สารม.อ. ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

Page 1

ม.อ.

สาร

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

www.psu.ac.th

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

ม.อ. เปิดศูนย์สุขภาพนักศึกษา ยกระดับการรักษาพยาบาลเยาวชน..... 2

สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ดำ�รงตำ�แหน่ง อธิการบดี ม.อ. คนต่อไป...... 7 ฯพณฯ ชวน และนายกสภา ม.เซี่ยงไฮ้ ร่วมเปิดนิทรรศการ ศิลปะภาพวาดจีน ที่ภูเก็ต.....15 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผ่านการรับรองในระดับ...ดีมาก......18

ม.อ. จัดแถลงข่าวเปิดตัวผู้สนับสนุน

“สงขลานครินทร์เกมส์” อย่างเป็นทางการ......16


แนะนำ�หน่วยงาน

ม.อ. เปิดศูนย์สุขภาพนักศึกษา ยกระดับการรักษาพยาบาลเยาวชน

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั บ มื อ โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ พัฒนาระบบบริการสุขภาพนักศึกษา จัด ตัง้ ศูนย์สขุ ภาพนักศึกษา หวังให้เป็นสถานพยาบาลเบือ้ งต้น ที่สามารถรองรับและอำ�นวยความสะดวกด้านการรักษา พยาบาลอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ด้วยแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และเจ้าหน้าที่พร้อมให้บริการ โดยได้จัดพิธีเปิด ศูนย์สุขภาพนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขึ้น อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2555 รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบำ�รุงสุข อธิการบดี สงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะประธานเปิดศูนย์สุขภาพ นักศึกษา กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตระหนักถึงความ สำ�คัญในการดูแลสุขภาพนักศึกษา เห็นได้จากการจัดให้มีสถานที่ ออกกำ � ลั ง กายและเล่ น กี ฬ าหลากหลายประเภทภายในรั้ ว มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังได้พัฒนาการให้บริการรักษาพยาบาล นักศึกษามาอย่างต่อเนือ่ ง กระทัง่ เกิดศูนย์สขุ ภาพนักศึกษาขึน้ อย่าง เช่นในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับโอกาสในการเข้ารับบริการ สุขภาพด้วยความสะดวก เป็นการส่งเสริมให้นักศึกษามีสุขภาพ พลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์อย่างครบวงจร ซึ่งในอนาคตคาดว่า จะมี ก ารขยายศู น ย์ สุ ข ภาพนั ก ศึ ก ษาไปยั ง วิ ท ยาเขตต่ า งๆ ของ มหาวิทยาลัย ได้แก่ วิทยาเขตปัตตานี ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และตรัง ด้าน ดร.พนิดา สุขศรีเมือง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการ และสวัสดิการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า เนื่องจากจำ�นวนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีเพิ่มมากขึ้น มีจ�ำ นวน ผู้ เข้ า รั บ บริ ก ารทั้ ง ที่ ค ลิ นิ ก นั ก ศึ ก ษาและที่ โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์เพิ่มขึ้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับโรงพยาบาล

2:

PSU

สาร ม.อ.

จึงได้ปรับปรุงพัฒนาคลินิกสุขภาพ นั ก ศึ ก ษาที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ให้ เ ป็ น ศู น ย์ สุขภาพนักศึกษา ซึ่งเป็นสถานที่ ให้ บ ริ ก ารสุ ข ภาพขั้ น ปฐมภู มิ แ ก่ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยตัง้ อยูท่ อี่ าคารโรงอาหารมหาวิทยาลัย ซึ่งมีพื้นที่เพิ่มขึ้นและเป็นจุดศูนย์กลางของชุมชนนักศึกษา ทำ�ให้ นักศึกษาเข้ารับบริการได้งา่ ยขึน้ ไม่ตอ้ งเสียเวลาเรียน และลดจำ�นวน ผูป้ ว่ ยเบือ้ งต้นในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โดยมีแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และเจ้าหน้าที่คอยให้บริการ มีการขยายเวลาตรวจของ แพทย์และปรับคุณภาพยาบางชนิด มีระบบนัดตรวจล่วงหน้า ระบบ เทคโนโลยีเชือ่ มโยงกับฐานข้อมูลของโรงพยาบาลและสำ�นักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ มีศักยภาพที่จะขยายเวลาการให้บริการ สุขภาพเบือ้ งต้นแก่นกั ศึกษา และอาจจะสามารถขยายการให้บริการ สุขภาพเบือ้ งต้นแก่บคุ ลากรของมหาวิทยาลัยทีข่ นึ้ ทะเบียนสิทธิจา่ ย ตรงกับโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้ในอนาคต ศูนย์สุขภาพนักศึกษา เปิดให้บริการในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 12.30 -20.30 น. วันเสาร์ เวลา 13.30-16.30 น. และงดให้บริการ ในวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งอยู่บริเวณชั้น 1 อาคาร โรงอาหารมหาวิทยาลัย (Cafeteria) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โทรศัพท์ 0-7428-2239

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


ม.อ.

ส า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

สาร

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

www.psu.ac.th

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ภารกิจของมหาวิทยาลัยให้กับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื​ื่อสร้างความเข้าใจที่จะทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จัก มหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจำ�ภารกิจของสถาบัน

ส ารบั ญ ร อ บ รั้ ว ศ รี ต รั ง ฝันใกล้เป็นจริง อุโมงค์เชื่อมโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ กับฝั่งห้างโลตัส........................................................................................... 22 ปีใหม่ ตึกใหม่ : อาคารศูนย์อุบัติเหตุ.............................................. 30-31

เ รื่ อ ง เ ล่ า อ ธิ ก า ร บ ดี รายงานต่อประชาคมผลการดำ�เนินงาน-เป้าประสงค์ 1:: เป็นมหาวิทยาลัยเน้นวิจัย โดยมุ่งเน้นการสร้างระบบ เพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้มุ่งสู่วิจัยและบัณฑิตศึกษา................ 4-5

บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ดำ�รงตำ�แหน่งอธิการบดี ม.อ. คนต่อไป .................................................. 7 รมว.กระทรวงวิทย์ฯ รับฟังความคิดเห็นและมอบนโยบาย ส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ ให้แนวคิดในการทำ�ธุรกิจ โดยใช้วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน.......................................................... 20-21

ร า ง วั ล แ ห่ ง คุ ณ ภ า พ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ่านการรับรองในระดับ...ดีมาก ผลประเมิน สมศ. (ไม่เป็นทางการ) ด้วยคะแนน 4.59................. 18-19 ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คว้า 2 รางวัล “หุน่ ยนต์เพือ่ นอัจฉริยะ”..... 28 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ม.อ. คว้า 2 รางวัล โครงการ M-150 Ideology 2011.......................................................... 29

สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม นักแผ่นดินไหว ม.อ. เผย คนเชื่อโหรเพราะขาดความเข้าใจ แนะหลายหน่วยบูรณาการความรู้-เครื่องมือ สร้างความเชื่อมั่น........ 23

สู่ สั ง ค ม / ชุ ม ช น

กี ฬ า ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ฯพณฯ ชวน และนายกสภามหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ ร่วมเปิด นิทรรศการศิลปะภาพวาดจีน ที่ภูเก็ต...................................................... 15 ม.อ. จัดแถลงข่าวเปิดตัวผู้สนับสนุน “สงขลานครินทร์เกมส์” อย่างเป็นทางการ................................................................................. 16-17

วิ จั ย นักวิจัยธรณีฟิสิกส์ ม.อ. ชี้ปัจจัยสำ�คัญทำ�ดินถล่มภาคใต้ แนะวิธีสังเกตพื้นที่เสี่ยง เพื่อลดการสูญเสีย.................................... 24-25 หน่วยวิจัยปาล์มนํ้ามัน ม.อ.สุราษฎร์ฯ เน้นหลักความพอดี นำ�ผลวิจัยถ่ายทอดสู่ท้องถิ่น............................................................... 26-27 ม.อ. แยกสารในบอระเพ็ด พิสูจน์แล้วช่วยลดความดันโลหิต....... 32-33

ก า ร ศึ ก ษ า ผลสอบ ม.อ. โควตารับตรงภาคใต้ ปีการศึกษา 2555 น.ร.โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ จ.สงขลา..เจ๋ง... ได้คะแนนรวมสูงสุด เลือกเข้าศึกษาคณะแพทยศาสตร์..................... 8-9 ม.อ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุนกิจกรรมต่อยอดด้านวิทยาศาสตร์........... 14 ม.อ. จัด “ติวเข้ม โค้งสุดท้ายสู่มหาวิทยาลัย”....................................... 35

แ น ะ นำ � / ห น่ ว ย ง า น / บุ ค ค ล ม.อ. เปิดศูนย์สุขภาพนักศึกษา ยกระดับการรักษาพยาบาลเยาวชน............................................................ 2 “คืนความรู้สู่บ้านเกิด” โครงการเพื่อการศึกษาของ ผศ.คมสันต์ วงค์วรรณ์ อาจารย์ผู้มีฝันแห่งรั้ว ม.อ. ..................... 10-11 เปิดใจประธานสภาข้าราชการ ม.อ.หาดใหญ่ คนใหม่ ‘คมกริช ชนะศรี’........................................................................................ 34

ม.อ.ร่วมเสนอแนวทางพัฒนาจังหวัดฝั่งอันดามัน เล็งพัฒนาคน สู่สากล-ท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ..................................................................... 6 ชาวสุราษฎร์ฯ ยังมั่นใจ ม.อ. ช่วยพัฒนาจังหวัด อยากให้แก้ปัญหา ด้านการแพทย์ สิ่งแวดล้อม................................................................ 12-13 PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:3


เรื่องเล่าอธิการบดี : รศ.ดร.บุญสม ศิริบำ�รุงสุข

รายงานต่อประชาคมผลการดำ�เนินงาน-เป้าประสงค์ 1:: เป็นมหาวิทยาลัยเน้นวิจัย โดยมุ่งเน้นการสร้างระบบ เพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้มุ่งสู่วิจัยและบัณฑิตศึกษา เรียน ประชาคมชาว ม.อ. เรื่องเล่า 253, 254, และ 255 จะเป็นการรายงานการบริหารของ ทีมบริหาร (อธิการบดี รองอธิการบดีฯ คณบดี ผู้อำ�นวยการศูนย์สำ�นัก ผู้ช่วยอธิการบดี และทีมที่เป็นองค์ประชุมคณบดีทุกท่าน) ก่อนจบวาระ การทำ�หน้าที่บริหารของอธิการบดีนะครับ มหาวิทยาลัยได้กำ�หนดการเดินไปข้างหน้าด้านเสาะหาวิชชา ไว้ใน รางวัลวิทยานิพนธ์ดเี ด่น รางวัลผลงานวิจยั ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ ชุมชน รางวัล เป้าประสงค์ที่ 1 ดังนี้ ค้ น พบสิ่ ง ใหม่ ข องโลกและสิ่ ง มี ชี วิ ต ใหม่ ข องโลก รางวั ลผลงานวิจัย เผยแพร่ทางสื่อสารมวลชนในระดับชาติ Keynote Speaker ในการ เป้าประสงค์ 1 : เป็นมหาวิทยาลัยเน้นวิจัย โดยมุ่งเน้นการสร้างระบบ ประชุมวิชาการ รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น นักวิจัยดีเด่นของคณะ นักวิจัย เพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้มุ่งสู่วิจัยและบัณฑิตศึกษา ที่ผลงานวิจัยได้รับรางวัลจากหน่วยงานระดับชาติ ผลงานวิจัยนำ�ไป เราพัฒนาให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยด้วยระบบขับเคลื่อน ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ นักวิจัยที่ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตรและ : (1) มีจิตวิญญาณ (2) มีวัฒนธรรมวิจัย มีทิศทาง (3) มีคน คนเก่ง อนุสิทธิบัตร รางวัลนักวิจัยที่มีจำ�นวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด 20 อันดับแรก วิจัย (4) มีเงิน มีเครื่องมือ มีทรัพยากร (5) มีเพื่อน (6) มีลูกศิษย์ จากฐานข้อมูล ISI นักวิจัยที่ผลงานตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง (citation) (7) มีระบบสนับสนุน สร้างแรงจูงใจให้มีผลงาน (8) มีการจัดการใช้ สูงสุด 20 อันดับแรก จากฐานข้อมูล ISI มีการกำ�หนดทิศทางวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการของพื้นที่ ประโยชน์ ด้านยางพารา ปาล์มน้ำ�มัน ทะเลสาบสงขลา สันติสุขในจังหวัดชายแดน (1) มีจติ วิญญาณ ม.อ. ทีน่ กั วิชาการมุง่ ทีจ่ ะให้ผลงานวิจยั เป็นประโยชน์ ใต้ ฮาลาล และอิสลามศึกษา และมีการจัดทำ� research roadmap ของ ต่อโลก ต่อเพื่อนมนุษย์ เป็นมรดกทางความรู้ของมนุษยชาติ (เรื่องที่ แต่ละเรื่อง 204(40/2553) วันที่ 1 - 13 พ.ย. 2553 : ระบบนิเวศทางจิตวิญญาน ของ ม.อ. (PSU Spiritual Ecosystem)...เส้ น ทางสู่ ก ารเป็ น (3) มีคนมากพอ คน ม.อ. เก่งวิจัย (ระบบบุคลากร) สร้างระบบการ มหาวิทยาลัยเพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษย์ ที่ http://www.intranet. บริหารบุคคลอย่างบูรณาการ ให้บุคลากร ม.อ. มีความสามารถเดินบน ถนนวิจัย ด้วยการ :psu.ac.th/president/tell/T204.htm) กำ � หนดคุ ณ สมบั ติ อ าจารย์ ใ หม่ รั บ อาจารย์ ใ หม่ ด้ ว ยคุ ณ วุ ฒิ (2) มีวัฒนธรรมวิจัย มีทิศทาง - เกิดเป็นวัฒนธรรมขององค์กรของ ปริญญาเอก หรือปริญญาโทเน้นวิจัย หรือปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ นักวิชาการทีก่ ระหายความรู้ ตัง้ คำ�ถาม มุง่ มัน่ ในวิถชี วี ติ วิจยั และมีทศิ ทาง หนึง่ เพือ่ ให้พร้อมต่อวัฒนวิถชี วี ติ วิจยั โดยให้ผสู้ มัครเป็นอาจารย์รบั ทราบ การทำ�วิจัย ด้วยการ :ก่อนว่าจะมีวิจัยเป็นภาระงานภาคบังคับ ประกาศว่า ม.อ. เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยด้วยการจัดทำ�วิสัยทัศน์ ตั้งเป้าหมาย ม.อ. มีอาจารย์วุฒิปริญญาเอก 50% ไม่นับรวม พันธกิจ เป้าประสงค์ และแผน ม.อ. 2565 วุฒบิ ตั รวิชาชีพ หรือ 70% เมือ่ รวมวุฒบิ ตั รวิชาชีพทีเ่ ทียบเท่าปริญญาเอก เลื อ กที่ จ ะอยู่ ใ นกลุ่ ม ของมหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย ในการเข้ า รั บ การ สร้างแรงจูงใจด้วยค่าตอบแทนพิเศษ 200,000 บาท (300,000 ประเมินของ สมศ. บาท กรณีวิทยาเขตปัตตานี) ให้สำ�หรับผู้ที่มีวุฒิปริญญาเอกมาเป็น เข้าร่วมโครงการ National Research University ของรัฐบาล อาจารย์ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีวันประจำ�ปี “Research and Innovation Day” เพื่อยืนยัน กำ�หนดเป็นคุณสมบัติ ผู้ที่จะรับเป็นอาจารย์ต้องมีระดับความ วัฒนธรรมวิจัย สามารถภาษาอังกฤษระดับไม่น้อยกว่า TOEFL 500 (หรือเทียบเท่า) สร้าง Intellectual Ecosystem (เรื่องที่ 213(04/2554) วันที่ หากจำ�เป็นต้องรับเป็นอาจารย์กอ ่ น ก็จะต้องมีความสามารถภาษาอังกฤษ 17 - 13 ม.ค. 2554 : ม.อ. คือระบบนิเวศทางปัญญาและทางการเรียนรู้ ที่กำ�หนดภายในระยะเวลา 2 ปี (PSU Intellectual and Learning Ecosystem) ที่ http://www. กำ�หนดให้งานวิจัยเป็นภาระงานภาคบังคับ (Research is intranet.psu.ac.th/president/tell/T213.htm compulsory) โดยมีระบบ load unit เป็นหน่วยนับ research activities ทุกครั้งที่มีผลการจัดอันดับการได้รับรางวัลผลงานทางวิชาการ กำ�หนดให้อาจารย์วฒ ุ ปิ ริญญาตรีตอ้ งเรียนต่อภายใน 2 ปี กำ�หนด ระดับชาติและนานาชาติ จะประชาสัมพันธ์ยกย่อง เพื่อให้เกิดความ ให้อาจารย์วุฒิปริญญาโทเรียนต่อปริญญาเอกภายใน 2 ปี หรือเข้าสู่ ภาคภูมใิ จและสร้างการตืน่ รูข้ องคนในองค์กรถึงความสำ�คัญของการทำ�วิจยั เส้นทางตำ�แหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์ภายใน 6 ปี และ จัดให้มรี างวัลอาจารย์ตวั อย่างด้านวิจย ั รางวัลกรรมการทีป่ รึกษา อาจารย์วุฒิปริญญาเอกขอตำ�แหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ภายใน 3 ปี และ

4:

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


มีการกำ�หนดมาตรฐานว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ต้องขอตำ�แหน่งรองศาสตราจารย์ภายใน 5 ปี มีระบบฟูมฟักอาจารย์วุฒิปริญญาเอก ให้ทำ�วิจัยด้วยการสนับสนุนทุนวิจัยและให้เงิน เพิ่มเดือนละ 5,000 บาท เป็นเวลา 3 ปี พร้อม การมี mentor กำ � หนดเกณฑ์ ใ ห้ ผู้ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ทาง วิชาการมีผลงานทางวิชาการ และนำ�ไปเป็น ส่ ว นของการพิ จ ารณาการขึ้ น ค่ า ตอบแทน เพื่อให้ active ในการผลิตผลงานตลอดเวลา สร้ า งระบบนั ก วิ จั ย หลั ง ปริ ญ ญาเอก (post-doctoral) โดยจัดสรรอัตราพนักงาน มหาวิทยาลัยปีละ 20 อัตรา สร้างทีมงานเพื่อแสวงหาปริญญาเอก มาเป็นอาจารย์ อาทินกั เรียนทุนทีไ่ ม่มสี งั กัดจาก ก.พ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ สกอ. และโครงการ พสวท. รวมทั้งนักเรียนทุนส่วนตัว (4) มีเงิน มีเครื่องมือ มีทรัพยากร มี ก อ ง ทุ น วิ จั ย ( R e s e a r c h Endowment) เพื่ อ เป็ น ฐานในการพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สู่ ก ารเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย (ปัจจุบันมีขนาดกองทุนประมาณ 1,500 ล้าน บาท) ความพยายามที่ จ ะยกระดั บ ฐาน งบประมาณแผ่ น ดิ น ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ 1,700 ล้านบาทต่อปีในปี 2548 มาอยู่ที่ระดับ 4,000 ล้านบาทในปี 2555 นับว่ามีส่วนช่วยพัฒนา มหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างมาก ทั้งในส่วนอัตรา กำ�ลังและโครงสร้างพื้นฐาน มี ก ารขยายในส่ ว นของ learning resources ที่ ส นั บ สนุ น การวิ จั ย อาทิ เช่ น การเพิ่มจำ�นวน e-journals มาอยู่ระดับกว่า 20,000 ฉบับ การสร้าง PSU knowledge bank เพื่อให้งานวิจัยได้รับการต่อยอด (5) มีเพื่อน ช่วยกัน search for the new knowledge ลงนามความร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ต่างประเทศ เพือ่ พัฒนาและร่วมทำ�วิจยั ร่วมกัน เช่น ลงนามร่วมกับ KANAZAWA University, MIYAZAKI University, KYOTO University, YOKOHAMA National University, LUND University, GOTENGERG University เป็นต้น

