¹Õ Ò¹Õ ÇÔÇÔ··ÂÒà¢μÊØ

325

คณะวิทททยาศาสตร ยาศาสตรแแและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยีอออุตุตุตสาหกรรม สาหกรรม คณะวิ ยาศาสตร ละเทคโนโลยี สาหกรรม คณะวิ Faculty ofofof Sciences Sciences and and Industrial IndustrialTechnology Technology Faculty Sciences and Industrial Technology Faculty

ทีอ่ ยู ทีทีอ่ ่อยูยู 

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร วิทยาเขตสุ ราษฎรธานี คณะวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000 ต.มะขามเตี อ.เมือง จ.สุ ราษฎร ธานี 84000 มหาวิทยาลั้ยยสงขลานคริ นทร วิทยาเขตสุ ราษฎรธานี โทรศัพท 0 7735 5040 ตอ 8876-8878, 0 7735 5453 โทรศัพท 0 31 7735หมู5040 ตอ 8876-8878, 0 7735ตํา5453  6 ถนนสุ ราษฎร-นาสาร บลมะขามเตี้ย โทรสาร 0 77735 5453 Homepage: อําhttp://scit.surat.psu.ac.th/ เภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี Homepage: http://scit.surat.psu.ac.th/ คโทรศั าธรรมเนี ษา มีตคอาใช8876-8878, จายประมาณ 18,0005453, บาท/ภาคการศึ พท ย0มการศึ 7735ก5040 0 7735 0 7735 0554กษา คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 15,000 บาท/ภาคการศึกษา โทรสาร 0 77735 5453 ทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เปดสอน 9 สาขาวิชา ไดแก E-mail:คณะวิsurat@psu.ac.th คณะวิ ทสูยาศาสตร และเทคโนโลยี ุตสาหกรรม เปดชสอน 9 สาขาวิ ชา ไดแก 1. หลั ตรวิทยาศาสตรบั ณฑิต อ(วท.บ.) สาขาวิ าเทคโนโลยี อาหาร Homepage: กhttp://www.surat.psu.ac.th 1. B.Sc. หลัก(Food สูตรวิทTechnology) ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร B.Sc. (Food รายละเอี ยดหลัแTechnology) กละเทคโนโลยี สูตร คณะวิ ทยาศาสตร อุตสาหกรรม เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร รายละเอี ย ดหลั ก สู ต ร ผลิ ต บัในณ6ฑิ ตสาขา ที่ มี คได วามรู บัณฑิต (วท.บ.) แก  ความสามารถทางวิ ช าการด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที ่ ม ี ค วามรู  ความสามารถทางวิ าการด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีอาหาร โดยเนนการสรางมาตรฐานการจั ดการคุณชภาพและความปลอดภั ยของ เทคโนโลยีอาหาร ดการคุ ณภาพและความปลอดภั ยของ อาหารตลอดห วงโซอโดยเน าหารนการสร ตั้ งแตกางมาตรฐานการจั ารผลิต การแปรรู ป การเก็ บรักษา การขนสงและ อาหารตลอดห ตั้ งปแตไขมั การผลิ ต ําการแปรรู การเก็บรักเษา การขนส การกระจายสิ นควางโซ เนอนาหาร การแปรรู นและน้ มัน รวมทัป้งผลพลอยได ปนผลิ ตภัณฑงทและ ี่มี การกระจายสิ น ค า เน น การแปรรู ป ไขมั น และน้ า ํ มั น รวมทั ง ้ ผลพลอยได เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ คุณคาทางเศรษฐกิจ และเนนดานเทคโนโลยีอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑและยืดอายุที่มี

316 ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í. 294 àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 317

��������������������2558.indd 323

11/3/14 7:42 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 324

6/6/16 10:52 AM


25 การเก็บของอาหาร เปนบัณฑิตที่มีทักษะในการคิดวิเคราะห แกไขปญหา มีทักษะพื้นฐาน ในการวิจยั ตอยอดองคความรู มีสมรรถนะสากล มีคณ ุ ธรรมและจรรยาบรรณ ตลาดแรงงาน • ภาคเอกชน: เจาหนาที่ ฝายผลิต ฝายตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ เจาหนาทีง่ านระบบประกันคุณภาพ เปนตน • ภาคราชการ: เจาหนาที่ นักวิจัย นักวิชาการ อาจารยในหนวยงาน ราชการที่เกี่ยวของ เชน มหาวิทยาลัยตางๆ สถาบันวิจัย สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนตน คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท

2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการเกษตร B.Sc. (Agricultural Science and Technology) รายละเอียดของหลักสูตร มุงเนนผลิตบัณฑิตที่มีความรูทางดานเทคโนโลยีการผลิตพืช สัตวบก สัตวน้ํา และเทคโนโลยีจุ ลินทรี ย ประยุ กต ทางการเกษตรที่ สามารถประกอบอาชีพในหน วยงาน ราชการ เอกชน และดําเนินธุรกิจของตนเอง โดยอาศัยความรูพื้นฐานทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสมัยใหม เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการ รวมกับ การมีทั กษะการสื่ อสาร มี ความรู คู คุณธรรม สามารถบู รณาการความรู ที่ ได เรี ยนมาใช ประโยชนเพื่อเพิ่มผลผลิตและการสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลผลิตจากทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งประเภทพืช สัตว สัตวน้ํา นําไปสูการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑในระดับอุตสาหกรรม แบงออกเปน 5 วิชาเอก ดังนี้ • วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตทางชีวภาพทัว่ ไป • วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตพืช • วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตสัตว • วิชาเอกเทคโนโลยีการผลิตทางน้ํา • วิชาเอกเทคโนโลยีจุลน ิ ทรีย ตลาดแรงงาน • นั ก วิ ชาการทางด า นเทคโนโลยี ชี วภาพ นั กวิ ชาการเกษตรสาขาพื ช นักวิชาการเกษตรสาขาประมง เจาหนาที่ประจําหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 317

7:42 PM 145x210mm_����������� �� 2560.indd 325

6/6/16 10:52 AM


นักวิชาการประจําโรงงานผลิ ตอาหารสัตวและสั ตว น้ํา เจาหนาที่ ฝาย ผลิตประจําโรงงานแปรรูปอาหารทะเล เจาหนาที่ประจําหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร • ประกอบธุรกิจสวนตัว คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท •

3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ อุตสาหกรรม B.Sc. (Industrial Management Technology) รายละเอียดหลักสูตร เป นหลั กสู ตรของศาสตร เชิ งบู รณาการที่ เน นการสร างบั ณฑิ ตให เป นผู ที่ มี ความรูและทักษะครอบคลุมอุตสาหกรรมทั้งระบบ มีความรู ดานการจัดการ เปนผูที่ มองเห็นภาพรวมของระบบอุตสาหกรรม สามารถแกปญหาและประเมินผลกระทบทุก ดานในภาพรวมได บัณฑิตมีทักษะดานการเลือกใชเทคโนโลยีสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ในโลกยุคใหมที่มีการเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว รวมถึง มีความสอดคลองกับเกณฑขอกําหนดทางวิชาชีพที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ยังเนนใหบัณฑิต ประยุกตความรูคูคุณธรรม มีสมรรถนะสากล สามารถบูรณาการความรูที่ไดเรียนมาใช ประโยชนเพื่ อตอบสนองตอการพัฒนาประเทศ หลักสูตรนี้ จึงเป นหลั กสู ตรที่ เนนการ ผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรู พื้นฐานดานวิทยาศาสตรและมีความรู และมีทักษะดานการ จัดการและเทคโนโลยี พรอมที่จะประยุกตใชความรู ทางวิชาชี พในการทํางานและสราง สรรคงานในภาคอุตสาหกรรม มีความสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งอยูบ นพื้นฐานที่สามารถแขงขันในระดับตางๆ ได ตลาดแรงงาน • เจาหนาที่ ฝายตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม เชน ฝายควบคุมคุณภาพ ในการผลิ ต ฝายผลิ ตสินคา ฝายจัดการวัสดุ ฝายตรวจสอบและประกันคุณภาพ ฝาย นโยบายและแผนงาน ฝายบุคคล ฝายคลังสินคา ฝายจัดซื้อ ฝายฝกอบรม • เจ าหน าที่ ในหน วยงานภาครั ฐ เช น นั กวิ ทยาศาสตร นั กวิ ชาการ อุตสาหกรรม • ผูประกอบการธุรกิจสวนตัวและอาชีพอิสระ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท

318 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 326

6/6/16 10:53 AM


4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท. บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ สิ่งแวดลอม B.Sc. (Environmental Management Technology) รายละเอียดหลักสูตร เนนการสรางบัณฑิตใหเปนผู ที่มีความรูและทักษะครอบคลุมดานเทคโนโลยี สิ่งแวดลอมและดานการจัดการสิ่งแวดลอมทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ โดยการ จั ดการการใช ทรั พยากรธรรมชาติ ให เกิ ดประโยชน สูงสุ ดและลดมลพิ ษที่ สงผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม บัณฑิตมีทักษะดานการเลือกใชเทคโนโลยีสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ในโลกยุคใหมที่มีการเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว รวมถึง มีความสอดคลองกับเกณฑขอกําหนดทางวิชาชีพที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ยังเนนใหบัณฑิต ประยุกตความรูคูคุณธรรม มีสมรรถนะสากล สามารถบูรณาการความรูที่ไดเรียนมาใช ประโยชนเพื่อตอบสนองตอการพัฒนาประเทศ ตลาดแรงงาน • เจาหนาที่ฝายตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม เชน ฝายตรวจสอบระบบ การจัดการสิ่งแวดลอม ฝายควบคุมระบบบําบัดมลพิษ ผูควบคุมหองปฏิบัติการ ฝาย ฝกอบรม ฝายจัดซื้อ • เจาหนาที่ในหนวยงานภาครัฐ ไดแก หนวยงานในสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เทศบาล องคการบริหารสวนทองถิ่น กรมควบคุม มลพิษ เชน นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม นักวิชาการสิ่งแวดลอม เจาหนาที่สิ่งแวดลอม • ผูประกอบการธุรกิจสวนตัวและอาชีพอิสระ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท 5. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท. บ.) สาขาวิชาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย B.Sc. (Occupational Health and Safety) รายละเอียดหลักสูตร เนนการสรางบัณฑิตใหเปนผูที่มีความรูและทักษะทางดานเทคโนโลยี การ จัดการอุ ตสาหกรรม ควบคู กั บงานทางดานอาชี วอนามั ยและความปลอดภั ยได อย างมี ประสิทธิ ภาพ บัณฑิ ตจะเปนผู ที่ มองเห็ นภาพรวมของระบบอุตสาหกรรม สามารถ แกปญหาดานอาชี วอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางานอยาง àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 319

145x210mm_����������� �� 2560.indd 327

6/6/16 10:53 AM


องครวม นอกจากนี้ยังเนนใหบัณฑิตเปนผูมีความรูคูคุณธรรม ยึดมั่นจรรยาบรรณของ วิชาชีพ มีจิตสาธารณะ ใหบริการวิชาการแกสังคม เพื่ อใหงานอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยไดมาตรฐานสากล ตลาดแรงงาน • เจ า หน าที่ ความปลอดภั ยในการทํางาน (จป.) ตามประกาศกระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคมเรือ่ งความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง • เจาหนาที่ฝายบริหารจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพ แวดลอมในการทํางาน • เจาหน าที่ ในหน วยงานภาครัฐ รัฐวิ สาหกิจ และเอกชน ไดแก ผู ตรวจ แรงงาน นักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เจาหนาที่วเิ คราะหสภาพแวดลอมในโรงงาน • ผูประกอบการธุรกิจสวนตัวและอาชีพอิสระ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท

6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ยางพารา B.Sc. (Rubber Industry Technology) รายละเอียดหลักสูตร ผลิ ตบั ณฑิ ตที่ มี ความรู ท างด านเทคโนโลยี ในอุ ตสาหกรรมยางพารา การ ควบคุ มคุ ณภาพและการจัดการการผลิตยางและไมยางพารา รวมทั้ งการจั ดการธุ รกิจ และมี ความสามารถทางภาษา มีการเรี ยนการสอนแบบสหกิ จศึ กษา รู จักใชภู มิปญญา ทองถิ่น สามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกได แบงเปน 2 กลุมวิชา • กลุม  วิชายอยอุตสาหกรรมยางและผลิตภัณฑ • กลุม  วิชายอยอุตสาหกรรมไมยางพาราและผลิตภัณฑ ตลาดแรงงาน • บริษัทและโรงงานอุตสาหกรรมยางพาราและผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ เชน อุตสาหกรรมยางรถยนต และชิ้นสวนอะไหลยางตางๆ ถุงมือ ถุงยางอนามัย รองเทา และอุปกรณกีฬา เชน ลูกฟุตบอล วอลเลยบอล เทนนิส และอุตสาหกรรมยางอื่นๆ • บริษัททีเ่ กี่ยวของกับอุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑไมทั่วประเทศ อุตสาหกรรมแผนไมประกอบ อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร ของเลนเด็ก กาว สารเคมีรักษาเนื้อไม สีและสารเคลือบผิวไม เปนตน

320 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 328

6/6/16 10:53 AM


หนวยงานราชการ เชน นักวิชาการ อาจารย นักวิจัย คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท •

7. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ B.Sc. (Information Technology) รายละเอียดหลักสูตร เนนความรูด านเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชคอมพิวเตอรเพือ่ การจัดการขอมูล ขาวสาร และสารสนเทศ เช น การเขียนโปรแกรม การใชโปรแกรมสําเร็จรู ปเพื่ อการ รวบรวม จัดเก็บ และการนําเสนอขอมูลการประยุกตใชคอมพิวเตอรในการทํางาน เปนตน รวมทั้งความรูทางคอมพิวเตอรรวมสมัย เชน คอมพิวเตอรแอนนิเมชั่น คอมพิวเตอร กราฟกส เปนตน ตลาดแรงงาน • โปรแกรมเมอร เว็บมาสเตอร นักวิเ คราะหระบบสารสนเทศ Database Administrator ทัง้ ในภาครัฐและเอกชน • ผูประกอบการธุรกิจสารสนเทศ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท 8. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีเพื่ออุตสาหกรรม B.Sc. (Chemistry for Industry) รายละเอียดหลักสูตร เปนหลักสูตรที่มงุ เนนผลิตบัณฑิตใหมีความรูแ ละทักษะทางเคมีรวมถึงวิชาการ ที่ จําเปนต อการประกอบอาชีพในภาคอุ ตสาหกรรมต างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมดาน อาหารไขมัน น้ํามัน ความงาม และความผาสุก และใหเปนผูยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอสังคม รวมทัง้ สมรรถนะเชิงสากล แบงเปน 3 กลุมวิชา ไดแก • กลุม  วิชาเคมีเพือ่ อุตสาหกรรมอาหาร • กลุม  วิชาเคมีเพือ่ อุตสาหกรรมไขมันและน้ํามัน • กลุม  วิชาเคมีเพือ่ อุตสาหกรรมความงามและความผาสุก

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 321

145x210mm_����������� �� 2560.indd 329

6/6/16 10:53 AM


ตลาดแรงงาน • นักเคมีวเิ คราะหทป ี่ ฏิบตั งิ านดานวิเคราะหทางเคมีในหองปฏิบตั ิการ • นักวิจัยและพัฒนา (R&D) ของโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ • นักวิทยาศาสตร • เจาหนาทีค ่ วบคุมคุณภาพทางเคมี • หนวยงานราชการ เชน อาจารย สถาบันวิจัยทางเคมี นักวิชาการ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท 9. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) สาขาวิชาการจัดการงาน วิศวกรรม B.Eng. (Engineering Management) รายละเอียดหลักสูตร มุงผลิตวิศวกรดานการบริหาร จัดการ ใหเปนผูมีความรูและมีทักษะ รวมถึง ทั้งมีศักยภาพเพียงพอในการบริหารจัดการองคกรที่ตนเองสังกัดอยู บนพี้นฐานความรู ทางดานงานวิศวกรรมและเทคโนโลยี โดยสามารถออกแบบ วางแผน และบริหารจัดการ หน ว ยงานหรื อส ว นงานต า งๆ ขององค ก รอุ ต สาหกรรมได อย า งมี ประสิ ท ธิ ภาพและ ประสิทธิผล สามารถแกปญหาไดอยางเปนระบบ เพื่อการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมใน ประเทศและกาวสูความเปนสากล ควบคูไปกับการพัฒนาดานคุณธรรมและจริยธรรม ตลาดแรงงาน • โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เชน โรงงานผลิตน้ํามันปาลม โรงงาน แปรรูปไมยางพารา โรงงานผลิตผลิตภัณฑจากน้ํายาพารา โรงงานแปรรูปอาหารทะเล โรงงานผลิตบรรจุภณ ั ฑ โรงงานผลิตชิน้ สวน โรงงานอิเล็กทรอนิกส โรงงานผลิตปูนซีเมนต รวมไปถึงบริษัทขนสงสินคา เปนตน • หนวยงานรัฐวิสาหกิจตางๆ ได เชน การไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟาฝาย ผลิต การประปา เปนตน • หนวยงานราชการที่อ าจมีความตองการวิศวกรการจัดการงานวิศวกรรม เพื่อใหทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานอุตสาหกรรม เชน การใชเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณการผลิตตางๆ เปนตน คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 18,000 บาท/ภาคการศึกษา

322 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 330

6/6/16 10:53 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÊØÃÒÉ®Ãì¸Ò¹Õ

คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ

Faculty of Liberal Arts and Management Sciences

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000 โทรศัพท 0 7735 5040 ตอ 2003-2005 โทรสาร 0 7735 5448 Homepage: http://www.lams.surat.psu.ac.th คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ เปดสอนปริญญาตรี 7 หลักสูตร คือ - หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) 3 หลักสูตร - หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) - หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) - หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) - หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) 1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาภาษา การสื่อสารและธุรกิจ B.A. (Languages, Communication and Business) มีความรูความสามารถในการใชภาษาตางประเทศซึ่งเปนองคประกอบสําคัญ ที่ ทําใหการสื่ อสารทางธุ รกิ จ โดยเฉพาะดานการค าระหวางประเทศและการท องเที่ ยว àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 323

145x210mm_����������� �� 2560.indd 331

6/6/16 10:53 AM


ประสบความสําเร็จ มีความรูความสามารถในการดําเนินธุรกิจ มีทักษะในการใชเทคโนโลยี เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการทํางาน แบงเปน 2 กลุมวิชา ไดแก 1. กลุม วิชาการจัดการทองเทีย่ ว 2. กลุม วิชาธุรกิจระหวางประเทศ ตลาดแรงงาน 1. นักประชาสัมพันธ 2. พิธีกร ผูประกาศขาวตางประเทศ 3. เลขานุการ 4. ลาม 5. มัคคุเทศก 6. พนักงานตอนรับของสายการบิน 7. อุตสาหกรรมบริการ 8. ประกอบธุรกิจสวนตัว คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 16,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) สาขาวิชาพัฒนาธุรกิจ B.B.A. (Business Development) ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการประยุกตใชความรูทางการจัดการ และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาธุรกิจ มีทักษะในการวิเคราะห วิจัย สามารถประยุกตใช เครื่องมือทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการ การตัดสินใจ และ การเพิม่ ผลิตภาพ รวมทั้งมีประสิทธิภาพในการสื่อสารเพื่อการจัดการ แบงเปน 3 กลุมวิชา ไดแก 1. กลุมวิชาการจัดการ 2. กลุมวิชาธุรกิจเกษตร 3. กลุม วิชาธุรกิจระหวางประเทศ ตลาดแรงงาน บัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาพัฒนาธุรกิจ สามารถประกอบธุรกิจ สวนตัวและปฏิบัติงานในหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนในสายงานตางๆ อาทิเชน

324 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 332

6/6/16 10:53 AM


1. การตลาดและการขาย 2. การเงินการธนาคารและการวิเคราะหสนิ เชือ่ ธุรกิจ 3. การลงทุนและการบริหารความเสีย่ ง 4. การวิเคราะหโครงการและการวิจัยธุรกิจ 5. การนําเขาสงออกและการคาระหวางประเทศ 6. การบัญชรและภาษีอากร 7. การบริหารทรัพยากรมนุษย 8. การพัฒนาองคกรและการวางแผนกลยุทธ 9. การขนสงโลจิสติกส และคลังสินคา คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 16,000 บาท/ภาคการศึกษา 3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ B.B.A. (Information Technology Business) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ มุ งเนนผลิตบัณฑิตที่ มีความรู ทักษะ และความสามารถทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และดานการจัดการ บัณฑิตสามารถบูรณาการความรูทางบริหารธุรกิจ การประยุกตใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดเปนนวัตกรรมของธุรกิจไดมีความสามารถสรางสรรคใช สารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน ตลอดจนคํานึงถึงคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาชี พ พั ฒนาและปรับตัวเองใหทั นต อการเปลี่ ยนแปลงเศรษฐกิจและ สังคมไดเปนอยางดี แบงเปน 3 กลุมวิชา 1. กลุม วิชาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 2. กลุมวิชาระบบสารสนเทศเพือ่ ธุรกิจ 3. กลุม วิชาธุรกิจสารสนเทศ ตลาดแรงงาน 1. ประกอบธุรกิจดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 2. การประกอบอาชีพดานธุรกิจกราฟฟกและมัลติมีเดีย 3. การประกอบอาชัพดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก นักวิเคราะหและ ออกแบบระบบสารสนเทศ นักพั ฒนาซอฟแวร ผู จั ดการโครงการระบบสารสนเทศ นักวิชาการระบบสารสนเทศ นักวิชาชีพในสถานประกอบการที่ มีการใชเทคโนโลยีสาร สนเทศ เปนตน àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 325

145x210mm_����������� �� 2560.indd 333

6/6/16 10:53 AM


คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 16,000 บาท/ภาคการศึกษา 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการ ทองเที่ยว B.B.A. (Tourism Business Management and Tourism Logistics) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ทักษะ และความสามารถทางดานการจัดการทีเ่ กี่ยวกับ ธุรกิจการทองเที่ ยว รวมทั้ งความสามารถดานภาษาอังกฤษ ทักษะทางดานการวิจัย เพือ่ สรางสมรรถนะทางการแขงขันในระดับภูมภิ าคและระดับโลก แบงเปน 3 กลุมวิชา ไดแก 1. กลุม วิชาการจัดการโลจิสติกสเพือ่ การทองเทีย่ ว 2. กลุม วิชาการโรงแรม 3. กลุม วิชาธุรกิจการทองเทีย่ ว ตลาดแรงงาน 1. บริษัทนําเที่ยว การทํางานในแผนการตลาด การบัญชี การวางแผนการ นําเทีย่ วในธุรกิจนําเทีย่ วและธุรกิจที่เกีย่ วเนือ่ ง 2. งานสํานักงานหรือปฏิบัติการในโรงแรม ไดแก แผนกสวนหนา แมบาน หองอาหาร ธุรกิจสปา 3. นักวางแผนการเดินทาง ธุรกิจขนสง 4. หนวยงานราชการ เชน นักวิเคราะห นักวิจัย นักวิชาการ อาจารย สํานักงานพัฒนาการทองเทีย่ ว คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 21,000 บาท/ภาคการศึกษา 5. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ B.Econ. (Business Economics) มีความสามารถในการวิเคราะหธุรกิจ มีวิสัยทัศน สามารถนําวิทยาการและ เทคโนโลยีไปประยุกตใชในการบริหารจัดการธุรกิจ พัฒนาและปรับตัวเองใหทันตอการ เปลีย่ นแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม ตลาดแรงงาน 1. นักวิจยั คนควาทางดานเศรษฐศาสตรและการบริหาร

326 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 334

6/6/16 10:54 AM


2. ธนาคาร/สถาบันการเงิน เชน Business Analyst, Business Executive, Business Coordinator, Economic Reporter, Financial Analyst, Credit Analyst 3. องคกรภาครัฐที่เกี่ยวของดานเศรษฐกิจ เชน กระทรวงพาณิชย กระทรวง การคลัง กระทรวงการตางประเทศ ธนาคารแหงประเทศไทย 4. องคกรภาคเอกชนทีเ่ กีย่ วของดานเศรษฐกิจ 5. ผูประกอบการธุรกิจ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 16,000 บาท/ภาคการศึกษา 6. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจ และวิสาหกิจ B.P.A. (Public and Enterprise Management) ผลิตบัณฑิตที่ มีความรู ทางเศรษฐศาสตรและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตสํานึกสาธารณะ มีความคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ มีภาวะผูนํา หมั่นแสวงหา ความรูดวยตนเอง มีคุณธรรมและจริยธรรม และสามารถใชความรู และเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตรเพื่อการบริหารจัดการทางธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยาง ยัง่ ยืน ตลาดแรงงาน 1. นักปกครอง 2. เจาหนาทีว่ ิเคราะหนโยบายและแผน 3. บุคลากร ฝายบุคคล, บริหารงานบุคคล 4. พนักงานรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอืน่ ๆทีต่ อ งใชบคุ คลทีม่ ที ักษะความสามารถในดานนี้ คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 16,000 บาท/ภาคการศึกษา 7. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) Bachelor of Accountancy (B. Acc.) เปนหลักสูตรทวิ ภาษาที่ มุงเน นใหบัณฑิตมี ความรอบรูและทักษะทางวิชาชีพ สามารถวิเคราะห สังเคราะห บูรณาการและประยุกตองคความรูทางการบัญชีและ ประสบการณในวิชาชีพไปปฏิบัติงานทั้งในหนวยงานภาคเอกชน ภาครัฐ และการประกอบ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 327

145x210mm_����������� �� 2560.indd 335

6/6/16 10:54 AM


วิชาชีพอิสระ จัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ รอยละ 50 ของรายวิชาในหลักสูตร ไดแก รายวิชาแกน 5 วิชา วิชาชีพบังคับทางการบัญชีเพื่อขึ้นทะเบียนเปนผูทําบัญชีทุก วิชา 11 วิชา และวิชาชีพเลือกทางการบัญชี 5 วิชา ตลาดแรงงาน 1. นักบัญชีในภาคเอกชน 2. นักบัญชีในภาครัฐ 3. ประกอบอาชี พอิสระ เช น รับทําบัญชี ผู สอบบั ญชี รับอนุ ญาต ผู สอบ บัญชีภาษีอากร เปนตน คาธรรมเนียมการศึกษา มีคาใชจายประมาณ 32,000 บาท/ภาคการศึกษา

328 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 336

6/6/16 10:54 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μμÃѧ

คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ

Faculty of Commerce & Management

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 โทรศัพท 0 7520 1712 โทรสาร 0 7520 1709 Homepage: http://www.trang.psu.ac.th/ คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ เปดสอนนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ดังนี้ 1) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร 2) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 3) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความ เสีย่ ง 4) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 5) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว 6) หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี 7) หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี 8) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจ 9) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 10) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดงและการจัดการ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 329

145x210mm_����������� �� 2560.indd 337

6/6/16 10:54 AM


รายละเอียดของหลักสูตร 1) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร ชือ่ ปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร) ผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม มีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ มีความรู ดานหลักการและโครงสรางของศาสตรทางธุรกิจ มีความเขาใจดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร มีทักษะในการจัดการสารสนเทศทั้ งทางดานทฤษฎี และปฏิบัติ มีความ สามารถในดานการใชภาษาตางประเทศเพื่อการติดตอสื่อสารทางธุรกิจ และพรอมนํา ความรูออกไปรับใชสังคมอยางมีประสิทธิภาพ อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ นักเขียนโปรแกรม หรือผูพัฒนาซอฟตแวร นักพัฒนาออกแบบและดูแลเว็บไซต ผู ดู แลระบบเครือข ายและเครื่ องแมข าย นั กวิชาชีพในสถานประกอบการที่ มีการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ นักวิเคราะหและออกแบบระบบงานธุรกิจ ผูจัดการโครงการสาร สนเทศ 2) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ชือ่ ปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส) ผลิตบั ณฑิ ตให มีความรู ความเข าใจดานพาณิ ชยอิ เล็ กทรอนิกส และเทคโนโลยี สารสนเทศ ควบคูความรูดานหลักการและโครงสรางของศาสตรทางธุรกิจ สามารถนํา พาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาประยุกตใชกับระบบงานธุรกิจ พรอมความสามารถในดานการ ใชภาษาตางประเทศเพื่อการติดตอสื่อสารทางธุรกิจ มีจริยธรรมและคุณธรรมที่ดีงาม พรอมนําความรูออกไปรับใชสงั คมอยางมีประสิทธิภาพ อาชี พและความกาวหนาในวิชาชีพ ผูประกอบการธุรกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce Business Owner) นักพัฒนาโปรแกรมทางเว็บไซต (Web Programmer) นักออกแบบพัฒนา และดูแลเว็บไซต (Web Designer and Web Master) นักวิเคราะหระบบธุรกิจ (Business Analyst) นักการตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Commerce Marketer) ผูบริหารการขายออนไลน (Online Store Executive) นักวิชาชีพในสถานประกอบการ ทีม่ ีการใชงานธุรกิจพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส

330 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 338

6/6/16 10:54 AM


3) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความ เสี่ ยง ชือ่ ปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต (การประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง) ผลิ ตบั ณ ฑิ ตให มี ความรู ความสามารถทั้ ง ทางทฤษฎี และการประยุ ก ต ใช ห ลั ก วิชาการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยงรวมถึงมีคุณธรรมจริยธรรมและเจตคติที่ดี ตอวิชาชีพในการบริหารจัดการและพัฒนาธุรกิจประกันภัย เพื่อตอบสนองความตองการ ของตลาดแรงงานที่ยังขาดแคลนบุคลากรทางดานการประกันภัยและการจัดการความ เสีย่ งซีง่ มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตทางธุรกิจประกันภัยของประเทศไทยทัง้ ในปจจุบนั และอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ อาชี พและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง สามารถทํางานในฝาย คณิตศาสตรประกันภัย ฝายงานที่เกี่ยวของกับการจัดการความเสี่ยง และฝายงานอื่นๆ ในบริษัทประกันภัย รวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของกับการประกันภัย เชน สํานักงานคณะ กรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สํานักงานอัตราเบี้ย ประกันวินาศภัย (IPRB) สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัย สํานักงาน ประกันสังคม ธนาคาร สถาบันการเงิน หนวยงานทางการแพทย รวมถึงหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน อีกทั้งยังสามารถประกอบธุรกิจสวนตัวดานการประกันภัยไดอีก ดวย 4) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ชือ่ ปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) ผลิตบัณฑิตใหมีความรูทางดานกระบวนการคิด สรางทักษะในการวิเคราะหทาง การตลาด รวมถึงการนําเอาแนวคิดมาใชปฏิบัติในโลกการตลาดที่เปนจริงได ใหบัณฑิต เปนนักการตลาดในยุคโลกาภิ วัฒนที่ สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่ อสารและ ทักษะทางภาษาตางประเทศมาประยุกตใชโดยมีความมุ งหมายที่ จะตอบสนองกั บความ ตองการทีไ่ มหยุดนิง่ ของประชาคมยุคเสรีซงึ่ มีความแตกตางกันทัง้ ทางภาษาและวัฒนธรรม เปนบัณฑิตที่มีจริยธรรมและคุณธรรมที่ ดีงาม พรอมนําความรู และทักษะออกไปรับใช สังคมอยางมีประสิทธิภาพ เปนทรัพยากรบุคคลที่มีคณ ุ คาตอการพัฒนาประเทศชาติ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 331

145x210mm_����������� �� 2560.indd 339

6/6/16 10:54 AM


อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการตลาด สามารถประกอบอาชีพในหนวยงานต างๆ ได ไม วา จะเปนหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ซึ่งลักษณะงานจะเกี่ยวของกับ หนาที่ในการวิเคราะหและวางแผนการดําเนินธุรกิจของบริษัทตางๆ รวมถึงทําหนาที่ ใน ฝายตางๆ เชน อาจารย นักวิจัย นักวิชาการ คลังสินคา งานขาย งานวิเคราะหตลาด การกําหนดกลยุทธ งานโฆษณาประชาสั มพั นธ และการพัฒนาความสัมพันธกั บลูกคา เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถนําความรูไปประยุกตในการประกอบธุรกิจสวนตัวและการ ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางการบริหารธุรกิจหรือทางการตลาด

5) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ ยว ชือ่ ปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการการทองเที่ยว) มุงเตรียมความพรอมใหบัณฑิตมีความรูความสามารถและมีความเชี่ยวชาญทาง ดานการจัดการธุรกิจทองเที่ยว โดยสามารถประยุกตใชความรูทั้งทางดานทฤษฎีและทาง ดานปฏิบัติไดอยางเหมาะสม มีทักษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศรวมทั้งทักษะทางดาน ภาษาอังกฤษ เพื่ อไปประยุกต ใช ในการปฏิ บัติ งานจริงได อย างมี ประสิ ทธิ ภาพ มีจริ ยธรรมและคุณธรรมในการประกอบวิชาชี พ มีความรับผิดชอบตอสังคม เป นทรัพยากร บุคคลทีม่ ีคณ ุ คาตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว สามารถประกอบอาชีพไดทั้งในหนวย งานของภาครัฐและเอกชน เชน ผูปฎิบัติงานทางดานการทองเที่ยวในภาครัฐและเอกชน นักวิชาการดานการทองเที่ยวในหนวยงานการปกครองสวนทองถิ่น และอาชีพอิสระอื่นๆ เชน ผูประกอบการธุรกิจทองเทีย่ ว มัคคุเทศก พนักงานสายการบิน/โรงแรม/ศูนยประชุม 6) หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี ชื่อปริญญา บัญชีบัณฑิต (การบัญชี) มุ งผลิ ตบัณฑิ ตให มี ความรู ความสามารถในการสร างงานเพื่ อประกอบอาชี พได โดยงานทางดานบัญชีถือเปนสาขาหนึ่ งของธุรกิจวิชาชีพที่สถาบันและองคกรทั้งภาครัฐ และเอกชนให ความสําคัญ และเป นความต องการของตลาดงานปจจุ บันและอนาคต ในขณะนี้การประกอบวิชาชีพบัญชีไดขยายครอบคลุมออกไปหลายดานไมวาการทําบัญชี การสอบบัญชี การวางระบบบัญชี หรือบริการดานอื่นๆ ซึ่ งมีความสัมพันธกับกิจกรรม ในทางธุรกิจตางๆ มากมาย

332 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 340

6/6/16 10:55 AM


อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาการบัญชี สามารถทํางานทั้งในบริษัท หางหุนสวน สถาบันการ เงิน หนวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจทุกองคกร รวมถึงการประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว ความกาวหนาในวิชาชีพคือ เปนพนักงานบัญชี สมุห บัญชี ผู จัดการบัญชี ผู สอบบั ญชี ภาษีอากร ผู สอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษาดานงานบัญชีและภาษีอากร และผูจัดการ ทางการเงิน

7) หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี ชื่อปริญญา บัญชีบัณฑิต (ระบบสารสนเทศทางการบัญชี) ผลิตบัณฑิ ตให มีความรู ความสามารถ ทั้ งทางด านวิ ชาชี พบัญชีและระบบสาร สนเทศ เพื่อตอบสนองความตองการของตลาดทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งในปจจุบัน ธุรกิจทุกประเภทนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการจัดการสารสนเทศทุกดาน ไมวาจะเปน ดานการเงิน การตลาด การผลิต การจัดการทรัพยากรมนุษย และการบัญชี ทําใหตลาด แรงงานมีความตองการบัณฑิตทีม่ ีความรูด า นบัญชี และมีความรูดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ มากขึน้ เพื่อตอบสนองความตองการของธุรกิจไดอยางเต็มประสิทธิภาพ อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิ ตสาขาวิ ชาระบบสารสนเทศทางการบั ญชี สามารถทํางานทั้ งในบริ ษัท หางหุนสวน สถาบันการเงิน หนวยงานภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจทุกองคกร รวมถึงการ ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว ความกาวหนาในวิชาชีพคือ เปนพนักงานบัญชี สมุหบัญชี ผูจัดการบัญชี ผูสอบบัญชีภาษีอากร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ที่ปรึกษาดานงานบัญชีและ ภาษีอากร ผูจัดการทางการเงิน นักวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี และที่ปรึกษาดานงานบัญชีและระบบสารสนเทศทางการบัญชี 8) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจั ดการรัฐกิจและวิสาหกิจ ชื่อปริญญา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (การจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ) ผลิตบัณฑิตใหมีความรูความสามารถทางดานการบริหาร ทั้งการบริหารงานภาค รัฐ ภาคเอกชนและองคกรมหาชน ผสมผสานในแบบนักบริหารและนักปกครองยุคใหม ที่สามารถนําหลักการบริหารการจัดการที่ทันสมัยมาปรับใชในการทํางานได และสามารถ ปรับตั วตอสถานการณการเปลี่ ยนแปลงของกระแสโลกาภิ วัฒน ทั้ งนี้ ยังเปนนักบริหาร ยุคใหมที่มีวิสัยทัศนกวางไกล มีจริยธรรม มีจิตสํานึกสาธารณะ เปนประโยชนตอประเทศ ชาติ สังคม และตนเอง àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 333

145x210mm_����������� �� 2560.indd 341

6/6/16 10:55 AM


อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาการจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ สามารถประกอบอาชีพในหนวยงาน ตางๆ ได ไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน ในตําแหนงนัก ปกครอง นักบริหาร และพนักงาน ทั้งในสังกัดเทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) และองคกรอิสระ ตางๆ รวมทั้งขาราชการพลเรือนในกระทรวง ทบวง กรมตางๆ เชน เจาหนาที่วิเคราะห นโยบายและแผน เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป หรือสามารถรับราชการในสํานักงานตํารวจ แหงชาติ และศาลปกครอง เปนตน

9) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) ผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความสามารถประยุกตใชความรูภาษาอังกฤษ การบริหาร และการจัดการเพื่ อการสื่ อสารทางธุรกิจทั้ งในองคกรภาครั ฐและภาคเอกชนไดอยางมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสํานึกในการใหบริการสังคม อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาภาษาอั งกฤษธุรกิจ สามารถทํางานหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน เชน ขาราชการฝายวิเทศสัมพันธ อาจารยทางดานภาษาอังกฤษ ธุรกิจ พนักงานธนาคาร พนักงานประชาสัมพันธในองคกรรัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนทั้ง ไทยและตางประเทศในตําแหนงตางๆ เชน ผูจัดการ เลขานุการ พนักงานบริษัท พนักงาน โรงแรมและทองเที่ยว พนักงานใหบริการในงานสายการบิน ธุรกิจสวนตัว เชน ดานการ ขาย การนําเขาและสงออก การโรงแรมและทองเที่ยว การพาณิชยอิเลกทรอนิคส 10) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดงและการจัดการ ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศิลปะการแสดงและการจัดการ) ผลิตบัณฑิตใหมีความรู ความเชี่ยวชาญ ในการบูรณาการศาสตรทางดานศิลปะ การแสดง ศาสตรการจัดการ และศาสตรการสรางสรรคงานทางดานศิลปะการแสดง ซึ่ง ศาสตรทั้ง 3 ดาน สนับสนุนการประกอบอาชีพของผูเรียนใหไดเทาทัน เทาเทียม และ นําสมัยสูส งั คมปจจุบันและอนาคต

334 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 342

6/6/16 10:55 AM


เปาหมายคุณลักษณะของนักศึกษาสาขาศิลปะการแสดงและการจัดการ 1. เปนผูที่มีความรูทางดานศิลปะการแสดงที่หลากหลาย และธํารงไวซึ่งศิลปะ การแสดงทีเ่ ปนเอกลักษณอันบงบอกถึงความเปนชาติ 2. เปนผู ที่ มี ความสามารถในการสร างสรรค งานทางด านศิลปะการแสดงเพื่ อ ตอบสนองความตองการของเจาภาพและคนดูไดตามวาระและโอกาส 3. เปนผู ที่มีความสามารถในการบริหารงานการแสดงและจัดการแสดงไดตาม วาระโอกาส 4. เปนผูที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 1. งานดานการศึกษาและการอบรม เชน ครูอาจารย วิทยากรดานศิลปะการ แสดงและการพัฒนาบุคลิกภาพ ฯลฯ 2. งานดานศิลปะการแสดง เชน นักแสดง ผูกํากับการแสดง ผูเขียนบท ผูกํากับ เวที ผูออกแบบองคประกอบตางๆ ในการแสดง ฯลฯ 3. งานดานการผลิตและการจัดการการแสดง เชน โปรดิวเซอร ผูจัดการแสดง ผูจดั การอีเวนท ผูจ ัดการกองถาย ฯลฯ 4. งานดานการวิจารณ เชน นักวิจารณศิลปะการแสดง 5. งานดานผูป ระกาศและพิธีกร 6. งานในอุตสาหกรรมบริการ 7. งานอิสระ เชน รับจัดการแสดงในโอกาสและสถานที่ตางๆ นักแสดง นักออกแบบ 8. งานบริษัทเอกชนที่เปดทางดานการแสดง เชน ภูเก็ตแฟนตาซี สยามนิรมิต สวนนงนุช โรงละครตางๆ ฯลฯ 9. งานโรงแรม เชน เจาหนาที่ตอนรับ เจาหนาที่ประชาสัมพันธ 10. Organizer Event

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 335

145x210mm_����������� �� 2560.indd 343

6/6/16 10:55 AM


เรีย ประมาณการคาใช จ ายในการศึกษา ภาคการศึกษาปกติ มีอัตราดังตอไปนี้ สาขาวิชา การจัดการการทองเทีย่ ว การบัญชี ระบบสารสนเทศทางการบัญชี การจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร การจัดการพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส การตลาด การประกันภัยและการจัดการความเสีย่ ง การจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ ศิลปะการแสดงและการจัดการ ภาษาอังกฤษธุรกิจ - ชั้นปที่ 3 เรียนที่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน - ชั้นปที่ 3 เรียนที่ประเทศมาเลเซีย

ภาคการศึกษาละ 17,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 16,000 บาท 46,000 บาท 30,000 บาท

หมายเหตุ คาธรรมเนียมการศึกษาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

336 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 344

6/6/16 10:55 AM

������


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้ÇÔÇÔา·เล่ ม 346 §§ ·ÂÒà¢μμÃÑ ÂÒࢵµÃÑ ÇÔ·ÂÒà¢μμÃѧ

คณะสถาป ตตยกรรมศาสตร โครงการจั ดตั้งคณะสถาป ตยกรรมศาสตร คณะสถาป ยกรรมศาสตร Faculty Faculty ofof Architecture Architecture

ทีทีอ่ที่อยูอ่ ยูยู 

มหาวิ มหาวิ ยาลั สงขลานคริ ยาเขตตรังง มหาวิทททยาลั ยาลัยยยสงขลานคริ สงขลานครินนทรทรวิวิททยาเขตตรั ต.ควนปริ อ.เมื 102 หมู ง6งต.ควนปริ อ.เมืงงอง92000 จ.ตรัง 92000 ต.ควนปริ อ.เมือองงงจ.ตรั จ.ตรั 92000 โทรศั โทรสาร โทรศั 7520 1712 โทรสาร 007520 75201709 1709 โทรศัพพพททท 0007520 75201712 1712 Homepage: Homepage: http://www.trang.psu.ac.th, http://www.arch.trang.psu.ac.th Homepage: http://www.trang.psu.ac.th, http://www.trang.psu.ac.th, http://www.arch.trang.psu.ac.th คณะสถาป บบปริ ้ ้ ญญาตรี โครงการจั ตัยกรรมศาสตร ้งคณะสถาปตเป ยกรรมศาสตร เปดสอนนั กปริ ศึญกญญาตรี ษาในระดั คณะสถาปตดตยกรรมศาสตร เปดดสอนนั สอนนักกศึศึกกษาในระดั ษาในระดั ญาตรีดัดังงบนีนีปริ

ดังนี้ หลัหลักสูกตสูตรสถาป รสถาปตตยกรรมศาสตรบั ยกรรมศาสตรบัณณฑิฑิตต สาขาวิ สาขาวิชชาสถาป าสถาปตตยกรรม ยกรรม ญ ญา สถาป ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต (สถาป ต ยกรรม) 1) หลัชืก่อชืสูปริ ต รสถาป ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าสถาป ตยกรรม ่อปริญญา สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถาปตยกรรม) มุชืงมุ่อผลิ มมอี งค คความรู  และสามารถประยุ ชใชอองคงคคตความรู ญา สถาป ตยกรรมศาสตรบั ณฑิกตกตตใ(สถาป ยกรรม) ง ปริ ผลิตญตใหให ีองค วามรู  และสามารถประยุ วามรูเ กีเ กีย่ ย่ วกัวกับบสถาป สถาปตตยกรรม ยกรรม เขตร สถาป ้น้นถิถิ่น ่นและสามารถประยุ สถาป ตตย-ยมุ้นง้นผลิ ตใหตมตยกรรมพื ีอยกรรมพื งคความรู เกีอ่ยอมวกัมและสถาป บและสถาป สถาปตยกรรม เขตรอนชื อนชื สถาป สถาปตตยกรรมที ยกรรมที่เปก่เปนตนมิใมิชตอตรกังค รกับบคสิวามรู สิ่ง่งแวดล แวดล กรรมชุ เพืเพื่อ่อสรสร งสรรค ่ ย่ ยังั่งยืยืนน่เไดปไดนออมิยยตาารกั งเหมาะสม เขตร อมนชื ้น สถาป ตายกรรมพื ถิถาป ่น ตสถาป ตยกรรมที บสิ่งแวดลให อใหมมมีอและสถาป ตทยกรรมชุ มชนชน างสรรคส้นสถาป ตยกรรมที ยกรรมที งเหมาะสม ีองค งคคความรู วามรู ที่ ี่ ทักรรมชุ นทัสมั ในด ชาการและเทคโนโลยี เพืเพื่อ่อประยุ ตตใอชใชยกกาับับงเหมาะสม การทํ นสมัยทัยม้ทังชน ้งในด า่อนวิ ชาาการและเทคโนโลยี การทําางานและการประกอบ งานและการประกอบ เพืานวิ สร งสรรคสถาปตยกรรมที ่ ยประยุ ั่งยืนกกได ใหมีองคความรูที่ ชสมั าชีพทัพย้ทังในป ้งในป วามรู วามสามารถสอดคล กรอบมาตรฐาน วิทัชวินาชี ใหใหมมคี ีความรู งกังกับบกรอบมาตรฐาน ในดจจุจาบจุนวิบันันและอนาคต ชและอนาคต าการและเทคโนโลยี เพื่อคความสามารถสอดคล ประยุ กตใชกับการทําอองานและการประกอบ คุชณวุาชีฒวุพฒิรทัะดั ิร้งะดั กและอนาคต ษาแหงชาติ งชาติ(Thai (Thai Qualifications Framework for Higher EduEduคุวิณ บอุบดอุจดมศึ Qualifications Framework Higher ในป จุมศึ บกันษาแห ให มีความรู ความสามารถสอดคล องกัfor บกรอบมาตรฐาน TQF:HEd) เกณฑมงมาตรฐานการประกอบวิ าตรฐานการประกอบวิ ดาานสถาป นสถาปตตยกรรมควบคุ ยกรรมควบคุ ของ cation, ชชาชีาชีพพดFramework คุcation, ณวุฒิรTQF:HEd) ะดั บอุดมศึกเกณฑ ษาแห ชาติ (Thai Qualifications for Higherมมของ Eduสภาสถาปนิ ก และเกณฑ ก ารประกอบวิ ช าชี พ ของสภาสถาปนิ ก อาเซี ย น สภาสถาปนิ ก และเกณฑ ก ารประกอบวิ ช าชี พ ของสภาสถาปนิ ก อาเซี ย น cation, TQF:HEd) เกณฑมาตรฐานการประกอบวิชาชีพดานสถาปตยกรรมควบคุมของ สภาสถาปนิก และเกณฑการประกอบวิชาชีพของสภาสถาปนิกอาเซียน

338 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 344 145x210mm_����������� �� 2560.indd 345

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 337 311

11/3/14 7:46 PM 6/6/16 10:56 AM


อาชีพและความกาวหนาในวิชาชีพ บัณฑิตสาขาวิชาสถาปตยกรรมสามารถประกอบอาชีพไดดังนี้ ผูออกแบบอาคาร ทั้ งของรัฐบาลและเอกชน ผู ควบคุมงานกอสร างอาคาร ฝายพัฒนาผลิตภัณฑดาน อสังหาริมทรัพย ผูประเมินความเปนไดดานการออกแบบของโครงการที่ยื่นกูตอสถาบัน การเงิน ผูออกแบบอิสระ อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ศิลปะพื้นฐานและ ศิลปะประยุกต เชน งานดานโฆษณา ภาพยนตร ละคร เปนตน ประมาณการคาใชจายในการศึกษา ภาคการศึกษาปกติ มีอัตราดังตอไปนี้ - หลักสูตร 5 ป ภาคการศึกษาละ 30,000 บาท หมายเหตุ คาธรรมเนียมการศึกษาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

338 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 346

6/6/16 10:56 AM


˹èǧҹã¹ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂ

145x210mm_����������� �� 2560.indd 347

6/6/16 10:56 AM


เรีย

340 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 342 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 348

6/6/16 10:56 AM

������


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

351

สํสําานันักกงานอธิ งานอธิกการบดี ารบดี President’s President’s President’s Office Office

ยาเขตหาดใหญ วิวิวิทททยาเขตหาดใหญ ยาเขตหาดใหญ ทีทีที่อออ่​่ ยูยูยู  โทรศัพท โทรศั โทรศัพพทท E-mail: E-mail: E-mail:

มหาวิททยาลั ยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิ มหาวิทยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา 90110 จ.สงขลา 90110 15อ.หาดใหญ ถ.กาญจนวณิ ชย อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 7428 2021-4, 2021-4, 0 7455 8959 8959 โทรสาร 00 7455 7455 8941 000 7428 โทรสาร 7428 2021-4, 00 7455 7455 8959 โทรสาร 0 7455 8941 8941 gen-affairs@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th gen-affairs@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th gen-affairs@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th

งานอธิกการบดี ารบดี วิทยาเขตหาดใหญ ประกอบด ประกอบดวยกองตาางๆ งๆ ดังนี้ สํสํสําาานันันักกกงานอธิ งานอธิการบดีวิวิททยาเขตหาดใหญ ยาเขตหาดใหญ ประกอบดววยกองต ยกองตางๆดัดังงนีนี้ ้ กองกลาง กองกิจจการนั การนักศึกษา 1.1.1. กองกลาง 5.5.5. กองกิ กองกลาง กองกิจการนักกศึศึกกษา ษา กองคลังง 6. กองแผนงาน กองแผนงาน 2.2.2. กองคลั 6. กองคลัง 6. กองแผนงาน กองการเจาาหน หนาาทีที่ ่ 7. กองบริ กองบริการการศึกกษา ษา 3.3.3. กองการเจ 7. กองการเจาหนาที่ 7. กองบริกการการศึ ารการศึกษา 4. กองอาคารสถานที ่ 8. กองทะเบี ย นและประมวลผล 4.4. กองอาคารสถานที 8.8. กองทะเบี กองอาคารสถานที่ ่ กองทะเบียยนและประมวลผล นและประมวลผล

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 341 àÃÕ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 315 343

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 349 349

11/3/14 10:56 6/6/16 7:47 AM PM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

352

เรีย

ยาเขตป ตานี ยาเขตป ตานี วิวิวิวิททททยาเขตป ยาเขตปตตตตตานี ตานี ทีทีทีที่ออออ่​่​่ ยูยูยูยู 

มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร วิวิทวิททยาเขตป ยาเขตปตตตตานี ตานี มหาวิ ยาลั สงขลานคริ มหาวิ มหาวิทททยาลั ยาลัยยยสงขลานคริ สงขลานครินนนทรทร ทร วิทยาเขตป ยาเขตปตตานี ตานี อ.เมื อ ง จ.ป ต ตานี 94000 อ.เมื อ ง จ.ป ต ตานี 94000 อ.เมื อ.เมือองง จ.ป จ.ปตตตานี ตานี 94000 94000 โทรศั พ ท 0 7331 3928-50 โทรสาร 0 7333 5128 โทรศั พ ท 0 7331 3928-50 โทรสาร 7333 5128 โทรศั โทรสาร โทรศัพพทท 0 07331 73313928-50 3928-50 โทรสาร 0 007333 73335128 5128 E-mail: pr.pattani@bunga.pn.psu.ac.th E-mail: pr.pattani@bunga.pn.psu.ac.th E-mail: E-mail: pr.pattani@bunga.pn.psu.ac.th pr.pattani@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://www.bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://www.bunga.pn.psu.ac.th Homepage: Homepage: http://www.bunga.pn.psu.ac.th http://www.bunga.pn.psu.ac.th งานอธิ การบดี วิทยาเขตป ตตานี ประกอบด ววยกองต าางๆ ดังนี้ งานอธิ ารบดี ยาเขตป ตานี ประกอบด สํสํสํสํานัาาานันันักกกกงานอธิ งานอธิกกการบดี ารบดีวิทวิวิททยาเขตป ยาเขตปตตตตานี ตานีประกอบด ประกอบดวยกองต วยกองต ยกองตางๆ างๆ งๆดัดัดังนีงงนีนี้ ้​้ 1.1. กองธุ ร การ วิ ท ยาเขตป ต ตานี กองธุ รรการ ยาเขตป ตานี 1.1. กองธุ กองธุรการ การวิทวิวิททยาเขตป ยาเขตปตตตตานี ตานี 2.2. กองบริ กการการศึ กกษา วิวิททยาเขตป ตตานี กองบริ ารการศึ ษา ยาเขตป ตานี 2.2. กองบริ กองบริกการการศึ ารการศึกกษาษาวิทวิทยาเขตป ยาเขตปตตตตานี ตานี 3.3. กองอาคารสถานที ่ วิ ท ยาเขตป ต ตานี กองอาคารสถานที ่ วิ ท ยาเขตป ต ตานี 3. กองอาคารสถานที่ วิทยาเขตปตตานี 4.4. กองกิ จการนักกศึศึกกษา วิทยาเขตปตตตานี 4. กองกิ กองกิจจการนั การนักศึกษา ษา วิวิททยาเขตป ยาเขตปตตานี ตานี 5.5. กองแผนงาน วิ ท ยาเขตป ตตตานี กองแผนงาน วิ ท ยาเขตป ตานี 5. กองแผนงาน วิทยาเขตปตตานี

¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 342 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 344 316 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í. 344 àÃÕàÃÕ

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 350 350

11/3/14 10:56 6/6/16 7:47 AM PM

������


52

เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

353

สํสําานันักกวิวิจจัยัยและพั และพัฒ ฒนา นา

Research Office Research and and Development Development Office

ทีทีทีอออ่​่​่ ยูยูยู

ชัชั้น้น 11-12 อาคาร 11 ศูศูนนยยททรัรัพพยากรการเรี ยนรู  (LRC) ชั้น 11-12 11-12 อาคาร อาคาร 1 ศูนยทรัพยากรการเรี ยากรการเรียยนรู นรู (LRC) (LRC) มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขตหาดใหญ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร วิ ท ยาเขตหาดใหญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา จ.สงขลา 90112 90112 โทรศั พ ท 0 7428 6940-67 โทรสาร 0 7428 6961 โทรศั พ ท 0 7428 6940-1 โทรสาร โทรศัพท 0 7428 6940-1 โทรสาร 00 7428 7428 6964 6964 E-mail: rdo@group.psu.ac.th Homepage: http://rdo.psu.ac.th/rdo/TH/ E-mail: rdo@group.psu.ac.th Homepage: http://rdo.psu.ac.th/rdo/TH/ E-mail: rdo@group.psu.ac.th Homepage: http://rdo.psu.ac.th/rdo/TH/ สํสําานันักกวิวิจจัยัยและพั ฒนา ประกอบดววยฝ ายตาางๆ ดังนี้ สํานักวิจยั และพั และพัฒ ฒนา นา ประกอบด ประกอบดวยฝ ยฝาายต ยตางๆ งๆ ดัดังงนีนี้​้ 1.1. ฝฝาายแผนและบริ ห าร 1. ฝายแผนและบริ ยแผนและบริหหาร าร 2.2. ฝฝาายพั ฒ นาและประสานงานวิ จัย ยพั ฒ นาและประสานงานวิ 2. ฝายพัฒนาและประสานงานวิจจัยัย 3.3. ฝฝาายประยุ กตและเผยแพรผผลงานวิ จยั 3. ฝายประยุ ยประยุกกตตแและเผยแพร ละเผยแพรผลงานวิ ลงานวิจจยยั​ั 4.4. ฝฝาายประสานงานเครื อขายสังงคม 4. ฝายประสานงานเครื ยประสานงานเครืออขขาายสั ยสังคม คม

àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 343 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 345 345

7:47 PM

��������������������2558.indd 351 145x210mm_����������� �� 2560.indd 351

11/3/14 7:47 PM 6/6/16 10:56 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

354

เรีย

ศูศูนนยยคคอมพิ อมพิววเตอร เตอร Computer Computer Center Center

ทีอ่ ยู ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0 7428 2101 โทรศัพท 0 7428 2101, 0 7428 2104-5 โทรสาร 0 7428 2111 โทรสาร 0 7428 2111 E-mail: cc-pr@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th E-mail: cc-pr@psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th ศูนยคอมพิวเตอร ประกอบดวยฝายตางๆ ดังนี้ ศูนยคอมพิวเตอร ประกอบดวยฝายตางๆ ดังนี้ 1. กลุมงานบริหารทัว่ ไป 1. กลุมงานบริหารทัว่ ไป 2. กลุมงานบริการวิชาการ 2. กลุมงานบริการวิชาการ 3. กลุม งานวิจัยและพัฒนา 3. กลุม งานวิจัยและพัฒนา 4. กลุมงานบริการระบบเครือขายและสื่อสาร 4. กลุมงานบริการระบบเครือขายและสื่อสาร 5. กลุมงานบริการและพัฒนาระบบสารสนเทศ 5. กลุมงานบริการและพัฒนาระบบสารสนเทศ

344 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 346 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 352 352

11/3/14 10:57 6/6/16 7:47 AM PM

������


54

เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

355

ศูศูนนยยเเครื ครื่อ่องมื งมืออวิวิททยาศาสตร ยาศาสตร Scientific Scientific Equipment Equipment Center Center

ทีทีที่ ออ่​่ ยูยู โทรศัพ โทรศั โทรศัพพทท E-mail: E-mail: E-mail:

ชั้น 1-2 อาคารบริหารวิชาการรวม ชั้น 1-2 อาคารบริหารวิชาการรวม นทร วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิ ยาเขตหาดใหญ มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อ.หาดใหญ อ.หาดใหญ จ.สงขลา จ.สงขลา 90112 90112 6904, 0 07428 6910 00 7428 6900-5, 7421 2029 โทรสาร โทรสาร 00 07421 74212813 2813 7428 6904, 0 7428 6910 โทรสาร 7421 2813 sec-all@group.psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th sci-equip@psu.ac.th sec-all@group.psu.ac.th Homepage: http://www.psu.ac.th

ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร ประกอบดวยฝายตางๆ ดัดังงนีนี้ ้ ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร ประกอบดวยฝายตางๆ ดังนี้ 1. ฝสํายบริ นักงานเลขานุ การอวิจัยทางวิทยาศาสตร การเครื่องมื 1. สํานักงานเลขานุ การ 2. ฝายซ ยบริอกมบํารเครื อ่ กงมื อวิจยั ทางวิ ทยาศาสตร า รุ ง รั ษาและพั ฒนาเครื ่องมือ 2. ฝายบริการเครือ่ งมื อวิจยั ทางวิ ทยาศาสตร 3. ฝ า ยซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษาและพั ฒ นาเครื อ ่ อ 3.3. สํฝาานัยซกงานเลขานุ าร ฒนาเครือ่ งมื อมบํารุงรักกษาและพั งมือ

àÃÕ Â¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 345 àÃÕ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 319 347

7:47 PM

��������������������2558.indd 145x210mm_����������� �� 2560.indd 353 353

11/3/14 10:57 6/6/16 7:47 AM PM


หองสมุดมหาวิทยาลัย 5 วิทยาเขต สํานักวิทยบริการ Office of Academic Services

ทีอ่ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปตตานี 94000 โทรศัพท 0 7333 1300 โทรสาร 0 7333 3587 E-mail: oas@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://www.oas.psu.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/OAR.PSU สํานักวิทยบริการ ประกอบดวยหนวยงาน 3 หนวยงาน คือ

346 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 354

6/6/16 10:57 AM


1. ฝายหอสมุดจอหน เอฟ เคนเนดี้ วิทยาเขตปตตานี โทรศัพท 073 312131, 073 313486, 073 313928-45 ตอ 1408, 1405, 1406, 1422 โทรสาร 073 333587 E-mail: E-mail: hsomboon@bunga.pn.psu.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/JFKLibraryPSU การบริการ ชวงเปดภาคเรียนหอสมุดฯ เปดบริการทุกวัน ปดเฉพาะวันหยุดนักขัตฤกษ หอสมุดฯ ใหบริการคอลเล็คชั่นพิเศษ ประกอบดวย หองพุทธทาส อิสลาม ศึกษา มลายูศึกษา ศูนยขอมูลและวัฒนธรรมอเมริกัน หอจดหมายเหตุ ม.อ. ขอมูล จังหวัดชายแดนภาคใต และขอมูลตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หอสมุดฯ มีบริการที่นาสนใจ ประกอบดวย บริการยืม-คืน บริการตอบ คําถามและชวยการคนควา บริการฐานขอมูลออนไลน บริการยืมระหว างหองสมุด บริการใหการศึกษาแกผูใช บริการอินเทอรเน็ต (IT Zone) บริการนําสงเอกสารถึง ผูใชบริการประเภทอาจารยและบุคลากร (DD.JFK) บริการนําสงเอกสารอิเล็กทรอนิกส ถึงผูใชบริการ (EDDS.JFK) บริการหองประชุมกลุม บริการถายเอกสารดวยตนเอง บริการ e-Services และบริการรานกาแฟ 2. ฝายเทคโนโลยีทางการศึกษา โทรศัพท 073 335165 โทรสาร 073 348627 E-mail: schanan@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://techno.oas.psu.ac.th การบริการ งานผลิ ตสื่ อเพื่ อการศึกษา ใหบริการสื่ อสิ่ งพิมพ สื่ อการสอนกราฟก ผลิต สือ่ เอกสารคําสอนออนไลน งานสื่ อภาพและเสี ยง ใหบริ การผลิตและบริ การสื่ อวีดิ ทัศน ตามประสงค ผลิตและบริการสือ่ เทป และสื่อภาพถายเสียง บริการหองสอนทางไกล งานสงเสริมเผยแพรและวิจัย ใหบริการอบรม วิจัย เผยแพรวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 347

145x210mm_����������� �� 2560.indd 355

6/6/16 10:57 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

358

งานผลิ งานผลิตตและพั และพัฒฒนาสื นาสื่อ่อคอมพิ คอมพิววเตอร เตอรเเพืพื่อ่อการศึ การศึกกษา ษา ใหใหบบริริกการาร VC, VC, CAI, CAI, CAI on Web, e-book, Multimedia e-Book on Web, Online Training, Video onon งานผลิ ต และพั ฒ นาสื อ ่ คอมพิ ว เตอร เ พื ่ อ การศึ ก ษา ให บ ริ ก าร VC, CAI on Web, e-book, Multimedia e-Book on Web, Online Training, VideoCAI, Demand, Audio on CAI on Web, Multimedia e-Book on Web, Online Training, Video on Demand, Audioe-book, on demand demand งานบริ ก ารโสตทั ศศนูนูปปกรณ Demand, Audio demand งานบริกonารโสตทั กรณ ใหใหบบริริกการโสตทั ารโสตทัศศนูนูปปกรณ กรณอาคารเรี อาคารเรียยนรวม นรวมบริบริกการาร ติติดดตัตัง้ ง้ เครื ยยงและโสตทั ศศนูนูศปปนูกรณ การโสตทั ปกรณ ใหบริการโสตทัศนูปกรณ อาคารเรียนรวม บริการ เครือ่ อ่ งเสี งเสีงานบริ งและโสตทั กรณ ติดตัง้ เครือ่ งเสียงและโสตทัศนูปกรณ 3.3. สํสําานันักกงานเลขานุ งานเลขานุกการ าร ใหใหบบริริกการและประงานงานทั ารและประงานงานทั้ง้งภายในและภายนอก ภายในและภายนอก พงานเลขานุ ท 073การ331300 3. โทรศั สํ า นั ก ให บ ริ ก ารและประงานงานทั ง ้ ภายในและภายนอก โทรศัพท 073 331300 โทรสาร 073 333587 โทรศัพท 073 333587 331300 โทรสาร 073 E-mail: ponsiri@bunga.pn.psu.ac.th โทรสาร 073 333587 E-mail: ponsiri@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://secret.oas.psu.ac.th E-mail: ponsiri@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://secret.oas.psu.ac.th Homepage: http://secret.oas.psu.ac.th

348 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 350 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 350 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 145x210mm_����������� �� 2560.indd ��������������������2558.indd 356 356

6/6/16 11/3/14 10:57 7:48 AM PM

เร


58

เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

359

ฝายหอสมุดวิคุทณยาเขตหาดใหญ หญิงหลง อรรถกระวีสุนทร

ฝพายากรการเรี ยหอสมุ สุนทรสุนทรCenter สํานัดคุกณยวินรูหญิจคัยงุณหลง และพั นาResources สํานักทรัLong หญิงอรรถกระวี หลงฒอรรถกระวี Khungying Athakravisunthon Learning KhungyingResearch LongAthakravisunthon Athakravisunthon LearningResources Resources Center Khungying Long Learning and Development Office Center

