17 18
6 15 32
รอบรั้วศรีตรัง
คณะทันตแพทยศาสตร์
ร่วมสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าจัดงานวันรณรงค์ทันตสาธารณสุข
และงานเปิดกระปุกออมเงินฯ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ น ้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง สมเด็ จ ย่ า จั ด วันรณรงค์ทันตสาธารณสุขฯและงานเปิดกระปุกออมเงินฯ โดยมี ท ่ า นสมพร ใช้ บ างยาง ประธานกรรมการบริ ห าร กองทุ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ 100 ปี สมเด็ จ ย่ า ให้ เ กี ย รติ เป็ น ประธานในการเปิ ด งานวั น รณรงค์ ทั น ตสาธารณสุ ข แห่งชาติและงานเปิดกระปุกออมเงินวันละเหรียญ..เพื่อผู้ป่วย ปากแหว่ ง เพดานโหว่ โครงการ 2 เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพสมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี ห รื อ ย่าของปวงชนชาวไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ของ ทุ ก ปี คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ร่วมกับโรงพยาบาลมิตรภาพ สามัคคี จัดงานวันทันตสาธารณสุข แ ห ่ ง ช า ติ เ พื่ อ ใ ห ้ บ ริ ก า ร ท า ง ทันตกรรมแก่ประชาชนทั่วไปโดยไม่คิดมูลค่า โดยมีผู้มารับบริการ ที่โรงพยาบาลทันตกรรม จ�ำนวน 832 ราย ได้รับบริการทางทันตกรรม ในด้านต่างๆ ดังนี้ อุดฟัน 164 ราย 191 ซี่ ถอนฟัน 82 ราย 97 ซี่ ผ่าฟันคุด 44 ราย 45 ซี่ ขูดหินน�้ำลาย 305 ราย เคลือบฟลูออไรด์ 46 ราย เคลือบหลุมร่องฟัน 68 ราย 105 ซี่ ได้รับบริการอื่น ๆ 158 ราย นอกจากนี้ ยังมีพิธีเปิดกระปุกออมเงินโครงการวันละเหรียญ เพื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยปากแหว่ ง เพดานโหว่ โครงการ 2 ของกองทุ น เฉลิ ม พระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือ อย่ า งดี ยิ่ ง จากผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา ประชาชนทั่ ว ไป นั ก ศึ ก ษาตลอดจน บุคลากรของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ร่วมออมเงินเพื่อน�ำมาบริจาคสมทบกองทุเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการได้ส่งมอบคืนกระปุกมาแล้วกว่า 700 กระปุก ส�ำหรับเงินทุกบาททุกสตางค์ ทางกองทุนได้น�ำไปช่วยเติมเต็มร้อยยิ้ม ให้กับผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ของกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ผู ้ ป ่ ว ย ปากแหว่งเพดานโหว่มากกว่า 400 คน โดยแต่ละปีจะมีค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู ้ ป ่ ว ยในกลุ ่ ม นี้ ค ่ อ นข้ า งสู ง เนื่ อ งจากเป็ น การรั ก ษาที่ ต ่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ แ รกเกิ ด จนกระทั่งเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายจะมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ประมาณ 2 แสนบาท โดยเงินที่ได้รับบริจาคในครั้งนี้ได้น� ำไปเป็นค่าใช้จ่าย ในการดูแ รักษาผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ในกองทุนต่อไป
มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน
สารบัญ รอบรั้วศรีตรัง
แนะน�ำบุคคล
• คณะทันตแพทยศาสตร์ ร่วมสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าจัดงานวันรณรงค์ 2 ทันตสาธารณสุข และงานเปิดกระปุกออมเงินฯ • ชาวอุตสาหกรรมเกษตร ม.อ. 8 ร่วมใจ ออกค่ายพัฒนาโรงเรียนชนบท ครั้งที่ 16 14 • สาธารณสุข ช่วยผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ • สโมสรอาจารย์และข้าราชการ ม.อ. จัดพื้นที่จ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ 16 มีห้องส�ำหรับออกก�ำลังกาย และก่อตั้งชมรมเพื่อสุขภาพ • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการ ม.อ. ในงานเฉลิมพระเกียรติ 120 ปี สมเด็จพระบรมราชชนก ที่จุฬาฯ 17 • ม.อ.ถวายปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 18 • อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ ผลงานดีเด่น ม.อ.ปี 55 20 • งานวันสงขลานครินทร์ 23 • ม.อ. 5 วิทยาเขต พร้อมใจถวายราชสักการะ สมเด็จพระบรมราชชนก ใน “วันมหิดล” 30 • ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปัตตานี ร่วมกับ ม.อ.ปัตตานี จัดการประกวดบทเพลงเพื่อแม่ 34
• ธีรพัฒน์ อังศุสิงห์ ผู้อุทิศตนเพื่อสังคม จาก ม.อ.สุราษฎร์ฯ กับงานกู้ภัย 12 • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ปี 2555 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ 28
สิ่งแวดล้อม • 9 เขตลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ปรับตัวและพึ่งพาตนเองรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ • “PB Watch” เพื่อความเข้าใจและเข้าถึงชุมชนอ่าวปัตตานี ผ่านประสบการณ์ภัยพิบัติ ปี 53 ของนักวิชาการ ม.อ.
4 10
การศึกษา • ม.อ.สุราษฎร์ร่วม ซีพี ขยายสหกิจศึกษา สู่สายการผลิตอุตสาหกรรมฮาลาล • โครงการเรียนดี ม.อ.เปิดโอกาสให้เยาวชนคนเก่งทั่วประเทศ เข้าศึกษา ประกาศผลสอบสัมภาษณ์ คณะเภสัชฯ มีผู้เลือกมากที่สุด
15 24
วิจัย • Birdotanais Songkhlaensis สัตว์พื้นใต้น�้ำสกุลใหม่พบในทะเลสาบสงขลา
26
ภาพเป็นข่าว • คณะวิศวฯ จัดโครงการพัฒนานักศึกษา เข้าสู่ประชาคมอาเซียน • โครงการ “ติวเข้มความถนัดถาปัตย์ ม.อ.ตรัง’ 55 • นศ.วิศวฯ คว้าสองรางวัลจาก TESA Top Gun Rally 2012
33 33 33
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ • The Best of Innovative Inventor จาก BRAND’S Gen
35
นวัตกรรม • คณะวิทย์ ม.อ. คว้ารางวัลชนะเลิศรางวัลนวัตกรรม “แอพพลิเคชั่น เครื่องดนตรีไทย” • เตียงคลอดพีเอสยู นวัตกรรมของโลก ลดปวด-ใช้เวลาน้อย
6 32
28
2
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
3
สิ่งแวดล้อม
ปรับตัวและพึ่งพาตนเองรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ผศ.ดร.โรจนั จ ฉริ ย ์ ด่ า นสวั ส ดิ์ คณบดี ค ณะการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คณะฯ ได้ร่วมกับส�ำนักงานนโยบาย และแผน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม (สผ.) กระทรวงทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1 จ�ำนวน 9 ครั้ง ใน 9 พื้ น ที่ ร ่ ว มกั บ ภาครั ฐ ประชาชนในท้ อ งถิ่ น และผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ ภายใต้ โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน เพื่อการระดมความคิดเห็น เกี่ ย วกั บ การปรั บ ตั ว เพื่ อ รั บ มื อ กั บ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ อ ากาศ ที่น�ำมาเป็นกรณีศึกษา และวางแผนอนาคตร่วมกัน ดังนี้
ผศ.ดร.โรจนัจฉริย์ ด่านสวัสดิ์ คณบดีคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
ครั้ ง ที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 18 มิ ถุ น ายน 2555 ณ โรงแรมหาดแก้วรีสอร์ท ต�ำบล ชิ ง โค อ� ำ เภอสิ ง หนคร จั ง หวั ด สงขลา ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2555 ณ ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการรับมือกับการ เปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2555 ณ สภาลานวัดตะโหมด อ�ำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ครั้ ง ที่ 4 เมื่ อ วั น ที่ 5 กรกฎาคม 2555 ณ เขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า ทะเลน้ อ ย ต�ำบลพะนางตุง อ�ำเภอควนขนุน จังหวัด พัทลุง ครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 ณ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเคร็ง อ�ำเภอ ชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้ ง ที่ 6 เมื่ อ วั น ที่ 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 ณ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น วิ ช าการ 12 กรมพั ฒ นาสั ง คมและ สวั ส ดิ ก าร กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและ ความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ต� ำ บลพะวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
4
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2555 ณ วัดเอก ต�ำบลเชิงแส อ�ำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ครั้ ง ที่ 9 เมื่ อ วั น ที่ 3 กั น ยายน 2555 ส� ำ หรั บ ผู้ประกอบการธุรกิจ ณ คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อ� ำ เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการศึ ก ษา ท� ำ ให้ ไ ด้ ท ราบถึ ง การรั บ รู ้ ข อง ประชาชนต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ จากผลกระทบที่รับรู้ได้ อย่างไรก็ดี การกระท� ำของ มนุษย์ยิ่งส่งเสริม และตอกย�้ำให้มีผลกระทบที่รุนแรง มากขึ้น ทั้งนี้ ประชาชนรอบลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา มีการปรับตัวในอดีตที่ผ่านมา ดังนี้คือ 1. การกัดเซาะชายฝั่ง อาจท�ำให้มีการกัดเซาะ ทั้งในทะเลสาบสงขลา เช่น บริเวณปากรอ ป่าขาด บางเหรี ย ง และแหลมโพธิ์ รวมไปถึ ง บริ เ วณ ชายฝั่งทะเล เช่น บริเวณหาดแก้ว เก้าเส้ง เกาะแต้ว นาทับ และสะกอม ปรับตัวโดยการปลูกป่าชายเลน ช่ ว ยลดการกั ด เซาะของน�้ ำ ทะเลที่ รุ น แรง และมี ความพยายามในการหาข้อตกลงระหว่างชุมชน และ หน่วยงานภาครัฐ ด้วยการเลือกใช้มาตรการที่ชุมชน ยอมรับได้ เพื่อลดความขัดแย้งในปัญหาการกัดเซาะ 2. น�้ ำ ท่ ว ม หากปริ ม าณน�้ ำ ฝนที่ ต กลงมา มากกว่าปกติและในช่วงสั้นๆ อาจส่งผลให้มีน�้ำท่วม ขั ง ได้ ง ่ า ย โดยเฉพาะพื้ น ที่ บ ริ เ วณอ� ำ เภอหาดใหญ่ นอกจากนี้ ก ารลดลงของป่ า ไม้ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด การถล่ ม ของดิ น ที่ ท� ำ ลายบ้ า นเรื อ น และผลผลิ ต ทางการเกษตรบริเวณเชิงเขาได้
ชุมชนมีการปรับตัวใน 3 รูปแบบ คือ การพึ่งพา ตนเองแบบเบ็ดเสร็จ การพึ่งพาตนเองแบบรวม กลุ ่ ม และการรวมกลุ ่ ม เพื่ อ การช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น เพื่ อ เตรี ย มตั ว พร้ อ มรั บ กั บ สถานการณ์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เช่ น การเตรี ย มเสบี ย งอาหาร อุ ป กรณ์ การสื่อสาร และถ่านไฟฉาย เพื่อลดการพึ่งพิงไฟฟ้า จากส่วนกลาง 3. พายุ ความแปรปรวนของลมทั้งทิศทางและ ขนาดที่อาจเกิดขึ้นท�ำให้เกิดพายุที่รุนแรง ส่งผลกระทบ ต่อประชาชนนานัปการ ชาวประมงในทะเลสาบสงขลา ให้ข้อมูลว่า หลังเกิดพายุรุนแรงชาวประมงจับสัตว์น�้ำ ในทะเลได้มากขึ้น แต่ลมพายุกลับท� ำลายเครื่องมือ ประมงเสียหาย ณ ชุมชนอ�ำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ประชาชนมีการรวมตัวกันเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟู ป่าไม้ เช่น การจัดตั้งกองทุนการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน�้ำ เช่ น การปลู ก ต้ น ตะเคี ย นริ ม ห้ ว ย รวมไปถึ ง การท� ำ ป่ายางแทนที่การท� ำสวนยาง คือ มีต้นไม้แบบผสม ผสานมากขึ้นในป่ายาง เพื่อเพิ่มความหลากหลายใน ป่ายาง ท�ำให้ประชาชนมีผลผลิตตลอดทั้งปี 4. ระบบนิ เ วศ ชุมชนบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ ป่าทะเลน้อย ประชาชนที่ประกอบกิจการน�ำเที่ยวมี ข้อสังเกตที่ชัดเจนว่ามีจ�ำนวนนกลดน้อยลงอาจเป็น เพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ประชาชนที่ประกอบ กิจการน�ำเที่ยว มีการปรับตัวด้วยการเปลี่ยนวิธีการน�ำ เที่ยวและชวนชมให้ไปดูสิ่งที่น่าสนใจอย่างอื่นแทน เช่น การน� ำชมควายเล่นน�้ ำ การน� ำชมบัว แทนการ ชมนก อพยพในพื้นที่เพียงอย่างเดียว 5. ภัยแล้ง พรุควนเคร็ง ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ ขี่ นึ้ ทะเบียน แรมซ่าไซท์ (Ramsar Site) แห่งแรกของประเทศไทย ในช่ ว งฤดู ร ้ อ น และแล้ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ระบบน�้ ำ บริเวณที่แห้ง อาจก่อให้เกิดไฟไหม้ป่าพรุได้ประชาชน ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับกระจูดเพื่อการจักสานมีการ ปรับตัวจากการ “ตัด” กระจูด เป็นการ “ถอน” กระจูด เนื่องจากการตัดกระจูด มีความสะดวกก็จริง แต่จะ เหลือโคนต้นกระจูดซึ่งกลายเป็นเชื้อเพลิงการลุกไหม้
ได้ง่าย แต่ส�ำหรับการถอนกระจูดจะไม่เหลือโคนทิ้งไว้ 6. เกษตรกรรม สภาพภูมิอากาศอาจเกิดการแปรปรวนรุนแรง จนท�ำให้เกษตรกรลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลาไม่สามารถมั่นใจได้กับ สภาพอากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ส่ ง ผลกระทบต่ อ เกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว ที่ฤดูกาลไม่มีความแน่นอน เกษตรกรชาวนา มีการปรับตัวด้วยการเลือกปลูกพันธุ์ข้าวที่ให้ผลเชิงเศรษฐกิจสูง เช่น พันธุ์ข้าวสังข์หยด พันธุ์ข้าวเล็บนก ประกอบกับส�ำรองอาชีพที่หลากหลาย เช่น เดิมจากการพึ่งพิงการท�ำนาเพียงอย่างเดียว อาจต้องมีอาชีพส�ำรอง เช่น การรับจ้างทั่วไป และการเกษตรผสมผสานในไร่นาของตนเอง เพื่อมีการปลูกพืชหมุนเวียน 7. การใช้ชีวิตของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหลายอย่าง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ การใช้ ชี วิ ต ตามปกติ ข องมนุ ษ ย์ ทั่ ว ไป รวมถึ ง บริ เ วณ ชายฝั่งทะเล และพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชนที่ต�ำบลคูขุดมีการรวมตัวกันจัดตั้ง กองทุนช่วยเหลือ เมื่อมีเหตุประสบภัย รวมไปถึงการอนุรักษ์สัตว์ทะเล ส่วนหน่วย งานราชการให้การช่วยเหลือในการปล่อยพันธุ์ปลาและกุ้ง เพื่อเพิ่มปริมาณอาหาร ทะเลบริเวณทะเลสาบสงขลา 8. ศิลปวัฒนธรรม ความรุนแรงของสภาพภูมิอากาศ อาจส่งผลต่อศิลปวัฒนธรรม ด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ และแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติของ ลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา จากความชื้น ลม พายุ ฝน และน�้ำท่วม หน่วยงานภาครัฐ เช่น ส�ำนักงานศิลปากรที่ 13 มีการปรับตัวโดยการฝึกอบรมให้ประชาชนร่วมกัน ดูแลรักษาสาธารณะสมบัติของคนลุ่มน�ำ้ ทะเลสาบสงขลาให้คงอยู่คู่ลูกหลานต่อไป ส่วนภาคประชาชนยืนยันการด�ำรงของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างบ้านเรือน ตามรู ป แบบดั้ ง เดิ ม เช่ น การสร้ า งบ้ า นยกพื้ น รั บ มื อ น�้ ำ ท่ ว ม และมี ต ้ น ไผ่ ล ้ อ ม รอบบ้านเพื่อลดความแรงจากพายุฝน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
5
นวัตกรรม
คณะวิทย์ ม.อ.