ความร่วมมือนี้ครอบคลุมถึงการทำ�วิจัยร่วมกัน การเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมกัน การใช้ ห้องทดลองร่วมกัน การส่งนักศึกษาปริญญาโท/ เอก ทำ�วิจัยวิทยานิพนธ์ต่างมหาวิทยาลัย และ นำ�ไปสู่การตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการและใช้ ประโยชน์ร่วมกัน ทำ�วิจย ั ร่วมกับภาคเอกชน เพือ่ นำ�โจทย์ วิ จั ย จากอุ ต สาหกรรมเข้ า สู่ ห้ อ งวิ จั ย ของ มหาวิทยาลัย เช่นการทำ�วิจัยร่วมกับบริษัท ปตท.เคมิคลั /โตโยต้า (ประเทศไทย)/Michelin (ฝรั่งเศส)/Metlab (ประเทศไทย) มี ก ระบวนการเดิ น ทางเข้ า พบบริ ษั ท ต่างๆ เพื่อหารือร่วมกันถึงการทำ�วิจัยร่วมกัน

ตีพิมพ์

จู ง ใจด้ ว ยระบบการให้ ร างวั ล ผลงาน

จู ง ใจด้ ว ยการให้ ผ ลตอบแทนจาก สิทธิบัตรและลิขสิทธิ์ที่มีสัดส่วนสูง จู ง ใจให้ เ กี ย รติ ด้ ว ยการมอบประกาศ เกียรติคุณและยกย่องในวัน Research and Innovation Day/วันสงขลานครินทร์/และ มอบช่อดอกไม้ต่อหน้าที่ประชุมคณบดี และ ต่อหน้าสภามหาวิทยาลัยในโอกาสเกียรติยศ ที่ สำ � คั ญ และมี ก ารนำ � สู่ ก ารรั บ ทราบของ สาธารณะด้วยการมี cut out หน้ามหาวิทยาลัย

(8) มีการจัดการใช้ประโยชน์ จั ด ให้ มี โ ครงสร้ า งรองรั บ การขยาย ตั ว การใช้ ป ระโยชน์ ผ ลงานวิ จั ย ด้ ว ยการมี Science Park และ Business Incubator Center จั ด ให้ มี Industry Link และ Community Link เพื่ อ นำ � ความรู้ จ าก มหาวิทยาลัยออกสู่ภาคเอกชนและพื้นที่ จัดให้มห ี น่วยสนับสนุนการจดสิทธิบตั ร และดูแลจัดการการใช้ประโยชน์ พั ฒ นาวารสารฉบั บ Science and Technology เข้าสู่ฐาน SCOPUS และกำ�ลัง พัฒนาวารสารฉบับ Health Science และ Humanity and Social Science ให้เข้าสู่ฐาน SCOPUS เช่นกัน มี ก า ร จั ด ทั้ ง I n t e r n a t i o n a l Conference/National Conference และ In-house Conference ซึ่งรวมผลงานวิจัย และวิจัยวิทยานิพนธ์

(6) มีลูกศิษย์ที่มุ่งวิจัย (ระบบบัณฑิตศึกษา) ขยายเพิ่มจำ�นวนหลักสูตรปริญญาโท และเอก เร่งแสวงหานักศึกษาปริญญาโทและ เอก ทั้งในและต่างประเทศ พร้อมกับการเพิ่ม จำ�นวนทุน ปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา ขยายจำ�นวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ ปริญญาโทแผน ก(2) จาก 12 เป็น 18 หน่วยกิต หลักสูตรปริญญาโทสายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ งดเปิดสอนแผน ข สำ�หรับสายสังคมศาสตร์ มนุ ษ ยศาสตร์ อาจเปิ ด ได้ เ ป็ น กรณี พิ เ ศษ ด้วยการ commit publication 1 paper ต่อ สารนิพนธ์ และต้องขออนุมัติสภามหาวิทยาลัย เป็นกรณีพิเศษ Facilitate นักศึกษาบัณฑิตศึกษาเน้น วิจัยด้วยการจัดสรรหอพักสหกรณ์บริการและ เรือนรับรอง มีหอ้ งทำ�งานเป็นกลุม่ หรือส่วนตัว ในการนำ�เสนอภาพ ม.อ. ต่อสาธารณะว่าเรา มี ที ม งานติ ด ตามเฝ้ า แหล่ ง ทุ น วิ จั ย เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย นั้ น เราคงต้ อ งเป็ น บัณฑิตศึกษาจากแหล่งภายนอก มหาวิทยาลัยวิจยั ทีแ่ ท้จริงให้ได้กอ่ น การที่ ม.อ. (7) มี ร ะบบสนั บ สนุ น สร้ า งแรงจู ง ใจให้ มี เราได้รบั เลือกให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ ก็ช่วยได้มากทีเดียวที่ทำ�ให้สังคมไทยรับทราบ ผลงาน สนับสนุนด้วยโครงการฟูมฟักผู้ที่เรียน ว่าเราเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย การที่เรามีผลงาน วิจัยรายงานตามหนังสือพิมพ์ก็เป็นอีกหนทาง จบ ป.เอกใหม่เพื่อเข้าสู่ track วิจัย ่ กั วิชาการของเราได้รบั รางวัลระดับ สนั บ สนุ น ด้ ว ยการจั ด ประเภททุ น หนึง่ การทีน สนั บ สนุ น วิ จั ย ประเภทต่ า งๆ ที่ ห ลากหลาย ชาติและการที่นักวิชาการ ม.อ. ได้นำ�เสนอ เช่น ทุนนักวิจัยใหม่ ทุนกำ�หนดทิศทาง ทุน ผลงานวิจัยทางสถานีโทรทัศน์ก็เป็นช่องทาง สร้างเกียรติยศให้ ม.อ. การที่เราได้รับการจัด เมธาจารย์ cluster ของชุดโครงการวิจัย สนับสนุนด้วยการมี research clinic อันดับ SCIMACO ที่เราอยู่ในอันดับที่ 4 ของ ประเทศก็เป็นอีกช่องทางหนึง่ เราชาว ม.อ. ต้อง และ publication clinic ่ สารกับสาธารณะทุกวิถที าง สนับสนุนด้วยการเดินสาย research พยายามช่วยกันสือ นะครับ caravan ไปตามวิทยาเขตต่างๆ สนับสนุนให้มี research unit/research ด้วยความขอบคุณ center/center of excellence/discipline ชาวมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ทุกท่าน of excellent PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:5


สู่สังคม/ชุมชน

ม.อ.ร่วมเสนอแนวทางพัฒนาจังหวัดฝั่งอันดามัน

เล็งพัฒนาคนสู่สากล-ท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่วมเสนอแนวยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนา จั ง หวั ด ชายฝั่ ง อั น ดามั น มองการ ท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ เป็นสิง่ นำ�ความมัน่ คง และยั่งยืนสู่ท้องถิ่น ในการประชุ ม ร่ ว มเพื่ อ หารื อ แนวทางการพัฒนาพืน้ ทีก่ ลุม่ จังหวัดภาคใต้ ฝั่งอันดามัน ซึ่งประกอบด้วยระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ที่ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เพื่อเตรียม ความพร้ อ มในการเสนอแผนงานและ โครงการที่ จ ะพั ฒ นาพื้ น ที่ ร่ ว มกั น ตาม ศักยภาพของจังหวัด และตามความต้องการ ของประชาชน ต่ อ คณะรั ฐ มนตรี ใ นการ ประชุ ม นอกสถานที่ ซึ่ ง จะมี ขึ้ น ที่ จั ง หวั ด ภูเก็ต โดยใช้สถานที่มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ในระหว่าง 20-21 มีนาคม 2555 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่ง เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีวิทยาเขตอยู่ใน 2 จังหวัดของชายฝัง่ อันดามัน คือ ตรัง และ

6:

PSU

สาร ม.อ.

ภูเก็ต ได้มีการนำ�เสนอแนวทางการพัฒนา ด้านอุดมศึกษาในพื้นที่ โดยการนำ�วิชาการ สู่การพัฒนา นำ�วิชาการแขนงต่างๆ มา ประยุกต์การดำ�เนินงานให้เกิดเป็นรูปธรรม ทีเ่ ป็นแบบอย่างสำ�หรับนำ�ไปสูก่ ารพัฒนาที่ ชัดเจน เพือ่ รองรับความต้องการของชุมชน ที่ต้องการยกระดับความเป็นอยู่และการ พัฒนาคน เพื่อรองรับการเติบโตด้านการ ท่องเทีย่ ว โดยมีการดูแลสุขภาพเป็นจุดขาย

รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน

และพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวต่อที่ประชุมว่า ภาคใต้ฝั่งอันดามัน ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวมีศักยภาพสูง แต่การขยายตัวการลงทุนภายในจังหวัด ภูเก็ตเริ่มมีข้อจำ�กัด การลงทุนเริ่มขยาย ออกไปยังภูมิภาคอันดามันส่วนอื่นๆ แต่ยัง คงเน้นหนักไปทางภาคธุรกิจบริการเช่นเดิม ดังนัน้ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย จะมุ่งไปที่การเสริมจุดขายเดิมเพิ่มจุดขาย ใหม่ การเชื่ อ มโยงสากลให้ ชุ ม ชนได้ ประโยชน์ และเสริมสร้างพลังปัญญาและ ความเข้มแข็งของชุมชน เพือ่ ประโยชน์ของ คนในพื้ น ที่ โดยมี ก ารมองนั ก ท่ อ งเที่ ย ว

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

ต่ า งชาติ ผู้ สู ง วั ย เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายใหม่ ของพื้นที่ โดยจะเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งประกอบด้วย ที่ พั ก ฟื้ น เวชศาสตร์ ฟื้ น ฟู อาหารเพื่ อ สุขภาพ ตรวจเช็คสุขภาพ และนำ�ไปสู่การ ยกระดับอาชีพ ยกระดับความเป็นอยู่ของ คนในชุมชน เช่น กิจการโรงแรมที่พัก การ ปลูกพืชเกษตรปลอดสารพิษ ธุรกิจสปา การปลูกพืชสมุนไพร อย่างไรก็ตาม จะต้องมีการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลสู่ความเป็นนานาชาติ โดย การให้ความรู้ด้านภาษา โดยเฉพาะภาษา ที่สาม มีการจัดตั้งหน่วยงานรองรับ เช่น ศู น ย์ ถ่ า ยทอดวิ ท ยบริ ก ารอุ ด มศึ ก ษา ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันวิจัย อันดามัน สถานีวิจัยทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง เป็นต้น โดยจะมีการประสาน งานเพื่อขยายเขตการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อ ให้การพัฒนาได้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ซึ่ง หลายฝ่ายเสนอพืน้ ทีใ่ นเขตจังหวัดพังงา ซึง่ มีที่ตั้งเหมาะสม ไม่ห่างไกลจากสถานที่ ท่องเทีย่ วและศูนย์ประชุมนานาชาติทกี่ �ำ ลัง มีโครงการจะจัดสร้างทีจ่ งั หวัดภูเก็ต รวมทัง้ เป็นความต้องการของคนในพื้นที่


แนะนำ�บุคคล

สภามหาวิทยาลัยเห็นชอบ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ดำ�รงตำ�แหน่งอธิการบดี ม.อ. คนต่อไป ทีป่ ระชุมสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2555 ได้มมี ติเห็นชอบให้ด�ำ เนินการกราบบังคมทูล เพือ่ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล เพื่อดำ�รง ตำ � แหน่ ง อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มิถุนายน 2555 โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี ทั้งนี้เป็นการดำ�รง ตำ�แหน่งต่อจาก รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิรบิ ำ�รุงสุข อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่จะครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งในสมัย ที่สอง ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 ภาค วิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สำ�เร็จการศึกษา Diplome de DocteurIngenieur และ Diplome d’Etudes Approfodies สาขาอิเล็กทรอนิกส์ จาก Institut National Des Sciences Appliquees de Toulouse ประเทศ ฝรั่งเศส และระดับปริญญาตรี วิศวกรรม ศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า (อิเล็กทรอนิกส์) จากสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า วิ ท ยาเขตเจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง เริม่ เข้ารับราชการทีม่ หาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ในตำ �แหน่งอาจารย์ภาค วิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2521 รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่ ม สกุ ล เคยดำ � รงตำ � แหน่ ง รั ก ษาการ ผู้อำ�นวยการศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า รักษาการ แทนคณบดี สำ � นั ก วิ ช าวิ ศ วกรรมศาสตร์

และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ และปัจจุบนั ดำ�รงตำ�แหน่ง รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำ � หรั บ หน้ า ที่ พิ เ ศษอื่ น ๆ เคย รั บ หน้ า ที่ ป ระธานวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย สาขาภาคใต้ รองประธาน ชมรมวิ จั ย วิ ศ วกรรมชี ว การแพทย์ และ กำ�ลังดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สำ � หรั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นวาระที่ ดำ�รงตำ�แหน่ง คือในระหว่างเดือนมิถนุ ายน 2555 ถึ ง พฤษภาคม 2558 รอง ศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล วางเป้ า หมายที่ จ ะนำ � มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ไปสูค่ วามเป็นมหาวิทยาลัย ชั้นนำ�ของอาเซียน โดยมีการผลิตบัณฑิต ที่ มี คุ ณ ภาพและเตรี ย มพร้ อ มที่ จ ะเข้ า สู่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการเข้าสู่

ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นในปี 2558 พร้อมทั้งการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเป็นที่พึ่งของชุมชน โดยการนำ�ผลงาน วิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนา พื้นที่ให้เป็นสังคมแห่งปัญญา หรือสังคม ความรู้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น รวมทั้ ง การนำ � ไปใช้ ประโยชน์เพือ่ ยกระดับความสามารถในการ แข่งขันของภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ ฐานความรู้ การที่จะขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไป ในทิศทางดังกล่าว จำ�เป็นต้องมียทุ ธศาสตร์ ในการขับเคลื่อน 4 ด้าน คือ ยุทธศาสตร์ เพื่อพัฒนาทรัพยากรให้มีความมั่นคงและ เพียงพอ ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาระบบที่ ทรงประสิทธิภาพที่เอื้อต่อภารกิจหลักทั้ง 4 ด้ า น ยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ ก รสั ม พั น ธ์ แ ละ เครือข่ายเพื่อสร้างเครือข่ายและพันธมิตร ในการยกระดับชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย และยุทธศาสตร์การบริหารมหาวิทยาลัย ระบบวิทยาเขตเพื่อขับเคลื่อนระบบ PSU System PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:7


การศึกษา

ผลสอบ ม.อ. โควตารับตรงภาคใต้ ปีการศึกษา 2555

น.ร.โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ จ.สงขลา..เจ๋ง... ได้คะแนนรวมสูงสุด เลือกเข้าศึกษาคณะแพทยศาสตร์

ดร.สุรเดช จารุธนเศรษฐ์ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายการรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ประกาศ ผลสอบการคัดเลือกนักเรียนจากโรงเรียนในภาคใต้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์โดยวิธีรับตรง เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2555 มีจำ�นวนผู้เข้าสอบ ทั้งสิ้น 30,479 คน จากโรงเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ สำ�หรับการคัดเลือกฯ ปีการศึกษา 2555 มีประเภทวิชาที่สามารถเลือกเข้า ศึกษาได้หลากหลาย โดยนักเรียนสามารถ เลือกได้รวม 5 อันดับ คณะ/สาขาวิชา ใน ขณะเดี ย วกั น มหาวิ ท ยาลั ย จะคั ด เลื อ ก นักศึกษาให้กับ 9 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัย พายัพ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี พร้อมๆ ไปกั บ การคั ด เลื อ กโดยวิ ธี รั บ ตรงของ มหาวิทยาลัยในครั้งนี้ด้วย สำ�หรับการประกาศผลสอบในปีนี้ มีผู้สอบได้คะแนนรวมสูงสุดในชุดวิชา A (สายวิทยาศาสตร์) ชุดวิชา B (สายศิลป์คณิต) และชุดวิชา C (สายศิลป์ภาษา) ได้แก่

8:

PSU

สาร ม.อ.

นางสาวศิราพร จิตต์สุรงค์ นักเรียนโรงเรียน มอ.

วิทยานุสรณ์ จ.สงขลา สอบข้อเขียน ชุดวิชา A สายวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนรวมสูงสุดด้วยคะแนน 515.875 คะแนน จาก 700 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 73.70 เลือกเข้าศึกษาคณะ แพทยศาสตร์

นายปวรุตม์ เส้งสุย นักเรียนโรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์

จ.สงขลา สอบข้อเขียนชุดวิชา B (สายศิลป์-คณิต) ได้คะแนน รวมสูงสุดด้วยคะแนน 291.21 จาก 500 คะแนน คิดเป็น ร้อย 58.24 เลือกเข้าศึกษาในคณะนิติศาสตร์ สาขานิติศาสตร์

นางสาวชุติมา จันทฤทธิ์ นักเรียนโรงเรียนหาดใหญ่ วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา จ.สงขลา ทำ�คะแนนได้ 315.21 คะแนน จาก 500 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.04 เลือกเข้า ศึกษาในคณะศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


สถิติที่น่าสนใจ จากการสอบคัดเลือกโดยวิธีรับตรง ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำ�ปีการศึกษา 2555 จำ�นวนผู้เข้าสอบทั้งสิ้น (จาก 14 จังหวัดภาคใต้) 30,479 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ 7,791 คน สมัคร 24,285 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ 668 คน สมัคร 3,178 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ 167 คน สมัคร 1,849 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ 69 คน สมัคร 1,316 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยหอการค้าไทยได้ 368 คน สมัคร 822 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยพายัพได้ 478 คน สมัคร 1,445 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยกรุงเทพได้ 470 คน สมัคร 1,111 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติได้ 884 คน สมัคร 2,240 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญได้ 195 คน สมัคร 682 คน คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรีได้ 143 คน สมัคร 256 คน โรงเรียนทีม่ นี กั เรียนสอบได้ มากทีส่ ดุ 10 โรงเรียนแรก (จากทัง้ แผนวิทย์ และแผนศิลป์) 1. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง สมัคร 149 คน สอบได้ 149 คน คิดเป็น 100% 2. โรงเรียนทีปราษฎร์พิทยา สุราษฎร์ธานี สมัคร 44 คน สอบได้ 41 คน คิดเป็น 93.2% 3. โรงเรียนบูรณะรำ�ลึก ตรัง สมัคร 117 คน สอบได้ 108 คน คิดเป็น 92.3% 4. โรงเรียนธิดานุเคราะห์ สงขลา สมัคร 81 คน สอบได้ 74 คน คิดเป็น 91.3% 5. โรงเรียนแสงทองวิทยา สงขลา สมัคร 147 คน สอบได้ 130 คน คิดเป็น 88.4% 6. โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สงขลา สมัคร 163 คน สอบได้ 141 คน คิดเป็น 86.5% 7. โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ภูเก็ต สมัคร 382 คน สอบได้ 329 คน คิดเป็น 86.1% 8. โรงเรียนสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สมัคร 348 คน สอบได้ 294 คน คิดเป็น 84.5% 9. โรงเรียนอำ�มาตย์พานิชนุกูล กระบี่ สมัคร 295 คน สอบได้ 246 คน คิดเป็น 83.4% 10. โรงเรียนสาธิต มอ. ปัตตานี สมัคร 98 คน สอบได้ 79 คน คิดเป็น 80.6% หมายเหตุ : คิดเฉพาะโรงเรียนที่มีผู้สมัครตั้งแต่ 30 คนขึ้นไป โรงเรียนที่มีนักเรียน แผนวิทย์ สอบได้มากที่สุด 5 โรงเรียนแรก 1. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง สมัคร 144 คน สอบได้ 144 คน คิดเป็น 100% 2. โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ภูเก็ต สมัคร 217 คน สอบได้ 196 คน คิดเป็น 90.3% 3. โรงเรียนสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สมัคร 211 คน สอบได้ 190 คน คิดเป็น 90.0% 4. โรงเรียนธิดานุเคราะห์ สงขลา สมัคร 46 คน สอบได้ 41 คน คิดเป็น 89.1% 5. โรงเรียนบูรณะรำ�ลึก ตรัง สมัคร 73 คน สอบได้ 65 คน คิดเป็น 89.0% หมายเหตุ : คิดเฉพาะโรงเรียนที่มีผู้สมัครสอบชุดวิชา A ตั้งแต่ 30 คนขึ้นไป โรงเรียนที่มีนักเรียน แผนศิลป์ สอบได้มากที่สุด 5 โรงเรียนแรก 1. โรงเรียนบูรณะรำ�ลึก ตรัง สมัคร 44 คน สอบได้ 43 คน คิดเป็น 97.7% 2. โรงเรียนแสงทองวิทยา สงขลา สมัคร 71 คน สอบได้ 60 คน คิดเป็น 84.5% 3. โรงเรียนธิดานุเคราะห์ สงขลา สมัคร 35 คน สอบได้ 29 คน คิดเป็น 82.9% 4. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ นครศรีฯ สมัคร 161 คน สอบได้ 132 คน คิดเป็น 82.0% 5. โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ภูเก็ต สมัคร 165 คน สอบได้ 133 คน คิดเป็น 80.6%

