สารม.อ. ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนธันวาคม 2555 - มกราคม 2556

Page 1

18 20 21

17


รอบรั้วศรีตรัง

5 วิทยาเขต ของ ม.อ. ร่วมกับหน่วยงานในชุมชน

จัด 5 ธันวามหาราช ยิ่งใหญ่ เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าอยู่หัว หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ง 5 วิทยาเขต ร่วมกับ ส่ ว นราชการในพื้ น ที่ จั ด กิ จ กรรมเนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิมพระชนมพรรษา 85 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2555 โดยเมื่อวันอังคารที่ 4 ธันวาคม คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา วิทยาเขตตรัง ร่วมประกอบ พิธีถวายเครื่องราชสักการะ พร้อมประกอบพิธีจุดเทียนชัยถวาย พระพร ภายใต้ชื่องาน “มหาชนชาวสงขลานครินทร์ น้อมส�ำนึก ในพระมหากรุ ณ า เทิ ด ทู น พระราชา” และร่วมกันปล่อยโคม ลอยจ�ำนวน 85 ดวง ที่ในวิทยาเขตตรัง ส่วนค�่ำของวันที่ 5 ธันวาคม ได้ร่วมประกอบพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพร กับจังหวัดตรัง บริเวณ ลานพิธีหน้าศาลากลางหลังเก่า ทั้งนี้ เช่นเดียวกับวิทยาเขตปัตตานี สุราษฎร์ธานี และภูเก็ต ต่ า งร่ ว มพิ ธี จุ ด เที ย นชั ย ถวายพระพรกั บ ส่ ว นราชการของแต่ ล ะ จังหวัดเช่นกัน ส่วนวิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ร่วมกับ เทศบาลเมืองคอหงส์ จั ด กิ จ กรรมเนื่ อ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธั น วาคม 2555 ณ บริ เ วณศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มีนักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ และพสกนิ ก รทุ ก หมู ่ เ หล่ า ในพื้ น ที่ อ� ำ เภอหาดใหญ่ พร้อมใจกันสวมใส่เสื้อสีเหลืองเข้าร่วมกิจกรรมในภาคเช้าและ เข้ า ร่ ว มพิ ธี จุ ด เที ย นชั ย ถวายพระพรในภาคค�่ ำ เพื่ อ แสดงออก ถึงความจงรักภักดีต่อพ่อหลวงของปวงชนชาวไทย

กิจกรรมเริ่มขึ้นตั้งแต่ในช่วงเช้าด้วยพิธีตักบาตรพระสงฆ์ จ�ำนวน 100 รูป โดยมีรองศาสตราจารย์วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยนั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ เป็นประธาน ในพิ ธี ต่ อ ด้ ว ยพิ ธี ถ วายพระพรชั ย มงคล และพิ ธี ถ วายราชสดุ ดี เฉลิมพระเกียรติ โดยมีนายพยงค์ อรัญดร นายกเทศมนตรีเมือง คอหงส์ เป็นประธานกล่าวค�ำถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ถวาย พระพรชัยมงคล ต่อด้วยพระสงฆ์จ�ำนวน 10 รูปเจริญชัยมงคลคาถา ส่ ว นพิ ธี ถ วายเครื่ อ งราชสั ก การะและจุ ด เที ย นชั ย ถวาย พระพรในช่วงค�่ำเริ่มขึ้นเมื่อเวลาประมาณ 18.30 น. มีการถวาย เครื่องราชสักการะพานพุ่มเงิน พานพุ่มทองของหน่วยงานในเขต เทศบาลเมืองคอหงส์ และหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย รวม 60 หน่วยงาน จากนั้นเวลา19.19 น. รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธาน ในพิธี น�ำจุดเทียนชัย ถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติและกล่าว น�ำถวายพระพร และร่วมกันร้องเพลงสดุดีมหาราชา พร้อมเปล่ง ค�ำว่าทรงพระเจริญ 3 ครั้ง อย่างกึกก้องและพร้อมเพรียงกัน ปิ ด ท้ า ยความยิ่ ง ใหญ่ ด ้ ว ยการจุ ด พลุ เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ จ�ำนวน 9 ชุด เป็นจ�ำนวนกว่า 400 นัด สว่างไสวเต็มท้องฟ้า งดงาม ตระการตา ท่ามกลางพสกนิกรทุกหมู่เหล่าที่มาร่วมกันแสดงออก ถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี แ ละน้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยตลอดมา


มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2555 - มกราคม 2556

สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน

สารบัญ

รอบรั้วศรีตรัง

วิจัย

• 5 วิทยาเขต ของ ม.อ. ร่วมกับหน่วยงานในชุมชน 2 จัด 5 ธันวามหาราช ยิ่งใหญ่ เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าอยู่หัว • พระไพศาล วิสาโล สังคมถูกครอบด้วย “กิน กาม เกียรติ” “โกรธ เกลียด 6 กลัว” ต้องพัฒนารอบด้านทั้งทางวัตถุ สังคม จิตใจ ปัญญา • ค่ายสนุกกับวิทยาศาสตร์ เพื่อเยาวชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ 16 ครั้งที่ 8 • วิทยาการจัดการ ม.อ. ลงนามร่วมมือ บริษัทเซ็นทรัล รีเทล 24 พัฒนาทักษะวิชาชีพค้าปลีก 25 • ม.อ. จัดงานวันเชิดชูครูสงขลานครินทร์ • ม.อ.เข้าร่วมจัดนิทรรศการและร่วมสร้างสรรค์กิจกรรมแก่เด็ก 25 ในโครงการแข่งขันจินตคณิตล้านนาชิงแชมป์ภาคใต้ ครั้งที่ 5

• ม.แห่งชาติไต้หวันยก ม.อ. น�ำด้านวิทยาศาสตร์การเกษตรที่ 193 20 จาก 300 ของโลก ที่ 37 ของเอเชีย • ม.อ. น�ำผลวิจัยช่วยแก้ปัญหาคุณภาพน�้ำดื่ม 30 โรงเรียน ตชด.สงขลา

เรื่องเล่าอธิการบดี • พบอธิการบดี ฉบับที่ 1/2556 “สวัสดีปีใหม่ 2556”

4

สิ่งแวดล้อม • นักวิชาการ ม.อ.เตือนการเปลี่ยนของอากาศ เริ่มส่งผลต่อพืชเศรษฐกิจและพืชอาหารของภาคใต้ • นักเรียน วมว. ปล่อยหอยหวานคืนสู่ธรรมชาติ • สิ่งแวดล้อม ม.อ.แนะรับมือ 8 พื้นที่เสี่ยง ด่วน !

• โรงเรียน SM Sains Kuala Terengganu รัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เยือนคณะศึกษาศาสตร์ • ม.อ.ปัตตานี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่โรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัดปัตตานี • วิศวฯ MOU กับ บริษัท Design Gateway และสมาคมสมองกลฝังตัวไทย • ธนาคารไทยพาณิชย์ มอบเต็นท์เพื่อใช้ในภาระกิจของ มหาวิทยาลัย

34 34 34 35

ศิลปและวัฒนธรรม 12 23 27

นวัตกรรม • วิศวะ ม.อ. สุดเจ๋ง คว้าแชมป์หุ่นยนต์ ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยนชิพ 2012 • ทรูบีม......ตึกใหม่ ทันสมัยที่สุด อีกหนึ่งการพัฒนากระบวนการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง

ภาพเป็นข่าว

10 32

• ศิลปศาสตร์ ม.อ. เปิดม่านละครเวที ปี’56 เรื่อง “กากี”

35

รางวัลแห่งคุณภาพ • ผลิตภัณฑ์ C - Rice ของ น.ศ.วิทยาศาสตร์การอาหาร ม.อ.ปัตตานี 8 รับรางวัลในงานประเพณีกีฬาเปิดกระป๋อง ที่ สจล. 17 • ทีมดงยางคว้ารางวัลชนะเลิศก้าวสู่สนามแข่งขันระดับโลก • นศ.คณะนิติศาสตร์ รับรางวัลจากการแข่งขันโต้สาระวาที 26 ภาษาไทยระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปี 2555 26 • นศ.วิศวฯ คว้าสองรางวัลจาก TESA Top Gun Rally 2012