คว้ารางวัลชนะเลิศรางวัลนวัตกรรม
“แอพพลิเคชันเครื่องดนตรีไทยฯ” ส�ำหรับแอพพลิเคชันดนตรีไทย ระนาดเอกที่จัดท�ำขึ้น สามารถเลือก เล่นได้สองแบบคือ แบบฝึกหัด และเล่น อย่างอิสระ โดยสามารถก�ำหนดจังหวะ ของฉิ่งได้ 3 แบบ คือ ชั้นเดียว สองชั้น และสามชั้น และเลือกไม้ระนาดแบบ ไม้แข็ง และไม้นวมได้อีกด้วย สามารถ รองรับลูกเล่นการตีระนาดอย่าง ตีคู่ แปด, ตีกวาด, ตีเก็บ, ตีกรอได้ด้วย
นายกษิดิ์กฤกษณ์ ด�ำเกลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษา
คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ชนะเลิ ศ โครงการรางวั ล นวั ต กรรมแห่ ง ประเทศไทย ครั้ ง ที่ 12 ด้ ว ยผลงาน แอพพลิ เ คชั น เครื่ อ งดนตรี ไ ทย ส�ำหรับคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต - ระนาดเอก ของนายศุภกิตติ์ จันทร์เลิศ และนายอธิวัชร์ ทองนวล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โดยมีอาจารย์กษิดิ์กฤษณ์ ด�ำเกลี้ยง เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา โดยได้ รับถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ พร้อมเงินรางวัล 50,000 บาท จาก ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม 2555 เป็นการใช้ นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ธ�ำรงวัฒนธรรมไทย ให้คนรุ่นใหม่เรียนรู้และเล่นดนตรีไทยได้ง่าย และสะดวกต่อการพกพา
นายศุภกิตติ์ จันทร์เลิศ
นายอธิวัชร์ ทองนวล
โครงการประกวดรางวั ล แห่ ง ประเทศไทย จั ด โดยสมาคมวิ ท ยาศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) โดยมีผลงานจากทั่วประเทศเข้าแข่งขัน
6
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
นายศุภกิตติ์ จันทร์เลิศ และนายอธิวัชร์ ทองนวล นักศึกษา สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า แรงบั น ดาลใจในการคิ ด ค้ น แอพพลิ เ คชั น ดนตรี ไ ทย ระนาดเอกเพื่ อ สื บ สานวั ฒ นธรรมไทย และให้คนรุ่นใหม่หันมาสนใจดนตรีไทย โดยที่ ระนาด เป็นเครื่องดนตรีไทย ชิ้นเอกของไทย ส�ำหรับแอพพลิเคชันดนตรีไทย ระนาดเอกที่จัดท�ำขึ้น สามารถ เลือกเล่นได้สองแบบคือ แบบฝึกหัด และเล่นอย่างอิสระ โดยสามารถ ก� ำ หนดจั ง หวะของฉิ่ ง ได้ 3 แบบ คื อ ชั้ น เดี ย ว สองชั้ น และสามชั้ น และเลือกไม้ระนาดแบบไม้แข็ง และไม้นวมได้อีกด้วย สามารถรองรับ ลูกเล่นการตีระนาดอย่าง ตีคู่แปด,ตีกวาด, ตีเก็บ, ตีกรอได้ด้วย ทั้ ง นี้ เมื่ อ ออกแบบด้ า นเทคนิ ค และกราฟฟิ ค แล้ ว จะอั ด เสี ย ง ระนาดเอกจากการตี ร ะนาดจริ ง จากการเล่ น ระนาดโดย อาจารย์ ทนงศั ก ดิ์ ปานงาม ศูนย์ส่งเสริมศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ โดยได้รับความอนุเคราะห์จากหน่วยโสตทัศนศึกษา คณะทั น ตแพทยศาสตร์ ม.อ.ในการอั ด เสี ย ง เมื่ อ เล่ น ระนาดเอก บนแท็บเล็ตจะได้เสียงเหมือนเล่นระนาดจริง ผลงานชิ้ น นี้ มี รู ป แบบที่ ส วยงาม มี เ อกลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น และ จุ ด ที่ ส ามารถพั ฒ นาต่อยอดไปก็คือ ในส่วนของการฝึกหัด อาจารย์ กษิดิ์กฤษณ์ ด�ำเกลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษากล่าวว่า ปัจจุบันแอพพลิเคชัน ดนตรี ไ ทย ระนาดเอก ได้ น� ำ เพลง แขกบรเทศชั้ น เดี ย ว ให้ เ ล่ น ใน ระยะต่ อ ไปจะมี เ พลงพื้ น ฐานเพิ่ ม ขึ้ น เช่ น เพลงลาวเสี่ ย งเที ย น และ เพลงลาวครวญ เพื่ อ เพิ่ ม เพลงให้ ฝ ึ ด หั ด มากกว่ า นี้ นวั ต กรรมนี้ จ ะ ช่วยให้คนรุ่นใหม่สนใจดนตรีไทยมากขึ้น ในอนาคตสามารถน�ำไอแพด มาฝึ ก ตี ร ะนาด และเดื อ นตุ ล าคม 2555 สามารถ Download แอพพลิเคชั่นฟรี โดยค้นหาค�ำว่า ระนาดเอก(Ranaad-Xek) และโดย ส่วนตัวก็ชอบเล่นระนาดเอก ผศ.ดร.อ� ำ นาจ เปาะทอง ประธานภาควิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ เปิดเผยว่า จุดเด่นของผลงานชิ้นนี้ คือ การบูรณาการความรู้ด้านคอมพิวเตอร์กับดนตรี ไทยเข้าด้วยกัน จะช่วยส่งเสริมวัฒนธรรม ไม่ให้ วั ย รุ ่ น หลงใหลกั บ วั ฒ นธรรมต่ า งชาติ และให้ ความสะดวกเนื่องจากการน�ำระนาด เพื่อเดินทาง ไปแสดงจะท� ำ ไม่ ไ ด้ ทุ ก โอกาส แต่ ส ามารถใช้ แทบเล็ต ที่พกพาง่าย เล่นระนาดได้ทันที ขอชื่นชม นักศึกษาไทยของเราที่มีความสามารถไม่แพ้ชาติใด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดสาขาวิชา เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เมื่ อ ปี 2548 เน้ น ให้ ค วามรู ้ และทั ก ษะในเชิ ง ลึ กเกี่ยวกับ การจั ดการและประยุ กต์ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีด้านฐาน ข้อมูล ด้านสื่อประสม ด้านอินเตอร์เน็ตและการสื่อสาร ด้านเว็บและ
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยังให้ความรู้ในแนว กว้างด้านการประยุกต์ทัศนศิลป์และการออกแบบกราฟิก ด้วยคอมพิวเตอร์ การผลิตแอนิเมชั่นและเกมคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์และการโปรแกรมเหมาะส�ำหรับผู้ชอบ นวัตกรรมบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และประยุกต์ศิลป์ โดยที่ นั ก ศึ ก ษาภาควิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสาร มีผลงานดีเด่นระดับชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดย ปี2553 น.ส.ปิยวรรณ ศรีแก้ว และนายภรัณยู อานนท์ ได้ รั บ รางวั ล ผลงานโดดเด่ น ด้ า น Artificial Intelligence จาก ผลงาน ระบบอั ต โนมั ติ ใ นการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากบั ต ร ประชาชน ในการแข่งขัน “รางวัลเจ้าฟ้าไอทีรัตนราชสุดา สารสนเทศ ครั้งที่ 6” ปี 2554 นายธีรทัศน์ เสียงอ่อน ได้รับรางวัลที่ 2 ประเภทโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ระดับ นิสิตนักศึกษา จากผลงานชื่อ “ระบบบรรยายออนไลน์” จากการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14 เป็นต้น
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
7
รอบรั้วศรีตรัง
คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด โครงการ “ค่ า ย อุ ต สาหกรรมเกษตรเพื่ อ ชนบท ครั้ ง ที่ 16” ณ โรงเรี ย นวั ด สว่ า งอารมณ์ อ� ำ เภอสิ ง หนคร จั ง หวั ด สงขลา ระหว่ า งวั น ที่ 13-16 ตุ ล าคม 2555 นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์และบุคลากร ร่วมกันพัฒนาอาคารเรียน ปรับปรุงภูมิทัศน์ พร้อมทั้ง จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์คนในชุมชน หวังสืบสานพระราชปณิธาน “เห็นประโยชน์ ของเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” ของสมเด็ จ พระบรมราชชนก สนั บ สนุ น ปั จ จั ย ด้ า นการศึ ก ษา พั ฒ นาเด็ ก และเยาวชน พร้ อ มกระตุ ้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มให้ เ กิ ด ขึ้ น ในชุมชน
ชาวอุตสาหกรรมเกษตร ม.อ. ร่วมใจ ออกค่ายพัฒนาโรงเรียนชนบท ครั้งที่ 16
ศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี ชินะโชติ
8
ศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี ชินะโชติ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า คณะอุตสาหกรรมเกษตรเล็งเห็น ความส�ำคัญของการท�ำประโยชน์เพื่อสังคมส่วนรวม และปลูกฝังให้นักศึกษา มีจิตส�ำนึก รู้จักการแบ่งปัน ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก ที่ให้ทุกคนเห็นแก่ประโยชน์ของเพี่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง จึงได้จัดโครงการ ค่ า ยอุ ต สาหกรรมเกษตรเพื่ อ ชนบทขึ้ น มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น เป็นครั้งที่ 16 ซึ่งนอกจากจะช่วยให้โรงเรียนและชุมชนเกิดการพัฒนาขึ้นแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากร คณาจารย์ รวมทั้งศิษย์เก่าของ คณะอุ ต สาหกรรมเกิ ด ความรั ก ความสามั ค คี กั น ได้ แ ลกเปลี่ ย นทั ศ นคติ แนวคิด วิถีชุมชนกับคนในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตของ นั ก ศึ ก ษา ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ตนเองและสั ง คมต่ อ ไป นอกจากนี้ ค ณะ อุ ต สาหกรรมเกษตรยั ง มี น โยบายที่ จ ะน� ำ งานวิ ช าการเข้ า สู ่ ชุ ม ชน โดยจะ เข้าเยี่ยมชุมชนและช่วยแก้ปัญหาด้านอุตสาหกรรมเกษตรให้อีกด้วย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
ด้ า นนายกิ ต ติ พ งษ์ สุ ว รรณรั ต น์ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 3 คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ประธานโครงการค่ า ยอุ ต สาหกรรมเกษตรเพื่ อ ชนบท ครั้งที่ 16 กล่าวว่า กิจกรรมของการออกค่ายในครั้งนี้ ประกอบด้วย การทาสีและน�ำยา กันปลวกอาคารเรียนหลังใหม่ อาคารอเนกประสงค์ ทาสีรั้วโรงเรียน ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยรอบด้วยการตัดหญ้าในสนามฟุตบอล ตัดแต่งต้นไม้ รวมทั้งจัดกิจกรรมสันทนาการ ให้ แ ก่ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นวั ด สว่ า งอารมณ์ และจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าสานสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ชาวบ้านกับนักศึกษา ใช้งบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 140,000 บาท ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นเงิน ที่นักศึกษาคณะอุตสาหกรรมเกษตรช่วยกันระดมทุนด้วยการขอรับบริจาคจากผู้ใจบุญ ที่ต้องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน การมาร่วมพัฒนาโรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ ในครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ โ รงเรี ย นมี อ าคารเรี ย นที่ พ ร้ อ มมากขึ้ น และยั ง ช่ ว ยกระตุ ้ น ให้ ชุ ม ชนเกิ ด การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ร่วมกันสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนให้แนบแน่นและยั่งยืน
ขณะที่นางกมลวรรณ รอดทองอ่อน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ กล่าวว่า การที่ นั ก ศึ ก ษา คณาจารย์ แ ละบุ ค ลากรจากคณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เข้ามาช่วยพัฒนาโรงเรียนให้มีความพร้อมมากขึ้นนั้นถือเป็นความโชคดี ของโรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ โดยเฉพาะการเข้ามาพัฒนาอาคารเรียนหลังใหม่ ซึ่งนอกจาก จะใช้เป็นสถานที่เรียนหนังสือของเด็กๆ แล้ว ยังจะใช้เป็นสถานที่ส�ำหรับการจัดกิจกรม ต่างๆ เช่นการจัดกิจกรรมวันเด็ก การจัดกิจกรรมนั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรม กิจกรรมวันครู และอีกหลายๆ กิจกรรมที่จะช่วยเพิ่มทักษะชีวิตให้แก่พวกเขาได้ ในนามของตัวแทน โรงเรียนขอขอบคุณทุกๆ ฝ่ายที่มีส่วนช่วยให้กิจกรรมดีๆ นี้เกิดขึ้น ขอบคุณที่เห็นความ ส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาและมี หั ว จิ ต หั ว ใจเดี ย วกั น ในการพั ฒ นาการศึ ก ษาให้ ดี ขึ้ น ทางโรงเรียนรู้สึกซาบซึ้งและขอชื่นชมในน�้ำใจของนักศึกษา คณาจารย์และบุคลากรทุกคน ที่ ช ่ ว ยกั น พั ฒ นาโรงเรี ย นอย่ า งเต็ ม ความสามารถ โรงเรี ย นหวั ง ว่ า จะได้ มี โ อกาสดู แ ล ช่วยเหลือ หรือเอื้อเฟื้อในเรื่องหนึ่งเรื่องใดแก่ชาวสงขลานครินทร์ได้บ้างในอนาคต
นายกิตติพงษ์ สุวรรณรัตน์
นางกมลวรรณ รอดทองอ่อน
คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ จัดให้มีโครงการค่ายอุตสาหกรรม เกษตรเพื่ อ ชนบทขึ้ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยหวั ง ให้ นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติงาน การปฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ชุ ม ชนและชาวบ้ า น การท� ำ งาน เป็ น หมู ่ ค ณะ ได้ เ รี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข อง คนในท้ อ งถิ่ น ผ่ า นกิ จ กรรมการพั ฒ นาชนบท โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ า นการศึ ก ษาของเยาวชน สิ่งส�ำคัญที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
9
สิ่งแวดล้อม
“PB Watch”
เพื่อความเข้าใจและเข้าถึงชุมชนอ่าวปัตตานี
ผ่านประสบการณ์ภัยพิบัติ ปี 53 ของนักวิชาการ ม.อ.
โครงการ PB Watch ได้มีการน�ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภัยพิบัติ ที่หลายหน่วยงาน ได้จัดท�ำขึ้นและเป็นประโยชน์ ให้ความรู้กับชุมชนมาเป็นปีที่สอง โดย ปี 2554 เป็นการเน้นเรื่อง การเตรียมพร้อมเพื่อรับมือภัยพิบัติในแต่ละพื้นที่ ปี 2555 เน้นเรื่องการเรียนรู้การประเมิน สถานการณ์ด้วยตนเอง และในปีหน้า จะเป็นการสอนให้ชาวบ้านสามารถจ�ำลองสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นได้ โดยขณะนี้ก�ำลังปรับสื่อเพื่อการอบรมให้ง่ายต่อการเข้าใจ ซึ่งนอกจาก การให้ความรู้กับ 16 ชุมชนรอบอ่าวปัตตานีซึ่งถือเป็นพื้นที่ต้นแบบแล้ว จะมีการขยายเครือข่ายออกไปยังพื้นที่เสี่ยงต่างๆ ในภาคใต้ต่อไป
ดร.สมพร ช่วยอารีย์
“การให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจกั บ ชาวบ้ า นดู เ หมื อ นจะเป็ น เรื่ อ งยาก แต่หากเราปรับเครื่องมือที่สร้างมาเพื่อการอบรมและใช้ภาษาให้เข้าใจง่าย ปรับกระบวนการน�ำเสนอให้สอดคล้องกับพื้นที่ มีการจ�ำลองตัวอย่างของ พื้นที่นั้นๆ มาให้เห็น เช่น ให้เห็นว่าน�้ำที่ไหลมาท่วมบ้านมาจากไหน ก�ำลัง จะไหลไปไหน มี อ ะไรเป็ น สิ่ ง กี ด ขวางทางน�้ ำ อะไรคื อ สาเหตุ ใ ห้ น�้ ำ ท่ ว ม ในพื้นที่นานกว่าที่อื่นๆ เพื่อจะให้เขามองปัญหาดังกล่าวว่าเป็นเรื่องส่วน รวม ที่ต้องช่วยกันแก้ไขไม่ใช่ปัญหาส่วนตัวที่จะป้องกันเฉพาะซื้อกระสอบ ทรายมากั้ น หน้ า บ้ า นเท่ า นั้ น นอกจากนั้ น การก้ า วเดิ น ไปด้ ว ยกั น ระหว่า ง นักวิชาการกับชุมชน ยังน�ำไปสู่ความเข้าใจ เห็นใจ และยังเป็นแบบอย่าง ให้นักศึกษาในการเข้าพัฒนาชุมชนจากองค์ความรู้ที่สามารถน� ำใช้ได้จริง”
ดร.สมพร ช่วยอารีย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการ คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยว่า อ่าวปัตตานีเป็น อ่ า วปากแม่ น�้ำที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในภาคใต้ ข องประเทศไทย มีพื้นที่ ประมาณ 74 ตร.กม. เป็ น เขตที่ มี ช าวประมงหนาแน่ น ที่ สุ ด ในประเทศไทย มี ห มู ่ บ ้ า นชาวประมงพื้ น บ้ า นตั้ ง เรี ย งรายอยู ่ 30 หมู่บ้าน ประชากรทั้งสิ้นประมาณ 50,000 คน แต่จากการ เกิ ด การดี เ พรสชั่ น และเกิ ด น�้ ำ ทะเลซั ด ขึ้ น ฝั ่ ง บนพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง อ่าวไทย เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้สร้างความเสียหาย ให้กับหมู่บ้านชายทะเลจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมู่บ้าน
10
ที่อยู่รอบอ่าวปัตตานี จนท�ำให้เครื่องมือประมง และบ้านเรือน ของประชาชนเสี ย หายโดยสิ้ น เชิ ง หรื อ บางส่ ว น หลั ง การเกิ ด ภัยพิบัติในครั้งนั้น นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้เข้าส�ำรวจพื้นที่ พบว่า ที่ผ่านมาชาวบ้าน ยังขาดความรู้และความเข้าใจ ขาดกลไกและแผนในการตั้งรับ กับสถานการณ์ เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เคยประสบมาก่อน ในชั่ ว ชี วิ ต แต่ ห ลั ง จากนั้ น ก็ ไ ด้ เ กิ ด การช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น ภายในชุ ม ชนและเครื อ ข่ า ย ทั้ ง ภาครั ฐ องค์ ก รเอกชนและ ชาวบ้าน มีกลุ่มอาสาต่างๆ เกิดขึ้นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ยังพบ บทเรียน เรื่องเล่า ประสบการณ์ ความรู้ท้องถิ่นจากเหตุการณ์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
ซึ่ ง สามารถใช้ เ ป็ น ต้ น ทุ น ส� ำ หรั บ ท� ำ แผนเพื่ อ การตั้ ง รั บ กั บ ภั ย พิ บั ติ ต ่ อ ไป จึงได้ร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม และชาวบ้านในพื้นที่ จัดโครงการ “การพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนและเครือข่ายทางสังคม เพื่อการจัดการสาธารณภัย: กรณีศึกษาอ่าวปัตตานี” หรือ PattaniBay Watch – PBWatch เพื่ อ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ ชุ ม ชนติ ด ตั้ ง กลไกเชิ ง ระบบ ที่ เ กิ ด จากศั ก ยภาพในการพึ่ ง พาตนเองของชุ ม ชน เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ ม ในการตั้งรับกับสถานการณ์ภัยพิบัติต่าง ๆ ในอนาคต และสามารถลดความ สู ญ เสี ย ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น สามารถแก้ ป ั ญ หาในระยะยาวได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยในปัจจุบันสามารถชักชวนให้หมู่บ้านรอบอ่าวปัตตานี เข้าร่วมโครงการได้ รวม 16 ชุมชน โครงการดังกล่าว มุ่งทั้งให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยพิบัติ การฟื้นฟู การป้องกัน เช่น การปลูกป่าชายเลนเพื่อลดความแรงของคลื่น การสร้าง จิ ต ส� ำ นึ ก เพื่ อ ชุ ม ชน และการใช้ ร ะบบสารสนเทศในการสื่ อ สารและ การประเมิ น สถานการณ์ สามารถท�ำ งานร่ ว มกั บ นั ก วิ ช าการได้ เ มื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมาได้ มี ก ารอบรมให้ ค วามรู ้ พื้ น ฐานเรื่ อ งเทคโนโลยี สารสนเทศไปแล้วหลายรุ่น จ�ำนวน ประมาณ 400 คน นอกจากนั้น ยังได้ น� ำ องค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การจ� ำ ลองแบบ การแสดงภาพ เสมื อ นจริ ง ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ธ รรมชาติ โดยเป็ น การบู ร ณาการความรู ้ ด้านคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และวิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาภัยพิบัติ และมีการน�ำความรู้ที่ได้จากการวิจัยส่งต่อให้ชุมชนต่อไป “การให้ความรู้ ความเข้าใจกับชาวบ้านดูเหมือนจะเป็นเรื่องยาก แต่หากเราปรับเครื่อง มือที่สร้างมาเพื่อการอบรมและใช้ภาษาให้เข้าใจง่าย ปรับกระบวนการ น�ำเสนอให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ มีการจ� ำลองตัวอย่างของ พื้นที่นั้นๆ มาให้เห็น เช่น ให้เห็นว่าน�้ำที่ไหลมาท่วมบ้านมาจากไหน ก�ำลัง จะไหลไปที่ไหน มีอะไรเป็นสิ่งกีดขวางทางน�้ำบ้าง อะไรคือสาเหตุให้น�้ำ ท่วมในพื้นที่นานกว่าที่อื่นๆ ท�ำให้เขามองปัญหาดังกล่าวว่าเป็นเรื่อง ของส่วนรวม ที่ต้องร่วมกันแก้ ไม่ ใช่ปัญหาส่วนตัวที่จะป้องกันเฉพาะ ซื้อกระสอบทรายมากั้นหน้าบ้านเท่านั้น นอกจากนั้น การก้าวเดินไป ด้วยกันระหว่างนักวิชาการกับชุมชน ยังน�ำไปสู่ความเข้าใจ เห็นใจ และ ยังเป็น แบบอย่างให้นักศึกษาในการเข้าพัฒนาชุมชนจากองค์ความรู้