โรงเรียนที่มีนักเรียน สายวิทย์ สอบได้ (สาขายอดนิยม) แพทยศาสตร์ มากที่สุด 5 อันดับแรก 1. โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย สงขลา สอบได้ 33 คน 2. โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สงขลา สอบได้ 26 คน 3. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง สอบได้ 17 คน 4. โรงเรียนแสงทองวิทยา สงขลา สอบได้ 12 คน จากจำ�นวน 5. โรงเรียนสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สอบได้ 8 คน 143 ที่นั่ง 6. โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ภูเก็ต สอบได้ 8 คน 7. โรงเรียนหาดใหญ่สมบูรณ์กุลกันยา สงขลา สอบได้ 8 คน 8. โรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา สอบได้ 8 คน โรงเรียนที่มีนักเรียน สายศิลป์ สอบได้ (สาขายอดนิยม) รัฐประศาสนศาสตร์ มากที่สุด 5 โรงเรียนแรก 1. โรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา สอบได้ 6 คน 2. โรงเรียนหาดใหญ่วทิ ยาลัยสมบูรณ์กลุ กันยา สงขลา สอบได้ 6 คน 3. โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา สุราษฎร์ธานี สอบได้ 4 คน 4. โรงเรียนสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สอบได้ 4 คน 5. โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย สงขลา สอบได้ 4 คน

จาก จำ�นวน 45 ที่นั่ง

คณะ/สาขาวิชา ที่ผู้สอบชุด A (สายวิทย์) เลือกเข้าศึกษามากที่สุด (จากทุกอันดับการเลือก) 1. คณะพยาบาลศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 4,513 คน รับ 200 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 23 2. คณะเทคนิคการแพทย์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 2,760 คน รับ 54 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 51 3. คณะวิทยาศาสตร์ (กายภาพ) มีผู้เลือกทั้งสิ้น 2,426 คน รับ 216 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 11 4. คณะทรัพฯ (เกษตรศาสตร์) มีผู้เลือกทั้งสิ้น 1,730 คน รับ 132 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 13 5. คณะนิติศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 1,580 คน รับ 29 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 54 คณะ/สาขาวิชา ที่ผู้สอบชุด B (ศิลป์ – คณิต) เลือกเข้าศึกษามากที่สุด (จากทุกอันดับการเลือก) 1. วจก. รัฐประศาสนศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 979 คน รับ 45 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 22 2. วจก. การจัดการโลจิสติกส์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 960 คน รับ 23 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 42 3. นิติศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 885 คน รับ 29 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 31 4. วจก. บริหารทรัพยากรมนุษย์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 769 คน รับ 27 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 28 5. เศรษฐศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 683 คน รับ 34 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 20 คณะ/สาขาวิชา ที่ผู้สอบชุด C (ศิลป์ภาษา) เลือกเข้าศึกษามากที่สุด (จากทุกอันดับการเลือก) 1. วจก. รัฐประศาสนศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 1,042 คน รับ 45 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 23 2. นิติศาสตร์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 900 คน รับ 29 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 31 3. วจก. บริหารทรัพยากรมนุษย์ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 737 คน รับ 27 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 27 4. ศิลปศาสตร์ ภาษาอังกฤษ มีผู้เลือกทั้งสิ้น 709 คน รับ 45 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 16 5. ศิลปศาสตร์ ชุมชนศึกษา มีผู้เลือกทั้งสิ้น 689 คน รับ 85 คน อัตราส่วนแข่งขัน 1 : 8

หมายเหตุ : คิดเฉพาะโรงเรียนที่มีผู้สมัครสอบชุดวิชา B และ C รวมกันตั้งแต่ 30 คนขึ้นไป

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:9


แนะนำ�บุคคล

“คืนความรู้สู่บ้านเกิด”

โครงการเพื่อการศึกษาของ ผศ.คมสันต์ วงค์วรรณ์ อาจารย์ผู้มีฝันแห่งรั้ว ม.อ. “ครูคดิ เสมอว่าการศึกษาช่วยพัฒนาคน แล้วคนก็จะ มาช่วยพัฒนาชาติ สิ่งเดียวที่จะช่วยพัฒนาชาติคือการ ศึกษา จะให้เงินให้ทองสักเท่าไรก็ ไม่มีประโยชน์ ให้วันนี้ พรุ่งนี้ก็หมด แต่การศึกษาที่เราให้ ไปจะอยู่กับเขาตลอด”

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์คมสันต์ วงค์วรรณ์ อาจารย์สอนวิชาดนตรี ประจำ�

ภาควิชาสารัตถศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ผู้ ก่ อ ตั้ ง โครงการ “คืนความรูส้ บู่ า้ นเกิด” กล่าวขึน้ พร้ อ มแววตาอั น มุ่ ง มั่ น เมื่ อ ถู ก ถามถึ ง แรงบั น ดาลใจของการระดมเงิ น ทุ น 3,000,000 บาท เพือ่ สร้างห้องสมุดประชาชน ให้เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้ของคนใน ชุมชน ณ หมู่บ้านโนนเขวา ตำ�บลดอนหัน อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บ้านเกิดที่

10 :

PSU

สาร ม.อ.

ตนจากมาเพื่อทำ�หน้าที่พ่อพิมพ์ของชาติ ในแดนด้ามขวานนานกว่า 20 ปีมาแล้ว อาจารย์คมสันต์เกิดในครอบครัวที่ มีฐานะยากจน จึงต้องหารายได้เพือ่ ส่งเสีย ให้ตัวเองได้เรียนหนังสือตั้งแต่วัยเด็ก ด้วย การใช้พรสวรรค์ประกอบกับพรแสวงทาง ด้านดนตรีที่มีอยู่ออกแสดงตามสถานที่ ต่างๆ เพราะเชื่ออย่างหนึ่งว่าการศึกษาจะ นำ � พาตนเองและครอบครั ว ไปสู่ ก ารมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ด้ ว ยความเพี ย ร พยายามอย่างไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค ส่งผล

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

ให้อาจารย์คมสันต์ได้ร�่ำ เรียนจนสำ�เร็จการ ศึกษาในระดับปริญญาตรีดว้ ยน�้ำ พักน�้ำ แรง ของตนเอง และสอบบรรจุเข้ารับราชการ ได้ในที่สุด โดยเริ่มต้นชีวิตความเป็นครูที่ โรงเรียนสตรีพัทลุง จังหวัดพัทลุง และก้าว เข้าสู่รั้วสงขลานครินทร์เมื่อปี พ.ศ.2537 จนได้มีโอกาสตอบแทนแผ่นดินเกิดตาม พระราชปณิธานของพระราชบิดา ทีป่ ลูกฝัง ให้เห็นแก่ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็น กิจที่หนึ่ง โดยการจัดทำ�โครงการ “คืน ความรูส้ บู่ า้ นเกิด” ขึน้ ตัง้ แต่ปลายเดือน


เมษายน ปี 2554 เริ่มจากการยื่นหนังสือ เพื่ อ ขอรั บ บริ จ าคเงิ น ทุ น จากหน่ ว ยงาน ต่ า งๆ การผลิ ต ซี ดี เ พลงโดยฝี มื อ การ บรรเลงแซ็กโซโฟนของตัวเองออกจำ�หน่าย ไม่เพียงเท่านั้นอาจารย์คมสันต์ยังได้ทุ่มเท แรงกายออกตระเวนเล่นดนตรีเพื่อขอรับ บริ จ าคเงิ น ทุ น ทั้ ง ในตลาด สถานที่ จั ด กิจกรรมต่างๆ รวมไปถึงห้างสรรพสินค้า โดยมี ทันตแพทย์หญิงจุไรรัตน์ ตันติภนา หัวหน้าฝ่ายทันตกรรมประจำ� เทศบาลนครหาดใหญ่ ผู้เป็นภรรยา ออก ติดตามช่วยเหลือ และในบางโอกาสยังมี นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่วมลงพื้นที่ปฏิบัติภารกิจกุศลครั้งนี้ด้วย ทั้งหมดนี้อาจารย์คมสันต์บอกว่ามีบ้างที่ รู้สึกเหนื่อยแต่ไม่เคยท้อ เหตุ ก ารณ์ ที่ จุ ด ประกายให้ เ กิ ด โครงการ “คืนความรูส้ บู่ า้ นเกิด” อาจารย์ คมสันต์เล่าว่า เมื่อประมาณ 2 ปีก่อน ตน ได้ ก ลั บ ไปเยี่ ย มบ้ า นที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น ขณะนั่ ง รั บ ประทานอาหารกั บ คุ ณ แม่ บริเวณหน้าบ้าน มีรถคันหนึง่ วิง่ ผ่านมาด้วย ความเร็ว เมื่อฝุ่นที่ตลบอยู่ค่อยๆ จางหาย ไป ตนได้พบกับภาพเด็กนักเรียนสองคน กำ�ลังยื้อแย่งของสิ่งหนึ่งที่หล่นจากรถคัน ดังกล่าว โดยไม่มที ที า่ ว่าจะตกลงกันได้ เมือ่ เข้าไปถามไถ่จงึ พบว่าของสิง่ นัน้ คือหนังสือ เรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ยุ ติ ก ารโต้ เ ถี ย ง ระหว่างเด็กสองคน ตนจึงตัดสินใจขับรถ เข้าไปในตัวเมืองเพื่อหาซื้อหนังสือให้แก่ เด็กอีกคนหนึง่ เหตุการณ์ในครัง้ นัน้ สะท้อน

ให้เห็นถึงความขาดแคลนโอกาสในการเข้า ถึงแหล่งความรู้ของเด็กในพื้นที่ชนบท ตน จึงเกิดความคิดที่จะหาเงินทุนเพื่อสร้าง ห้องสมุดในละแวกนั้นที่ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ซึ่งมีเด็กอาศัยอยู่ราว 1,000 คน ตลอดระยะเวลา 9 เดือนที่ผ่านมา โครงการคืนความรู้สู่บ้านเกิดได้รับการ สนับสนุนเงินทุนและได้รบั ความร่วมมือใน ด้านต่างๆ จากประชาชนผู้ใจบุญ รวมทั้ง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เล็งเห็นถึง ความสำ�คัญของโอกาสทางการศึกษาในถิน่ ทุรกันดาร ทำ�ให้ขณะนี้สามารถรวบรวม เงินทุนได้เกือบ 1,000,000 บาท เงินงวด แรกจะนำ � ไปดำ � เนิ น การปรั บ พื้ น ที่ แ ละ ก่อสร้างตัวอาคารทั้งหมด ซึ่งตั้งอยู่ภายใน โรงเรียนบ้านโนนเขวา โดยมีแบบแปลน อาคารที่ได้รับความอนุเคราะห์จากบริษัท รับออกแบบแห่งหนึง่ ไว้เป็นทีเ่ รียบร้อย ซึง่ ลั ก ษณะตั ว อาคารจะมี ค วามผสมผสาน ระหว่ า งสถาปั ต ยกรรมภาคใต้ แ ละภาค อีสาน และจากการประชุมร่วมกันของ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนหัน ผู้ ใ หญ่ บ้ า น ผู้ นำ � ชุ ม ชน อาจารย์ ใ หญ่ โรงเรียนบ้านโนนเขวา และอาจารย์คมสันต์ เมื่ อ เดื อ นธั น วาคมที่ ผ่ า นมา คาดว่ า จะ สามารถเริ่มดำ�เนินการก่อสร้างได้ในเดือน เมษายน 2555 อย่างไรก็ตามโครงการ “คืนความรู้ สู่ บ้ า นเกิ ด ” ยั ง ต้ อ งการเงิ น ทุ น เพื่ อ สนับสนุนการจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ภายใน ห้องสมุด เช่น โต๊ะ เก้าอี้ หนังสือ ชั้นวาง

หนังสือ คอมพิวเตอร์ และเงินทุนสำ�หรับ จัดตั้งกองทุน “คืนความรู้สู่บ้านเกิด” เพื่อใช้บริหารจัดการให้เกิดความยั่ ง ยื น และเป็นกองทุนสำ�หรับเยาวชนที่ต้องการ ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ สู ง หน่ ว ยงานหรื อ ผู้ใจบุญท่านใดต้องการร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการสร้ า งโอกาสทางการศึ ก ษาให้ แ ก่ เยาวชน สามารถบริจาคเงินทุนด้วยการ โอนเงินเข้า บัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาถนน เพชรเกษม หาดใหญ่ ประเภทออมทรัพย์ หมายเลขบัญชี 911-0-46298-8 ชื่อบัญชี ทันตแพทย์หญิงจุไรรัตน์ ตันติภนา และ ยั ง สามารถสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น โดยการซื้ อ แผ่นซีดีเพลงในราคาแผ่นละ 100 บาท ได้ที่สำ�นักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิง หลง อรรถกระวี สุ น ทร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ และสถานีวิทยุกระจาย เสี ย งมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ หรือสั่งซื้อโดยตรงได้ที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมสันต์ วงค์ ว รรณ์ หมายเลขโทรศัพท์ 08-9739-0334 และ อีเมล์ komson.w@psu.ac.th โดยเงิน ทุกบาททุกสตางค์ที่ได้รับบริจาคครั้งนี้จะ นำ�เข้าร่วมสมทบทุนสร้างห้องสมุดโดยไม่ หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น การหยิบยืน่ โอกาสทางการศึกษาให้ แก่เยาวชนผู้ยากไร้ เปรียบเสมือนฟืนชิ้น สำ�คัญที่จะช่วยเติมไฟความฝัน นำ�ทางให้ พวกเขาเดินไปสู่เส้นทางแห่ง การศึ ก ษา รากฐานสำ�คัญของการพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติ PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 11


สู่สังคม/ชุมชน

ประชาคมจังหวัดสุราษฎร์ฯ มัน่ ใจศักยภาพ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เชื่อสามารถเป็น ศูนย์กลางการศึกษาของอาเซียนได้ อยากเห็นการ พัฒนาเพื่อความเป็นที่พึ่งชุมชนด้านสาธารณสุข การจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น และแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อม

ชาวสุราษฎร์ฯ ยังมัน่ ใจ ม.อ. ช่วยพัฒนาจังหวัด อยากให้แก้ปญ ั หาด้านการแพทย์ สิง่ แวดล้อม

รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิ ริ บำ � รุ ง สุ ข อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดเผยหลังการจัดประชุม เพื่อระดมความคิดเห็นและรับฟังข้อเสนอ แนะต่อแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ของทั้ ง บุ ค ลากรมหาวิ ท ยาลั ย และ

12 :

PSU

สาร ม.อ.

ประชาคมภาคส่ ว นต่ า งๆ ของจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี เพือ่ เป็นขัน้ ตอนนำ�ไปสูก่ ารจัด ทำ � แผนพั ฒ นาวิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 โดยมีนาย ชลอศักดิ์ วาณิชเจริญ รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ส่วนราชการ องค์กร เอกชน รวมทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากร

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

มหาวิทยาลัย เข้าร่วมประชุมที่วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ว่า ประชาคมจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี ส่วนใหญ่มีความมั่นใจในคุณภาพการเรียน การสอนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเฉพาะการเตรี ย มพร้ อ มเพื่ อ เข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน โดยการส่งเสริมการ


พัฒนาด้านภาษาของนักศึกษา และมอง ว่ า การมี ค วามหลากหลายของสถาบั น อุดมศึกษาภายในจังหวัด เป็นเรื่องที่ดีกว่า การมีมหาวิทยาลัยเดียว จึงต้องการเห็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานีมจี ดุ ยืนอย่างชัดเจน เพือ่ สนอง ความคาดหวั ง ของชาวสุ ร าษฎร์ ธ านี ที่ ต้ อ งการให้ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี เ ป็ น ศูนย์กลางการศึกษาของภาคใต้ตอนบน อย่างไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่คนในพื้นที่ อยากให้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ดำ � เนิ น งานเพื่ อ การพัฒนาท้องถิ่น คือการเปิดการเรียน

การสอนในสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ด้ า น สาธารณสุ ข เพื่ อ พั ฒ นาด้ า นการรั ก ษา พยาบาลของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เนือ่ งจาก ปัจจุบนั จังหวัดสุราษฎร์ธานียงั มีสถานรักษา พยาบาลไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการ นอกจากนั้ น ยั ง อยากให้ มี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เพื่อพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรของ ท้องถิน่ เช่น ยางพารา ประมง การใช้เกษตร ชีวภาพ หรือเรื่องที่เกี่ยวโยงกับอาชีพและ รายได้ การนำ � วิ ท ยาการมาแก้ ปั ญ หา สิ่งแวดล้อมที่กำ�ลังเกิดขึ้นในจังหวัด เช่น ขยะ น้ำ�เสีย มลภาวะต่างๆ ซึ่งทางเทศบาล และชุ ม ชนยิ น ดี จ ะให้ ค วามร่ ว มมื อ ด้ ว ย

อย่างเต็มที่ รวมทั้งการก่อตั้งศูนย์เตือนภัย ป้ อ งกั น ฟื้ น ฟู ภั ย พิ บั ติ ข องจั ง หวั ด และ อยากเห็นมหาวิทยาลัยพัฒนาไปอย่างก้าว กระโดดมากกว่าที่ผ่านมา เพื่อตอบสนอง ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ผู้ ร่ ว มประชุ ม ได้ ใ ห้ ค วามเห็ น ต่ อ การเตรี ย มความพร้ อ มเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซี ย นว่ า ต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มของ ประชาชนทั้ ง จั ง หวั ด ปู พื้ น ฐานไปตั้ ง แต่ นั ก เรี ย นมั ธ ยม ไม่ ใช่ เ พี ย งนั ก ศึ ก ษาใน มหาวิ ท ยาลั ย เท่ า นั้ น โดยเสนอให้ มี ก าร จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นมั ธ ยมในลั ก ษณะเดี ย วกั บ โรงเรี ย น มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ ขึ้ น ที่ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี โดยเห็ น ว่ า วิ ท ยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะจั ด ตั้ ง โรงเรียนดังกล่าวได้ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ กล่าวว่า ข้อเสนอแนะดังกล่าว สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา ที่ เสนอโดยผู้บริหารและบุคลากรวิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ที่ต้องการยกระดับศักยภาพ ของวิทยาเขตขึ้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ของ ภาคใต้ และของอาเซียน มีการพัฒนาเพื่อ เป็นศูนย์ด้านสาธารณสุขของภาคใต้ตอน บน และเป็นที่พึ่งทางวิชาการของชุมชนใน ด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของ ชุมชน เช่น ด้านระบบพลังงานทดแทนของ ภาคใต้ พืชน้ำ�มัน เช่น ปาล์มน้ำ�มันและ มะพร้าว การพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่าง ครบวงจรของยางพาราและไม้ยางพารา เป็นต้น ภายใต้การบริหารงานในรูปแบบ “ระบบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” หรือ PSU System ที่ใช้ความเชี่ยวชาญ และรากฐานวิชาการที่เข้มแข็งของแต่ละ วิทยาเขต ร่วมกันส่งเสริมการดำ�เนินงาน ต่ า งๆ ตามยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาของ มหาวิ ท ยาลั ย ให้ สำ � เร็ จ ลุ ล่ ว งได้ อ ย่ า ง สมบูรณ์ PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 13


การศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ร่ ว มกั บ องค์ ก ารพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วิ ท ยาศาสตร์ แห่ ง ชาติ (อพวช.) กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จั ด โครงการ “คาราวานวิ ท ยาศาสตร์ อพวช.” และการแข่งขันจรวดขวดน้ำ� ระดับประเทศ ครัง้ ที่ 10 รอบคัดเลือกภาค ใต้ ซึ่ง อพวช. มีภารกิจในการสร้างความรู้ ความเข้ า ใจด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ

ในอนาคต ซึ่ ง การเป็ น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ดี นั้ น นั ก เรี ย นต้ อ งสนใจใส่ ใจกั บ ชี วิ ต ประจำ � วั น เพราะเมื่ อ เกิ ด ปั ญ หาต้ อ ง วิเคราะห์ว่าอะไรเกิดขึ้น จากนั้นจึงหาทาง แก้ไขปัญหา สอดคล้องกับภารกิจของคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี ที่ มุ่ ง เน้ น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทาง วิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ที่ ร องรั บ กั บ ความต้ อ งการของประเทศ

คิดในเรื่องของวิทยาศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้น เพราะวิทยาศาสตร์จะทำ�ให้รทู้ มี่ าทีไ่ ปของ ปัญหา และเป็นคนมีเหตุมีผล สามารถ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นได้ การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชน ซึง่ ประเทศทีป่ ระสบความสำ�เร็จ ในการพัฒนาได้นั้น จะต้องจัดการเรียน การสอนในโรงเรียน มหาวิทยาลัย รวมทั้ง

ม.อ.สุราษฎร์ธานี สนับสนุน

กิจกรรมต่อยอดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีให้แก่เยาวชนและประชาชน ทั่วไป โดยการจัดแสดงนิทรรศการและ กิจกรรมเพื่อพัฒนา ส่งเสริมการเรียนรู้ใน รูปแบบต่างๆ จึงจัดโครงการ “คาราวาน วิทยาศาสตร์ อพวช.” ในลักษณะของ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เคลื่อนที่ ประกอบ ด้วยชิน้ งานวิทยาศาสตร์แบบสือ่ สัมผัส การ แสดง และกิจกรรมการทดลอง เพื่อเปิด โอกาสให้เยาวชนและประชาชนในภูมภิ าค ได้รับประสบการณ์และเกิดทัศนคติที่ดีใน การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การจั ด โครงการ “คาราวาน วิทยาศาสตร์ อพวช.” เมือ่ วันที่ 11-13 ม.ค. 2555 ที่ผ่านมา ณ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีนนั้ อพวช. ได้เล็งเห็นว่าเป็นสถาบันการศึกษา ที่มีความเหมาะสมที่สุดของภาคใต้ในการ จัดกิจกรรมด้านวิชาการ นอกจากจะมีการ จั ด นิ ท รรศการต่ า งๆ เช่ น นิ ท รรศการ ท้องฟ้าจำ�ลอง การทดลองทางวิทยาศาสตร์ ยังมีการแข่งขันจรวดขวดน�้ำ ระดับประเทศ ครั้งที่ 10 รอบคัดเลือกภาคใต้ หลายคน อาจจะสงสัยว่าการแข่งขันจรวดขวดน้ำ�มี ประโยชน์อย่างไร การแข่งขันจรวดขวดน�้ำ นั้ น เป็ น การปลู ก ฝั ง แนวความคิ ด เชิ ง วิทยาศาสตร์ สอนให้เรียนรู้และทดลอง เพื่อให้เยาวชนคิดต่อยอดวิทยาศาสตร์ได้

14 :

PSU

สาร ม.อ.

ผลิ ต งานวิ จั ย ที่ เ น้ น การแก้ ไขปั ญ หาหรื อ ก า ร พั ฒ น า ภ า ค อุตสาหกรรมหลักของ ประเทศ ตลอดจน ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด องค์ความรู้ในศาสตร์ ของคณะ และจาก งานวิ จั ย ให้ แ ก่ ชุ ม ชน สังคม ผ่านการบริการ วิชาการในรูปแบบต่าง ๆ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี จึ ง มุ่ ง หวั ง และ ใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ ก า ร เรี ย น รู้ ด้ า น วิ ท ยาศาสตร์ ข องเยาวชนตั้ ง แต่ ร ะดั บ ประถมศึกษา และคาดหวังว่าเยาวชนที่ ได้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ “ ค า ร า ว า น วิทยาศาสตร์ อพวช.” จะมีความรัก ความสนใจในวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น เพื่อ เติบโตไปเป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ต่อไปในอนาคต นอกจากนี้มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้ลงนามความร่วมมือการจัดโครงการ “คาราวานวิทยาศาสตร์ อพวช.” กับ อพวช. เนื่ อ งจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เป็นภาค ส่วนหนึง่ ทีจ่ ะต้องปลูกจิตสำ�นึกให้เยาวชน

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

สรรหาครูอาจารย์ที่มีคุณภาพ เพื่อให้ทัน กั บ สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า ง รวดเร็ว เพราะความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ พร่ ห ลายไปทั่ ว โลก ข้อสรุปโดยรวมของการประสานลงนาม ความร่วมมือการจัดโครงการ “คาราวาน วิ ท ยาศาสตร์ อพวช.” ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี และ อพวช. ได้เล็งเห็นแล้ว ว่า ความรู้ ทักษะ และความก้าวหน้าใน ด้ า นต่ า งๆ เป็ น ทุ น สำ � คั ญ ของสั ง คมใน ศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต จึ ง เป็ น ประเด็ น ท้าทาย ดังนั้น คุณภาพของงานวิจัยทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงเป็น ส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ประเทศไทยมีขีดความ สามารถทางการแข่งขันกับประเทศอืน่ ๆ


กีฬา ศิลปะ และวัฒนธรรม

ฯพณฯ ชวน และนายกสภามหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ ร่วมเปิดนิทรรศการศิลปะภาพวาดจีน ที่ภูเก็ต

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เปิดการแสดงนิทรรศการ ศิลปะภาพวาดจีน “One flower One world” ของ ศาสตราจารย์ Chen Qing รองผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารของ Public Art and Technology Experimental Education Center มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ และคณะศิ ล ปิ น โดยมี ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย อดี ต นายกรั ฐ มนตรี ในฐานะที่ ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ Professor Yu Xinhui นายกสภา มหาวิทยาลัยเซีย่ งไฮ้ ร่วมเป็นประธานเปิดงาน เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2555 โดยมี ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.เมธี สรรพานิ ช รองอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต กล่าวต้อนรับ นอกจากนี้ Professor Dr.Ren Jianting ผู้อำ�นวยการสถาบันขงจื๊อภูเก็ต ฝ่ายจีน ได้กล่าวรายงานการดำ�เนินงานของ สถาบันขงจือ๊ ภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แก่ผู้เข้าร่วมงาน โดยนิทรรศการดังกล่าวจะ จัดแสดงไปจนถึงวันที่ 20 มีนาคม 2555 ณ ห้อง 6104 ชั้น 1 อาคาร 6 มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต นิ ท รรศการภาพศิ ล ปะ “ O n e flower One world” ที่นำ�มาแสดงในวัน นี้ นอกจากจะเป็นการแสดงออกถึงมิตรภาพ

และความสัมพันธ์ ตลอดจนความร่วมมือทาง วิ ช าการระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ แ ละ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์แล้ว ยังถือได้วา่ เป็ น การแสดงออกถึ ง มิ ต รภาพและความ สั ม พั น ธ์ ที่ แ น่ น แฟ้ น ระหว่ า งสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และประเทศไทยอี ก ด้ ว ย มหานครเซี่ยงไฮ้ นอกจากจะเป็นศูนย์กลาง ด้านธุรกิจและทางการเงินของโลกแล้ว ยังเป็น ศูนย์กลางทางด้านการศึกษาและด้านศิลปะ อีกด้วย มหานครเซี่ยงไฮ้มีพิพิธภัณฑ์ศิลปะ และห้องแสดงผลงานศิลปะ (Gallery) ที่เปิด ให้บริการแก่สาธารณชนทัว่ ไปเข้าชมมากกว่า 50 แห่ง ส่วนมหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ก็มีศูนย์ ศิลปะ (Arts Center) และคณะวิชาทางด้าน วิจิตรศิลป์ (College of Fine Arts) ภายใน บริเวณมหาวิทยาลัยเซีย่ งไฮ้กเ็ ต็มไปด้วยความ งามทางด้านทัศนศิลป์ อันได้แก่สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และผลงานทาง ศิลปะประเภทอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลงาน จากศิ ล ปิ น คณาจารย์ และนั ก ศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ทั้งสิ้น ทั้งนี้ ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย ที่ ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ กล่าวขอบคุณ Professor Yu Xinhui นายก สภามหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้ และคณะผู้บริหาร มหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ ทุ ก ท่ า น ที่ ไ ด้ ใ ห้ ก าร

ต้อนรับเป็นอย่างดี เมื่อครั้งที่ ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์เดินทางเยือนมหาวิทยาลัย เซี่ ย งไฮ้ เพื่ อ ทำ � ความร่ ว มมื อ ทางด้ า นการ จัดการศึกษา เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2554 ที่ ผ่ า นมา ทั้ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ ไ ด้ มี ความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ด้วยดีเสมอมา โดยเฉพาะใน ส่วนของวิทยาเขตภูเก็ต ซึ่งได้จัดนักศึกษา ทุกคนที่ศึกษาในชั้นปีสุดท้ายของหลักสูตร วิเทศธุรกิจจีน ไปเรียนภาคการศึกษาสุดท้าย ณ มหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ เ ป็ น ประจำ � ทุ ก ปี ขณะเดี ย วกั น มหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ ก็ ไ ด้ ส่ ง อาจารย์ ม าสอนที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ทุ ก ปี ก าร ศึกษาเช่นเดียวกัน ความสัมพันธ์และความร่วมมืออย่าง ใกล้ ชิ ด ของทั้ ง สองมหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ทำ � ให้ รั ฐ บาลสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดย หน่ ว ยงานที่ เรี ย กว่ า The Office of Chinese Language Council International ซึ่งชื่อโดยย่อคือ Hanban ได้ ส นั บ สนุ น ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ แ ละ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต จัดตั้งสถาบันขงจื๊อร่วมกัน ซึ่งสถาบันขงจื๊อ ภูเก็ตก็ได้ด�ำ เนินงานอย่างราบรืน่ และประสบ ความสำ�เร็จสืบเนือ่ งมาเป็นระยะเวลา 5 ปี PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 15


กีฬา ศิลปะ และวัฒนธรรม

ม.อ. จัดแถลงข่าวเปิดตัวผู้สนับสนุน

“สงขลานครินทร์เกมส์” อย่างเป็นทางการ

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด แถลงข่ า วความพร้ อ มและเปิ ด ตั ว ผูส้ นับสนุนการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 อย่างเป็น ทางการ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ โ รงแรมสวิ ส โซเทล เลอ คองคอร์ ท กรุงเทพฯ โดยมีสื่อมวลชน ผู้สนับสนุน การแข่งขัน ผู้ร่วมแถลงข่าว ผู้บริหาร มหาวิ ท ยาลั ย และคณะผู้ ร่ ว มจั ด การ แข่งขัน เข้าร่วมจำ�นวนประมาณ 100 คน ศาสตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า ประธานกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย หรือ กกมท. กล่าวในช่วง เริ่มต้นของการแถลงข่าวว่า ในการจัดการ แข่งขันครั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ กำ�หนดหลักคิดในการจัดอย่างเหมาะสมหลาย ส่วน เช่น การใช้ “นกเงือกพันธุ์ปากย่น” ซึ่งเป็นสัตว์พื้นถิ่นภาคใต้และเป็นสัตว์ที่ดำ�รง ครอบครั ว แบบครองคู่ ต ลอดชี วิ ต แสดงถึ ง ความรักความสามัคคี เป็นสัตว์นำ�โชคประจำ� การแข่งขัน ส่วนสัญลักษณ์ของการแข่งขันเป็น

16 :

PSU

สาร ม.อ.

ดอกไม้ ป ระจำ � มหาวิ ท ยาลั ย คื อ ดอกศรี ต รั ง คล้องกันเป็นห่วงหลากสีสัน ภายใต้คำ�ขวัญ “ผสมสีสัน ผสานพลัง” สื่อความหมายถึง การรวมพลังสถาบันอุดมศึกษาทุกภูมิภาค การแข่ ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย ในปี นี้ จัดระหว่าง วันที่ 1 - 8 พฤษภาคม 2555 ซึ่งเลื่อนมาจากเดือนมกราคม เนื่องจากเหตุ อุทกภัยในภาคกลาง อย่างไรก็ตาม นักศึกษา ที่ สำ � เร็ จ การศึ ก ษาในภาคเรี ย นที่ 2 ของ ปีการศึกษา 2554 สามารถเข้าร่วมการแข่งขัน ได้เสมือนหนึ่งจัดแข่งในเดือนมกราคม โดย อาจมีการเปรียบเทียบสถิติของการแข่งขัน ระหว่างการจัดในเดือนมกราคมและพฤษภาคม ว่ามีความต่างกันอย่างไร หรือความเครียดจาก อุทกภัยมีผลกับสถิติกีฬาหรือไม่ การเล่ น กี ฬ าไม่ ไ ด้ อ าศั ย เพี ย งแต่ พรสวรรค์อย่างเดียว แต่มีการอาศัยหลักการ ทางวิ ช าการมาพั ฒ นาสมรรถนะนั ก กี ฬ า อีกด้วย นอกจากนั้น จุดประสงค์หลักของการ แข่ ง ขั น กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม่ ไ ด้ มุ่ ง หวั ง ที่ จำ�นวนเหรียญ แต่เพื่อการสร้างและพัฒนา นักศึกษาให้มีจิตสาธารณะ เป็นเบ้าหลอมให้

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

นักศึกษาสำ�เร็จการศึกษาออกไปเป็นพลเมือง ดีของชาติ ประธาน กกมท. ยังให้ข้อมูลจำ�นวน นักกีฬาและเหรียญรางวัลในการแข่งขันครั้งนี้ ว่า เป็นเจ้าหน้าที่ของแต่ละสถาบัน 3,205 คน (ชาย 2,597 หญิง 608 คน) นักกีฬา 12,405 คน รวม 15,610 คน มีการแข่งขันชิงชัย 316 เหรียญทอง 316 เหรียญเงิน และ 470 เหรียญ ทองแดง นายสุ ริ ย า เสถี ย รกิ จ อำ � ไพ ผู้ อำ � นวยการสำ � นั ก ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา ศักยภาพนักศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา หรือ สกอ. กล่าวว่า สกอ. สนั บ สนุ น ทุ ก กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ออกกำ � ลั ง กาย รวมทั้ ง การแข่ ง ขั น กี ฬ า มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ซึ่งจะมีส่วน พัฒนาตัวตนของบัณฑิตเพื่อให้มีน้ำ�ใจ มีความ สามัคคี และมีพลานามัยที่สมบูรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิ ริ บำ � รุ ง สุ ข อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประธานคณะกรรมการ อำ�นวยการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย


แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 ในฐานะเจ้าภาพ จัดการแข่งขันกล่าวว่า “เพื่อน” คือสิ่งสำ�คัญ ทีต่ อ้ งมีในการจัดกิจกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ทกุ ครัง้ โดย ในวันนีร้ สู้ กึ ขอบคุณทีไ่ ด้เห็นว่ามหาวิทยาลัยซึง่ อยู่ในส่วนภูมิภาคมี “เพื่อน” อยู่ในส่วนกลาง จำ�นวนมาก ซึง่ ก็คอื ท่านผูส้ นับสนุนการแข่งขัน และสื่ อ มวลชนทุ ก คน ในปี นี้ นั บ เป็ น ปี ก าร แข่งขันกีฬาของจังหวัดสงขลา เพราะมีการ แข่งขันกีฬาระดับชาติในสงขลาและหาดใหญ่ หลายรายการ การแข่งขันกีฬาคือการมอบ สิ่งดีที่เป็นมรดกทางพลานามัยแก่ร่างกายของ เยาวชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงจัด ให้การออกกำ�ลังกายเป็น 1 ใน 3 ของระบบ นิ เวศที่ พึ ง มี สำ � หรั บ สถาบั น การศึ ก ษา ซึ่ ง ประกอบด้วย ระบบนิเวศทางสติปญ ั ญา ระบบ นิเวศทางจิตวิญญาณ และระบบนิเวศของการ ออกกำ�ลังกาย ส่ ว นในด้ า นความพร้ อ มของการจั ด การแข่งขัน สนามแข่งขัน และสิ่งอำ�นวยความ สะดวกต่างๆ นัน้ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นิวตั ิ แก้วประดับ รองอธิการบดีฝา่ ยพัฒนา นักศึกษา กีฬา และวัฒนธรรม ในฐานะรอง ประธานคณะกรรมการฝ่ า ยการจั ด การ แข่งขัน กล่าวว่า จะมีการแข่งขัน 28 ชนิดกีฬา มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ถึ ง 117 สถาบัน การแข่งขันใช้สนามแข่งขัน 2 ส่วน คือ ในบริเวณมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่มีการปรับปรุงและสร้าง เพิ่มเติมโดยใช้งบประมาณ 472.5 ล้านบาท จะสร้างเสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งานในสิ้นเดือน มีนาคม 2555 นับได้ว่าเป็นศูนย์การแข่งขัน กีฬาทีม่ คี วามพร้อมมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของภาค ใต้ แบ่งสนามการแข่งขันออกเป็น 2 พื้นที่ คือ Main stadium ซึ่งใช้เป็นที่ทำ�พิธีเปิด-ปิดการ แข่งขัน การแข่งขันฟุตบอล กรีฑา และอาคาร ศูนย์กีฬา ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มอาคารต่างๆ อาคารศูนย์กีฬา 3 ชั้น ภายในประกอบด้วย สนามแข่งขันบาสเกตบอล แบดมินตัน ดาบ ไทย ห้องประชุม อาคารยิมเนเซียม อาคารกีฬา ในร่ม อาคารกีฬาอเนกประสงค์ สระว่ายน้ำ� สนามเทนนิส สนามเปตอง สนามวอลเลย์บอล ชายหาด และลานกิจกรรม และสนามแข่งขัน ภายนอกมหาวิทยาลัยซึ่งได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งจากหน่วยงานทั้งภาคราชการและ ภาคเอกชนในจั ง หวั ด สงขลา ให้ ค วาม อนุเคราะห์สถานที่แข่งขัน เช่น มหาวิทยาลัย