ทีอ่ ยู ทีทีอ่ อ่ ยูทียู่อ ยู

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ อาคารศู นยยนรูนทนทร รั (LRC) พยากรการเรี ยนรู สงขลานคริ ทร ยาเขตหาดใหญ มหาวิ ยยสงขลานคริ วิทวิทยาเขตหาดใหญ ศูมหาวิ นชัย้นทท11-12 รัทยาลั พยาลั ยากรการเรี ยาลั ยสงขลานคริ น (LRC) ทร วิทยาเขตหาดใหญ ศูนนมหาวิ ยากรการเรี ศูอ.หาดใหญ ยยททรัรัพทพยากรการเรี ยยนรูนรู  (LRC) จ.สงขลา 90110 อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 จ.สงขลา 90112 90110 จ.สงขลา โทรศัพท อ.หาดใหญ 0อ.หาดใหญ 7428 20352 โทรสาร 0 7428 2398 โทรศั พ ท 0 7428 6940-1 โทรสาร 0 07428 7428 6964 โทรศัพพทท 0library.ref@psu.ac.th 0 7428 7428 20352 20352 โทรสาร 2398 โทรศั โทรสาร 2398 E-mail: Homepage: http://www.clib.psu.ac.th E-mail: rdo@group.psu.ac.th Homepage: http://rdo.psu.ac.th/rdo/TH/ E-mail: library.ref@psu.ac.th Homepage: http://www.clib.psu.ac.th E-mail: library.ref@psu.ac.th Homepage: http://www.clib.psu.ac.th สํานักทรัพยากรการเรียนรูคุณหญิงหลงฯ ประกอบดวย 1 หนวยงาน คือ กวิพจัยยากรการเรี และพัฒนายประกอบด ายตาประกอบด งๆ ดังนี้ วย 1 หนวยงาน คือ สําสํนัากนัทรั นรูคุณหญิวงยฝ หลงฯ 1. ฝายแผนและบริ าร ดวิทหยาศาสตร คณะแพทยศาสตร ฝายหองสมุหอดงสมุ วิทยาศาสตร สุขภาพสุขภาพ คณะแพทยศาสตร 2. ฝ า ยพั ฒ นาและประสานงานวิ จ ย ั ฝายหทอยาลั งสมุ วิททยาศาสตร สุขภาพ มหาวิ ยาลัยสงขลานคริ นคณะแพทยศาสตร ทร วิทยาเขตหาดใหญ มหาวิ ยดสงขลานคริ นทร วิทยาเขตหาดใหญ 3. ฝ า ยประยุ ก ต แ ละเผยแพร ผ ลงานวิ จัย มหาวิ ทยาลั โทรศั พทยสงขลานคริ 0 7445นทร 0000วิทตยาเขตหาดใหญ อ7 4. โทรศั ฝายประสานงานเครื า0000 ยสังคม 7445อข1170-4 ตอ 7 โทรศั พพทท 0007445 โทรสาร 7445 1178 โทรสาร 07445 74451178 1178 โทรสาร 0ratchad.c@psu.ac.th E-mail: E-mail: ratchad.c@psu.ac.th Homepage: http://medicine.psu.ac.th/t_lib.htm Homepage: http://medicine.psu.ac.th/t_lib.htm Homepage: http://medicine.psu.ac.th/t_lib.htm àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 317

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 349 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 351 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 351 7:48 PM

145x210mm_����������� �� 2560.indd 357

6/6/16 10:57 AM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

360

หอบรรณสารสนเทศ ทยาเขตสุ วิทยาเขตสุรวิาษฎร ธานีราษฎรธานี โทรศัพพทท โทรศั โทรสาร โทรสาร

7735 5040 5440 ตตออ 2070-4 2070-4 00 7735 7735 5449 5449 00 7735

หอวิงสมุ ดวิทยาเขตภู ทยาเขตภู เก็ต เก็ต โทรศัพพทท โทรศั E-mail: E-mail: Homepage: Homepage:

คณะ 1.เรยค 2. ค 3. ค 4. ค 5. ค 6. ค

7627 6041-44 6041-44 00 7627 library@phuket.psu.ac.th library@phuket.psu.ac.th www.psu.ac.th www.psu.ac.th

หอวิงสมุ ดวิทยาเขตตรั ทยาเขตตรั ง ง โทรศัพพทท โทรศั Homepage: Homepage:

7520 1732, 1732, 00 7520 7520 1730 1730 00 7520 LibPSU Trang CAMPUS http://library.trang.psu.ac.th

หนว

350 ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í. 352 àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹

��������������������2558.indd 358 145x210mm_����������� �� 2560.indd 358

11/3/14 7:48 PM 6/6/16 10:57 AM

�����


60

2. วิทยาเขตปตตานี ตั้งอยูที่ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี มี คณะ/หนวยงานที่สําคัญ ดังนี้ 1.เรียคณะศึ กษาศาสตร อิสลามศึ นอะไรใน มอ 2558 ตรวจลํ7.าดัวิบทยาลั เรียยงหน้ าเข้กษา าเล่ม 361 2. คณะมนุ ษยศาสตรและสังคมศาสตร 8. โครงการจัดตั้ งคณะพยาบาลศาสตร 3. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9. สํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนื่อง 4. คณะศิลปกรรมศาสตร 10. สถาบันวัฒนธรรมศึ กษากัลยาณิวัฒนา และการศึ ษาตออเนื เนื่อ่องง สํ า นั ก ส ง เสริ ม และการศึ กกษาต 5. คณะวิทยาการสื่ อสาร 11. สํานักวิทยบริการ Extension and and Continuing Continuing Education Education Office of Extension 6. คณะรั ฐศาสตร

3.ทีอ่ ยูวิ ทยาเขตภู เก็ยาลั ต ยยสงขลานคริ ตั้งอยูที่ ทร ตําวิวิบลกะทู  อํตานี าเภอกะทู จังหวัดภูเก็ต มีคณะ/ มหาวิ ททยาเขตป มหาวิททยาลั สงขลานครินนทร ยาเขตปตตตานี หนวยงาน จัดการศึอ.เมื กษาดั นีต้ ตตานี อองง งจ.ป อ.เมื จ.ป ตานี 94000 94000 โทรศั พ ท 0 7333 1302, 0 7331 ออ 1329 0 7333 1302, 0 7331 3930 3930อตตงเที 1329 โทรสาร 00 7333 7333 5911 5911 1. คณะการบริ การและการท ่ยว โทรสาร E-mail: exten@bunga.pn.psu.ac.th exten@bunga.pn.psu.ac.th 2. คณะเทคโนโลยีและสิ่ งแวดลอม Homepage: Homepage: http://exten.pn.psu.ac.th 3. คณะวิhttp://exten.pn.psu.ac.th เทศศึกษา 4. สํภาควิ าวิมศมและการศึ วกรรมคอมพิ วเนืเตอร คณะวิววศยยวกรรมศาสตร านันักกสสงชงเสริ กกษาต ่อ่องงประกอบด 33งานดั เสริ และการศึ ษาตออเนื ประกอบด งานดังงนีนี้ ้ 1. สํ า นั ก งานเลขานุ ก าร สํานักยงานเลขานุ 5. วิทยาลั ชุมชนภูเกก็ารต โทรศั โทรศัพพทท 00 7333 7333 1302, 1302, 00 7331 7331 3930-50 3930-50 ตตออ 1329 1329 โทรสาร 0 7333 5911 โทรสาร 0 7333 5911 Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division&div=2 Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division&div=2 ประกอบด ประกอบดววยย 33 งาน งาน ดัดังงนีนี้ ้ 1.1 1.1 งานบริ งานบริหหารและธุ ารและธุรรการ การ 00 7331 7331 3930-50 3930-50 ตตออ 1329 1457 1.2 งานคลั ง และพั ส ดุ 0 7331 3930-50 ต อ 1337 1.2 งานคลังและพัสดุ 0 7331 3930-50 ตอ 1337 1.3 งานนโยบายและแผน 0 1.3 งานนโยบายและแผน 0 7331 7331 3930-50 3930-50 ตตออ 1328 1328

àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 351 353

7:48 PM

��������������������2558.indd 359 145x210mm_����������� �� 2560.indd 359

11/3/14 7:48 PM 6/6/16 10:57 AM

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í.

13


เรย 2.2. ฝฝาายฝ ยฝกกอบรมและการศึ อบรมและการศึกกษาต ษาตออเนืเนื่อ่องง โทรศั โทรศัพพทท 00 7331 7331 2293 2293 00 7331 7331 3930-50 3930-50 ตตออ 1332 1332 โทรสาร โทรสาร 00 7331 7331 2293 2293 E-mail: exten_psu@yahoo.com, E-mail: exten_psu@yahoo.com, exten@hotmail.com exten@hotmail.com Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division &div=7 &div=7 3. ฝายสงเสริมและเผยแพร 3. ฝายสงเสริมและเผยแพร โทรศัพท 0 7331 3930-50 ตอ 1333 โทรศัพท 0 7331 3930-50 ตอ 1333 โทรสาร 0 7333 5911 โทรสาร 0 7333 5911 E-mail: soraya.j@psu.ac.th E-mail: jsoraya@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division &div=9 &div=9 4. ฝายบริการวิชาการชุมชน 4. ฝายบริการวิชาการชุมชน โทรศัพท 0 7331 3930-50 ตอ 1331 โทรศัพท 0 7331 3930-50 ตอ 1331 โทรสาร 0 7333 5911 โทรสาร 0 7333 5911 E-mail: pirat.j@psu.ac.th E-mail: Jpirat@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division &div=3 &div=3 ประกอบดวย 3 สถานีบริการ ดังนี้ ประกอบดวย 3 สถานีบริการ ดังนี้ 4.1 สถานีบริการวิชาการชุมชนปตตานี 4.1 โทรศั สถานีพบทริการวิช0าการชุ ชนปตตานี 7346ม0172 โทรศัพท 7346 5911 0172 โทรสาร 00 7333 โทรสาร 0 7333 5911 E-mail maitre.k@psu.ac.th E-mail Aummorn-b@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web57/?content=division Homepage &div=6 http://exten.pn.psu.ac.th/web53/Pattani_division/

352 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 354 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 360

6/6/16 10:58 AM

�����


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

363

4.2 4.2 สถานี สถานีบบริริกการวิ ารวิชชาการชุ าการชุมมชนจะนะ ชนจะนะ โทรศั พ ท 0 7447 7172 โทรศัพท 0 7447 7172 โทรสาร 00 7447 โทรสาร 7447 7172 7172 E-mail Mayura@bunga.pn.psu.ac.th E-mail Mayura@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/?content=division &div=4 &div=4 4.3 สถานีบริการวิชาการชุมชนเทพา 4.3 สถานีบริการวิชาการชุมชนเทพา โทรศัพท 089 299 7590 โทรศัพท 089 299 7590 โทรสาร 0 7447 7172 E-mail Lamai@bunga.pn.psu.ac.th E-mail Lamai@bunga.pn.psu.ac.th Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web53/thepha_division/ Homepage http://exten.pn.psu.ac.th/web57/?content=division &div=5

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 353 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 355

145x210mm_����������� �� 2560.indd ��������������������2558.indd 361 361

6/6/16 11/3/14 10:58 7:48 AM PM


เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

364

เรย

สถาบันวัฒนธรรมศึ นธรรมศึกกษากั ษากัลลยาณิ ยาณิววฒ ั นา นา ัฒ Princess Galyani Galyani Vadhana Vadhana Princess Institute ofof Cultural Cultural Studies Studies Institute

ทีอ่ อยูยู 

สถาบันนวัวัฒฒนธรรมศึ นธรรมศึกกษากั ษากัลลยาณิ ยาณิววัฒัฒนา นา สถาบั มหาวิททยาลั ยาลัยยสงขลานคริ สงขลานครินนทร ทร วิวิททยาเขตป ยาเขตปตตตานี ตานี มหาวิ ต.รูสสะมิ ะมิแแลล อ.เมื อ.เมือองง จ.ป จ.ปตตตานี ตานี 94000 94000 ต.รู โทรศัพท 00 7333 7333 1250 1250 โทรสาร 7333 1250 1250 โทรสาร 00 7333 E-mail: culture.pn@psu.ac.th culturestudies@bunga.pn.psu.ac.th Homepage: http://culture.pn.psu.ac.th http://culture.pn.psu.ac.th Homepage: ภาระหนาาทีที่:่: ดํดําาเนิ เนินนงานด งานดาานทํ นทําานุนุบบําํารุรุงงศิศิลลปวั ปวัฒฒนธรรม นธรรม ภาระหน โครงสราางการบริ งการบริหหาร าร ประกอบด ประกอบดววยย โครงสร ยสนับบสนุ สนุนนบริ บริหหาร าร 1. ฝฝาายสนั ยสนั นวิชาการงเสริมนวัตกรรม 2. ฝฝาายวิ จัยบพัสนุ ฒนาและส แหล แหลงงบริ บริกการวิ ารวิชชาการ าการ ประกอบด ประกอบดววยย 1.1. หอศิ หอศิลลปปภภาคใต าคใต 2.2. หอวั หอวัฒฒนธรรมภาคใต นธรรมภาคใต 3.3. เรืเรืออนอํ นอําามาตย มาตยโโทพระยาพิ ทพระยาพิบบลู ลู ยยพพิทิทยาพรรค ยาพรรค 4.4. พิพิพพิธิธภัภัณณฑฑพพระเทพญาณโมลี ระเทพญาณโมลี 5.5. หงานข องอินอโดนี ยศึฒกษา มูลดเาซีนวั นธรรม

354 ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. Á.Í. 356 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í. 326 àÃÕàÃÕ

��������������������2558.indd 362 145x210mm_����������� �� 2560.indd 362

11/3/14 7:48 PM 6/6/16 10:58 AM

�����


64

เรียนอะไรใน มอ 2558 ตรวจลําดับเรียงหน้ าเข้าเล่ม

365

สํายนับกวิริจกัยารวิ และพัชฒาการ นา ศู น ริ ก ารวิ ช าการ Research and Development Office

ทีอ่ ยู

ที่อยู

ชั้น 11-12 อาคารศูนยทรัพยากรการเรียนรู

ารวิ มหาวิททนยาลั ยาลัวิยทยยาเขตหาดใหญ สงขลานครินนทร ทร ศูศูนนยยบบริริกการวิ ชชาการ มหาวิ สงขลานคริ มหาวิ ทาการ ยาลัยสงขลานคริ ทร อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 อาคารศูนนยยททรัรัพพยากรการเรี ยากรการเรียยนรู นรู  (อาคาร (อาคาร 1)1) ชัชั้น้น 1010 อาคารศู โทรศัพท 0 7428 6940-1 โทรสาร 0 7428 6964 อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90110 90110Homepage: http://rdo.psu.ac.th/rdo/TH/ อ.หาดใหญ จ.สงขลา E-mail: rdo@group.psu.ac.th โทรศัพท 0-7428-6970-5 โทรสาร 0-7428-6971 โทรสาร สํานักวิจัยและพัฒนา ประกอบดวยฝายตางๆ ดังนี้ E-mail: 1. ฝายแผนและบริหาร Homepage: 2. ฝายพัฒนาและประสานงานวิจัย Homepage: 3. ฝายประยุกตและเผยแพรผลงานวิจัย 4. ฝายประสานงานเครือขายสังคม

ารวิชชาการ าการ มีมีกการแบ ารแบงงโครงสร โครงสราางออกเป งออกเปนน33ฝฝาายยดัดังงนีนี้ ้ ศูนนยยบบริริกการวิ ยอําานวยการ นวยการ ประกอบด ประกอบดววยย 22 หน หนววยงาน ยงาน คืคืออ 1. ฝฝาายอํ 1.1 หน หนววยบริ ยบริหหารทั ารทั่ว่วไปไป 1.1 1.2 หน หนววยสนั ยสนับบสนุ สนุนนบริ บริกการวิ ารวิชชาการ าการ 1.2 2. ฝฝาายส ยสงงเสริ เสริมมและบริ และบริกการวิ ารวิชชาการ าการ ประกอบด ประกอบดววยยàÃÕ2Â2¹ÍÐäÃã¹Á.Í. หนววยงาน ยงานคื317 คืออ หน 2.1 หน หนววยบริ ยบริกการวิ ารวิชชาการ าการ 2.1 2.2 หน หนววยชุ ยชุมมชนสั ชนสัมมพัพันนธธ 2.2 3. ฝฝาายโครงการพิ ยโครงการพิเเศษ ศษ

àÃÕàÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 355 357

7:48 PM

��������������������2558.indd 363 145x210mm_����������� �� 2560.indd 363

11/3/14 7:48 PM 6/6/16 10:58 AM


356 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 364

6/6/16 10:58 AM


ÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃáÅСԨ¡ÒùѡÈÖ¡ÉÒ

145x210mm_����������� �� 2560.indd 365

6/6/16 10:58 AM


358 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 366

6/6/16 10:59 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μËÒ´ãËÞè

หอพักนักศึกษา หอพักนักศึกษาจัดสรางขึ้น เพื่อสงเสริมการเรียนการสอน และเปนศูนยบมเพาะ เพื่ อพัฒนานักศึกษาในดานตางๆ ไดแก การใชชีวิตความเปนอยูรวมกันอยางมีระเบียบ วินัย แลกเปลี่ยนความรูความคิดเห็นซึ่งกันและกันทามกลางสังคมพหุวัฒนธรรม เขาใจ และเกิดความสัมพันธอันดีตอกัน ตลอดจนความรับผิดชอบตอตนเองและสวนรวมโดย การมีระเบียบขอบังคับ ขอควรปฏิบัติ จัดและสนับสนุนการจัดกิจกรรมโครงการตางๆ เพื่อพัฒนานักศึกษาในหอพัก

เกณฑการจัดหอพัก

1. มหาวิทยาลัยจะจัดสรรที่พักในหอพักนักศึกษาใหแกนักศึกษาชั้นปที่ 1 ทุกคน แตนักศึกษาจะไมใชสิทธิด์ งั กลาวก็ได 2. มหาวิ ท ยาลั ย จะจั ดสรรที่ พั กในหอพั ก ให นั กศึ กษาชั้ น ป ที่ 2-4 ของคณะ พยาบาลศาสตร และนักศึกษาชั้นปที่ 2-6 ของคณะแพทยศาสตรทุกคน 3. นักศึกษาหญิงชั้นปที่ 2-4 ของคณะพยาบาลศาสตร ใหเขาพักในหอพักคณะ พยาบาลศาสตร สวนนักศึกษาชายชั้นปที่ 2-4 คณะพยาบาลศาสตร ใหเขาพักในหอพัก ของมหาวิทยาลัย 4. นักศึกษาชายและหญิงชั้นปที่ 2-6 ของคณะแพทยศาสตร ใหเขาพักในหอพัก คณะแพทยศาสตร 5. มหาวิทยาลั ยจะจัดสรรที่ พักเป นกรณีพิ เศษให แก นักศึกษาที่ มีปญหาสุขภาพ และ/หรื อมี โรคประจําตั วที่ แพทยรับรองว าเป นอุปสรรคในการเดิ นทางคณะกรรมการ นักศึกษาประจําหอพัก คณะกรรมการบริหารองคการนักศึกษา คณะกรรมการบริหาร สภานั ก ศึ กษา ประธาน เหรั ญญิ ก และเลขานุ การชมรม ในสั งกั ดองค การนั กศึ กษา กรรมการสโมสรนักศึกษาประจําคณะๆ ละไมเกิน 25 คน นักศึกษาที่ทําชื่อเสียงให มหาวิทยาลัย เชน นักกีฬา นักแสดง และนักศึกษาอื่นๆ ที่มหาวิทยาลัยเห็นสมควร เชน นักศึกษาที่มีความประพฤติดี หากมีที่ พักวางจะใหนักศึกษานอกเหนือจากที่มีอยูขางตน แจงความจํานงเขาพักในหอพักตามจํานวนทีพ่ กั วางทีม่ อี ยู

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 359

145x210mm_����������� �� 2560.indd 367

6/6/16 11:00 AM


อัตราคาธรรมเนียมหอพักนักศึกษา หอพัก (คน)

ประเภทหองพัก ตอภาคฯ ปกติ (บาท)

อาคาร 1-4 อาคาร 5-6 และ 15 อาคาร 7

3 4

อาคาร 8-11 อาคาร 12-14

3 2

คาธรรมเนียม

คาน้ํา

คาไฟ

3,300 ฟรี ฟรี 3,500 ฟรี ฟรี 3,000 (หองธรรมดา) ฟรี ฟรี 4,000 (หองปรับอากาศ) ฟรี ตามที่ ใชจริง 5,500 ตามที่ ใชจริง ตามที่ ใชจริง 4,100 ฟรี ฟรี

หมายเหตุ 1 สิ่งอํานวยความสะดวกของทุกอาคาร ยกเวนอาคาร 8-11: หองน้ํา หองสวม โทรทัศน โทรศัพท ระบบกลองวงจรปด ทีวีขาว ระบบโฟน เครือขายคอมพิวเตอรไรสายทุกอาคาร อยูภายนอก หองพัก (สวนรวม) ยกเวน หอพักอาคาร 2, 7 และ 14 มีเครือขายคอมพิวเตอรในหองพัก 2 สิ่งอํานวยความสะดวกในอาคาร 8-11: หองน้ํา หองสวม โทรศัพท เครือขายคอมพิวเตอร อยูภายในหองพัก (สวนตัว) 3 ไมอนุญาตนักศึกษาที่ พักในหอพักมีหรือใชรถจักรยานยนตและรถยนต ยกเวนนักศึกษาที่ไดรับ อนุญาตเทานั้น

การประกันสุขภาพ มหาวิ ทยาลั ยมี น โยบายให นั กศึ กษาเข า ร วมโครงการประกั น สุ ขภาพถ วนหน า (บัตรทอง) กับโรงพยาบาลสงขลานครินทร และจัดทําประกันภัยอุบัติเหตุสวนบุคคลใหกับ นักศึกษาทุกคน โดยไดรับสิทธิ์เขารักษาพยาบาลและคุมครองกรณีปวยหรือไดรับอุบัติเหตุ ดังนี้ 1. กรณีปวยไข มีสิทธิ์ เขารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลสงขลานครินทร ตามที่สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) กําหนด บุตรขาราชการมีสิทธิ์เบิก สวัสดิการ 2. กรณีไดรับอุบัติเหตุ มีสิทธิ์เขารับการรักษาพยาบาลไดทั้งในโรงพยาบาลของ รัฐ เอกชน คลินิก และโพลีคลินิกทั่วโลก ตลอดปการศึกษา โดยมีสิทธิ์เบิกจายคารักษา

360 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 368

6/6/16 11:00 AM


พยาบาลไดเทาที่ จายจริงภายในวงเงิ นความคุ มครองในแต ละป โดยป จจุ บันมีความ คุมครองคารักษาพยาบาลไมเกิน 12,000 บาทตออุบัติเหตุแตละครั้ ง โดยไมจํากัดครั้ง ของการเกิดอุบัติเหตุ และถาเสียชีวิตหรือทุพพลภาพ จะไดรับเงินชดเชยจํานวน 120,000 บาท พรอมเงินชวยเหลือคาปลงศพ จํานวน 10,000 บาท และถาเสียชีวิตจากโรคภัย ไขเจ็บ ยกเวนโรคเอดส และการติดโรคหรือเจ็บปวยใดๆ ซึ่งแสดงผลตรวจเลือดเปนบวก ของไวรัส HIV จะไดรับเงินชวยเหลืองานศพ เปนเงินจํานวน 30,000 บาท 3. กรณีปวยไขและสรางเสริมสุขภาพเบื้องตน มีสิทธิ์เขารับบริการที่โรงพยาบาล สงขลานครินทร ตลอด 24 ชั่วโมง และที่ ศูนยสุขภาพนักศึกษา ณ อาคารโรงอาหาร มหาวิทยาลัย ตรงขามศูนยอาหารโรงชาง เวลา 12.30-20.15 น. ในวันราชการ และเวลา 13.00-16.00 น. ในวันเสาร และวันหยุดนักขัตฤกษ 4. กรณีเจ็บปวยเล็กนอยมีบริการหองยาสามัญในหอพักนักศึกษาทุกอาคาร 5. แจงความจํานงทําบัตรทองที่หนวยบริการปฐมภูมิ และทําสิทธิ์จายตรงที่ฝาย เวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร

การใชสิทธิ์และเบิกจายเงิน

1. กรณี ป ว ยไข ให นั ก ศึ ก ษาแสดงบั ตรประจํา ตั ว นั ก ศึ ก ษาและบั ต รทองต อ เจาหนาที่หนวยพยาบาลปฐมภูมิ และเจาหนาที่การเงินโรงพยาบาลสงขลานครินทร โดย ไมตองชําระเงินกับทางโรงพยาบาล 2. กรณีไดรบั อุบัติเหตุ 2.1 การเขารับการรักษาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร ถือปฏิบัติเชนเดียว กับขอ 1 โดยนักศึกษาตองแจงเจาหนาที่การเงินของโรงพยาบาลวาไดประสบอุบัติเหตุ และใหนักศึกษากรอกใบเรียกรองคาสินไหมทดแทน ที่งานบริการและสวัสดิการนักศึกษา ณ อาคารสํานักงานหอพัก โทรศัพท 074-282211 หรือ 074-282000 ตอ 2211 2.2 การเข ารั บการรั กษาในโรงพยาบาลอื่ นๆ (ที่ ไม ใช โรงพยาบาลสงขลา นครินทร) ใหติดตอขอเบิกจายเงินคืนที่ งานบริการและสวัสดิการนักศึกษา กองกิจการ นักศึกษา ณ อาคารสํานักงานหอพัก โดยแนบหลักฐานใบเสร็จรับเงินคารักษาพยาบาล ฉบับจริงและใบรับรองแพทย ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เว็ปไซดกองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 361

145x210mm_����������� �� 2560.indd 369

6/6/16 11:00 AM


บริการปรึกษา/แนะแนว แนะแนวและจัดหางาน

บริการแนะแนวและจัดหางานเปนบริการที่ใหขอมูลขาวสาร ความรู และคํา แนะนําปรึกษาสําหรับนักศึกษาดังนี้ 1. บริการจัดหางานพิเศษ (part-time) เปนบริการที่จัดใหแกนักศึกษาที่ตองการ หารายไดพิเศษระหวางเลาเรียนเพื่อแบงเบาภาระดานการเงินของครอบครัว หรือเพื่อใช เวลาวางใหเกิดประโยชน หรือเพื่อหาประสบการณใหกับตนเอง ไดแก งานสอนหนังสือ พิเศษ งานเก็บขอมูลตามแบบสอบถาม ฯลฯ 2. บริการจัดหางาน เปนบริการที่จัดใหแกนักศึกษาชั้ นปสุดทายที่จะสําเร็จการ ศึกษาไดมีโอกาสเขาสูอาชีพการงาน ทําหนาที่เปนแหลงขอมูลกลางระหวางองคกรธุรกิจ หนวยงานราชการ และองคกรรัฐวิสาหกิจ แจงขาวการรับสมัครงาน ตําแหนงงานวาง และประสานการคัดเลือกบุคคลเขาทํางานของบริษัทตางๆ

บริการการปรึกษา

บริการการปรึกษา (counseling) จัดใหมีขึ้นโดยมีวัตถุประสงค 1. ช วยเหลื อนั กศึกษาที่ ประสบความยุ งยากใจในเรื่ องส วนตัว การปรั บตั วใน ด านต างๆ หรื อป ญหาอื่ นใดที่ เป นอุ ปสรรคขั ดขวางการดําเนิ นชี วิ ตให ปกติ สุขหรื อเป น ผลกระทบตอการศึ กษาเล าเรี ยน เพื่ อใหนั กศึกษาสามารถผ านอุ ปสรรคชี วิต รู จั กการ ปรับตัวเขากับสภาวะสังคมและสภาพแวดลอม ปรับตัวกับระบบการเรียนในมหาวิทยาลัย สามารถใชความสามารถและศักยภาพของตนไดอยางเต็มที่ 2. เพื่ อปองกันปญหาที่ จะเกิดขึ้ นกับนักศึ กษา โดยการพัฒนานักศึกษาในดาน สังคมและจิตใจ ชวยใหนักศึกษาไดเกิดการพัฒนาตน มีความเจริญงอกงามทางดานจิตใจ รูจักและเขาใจตนเองมากขึ้น ยอมรับทั้งคุณสมบัติและขอบกพรองของตนเองและของ ผูอื่น มองโลกตามความเปนจริง รูจักสรางสายสัมพันธอันดีกับผูอื่น อันนําไปสูการดํารง ชีวิตอยางเปนปกติสุข * ติดตองานแนะแนวและจัดหางาน โทร. 0 7428 2000 ตอ 2204

362 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 370

6/6/16 11:00 AM


ทุนการศึกษาและเงินยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ มีนโยบายชวยเหลือนักศึกษาที่ ขาดแคลนทุนทรัพยใหมีโอกาสศึกษาจนสําเร็จ จึงไดจัดหาทุนการศึกษาจากแหลงตางๆ รวมทัง้ จัดสรรทุนการศึกษาแกนกั ศึกษาดังนี้ 1. ทุ นการศึ กษา 1.1 ทุนประเภทชวยเหลือโดยการทํางานแลกเปลี่ยน เป นทุ นที่ มหาวิ ทยาลั ย ฯ จั ดสรรให นั กศึ กษา โดยกําหนดให ผู รับทุ น ทํางานใหกับหนวยงานของมหาวิทยาลัยฯ นักศึกษาจะไดรับคาตอบแทนคิดเปนชั่วโมง การทํางาน ชั่วโมงละ 25 บาท ระยะเวลาทํางานไมเกิน 100 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา 1.2 ทุนประเภททั่วไป (ทุนธนาคาร, มูลนิธิ ฯลฯ) เปนทุนทีม่ หาวิทยาลัยไดรับความอนุเคราะหเงินทุนจากหนวยงาน บริษัท ธนาคารและเอกชน มูลนิธิ จํานวนเงินทุนตั้งแต 3,000-30,000 บาท/ป ติดตองานแนะแนวและจัดหางาน โทร. 0-7428-2000 ตอ 2204, 0-7428-2204 หรือ 0-7455- 8902 หรือ http://student.psu.ac.th และ http://scholarship.psu.ac.th

2. เงินยืมเพื่ อการศึ กษา 2.1 เงินยืมเพื่อเหตุฉุกเฉิน เป นเงิ นที่ ม หาวิ ทยาลั ยจั ด ตั้ ง ขึ้ นเพื่ อ ให บริ การแก นั กศึ ก ษาที่ มี ค วาม เดือดรอนเรื่องการเงินกระทันหัน ใหยืมคราวละ 1,000 บาท 2.2 กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุ นเงิ นให กู ยื มเพื่ อการศึ กษา (กยศ. และ กรอ.) เป นกองทุ นที่ รัฐบาลจั ดตั้ งขึ้ นเพื่ อชวยเหลือนักศึกษาที่ ขาดแคลนทุนทรั พยไดมีโอกาสศึกษาจนสําเร็จ ระดับปริญญาตรี ผูมีสทิ ธิ์กูยืมตองมีคุณสมบัติตามที่กองทุนฯ และมหาวิทยาลัยกําหนดให กูยืม คาธรรมเนียมการศึกษา และคาใชจายรายเดือน ตามเงื่อนไขของแตละประเภท ผูกูยืมตองชําระเงินคืนกองทุนใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลา 15 ป เริ่มชําระหนี้หลังสําเร็จ การศึกษาหรือเลิกการศึกษาแลว 2 ป ดอกเบี้ยรอยละ 1 ตอป ติดตองานกองทุนใหกูยืม เพื่อการศึกษา โทร. 074-282203 ทั้งนี้นักศึกษาตองชําระคืนหลังสําเร็จการศึกษา *ติดตอกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา โทร. 0-7428-2000 ตอ 2203 หรือ http://student.psu.ac.th/psustudentloan

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 363

145x210mm_����������� �� 2560.indd 371

6/6/16 11:01 AM


กิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีนโยบายที่ จะสนั บสนุนใหนักศึกษาไดมีโอกาสเขา รวมกิจกรรมตามความถนั ดและความสนใจ นอกเหนือจากการฟงบรรยายในหองเรียน ตลอดจนการฝกฝนทักษะเพื่อที่จะใหเปนบัณฑิตที่เพียบพรอมไปดวยความรูความสามารถ บุคลิกภาพที่ดี มีวิจารณญาณ เสียสละตอสวนรวม มีคุณธรรม จริยธรรม และสุขภาพ พลานามัยที่แข็งแรง เปนบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม สมบูรณทั้งทางดานสติปญญา รางกายและจิตใจ โดยนักศึกษาสามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ตามความสนใจ 1. กิจกรรมสวนกลาง ไดแก องคการบริหารองคการนักศึกษา สภานักศึกษา คณะกรรมการนักศึกษาประจําหอพัก และชมรมในสังกัดองคการบริหารองคการนักศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 4 ฝาย ดังนี้ 1.1 ชมรมดานบําเพ็ญประโยชน เชน - ชมรมสาธารณสุขสัมพันธ - ชมรมอาสาพัฒนา - ชมรมการศึกษาเพือ่ สังคม - ชมรมโรตาแรคท - ชมรมอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม 1.2 ชมรมดานศิลปวัฒนธรรม เชน - ชมรมพุทธศาสน - ชมรมคริสเตียน - ชมรมดนตรีไทย - ชมรมดนตรีสากล - ชมรมศิลปวัฒนธรรมภาคใต - ชมรมขับรองประสานเสียง - ชมรมมุสลิม - ชมรมศิลปะการเตนรํา 1.3 ชมรมดานกีฬา เชน - ชมรมแบดมินตัน - ชมรมหมากกระดาน - ชมรมเทนนิส - ชมรมวอลเลยบ อล - ชมรมเปตอง - ชมรมฟุตบอล - ชมรมรักบี้ฟุตบอล - ชมรมบริดจ - ชมรมวายน้ํา - ชมรมศิลปะปองกันตัว - ชมรมซอฟทบอลและเบสบอล - ชมรมบาสเกตบอล - ชมรมเทเบิลเทนนิส 1.4 ชมรมดานวิชาการ เชน - ชมรมดูนก - ชมรมศิลปะการถายภาพ - ชมรมวิเทศสัมพันธ - ชมรมวาทศิลป