การศึกษา

สู่ประชาคมอาเซียน

• มอ.ว สุราษฎร์ธานี ผ่านสภามหาวิทยาลัย หนุนเป็นต้นแบบโรงเรียน 14 วิทย์-ให้โอกาสคนเก่งได้พัฒนา • ม.อ. จับมือ สออ.ประเทศไทย จัดประชุมวิชาการ-คัดเลือก 28 ผลงาน สู่เวทีระดับภูมิภาค ASAIHL ประเทศฟิลิปปินส์

• พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภาทรงเป็นองค์ปาฐกและทรงหารือวิชาการ 18 ร่วมกับนิติศาสตร์ ม.อ..และมหาวิทยาลัยมาลายา • อิสลามศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์ มุ่งสร้างสมดุลย์ระหว่างการพัฒนา 21 ด้านวัตถุกับจิตวิญญาณ

3


เรื่องเล่าอธิการบดี

พบอธิการบดี ฉบับที่ 1/2556 ปรับตัวและพึ่งพาตนเองรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ นนี้เป็นวันแรกของ ปี 2556 ผมได้พาทีมบริหารประกอบด้วย ท่ า นที่ ป รึ ก ษาบุ ญ สม ท่ า นรองอธิ ก ารบดี นิ วั ติ ท่ า นรอง อธิ ก ารบดี พุ ฒิ ศั ก ดิ์ ท่ า นรองอธิ ก ารบดี เ กริ ก ชั ย ท่ า นรองอธิ ก ารบดี วรวุธ และท่านอาจารย์ปิติ เข้าเยี่ยมสวัสดีปี ใหม่ท่านนายกฯชวน หลีกภัย ที่จังหวัดตรัง มีผู้เข้าเยี่ยมคารวะท่านนายกฯชวน เป็นจ� ำนวนมาก ท่าน นายกฯชวน เมตตาทีมจากม.อ. มากโดยท่านได้พาชมสวนป่าภายในบ้าน ของท่ า น ผมได้ เ รี ย นเชิ ญ ท่ า นนายกฯชวน ให้ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษาของคณะ ท�ำงานปลูกต้นศรีตรังทั่วไทยจ� ำนวน 9 หมื่นต้น ซึ่งเป็นโครงการที่ริเริ่ม โดยสมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ ร่ ว มเฉลิ ม ฉลอง ในโอกาสที่ ม.อ.ครบรอบ 45 ปี โดยมีรองอธิการบดีวรวุธ เป็นประธาน คณะท� ำ งาน ท่ า นนายกฯชวน ได้ แ นะน� ำ ว่ า ต้ น ศรี ต รั ง เป็ น ไม้ ที่ อ อกดอก สวยงามแต่ไม่ค่อยร่มรื่น ดังนั้นควรปลูกต้นไม้อื่นเพิ่มบ้างเพื่อให้เกิดร่มเงา

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล

อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ในปี 2556 นี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะมีอายุครบรอบ 45 ปี ทางมหาวิทยาลัยก�ำลัง ระดมโครงการต่างๆ จากคณะเพื่อรวบรวมเป็น แผนงานในการร่ ว มเฉลิ ม ฉลองเนื่ อ งในโอกาส ครบรอบ 45 ปี ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย จะประกาศ โครงการต่างๆ ที่จะด�ำเนินการให้ทราบโดยทั่วกัน ในปี 2555 ที่ผ่านมานั้น พวกเราชาว ม.อ. ได้ทุ่มเทก�ำลังกายก�ำลังใจในการฟันฝ่าอุปสรรค ต่างๆ และพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างไม่หยุดยั้ง ในบางเรื่องก็ประสพความส�ำเร็จ ในบางเรื่องก็ยัง ต้องพัฒนากันต่อไปและในโอกาสที่ปีเก่า 2555 ได้ จ ากไปก็ อ ยากให้ ทุ ก ท่ า นได้ ม องย้ อ นกลั บ และทบทวนช่วงเวลาที่ผ่านมา เพื่อพิจารณาว่า มีสิ่งใดที่เรายังไม่ได้ท�ำ และมีข้อบกพร่องอะไร บ้างที่จะต้องท�ำหรือปรับปรุงให้ดีขึ้นในปีต่อไป ในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ยังคงเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศจาก การประเมินของ QS และการประเมินคุณภาพ ภายในก็ ยั ง ได้ ค ะแนนในระดั บ ดี ม าก ในส่ ว น

