สารม.อ. ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

Page 1

ม.อ.

สาร

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

www.psu.ac.th

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือน สิงหาคม - กันยายน 2555

เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ โปรดเกล้าฯ ให้ผู้บริหาร นักศึกษา เฝ้าฯ ในงาน “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 5.... 16 เน้น 4 ยุทธศาสตร์ พัฒนา ม.อ. ปี 55-58 “มั่นคง ม.วิจัย PSU System และพร้อมสู่ AEC”.... 4 ม.อ. ชนะเลิศนำ�เสนองานวิจัยผ่านนิทรรศการ ในงาน

Thailand Research Expo 2012 ติดต่อเป็นปีที่ 2..... 18 สองอดีตผู้น�ำ เชื่อการเจรจาจะลดความขัดแย้ง

ชูวิธีการของอาเซียนควรเป็นตัวอย่าง ให้ภูมิภาคอื่น.... 32


รางวัลแห่งคุณภาพ

ผศ.ดร.อัญชนา

จากหน่วยวิจัยสาหร่ายและหญ้าทะเล

รับรางวัล 2012 MAB Young Scientists Awards ของยูเนสโก ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อัญชนา ประเทพ สังกัดหน่วยวิจยั สาหร่ายและหญ้าทะเล สถานวิจัยความหลากหลายของคาบสมุทรไทย คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ รั บ รางวั ล นั ก วิ ท ยาศาสตร์ รุ ่ น ใหม่ โครงการมนุ ษ ย์ แ ละชี ว มณฑลของ ยูเนสโก (MAB) ประจ�ำปี 2555 (2012 MAB Young Scientists Awards) จากการทุ่มเทในการท�ำงานในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา เพื่อ วิจัยเพื่อองค์ความรู้พื้นฐานและสร้างเครือข่ายการวิจัยและถ่ายทอด องค์ความรู้ให้แก่ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการท�ำวิจัยร่วมกับ หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ รวมไปถึงการเป็นเจ้าภาพจัด ประชุมวิชาการหญ้าทะเลของโลกในปี ค.ศ.2010 และได้พฒ ั นาโจทย์วจิ ยั ที่น่าสนใจเป็นประโยชน์ต่อประชาคมโลกและชุมชน รางวัล “นั ก วิ ท ยาศาสตร์ รุ ่ น ใหม่ โครงการมนุ ษ ย์ แ ละ ชีวมณฑลของยูเนสโก” จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้ นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ (อายุไม่เกิน 40 ปี) ได้ใช้งานวิจัย สถานที่ และ เขตสงวนชีวมณฑลในการวิจัยและฝึกอบรม ได้ศึกษาเปรียบเทียบกับ สถานที่อื่นทั้งในและนอกประเทศของตน เพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยน ข้อมูล/ประสบการณ์ในหมูน่ กั วิทยาศาสตร์รนุ่ ใหม่ โดยต้องท�ำงานวิจยั ให้ แล้วเสร็จภายใน 2 ปี และส่งรายงานการวิจัยให้ส�ำนักเลขาธิการ MAB รวมทั้งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยมนุษย์และชีวมณฑลของประเทศ ตน และยินยอมให้ยูเนสโกจัดพิมพ์ผลงานวิจัยด้วย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อั ญ ชนา ประเทพ จะได้รับ มอบหมายจากยูเนสโกให้ดำ� เนินการท�ำงานวิจยั เรือ่ ง Seagrass bed as a Carbon Sink in Ranong Biosphere Reserve and Trang-Haad Chao Mai Marine National park; an important role of seagrass ซึ่งจะท�ำการศึกษาวิจัยเพื่อหาความสามารถในการดูดซับและสะสม คาร์บอนของหญ้าทะเลเพื่อช่วยลดปัญหาโลกร้อน โดยจะท�ำการศึกษา ในพื้ น ที่ เ ขตสงวนชี ว มณฑลระนองเปรี ย บเที ย บกั บ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ

2:

PSU

สาร ม.อ.

หาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง โดย พื้ น ที่ เ ขตสงวนชี ว มณฑล ระนองนั้นจัดได้ว่าเป็นพื้นที่ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ของระบบ นิ เ วศป่ า ชายเลนที่ ส� ำ คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของโลก และมี หญ้าทะเลกระจายตัวและ ไม่ ไ ด้ ถู ก รบกวนมากนั ก ใ น ข ณ ะ ที่ พื้ น ที่ อุ ท ย า น แห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง เป็นพื้นที่ที่มีหญ้าทะเลขึ้น อยู่จ�ำนวนมากถึง 10 ชนิด จาก 12 ชนิด ทีไ่ ด้รายงานไว้ในประเทศไทยขณะนี้ และยังจัดเป็นผืนหญ้า ทะเลทีใ่ หญ่และส�ำคัญมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของประเทศ ทัง้ ยังเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย ของพะยูน ซึ่งพบเพียงแห่งเดียวของประเทศ และได้ขึ้นทะเบียนเป็นสัตว์ ที่ใกล้สูญพันธ์ุอีกด้วย การศึกษาครัง้ นีจ้ ะท�ำการศึกษาความสามารถในการใช้และสะสม คาร์บอนของหญ้าทะเลแต่ละชนิด และประเมินปริมาณคาร์บอนที่สะสม อยู่ในหญ้าทะเลแต่ละชนิด รวมไปถึงส่วนต่าง ๆ ของหญ้าทะเลในพื้นที่ ดังกล่าว โดยการศึกษาเรื่องของคาร์บอนในแนวหญ้าทะเลนั้นยังถือได้ ว่าเป็นเรื่องใหม่และมีความจ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างยิ่งในภาวะปัจจุบัน อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศโลก ส�ำหรับประเทศไทยนั้น ถูกจัดว่าเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลาย ทางชีวภาพของหญ้าทะเลเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่การศึกษาวิจยั และ การตืน่ ตัวเรือ่ งของโลกร้อน รวมไปถึงศักยภาพ ความส�ำคัญของหญ้าทะเล นั้นยังคงมีอยู่น้อยมาก ท�ำให้ทางหน่วยวิจัยได้รับการสนับสนุนและได้รับ รางวัลจาก UNESCO MAB Program ประจ�ำปี ค.ศ.2012

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


ม.อ.

ส า ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

สาร

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

www.psu.ac.th

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือน สิงหาคม - กันยายน 2555

เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ภารกิจของมหาวิทยาลัยให้กับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื​ื่อสร้างความเข้าใจที่จะทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จัก มหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจำ�ภารกิจของสถาบัน

ส ารบั ญ ร อ บ รั้ ว ศ รี ต รั ง เน้น 4 ยุทธศาสตร์ พัฒนา ม.อ. ปี 55-58 “มั่นคง ม.วิจัย PSU System และพร้อมสู่ AEC”................................ 4-5 สถาปัตย์ ม.อ.ตรัง จัดพิธีศิลป์จุ่มไหว้ครูช่าง......................................... 10 เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ โปรดเกล้าฯ ให้ผู้บริหาร นักศึกษา เฝ้าฯ ในงาน “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 5.......................... 16-17

ร า ง วั ล แ ห่ ง คุ ณ ภ า พ ผศ.ดร.อัญชนา จากหน่วยวิจัยสาหร่ายและหญ้าทะเล รับรางวัล 2012 MAB Young Scientists Awards ของยูเนสโก............................. 2 การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ “กระดาษจาก” ม.อ.ตรัง คว้า 3 รางวัล จากการประกวด SIFE National Exposition 2012........................... 6-7 “ไมตรี นวลพลับ” คณะวิทย์ รับรางวัล TEQ Award ปี 55 ในฐานะพนักงานเลี้ยงสัตว์ทดลองที่มีคุณภาพ....................................... 11 ม.อ. ชนะเลิศนำ�เสนองานวิจัยผ่านนิทรรศการ ในงาน Thailand Research Expo 2012 ติดต่อเป็นปีที่ 2......................... 18-19 ศาสตราจารย์ นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” ปี 54 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ของ ปอมท. ...................................... 34 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คว้า 2 รางวัล Best Paper Award................ 35

สู่ สั ง ค ม / ชุ ม ช น พยาบาล ม.อ. พัฒนาเกมส์และกิจกรรมส่งเสริมความจำ�... ชะลออัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุ.................................................................... 8-9 ม.อ. ปัตตานี ลงเกาะบุโหลน วางรากฐาน “การพัฒนาชุมชนโดยชุมชน”................................................................... 14 ม.อ. หวังลดผลกระทบน�้ำท่วม เติมความรู้ “หลักการจัดการลุ่มน�้ำ” สู่ชุมชน................................................................................................... 28-29

วิ จั ย เภสัชฯ ม.อ. ใช้ “แสงซินโครตรอน” พัฒนาแป้งจากเมล็ดมะขาม ส�ำหรับระบบน�ำส่งยา........................................................................... 12-13 วิศวฯ ม.อ. พัฒนาระบบตรวจสอบป้ายทะเบียนรถยนต์ ราคาถูกประสิทธิภาพสูง ลดความเสี่ยงในการตรวจยานพาหนะ............... 24-25 มูลนิธิชัยพัฒนา หนุนศึกษาวิจัย ศูนย์รวบรวมปาล์มน�้ำมัน ดึง ม.อ. - วิทยาลัยเกษตรตรัง ร่วมเสริมศักยภาพโครงการ...... 30-31

ก า ร ศึ ก ษ า ม.อ. เปิดโลกการศึกษา จัดตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 16 ...................................................................................................................... 22 ม.อ. เล็งเปิดหลักสูตรร่วมประเทศเพื่อนบ้าน เพิ่มโอกาสบัณฑิต เจาะตลาดแรงงานในอาเซียน............................................................ 26-27

สู่ ค ว า ม เ ป็ น น า น า ช า ติ สองอดีตผู้น�ำ เชื่อการเจรจาจะลดความขัดแย้ง ชูวิธีการของอาเซียนควรเป็นตัวอย่างให้ภูมิภาคอื่น........................ 32-33

แ น ะ นำ � บุ ค ค ล ระเบียบ จิตเกื้อ ประธานศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและ ฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ม.อ. ได้รับคัดเลือกเป็นสตรีดีเด่น........................ 23

ล ง น า ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เภสัช ม.อ.- ซาโนฟี่ ลงนามร่วมมือทางวิชาการและวิจัย พัฒนาเภสัชฯ วิชาชีพ พร้อมรับการเปิดเสรี AEC................................. 15

บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ม.อ. โชว์ความเป็นเลิศ จัดกิจกรรม “ม.อ.วิชาการ” ปี 55.......... 20-21

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:3


รอบรั้วศรีตรัง

เน้น 4 ยุทธศาสตร์ พัฒนา ม.อ. ปี 55-58

“มั่นคง ม.วิจัย PSU System และพร้อมสู่ AEC” สภามหาวิ ท ยาลั ย รั บ ทราบแผนพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ในอีก 4 ปี ทีจ่ ะเน้นความมัน่ คงด้านคุณภาพวิชาการ การเงิน การวิจัย เชื่อมโยงภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความ สัมพันธ์ระหว่างวิทยาเขต ชุมชนภายนอก และพร้อมสู่การเป็นผู้น�ำ ทางวิชาการระดับต้นของอาเซียน โดยขอให้น�ำความส�ำเร็จทาง วิชาการสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน และเตรียมพร้อมส�ำหรับการ สร้างบัณฑิตที่มีภาวะผู้น�ำควบคู่คุณภาพวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ น�ำเสนอแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2555-2558 ต่อสภา มหาวิทยาลัย เมื่อ 14 กรกฎาคม 2555 โดย วาง 4 ยุทธศาสตร์หลักเพื่อน�ำมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์สู่ความเป็นมหาวิทยาลัย ชัน้ น�ำในระดับภูมภิ าคเอเชีย ภายใต้พนั ธกิจ การพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ให้ เ ป็ น สั ง คม ฐานความรู้ บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรมและ หลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยสามารถเข้าถึง ความรู ้ ใ นหลากหลายรู ป แบบ การสร้ า ง ความเป็ น ผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการในสาขาที่

4:

PSU

สาร ม.อ.

สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต้ และเชือ่ มโยงสูเ่ ครือข่ายสากล และประยุกต์ ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ การปฏิบัติ เพื่อสร้างปัญญา คุณธรรม และโลกทัศน์ สากลแก่บัณฑิต ส�ำหรับ 4 ยุทธศาสตร์หลักดังกล่าว คือ ยุทธศาสตร์ฐานมหาวิทยาลัยที่ มั่ น คง ที่ เ ป็ น การจั ด ระบบการบริ ห าร งบประมาณและการจั ด หารายได้ แ ละ ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยให้มีเสถียรภาพ ทางการเงินในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เชิงรุกในการพัฒนามหาวิทยาลัย การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะสายวิชาการให้

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

มีศักยภาพ พร้อมต่อการพัฒนางานวิจัย บัณฑิตศึกษาและนานาชาติ และยกระดับ คุณภาพงานและการพัฒนาในทุกมิติให้มี มาตรฐาน เหนือการก�ำกับด้วยระบบเกณฑ์ คุณภาพและการประเมินองค์กรในรูปแบบ ต่างๆ ยุทธศาสตร์ภารกิจทีเ่ ชือ ่ มโยง เป็นระบบทีท่ รงประสิทธิภาพ ทีเ่ น้นการ เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยที่เชื่อมโยงกับระบบ บัณฑิตศึกษาที่เข้มแข็ง เพื่อพัฒนางานวิจัย และผลงานนวัตกรรมแข่งขันทัง้ ในระดับชาติ และนานาชาติ การตอบโจทย์เชิงบูรณาการ ที่ ห ลากหลายของประเทศและยกระดั บ ศักยภาพของชุมชน การมุ่งสร้างบัณฑิตที่มี ส�ำนึกสาธารณะและภูมิใจในความเป็นไทย แต่คงไว้ซึ่งคุณภาพและสมรรถนะในการ เข้าสู่ตลาดงานสากล จะมีการพัฒนาระบบ การเผยแพร่วชิ าการออกสูช่ มุ ชนอย่างทัว่ ถึง และด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อ ยกระดับความเข้มแข็งของชุมชน และจะ ท�ำนุบ�ำรุง เสริมสร้างคุณค่าแห่งวัฒนธรรม และปลู ก ฝั ง ส� ำ นึ ก ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ใ ห้ แ ก่ นักศึกษาและประชาชน


ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร บ ริ ห า ร มหาวิ ท ยาลั ย และระบบวิ ท ยาเขต เป็นการบริหารมหาวิทยาลัยในรูปแบบของ “ระบบมหาวิ ท ยาลั ย หลายวิ ท ยาเขต” หรือ PSU System เพื่อพัฒนาสู่องค์กร สมรรถนะสูง มีการบริหารจัดการเชิงรุกที่มี ประสิทธิภาพ และสามารถปรับตัวได้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลง สร้างระบบนิเวศแวดล้อม ในมิติมหาวิทยาลัยสีขาว วิทยาเขตสีเขียว และระบบนิเวศที่เอื้อต่อความส�ำเร็จอย่าง ยั่ ง ยื น ในบทบาทของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา มี ก ารพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สู ่ ก ารเป็ น e-university เพื่อให้การด�ำเนินภารกิจเป็น ไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และเข้าถึงได้อย่าง ไม่จ�ำกัด รวมทั้งสามารถรองรับระบบนิเวศ ทางปั ญญาและการเรียนรู้ การตัดสินใจ ทางการบริหารเชิงรุก และจะเน้นการสร้าง ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับเครือข่ายทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อร่วมกัน ท� ำ งานอย่ า งเกื้ อ กู ล และพร้ อ มต่ อ การ สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ยุ ท ธศาสตร์ ก ้ า วสู ่ ค วามเป็ น สากล/นานาชาติ จะมี ก ารพั ฒ นา มหาวิทยาลัยสู่การเป็น Education hub ภายใต้ภาวะการเปิดเสรีของอาเซียน และ เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการ ศึกษาให้เป็นสากล ด้วยการส่งเสริมและ พัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ ส่ ง เสริ ม ให้ นั ก วิ ช าการผลิ ต ผลงานทาง วิชาการระดับนานาชาติอย่างมีคณ ุ ภาพ เพิม่ การเปิดหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา จะมีการพัฒนาหลักเกณฑ์ และระบบการรับนักศึกษาชาวต่างประเทศ และการจั ด หาจั ด จ้ า งบุ ค ลากรชาวต่ า ง ประเทศ พร้ อ มกั บ ปรั บ ระบบสนั บ สนุ น ทางการศึกษาและโครงสร้างพื้นฐานทาง กายภาพให้ ร องรั บ ต่ อ การเข้ า ศึ ก ษาของ

นักศึกษาต่างชาติ รวมทั้งมุ่งสร้างพันธมิตร ในการพัฒนาร่วมกันในระดับภูมิภาคเอเชีย เพื่ อ การเป็ น ผู ้ น� ำ ในประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน กรรมการสภามหาวิทยาลัยมีความ เห็นว่า แผนพัฒนามหาวิทยาลัยดังกล่าวจะ ท�ำให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สามารถ พัฒนาคุณภาพได้ในทุกด้าน และจะท�ำให้ ท้องถิ่นประเทศชาติได้มีการพัฒนาขึ้นด้วย เพราะความส�ำเร็จจากการเปลีย่ นแปลงเพือ่ การพัฒนาใดๆ ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับสถาบัน การศึกษามากกว่ามาจากรัฐบาล และควรมี แผนทีจ่ ะน�ำวิชาการเพือ่ พัฒนาท้องถิน่ อย่าง ยั่งยืน โดยการเพิ่มศักยภาพให้องค์กรภาค เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม มหาวิทยาลัยทีอ่ ยูใ่ นส่วนภูมภิ าคจะ ต้องมีพนั ธกิจในการดูแลท้องถิน่ ทีต่ งั้ ของตน