หาดใหญ่ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สงขลา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย มหาวิทยาลัยทักษิณ มณฑลทหารบกที่ 42 เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลนครสงขลา องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา นอกจากนั้ น ยั ง มี สิ่ ง อำ � นวยความ สะดวกแก่ผรู้ ว่ มการแข่งขัน เช่น ทีพ่ กั ในบริเวณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต หาดใหญ่ สามารถจัดสรรให้ส�ำ หรับเจ้าหน้าที่ และนักกีฬา จำ�นวน 8,000 คน ที่พักภายนอก มหาวิทยาลัย ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวโรงแรม ภายในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถ รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วในช่ ว งเทศกาลได้ ถึ ง 10,000 คน ในมหาวิทยาลัยมีการรักษาความ ปลอดภัย ศูนย์อาหารใกล้บริเวณที่พักนักกีฬา ร้านอาหารในชุมชนและในศูนย์การค้ารอบรั้ว มหาวิทยาลัย รถบริการรับส่งนักกีฬาไปยัง สนามแข่ ง ขั น ทั้ ง ภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ได้ กำ � หนดวั น ประชุมจับฉลากแบ่งสายการแข่งขันทุกชนิด กี ฬ า ในวั น ที่ 23 มี น า ค ม 2 5 5 5 ณ ศู น ย์ ป ร ะ ชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ราชสมบัติครบ 60 ปี

ม.อ.หาดใหญ่ พิธีเปิดการแข่งขัน จะจัดขึ้นที่ Main stadium ม.อ.หาดใหญ่ ในเย็นวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 โดย นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี ให้เกียรติเดินทางไป เป็นประธานในพิธี หลังจากนั้น ผู้สนับสนุนการแข่งขัน กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 39 จำ�นวน 19 ราย จากจำ�นวน 23 ราย ได้มอบ เงินสนับสนุนการจัดการแข่งขันและอุปกรณ์ จัดการแข่งขัน รวมเป็นมูลค่าประมาณ 50 ล้ า นบาท การให้ ก ารสนั บ สนุ น ดั ง กล่ า ว นอกจากจะเป็นการแสดงเจตจำ�นงถึงการเห็น ความสำ�คัญของการแข่งขันกีฬาแล้ว ยังแสดง ถึงความมั่นใจในศักยภาพของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ส่ ว น ภูมิภาค ว่าจะสามารถประสบความสำ�เร็จใน จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าที่ มี ค วามยิ่ งใหญ่ และมี ผู้เข้าร่วมการแข่งขันและผู้เกี่ยวข้องจำ�นวน ประมาณ 20,000 คน ในครั้งนี้

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 17


รางวัลแห่งคุณภาพ

ระหว่างวันที่ 15-24 กุมภาพันธ์ 2555 คณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 นำ�โดย ศาสตราจารย์ นพ.สมพร โพธิ น าม และคณะ ได้ เ ดิ น ทางมาประเมิ น คุณภาพมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเริ่มที่วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี วิทยาเขตภูเก็ต และเดินทางมาที่วิทยาเขต หาดใหญ่ เพือ่ ประเมินวิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตปัตตานี และวิทยาเขตตรัง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ่านการรับรอง

ในระดับ...ดีมาก

ผลประเมิน สมศ. (ไม่เป็นทางการ) ด้วยคะแนน 4.59

จากการร่วมแรงร่วมใจกันขับเคลื่อน ระบบประกันคุณภาพของบุคลากรทุกภาค ส่วน ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะ ผูร้ บั ผิดชอบงานประกันคุณภาพของทุกหน่วย งาน รวมถึงการจัดให้มีการ pre audit เพื่อ ตรวจสอบหลักฐานก่อนการประเมินจริงโดย คณะกรรมการทีแ่ ต่งตัง้ โดยมหาวิทยาลัย ส่งผล ให้การประเมินระดับมหาวิทยาลัย (ซึ่งขณะนี้ ยั ง เป็ น ฉบั บ ร่ า ง ผลการประเมิ น อย่ า งเป็ น ทางการต้ อ งผ่ า นการประเมิ น อภิ ม านและ รับรองโดยคณะกรรมการบริหาร สมศ. ก่อน) อยู่ในระดับดีมาก ด้วยคะแนน 4.59 และทั้ง 27 คณะ ผ่านการรับรองระดับดีมาก 13 คณะ คิดเป็นร้อยละ 48.15 ส่วนอีก 14 คณะ ผล การประเมินอยู่ในระดับดี

18 :

PSU

สาร ม.อ.

คณะกรรมการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายนอก รอบ 3 ได้ ชื่ น ชมมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ที่เป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์ แบบชัน้ นำ�ตามมาตรฐานสากล มีความเข้มแข็ง และโดดเด่น โดยน้อมนำ�พระราชปณิธานของ พระบรมราชชนกมาเป็นแบบอย่าง มีคณะ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผู้บริหารที่มีศักยภาพ มีวิสัยทัศน์ในการนำ�พา องค์กรไปสูค่ วามเป็นสากล และมีธรรมาภิบาล ยังผลให้การดำ�เนินงานประสบความสำ�เร็จ ตามภาระหน้าที่ ได้บัณฑิตที่มีคุณภาพ เป็นที่ ยอมรับ บัณฑิตระดับปริญญาโทและเอกมี ผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่จำ�นวนมากทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ มีคณะกลุ่มสาขา วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ สุ ข ภ า พ แ ล ะ ก ลุ่ ม ส า ข า

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

วิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี มี ค วามเข้ ม แข็ ง มี ผลงานบริการวิชาการหลากหลาย ทำ�ให้ชมุ ชน เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ มีหน่วยงาน สนับสนุนด้านการวิจยั ทีผ่ า่ นการรับรอง อีกทัง้ มีการร่วมกันจัดทำ�การประกันคุณภาพในทุก ภาค อย่ า งไรก็ ต าม การเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซียนในปี 2558 จะมีการแข่งขันทางด้าน การศึกษาสูง มหาวิทยาลัยควรเตรียมความ พร้อมในเรื่องดังกล่าว ควรกำ�หนดกลยุทธ์ใน การเพิ่มจำ�นวนนักศึกษานานาชาติ และควร มี น โยบายในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต คุ ณ ภาพสู ง เนื่องจากในพื้นที่มีมหาวิทยาลัยทั่วไปจำ�นวน มากอยู่แล้ว เพื่อเสริมศักยภาพการแข่งขัน ด้านการศึกษาในระดับสากล ควรมีการจัด


สั ม มนาร่ ว มระหว่ า งสภามหาวิ ท ยาลั ย และ มหาวิทยาลัยเป็นระยะๆ เพือ่ จัดทำ�แผนพัฒนา พร้อมติดตามผลการดำ�เนินงาน และควรใช้ ผลงานวิจัยสถาบันเป็นเครื่องมือในการเลือก นโยบายและกำ�หนดสถานภาพของวิทยาเขต อย่างเหมาะสมและชัดเจน สำ�หรับการตอบสนองความต้องการ ขององค์ ก รภายนอกและประชาชนนั้ น มหาวิทยาลัยควรสร้างกิจกรรมบริการวิชาการ เชิงรุกให้มากขึ้น โดยอาจจัดตั้งหน่วย onestop service เพือ่ ความสะดวกในการติดต่อ ประสานงาน ควรเน้นการสร้างแผนงาน งาน วิจัยเชิงพื้นที่มากขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์กับ ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม อาจอาศัยองค์ความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องจากผลงานวิจยั ทีม่ แี นวโน้มอนาคต ที่ดี ในการร่วมทุนกับภาคเอกชน ควรมี ม าตรการในการธำ � รงรั ก ษา บุคลากร และสร้างแรงจูงใจเพือ่ ดึงดูดบุคลากร สายวิชาการเข้ามาทำ�งานในทุกวิทยาเขต และ ควรส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันสันติศกึ ษาและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมกับประชาชน และองค์กรภายนอกในการสร้างสันติสุขใน ภาคใต้อย่างยัง่ ยืน เมือ่ มองไปทีว่ ทิ ยาเขตต่างๆ พบว่าวิทยาเขตปัตตานีมีบุคลากรที่มีความ เสียสละ ทุ่มเท มุ่งมั่นในการพัฒนาชุมชนและ สังคมในจังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียง มีความ ร่วมมือในด้านการเรียนการสอน การพัฒนา วิ ช าการ การวิ จั ย กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นได้ เป็นอย่างดี มีการทำ�งานวิจัยและการบริการ วิ ช าการที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ ชุมชน เช่น มีศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล สถานวิจยั ความเป็นเลิศเทคโนโลยียาง แต่จาก เหตุการณ์ความไม่สงบทำ�ให้คณาจารย์จำ�นวน มากโอนย้าย คุณภาพนักศึกษาแรกเข้าลดลง โอกาสในการได้งานทำ�ของบัณฑิตอาจต่ำ�กว่า

วิทยาเขตอื่น พั ฒ นาทั ก ษะทางภาษา กั บ มหาวิ ท ยาลั ย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีผลงานวิจัย มลายาและมหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ เป็ น การ เด่นในเรื่องยางพารา ปาล์มน้ำ�มัน การเพาะ รองรั บ การเปิ ด ประชาคมอาเซี ย น มี ค วาม เลีย้ งสัตว์น�ำ้ จึงควรจัดหาเครือ่ งมืออุปกรณ์เพือ่ หลากหลายของศาสตร์ในลักษณะสหสาขา การวิจัยในเชิงลึกให้มีความพร้อมมากขึ้น อีก วิชาภายใต้หนึ่งสาขาวิชาเดียว เป็นการทำ�ให้ ทัง้ มีการดูแลนักศึกษาทีจ่ ดั เป็นแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี บัณฑิตมีความรอบรู้เฉพาะด้าน และมีแนวคิด ด้วยกระบวนการสร้างพลังแห่งชีวติ วิทยาเขต วิเคราะห์ข้ามศาสตร์ได้ชัดเจนขึ้น มีการขยาย ควรพิ จ ารณาร่ ว มลงทุ น กั บ ภาคเอกชนให้ สาขาวิชาที่ตรงกับความต้องการของท้องถิ่น มากขึ้น โดยเฉพาะด้านการเพิ่มมูลค่าของ และคณาจารย์เกือบร้อยละ 30 ได้รับการ ผลิตภัณฑ์ยางพารา ซึ่งทางวิทยาเขตมีความ สนั บ สนุ น ให้ ศึ ก ษาต่ อ ซึ่ ง เป็ น การพั ฒ นา ร่วมมือทำ�วิจัยกับภาคเอกชนอยู่แล้ว ควรจัด ศักยภาพในทางวิชาการทีช่ ดั เจน อย่างไรก็ตาม ทำ�แผนพัฒนาด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ ทั้ง ปัญหาที่เกิดขึ้นคือคณาจารย์ของคณะและ เพื่อการวิจัยและการเรียนการสอนอย่างเป็น บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น มี ภ าระงานด้ า น ระบบ โดยเฉพาะเครื่องมือที่เป็นประโยชน์ การสอน วิจยั บริการวิชาการ และการส่งเสริม กับงานวิจยั ทีว่ ทิ ยาเขตมีความโดดเด่น อย่างไร วัฒนธรรมในสภาพเกือบเต็มความสามารถ ก็ตาม ยังมีปัญหาจากการบริหารที่เป็นแบบ ดังนั้น หากมีการขยายสาขาวิชาควรพิจารณา รวมศูนย์ การเพิ่ ม บุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ ภาระงานให้ วิทยาเขตภูเก็ตมีความสัมพันธ์ที่ดีกับ เหมาะสม นอกจากนั้น ยังพบว่าโครงสร้าง จังหวัด และเป็นทีพ่ ง่ึ ขององค์กรบริหารท้องถิน่ องค์ ก รทำ � ให้ ก ลุ่ ม งานสนั บ สนุ น ไม่ ส ามารถ เปิดคณะวิชาทีม่ คี วามเฉพาะตัวในการจัดการ ก้าวสู่ตำ�แหน่งงานที่สูงขึ้นได้ ศึกษา สอดรับกับความต้องการและการพัฒนา ท้องถิ่น ได้แก่ การเป็นเมือง ผลการประเมินระดับสถาบัน ตามรายตัวบ่งชี้ (1-11) คะแนน ท่องเทีย่ ว ความเป็นนานาชาติ ตัวบ่งชี้ ผลประเมิน เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมี กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน านคุณภาพบัณฑิต โอกาสสูงและมี ความพร้ อม ด้1. บั ณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำ�หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 4.27 ในการเปิ ด เสรี ป ระชาคม 2. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท หรือเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา 3.96 แห่งชาติ อาเซี ย น จึ ง ควรเน้ น ความ 3. ผลงานของผู ้สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ 5.00 5.00 เป็ น นานาชาติ ใ ห้ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง 4. ผลงานของผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ 5. งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ 4.09 หลั ก สู ต ร บุ ค ลากรสาย 6. งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ 5.00 3.73 วิ ช าการ การรั บ นั ก ศึ ก ษา 7. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ 8. ผลการนำ�ความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนา 5.00 ควรพิจารณาร่วมทุนกับภาค การเรียนการสอนและการวิจัย 5.00 เอกชน โดยเฉพาะด้านการ 9. ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก 10. การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม 5.00 ท่องเที่ยว การโรงแรม เพื่อให้ 11. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 5.00 คะแนนเฉลี ย ่ ผลการประเมิ น 11 ตั ว บ่ ง ชี ้ 4.64 พึ่ ง พาตนเองได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ควรทำ�แผนพัฒนาบุคลากรใน ผลการประเมินระดับสถาบัน ตามรายตัวบ่งชี้ (1-11) ด้ า นการบริ ห ารและการพัฒนาสถาบัน ภาพรวมของวิทยาเขต เพื่อ 12. การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสถาบัน 4.46 ลดปัญหาด้านกำ�ลังคน รวม 13. การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน 4.09 14. การพั ฒ นาคณาจารย์ 3.45 ทั้ ง ควรพิ จ ารณาสนั บ สนุ น ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ด้ า นทุ น การศึ ก ษาสำ � หรั บ 15. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด 4.54 กลุ ม ่ ตั ว บ่ ง ชี อ ้ ต ั ลั ก ษณ์ นักศึกษาด้อยโอกาส ฒนาตามอัตลักษณ์สถาบัน วิ ท ยาเขตตรั ง มี 16. ผลการพั 16.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 5.00 16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ 4.12 รู ป แบบการบริ ห ารภายใต้ 17. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน หลั ก การ “รวมบริ ก าร กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ้นำ� ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในด้านต่างๆ 5.00 ป ร ะ ส า น พั น ธ กิ จ ” มี 18. ผลการชี 18.1 ผลการชี้นำ� ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน 5.00 ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน 5.00 โครงการแลกเปลี่ ย นเพื่ อ 18.2 ผลการชี้นำ� คะแนนเฉลี ่ยผลการประเมิน 18 ตัวบ่งชี้ 4.59 PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 19


บริการวิชาการ

รมว.กระทรวงวิทย์ฯ รับฟังความคิดเห็นและมอบนโยบาย ส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ ให้แนวคิดในการทำ�ธุรกิจ โดยใช้วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็ น ประธานการประชุ ม หารื อ ผู้ มี บ ทบาทสำ � คั ญ ในการพั ฒ นาอุ ท ยาน วิทยาศาสตร์ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ภาคใต้ ที่มีต่อการ ส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (Science Park) ในภาพรวมของประเทศ โดยผู้เข้า ร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนจากสถาบันการศึกษา ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม และผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุม 1 สำ�นักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

การประชุมหารือรับฟังความคิดเห็น ในครั้งนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ในพื้นที่ภาคใต้ โดยก่ อ นหน้ า นี้ จั ด ขึ้ น ที่ ภ าคเหนื อ และ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ในส่ ว นภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดประชุมร่วม กับสำ�นักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริม กิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) มี รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและ บัณฑิตศึกษา กล่าวต้อนรับ รศ.ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและ พัฒนา ผศ.ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ ผูอ้ �ำ นวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ ผศ.คำ�รณ พิทักษ์ ผู้อำ�นวยการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ คณะผู้ บ ริ ห าร นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ และ นายณัฐพงศ์ ศิรชิ นะ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดสงขลาร่วมต้อนรับและ เสนอความคิดเห็น

20 :

PSU

สาร ม.อ.

รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ รอง ปลัดกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี และผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเลขานุการคณะ กรรมการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) กล่าวว่า คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบ แนวทางการบริหารกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ โดยให้ มี ห น่ ว ยงานกลางในการทำ � หน้ า ที่ ส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ในภาพรวม ของประเทศ กำ � หนดให้ มี ค ณะกรรมการ ส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ “กสอว.” มี ห น้ า ที่ จั ด ทำ � แผนและแนวทางการพั ฒ นา กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ข องประเทศ กำ � หนดแนวทางและเกณฑ์ ใ นการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ สำ�นักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริม กิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) จึงได้จัด ประชุมหารือร่วมกับผู้มีบทบาทสำ�คัญในการ

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

พัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์ในภูมิภาคภาคใต้ ขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียในพื้นที่ ด ร . พิ เ ช ษ ฐ์ ดุ ร ง ค เ ว โ ร จ น์ เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ พู ด ถึ ง นโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยีและ นวัตกรรม กับการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์ ภูมิภาค เน้นมุ่งสู่ “นวัตกรรมเขียว” เพื่อ สังคมดีมคี ณ ุ ภาพและเศรษฐกิจทีม่ เี สถียรภาพ การพั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง ของสั ง คม ชุ ม ชน และท้ อ งถิ่ น เพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ความ ยื ด หยุ่ น และนวั ต กรรมในภาคเกษตร ตลอดจนเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มของ ประเทศ ด้ ว ยวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม


ดร.กิตพ ิ งค์ พร้อมวงค์ ผูอ้ �ำ นวยการ อาวุ โ สฝ่ า ยวิ จั ย และการจั ด การนโยบาย สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ กล่าวถึง แนวคิดการพัฒนากิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ ต้องเน้นเศรษฐกิจและสังคม ส่งเสริมให้ภาค เอกชนทำ�วิจัยและพัฒนาให้ประเทศเป็นฐาน ในการลงทุนและการวิจัยของบริษัทภายใน และต่างประเทศ เปิดกว้างให้ภาคเอกชนเป็น ผู้ ล งทุ น และจั ด ตั้ ง Science Park นำ � ทรัพยากรและเทคโนโลยีภาครัฐร่วมกันทั้ง บุคลากรที่มีความรู้จากภาคเอกชน เชื่อมโยง การพัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่ ยกระดับการ ประกอบการในพืน้ ที่ การกระจายรายได้ ความ เจริญในพื้นที่กลุ่มจังหวัด นอกจากนี้ ยังเน้น นโยบายการส่งเสริมกิจการ Science Park อย่างต่อเนื่อง ดร.ปลอดประสพ ได้ให้แนวคิดใน การทำ�ธุรกิจที่มุ่งหวังความเจริญที่ยั่งยืนต้อง มาจากการทำ�ธุรกิจโดยใช้วิทยาศาสตร์เป็น พื้นฐาน โดยมี 10 วิธีคิด และ 7 ขั้นตอน ใน การดำ�เนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร์ ดังนี้ 1. หากประเทศไทยจะโดดเด่นและแข่งขันทาง ธุรกิจในตลาดโลกได้ ต้องนำ�วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมาใช้ 2. เมื่อจะเข้าสู่เวทีแข่งขัน ทางการค้าต้องเอาภาคธุรกิจเข้ามาเป็นโจทย์ 3. ได้ โ จทย์ จ ากภาคธุ ร กิ จ แล้ ว ต้ อ งนึ ก ถึ ง ผู้ค้าขาย 4. ผู้ค้าขาย ต้องมีการบ่มเพาะให้ ความรูท้ างธุรกิจ 5. เมือ่ มีกระบวนการบ่มเพาะ แล้วต้องมีความรู้ไปบ่มเพาะ 6. องค์ความรู้ที่ จะนำ�ไปบ่มเพาะเพื่อผู้ประกอบการไปแข่งขัน ต้ อ งอาศั ย ผู้ มี ค วามรู้ จ ากมหาวิ ท ยาลั ย 7. มหาวิทยาลัยมีอุทยานวิทยาศาสตร์ (Science Park) มีแนวคิด กระบวนการ วิธีการ องค์ ความรู้ และการติดตามประเมินผล 8. อุทยาน