4


การเรียนการสอนในปีการศึกษา 2555 ม.อ.เรามีจ�ำนวน นั ก ศึ ก ษาทั้ ง 5 วิ ท ยาเขตประมาณ 40,000 คน ขณะที่ มี คณาจารย์อยู่ประมาณ 2,200 คน และมีผู้ที่จบการศึกษา เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค รราชกุ ม ารี ใ นเดื อ น พฤศจิกายน 2555 เป็นจ�ำนวน 7,773 คน ช่ ว ง 6 เดื อ นที่ ผ มได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง อธิ ก ารบดี ได้ จั ด ท� ำ แผนกลยุทธ์ส�ำหรับพัฒนามหาวิทยาลัยระยะ 3 ปีตั้งแต่ ปี 2555 – 2558 รวมทั้งแผนปฏิบัติการการเตรียมตัวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ซึ่งได้เวียนให้คณะและหน่วยงานต่างๆ ได้ ใ ห้ ค วามคิ ด เห็ น เพิ่ ม เติ ม ไปแล้ ว และอยู ่ ร ะหว่ า งการ ขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ อี ก เรื่ อ งที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การไปแล้ ว คื อ การปรั บ เงิ น เดื อ น พนักงานมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการปรับเงินเดือนโดยใช้ฐาน เงินเดือนข้าราชการเดือนตุลาคม 2554 ส�ำหรับการปรับเงิน เดือนพนักงานมหาวิทยาลัยที่ใช้ฐานเงินเดือนข้าราชการ เดื อ นมกราคม 2555 นั้ น ที่ ป ร ะ ชุ ม อ ธิ ก า ร บ ดี ไ ด ้ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ สกอ. และส� ำ นั ก งบประมาณ เ พื่ อ จั ด ส ร ร เ งิ น จ า ก ง บ ประมาณกลางปี 2556 ซึ่ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ได้แจ้งตัวเลขเงิน ที่ จ ะต้ อ งใช้ ไ ปให้ สกอ. และส�ำนักงบประมาณ ไป แล้ว อีกประการหนึ่งที่อยากจะเรียนให้ทุกท่านได้รับทราบ เพราะเป็นเรื่องส�ำคัญ คือสภามหาวิทยาลัยได้มีมติแต่งตั้ง กรรมการซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อศึกษาเรื่องการปรับระบบบริหารวิทยาเขต ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ได้ประชุมไปแล้วและได้เสนอแนวคิด ให้ มี ส ภามหาวิ ท ยาลั ย แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสภาประจ� ำ

วิทยาเขต เพื่อให้ข้อเสนอแนะในเรื่องนโยบายการพัฒนา ด้านการวิจัยและหลักสูตรของวิทยาเขต รวมทั้งการอนุมัติ หลักสูตรระดับปริญญาตรีและปริญญาโท อย่างไรก็ตาม เรื่องนี้จะต้องน�ำเข้าสภามหาวิทยาลัยอีกครั้งเพื่อพิจารณา อีกครั้ง ส� ำ หรั บ ในปี 2556 นี้ สิ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย จะขั บ เคลื่อนให้เกิดเป็นรูปธรรม คือ การน�ำผลงานวิจัยไปสู่ ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ชน รวมทั้ ง การพั ฒ นา และปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก าร เรี ย นการสอนเพื่ อ พั ฒ นา นั ก ศึ ก ษาสู ่ สั ง คมแห่ ง การ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในศุภวารดิถีขึ้นปีใหม่ ผมขออ�ำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน สากลโลก และบารมี ข องสมเด็ จ พระบรมราชชนก จงดลบันดาลให้ทุกท่านประสพแต่ความสุขกาย สุขใจ มีพลังกายพลังใจในการท�ำกิจการต่างๆ จนส�ำเร็จตาม ประสงค์ คิดหวังสิ่งใดก็ให้สมความมุ่งมาดปรารถนา และมีสุขภาพแข็งแรงตลอดปี 2556