ที่สามารถน�ำใช้ได้จริง” ดร.สมพร ช่วยอารีย์ กล่าว ในหน้ า ฝนภาคใต้ ที่ เ ริ่ ม ปลายตุ ล าคมนี้ ได้ มี การติ ด ตั้ ง สถานี ต รวจอากาศอั ต โนมั ติ จ� ำ นวน 7 สถานี ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเก็บข้อมูล ในพื้ น ที่ ม าประมวลผล และจั ด ให้ แ ต่ ล ะชุ ม ชน ตั ว อย่ า งได้ ม าน� ำ เสนอแผนการเตรี ย มการเพื่ อ รับมือเมื่อเกิดภัยพิบัติ เป็นการฝึกให้ชุมชนคิดแผน จัดการชุมชนด้วยตนเอง โครงการ PB Watch ได้ มี ก ารน� ำ ข้ อ มู ล ที่ เกี่ยวข้องกับการเกิดภัยพิบัติ ที่หลายหน่วยงานได้ จั ด ท� ำ ขึ้ น และเป็ น ประโยชน์ ให้ ค วามรู ้ กั บ ชุ ม ชน มาเป็นปีที่สอง โดย ปี 2554 เป็นการเน้นเรื่องการ เตรี ย มพร้ อ มเพื่ อ รั บ มื อ ภั ย พิ บั ติ ใ นแต่ ล ะพื้ น ที่ ปี 2555 เน้นเรื่องการเรียนรู้การประเมินสถานการณ์ ด้วยตนเอง และในปีหน้า จะเป็นการสอนให้ชาวบ้าน สามารถจ�ำลองสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ โดยขณะนี้ ก�ำลังปรับสื่อเพื่อการอบรมให้ง่ายต่อการเข้าใจ ซึ่ง นอกจากการให้ความรู้กับ 16 ชุมชนรอบอ่าวปัตตานี ซึ่งถือเป็นพื้นที่ต้นแบบแล้ว จะมีการขยายเครือข่าย ออกไปยังพื้นที่เสี่ยงต่างๆ ในภาคใต้ต่อไป
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
11
แนะน�ำบุคคล
ธีรพัฒน์ อังศุสิงห์ ผู้อุทิศตนเพื่อสังคม
จาก ม.อ.สุราษฎร์ฯ กับงานกู้ภัย เป็ น อาสาสมั ค รกู ้ ภั ย ของมู ล นิ ธิ กุ ศ ลศรั ท ธาสุ ร าษฎร์ ธ านี “ผม ตั้งแต่อายุ 17 ปี เพราะมีความคิดแบบเด็กๆ ที่อยากนั่งรถกู้ภัยที่มีเสียงดัง
นายธีรพัฒน์ อังศุสิงห์
วิ่งรับผู้บาดเจ็บไปโรงพยาบาล ตลอดเวลาที่ได้สัมผัสการเป็นอาสาสมัคร กู ้ ภั ย สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ มาตลอด 14 ปี คื อ ค� ำ ขอบคุ ณ จากผู ้ ที่ เ ราได้ ช ่ ว ยเหลื อ แม้จะไม่ได้รับเป็นเงินทองของรางวัล แต่ภาพแห่งรอยยิ้มและค�ำขอบคุณ ก็ ม ากพอส� ำ หรั บ การเป็ น อาสาสมั ค รกู ้ ภั ย ” นายธี ร พั ฒ น์ อั ง ศุ สิ ง ห์ นักวิชาการอุดมศึกษา กองวิชาการและการพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กล่าวขึ้นเมื่อถูกถามถึงที่มาที่ไป ของการเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครกู้ภัยของมูลนิธิกุศลศรัทธาสุราษฎร์ธานี เมื่อปี 2541 ก่อนจะเข้าท�ำงานที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี และริเริ่มก่อตั้งงานกู้ภัยขึ้นภายในรั้วมหาวิทยาลัย
นายธีรพัฒน์ อังศุสิงห์ เป็นหนึ่งในผู้ได้รับรางวัลผู้อุทิศตน เพื่อประโยชน์ของผู้อื่น จากกิจกรรมวันประโยชน์เพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดขึ้นเนื่องในวัน มหิดล ประจ�ำปี 2555 มีผลงานโดดเด่นด้านการช่วยเหลือสังคม จากการเป็ น อาสาสมั ค รกู ้ ภั ย ในจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี และน�ำ แนวคิดการกู้ภัยเข้ามาใช้ในมหาวิทยาลัย ด้วยการจัดตั้งชมรม นักวิทยุสมัครเล่นและอาสาสมัครกู้ภัย มีภารกิจตั้งจุดประสาน งานช่วยเหลือและปฐมพยาบาลนักศึกษา ประชาชนผู้ประสบเหตุ
12
ต่างๆ พร้อมสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานราชการร่วมเสริมก�ำลัง ให้การช่วยเหลือเป็นไปอย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ นายธีรพัฒน์เล่าว่าระยะแรกที่เข้าท�ำงานที่มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ได้ พ บเห็ น นั ก ศึ ก ษา ถูกรถชนในมหาวิทยาลัยต้องช่วยเหลือตนเองเพื่อไปโรงพยาบาล ขณะที่ ก� ำ ลั ง บาดเจ็ บ จึ ง ได้ เ ข้ า ไปช่ ว ยเหลื อ เนื่ อ งจากชุ ม ชน รอบข้างมหาวิทยาลัยยังไม่มีเครือข่ายกู้ภัย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จุ ด ประกายให้ เ ขาคิ ด ที่ จ ะตั้ ง จุ ด ประสานงานการช่ ว ยเหลื อ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
“ผมเป็นอาสาสมัครกู้ภัยของมูลนิธิกุศล ศรัทธาสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่อายุ 17 ปี เพราะมีความคิดแบบเด็กๆ ที่อยากนั่งรถ กู้ภัยที่มีเสียงดัง วิ่งรับผู้บาดเจ็บไปโรง พยาบาล ตลอดเวลาที่ได้สัมผัสการเป็น อาสาสมัครกู้ภัยสิ่งที่ได้รับมาตลอด 14 ปี คือค�ำขอบคุณจากผู้ที่เราได้ช่วยเหลือ แม้จะไม่ได้รับเป็นเงินทองของรางวัล แต่ภาพแห่งรอยยิ้มและค�ำขอบคุณก็มากพอ ส�ำหรับการเป็นอาสาสมัครกู้ภัย” นักศึกษาและชุมชนรอบข้าง นายธีรพัฒน์เริ่มต้นงานกู้ภัยด้วย การเข้ า ช่ ว ยปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น และประสานงานเรียกรถ กู้ภัยจากมูลนิธิภายในจังหวัดมารับนักศึกษาผู้ประสบเหตุไป ส่งโรงพยาบาลซึ่งตั้งอยู่ค่อนข้างห่างไกลจากมหาวิทยาลัย กระทั่งปี 2552 มีนักศึกษาจ�ำนวนหนึ่งสนใจที่จะเข้าร่วม เป็ น อาสาสมั ค รช่ ว ยเหลื อ นั ก ศึ ก ษาที่ ป ระสบอุ บั ติ เ หตุ ใ น มหาวิทยาลัย นายธีรพัฒน์จึงเสนอให้เกิดโครงการจัดตั้งชมรม นักวิทยุสมัครเล่นและอาสาสมัครกู้ภัยขึ้น โดยนักศึกษาที่เป็น อาสาสมัครกู้ภัยจะตั้งจุดเตรียมความพร้อมทุกวันตั้งแต่เวลา 19.00-24.00 น. บริ เ วณถนนที่ ตั ด ผ่ า นระหว่ า งมหาวิทยาลัย กั บ ภายนอก คอยรั บ แจ้ ง เหตุ จ ากต� ำ รวจและศู น ย์ กู ้ ภั ย ของ จังหวัดสุราษฎร์ธานี หากได้รับแจ้งการเกิดเหตุ นักศึกษาอาสา สมั ค รจะน� ำ รถกู ้ ภั ย ซึ่ ง เป็ น รถส่ ว นตั ว ของนั ก ศึ ก ษาเองพร้ อ ม อุปกรณ์ปฐมพยาบาลไปรับผู้ประสบเหตุส่งโรงพยาบาล โดยทีม นักศึกษากู้ภัยของมหาวิทยาลัยจะดูแลพื้นที่ภายในวิทยาเขต ต�ำบลขุนทะเลและต�ำบลมะขามเตี้ย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปั จ จุ บั น นายธี ร พั ฒ น์ ก� ำ ลั ง เป็ น ผู ้ ผ ลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การกู้ภัย การช่วยเหลือนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยที่มีความเข้มแข็ง และเป็ น รู ป ธรรม โดยร่ ว มมื อ กั บ บุ ค ลากรและนั ก ศึ ก ษาใน มหาวิ ท ยาลั ย จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย สุ ร าษฎร์ ธ านี ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบอุ บั ติ เ หตุ อุ ท กภั ย อั ค คี ภั ย และเหตุ อื่ น ๆ แม้ปัจจุบันจะมีนักศึกษาที่ปฏิบัติงานอย่างจริงจังเพียงไม่กี่คน
แต่เขาเชื่อมั่นว่าก�ำลังเพียงน้อยนิดจะสามารถร่วมกันสร้างพลัง อันยิ่งใหญ่ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ เป็นไปตามพระราชปณิธาน ของพระราชบิ ด าที่ ใ ห้ ถื อ ประโยชน์ ข องเพื่ อ นมนุ ษ ย์ ม าเป็ น อันดับที่หนึ่ง “ผมพูดกับทุกคนเสมอว่า การช่วยเหลือสังคม การช่วยเหลือ ผู้บาดเจ็บ ผมไม่สามารถท�ำเพียงคนเดียวได้ ต้องมีผู้ช่วย อย่าง น้องๆ นักศึกษาที่มีจิตอาสาเหมือนกัน ผมหวังว่าชมรมนักวิทยุ สมัครเล่นและอาสาสมัครกู้ภัยและศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัย สุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เป็นแบบอย่างของการเห็นแก่ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจ ที่ ห นึ่ ง ไม่ แ บ่ ง แยกคนจน คนรวย พร้ อ มจะช่ ว ยเหลื อ ทุ ก คน ในสั ง คม ผมรู ้ สึ ก มี ค วามสุ ข มี ค วามสบายใจทุ ก ครั้ ง ที่ เ ห็ น นักศึกษาช่วยเหลือสังคม การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์สามารถ ท�ำได้หลายวิธีแม้จะเป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ก็ตาม” นายธี ร พั ฒ น์ อั ง ศุ สิ ง ห์ หนุ่มกู้ภัยจากมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี คื อ คนต้ น แบบของการเสี ย สละเวลาส่วนตนเพื่อผู้อื่นอย่างไม่หวังสิ่งตอบแทน ส� ำคัญที่สุด ไม่ลืมที่จะปลูกฝังจิตส�ำนึกแห่งการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์แก่ เยาวชนผู้เป็นอนาคตของชาติ ให้เติบโตไปพร้อมกับจิตวิญญาณ ของการมุ่งท�ำความดีเพื่อสังคม เพื่อส่วนรวมและประเทศชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
13
รอบรั้วศรีตรัง
ทันตะ ม.อ. น้อมร�ำลึกสมเด็จย่า จัดงานวันทันตสาธารณสุข-ช่วยผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพสมเด็ จ ย่ า ของ ปวงชนชาวไทย ซึ่ ง ตรงกั บ วั น ที่ 21 ตุ ล าคม ของทุ ก ปี คณะ ทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร ่ ว มกั บ โรง พยาบาลมิตรภาพสามัคคี ได้จัดงานวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ประจ�ำปี 2555 และพิธีเปิดกระปุกออมเงินโครงการวันละเหรียญ เพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ โครงการ 2 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 มีกิจกรรมให้บริการทางทันตกรรมโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และการจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู้ทางทันตสุขภาพ รองศาสตราจารย์.ดร.ทพ.ไชยรัตน์ เฉลิมรัตนโรจน์ คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิ ด เผยว่ า คณะทั น ตแพทยศาสตร์ ไ ด้ ร ่ ว มกั บ โรงพยาบาล มิ ต รภาพสามั ค คี จั ด กิ จ กรรมงานวั น รณรงค์ ทั น ตสาธารณสุ ข แห่งชาติขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อร่วมสืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งทรงห่วงใยในปัญหา ทางทั น ตสุ ข ภาพของพสกนิ ก รชาวไทยจนตลอดพระชนม์ ชี พ โดยรัฐบาลได้ก�ำหนดให้วันที่ 21 ตุลาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้าย วั น พระราชสมภพของพระองค์ ท ่ า น เป็ น วั น ทั น ตสาธารณสุ ข แห่งชาติ ส� ำ หรั บ งานในวั น นี้ น อกจากการให้ บ ริ ก ารทาง ทั น ตกรรมโดยไม่ คิ ด มู ล ค่ า และการจั ด นิ ท รรศการให้ ค วามรู ้ ในการดู แ ลสุ ข ภาพฟั น แล้ ว ยั ง มี อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมส� ำ คั ญ คื อ กิจกรรมเปิดกระปุกออมเงินโครงการวันละเหรียญเพื่อผู้ป่วย ปากแหว่ ง เพดานโหว่ ของกองทุ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ 100 ปี สมเด็จย่า ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากผู้มี จิตศรัทธา ประชาชนทั่วไปนักศึกษาตลอดจนบุคลากรของคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมออมเงิน เพื่อน�ำมาบริจาคสมทบกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า
14
นายสมพร ใช้ บ างยาง ประธานกรรมการบริ ห ารกองทุ น เฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า กล่าวในโอกาสเดินทางมาเป็น ประธานเปิดงานว่า เป็นที่ประจักษ์ว่าสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี ท รงริ เ ริ่ ม ให้ บุ ค ลากรทางทั น ตสาธารณสุ ข ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ทันตสุขภาพของประชาชนชาวไทย เพื่อบรรเทาทุกข์ของผู้มีปัญหา ทางทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึ ง ขอน้ อ มร� ำ ลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โดยร่ ว มสื บ สานพระราช ปณิธานด้วยการให้บริการทางทันตกรรมโดยไม่คิดมูลค่าและร่วม สานต่อกิจกรรมอันเอื้อประโยชน์ต่อกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า คือโครงการเปิดกระปุกออมเงิน เพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ ส� ำ หรั บ เงิ น ทุ ก บาททุ ก สตางค์ ทางกองทุ น จะน� ำ ไปช่ ว ย เติมเต็มร้อยยิ้มให้กับผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ของกองทุน เฉลิ ม พระเกี ย รติ 100 ปี สมเด็ จ ย่ า คณะทั น ตแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ผู ้ ป ่ ว ยปากแหว่ ง เพดานโหว่มากกว่า 400 คน โดยแต่ละปีจะมีค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยในกลุ่มนี้ค่อนข้างสูง เนื่องจากเป็นการรักษาที่ต่อเนื่อง ตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ซึ่งผู้ป่วยแต่ละราย จะมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาประมาณ 2 แสนบาท โดยเงิน ที่ได้รับบริจาคในครั้งนี้จะน�ำไปเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแล รักษา ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ในกองทุนต่อไป
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
การศึกษา
ม.อ. สุราษฎร์ร่วม ซีพี ขยายสหกิจศึกษา ....สู่สายการผลิตอุตสาหกรรมฮาลาล
ดร.ภาสกร ธรรมโชติ ประธานโครงการ “สหกิจศึกษาฮาลาล” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี กล่าวว่า อุตสาหกรรมสินค้าฮาลาล เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมหนึ่งที่รัฐบาลมีนโยบาย ส่งเสริมและมีศักยภาพในการขยายตัวเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประชากรมุสลิมทั่วโลกมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต ท�ำให้ตลาดสินค้าฮาลาล เป็นตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตค่อนข้างมาก และมีความต้องการนักศึกษาที่จะเข้าไปสู่อุตสาหกรรมฮาลาลจ� ำนวนมากในอนาคต อย่างไรก็ตาม การจัดการสหกิจศึกษาในปัจจุบัน ยังไม่ได้ให้ความส�ำคัญในการพัฒนานักศึกษาที่จะเข้าไปสู่ภาค อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าฮาลาลอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มนักศึกษาชาวไทยมุสลิม ซึ่งจะสามารถเป็นก�ำลังส�ำคัญส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมฮาลาลในประเทศไทย
คณะท� ำ งานสหกิ จ ศึ ก ษา วิ ท ยาเขตสุ ร าษฏร์ ธ านี ซึ่ ง ประกอบไปด้วย ดร. ภาสกร ธรรมโชติ ดร.พรพงษ์ สุทธิรักษ์ ดร.ธั ญ จิ ร า เทพรั ต น์ ดร.สรายุ ท ธ อ่ อ นสนิ ท อาจารย์ ศุ ภั ช กรณ์ หลิ ม เองฮะ และคณะท� ำ งานกองวิ ช าการและ พั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ซึ่งได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบายอย่างดียิ่ง จากทีมบริหารวิทยาเขตสุราษฏร์ธานี จึงมีโครงการเปิดโอกาส ให้นักศึกษาชาวไทยมุสลิม ซึ่งจะเป็นก�ำลังส�ำคัญในภาคการผลิต สินค้าฮาลาล เข้าไปปฏิบัติงานในสถานสายการผลิตที่เกี่ยวข้อง กับการผลิตสินค้าฮาลาล โดยร่วมมือกับบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการท�ำงานจริง และท�ำให้นักศึกษาชาวไทยมุสลิมมีทักษะ และความสามารถ ตรงตามที่สถานประกอบการมีความต้องการในภาคผลิตสินค้า ฮาลาล ตลอดจนเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของชาวไทย มุสลิมให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้น โครงการได้เริ่มในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ซึ่งเป็น การเปิ ด ศั ก ราชสหกิ จ ศึ ก ษาฮาลาล ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาชาวไทย มุสลิมและขยายโอกาสให้กับสถาบันการศึกษาอื่นๆ ในอนาคต ภายใต้ ก ารริ เ ริ่ ม ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต สุ ร าษฏร์ ธ านี ซึ่ ง มี น โยบายในการส่ ง เสริ ม ระบบสหกิ จ ศึ ก ษา อย่ า งจริ ง จั ง นั บ เป็ น การจั ด ท� ำ โครงการ“สหกิ จ ศึ ก ษาฮาลาล” (Halal Cooperative Education) ของระบบสหกิ จ ศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยในประเทศไทย
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก�ำหนดให้ “สหกิจศึกษา” เป็นองค์ ประกอบที่ส�ำคัญของการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยสถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้จัดให้มีการศึกษาในรูป แบบสหกิจศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจัดระบบสหกิจ ศึกษาในสถาบันการศึกษามีวัตถุประสงค์ที่จะมุ่งเน้นการปฏิบัติ งานในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดยจัดให้มีการเรียนใน สถานศึกษาร่วมกับการจัดให้นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก�ำหนดให้ “สหกิจศึกษา” เป็นองค์ประกอบ ที่ ส� ำ คั ญ ของการศึ ก ษาในหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี โดยสถาบั น การศึ ก ษาในประเทศไทยได้ จั ด ให้ มี ก ารศึ ก ษาในรู ป แบบสหกิ จ ศึ ก ษาเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การจั ด ระบบสหกิ จ ศึ ก ษาในสถาบั น การศึกษามีวัตถุประสงค์ที่จะมุ่งเน้นการปฏิบัติงานในสถานประกอบ การอย่างมีระบบ โดยจัดให้มีการเรียนในสถานศึกษาร่วมกับการจัด ให้นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ โดยเน้นการเรียนรู้ จากการทางานจริงเป็นหลัก ท�ำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ประสบการณ์ จากการท�ำงาน และมีคุณภาพตรงตามที่สถานประกอบการต้องการ มากที่สุด
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
15
รอบรั้วศรีตรัง
สโมสรอาจารย์และข้าราชการ ม.อ.