364 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 372

6/6/16 11:01 AM


- ชมรมภาษาอังกฤษ - ชมรมอิเลคทรอนิคส และคอมพิวเตอร 2. กิจกรรมสวนคณะ ไดแก กิจกรรมสโมสรและชุมนุมในสังกัดสโมสรคณะ ตางๆ ทั้ง 13 คณะ เชน - ชุมนุมวิชาการ - ชุมนุมพัฒนาสังคม - ชุมนุมการเงินการบัญชี - ชุมนุมเกษตร - ชุมนุมคอมพิวเตอรธรุ กิจ สําหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี มหาวิทยาลัยไดกําหนดเปาหมายการบมเพาะ นักศึกษาเพื่อใหเปนผูมีจิตสาธารณะ มีทักษะชีวิต ความเปนไทย มีคุณธรรมจริยธรรม ภาคภูมิใจในสถาบัน ความเปนลูกพระบิดา ความรูสึกเปนหนึ่งเดียว ไมแยกวิทยาเขต และความเขาใจในพหุวัฒนธรรม ซึ่งการเสริมสรางใหบรรลุเปาหมายดังกลาว นักศึกษา ตองผานการจัดหรือการเขารวมกิจกรรมตามที่กลาวแลวขางตน ตั้งแตปที่ 1 ถึงปสุดทาย มีจํานวนรวมทั้งสิ้นไมนอยกวา 17 กิจกรรม มีจํานวนหนวยชั่วโมงที่เขารวมไมนอยกวา 100 ชั่วโมง

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 365

145x210mm_����������� �� 2560.indd 373

6/6/16 11:01 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μ»ÑμμÒ¹Õ

หอพักนักศึกษา ตอไปนี้

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี มีบริการหอพักดังรายละเอียด

1. ภาคการศึกษาปกติ ชื่อหอพัก

หอพัก 1 หอพัก 2 หอพัก 3 หอพัก 4 หอพัก 5 หอพัก 6 หอพัก 7 หอพัก 8 หอพัก 9

ประเภท หอพัก

จํานวนหอง ตอหอพัก (หอง)

จํานวนคน ตอหอง (คน)

จํานวนที่ ที่ ใหบริ การ (ที่ )

ราคาตอคน ตอภาคการ ศึกษา(บาท)

หอพักชาย หอพักชาย หอพักชาย หอพักชาย หอพักหญิง หอพักหญิง หอพักหญิง หอพักหญิง หอพักหญิง

18 17 18 18 52 78 77 99 200

6 6 6 6 4 4 4 4 4

108 102 108 108 208 312 308 396 800

1,500 1,500 1,500 1,500 2,000 1,800 1,800 1,800 2,800

6

264 690 2,024 2,714

1,500

หอพักศรีตรัง หอพักชาย 44 หอพักชาย (1–4 และศรีตรัง) จํานวนที่ใหบริการ หอพักหญิง (5–9 ) จํานวนที่ใหบริการ รวมจํานวนที่ใหบริการ

หอพัก

สิ ทธิ ในการขอหอพั ก วิทยาเขตปตตานี กําหนดหลักเกณฑในการจัดที่พกั ใหนักศึกษา ดังนี้ 1. นักศึกษาปที่ 1 ใหสิทธิในการอยูหอพักทุกคน แตจะใชสิทธิหรือไมก็ได 2. นักศึกษาชั้นปที่ 2-5 จะไดสิทธิพัก กรณีที่สมัครเขาเปนพี่เลี้ยงนักศึกษา

366 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 374

6/6/16 11:01 AM


3. นักศึกษาที่มหาวิทยาลัยจัดสรรที่พักให เชน นักศึกษาทุนตางๆ นักศึกษา ทีป่ ระสบภัยพิบัตกิ รณีสนึ ามิ นักศึกษาทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากเหตุการณสามจังหวัดชายแดน ใตฯ 4. นักศึกษาที่ไดรับการพิจารณาใหอยูหอพักกรณีพิเศษ ไดแก นักศึกษาที่มี ปญหาทางดานเศรษฐกิจ นักศึกษาที่มีโรคประจําตัว รางกายทุพพลภาพ และนักศึกษา ทีป่ ฏิบัตหิ นาที่คณะกรรมการนักศึกษาประจําหอพัก 2. ภาคการศึกษาฤดูรอน ภาคการศึกษาละ 750.-บาทตอคน 3. กรณีพักรายวัน กําหนดอัตรา ดังนี้ 3.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นักเรียนโรงเรียนสาธิต เปนเงิน 40 บาทตอคนตอคืน 3.2 นักเรียน นักศึกษาทั่วไป เปนเงิน 50 บาทตอคนตอคืน 3.3 บุคคลทั่วไป 100 บาทตอคนตอคืน 4. บริการใหเชาชุดเครื่องนอน ไดแก หมอน ปลอกหมอน ผาปูที่นอน ผาหม ทัง้ หนวยงานภายในและภายนอก 5. หอพักนั กศึกษาในกํากั บมหาวิ ทยาลั ยสงขลานครินทร วิ ทยาเขตป ตตานี รองรับนักศึกษาไดประมาณ 1,068 คน โดยแบงเปน นักศึกษาชายจํานวน 292 คน นักศึกษาหญิงจํานวน 776 คน ลักษณะหองพัก หองพักขนาด 3.5 x 4 เมตร จํานวน 267 หอง/1อาคาร (มี 2 อาคาร) เขาพักหองละ 2 ทาน มีหองน้ําในตัว คาใชจายหองพักสําหรับ 1 ทาน - หองธรรมดา (พัดลม) คาเชา 8,000 บาท (1,600 x 5 เดือน) คาประกันความเสียหาย 1,500 บาท (คิดเปนเทอม) - หองปรับอากาศ คาเชา 9,500 บาท (1,900 x 5 เดือน ) คาประกันความเสียหาย 1,500 บาท (คิดเปนเทอม) นักศึกษาสามารถเขาพักไดทุกชั้นป - คาไฟฟายูนิตละ 6.50 บาท /เดือน (จายตามมิตเตอรที่ใชจริง) - คาน้ําประปาเหมาจายหองละ 107 บาท/เดือน - คาโทรศัพทคิดอัตราตามองคการโทรศัพท

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 367

145x210mm_����������� �� 2560.indd 375

6/6/16 11:01 AM


สนใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ หอพักในกํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จันทร - ศุกร เวลา 08.30-16.30 น. หมายเลขโทรศัพทหอพักอาคาร 1 0-7335-0419 หมายเลขโทรศัพทหอพักอาคาร 2 0-7335-0359 โทรสาร : 073-350426 โทรศัพทสํานักงาน : 08-1963-3397 หรือ 083-6571950 เว็บไซต http://dorm.pn.psu.ac.th/cdorm/

บริการสุขภาพ วิทยาเขตปตตานี มีหนวยพยาบาลใหบริการดานสุขภาพในดานการดูแล ปองกัน รักษา และฟนฟูสุขภาพ สําหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคลากรของ มหาวิทยาลัย หนวยพยาบาลตั้งอยู ณ อาคาร 13 ชั้น 1 (กองกิจการนักศึกษา) เปดใชบริการ เวลา 08.30-16.30 น. กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินใหติดตอโทรศัพทภายในหมายเลข 1111

หนาที่โดยทั่วไป

1. ใหบริการดานสุขภาพและอนามัยสําหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร ของมหาวิทยาลัย 2. จัดเตรียมยาและครุภัณฑทางการพยาบาล สําหรับใหบริการในหองพยาบาล 3. จัดโครงการดานสุขภาพ เชน โครงการบริจาคโลหิต โครงการสงเสริม สุขภาพและปองกันโรค 4. ประสานงานเกี่ยวกับโครงการประกันอุบัติเหตุ (หมู) สําหรับนักเรียน นัก ศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย

หนวยบริการดานสุขภาพและอนามัย (พยาบาล)

1. บริการรั กษาพยาบาลเบื้ องต นด วยการคั ดกรองผู ปวยโดยการซักประวัติ การตรวจรางกาย ตรวจวินิจฉัย และใหการรักษาโรคงายๆ ที่พบบอย และสงตอ ผู ปวย

368 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 376

6/6/16 11:01 AM


2. บริการสวั สดิ การการรักษาพยาบาลของนักศึ กษา 2.1 เบิกคารักษาพบาบาลกรณีโรค/อาการทั่วไป นักศึกษาสามารถเขารับบริการได ณ โรงพยาบาลปตตานี โรงพยาบาล ยะลา โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันแพทยศาสตร โรงพยาบาลสงขลานครินทร โดย เปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เรื่ อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติการ บริการสุขภาพวิทยาเขตปตตานี ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 โดยนักศึกษาจะตอง สํารองจายคารักษาพยาบาลใหกับสถานพยาบาลกอน กรณีผูปวยนอก นักศึกษาสามารถเบิกไดไมเกิน 500 บาท/ครั้ง และ ไมเกิน 10,000 บาท/ปการศึกษา โดยนําใบเสร็จรับเงินมาเบิกคารักษาคืนไดที่หนวย พยาบาล กรณีผูปวยใน นักศึกษาสามารถเบิกไดไมเกิน 30 วัน/ปการศึกษา และ เปนเงินไม เกิ น 10,000 บาท/ปการศึ กษา โดยนําใบเสร็จรั บเงินพรอมใบรับรองแพทย มาเบิกคารักษาคืนไดที่หนวยพยาบาล 2.2 เบิกคารักษาพยาบาลกรณีประสบอุบัติเหตุ นั กศึ กษาสามารถเข ารั บการรั กษาได ทุ กสถานรั กษาพยาบาล ได แก โรงพยาบาลของรั ฐ โรงพยาบาลเอกชน และคลินิก ซึ่ งสามารถเบิกได ไมเกิน 12,000 บาท/ครั้ง ไมจํากัดจํานวนครั้ ง โดยนักศึกษาจะตองสํารองจายคารักษาพยาบาลใหกับ สถานพยาบาลกอน แลวนําใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองแพทย สําเนาสมุดบัญชี มาเบิกคา สินไหมทดแทนคืนไดทหี่ นวยพยาบาล 3. บริการใหคําปรึกษาแบบองครวม คือ รางกาย จิตใจ ปญญา จิตวิญญาณ และสังคม มุงเนนการมีสุขภาพดี มีความรูสึกเปนสุข สรางสมดุลของชีวิต 4. บริ การกระเป ายา เพื่ อใช ในการจั ดกิ จกรรมที่ ได รั บอนุมั ติ อย างถู กต อง ของนักศึกษา โดยจะตองติ ดตอลวงหน า 2 วันทําการ และผู ที่จะมาติดตอจะตอง ผ านการอบรมของหน วยพยาบาลเท านั้ น ติดต อหน วยพยาบาล Facebook: หน วยพยาบาล ม.อ.ปตตานี หรื อสาย ภายใน โทร 1238

กิจกรรมนักศึกษา 1. กิจกรรมสวนกลาง ไดแก องคการบริหารองคการนักศึกษา สภานักศึกษา ชมรมในสังกัดองคการบริหารองคการนักศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 4 ฝาย ดังนี้ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 369

145x210mm_����������� �� 2560.indd 377

6/6/16 11:02 AM


1.1 ชมรมดานบําเพ็ญประโยชน ไดแก - ชมรมอาสาพัฒนาชนบท - ชมรมดูนก - ชมรมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - ชมรมเยาวชน ม.อ. ทําความดีสูสังคม 1.2 ชมรมดานวิชาการ ไดแก - ชมรมหนังสือและวรรณกรรม - ชมรมวิเทศสัมพันธ - ชมรมนักศึกษารักสันติ - ชมรมไอที ม.อ. ปตตานี - ชมรมวาทนิเทศ ม.อ. ปตตานี - ชมรมชอสะอาด ม.อ. ปตตานี - ชมรมเถาแกนอยเพือ่ สังคม - ชมรมถายภาพ ม.อ. ปตตานี 1.3 ชมรมดานศิลปะและวัฒนธรรม - ชมรมมุสลิม - ชมรมพุทธศาสน - ชมรมนาฏศิลปและดนตรีไทย - ชมรมสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรมมุสลิมจังหวัดชายแดนใต - ชมรมดนตรีสากล - ชมรมสังคมศาสตร - ชมรมเชียรและนันทนาการ - ชมรมวิจิตรศิลป 1.4 ชมรมดานกีฬา - ชมรมฟุตบอล - ชมรมฟนดาบ - ชมรมวอลเลยบ อล - ชมรมฮอกกี้ ม.อ. ปตตานี - ชมรมเซปกตะกรอ - ชมรมเปตอง - ชมรมเรือพาย - ชมรมมวยสากลสมัครเลน 2. กิ จกรรมสวนคณะ/วิ ทยาลัย ไดแก กิ จกรรมสโมสรนั กศึกษาในสั งกั ด สโมสรตางๆ จํานวน 7 คณะ 1 วิทยาลัย คือ - คณะศึกษาศาสตร - คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร - คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - คณะศิลปกรรมศาสตร - คณะวิทยาการสื่อสาร - สโมสรนักศึกษาคณะรัฐศาสตร - คณะพยาบาลศาสตร - วิทยาลัยอิสลามศึกษา

370 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 378

6/6/16 11:02 AM


ทุนการศึกษาและเงินยืมเพื่อการศึกษา งานแนะแนวการศึกษาในงานบริการที่จัดบริการตางๆ ใหนักศึกษาดังนี้ 1. ทุนการศึกษา 1.1 ทุนทํางานแลกเปลี่ยน เปนทุนที่วิทยาเขตปตตานีจัดสรรใหนักศึกษา โดยใหชวยงานในหนวย งานตางๆ ของมหาวิทยาลัย จะไดรับคาตอบแทนเดือนละ 1,200 บาท/30 ชั่วโมง/เดือน 1.2 ทุนทั่วไป เปนทุนที่วิทยาเขตปตตานีไดรับจากหนวยงาน บริษัท ธนาคาร มูลนิธิ ตางๆ เพื่อจัดสรรใหนักศึกษาตามเงือ่ นไขของทุนกําหนด 1.3 ทุนยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษา เปนทุนที่วิทยาเขตปตตานีพิจารณาใหกับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย ชั้นปที่ 1 จนสําเร็จการศึกษา โดยยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษา 3 รายการ คือ คา หนวยกิต คาบํารุงมหาวิทยาลัย และคาบํารุงหองสมุด

2. เงินยืมเพื่ อการศึ กษา 2.1 เงินยืมเพื่อการศึกษา เปนเงินยืมที่วิทยาเขตปตตานีจัดใหนักศึกษาที่มีความเดือดรอน ยืมใช คราวละไมเกิน 3,000 บาท และผอนชําระขั้นต่ํา 300 บาท 2.2 กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา เปนกองทุนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อเปน การสนับสนุ นและพั ฒนาทรั พยากรมนุษยของประเทศ จัดให กับนักศึกษาที่ ขาดแคลน ทุนทรัพยไดมีโอกาสศึกษาจนสําเร็จการศึกษา วงเงินกูยืมไมเกิน 60,000 บาท/คน/ป

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 371

145x210mm_����������� �� 2560.indd 379

6/6/16 11:02 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÀÙà¡çμ

หอพักนักศึกษา หอพักนักศึกษาในกํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต (หอหญิง)

1. รายละเอียดหอพัก หอพักนักศึกษาในกํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต เปน หอพักในการดูแลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต ซึ่งสรางขึ้นเพื่อเปด รับนักศึกษาหญิงลวนเทานั้น มีดวยกันทั้งหมด 3 หอพัก โดยแบงเปนหอพักนักศึกษาใน กํากับฯ 1 2 และหอพักนักศึกษาในกํากับฯ 3 2. ขอมูลหอพัก 2.1 หอพักนักศึกษาในกํากับฯ 1 2 2.1.1 อาคาร 2 อาคาร 2.1.2 หองพัก 268 หอง แบงเปน - หองปรับอากาศ จํานวน 163 หอง รับนักศึกษาได 326 คน - หองธรรมดา จํานวน 105 หอง รับนักศึกษาได 210 คน 2.13 พักหองละ 2 คน 2.2 หอพักนักศึกษาในกํากับฯ 3 2.2.1 อาคาร 1 อาคาร 2.2.2 หองพักปรับอากาศ 251 หอง รับนักศึกษาได 502 คน 2.2.3 พักหองละ 2 คน 3. สิทธิ์การพักอาศัยในหอพักนักศึกษา นักศึกษาหญิงทุ กคนมีสิทธิ์พั กอาศัยในหอพักนักศึกษาในกํากับมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต 1 ปการศึกษาเทานั้น โดยสํานักงานหอพักนักศึกษาใน กํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาเขาพักใน หอพักในปการศึกษาถัดไป โดยกําหนดใหนักศึกษาจะตองเขารวมกิจกรรมตามที่สํานักงาน หอพักนักศึกษาในกํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กําหนดดังนี้ 3.1 นักศึกษาชั้นปที่ 2 และชั้นปที่ 3 ใหเขารวมกิจกรรมดังนี้ 3.1.1 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนที่จดั โดยหอพักนักศึกษาในกํากับฯ 1 กิจกรรม

372 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 380

6/6/16 11:02 AM


μ

3.1.2 กิจกรรม 5 ส. (ผานการตรวจสอบมาตรฐาน 5 ส. หองพักนักศึกษา) 1 กิจกรรม 3.2 นักศึกษาชั้นปที่ 1 ใหเขารวมกิจกรรมดังนี้ 3.2.1 กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาหอพัก 1 กิจกรรม 3.2.2 กิจกรรมอบรมปองกันอัคคีภัย 1 กิจกรรม 3.2.3 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนที่จดั โดยหอพักนักศึกษาในกํากับฯ 1 กิจกรรม 3.2.4 กิจกรรม 5 ส. (ผานการตรวจสอบมาตรฐาน 5 ส. หองพักนักศึกษา) 1 กิจกรรม 4. คาใชจายหอพัก 4.1 คาไฟฟา ยูนิตละ 7.49 บาท 4.2 คาน้ําประปา ยูนิตละ 18.19 บาท

หอพักนักศึกษาชาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต (หอชาย)

รายละเอียดหอพัก 1. นักศึกษาชายระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 ที่มีภูมิลําเนาตางจังหวัด มีสิทธิ์เขา พักภายในหอพักชายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต ทุกคน 2. นักศึกษาชายระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 ที่มีภูมิลําเนาในจังหวัดภูเก็ตมีสิทธิ์ เขาพักทุกคน โดยจะใชสิทธิ์พักหรือไมก็ไดในหอพักนักศึกษาชายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูก็ต 3. นักศึกษาชายระดับปริญญาตรีทกุ ชั้นปที่มหาวิทยาลัยจัดสรรใหเปนกรณีพิเศษ • นักศึกษาชายที่มีรางกายทุพพลภาพ หรือมีโรคประจําตัว ซึ่งแพทยรับรอง วาเปนอุปสรรคในการเดินทาง • นักศึกษาชายในโครงการพิเศษตางๆ - นักศึกษาชายโครงการทุ นอุดมศึ กษาเพื่ อการพั ฒนาจังหวั ดชายแดน ภาคใต - นักศึกษาโครงการทุนตนกลาสงขลานครินทร 4. นักศึกษาชายผูนํากิจกรรม อนึ่ งนักศึกษาตามขอ 4 หอพักนักศึกษาชาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต จะจัดสรรใหจํานวน 30 คนเทานั้น นับตาม ลําดับการแจงความประสงคและสงใบสมัคร

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 373

145x210mm_����������� �� 2560.indd 381

6/6/16 11:02 AM


5. นั กศึกษาชายทั่ วไปของมหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร วิ ทยาเขตภู เก็ ต ที่ มี จํานวนชั่ วโมงทรานสคริ ปกิ จกรรมที่ จั ดโดยกองกิ จการนั กศึ กษา นั บตามลําดั บชั่ วโมง กิจกรรมที่ไดปฏิบัติ จํานวน 100 คนเทานั้น •

ลําดับที่

หองพักนักศึกษาชายทั่วไป จํานวน 192 หอง รองรับนักศึกษาได 384 คน หองพัก

จํานวนเตียง

คาหอพัก/ คน/ภาค การศึกษา

1 2 3 4 5 6 7

ชั้น A (24 หอง) ชั้น B (24 หอง) ชั้น C (24 หอง) ชั้น D (24 หอง) ชั้น E (24 หอง) ชั้น F (24 หอง) ชั้น G (24 หอง)

48 เตียง

4,000 บาท

8

ชั้น H (24 หอง)

48 เตียง

6,000

คาไฟฟา/ คน/ เดือน

คิ ดตาม มิ เตอร ยูนิตละ 5 บาท

คาน้ํา/ คน/ เดือน

หมายเหตุ

เทอม 1 เหมาจาย จายคา 35 บาท ประกันหอ 300 บาท เทอม 1 จายคา ประกันหอ 1,000 บาท

หองพักนักศึกษาตางชาติมีจํานวน 8 หอง รองรับนักศึกษาได 17 คน (เนื่อง จากมี 1 หองที่เปดใหนักศึกษาพักได 3 คน) •

ลําดับที่ 1

หองพัก จํานวนเตียง คาหอพัก/คน/ คาไฟฟา/ ภาคการศึกษา คน/เดือน 8

17 เตียง

คาน้ํา/คน/ หมายเหตุ เดือน

5,000 บาท คิดตามมิ เตอร เหมาจาย คาประกันหอ ยูนิตละ 5 บาท 100 บาท 3,000 บาท

374 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 382

6/6/16 11:02 AM


การประกันสุขภาพ มหาวิทยาลัยไดจั ดทําบั ตรประกันสุ ชภาพถวนหนาให กับนั กศึกษาที่ ยายทะเบียน บานเขามาอยูในมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษาสามารถเขารับบริการไดที่สถานพยาบาลของ รัฐ หรือหนวยงานราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแหงภายในจังหวัดภูเก็ต

การประกันอุบัติเหตุ

มหาวิทยาลัยไดจัดทําประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล (กลุม) ใหกับนักศึกษาทุกคน โดย นักศึกษาชําระคาประกันอุบัติเหตุ พรอมกับคาลงทะเบียนเรียน ซึ่งจะไดรับสิทธิคุมครอง อุบตั ิเหตุ ดังนี้ ตารางผลประโยชน และความคุ มครอง

วงเงินคุมครอง อุบัติเหตุ อุบัติเหตุพิเศษ อุบัติเหตุพิเศษ ทั่วไป หรือภัยสาธารณะ และภัยสาธารณะ

1. เสียชีวิต เนื่องจากอุบัติเหตุ 120,000.00 2. ทุพพลภาพถาวรเนื่องจากอุบัติเหตุ 120,000.00 3. สูญเสียอวัยวะ สายตา ขอมือ นิ้ว หูหนวก เปนใบ จากอุบัติเหตุ 120,000.00 4. คารักษาพยาบาลตออุบัติเหตุแตละครั้ง 12,000.00 5. คารถพยาบาลสงตอเพื่อการรักษา ตามความเห็นแพทยในวงเงินไมเกิน 15,000.00 6. คาปลงศพ เสียชีวิตเนื่องจากจากอุบัติเหตุ 7. คาปลงศพ เสียชีวิตเนื่องจากโรคภัยใกลเจ็บ ยกเวนโรคเอดส และการติดโรค หรือการ เจ็บปวยใดๆ ซึ่งแสดงผลเลือดเปนเลือดบวก ของไวรัส HIV

240,000.00 240,000.00

360,000.00 360,000.00

240,000.00 -

360,000.00 -

30,000.00

-

30,000.00

หมายเหตุ 1. อุบัติเหตุพิ เศษ หมายถึ ง อุ บัติเหตุที่ เกิ ดขึ้ นภายในบริเวณสถานศึกษาของ ผูเอาประกันภัย หรือเนื่องจากการเขารวมกิจกรรมที่สถานศึกษาของผูเอาประกันภัยเปน ผูจัด หรือที่ไดรับอนุญาตใหจัดอยางถูกตองตามระเบียบและขอบังคับของผูเอาประกันภัย àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 375

145x210mm_����������� �� 2560.indd 383

6/6/16 11:03 AM


และซึ่ งผู เอาประกันภัยมีความรับผิดชอบตามกฎหมายตอนักศึกษา โดยบริษัทจะออก กรมธรรม ความรั บผิ ด ของสถานศึ ก ษาต อ นั กศึ กษา (School’s Liability) โดยความ คุมครองความรับผิดในกรณีดังกลาว มีความคุมครองสูงสุดครั้งละ 5,000,000 บาท และ ตลอดอายุกรรมธรรมมีความคุมครองสูงสุด 20,000,000 บาท เพิ่มใหอีก 1 ฉบับนอกเหนือ จากกรมธรรมอุบัติเหตุโดยทั่วไป รวมเปน 2 ฉบับ โดยไมเสียคาใชจายเพิ่มแตอยางใด 2. อุบัติเหตุสาธารณะ หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้ นในอาคารสาธารณะและรถ โดยสารสาธารณะ บริษัทจะใหความคุมครองผลประโยชนอุบัติเหตุสาธารณะสําหรับ นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร 2.1 ขณะเปนผูโ ดยสารและเกิดอุบัตเิ หตุขนึ้ กับรถไฟ รถโดยสารขนสงมวลชน รถโดยสารทีจ่ ดทะเบียนเพือ่ การขนสงทางบกสาธารณะ และรถโดยสารสาธารณะอืน่ ๆ เชน รถเมล รถไฟฟาใตดิน รถไฟ ลอยฟา 2.2 ขณะโดยสารในลิฟทสาธารณะ 2.3 ขณะอยูใ นอาคารสาธารณะและเกิดไฟไหม

บริการสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต ไดจัดยาและเวชภัณฑไวบริการ นักศึกษาทุกคน ณ หองพยาบาลของวิทยาเขตภูเก็ต ชั้น 1 อาคารเรียนรวมและ ปฏิบัติการกลาง (อาคาร 6) และมีโครงการบัตรประกันสุขภาพ (สําหรับนักศึกษาที่ยาย ทะเบียนบานมาอยู ในมหาวิ ทยาลัยเท านั้ น) นักศึกษาสามารถเขารับการรักษาพยาบาล ในสถานพยาบาลของรัฐทุกแหงในจังหวัดภูเก็ต นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไดทําประกัน อุบตั ิเหตุสว นบุคคลใหกับนักศึกษาทุกคน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ กองกิจการนักศึกษา วิทยาเขตภูเก็ต โทรศัพท 0 7627 6536

376 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 384

6/6/16 11:03 AM


ทุนการศึกษาและเงินยืมเพื่อการศึกษา 1. ทุ นประเภททั่ วไป

เปนทุนการศึกษาที่มหาวิทยาลัยฯ ไดรบั อนุเคราะหเงินทุนจากหนวยงานตางๆ เพื่อสงเสริมการศึกษา รวมทั้ งชวยเหลือนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดี ขาดแคลนทุ นทรั พย และสามารถช วยเหลื อกิ จกรรมของมหาวิ ทยาลั ยได เป นอย า งดี เงินทุนประเภทนี้ จะมีจํานวนเงินตั้ งแต 2,000-25,000 บาท/ป บางทุนใหเฉพาะแตละ ปการศึกษา บางทุนใหตอเนื่องจนสําเร็จการศึกษา ซึ่งทุกทุนการศึกษาจะมีเงื่อนไขการ ขอรับทุน และคุณสมบัติตามที่เจาของทุนเปนผูกําหนดและพิจารณาการใหทุนแกนักศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท-เอก อาทิ ทุนการศึกษาอัจฉริยะ ทุนมูลนิธิ ไทยซารโกเพื่ อการศึกษาและพัฒนาทองถิ่ น ทุนอุดมศึกษาเพื่ อพัฒนาจังหวัดชายแดน ภาคใต (ศอบต.) ทุนการศึกษาอายิโนะโมะโตะ ทุนสงนองเรียนจบ เปนตน

2. ทุนประเภทชวยเหลือโดยทํางานแลกเปลี่ยนภายในหนวยงาน มหาวิทยาลัยฯ

เปนทุนที่ มหาวิทยาลั ยฯ จั ดสรรให นักศึ กษาชวยงานในหน วยงานตางๆ ใน มหาวิทยาลัยฯ โดยไดรับคาตอบแทนชั่วโมงละ 45 บาท โดยทํางานไมเกิน 40-80 ชั่วโมง ตามประกาศมหาวิทยาลัย

3. การกูยืมกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)

นักศึกษาสามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.studentloan.or.th/ โทรศัพท 0-2610-4888 หรืองาน กยศ. ม.อ.ภูเก็ต โทรศัพท 076-276531

4. กองทุนเงินกูย ืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคต (กรอ.)

นักศึกษาสามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ http://www.studentloan.or.th/ โทรศัพท 0-2610-4888 หรืองาน กยศ. ม.อ.ภูเก็ต โทรศัพท 076-276531 สงเอกสารแบบคําขอกูยืมฯ ณ กองกิจการนักศึกษา ตึกสํานักงานอธิการบดี วิทยาเขตภูเก็ต ชั้น 2

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 377

145x210mm_����������� �� 2560.indd 385

6/6/16 11:03 AM


คุณสมบัติและความแตกตางระหวางกองทุน กยศ. และ กรอ. กยศ.

กรอ.