5


รอบรั้วศรีตรัง

ทุกวันนี้เราให้ความส�ำคัญกับการพัฒนามาก แต่เป็นการพัฒนา ทางวัตถุ ในทางศาสนา “การพัฒนา” หรือ “ภาวนา” มีความหมาย มากกว่าความเจริญทางวัตถุ เพราะต้องเป็นไปอย่างรอบด้าน ทั้งทางวัตถุ สังคม จิตใจ และปัญญา เพื่อการแก้ปัญหาทางสังคม ที่ถูกครอบง�ำด้วย “กิน กาม เกียรติ” และ “โกรธ เกลียด กลัว”

พระไพศาล วิสาโล สังคมถูกครอบด้วย “กิน กาม เกียรติ” “โกรธ เกลียด กลัว” ต้องพัฒนารอบด้านทั้งทางวัตถุ สังคม จิตใจ ปัญญา

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด พิ ธี ถ วายปริญญา ศิ ล ปศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ แด่ พ ระอาจารย์ ไพศาล วิสาโล เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2555 ที่วัดทองนพคุณ คลองสาน กรุ งเทพฯ โดยมี ผู้บ ริหาร คณาจารย์ กรรมการ ส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย ศิษย์เก่า และผู้มีเกียรติ เข้า ร่วม ทั้งนี้ รองศาสตราจารย์ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ก ล่ า วสดุ ดี เ กี ย รติ คุ ณ พระไพศาล วิสาโล ในฐานะพระนักคิด นักธรรมวิทยากร นักวิชาการ นักเขียน นักปฏิบัติ และมีผลงานที่เป็นคุณูปถัมภ์ ให้กับพระพุทธศาสนา หลังจากนั้น ศาสตราจารย์ เ กษม สุ ว รรณกุ ล นายกสภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานถวายปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีวิทยาเขต ปัตตานี ถวายครุยวิทยฐานะ และ อาจารย์นวมน จันทร์กลิ่น รองคณบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ คณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถวายสูจิบัตรปริญญาบัตร

6


ในโอกาสดังกล่าว พระไพศาล วิสาโล ได้กล่าวสัมโมทนี ยกถา โดยกล่าวถึง “ธรรมะ” ว่า จะช่วยจัดระเบียบสังคมให้มี ความสัมพันธ์อย่างเกื้อกูลกัน เป็นหลักแห่งความสัมพันธ์ระหว่าง มนุ ษ ย์ กั บ ธรรมชาติ ให้ ส ามารถอยู ่ ร ่ ว มกั บ ธรรมชาติ ไ ด้ ด ้ ว ย ความสงบ ไม่ เ บี ย ดเบี ย นกั น ใช้ ป ระโยชน์ จ ากธรรมชาติ อ ย่ า ง พอเพียง ไม่ท�ำลายธรรมชาติ ในปัจจุบัน โลกเกิดปัญหาความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่าง มนุษย์ด้วยกันที่ไม่ราบรื่น เนื่องจากเอาความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ เป็ น ตั ว ตั้ ง และเบี ย ดเบี ย นธรรมชาติ สร้ า งความเดื อ ดร้ อ นแก่ สรรพชีวิตและจะย้อนกลับมาท�ำลายมนุษย์กันเองในที่สุด ดังนั้น ในสถานะของความเป็นภิกษุสงฆ์ การได้ปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิด ความสงบเย็นแก่ตนเองอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ แต่ควรจะน�ำ เอาสิ่งที่เราได้เรียนรู้มาเผยแพร่เพื่อให้มนุษย์ตระหนักในการปรับ ตัวเองเพื่อความสัมพันธ์ที่ดีได้ เช่นการใช้หลักเมตตาธรรมหรือ สันติวิธีในการแก้ไขความขัดแย้ง ทั้งในเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา เพื่อให้เข้าใจกัน ในขณะเดียวกันก็ชี้ให้เห็นถึง การเป็น มิตรกับตัวเองที่จะท�ำให้จิตใจเป็นสุข โดยไม่ต้องไปพึ่งพิงความสุข จากวัตถุ ซึ่งเชื่อว่าจะช่วยแก้ไขวิกฤติความขัดแย้งของมนุษย์ได้ พระไพศาล วิ ส าโล กล่ า วว่ า ทุ ก วั น นี้ เ ราให้ ค วาม ส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นามาก แต่ เ ป็ น การพั ฒ นาทางวั ต ถุ ในทาง ศาสนา “การพั ฒ นา” หรื อ “ภาวนา” มี ค วามหมายมากกว่ า ความเจริ ญ ทางวั ต ถุ เพราะต้ อ งเป็ น ไปอย่ า งรอบด้ า น ทั้ ง ทาง วั ต ถุ สั ง คม จิ ต ใจ และปั ญ ญา เพื่ อ การแก้ ป ั ญ หาทางสั ง คมที่ ถู ก ครอบง� ำ ด้ ว ย “กิ น กาม เกี ย รติ ” และ “โกรธ เกลี ย ด กลั ว ”