จัดพื้นที่จ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ มีห้องส�ำหรับออกก�ำลังกาย และก่อตั้งชมรมเพื่อสุขภาพขึ้น ผศ.นพ.กอปรชุ ษ ณ์ ตยั ค คานนท์ นายกสโมสรอาจารย์ แ ละข้ า ราชการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ผศ.นพ.กอปร์ ชุ ษ ณ์ ตยั ค คานนท์ สั ง กั ด ภาควิ ช าเวชศาสตร์ ชุ ม ชน คณะ แพทยศาสตร์ นายกสโมสรอาจารย์ แ ละข้ า ราชการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วาระด�ำรงต�ำแหน่ง ธันวาคม 2554-ธันวาคม 2556 เป็นเลขานุการ โครงการสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสุขภาพ ซึ่งด�ำเนินโครงการ ระหว่าง ปี 2551-2554 โดยมีบทบาทในการรณรงค์สร้างเสริมสุขภาพ เช่น ลดน�้ำหนัก ค่ายพิชิตพุง ฯลฯ และอดีต นายกสมาคมนักศึกษาเก่าคณะแพทยศาสตร์ ม.อ. สารม.อ. : ขอทราบถึงบทบาทของสโมสรอาจารย์และข้าราชการม.อ.หาดใหญ่ ผศ.นพ.กอปรชุษณ์ : สโมสรอาจารย์และข้าราชการ ม.อ.หาดใหญ่ เป็นหน่วยงาน ที่มีบทบาทในการสร้างความสัมพันธ์อันดีและส่งเสริมความสามัคคีระหว่างบุคลากร ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งส่งเสริมกิจกรรมด้านการกีฬา การบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจ งานบริการด้านอ�ำนวยการและความรู้ทางด้านวิชาการต่างๆ สาร ม.อ. : ขอทราบนโยบายของสโมสรอาจารย์และข้าราชการ ม.อ. หาดใหญ่ ภายใต้การด�ำเนินงานของคณะกรรมการชุดปัจจุบัน ผศ.นพ.กอปรชุษณ์ : นโยบายจะเน้นไปที่การพัฒนาด้านสุขภาพของบุคลากร เช่ น ปรั บ ปรุ ง อาคารสโมสรฯให้ เ ป็ น สถานที่ เ พื่ อ การพั ก ผ่ อ นและนั น ทนาการ โดย จะสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยจัดตั้งศูนย์นันทนาการ (Recreation Center) เพื่อการ พักผ่อนและการมีสุขภาพที่ดีของบุคลากร จัดพื้นที่ส�ำหรับจ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม ไร้ แ อลกอฮอล์ มี ห ้ อ งส� ำ หรั บ จั ด เลี้ ย งและห้ อ งส� ำ หรั บ ให้ บุ ค ลากรและลู ก หลานได้ ออกก�ำลังกาย ตลอดจนการก่อตั้งชมรมเพื่อสุขภาพขึ้น สาร ม.อ. : นอกจากกิจกรรมด้านสุขภาพแล้ว มีกิจกรรมที่จะให้บุคลากร เข้าร่วมอย่างไรบ้าง ผศ.นพ.กอปรชุ ษ ณ์ : สโมสรฯจะกระตุ ้ น และสนั บ สนุ น ให้ ช มรมต่ า งๆ ของ มหาวิทยาลัยได้มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นชมรมด้านกีฬา ภาษา ดนตรี ศิลปะและวัฒนธรรม โดยจะสนับสนุนทั้งกิจกรรมที่จัดขึ้นภายในมหาวิทยาลัย และกิจกรรมที่เกิดจากความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก โดยจะจัดกิจกรรมที่ให้ บุคลากรมีส่วนร่วมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เช่น กิจกรรมเปิดท้ายขายของ กิจกรรม การสอนดนตรี สอนท�ำอาหาร การจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาภายในตลอดจนกิจกรรม การกุศลต่างๆ เป็นต้น อย่ า งไรก็ ต ามสโมสรอาจารย์ แ ละข้ า ราชการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ยั ง คงจะเป็ น สื่ อ กลางในการเผยแพร่ ชื่ อ เสี ย ง เกี ย รติ คุ ณ ของมหาวิ ท ยาลั ย และส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและประเพณี อั น ดี ง ามของไทย และเป็ น ส่วนหนึ่งในการช่วยเหลือและให้การสนับสุนนกิจกรรมบรรเทาอุบัติภัยและกิจกรรม สาธารณกุศลควบคู่กันไป สโมสรฯยินดีรับฟังรับข้อเสนอแนะ จากบุคลากรทุกท่าน สามารถติดต่อ ได้ที่ นส.วิรภรณ์ ถาวรสุข กรรมการ และเลขานุการ โทร.2201 โทร.081-7671967 viraporn.t@psu.ac.th, www.staffclub.psu.ac.th
16
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
“สโมสรอาจารย์และข้าราชการ ม.อ.หาดใหญ่ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาท ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีและส่ง เสริมความสามัคคีระหว่างบุคลากรของ มหาวิทยาลัย รวมทั้งส่งเสริมกิจกรรม ด้านการกีฬา การบันเทิง การพักผ่อน หย่อนใจ งานบริการด้านอ�ำนวยการและ ความรู้ทางด้านวิชาการต่างๆ”
คณะกรรมการบริหารสโมสรอาจารย์และข้าราชการ วาระ ธันวาคม 2554-ธันวาคม 2556 ผศ.นพ.กอปรชุษณ์ ตยัคคานนท์ นายกสโมสรฯ รศ.ดร.ศิริพันธุ์ หิรัญญะชาติธาดา อุปนายกฯ นางสาววนิดา ฟุ้งเกียรติไพบูลย์ เหรัญญิกฯ นางสาวอัจฉรา เพชรขาว ปฏิคม นางวราภรณ์ ชวพงษ์ ประชาสัมพันธ์ นายแดง โฉมทอง กรรมการ และฝ่ายกีฬา ผศ.นิสิตา บ�ำรุงวงศ์ กรรมการ และฝ่ายศิลปวัฒนธรรม นส.วิรภรณ์ ถาวรสุข กรรมการ และเลขานุการ นางอุไรวรรณ พัฒนสัตยวงศ์ กรรมการ และฝ่ายสุขภาพ นายสมใจ แก้วหนู กรรมการ นายเสรี ศักดิ์จิรพาพงษ์ กรรมการ นางมะลิ นิลสุวรรณ กรรมการ นางอทิตยา ทองจืด กรรมการ
รอบรั้วศรีตรัง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทอดพระเนตรนิทรรศการ ม.อ. ในงานเฉลิมพระเกียรติ 120 ปี สมเด็จพระบรมราชชนก ที่ จุฬาฯ
เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 11 ตุลาคม 2555 สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงเปิดงาน นิทรรศการ “นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ 120 ปีสมเด็จพระบรม ราชชนก” ในงานสัปดาห์แห่งการเฉลิมฉลองการถวายพระราช สมัญญา “พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย” ในวาระครบ 120 ปี แห่งวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วิ ก รม พระบรมราชชนก ซึ่ ง จั ด โดยส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ อุ ด มศึ ก ษา ร่ ว มกั บ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และมู ล นิ ธิ ร างวั ล สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างวันที่ 11 – 13 ตุลาคม 2555 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทอดพระเนตรนิ ท รรศการของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ย พัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ อาจารย์ ม นั ส กั น ตวิ รุ ฒ ประธานคณะท�ำงานจัดท�ำหอประวัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ นางสาวพินทุมาศ กิจฉาโณ ผู้ช่วยประธานคณะท�ำงานจัดท�ำ หอประวัติ เฝ้ารับเสด็จ และกราบบังคมทูล ถวายรายงานกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ได้จัดขึ้นในวโรกาสครบ 120 ปี แห่ ง ปี พ ระราชสมภพ โดยเนื้ อ หาที่ น� ำ มาประกอบในนิ ท รรศการ ดังกล่าว จัดแบ่งเรื่องราวออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่ ว นที่ 1 เกี่ ย วกั บ ความเป็ น มาของการพระราชทานนาม “สงขลานครินทร์” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ พระราชทานพระนาม “สงขลานคริ น ทร์ ” อั น เป็ น พระนามของสมเด็ จ พระบรมราชชนก เป็ น ชื่ อ ของมหาวิ ท ยาลั ย
ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการก่อสร้างพระราชานุสาวรีย์ ที่จัดสร้างขึ้นเพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ได้ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจที่เป็นคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติ ซึ่งปัจจุบัน ได้ประดิษฐานไว้ครบทั้ง 5 วิทยาเขตของมหาวิทยาลัย คือ ปัตตานี หาดใหญ่ ตรัง สุราษฎร์ธานี และ วิทยาเขตภูเก็ต เป็นวิทยาเขต สุดท้าย ซึ่งสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ จะเสด็จไปทรงเปิด พระราชานุ ส าวรี ย ์ ที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ในวั น ที่ 9 มกราคม 2556 ส่วนที่ 3 เกี่ยวกับ “กองทุนพิเศษ 100 ปี สมเด็จพระบรม ราชชนก” ซึ่งมหาวิทยาลัย ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติและ ด� ำ เนิ น การบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ต ามแนวพระราชด� ำ ริ ข องสมเด็ จ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กรมหลวง สงขลานคริ น ทร์ เนื่ อ งในวโรกาสครบ 100 ปี แห่ ง วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพ กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น โดยใช้ ทุ น ทรั พ ย์ จ ากกองทุ น ดังกล่าว อาทิ “รางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์” ที่จัดให้มีขึ้นเพื่อ ยกย่องผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์แก่ภาคใต้ ให้เป็นตัวอย่างการด�ำรง ชีวิตและเป็นแรงบันดาลใจในการท�ำประโยชน์แก่ชุมชนและอนุชน รุ ่ น หลั ง ผู ้ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กจะมี ถิ่ น ก� ำ เนิ ด หรื อ ภู มิ ล� ำ เนาอยู ่ ใ น ภาคใดก็ ไ ด้ แต่ ต ้ อ งมี ผ ลงานที่ แ สดงความเป็ น ผู ้ อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ท� ำ ประโยชน์แก่ชุมชนภาคใต้ และต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม สูง เป็นตัวอย่างแก่อนุชนได้ และ “ทุนสงขลานครินทร์” ที่มอบ ให้แก่ นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาคใต้ ที่มี ผลการเรี ย นดี เ ยี่ ย มและมี ค วามประพฤติ ดี เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ผู ้ มี การศึ ก ษาสู ง เพื่ อ เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการประกอบประโยชน์ แ ก่ ประเทศชาติ และเพื่อสร้างนักวิชาการที่มีความสามารถสูง ใน 14 จังหวัดภาคใต้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
17
รอบรั้วศรีตรัง
ม.อ. ถวายปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
แด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมี พระราชด�ำริและพระราโชบายที่สอดคล้องกับพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในอั น ที่ จ ะยกระดั บ ฐานะความ เป็ น อยู ่ แ ละคุ ณ ภาพชี วิ ต ของราษฎรให้ ดี ขึ้ น พระองค์ ท่านทรงริเริ่มโครงการศิลปาชีพ เพื่อให้ราษฎรในชนบท ใช้ เ วลาว่ า งจากการท� ำ นาท� ำ ไร่ มาท� ำ หั ต ถกรรมเป็ น อาชี พ เสริ ม และได้ พ ระราชทานทุ น ทรั พ ย์ ส ่ ว นพระองค์ เป็นกองทุนก่อตั้งมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระ นางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เพื่อรับซื้อผลิตภัณฑ์ จากชาวบ้านมาจ�ำหน่ายและโปรดเกล้าฯ ให้จัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมเผยแพร่ไปทั่วโลก ส่งเสริมสนับสนุนงานฝีมือ และฝึกอบรมให้ชาวบ้านท�ำงานฝีมือที่ตนเองไม่เคยท�ำ มาก่อน ตลอดช่วงเวลาการด�ำเนินงานของมูลนิธิฯ จนถึง
18
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส มเด็ จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่ บั ณ ฑิ ต ผู ้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2554 ระหว่างวันที่ 10 – 12 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖o ปี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งนี้สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มีมติทูลเกล้าฯ ถวายปริญญา บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถด้วยมีพระมหากรุณาธิคุณเกล้าล้นกระหม่อมที่ทรงช่วยสร้างงาน สร้างอาชีพและทรงช่วยให้คนชนบทสามารถพึ่งพาตนเองได้ จากทรัพยากร ที่ มี อ ยู ่ ใ นท้ อ งถิ่ น และทรงให้ มี ก ารสื บ ทอดศิ ล ปหั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นที่ เ ป็ น ประดุจวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นนั้นๆ ให้เป็นมรดกแก่ลูกหลานไทย ซึ่งเป็น การยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ปัจจุบัน มีโครงการศิลปาชีพตามความเหมาะสมของแต่ละท้องถิ่น ทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศในมูลนิธิมากถึง 34 โครงการ นอกจากนี้ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถยั ง ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารศูนย์ศิลปาชีพ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน ศิ ล ปาชี พ แขนงต่ า ง ๆ ใช้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ศิ ล ปาชี พ และเป็ น ศูนย์กลางเผยแพร่งานศิลปาชีพแก่ผู้สนใจ พระองค์ทรงคัดเลือกลูกหลานชาวไร่ ชาวนาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และไม่ได้เป็นแรงงานหลักของครอบครัวมาฝึกฝน งานศิลปาชีพ เพื่อกลับไปประกอบอาชีพในถิ่นบ้านเกิดโดยพิจารณาจากความ ถนัดและภูมิล�ำเนา ทรงจัดสวัสดิการที่พักให้ครูและผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทรงจัด เบี้ยเลี้ยงระหว่างฝึกอบรมทรงจ่ายเงินเดือนให้กับคนมีฝีมือ รวมถึงพระราชทาน รางวัลกับงานฝีมือที่มีคุณภาพดี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
นอกจากนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ยั ง ได้ ถ วายปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา แด่พระไพศาล วิสาโล มอบปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา และปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาชีววิทยาแด่ดร.พอล เจ เจ เบทส์ (Dr. Paul J. J. Bates)
พระไพศาล วิสาโล
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา พระไพศาล วิสาโล นามเดิม ไพศาล วงศ์วรสิทธิ์ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุคะโต เคยเป็นผู้บูรณะวัดป่าสุคะโต ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ท่ามกลางผืนป่าที่ก�ำลังถูกบุกรุกท�ำลาย ด้วยการ ร่วมมือกับคณะสงฆ์วัดป่ามหาวัน ปกป้องดูแลอนุรักษ์ป่าภูหลง โดยน�ำหลักการทางพระพุทธศาสนา มาโน้มน้าวจิตใจชาวบ้าน ให้ร่วมกับพระสงฆ์ในการอนุรักษ์ป่า นอกจากการต้องอุทิศแรงกาย ไปกับการรักษาผืนป่า และเทศนาให้กับชาวบ้านแล้ว พระไพศาล วิสาโล ยังอุทิศตนในการปลูกฝัง แนวคิดแห่งสันติวิธี ให้กับชาวบ้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา พระไพศาล วิสาโล เป็นพระนักคิด นักธรรมวิทยากร นักวิชาการ นักเขียน นักปฏิบัติ และ มีผลงานที่เป็นคุณูปถัมภ์ให้กับพระพุทธศาสนา งานเขียนของท่าน ก็จะถูกตีพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งคอลัมน์ประจ�ำในวารสาร หนังสือเล่ม เช่น “เป็นมิตรกับความเหงา” “สุขทุกลมหายใจ” “น�้ ำใส ใจเย็น เติมน�้ำใจให้ชีวิตสงบเย็นและเป็นสุข” เป็นต้น หรือตอบปัญหาธรรมะทางสื่อเว็บไซต์ อีเมล์ จนได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติและเป็นที่ยอมรับในฐานะผู้ประยุกต์ใช้หลักธรรมของพระพุทธศาสนา ให้ เ กิ ด เครื อ ข่ า ยจิ ต อาสา รวมทั้ ง มี ผ ลงานเป็ น ที่ ย อมรั บ ในวงวิ ช าการทางปรั ช ญาและศาสนา พระไพศาล วิ ส าโล ได้รับรางวัล “ชูเกียรติ์ อุทกะพันธุ์” สาขาปรัชญาและศาสนา จากผลงาน
หนั ง สื อ “พุ ท ธศาสนาไทยในอนาคต : แนวโน้ ม และทางออกจากวิกฤติ” ในปี พ.ศ. 2548 รางวัล “ศรี บู ร พา” รางวั ล “นั ก เขี ย นอมตะ” และรางวั ล เกี ย รติ ย ศ “คนค้ น ฅนอะวอร์ ด ” ในปี พ.ศ. 2553
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา
เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ ประจักษ์ เป็นปูชนียบุคคลที่ได้รับการยอมรับนับถือทั้งในระดับประเทศและนานาชาติโดยเฉพาะ ทางด้านเศรษฐศาสตร์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในทางวิชาการที่โดดเด่นทางเศรษฐศาสตร์ในด้านการพัฒนา และเกษตรกรรมโดยเฉพาะอย่ างยิ่งในเรื่ อ ง กลไกการผลิ ต และการค้ าในตลาดข้ าวและพืช ผล ส�ำคัญต่างๆ รวมถึงการศึกษาผลกระทบจากนโยบายของภาครัฐที่มีต่อการพัฒนาภาคการเกษตร ในชนบท เคยด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการทางด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นนักบริหารในมหาวิทยาลัย ชั้ น น� ำ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยการเกษตรและพั ฒ นาชนบท สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาประเทศไทย(TDRI) ประธานสถาบั น วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาประเทศไทย และนั ก วิ ช าการ เกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย ศาสตราจารย์ ( พิ เ ศษ)ดร.อั ม มาร สยามวาลา มีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพชั้นน�ำ ในระดับนานาชาติ ซึ่งมีคุณประโยชน์เป็นที่ประจักษ์ต่อสังคมจ�ำนวนมากกว่าหนึ่งร้อยผลงาน ได้รับ การยกย่องจากสถาบันต่างๆ อาทิ ศาสตราจารย์พิเศษ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รบั รางวัลนักวิจยั ดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ จากสภาวิจยั แห่งชาติ รางวัล Sir John Crawford Exchange Award สาขาเศรษฐศาสตร์ เ กษตร จาก Australian Agriculture Economics
Society และ Australian Council for International Agricultural Research รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม (ร่วมกับวิโรจน์ ณ ระนอง) สาขาเศรษฐศาสตร์ เรื่อง “ประมวลความรู้เรื่องข้าว” จากสภาวิจัยแห่งชาติ
ดร. พอล เจ เจ เบทส์ (Dr. Paul J.J. Bates)
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ดร.พอล เจ เจ เบทส์ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการของสถาบัน Harrison Institute เป็น ผู ้น� ำองค์ กรและด�ำเนิ น งานตามภารกิ จ หลั ก ของสถาบั น ในการส่ ง เสริ ม งานวิ จั ย ด้ า นความ หลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งมีชีวิตในกลุ่มประเทศในเขตร้อน เป็นนักอนุกรมวิธาน ระดับโลกและเป็นหนึ่งในจ�ำนวนไม่กี่คนของโลกที่เป็นนักอนุกรมวิธานแอลฟ่า ดร.พอล เบทส์ มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาบุ ค ลากรในด้ า นอนุ ก รมวิ ธ าน โดยการทุ ่ ม เทเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษาด้ า นนี้ ทั้ ง ระดับชาติและนานาชาติ ด้วยการฝึกอบรมบุคลากรและนักศึกษาในสถาบันของประเทศต่างๆ ทั่ ว โลก ในงานอนุ ก รมวิ ธ านของสั ต ว์ เ ลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนม ได้ ด� ำ เนิ น การวิ จั ย และสร้ า งเครื อ ข่ า ย ความร่วมมือ ประสานงานกับกลุ่มอนุรักษ์ และถ่ายทอดความรู้ด้านอนุกรมวิธานผ่านสื่อต่างๆ มี ผ ลงานวิ จั ย ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารนานาชาติ ก ว่ า 100 เรื่ อ ง และหนั ง สื อ 2 เล่ ม ซึ่ ง ถู ก ใช้ อ ้ า งอิ ง อย่างกว้างขวาง ที่ ผ ่ า นมา ดร.พอล เบทส์ ได้ จั ด การประชุ ม นานาชาติ แ ละการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร จ�ำนวนมาก รวมถึงร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัย Texas Tech ประเทศ สหรัฐอเมริกา จัดประชุมนานาชาติด้านค้างคาวเป็นครั้งแรกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นผู้ริเริ่ม ก่อตั้งและเป็นผู้ประสานงานเครือข่าย Afro-Asian Taxonomy ซึ่งปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 150 คน
จาก 46 ประเทศ กระทั่ ง ปี 2543 ดร.พอล เบทส์ ได้เริ่มความร่วมมือกับพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติ วิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี และภาควิชา ชี ว วิ ท ยา คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ และได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ อย่างเป็นทางการ เมื่อปี 2548
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
19
รอบรั้วศรีตรัง
อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่
ผลงานดีเด่น ม.อ. ปี 55 ม