- ยื่นกูไดทกุ สาขา

- เรียนในสาขา 1. วิศวกรรมคอมพิวเตอร 2. วิศวกรรมซอฟแวร 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การทองเที่ยว 5. การจัดการบริการ - เปนผูท ี่มีความประพฤติดี มีความรับผิดชอบ - เปนผูที่มีความประพฤติดี มีความ แตงกายชุดนักศึกษาถูกระเบียบของ รับผิดชอบ แตงกายชุดนักศึกษา มหาวิทยาลัยฯ และเขารวมกิจกรรมที่ ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ และ มหาวิทยาลัยจัดขึน้ สม่ําเสมอ เขารวมกิจกรรมทีม่ หาวิทยาลัยจัดขึ้น สม่ําเสมอ - ผูกตู องขาดแคลนทุนทรัพย รายไดครอบครัว - ไมจํากัดรายไดครอบครัว แตกรณี ตองไมเกิน 200,000 บาท/ป (เปนรายไดเต็ม รายไดครอบครัว ไมเกิน 200,000 บาท ที่ยังไมโดนหักใดๆ ทั้งสิ้น) ตอป ผูก ูสามารถขอกูค าครองชีพได - ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมของภาคการศึกษา - ผลการเรียนเฉลีย่ สะสมของภาคการ ลาสุดตองไมนอยวา 2.00 ศึกษาลาสุดตองไมนอยวา 2.00 - ผูกตู องมีเอกสารหลักฐานการเขารวม - ผูกตู องมีเอกสารหลักฐานการเขารวม กิจกรรมจิตอาสาไมนอยกวา 18 ชั่วโมง กิจกรรมจิตอาสาไมนอยกวา 18 ชั่วโมง ตอภาคการศึกษาลาสุด ตอภาคการศึกษาลาสุด - การชําระหนีค้ ืน >> เมื่อสําเร็จการศึกษา - การชําระหนีค้ นื >> เมือ่ สําเร็จการศึกษา ใหนกั ศึกษาติดตอธนาคารกรุงไทยสาขาใด ใหนักศึกษาติดตอธนาคารกรุงไทย ก็ไดเพือ่ รายงานสถานภาพผูก ทู ี่ตอ งชําระ สาขาใดก็ไดเพื่อรายงานสถานภาพผูกู เงินคืนกองทุนฯ และมีระยะเวลาปลอดหนี้ ที่ตอ งชําระเงินคืนกองทุนฯ และชําระ 2 ป หลังจากสําเร็จการศึกษาโดยคิดอัตรา เมื่อมีรายไดถึงเกณฑที่กําหนด (รายได ดอกเบี้ยตามทีก่ องทุนกําหนด เดือนละ 16,000 บาท) ผูกูตองแจง จํานวนรายไดเดือนมีนาคมของทุกป ตอธนาคารกรุงไทยสาขาใดก็ได โดยคิด อัตราดอกเบีย้ ตามทีก่ องทุนกําหนด

378 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 386

6/6/16 11:03 AM


หลักเกณฑเงินไขการจายเงินสําหรับผูที่ไดรับสิทธิ์กูยืม - คาเลาเรียน จะเขาบัญชีมหาวิทยาลัยโดยตรง - คาครองชีพ จะเขาบัญชีธนาคารกรุงไทยของผูกู ทั้งนี้ การจายเงินคาครองชีพเดือนละ 2,200 บาท สําหรับผูที่ไดรับสิทธิ์กูยืมจะได รับเงินคาครองชีพ เมื่อบมจ.ธนาคารกรุงไทยตรวจสอบความถูกตองของเอกสารสัญญา กู ยืม/แบบลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยันคาเลาเรียนฯ และเอกสารที่ เกี่ ยวของครบถวน เปนที่เรียบรอยแลว และเมื่อผูกูไดรับเงินคาครองชีพในวันที่เทาไรเปนครั้งแรก ในเดือน ถัดไปผูกูจะไดรับเงินคาครองชีพในวันที่เดิมทุกเดือนจนกวาจะครบภาคเรียน (6 เดือน) เชน ภาคเรียนที่ 1 ผูกูไดรับเงินครั้งแรกในวันที่ 9 ผูกูจะไดรับเงินทุกวันที่ 9 ของเดือน ตอไป มหาวิทยาลัยขอใหผูกยู ืมตรวจสอบสัญญากูย มื และเอกสารทีเ่ กีย่ วของใหครบถวน และถูกตอง พรอมทั้งสงเอกสารใหตรงตามวันและเวลากําหนดที่มหาวิทยาลัยกอนเพื่อ ผูก ยู มื จะไดรบั เงินคาเลาเรียน และคาครองชีพภายในระยะเวลาทีก่ องทุนกําหนด ทั้งนี้นักศึกษาสามารถตรวจสอบการโอนจายเงินกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา ไดดงั นี้ https://www.youtube.com/watch?v=6QcUKi2dWN4&feature=youtu.be

ภารกิจเกี่ยวกับการจัดหางาน 1. จัดหางานใหกับนักศึกษาที่กําลังจะจบการศึกษา หรือนักศึกษาศิษยเกา โดย รวมมือกับหนวยงานภายนอกในการรับสมัครนักศึกษาเขาทํางาน โดยการประชาสัมพันธ ใหแกนกั ศึกษาทราบตามชองทางการสือ่ สารของทางมหาวิทยาลัย 2. บริการจัดหางานอาชีพ (งาน Part-time) สงเสริมใหนักศึกษาที่ ขาดแคลน ทุ นทรั พ ย มี แ หล ง เงิ น ทุ นช ว ยเหลื อ ให สามารถจบการศึ กษาออกไปสู สั ง คม ให มี ประสิทธิ ภาพทัดเที ยมกันจั ดใหบริการแกนักศึกษาในการประกอบอาชีพ และหางานทํา และพัฒนาศักยภาพนักศึกษาอันเปนประโยชนตอการทํางาน โดยงานบริการไดจัดแหลง ขอมูลขาวสารของความตองการแรงงาน หรือตําแหนงงานวางของหนวยงานตางๆ ทั้ง ภาครั ฐและเอกชนเพื่ อบริการแกนั กศึกษาที่ สนใจ ประสานงานกั บบริ ษัทหรื อองค กร เพื่ อหางานชั่ วคราวสําหรับนั กศึ กษา งานประจําสําหรับบั ณฑิ ตสงนั กศึ กษาไปฝ กงาน แนะนําบริ ษัทตําแหน งงาน แจกใบสมัคร และจัดงานนั ดพบแรงงาน จั ดทําข อมู ลการ ศึกษาตอ การประกอบอาชีพ ขาวการรับสมัครงาน ทุนการศึกษา จัดทําเอกสาร วิดีโอ แนะนําอาชีพ/บริษัทไว บริการใหยืม จัดแนะแนวการศึกษาตอตางประเทศ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 379

145x210mm_����������� �� 2560.indd 387

6/6/16 11:03 AM


บริการใหคําปรึกษา มหาวิ ทยาลั ย ตระหนั กในป ญหาของนั ก ศึ กษาที่ มาจากความแตกต างของวั ฒ นธรรม และการอยูรวมกันจํานวนมาก ความเปลี่ยนแปลงของชีวิตทั้งความแปลกใหมของระบบ การเรียน และการปรับตัวของการใช ชีวิตในมหาวิทยาลัย นั กศึกษาอาจประสบป ญหา ต างๆ และรู สึกว าการช วยเหลื อตนเองหรื อแก ปญหาเพี ยงลําพั งเป นไปได ยาก และ ตองการคําปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทางในการแกไขปญหา จึงจัดใหมีบริการการให คําปรึกษาเปนรายบุคคลและใหบริการตางๆ

การศึกษาวิชาการทหาร/การขอผอนผัน 1. การศึกษาวิชาทหาร (นศท.) นักศึกษาที่ตองการศึกษาวิชาทหารใหรับใบสมัคร และติดตอสมัครเรียนไดที่ กองกิจการนักศึกษา อาคารสํานักงานอธิการบดีวิทยาเขต ภูเก็ต ชั้น 2 2. การผอนผันทหาร ตองเปนนักศึกษาชายที่มีอายุ 20 ปบริบูรณ และกําลัง ศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตภูเก็ต กรณีที่นักศึกษาตองเดินทางไป ศึ กษา/ฝกงานต อตางประเทศ แนบเอกสารเพิ่ มเติ มดังนี้ สําเนาหลั กฐานการตอบรั บ จากมหาวิทยาลัยหรือสถานที่ฝกงานจากตางประเทศ หนังสือแปลหลักฐานการตอบรับ จากมหาวิทยาลัยหรือสถานที่ฝกงานจากตางประเทศ สําเนาหนังสือเดินทาง (Passport) สําเนาหนังสืออนุญาตเขาประเทศเพื่อศึกษา/ฝกงาน หนังสือรับรองของสถานทูตหรือ สถานกงสุ ล ณ ประเทศนั้ น โดยนักศึกษาสามารถยื่ นสงเอกสารด วยตนเองไดที่ กอง กิจการนักศึกษา สํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต ชั้ น 2 ตามวั นและเวลาราชการ ช วงระหว างเดื อนพฤศจิ กายน-ธั นวาคม กรณี ที่ นั กศึ กษาส งเอกสารล าช ากว ากําหนด ทางกองกิจการนักศึกษาจะไมดําเนินการขอผอนผันการเขารับราชการทหารให

งานกีฬา การขอใชบริการสนามกีฬา สามารถจองผานระบบจองสนามออนไลนไดที่ http:/ /www.saffairs.phuket.psu.ac.th/ หรื อเขี ยนแบบฟอรมการขอใชสนามไดที่ กอง กิจการนักศึกษา ชั้น 2 สํานักงานอธิการดี วิทยาเขตภูเก็ต ในวันและเวลาราชการ

380 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 388

6/6/16 11:04 AM


กิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลั ยสงขลานคริ นทรไดกําหนดเป าหมายการบ มเพาะนักศึกษา เพื่ อให นักศึกษา ม.อ. เปนผูมีจติ สํานึกสาธารณะ มีทักษะชีวิตความเปนไทย มีคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภูมิใจในสถาบัน ความเปนลูกพระบิดา ความรูสึกเปนหนึ่งเดียวไมแยกวิทยาเขต และความเขาใจในพหุวัฒนธรรม ซึ่งการเสริมสรางใหบรรลุเปาหมายดังกลาวได นักศึกษา จะตองผานการเขารวมกิจกรรมนักศึกษาเปนสําคัญ มหาวิทยาลัยฯ จึงไดกําหนดรูปแบบ กิ จกรรมเสริมสรางหลักสูตรเพื่ อพัฒนานักศึกษา โดยให นักศึ กษาเขารวมกิจกรรมใน ระหวางที่ศึกษาอยูในมหาวิทยาลัย (ตั้งแตชั้นปที่ 1 - ปสุดทาย) มีจํานวนรวมทั้งสิ้นไม นอยกวา 17 กิจกรรม มีจํานวนหนวยชั่วโมงที่เขารวมไมนอยกวา 100 หนวยชั่วโมง โครงสรางกิจกรรมเสริมหลักสูตรจําแนกไดดงั นี้ 1. กิจกรรมเสริมหลักสู ตรซึ่งกําหนดใหนักศึกษาเขารวมในลักษณะบังคับเลือก (Extra-Curricular Activities Requirement) หมายถึง กิจกรรมที่มหาวิทยาลัยกําหนด ใหนกั ศึกษาทุกคนตองเขารวมจํานวนไมนอ ยกวา 7 กิจกรรม 2. กิจกรรมเสริมหลักสูตรซึ่งกําหนดใหนักศึกษาเลือกรวม (Extra – Curricular Activities Free Elective) หมายถึง กิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยกําหนดใหนักศึกษาเลือก เขารวมไดตามความชอบ ความสนใจ จากแหลงเรียนรูท งั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มีจํานวนกิจกรรมไมนอยกวา 10 กิจกรรม 2.1 กิจกรรมเสริมสรางจิตสํานึกสาธารณะ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และความมีวนิ ยั 2.2 กิจกรรมเสริมทักษะทางสังคม วิชาการหรือวิชาชีพ และเสริมสราง สมรรถสากลบนพืน้ ฐานความเปนไทย 2.3 กิ จกรรมเสริ มสร างความภาคภู มิใจในสถาบั น ความเป นลู กพระบิ ดา เปนหนึง่ เดียวไมแยกวิทยาเขต/เขตการศึกษา 2.4 กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความเข า ใจในพหุ วั ฒ นธรรม และความเป น ประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2.5 กิจกรรมเสริมสรางและพัฒนาสุขภาพ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 381

145x210mm_����������� �� 2560.indd 389

6/6/16 11:04 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μÊØÃÒÉ®Ãì¸Ò¹Õ

หอพักนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตสุราษฎรธานี ไดกําหนดเกณฑการจัดที่พัก ใหนักศึกษาดังตอไปนี้ 1. วิทยาเขตสุราษฎรธานี จัดสรรที่พักในหอพักนักศึกษาใหแกนักศึกษาชั้นปที่ 1 ทุกคน 2. จัดใหมีหอพัก โดยมีวัตถุประสงคดงั ตอไปนี้ 2.1 เพื่อพัฒนานักศึกษาในดานตางๆ ไดแก การใชชีวิตความเปนอยูรวมกัน อยางมีระเบียบวินัย แลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน สรางความเขาใจและ ความสัมพันธอนั ดีตอกัน ตลอดจนฝกฝนความรับผิดชอบตอสังคม 2.2 เพื่ อเสริ ม สร างสภาพแวดล อมของที่ พั กอาศั ยให มี สวนสนั บสนุ นการ ศึกษา การจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมดานการศึกษา อาชีพ ทักษะทางสังคม สมรรถนะ สากล เรียนรูแลกเปลี่ยนภายในหอพักนักศึกษา

อั ตราคาหอพั ก หอพัก 2-5 (หองละ 3 คน) 1. ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 2,800 บาท/คน/1 ปการศึกษา เปน เงิน 5,600 บาท/หอง 2. ภาคการศึกษาฤดูรอน ภาคการศึกษาละ 1,800 บาท 3. กรณีพักรายเดือนๆ ละ 900 บาท/คน 4. กรณีพักรายวัน กําหนดอัตราดังนี้ 4.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 50 บาท/คน 4.2 บุคคลทั่วไป 160 บาท/คืน 5. คาประกันความเสียหายของหองพัก 1,000 บาท/คน/ป

382 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 390

6/6/16 11:04 AM


¹Õ

การประกันสุขภาพ การประกันอุบัติเหตุ

การจัดทําประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล นักศึกษาตองชําระเงินคาประกันอุบัติเหตุ ปการศึกษาละ 300 บาท ไดรับสิทธิคุมครองอุบัติเหตุทุกชนิด และการเสียชีวิตตลอด 24 ชัว่ โมงทัว่ โลก 1. กรณีบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ มีสิทธิ์เขารับการรักษาพยาบาลไดทั้งโรงพยาบาล ของรัฐ เอกชน คลินิกและโพลีคลินิกทั่วโลก โดยมีสิทธิ์เบิกคารักษาพยาบาลไดเทาที่ จายจริง แตไมเกิน 12,000 บาทตออุบัติเหตุแตละครั้ง 2. กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จะไดรับเงินชดเชย 120,000 บาท พรอมคาทําศพ 3,000 บาท

การใชสิทธิ์และการเบิกจาย

การเข ารั บการรั กษาพยาบาลในโรงพยาบาลของรั ฐบาล เอกชน คลิ นิ ก และ โพลีคลิ นิ กทั่ วโลก โดยขอใบเสร็จค ารักษาพยาบาลฉบั บจริ ง ใบรั บรองแพทย บั ตร นักศึกษา หนาสมุดบัญชีเงินฝาก นํามายื่นเอาประกันที่งานกิจการนักศึกษา โดยกรอก แบบฟอรมการเรียกรองคาสินไหมทดแทน จํานวน 2 ชุด

กรณีการเจ็บปวย

กรณีที่นักศึกษาเจ็บปวย สามารถใชสิทธิ์ บัตรประกันสุขภาพ 30 บาท รักษาได ทุกโรค และเขาทําการรักษาไดที่โรงพยาบาลสุราษฎรธานี การทําบัตรประกันสุขภาพ นักศึกษาจะตองยายสําเนาทะเบียนบานเขามาอยูท มี่ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต สุราษฎรธานี บานเลขที่ 31 ม.6 ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี และสงใบแจง ยาย ณ หองกิจการนักศึกษา งานบริการและสวัสดิการ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 383

145x210mm_����������� �� 2560.indd 391

6/6/16 11:04 AM


ทุนเพื่อการศึกษา ทุนทํางานแลกเปลี่ยน (ชวยเหลือนักศึกษาที่มีปญหาดานการเงิน)

เปนทุนทีไ่ ดรับจัดสรรจากมหาวิทยาลัย และทุนมูลนิธมิ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยงานกิจการนักศึกษา ไดจัดสรรเปนทุนทํางานแลกเปลี่ยนชั่วโมงละ 35 บาท โดย ทํางานในหนวยงานตางๆ ภายในมหาวิทยาลัย โดยไดแบงการทํางานเปน 3 ชวง คือชวง ภาคการศึกษาที่ 1,2 และภาคการศึกษาฤดูรอน นักศึกษาจะตองมีผลการเรียนไมต่ํากวา 2.00 สมัครไดที่งานกิจการนักศึกษา

ทุ นประเภททั่ วไป

เปนทุนการศึกษาที่วิทยาเขตสุราษฎรธานีไดรับอนุเคราะหเงินทุนจากหนวยงาน ตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อสงเสริมการศึกษาเยาวชนที่เรียนดีแตขาดแคลนทุนทรัพย มูลคา 5,000-50,000 บาท/คน/ปการศึ กษา โดยสนับสนุนเป นค าเทอมและคาใชจาย ระหวางเรียน โดยบางทุนใหตอเนื่องจนสําเร็จการศึกษา

ทุนยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษา

เปนทุนการศึกษาที่เคยไดรับจากมัธยมตอนปลาย และใหตอเนื่องมาจนถึงมหาวิทยาลัย โดยทางคณะกรรมการอุดมศึกษาไดใหการสนับสนุนคาครองชีพและคาที่พัก ระหวางเรียน ทางมหาวิทยาลัยยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษาใหเทาที่จายจริง

กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา

กองทุนเงินใหกู ยืมเพื่ อการศึกษา เปนกองทุนที่รัฐบาลจัดตั้ งขึ้นเพื่อใหนักศึกษา ทีข่ าดแคลนทุนทรัพยไดมโี อกาสศึกษาตอจนสําเร็จถึงระดับปริญญาตรี

384 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 392

6/6/16 11:04 AM


บริการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ เพื่ อสนับสนุน สงเสริมใหนักศึกษาพั ฒนาศักยภาพของตนเองในการเตรียมตัว เพื่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตอ โดยใหบริการในรูปแบบตางๆ เชน จัดอบรม พัฒนาบุคลิกภาพ ใหความรูเรื่องเทคนิคการหางานทํา การเขียน การสมัคร และการ สั มภาษณงานเพื่ อการมี งานทํา ให คําปรึ กษาแนะแนวทางการวางแผนชีวิ ตหลังสําเร็ จ การศึกษาทั้งรายบุคคลและแบบกลุม เปนแหลงขอมูลกลางระหวางหนวยงานภาครัฐ เอกชน แจงขาวการรับสมัครงาน ตําแหนงงานวาง และประสานการคัดเลือกบุคคลเขา ทํางานของบริษัทตางๆ ใหบริการขอมูลสถานประกอบการเพื่ อการหางานทํา และให บริการแนะแนวการศึกษาตอทัง้ ในและตางประเทศ เปนตน

กิจกรรมนักศึกษา วิ ทยาเขตสุ ราษฎร ธานี มี นโยบายสนั บสนุ นให นั กศึ กษาได มี โอกาสเรี ยนรู การ ทํางานโดยผานกระบวนการทํากิจกรรมตางๆ โดยนักศึกษาสามารถเลือกเขารวมกิจกรรม ของชมรมตางๆ จํานวนทั้งสิ้น 14 ชมรม ไดแก ชมรมดานกีฬาและนันทนาการ มี 7 ชมรม ไดแก ชมรมดําน้ํา ชมรมบาสเกตบอล ชมรมแบดมินตัน ชมรมถายภาพ ชมรมไทยยุทธ ชมรมดนตรี และชมรมเชียรและการ แสดง ชมรมดานบําเพ็ญประโยชน มี 3 ชมรม คือ ชมรมอาสาพัฒนา และชมรมอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และชมรมนักวิทยุสมัครเลนและอาสาสมัครกูภ ัย ชมรมดานสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม มี 3 ชมรม ไดแก ชมรมพุทธศาสน ชมรม คริสเตียน และชมรมมุสลิมสัมพันธ ชมรมดานวิชาการ มี 1 ชมรม ไดแก ชมรมวิเทศสัมพันธ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 385

145x210mm_����������� �� 2560.indd 393

6/6/16 11:04 AM


กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยไดกําหนดนโยบายใหนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ระดับ ปริญญาตรีที่เขาศึกษาในปการศึกษา 2550 เปนตนไป ทุกคณะและทุกวิทยาเขตจะตอง ผานการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพือ่ พัฒนานักศึกษาตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนดดวย จึงจะไดรับการเสนอชื่อเพื่อขอเขารับพระราชทานปริญญาบัตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนานักศึกษาที่จะตองเขารวมในระหวางที่ศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ตั้งแตชั้นปที่ 1 - ชั้นปสุดทาย) มีจํานวนรวมทั้งสิ้น ไมนอยกวา 17 กิจกรรม มีจํานวน หนวยชั่วโมงที่เขารวมไมนอยกวา 100 ชั่วโมง

กิจกรรมดานสันติศึกษา

เปนกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยทีม่ ุงเนนการเรียนรูในเชิงองครวมเพือ่ ผลิตบัณฑิต ที่รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม และมีศักยภาพในการวิเคราะห สรางสรรคสังคม เพือ่ ใหเกิดสันติภาพ

กิจกรรมดานพหุวัฒนธรรม

เปนกิจกรรมที่เนนความหลากหลายทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้น ทางสังคม และการศึกษา จะเปนตัวสําคัญที่กําหนดเกี่ยวกับความเชื่อ ความรูสึก และ การกระทําของบุคคล ซึ่งเปนอัตลักษณของแตละคน ซึ่งสามารถอยูรวมกันไดอยางมี ความสุข

บริการไปรษณีย

นักศึกษาสามารถตรวจสอบรายชื่อและรับไปรษณียภัณฑตางๆ ไดที่ งานกิจการ นักศึกษาตามวันและเวลาราชการ โดยการแสดงบัตรประชาชนหรือบัตรนักศึกษา

386 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 394

6/6/16 11:05 AM


ÇÔ·ÂÒà¢μμÃѧ

หอพักนักศึกษา การจัดหอพักนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา เปนบริการหนึ่งที่มีสวนสําคัญในการ สงเสริมกระบวนการพัฒนานักศึกษาทั้ งทางดานบุคลิกภาพและจริยธรรมใหเปนบัณฑิต ที่ สมบู รณ ประกอบด วย “ความรู คู คุณธรรม” ตลอดจนมี คุณลักษณะของบัณฑิตตาม ปณิธานของมหาวิทยาลัย

การเขาพักในหอพักมหาวิทยาลัย

วิทยาเขตตรัง ไดกําหนดเกณฑการจัดทีพ่ ักใหนักศึกษา ดังตอไปนี้ 1. จัดสรรที่พกั ในหอพักนักศึกษาใหแก - นักศึกษาชั้นปที่ 1 ทุกคน - นักศึกษารุนพีท่ เี่ คยอยูห อพัก ตามคะแนนการเขารวมกิจกรรมของหอพัก - หากมีที่พักวาง นักศึกษาที่ไมเคยถูกตัดสิทธิ์การเขาอยูหอพัก สามารถ ติดตอขอเขาพักได 2. นักศึกษาที่ไดรับการพิจารณาใหอยูหอพักเปนกรณีพิเศษ ไดแก นักศึกษาที่มี ป ญหาทางด านเศรษฐกิ จ นั กศึ กษาที่ มี โรคประจําตัวหรื อทุพพลภาพ นั กศึ กษาผู ทํา กิจกรรมเพื่อสวนรวม ไดแก นักศึกษาองคการบริหารองคการนักศึกษา สภานักศึกษา เปนตน

อัตราคาหอพัก

1. หอพักมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (พักหองละ 4 คน) 1.1 คาธรรมเนียมหองพัก ภาคการศึกษาละ 2,800 บาท/คน 1.2 คาน้ําประปา เหมาจายภาคการศึกษาละ 200 บาท/คน (เฉลี่ยคนละ 50 บาท/เดือน เริ่มภาคการศึกษาที่ 2/2553) 1.3 คาไฟฟา ใชฟรีหองละ 12 หนวยตอเดือน สวนเกินคิดตามอัตราที่ มหาวิทยาลัยกําหนด 2. หอพักในกํากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (หอพักสหกรณ) 2.1 คาธรรมเนียมห องพัก ภาคการศึกษาละ 6,500 บาท และคาประกัน ความเสียหาย 1,500 บาท 2.2 คาไฟฟา น้ําประปา คิดตามอัตราที่หอพักสหกรณกําหนด àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 387

145x210mm_����������� �� 2560.indd 395

6/6/16 11:05 AM


การประกันสุขภาพ มหาวิทยาลัยจัดใหมีระบบประกันสุขภาพนักศึกษารวม 4 ระบบ คือ 1. การประกันภัยอุบตั ิเหตุ 2. การประกันสุขภาพถวนหนา (บัตรทอง) 3. บริการสรางเสริมสุขภาพ ที่งานสวัสดิการนักศึกษา 4. บริการยาสามัญในหอพัก

1. การประกันภัยอุบัติเหตุนักศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดจดั ทําประกันภัยอุบตั ิเหตุใหนักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนทุกคน สิทธิประโยชน 1. มี สิทธิ์ เข ารั บการรั กษาพยาบาลอันเนื่ องมาจากการประสบอุบัติเหตุทั่ วโลก ทั้งในโรงพยาบาลของรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน คลินิก และโพลีคลินิก ที่มีใบอนุญาต ประกอบโรคศิลป 2. คุมครองอุบัติเหตุทุกชนิดในการใชชีวิตประจําวัน เชน ขณะเรียน พักผอน เลน/ฝกซอม/แขงขันกีฬา ฝกงาน เดินทางดวยยานพาหนะตางๆ แมลงสัตวกัดตอย รวมถึงการถูกฆาตกรรม การขับขี่/โดยสารรถยนต/รถจักรยานยนต และการจราจล ตลอด 24 ชั่วโมง 3. คุมครองคารักษาพยาบาลเปนจํานวนเงิน 12,000 บาทตออุบัติเหตุแตละครั้ง โดยไมจํากัดครัง้ 4. คาชดเชยกรณีทุพพลภาพถาวร 5. คาชดเชยกรณีสูญเสียอวัยวะตาม อบ.2 6. คาชดเชยกรณีเสียชีวิต เปนจํานวนเงิน 120,000 บาท 7. คาปลงศพ เปนเงินรายละ 10,000 บาท 8. ในกรณีที่นักศึกษาหรือบุคลากรของมหาวิทยาลัยเสียชีวิต เนื่ องจากโรคภัย ไขเจ็บนอกเหนือจากอุบัติ เหตุ โดยจํากั ดอายุ ผู ได รับความคุ มครองไมเกิน 60 ป และ ยกเวนโรคเอดส และการติดโรค หรือการเจ็บปวยใดๆ ซึ่งแสดงผลการตรวจเลือดเปน เลื อดบวกของไวรั ส HIV บริ ษัทจะช ว ยเหลื องานศพให แก ท ายาทโดยธรรม ในนาม มหาวิทยาลัย คณาจารยและเจาหนาที่ ในวงเงินจํานวน 30,000 บาทตอหนึ่งราย

388 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 396

6/6/16 11:05 AM


วิธีการใชสิทธิ์ (จากการประสบอุบัติเหตุ) ผูป ว ยนอก 1. ขอใบรับรองแพทยวาไดทําการรักษาพยาบาลเนื่องจากประสบอุบัติเหตุ 2. ใหชําระเงินคารักษาพยาบาลกอน 3. นํา ใบเสร็ จรั บเงิ นค า รั กษาพยาบาลฉบั บจริ งและใบรั บรองแพทย ยื่ นต อ เจาหนาที่งานสวัสดิการนักศึกษา ณ อาคารเรียนรวม 1 พรอมกรอกเอกสารเรียกรอง คาทดแทนเพือ่ ขอรับเงินคืน ผูป ว ยใน ในสถานพยาบาลเอกชน ให นักศึกษารีบแจ งมหาวิทยาลั ยเพื่ อประสานงานให บริษัทประกันภัยรับผิดชอบ ชําระคารักษาพยาบาลใหโรงพยาบาลโดยตรง โดยผูปวยไมตองทดรองจายหรือ นักศึกษาชําระเงินไปกอน จากนั้นนําใบเสร็จรับเงินพรอมใบรับรองแพทยขอเบิกเงินคืน ทีง่ านสวัสดิการนักศึกษาเหมือนผูป ว ยนอก วิธีการเบิกคารักษาพยาบาลเนื่องจากอุบัติเหตุ ผูเ อาประกันตองยืน่ หลักฐานดังตอไปนี้ - ใบรับรองแพทยของสถานพยาบาลนั้นๆ - ใบเสร็จรับเงินตัวจริงซึ่งระบุคาใชจายตางๆ ที่ทําการักษา หมายเหตุ ในกรณีไดรับอุบัติเหตุใหรีบแจงแกเจาหนาที่มหาวิทยาลัยโดยเร็วที่สุด หรือภายใน 7 วัน และรวบรวมหลักฐานสงภายใน 30 วัน นับตั้งแตผูเอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุ

การจั ดทําประกั นสุ ขภาพและประกั นอุบั ติเหตุ ส วนบุ คคลสําหรั บนั กศึ กษา มหาวิ ทยาลัยสงขลานคริ นทร 1. บังคับใชกับนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ชําระเงินคาบํารุงสุขภาพไวพรอมกับ คาลงทะเบียน 2. บุคลากรทัว่ ไปตามทีแ่ จงความจํานง (เฉพาะผูส มัครเทานัน้ )

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 389

145x210mm_����������� �� 2560.indd 397

6/6/16 11:05 AM


2. การประกันสุขภาพถวนหนา (บัตรทอง)

มหาวิทยาลัยกําหนดใหนั กศึกษาทุกคนขึ้ นทะเบี ยนบัตรทองกับโรงพยาบาลตรัง ยกเวนนักศึกษาที่เปนบุตรขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีอายุไมครบ 20 ป โดย มหาวิทยาลัยเปนผูด ําเนินการลงทะเบียนให

สิทธิประโยชน 1. มี สิ ทธิ์ เข ารั บการรั กษาพยาบาลที่ แผนกฉุ กเฉิ น และคลิ นิ กเฉพาะโรคที่ โรง พยาบาลตรัง โดยไมตองชําระเงินคารักษาพยาบาลและคาธรรมเนียม 2. มีสิทธิ์ เขารับการรักษาพยาบาลไดอยางตอเนื่อง เมื่ อนักศึกษาใชสิทธิ์รักษา พยาบาลตามโครงการประกันอุบัติ เหตุของมหาวิทยาลัยครบ 12,000 บาทแลว โดยไม ตองรับการชําระเงินสวนเกินสิทธิ์ กรณีปวยไขหรือไดรับอุบัติเหตุฉุกเฉิน มีสิทธิ์เขารับการรักษาที่โรงพยาบาล อื่นๆ ของรัฐนอกเหนือจากโรงพยาบาลตรังไดปละ 2 ครั้ง การใชสิทธิ์ ยื่ นบัตรโรงพยาบาลที่ งานเวชระเบี ยน หรื อที่ แผนกฉุ กเฉิ น (ER) พร อมแสดง บัตรประจําตัวประชาชน หมายเหตุ ป ญหาที่ พบหลั งจากนั ก ศึ กษาขึ้ น ทะเบี ยนบั ตรทองกั บโรงพยาบาลตรั ง ไว แ ล ว ภายหลังผู ปกครอง เจาหนาที่สาธารณสุขหรือ อสม. ไดขึ้นทะเบียนบัตรทองใหกับโรง พยาบาลตามภูมิลําเนาเดิม ทําใหสิทธิ์ บัตรทองที่โรงพยาบาลตรังถูกยกเลิกเมื่ อมีความ จําเปน ใหนักศึกษาใชสิทธิ์จากบัตรทองไมได ดังนั้นจึงทําใหนักศึกษาตรวจสอบสิทธิ์ของ ตนเองทีง่ านบริการสังคม

3. บริการสรางเสริมสุขภาพที่งานสวัสดิการนักศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง จัดใหบริการรักษาพยาบาลเบื้องตน และใหคําแนะนําในการสรางเสริมสุขภาพนักศึกษาที่งานสวัสดิการนักศึกษาเพื่ออํานวย ความสะดวกใหนกั ศึกษาไมตอ งเดินทางไปโรงพยาบาล

390 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 398

6/6/16 11:05 AM


วิธีการใชสิทธิ์และสิทธิ์ประโยชน นั กศึ กษาทุ ก คนสามารถเข า รั บบริ การรั กษาพยาบาลได โดยการแสดงบั ตรนั ก ศึกษา และไมตองชําระเงิน

บริการการใหคําปรึกษา บริการการใหคําปรึกษา (counseling) จัดใหมีขึ้นโดยมีวัตถุประสงค 1. ชวยเหลือนักศึกษาที่ประสบความยุ งยากใจในเรื่ องสวนตัว การปรับตัวใน ดานตางๆ หรือปญหาอื่นใดที่ เปนอุปสรรคขัดขวางการดําเนินชีวิตให เปนปกติสุข หรือ เปนผลกระทบตอการศึกษาเลาเรียน เพื่อใหนักศึกษาสามารถผานอุปสรรคชีวิต รูจักการ ปรับตัวเขากับสภาวะสังคมและสภาพแวดลอม ระบบการเรียนในมหาวิทยาลัย สามารถ ใชความสามารถและศักยภาพของตนเองไดอยางเต็มที่ 2. เพื่ อปองกันปญหาที่ จะเกิดขึ้ นกับนักศึ กษา โดยการพัฒนานักศึกษาในดาน สังคมและจิตใจ ชวยใหนักศึกษาไดเกิดการพัฒนาตน มีความเจริญงอกงามทางดานจิตใจ รู จักและเขาใจตนเองมากขึ้ น ยอมรับทั้ งคุ ณสมบั ติ ขอบกพร องของตนเองและผู อื่ น มองโลกตามความเปนจริง รูจักสรางสายสัมพันธอันดีกับผูอื่น อันนําไปสูการดํารงชีวิต อยางเปนปกติสุข

การบริการแนะแนวอาชีพและการศึกษาตอ เป นการช วยให นักศึ กษากําหนดและบรรลุ เปาหมายด านอาชี พ ด านการศึ กษา ดานสวนตัวและสังคม ดังรายละเอียดปลีกยอยดังนี้ 1. ใหบริการปรึกษาที่มีคุณภาพดี ทั้งการปรึกษาเปนรายบุคคลและเปนกลุมแก นักศึกษาทัง้ ทางดานการศึกษา ดานอาชีพ ดานสวนตัวและสังคม 2. ชวยใหนักศึกษาสามารถวางแผนการประกอบอาชีพและแผนการศึกษาได 3. ชวยใหนักศึกษาไดทํางานที่ตรงกับความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ของนักศึกษาได

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 391

145x210mm_����������� �� 2560.indd 399

6/6/16 11:06 AM


ทุนการศึกษาและเงินยืมเพื่อการศึกษา วิทยาเขตตรัง มีนโยบายชวยเหลือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพยใหมีโอกาสศึกษา จนสําเร็จ จึงไดจัดหาทุนการศึกษาจากแหลงตางๆ รวมทัง้ จัดสรรทุนการศึกษาแกนักศึกษา ดังนี้ 1. ทุ นการศึ กษา 1.1 ทุนทํางานแลกเปลี่ยน / ทุนผูชวยสอน เปนทุนที่วิทยาเขตตรังจัดสรรใหนักศึกษา โดยกําหนดใหผูรับทุน ทํางาน ใหกับหนวยงานของวิทยาเขตตรัง จะไดรับคาตอบแทนคิดเปนชั่ วโมงการทํางานตาม ประกาศของมหาวิทยาลัย 1.2 ทุนทั่วไป เปนทุนการศึกษาที่วิทยาเขตตรังไดรับอนุเคราะหเงินทุนจากหนวยงาน บริษัท ธนาคาร มูลนิธิตางๆ เพื่อจัดสรรใหนักศึกษาตามเงื่อนไขของทุนที่ กําหนด 1.3 ทุนยกเว นคาธรรมเนียมการศึกษา เป นทุ นที่ วิ ทยาเขตตรั งพิจารณายกเว นคาธรรมเนียมการศึ กษาใหกั บ นักศึกษาชั้นปที่ 1 ตอเนื่องจนสําเร็จการศึกษาตามคุณสมบัติที่มหาวิทยาลัยกําหนด ทุนละ 5,000 บาท/ภาคการศึกษา 2. กองทุ นเงินใหกู ยืมเพื่ อการศึ กษา กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา เปนกองทุนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนการ สนับสนุนและพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ จัดใหนักศึกษาที่ ขาดแคลนทุนทรัพย ไดมีโอกาสศึกษาจนสําเร็จ โดยครอบครัวของผูกูยืมมีรายไดไมเกิน 200,000 บาท/ป วงเงินกูยืมไมเกิน 84,000 บาท/คน/ป

กิจกรรมนักศึกษา วิทยาเขตตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีนโยบายสนับสนุนใหนักศึกษาไดมี โอกาสทํากิจกรรมตามความถนัดและความสนใจนอกเหนือจากการฟงบรรยายในหองเรียน เพราะกิ จกรรมนั กศึ กษาเป นส วนหนึ่ งของชี วิตนักศึกษาที่ สําคัญตอการพัฒนานั กศึ กษา การทํากิจกรรมเปนการใหนักศึกษาไดมีสวนในการแสดงความสามารถ การตัดสินใจ การ ทํางาน การปรั บบุ คลิ กภาพ การรู จักการเปนผู นําและผู ตามที่ ดี ดังนั้ นเพื่ อการพั ฒนา

392 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 400

6/6/16 11:06 AM


นักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่สมบูรณ นักศึกษาสามารถเขารวมกิจกรรมตางๆ ตามความสนใจ ดังนี้ กิจกรรมสวนกลาง ไดแก องคการบริหารองคการนักศึกษา วิทยาเขตตรัง คณะกรรมการสภานักศึกษา วิทยาเขตตรัง และชมรมในสังกัดองคการบริหารองคการ นักศึกษา มีทั้งสิ้น 20 ชมรม ไดแก 1. ชมรมอาสาพัฒนาชนบท 13. ชมรมเปตอง 2. ชมรมดนตรีไทย 14. ชมรมวอลเลยบอล 3. ชมรมพุทธศาสน 15. ชมรมบาสเกตบอล 4. ชมรมมุสลิม 16. ชมรมโขน 5. ชมรมศิลปการแสดง 17. ชมรมสตริง คอมโบ 6. ชมรมวิชาการเขตการศึกษาตรัง 18. ชมรมศิลปวัฒนธรรมพื้นบานภาคใต 7. ชมรมฟุตบอล 19. ชมรมเดินทางรอยลี้ 8. ชมรมเทควันโด 20. ชมรมแอรซอตฟกัน 9. ชมรมนาฏศิลป 21. ชมรมคอมคลับ 10. ชมรมดนตรีสากล 22. ชมรม PR 11. ชมรมวาทศิลป 23. ชมรมยุวกาชาด 12. ชมรมขับรองประสานเสียง 24. ชมรม กยศ.