วิ ท ยาศาสตร์ ต้ อ งมี แ ผนธุ ร กิ จ ที่ ดี คล่ อ งตั ว รวดเร็ว แม่นยำ� 9. การทำ�ธุรกิจให้สำ�เร็จ ต้อง มี Business Plan ทีผ่ า่ นกระบวนการคัดกรอง ที่มีความสำ�คัญ มีความเข้มแข็งเป็น Flagship ทีเ่ ชือ่ มัน่ ในอนาคตได้ 10. การคัดกรองทีด่ ตี อ้ ง มีเทคนิค ให้โอกาสผู้ประกอบการที่จะเข้ามา ทดสอบ กล้ า ที่ จ ะลงทุ น ไม่ ต้ อ งกลั ว การ ผิดพลาด ค้นพบความสำ�เร็จในอนาคตจาก ความผิ ด พลาด การคั ด กรองและการให้ โอกาสเป็นกระบวนการของการบ่มเพาะเพื่อ ให้ผู้ประกอบการสู่ความสำ�เร็จ นอกจากนี้ ดร.ปลอดประสพ ท่าน ยังได้แนะขั้นตอนในการทำ�งานของอุทยาน วิทยาศาสตร์ (Science Park) 7 ขั้นตอน คือ 1. เรื่องการได้เปรียบทางการค้าเมื่อทำ�ธุรกิจ อาทิ ความได้เปรียบเรือ่ งแรงงาน โอกาสได้ทนุ หรือมีสภาพทางภูมศิ าสตร์ทดี่ ี 2. ความโดดเด่น ในสิ่งที่ทำ �เพื่ อ ให้ เ กิ ด การยอมรั บ และความ เชือ่ ถือ 3. มีความเหนือกว่าทางวิชาการหรือไม่ 4. ความเข้ า ใจและความเข้ า ถึ ง ของระบบ Science Park เป็นทีย่ อมรับและน่าเชือ่ ถือของ ภาคธุรกิจเพียงใด 5. เมื่อทำ�การค้าการตลาด ต้ อ งมี ก ารเตรี ย มตั ว ในเบื้ อ งต้ น ผู้ รั บ การ บ่มเพาะต้องมาด้วยความคิดที่โดดเด่นเป็น รูปธรรม ต้องมีตลาดที่ดี 6. Product ที่เลือก มาต้องสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนือ่ ง 7. สิง่ ที่ ต้องการ อยากให้มองการทำ�ธุรกิจเป็น Program base อุทยานวิทยาศาสตร์ ต้องสร้างโปรแกรม

ขึ้นมาเป็นโปรแกรมขนาดใหญ่มีประโยชน์ทั้ง ทางตรงและทางอ้อมต่อผู้ประกอบธุรกิจ ทั้งนี้ อุทยานวิทยาศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ใน สถาบันการศึกษา ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะ รัฐมนตรีแล้ว ในพื้นที่ภาคใต้ มีที่มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทีม่ หาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รศ.ดร.ธวั ช ชิ ต ตระการ รอง อธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา กล่าวว่า ความพร้อมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ ว างแผนการดำ � เนิ น งานด้ า นอุ ท ยาน วิทยาศาสตร์ โดยมหาวิทยาลัยได้ขยายพื้นที่ เขตการศึ ก ษา ที่ ต.ทุ่ ง ใหญ่ อ.ทุ่ ง ใหญ่ จ.นครศรี ธ รรมราช มี พื้ น ที่ 470 กว่ า ไร่ พื้ น ที่ ค รึ่ ง หนึ่ ง เป็ น ผั ง แม่ บ ทให้ กั บ อุ ท ยาน วิ ท ยาศาสตร์ และเชื่ อ มั่ น ว่ า หากได้ รั บ การ สนับสนุนงบประมาณ ก็จะสามารถพัฒนา อุทยานวิทยาศาสตร์ ม.อ. ให้เป็น Global Point ได้ และในโอกาสนี้ ได้ยื่นหนังสือขอรับการ สนับสนุนงบประมาณระบบโครงสร้างพื้นฐาน อาคารอุทยานวิทยาศาสตร์ ต่อรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รอง อธิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา ได้กล่าว ถึงศักยภาพและความพร้อมของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ และสถาบั น การศึ ก ษา หน่วยงานเครือข่ายด้านการวิจัยและพัฒนา และการดำ�เนินการอุทยานวิทยาศาสตร์ โดย ได้ทำ�การวิจัยเชิงพาณิชย์ร่วมกับภาคเอกชน และเกษตรกร มี ศู น ย์ บ่ ม เพาะธุ ร กิ จ เป็ น ศูนย์รวมในการเสริมสร้างพัฒนาผูป้ ระกอบการ โดยมุ่ ง เน้ น วิ ส าหกิ จ ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรม อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ เ ป็ น กำ � ลั ง สำ�คัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นการพัฒนาผลงานวิจยั ไป สูก่ ารใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และสนับสนุน การทำ�วิจัยร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาค อุตสาหกรรม และการประชุมหารือในครั้งนี้ เป็นโอกาสดีที่ได้รับฟังนโยบายจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รว่ มรับฟังความคิดเห็นจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุก ภาคส่วน ตลอดจนผู้ประกอบการ ในประเด็น การพัฒนากิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ รวมทัง้ ได้ทราบความคาดหวังในการพัฒนา ซึง่ จะเป็น ประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมในอนาคต PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 21


รอบรั้วศรีตรัง

ฝันใกล้เป็นจริง

เทศบาลนครหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ภาคเอกชน ร่วมผลักดัน การก่อสร้างอุโมงค์เชื่อมโรงพยาบาล สงขลานคริ น ทร์ กั บ ฝั่ ง ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เทสโก้ โ ลตั ส ด้ ว ย งบประมาณ 9 ล้านบาท เพื่อลดความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ อีกทั้ง สะพานลอยข้ามถนนเป็นสะพานสูง ผู้ป่วย ผู้สูงอายุข้ามสะพานด้วย ความยากลำ � บาก และโรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ ก่ อ สร้ า ง ตึกอุบตั เิ หตุหลังใหม่ จะส่งผลให้การสัญจรเพิม่ มากขึน้ การก่อสร้าง ครั้ ง นี้ จ ะถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลในวโรกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คาดจะสร้างให้เสร็จภายในปี 2555

อุโมงค์เชื่อม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์กับฝั่งห้างโลตัส

ศ.ดร.พิชัย ธานีรณานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิ ด เผยว่ า แนวคิ ด ในการก่ อ สร้ า งอุ โ มงค์ เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ กว่ า 10 ปี ที่ ผ่านมา โดยชมรม ลดอุบัติเหตุบนท้องถนนเมืองหาดใหญ่ และ คณะแพทยศาสตร์ และได้รับการสานต่อโดย เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554 ศ.ดร.พิชัย ธานีรณานนท์ และภาคเอกชน คือ กลุ่ม บริ ษั ท ดั ช มิ ล ล์ และบริ ษั ท เทสโก้ โ ลตั ส ได้ ทำ � หนั ง สื อ เพื่ อ ขอความเห็ น ชอบจากคณะ แพทยศาสตร์ รศ.นพ.สุเมธ พีรวุฒิ คณบดี คณะแพทยศาสตร์ และทีมบริหารคือ ศ.นพ. กรีฑา ธรรมคัมภีร์ และ ผศ.นพ.พรศักดิ์ ดิสนีเวทย์ ได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2554 ต่ อ มาวั น ที่ 18 สิ ง หาคม 2554 คณะแพทยศาสตร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเทศบาล นครหาดใหญ่ ได้ประชุมหารือเรือ่ งการก่อสร้าง อุโมงค์ดังกล่าว ผลจากการประชุม นายไพร พัฒโน นายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่ และ นายแพทย์รุ่งโรจน์ กั่วพานิช รองนายก เทศมนตรีนครหาดใหญ่ รับเป็นเจ้าภาพในการ ตั้งงบประมาณและดำ �เนินการก่อสร้างโดย เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่าย ส่วนรูปแบบและลักษณะอุโมงค์ ได้รับ การออกแบบโดย ว่าที่ร้อยตรีภาณุวัฒน์ ฉิมพี สถาปนิก เทศบาลนครสงขลา และ

22 :

PSU

สาร ม.อ.

นายพรเทพ ธีระกุล วิศวกรโยธาชำ�นาญการ พิเศษจากศูนย์สร้างทางสงขลา และ โดยความ ร่วมมือของ ผศ.เอกรัฐ สมัครรัฐกิจ หัวหน้า ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และล่ า สุ ด ที ม งานผู้ อ อกแบบ ได้ นำ �เสนอรูป แบบการก่ อ สร้ า งแก่ พต.ต.ท. พิ ง พั น ธุ์ เนตรรั ง ษี ประธานชมรม ลดอุ บั ติ เ หตุ บ นท้ อ งถนนเมื อ งหาดใหญ่ นายแพทย์รุ่งโรจน์ กั่วพานิช รองนายก เทศมนตรีนครหาดใหญ่ ผศ.นพ.พรศักดิ์ ดิ ส นี เ วทย์ รองคณบดี ค ณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ นายครั่ น ทวีรตั น์ นายกเทศมนตรีเมืองคอหงส์ นายสุกจิ วัฒนวงศ์ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักการช่างเทศบาล นครหาดใหญ่ ศ.ดร.พิชัย ธานีรณานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ นายชลธิ ศ นิ ล โมจน์ ผู้จัดการห้าง สรรพสินค้าเทสโก้โลตัส หาดใหญ่ ณ อาคาร วิจัยวิศวกรรมประยุกต์สิรินธร คณะวิศวกรรมศาสตร์ นอกจากการก่ อ สร้ า ง อุโมงค์ จะมีการก่อสร้างป้อม ตำ�รวจใหม่ ติดตัง้ กล้องวงจรปิด 4 จุ ด งานรื้ อ ย้ า ยระบบ สาธารณูปโภค งานป้ายจราจร และจั ด ระบบระหว่ า งการ ก่อสร้าง ติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้า

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

งานก่ อ สร้ า งระบบระบายอากาศบริ เ วณ เกาะกลาง โดยมีก�ำ แพงสูงเฉลีย่ 3 เมตร บันได กว้าง 3 เมตร มีคา่ ใช้จา่ ย รวม 9,653,877 บาท โดยนายแพทย์รงุ่ โรจน์ กัว่ พานิช รองนายก เ ท ศ ม น ต รี น ค ร ห า ด ใ ห ญ่ เ ปิ ด เ ผ ย ว่ า งบประมาณส่ ว นนี้ จ ะไปขออนุ มั ติ จ ากสภา เทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งไม่น่าจะมีปัญหา คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2555 ศ.ดร.พิชัย ธานีรณานนท์ กล่าวว่า การก่อสร้างจะเร่งทำ�ในช่วงปิดเทอม คาดจะ สร้างเสร็จภายใน 1-3 เดือน ทัง้ นีบ้ ริษทั ดัชมิลล์ ได้มอบเงินสนับสนุนในการออกแบบอุโมงค์ และปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ แ ก่ โ รงพยาบาล สงขลานครินทร์ แล้วจำ�นวน 8 แสนบาท ผูป้ ว่ ย และผู้สูงอายุสามารถใช้รถเข็นลงอุโมงค์เพื่อ ข้ามถนนได้โดยสะดวก รวมทัง้ มีการตัง้ ร้านค้า ภายในอุ โ มงค์ เ พื่ อ สร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชน และเพื่ อ ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาเรื่ อ งความปลอดภั ย อีกด้วย


สิ่งแวดล้อม

นักแผ่นดินไหว ม.อ. เผย

คนเชื่อโหร..เพราะขาดความเข้าใจ

แนะหลายหน่วยบูรณาการความรู้-เครื่องมือ สร้างความเชื่อมั่น

ดร.ไพบูลย์ นวลนิล นักแผ่นดินไหว วิ ท ยา ภาควิ ช าฟิ สิ ก ส์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยกรณีทมี่ ี การตื่นกลัวเรื่องการทำ�นายเกี่ยวกับแผ่นดิน ไหวรุนแรง เมือ่ ปลายปีทผี่ า่ นมาว่าสถานการณ์ แผ่นดินไหวเป็นสิ่งที่ยากจะระบุชัดเจนว่าเกิด บริเวณใด เมื่อไร และรุนแรงเพียงใด แม้จะมี เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพื่อตรวจวัดก็ตาม การขาดความรู้ ค วามเข้ า ใจของประชาชน ประกอบกับไม่มกี ารยืนยันข้อเท็จจริงเพือ่ เรียก ความเชือ่ มัน่ ในทันทีจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เมื่อรวมกับข่าวการเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงใน หลายประเทศในปีที่ผ่านมา จึงทำ�ให้หลายคน หวาดกลัวและวิตกกังวล แม้ผู้ที่ทำ�นายจะไม่มี ความรู้ทางวิชาการในเรื่องดังกล่าวเลยก็ตาม ในส่ ว นของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ นั้ น ได้ มี ข้ อ มู ล รวมถึ ง เครื่ อ งมื อ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับด้านธรณีพิบัติภัย ซึ่ง สามารถนำ�มาประกอบในด้านการเรียนการ สอน และใช้งานในสถานการณ์จริงได้เพียงใน ระดั บ หนึ่ ง ยั ง จะต้ อ งมี ก ารแสวงหาองค์ ความรู้ ด้ า นนี้ เ พื่ อ ให้ มี ข้ อ มู ล ที่ ทั น สมั ย แต่ อย่างไรก็ตาม การทำ�โครงการเพื่อศึกษาวิจัย ด้ า นธรณี พิ บั ติ ภั ย จะไม่ เ หมื อ นการจั ด ทำ � โครงการอื่นๆ เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า จึงไม่สามารถ ตั้งงบประมาณเพื่อรองรับได้ เช่นกรณีการเกิด

แผ่นดินไหวรุนแรงในต่างประเทศ หากจะต้อง เดิ น ทางไปเพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล ทั น ที ค งทำ � ไม่ ไ ด้ นอกจากนั้ น ยุ ท ธศาสตร์ ก ารวิ จั ย เรื่ อ งที่ เกีย่ วกับภัยพิบตั ใิ นหลายหน่วยงานทีส่ นับสนุน การวิ จั ย เพิ่ ง มี ขึ้ น หลั ง จากที่ รั ฐ บาลต้ อ งใช้ งบประมาณเพื่ อ ฟื้ น ฟู ค วามเสี ย หายไปแล้ ว จำ�นวนมหาศาล ซึ่งหากเกิดแผ่นดินไหวขึ้น จริงๆ คงจะต้องใช้งบประมาณเพื่อการศึกษา วิ จั ย เรื่ อ งนี้ โ ดยเฉพาะอี ก จำ � นวนมากเช่ น เดียวกัน ปั จ จุ บั น ประเทศไทยมี นั ก วิ ช าการ ธรณี พิ บั ติ ภั ย และเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ที่ มี ศักยภาพอยู่ในหลายหน่วยงาน เช่น การมี สถานีตรวจวัดและเครื่องมือวัดแผ่นดินไหว

เพื่อติดตามรอยเลื่อนของเปลือกโลก ทั้งของ กรมทรัพยากรธรณี กรมชลประทาน การไฟฟ้า ฝ่ายผลิต กรมอุตุนิยมวิทยา และมหาวิทยาลัย แต่การเตรียมความพร้อมและการดำ�เนินการ แก้ปญ ั หาโดยใช้องค์ความรูแ้ ละบูรณาการแบบ ยั่งยืนมีน้อยมาก คณะกรรมการแผ่นดินไหว แห่งชาติ ควรเรียกประชุมหน่วยงานดังกล่าว ร่วมกัน เนื่องจากถือว่าเป็นภัยของประชาคม โลกที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว อาจมี ผ ลกระทบต่อหลาย ประเทศ จึงอยากจะให้ทุกฝ่ายหันหน้ามาร่วม กันใช้ทรัพยากรและองค์ความรู้มาแก้ปัญหา และเตรียมความพร้อมในการรับมือ มากกว่า การเชื่อคำ�ทำ�นายและข่าวลือ เพื่อก้าวพ้นคำ� ว่า “ไม่เชื่ออย่าลบหลู่” ให้ได้

“ทีผ่ า่ นมา การเตรียมความพร้อมในการรับมือแผ่นดินไหวและสึนามิของทางราชการหลัง เหตุการณ์สึนามิเอเชีย เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 ทำ�ได้ดีพอสมควร โดยมีการตั้งศูนย์เตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ และติดตั้งหอเตือนภัยทั้งสองฝั่งทะเล สำ�นักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยาก็ได้ ติดตั้งสถานีแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นเป็น 40 สถานีทั่วประเทศแต่ขาดงบประมาณบำ�รุงรักษา ทำ�ให้ตก อยูใ่ นสภาพทีน่ า่ เป็นห่วงอย่างยิง่ รวมทัง้ การซ้อมอพยพผูค้ นเมือ่ เกิดเหตุการณ์สนึ ามิ และการซ้อม รับมือกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวก็ยังไม่จริงจังเท่าที่ควร ซึ่งหลายท่านก็แสดงความกังวลในเรื่องนี้ ซึ่งในทุกครั้งที่เกิดข่าวลือเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและสึนามิ หากคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ ได้ออกมาให้ความกระจ่างถึงข้อเท็จจริงก็คงจะทำ�ให้เกิดผลดีไม่นอ้ ย” ดร.ไพบูลย์ นวลนิล กล่าว PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 23


วิจัย

นักวิจัยธรณีฟิสิกส์ ม.อ. ชี้ปัจจัยสำ�คัญ ทำ�ดินถล่มภาคใต้ แนะวิธีสังเกตพื้นที่เสี่ยง เพื่อลดการสูญเสีย นักวิจยั ด้านธรณีฟสิ กิ ส์ ม.อ. ระบุหลายปัจจัยเสีย่ งดินถล่มภาคใต้ ทั้งโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่มีอัตราการผุพังสูง ปริมาณน้ำ�ฝนและ ระยะเวลาการตกต่อเนือ่ ง ชีใ้ ห้ความสำ�คัญกับเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งเตือน การบูรณาการข้อมูลจากหลายฝ่าย รวมทั้งมีแผนแจ้งเตือนและพื้นที่ สำ�หรับอพยพ เพื่อลดการสูญเสีย

24 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรภพ ผ่องสุวรรณ อาจารย์ภาควิชาฟิสกิ ส์และ นั ก วิ จั ย ในสถานวิ จั ย ธรณี ฟิ สิ ก ส์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การเกิ ด ธรณี พิ บั ติ ภั ย ดิ น โคลนถล่ ม และพื้ น ที่ เ สี่ ย งว่ า สาเหตุ สำ�คัญมีอยู่ทั้งปัจจัยด้านสภาพธรณีวิทยา ได้ แ ก่ ชนิ ด ของหิ น และโครงสร้ า งทาง ธรณีวิทยาที่มีอัตราการผุพังสูง จะมีอัตรา เสี่ยงในการเกิดดินโคลนถล่มได้มาก โดย พื้นที่หินแกรนิตจะมีอัตราเสี่ยงมากที่สุด และโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหินที่มี รอยแตกมากและอยู่ในเขตรอยเลื่อนจะมี อัตราการผุพังสูง เช่นเดียวกับชั้นหินที่ถูก แทรกดั น ด้ ว ยหิ น อั ค นี ห รื อ บริ เวณที่ มี พุ น�้ำ ร้อนและแหล่งแร่จากสายน�้ำ แร่รอ้ น ด้าน สภาพภูมิประเทศ พื้นทีท่ ี่มีความลาดชันสูง (ความชันมากกว่า 30 องศามีโอกาสเกิดดิน ถล่มได้ง่าย) หรือพื้นที่ที่มีทางน้ำ�คดเคี้ยว จำ�นวนมาก และลักษณะภูมิประเทศที่เป็น ร่องเขาด้านหน้ารับน�้ำ ฝนและบริเวณทีเ่ ป็น