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดโครงการคัดเลือกอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ เป็นประจ�ำทุกปีเพื่อ ส่งเสริมและประกาศเกียรติคุณอาจารย์ที่สอนดี รับผิดชอบและเอาใจใส่นักศึกษา ประพฤติปฏิบัติตนดีงาม เป็นตัวอย่างที่ดี ของอาจารย์ทั่วไป รวมทั้งคัดเลือกผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยใน 3 สาขาประกอบด้วย สาขาการประดิษฐ์ สาขาการวิจัย และสาขาท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่และเจ้าของผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จะเข้ า รั บ พระราชทานโล่ เ กี ย รติ ย ศและประกาศเกี ย รติ คุ ณ ในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รประจ� ำ ปี ของมหาวิ ท ยาลั ย รั บ รางวั ล จากมู ล นิ ธิ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และรั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศและประกาศเกี ย รติ คุ ณ ในงานวันสงขลานครินทร์ ซึ่งในปี 2555 นี้มีผู้ ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่และผลงานดีเด่น ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ดังนี้
อาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2555 1. ด้านการเรียนการสอน
รองศาสตราจารย์ นพ.ธีรสาส์น คีรีรัฐนิคม คณะแพทยศาสตร์ เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูสูง ใส่ใจนักศึกษา และสร้ า งโอกาสในการเรี ย นรู ้ ใ ห้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาทุ ก ครั้ ง ที่ มี โอกาส เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ได้ดี สอนเรื่องที่เข้าใจยากให้ เป็ น เรื่ อ งที่ เ ข้ า ใจได้ ง ่ า ย อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค วามสามารถในด้ า น เทคโนโลยีการสื่อสารมาบูรณาการกับการสอนและการวิจัย อาจารย์สิทธิชัย พิริยคุณธร คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามสามารถในการถ่ า ยทอดความรู ้ ใ น ศาสตร์ของตน โดยใช้ประสบการณ์จริงในการสอน เชื่อมโยง ความรู ้ กั บ เหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น สอนเรื่ อ งที่ เข้าใจยากให้เป็นเรื่องที่เข้าใจง่าย เป็นกันเองกับนักศึกษา และจ�ำชื่อนักศึกษาทุกคน มีจริยธรรมรวมทั้งจรรยาบรรณ วิชาชีพในขณะสอนอย่างสม�่ำเสมอและปลูกฝังให้นักศึกษา
2. ด้านการวิจัย (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
อยู ่ ต ลอดเวลา พร้ อ มสอดแทรกคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมใน กระบวนการสอน นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ผู ้ ที่ ว างตั ว เหมาะสม ในทุ ก สถานการณ์ แ ละทุ ก บทบาทควบคุ ม อารมณ์ ไ ด้ ดี ให้ เ กี ย รติ ทุ ก คนที่ อ ยู ่ ร อบข้ า ง มี น�้ ำ ใจอั น ประเสริ ฐ หมั่ น สอบถาม ดูแลเอาใจใส่ รองศาสตราจารย์ นพ.ธีรสาส์น นอกจากมี ค วามโดดเด่ น ในเรื่ อ งการสอนแล้ ว ยั ง เป็ น แบบอย่างในเรื่องการครองตน สามารถแก้ไขสถานการณ์ ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีสติ ได้ท�ำประโยชน์เพื่อนมนุษย์ โดยเชื่อมโยงกับศาสตร์ที่เรียน ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ การยอมรั บ ในด้ า นวิ ช าการในระดั บ สู ง สุ ด ของวิ ช าชี พ คื อ ได้ รั บ การ แต่งตั้งจากสภาวิศวกรให้เป็น “วุ ฒิ วิ ศ วกร” ซึ่งถือว่าเป็น ความส� ำ เร็ จ สู ง สุ ด ของวิ ช าชี พ วิ ศ วกรและเป็ น ความภาค ภูมิใจของนักศึกษาและเพื่อนร่วมงาน
รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา ศรีชนะ คณะเภสัชศาสตร์ มี ผ ลงานตี พิ ม พ์ ใ นวารสารนานาชาติ ที่ มี Impact Factor สู ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ค วามร่ ว มมื อ กั บ นั ก วิ จั ย ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ ก่อให้เกิดเครือข่ายการวิจัยที่เข้มแข็ง คิดค้นงานวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์ เช่น การพัฒนาอุปกรณ์ประกอบเครื่องวัด ความต้านทานไฟฟ้าเมกกะโอห์มเพื่อตรวจสารก่อมะเร็งประเภทฮาโลอะซิติกแอซิดในน�้ ำที่มีความไวสูงและสามารถ ตรวจสารก่อมะเร็งประเภทฮาโลอิซิติกแอซิดในน�้ำโดยใช้ปริมาตรน�้ำน้อยๆ ได้ วิจัยเกี่ยวกับพอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับ โมเลกุลชนิดหลายตัวพิมพ์ เพื่อให้การออกแบบระบบน�ำส่งยาสามารถน�ำส่งได้หลายชนิดในเวลาเดียวกันได้ ฯลฯ อีกทั้งยัง ได้รับรางวัลทะกุจิ ประเภทนักวิจัยดีเด่น ประจ�ำปี 2554 จาก Thai Society for Biotechnology ได้รับรางวัลผลงานการ ประดิษฐ์คิดค้น ประจ�ำปี 2555 ระดับดี จากสภาวิจัยแห่งชาติและได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ปี 2544 จากมูลนิธิ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
20
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
รองศาสตราจารย์ พญ.ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล คณะแพทยศาสตร์ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติที่มีปัจจัย Impact Factor สูงอย่างต่อเนื่องได้ด� ำเนินการวิจัยที่มีผล กระทบต่อสาธารณสุขทั้งในระดับภูมิภาคภาคใต้ ระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยเน้นท�ำวิจัยที่น�ำไปสู่ การพัฒนาสุขภาพที่ดีของหญิงตั้งครรภ์และทารกปริก�ำเนิดอนามัยการเจริญพันธุ์ และโรคที่มีผลกระทบส�ำคัญ ด้านสาธารณสุข ร่วมกับการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ข้อมูลการแพทย์เชิงประจักษ์อย่าง มีการเผยแพร่ผลงาน วิจัยที่ได้ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อน� ำไปสู่การแก้ปัญหาในอนาคตและเป็นนักวิจัยที่เป็นก� ำลังส�ำคัญของคณะ แพทยศาสตร์ในการสร้างนักวิจัย สร้างเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ และเป็นผู้ได้รับรางวัลดุษฎีบัณฑิต โครงการ ปริญญาเอกกาญจนาภิเษกดีเด่น ประจ�ำปี 2554 จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัยหรือสกว. 3. ด้านการบริการวิชาการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างผลงานที่มีความโดดเด่นและมีผลกระทบต่อชุมชนในวงกว้าง เป็นผู้ที่ให้ความทุ่มเทกับการบริการ วิชาการอย่างเป็นรูปธรรม มีความรู้และประสบการณ์ด้านวิชาการทั้งด้านนิเวศวิทยาประมงการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ ำ ชายฝั่ง และความรู้ทางด้านการพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ โดยเฉพาะช่วยให้ชุมชนประมงพื้นบ้านสามารถ น�ำความรู้มาประยุกต์เป็นงานบริการวิชาการได้อย่างสมบูรณ์ ได้รับการยอมรับในการเป็นผู้บริการวิชาการแก่ ชุมชน ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับต่างชาติ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะการให้บริการทาง วิชาการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิชาการทางด้านทรัพยากรประมง การประมง การศึกษาและพัฒนาชุมชน น�ำไปสู่ การขยายผลและใช้ ป ระโยชน์ ใ นพื้ น ที่ ต ่ า งๆ ในประเทศ และก� ำ หนดลงแผนพั ฒ นาชุ ม ชนประมงพื้ น บ้ า น จังหวัดชายแดนใต้ 4. ด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม อาจารย์สมโภชน์ เกตุแก้ว คณะศิลปศาสตร์ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในวงวิชาการสาขานาฏศิลป์และการแสดง เป็นผู้ ก่อตั้งสาขาการแสดงร่วมวางหลักสูตรให้แก่มหาวิทยาลัย และพัฒนาการแสดงโขนของมหาวิทยาลัยจนเป็น ที่ประจักษ์ ทั้งยังสนับสนุนงานด้านศิลปะการแสดงอย่างต่อเนื่อง อาจารย์สมโภชน์ทำ� กิจกรรมด้านท�ำนุบ�ำรุงศิลป วัฒนธรรมให้แก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ปี 2544 มีแผนงานหรือโครงการไม่น้อยกว่า 30 โครงการ ต่อปี มีความตั้งใจ มุมานะ และอุทิศเวลา ฝึกฝนนักศึกษาทั้งในและนอกเวลาราชการอย่างไม่เห็นแก่ความ เหน็ดเหนื่อย นากจากภาระหน้าที่ในการฝึกสอนการแสดงแล้ว ในบางครั้งอาจารย์สมโภชน์ยังเป็นผู้แสดงเองด้วย ความรู้ ความสามารถของอาจารย์สมโภชน์ท�ำให้ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้น�ำการด�ำเนินงานด้านศิลปะการแสดง ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่เผยแพร่ทั้งในและต่างประเทศ
อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2555 รองศาสตราจารย์ นพ.สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา คณะแพทยศาสตร์ มีคุณสมบัติครอบคลุมเหมาะสมทั้งด้านความเป็นอาจารย์และด้านวิจัย มีความรู้ความสามารถความวิสาหะ และอุทิศตน มีการวางตัวและมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับทุกกลุ่มคนอย่างไม่เลือกปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นต่อนักศึกษา เพื่อนอาจารย์ บุคลากรส่งผลให้คนรอบข้างมีความสุขที่ได้ประสานและร่วมงานด้วยเป็นตัวอย่างของแพทย์ ที่มีความพยายามในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ร่วมวิจัยทางการแพทย์ ส่งผลให้มีผลงานวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้แก่วงแพทย์ เรียกได้ว่ามีความโดดเด่นเห็นสมควรเป็นแบบอย่าง แก่อาจารย์ในการประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีความมานะพยายามโดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นกิจที่หนึ่ง รวมถึึง เป็นแบบอย่างแก่อาจารย์เรื่องวิถีปฏิบัติครบถ้วนในภารกิจทั้ง 4 ด้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สอาด ริยะจันทร์ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นผู้มีความโดดเด่นในภารกิจด้านวิจัย สามารถใช้ความรู้ความสามารถและความขยันหมั่นเพียรสร้าง ผลงานที่เป็นประโยชน์และหาแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง นับได้ว่าเป็นผู้น� ำในด้านงานวิจัย ในด้าน การเรียนการสอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สอาดมีความโอบอ้อมอารี รับผิดชอบต่อนักศึกษา มีการวางแผนการสอน การถ่ายทอดวิทยาการสมัยใหม่ให้แก่นักศึกษาเป็นอย่างดี และมีมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงานเสมอมา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
21
ผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2555 1. สาขาการประดิษฐ์ ผลงาน ระบบไบโอดีเซลต่อเนื่องแบบสองขั้นตอน เจ้าของผลงาน รองศาสตราจารย์ก�ำพล ประทีปชัยกูร และคณะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผลงานระบบไบโอดีเซลต่อเนื่องแบบสองขั้นตอน เป็นผลงานคิดค้นทางด้านพลังงานที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ ปัจจุบันและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาพลังงานของประเทศ สามารถน�ำไปผลิตและใช้ประโยชน์ได้จริงใช้หลักวิชาการ ในระดับสูงในการประดิษฐ์ และเป็นผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรเป็นที่เรียบร้อย 2. สาขาการวิจัย ผลงาน การพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์สารปริมาณน้อย เจ้าของผลงาน รองศาสตราจารย์ ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา คณะวิทยาศาสตร์ ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง “การพั ฒ นาเทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ส ารปริ ม าณน้ อ ย” มี ก ารท� ำ วิ จั ย ที่ ต ่ อ เนื่ อ งยาวนาน ด้ ว ยความวิ ริ ย ะอุ ต สาหะถึ ง 30 ปี ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2526-2555 ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทุ น จากทั้ ง ภายในประเทศ และต่างประเทศ มีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เป็นผลงานที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ ผลงาน การจัดการสวนยางพารา เจ้าของผลงาน รองศาสตราจารย์ ดร.สายัณห์ สดุุดี และคณะ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ผลงานวิจัย “การจัดการสวนยางพารา” ได้รับการสนับสนุนทุนจากหน่วยงานภายในประเทศหลายหน่วยงาน เป็ น ผลงานที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ และการพั ฒ นาประเทศ โดยเฉพาะในภาคใต้ โดยการ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ ห้ กั บ เกษตรกรชาวสวนยางพารา ทั้ ง ด้ า นการใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต น�้ ำ ยาง การพัฒนาระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตยางพารา และมีรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับยางพาราอีกจ�ำนวนมาก เช่น โครงการการจัดการให้น�้ำต้นยางพาราเพื่อเพิ่มการกรีดยางในช่วงหน้าแล้ง โครงการทดสอบระบบกรีดสองหน้ากรีด แบบสลับในสวนยางพาราของเกษตรกรที่จังหวัดสงขลา โครงการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน�้ ำยางพารา เป็นต้น 3. สาขาท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลงาน มหกรรมศิลปวัฒนธรรม เจ้าของผลงาน สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ผลงานมหกรรมศิ ล ปวั ฒ นธรรม เป็ น ผลงานการสร้ า งคุ ณ ค่ า แหล่ ง เรี ย นรู ้ ร่ ว มทางวั ฒ นธรรมของชุ ม ชนที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง คุ ณ ค่ า และประโยชน์ ข องความ แตกต่างทางวัฒนธรรม ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกิจกรรมครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายเช่น นักเรียน นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ในแต่ละวิทยาเขต หน่วยงานราชการ และเอกชน ในจังหวัดปัตตานี และจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง กลุ ่ ม หั ต ถกรรม ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า OTOP ผู ้ บ ริ ห าร คณะครู อาจารย์ แ ละนั ก เรี ย นในโรงเรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฯลฯ โดยมุ่งเน้นให้ผู้คนในสังคมส่วนใหญ่มีส่วนร่วมและ เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตลอดจน ส่งเสริมให้บุคคลที่มีวิถีชีวิตและความเชื่อที่แตกต่างกันสามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วย ความเข้าใจ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นอาจารย์ตัวอย่างและอาจารย์ตัวอย่าง รุ่นใหม่ ประจ�ำปี 2555 ยังจะได้รับเงินรางวัลจากมูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จ�ำนวน 20,000 บาท และได้เข้ารับโล่เกียรติยศและประกาศเกียรติคุณในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจ�ำปี 2555 ระหว่างวันที่ 10-12 พฤศจิกายน 2555 และเจ้าของผลงานดีเด่นของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในแต่ละด้านจะได้รับเงินรางวัลจากมูลนิธิมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จ�ำนวนรางวัลละ 20,000 บาท และเข้ารับโล่เกียรติยศและประกาศ เกียรติคุณในงานวันสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2555 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555
22
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
งานวันสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดงานวันสงขลานครินทร์ขึ้น เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ณ ศูนย์ การประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปีเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองและแสดงออกถึงความ ปลื้มปิติยินดีของมหาวิทยาลัย ในคุณงามความดีความส�ำเร็จ และความรูค้ วามสามารถของผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับพระราชทานปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ อาจารย์ดีเด่นผู้ได้รับรางวัลกองทุนเอกิ้น เลาเกเซ่น อนุสรณ์ อาจารย์ตัวอย่างผู้ได้รับรางวัลของมูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์ แก่ ชุมชนในภาคใต้ ซึ่งได้รับรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ อาจารย์และศิษย์เก่าดีเด่นที่ท� ำชื่อเสียง ให้แก่มหาวิทยาลัย ตลอดจนเพื่อเป็นการแสดงความขอบคุณผู้มีอุปการคุณและบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อ กิจการของมหาวิทยาลัยในรอบปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยคาดหวังว่าการแสดงออกครั้งนี้ ได้ส่งผลให้ คณาจารย์ศิษย์เก่า และบุคลากรทุกฝ่ายของมหาวิทยาลัยได้ตระหนักในเกียรติคุณ และยึดถือแบบอย่าง ที่ดีงามเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติสืบต่อไป
นอกจากนี้ ผู้ได้รับรางวัลและมีผลงานดีเด่นของมหา วิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ป ระจ� ำ ปี 2555 ยั ง มี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดีเด่น ดังนี้ 1. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านความส�ำเร็จในอาชีพ หน้าที่การงาน 1. นางอวยพร ภัทรภักดีกุล ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. นายสุมิต วงศ์แสงจันทร์ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. นายสุขเกษม จารุพงศ์ ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 4. นางรัตนาวลี อินโอชานนท์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 5. รศ.ดร.อนุวัฒ ดินอุดม ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 6. ศ.นพ.ชนพ ช่วงโชติ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 7. นายมรกต เธียรมนตรี ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 8. นายชาญชัย อุไรรัตน์ ศิษย์เก่าคณะอุตสาหกรรมเกษตร 9. นายสมคิด จันทร์นก ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 10. นพ.นพพร ชื่นกลิ่น ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 2. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านผลงานเด่น 1. นางสุพัตรา อุปนิสากร ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. นางวรรณี สุทธิถวิล ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์
3. ผศ.นพ.ถนอม บรรณประเสริฐ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 4. ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 5. นายสิทธิศักดิ์ สิทธิจินดา ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 3. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและสถาบัน 1. นางนฤมล สายศรีโกศล ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. นายอาลาดีน ปากบารา ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 3. นายสมหมาย พงษ์รักไทย ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 4. นายประสาน สุขใส ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 5. นางส้าหลี้เฝาะ โต๊ะหลี ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 6. นายณรงค์พล หมึกทอง ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 4. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 1. นายธงชัย อนงค์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 5. ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่ 1. นางสาวสุธิสา เต็มทับ ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. นายจตุพร สวัสดี ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 3. นางสาวคีต์ตา อิสรั่น ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ 4. ผศ.ดร.สรรพสิทธิ์ กล่อมเกล้า ศิษย์เก่าคณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
23
การศึกษา
โครงการเรียนดี ม.อ.