ให้มกี ารพัฒนา ก่อนทีจ่ ะเข้าสูก่ ารแข่งขันใน ระดั บ สากล อย่ า งไรก็ ต ามยั ง ต้ อ งมี ก าร พั ฒ นาทางวิ ช าการให้ เ ข้ ม แข็ ง ยิ่ ง ขึ้ น อี ก เพราะยังมีมหาวิทยาลัยในอาเซียนหลาย แห่งน�ำหน้าอยู่ สิ่งหนึ่งที่มหาวิทยาลัยควรก�ำหนด ไว้ ใ นวิ สั ย ทั ศ น์ คื อ การพั ฒ นาทรั พ ยากร มนุษย์ให้มีภาวะผู้น�ำ ที่นอกจากจะมีความ สามารถทางด้านวิชาการและการจัดการ แล้ว ต้องมีความรู้เรื่องวัฒนธรรมองค์กร การเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความมี โลกทัศน์ และความสามารถในการแก้ไข ปัญหาได้อย่างยัง่ ยืน ควรกระตุน้ ให้บคุ ลากร ในมหาวิทยาลัยได้มีโอกาสสร้างคุณค่าทั้ง จากสิ่งที่มีอยู่แล้ว มีการคิดใหม่ท�ำใหม่ และ การใช้ความหลากหลายสร้างให้เกิดคุณค่า ขึ้น

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:5


รางวัลแห่งคุณภาพ

การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ “กระดาษจาก” ม.อ.ตรัง คว้า 3 รางวัล จากการประกวด SIFE National Exposition 2012

ความส�ำเร็จของ “โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนกระดาษจาก” ในพื้นที่ชุมชน “บ้านนายอดทอง” ต�ำบลวังวน อ�ำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ส่งผลให้ทีม SIFE PSU Trang ซึ่งเป็นกลุ่มนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง คว้า 3 รางวัลจากการประกวดผลส�ำเร็จ โครงการพัฒนาชุมชนของสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย SIFE (Students in Free Enterprise) เพือ่ คัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในระดับนานาชาติ ซึ่งมีการตัดสินเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคมที่ผ่านมา

6:

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

โดยรางวัลที่ได้รับทั้ง 3 รางวัลคือ รางวัลโครงการดีเด่นระดับภาคใต้ ซึง่ พิจารณา จากความเป็นไปได้ เป็นนวัตกรรมใหม่และ ชุมชนให้การตอบรับดี โล่รางวัลรองชนะเลิศ ประจ�ำสายที่ 1 และ โล่รางวัลอาจารย์ทปี่ รึกษา โครงการฯ และทีป่ รึกษาชุมชนดีเด่น พิจารณา จากการให้การปรึกษานักศึกษาในโครงการฯ การให้ค�ำปรึกษาชุมชน และผลโครงการที่มี แนวโน้มประสบความส�ำเร็จอย่างรวดเร็ว โดย โครงการนี้มีอาจารย์ณฐ ย่าหลี จากสาขาวิชา ภาษา และ อาจารย์ธิดากาญจน์ ศิษฎิโกวิท จากสาขาวิ ช าการจั ด การธุ ร กิ จ คณะ พาณิชยศาสตร์และการจัดการ เป็นที่ปรึกษา “โครงการส่ ง เสริ ม ผลิตภัณฑ์ ชุมชนกระดาษจาก บ้านนายอดทอง” เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจากผลงานวิจัย การ แปรรู ป “จาก” ให้ เ ป็ น กระดาษ ในชื่ อ “กระดาษจาก” เพือ่ เป็นผลิตภัณฑ์ตงั้ ต้นของ กระดาษท�ำมือในภาคใต้ ของบัณฑิตอาสา ม.อ. ปี 2553 ซึ่งชมรม SIFE PSU Trang ได้เล็งเห็น ถึงความเป็นไปได้ในส่งเสริมพัฒนา และต่อยอด


ความต้องการของชุมชนซึ่งมีเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จึงได้ด�ำเนินการ รือ้ ฟืน้ ส่งเสริมพัฒนาผลิตภัณฑ์ในรูปลักษณ์ใหม่ให้เห็นเป็นรูปธรรม ได้จัดท�ำแผนกลยุทธ์ทางการตลาดที่สามารถตอบโจทย์ผู้บริโภค แผนพัฒนาชุมชน “นายอดทองโมเดล” ที่ชัดเจน คือ “ระยะสั้น 1 ปี ท�ำให้ดู” “ระยะกลาง 2 ปี ท�ำด้วยกัน” และ “ระยะยาว 3 ปี ท�ำด้วยตนเอง” โดยจะพัฒนากระบวนการผลิต ให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เพื่อความยั่งยืนของชุมชน วันที่ 28-30 กรกฎาคม 2555 “โครงการส่งเสริม ผลิตภัณฑ์ชุมชนกระดาษจาก” โดยชมรม SIFE PSU Trang ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนภาคใต้ ในการประกวด SIFE National Exposition 2012 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร โดยมี โนญี ฮ า บู ดิ ง ประธานโครงการ มุ ณี ร า อั บ ดุ ล กะเดช รองประธาน และกรรมการ ประกอบด้วย กาญจน์ สินทรัพย์, อานันท์ สุหลง, อรรัตน์ รัตนรัตน์, กิตติยา รัตนไพร, ภูษณิศา ทิวแพ, นิวัฒน์ วงศกรทอง, กมล แซ่อ๋อง, สุรเดช ปาเต๊ะ, ฉัตรบดินทร์ ครชาตรี, สถาพร ทดแทน และ ซอลาฮุดดีน แวสะมะแอ คณะพาณิชยศาสตร์ และการจัดการ “โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนกระดาษจาก บ้านนายอดทอง” นับเป็นอีกหนึง่ ในกิจกรรมทีส่ อื่ ถึงความส�ำเร็จ ของ “PSU System” หรือระบบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ บูรณาการความรูท้ างวิชาการของต่างคณะ ต่างวิทยาเขต เพือ่ ให้เกิด ประโยชน์แก่ชุมชนท้องถิ่น โดยโครงการนี้เริ่มต้นจากการเข้าพื้นที่ ตามโครงการบัณฑิตอาสารุ่นที่ 5 ของ “ผกามาศ ทองค�ำ” ศิ ษ ย์ เ ก่ า สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ โ พลิ เ มอร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทีม่ องว่าคนในพืน้ ที่ จ�ำนวนมากมีอาชีพลอกใบจากและแปรรูปผลิตภัณฑ์กา้ นจาก ท�ำให้

แต่ละเดือนต้องน�ำเข้าใบจากจ�ำนวนมาก และสุดท้ายมักถูกทิง้ อยูข่ า้ งบ้าน ริมทาง หรือในคูคลอง แต่ “ขยะทางจาก” เหล่านี้เป็นแหล่งอาศัยของ สัตว์มีพิษ เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ หรือไปกีดขวางการจราจรทางเรือของ ชาวประมงในชุมชน เป็นโจทย์ที่เป็นทั้งปัญหาให้แก้และเป็นการสร้าง โอกาสในขณะเดียวกัน ด้วยความรู้ที่ได้ร�่ำเรียนมาจากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์โพลิเมอร์ ท�ำให้ “ผกามาศ ทองค�ำ” เริ่มวิเคราะห์ว่าทางจากเหล่านี้มีคุณสมบัติ ที่เหมาะสม สามารถแปรรูปเป็นกระดาษได้เช่นเดียวกับกระดาษสา หรือ กระดาษจากเส้นใยสับปะรด จึงร่วมกับแกนน�ำของชุมชน ทดลองแปรรูป ทางจากเป็นกระดาษจนส�ำเร็จ น�ำไปสูก่ ารเพิม่ มูลค่าเศษวัสดุเหลือใช้จาก กระบวนการผลิตเชิงพาณิชย์ของชุมชน โดยในขัน้ ต้นได้พฒ ั นาและแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากกระดาษทางจากในรูปแบบต่างๆ อาทิ กระดาษทางจาก ส�ำเร็จรูป ดอกไม้ประดิษฐ์ กล่องกระดาษช�ำระ กล่องดินสอ และพวงหรีด เป็นต้น 2 ปีที่ผ่านมา “กลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากกระดาษทางจาก บ้านนายอดทอง” ประสบปัญหากับเรื่องกระบวนการผลิตที่เป็น ข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงานของกลุม่ ฯ เนือ่ งจากทางกลุม่ ฯ ขาดความพร้อม ด้ า นวิ ช าการและอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ น�ำ มาใช้ ในกระบวนการผลิ ต ของกลุ ่ ม ฯ ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จึงได้จดั สร้างเครือ่ งรีดทางจากและเครือ่ งตีเยือ่ กระดาษ ให้แก่ชมุ ชนในลักษณะการบริการวิชาการแบบให้เปล่า เพือ่ เป็นการแก้ไข ปัญหาทีต่ รงกับความต้องการของชุมชนหรือสังคม และเป็นการสร้างความ สัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนต้นแบบของคณะ เมื่อวิทยาเขตตรังเริ่มเปิดหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์ จึงน�ำ ไปสู่การร่วมกันคิดค้นออกแบบต่อยอดกระดาษจาก ให้เกิดผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ในรูปแบบของบรรจุภัณฑ์ การ์ด โคมไฟ เพื่อช่วยให้ชุมชนได้ขยาย ช่องทางการจ�ำหน่าย และเพิม่ มูลค่าของสินค้าให้มากขึน้ ด้วย ซึง่ เป็นส่วน หนึ่งในการช่วยยกระดับหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์สู่การเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปมากขึ้น “โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชมุ ชนกระดาษจาก” จึงเป็น โครงการที่ เ ริ่ ม ต้ น จากบั ณ ฑิ ต คณะวิ ท ยาศาสตร์ สนั บ สนุ น อุ ป กรณ์ เครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ รือ้ ฟืน้ ส่งเสริมพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้เห็นเป็นรูปธรรม และจัดท�ำแผนกลยุทธ์ทางการตลาด โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ และต่อยอดคิดค้นออกแบบให้ เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และเป็นอีกโครงการ หนึ่งที่ประสบความส�ำเร็จจากการเข้าถึงชุมชนของคณะที่เปิดสอนใน ศาสตร์ที่ต่างกัน ด้วยระบบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือ “PSU System” PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:7


สู่สังคม/ชุมชน

พยาบาล ม.อ. พัฒนาเกมส์และ กิจกรรมส่งเสริมความจ�ำ...

ผศ.ดร.เพลินพิศ ฐานิวฒ ั นานนท์ ผศ.ดร.วิภาวี คงอินทร์ และ ผศ.ดร. บุศรา หมืน่ ศรี ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพและฟืน้ ฟู สภาพผู้สูงอายุ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ท�ำการวิจัยเรื่องการพัฒนา กิจกรรมส่งเสริมความจ�ำแบบมีส่วนร่วมใน ผู้สูงอายุ และได้รับรางวัลน�ำเสนอผลงานวิจัย ดีเด่น ในการประชุมวิชาการผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 ประจ� ำ ปี 2555 เรื่ อ ง “งานวิ จั ย และ นวัตกรรมด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ” โดย ศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้ สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 19-20 กรกฎาคม 2555 9 กิจกรรมทีส่ ามารถพัฒนาทักษะทาง ด้านความจ�ำของผู้สูงอายุ ที่พัฒนาและน�ำ มาใช้โดยทีมวิจัยร่วมกับนักศึกษาปริญญาโท

ชะลออัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุจะพบการสูญเสียความจ�ำร้อยละ 20-40 ของความจ�ำเดิมและ พบว่าความจ�ำบกพร่องมากขึน้ เมือ่ อายุเพิม่ ขึน้ ก่อให้เกิดปัญหาหากไม่ได้ปอ้ งกัน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้พัฒนากิจกรรมส่งเสริม ความจ�ำแบบมีสว่ นร่วมในผูส้ งู อายุ 9 กิจกรรม เพือ่ ใช้เป็นต้นแบบการจัดกิจกรรม ในชมรมผู้สูงอายุที่นับวันจะเพิ่มจ�ำนวนสมาชิกมากขึ้น ด้วยการท�ำให้ผู้สูงอายุมี การบริหารสมองด้วยกิจกรรมการเล่นเกมส์ตา่ งๆ โดยการกระตุน้ การใช้ความคิด การทีไ่ ด้ขบคิด มีการฝึกทบทวนและฝึกระลึกถึงอย่างสม�ำ่ เสมอต่อเนือ่ ง ช่วยท�ำให้ มีการรับรู้และสามารถที่จะปรับปรุงความจ�ำให้ดีขึ้น หลงลืมช้าลง

8:

PSU

ผศ.ดร.เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์ ได้แก่ การร้องเพลง เกมส์นักร้องพันหน้า สุภาษิตหรรษา ละครชีวิต สถานที่ส�ำคัญไฉน กล่องปริศนา เกมส์ซโู ดกุ กลิน่ สือ่ สัมพันธ์ และ เล่าเรื่องจากการอ่าน จากการเพิ่มจ�ำนวนและสัดส่วนของ ประชากรผู้สูงอายุ ท�ำให้โครงสร้างของสังคม ไทยเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุทเี่ พิม่ จ�ำนวนและอายุ ยืนยาวขึน้ น�ำมาซึง่ ปัญหาความเจ็บป่วยเรือ้ รัง และหนึ่งในนั้นคือภาวะสมองเสื่อม ซึ่งเป็น กลุ่มอาการที่เกิดจากการสูญเสียหน้าที่ของ สมองหลายด้านพร้อมกันอย่างช้าๆ แต่ถาวร ส่งผลให้ผปู้ ว่ ยสูญเสียความสามารถในการท�ำ กิจวัตรประจ�ำวัน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 60 ปีขนึ้ ไปจะเกิดภาวะสมองเสือ่ มร้อยละ 1 และ เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในทุกอายุที่เพิ่มขึ้น 5 ปี

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


จนกลายเป็นมากกว่าร้อยละ 30 ในผู้สูงอายุ 85 ปีขึ้นไป การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ปั จ จั ย เสี่ ย งและ สาเหตุของภาวะสมองเสื่อมพบว่าการสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และรูปแบบ การใช้ชวี ติ ทีเ่ คร่งเครียด ขาดการเข้าร่วมสังคม ขาดการออกก�ำลังกาย เป็นปัจจัยเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ ของการเกิดภาวะสมองเสื่อม โดยเฉพาะการ เกิดอัลไซเมอร์ ซึ่งเป็นอาการสมองเสื่อมที่พบ บ่อยและไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ผศ.ดร.เพลินพิศ ฐานิวฒ ั นานนท์ หัวหน้าโครงการวิจัยกล่าวว่า ศูนย์ส่งเสริม สุ ข ภาพและฟื ้ น ฟู ส ภาพผู ้ สู ง อายุ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริม่ เปิดให้บริการสร้างเสริมสุขภาพแก่ผสู้ งู อายุ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 และใช้เป็นแหล่งฝึกภาค ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพส� ำหรับนักศึกษา พยาบาล และยังเป็นแหล่งศึกษาดูงานของ ชมรมผู้สูงอายุทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบัน มีสมาชิกผู้สูงอายุมารับบริการวันละ 80-100 คน กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพทีด่ ำ� เนินการ อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ บริการตรวจสุขภาพ เช่น ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต และ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพ จั ด กิ จ กรรม การออกก�ำลังกาย ได้แก่ ไทเก็ก แอโรบิก ร�ำกระบอง รวมทั้งกิจกรรมสันทนาการและ จัดให้ความรูใ้ นชุมชนเกีย่ วกับการดูแลผูส้ งู อายุ ทีบ่ า้ น เปิดบริการสัปดาห์ละ 3 วัน ในช่วงเวลา 7.30 - 12.00 น. หนึ่งในสี่ของผู้สูงอายุที่มารับบริการที่ ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพฯ พบว่า มีอายุมากกว่า 75 ปีขึ้นไป และสองในสามของสมาชิกผู้สูงอายุ ต้องดูแลตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงมากต่อการเกิดภาวะสมอง เสื่อม

ทีมวิจยั ซึง่ รับผิดชอบสอนรายวิชาการ พยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ได้สนับสนุนให้นักศึกษาปริญญาโท สาขาการ พยาบาลผูใ้ หญ่ จ�ำนวน 10 คน เป็นผูอ้ อกแบบ เกมส์ แ ละกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ความจ� ำ และ ผ่านการมีส่วนร่วมให้ข้อคิดเห็นจากแกนน�ำ ผู ้ สู ง อายุ และน� ำ ไปใช้ กั บ สมาชิ ก ผู ้ สู ง อายุ จ�ำนวน 80 คน ที่อายุ 60 ปีขึ้นไป ซึ่งมา รับบริการ ณ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟู สภาพผูส้ งู อายุ ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมความจ�ำ ที่พัฒนาขึ้น 9 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการ ร้องเพลง เกมส์นกั ร้องพันหน้า สุภาษิตหรรษา ละครชีวิต สถานที่ส�ำคัญไฉน กล่องปริศนา เกมส์ซูโดกุ กลิ่นสื่อสัมพันธ์ และเล่าเรื่องจาก การอ่าน กิจกรรมทีพ่ ฒ ั นาทักษะความจ�ำ ได้แก่ 1. การคิดค�ำนวณโจทย์คณิตศาสตร์แบบง่าย ใช้ เ ทคนิ ค และทั ก ษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการเล่น เช่น การบวก ลบ ตัวเลข จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน ของสมอง 2. การจัดระเบียบของข้อมูลผ่าน กระบวนการกลุ่มขณะท�ำกิจกรรม ช่วยให้คิด เป็นระบบ จะท�ำให้จ�ำได้ง่ายขึ้น 3. กิจกรรม ส่งเสริมการเชือ่ มโยงและการหาความสัมพันธ์ เช่น การนึกถึงสถานที่หรือบุคคล 4. การสร้าง จินตนาการและความเกี่ยวข้องเพื่อเสริมสร้าง ความจ�ำ เป็นการอธิบายเรือ่ งราวด้วยภาพหรือ การแสดงละครในกิ จ กรรมละครชี วิ ต การ ฝึ ก ฝนทั ก ษะการจดจ� ำ ภาพพร้ อ มเรื่ อ งราว เป็นการฝึกให้ผู้สูงอายุมีจิตใจที่เป็นสมาธิ มี ความสุขในสิ่งที่เล่น ฝึกจิตใจให้ละเอียดอ่อน ฝึกประสาทสัมผัสให้เชือ่ มโยงระหว่างประสาท สัมผัสทั้ง 5 กับความคิด นอกจากนี้ กิจกรรม สุภาษิต เป็นเทคนิคการใช้รหัสช่วยจ�ำ เพื่อ ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยงเพื่ อ ช่ ว ยในการล� ำ ดั บ กระบวนการจ�ำให้จดจ�ำข้อมูลได้ง่ายขึ้นและ สะดวก กิจกรรมส่งเสริมความจ�ำท�ำให้เกิดการ ท�ำงานประสานกันระหว่างสมองซีกซ้ายและ ขวา และการใช้สมองทั้งสองซีกเป็นประจ�ำ ท�ำให้มีการพัฒนาประสิทธิภาพของความจ�ำ มากขึ้น จากการเก็บข้อมูลในผู้สูงอายุ 51 คน พบว่าเป็นผูส้ งู อายุเพศชาย ร้อยละ 13.73 เพศ หญิง ร้อยละ 86.27 มีอายุเฉลี่ย 70.9 ปี และ เป็นกลุ่มอายุ 60-70 ปี ร้อยละ 54.9 รอง