วิจัย

หุบเขากว้างสลับซับซ้อน แต่มีลำ�น้ำ�หลัก เพียงสายเดียว จะมีโอกาสเกิดดินถล่มได้ ง่ายกว่าพื้นที่อื่น ปัจจัยสำ�คัญ คือ ด้านปริมาณน้ำ� ฝน การเกิดฝนตกหนักหรือตกต่อเนื่อง เป็ น เวลานาน และลั ก ษณะของฝนที่ กระจุ ก ตั ว ในพื้ น ที่ ใ ดพื้ น ที่ ห นึ่ ง อย่ า ง ปัจจุบัน จะทำ�ให้เกิดน้ำ�ท่วมขังได้เร็วขึ้น ดินทีอ่ มุ้ น�้ำ ไว้อย่างอิม่ ตัวก็เป็นปัจจัยเร่งที่ จะทำ�ให้เกิดดินโคลนถล่มได้ และด้าน สภาพแวดล้อม พื้นที่เกิดดินถล่มจะอยู่ ในพื้นที่ภูเขาสูงชัน ซึ่งส่วนใหญ่มีการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจาก มนุษย์ ทัง้ การจัดตัง้ ชุมชนขึน้ ใหม่จ�ำ นวน มากในพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม การปรับ พื้ น ที่ สู ง ชั น เพื่ อ ทำ � การเกษตร การใช้ ประโยชน์ทดี่ นิ เช่น การก่อสร้างถนนเข้า สู่ชุมชน การปรับเปลี่ยนความลาดชัน และการรุกพื้นที่ป่า/การจัดสรรพื้นที่ป่า เสื่อมโทรมเพื่อทำ�การเกษตร เพื่อการ ท่องเที่ยว เป็นผลให้มีประชาชนจำ�นวน มากเข้ามาอาศัยในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเสีย่ งต่อ

ธรณีพบิ ตั ดิ นิ โคลนถล่มเพิม่ มากขึน้ ก่อให้ เกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนเมื่อเกิดดินโคลนถล่มใน พื้นที่เสี่ยงได้ ส่วนของพื้นที่เสี่ยงในแถบ ภาคใต้ของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ในเขตอำ � เภอสิ ช ล ขนอม และนบพิตำ� และบางส่วนในเขต จังหวัดสุราษฎร์ธานีและพัทลุง ทั้ ง นี้ รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรภพ ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วน ของการแบ่งพืน้ ทีเ่ สีย่ งเกิดดินถล่มว่า เมือ่ ปี 2553 กรมทรัพยากรธรณีได้วิเคราะห์ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิดดินถล่ม เพือ่ จัดทำ�แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดิน ถล่ม (Landslide Hazard Map) แบ่ง เป็น 3 อันดับ ได้แก่ พืน้ ทีส่ แี ดงหรือพืน้ ที่ ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มอันดับ 1 เมื่อมี ปริมาณฝนมากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อ 24 ชั่วโมง พื้นที่สีเหลืองหรือพื้นที่ที่มีโอกาส เกิดดินถล่มอันดับ 2 เมื่อมีปริมาณฝน มากกว่า 200 มิลลิเมตรต่อ 24 ชั่วโมง และพื้นที่สีเขียวหรือพื้นที่ที่มีโอกาสเกิด

ดิ น ถล่ ม อั น ดั บ 3 เมื่ อ มี ป ริ ม าณฝน มากกว่า 300 มิลลิเมตรต่อ 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีหน้าดินหนา ขาด รากไม้ยึดเหนี่ยว และมีความลาดเอียง ของพืน้ ทีม่ ากกว่า 30 องศาประกอบด้วย ท้ายสุด รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรภพ ฝากถึ ง เรื่ อ งเครื อ ข่ า ย เฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่มซึง่ เป็นเรือ่ ง สำ�คัญ โดยจะต้องบูรณาการข้อมูลจาก หลายฝ่าย ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยา กรม ทรั พ ยากรน้ำ � กรมทรั พ ยากรธรณี หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึง ประชาชนในหมู่บ้าน จะต้องช่วยกันแจ้ง ข่ า วสาร สถานการณ์ ข องพื้ น ที่ และ ขอบข่ายงานของตนเองให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทราบ รวมทั้งการเตรียมแผน แจ้งเตือนและพื้นที่สำ�หรับอพยพ และ การกระจายข่ า วให้ ป ระชาชนในแถบ พื้นที่เสี่ยงได้รับทราบโดยทั่วกัน เพื่อลด อัตราการสูญเสียและเป็นข้อมูลสำ�หรับ แผนรั บ มื อ ภั ย ดิ น โคลนถล่ ม ที่ อ าจจะ เกิดขึ้น PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 25


วิจัย

หน่ ว ยวิ จั ย ปาล์ ม น้ำ � มั น ม.อ.วิ ท ยาเขต สุราษฎร์ธานี ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งพัฒนาเกษตรกรท้องถิ่นจากงานวิจัย เน้น สร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมที่จะรับผลกระทบและ เปลี่ยนแปลง เชื่อสามารถเป็นรากฐานที่แข็งแรง สู่การพัฒนาประเทศ

ร.ศ.ดร.โอภาส พิมพา

หน่วยวิจัยปาล์มน้ำ�มัน ม.อ.สุราษฎร์ฯ

เน้นหลักความพอดี นำ�ผลวิจัยถ่ายทอดสู่ท้องถิ่น รองศาตราจารย์ ดร.โอภาส พิ ม พา หั ว หน้ า หน่ ว ยวิจัยปาล์มน้ำ�มัน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (ม.อ.) วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี เปิ ด เผยว่ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีนโยบายที่ จะส่งเสริมให้งานวิจัยมีทิศทางที่ชัดเจน สามารถนำ�ผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ได้ อย่างแท้จริง ทั้งการสร้างองค์ความรู้และ นวัตกรรม รวมทัง้ การนำ�ผลมาใช้ในการแก้ ปัญหา พัฒนาชุมชนหรือสังคม หน่วยวิจัย ปาล์มน�้ำ มันของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จึง ให้ ค วามสนใจเรื่ อ งการวิ จั ย และพั ฒ นา ระบบการเกษตรแบบรอบด้าน โดยคำ�นึง

26 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


ถึงสภาวะด้านสังคมตามแนวพระราชดำ�ริ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อช่วยให้ เกษตรกรเพิ่มศักยภาพการผลิต โดยลด ต้นทุนการผลิต แต่คงคุณภาพหรือเพิ่ม คุณภาพของผลผลิตทั้งพืชและสัตว์ ซึ่ง ไม่ได้หมายถึงการผลิตปาล์มน้ำ�มัน หรือ ยางพาราอย่างเดียว งานวิจยั ของหน่วยวิจยั ปาล์มน�้ำ มัน ทีไ่ ด้มกี ารดำ�เนินการตามแนวทางดังกล่าว อาทิ การศึกษาเพิ่มเติมองค์ความรู้ในการ ผลิตปาล์มน้ำ�มันและอาชีพเสริมในระบบ ปลูกปาล์มน�้ำ มันโดยใช้ทรัพยากรจากพืน้ ที่ งานวิจัยการเลี้ยงโคและแพะในระบบการ ปลูกปาล์ม การเลี้ยงหมูหลุมเพื่อสร้างปุ๋ย มูลหมักสำ�หรับใส่ปาล์มน�้ำ มัน การนำ�ขีเ้ ค้ก หรือขีต้ ะกรันหม้อกรองน�้ำ ตาลและทะลาย ปาล์มเปล่าจากโรงงานปาล์มน�้ำ มันมาผลิต ปุ๋ยหมัก หรือนำ�มาเป็นส่วนผสมในอาหาร สัตว์ การใช้มูลสัตว์ กากตะกอน ขี้เค้ก จากโรงงานสกัดปาล์มน้ำ�มันมาผลิตก๊าซ ชีวภาพ งานวิจัยเพื่อรองรับในกรณีปาล์ม น้ำ � มั น ราคาลดลงมากจนเกษตรกรไม่ สามารถขายได้ การวิ จั ย แนวทางสร้ า ง อาชี พ หลายอย่ า งในระบบการปลู ก ปาล์ ม น้ำ � มั น เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ปาล์ ม น้ำ � มั น ผลพลอยได้ ใ นชุ ม ชน งานวิ จั ย ที่ ส ร้ า ง เครือข่ายด้านการเลี้ยงและการตลาดของ กลุ่มผู้เลี้ยงโคขุนของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเชื่อมต่อในระบบห่วงโซ่อุปทานระดับ ประเทศ หน่วยวิจัยปาล์มน้ำ�มัน ยังได้จัดทำ� ยุทธศาสตร์การเพิม่ มูลค่าปาล์มน�้ำ มันและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน โดยใช้หลักการพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์

และผสมผสาน เข้ามาช่วย ลดต้นทุนการผลิต เช่น อาจ ให้ เ กษตรกรมี ก ารเลี้ ย งโค เลี้ยงแพะในระบบ แทนที่ จะปลู ก ปาล์ ม น้ำ � มั น และ ข า ย ผ ล ป า ล์ ม น้ำ � มั น ไ ด้ อย่างเดียว การเลีย้ งหมูหลุม แ ล ะ ใช้ มู ล สั ต ว์ ร่ ว ม กั บ ผลพลอยได้ จ ากโรงงาน ปาล์มน้ำ�มันและสวนปาล์ม ในการผลิตปุย๋ หมักและผลิต ก๊าซชีวภาพ หรือนำ�มาเลี้ยง ไส้เดือนดิน ซึ่งจะได้นำ�ปุ๋ย หมักและมูลไส้เดือนกลับไป สูส่ วนปาล์มน�้ำ มัน ซึง่ ช่วยลด ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้ นอกจากการวิจยั แล้ว หน่วยวิจัยปาล์มน้ำ�มันของ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ยังได้ บริ ก ารวิ ช าการให้ ชุ ม ชน โดยส่งบุคลากรเป็นวิทยากรบรรยายให้ สำ�นักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรและ สหกรณ์การเกษตร ตลอดทั้งกลุ่มชาวบ้าน และสหกรณ์ นิ ค มในพื้ น ที่ จั ด อบรม เ ท ค โ น โ ล ยี ด้ า น ป า ล์ ม น้ำ � มั น ใ ห้ กั บ ยุวเกษตรกรจากโรงเรียนมัธยมในพื้นที่ ทุกปี โดยพยายามเน้นให้ชาวบ้านและ เยาวชนตระหนักถึงภาวะที่เราเผชิญกับ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และเงื่อนไข ใหม่ ๆ การแข่งขันทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น การกีดกันทางการค้าโดยมาตรการด้าน คุณภาพ ความปลอดภัยต่อการบริโภค กฎเกณฑ์ต่างๆ ของต่างชาติ และแนวทาง ในการแก้ปัญหา “ทุกกิจกรรมเพื่อชุมชน ของหน่วย

วิจัยปาล์มน้ำ�มัน เราเน้นการรู้จักความ พอดี ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น โดย เฉพาะทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ยู่ อ ย่ า ง จำ�กัด การตัดสินใจที่เป็นไปอย่างมีเหตุผล ตลอดจนคำ�นึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น อย่างรอบคอบ และมีภูมิคุ้มกันในตัวให้ดี มีการเตรียมตัวให้พร้อมทีจ่ ะรับผลกระทบ และเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น มีการ สร้ า งกลุ่ ม เกษตรกร สร้ า งเครื อ ข่ า ยกั บ ชุ ม ชนและองค์ ก รในพื้ น ที่ แ บบร่ ว มด้ ว ย ช่วยกันพัฒนา ทั้งนี้เพื่อสังคมที่ดีขึ้น ซึ่งจะ ก่อให้เกิดรากฐานที่แข็งแรงสู่การพัฒนา ประเทศ” หัวหน้าหน่วยวิจัยปาล์มน้ำ�มัน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (ม.อ.) วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กล่าว

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 27


รางวัลแห่งคุณภาพ

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คว้า

2 รางวัล

ชี วิ ต ประจำ � วั น ของมนุ ษ ย์ นอกจากนี้ ยั ง รวมไปถึงการให้ความช่วยเหลือแก่ผปู้ ว่ ยหรือ ผู้ทุพพลภาพอีกด้วย ลักษณะการแข่งขันหุน่ ยนต์เพือ่ น อัจฉริยะ หรือ Robot@Home จะเป็นวิธี การทดสอบหุ่นยนต์ตามภารกิจต่าง ๆ โดยมี การกำ�หนดมาตรฐานการทดสอบ เพื่อเป็น สมิตไมตรี อาจารย์ชลิตา หิรญ ั สุข และ กรอบอ้างอิงและวัดผลระดับความสามารถ อาจารย์นติ พ ิ นั ธุ์ วิทยผดุง ประกอบด้วย ของหุ่นยนต์ ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา นักศึกษาผู้เข้าร่วมแข่งขันดังนี้ เทคโนโลยีใหม่ในด้านต่างๆ ด้วย ทั้งนี้ ใน 1. นายกิตติคุณ จงเจริญ การแข่งขันจะจำ�ลองสถานการณ์และสถานที่ 2. นายกิตติพงษ์ ชาติวุฒิ ภายในบ้าน รวมถึงการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน 3. นายทศพร คงสุจริต ของมนุ ษ ย์ โดยมี หุ่ น ยนต์ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ 4. นายธัญทัต อังศุพิสิฐ ช่วยเหลือภายในบ้าน เช่น การทำ�งานทดแทน 5. นายบุญยกร ธนอัศวพล มนุษย์ หรือแม้กระทั่งการสื่อสารพูดคุย และ 6. นายพรพล สว่างภิภพ ทำ�กิจกรรมร่วมกัน เป็นต้น ถือเป็นการแข่งขัน 7. นายพิชัยพร บ่มไล่ ที่ ท้ า ทายและมี ป ระโยชน์ ต่ อ การยกระดั บ 8. นายเอกสิทธิ์ กาญจนแก้ว ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ข องมวลมนุ ษ ย์ โดยที ม ก า ร แ ข่ ง ขั น หุ่ น ย น ต์ เ พื่ อ น ชนะเลิศประเทศไทย จะได้เป็นตัวแทนเข้า อัจฉริยะชิงแชมป์ประเทศไทย ประจำ�ปี ร่วมแข่งขันหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะระดับโลก 2554 หรือ Thailand Robot@Home “World RoboCup : Robot@Home Championship 2011 จัดโดยบริษทั เครือ 2012” ที่ประเทศเม็กซิโก ซีเมนต์ไทย (SCG) ร่วมกับสมาคม วิ ช าการหุ่ น ยนต์ แ ห่ ง ประเทศไทย แ ล ะ ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยจัดขึ้นเป็น ครัง้ แรกในประเทศไทย มีจดุ มุง่ หมาย ที่ จ ะส่ ง เสริ ม เยาวชนไทยในการ พั ฒ นาหุ่ น ยนต์ ใ ห้ มี ค วามสามารถ ติดต่อปฏิสมั พันธ์กบั มนุษย์ได้ เพือ่ ให้ บริการและช่วยเหลืองานต่างๆ ใน บ้านและที่พักอาศัย เพื่อการดำ�รง

“หุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ” นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ได้ เข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น หุ่ น ยนต์ เ พื่ อ น อัจฉริยะชิงแชมป์ประเทศไทย ประจำ�ปี 2554 หรือ Thailand Robot@Home Championship 2011 เมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม 2555 ณ MCC Hall เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดย ทีมดงยางสามารถคว้า 2 รางวัล คือ รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 (The 1st Runnerup) ได้รับทุนการศึกษา 100,000 บาท และ รางวัลหุน่ ยนต์ทมี่ ปี ฏิสมั พันธ์กบั มนุษย์ ยอดเยี่ยม (The Best Human-Robot Interface Award) ได้รับทุนการศึกษา 50,000 บาท สำ � หรั บ การแข่ ง ขั น ในครั้ ง นี้ ส มาชิ ก ทีมดงยางได้รบั การสนับสนุนงบประมาณเพือ่ ใช้ ใ นการแข่ ง ขั น จากกองทุ น พั ฒ นาคณะฯ สมาคมศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ และ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล โดยมีนักศึกษา ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล สาขาวิ ช า วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ชั้นปีที่ 4 ตัวแทน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีอาจารย์ที่ ปรึกษา ประกอบด้วย รศ.ดร.พฤทธิกร

28 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


รางวัลแห่งคุณภาพ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ม.อ. คว้า

โครงการ

ขอแสดงความยิ น ดี กั บ “ที ม ยอด มนุ ษ ย์ ไ ฟฟ้ า ” นั ก ศึ ก ษาจากภาควิ ช า วิศวกรรมไฟฟ้า ทีค่ ว้าสองรางวัล คือรางวัล

2 รางวัล

M-150 Ideology 2011

สว่ า งจ่ า ยให้ กั บ มั ส ยิ ด และทุ ก ครั ว เรื อ น จำ�นวน 70 หลัง สร้างระบบน้ำ�ดื่มประจำ� หมู่บ้าน และตู้เย็นสำ�หรับโรงเรียน จัดโดย บริษัท โอสถสภา จำ�กัด บริษทั โอสถสภา จำ�กัด โดยเครือ่ งดืม่ เอ็ ม -150 ได้ จั ด พิ ธี ปิ ด และประกาศผล

รองชนะเลิ ศ และรางวั ล สุ ด ยอดที ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น โ ค ร ง ก า ร M - 1 5 0 Ideology 2011 โซลาร์เซลล์เพื่อชีวิต โครงการ M-150 Ideology 2011 ที่ดียิ่งกว่า จากภารกิจสร้างสถานีโซลาร์ โซลาร์เซลล์เพือ่ ชีวติ ทีด่ ยี งิ่ กว่า ไปอย่างยิง่ เซลล์ให้กบั ชาวบ้านเกาะบูโหลนดอน จ.สตูล ใหญ่ โดยมี นายประธาน ไชยประสิทธิ์

และได้สง่ มอบให้กบั ชาวบ้านบนเกาะบูโหลน รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บริษัท โอสถ ดอน โดยทางทีมได้สร้างระบบไฟฟ้าแสง สภา จำ�กัด ให้การต้อนรับ พร้อมทั้งกล่าวถึง

วัตถุประสงค์โครงการและความสำ�เร็จในครัง้ นีว้ า่ เครือ่ งดืม่ เอ็ม-150 ได้รว่ มกับสำ�นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดโครงการนี้อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อสนับสนุนให้นิสิตนักศึกษา ได้นำ�สิ่งที่เรียนรู้ในห้องเรียนมาสร้างสรรค์ และประยุ ก ต์ ใ ห้ ใ ช้ ง านได้ จ ริ ง เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ตอ่ สังคม จนกระทัง่ สามารถพัฒนา ประเทศให้ ก้ า วหน้ า อย่ า งยั่ ง ยื น โดยการ คั ด เลื อ กที ม จากสถาบั น การศึ ก ษาต่ า งๆ ทั่วประเทศ ให้เหลือเพียง 5 ทีม เพื่อลง พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารสร้ า งสถานี โซลาร์ เซลล์ สำ�หรับผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ให้กบั ชุมชนในพืน้ ทีห่ า่ งไกลทีข่ าดแคลนไฟฟ้า โดยในปีนี้พื้นที่ที่ให้เลือกจัดทำ�โครงการ คือ พื้นที่เดียวกับที่จัดทำ� “โครงการโอสถสภา เพื่อชีวิตที่ดี...ยิ่งกว่า” อันเป็นกิจกรรม ช่ ว ยเหลื อ สั ง คม เนื่ อ งในโอกาส 120 ปี โอสถสภา อีกด้วย สำ � หรั บ รางวั ล รองชนะเลิ ศ ได้ รั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศและทุ น การศึ ก ษาที ม ละ 30,000 บาท พร้อมทุนการศึกษาจาก รางวัลสุดยอดทีมสร้างสรรค์ 10,000 บาท