เปิดโอกาสให้เยาวชนคนเก่งทั่วประเทศเข้าศึกษา ประกาศผลสอบสัมภาษณ์ คณะเภสัชฯมีผู้เลือกมากที่สุด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการ ศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนที่มีความสามารถและเป็นก� ำลังหลัก และแรง ขับเคลื่อนส�ำคัญของประเทศในระยะยาวดังพันธกิจที่ก�ำหนดไว้ในแผน พัฒนามหาวิทยาลั ย ให้ เ ป็ น สั ง คมฐานความรู ้ บ นพื้ น ฐานพหุ วั ฒ นธรรม และหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึงความรู้ในหลาก หลายรูปแบบจึงได้จัดให้มีโครงการรับนักเรียนที่เรียนดี ขึ้นปีนี้เป็นปีที่ 6 โดยรับนักเรียนที่มาจากทั่วประเทศ
ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการ รั บ นั ก ศึ ก ษา ประธานกรรมการด� ำ เนิ น การคั ด เลื อ ก นั ก เรี ย นโดยวิ ธี รั บ ตรงทั่ ว ประเทศ ประจ� ำ ปี ก าร ศึ ก ษา 2556 ได้ เ ปิ ด เผยว่ า จากการที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ ปิ ด รั บ นั ก เรี ย นเข้ า ศึ ก ษาใน โครงการรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลการเรี ย นดี แ ละเรี ย น
ดร.สุขสวัสดิ์ ศิริจารุกุล
เก่งเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2556 โดยไม่ ต ้ อ งสอบข้ อ เขี ย น ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในความพยายามของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ จ ะรั บ นั ก เรี ย นเรี ย นเก่ ง จากทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง การคั ด เลื อ กเบื้ อ งต้ น ใช้หลักเกณฑ์ดูผลการเรียนรวมจากทุกหมวด การเรียน 4 ภาคการศึกษา ของชั้นมัธยมปลายม.4-ม.5 โดยมหาวิทยาลัยได้น� ำมาแปลงเป็นคะแนน และน�ำต�ำแหน่งที่ของโรงเรียนในการสอบ O-NET ในปีที่ผ่านมาพิจารณา โดยจะเป็นคะแนนจากผลการเรียนร้อยละ 75 ผลปรากฎในปีนี้ มีผู้สนใจ จากโรงเรียนต่างๆ สมัครผ่านทางออนไลน์มากกว่าปีที่ผ่านมาในทุกภาคทั่ว ประเทศ รวมทั้งสิ้น 6,520 คน เป็นผู้สมัครจากภาคใต้ จ�ำนวน 5,318 คน และภาคอื่นๆ จ�ำนวน 1,202 คน ทั้งนี้มีผู้ผ่านตามคุณสมบัติข้างต้นและเรียก มาสอบสัมภาษณ์ จ�ำนวน 1,980 และผ่านการคัดเลือกได้เข้าศึกษา จ�ำนวน 1,107 คน โดยคณะเภสัชศาสตร์ มีผู้เลือกมากที่สุด ดร.สุขสวัสดิ์ ได้เปิดเผยต่อไปว่าคณะที่เข้าร่วมโครงการรับในครั้งนี้ ของมหาวิทยาลัย มีจ�ำนวน 27 คณะ 132 สาขาวิชา ใน 5 วิทยาเขต มีสาขา ใหม่ ที่ เ ปิ ด รั บ ในปี ก ารศึ ก ษา 2556 นี้ ได้ แ ก่ สาขาดิ จิ ทั ล มี เ ดี ย (หลั ก สู ต ร นานาชาติ) สาขาวิทยาศาสตร์นิเทศ สาขาเศรษฐกิจอาเซียน สาขาตะวันออกกลางศึกษา และสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สามารถจ�ำแนกคณะที่มีผู้ สมัครมากที่สุด 10 อันดับแรก ดังนี้ 1. คณะเภสัชศาสตร์ สาขาเภสัชศาสตร์ จ�ำนวน 726 คน 2. คณะ วิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ จ�ำนวน 545 คน
24
3.คณะนิติศาสตร์ สาขานิติศาสตร์ จ�ำนวน 520 คน 4.คณะ เทคนิ ค การแพทย์ สาขาเทคนิ ค การแพทย์ จ� ำ นวน 492 คน 5.คณะเภสัชศาสตร์ สาขาบริบาลทางเภสัชกรรม จ�ำนวน 334 คน 6.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จ� ำนวน 260 คน 7. คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาพยาบาลศาสตร์ จ�ำนวน 260 คน 8.คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ จ�ำนวน 231 คน 9.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี จ�ำนวน 205 คน 10.คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ จ�ำนวน 193 คน หากนั ก เรี ย นพลาดจากโครงการนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ยั ง มี โครงการพิ เ ศษที่ ค ณะและวิ ท ยาเขตของมหาวิ ท ยาลั ย รั บ โดยตรง เช่น การรับบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีโดยใช้ ผลคะแนน GAT/PATครั้งที่1/2556 (สอบตุลาคม 2555) และ วิ ช าสามั ญ 7 วิ ช า (สอบมกราคม 2556) สามารถติ ด ตาม รายละเอียดได้ทางเว็ปไซด์ ของมหาวิทยาลัยประมาณเดือน กุมภาพันธ์ 2556 และโครงการอื่นๆ จ�ำนวนกว่า 30 โครงการ ที่รับอยู่ในขณะนี้ ดร.สุขสวัสดิ์ กล่าว อนึ่งมหาวิทยาลัยได้จัดให้มีการสอบสัมภาษณ์ โดยใช้ สถานที่ 2 แห่ง แก่นักเรียนที่ได้ผ่านการคัดเลือกในเบื้องต้นแล้ว กล่ า วคื อ ที่ โ รงแรมเอเชี ย กรุ ง เทพมหานคร โดยสั ม ภาษณ์ นั ก เรี ย นจากภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ภาค ตะวั น ออกและภาคกลางเมื่ อ วั น ที่ 13 ตุ ล าคม 2555 ส่ ว น ภาคใต้ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ และวิทยาเขตต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยตั้งอยู่เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
สาร ม.อ.ขอเปิดใจน้องๆ ที่มาสัมภาษณ์ โครงการรับนักเรียนที่เรียนดี ณ กรุงเทพมหานครช่วงเช้าของวันที่ 13 ตุลาคม 2555 น้องๆ รวมทั้งผู้ปกครอง ต่างทยอยกันมาด้วยแววตาแห่งความหวังในวันนั้นมหาวิทยาลัยได้จัดเตรียม เอกสารแนะน� ำ มหาวิ ท ยาลั ย และเอกสารแนะน� ำ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจั ง หวั ด ที่มีวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ ตลอดจนของที่ระลึก รวมทั้งให้ชมวิดิทัศน์ แนะน�ำมหาวิทยาลัย ระหว่างที่มีการนั่งรอในการเข้าสัมภาษณ์ นางสาวอิสรา บุญเต็ม (ขวา) จากโรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัดระยอง บอกว่า เพิ่งจะรู้จักมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อไม่นานมานี้ เนื่องจาก มีรุ่นพี่ที่โรงเรียน ได้เคยศึกษาอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ แนะน�ำให้สมัครในโครงการนี้ โดย ตนชอบคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขาเคมี คิ ด ว่ า เมื่ อ ส� ำ เร็ จ สาขานี้ จ ะเป็ น ที่ ต ้ อ งการ ของแหล่ ง งานทั้ ง ในและต่ า งประเทศเป็ น จ� ำ นวนมากรู ้ สึ ก ประทั บ ใจในพระราช ปณิธานที่เป็นแนวปฎิบัติของมหาวิทยาลัย ที่ให้แนวคิดเรื่องประโยชน์ส่วนตนเป็นรอง ประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่หนึ่ง จากวิดิทัศน์ที่ได้ให้ชม ซึ่งเห็นว่านอกจากผลิต บุคลากรที่มีความสามารถแล้ว ยังผลิตบุคลากรที่มีคุณธรรมในจิตใจอีกด้วย และอยากฝากให้มหาวิทยาลัยมีโครงการดีๆ เช่นนี้ต่อไปซึ่งจะเป็นการกระจาย โอกาสให้ กั บ นั ก เรี ย นในภู มิ ภ าคอื่ น ๆ โดยตนจะแนะน� ำ น้ อ งๆ มาเรี ย นที่ สงขลานครินทร์แน่นอน ส่วนเพื่อนที่มาด้วยกันนางสาวธิดารัตน์ อึ้งสกุล(ซ้าย) สนใจ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี มีความเห็นว่าสาขานี้เป็นที่ต้องการของ ตลาดแรงงานที่ เ ลื อ กศึ ก ษาที่ นี่ เพราะมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ ป็ น มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ นางสาวอรสิ นี ทองแรง (ภาพขวา) โรงเรี ย นปทุ ม ราชวงศา จั ง หวั ด อ� ำ นาจเจริ ญ เล่ า อย่างไม่รีรอว่า สนใจ เ รี ย น ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศาสตร์ สาขาภาษา ไทย มหาวิ ท ยาลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร ์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เพราะว่ า สนใจศึ ก ษาวิ ช าภาษาไทยเป็ น ทุ น เดิ ม อยู ่ แ ล้ ว ชอบในเอกลักษณ์ของภาษาไทย ไม่รู้สึกว่ามีความกลัวเมื่อรู้ว่าได้มาศึกษา ที่นี่ “บางสถานที่ที่เราคิดว่าน่ากลัวแต่แท้จริงแล้วอาจเป็นสถานที่ที่สงบร่มเย็น เป็นที่สุด ก็ เ ป็ น ได้ ” อี ก ทั้ ง มี คุ ณครูที่โรงเรียนเป็นศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ ส�ำเร็จการศึกษาจากที่นี่ และได้ให้ค�ำแนะน�ำมาอย่างดี ส่วนนางสาวจันจิรา ดีแก้ว (ภาพซ้าย)จากโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร จังหวัดน่ า น สนใจคณะศึ ก ษาศาสตร์ สาขาภาษาไทย เช่นเดียวกัน บอกว่า สงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกและแห่งเดียวที่ใฝ่ฝันจะมาศึกษา อยากเป็ น ครู เ พื่ อ น� ำ ความรู ้ ม าพั ฒ นาภาคใต้ ซึ่ ง เป็ น ถิ่ น บ้ า นเกิ ด ของเราเอง อยากฝากให้ รุ ่ น พี่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ไปแนะแนวรุ ่ น น้ อ งที่ โ รงเรี ย นบ้ า ง เพื่อให้รุ่นน้องรู้จักมากยิ่งขึ้น นางสาวกรองกาญจน์ ธ ารี ส วั ส ดิ์ (ซ้ า ย) โรงเรี ย นอิ ส ลามศรี อ ยุ ธ ยา มู ล นิ ธิ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา บอกว่ า สถานที่ ที่ ม าสั ม ภาษณ์ ใ นวั น นี้ ส ะดวกมาก เมื่อมาถึงมีพี่ๆ ดูแลเอาใจใส่ และอาจารย์ ที่ เ ป็ น กรรมการสั ม ภาษณ์ มี ค วามเป็ น กั น เอง ท� ำ ให้ รู ้ สึ ก ไม่ เ กร็ ง ตนสนใจคณะ มนุษยศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐกิจอาเซียน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี เพราะสนใจศึ ก ษาบริ บ ทเกี่ ย วกั บ อาเซี ย นในทุ ก ด้ า น และมี ค วาม ส� ำ คั ญ ในปั จ จุ บั น ประกอบกั บ มี รุ ่ น พี่ ที่ ศึ ก ษาอยู ่ ที่ ค ณะนี้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย มาแนะแนวที่โรงเรียนและแนะน�ำให้มาศึกษาและเลือกเรียนคณะนี้ “บัณฑิต ของสงขลานคริ น ทร์ มี คุ ณ ภาพจริงๆ เท่าที่ไ ด้มีโ อกาสสัม ผัส กับ รุ่นพี่ที่ส� ำเร็ จ การศึ ก ษามา นอกจากมี ค วามสามารถรอบด้ า นแล้ ว สิ่ ง ส�ำ คั ญ ยั ง มี จิ ต อาสา
อี ก ด้ ว ย ตนมี ค วามภู มิ ใ จและได้ ฝ ากความหวั ง ไว้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ และครอบครัวให้การสนับสนุนค่ะ” ส่วนนางสาวจุฬาลักษณ์ ขันธศักดิ์ (ขวา) เพื่ อ นที่ ม าจากโรงเรี ย นเดี ย วกั น สนใจเรี ย นคณะวิ ท ยาการจั ด การ สาขา โลจิ ส ติ ก ส์ เลื อ กเรี ย นคณะนี้ เ พราะมี รุ ่ น พี่ แ นะน�ำ เช่ น กั น อยากให้ รุ ่ น น้ อ ง มีโอกาสมาสัมภาษณ์ในโครงการนี้ นางสาวเพชรรั ต น์ พรมเจริ ญ โรงเรี ย นสมเด็ จ พิ ท ยาคม จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ “ประทั บ ใจกั บ การต้ อ นรั บ ของพี่ ๆ และ คณาจารย์มาก มีการจัดที่นั่งและห้องรับรองให้แก่ นักเรียนและผู้ปกครองก่อนเข้าสัมภาษณ์ ท� ำให้มี บรรยากาศไม่ เ ครี ย ดและได้ ช มวิ ดิ ทั ศ น์ ท� ำ ให้ เ ห็ น บรรยากาศการเรี ย นการสอนของมหาวิ ท ยาลั ย น่าเรียนมากยิ่งขึ้น ตนสนใจเรียนในคณะการแพทย์ แผนไทย เพราะสนใจสมุนไพรไทยและอนุรักษ์การ แพทย์แผนไทยให้คงอยู่ต่อไป อยากแนะน� ำน้องๆ ให้มาเรียนที่นี่ และตนได้เคยมีโอกาสเข้ามาเยี่ยมชม มหาวิทยาลัยแล้ว มีบรรยากาศน่าอยู่น่าเรียนมากค่ะ” นายอติวิชญ์สุวรรณพนัง โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย(ซ้าย) และ นายจิ ร าพั ช ร มั่ ง คั่ ง โรงเรี ย น เตรียมอุดมพัฒนาการ (ขวา) จาก จั ง หวั ด นนทบุ รี มี ค วามรู ้ สึ ก และ ความเห็ น เหมื อ นกั น เมื่ อ ถามถึ ง โครงการนี้ แ ละทั้ ง สองคนบอก ว่ า เป็ น โครงการที่ ดี ห ากได้ ค นดี คนเก่ ง แล้ ว ง่ า ยต่ อ การพั ฒ นา คุณภาพทางการศึกษาและเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนดีได้แสดงศักยภาพ และหาประสบการณ์ในพื้นที่ต่างจากบ้านเกิด นายอติวิทย์ เลือกเรียนคณะ เศรษฐศาสตร์ มีความเห็นว่าตนต้องการที่จะปรับตัวในสถานการณ์ให้เข้ากับ เศรษฐกิจของโลกในปัจจุบัน ภาคภูมิใจเมื่อได้เห็นบัณฑิตของสงขลานครินทร์ มีคุณภาพ และเป็นคนเก่ง สร้างสรรค์ผลงานไว้มากมาย และที่ภาคภูมิใจมาก ที่สุด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นนามพระราชทานอีกด้วย ส่วน นาย จีรพัชร บอกว่าสนใจเรียนคณะนิติศาสตร์ เพราะต้องการศึกษาหาความรู้ใน ด้านกฎหมาย เพื่อน�ำมาช่วยเหลือผู้อื่นและพัฒนาประเทศชาติ ซึ่งปัจจุบันเห็น ว่าส�ำคัญมาก “ รู้จักมหาวิทยาลัยจากสื่ออินเตอร์เน็ตเข้ามาดูข้อมูลอยู่บ่อยๆ มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี สภาพแวดล้อมน่าอยู่ครับ” นายจีรพัชรกล่าว นางสาวเกศิณีย์ ชมศรี (ซ้าย)จากโรงเรียนศรีราชา จังหวัดชลบุรี ดีใจ เมื่อได้เห็นพี่ประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย ที่ ม าในวั น นี้ และถามว่ า “พี่ ๆ ค่ ะ จ� ำ หนู ได้ ไ หมค่ ะ หนู จ� ำ พี่ ไ ด้ ที่ พี่ แ นะน� ำ ให้ ห นู ม า สมัครโครงการนี้” นางสาวเกศิ ณี ย ์ พยายาม บอกและเล่ า ถึ ง ที่ ม าของการมาสมั ค รใน โครงการนี้ ว ่ า หลั ง จากที่ พี่ ๆ ประชาสั ม พั น ธ์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาออกบูท และแนะน� ำ การเข้ า ศึ ก ษาต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย แล้ ว ในวั น นั้ น มี โ ครงการหนึ่ ง ที่ น ่ า สนใจคื อ โครงการรับนักเรียนเรียนดีมาประชาสัมพันธ์ในงาน มหกรรมการศึกษา (uexpo )ซึ่ ง จั ด โดยเนชั่ น ที่ ไ บเทคบางนา เมื่ อ เดื อ น เมษายน 2555 แล้ ว จึ ง สนใจและลองมาสมั ค รตามคุ ณ สมบั ติ ที่ ส มั ค ร และได้ ม าสอบสั ม ภาษณ์ ใ น วั น นี้ ตนได้ เ ลื อ ก คณะพยาบาลศาสตร์ เพราะต้ อ งการที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ น มนุ ษ ย์ การรั ก ษาพยาบาลและดู แ ลคนไข้ เ ป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ มากๆ อนาคตจะ มี ผู ้ สู ง อายุ ม ากขึ้ น และขอบคุ ณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ที่ ใ ห้ โ อกาส ได้ ม าสั ม ภาษณ์ ใ นครั้ ง นี้ “ดี ใ จและภู มิ ใ จมากๆ ค่ ะ ” นางสาวเกศิ ณี ย ์ ก ล่ า ว
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
25
วิจัย
คุณค่าของสัตว์พื้นใต้น�้ำที่มีอยู่ในทะเลสาบสงขลา นอกจาก จะเป็นอาหารของสัตว์น�้ำอื่นๆ ที่เป็นอาหารของมนุษย์แล้ว ยังมี ประโยชน์ อ ย่ า งไรต่ อ ระบบนิเวศ โดยช่ว ยก� ำ จัดตะกอนอิน ทรีย ์ ในตะกอนดินพื้นท้องทะเลสาบ เนื่องจากสัตว์พื้นใต้น�้ำส่วนใหญ่ เป็นชนิดที่กินตะกอนอินทรีย์เป็นอาหาร เป็นการลดความเน่าเสีย ในตะกอนดินพื้นทะเลสาบ ช่วยในการแลกเปลี่ยนมวลน�้ำใต้ผิวดิน เป็ น การเติ ม อากาศหรื อ ออกซิ เ จนในตะกอนดิ น โดยทางอ้ อ ม เนื่ อ งจากส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สั ต ว์ ที่ ขุ ด รู เ ป็ น ท่ อ อยู ่ ใ นดิ น ท� ำ ให้ น�้ ำ และอากาศไหลสู่ท่อ เกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยจุลินทรีย์ แบบใช้ อ อกซิ เ จน จึ ง บรรเทาการเกิ ด ก๊ า ซไข่ เ น่ า ซึ่ ง เป็ น พิ ษ ต่ อ สัตว์น�้ำ และ ช่วยลดสารแขวนลอยในน�้ำ โดยสัตว์พื้นน�้ำที่กรอง อาหารจากมวลน�้ำ ท�ำให้น�้ำใสและแดดส่องไปได้ลึก
Birdotanais songkhlaensis สัตว์พื้นใต้น�้ำสกุลใหม่พบในทะเลสาบสงขลา ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช
ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า ในปัจจุบันระบบนิเวศในทะเลสาบสงขลาได้เสื่อมโทรมจากการกระท�ำ ของมนุษย์ทั้งโดยการตั้งใจและไม่ตั้งใจ อย่างไรก็ตาม จากการติดตาม วิ จั ย และเก็ บ ตั ว อย่ า งสั ต ว์ พื้ น ใต้ น�้ ำ ซึ่ ง เป็ น สั ต ว์ ข นาดเล็ ก ที่ เ ป็ น ตั ว เชื่อมโยงห่วงโซ่อาหารของสัตว์น�้ำที่เป็นสัตว์เศรษฐกิจ เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา พบว่า ยังมีสัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ถูกพบในทะเลสาบสงขลา เพิ่ ม ขึ้ น โดยล่ า สุ ด ได้ พ บสั ต ว์ ส กุ ล (genus) ใหม่ ซึ่ ง ได้ รั บ การตั้ ง ชื่ อ วิทยาศาสตร์ว่า Birdotanais songkhlaensis ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็ก ล�ำตัวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร อาศัยอยู่ในตะกอนดินโคลนเหนียว ในทะเลสาบสงขลาตอนล่ า งใกล้ ป ากทะเลสาบ ในความลึ ก 70 เซนติเมตร ซึ่งในช่วงเวลาที่พบน�้ำมีความเค็มประมาณ 30 ส่วนในพัน Birdotanais songkhlaensis เป็ น สั ต ว์ ใ น Phylum Arthropoda , Subphylum Crustacea , Order Tanaidacea , Family Nototanaidae ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ในระดับสกุลที่มาจากชื่อผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ คือ Dr.Graham Bird ซึ่งได้ให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ในการจ�ำแนก ชนิด ส่วนชื่อในระดับสปีซีส์ ตั้งตามสถานที่ที่พบ คือ ทะเลสาบสงขลา
26
และได้ รั บ การตี พิ ม พ์ แ ล้ ว ในวารสาร The Raffles Bulletin of Zoology 60 หน้า 421 – 432 คุณค่าของสัตว์พื้นใต้น�้ ำที่มีอยู่ในทะเลสาบสงขลา นอกจาก จะเป็ น อาหารของสั ต ว์ น�้ ำ อื่ น ๆ ที่ เ ป็ น อาหารของมนุ ษ ย์ แ ล้ ว ยั ง มี ประโยชน์อย่างไรต่อระบบนิเวศ โดยช่วยก� ำจัดตะกอนอินทรีย์ ใน ตะกอนดิ น พื้ น ท้ อ งทะเลสาบ เนื่ อ งจากสั ต ว์ พื้ น ใต้ น�้ ำ ส่ ว นใหญ่ เป็นชนิดที่กินตะกอนอินทรีย์เป็นอาหาร เป็นการลดความเน่าเสีย ในตะกอนดิ น พื้ น ทะเลสาบ ช่ ว ยในการแลกเปลี่ ย นมวลน�้ ำ ใต้ ผิ ว ดิ น เป็ น การเติ ม อากาศหรื อ ออกซิ เ จนในตะกอนดิ น โดยทางอ้ อ ม เนื่ อ งจากส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สั ต ว์ ที่ ขุ ด รู เ ป็ น ท่ อ อยู ่ ใ นดิ น ท� ำ ให้ น�้ ำ และ อากาศไหลสู่ท่อ เกิดการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยจุลินทรีย์แบบ ใช้ออกซิเจน จึงบรรเทาการเกิดก๊าซไข่เน่าซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์น�้ำ และ ช่วยลดสารแขวนลอยในน�้ำ โดยสัตว์พื้นน�้ำที่กรองอาหารจากมวลน�้ำ ท�ำให้น�้ำใสและแดดส่องไปได้ลึก “การยืนยันว่าได้มีการพบสัตว์ชนิดใหม่ที่ไม่เคยมีใครบันทึก การค้นพบมาก่อน จะต้องอาศัยความรู้ทางวิชาการและประสบการณ์ ในการท� ำ วิ จั ย ต้ อ งมี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ เ ราก� ำ ลั ง ศึ ก ษา คื อ สั ต ว์ พื้ น ใต้ น�้ ำ เมื่ อ สงสั ย ว่ า จะเป็ น สั ต ว์ ช นิ ด ใหม่ เราต้ อ งน� ำ มาดู ด ้ ว ย กล้ อ งจุ ล ทรรศน์ ใ นภาพรวม เพื่ อ แยกกลุ ่ ม ดู หั ว ตั ว หนวด ปล้ อ ง อก ปล้ อ งท้ อ ง ก้ า ม ขา ปาก และจะต้ อ งติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ นักวิชาการต่างชาติที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้ เพื่อปรึกษาหารือว่าเคยมีผู้พบ จากแหล่งอื่นหรือไม่ และจะต้องได้รับการน� ำลงตีพิมพ์ในวารสาร วิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่เชื่อถือ” ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา กล่าว