ลงมาคือ กลุม่ อายุ 71-80 ปี ร้อยละ 31.4 และ กลุ่มอายุ 81 ปีขึ้นไป ร้อยละ 13.7 ระดับการ ศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุ ร้อยละ 35.3 ได้ศึกษา ในระดับชั้นประถมศึกษา และมีการศึกษา ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 29.4 ผลการคั ด กรองภาวะพุ ท ธิ ป ั ญ ญา บกพร่อง (cognitive impairment) ใน ผู้สูงอายุ พบว่า ผลตรวจปกติ (คะแนนเท่ากับ หรือมากกว่า 26) ร้อยละ 49.0 และกลุ่ม ผิดปกติ ร้อยละ 51 มีอายุเฉลี่ย 73.77 ปี และ ในกลุ่มที่มีคะแนนผิดปกติ จะพบว่าเป็นกลุ่ม อายุ 70-80 ปี มากที่สุด ร้อยละ 42.3 รอง ลงมาคือ กลุ่มอายุ 60-70 ปี มี ร้อยละ 38.5 ผลการประเมินความรู้เกี่ยวกับภาวะ สมองเสื่อมและการป้องกัน พบว่าร้อยละ 96 ของผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมมี ค วามรู ้ ผ ่ า นเกณฑ์ (ร้อยละ 60) และทั้งหมดมีความพึงพอใจใน ระดับดีถึงดีมากต่อการเข้าร่วมกิจกรรม อย่างไรก็ตามในช่วงทีด่ ำ� เนินโครงการ ได้เกิดปัญหาอุทกภัยรุนแรงในอ�ำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา ท� ำ ให้ ผู ้ สู ง อายุ ส ่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และ สุขภาพทั้งของสมาชิกเองและของลูกหลาน กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ความจ� ำ หยุ ด ชะงั ก ไป ประมาณ 1 เดือน เมื่อสามารถกลับมาออก ก�ำลังกายและจัดกิจกรรมได้ การติดตามภาย หลังการน�ำกิจกรรมมาใช้ 6 เดือน พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มผิดปกติมีคะแนนพุทธิปัญญา กลับมาเป็นปกติเพิ่มขึ้น 5 คน คิดเป็น 19% “การท�ำให้ผสู้ งู อายุมกี ารบริหารสมอง ด้ ว ยกิ จ กรรมการเล่ น เกมส์ ต ่ า งๆ โดยการ กระตุน้ ให้มกี จิ กรรมโดยเฉพาะในเรือ่ งของการ ใช้ความคิด การที่ได้ขบคิด มีการฝึกทบทวน และฝึกระลึกถึงอย่างสม�่ำเสมอต่อเนื่อง ช่วย ท� ำ ให้ มี ก ารรั บ รู ้ แ ละสามารถที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ความจ�ำให้ดีขึ้นกว่าเดิม และยังช่วยให้มีการ หลงลืมช้าลง การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม ความจ�ำในผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง จะสามารถ ป้องกันหรือชะลอกลุม่ อาการภาวะสมองเสือ่ ม ในผู้สูงอายุได้ และกิจกรรมส่งเสริมความจ�ำ ที่ พั ฒ นาขึ้ น สามารถใช้ เ ป็ น ต้ น แบบการจั ด กิ จ กรรมในชมรมผู ้ สู ง อายุ ที่ นั บ วั น จะเพิ่ ม จ�ำนวนสมาชิกผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 75 ปี ในชุมชนภาคใต้ได้ต่อไป” ผศ.ดร.เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์ กล่าว PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

:9


รอบรั้วศรีตรัง

สถาปัตย์ ม.อ.ตรัง จัดพิธศี ลิ ป์จมุ่ ไหว้ครูชา่ ง

คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง จัด พิธีศิลป์จุ่มไหว้ครูช่าง ส�ำหรับนักศึกษารุ่น แรกของคณะฯ จ�ำนวน 41 คน ที่เข้ามาศึกษา ในปีการศึกษา 2555 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2555 ด้วยความร่วมมือในการสร้างสีสันของ พิ ธี ก ารและขบวนแห่ จ ากนั ก ศึ ก ษาสาขา ศิ ล ปะการแสดง คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละ การจัดการ ซึง่ ผูท้ มี่ าเป็นเกียรติในพิธนี อกจาก จะมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์พักตรา คูบุรัตถ์ รองอธิการบดีวทิ ยาเขตตรัง รองศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ทฤษฎิคุณ อดีตอธิการบดีวิทยาเขต ตรัง และผู้บริหารในวิทยาเขตตรังแล้ว ยังได้ รับเกียรติจากคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิผู้เป็น กรรมการร่างหลักสูตรและเป็นอาจารย์พิเศษ เข้ า ร่ ว มพิ ธี ค รั้ ง นี้ เช่ น รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ สัจกุล อธิการบดีสถาบันอาศรมศิลป์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต นิตยะ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พิ ธี ศิ ล ป์ จุ ่ ม ถื อ เป็ น พิ ธี ก รรมอั น ส�ำคัญ เป็นเอกลักษณ์การแสดงความเคารพ การระลึ ก ถึ ง พระคุ ณ ของคณาจารย์ แ ละ สถาปนิกอาวุโส และการปวารณาตัวเข้าเป็น สถาปนิกที่ดีในอนาคต แสดงถึงความสามัคคี

10 :

PSU

สาร ม.อ.

กลมเกลียว ร่วมแรงร่วมใจในการสร้างสรรค์ สังคมวงการสถาปัตย์ที่ดีต่อไป ทั้งนี้ ส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมส�ำคัญที่เป็นที่น่าประทับใจ คือ การทีค่ ณาจารย์จบั มือศิษย์ทมี่ าร่วมพิธใี ห้เขียน ตัวหนังสือหรือภาพลงในสมุด เพื่อร�ำลึกถึง วันแรกๆ ของชีวิตที่เริ่มจับปากกาหัดวาดและ เขียน ซึง่ ช่วงเวลาดังกล่าวในอดีตต้องมีผอู้ าวุโส กว่าช่วยจับมือเขียนให้ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ พั ก ตรา คูบุรัตถ์ รองอธิการบดีวิทยาเขตตรัง กล่าว กั บ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ข องคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ ว ่ า นั ก ศึ ก ษาที่ ศึ ก ษาในศาสตร์ ข อง สถาปัตยกรรมไม่เพียงแต่เป็นคนใฝ่รู้เท่านั้น แต่ต้องมีความอดทน ขยันหมั่นเพียร และ ก้าวทันโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงทุกวัน รวมทั้ง ต้ อ งมี ค วามใส่ ใ จต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ แ ละใส่ ใ จ สิ่งแวดล้อมทั้งทางธรรมชาติและวัฒนธรรม มี จิตส�ำนึกที่ดีต่อสังคม มีความเข้าใจในความ หลากหลายของกลุ ่ ม คนอย่ า งลึ ก ซึ้ ง และ ยึ ด เหนี่ ย วจรรยาบรรณของวิ ช าชี พ ให้ เ ป็ น เหมือนคติในการด�ำเนินชีวิต รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ สัจกุล อธิการบดีสถาบันอาศรมศิลป์ และสถาปนิก ดีเด่นด้านสังคมและวัฒนธรรม ในวาระครบ รอบ 75 ปีสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวว่า สถาปัตยกรรมทุกท้องถิ่น

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

มีรูปแบบเฉพาะตัว ซึ่งเป็นสิ่งที่เราทุกคนต้อง เห็นคุณค่า และศึกษาให้ลึกซึ้งก่อนที่จะไป ศึกษาสิ่งดีๆ ของท้องถิ่นอื่น การเป็นเจ้าของ วัฒนธรรมต้องเป็นเจ้าของความรู้ที่เกี่ยวข้อง กับพื้นที่และวัฒนธรรมให้ได้ด้วย นักศึกษา สมัยนี้มักไม่มีความรู้เรื่องรากเหง้าของตนเอง ทั้ ง ที่ สิ่ ง นี้ เ ป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การศึ ก ษา สถาปัตยกรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเคย ตรัสถึงค�ำว่า “ภูมิสังคม” ซึ่ง “ภูมิ” หมายถึง “ที่” และ “สังคม” หมายถึง “วิถีชีวิต ความ เป็นอยู่ ประเพณี” สองค�ำนี้มีความหมาย ลึกซึง้ เป็นพืน้ ฐานของทุกศาสตร์ ทุกวันนีค้ วาม ล้มเหลวของการศึกษาในทุกสาขาเกิดจากการ มุ่งรับแต่ของต่างชาติ แต่ละทิ้งสิ่งดีที่เรามีอยู่ ความรู้ที่เกิดจากภูมิสังคมเป็นความรู้เบื้องต้น เป็ น ความรู ้ ข องเราเองที่ เ รากลั บ ทิ้ ง ไม่ เ ห็ น คุณค่า ไปเห็นคุณค่าของความรูม้ อื สองทีร่ บั มา จากภายนอก “เราต้องรูจ้ กั ตัวเองให้ดเี สียก่อน จึงจะ รับความรู้ของคนอื่นเข้ามา โดยรู้จักคัดกรอง เลือกเฉพาะสิ่งดี ต้องรู้จักเอาคุณค่าความดี ความงาม มรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษ สร้างไว้ให้เป็นประโยชน์ ก่อนจะขยายขอบข่าย การเรียนรู้ไปยังเรื่องของสถาปัตยกรรมใน พื้นถิ่นอื่นต่อไป เพื่อดูความเชื่อมโยง ความ เปลี่ ย นแปลง เพราะสถาปั ต ยกรรมมั ก มี รากเหง้ามาจากที่เดียวกัน เพียงแต่แตกสาขา ออกไปจากอิทธิพลภายนอกและภายใน และ สถานการณ์ในบ้านเมือง ถ้าเราเป็นเจ้าของ ความรู้ในพื้นที่ของเราอย่างลึกซึ้ง ใครก็จะเอา ความรู้ของเราไปไม่ได้ และต้องมาเรียนรู้จาก เราเท่านั้น” อธิการบดีสถาบันอาศรมศิลป์ กล่าว


รางวัลแห่งคุณภาพ

“ไมตรี นวลพลับ” คณะวิทย์ รับรางวัล TEQ Award ปี 55 ในฐานะพนักงานเลี้ยงสัตว์ทดลองที่มีคุณภาพ คณะกรรมการ แ ห ่ ง ช า ติ เ พื่ อ พั ฒ น า งานเลี้ ย งและใช้ สั ต ว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ส�ำนักงานคณะกรรมการ วิ จั ย แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ บริษัท ที อี คิว จ�ำกัด ได้ จัดให้มี “รางวัล ที อี คิว (TEQ Award) ประจ�ำปี 2555 ส�ำหรับพนักงานเลี้ยง สัตว์ทดลองดีเด่น” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้พนักงานเลี้ยงสัตว์ ทดลองตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการ ปฏิบตั งิ านในหน้าทีพ่ นักงานเลีย้ งสัตว์ทดลอง และกระตุ ้ น ให้ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการ ปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ และเพื่ อ ให้ ค ณะ กรรมการก�ำกับดูแลการเลีย้ งและใช้สตั ว์ของ สถาบันและผู้บริหารหน่วยงานตระหนักถึง ความส�ำคัญของพนักงานเลี้ยงสัตว์ทดลอง และให้ มี ก ารส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาพนั ก งาน เลี้ยงสัตว์ทดลองในหน่วยงาน ในปี นี้ คณะกรรมการได้ คั ด เลื อ ก นายไมตรี นวลพลั บ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน วิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ สั ง กั ด สถาบั น สั ต ว์ ท ดลองภาคใต้ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นพนักงาน เลี้ยงสัตว์ทดลองดีเด่น รับรางวัล ที อี คิว (TEQ Award) ประจ�ำปี 2555 เพื่อเป็นแบบ อย่างของการปฏิบตั งิ านและการประพฤติตน ในต�ำแหน่งพนักงานเลี้ยงสัตว์ทดลอง เพื่อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพของผลงาน โดยมี พิ ธี

มอบรางวัลเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัย จุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร นายไมตรี นวลพลับ ปัจจุบันอายุ 53 ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา ด�ำรงต�ำแหน่งปฏิบัติหน้าที่ดูแลการเลี้ยงสัตว์ทดลองอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 30 ปี นับตัง้ แต่หน่วยสัตว์ทดลองของมหาวิทยาลัยยังไม่มกี ารจัดการใดๆ จนถึงปัจจุบนั ซึง่ มีการ จัดการอย่างเป็นระบบ นายไมตรี นวลพลับ เป็นผู้ที่มีใจรักและภูมิใจในการท�ำหน้าที่พนักงานเลี้ยง สัตว์ทดลอง มีความขยัน อดทน มีความรับผิดชอบและเอาใจใส่ตอ่ งานในหน้าทีเ่ ป็นอย่าง สูง ปฏิบตั งิ านด้วยความทุม่ เท เสียสละ และอุทศิ เวลาให้กบั การท�ำงาน ทัง้ ในเวลาท�ำงาน และนอกเวลาท�ำงาน และมีความเข้าใจถึงความส�ำคัญของหน้าที่ของพนักงานเลี้ยง และใช้สตั ว์เพือ่ งานทางวิทยาศาสตร์ ดังทีไ่ ด้กล่าวไว้ในประวัตกิ ารท�ำงานว่า “อุปกรณ์ที่ ทันสมัยทีส่ ดุ ไม่ได้ชว่ ยให้สตั ว์มคี ณ ุ ภาพขึน้ มาได้ถา้ พนักงานเลีย้ งสัตว์ทดลองไม่เข้าใจ ถึงบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่พึงมี พึงปฏิบัติ” นอกจากนัน้ ยังเป็นผูม้ คี วามใฝ่รู้ มีความอุตสาหะและวิรยิ ะสูงเป็นอย่างยิง่ ในการ พัฒนาตนเองเพื่อการพัฒนางาน เมื่อมีโอกาสที่จะได้พัฒนาตนเองก็คำ�นึงถึงประโยชน์ที่ จะนำ�ไปสู่การพัฒนางานด้วย ดังจะเห็นได้จากการที่มีโอกาสได้ศึกษาต่อ ก็เล็งเห็นความ สำ�คัญที่จะศึกษาและฝึกปฏิบัติเพิ่มเติมในเรื่องที่จะสามารถนำ�มาพัฒนางานที่ปฏิบัติอยู่ และเป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดียิ่ง ทำ�ให้ สามารถรักษาประโยชน์ของทางราชการได้เป็นอย่างดี นายไมตรี นวลพลับ เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่ข้องเกี่ยวกับอบายมุขทั้งปวง เป็นผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมส่วนรวมอย่างต่อเนื่อง มีความดีเด่นในการปฏิบัติงาน จน ได้รางวัลหลายรางวัล อาทิเช่น รางวัลบุคลากรดีเด่นของสถาบันต้นสังกัด และบุคคล ดีเด่นด้านการประกอบอาชีพ จากสโมสรโรตารี่คอหงส์ เป็นต้น PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 11


วิจัย

เภสัช ม.อ. ใช้ “แสงซินโครตรอน” พัฒนาแป้งจากเมล็ดมะขาม สำ�หรับระบบนำ�ส่งยา นักวิจยั คณะเภสัชศาสตร์ ม.อ. ประกอบ ด้วย ศาสตราจารย์ ดร.วิมล ตันติไชยากุล อาจารย์ประจ�ำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ และนักศึกษาปริญญาเอก ประกอบด้วย นายนมนต์ หิรัญ และนางสาว ธนัชพร แสงไฟ ประสบความส�ำเร็จ น�ำแสง ซิ น โครตรอนวิ เ คราะห์ ก ารจั ด เรี ย งตั ว ของ โมเลกุลของแป้งจากเมล็ดมะขาม ส�ำหรับระบบ น�ำส่งยารักษาโรค ส่งผลให้สามารถน�ำส่งยาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แป้งเมล็ดมะขามเป็นสารโพลิเมอร์ชวี ภาพทีใ่ ช้ ในอุตสาหกรรมอาหารในหลายประเทศ ประกอบด้วย โซ่โมเลกุลขนาดใหญ่ เมื่อผสมกับตัวยาที่มีโครงสร้างที่ เหมาะสมจะเกิดอันตรกิริยา และมีการจัดเรียงตัวของ สารจากแป้งเมล็ดมะขาม ท�ำให้เกิดเป็นของเหลว หรือ เกิดเป็นเจล การท�ำความเข้าใจกระบวนการเปลี่ยน