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 393

145x210mm_����������� �� 2560.indd 401

6/6/16 11:06 AM


394 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 402

6/6/16 11:06 AM


ÀÒ¤¼¹Ç¡

145x210mm_����������� �� 2560.indd 403

6/6/16 11:07 AM


396 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 404

6/6/16 11:07 AM


โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษของมหาวิทยาลัย ในการรับนักศึกษาเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยตามที่ระบุแลวในขางตน มหาวิทยาลัย ยังมีโครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษอีกหลายโครงการ แบงเปนโครงการของมหาวิทยาลัยและโครงการของคณะตางๆ ดังตอไปนี้ สําหรับรายละเอียดของโครงการตางๆ ใหดูรายละเอี ยดจากหนังสือรวมระเบียบการคั ดเลือกบุคคลเขาศึ กษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ตามโครงการพิเศษ หรือที่ www.entrance.psu.ac.th ซึง่ มหาวิทยาลัยได จัดสงใหกบั ทุกโรงเรียนในภาคใตแลว

ก. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษของมหาวิทยาลัย 1. โครงการรับบุคคลที่มีความสามารถทางดานกีฬา มหาวิทยาลัยดําเนินการคัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถทางดานกีฬา และมีผล การเรี ยนอยู ในเกณฑ ตามที่ แต ละคณะกําหนดเข าศึ กษาขั้ นปริ ญญาตรี เป นกรณี พิ เศษ มีรายละเอียดโดยยอดังนี้ 1. คุณสมบัติทั่ วไปของผู สมัคร 1.1 มีสญ ั ชาติไทย 1.2 สําเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทาแลว หรือ เป นนั กศึ กษาที่ กําลังศึ กษาอยู ในภาคการศึ กษาสุ ดทายของมัธยมศึ กษาตอนปลายหรื อ เทียบเทาขณะทําการสมัคร 1.3 มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม และ/หรือผลการเรียนเฉลี่ยในกลุมสาระวิชา ตางๆ ของระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายตามที่แตละคณะ/สาขาวิชากําหนด 1.4 ตองไม เป นผู ที่ ไดยื นยั นสิ ทธิ์ เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไวแลว 1.5 เปนผูมีความประพฤติดี มีความขยันหมั่นเพียร มีระเบียบวินัย 1.6 ไมเปนโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา และอาชีพ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 397

145x210mm_����������� �� 2560.indd 405

6/6/16 11:07 AM


2. คุณสมบัติทางดานกีฬา 2.1 เปนนักกีฬาที่เขารวมการแขงขันกีฬาในระดับนานาชาติ 2.2 เปนนักกีฬาที่เขารวมการแขงขันกีฬาแหงชาติหรือกีฬาเยาวชนแหงชาติ โดยประเภททีมไดรับรางวัลที่ 1-4 และกีฬาประเภทบุคคลไดรับรางวัลที่ 1-5 2.3 เปนนักกีฬาที่เขารวมการแขงขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแหงประเทศไทย (ตัวแทนเขต) โดยประเภททีมไดรับรางวัลที่ 1-4 และกีฬาประเภทบุคคลไดรับรางวัลที่ 1-5 2.4 เปนตัวแทนระดับจังหวัดเขารวมการแขงขันที่จังหวัดไมไดจัดขึ้น และ ไดรับรางวัลที่ 1-3 2.5 ไดรบั ตําแหนงชนะเลิศหรือรองชนะเลิศในการแขงขันกีฬาระดับจังหวัด ทั้งนี้มหาวิทยาลัยจะพิจารณาผลการแขงขันนับไมเกิน 1 ป นับถึงวันสุดทาย ของการรับสมัคร 3. องคประกอบและเกณฑการพิจารณาคัดเลือก พิจารณาจาก 3 องคประกอบ ดังนี้ 1. ผลการทดสอบความสามารถ ทักษะทางดานกีฬา และสัมภาษณ จะตอง ไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 70 2. องคประกอบดานวิชาการ พิจารณาจากผลการเรียนในระดับชั้นมัธยม ศึกษาตอนปลาย และคาสัมประสิทธิ์ที่สรางขึ้นมาจากคาเฉลี่ยของผลการสอบ O-NET ชวงชั้นที่ 4 (ม.6) ของโรงเรียนที่ไดจากการสอบ O-NET ของนักเรียนในโรงเรียนประจํา ปการศึกษา 3. นําคะแนนที่ไดจากขอ 1 (คาน้ําหนักรอยละ 70) และขอ 2 (คาน้ําหนัก รอยละ 30) มาพิจารณาจัดอันดับที่ผูไดรับการคัดเลือก

2. โครงการสงเสริมผูมีคุณธรรม จริยธรรม บําเพ็ญประโยชนชวยเหลือสังคม เขาศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีแนวคิดและนโยบายที่จะสงเสริมเด็กดีมีคุณธรรม ใหเขาศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยมีรายละเอียดดังนี้ คุณสมบัติทั่วไปของผูมีสิทธิ์สมัคร 1. เปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม บําเพ็ญประโยชนชวยเหลือสังคม อุทิศตนเพื่อ สวนรวม หรือเปนผูอุทิศตนเพื่อชวยเหลือครอบครัว ซึง่ รับรองโดยโรงเรียนหรือสํานักงาน เขตพื้ นที่ ฯ สํานักงานการศึกษาเอกชน สํานั กงานเขตพื้ นที่ การศึ กษาประถมศึ กษา สํานักงานเทศบาล/องคการบริหารสวนจังหวัด ทีโ่ รงเรียนสังกัด

398 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 406

6/6/16 11:07 AM


2. ต องเป นผู ที่ กําลั งศึ กษาอยู ในระดั บชั้ นมั ธยมศึ ก ษาป ที่ 6 สายสามั ญของ โรงเรียนที่ตั้งอยูใน 14 จังหวัดภาคใต ประจําปการศึกษา 2559 3. ตองมีผลการเรียนไมต่ํากวาเกณฑทกี่ ําหนดในแตละคณะ/สาขา

3. โครงการรับนักเรียนมูลนิธิสงเสริมโอลิมปกวิชาการและพัฒนามาตรฐาน วิทยาศาสตรศึกษาในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร (สอวน.) คุณสมบัติของผู สมัคร 1. มี GPAX รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4-ม.5) ไมต่ํากวาเกณฑที่แตละคณะ/ สาขากําหนด 2. มี GPA รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4-ม.5) ในกลุมสาระตางๆ ที่แตละคณะ/ สาขากําหนด 3. คุณสมบัติอื่นๆ เปนไปตามทีม่ หาวิทยาลัยกําหนด

4. โครงการรับนักเรียนภายใตโครงการหองเรียนวิทยาศาสตร โดยการกํากับ ดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) เขาศึกษาระดับปริญญาตรี ใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คุณสมบัติทั่วไปของผูมีสิทธิ์สมัคร 1. เปนผูที่กําลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ภายใตโครงการหองเรียนวิทยาศาสตร โดยการกํากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) ของโรงเรียนตอไปนี้ 1.1 โรงเรียนดรุณสิกขาลัย กรุงเทพฯ 1.2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม จ.เชียงใหม 1.3 โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จ.นครราชสีมา 1.4 โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ จ.สงขลา 1.5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จ.ปตตานี 1.6 โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน 1.7 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ฝายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร) 1.8 โรงเรียนปาพะยอมพิทยาคม จ.พัทลุง 1.9 โรงเรียนสาธิตพิบูลบําเพ็ญ “มหาวิทยาลัยบูรพา” จ.ชลบุรี 1.10 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก 1.11 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝายมัธยม) จ.มหาสารคาม àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 399

145x210mm_����������� �� 2560.indd 407

6/6/16 11:08 AM


2. มีผลการเรียนระดับชั้นมัธยศึกษาตอนปลาย รวม 5 ภาคเรียน (ม.4 - ม.6) ไม ต่ํากวาเกณฑที่ในแตละคณะ/สาขากําหนด 3. มีผลคะแนนสอบวิชาความถนัดทั่วไป (GAT) และวิชาความถนัดทางวิทยาศาสตร (PAT 2) ซึ่งจัดสอบโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) 4. เปนผูที่ไมมีโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา และอาชีพ

ข. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษของคณะตางๆ คณะวิทยาศาสตร วิทยาเขตหาดใหญ 1. โครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (โครงการ พสวท.) ตามที่ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ และสถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรวมกันจัดทําโครงการพัฒนา และสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (โครงการ พสวท.) โดยมีคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ เปนศูนยหนึ่ง ในการรับนักศึกษาตามโครงการดังกลาว โดยรับสมัครนักเรียนที่กําลังศึกษาชั้ นมัธยม ศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนในเขต 14 จังหวัดภาคใต เพื่อสอบคัดเลือกเขาเปนนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร ในโครงการ พสวท. ระดับปริญญาตรี คุณสมบัติของผู สมัครและลักษณะเฉพาะของโครงการ • กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายสามัญของโรงเรียนที่ตั้งอยู ใน 14 จังหวัดภาคใต สําหรับนักเรียนที่อยูในโครงการสงเสริมและพัฒนานักเรียนที่มี ความสามารถพิเศษในการเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (สพพ.) จะตองเปนผูที่กําลังจะ สําเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ จากโรงเรียนที่ตั้งอยูใน 14 จังหวัดภาคใต หรือจากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ จังหวัดนครปฐม โดยตองเปนผูสําเร็จ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนจากโรงเรียนในเขต 14 จังหวัดภาคใต • มีผลการเรียนดีคือไดคะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ในชั้น ม.4 – ม. 5 รวมกันไม ต่ํากวา 3.00 และรายวิชาในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ชั้นม.4 – ม. 5 ไมต่ํากวา 3.25

400 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 408

6/6/16 11:08 AM


ผูไดรับการคัดเลือกเปนนักศึกษาในโครงการ พสวท. ระดับปริญญาตรี จะได รับทุนการศึ กษา เปนคาใชจายสวนตัว 7,300.-บาท/เดือน หรือ 87,600.-บาท/ป คาหนวยกิตและคาธรรมเนียมการศึกษาตามอัตราที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ คาหนังสือ ตําราไมเกินปละ 5,000 บาท ทุนอุดหนุนการทําวิจัยและการสนับสนุนเขารวมกิจกรรม ตางๆ ที่โครงการ พสวท. จัด หมายเหตุ สถาบันสสวท. มีแนวโนมปรับทุนเพิ่มสําหรับสนับสนุนคาหนังสือ อุปกรณประกอบการเรียนและทุนทําวิจัย • จะตองเลือกศึกษาในวิชาวิทยาศาสตรพนื้ ฐานสาขาใดสาขาหนึง่ คือ คณิตศาสตร เคมี ชีววิทยา และฟสิกส • เมื่อ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ปริญญาเอก หรือ ปริญญาโทควบ ปริญญาเอก จะตองปฏิบัติงานชดใชทุนในหนวยงานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ กําหนดให •

2. โครงการทุนพัฒนากําลังคนทางวิทยาศาสตร (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย) คุณสมบัติ (สนับสนุนทุนถึงระดับปริญญาเอก) 1. กําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ม. 6 จากโรงเรียนในเขตภาคใต 2. สามารถเลือกเรียนได 3 สถาบัน คือ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และสํานักวิชาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 3. มีผลการเรียน GPAX รวม ในชั้น ม.4 – ม. 5 รวมกันไมต่ํากวา 3.00 และ GPAX ในหมวดวิชาเคมี หรือชีววิทยา หรือฟสิกส หรือคณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ ไมต่ํากวา 3.00 และเมื่อจบการศึกษาจะตองมี GPAX รวมไมต่ํากวา 3.00 ดวย 4. กรณีนักเรียนกลุมตอไปนี้ จะไดรับพิจารณารับเขาดวยโควตาพิเศษ - นั กเรี ยนโรงเรี ยนมหิ ดลวิ ทยานุ สรณ โรงเรี ยนจุ ฬาภรณราชวิ ทยาลั ย นักเรียนหองเรียนวิทยาศาสตรในสังกัด สพฐ. นักเรียนโครงการ วมว. นักเรียนโครงการ สงเสริมโอลิมปกวิชาการโครงการ JSTP - นักเรียนที่ เคยเข าร วมค ายโอลิ มปก สอวน. และผ านการสอบแข งขั น โอลิมป กวิ ชาการระดั บชาติ ในลําดั บที่ 1-20 สมั ครเข าสั มภาษณ ไดโดยไม ตองสอบ ขอเขียน ทั้งนี้ตองมีคุณสมบัติ 1-3 ดวย

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 401

145x210mm_����������� �� 2560.indd 409

6/6/16 11:08 AM


การคัดเลือก สอบขอเขียนและสอบสัมภาษณ ทุนการศึกษา ไดรับทุนการศึกษา เปนคาใชจายสวนตัว 5,000.-บาท/เดือน คาธรรมเนียมการ ศึกษา คาหนังสือ ตํารา ทุนอุดหนุนการทําวิจัยและการสนับสนุนเขารวมกิจกรรมตางๆ และสนับสนุนทุนวิจัยระยะสั้นตางประเทศในระดับปริญญาตรี และปริญญาเอก

3. โครงการรับนักศึกษาที่มีความสามารถสูงเขาศึกษาในคณะวิทยาศาสตร เพื่อสนับสนุนการศึกษาทางวิทยาศาสตรและเพื่อจูงใจนักเรียนที่มีความสามารถ สูงทางดานวิทยาศาสตร ใหมีความสนใจเขาศึกษาในคณะวิทยาศาสตรมากขึ้น คุณสมบัติของผู สมัครและลักษณะเฉพาะของโครงการ • รับจากผู สมัครสอบโครงการ พสวท. ที่ ไดคะแนนสอบขอเขียนเป นคะแนน มาตรฐานสูงกวา T50 ขึ้นไป จํานวนไมเกิน 15 คน/ป • สามารถเลือกเรียนสาขาวิชาเอกที่เปดสอนในคณะฯ ไดทุกสาขาวิชาตามความ สนใจ • ไมมีขอผูกพันใดๆ หลังสําเร็จการศึกษา

4. โครงการสงเสริมผูมีทักษะพิเศษทางวิทยาศาสตร คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูในชั้นม. 6 ในเขตภาคใต 2. คุณสมบัติของผูสมัคร ผูสมัครแบงเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 ไดรับรางวัลชนะเลิศจากการประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร ระดับม.ปลาย ระดับประเทศ ประเภทสาขากายภาพ สาขาชีวภาพ สาขาวิทยาศาสตร ประยุกต หรือไดรับรางวัลที่ 1 2 3 จากการประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตรระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายในระดับภาคใต กลุมที่ 2 เปนผูแ ทนประเทศไทยแขงขันระหวางประเทศ 3. ไดระดับคะแนนเฉลี่ยรวมวิชา เคมี ชีววิทยา ฟสิกส และคณิตศาสตร ในชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4-6 ภาคการศึกษาที่ 1 รวมกันไมต่ํากวา 2.75

402 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 410

6/6/16 11:08 AM


5. โครงการรับนักศึกษาจากผูเขาคายฝกอบรมโครงการสงเสริมโอลิมปก วิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรศกึ ษา และ ผูผานการแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. คุณสมบัติทั่วไป 1.1 เปนผูผานการคัดเลือกเขาคายฝกอบรม โอลิมปกวิชาการ (สอวน.) หรือ จากสถาบัน สสวท. / ผานการแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธ 1.2 กําลังศึกษาอยูในชั้นม. 6 สายวิทยาศาสตร 2. คุณสมบัติเฉพาะ 2.1 ผูผานคายฝกอบรมโครงการสงเสริมโอลิมปกวิชาการ ผูส มัครแบงเปน 3 กลุม กลุมที่ 1 เปนผูผานการเขาคายฝกอบรมฯ คาย 1-2 กลุมที่ 2 เปนผูแทนของศูนย สอวน. เขาแขงขันโอลิมปกวิชาการ ระดับชาติ (สอวน.) กลุมที่ 3 เปนผูแทนประเทศไทยไปแขงขันคณิตศาสตร วิทยาศาสตร โอลิมปกระหวางประเทศ 2.2 ผูผานการแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธิ์ ผูสมัครแบงเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 เปนผูผานการคัดเลือกเขาแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธิ์ เขตภาคใต กลุมที่ 2 เปนผูแ ทนประเทศไทยแขงขันระหวางประเทศ การคัดเลือก สอบสัมภาษณ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 403

145x210mm_����������� �� 2560.indd 411

6/6/16 11:08 AM


ทุ นการศึ กษา 1. ผูผานคายฝกอบรมโครงการสงเสริมโอลิมปกวิชาการ แบงเปน 3 กลุม กลุ มที่ 1

2

3

คัดเลือกจาก - นักเรียนที่เขาคายฝกอบรม โครงการโอลิมบิกฯ คาย 1 หรือคาย 2 - นักเรียนที่ผานการคัดเลือก เขาแขงขันโครงการฟสิกส สัประยุทธ - เปนผูแทนศูนยเขาแขงขัน ระดับชาติ (สอวน.) และ ไดรับเหรีญรางวัล - เปนผูแทนศุนยเขาแขงขัน ระดับชาติ (สอวน.) ไมไดรับ เหรี ยญรางวัล เปนผูแทนประเทศไทยไป แขงขันโอลิมปกระหวาง ประเทศ

คาธรรมเนียม การศึกษา

คาหอพัก

คาใชจา ย สวนตัว

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ตามอัตราที่ มหาวิทยาลัย เรียกเก็ บ ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ตามอัตราที่ มหาวิทยาลัย เรียกเก็ บ

ตามจายจริง ไมสนั บสนุน ไมเกิน 1200./เดือน ไมสนั บสนุน 4000./เดือน

2. ผูผานการแขงขันโครงการฟสิกสสัประยุทธ กลุ มที่

คัดเลือกจาก

คาธรรมเนียม การศึกษา

คาหอพัก

คาใชจา ย สวนตัว

1

- ผูผานการคัดเลือกเขาแขงขัน โครงการฟสิกสสัประยุทธ - ผูแทนประเทศไทยแขงขัน ระหวางประเทศ

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ไมสนั บสนุน

ตามจายจริง เกิน 1200./เดือน

ไมสนั บสนุน

2

404 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 412

6/6/16 11:09 AM


ดาวโหลดขอมูลโครงการ ไดที่ www.sc.psu.ac.th/quota สอบถามขอมูลเพิ่มเติมติดตอ กลุมงานสนับสนุนวิชาการและพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หรือทาง FACEBOOK: PSUSci TWITTER: PSUSci ตู ปณ. 3 ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0-7428-8028, 8057 โทรสาร 0-7444-6926 Email: wassamon.m@psu.ac.th, jindarat.i@psu.ac.th

คณะพยาบาลศาสตร วิทยาเขตหาดใหญ 1. โครงการรับสมัครบุคคลเพือ่ สอบคัดเลือกเขาศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (โครงการไนติงเกล) คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์สมัคร 1. คุณสมบัติทวั่ ไป 1) มีสญ ั ชาติไทย 2) เปนผูม ีความประพฤติและมีประวัตกิ ารเรียนดี 3) ไมเปนโรคทีเ่ ปนอุปสรรคตอการศึกษา 2. คุณสมบัติเฉพาะ 1) กําลั งศึกษาชั้ นมั ธยมศึ กษาปที่ 6 สายวิ ทยาศาสตร และจะสําเร็ จการ ศึกษาในปการศึกษาที่ประกาศรับ 2) มีผลการเรียนตลอด 5 ภาคการศึกษา (ตั้ งแต ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6) ไมต่ํากวา 2.75 3) ได รับใบรั บรองการฝ กปฏิ บัติ งานจากโรงพยาบาลของรั ฐฯ เป นเวลา อยางนอย 10 วัน 4) สุขภาพแข็งแรง ไมเปนอุปสรรคตอการเปนพยาบาล

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 405

145x210mm_����������� �� 2560.indd 413

6/6/16 11:09 AM


คณะทรัพยากรธรรมชาติ วิทยาเขตหาดใหญ 1. โครงการรักเกษตร วัตถุ ประสงค รับสมัครนักเรียนที่เรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขต 14 จังหวัดภาคใต ที่มีความสนใจและตั้งใจจริงในการพัฒนางานดานการเกษตร เพื่อสอบ คัดเลือกเขาเปนนักศึกษาคณะทรัพยากรธรรมชาติใน 6 สาขาวิชา คือ พืชศาสตร ปฐพีศาสตร การจัดการศัตรูพืช วาริชศาสตร พัฒนาการเกษตร และสัตวศาสตร คุณสมบัติของผู สมัคร 1. ตองเปนนักเรียนที่กําลังเรียนอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนตางๆ ที่ตั้งอยูในเขต 14 จังหวัดภาคใต โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในวิชาชีววิทยา เคมี ฟสิกส คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ รวมกันไมต่ํากวา 2.50 ของการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย นับจนจบภาคการศึกษาที่ 2 ของชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 2. มีสญ ั ชาติไทย

คณะวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตหาดใหญ 1. โครงการดาวรุงคอมพิวเตอร ประเภทที่ 1 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร เปดรับสมัครนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูใ นชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 4-6 ในสายการเรียนวิทย-คณิต และเมื่อจบหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยไดรับคะแนนเฉลี่ ยสะสมรวมตั้งแต 2.75 ขึ้นไป และมีความสนใจ/ผานการเขารวม การแข งขั นคอมพิ ว เตอร สามารถเข ามาศึ กษาต อยั งภาควิ ชาวิ ศวกรรมคอมพิ ว เตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยไมตองผานกระบวนการสอบ และไดรบั สิทธิก์ ารอุดหนุนทุนการศึกษา คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์สมัคร แบงออกเปน 2 ลักษณะ 1. กําลั งศึ กษาอยู ในชั้ นมัธยมศึ กษาปที่ 4-6 ในสายการเรียนวิทย -คณิต และ เมื่ อจบหลั กสู ตรชั้ นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยได รับคะแนนเฉลี่ ยสะสมรวมตั้ งแต 2.75 ขึน้ ไป และจะตองมีหนวยกิตการเรียนในกลุมสาระตางๆ ดังนี้ - กลุมสาระการเรียนรูทางวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 22 หนวยกิต

406 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 414

6/6/16 11:09 AM


- กลุมสาระการเรียนรูทางคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 12 หนวยกิต - กลุมสาระการเรียนรูทางภาษาตางประเทศ ไมต่ํากวา 9 หนวยกิต 2. จะตองผานการแขงขันในระดับชาติรอบสุดทายจากหนวยงานทีค่ ณะวิศวกรรม ศาสตรกําหนดในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. ไมเปนโรครายที่เปนอุปสรรคตอการศึกษาและอาชีพวิศวกร 4. มีความประพฤติเรียบรอย 5. ตองเลือกเขาเรียนในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร อนึ่ง สําหรับ ขอ 1 “กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6” เปนการยื่นความ จํานงขอสมัครเขารวมโครงการลวงหนา หากไดรับการคัดเลือกจะมีการทําหนังสือสัญญา การเข าศึ กษาในภาควิ ชาวิ ศวกรรมคอมพิ วเตอร คณะวิ ศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลั ย สงขลานครินทร ภายใตโครงการดาวรุงคอมพิวเตอร เพือ่ ใหมีผลผูกพันทางกฎหมายตอไป และผูที่ผานการคัดเลือกแลวจะสามารถเขาศึกษาตอภายใตโครงการดังกลาวเมื่อสําเร็จ การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 เทานั้น เกณฑ การเลื อกหน วยงาน/โครงการ 1. เปนหนวยงานระดับชาติทถี่ กู ตองตามกฎหมาย 2. ตองมีการจัดการแขงขันทีส่ ม่าํ เสมอและตอเนือ่ ง 3. ตองมีเกณฑการพิจารณาตัดสินที่เปนระบบและมีมาตรฐาน 4. หนวยงานและโครงการแข งขั นที่ ไดรับการคัดเลื อกในป การศึกษา 2558 นี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรกําหนดไว 7 โครงการ คือ 4.1 การแขงขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย (NSC) 4.2 การประกวดโครงการของนั ก วิ ทยาศาสตร รุ นเยาว สาขาวิ ทยาการ คอมพิวเตอร และสาขาวิศวกรรมศาสตร YSC.CS & YSC.EN 4.3 นักเรียนที่ผานการเขาคายคอมพิวเตอรโอลิมปค คายอบรม รอบที่ 2 4.4 การแขงขันประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส: Youth’s Electronics Circuit Contest: YECC 4.5 การแขงขันระบบปฏิบัติการลินุกซแหงประเทศไทย: National Linux Competition: NLC 4.6 การแขงขันการเขียนโปรแกรมจาวาเพือ่ ควบคุมหุน ยนตรถถัง: Robocode Thailand Contest 4.7 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็ก และเยาวชน (Junior Science Talent Poject (JSTP)) àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 407

145x210mm_����������� �� 2560.indd 415

6/6/16 11:09 AM


2. โครงการดาวรุงคอมพิวเตอร ประเภทที่ 2 คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์สมัคร แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ 1. คุณสมบัติทั่วไปสําหรับนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 1.1 กําลังศึกษาอยู ในระดับชั้ นมั ธยมศึกษาปที่ 4-6 ในสายการเรียนวิทย– คณิต และเมื่อจบหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโดยไดรบั คะแนนเฉลีย่ สะสมรวมตัง้ แต 2.75 ขึน้ ไป และจะตองมีหนวยกิตการเรียนในกลุมสาระตางๆ ดังนี้ - กลุมสาระการเรียนรูทางวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 22 หนวยกิต - กลุมสาระการเรียนรูทางคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 12 หนวยกิต - กลุมสาระการเรียนรูทางภาษาตางประเทศ ไมต่ํากวา 9 หนวยกิต 1.2 จะตองผานการแขงขันในระดับชาติรอบสุดทาย และ/หรือไดรับรางวัล ระดับภูมิภาค 1.3 ไมเปนโรครายแรงทีเ่ ปนอุปสรรคตอการศึกษาและอาชีพวิศวกร 1.4 มีความประพฤติเรียบรอย 1.5 ตองเลือกเขาเรียนในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร อนึ่ ง สําหรั บข อ 1.1 “กําลั งศึ กษาอยู ในชั้ นมัธยมศึ กษาปที่ 4-6” เป นการ ยื่ นความจํานงขอสมัครเขารวมโครงการล วงหน า หากไดรับการคัดเลือก จะมี การทํา หนังสื อสั ญญาการเข าศึ กษาในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิ วเตอร คณะวิ ศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ภายใตโครงการดาวรุงคอมพิวเตอร เพื่อใหมีผลผูกพันทาง กฎหมายตอไป และผูที่ผานการคัดเลือกแลวจะสามารถเขาศึกษาตอภายใตโครงการ ดังกลาวเมื่อสําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 เทานั้น 2. คุณสมบัติพิเศษ สําหรับนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในมัธยมศึกษาปที่ 6 2.1 จะต องเป นนั กเรี ยนที่ กํ า ลั งศึ กษาอยู ในชั้ นมั ธยมศึ กษาป ที่ 6 ในสายการเรียนวิทย – คณิต ในเขตพื้นที่14 จังหวัดภาคใต 2.2 ไดรับคะแนนเฉลี่ยสะสมรวม ตั้งแต 3.25 ขึ้นไป 2.3 ไดรับผลการเรียนเฉลี่ย 3.25 ขึ้นไป ในรายวิชาดังตอไปนี้ - กลุมสาระการเรียนรูทางวิทยาศาสตร - กลุมสาระการเรียนรูทางคณิตศาสตร - กลุมสาระการเรียนรูทางภาษาตางประเทศ 2.4 ไดรับวุฒิบัตรจากการอบรมหลักสูตรทางคอมพิวเตอรจากสถาบันอุดม ศึกษาของรัฐ ซึ่ งหลักสูตรการอบรมจะตองไดรับความเห็นชอบจากภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร

408 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 416

6/6/16 11:09 AM


3. เกณฑการเลือกหนวยงาน/โครงการ 3.1 เปนหนวยงานระดับชาติทถี่ กู ตองตามกฎหมาย 3.2 ตองมีการจัดการแขงขันทีส่ ม่าํ เสมอและตอเนือ่ ง 3.3 ตองมีเกณฑการพิจารณาตัดสินที่เปนระบบและมีมาตรฐาน 3.4 หน ว ยงานระดั บ ชาติ ที่ ใช พิ จ ารณารั บ สมั ครเข าโครงการดาวรุ ง คอมพิวเตอร 3.5 นักเรียนที่ไดผานเขารอบการแขงขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรแหง ประเทศไทย (NSC) จัดโดยศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ 3.6 นั กเรี ยนที่ ผ านเข ารอบการประกวดโครงการของนั กวิ ทยาศาสตร รุ น เยาว สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร และสาขาวิศวกรรมศาสตร ซึ่งจัดโดยศูนยเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ 3.7 นักเรียนทีผ่ า นการเขาคายคอมพิวเตอรโอลิมปค 3.8 นักเรียนทีผ่ านเขารอบการแขงขันประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส: Youth’s Electronics Circuit Contest: YECC 3.9 นักเรี ยนที่ ผานเขารอบการแขงขันระบบปฏิบัติการลินุ กซแหงประเทศ ไทย: National Linux Competition: NLC 3.10 การแขงขันการเขียนโปรแกรมจาวาเพือ่ ควบคุมหุน ยนตรถถัง: Robocode Thailand Contest 3.11 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็ก และเยาวชน (Junior Science Talent Project (JSTP)) 3.12 นักเรียนที่ไดรับรางวัลที่ 1 – ชมเชย หรือรางวัลพิเศษ จากโครงการ แข ง ขั น /ประกวดผลงาน รวมถึ ง เข า ค า ยทางวิ ชาการในระดั บภู มิ ภ าค ซึ่ งจั ด โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และมีโรงเรียนเขารวมโครงการไมต่ํากวา 20 โรงเรียน 4. ยกเวน สําหรับนักเรียนที่อยูในเขตพี้นที่ 14 จังหวัดภาคใต จะพิจารณาจาก การสอบสัมภาษณ เกรดเฉลี่ยและวุฒิบัตรจากการเขารวมการแขงขันคอมพิวเตอรโดย ไมกําหนดหนวยงานทีจ่ ดั