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช ยังกล่าวด้วยว่า เมื่อ 80 ปีมาแล้ว เคยมีนักวิชาการต่างชาติได้พบสัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ ชนิดหนึ่งในทะเลสาบสงขลา และปัจจุบันสัตว์ชนิดนั้นก็ยังมีอยู่ แต่ไม่ได้หมายความว่าสภาวะแวดล้อมในทะเลสาบสงขลาจะดีขึ้น เพราะ สัตว์กลุ่มนี้ส่วนใหญ่ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถ ปรับตัวได้เร็ว แต่จากการท� ำวิจัยมาหลายสิบปี โดยท� ำการเก็บ ตัวอย่างสัตว์ตั้งแต่ขอบทะเลสาบ และพบว่าใกล้ฝั่งที่ก�ำลังเป็นที่ สะสมของขยะและการเน่าเสีย จะมีสัตว์ใต้พื้นน�้ำเหลือน้อย แต่จะ มีมากขึ้นเมื่อห่างฝั่งออกไป ทะเลสาบสงขลามีข้อดีคือจะมีทั้งน�้ำจืด น�้ำเค็ม และน�้ำกร่อย แล้วแต่พื้นที่และฤดูกาล ท�ำให้มีการหมุนเวียน ชนิดของสัตว์ที่อยู่อาศัยในทะเลสาบ การขาดการดูแลสมบัติตาม ธรรมชาติและ การพยายามอนุรักษ์ทั้งๆ ที่ไม่มีความเข้าใจธรรมชาติ อย่างลึกซึ้งอาจจะท�ำให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดี ดังนั้นควรถึงเวลา
ชาวบ้านและผู้ประกอบอุตสาหกรรมรอบทะเลสาบ ต้องเสียสละ เพื่อทะเลสาบได้แล้ว จากความรู ้ แ ละประสบการณ์ ก ารวิ จั ย สั ต ว์ พื้ น ใต้ น�้ ำ ใน ทะเลสาบสงขลา ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช ได้รับ การสนั บ สนุ น จากส� ำ นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) ให้จัดท�ำหนังสือความรู้ตามโครงการวิจัยเรื่อง การเชื่อมโยงระหว่าง การศึกษาพรรณสัตว์พื้นใต้น�้ำในทะเลสาบสงขลาและการถ่ายทอด ความรู ้ สู ่ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น เพื่ อ สะท้ อ นให้ เ ห็ น ภาพสถานการณ์ และความเป็นอยู่ของพืชและสัตว์ ในทะเลสาบสงขลา และท� ำ อย่ า งไรไม่ ใ ห้ สิ่ ง มี ชี วิ ต เหล่ า นั้ น สู ญ หายไปจากทะเลสาบ โดย เนื้อหาเรียบเรียงเป็นภาษาทางวิชาการที่เข้าใจง่าย มีการใช้ศัพท์ ทางวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษบ้างตามความจ�ำเป็น
หนังสือดังกล่าวมี 3 เล่ม ประกอบด้วย “ระบบนิ เ วศทะเลสาบสงขลา”เป็นหนังสือที่ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศในทะเลสาบสงขลา โดยให้ความส�ำคัญกับพรรณสัตว์พื้นใต้น�้ำเป็นพิเศษ เชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมของมนุษย์ที่มีผลต่อการด�ำรงชีพของสัตว์ต่างๆ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยง ทะเลสาบได้อย่างไร เพื่อเป็นสื่อการสอนที่มีประโยชน์ส� ำหรับโรงเรียนรอบทะเลสาบและพื้นที่อื่นที่สนใจ ส่วนอีก 2 เล่ม คือ “พรรณสัตว์พื้นใต้น�้ำกลุ่มหนอนปล้อง:โพลิขีด ในทะเลสาบสงขลา” และ “พรรณสัตว์ พื้นใต้น�้ำกลุ่มครัสตาเซียน:ออสตราคอต แอมฟิพอด ไอโซพอด ทาไนดาเซียน ในทะเลสาบสงขลา” เป็ น หนั ง สื อ คู ่ มื อ ที่ อ ธิ บ ายเทคนิ ค การวิ จั ย เรื่ อ งยากให้ เ ป็ น เรื่ อ งง่ า ยขึ้ น ตลอดจนการแพร่ ก ระจาย ของสัตว์เหล่านั้นในแหล่งที่อยู่ประเภทต่างๆ จึงเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา นักวิจัยรุ่นใหม่ ที่ต้องการ เพิ่มประสบการณ์การวิจัย และประชาชนที่สนใจทั่วไป ทั้งนี้ หนังสือดังกล่าวส�ำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ จะได้น�ำไปตีพิมพ์เผยแพร่ต่อไป
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
27
แนะน�ำบุคคล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี
รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ปี 2555 จาก มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
และผู้อ�ำนวยการสถานวิจัยสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติอันดามัน (ANED) มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ รั บ รางวั ล นั ก เทคโนโลยี รุ ่ น ใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ.2555 (2012 Young Technologist Award) จาก มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะนักวิจัยผู้พัฒนาวิธีการหาค่าปริมาณน�้ำฝน ที่มีประสิทธิภาพ มีความถูกต้องแม่นย� ำและครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก โดยได้มีการแถลง ข่าวการเปิดตัวผู้ได้รับรางวัลเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2555 ที่โรงแรมเดอะ สุโกศล (สยามซิตี้ เดิม) และได้เข้ารับพระราชทานโล่จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขา วิศวกรรมไฟฟ้า จาก Massachusetts Institute of Technology (MIT) สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2550 เคยได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ระดับดีเยี่ยม สาขาวิศวกรรม ศาสตร์ แ ละอุ ต สาหกรรมวิ จั ย จากสภาวิ จั ย แห่ ง ชาติ รางวั ล นั ก วิ จั ย ดี เ ด่ น คณะ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ประกาศเกียรติคุณในฐานะนักวิจัยที่ มีผลงานวิจัยเผยแพร่ ทางสื่ อ สารมวลชนในระดั บ ชาติ จากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เกี ย รติ บั ต รแสดง การมีส่วนร่วมในความส�ำเร็จ ของโครงการ AIRS จากองค์กร U.S. National Aeronautics and Space Administration (NASA) ประเทศสหรัฐอเมริกา หนึ่ ง ในผลงานหลั ก ที่ ท�ำ ให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ดั ง กล่ า ว คื อ ผลงาน การพั ฒ นาอั ล กอริ ทึ ม AMP (AMSU MIT Precipitation Retrieval Algorithm) ส�ำหรับประมาณค่าหยาดน�้ำฟ้า ทั่วโลกจากข้อมูลที่สังเกตจากดาวเทียมมิลลิมิเตอร์เวฟแบบพาสซีฟ ซึ่งมีความถูกต้อง แม่นย�ำและครอบคลุมพื้นที่ทั่วโลก ช่วยในการประเมินสถานการณ์เพื่อลดการสูญเสีย อันเนื่องจากภัยพิบัติ อัลกอริทึม AMP เป็นผลงานวิจัยที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี และ Prof. Dr. David H. Staelin ของ MIT ได้ร่วมกันศึกษา วิจัย และพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2547 ถึงปัจจุบัน โดยได้รับทุนวิจัยจาก National Aeronautics and Space Administration (NASA) National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) และคณะเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต งานวิ จั ย ดั ง กล่ า ว มี ขึ้ น จากปั ญ หาของการพั ฒ นาวิ ธี ก ารประมาณค่ า หยาดนํ้ า ฟ้ า เนื่ อ งจากไม่ มี สิ่ ง ใดบอกได้ อ ย่ า งแม่ น ย� ำ ว่ า หยาดนํ้ า ฟ้ า ที่ ต กลงบนพื้ น โลกจริ ง
28
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
นั้ น มี ป ริ ม าณเท่ า ใด คณะผู ้ วิ จั ย ได้ เ ริ่ ม พั ฒ นาตรวจสอบความถู ก ต้ อ งสมจริ ง ของแบบจ�ำลองทางกายภาพ เพื่อใช้เป็นความจริงภาคพื้นดินทั่วโลก หลังจากนั้น จึ ง ใช้ แ บบจ� ำ ลองดั ง กล่ า วในการฝึ ก อั ล กอริ ทึ ม AMP ให้ ป ระมาณค่ า หยาดนํ้ า ฟ้ า และตั ว แปรอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาต่ า งๆ อั ล กอริ ทึ ม AMP ใช้ วิ ธี เ ครื อ ข่ า ยประสาทเที ย ม (Neural Network) สัญญาณที่จะน�ำเข้าเครือข่ายประสาทเทียมนั้นจะต้องผ่านการ ประมวลเบื้องต้น (Preprocessing) เพื่อก�ำจัดสัญญาณที่ไม่ต้องการและสัญญาณ ที่มาจากพื้น ผลงานวิจัยนี้ได้ท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของผลการประมาณค่า หยาดนํ้าฟ้าจากอัลกอริทึม AMP กับสัญญาณสะท้อนที่สังเกตโดยเรดาร์ CloudSat ที่ อยู่บนดาวเทียมและเปรียบเทียบกับข้อมูลหยาดนํ้าฟ้าที่สังเกตจากมาตรวัดฝนทั่วโลก ผลการศึกษาพบว่า อัลกอริทึม AMP ประมาณค่าหยาดนํ้าฟ้าได้ถูกต้องแม่นย�ำ ทั่วโลกและเป็นอัลกอริทึมแรกของโลกที่สามารถประมาณค่าหยาดนํ้าฟ้าได้อย่าง ถู ก ต้ อ งแม่ น ย� ำ บนพื้ น ที่ ที่ มี หิ ม ะปกคลุ ม หรื อ เป็ น ทะเลนํ้ า แข็ ง ซึ่ ง จนถึ ง ปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี อั ล กอริ ทึ ม อื่ น ใดที่ มี ค วามสามารถดั ง กล่ า ว ถื อ ได้ ว ่ า อั ล กอริ ทึ ม AMP เป็ น อั ล กอริ ทึ ม ที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด ในขณะนี้ รู ้ โ ดยข้ อ มู ล ของหยาดนํ้ า ฟ้ า และตั ว แปรต่ า งๆ ที่ ป ระมาณได้ จ ากอั ล กอริ ทึ ม AMP ได้ ป รากฎอยู ่ บ นเว็ บ ไซต์ ข อง International Precipitation Working Group (IPWG) (http://www.isac.cnr.it/~ipwg/data/ datasets3.html) ซึ่งได้รวมข้อมูลหยาดนํ้าฟ้าที่ส� ำคัญๆ จากทั่วโลก และในเว็บไซต์ ของ MIT (http://web.mit.edu/surusc/www/AMP/) ซึ่งได้มีผู้ขอใช้งานผลิตภัณฑ์ AMP จากทั่วโลกรวมถึงนักวิจัยขององค์กร NASA และ NOAA
ที่ ผ ่ า นมา ผู ้ วิ จั ย ได้ น�ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค ่ า ประมาณหยาดน�้ำ ฟ้ า AMP ไปใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ประชาชน ทั้ ง ในเชิ ง เศรษฐศาสตร์ แ ละสั ง คม เช่ น ใช้ ใ นการศึ ก ษา ถึงสาเหตุที่แท้จริงของการที่แม่นํ้าโขงตอนล่างมีระดับน�้ำต�่ำที่สุดในรอบมากกว่า 50 ปี ในฤดูหนาวของปี 2553 ซึ่งผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่ามีความเป็นไปได้มากที่สุดที่เขื่อน ไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดใหญ่หลายเขื่อน ที่กั้นแม่นํ้าโขงตอนบนในประเทศจีนเป็นสาเหตุ ส�ำคัญ รวมทั้งใช้ในการศึกษาสาเหตวิกฤตน�้ำท่วมบริเวณกลุ่มลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา ท่าจีน ซึ่งเกิดขึ้นประมาณเดือนตุลาคม – ธันวาคม ปี 2554 ซึ่งพบว่า ปริมาณฝนที่
ตกในพื้นที่กลุ่มลุ่มนํ้าดังกล่าวในปี 2554 มากกว่า ค่ า เฉลี่ ย ของปี 2549 – 2553 ทุ ก เดื อ น โดยมี ค่ามากกว่าค่าปกติประมาณร้อยละ 37 รวมทั้ง การบริหารจัดการเขื่อนขนาดใหญ่ในกลุ่มลุ่มนํ้า ดังกล่าวเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
นอกจากนั้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี ยังได้มีผลงาน การพัฒนาเทคโนโลยีระบบ พยากรณ์อากาศเชิงเลขความละเอียดสูงส�ำหรับ ประเทศไทย ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ส ามารถระบุ ต� ำ แหน่ ง ของหยาดนํ้าฟ้าหรือพายุได้อย่างละเอียด ซึ่งจะ เป็ น ประโยชน์ เ ป็ น อย่ า งมากต่ อ การด�ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของมนุ ษ ย์ แ ละการเตื อ นภั ย พิ บั ติ ธรรมชาติล่วงหน้า และผลงานการพัฒนาอุปกรณ์ รั บ รู ้ ค ลื่ น ความถี่ มิ ล ลิ มิ เ ตอร์ เ วฟแบบพาสซี ฟ ส�ำหรับใช้บนดาวเทียมเพื่อตรวจวัดหยาดน�้ ำฟ้า ทั่วโลก เพื่อสามารถให้ค�ำตอบเกี่ยวกับข้อก�ำหนด ที่เหมาะสมของอุปกรณ์รับรู้ได้อย่างถูกต้องโดยที่ ไม่ ต ้ อ งสร้ า งอุ ป กรณ์ รั บ รู ้ แ บบต่ า งๆ ขึ้ น มาเพื่ อ ทดลองจริง ซึ่งท�ำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ในการพัฒนาได้มาก
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
29
รอบรั้วศรีตรัง
ม.อ. 5 วิทยาเขต
พร้อมใจถวายราชสักการะ สมเด็จพระบรมราชชนก
เนื่องใน
“วันมหิดล”
ม
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดให้มีพิธีวางพวงมาลาถวายราชสักการะ พระราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศ อดุ ล ยเดชวิ ก รม พระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานคริ น ทร์ เนื่ อ งในวั น มหิ ด ล 24 กั น ยายน 2555 พร้ อ มกั น ทุ ก วิทยาเขต คือ วิทยาเขตปัตตานี หาดใหญ่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และตรัง เป็นครั้งแรก หลั ง จากที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต เป็ น วิ ท ยาเขตสุ ด ท้ า ย ที่ มี พิ ธี ป ระดิ ษ ฐานพระราชา นุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 โดยในปีนี้ยังเป็นวโรกาสครบ 120 ปี แห่งการ พระราชสมภพของพระองค์ท่าน
ที่ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี พลเอกสุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์ องคมนตรี เป็นประธานในพิธีวางพวงมาลา และกล่าว ค�ำสดุดีเฉลิมพระเกียรติคุณ โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี อ่าน มหิ ต ลานุ ส รณี ย ์ หลั ง จากนั้ น ท่ า นองคมนตรี ไ ด้ เ ป็ น ประธานเปิดโครงการเฉลิมพระเกียรติ “มหาราชินี อัครา ภิ รั ก ษศิ ล ปิ น ” และบรรยายพิ เ ศษหั ว ข้ อ เหตุ แ ห่ ง พระ ราชสมัญญา “อัคราภิรักษศิลปิน” และมีการแสดงโขน เฉลิมพระเกียรติจากเยาวชน “โครงการเยาวชนต้นแบบ โขนปั ต ตานี ” พร้ อ มมอบทุ น การศึ ก ษาสานใจไทย สู ่ ใ จใต้ แ ก่ เ ยาวชนในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ณ ห้ อ ง ประชุ ม ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขตปั ต ตานี โดยมี ผู้ตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัด ปั ต ตานี และหั ว หน้ า ส่ ว นราชการจั ง หวั ด ปั ต ตานี ร่ ว ม ในพิ ธี นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารแข่ ง ขั น กี ฬ า 5 พี่ น ้ อ ง ระหว่าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โรงพยาบาลปั ต ตานี ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด ปัตตานี โรงพยาบาลค่ายอิงคยุทธบริหาร จังหวัดปัตตานี และ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ปัตตานี
30
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดกิจกรรมวางพวงมาลาถวายสักการะพระราชา นุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนกและวันประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง เป็น ประจ�ำทุกปี เพื่อเฉลิมพระเกียรติและน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน ที่ได้ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งต่อแผ่นดิน ทั้งด้านสาธารณสุข การแพทย์ ด้ า นสั ง คมสงเคราะห์ ด้ า นการทหาร และด้ า นการศึ ก ษาของไทยให้ เ จริ ญ ก้าวหน้า ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว สมเด็จพระบรม ราชชนกยังทรงปฏิบัติพระกรณียกิจอีกมากมาย ซึ่งล้วนแต่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ และปวงชนชาวไทย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ กิ จ กรรมวั น มหิ ด ล ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ถือให้เป็นวัน “ประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ในปี นี้ ป ระกอบไปด้ ว ยกิ จ กรรมมากมาย อาทิ พิ ธี บ วงสรวงและ วางพวงมาลาถวายสั ก การะพระราชานุ ส าวรี ย ์ สมเด็ จ พระบรม ราชชนก พิ ธี ส งฆ์ การแสดงนิ ท รรศการพระราชประวั ติ ส มเด็ จ พระบรมราชชนกและความรู ้ ท างการแพทย์ ส� ำ หรั บ ประชาชน การรั บ บริ จ าคเงิ น เพื่ อ สมทบกองทุ น พิ เ ศษ 100 ปี สมเด็ จ พระบรม ราชนก การบริการตรวจวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือนเพื่อการดูแลสุขภาพ การบริการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน และการสาธิตการท�ำอาหาร เพื่อสุขภาพ การแสดงศิลปวัฒนธรรม การแสดงดนตรี ฯลฯ อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมส� ำ คั ญ ที่ ส ่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ต นเพื่ อ สื บ สาน พระราชปณิ ธ านของพระราชบิ ด าที่ ใ ห้ ทุ ก คนถื อ ประโยชน์ ส ่ ว นตน เป็ น กิ จ ที่ ส อง ประโยชน์ ข องเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง คื อ การมอบ รางวัลแด่ผู้อุทิศตนบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่นและการมอบรางวัลแก่ ผู้ชนะการประกวดโครงการประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ซึ่งในปีนี้โครงการที่ได้รับรางวัลชนะเลิศคือโครงการ “อย่าลืมผู้ป่วย
ยากไร้กับโจ๊กข้าวตัง” จากงานโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์ และรางวัล ชมเชย 2 รางวั ล ได้ แ ก่ โครงการ “ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยด้ ว ยหั ว ใจความเป็ น มนุ ษ ย์ ” จากหอผู้ป่วยเด็ก 1 ฝ่ายบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์และโครงการ “ชุมนุมจอกยางเซรามิกส์” จากสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ได้ จั ด พิ ธี ก ล่ า วค� ำ ถวายราชสดดุ ดี พร้ อ ม วางพวงมาลา โดยมี ค ณะผู ้ บ ริ ห าร พร้ อ มบุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ตลอดจนหน่ ว ยงาน ราชการ อาทิ ส�ำนักงานเทศบาลเมืองกะทู้ และส�ำนักงานเทศบาลเมือง ป่าตอง โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต สมาคม ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดภูเก็ต ได้เข้าร่วมวาง พวงมาลาถวายราชสั ก การะหน้ า พระราชานุ ส าวรี ย ์ พระบรมราช ชนก และจัดให้มีพิธีมอบรางวัลโครงการดีเด่น โครงการ “การสร้าง เครื อ ข่ า ยเยาวชนเพื่ อ สร้ า งสรรค์ กิ จ กรรมถื อ ประโยชน์ เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ เป็นกิจที่หนึ่ง” ของ วิทยาเขตภูเก็ต แก่นักเรียนนักศึกษาจากสถาบัน ที่ส่งโครงการเข้าประกวดและผ่านการคัดเลือก มอบรางวัลโครงการ ของนักศึกษาในรายวิชา “กิจกรรมเสริมหลักสูตร” ปีการศึกษา 2554
วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ร่ ว มกั บ โรงพยาบาลสุ ร าษฎร์ ธ านี จั ด กิ จ กรรมวางพวงมาลาเนื่ อ งใน “วั น มหิ ด ล” ซึ่ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก นายเชิดศักดิ์ ชูศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประธาน โดย มี ร องศาสตราจารย์ ดร.เจริ ญ นาคะสรรค์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี พร้ อ มด้ ว ยคณาจารย์ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา หน่ ว ยงาน ด้ า นการแพทย์ สาธารณสุ ข และหน่ ว ยงานต่ า งๆ เข้ า ร่ ว มวางพวง มาลาถวายราชสั ก การะเพื่ อ แสดงความส� ำ นึ ก ในพระกรุ ณ าธิ คุ ณ เป็ น จ� ำ นวนมาก วิ ท ยาเขตสุ ร าษฎร์ ธ านี ไ ด้ จั ด งาน “วั น ประโยชน์ ของเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” ท�ำ กิ จ กรรมบ�ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ต ่ า งๆ เริ่ ม ต้ น ที่ กิ จ กรรมเก็ บ ขยะบริ เ วณมหาวิ ท ยาลั ย และบริ เ วณซอย พิเศษ นอกจากนี้ได้กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วมกับเทศบาลนคร สุราษฎร์ธานี ณ บริเวณถนนริมน�้ำโดยมีกิจกรรม Big Cleaning Day บริเวณโค้งตลาดสด-บริเวณสะพานนริศ ทาสีหอสมุดเฉลิมพระเกียรติ
เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี กิ จ กรรมขยะแลกของและการตรวจสุ ข ภาพ เบื้ อ งต้ น เคลื่ อ นที่ จากโรงพยาบาลสุ ร าษฎร์ ธ านี แ ละโรงพยาบาลทั ก ษิ ณ วิทยาเขตตรัง มีการจัดงานวันถือประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง โดยมีพิธีท�ำบุญตักบาตร พิธีวางพวงมาลา ณ ลานพระราชานุสาวรีย์สมเด็จ พระบรมราชชนก การบรรยายพิเศษ “ดีที่ได้ท�ำดี” โดย คุณดนัย จันทร์เจ้าฉาย การบริจาคโลหิต โครงการ Food-for-Thought Movies โครงการธารน�ำ้ ใจ... ไร้ พ รมแดน โครงการประกวดโปสเตอร์ ” คิ ด ถึ ง ฉั น ไหม ม.อ. ตรั ง ” และกิจกรรมอื่นๆ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
31
นวัตกรรม “เตี ย งพี เ อสยู นั้ น เป็ น เตี ย งที่ ส ร้ า งขึ้ น ส� ำ หรั บ คุ ณ แม่ ช าวไทย โดยได้รับทุนสนับสนุนจากเงินรายได้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเภทวิ จั ย สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ป ระจ� ำ ปี 2554 โดยร่ ว มกั บ อาจารย์ คณะวิ ศ วกรรม-ศาสตร์ ม.อ.ประดิ ษ ฐ์ เ ตี ย งขึ้ น มาตามรู ป แบบที่ ต้องการ เมื่อได้เตียงแล้วจึงเริ่มการทดลอง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็น คุณ แม่ท้องแรก จ�ำนวน 240 ราย ผลการวิจัยพบว่า คุณ แม่ที่ได้ นอนเตียงพีเอสยูมีระยะเวลาในการคลอดเฉลี่ย 16 นาที เมื่อเทียบกับ คุณแม่ที่นอนในเตียงคลอดทั่วไปใช้เวลาเฉลี่ยถึง 60 นาที นอกจาก นั้นคุณแม่กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เตียงพีเอสยูเกือบทั้งหมดระบุตรงกันว่า ไม่ปวดหลังและมีความสุขสบายมาก รวมถึงการเจ็บครรภ์คลอด ก็น้อยกว่ามากเมื่อเทียบกับเตียงคลอดทั่วไป”
เตียงคลอดพีเอสยู นวัตกรรมของโลก
ลดปวด-ใช้เวลาน้อย อาการปวดท้ อ งคลอดถื อ เป็ น ความเจ็ บ รุ น แรง สร้ า งความทรมานให้ แ ก่ คุ ณ แม่ ยิ่งคลอดช้าก็จะยิ่งเจ็บปวดยาวนาน แต่ล่าสุดนักวิชาการการพยาบาล มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ (ม.อ.) วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ซึ่ ง พบเห็ น ภาพความเจ็ บ ปวดของสตรี ใกล้คลอด ปัญหาระหว่างคลอดได้ร่วมกับ นักวิชาการคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ท�ำการศึกษาวิจัย “เตียงคลอดพีเอสยู” (Prince of Songkla University Birthing Bed : PSU) เพื่อให้คุณแม่สามารถคลอดบุตรได้อย่างรวดเร็ว ลดอาการเจ็บปวด และฟื้นตัวได้เร็วส�ำเร็จ รศ.ศศิธร พุมดวง อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ. กล่าวถึงเตียงคลอดพีเอสยู ว่ า เป็ น เตี ย งที่ ส ามารถยกศรีษะให้สูงได้ มีการยกเอวให้สูงขึ้น มีบาร์โหน และมีที่ยัน ฝ่าเท้า เพื่อช่วยคุณแม่ในระยะเจ็บท้องคลอดลดอาการเจ็บปวด มีเชิงกรานเปิดกว้าง และไม่ปวดหลัง “เตียงพีเอสยู นั้นเป็นเตียงที่สร้างขึ้นส�ำหรับคุณแม่ชาวไทย โดยได้รับทุนสนับสนุน จากเงินรายได้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเภทวิจัยสิ่งประดิษฐ์ ประจ�ำปี 2554 โดย ร่วมกับอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ.ประดิษฐ์เตียงขึ้นมาตามรูปแบบที่ต้องการ เมื่อ ได้เตียงแล้วจึงเริ่มการทดลอง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นคุณแม่ท้องแรก จ�ำนวน 240 ราย ผลการวิจัยพบว่า คุณแม่ที่ได้นอนเตียงพีเอสยูมีระยะเวลาในการคลอดเฉลี่ย 16 นาที เมื่อ เทียบกับคุณแม่ที่นอนในเตียงคลอดทั่วไปใช้เวลาเฉลี่ยถึง 60 นาที นอกจากนั้นคุณแม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เตียงพีเอสยูเกือบทั้งหมดระบุตรงกันว่า ไม่ปวดหลังและมีความสุขสบาย มาก รวมถึงการเจ็บครรภ์คลอดก็น้อยกว่ามากเมื่อเทียบกับเตียงคลอดทั่วไป” รศ.ศศิธร กล่าว และว่าขณะนี้มีคุณแม่ใกล้คลอดจ�ำนวนมากที่ทราบข่าวและอยากจะคลอดด้วย เตี ย งพี เ อสยู แต่ เ นื่ อ งจากขณะนี้ ยัง มี เ พียง 1 เตี ยง ท� ำ ให้ การบริ ก ารยัง ไม่ ค รอบคลุ ม ขณะนี้เตียงพีเอสยูได้ให้บริการอยู่ที่โรงพยาบาลมหาราช จ.นครศรีธรรมราช ส�ำหรับ มู ล ค่ า ของเตี ย งพี เ อสยู กั บ เตี ย งคลอดทั่ ว ไปนั้ น แม้ ว ่ า เตี ย งพี เ อสยู จ ะมี ร าคาสู ง กว่ า แต่ไม่มากนัก ซึ่งขณะนี้ทีมวิจัยเตรียมจะพัฒนาเป็นเตียงที่ใช้ระบบไฟฟ้าเพื่อให้สามารถ น�ำไปใช้ในห้องคลอดทั่วไปได้ รศ.ศศิธรกล่าวอีกว่า ล่าสุดการวิจัยแล้วเสร็จ และม.อ.อยู่ระหว่างยื่นขอจดสิทธิบัตร พบว่าเตียงพีเอสยูจัดเป็นเตียงนวัตกรรมของโลกเพราะยังไม่มีใครประดิษฐ์ขึ้นมาก่อน
32
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
ทั้งในและต่างประเทศ และทีมวิจัยอยู่ระหว่างการ ส่งผลงานไปตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับโลก และว่า เนื่องจาก ม.อ.เป็นเจ้าของสิทธิเตียงพีเอสยู ดั ง นั้ น ในการพั ฒ นาหรื อ การประดิ ษ ฐ์ เ ตี ย งพี เ อสยู ขึ้นมาใช้ภายในห้องคลอดอย่างไรหรือไม่นั้น เป็นเรื่อง ของมหาวิทยาลัยต้องพิจารณา แต่ นั บ จากนี้ ก ารคลอดบุ ต รจะสร้ า งความ เจ็ บ ปวดให้ แ ต่ คุ ณ แม่ ล ดน้ อ ยลงแน่ น อน ที่ ส�ำ คั ญ การคลอดที่ไม่เจ็บปวดหรือเจ็บปวดน้อยลง จะสร้าง ความประทับใจให้แก่คุณแม่ท้องแรกเพิ่มขึ้น (ที่มา...นสพ.มติชน ปีที่ 35 ฉบับวันพุธที่ 19 ก.ย.55 น.10)
ภาพเป็นข่าว
คณะวิศวฯ จัดโครงการพัฒนานักศึกษาเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เมื่อระหว่างวันที่ 15-19 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ จั ด โครงการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย นร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศมาเลเซี ย ในหัวข้อ “PSU & USM Engineering Camp” โดยมี รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์ คณบดีคณะวิศวกรรม ศาสตร์ เป็นประธานในพิธีเปิด พร้อมด้วย ผศ.ดร.ทวี ศั ก ดิ์ เรื อ งพี ร ะกุ ล รองคณบดีฝ่ายกิจการ นั ก ศึ ก ษา และเจ้ า หน้ า ที่ ห น่ ว ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา กลุ ่ ม งานสนั บ สนุ น วิ ช าการและกิ จ การนั ก ศึ ก ษา ผู้รับผิดชอบและที่ปรึกษาโครงการ ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ กล่าวว่า “โครงการดังกล่าวจัดขึ้นร่วมกันระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. โดย มีนักศึกษาและบุคลากรจาก University of Sains Malaysia (USM) เข้าร่วมค่าย ส� ำหรับคณะวิศวฯ ในฐานะหน่ ว ยงานสถาบันทางการศึกษาซึ่งภารกิจหลักส� ำคัญ คือการผลิตวิศวกรที่มีคุณภาพใน ระดับสากล จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะด้านการติดต่อสื่อสารด้าน ภาษาอังกฤษ ควบคู่กันไปนอกเหนือจากความรู้ความสามารถในวิชาชีพให้แก่นักศึกษา ทางคณะวิศวฯ จึ ง ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ และความจ� ำ เป็ น ทางด้ า นการ พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มเข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น โครงการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาด้ า นภาษาอั ง กฤษในครั้ ง นี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากรและ คณาจารย์ ของคณะได้มีประสบการณ์ตรงในการใช้ภาษาอังกฤษติดต่อ อั น ดี ตลอดจนเป็ น การเพิ่ ม เครื อ ข่ า ย สื่ อ สารกั บ นั ก ศึ ก ษาชาวต่ า งชาติ สามารถน� ำ ไปใช้ ใ นชี วิ ต ระหว่ า งสถาบั น การศึ ก ษากั บ ประเทศ ประจ� ำ วั น ได้ อี ก ทั้ ง เป็ น การสร้ า งทั ศ นคติ ที่ ดี และเกิ ด แรง จูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และเกิดความสัมพันธ์ เพื่ อ นบ้ า นในสมาชิ ก อาเซี ย นอี ก ด้ ว ย”
โครงการ “ติวเข้มความถนัดสถาปัตย์
ม.อ.ตรัง’55
คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จัดโครงการ “ติวเข้มความถนัดถาปัตย์ มอ.ตรัง’ 55 ระหว่าง วันที่ 29 กันยายนถึง วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา โดยเปิดโอกาส ให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 14 จังหวัดภาคใต้เข้าร่วม โครงการซึ่งนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจะมีโอกาสเรียนรู้รูปแบบ การเรี ย นการสอนในสาขาวิ ช าสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละสาขา อื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง การเตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ การสอบความถนั ด ด้ า น สถาปั ต ยกรรม (PAT 4) รวมทั้ ง การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ เป็ น สถาปนิกที่ดีในอนาคต และเมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผ่านมาได้รับเกียรติจากอาจารย์พฤฒ ยวนแหล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหารวิทยาเขตตรัง มอบเกี ย รติ บั ต รและกล่ า วปิ ด การฝึ ก อบรมว่ า “นั ก เรี ย นที่ ไ ด้ ม าเข้ า โครงการฝึ ก อบรมในครั้ ง นี้ มี โ อกาสดี ก ว่ า นั ก เรี ย นอี ก หลายคน ที่ ไ ด้ เตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ การสอบความถนั ด ด้ า นสถาปั ต ยกรรม (PAT 4)ที่ จ ะมี ขึ้ น รวมทั้ ง เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ เป็ น สถาปนิ ก ที่ ดี ในอนาคต”ส�ำหรับการจัดโครงการในครั้งนี้มีนักศึกษาในเขตภาคใต้เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 50 คน โดยทั้งหมดได้มีโอกาสเรียนรู้รูปแบบ การเรี ย นการสอนในสาขาวิ ช าสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ แ ละสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และการเตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ การสอบความถนั ด ด้ า น สถาปัตยกรรม (PAT 4) รวมทั้งการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นสถาปนิกที่ดีในอนาคต
นศ.วิศวฯ คว้าสองรางวัลจาก TESA Top Gun Rally 2012 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ร่วมกับ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ม.อ. ได้ส่งทีม นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มการแข่งขันโครงการ ประชันทักษะทางด้านระบบสมองกลฝั่งตัว (TESA Top Gun Rally2012 ) เมื่อวันที่ 21 - 27 ตุลาคม 2555 ณ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าคุณทหาร ลาดกระบัง ในโอกาสนี้ คณะวิศวกรรมศาสตร์สามารถคว้ารางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัล Friendship Award โดยมีนักศึกษาได้รับรางวัล โดยมี ผศ.ดร. ณัฎฐา จินดาเพ็ชร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า และผศ.ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา ประกอบ 1. นายนเรนทร์ ฤ ทธิ์ ทองทวี สั ง กั ด ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมคอมพิ ว เตอร์ 2. นายจักรกฤษณ์ ศรีวรรณ สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. นายณัฐพงศ์ พรหมมาก สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 4. นายจตุพร เกื้อเส้ง สังกัด ภาควิชา วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
33
รอบรั้วศรีตรัง
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปัตตานี ร่วมกับ ม.อ.ปัตตานี
จัดการประกวดบทเพลงเพื่อแม่ ศาลสานฝันเยาวชนชายแดนใต้จัดการประกวดบทเพลง เพื่อแม่ ศาลสานฝันเยาวชนชายแดนใต้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาส ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนินีนาถ ทรงมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา ศาลเยาวชนและครอบครั ว จั ง หวั ด ปั ต ตานี ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้จัดการประกวดบทเพลงเพื่อแม่ศาลสานฝัน เยาวชนชายแดนใต้ รอบชิ ง ชนะเลิ ศ โดยมี นายอภิ ช าต เทพหนู ผู ้ พิ พ ากษา หั ว หน้ า ศาลเยาวชนและครอบครั ว จั ง หวั ด ปั ต ตานี เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ วันที่ 11 สิงหาคม 2555 ณ หอประชุม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี โดยมี ผศ.สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวต้อนรับ นางพรศุลี จิโรจน์วณิชชากร ประธานผู้พิพากษา สมทบศาลคดี เ ด็ ก และเยาวชน จั ง หวั ด ปั ต ตานี กล่ า วรายงาน โดยมี เ ยาวชนที่ ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศรวม 20 คน ทั้งนี้โครงการดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม และเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แสดง ความรักความกตัญญูต่อแม่ โดยสื่อสารผ่านบทเพลงอันเป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง ความสันติสุขให้เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมเกิด ความสงบสุข นายอภิชาติ เทพหนู ผู้พพิ ากษาหัวหน้าศาลเยาวชน และครอบครั ว จั ง หวั ด ปั ต ตานี กล่ า วถึ ง บทบาทหน้ า ที่ ข อง ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปัตตานีว่า ศาลเยาวชน และครอบครั ว เป็ น ศาลชั้ น ต้ น ในระบบศาลยุ ติ ธ รรมใช้ พิจารณาคดีพิเศษ แตกต่างจากศาลชั้นต้นทั่วไป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครอง สวั ส ดิ ภ าพของเด็ ก หรื อ เยาวชนที่ ก ระท� ำ ความผิ ด และคุ ้ ม ครองสถานภาพของ ครอบครัวให้เกิดความสุข รวมทั้งพิทักษ์สิทธิและสวัสดิภาพของบุตรในครอบครัว หลั ก การด� ำ เนิ น กระบวนการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี อ าญาของศาลเยาวชนและ ครอบครัว มุ่งเน้นการหาปัจจัยที่ท�ำให้เด็กหรือเยาวชนกระท�ำผิด เพื่อด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาทั้งตัวเด็กหรือเยาวชน และบ�ำบัดฟื้นฟูให้เด็กและเยาวชนได้ประพฤติตน ในทางที่ ถู ก ต้ อ งส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น กระบวนการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี เ พ่ ง ศาล เยาวชนเด็กและครอบครัว จะมุ่งเน้นการคุ้มครองสถานภาพของครอบครัว การ ระวังรักษาผลประโยชน์เกี่ยวกับสิทธิและทรัพย์สินของผู้เยาว์ในคดีแพ่งหรือคดี ครอบครัว โดยค�ำนึงถึงสวัสดิภาพ อนาคต และความผาสุกของผู้เยาว์เป็นส�ำคัญ รวมทั้งหามาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสามีภริยาและบุตรให้ปรองดองกัน
34
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 ประจ�ำเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555
“วั น นี้ ผมรู ้ สึ ก ปลาบปลื้ ม เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ เ ห็ น ความ ร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งศาลเยาวชนและครอบครั ว จั ง หวั ด ปั ต ตานี และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี ที่ ไ ด้ ร ่ ว มกั น จั ด กิ จ กรรมที่ ส� ำ คั ญ ในโอกาสที่ เ ป็ น มหามงคลของประเทศ และเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความสั น ติ สุ ข ของ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ” นายอภิ ช าติ เทพหนู กล่ า วเพิ่ ม เติ ม นางพรศุ ลี จิ โ รจน์ ว ณิ ช ชากร ประธาน ผู ้ พิ พ ากษาสมทบศาลคดี เ ด็ ก และเยาวชน จั ง หวั ด ปั ต ตานี กล่ า วถึ ง การจั ด โครงการ บทเพลงเพื่ อ แม่ ศ าลสานฝั น เยาวชนชาย แดนใต้ว่า ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด ปัตตานี ร่วม กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี ก�ำหนดจัดการประกวดบทเพลงเพื่อแม่ศาลสานฝันเยาวชนใต้ (TEENS’ VOICE FOR BELOVED MOMS) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา และเพื่อ ให้เยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แสดงความรัก ความกตัญญูต่อพ่อแม่ในฐานะเป็นผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จ ของลู ก โดยสื่ อ สารผ่ า นเพลง และที่ ส� ำ คั ญ เพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสร้าง สันติสุขให้เกิดขึ้นในจังหวัดชายแดนภาคใต้อันจะ ส่งผลให้สังคมเกิดความสงบสุขอย่างยั่งยืนตลอดไป
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
The Best of Innovative Inventor
จาก BRAND’S Gen นายอุ ก ฤษฎ์ ช� ำ มริ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ สุ ด ยอดต้ น แบบ นวัตกรรมฉลาดคิดแบบคนรุ่นใหม่ (The Best of Innovative Inventor) เมื่ อ วั น ที่ 8 กั น ยายน 2555 ณ เซ็ น ทรั ล พระราม เกล้า กรุงเทพฯ จากผลงานเท้ า เที ย มขยั บ ได้ โดยมี รศ.ดร.พฤทธิ ก ร สมิ ต ไมตรี อาจารย์ ภ าควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล เป็ น อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ในโอกาสนี้ ไ ด้ รั บ ถ้ ว ย รางวัลชนะเลิศประทานจากพระเจ้าวรวงศ์ เธอพระองค์ เ จ้ า โสมสวลี พ ระวรราชา ทินัดดามาตุ พร้อมทุนการศึกษา เป็นเงิน 100,000 บาท ส�ำหรับการแข่งขันในครั้งนี้มีผู้ เข้าร่วมแข่งขันทั้งหมดมากกว่า 300 ผลงาน
นายอุกฤษฎ์ กล่าวว่า “เท้าเทียมส�ำหรับผู้พิการขาขาดที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในประเทศ ไม่ สามารถช่วยการเดินได้อย่างสมบูรณ์ เพราะเท้าเทียมทั่วไปไม่สามารถขยับ หรือเคลื่อนไหว ข้ อ เท้ า ระหว่ า งการเดิ น เท้ า เที ย มที่ ส ามารถเคลื่ อ นไหวได้ เ หมื อ นจริ ง นั้ น มี จ� ำ หน่ า ยใน ต่างประเทศ ราคาประมาณ 420,000-630,000 บาท โดยที่ราคาเท้าเทียมที่ขายโดยทั่วไป ในประเทศมีราคาประมาณ 40,000 บาท เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอุปกรณ์และ ราคาแล้ว จะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันมากด้วยเหตุนี้ ผมจึงได้คิดค้นข้อเทียมขยับได้ ขึ้นมาเพื่อให้ผู้พิการสามารถเดินได้เสมือนคนปกติมากยิ่งขึ้น และมีราคาที่ถูกกว่าเท้าเทียม ที่ขายในต่างประเทศ เท้าเทียมขยับได้สามารถใช้ได้กับผู้พิการขาขาดใต้เข่า ประกอบด้วย เซนเซอร์วัดมุมการเคลื่อนที่ของแกนขาดผู้ป่วยขณะเดิน แล้วปรับมุมข้อเท้า ตามการเดิน ของผู้ป่วย โดยมีการควบคุมการท� ำงานด้วยไมโครคอนโทรเลอร์ มีมอเตอร์เป็นตัวท� ำงาน ในการปรับมุมของข้อเท้า และมีแบตเตอรี่ท�ำหน้าที่ให้พลังงานแก่มอเตอร์”