การภาวนาเพื่อน�ำไปสู่ความสงบ สันติ หรือ นิพพาน มี 4 ประการ คือ “กายภาวนา” คือการ พัฒนาทางกาย ไม่ให้พบกับโรคภัย ความหิว มี สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กื้ อ กู ล กั บ ชี วิ ต ท� ำ ให้ มี ค วามสุ ข ทางกายภาพ “ศี ล ภาวนา” คื อ การพั ฒ นาความ สั ม พั น ธ์ พฤติ ก รรมของคนในสั ง คมให้ ไ ปใน ทางที่ เ อื้ อ เฟื ้ อ ไม่ เ บี ย ดเบี ย นกั น ต้ อ งอาศั ย จริ ย ธรรมความเมตตาต่ อ กั น “จิ ต ภาวนา” คื อ การพั ฒ นาจิ ต ใจให้ ส งบ มี สั น ติ แ ก่ ต นเอง มี ความผ่ อ นคลาย ไม่ เ ครี ย ด ไม่ ทุ ก ข์ มี สุ ข ภาพ จิ ต ดี “ปั ญ ญาภาวนา” คื อ การมี ป ั ญ ญาที่ เ จริ ญ งอกงาม รู ้ จั ก คิ ด มี เ หตุ มี ผ ล หยั่ ง รู ้ ถึ ง ความจริ ง ของชีวิตสามประการพื้นฐานคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จนสามารถปล่อยวางความเป็นตัวตนได้

7


รางวัลแห่งคุณภาพ

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ C Rice ของ น.ศ.วิทยาศาสตร์การอาหาร ม.อ.ปัตตานี

รับรางวัลในงานประเพณีกีฬาเปิดกระป๋อง ที่ สจล. ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ด ร.พั ช ริ น ทร์ ภั ก ดี ฉ นวน ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ การอาหารและโภชนาการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยว่า “เครื่องดื่มธัญญาหารผสมนมแพะผง” ใน ชื่อผลิตภัณฑ์ C – Rice พัฒนาผลิตภัณฑ์ โดย นายนาวาวี โตะเยง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ร่วมกับนักศึกษาของภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ ได้รับรางวัลที่ 3 จากการแข่งขันพัฒนาผลิตภัณฑ์เข้าร่วมประกวด ในงาน open can festival quitz contest หรือประเพณีกีฬาเปิดกระป๋องครั้งที่ 21 โดยมีจุดเด่นของผลิตภัณฑ์อยู่ที่ใช้ วัตถุดิบในพื้นที่ไม่ว่าจะเป็น ข้าวสังข์หยด หรือนมแพะ เป็นองค์ประกอบหลัก

การแข่งขันครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 25-28 ตุลาคม 2555 ณ สถาบัน พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ซึ่งกิจกรรมในงานประกอบด้วย การแข่งขันกีฬา การประกวดกองเชียร์ การตอบปัญหาทางวิชาการ และ การแข่งขันพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ ระหว่าง คณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีอาหาร และอุตสาหกรรมเกษตรของมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ โดยมีสถาบันเข้า ร่วมกิจกรรม 19 สถาบัน ซึ่งผลงาน C - Rice ได้รับรางวัลที่ 3 รองจาก นักศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