12 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


สภาพเป็นเจล และรูปร่างโครงสร้างของ โมเลกุลขณะเป็นเจลหรือเป็นของเหลวนี้มี ความส�ำคัญต่อการพัฒนาระบบน�ำส่งยา โดยอาจสามารถน�ำส่งยาไปสู่ต�ำแหน่งที่ ต้องการรักษา ลดความเป็นพิษของยาทีจ่ ะ แพร่กระจายไปต�ำแหน่งอื่นของร่างกาย หรือสามารถใช้เพื่อควบคุมการปลดปล่อย ตัวยา ทีมงานวิจยั ได้ใช้เทคนิคการกระเจิง รังสีเอ็กซ์ด้วยแสงซินโครตรอน ที่สถานี ทดลองของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จ.นครราชสีมา ติดตาม กระบวนการเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะการ จั ด เรี ย งโมเลกุ ล ของสารจากแป้ ง เมล็ ด มะขาม เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการ เปลี่ยนสภาพเป็นเจลของแป้ง ส� ำ หรั บ เทคนิ ค การกระเจิ ง รั ง สี เอ็กซ์ เป็นเทคนิคที่ใช้ในการศึกษาขนาด และรูปร่างของวัตถุทมี่ ขี นาดอยูใ่ นช่วงของ นาโนเมตร (หนึ่งในพันล้านของเมตร หรือ ขนาดประมาณหนึ่งในหมื่นเท่าของความ

หนาของเส้นผม) ซึ่งเป็นช่วงขนาดของ โมเลกุลในสสาร เทคนิคการกระเจิงรังสี เอ็กซ์นี้จึงสามารถใช้ในการศึกษาการเรียง ตั ว ของโมเลกุ ล ในสารได้ ผลการศึ ก ษา พบว่ า ผลการวั ด การกระเจิ ง รั ง สี เ อ็ ก ซ์ ของแป้งเมล็ดมะขามในสภาพตั้งต้นนั้น แสดงถึงรูปร่างโมเลกุลที่เป็นทรงกระบอก เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 - 0.9 นาโนเมตร ซึง่ แสดงให้เห็นว่าแป้งเมล็ดมะขามประกอบ ด้วยโมเลกุลที่เป็นสายโซ่ยาว แต่เมื่อมีการ เติมสารทีม่ โี มเลกุลขนาดเล็กลงไป โมเลกุล ขนาดเล็กเหล่านี้จะเป็นตัวเชื่อมโมเลกุล ของแป้ ง ท� ำ ให้ แ ป้ ง เปลี่ ย นสภาพเป็ น ของเหลวหนื ด และที่ ค วามเข้ ม ข้ น ที่ เหมาะสม โมเลกุลของแป้งจะเรียงตัวเป็น แผ่ น บางที่ มี ค วามหนาประมาณ 0.5 นาโนเมตร ซึ่งส่งผลให้แป้งเกิดสภาพเป็น เจล ศาสตราจารย์ ดร.วิมล ตันติ ไชยากุล เปิดเผยว่า แป้งเมล็ดมะขาม เมือ่ ผสมกั บ ตั ว ยารั ก ษาโรคที่ มี โ ครงสร้ า ง

เหมาะสม สามารถแปรสภาพเป็นเจล ซึ่ง ท�ำให้ควบคุมการปลดปล่อยตัวยาได้ โดย อาจฉีดในลักษณะของเหลวเข้าสู่ร่างกาย แล้ ว จะเกิ ด เป็ น เจลในร่ า งกายและ ปลดปล่อยตัวยาอย่างช้าๆ ในต�ำแหน่ง การรักษาทีต่ อ้ งการ เนือ่ งจากแป้งดังกล่าว เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง และเปลี่ยน สภาพเป็นเจลทีอ่ ณ ุ หภูมริ า่ งกายได้เร็ว การ ศึกษาครัง้ นีม้ ปี ระโยชน์อย่างมากต่อการน�ำ แป้งเมล็ดมะขามไปใช้ส�ำหรับระบบน�ำส่ง ยา ส่งผลให้ยาทีใ่ ช้รกั ษาโรคมีประสิทธิภาพ มากขึ้น นอกจากนีท้ มี งานวิจยั ได้ตอ่ ยอดผล การศึกษาดังกล่าวออกไปอีก ด้วยการเจือ สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กซึ่งมีคุณสมบัติใน การรักษาโรคชนิดอืน่ ลงไปในแป้งจากเมล็ด มะขาม ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนจากของเหลว เป็นเจล ผันกลับไปมาได้ ขึ้นกับอุณหภูมิ ความเข้มข้นของยา และความเข้มข้นของ แป้งจากเมล็ดมะขาม ส�ำหรับมะขามเป็นพืชที่พบมากใน พื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ ทัว่ ไปในประเทศไทย หาได้งา่ ย ซึง่ แป้งทีไ่ ด้ จากเมล็ดมะขามจะต้องผ่านกระบวนการ สกั ด น� ำ โปรตี น และไขมั น ออก จนได้ พอลิ แ ซคคาไรด์ ที่ ต ้ อ งการ ซึ่ ง น�ำ มาใช้ ประโยชน์ส�ำหรับระบบน�ำส่งยา “การวิ จั ย ดั ง กล่ า วของที ม งาน เป็นการพัฒนาระบบน�ำส่งยาโดยสามารถ ใช้ ส ารที่ ไ ด้ จ ากธรรมชาติ ซึ่ ง มี อ ยู ่ ใ น ประเทศ เป็นการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของพืชใน ประเทศไทย และจะมีการพัฒนาระบบน�ำ ส่ ง ยาโดยแป้ ง จากเมล็ ด มะขามเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการรั ก ษาโรคต่ อ ไป” ศ.ดร.วิมลกล่าว

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 13


สู่สังคม/ชุมชน

ม.อ. ปัตตานี ลงเกาะบุโหลน

วางรากฐาน “การพัฒนาชุมชนโดยชุมชน” ม.อ.ปัตตานี ลงพื้นที่ศึกษาและจัดกิจกรรมเพื่อสร้างศักยภาพการพัฒนาชุมชน เกาะบุโหลนดอนและเกาะบุโหลนเล จังหวัดสตูล โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หนึ่งใน โครงการพัฒนาเกาะบุโหลนตามพระราชด�ำริ ประจ�ำปี 2555 ด�ำเนินการภายใต้ความ ร่วมมือระหว่างมูลนิธิชัยพัฒนากับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และการพัฒนาตาม นโยบายหนึ่งมหาวิทยาลัยหนึ่งจังหวัดของรัฐบาล โดยการจัดเวทีระดมความคิด สร้าง แผนพัฒนาชุมชน สร้างโอกาสให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมเพื่อท�ำความเข้าใจและเข้าถึงชุมชน อย่างแท้จริง

รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม รองศาสตราจารย์ ดร.ซุ ก รี หะยีสาแม อาจารย์ประจ�ำคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หัวหน้าโครงการ เปิดเผยว่า เกาะบุโหลน จังหวัดสตูล เป็นชุมชนชาวประมง พืน้ บ้าน มีแหล่งท�ำการประมงอยูบ่ ริเวณรอบๆ เกาะ หรือห่างออกไปไม่ไกลมากนัก สามารถ ท�ำการประมงได้ตลอดทัง้ ปี ซึง่ มีสภาพโดยรวม ไม่แตกต่างกับชุมชนประมงในพื้นที่อื่นๆ ของ ประเทศ แต่สิ่งที่ส่งผลให้เกาะบุโหลนมีการ พัฒนาทางด้านต่างๆ ได้ยาก คือการมีพนื้ ทีเ่ ป็น เกาะซึ่ ง ห่ า งไกลจากแผ่ น ดิ น ใหญ่ บุ ค คล ภายนอกสามารถเข้าถึงเกาะได้เพียงในบาง ฤดูกาลเท่านั้น จึงต้องใช้หลักการพัฒนาพื้นที่ ในรูปแบบใหม่ คือการใช้กระบวนการวิเคราะห์ ประสบการณ์ ความคิดเห็น และการมีสว่ นร่วม ของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ทัง้ ทีป่ ระสบ ความส� ำ เร็ จ และล้ ม เหลว การศึ ก ษาความ ต้องการของชาวบ้าน และน�ำความคิดเห็น ดังกล่าวมาใช้วางแผนจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน รวมทั้งการแสวงหาและพัฒนาศักยภาพผู้น�ำ ชุ ม ชนเพื่ อ การมี ส ่ ว นร่ ว มพั ฒ นาชุ ม ชนใน อนาคต โดยเน้นการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และมีระบบการประกันคุณภาพในทุกขัน้ ตอน อาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ภาคส่วน โดย เฉพาะการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างจริงจัง กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพใน

14 :

PSU

สาร ม.อ.

การพัฒนาชุมชนของชาวบ้านเกาะบุโหลนที่ คณะผู ้ ร ่ ว มโครงการและชาวบ้ า นร่ ว มกั น ด�ำเนินการ ประกอบด้วยการจัดประชุมผู้น�ำ ชุมชน แกนน�ำกลุม่ รวมถึงเยาวชน เพือ่ ร่วมกัน ก�ำหนดรูปแบบการพัฒนาชุมชน การสร้างเวที พูดคุยปรับความคิดเพือ่ รองรับการพัฒนา การ ปรับปรุงสถานที่พบปะเพื่อการแลกเปลี่ยน เรี ย นรู ้ แ ละระดมความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การ พัฒนาศักยภาพชุมชน การจัดการแข่งขันกีฬา เพื่อสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชน การ พัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ การจัดกิจกรรม เนือ่ งในวันส�ำคัญต่างๆ ตามประเพณีของคนใน ชุมชน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ที่มีบทบาทในชุมชน ได้แก่ บ้าน โรงเรียน มั ส ยิ ด ตลอดจนการคั ด เลื อ กกลุ ่ ม แกนน� ำ พั ฒ นาชุ ม ชนและการพั ฒ นาศั ก ยภาพกลุ ่ ม แกนน�ำ เพือ่ จัดท�ำแผนพัฒนาชุมชนในอนาคต โดยที่ชุมชนจะเป็นผู้บริหารจัดการโครงการ ด้วยตนเอง รองศาสตราจารย์ ดร.ซุ ก รี

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

หะยีสาแม ยังกล่าวอีกว่า “การสร้างกระบวนการ เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรมให้ เกิดขึ้นในชุมชนเกาะบุโหลนอย่างแท้จริงนั้น จ�ำเป็นต้องบูรณาการทั้งทางด้านประเด็นงาน และหน่วยงานที่เข้าไปอ�ำนวยการปฏิบัติงาน ในพื้ น ที่ โดยให้ ช าวบ้ า นเกาะบุ โ หลนเป็ น ผู้ก�ำหนดรูปแบบ วางแผน และปฏิบัติงาน ต่างๆ ด้วยตนเอง โดยหลักการส�ำคัญทางด้าน เนื้องานหรือประเด็นที่จะได้รับการพัฒนาใน ระยะต่อไปนัน้ ควรประกอบด้วยการบูรณาการ เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกสาธารณะ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง วิถกี ารด�ำเนินชีวติ ของชาวเกาะบุโหลนอย่างมี คุณภาพ คงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ดั้งเดิม รวมทั้ง การอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อมทัง้ บนบก และในท้องทะเล การสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ การ สร้างระบบสหกรณ์เครือข่าย และการสร้าง สภาพภูมินิเวศที่เหมาะสมให้แก่หมู่บ้าน การ จัดกิจกรรมที่มีเป้าหมายเพื่อให้ชุมชนมีความ เข้มแข็งและพึ่งตนเองได้มากที่สุด”


ลงนามความร่วมมือ

เภสัชฯ ม.อ.- ซาโนฟี่ ลงนามร่วมมือทางวิชาการและวิจยั

พัฒนาเภสัชฯ วิชาชีพ พร้อมรับการเปิดเสรี AEC คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จั บ มื อ บริ ษั ท ซาโนฟี ่ อเวนตีส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้ด�ำเนินธุรกิจ ด้านเวชภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง และคอนซูเมอร์ เฮลท์ แ คร์ ขยายขอบเขตการแลกเปลี่ ย น ความรู้ทางวิชาการและประสบการณ์ระหว่าง สองหน่วยงาน รวมทัง้ ยกระดับความร่วมมือใน การผลิตบุคลากรให้สอดคล้องและพร้อมรับ การเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ภายใต้โครงการ “Discover” โดยจัด พิธลี งนามบันทึกข้อตกลง (MOU) ขึน้ เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2555 และเปิดโอกาสให้นกั ศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ของมหาวิทยาลัยได้รับฟัง การบรรยายเรือ่ งอุตสาหกรรมยากับจรรยาบรรณ ธุรกิจ ขณะที่บริษัทซาโนฟี่เตรียมรับนักศึกษา เภสัชฯ เข้าฝึกงานใน 6 สายงานหลักในปีนี้ ผศ.ดร.ภญ.สิริรัศมิ์ ปิ่นสุวรรณ คณบดี ค ณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กบั บริษทั ซาโนฟี-่ อเวนตีส (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีความร่วมมือ และเป็นพันธมิตรทางการศึกษาและพัฒนา เภสัชกรวิชาชีพมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ผ่าน โครงการให้ความรูใ้ นภาพรวมของอุตสาหกรรม ยาและฝึกภาคปฏิบัติจริง ภายใต้โครงการ “Discover” ท� ำ ให้ ส ามารถผลิ ต บั ณ ฑิ ต เภสัชศาสตร์ที่มีคุณภาพ มีทัศนคติที่ดี และ

ปฏิบัติงานถูกต้องต่อวิชาชีพจากรุ่นสู่รุ่น ออก สู่ตลาดแรงงานและสังคมโดยรวม ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมามี บั ณ ฑิ ต กว่ า 40 คน ที่ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากคณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้าร่วมงาน กับบริษัทซาโนฟี่-อเวนตีส และกว่าครึ่งยังคง ปฏิบัติงานอยู่กับบริษัทถึงปัจจุบัน บุคลากร เหล่านีไ้ ด้รว่ มเป็นก�ำลังส�ำคัญในการน�ำความรู้ และประสบการณ์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ กลับมาถ่ายทอดให้นักศึกษารุ่นหลัง และเป็น คนประสานให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทาง วิชาการและประสบการณ์ในระดับองค์กรใน วงกว้ า ง รวมทั้ ง การสร้ า งเครื อ ข่ า ยภายใน เพื่อรองรับการฝึกงานภาคปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น ด้ า นนายเบอร์ น าร์ ด ฮั น เซล ดราก้ อ น ผู้จัดการทั่วไป บริษัทซาโนฟี่อเวนตีส (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ถือเป็น ความน่ายินดีอย่างยิง่ ทีบ่ ริษทั ซาโนฟี-่ อเวนตีส ได้รบั เกียรติจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ให้ลงนามในข้อตกลงความ ร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการและการฝึ ก ภาคปฏิ บั ติ อย่างเป็นทางการ ภายใต้โครงการ “Discover” ซึ่งจะท�ำให้ทั้งสองหน่วยงานได้ขยายขอบเขต การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ใน วิชาชีพระหว่างกันได้มากยิ่งขึ้น รวมถึงการ เตรียมความพร้อมของนักศึกษาในการเปิดเสรี

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 ในส่วนของการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน บริษัทได้ปรับแผนงานเพื่อรองรับการฝึกงาน ในหลากหลายสาขาวิชา ในช่วงแรกนักศึกษา จะได้ ฝ ึ ก ฝนทั ก ษะในการท� ำ งานจริ ง ใน 3 สายงาน ได้แก่ สายงานผู้แทนยา สายงาน ผู ้ ป ระสานงานวิ จั ย ทางคลิ นิ ก (Clinical Research Associate) และสายงานทะเบียน ยา จนถึงปี พ.ศ.2554 ได้มีการขยายขอบข่าย การฝึกงานมากขึ้นถึง 5 สายงาน โดยเพิ่ม สายงานด้านการตลาดและงานบริการข้อมูล วิชาการทางการแพทย์ ส�ำหรับในปี 2555 นี้ บริษัทยังคงพัฒนาโครงการ “Discover” อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเปิ ด รั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา เข้าฝึกงานทัง้ หมด 6 สายงาน โดยเพิม่ สายงาน เฝ้ า ระวั ง ความปลอดภั ย จากการใช้ ย าหรื อ Pharmacovigilance เพิ่มมาอีกด้วย ภายหลั ง เสร็ จ สิ้ น พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการและวิจัย ได้ มีการบรรยายความรูท้ างวิชาการให้กบั นักศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในหัวข้อทีน่ า่ สนใจ ประกอบด้วย อุตสาหกรรม ยากับจรรยาบรรณทางธุรกิจ การควบคุมความ ปลอดภัยก่อนน�ำยาเข้าสูต่ ลาด รวมไปถึงความ เป็นมาของโครงการ “Discover” และการ ฝึกงานใน 6 สายงานหลักของบริษัทซาโนฟี่อเวนตีส PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 15


รอบรั้วศรีตรัง

เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ โปรดเกล้าฯ ให้ผู้บริหาร นักศึกษา เฝ้าฯ ในงาน “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 5

สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี พระราชทานพระวโรกาสให้ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คณะผู ้ บ ริ ห าร และนั ก ศึ ก ษาจากคณะแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ และวิทยาศาสตร์ จ�ำนวน 250 คน เฝ้าทูลละอองพระบาท ในโอกาสเสด็จทรงซ้อมการแสดง “กู่เจิง” ร่วมกับ อาจารย์ฉาง จิ้ง พระอาจารย์ประจ�ำพระองค์ และวงดุริยางค์ราชนาวี เมื่อ

16 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

วันที่ 23 สิงหาคม 2555 ณ คอนเวนชัน่ ฮอลล์ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ก่อนก�ำหนดการแสดง จริ ง ของงาน แสดงดนตรี แ ละวั ฒ นธรรม “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 5 เมื่อ วันที่ 24 สิงหาคม 2555 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ฯ ทรงมีพระด�ำรัสแก่ผู้เข้าเฝ้าฯ ถึงวัตถุประสงค์หลักของการจัดแสดงดนตรี และวั ฒ นธรรม “สายสั ม พั น ธ์ ส อง แผ่นดิน” ครั้งที่ 5 ว่า นอกจากจะเป็นการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างไทย-จีน ซึ่งมี ขึน้ ทุก 2 ปีสลับกันระหว่างสองประเทศแล้ว ยั ง น� ำ รายได้ ส มทบทุ น มู ล นิ ธิ แ พทย์ อ าสา


สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เพื่อรักษาดูแลผู้ป่วยยากไร้ในถิ่น ธุรกันดารใน 55 จังหวัดทั่วทุกภาคของ ประเทศ และน�ำเข้ากองทุนผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ยากไร้ ของโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซึ่ง เป็ น หน่ ว ยงานในสั ง กั ด ของสถาบั น วิ จั ย จุฬาภรณ์ เป็นการหารายได้ควบคู่ไปกับ กิจกรรมถักร้อยสร้อยรัก ที่จัดท�ำเป็นของ ที่ระลึกให้แก่ผู้บริจาคสนับสนุนกิจกรรม ทรงกล่าวถึงสถาบันบัณฑิตศึกษา จุ ฬ าภรณ์ ซึ่ ง เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี หลักสูตรระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

ใน 3 สาขาวิชา คือ สาขาเคมีชีวภาพ สาขา พิษวิทยาสิง่ แวดล้อม และสาขาวิทยาศาสตร์ ชี ว วิ ท ยาประยุ ก ต์ ร่ ว มด� ำ เนิ น การสอน โดยคณาจารย์ไทยและต่างประเทศจาก มหาวิทยาลัยและสถาบันชัน้ น�ำทัว่ โลก เช่น สถาบันเอ็มไอที ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มี การเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ งานแสดงดนตรี แ ละวั ฒ นธรรม “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” ครั้งที่ 5 จัด ในมหามงคลโอกาส สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555

บทเพลงที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จะทรง บรรเลงมี 10 บทเพลง ประกอบด้วย เพลง วั น วาน (Xi) ถั ด มาเป็ น เพลงไทย คื อ เดือนเพ็ญ (Man Ywei) ตามด้วยเพลง “ชุน เจียง กวาง เยว่ เยี่ยน” หรือ “สปิริต ริเวอร์ อิน เดอะ มูน ไลท์” ซึ่งเป็นเพลง คลาสสิคของจีน อายุมากกว่า 300 ปี เพลง บุปผาโปรยปราย (Luo Hua Fei) เพลง ลมหนาวและดาวเดือน เพลงห้วงธาราใต้ แสงจันทร์ ตามด้วยเพลง “เพอร์เฟ็ค” หรือ “หว่าน เหว่ย” มีความทันสมัย จังหวะ เร็ว และเล่นกู่เจิงประสานเสียงกัน 2 ตัว เพลงต่อมา “มิสชิง่ ” หรือ “ฉาง เซียง ซือ” หรื อ “คะนึ ง หาตราบนิ รั น ดร์ ” เพลง พระราชนิ พ นธ์ ย ามเย็ น จบด้ ว ยเพลง ประจ�ำของ “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” โดยแต่ ล ะช่ ว งจะคั่ น สลั บ การแสดง วัฒนธรรมของจีน ได้แก่ ระบ�ำหญิงหมู่ เรือ่ ง “ซิว่ เซ่อ” จากนครเซีย่ งไฮ้ กายกรรม ยิมนาสติกชุด “หญิงสาวแห่งแสงตะวัน” จากเมืองกวางโจว อุปรากรปักกิ่ง หรือ “งิ้ว” เรื่อง “สนมเอกราชวงศ์ถัง” ตอน ดอกสาลี่ บ าน และโขนเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ชุด พระรามข้ามสมุทร เป็นต้น สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตน� ำ เพลงพระราชนิ พ นธ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว เพลงยามเย็น มาแสดงบน กูเ่ จิงเป็นครัง้ แรก ซึง่ จะเป็นจุดเด่นของการ แสดงกู่เจิงนี้ โดยแสดงคู่กับอาจารย์ฉาง จิ้ง พระอาจารย์ประจ�ำพระองค์ มีวงดุริยางค์ ราชนาวี เป็นแบ็กอัพ และจบด้วยเพลง “สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน” PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 17


รางวัลแห่งคุณภาพ

ม.อ. ชนะเลิศนำ�เสนองานวิจัย ผ่านนิทรรศการ ในงาน

Thailand Research Expo 2012 ติดต่อเป็นปีที่ 2

18 :

PSU

รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบ วิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ได้เข้าร่วมแสดงนิทรรศการและส่งผลงานเข้าประกวดในงาน “การน�ำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555” (Thailand Research Expo 2012) ซึ่งจัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 24-28 สิงหาคม 2555 ณ ห้องบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์ กรุงเทพฯ โดยมี วัตถุประสงค์ให้เป็นเวทีส�ำหรับองค์กรในระบบวิจัยได้ร่วมแสดงศักยภาพทาง การวิจัยของไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับประเทศและระดับภูมิภาค อันจะ

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


เชื่อมโยงการน�ำผลผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์ในกลุ่มเป้าหมาย ผลงานที่น�ำเสนอเน้นงานวิจัยที่รองรับภัยพิบัติธรรมชาติ จ�ำนวน 8 ผลงาน และ ผลงานนิทรรศการดังกล่าวได้รับรางวัลชนะเลิศ ถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “รางวัล Platinum Award” พร้อม เงินรางวัล 50,000 บาท และเกียรติบัตร นับเป็นการรับรางวัลเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน โดย ได้จัดพิธีรับรางวัลไปแล้ว เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2555 ผูอ้ อกแบบนิทรรศการครัง้ นี้ คือ อาจารย์ชาวดี ง่วนสน และ อาจารย์โอปอร์ ชัยสง่าพงษ์ จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง โครงการและผลงานวิจัย 8 ผลงาน ที่ประกอบอยู่ในชุดนิทรรศการนี้ ประกอบ ด้วย 1. การจัดท�ำแผนปฏิบัติการ Hat Yai Model ผู้ประสานงานโครงการคือ รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. ระบบเตือนภัยน�ำ้ ท่วมหาดใหญ่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิต เฉลิมยานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. การตรวจวัดเรดอนในดินกับการพยากรณ์แผ่นดินไหวในทะเลอันดามัน โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรภพ ผ่องสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ 4. การประมาณค่าหยาดน�้ำฟ้าจากดาวเทียม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม วิทยาเขตภูเก็ต

5. ระบบสารสนเทศเพื่ อ การ สนั บ สนุ น การเฝ้ า ระวั ง ภั ย ธรรมชาติ แบบมีส่วนร่วม (PBWatch.NET) โดย ดร.สมพร ช่วยอารีย์ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี 6. ต้นแบบระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการข้อมูลพิบตั ภิ ยั ในพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ อู ่ ต ะเภาโดยใช้ Google Map โดย อาจารย์เทิดทูน ด�ำรงฤทธามาตย์ คณะ วิทยาศาสตร์ 7. ความมั่ น คงของอาหารใน ช่วงวิกฤตภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดย ศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี ชินะโชติ คณะ อุตสาหกรรมเกษตร 8. ชุ ด อาหารยั ง ชี พ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย (ข้ า วผั ด พร้ อ มบริ โ ภค บรรจุถงุ ทนร้อน) โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสาวคนธ์ วัฒนจันทร์ คณะอุตสาหกรรม เกษตร รู ป แ บ บ คู ห า นิ ท ร ร ศ ก า ร ข อ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือ PSU HUB เป็นการน�ำผู้สนใจเดินทางเข้าไปสู่ ใจกลางของภัยพิบตั ิ และเรียนรูท้ จี่ ะอยูร่ อด ด้วยระบบเตือนภัย หน่วยสนับสนุนเมื่อเกิด ภัยพิบัติ และการพยากรณ์ภัยพิบัติล่วงหน้า เพือ่ ให้ได้เห็นปัญหาและแนวทางแก้ไขในทุก มิติ และท�ำให้ทราบว่าหากมีการบูรณาการ ความร่วมมือและการสื่อสารจากทุกภาค ส่วนเข้าด้วยกันแล้ว มนุษย์จะสามารถรับมือ และป้องกันภัยพิบัติได้ โดยมีหลายส่วนที่ เป็นการแสดงเชิงสัญลักษณ์ เช่น Siren Light ที่ ก ะพริ บ เหนื อ บู ธ อยู ่ ต ลอดเวลา Caution Tape ที่บอกเล่าเชิงสัญลักษณ์ว่า ห้ อ งจั ด แสดงด้ า นใต้ คื อ พื้ น ที่ ภั ย พิ บั ติ ที่ อั น ตรายรุ น แรงและจู ่ โ จมเราแบบไม่ ทั น ตั้งตัว แทนด้วยหุ่นจ�ำลองมนุษย์ที่ทะลุออก มาจากผนังบูธ เหมือนคนทีก่ �ำลังหนีภยั พิบตั ิ อย่างตื่นตระหนก PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 19


บริการวิชาการ

ม.อ. โชว์ความเป็นเลิศ จัดกิจกรรม “ม.อ.วิชาการ” ปี 55

20 :

PSU

ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ จัดงาน “ม.อ.วิ ช าการ ประจ�ำปี 2555” เมื่อวันที่ 16-18 สิงหาคม 2555 เปิดเวทีแสดงศักยภาพของมหาวิทยาลัยทีพ่ ร้อมก้าว สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ พร้อมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระบรมราชชนก ในวาระครบรอบ 120 ปี แห่งวันคล้ายวันพระราชสมภพ โดยได้รบั เกียรติจาก นายชวน หลี ก ภั ย อดี ต นายกรั ฐ มนตรี แ ละที่ ปรึ ก ษาสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานในพิธีเปิดงาน ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี วิทยาเขตหาดใหญ่ มีนักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจเข้าร่วม กิ จ กรรมและรั บ ชมผลงานและนวั ต กรรมต่ า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย กั น อย่ า งคั บ คั่ ง โดยวิ ท ยาเขต สุราษฎร์ธานี จะเป็นวิทยาเขตต่อไปที่จะจัดงาน ม.อ.วิชาการ ในระหว่างวันที่ 21-23 สิงหาคม 2555 นายชวน หลีกภัย กล่าวถึงการพัฒนา ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในพิธีเปิดงาน ม.อ.วิชาการ ว่า ในฐานะที่เคยเป็นกรรมการสภา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มานาน ท�ำให้เห็น ความเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยได้อย่างชัดเจน

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


แม้ ม.อ. จะเป็นมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค แต่ ได้มีการพัฒนามาโดยล�ำดับ จากการร่วมกัน ปฏิ บั ติ ง านอย่ า งจริ ง จั ง และต่ อ เนื่ อ งของ ผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ และบุ ค ลากร ท� ำ ให้ สามารถเป็ น หนึ่ ง ในมหาวิทยาลัยวิจัยระดับ แนวหน้าของประเทศไทย และอยูใ่ นล�ำดับต้นๆ ของมหาวิทยาลัยคุณภาพจากการประเมินของ สถาบั น ต่ า งๆ นั บ เป็ น ความส� ำ เร็ จ ของ มหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งไรก็ ต ามจะต้ อ งร่ ว มกั น พัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้ ไป เนือ่ งจากมหาวิทยาลัยเป็น ส่วนหนึง่ ของสังคม มีหน้าทีช่ นี้ ำ� ความรูส้ มัยใหม่ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่สังคม นายชวน หลีกภัย กล่าวต่อไปว่า ส� ำ หรั บ กระแสการเปิ ด เสรี ข องประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนในอีก 3 ปีข้างหน้า ม.อ. เป็น สถาบันหนึ่งทีร่ องรับกับการเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้ ซึ่ ง ภาพรวมของ 10 ประเทศในประชาคม อาเซียน ประเทศไทยมีทงั้ จุดเด่นทีส่ ามารถเป็น ผู้น�ำในการแข่งขัน และจุดอ่อนที่ต้องพัฒนาให้ ทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน ศักยภาพของการ เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ติดชายแดน ท�ำให้เรา มีโอกาสแลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร ร่วม ศึกษาดูงาน และมีโอกาสที่จะเป็นสถาบันการ ศึกษาหลักให้แก่ภาคใต้และกลุ่มประเทศใน อาเซียน ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปลูกฝังศิษย์ให้ยึดมั่นในพระราชปณิธานของ สมเด็จพระบรมราชชนก ท�ำให้บณ ั ฑิตมีพนื้ ฐาน ทีด่ ดี า้ นความมีจติ สาธารณะ เห็นประโยชน์ของ

ส่วนรวมเป็นส�ำคัญ จะมีสว่ นให้สงั คมอยูร่ อดได้ เพราะเรื่ อ งของความคิ ด เพื่ อ ประโยชน์ ข อง ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน นับวันจะหายไปจาก สังคมไทยปัจจุบัน ด้านรองศาสตราจารย์ ดร.ชูศกั ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ เปิดเผยว่า งาน ม.อ.วิชาการ ประจ�ำ ปี 2555 จัดขึ้นเพื่อแสดงผลงานทางวิชาการ ของบุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษาให้ ไ ด้ รั บ การ เผยแพร่ไปยังสาธารณชนทุกภาคส่วน โดยเน้น ให้เห็นถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการใช้ ความสามารถทางวิชาการที่มุ่งเป้าสู่ความเป็น เลิศเพื่อพัฒนาภาคใต้ ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรม ยางพารา การเพิ่ ม มู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร ครบวงจรและความยั่ ง ยื น ของอุ ต สาหกรรม อาหารในภาคใต้ นวัตกรรมทางการแพทย์และ สาธารณสุข เป็นต้น และในโอกาสที่ปี 2555 เป็นวาระครบรอบ 120 ปีแห่งวันคล้ายวัน พระราชสมภพของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มหาวิทยาลัย จึ ง ได้ จั ด นิ ท รรศการเผยแพร่ พ ระเกี ย รติ คุ ณ สมเด็ จ พระบรมราชชนกเพื่ อ เป็ น การเทิ ด พระเกียรติและร่วมเฉลิมฉลองเนื่องในวาระ พิเศษดังกล่าว นิทรรศการที่น�ำเสนอภายในงาน ม.อ. วิชาการปีนี้ มีประเด็นและหัวข้อเรื่องที่มีความ ส�ำคัญและน่าสนใจ เช่น นิทรรศการภัยพิบัติ ธรรมชาติภาคใต้ นิทรรศการผลงานวิจัยของ

มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ด้านนวัตกรรมยางพารา ทรัพยากรธรรมชาติแห่งคาบสมุทรไทยและการ จัดการ นวัตกรรมทางด้านสาธารณสุข การเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารครบวงจร ความยั่งยืน ของอุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ การพัฒนา เทคโนโลยี ป าล์ ม น�้ ำ มั น และน�้ ำ มั น ปาล์ ม นิทรรศการด้านสังคมศาสตร์ การท่องเทีย่ วเชิง อนุรักษ์ การอนุรักษ์อาหารและขนมพื้นบ้าน นิทรรศการแนะน�ำนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติของ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ การแสดง นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา งาน วั น เกษตรภาคใต้ งานสั ป ดาห์ วิทยาศาสตร์ กิจกรรมของคณะ หน่วยงานต่างๆ ซึ่งได้รับ ความสนใจจากนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และ ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมงานจ�ำนวนมาก ส� ำ หรั บ วิ ท ยาเขตของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ที่ได้จัดงาน ม.อ.วิชาการ คือ วิทยาเขตปัตตานี วันที่ 4-5 กรกฎาคม 2555 วิทยาเขตหาดใหญ่ วันที่ 16-18 สิงหาคม 2555 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วันที่ 21-23 สิงหาคม 2555 วิทยาเขตตรัง วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2555 วิทยาเขตภูเก็ต วันที่ 10-12 มกราคม 2556 PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 21


การศึกษา

ม.อ. เปิดโลกการศึกษา

จัดตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา

ครั้งที่16

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา จัดงานนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 16 เมื่อวันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลหลักสูตรในระดับอุดมศึกษา แก่นกั เรียน นักศึกษา ครู ผูป้ กครอง และผูส้ นใจทัว่ ไปในภาคใต้ พร้อมบรรยายพิเศษของวิทยากรผูท้ รง คุณวุฒิด้านระบบการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา

22 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

ซึง่ ในปีนมี้ สี ถาบันการศึกษาของรัฐ และเอกชนเข้ า ร่ ว มจั ด แสดงนิ ท รรศการ ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและให้ค�ำแนะน�ำ การศึกษาต่อจ�ำนวน 86 สถาบัน 140 คูหา กิ จ กรรมภายในงานประกอบด้ ว ย การ ประชาสั ม พั น ธ์ ห ลั ก สู ต รการศึ ก ษาของ ไทยและหลักสูตรนานาชาติ โดยสถาบัน อุดมศึกษาของไทยและต่างประเทศ ตอบข้อ ซักถาม การแสดงบนเวที การบรรยายเรื่อง “การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย และกระบวนการจัดสอบต่างๆ ที่ใช้ใน ระบบแอดมิ ช ชั่ น ” โดยวิ ท ยากรผู ้ ท รง คุณวุฒิ ผศ.ดร.พงษ์อินทร์ รักอริยะ ธรรม ประธานคณะท�ำงานศึกษาระบบ การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบัน อุ ด มศึ ก ษาด้ ว ยระบบกลางการรั บ นิ สิ ต นักศึกษา (แอดมิชชั่น) ทั้งนี้ในช่วงเวลาดัง กล่าว มหาวิทยาลัยได้จัดงาน ม.อ.วิชาการ ประจ�ำปี 2555 ผู้เข้าร่วมงานจะได้พบกับ กิ จ กรรมหลากหลายรู ป แบบ เช่ น การ ประชุมวิชาการ อบรมสัมมนา นิทรรศการ ผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ เป็นต้น การจั ด นิ ท รรศการตลาดนั ด หลั ก สู ต ร มี ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศได้ มีโอกาสเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและ หลั ก สู ต รที่ เ ปิ ด การเรี ย นการสอน สิ ท ธิ ประโยชน์เมื่อได้เข้าศึกษา อีกทั้งเป็นการ เปิ ด โลกทั ศ น์ ท างการศึ ก ษาให้ นั ก เรี ย น มัธยมศึกษาในเขตภาคใต้ ได้รบั ทราบข้อมูล และหลักสูตรของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ตลอดจนข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการ ตั ด สิ น ใจเลื อ กเส้ น ทางบนถนนสาย อุ ด มศึ ก ษา เพื่ อ เป็ น แนวทางและเป็ น ประโยชน์ในการวางแผนการศึกษาของตน ให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ในอนาคต