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 409

145x210mm_����������� �� 2560.indd 417

6/6/16 11:10 AM


สถานที่ ติดตอสอบถาม นางสาววิมล คําจันทร ผูประสานงานโครงการ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ตูปณ. 2 ต.คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0-7428 -7076 โทรสาร 0-7428 -7076 E–mail: wimon@coe.psu.ac.th

3. โครงการทุนมงคลสุข เพื่อเปนการสงเสริมนักเรียนที่มีผลการเรียนดี และกระจายโอกาสทางการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดจัดใหมีโครงการคัดเลือกนักเรียน เขาศึกษาโดยวิธีพเิ ศษ โดยเปดโอกาสใหนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียน ทั่วประเทศเขาศึกษา 1. โครงการทุนมงคลสุข (แบบพิจารณาผลการเรียน) คุณสมบัติของผูสมัคร 1.1 เปนนักเรียนที่ กําลังศึกษาอยู ในชั้ นมั ธยมศึกษาป ที่ 6 (กลุ มสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร) ตองมีผลการเรียนรวม 5 ภาคการศึกษา ในแตละกลุม สาระวิชา ดังนี้ - ไดคะแนนเฉลี่ยในกลุมวิชาคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 3.25 (จากรายวิชา ในกลุมไมต่ํากวา 10 หนวยกิต) - ไดคะแนนเฉลี่ยกลุมวิชาเคมี ไมต่ํากวา 3.2 (จากรายวิชาในกลุมไมต่ํา กวา 7 หนวยกิต) - ไดคะแนนเฉลี่ยกลุมวิชาฟสิกส ไมต่ํากวา 3.25 (จากรายวิชาในกลุม ไมต่ํากวา 7 หนวยกิต) - ไดคะแนนเฉลี่ยกลุมวิชาภาษาอังกฤษ ไมต่ํากวา 3.00 (จากรายวิชา ในกลุมไมต่ํากวา 7 หนวยกิต) 1.2 เปนผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมรวม ไมต่ํากวา 3.00 1.3 นักเรียนทีส่ มัครจะตองผานการเห็นชอบจากโรงเรียนทีต่ นกําลังศึกษาอยู

410 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 418

6/6/16 11:10 AM


2. โครงการทุนมงคลสุข (แบบยื่นเกียรติบัตร) เปนการพิจารณาผลงานและรางวัลที่ แสดงความสามารถทางดานวิ ชาการ ของผู สมั ค ร และการสอบสั มภาษณ จากคณะกรรมการของคณะวิ ศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ผูส มัครสอบจะตองมีคณ ุ สมบัติดงั นี้ 2.1 เปนนักเรียนที่ กําลังศึกษาอยู ในชั้ นมั ธยมศึกษาป ที่ 6 (กลุ มสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร) โดยไดคะแนนเฉลี่ยกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร, กลุ มสาระการเรียนรูคณิตศาสตร และกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ คะแนน เฉลี่ยสะสมรวมไมต่ํากวา 2.80 2.2 ไดผา นคัดเลือกจากการแขงขันดังตอไปนี้ - การแขงขันโอลิมปกวิชาการคาย 2 โดยสอวน.(ยกเวน วิชาดาราศาสตร) - โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรสําหรับเด็กและเยาวชน หรือ Junior Science Talent Project (JSTP) จัดโดย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และ สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว) - โครงการแข งขันเขียนโปรแกรม “Thailand Code Jom” จัดโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส และคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) และคณะกรรมการวิชาการ โครงการจัดการ แขงขันคอมพิวเตอรโอลิมปกนานาชาติ - โครงการฟสิกสสัประยุทธ การคัดเลือกและจัดสงผูแทนประเทศไทย ไปแขงขันในงาน International Young Physicists Tournament; IYPT จัดโดย สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) - โครงการพลังงาน จัดโดยสํานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน - โครงการการประกวดโครงงานของนักวิทยาศาสตรรุนเยาว (YSC) จัดโดย ศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) - โครงการเพาะพันธุปญญา - โครงการอื่น ๆ ในระดับชาติ ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการ 2.3 ไมเปนโรครายแรงซึ่งจะเปนอุปสรรคตอการศึกษาและอาชีพวิศวกร 2.4 มีความประพฤติเรียบรอย

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 411

145x210mm_����������� �� 2560.indd 419

6/6/16 11:10 AM


4. โครงการ “โควตาวิศวกรรมศาสตร ม.อ.” คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์สมัคร 1. เปนผูสําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยู ในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 (กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร) ตองมีผลการ เรียนรวม 5 ภาคการศึกษา ดังนี้ - กลุมวิชาทางคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.50 (จากรายวิชาในกลุมไมต่ํากวา 10 หนวยกิต) - กลุมวิชาทางเคมี ไมต่ํากวา 2.50 (จากรายวิชาในกลุมไมต่ํากวา 7 หนวยกิต) - กลุม วิชาทางฟสกิ ส ไมต่ํากวา 2.50 (จากรายวิชาในกลุม ไมตา่ํ กวา 7 หนวยกิต) - กลุมวิชาทางภาษาอังกฤษ ไมต่ํากวา 2.50 (จากรายวิชาในกลุมไมต่ํากวา 7 หนวยกิต) 2. มีผลคะแนนการสอบ PAT 3 3. เปนผูทไี่ ดคะแนนเฉลีย่ สะสมรวมไมต่ํากวา 2.50 4. สอบสัมภาษณ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ ติดตอสอบถาม คุณเกศริน คงจันทร ผูป ระสานงานโครงการกลุมงานสนับสนุนวิชาการและกิจการนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ตู ป.ณ. 2 คอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 โทรศัพท 0-7428-7084 หรือโทรสาร 0-7455-8838 E-mail: admission@eng.psu.ac.th และ www.eng.psu.ac.th

คณะวิทยาการจัดการ วิทยาเขตหาดใหญ 1. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) สํ าหรั บนั ก เรี ยนที่ จ บการศึ ก ษาระดั บมั ธยมปลายจากระบบโรงเรี ยนใน ประเทศ ตองมีคุณสมบัติ เปนนักเรียนเรียนดีที่มีเกรดเฉลี่ ยในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมต่ํากวา 3.00 และมีเกรดเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมต่ํากวา 3.00

412 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 420

6/6/16 11:10 AM


สําหรั บนักเรียนที่ จบจากโรงเรี ยนนานาชาติ ในประเทศไทยหรือจากโรงเรียน ในตางประเทศ ตองมีคุณสมบัติ เป นผู ที่ จบการศึ กษาในระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลายจากโรงเรี ยนนานาชาติ ใน ประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทาจากตางประเทศ การรับสมัคร ครั้งที่ 1 เดือนพฤศจิกายน ครั้ งที่ 2 เดือนมีนาคม ครั้งที่ 3 เดือนเมษายน และครั้งที่ 4 เดือนมิถุนายน ของทุกปโดยประมาณ รายละเอียดเพิ่มเติมติดตอสอบถามไดที่ สํานักงานหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ตู ปณ. 5 ตําบลคอหงส อ.หาดใหญ จ.สงขลา 90112 Website: interbba.com โทรศัพท: 0 7428 7955-8 โทรสาร: 0 7455 8853

คณะการแพทยแผนไทย วิทยาเขตหาดใหญ 1. โครงการทายาทแพทยแผนไทย คุณสมบัติผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มีผลการเรียนเฉลี่ยใน 4 ภาคการศึกษา (ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 และ 5) ไมต่ํากวา 3.25 และมีคะแนนเฉลี่ยในกลุมสาระการเรียนรูตางๆ รวม 4 ภาคการศึกษา (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 และ 5) เฉลี่ย ไมต่ํากวา 3.25 ดังนี้ 1.1 กลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร 1.2 กลุม สาระการเรียนรูค ณิตศาสตร 1.3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (เฉพาะภาษาอังกฤษ) 2. เป นทายาทของแพทย แผนไทย หรื อหมอพื้ นบ าน หรื อเป นญาติ ที่ สืบสาย โลหิตโดยตรง ดังนี้ 2.1 มีบิดา หรือมารดา หรือปู หรือยา หรือยาย ที่สืบสายโลหิตโดยตรง เปน แพทยแผนไทย หรือหมอพื้นบาน หรือ 2.2 มีพี่ชาย หรือพี่สาว รวมบิดา มารดา หรือรวมแตบิดาหรือมารดา เปน แพทยแผนไทย หรือหมอพื้นบาน ทั้งนี้ บุคคลตามขอ 2.1, 2.2 ตองมีใบประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผน ไทย ประเภทเวชกรรมไทย และหรือประเภทเภสัชกรรมไทย และหรือประเภทผดุงครรภ ไทย และหรือประเภทนวดไทย หรือมีเอกสารยืนยันไดวาเปนผูประกอบอาชีพการแพทย àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 413

145x210mm_����������� �� 2560.indd 421

6/6/16 11:10 AM


แผนไทยมาไมต่ํากวา 5 ป ที่รับรองโดยนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด หรือผูที่นายแพทย สาธารณสุขจังหวัดมอบหมายใหมีอํานาจหนาที่ ในการปฏิบัติราชการแทนในเรื่องที่ เกี่ ยว ของ หรื อผู บังคั บบั ญชาสู งสุ ด หรือผู ที่ ได รับมอบหมายจากผู บังคับบั ญชาสูงสุ ด ใหมี อํานาจหนาที่ ในการปฏิบัติราชการแทนในหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่ องที่เกี่ยวของของ จังหวัดนัน้ ๆ 3. ผูสมัครเขาศึกษา จะตองมีสุขภาพสมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรค อาการ ของโรค หรือมีความพิการอื่นอันเปนอุปสรรคตอการศึกษา โดยใหแนบใบรับรองแพทย จากโรงพยาบาลของรัฐวาเปนผูไ มเปนโรคตามทีค่ ณะกําหนด

คณะเศรษฐศาสตร วิทยาเขตหาดใหญ คณะเศรษฐศาสตร มีวธิ ีการรับเขาศึกษาโดยใชวิธดี ําเนินการรับ ดังนี้

1. ตามโครงการคัดเลือกนักศึกษาโดยวิธรี ับตรงของมหาวิทยาลัย 1. เด็กเรียนดีทั่วประเทศ 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รับจํานวน 20 คน - GPAX (4 ภาค) 3.00 - GPA กลุมสาระ (4 ภาค) คณิตศาสตร 3.00 ภาษาอังกฤษ 3.00 - รับเฉพาะนักเรียนทีเ่ รียนเนนทางดานวิทยาศาสตรและศิลปคณิต 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร รับจํานวน 5 คน - GPAX (4 ภาค) 3.00 - GPA กลุมสาระ (4 ภาค) คณิตศาสตร 3.00 ภาษาอังกฤษ 3.00 - รับเฉพาะนักเรียนที่เรียนเนนทางดานวิทยาศาสตร 2. การรับตรงผาน ม.ขอนแกน (นักเรียนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รับจํานวน 3 คน วิชาหลักที่ใชคัดเลือก มี 01 ภาษาไทย 02 สังคมศึกษา 03 ภาษาอังกฤษ 04 คณิตศาสตร (วิทย) 05 วิทยาศาสตรทั่วไป 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร รับจํานวน 5 คน วิชาหลักที่ใชคัดเลือก มี 01 ภาษาไทย 02 สังคมศึกษา 03 ภาษาอังกฤษ 04 คณิตศาสตร (วิทย) 05 วิทยาศาสตรทั่วไป

414 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 422

6/6/16 11:10 AM


3. การรับตรงผาน ม.เชียงใหม (นักเรียนในเขตพัฒนาภาคเหนือ) 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รับจํานวน 3 คน วิชาหลั กที่ ใช คัดเลื อกมี กลุ มวิทยาศาสตร -คณิ ตศาสตร 01 ภาษาไทย 02 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 03 ภาษาอังกฤษ 04 วิทยาศาสตร 1 05 คณิตศาสตร 1 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร รับจํานวน 5 คน วิชาหลั กที่ ใช คัดเลื อกมี กลุ มวิทยาศาสตร -คณิ ตศาสตร 01 ภาษาไทย 02 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 03 ภาษาอังกฤษ 04 วิทยาศาสตร 1 05 คณิตศาสตร 1 4. ระบบรับตรง (โดยการยื่นคะแนน GAT/PAT) คุณสมบัติผูสมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร รับจํานวน 5 คน - GPAX 20 - PAT1 - คณิต 20 - GAT (85) 30 - การสอบวิชาสามัญ 9 วิชา สทศ อังกฤษ 25 คณิตศาสตร (วิทย) 25 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร รับจํานวน 5 คน - GPAX 20 - PAT1 - คณิต 20 - GAT (85) 30 - การสอบวิชาสามัญ 9 วิชา สทศ อังกฤษ 25 คณิตศาสตร (วิทย) 25 ภาษาไทย 5. ระบบรับตรง (14 จังหวัดภาคใต) คุณสมบัติผูสมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร 1.1 ชุดขอสอบเศรษฐศาสตร (วิทย) รับจํานวน 20 คน - อังกฤษ ก เกณฑขั้นต่ํา 25 - คณิต กข เกณฑขั้นต่ํา 20 1.2 ชุดขอสอบเศรษฐศาสตร (ศิลปคณิต) จํานวนรับ 25 คน - อังกฤษ กข เกณฑขนั้ ต่ํา 25 - คณิต กข เกณฑขั้นต่ํา 20 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 415

145x210mm_����������� �� 2560.indd 423

6/6/16 11:11 AM


2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร รับจํานวน 50 คน 2.1 ชุดขอสอบเศรษฐศาสตร (วิทย) จํานวนรับ 20 คน - อังกฤษ ก เกณฑขั้นต่ํา 25 - คณิต กข เกณฑขั้นต่ํา 20 หมายเหตุ วิชาวิทย คิดคะแนนเต็มเพียง 100 คะแนน

2. หองเรียนวิทยาศาสตรโดยการกํากับดูแลมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) คุณสมบัติผู สมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร จํานวนรับ ไมจํากัด 1.1 นักเรียน ม.6 ภายใตโครงการหองเรียนวิทยาศาสตร โดยการกํากับดูแล ของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว) - รร.ดรุณสิกขาลัย กรุงเทพฯ - รร.สาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม จ.เชียงใหม - รร.ราชสีมาวิทยาลัย จ.นครราชสีมา - รร.มอ.วิทยานุสรณ จ.สงขลา 1.2 GPAX (6 ภาค) 3.00 GPA กลุมสาระ (6 ภาค) - คณิตศาสตร 3.00 - ภาษาอังกฤษ 3.00 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร จํานวนรับ 5 คน 2.1 นักเรียน ม.6 ภายใตโครงการห องเรียนวิทยาศาสตร โดยการกํากับ ดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว) - รร.ดรุณสิกขาลัย กรุงเทพฯ - รร.สาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม จ.เชียงใหม - รร.ราชสีมาวิทยาลัย จ.นครราชสีมา - รร.มอ.วิทยานุสรณ จ.สงขลา 2.2 GPAX (6 ภาค) 3.00 GPA กลุมสาระ (6 ภาค) - คณิตศาสตร 2.75 - ภาษาอังกฤษ 2.75

416 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 424

6/6/16 11:11 AM


3. เด็กดีมีคุณธรรม คุณสมบัติผู สมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร จํานวนรับ 2 คน 1.1 รับนักเรียนที่เนนสายวิทยาศาสตร และศิลปคณิต 1.2 GPAX (4 ภาค) 2.75 1.3 GPA กลุมสาระ (4 ภาค) - คณิตศาสตร 3.00 - ภาษาอังกฤษ 3.00 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร จํานวนรับ 5 คน 2.1 รับนักเรียนทีเ่ นนสายวิทยาศาสตร 2.2 GPAX (4 ภาค) 2.75 2.3 GPA กลุมสาระ (4 ภาค) - คณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.75 - ภาษาอังกฤษ ไมต่ํากวา 2.75

4. โครงการ สอวน. (ทั่วประเทศ) คุณสมบัติผู สมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตรเกษตร จํานวนรับ 3 คน 1.1 รับนักเรียนทีเ่ รียนเนนสายวิทยาศาสตร 1.2 GPAX (4 ภาค) 2.75 - คณิตศาสตร 2.75 - ภาษาอังกฤษ 2.75

5. ระบบรับรวม (Admission) คุณสมบัติผู สมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร / ชุดขอสอบ 1.1 รับนักเรียนทีเ่ รียนเนนสายวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 1.2 GPAX 20 1.3 ONET 30

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 417

145x210mm_����������� �� 2560.indd 425

6/6/16 11:11 AM


เกณฑขนั้ ต่ํา - 03 ภาษาอังกฤษ 25 - 04 คณิตศาสตร 20 1.4 GAT (85) 30 1.5 PAT (คณิต 71) 30 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร/ชุดขอสอบ 2.1 รับนักเรียนทีเ่ รียนเนนสายวิทยาศาสตร 2.2 GPAX 20 2.3 ONET 30 เกณฑขนั้ ต่ํา - 03 ภาษาอังกฤษ 20 - 04 คณิตศาสตร 20 2.4 GAT (85) 30 2.5 PAT (คณิต 71) 20

6. โครงการคัดเลือกนักเรียนที่มที ักษะทางเศรษฐศาสตรจากการแขง ตอบปญหาระดับมัธยมศึกษา เขาศึกษาในคณะเศรษฐศาสตร คุณสมบัติผู สมัคร 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร / ชุดขอสอบ 1.1 ไดรับรางวัลชนะเลิศ หรือรองชนะเลิศอันดับที่ 1 หรือรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 จากการแขงขันตอบปญหาเศรษฐศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คณะ เศรษฐศาสตร 1.2 GPAX (5 ภาค) 3.00 - คณิตศาสตร 3.00 - ภาษาอังกฤษ 3.00 2. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร 1.1 ไดรับรางวัลชนะเลิศ หรือรองชนะเลิศอันดับที่ 1 หรือรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 จากการแขงขันตอบปญหาเศรษฐศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คณะ เศรษฐศาสตร

418 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 426

6/6/16 11:11 AM


1.2 GPAX (5 ภาค) 3.00 - คณิตศาสตร 3.00 - ภาษาอังกฤษ 3.00 หมายเหตุ นักเรียนที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไมเกิน 5 คน/ป โดยสามารถเลือกเรียนสาขา วิชาที่เปดสอนในคณะเศรษฐศาสตรไดตามความสมัครใจ โดยใหระบุเลือกสาขาวิชาที่ ตองการจะเขาศึกษาตอในใบสมัครใหชดั เจน โดยมีเกณฑพิจารณาตามลําดับดังนี้ 1. เรียงลําดับจากผลการแขงขันเปนเกณฑการพิจารณาลําดับแรก หากผลการ แขงขันอยูในลําดับเดียวกัน ใหใชเกณฑพิจารณาตามขอ 2 2. เรียงลําดับจากดัชนีสะสม (GPAX) หากดัชนีสะสมของผูสมัครเทากัน ใหใช เกณฑพิจารณาในขอ 3 3. เรี ยงลําดั บจากค าเฉลี่ ย ของดั ชนี เฉลี่ ยในกลุ มวิ ชาคณิ ตศาสตร และภาษา อังกฤษ 4. ไดรับการยกเวนคาธรรมเนียมการศึกษาตลอดจนสําเร็จการศึกษา โดยมี เงือ่ นไขจะตองมีผลการเรียน GPA โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1 ชั้นปที่ 1 ภาคการศึกษาแรกเขา จะไดรับการยกเวนคาธรรมเนียมการ ศึกษาและคาหนวยกิต 4.2 ชั้นปที่ 1-2 ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 (คะแนนเฉลี่ยสะสม ณ สิ้นภาคการศึกษากอนหนา) 4.3 ชั้นปที่ 3-4 ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.25 (คะแนนเฉลี่ยสะสม ณ สิ้นภาคการศึกษากอนหนา)

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิทยาเขตปตตานี 1. โครงการรับนักศึกษาที่มผี ลการเรียนดี คุณสมบัติของผู สมัคร ทุกสาขาวิชา ยกเวนสาขาวิชาวิทยาศาสตรนิเทศ 1. รับนักเรียนทีเ่ รียนเนนทางวิทยาศาสตร 2. มี GPAX รวม 4 ภาคเรียน (ม.4 - ม.5) ไมต่ํากวา 2.75 3. มี GPA รวม 4 ภาคเรียน (ม.4 - ม.5) ในสาระการเรียนรูตางๆ ดังตอไปนี้ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 419

145x210mm_����������� �� 2560.indd 427

6/6/16 11:11 AM


- คณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.75 - วิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.75 สาขาวิทยาศาสตรนเิ ทศ 1. รับนักเรียนทีเ่ รียนเนนทางวิทยาศาสตร 2. มี GPAX รวม 4 ภาคเรียน (ม.4 - ม.5) ไมต่ํากวา 2.75 3. มี GPA รวม 4 ภาคเรียน (ม.4 - ม.5) ในสาระการเรียนรูตางๆ ดังตอไปนี้ - ภาษาไทย ไมต่ํากวา 2.75 - คณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.00 - วิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.50

2. โครงการสงเสริมผูมีคุณธรรม จริยธรรม บําเพ็ญประโยชนชวยเหลือสังคม คุณสมบัติของผู สมัคร 1. เปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม บําเพ็ญประโยชนชวยเหลือสังคม อุทิศตนเพื่อ สวนรวม หรือเปนผูอุทิศตนเพื่อชวยเหลือครอบครัว ซึ่งรับรองโดย โรงเรียน หรือสํานัก งานเขตพื้ นที่ฯ/สํานักงานการศึกษาเอกชน/สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา/ สํานักงานเทศบาล/องคการบริหารสวนจังหวัดทีโ่ รงเรียนสังกัด 2. ตองเปนผู ที่ กําลังศึ กษาอยู ในระดับชั้ นมั ธยมศึกษาปที่ 6 สายสามั ญ ของ โรงเรียนที่ตั้งอยูใน 14 จังหวัดภาคใตประจําปการศึกษา 2557 3. นักเรียนตองมีผลการเรียนไมต่ํากวาเกณฑทกี่ ําหนดในแตละคณะ/สาขากําหนด

3. โครงการรับนักศึกษาภายใตโครงการหองเรียนวิทยาศาสตร ภายใตการ กํากับดูแลของมหาวิทยาลัย คุณสมบัติของผู สมัคร เปนนักเรียน วมว ของทุกศูนยที่ศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

4. โครงการรับตรงโดยใชคะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กํ า ลั ง ศึ ก ษาหรื อ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย สายวิ ช า วิทยาศาสตร 2. ตองมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (รวม 5-6 ภาคเรียน) ไมต่ํากวา 2.00

420 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 428

6/6/16 11:11 AM


กําหนด

3. มีคะแนนการสอบ GAT/PAT และการสอบ 9 วิฃาสามัญตามที่สาขาวิชา

5. การคัดเลือกนักศึกษาชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนใต เขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาตามโครงการของกระทรวงมหาดไทย

2.00

คุณสมบัติของผู สมัคร 1. สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิชาวิทยาศาสตร 2. ตองมีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (รวม 6 ภาคเรียน) ไมต่ํากวา 3. ตองมีคะนนการสอบ O-Net ตามที่สาขาวิชากําหนด

6. โครงการคัดเลือกบุคลากรที่มคี วามสามารถดานกีฬา คุณสมบัติของผู สมัคร 1. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไมต่ํากวา 2.50 2. มีผลการเรียน (GPA) ในกลุมสาระวิชา ดังนี้ - คณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.50 - วิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.50

7. โครงการจัดสรรทุนการศึกษาเพือ่ เขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

(จัดสรรทุนอุดหนุนการศึกษา ทุนละ 60,000 บาท/ปการศึกษา) คุณสมบัติของผู สมัคร 1. ผูที่กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทยาศาสตร 2. เปนผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมรายวิชาในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (5 ภาคการ ศึกษา) รวมกันไมต่ํากวา 2.75 และไดรับคะแนนเฉลีย่ รวมรายวิชาในกลุม สาระวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.75 และสาระคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.75

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 421

145x210mm_����������� �� 2560.indd 429

6/6/16 11:12 AM


8. โครงการรับนักศึกษาเขาศึกษาในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยวิธีพิเศษ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาหรือสําเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สายวิทยาศาสตร จากโรงเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต 2. เปนผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยสะสมในทุกรายวิชาในชั้นมัธยมศึกษา (รวม 5 หรือ 6 ภาคการศึกษา) รวมกันไมต่ํากวา 2.50 และไดรับคะแนนเฉลี่ยรวมรายวิชาในกลุมสาระ วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (เคมี ชีววิทยา ฟสิกส และคณิตศาสตร) รวมกันไมต่ํากวา 2.50 3. มีคะแนนการสอบ O-Net ตามที่สาขาวิชากําหนด

คณะศิลปกรรมศาสตร วิทยาเขตปตตานี 1. โครงการศึกษิตศิลปะ ลั กษณะของโครงการ เป น โครงการที่ รับนั กเรี ยนระดั บมั ธยมศึ ก ษาตอนปลาย หรื อนั ก เรี ย นระดั บ ประกาศนียบัตรนาฏศิลปชั้นกลาง และประกาศนียบัตรวิชาชีพทางดานศิลปกรรม (ปวช.) ที่มีผลการเรียนดี และมีจิตพิสัยทางดานงานศิลปกรรมทุกแขนง เพื่อพิจารณาคัดเลือก เขาศึกษาในคณะศิลปกรรมศาสตรเปนกรณีพิเศษ หลักการและเหตุผล คณะศิลปกรรมศาสตร เปนคณะที่เปดใหมเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะความรูทาง ดานศิลปกรรม ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติควบคูไปกับคุณธรรมและจริยธรรม คณะฯ ไดจัดทํา หลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อตองการที่จะผลิตบัณฑิตทางดานศิลปกรรมใหมีคุณภาพ ซึ่ งนอกเหนือจากองคประกอบทางโครงสรางและการพัฒนาหลักสูตร และการเรียน การสอนแลว การไดผูเรียนที่มีคุณภาพ มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความตองการและสนใจ ที่จะเรียนทางดานศิลปกรรมอยางแทจริง นับเปนปจจัยที่สําคัญมากอีกประการหนึ่งที่จะ สนับสนุนใหคณะฯ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกสูสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ กอปรกับ ผูที่จะเรียนทางดานศิลปกรรมที่สมัครสอบคัดเลือกโดยมหาวิทยาลัย และสํานักงานคณะ กรรมการการอุ ดมศึ กษามี น อย ทําให คณะคั ดเลื อกนั กศึ กษาไดไม มากนั ก ทําให ได นักศึกษาไมมีความถนัดทางดานศิลปกรรมอยางแทจริง ซึ่ งจะสงผลตอการลาออกและ

422 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 430

6/6/16 11:12 AM


การโอนยายคณะของนักศึกษามีมาก คณะฯ จึงไดจดั โครงการศึกษิตศิลปะขึน้ เพือ่ ตองการ ทีจ่ ะเฟนหานักเรียนทีม่ คี วามถนัดและความสามารถทางดานศิลปกรรมอยางแทจริง วั ตถุ ประสงค ของโครงการ 1. เพื่ อให นักเรียนที่ มีความสามารถทางดานศิลปกรรมเขาศึกษาในคณะศิ ลปกรรมศาสตร 2. เพือ่ ใหไดนกั เรียนทีม่ เี จตคติตอ งานศิลปกรรมอยางแทจริง 3. เพือ่ ผลิตบัณฑิตทางดานศิลปกรรมทีม่ คี ณ ุ ภาพออกสูส ังคม คุณสมบัติของผูที่ มีสิทธิ์ สมัคร 1. คุณสมบัติทั่วไป 1) มีสญ ั ชาติไทย 2) เปนผูม ีความประพฤติและมีประวัตกิ ารเรียนดี 2. คุณสมบัติเฉพาะ 1) กําลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 และจะสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 หรือ 2) กําลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรนาฏศิลปชั้นกลาง หรือ 3) กําลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพทางดานศิลปกรรม (ปวช.) 4) มีผลการเรียนตลอด 5 ภาคการศึกษา (ตั้ งแต ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6) ไมต่ํากวา 2.25

วิทยาลัยอิสลามศึกษา วิทยาเขตปตตานี ดวยวิทยาลัยอิสลามศึกษา จัดทําโครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ เพิ่ มเติมใน สวนของสาขาวิชาอิสลามศึกษา หลักสูตรนานาชาติ โดยเปดรับนักศึกษา 2 รูปแบบ คือ สมัครตรง และเปดรับสมัครตลอดป รับนักศึกษาทั้งในและตางประเทศ สามารถ Download ใบสมัครไดที่ www.cis.psu.ac.th

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 423

145x210mm_����������� �� 2560.indd 431

6/6/16 11:12 AM


โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ 2 โครงการ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต เปดรับสมัครนักศึกษาตามโครงการ ตางๆ โดยงานรับนักศึกษาและทะเบียนกลาง กองวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต สามารถดูรายละเอียดการสมัครไดที่ www.phuket.psu.ac.th/student_admissions โทรศัพท +66(0) 7627 6050-1

1. โครงการ ม.อ.ภูเก็ต มุงมั่นตั้งใจดี เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหแกนักเรียนที่มีความสนใจที่จะเขาศึกษา ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต โดยไมตองผานการสอบคัดเลือกที่จัดโดย สอท. คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา 2. เปนผูที่ไมมีโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา และอาชีพ 3. เปนผูท มี่ ีความประพฤติดี 4. ไมเปนผูที่มีสิทธิ์ เขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จากการคัดเลือก ทุกวิธีการ ประจําปการศึกษา 2559 5. ตองมีคณ ุ สมบัตเิ ฉพาะตามทีค่ ณะ/สาขาวิชานัน้ ๆ กําหนดไวดงั รายละเอียด หรือ 6. มีคุณสมบัติพเิ ศษอื่นที่เหมาะสมตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ ฃดังนี้ คณะการบริ การและการท องเที่ ยว หลักสู ตรบริ หารธุ รกิ จบั ณฑิ ต (สาขาวิ ชา การจัดการการบริการและสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว) GPAX 4 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.75/ GPA 4 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) คณิตศาสตร 2.50 ภาษา อังกฤษ 3.00 คณะวิเทศศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ:จีน จีนศึกษา ไทยศึกษา วิเทศศึกษาและสาขาวิชายุโรปศึกษา : อังกฤษ–ฝรั่งเศส) GPAX 4 ภาคการ ศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.50 / GPA ภาษาอังกฤษ 4 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.50

424 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 432

6/6/16 11:12 AM


คณะเทคโนโลยีและสิ่ งแวดล อม หลักสูตรวิ ทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมซอฟตแวร เทคโนโลยีและการ จัดการสิ่งแวดลอม และสาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม) GPAX 4 ภาค การศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.50 / GPA 4 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) วิทยาศาสตร 2.25 คณิตศาสตร 2.25 ภาษาอังกฤษ 2.25 ซึ่งรับเฉพาะนักเรียนสายวิทย–คณิตเทานั้น โดยสาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส รับนักเรียนสายศิลป–คํานวณดวย

2. โครงการรับนักเรียนเพื่อผลิตตนแบบบัณฑิต AEC เพื่ อเป นการขยายโอกาสทางการศึ กษาให แก นั กเรี ยนที่ สํา เร็ จการศึ กษาระดั บ มัธยมศึ กษาปที่ 6 (ชวงชั้ นที่ 4 ระดั บมั ธยมศึกษาปที่ 4 ถึ งระดับมัธยมศึกษาป ที่ 6) หรือเทียบเทา และมีความสนใจที่จะเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ภูเก็ต โดยไมตอ งผานการสอบคัดเลือกทีจ่ ัดโดย สอท. คุณสมบัติของผู สมัคร 1. สําเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา 2. ตองมีคุณสมบัติเฉพาะตามทีค่ ณะ/สาขาวิชานั้นๆ กําหนดไว รายละเอียดดังนี้ คณะการบริการและการทองเที่ยว หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาวิชาการ จั ดการการบริ การและสาขาวิ ชาการจั ดการการท องเที่ ยว) GPAX 6 ภาคการศึ กษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.75 / GPA 6 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) คณิตศาสตร 2.50 ภาษา อังกฤษ 3.00 คณะวิเทศศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ:จีน จีนศึกษา ไทยศึกษา วิเทศศึกษา และสาขาวิชายุโรปศึกษา : อังกฤษ–ฝรั่งเศส GPAX 6 ภาคการ ศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.25 / GPA 6 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) ภาษาอังกฤษ 2.25 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส วิศวกรรมซอฟตแวร เทคโนโลยีและการ จัดการสิ่งแวดลอม และสาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม) GPAX 6 ภาค การศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) 2.25 / GPA 6 ภาคการศึกษา (เกณฑขั้นต่ํา) วิทยาศาสตร 2.25 คณิตศาสตร 2.25 ภาษาอังกฤษ 2.25 ซึ่งรับเฉพาะนักเรียนที่สําเร็จการศึกษาในสาย วิทย–คณิตเทานั้น โดยสาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส รับนักเรียนสายศิลป–คํานวณดวย