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 29


รอบรั้วศรีตรัง

ปีใหม่ ตึกใหม่ :

อาคารศูนย์อุบัติเหตุ

เริ่มเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้นสำ�หรับอาคารศูนย์อุบัติเหตุ ที่เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 โดยวัตถุประสงค์ของการก่อสร้างตึกนี้คือ เป็นศูนย์รองรับผู้ป่วยฉุกเฉินของภาคใต้ การขยาย ศักยภาพเพื่อรองรับสถานการณ์การบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน รวมไปถึงอุบัติเหตุหมู่ที่เกิด จากความไม่สงบในเขตภาคใต้นั้น ได้วางแผนที่จะสามารถรองรับผู้ป่วยแบบเบ็ดเสร็จในพื้นที่บริการเดียว สามารถให้บริการได้อย่างครบวงจรและเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาผ่าตัดผู้ป่วยที่มีอาการหนักอย่างทัน ท่วงที ความสามารถในการให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินประมาณ 100,000 รายต่อปี และรองรับอุบัติเหตุหมู่ได้ พร้อมกันเป็นจำ�นวน 100 ราย โดยชั้นที่ 3 จะประกอบไปด้วยพื้นที่ของห้องผ่าตัด 6 ห้อง และหออภิบาล ผู้ป่วยหนัก 8 เตียง ห้อง VIP 1 ห้อง ห้องแยก 2 ห้อง รวมไปถึงสามารถรองรับการส่งต่อผู้ป่วยหนักที่ถูก ลำ�เลียงมาโดยเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์จากเขตพื้นที่ใกล้เคียงด้วย เหตุผลที่ทางโรงพยาบาลฯ เลือกพื้นที่บริเวณด้านหน้าโรงพยาบาลฝั่งที่ติดกับถนนกาญจนวนิชนั้น เนือ่ งจากเป็นถนนสายหลักทีผ่ า่ นหน้าโรงพยาบาลฯ เพือ่ ให้สะดวกแก่การนำ�ผูป้ ว่ ยเข้ามารับบริการได้อย่าง สะดวกและรวดเร็ว อาคารหลังนี้ แม้ว่าโดยหลักจะเน้นเรื่องการบริการและพัฒนางานด้านการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน แต่เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากพื้นที่สูงสุด จึงมีสำ�นักงานสายสนับสนุนที่แยกตามแต่ละชั้นได้ดังนี้

30 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555


ชั้น B1 - B3 ลานจอดรถ ชั้นที่ 1 ห้องฉุกเฉินและอุบัติเหตุ/ห้องสังเกตอาการ และห้องผ่าตัด ชั้นที่ 2 ห้องปฏิบัติการทางพยาธิวิทยา ห้องเฝือก ห้องตรวจ ห้องจ่ายยา และห้องการเงิน ชั้นที่ 3 ห้องผ่าตัดและหออภิบาลผู้ป่วยหนัก ชั้นที่ 4 ห้องประชุม/ห้องรับประทานอาหาร ชั้นที่ 5 - 7 หอผู้ป่วยสามัญ (Public ward) ชั้นที่ 8 - 11 หอผู้ป่วยพิเศษ (Private ward) ชั้นที่ 12 ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ชั้นที่ 15 (ดาดฟ้า) ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ รับ-ส่ง ผู้ป่วยฉุกเฉิน ตัวโครงสร้างอาคารจะแล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2555 หลังจากนัน้ ทางโรงพยาบาลฯ จะย้ายห้องฉุกเฉินไปอยูท่ ชี่ นั้ 1 ของอาคาร ซึง่ ถ้าหากมีอตั รากำ�ลังของแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ เพียงพอ จะสามารถเปิดห้องฉุกเฉินและหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ (Trauma) ได้ ยกเว้นห้องผ่าตัดและ หออภิบาลผู้ป่วยหนัก ที่ต้องซื้อเครื่องมือทางการแพทย์และปรับปรุงห้องก่อนเปิดใช้งาน ของใหม่ในปี พ.ศ.2555 นั้นยังไม่หมดเพียงเท่านี้ เพราะทางคณะฯ ยังมีอีกหลายโครงการที่ กำ�ลังดำ�เนินการอยู่ และกำ�ลังจะสร้างเป็นโครงการในอนาคต สำ�หรับโครงการทีก่ ำ�ลังดำ�เนินการอยู่ ได้แก่ การสร้างถนนเส้นใหม่บริเวณหอพักบุคลากร เพือ่ ให้ขนานกับถนนเดิม เนือ่ งจากมหาวิทยาลัย จะเปิดใช้ประตู 108 สำ�หรับโครงการที่กำ�ลังจะสร้างในอนาคต คือ การก่อสร้างหอพักบุคลากรโสด 336 ยูนิต และการปรับปรุงบึงศรีตรังให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของบุคลากรอีกด้วย ความคืบหน้า อย่างไร ข่าวคณะแพทย์ฯ จะนำ�เสนอต่อไปในโอกาสหน้า ที่มา : ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 202 ประจำ�เดือนมกราคม 2555 หน้า 9-11

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 31


วิจัย

ม.อ. แยกสารในบอระเพ็ด พิสูจน์แล้วช่วยลดความดันโลหิต

บอระเพ็ด เป็นสมุนไพรไทย มีรสขม ตามตำ�ราไทยมี

สรรพคุณแก้ไข้ แก้กระหายน้ำ� เป็นยาเจริญอาหาร ยาอายุวัฒนะ และลดความดันโลหิต แต่ยังไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์ยืนยัน ทีมงานวิจัยของ รศ.ดร.ฉวีวรรณ จั่นสกุล ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้ท�ำ การศึกษา ฤทธิ์ของบอระเพ็ดต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด และลดความดัน โลหิตได้จริง เพื่อพิสูจน์ผลก่อนอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ รศ.ดร.ฉวีวรรณ จั่นสกุล เปิด เผยว่ า ได้ ทำ � การทดลองโดยนำ � ลำ � ต้ น บอระเพ็ดมาสกัดด้วยวิธีเดียวกับที่ใช้ใน ตำ�รายาไทย คือต้มด้วยน้ำ� จากนั้นแยกเอา ส่วนน้ำ�ต้มไปสกัดด้วยสารละลายเคมีเพื่อ

32 :

PSU

สาร ม.อ.

ให้ได้ตัวยาที่เข้มข้น กำ�จัดตัวทำ�ลายออก แล้วนำ �ไปทำ �ให้แห้ง นำ �สารสกัดที่ได้ไป ทดสอบฤทธิต์ อ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยนำ�สารสกัดมาละลายน้ำ� เพื่อทำ�การ พิ สู จ น์ ว่ า จะใช้ เ ป็ น ยารั ก ษาได้ ห รื อ ไม่

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

ขั้ น ตอนในการศึ ก ษาเราได้ ทำ � ในหนู ข าว ใหญ่ โดยตัดแยกหลอดเลือดแดงออกมา ศึ ก ษาในหลอดทดลอง พบว่ า สารสกั ด บอระเพ็ดมีผลทำ�ให้หลอดเลือดคลายตัว และศึ ก ษาในตั ว หนู ข าวใหญ่ โ ดยการฉี ด


สารสกัดบอระเพ็ดเข้าไปในหลอดเลือดดำ� พบว่าสารสกัดมีฤทธิ์ ลดความดันโลหิตและมีฤทธิ์ต่ออัตราการเต้นของหัวใจสอง แบบ คือ ลดอัตราการเต้นของหัวใจก่อนและตามด้วยการเพิ่ม อัตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งผลดังกล่าวนี้เป็นการยืนยันได้ว่า บอระเพ็ดมีฤทธิ์ลดความดันโลหิต แต่มีผลต่ออัตราการเต้น ของหัวใจด้วย ทั้งนี้อาจเป็นไปได้ว่าในบอระเพ็ดสารออกฤทธิ์ หลายตัวทำ�งานร่วมกัน เพื่อจะพิสูจน์สมมุติฐานดังกล่าว จึงได้ ศึกษาทางเคมีเพื่อแยกสารออกฤทธิ์จากสารสกัดบอระเพ็ด สามารถแยกสารบริสุทธิ์ที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ชนิ ด ของสารที่ แ ยกออกมาได้ ป ระมาณครึ่ ง หนึ่ ง มี นั ก วิ จั ย ท่ า นอื่ น ๆ เคยพบมาแล้ ว แต่ ไ ม่ มี ผ ลต่ อ ระบบหั ว ใจและ หลอดเลื อ ด สารสำ � คั ญ ที่ มี ผ ลลดความดั น โลหิ ต ได้ แ ก่ อะดีโนซีน (adenosine) ซาลโซลีนอล (salsolinol) และ ไฮเจนนามีน (higenamine) ทั้ ง นี้ ส ารที่ มี ฤ ทธิ์ ล ดความดั น มี ผ ลต่ อ หั ว ใจและ หลอดเลือด เป็นสารทีไ่ ม่มรี สขมเลย ส่วนสารทีข่ มได้ศกึ ษาแล้ว ปรากฏว่ามันไม่มีฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต สารนั้นชื่อ บอระเพโตซาย (borapetoside) ซึง่ สารนีเ้ ป็นสารองค์ประกอบ หลักในลำ�ต้นบอระเพ็ด “เราเป็ น กลุ่ ม แรกที่ พิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า บอระเพ็ ด มี ผ ลลด ความดั น ได้ จ ริ ง สามารถออกฤทธิ์ ล ดความดั น โลหิ ต แต่ ในขณะเดียวกันมันก็เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ มีผลทำ�ให้ หัวใจบีบตัวแรงขึน้ ดังนัน้ สิง่ ทีช่ าวบ้านหรือตำ�ราอ้างไว้ สามารถ พิสูจน์ได้ว่าจริง สาเหตุที่เรายังไม่ผลิตเป็นเม็ดยา เนื่องจากมี การศึกษาของทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ พบว่า บอระเพ็ดถ้ากินเข้าไปนานๆ มีพิษต่อตับ ต่อไต สิ่งที่ควรศึกษาก่อนผลิตออกไปเป็นเม็ดยา ก็คือสาร ที่ออกฤทธิ์ดังกล่าวมีพิษหรือไม่ แล้วส่วนไหนที่มีพิษอยู่ใน

สารที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดที่สำ�คัญ ดังตาราง สาร ผลต่อความดันโลหิต ผลต่อการเต้นของหัวใจ ผลต่อหลอดเลือด อะดีโนซีน (adenosine) ลด ลด คลายตัว ยูรีดีน (uridine) เพิ่ม ลด คลายตัว ซาลโซลีนอล (salsolinol) ลด ลด คลายตัว ไฮเจนนามีน (higenamine) ลด เพิ่ม คลายตัว ไทรามีน (tyramine) เพิม่ เพิ่ม หดตัว

บอระเพ็ด จะได้กำ�จัดส่วนนั้นออก เพราะฉะนั้นยังต้องขอเวลาในการ ศึกษาอีกระยะหนึง่ เหตุผลอีกอย่างเพราะว่าสารทีอ่ ยูใ่ นลำ�ต้นบอระเพ็ด มี ป ริ ม าณน้ อ ยมากเพี ย ง 0.25% แต่ มั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ สู ง มากๆ ถึงแม้สารที่เราสกัดมาจะมีน้อย มันก็แสดงฤทธิ์ให้เราเห็น สิ่งที่เรากำ�ลัง ศึกษาอยู่คือ แยกสารที่ออกฤทธิ์ให้บริสุทธิ์ที่สุด ขณะเดียวกันก็สามารถ ขจัดส่วนที่เป็นองค์ประกอบจำ�นวนมากออกไป เวลากินเข้าไป เราจะได้ ไม่ต้องกินขยะเข้าไปมากเกินความจำ�เป็น เพราะมันจะไปมีผลต่อตับ และ/หรื อ ไต ที ม งานวิ จั ย ของเราต้ อ งพิ สู จ น์ ส ารพิ ษ ที่ อ ยู่ ใ นลำ� ต้ น บอระเพ็ด เพื่อแยกสารนั้นออกมาก่อนที่จะผลิตเป็นยาสู่ผู้บริโภค” PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 33


แนะนำ�บุคคล

เปิดใจประธานสภาข้าราชการ ม.อ.หาดใหญ่ คนใหม่

‘คมกริช ชนะศรี’ การบริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ นอกจากจะมี ผู้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ ในการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาหน่ ว ยงานแล้ ว สภา ข้าราชการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นับเป็นอีกหนึ่งพลังในการนำ� เสนอแนวทางพัฒนามหาวิทยาลัยโดยผ่านตัวแทนบุคลากร ในโอกาสที่มี การแต่งตั้งประธานสภาข้าราชการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คนใหม่ ในวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตัง้ แต่วนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 - 10 กุมภาพันธ์ 2557 นายคมกริช ชนะศรี หัวหน้างานสารสนเทศและนวัตกรรม กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ได้รับตำ�แหน่ง กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ ตลอดจนแผนการทำ�งานตลอด 2 ปีว่า “สภาข้าราชการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานทีเ่ ป็นสือ่ กลางระหว่าง มหาวิทยาลัยกับบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ทั้งที่เป็นข้าราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัยเงินงบประมาณ พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ ลูกจ้างประจำ� ลูกจ้างชัว่ คราว มีบทบาทในการสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยดำ�เนินงานได้ประสบความสำ�เร็จ ตลอดจน แก้ปัญหาด้านต่างๆ ให้กับบุคลากรสายสนับสนุน ในวาระที่กระผมมาดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานสภานั้น จะไม่ได้กำ�หนดกลยุทธ์อะไรไว้เป็นข้อๆ แต่จะพยายามให้สภาข้าราชการ เปรียบประหนึ่งเพื่อนของบุคลากร หากบุคลากรไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีปัญหา เดือดเนื้อร้อนใจใดๆ สภาข้าราชการจะคอยเป็นกระบอกเสียง เป็นที่พึ่ง ที่พูดคุย และ ยังเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนความคิดในหลากหลายแง่มุม เดินเคียงคู่พัฒนาคน พัฒนางานอย่างเต็มศักยภาพ” สำ�หรับช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของสภาข้าราชการนั้น นายคมกริชกล่าวว่า บุคลากรสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของสภาได้จากเว็บไซต์และจากวารสารราย 1 เดือนของสภาข้าราชการ ทั้งนี้ที่ผ่านมาสภา ข้ า ราชการยั ง ไม่ มี ห้ อ งสำ � นั ก งานอย่ า งเป็ น ทางการ ในช่ ว งวาระที่ ต นดำ � รงตำ � แหน่ ง ประธานสภาข้าราชการนัน้ จะพยายามผลักดันให้เกิดห้องสำ�นักงานสภาข้าราชการขึน้ เพือ่ ให้คณะกรรมการได้มีสถานที่ท�ำ งานประจำ� ผลัดเปลี่ยนกันทำ�หน้าที่รับแจ้งเรื่องราวต่างๆ ของบุคลากรโดยตรงและทางโทรศัพท์ ช่วยให้บคุ ลากรเข้าถึงการบริการของสภาข้าราชการ ได้มากขึ้น

34 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555

นายคมกริช ชนะศรี กล่าวทิง้ ท้าย ว่า นอกเหนือจากงบประมาณจำ�นวนหนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยสนับสนุนด้านการบริหาร งานของสภาแล้ว ปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�ให้ สภาข้าราชการตอบสนองความต้องการ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ คื อ คณะกรรมการสภาข้าราชการ โดยแต่ละ ท่านเป็นผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งที่ เป็ น ข้ า ราชการ พนั ก งานและลู ก จ้ า ง มหาวิทยาลัย ซึ่งทุกท่านล้วนแต่มีภาระ งานประจำ � การเสี ย สละเวลามาปฏิ บั ติ หน้าที่ดังกล่าวถือเป็นภารกิจจิตอาสาที่ไม่ ได้รับค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการสภาข้าราชการทุกคนพร้อม ที่จะปฏิบัติหน้าที่เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนา บุคลากรอย่างเต็มความสามารถ


การศึกษา

ม.อ.จัด

“ติวเข้ม โค้งสุดท้ายสู่มหาวิทยาลัย” มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด โครงการ “ติ ว เข้ ม โค้ ง สุ ด ท้ า ยสู่ มหาวิ ท ยาลั ย ” เพื่ อ ขยายโอกาสให้ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ในการเตรียมความพร้อม สอบ O-NET และเพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นจาก ห้ อ งเรี ย นปลายทางได้ มี โ อกาสเรี ย นกั บ อาจารย์ผู้สอน ณ สถานที่เดียวกัน อีกทั้ง เพื่ อ เป็ น การแนะแนวการศึกษาต่อคณะ ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2555 ณ Convention Hall ศูนย์ประชุม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญญา เชาวลิ ต คณบดี ค ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และประธาน คณะกรรมการดำ�เนินงานโครงการติวเข้ม โค้งสุดท้ายสู่มหาวิทยาลัยเปิดเผยว่าจาก ปัญหาความไม่สงบในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้ในหลายปีทผี่ า่ นมา ส่งผลโดยตรงต่อ โอกาสในการสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อใน

ระดับอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายในพืน้ ทีด่ งั กล่าวเมือ่ เปรียบเทียบ กั บ นั ก เรี ย นในพื้ น ที่ อื่ น ๆ ของประเทศ จากปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์จึงดำ�เนินการโครงการต้นแบบ ศูนย์ทางไกลเพื่อการศึกษาและพัฒนาใน พื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ (โครงการฯ e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต้) ขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (ICT) การจัดโครงการดังกล่าวได้มี การดำ�เนินการในส่วนของการเรียนการสอน ทางไกลแบบเวลาจริ ง โดยสอนจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และโรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ ถ่ายทอดไปยังห้องเรียน ปลายทางในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตู ล และสงขลา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เ ห็ น ความสำ � คั ญ ในการขยาย โอกาสแก่ นั ก เรี ย นมั ธ ยมปลายจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ในการเตรียมความพร้อม สอบ O-NET และเพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นจาก ห้ อ งเรี ย นปลายทางได้ มี โ อกาสเรี ย นกั บ อาจารย์ผู้สอน ณ สถานที่เดียวกัน อันเป็น

การเสริมแรงจูงใจในการเรียนอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนการเข้าถึงข้อมูล การแนะแนวการ ศึกษาคณะต่ า งๆ จึ ง จั ด โครงการติ ว เข้ ม โค้ ง สุ ด ท้ า ยสู่ ม หาวิ ท ยาลั ย ควบคู่ กั บ การแนะแนวการศึ ก ษาคณะต่ า งๆ ของ มหาวิทยาลัย ให้กับนักเรียนระดับมัธยม ศึ ก ษาตอนปลายจากโรงเรี ย นในจั ง หวั ด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และสงขลา ดร.จารุวรรณ กฤตย์ประชา ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทรัพยากรการเรียนรู้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในฐานะ รองประธานคณะกรรมการดำ � เนิ น งาน โครงการติวเข้มโค้งสุดท้ายสู่มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การจัดโครงการติวเข้มโค้งสุดท้าย สู่มหาวิทยาลัยในครั้งนี้ มีนักเรียนเข้าร่วม กิ จ กรรมกว่ า 3,000 คน โดยมี ก าร ติวเข้มรายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอั ง กฤษ โดยอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และโรงเรียน มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ และจั ด นิ ท รรศการ แนะแนวการศึ ก ษาคณะต่ า งๆ ของ มหาวิทยาลัย

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 35


เอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กำ�หนดออกเป็นประจำ�ทุกสองเดือน จัดทำ�โดย งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : 15 ถนนกาญจนวนิช อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทร. 0-7455-8959 http://www.psu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.