แนะนำ�บุคคล

ระเบี ย บ จิ ต เกื อ ้ ประธานศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ม.อ. ได้รับคัดเลือกเป็นสตรีดีเด่น นางระเบี ย บ จิ ต เกื้ อ ประธานศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม สุขภาพและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับคัดเลือกเป็นสตรีดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ.2555 ได้รบั พระราชทานโล่สตรีไทยดีเด่นจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 โดยที่วันที่ 1 สิงหาคม ของทุกปี ถือเป็น วันสตรีไทย ตามที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อให้ สังคมตระหนักถึงบทบาท ความรู้และความสามารถของ สตรีไทย โดยในปีนี้เน้นแนวคิดให้สตรีไทยท�ำหน้าที่ของ แม่ให้สมบูรณ์ เป็นแม่บ้านที่ดี รักษาเอกลักษณ์ความเป็น สตรีไทย และฝึกฝนตนเอง นางระเบียบ จิตเกือ้ เป็นผูม้ บี ทบาทในการสนับสนุน การจัดตั้ง “สถานวิจัยระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย” ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพือ่ พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และ เป็นต้นแบบของการจัดการชมรมหรือเครือข่ายผู้สูงอายุ และการจัดระบบสุขภาพชุมชนเพือ่ การดูแลผูส้ งู อายุในภาค ใต้ นางระเบียบ จิตเกือ้ ยังได้รบั รางวัลเกียรติคณ ุ “ประธาน ชมรมผูส้ งู อายุดเี ด่น” จังหวัดสงขลา และเป็นกรรมการ กลางสมาคมผูส้ งู อายุแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ ประจ�ำจังหวัดสงขลา และได้รว่ มโครงการรณรงค์และฟืน้ ฟู ขนมพื้นเมืองโบราณ ในวันผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา ส่งเสริม กิจกรรมวันผูส้ งู อายุ ในปี 2555 และเป็นประธานผูพ้ พิ ากษา สมทบในศาลแรงงานภาค 9 จังหวัดสงขลา ผูป้ ระนีประนอม ศาลแรงงานภาค 9

ด้านการศึกษา ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัย ทักษิณ ในด้านครอบครัว มีบุตร 2 คน คู่สมรส คือ นายถาวร จิตเกื้อ ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการ หจก. เอ็ม.โอ.เซอร์วิส

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 23


วิจัย

วิศวฯ ม.อ. พัฒนาระบบตรวจสอบป้ายทะเบียน รถยนต์ ราคาถูก-ประสิทธิภาพสูง ลดความเสี่ยงในการตรวจยานพาหนะ อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. คิดระบบ ตรวจสอบป้ า ยทะเบี ย นรถยนต์ เ พื่ อ ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาความ ปลอดภั ย จากสถานการณ์ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ โดย สามารถนำ�ไปใช้กับการตรวจสอบรถแปลกปลอมที่จะก่อ ปั ญ หาด้ า นความปลอดภั ย ระบบฯ ทำ�การบั น ทึ ก ภาพ ประมวลผลภาพจากกล้องวิดีโอ และเก็บไว้ในฐานข้อมูล ซึ่ง ได้ ผ่ า นการทดสอบการใช้ ง านจริ ง ในการรั ก ษาความ ปลอดภัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. จากผลการ ทดสอบพบว่ า สามารถนำ�ภาพจากกล้ อ งมาใช้ ป ระโยชน์ ทำ�ให้ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นความปลอดภั ย ให้ แ ก่ หน่วยงาน ราคาถูกกว่าท้องตลาด

24 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์

รศ.ดร.จรั ญ บุ ญ กาญจน์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวว่า นักวิจัยใช้ระยะ เวลาในการพั ฒ นาระบบตรวจสอบป้ า ย ทะเบียนรถยนต์ดังกล่าวมากว่า 3 ปี โดยมี เป้าหมายเพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ ด้ านการ รักษาความปลอดภัยในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ซึง่ ได้เริม่ ทดลองใช้งานจริงทีค่ ณะวิศวกรรมศาสตร์มา


ดร.นิคม สุวรรณวร

แล้ว และคาดว่าในอีกไม่ช้าจะสามารถนำ� ไปใช้งานในระดับของมหาวิทยาลัย กระทั่ง สามารถขยายฐานการใช้งานไปยังระดับ จังหวัดสงขลาและครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นภาคใต้ ซึ่งเราได้เข้าพูดคุยกับผู้ว่าราชการจังหวัด สงขลาถึงโอกาสในการผลักดันให้นำ�ระบบ ดังกล่าวนีไ้ ปใช้ในระดับจังหวัดมาก่อนหน้า นี้แล้ว นอกจากนี้ในอนาคตเรายังมีแนว ความคิดที่จะพัฒนาต่อยอดระบบดังกล่าว ให้ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ ใ นเรื่ อ งของการ ป้องกันภัยพิบัติต่างๆ ด้วย ด้ า น ดร.นิ ค ม สุ ว รรณวร อาจารย์ ป ระจำ�ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม คอมพิ ว เตอร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ผู้ พั ฒ นา

ระบบดังกล่าวเปิดเผยว่า ระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการตรวจหาและรู้จัก แผ่นป้ายทะเบียนรถยนต์มาทำ�การประมวล ผลภาพจากกล้องวิดีโอ ซึ่งจะถูกติดตั้งไว้ บริเวณทางเข้าออก เมื่อมีรถผ่านมาก็จะ ทำ�การบันทึกภาพและประมวลผลภาพเก็บ ไว้ในฐานข้อมูล ซึ่งการทำ�งานดังกล่าวจะ เป็นการสะดวกในการค้นหาข้อมูลและมี ประสิ ท ธิ ภ าพในด้ า นการรั ก ษาความ ปลอดภัย และทีส่ ำ�คัญสามารถเรียกดูขอ้ มูล ได้อัตโนมัติผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยได้ ประเมินค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินการเบือ้ งต้น พบว่ า ราคาจะถู ก กว่ า ท้ อ งตลาด แต่ ประสิ ท ธิ ภ าพพร้ อ มทั้ ง ประโยชน์ ยั ง มี มากกว่า สำ�หรับการออกแบบด้านฮาร์ดแวร์ จะแบ่ ง ออกเป็ น สองส่ ว น ส่ ว นแรก คื อ ระบบการวิ เ คราะห์ ภ าพตามเวลาจริ ง (Online Processing Unit) ทำ�การบันทึก และจัดเก็บข้อมูลป้ายทะเบียน ประกอบ ด้วย 3 หน่วยการทำ�งานย่อย คือ การ วิเคราะห์ป้ายทะเบียน (LP Recognition) ระบบการควบคุมการบันทึก (LP Shot/ Video Record Control) และระบบการ ตรวจสอบข้อมูลและเตือน (LP Evaluation

and Alert) ส่วนทีส่ อง คือ ระบบการจัดการ ข้ อ มู ล ภาพป้ า ยทะเบี ย นและรถ (LP Document Management) ซึง่ จะมีหน่วย ย่ อ ยสองส่ ว น คื อ ส่ ว นที่ จ ะทำ�งานตาม ความเร็วจริง ที่จะจัดเก็บข้อมูลที่ได้จากผล การวิเคราะห์ ส่วนทีท่ ำ�งานแบบออฟไลน์ซงึ่ จะเป็นส่วนของสืบค้นและจัดพิมพ์ ระบบตรวจสอบป้ายทะเบียนรถยนต์มี การใช้งานจริงในส่วนงานความมั่นคงแห่ง ชาติ หรือหน่วยงานระดับประเทศอยู่แล้ว แต่เนื่องจากการติดตั้งหรือการลงทุนนั้น ต้องใช้งบประมาณสูงหลักล้านบาท แต่ใน ส่วนของระบบที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่นี้จะ เน้นการติดตั้งในหน่วยงานระดับกลางและ ขนาดเล็ก ใช้งบประมาณเพียง 300,000 บาท เหมาะสำ�หรับหน่วยงานราชการ ห้าง สรรพสินค้า และพื้นที่เสี่ยงภัยที่มีรถเข้า ออกในแต่ละวันจำ�นวนมาก เพื่อลดความ เสี่ยงในการตรวจสอบยานพาหนะที่เป็น อันตราย โดยเฉพาะในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดน ภาคใต้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการตรวจสอบ และตรวจค้นรถเป้าหมายต้องสงสัย ซึ่ง ปัจจุบันฝ่ายความมั่นคงมีการแจ้งเตือนมา อย่างต่อเนื่อง “ระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ สามารถนำ�ไปใช้ กับการแก้ปัญหาของรถที่แปลกปลอมเข้า มาเพือ่ ก่อปัญหาด้านความปลอดภัย เหมาะ สำ�หรับหน่วยงานราชการ ห้างสรรพสินค้า และพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยทีม่ รี ถเข้าออกในแต่ละวัน จำ�นวนมาก เพราะระบบสามารถประเมิน ผลและสืบค้นวิเคราะห์หาป้ายทะเบียนรถ ได้อย่างรวดเร็ว พร้อมทั้งสามารถบันทึก ภาพไว้ เ ป็ น หลั ก ฐานได้ อ ย่ า งชั ด เจน” ดร.นิคม กล่าว หากท่ า นใดที่ มี ค วามสนใจและ ต้องการนำ�ระบบดังกล่าวไปใช้สามารถ ติดต่อได้ที่ ดร.นิคม สุวรรณวร ภาควิชา วิ ศ ว ก ร ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ค ณ ะ วิศวกรรมศาสตร์ โทร 085-0777845 ห รื อ ห น่ ว ย อ ง ค์ ก ร สั ม พั น ธ์ ค ณ ะ วิศวกรรมศาสตร์ 074-287111 PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 25


การศึกษา

ม.อ. เล็งเปิดหลักสูตรร่วมประเทศเพื่อนบ้าน เพิม่ โอกาสบัณฑิตเจาะตลาดแรงงานในอาเซียน อธิการบดี ม.อ. เผยแผนรองรับการเข้าประชาคมอาเซียน เพิ่มหลักสูตรนานาชาติที่น่าสนใจ พร้อมพัฒนาทักษะภาษา เล็ง เปิดหลักสูตรร่วมมหาวิทยาลัยดังในมาเลย์ สิงคโปร์ ผลิตบัณฑิต 2 ปริญญา เตรียมเจาะตลาดแรงงานประเทศเพื่อนบ้าน

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ได้ ก ล่ า วถึ ง การเตรี ย มการของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อรองรับการ เข้าสู่การรวมตัวกันของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน 10 ประเทศ คือ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน พม่า ลาว กัมพูชา ฟิลปิ ปินส์ เวียดนาม และไทย ในปี 2558 ว่า การรวมตัว กันดังกล่าว เป็นทัง้ โอกาสและเป็นทัง้ ท�ำให้เกิด ผลกระทบในเชิงลบกับประเทศไทย โดยเรา อาจจะมีความเด่นในฐานะการเป็นศูนย์กลาง

26 :

PSU

สาร ม.อ.

การท่องเที่ยว การคมนาคม การขนส่งทั้งทาง บก ทางอากาศ การเป็นศูนย์กลางการบริการ ด้านการแพทย์ การรักษาพยาบาลทีม่ คี ณ ุ ภาพ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาที่เป็นจุดแข็ง ของเรา เช่ น สาขาวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ การเกษตร การท่องเที่ยวและบริการ อาหาร มีตลาดแรงงานกว้างขึ้น โดยบัณฑิตที่จบการ ศึกษาสามารถไปท�ำงานต่างประเทศได้งา่ ยขึน้ ถ้ามีการเตรียมพร้อมระหว่างศึกษา แต่ในขณะเดียวกัน จะมีบุคลากรใน อาชี พ บางสาขาจากกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น เข้ามาท�ำงานในไทยมากขึ้น เช่น เทคโนโลยี สารสนเทศ การเงิน บุคลากรทีม่ คี วามสามารถ จะถูกดึงตัวไปท�ำงานยังประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ ี ค่าจ้างสูงกว่า รวมทั้งมหาวิทยาลัยชั้นน�ำจาก ประเทศสิงคโปร์และมาเลเซียจะเข้ามาเปิดใน ประเทศไทย ท�ำให้สถาบันการศึกษาไทยต้อง ปรั บ ตั ว ด้ า นคุ ณ ภาพมากขึ้ น นอกจากนั้ น อุตสาหกรรมบางประเภทจะย้ายฐานการผลิต ไปยังประเทศทีม่ คี า่ แรงต�ำ่ มีแรงงานไร้ฝมี อื เข้า มาในประเทศมากขึ้น ท�ำให้เกิดปัญหาสังคม สิ น ค้ า น� ำ เข้ า บางอย่ า งราคาถู ก กว่ า ผลิ ต ใน ประเทศเพราะไม่ ต ้ อ งเสี ย ภาษี และ

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดย่อมต้องใช้ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมมาช่วยเพื่อ ผลผลิตที่มีคุณภาพมากขึ้น ผลกระทบที่ จ ะเห็ น ได้ ชั ด ส� ำ หรั บ เยาวชนที่ก�ำลังจะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย คือ การที่ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ได้มกี ารตกลงกันเรือ่ งการปรับเปลีย่ นช่วงเวลา การเปิดภาคการศึกษาทีห่ นึง่ ของมหาวิทยาลัย ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2557 จากเดือนมิถุนายน เป็นปลายเดือนสิงหาคม เพื่อให้ตรงกับช่วงเวลาเปิดปิดภาคการศึกษา ของมหาวิทยาลัยในอาเซียน อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนทั้ง 10 ประเทศต่างมีการเตรียมการเพือ่ เข้าสูก่ ารเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทั้งสิ้น ดังนั้นเรา ต้องปรับระบบการศึกษาของเราใหม่ เพื่อ เตรียมคนเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยจะเตรียม พัฒนานักศึกษาให้มีความคิดสร้างสรรค์ มี สมรรถนะในการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การมี ทักษะด้านอาชีพ และการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น ทั้งหมดเหล่านี้อยู่ที่ระบบการสอนของเรา ซึ่ง


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้มีการก�ำหนด แผนเพื่อรองรับกับการรวมตัวของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนดังกล่าวไว้เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ เตรียมพร้อมด้านการเรียนการสอน โดยมีการ เสริมทักษะภาษาอังกฤษแก่นักศึกษา ซึ่งเป็น จุ ด อ่ อ นของเยาวชนไทย การพั ฒ นาภาษา อังกฤษนักศึกษา ได้มีการเตรียมซื้อซอฟต์แวร์ ในการสอนเสริมภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาสามารถพัฒนาภาษา อังกฤษด้วยตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการสอน ภาษาบาฮาซา ซึง่ เป็นภาษาทีใ่ ช้กนั ในมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน ซึง่ เป็นประเทศอาเซียน ตอนใต้ที่มีประชากรรวมกันกว่า 300 ล้านคน หรื อ กว่ า ครึ่ ง ของประชากรในประชาคม อาเซี ย นทั้ ง หมด ซึ่ ง การสามารถพู ด ภาษา ดังกล่าว จะท�ำให้นักศึกษาของเรามีโอกาสใน การเข้าสู่ตลาดแรงงานมากขึ้น มหาวิทยาลัยจะเพิ่มความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยในมาเลเซียและสิงคโปร์ เพื่อให้ สามารถจะมีการเคลือ่ นย้ายนักศึกษา โอนย้าย หน่วยกิตกันระหว่างมหาวิทยาลัยเครือข่ายที่ ร่วมในโครงการ จะมีการเปิดสอนหลักสูตร อาเซียนศึกษาที่คณะวิเทศศึกษา วิทยาเขต ภูเก็ต การเปิดหลักสูตรร่วมกับมหาวิทยาลัย พันธมิตรทีม่ ชี อื่ เสียงในอาเซียน เพือ่ ช่วยในการ เสริมจุดเด่นของเรา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่วิทยาเขตปัตตานี ได้เริ่มการ ท�ำหลักสูตร 2 ปริญญา ในสาขาเทคโนโลยี อาหาร ร่วมกับมหาวิทยาลัยในมาเลเซีย โดย นักศึกษาทั้ง 2 มหาวิทยาลัยมีโอกาสเรียน ร่วมกัน และจะได้รับปริญญาบัตรจากทั้ง 2 มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง จะท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาของ

“ส�ำหรับในด้านการวิจยั มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส า ม า ร ถ เ ข ้ า ท� ำ ง า น ใ น จะเตรียมกลไกการน�ำงานวิจัยไปสู่การใช้งาน ประเทศมาเลเซี ย ได้ โ ดย เชิงพาณิชย์ การน�ำนวัตกรรมเข้าไปเสริมเพื่อ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมขนาดย่ อ มให้ มี ค วาม ไม่ยาก นอกจากนั้น ยังมีการเปิดหลักสูตร สามารถในการแข่งขันกับประเทศเพื่อนบ้าน ร่วมกันระหว่างคณะในมหาวิทยาลัยสงขลา โดยผ่านทางอุทยานวิทยาศาสตร์ จะมีการเพิม่ นครินทร์ ทีม่ กี ารเรียนต่างสาขา เช่น หลักสูตร ความร่วมมือด้านการวิจัยกับมหาวิทยาลัยใน ร่ ว มระหว่ า งคณะรั ฐ ศาสตร์ แ ละวิ ท ยาลั ย ประเทศในภู มิ ภ าคอาเซี ย น โดยเฉพาะใน อิ ส ลามศึ ก ษา ซึ่ ง จะท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาคณะ กัมพูชา พม่า เวียดนาม มีการจัดตัง้ สถาบันวิจยั รัฐศาสตร์มีความรู้เรื่องของอิสลามมากขึ้น ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมหลักของภาคใต้ เป็ น ที่ ย อมรั บ ของประเทศในอาเซี ย นและ และอาเซียน การสร้างกลุ่มวิจัยเพื่อศึกษา ตะวันออกกลาง โดยจะเกิดหลักสูตรลักษณะ และสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน การ บูรณาการงานวิจัยเพื่อน�ำไปสู่การฟื้นฟูศิลป ดังกล่าวขึ้นในหลายคณะในอนาคต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังมี วัฒนธรรม และการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับ แผนจะพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นศูนย์กลาง อาเซียน เพื่อเป็นฐานข้อมูลส�ำหรับประชาชน การศึกษาของอาเซียนตอนใต้ โดยการเพิ่ม แ ล ะ ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ” อ ธิ ก า ร บ ดี หลั ก สู ต รนานาชาติ ที่ มี ค วามเด่ น และได้ รั บ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว ทั้งนี้นอกจากคณะที่เปิดสอนในสาขา ความสนใจจากต่ า งชาติ เช่ น หลั ก สู ต ร เทคโนโลยีอาหาร วิทยาศาสตร์สุขภาพ จะมี วิชาหลักต่างๆ แล้ว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การควบคุมมาตรฐานคุณภาพการศึกษาให้อยู่ ยังได้มกี ารเปิดสอนสาขาวิชาทีส่ ามารถรองรับ ในระดับสากล การสร้างแรงจูงใจ เช่น การให้ การหลอมรวมของประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะ ทุนการศึกษา การเก็บค่าเล่าเรียนให้เท่ากับ เช่ น สาขาดิ จิ ทั ล มี เ ดี ย ซึ่ ง รองรั บ งานการ นักศึกษาไทย การเตรียมการดูแลนักศึกษาต่าง สร้ า งสรรค์ สื่ อ ระดั บ นานาชาติ หลั ก สู ต ร ชาติ โดยการเตรียมจัดตั้ง International สถาปัตยกรรมศาสตร์ที่เน้นสถาปัตยกรรม Student Office ที่จะดูแลนักศึกษาต่างชาติ พืน้ ถิน่ ในเขตร้อนชืน้ ซึง่ มีความร่วมมือระหว่าง แบบ one stop service ในปัจจุบันมีจ�ำนวน กั น กั บ มหาวิ ท ยาลั ย มาลายา สาขาภาษา นักศึกษาต่างชาติทเี่ ข้าศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย อังกฤษธุรกิจ ซึ่งในชั้นปีที่สาม ผู้เรียนสามารถ สงขลานครินทร์ กระจายอยู่ตามวิทยาเขต เลือกที่จะไปเรียนที่จีนหรือมาเลเซียได้ สาขา ต่างๆ จ�ำนวนประมาณ 250 คน โดยส่วนใหญ่ ภาษาอาหรับธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการ มาจากประเทศจีนและอินโดนีเซีย ส่วนจาก จัดการในอิสลาม กฎหมายอิสลาม หลักสูตร ประเทศอืน่ ในกลุม่ อาเซียนยังมีไม่มาก อย่างไร นานาชาติสาขาการจัดการการท่องเที่ยว การ ก็ตาม ในปีการศึกษา 2556 จะมีนักศึกษาจาก จัดการการบริการ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ประเทศอินโดนีเซียเข้าเรียนด้านการศึกษาที่ และโลจิสติกส์เพือ่ การท่องเทีย่ ว และหลักสูตร วิ ท ยาเขตปั ต ตานี อี ก จ� ำ นวน 80 คน ซึ่ ง ที่เน้นด้านภาษา เช่น ภาษาจีน ภาษามลายู อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีผู้ที่จะเข้าสู่การ ภาษาอาหรับ เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นการเตรียม ศึกษาระดับอุดมศึกษาถึงจ�ำนวน 20 ล้านคน บัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งสิ้น PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 27


สู่สังคม/ชุมชน

ม.อ. หวังลดผลกระทบน�้ำท่วม เติมความรู้ “หลักการจัดการลุ่มน�้ำ” สู่ชุมชน คลินิกเทคโนโลยี ส�ำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ จั ด อบรม “หลั ก การจั ด การลุ ่ ม น�้ำ ” แก่ อ าสาสมั ค ร วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (อสวท.) ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สงขลาและ พื้นที่ใกล้เคียง ประกอบด้วยกลุ่มข้ าราชการ แม่บ้าน เกษตรกร ผูป้ ระกอบการ นักเรียน นักศึกษา เมือ่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 หวัง สร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการปัญหาใน พืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ พร้อมปรับใช้เพือ่ ป้องกันและแก้ปญ ั หาภัยพิบตั ิ สร้างความ ร่วมมืออย่างยั่งยืนระหว่างสถาบันการศึกษาและประชาชนในพื้นที่

28 :

PSU

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

ผศ.ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์

ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ รอง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักวิจยั และพัฒนา ฝ่าย วิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน เปิดเผย ว่า จากเหตุการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทย ไม่ ว ่ า จะเป็ น อุ ท กภั ย วาตภัย ธรณีพิบัติภัย หรือการกัดเซาะ ชายฝั่ง ล้วนส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ชุมชนในพื้นที่ ซึ่งจังหวัดสงขลาเป็น พื้นที่หนึ่งที่ประสบกับภัยพิบัติต่างๆ ดังกล่าว และผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ อย่าง ชัดเจน ณ ปัจจุบัน คือ ชุมชนในพื้นที่ ที่ ป ระสบอุ ท กภั ย เริ่ ม ได้ รั บ ความ เดื อ ดร้ อ นจากการขาดแคลนน�้ำ จื ด ไม่มีพื้นที่เก็บกักน�้ำจืดที่จะใช้เพื่อการ อุปโภคบริโภคและเพื่อท�ำการเกษตร มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพอนามัย และการประกอบอาชีพของชาวบ้าน ในชุมชน จากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว คลินกิ เทคโนโลยี ส�ำนักวิจยั และพัฒนา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดย


คณะผู้บริหารพิจารณาแล้ว เห็นสมควร จัดกิจกรรมในลักษณะ “ติดอาวุธทาง ปัญญา” ให้กับชุมชนในจังหวัดสงขลา โดยการให้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับหลัก การจัดการลุม่ น�ำ้ ซึง่ ถือเป็นสิง่ ส�ำคัญล�ำดับ แรกทีจ่ ะต้องด�ำเนินการร่วมกันทุกฝ่าย ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เนือ่ งจากจังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดหนึง่ ทีม่ ี พืน้ ทีห่ ลายพืน้ ทีต่ งั้ อยูใ่ นขอบเขตของลุม่ น�ำ้ ทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กจ�ำนวนหลาย ลุม่ น�ำ้ เช่น ลุม่ น�ำ้ ทะเลสาบสงขลา ประกอบ ด้วย ลุ่มน�้ำย่อยต่าง ๆ เช่น ลุ่มน�้ำคลอง อู่ตะเภา ลุ่มน�้ำรัตภูมิ ลุ่มน�้ำโตนงาช้าง เป็นต้น ผู ้ ช ่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย ์ ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี ภาควิชา ธรณี ศ าสตร์ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า “การจัดการลุม่ น�ำ้ ” คือ “การจัดการ พื้ น ที่ ” ซึ่ ง จะเป็ น การวางแผนเพื่อการ ใช้ประโยชน์ในที่ดินแบบต่างๆ ที่ส่งผล กระทบต่อน�้ำน้อยที่สุด หรือวางแผนเพื่อ การควบคุม แก้ไขผลกระทบหรือปัญหาใน พื้นที่ลุ่มน�้ำที่เกิดขึ้นแล้วให้เบาบางลงหรือ หมดสิ้นไป ซึ่งการจัดการลุ่มน�ำ้ ให้มีความ ยัง่ ยืนได้นนั้ ชุมชนจะต้องเข้าใจการจัดการ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ให้ได้ก่อน เช่น หยุดการ บุกรุกพื้นที่ป่าธรรมชาติ ใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยช่วยอนุรักษ์ดินและน�้ำ ดูแลรักษาป่า เสื่อมโทรมให้มีสภาพดีขึ้น แก้ปัญหาการ ชะล้างพังทลายในพื้นที่ ก�ำหนดมาตรการ

ป้องกันการบุกรุกทางน�้ำธรรมชาติหรือป้องกันการปรับสภาพถมที่ขวางทางน�้ำเป็นบริเวณ กว้าง การให้ความรู้ภายในชุมชนด้วยกันเอง เป็นต้น ซึ่งการจัดการลุ่มน�้ำนั้นมีวัตถุประสงค์ ส�ำคัญ 3 ประการ คือ เพื่อควบคุมปริมาณน�้ำ หมายถึง จะควบคุมปริมาณน�้ำที่มากเกินไป หรือน้อยเกินไปได้อย่างไร เพื่อควบคุมคุณภาพน�้ำ หมายถึง จะควบคุมคุณภาพน�้ำทั้งทาง ฟิสิกส์ เคมี และชีวะ ให้เหมาะสมกับการอุปโภคบริโภคได้อย่างไร และเพื่อควบคุมช่วงการ ไหลของน�ำ้ หมายถึง หากลุม่ น�ำ้ ใดมีชว่ งการไหลของน�ำ้ ทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น มีนำ�้ ไหลออกจาก ลุ่มน�้ำมากในช่วงหน้าฝน พอหน้าแล้งขาดน�้ำในลุ่มน�้ำหรือในคลอง ต้องท�ำให้ลุ่มน�้ำนั้นมีน�้ำ ระบายลงคลองในหน้าแล้ง ให้มีช่วงการไหลได้ยาวนานขึ้น หรือไหลได้ครอบคลุมทั้งปี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ กล่าวเพิม่ เติมว่า การจัดการลุม่ น�้ำจะประสบ ความส�ำเร็จ หากได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาก ชุมชนมีความเข้าใจก็จะสามารถช่วยกันจัดการลุ่มน�้ำในพื้นที่ของตนได้ เช่น ร่วมกันขัดขวาง การไหลบ่าของน�ำ้ หน้าดินในพืน้ ทีข่ องตน ร่วมกันป้องกันสารพิษทีล่ งสูแ่ หล่งน�ำ้ ช่วยกันปลูก พืชให้ปกคลุมหน้าดิน หรือแม้กระทั่งช่วยกันปลูกป่าต้นน�้ำ ท�ำฝายน�้ำล้น ปลูกป่าชายคลอง หรือปลูกพืชเกษตรที่หลากหลายไว้สองฟากฝั่งคลอง เป็นต้น

ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 29


วิจัย

มูลนิธิชัยพัฒนา หนุนศึกษาวิจัย

ศูนย์รวบรวมปาล์มน�้ำมัน

ดึง ม.อ. - วิทยาลัยเกษตรตรัง ร่วมเสริมศักยภาพโครงการ มูลนิธชิ ยั พัฒนา ลงนามร่วมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ศึกษาวิจยั ศูนย์รวบรวม พั น ธุ ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น หวั ง เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล การให้ ผ ลผลิ ต ของ พันธุ์ปาล์มแต่ละพันธุ์ และเป็นศูนย์คัดเลือกและผลิตเมล็ดพันธุ์ ปาล์มเพือ่ ขยายพันธุใ์ ห้กบั เกษตรกร เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2555 ณ ห้องประชุม 1 ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

30 :

PSU

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา กล่าวว่า มูลนิธิชัยพัฒนา มี ค วามพร้ อ มด้ า นแนวความคิ ด ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานโดยตรงจากองค์นายกของ มูลนิธิ คือ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และองค์ประธานบริหาร คือสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ หลัก ส�ำคัญของมูลนิธิคือ ท�ำประโยชน์สุขให้แก่ ประชาชน นอกจากงานพั ฒ นาและ ช่วยเหลือประชาชนโดยตรงแล้ว มูลนิธิ ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การสนั บ สนุ น ด้ า น วิชาการ ด้านการวิจัย ซึ่งงานวิจัยที่ดีที่สุด คืองานวิจัยที่ส่งผลประโยชน์ต่อประชาชน

สาร ม.อ.

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล

และประเทศชาติโดยตรง จึงได้แสวงหา ความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาเพือ่ ร่วม โครงการกับมูลนิธิ ซึ่งนอกจากมูลนิธิจะมี ความพร้อมเรื่องแนวความคิดแล้ว มูลนิธิ ยั ง มี ค วามสามารถด้ า นการสนั บ สนุ น งบประมาณด�ำเนินโครงการ ซึ่งถือว่าเป็น งบประมาณศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เนื่ อ งจากเป็ น งบประมาณที่ ไ ด้ จ ากการรั บ บริ จ าคด้ ว ย ความศรัทธาของประชาชนทั้งสิ้น รศ.ดร.สั ณ ห์ ชั ย กลิ่ น พิ กุ ล ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เปิด เผยถึงความเป็นมาของการลงนามความ ร่วมมือในครัง้ นีว้ า่ ในปี พ.ศ.2555 นี้ มูลนิธิ ชัยพัฒนาได้รับมอบพื้นที่ในเขตป่าสงวน แห่ ง ชาติ บริ เ วณป่ า เหรี ย งห้ อ ง ต� ำ บล นาท่ามเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง จาก กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม จ� ำ นวน 307 ไร่ 34 ตารางวา มูลนิธิจึงมีด�ำริที่จะใช้ประโยชน์ ในพื้นที่แห่งนี้เป็นศูนย์รวบรวมเชื้อพันธุ์ และทดสอบพันธุ์ปาล์มน�้ำมันการค้าของ ประเทศไทย เพือ่ ให้ทราบถึงข้อมูลศักยภาพ ในการให้ผลผลิตของพันธุป์ าล์มน�ำ้ มันแต่ละ พันธุ์ ตลอดจนการคัดเลือกเพื่อผลิตเมล็ด พันธุ์ปาล์มที่ให้ผลผลิตสูง และปรับตัวเข้า กับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยโดย เฉพาะและสามารถที่จะเป็นแหล่งขยาย พันธุป์ าล์มน�ำ้ มันให้กบั เกษตรกรสวนปาล์ม น�้ำมันในอนาคตอย่างยั่งยืนต่อไป

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล

ซึง่ การด�ำเนินงานโครงการในครัง้ นี้ ให้ประสบความส�ำเร็จนั้น มูลนิธิชัยพัฒนา ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของหน่วยงานที่จะ ด�ำเนินการสองหน่วยงานคือสถานวิจัยพืช กรรมปาล์มน�ำ้ มัน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ที่ จ ะเป็ น ผู้ด�ำเนินโครงการวิจัย และวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี ต รั ง ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา เป็นหน่วยงาน สนั บ สนุ น การวิ จั ย จึ ง ได้ เ ชิ ญ ทั้ ง สอง หน่วยงานมาร่วมกันด�ำเนินโครงการนี้ให้ เป็นผลส�ำเร็จตามความคาดหมายต่อไป ด้าน รองศาสตราจารย์ ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวว่า รู้สึกเป็นเกียรติ อย่างยิ่งที่มูลนิธิชัยพัฒนาได้ให้โอกาสกับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งตรงกับ นโยบายของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่จะให้องค์ความรู้ที่มหาวิทยาลัยมีอยู่ไป ช่วยพัฒนาสังคมและชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ เพื่ อ ที่ จ ะยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และ ความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น โดย มหาวิทยาลัยจะรับผิดชอบในการด�ำเนิน โครงการวิจัยการรวบรวมเชื้อพันธุกรรม และการทดสอบพันธุ์ปาล์มน�้ำมันการค้า ของไทย ในพื้นที่ทดลองมูลนิธิชัยพัฒนา จั ง หวั ด ตรั ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ พั น ธุ ์ ป าล์ ม ที่ มี คุณสมบัตทิ ดี่ ี เหมาะสมกับพืน้ ทีภ่ าคใต้และ ให้ผลผลิตสูง ส่งผลให้ผลิตผลของเกษตรกร ในพื้นที่เพิ่มสูงขึ้น

นายสมศักดิ์ แพรกม่วง

ขณะที่นายสมศักดิ์ แพรกม่วง ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ตรัง กล่าวว่า รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่มูลนิธิ ชัยพัฒนาได้ให้เกียรติวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีตรังได้ร่วมสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้ เกิดขึน้ กับประชาชนในจังหวัดตรังและพืน้ ที่ ใกล้เคียง ซึ่งหลังจากนี้ไปพื้นที่จ�ำนวน 307 ไร่ 34 ตารางวา ที่จะได้ใช้ศึกษาวิจัยศูนย์ รวบรวมพั น ธุ ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น จะกลายเป็ น ขุ ม ทรั พ ย์ ค ลั ง ปั ญ ญาอย่ า งดี ยิ่ ง ในส่ ว น ของวิทยาลัยเกษตรเทคโนโลยีตรังจะร่วม สนั บ สนุ น โครงการวิ จั ย โดยการช่ ว ยเก็ บ ข้อมูลและจัดท�ำบันทึกด้านวิชาการ ดูแล การจัดการสวนปาล์มน�้ำมัน และอ�ำนวย ความสะดวกต่างๆ ให้แก่นักวิจัย ตลอดจน เก็บเกี่ยวผลผลิตส่งจ�ำหน่ายเพื่อน�ำรายได้ ให้แก่มูลนิธิชัยพัฒนาเพื่อสร้างประโยชน์ ต่อไป ซึง่ ทางวิทยาลัยจะดึงความร่วมมือใน ระดั บ จั ง หวั ด และในระดั บ ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมพลังเป็น หนึ่งเดียวเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานให้ ลุล่วงเป็นผลส�ำเร็จ

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 31


สู่ความเป็นนานาชาติ

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

สองอดีตผู้น�ำในประเทศอาเซียน หนุนการรวมตัวของ กลุ่มประเทศในภูมิภาค เชื่อการอยู่ร่วมกันให้ได้ท่ามกลางความ หลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ ศาสนา และการประสานประโยชน์กับ ประเทศเพื่อนบ้าน เป็นแนวทางหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง และเป็น แบบอย่างการแก้ปัญหาที่ประเทศในภูมิภาคอื่นควรน�ำไปใช้

สองอดีตผู้น�ำ เชื่อการเจรจาจะลดความขัดแย้ง ชูวิธีการของอาเซียนควรเป็นตัวอย่างให้ภูมิภาคอื่น นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ ดร.มหาธีร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ร่วมปาฐกถาพิเศษ “วิสัยทัศน์ผู้น�ำเกี่ยวกับการเมือง ความขั ด แย้ ง และสั น ติ ภ าพในประเทศสมาชิ ก อาเซียน” ในการประชุมวิชาการนานาชาติรัฐศาสตร์

32 :

PSU

สาร ม.อ.