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 425

145x210mm_����������� �� 2560.indd 433

6/6/16 11:12 AM


ชวงเวลารับสมัครและสอบคัดเลือก รอบที่ 1 รับสมัคร เมษายน 2559 สอบสัมภาษณ พฤษภาค 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา มิถุนายน 2559 รอบที่ 2 รับสมัคร มิถุนายน – กรกฎาคม 2559 สอบสัมภาษณ กรกฎาคม 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา สิงหาคม 2559

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม วิทยาเขตภูเก็ต 1. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ (โควตา) นักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต เขาศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กําหนดใหมีโครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ (โควตา) แกนักเรียนในโรงเรียน 14 จังหวัด ภาคใต และโครงการจัดตั้ งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนิคพังงา กระทรวงศึ กษาธิ การ โดย สํานั กงานคณะกรรมการการอาชีวศึ กษา และกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เขาศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ สาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟตแวร สาขาวิชา เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม และสาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดลอม โดยรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีผลการเรียนดีจากโรงเรียนตางๆ ใน 14 จังหวัดภาคใต และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.3) ในโครงการจัดตั้ งโรงเรียน เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร วิทยาลัยเทคนิคพังงา ซึ่งไดรับการพิจารณาคัดเลือกวา เหมาะสม เพื่อเขาศึกษาในหลักสูตรดังกลาวโดยไมตองผานการสอบคัดเลือกเขาศึกษาที่ จัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียน 14 จังหวัดภาคใต หรือ ระดั บประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ (ปวช.3) ในโครงการจั ด ตั้ ง โรงเรี ยนเทคโนโลยี ฐ าน วิทยาศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งจะตองสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 2. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบรอย

426 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 434

6/6/16 11:13 AM


4. สําหรับผูที่ ประสงคสมัครเขาศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขา วิชาวิศวกรรมซอฟตแวร สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม และสาขาวิชา เทคโนโลยี และการจัดการสิ่งแวดลอม ตองเปนนักเรียนกลุม สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรคณิตศาสตร และมีคะแนนเฉลีย่ สะสมดังนี้ 4.1 มีดัชนีเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 - ม.5 / ปวช.1 - ปวช.2) ไมต่ํากวา 2.50 4.2 มีดัชนีสะสม (GPA) และมีหนวยกิตสะสมรวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 ม.5 / ปวช.1 - ปวช.2) ในกลุมสาระตางๆ ดังตอไปนี้ - กลุ มสาระการเรียนรู วิ ทยาศาสตร มีหนวยกิ ตสะสมในวิ ชาพื้ นฐาน วิทยาศาสตร และรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไมนอยกวา 15 หนวยกิต และมีดัชนีสะสม (GPA) ไมต่ํากวา 2.25 - กลุ ม สาระการเรี ย นรู คณิ ต ศาสตร มี ห น ว ยกิ ต สะสมในรายวิ ช า คณิตศาสตร และรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไมนอยกวา 9 หนวยกิต และมีดัชนีสะสม (GPA) ไมต่ํากวา 2.25 - กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีหนวยกิต สะสมไมนอยกวา 6 หนวยกิต และมีดัชนีสะสม (GPA) ไมนอยกวา 2.25 หรือ 4.3 มี คุ ณสมบั ติ พิ เ ศษอื่ น ที่ เ หมาะสมตามความเห็ น ของคณะกรรมการ พิจารณา 5. สําหรับผูที่ประสงคสมัครเขาศึกษาในสาขาวิชาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ตองเปน นักเรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตามขอ 4.1 และ 4.2 และนักเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร-ภาษาอังกฤษ โดยมีคะแนน เฉลีย่ สะสมดังนี้ 5.1 มีดัชนีเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 - ม.5) ไมต่ํากวา 2.50 5.2 มีดัชนีสะสม (GPA) และมีหนวยกิตสะสมรวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 ม.5) ในกลุมสาระตางๆ ดังตอไปนี้ - กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร มีหนวยกิตสะสมในรายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร และรายวิชาเพิ่มเติม รวมกันไมนอยกวา 9 หนวยกิต และมีดัชนีสะสม (GPA) ไมต่ํากวา 2.25

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 427

145x210mm_����������� �� 2560.indd 435

6/6/16 11:13 AM


- กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีหนวยกิต สะสมไมนอยกวา 15 หนวยกิต และมีดัชนีสะสม (GPA) ไมนอยกวา 2.25 หรือ 5.3 มี คุ ณสมบั ติ พิ เ ศษอื่ น ที่ เ หมาะสมตามความเห็ น ของคณะกรรมการ พิจารณา

2. โครงการ PSU Smart Students for ASEAN เพื่อรับนักเรียนเขาศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีและสิ่ งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กําหนดใหมีโครงการรับนักศึกษาภายใตโครงการ PSU Smart Students for ASEAN เพื่อรับนักเรียนเขาศึกษาหลั กสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิ ชาธุ รกิ จอิ เล็กทรอนิ กส สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมซอฟต แวร สาขาวิชาเทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศสิ่งแวดลอม และสาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดลอม โดยรับ นักเรียนระดับมัธยมศึ กษาตอนปลายที่ มีผลการเรียนดีจากโรงเรียนตางๆ ซึ่ งไดรับการ พิจารณาคัดเลือกวาเหมาะสมเพื่อเขาศึกษาในหลักสูตรดังกลาวโดยไมตองผานการสอบ คัดเลือกเขาศึกษา ที่จัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) ดังรายละเอียด ตอไปนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูใ นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ซึ่งจะตองสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 2. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบรอย 4. สําหรับผูทปี่ ระสงคสมัครเขาศึกษาตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสม ดังนี้ 4.1 มีดัชนีเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 - ม.5) ไมต่ํา กวา 2.50 4.2 มีดัชนีสะสม (GPA) รวม 4 ภาคการศึกษา (ม.4 - ม.5) ในกลุมสาระ ตางๆ ดังตอไปนี้ - กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.25 - กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.25 - กลุม สาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไมต่ํากวา 2.25 หรือ

428 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 436

6/6/16 11:13 AM


คัดเลือก

4.3 มี คุ ณสมบั ติ พิ เ ศษอื่ น ที่ เ หมาะสมตามความเห็ น ของคณะกรรมการ

3. โครงการ Students for ASEAN เพื่อรับนักเรียนเขาศึกษาหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีและสิ่ งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กําหนดใหมีโครงการรับนักศึกษาภายใตโครงการ Students for ASEAN เพื่อรับนักเรียน เขาศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาธุรกิจ อิ เล็ กทรอนิ กส สาขาวิ ชาวิ ศวกรรมซอฟต แวร สาขาวิ ชาเทคโนโลยี ภู มิ สารสนเทศ สิ่งแวดลอม และสาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดลอม โดยรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายที่มีผลการเรียนดีจากโรงเรียนตางๆ ซึ่งไดรับการพิจารณาคัดเลือก วาเหมาะสมเพื่อเขาศึกษาในหลักสูตรดังกลาว โดยไมตองผานการสอบคัดเลือกเขาศึกษา ทีจ่ ัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูใ นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ซึ่งจะตองสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 2. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบรอย 4. สําหรับผูทปี่ ระสงคสมัครเขาศึกษาตองมีคะแนนเฉลีย่ สะสม ดังนี้ 4.1 มีดัชนีเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 5 ภาคการศึกษา (ตั้งแตภาคการศึกษา ที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงภาคการศึกษาที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6) ไมต่ํา กวา 2.50 4.2 มีดัชนีสะสม (GPA) รวม 5 ภาคการศึกษา (ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงภาคการศึกษาที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6) ในกลุม สาระตางๆ ดังตอไปนี้ - กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.25 - กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.25 กลุมสาระการเรียนรู ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไม ต่ํากวา 2.25 หรือ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 429

145x210mm_����������� �� 2560.indd 437

6/6/16 11:13 AM


คัดเลือก

4.3 มี คุ ณสมบั ติ พิ เ ศษอื่ น ที่ เ หมาะสมตามความเห็ น ของคณะกรรมการ

คณะการบริการและการทองเที่ยว วิทยาเขตภูเก็ต 1. โครงการรับนักศึกษาชาวตางประเทศและนักศึกษาไทยที่มีความสามารถ ทางภาษาอังกฤษ เขาศึกษาเพื่อรับปริญญาคณะการบริการและการ ทองเที่ ยว คณะการบริการและการทองเที่ยว ไดดําเนินการรับนักศึกษาชาวตางประเทศและ นั กศึ กษาไทยที่ มีความสามารถทางภาษาอังกฤษ เขาศึ กษาเพื่ อรั บปริ ญญาในหลั กสูตร ปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สาขาวิชาการจัดการ การบริการ และสาขาการจัดการการทองเที่ยว คุณสมบัติของผูสมัคร 1. เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับชวงชั้นที่ 4 (ม.4 - ม.6) หรือเทียบเทา หรือผูที่ กําลังศึกษาอยูใ นภาคการศึกษาสุดทายของระดับชวงชั้นที่ 4 2. อายุ 17-25 ป 3. มีผลการสอบวัดระดับความสามารถภาษาอังกฤษดังตอไปนี้ - TOEFL (Test of English as a Foreign Language) คะแนนไมต่ํากวา 450 หรือ 133 (Computer-Based) หรือ - IELTS (International English Language Testing System) คะแนน ไมต่ํากวา 4.5 หรือ - TOEIC (Test of English for International Communication) 550 คะแนน หรือ - ผลการสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีผล คะแนนสอบเทียบเทาคะแนน TOEFL หรือ IELTS ตามเกณฑที่ระบุขางตน ชวงเวลารับสมัครและสอบคัดเลือก รับสมัคร กุมภาพันธ – มิถุนายน 2559 สอบสัมภาษณ มิถุนายน 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา มิถุนายน 2559

430 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 438

6/6/16 11:13 AM


2. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธพี ิเศษ (โควตา) เพื่อเขาศึกษาในหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการบริการและสาขาวิชาการจัดการ การทองเที่ยว คณะการบริการและการทองเที่ยว รับนักเรียนที่ กําลังศึกษาอยู ในโรงเรียนมัธยมศึ กษาทั่ วประเทศ ทั้ งในโรงเรียน สองภาษา (English Program) และโรงเรียนนานาชาติ (International) และไดรับการ พิจารณาคัดเลือกว าเหมาะสมเพื่อเขาศึกษา โดยไมตองผานการสอบคัดเลือกที่ จัดโดย (สอท.) คุณสมบัติของผูสมัคร 1. กําลั งศึกษาอยู ชั้ นมั ธยมศึ กษาปที่ 6 หรือเทียบเทา และจะต องสําเร็จการ ศึกษาในปการศึกษา 2558 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ หรือโรงเรียนสองภาษา (Bilingual School) หรือโรงเรียนนานาชาติ (International School) หรือโรงเรียน มัธยมศึกษาทั่วประเทศ ในโครงการภาษาอังกฤษ (English Program) โดยจะตองมีดัชนี เฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา (มัธยมศึกษาปที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปที่ 5) ไมต่ํากวา 2.75 2. มีดัชนีสะสม (GPA) ในกลุมสาระวิชาภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รวม 4 ภาคการศึกษา (มัธยมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 5) ไมต่ํากวา 3.00 3. เปนผูที่ไมมีโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา และอาชีพ 4. มีความประพฤติเรียบรอย หรือ 5. มีคณ ุ สมบัตพิ ิเศษอืน่ ทีเ่ หมาะสมตามความเห็นของคณะกรรมการ

คณะวิเทศศึกษา วิทยาเขตภูเก็ต 1. โครงการรับนักศึกษาที่มีความสามารถทางภาษา เขาศึกษาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะวิเทศศึกษา วิทยาเขตภูเก็ต คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต ดําเนินการรับ นักศึกษาที่มีความสามารถทางภาษาอังกฤษหรือภาษาจีน เขาศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต ซึ่งเปนหลักสูตรนานาชาติ โดยมีรายละเอียดดังนี้

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 431

145x210mm_����������� �� 2560.indd 439

6/6/16 11:14 AM


คุณสมบัติของผูสมัคร 1. ชาวไทยหรือชาวตางประเทศ ผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชวงชั้นที่ 4 ม.4 – ม.6) หรือเทียบเทา 2. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบรอย 4. มีผลการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา ดังนี้ 4.1 TOEIC (Test of English for International Communication) ไม ต่ํากวา 500 หรือคะแนนสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษอื่นที่เทียบเทา สําหรับผูที่ประสงค เขาศึ กษาในสาขาวิเทศธุ รกิจ: จีน, สาขาจี นศึกษา, สาขาไทยศึกษา, สาขาวิ เทศศึกษา และสาขายุโรปศึกษา: อังกฤษ-ฝรั่งเศส 4.2 HSK (Hanyu Shuiping Kaoshi) ไมต่ํากวาระดับ 3 สําหรับผูที่ ประสงคเขาศึกษาในสาขาวิชาวิเทศธุรกิจ : จีน และจีนศึกษาเทานั้น 4.3 DELF (Diplome d’etudes en langue Francaise) ไมต่ํากวาระดับ A2

2. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ เขาศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต คณะวิเทศศึกษา คณะวิ เทศศึ กษา มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ นทร วิ ทยาเขตภู เก็ ต กําหนดให มี โครงการรับนักศึกษาโดยวิ ธีพิเศษ เขาศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิ ต ประจําปการ ศึกษา 2559 โดยมีรายละเอียดดังนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. ผูที่กําลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา และจะตองสําเร็จ การศึกษาในปการศึกษา 2558 หรือผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชวง ชั้นที่ 4 ม.4 – ม.6) หรือเทียบเทา 2. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. มีความประพฤติเรียบรอย 4. สําหรับผู ที่กําลังศึกษาในระดับชั้ นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา กําหนด ใหมี GPAX 5 ภาคการศึกษา > 2.50 หรือ GPA ภาษาอังกฤษ 5 ภาคการศึกษา > 2.50 หรือผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชวงชั้นที่ 4 ม.4 - ม.6) หรือเทียบเทา กําหนดใหมี GPAX 6 ภาคการศึกษา > 2.50 หรือ GPA ภาษาอังกฤษ 6 ภาคการศึกษา > 2.50 หรือ 5. มีคุณสมบัตพิ เิ ศษอืน่ ทีเ่ หมาะสมตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ

432 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 440

6/6/16 11:14 AM


ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาเขตภูเก็ต 1. โครงการรับนักศึกษาโดยวิธีพิเศษ (โควตา) นักเรียนในโรงเรียนทั่วประเทศ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะ วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิทยาเขตภูเก็ต

เพือ่ เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหแกนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนดี และมีความ สนใจที่จะเขาศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (เรียนที่ วิทยาเขตภูเก็ต) โดยไมตองผานการสอบคัดเลือกที่จัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศ ไทย (สอท.) ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จากโรงเรียนทั่วประเทศไทย และจะ ตองสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) รวม 4 ภาคการศึกษา(มัธยมศึกษาปที่ 4 มัธยมศึกษาปที่ 5) ไมต่ํากวา 2.50 3. มีคะแนนเฉลี่ย (GPA) ในกลุมสาระวิชาตางๆ รวม 4 ภาคการศึกษา (มัธยม ศึกษาปที่ 4 - มัธยมศึกษาปที่ 5) ดังนี้ - กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ไมต่ํากวา 2.50 คิดคาเฉลี่ยที่ดีที่สุด 10 หนวยกิต - กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.50 คิดคาเฉลี่ยที่ดีที่สุด 8 หนวยกิต - กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ไมต่ํากวา 2.25 คิดคาเฉลี่ยที่ดที ี่สุด 4 หนวยกิต 4. ไมเปนโรครายแรงซึง่ เปนอุปสรรคตอการศึกษา 5. มีความประพฤติเรียบรอย หรือ 6. มีคุณสมบัติพเิ ศษอืน่ ทีเ่ หมาะสม ตามความเห็นของคณะกรรมการ

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 433

145x210mm_����������� �� 2560.indd 441

6/6/16 11:14 AM


วิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต 1. โครงการสรางบัณฑิตสูสากล เพือ่ รับนักเรียนเขาศึกษาในวิทยาลัยนานาชาติ ศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต วิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต กําหนดใหมีโครงการสรางบัณฑิตสู สากล เพื่อรับนักเรียนเขาศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบ วิศวกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) โดยรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ทุกแผนการศึกษาที่มีผลการเรียนดีจากโรงเรียนตางๆ ซึ่งไดรับการพิจารณาคัดเลือกวา เหมาะสมเพื่ อเขาศึกษาในหลักสูตรดังกลาว โดยไมตองผานการสอบคัดเลือกเขาศึกษา ทีจ่ ัดโดยสมาคมอธิการบดีแหงประเทศไทย (สอท.) ดังรายละเอียดตอไปนี้ คุณสมบัติของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ซึ่งจะตองสําเร็จการศึกษาในป การศึกษา 2558 โดยมีดัชนีเฉลี่ยสะสม (GPA) ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รวม 4 ภาคการศึกษา (ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - ภาคการศึกษาที่ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5) ไมต่ํากวา 2.50 หรือ 2. สําเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา โดยมีดัชนีเฉลี่ย สะสม (GPA) ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รวม 6 ภาคการ ศึกษา (ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - ภาคการศึกษาที่ 2 ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6) ไมต่ํากวา 2.50 หรือ 3. สอบผาน IGCSE, IB หรือ GED ในประเทศหรือตางประเทศ หรือ 4. สําเร็จการศึกษาในระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายในตางประเทศ หรือ 5. มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษอืน่ ทีเ่ หมาะสมตามความเห็นของคณะกรรมการคัดเลือก ชวงเวลารับสมัครและสอบคัดเลือก รอบที่ 1 รับสมัคร กันยายน 2558 สอบสัมภาษณ ตุลาคม 2558 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ตุลาคม 2558 รอบที่ 2 รับสมัคร ตุลาคม – พฤศจิกายน 2558 สอบสัมภาษณ พฤศจิกายน 2558 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ธันวาคม 2558

434 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 442

6/6/16 11:14 AM


รอบที่ 3 รอบที่ 4

รับสมัคร มกราคม – มีนาคม 2559 สอบสัมภาษณ เมษายน 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา เมษายน 2559 รับสมัคร เมษายน – พฤษภาคม 2559 สอบสัมภาษณ มิถุนายน 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา มิถุนายน 2559

2. โครงการ ICASP เสนทางสูสากล (ICASP Smart Choice) เพื่อรับนักเรียน เขาศึกษาในวิทยาลัยนานาชาติศลิ ปวิทยาศาสตร ภูเก็ต ปจจุบันวิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต มีหลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาตรี ระยะเวลาศึกษาตามหลักสูตร 4 ป ไดแก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบวิศวกรรม และหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการสื่อสาร นอกจากนั้นยังมีหลักสูตรที่มีความ รวมมือกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ โดยนักศึกษาจะตองศึกษารายวิชาพืน้ ฐาน 2 ปแรก ที่วิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร ภูเก็ต และศึกษาตอปที่ 3 และ 4 ในมหาวิทยาลัย ในตางประเทศจากโครงการตอไปนี้ 1. โครงการความรวมมือกับมหาวิทยาเรตากุ ประเทศญีป่ ุน หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Economics) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (Bachelor of Business Administration) 2. โครงการความรวมมือกับมหาวิทยาลัยฉางโจว ประเทศจีน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิเทศธุรกิจ (B.A. in International Business) 3. โครงการความรวมมือกับมหาวิทยาลัยเซีย่ งไฮ ประเทศจีน หลั กสู ต รศิ ลปศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาเศรษฐศาสตร แ ละการค า ระหว าง ประเทศ (B.A. in International Economics and Trade) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ (B.B.A. in Business Administration) 4. โครงการความรวมมือระหวางคณะการบริการและการทองเทีย่ ว มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต กับ สถาบันการจัดการโรงแรมนานาชาติ (IMI) ประเทศ สวิ สเซอร แลนด โดยได รับปริ ญญาศิลปศาสตรบั ณฑิ ต (เกี ยรตินิ ยม) จาก IMI และ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอรเมโทรโพลิเทน (MMU) ประเทศอังกฤษ โดยเลือกเรียน 1 ใน 5 สาขาวิชาดังนี้ àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 435

145x210mm_����������� �� 2560.indd 443

6/6/16 11:14 AM


4.1 การจัดการโรงแรมนานาชาติ (International Hotel Management) 4.2 การจัดการโรงแรมและการทองเที่ยวนานาชาติ (International Hotel and Tourism Management) 4.3 การจัดการโรงแรมและงานกิจกรรมนานาชาติ (International Hotel and Even Management) 4.4 การจัดการการทองเที่ ยวและงานกิจกรรมนานาชาติ (International Tourism and Event Management) 4.5 การเปนผูประกอบการการบริการนานาชาติ (International Hospitality Entrepreneurship) คุณสมบัติผูสมัคร 1. กําลังศึกษาหรือสําเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ทุกแผนการเรียน กรณีกําลังศึกษาใช GPA 5 ภาคการศึกษาในรายวิชาภาษาอังกฤษ 2.50 ขึ้นไป กรณีสําเร็จการศึกษา ใช GPA 6 ภาคการศึกษาในรายวิชาภาษาอังกฤษ 2.50 ขึ้นไป หรือ 2. สอบผาน IGCSE, IB หรือ GED ในประเทศหรือตางประเทศ หรือ 3. สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในตางประเทศ ระยะเวลาการรับสมัคร ประกาศรับสมัคร 5 มิถุนายน - 7 กรกฎาคม 2559 ประกาศผลผูม ีสทิ ธิส์ อบคัดเลือก 8 กรกฎาคม 2559 วันสอบคัดเลือก 15 กรกฎาคม 2559 ประกาศรายชื่อผูผา นการคัดเลือก 21 กรกฎาคม 2559 ยืนยันสิทธิ์* 21-29 กรกฎาคม 2559 ประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา 2 สิงหาคม 2559

คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ วิทยาเขตตรัง 1. โครงการ “โควตา ม.อ. ตรัง” สาขาวิชาที่เปดรับ 9 สาขาวิชา จํานวนรับของโครงการรวมทั้งสิ้น 500 คน เพื่อเขาศึกษาใน 9 สาขาวิชา ดังนี้ 1) สาขาวิชาการบัญชี 2) สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี

436 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 444

6/6/16 11:15 AM


3) สาขาวิชาการตลาด 4) สาขาวิชาการประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง 5) สาขาวิชาการจัดการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 6) สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร 7) สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว 8) สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ 9) สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ หมายเหตุ สําหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ เมื่อศึกษาในชั้นปที่ 3 จะตองเลือกประเทศเพื่อไปศึกษา ณ Sydney Institute of Language and Commerce, Shanghai University ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ มหาวิทยาลัยในกรุง กัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย เปนเวลา 1 ป คุณสมบัติทั่ วไปของผู สมัคร 1. กําลังศึกษาหรือสําเร็ จการศึ กษาในระดั บชั้ นมั ธยมศึ กษาป ที่ 6 สายสามั ญ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 จากโรงเรียนทั่วประเทศ 2. ทุกสาขาวิชา รับเฉพาะนักเรียนที่เรียนเนนในกลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร หรือคณิตศาสตร (สายวิทย หรือศิลปคํานวณ) ยกเวน สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยว สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ และสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สามารถรับ นักเรียนทีเ่ รียนไดจากทุกกลุม สาระ 3. จะตองเปนผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยในกลุมสาระวิชาตางๆ รวม 4 ภาคการศึกษา (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5) ดังนี้ 3.1 สาขาวิชาการบัญชี สาขาการจัดการสารสนเทศและคอมพิวเตอร สาขา การประกันภัยและการจัดการความเสี่ยง สาขาวิชาการจัดการรัฐกิจและวิสาหกิจ สาขา วิ ชาการตลาด สาขาวิ ชาจัดการพาณิ ชย อิเล็ กทรอนิ กส และสาขาวิ ชาการจัดการการ ทองเที่ยว ตองมีผลการเรียนกลุมสาระวิชาคณิตศาสตรไมต่ํากวา 2.50 และกลุมสาระ วิชาภาษาตางประเทศไมต่ํากวา 2.50 3.2 สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี ตองมีผลการเรียนกลุมสาระ วิชาคณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.75 และกลุมสาระวิชาภาษาตางประเทศไมต่ํากวา 2.75 3.3 สาขาวิ ชาภาษาอั งกฤษธุ รกิ จ ต องมี ผลการเรี ยนกลุ มสาระวิ ชา คณิตศาสตร ไมต่ํากวา 2.50 และกลุมสาระวิชาภาษาตางประเทศไมต่ํากวา 3.00 4. จะตองสําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในปการศึกษาที่รับสมัครเทานั้น 5. ไมเปนโรครายแรงทีเ่ ปนอุปสรรคตอการศึกษา àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 437

145x210mm_����������� �� 2560.indd 445

6/6/16 11:15 AM


สถานที่ ติดตอสอบถาม งานทะเบียนและประมวลผลนักศึกษา วิทยาเขตตรัง ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 โทรศัพท 0-7520-1726 หรือ 0-7526-3400 โทรสาร 0-7520-1709 เว็บไซต http://www.trang.psu.ac.th

2. โครงการตนศิลป: ศิลปะการแสดง สาขาวิชาที่เปดรับ 1 สาขาวิชา คือ สาขาศิลปะการแสดงและการจัดการ คุณสมบัติทั่ วไปของผู สมัคร 1. เปนผู มีสัญชาติ ไทย และกําลั งศึกษาอยู ในระดั บชั้ นมั ธยมศึ กษาตอนปลาย หรือเทียบเทา ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต ขณะทําการสมัคร 2. เปนผูที่ไมมีโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา และอาชีพ 3. เปนผูมคี วามประพฤติดี และมีเจตคติที่ดตี อศาสตรทางดานศิลปกรรม 4. มีผลการเรียนเฉลี่ย 5 ภาคเรียน ตามเกณฑที่โครงการกําหนด โรงเรียนกลุ มเปาหมาย โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย วิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัยชางศิลป และสถาบัน อาชีวศึกษาหรือเทียบเทาในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต วิธีการคัดเลือก/จํานวนที่ เปดรับ 1. โควตาใหโรงเรียนเปนผูคัดเลือก รับจํานวน 15 คน 2. รับตรงโดยคณะฯ เปนผูคัดเลือก รับจํานวน 15 คน สถานที่ ติดตอสอบถาม งานทะเบียนและประมวลผลนักศึกษา วิทยาเขตตรัง ต. ควนปริง อ. เมือง จ. ตรัง 92000 โทรศัพท 0-7520-1726 , หรือ 0-7526-3400 โทรสาร 0-7520-1709 เว็บไซต http://www.trang.psu.ac.th

438 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 446

6/6/16 11:15 AM


คณะสถาปตยกรรมศาสตร วิทยาเขตตรัง 1. โครงการ “สถาภูมิ (STABHUMI)”

สาขาวิชาที่เปดรับ 1 สาขาวิชา คือ สาขาสถาปตยกรรมศาสตร คุณสมบัติของผู สมัคร 1. ตองสําเร็จการศึกษาไมต่ํากวามัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ ในแผนการ ศึกษาที่เนนในกลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร และคณิตศาสตร (สายวิทยาศาสตร) 2. ระดับผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) ไมต่ํา กวา 2.50 3. ระดั บคะแนนเฉลี่ ยในกลุ มสาระวิชาคณิ ตศาสตร และกลุ มสาระวิ ชาวิทยาศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไมต่ํากวา 2.25 4. เปนผูท มี่ ีความประพฤติดี 5. ไมเปนโรคติดตอรายแรง หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษาและ อาชีพ จํานวนนั กศึกษาที่ รั บ จํานวนรับของโครงการ รวมทั้งสิ้น 60 คน การรับสมัคร ผู ที่ มี คุ ณสมบั ติ ครบถ วนตามข อ 2 ใหยื่ นใบสมั ครพรอมส งหลักฐานการสมั คร (วงเล็บมุมซองโครงการ “สถาภูมิ”) ถึงงานทะเบียนและประมวลผลนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง รายละเอียดตามปฏิทินดําเนินการของโครงการฯ สถานที่ ติดตอสอบถาม งานทะเบียนและประมวลผลนักศึกษา วิทยาเขตตรัง ต. ควนปริง อ. เมือง จ. ตรัง 92000 โทรศัพท 0-7520-1726 หรือ 0-7520-1721 โทรสาร 0-7520-1709 เว็บไซต http://www.trang.psu.ac.th

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 439

145x210mm_����������� �� 2560.indd 447

6/6/16 11:15 AM


วิทยาเขตสุราษฎรธานี 1. โครงการเยาวชนรมศรีตรัง ไดเฉลี่ยระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 4-5 (รวม 4 ภาคการศึกษา) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต เมื่อสําเร็จการศึกษาตองมีกลุมสาระคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต และกลุมสาระวิทยาศาสตร (กลุมวิชาฟสิกส เคมี และชีววิทยา) ไมนอยกวา 22 หนวยกิต และไดเกรดในแตกลุมสาระวิชา คณิตศาสตร กลุมสาระวิชา วิทยาศาสตร และกลุมสาระวิชาภาษาอังกฤษ ไมต่ํากวา 2.50 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต เมื่อสําเร็จการศึกษาตองมีกลุมสาระคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต และตองศึกษาในกลุมสาระวิชาคณิตศาสตร และกลุมสาระ วิชาภาษาอังกฤษ ไดรับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.50 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต เมื่ อสําเร็จการศึ กษาตองมี กลุ มสาระวิ ชาภาษา ตางประเทศ ไมนอยกวา 12 หนวยกิต หรือกลุมสาระคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต และตองศึกษากลุมสาระวิชาภาษาตางประเทศ และกลุมสาระวิชาคณิตศาสตร ไดรับคะแนนเฉลี่ยแตละกลุมสาระวิชาไมต่ํากวา 2.50 หลักสูตรเศรฐศาสตรบัณฑิต เมื่อสําเร็จการศึกษาตองมีกลุมสาระคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต และตองศึกษาในกลุมสาระวิชาคณิตศาสตร และกลุมสาระวิชา ภาษาอังกฤษ ไดรับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.50 หลักสูตรรัฐประศาสตรบัณฑิต เมือ่ สําเร็จการศึกษาตองมีกลุม สาระคณิตศาสตร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต และตองศึกษาในกลุมสาระวิชาคณิตศาสตร และกลุมสาระวิชา ภาษาอังกฤษ ไดรับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.50 *** จะเริ่มรับนักศึกษาประมาณเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ***

2. โครงการเสนทางอาชีวศึกษาสูรวั้ สงขลานครินทร ผู สมั ครเข าเรียนคณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการทุกหลักสูตร ตองเปนผู กําลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้ นป ที่ 3 มีผลการเรียนเฉลี่ ยสะสม (GPAX) ไมต่ํากวา 2.75 นับจนจบภาคการเรียนที่ 2 ของระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 2 ผูสมัครเขาเรียนคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทุกหลักสูตร ตอง เปนผูก ําลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไมต่ํากวา 2.50 นับจนจบภาคการเรียนที่ 2 ของระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 2

440 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 448

6/6/16 11:15 AM


*** จะเริ่มรับนักศึกษาประมาณเดือนตนกันยายน–พฤศจิกายน***

3. โครงการตั้งใจดีมีที่เรียน ผูที่กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้น ม. 6) มีผลการเรียนเฉลี่ยรวม (GPAX) 5 ภาคการศึกษา ไมต่ําวา 2.25 ผูทสี่ ําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตองมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) 6 ภาคการศึกษาไมต่ําวา 2.00 *** รอบแรก ตุลาคม-พฤศจิกายน / รอบสอง ตนเดือนธันวาคม–มกราคม / รอบสาม ตนเดือนกุมภาพันธ–มีนาคม ***

4. โครงการเพชรนครินทร ผูที่กําลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้น ม. 6) เปนผูที่กําลังศึกษาใน ระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลายสายสามั ญ ในหลั กสู ตรการศึ กษาขั้ นพื้ นฐาน พ.ศ. 2544 ผลการเรียนสะสม (GPAX) 5 ภาคการศึกษาไมต่ํากวา 2.25 โดยใชคะแนน GAT /PAT เปนเกณฑในการคัดเลือก *** จะเริ่มรับนักศึกษาประมาณเดือนธันวาคม-มกราคม ***

àÃÕ¹ÍÐäÃã¹Á.Í. 441

145x210mm_����������� �� 2560.indd 449

6/6/16 11:15 AM


442 àÃÕ¹ÍÐäÃã¹ Á.Í.

145x210mm_����������� �� 2560.indd 450

6/6/16 11:16 AM


Untitled-1 2 ������� ��_����������� �� 2560.indd 1

6/7/16 3:32 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.