รัฐประศาสนศาสตร์ และสันติศึกษาในบริบทอาเซียน เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ทีศ่ นู ย์ประชุมนานาชาติฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖o ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จัดโดยสถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับสมาคมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ภาคใต้ สถานวิจัยความขัดแย้ง และความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555


ดร.มหาธีร์ โมฮัมหมัด และอีกหลายหน่วยงานในภาคใต้ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายก รัฐมนตรี กล่าวว่า ความเจริญก้าวหน้าของโลก ทุกวันนี้ ไม่ได้ทำ� ให้ปญ ั หาความขัดแย้งหมดไป โดยเฉพาะประเทศชายขอบที่ มั ก มี ก าร เผชิญหน้าของผูท้ มี่ คี วามแตกต่างทางเชือ้ ชาติ ศาสนา รวมทั้ ง อุ ด มการณ์ ความคิ ด เห็ น ทางการเมื อ ง และยั ง มองไม่ เ ห็ น กลไกที่ สามารถแก้ปัญหานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ความขัดแย้งมักจะเริ่มจากการเอา ข้อเท็จจริงไปเผยแพร่ในทิศทางทีท่ �ำให้อกี ฝ่าย รู้สึกถึงการเสียเปรียบ การไม่ได้รับความเป็น ธรรม ซึ่ ง น� ำ ไปสู ่ ก ารแปลกแยกและความ รุนแรง แม้แต่ประเทศทีเ่ ป็นประชาธิปไตยแล้ว ก็ ส ามารถเกิ ด ความขั ด แย้ ง ขึ้ น ได้ จ ากผล ประโยชน์ที่ขัดกัน มีการท�ำลายหลักยุติธรรม และเกิดการตอบโต้จากอีกฝ่ายหนึ่ง การอยู่ร่วมกันให้ได้ท่ามกลางความ หลากหลาย ไม่ได้อยูท่ กี่ ารขจัดผูท้ เี่ ห็นต่างเพือ่ ให้สงั คมไม่มคี วามขัดแย้ง และไม่ใช่ใช้สตู รการ แก้ปัญหาสูตรเดียวกันกับที่ใช้ในทุกเรื่อง การ ใช้กำ� ลังจะก่อให้เกิดวัฏจักรของความขัดแย้งที่ ไม่สิ้นสุด ความขัดแย้งในภาคใต้เป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ ว เนือ่ งกับประวัตศิ าสตร์ เชือ้ ชาติ ศาสนา ซึง่ บาง ช่วงเวลาอาจจะดูว่าคลี่คลายไปในทางที่ดี แต่ ในที่สุดก็เกิดความรุนแรงขึ้นอีกในเวลาต่อมา การแก้ปัญหาความขัดแย้งในภาคใต้ หากใช้ ก�ำลังแต่เพียงอย่างเดียวจะไม่ได้ความสงบที่ ยัง่ ยืน ต้องร่วมกันหาทางยุตโิ ดยใช้กระบวนการ ทางการเมือง ความยุตธิ รรม และให้ทกุ ฝ่ายเข้า มามีบทบาทในการแก้ปญ ั หา เพือ่ น�ำไปสูค่ วาม ปรองดอง “เราควรจะค้นหาความเป็นจริงมา สรุปให้ได้ความเข้าใจทีต่ รงกันด้วยความอดทน มี ก ารใช้ ห ลั ก ยุ ติ ธ รรมเพื่ อ แก้ ป ั ญ หา โดย

ผู ้ มี ห น้ า ที่ ต ้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการใช้ อ�ำนาจจัดการ และดูความต้องการการพัฒนา ของพื้นที่ ที่ส�ำคัญคือการเปิดพื้นที่ให้ทุกฝ่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และเสนอ นโยบายในการจัดการกับปัญหาเหล่านัน้ มีการ เสวนากันจนเกิดการไว้วางใจและการยอมรับ ของทุกฝ่าย” กรณี ก ารรวมตั ว ของประเทศใน อาเซียน ความขัดแย้งที่เกิดในประเทศหนึ่ง ยอมส่ ง ผลกระทบถึ ง อี ก ประเทศหนึ่ ง ซึ่ ง มี หลายครั้งที่แก้ไขส�ำเร็จโดยการไกล่เกลี่ยของ คนกลางหรือประเทศทีส่ าม โดยการใช้รปู แบบ ที่เหมาะสม มีความเข้าใจความละเอียดอ่อน ของปัญหา ทุกฝ่ายย่อมต้องการจะเห็นความ ขัดแย้งยุติลง จึงควรสร้างสังคมที่มีการเรียนรู้ การอยูร่ ว่ มกันท่ามกลางความหลากหลาย หาก ทั้งภาครัฐ องค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ และ สือ่ มวลชน ร่วมกันสร้างค่านิยมของการรักสันติ การเคารพสิทธิผอู้ นื่ แล้ว ความสงบสุขก็จะเกิด ขึ้นอย่างยั่งยืนในโลก ในขณะที่ ดร.มหาธีร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย กล่าวว่า หลายคน เข้าใจว่าการรวมตัวของประเทศในประชาคม อาเซียนนั้นก็เพื่อผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป แต่จริงๆ แล้วองค์กรนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากความต้องการ เวทีในการเจรจาส�ำหรับผู้น�ำ เพื่อจัดการเมื่อ เกิ ด ความขั ด แย้ ง ในกลุ ่ ม สมาชิ ก ส� ำ หรั บ ประเทศมาเลเซียเองตัง้ แต่มกี ารก่อตัง้ ประเทศ หลังได้รับเอกราช เคยเกิดความขัดแย้งเรื่อง ดินแดนกับประเทศเพื่อนบ้านกับทุกประเทศ เช่น พื้นที่แหล่งก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยกับ ประเทศไทย การอ้างสิทธิใ์ นเกาะทีม่ ธี รรมชาติ งดงามกับอินโดนีเซีย การอ้างสิทธิ์ในเกาะ เล็กๆ ที่เป็นที่ตั้งของประภาคารกับสิงคโปร์

ปัญหาพื้นที่กลางทะเลซึ่งอุดมไปด้วยแหล่ง น�ำ้ มันกับบรูไน ซึง่ ความขัดแย้งนัน้ สามารถยุติ ได้ ด ้ ว ยการเจรจาประสานและแบ่ ง ปั น ผล ประโยชน์ระหว่างกัน หรือด้วยการยอมรับ การตัดสินของศาลโลก หากปัญหาดังกล่าว สามารถตกลงกันได้ในโต๊ะเจรจา แม้ปัจจุบันยังมีปัญหาเรื่องสิทธิในหมู่ เกาะในรัฐซาบาห์และซาราวัคกับฟิลิปปินส์ และปัญหาผูอ้ พยพย้ายถิน่ ชาวโรฮิงญากับพม่า แต่ก็ยังอยากใช้การเจรจาหรือใช้ศาลโลกเป็น ผู้ตัดสิน ความส�ำเร็จของการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งด้วยการเจรจาทั้งในโต๊ะเจรจา และพูด คุยกันเป็นการส่วนตัวของผู้นำ� ของประเทศใน กลุ่มประชาคมอาเซียนในช่วงเวลาที่ผ่านมา ควรเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ส� ำ หรั บ ประเทศอื่ น ๆ เพราะเป็ น วิ ธี ก ารจั ด การความขั ด แย้ ง ของ สังคมที่มีอารยธรรม และสงครามก็ไม่ใช่สิ่งที่ ทุกคนต้องการ การจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ และสันติศกึ ษา ในบริบทอาเซียน ในหัวข้อ “ประชาสังคม การเมื อ ง และการพั ฒ นาประเทศใน ประเทศสมาชิกอาเซียน” มีขนึ้ เมือ่ วันที่ 6-7 กันยายน 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหา ความรู้ใหม่ ๆ มาอธิบายสภาพและสาเหตุของ ปัญหา และหาทางออกจากการบริหารของ ท้ อ งถิ่ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสั ง คมภู มิ ภ าคอาเซี ย น ปัจจุบัน และเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการระหว่างนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ในประชาคมอาเซียน ที่จะได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ สร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาและความก้าวหน้าทางวิชาการ

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 33


รางวัลแห่งคุณภาพ

ศาสตราจารย์ นพ.วีระศักดิ์ จงสูว่ วิ ฒ ั น์วงศ์ “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” ปี 54 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ของ ปอมท.

ศาสตราจารย์ นพ.วีระศักดิ์ จงสู่ วิ วั ฒ น์ ว งศ์ ประธานหลั ก สู ต รระบาดวิ ท ยา นานาชาติ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง หน่ ว ยระบาดวิ ท ยา คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้ อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ (วพส.) ได้รับรางวัล “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” ประจ�ำปี พ.ศ.2554 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย (ปอมท.) โดยจะมีพิธีมอบโล่ รางวัลเกียรติยศและเกียรติบตั ร จาก ฯพณฯ นายก รัฐมนตรี ในพิธีเปิดการประชุมวิชาการ ปอมท. ประจ�ำปี 2555 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 นี้ ณ หอประชุมเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสูว่ วิ ฒ ั น์วงศ์ เป็นผูอ้ ทุ ศิ ตนอย่างต่อเนือ่ งเป็น เวลากว่า 25 ปี ในการจัดระบบความคิดด้านงาน วิ จั ย ทางระบาดวิ ท ยา เป็ น ผู ้ มี ค วามคิ ด อย่ า งมี วิจารณญาณ ได้ท�ำเป็นตัวอย่างและสอนให้นกั วิจยั รุน่ ใหม่เรียนรูพ้ งึ่ ตนเองและช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ทั้งในสาขาวิชาตนเองและสาขาวิชาอื่นๆ กระทั่ง การข้ามศาสตร์ ท�ำให้รอบรู้และสามารถท�ำงาน ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางและเป็นประโยชน์ต่อ สังคม และได้รบั การยอมรับจากหน่วยงานสากลใน ระดั บ นานาชาติ แ ละสถาบั น การศึ ก ษาในต่ า ง ประเทศ

34 :

PSU

สาร ม.อ.

ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ มีผลงานการสร้างทรัพยากร มนุษย์ส�ำหรับงานวิจัยระดับนานาชาติให้แก่ทวีป เอเชียเป็นจ�ำนวนมาก พิสูจน์ได้จากจ�ำนวนมหา บั ณ ฑิ ต ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต และผลงานของบั ณ ฑิ ต เหล่ า นั้ น ในด้ า นการรั บ ทุ น วิ จั ย การตี พิ ม พ์ ใ น วารสารนานาชาติ มีการพัฒนาสถาบันเครือข่ายทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพใน การวิจัยส�ำหรับแก้ปัญหาสุขภาพของเอเชีย ได้รับ การยอมรั บ จากสถาบั น วิ จั ย ต่ า งๆ ในเอเชี ย ใน ความเป็นผูน้ ำ� และผลงานการเพิม่ คุณภาพการวิจยั และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการวิจัยของ สถาบันเครือข่ายเหล่านั้น และการสร้างเครือข่าย นักวิจัยเพื่อเสริมความเข้มแข็งทางวิชาการของ สถาบันอุดมศึกษาในพืน้ ที่ เพือ่ ให้สามารถแก้ปญ ั หา ภาคใต้ได้ในระยะยาว สามารถท�ำงานวิจยั ประสาน กับการพัฒนาสุขภาพในชุมชนอย่างกว้างขวาง นอกจากนั้ น ยั ง มี ผ ลงานวิ จั ย ทางด้ า น ระบาดวิ ท ยาที่ โ ดดเด่ น สามารถน�ำ ไปใช้ แ ก้ ไ ข ปั ญ หาสาธารณสุ ข ของประเทศไทยโดยเฉพาะ ในภาคใต้อย่างมีมาตรฐานสูงต่อเนื่องยาวนาน มี ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในระดับนานาชาติจำ� นวนมาก ท�ำให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในภาคใต้ให้พน้ จากปัญหาโรคและความยากจน ผลงานวิจยั ทีม่ กี าร ด�ำเนินมาต่อเนื่องยาวนาน ได้แก่เรื่องการติดตาม สภาวะปัญหาสุขภาพต่างๆ ของภาคใต้ โดยเฉพาะ โรคจากความยากจน เช่น บาดทะยักเด็กแรกคลอด ท้องร่วง ปอดบวม หนอนพยาธิผา่ นดิน และปัญหา ทุ พ โภชนาการ การวิ จั ย ทางระบาดวิ ท ยาของ วัณโรค ปัญหาปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม เช่น สารหนู จากการท�ำเหมือง ปัญหาสุขภาพการเจริญพันธุข์ อง

ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนสิงหาคม - กันยายน 2555

ประเทศต่างๆ ในเอเชีย โดยมีงานวิจยั ทีไ่ ด้รบั รางวัล ในระดับชาติและนานาชาติจ�ำนวนมาก ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ วางตนเป็นแบบอย่างให้แก่ศิษย์และคนที่ท�ำงาน ร่วมกันด้านอุดมการณ์ในการท�ำงานเพื่อส่วนรวม โดยมุ่งการวิจัยไปทีก่ ลุม่ คนที่ก�ำลังได้รบั ความทุกข์ ทางด้านสุขภาพและสังคม โดยไม่ค�ำนึงถึงความ แตกต่างด้านเชื้อชาติ ชนชั้น และวัฒนธรรม ให้ เกียรติและสร้างการมีส่วนร่วมของคนทุกระดับ เป็นแบบอย่างในการคิดค้นแก้ไขปัญหาและพัฒนา งานที่ยากล�ำบาก ท้าทาย และบางครั้งต้องมีความ เสี่ยงอันตรายเพื่อให้ได้ผลดีต่อสังคมในระยะยาว ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ มีลูกศิษย์ในระดับนานาชาติในสาขาวิทยาศาสตร์ มากและกว้างขวางที่สุดคนหนึ่งในบรรดาอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้รบั การกล่าวขวัญ ถึงการท�ำงานในการบ่มเพาะลูกศิษย์แบบตัวต่อตัว ซึ่งเป็นตัวอย่างและเสมือนต�ำนานบัณฑิตศึกษาซึ่ง หาได้ยากในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก มีบุคลิก การวางตัวและอุปนิสัยที่เรียบง่าย สมถะ เป็นผู้น�ำ ทางวิชาการ มีความเมตตาต่อผู้ร่วมงาน เหมาะสม ทีจ่ ะได้รบั การยกย่องให้เป็นแบบอย่างอาจารย์และ นักวิจัยที่ดีมาโดยตลอด ศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสูว่ วิ ฒ ั น์วงศ์ เคยได้รบั รางวัลระดับชาติหลาย รางวัล อาทิ เมธีวิจัยอาวุโส ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย พ.ศ.2539-2545 นักวิจัยดีเด่น แห่ ง ชาติ ประจ� ำ ปี 2552 สาขาวิ ท ยาศาสตร์ การแพทย์ สภาวิจัยแห่งชาติ และนักวิจัยแกนน�ำ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 2553-2558


รางวัลแห่งคุณภาพ

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คว้า 2 รางวัล

Best Paper Award นักศึกษาปริญญาโทและเอก สาขา วิศวกรรมขนส่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ม.อ. ได้เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ ATRANS Symposium ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้องาน ประชุม “Transportation for A Better Life : Preparing for ASEAN Integration” เมื่อวันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพมหานคร โดยในการ จัดงานครั้งนี้ได้รับเกียติจาก นายศิลปชัย จารุเกษมรัตนะ ปลัดกระทรวงคมนาคม มาเป็นประธานและกล่าวเปิดงาน ในโอกาส นี้ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรม ขนส่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คว้า 2 รางวัล Best Paper Award ภายในงานมีการบรรยายหัวข้อทาง วิชาการและผลงานวิจัยด้านการคมนาคม และขนส่ง รวมทั้งประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ นอกจากนี้ ยังมีเวทีใน การน� ำเสนอผลงานวิจัยส� ำหรับนักศึกษา โดยนั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโทและเอก สาขา วิศวกรรมขนส่ง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ได้น�ำเสนอผลงานวิจัย 7 ผลงานด้วยกัน ประกอบด้วยผลงานต่าง ๆ ดังนี้

1. นายดลยฤทธิ์ เสฏฐสุ ว จะ เรือ่ ง Highway - Railway Grade Crossing Accident Cost in Thailand 2. Mr.HuyHuu Nguyen เรื่อง The Impact of Urbanization on Road Traffic Safety in Ho Chi Minh City 3. พ.ต.ต.อมรชัย ลีลาขจรจิตร เรือ่ ง Advantage of Map Based Accident Data 4. นางสาวนพวรรณ แท่นเล็ก เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมและการเลือก รู ป แบบการเดิ น ทางเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ สั ง คม คาร์ บ อนต�่ ำ : กรณี ศึ ก ษาเทศบาลนคร หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 5. นายเอกลักษณ์ กาญจนเพ็ญ เรื่ อ งการสื บ สวนสาเหตุ ก ารเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จราจรจากรถโดยสารสาธารณะ : กรณีศกึ ษา ภาคใต้ 6. นายปิ ย ะพงศ์ สุ ว รรณโณ เรื่ อ ง การวิ เ คราะห์ ค วามเปราะบางของ โครงข่ายถนนเนื่องจากภัยพิบัติ กรณีศึกษา อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 7. นายพัชรพงษ์ พิบูลย์ เรื่อง การศึกษาความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ รถจักรยานยนต์ หลั ง จากการน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย

ปรากฏว่า นายปิยะพงศ์ สุวรรณโณ และนายพัชรพงษ์ พิบูลย์ ได้รับรางวัล Best Paper Award จากการเข้าร่วมงาน ATRANS ในครั้งนี้ ท�ำให้นักศึกษาและ อาจารย์ได้รับความรู้ พร้อมแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ใหม่ๆ จากนักวิชาการ อาจารย์ และผู้เข้าร่วมงาน

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY

: 35


ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง “ (our Soul is for the Benefit of Mankind) ”

PSU is a university Beyond University

เอกสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กำ�หนดออกเป็นประจำ�ทุกสองเดือน จัดทำ�โดย งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : 15 ถนนกาญจนวนิช อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทร. 0-7455-8959 http://www.psu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.