8


ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องนั ก ศึ ก ษาจาก วิทยาเขตปัตตานีที่ได้รับรางวัลครั้งนี้ ก็ คื อ C - Rice “เครื่ อ งดื่ ม ธั ญ ญาหาร ผสมนมแพะผง” เป็นการน�ำผลงานการ วิจัยในภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร มาประยุ ก ต์ คื อ การพั ฒ นาข้ า วเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ บบ pre-gel สามารถน� ำ มาเป็ น เครื่ อ งดื่ ม ชนิ ด ชงละลาย และ อี ก งานหนึ่ ง คื อ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ จากน�้ ำ นมแพะ เป็ น นมแพะผง โดยน� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั งกล่าวมาเพิ่มเติมข้าวโพด ถั่วด�ำ ถั่วแดง และงาด�ำ ลงไป และใส่ใน บรรจุภัณฑ์ที่สะอาด และสวยงาม กรรมการจากการประกวดซึ่งเป็น คณาจารย์จากหลายสถาบันใน Open can กล่าวว่า จุ ด เด่ น ของเครื่ อ งดื่ ม ธั ญ ญาหารผสมนมแพะผง ที่ ท�ำให้ไ ด้รับรางวัลครั้งนี้ เป็นเพราะเป็นอาหารเพื่อ สุขภาพที่ใช้วัตถุดิบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาค ใต้ คือข้าวพื้นเมือง และน�้ำนมแพะ มาใช้เป็นส่วน ประกอบส�ำคัญ ร่วมกับส่วนประกอบอื่นที่มีคุณค่า ทางโภชนาการที่ดีเช่นกัน คือ ข้าวโพด ถั่วด�ำ ถั่วแดง และงาด�ำ โดยผลิตภัณฑ์นี้รับประทานโดยน�ำมาชง ละลาย เป็นอาหารเสริมที่มีใยอาหาร มีคุณค่าทาง วิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ และเกลือแร่ที่ส�ำคัญ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม และซีลีเนียม

ผลิตภัณฑ์ “เครื่องดื่มธัญญาหารผสมนมแพะ ผง” นี้ก�ำลังได้รับการน�ำไปต่อยอดทางธุรกิจ โดยเอกชน ในจั ง หวั ด นราธิ ว าส คื อ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว นจ� ำ กั ด ไทย โกทส์ โปรดักส์ ซึ่งสนใจที่จะน�ำไปผลิตและวางจ�ำหน่าย โดย มี ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ อ าหารฮาลาล ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงาน บริ ก ารวิ ช าการ ของ ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ก ารอาหาร และโภชนาการ ม.อ.ปัตตานี เป็นผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ คุ ณ สุ ไ ฮลา แสงจั น ทร์ เป็นผู้จัดการ หจก.ไทย โกทส์ โปรดักส์ ปัจจุบันผลิตน�้ำนมแพะพาสเจอร์ไรส์ สบู่ โลชั่ น และครี ม บ� ำ รุ ง ผิ ว ที่ มี ส ่ ว นผสมของน�้ ำ นมแพะ ซึ่ ง ต้ อ งการขยายธุ ร กิ จ ไปในผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารแห้ ง ซึ่ ง มี อายุการเก็บนาน สามารถท�ำตลาดได้ง่าย ได้เข้าประกวด แผนธุรกิจในโครงการ “สหกรณ์สร้างสรรค์” ของสันนิบาต สหกรณ์ ร ่ ว มกั บ กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า กระทรวง พาณิ ช ย์ และได้ เ ข้ า มาปรึ ก ษาเรื่ อ งผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ ศู น ย์ วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล ม.อ.ปัตตานี เพื่อขอรับการ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ผลงานเครื่ อ งดื่ ม ธั ญ ญาหารผสม นมแพะผงของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้ก็จะเป็น สิ น ค้ า อี ก ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ไ ทย โกทส์ โปรดั ก ส์ สนใจน� ำ ไป ต่อยอด ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของ ศูนย์อ�ำนวยการ บริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ที่ ผ ลั ก ดั น ผลิตภัณฑ์จากแพะเนื้อ และแพะนม

9


นวัตกรรม

ในอนาคต ที ม ดงยางจะพั ฒ นา หุ่นยนต์ จาร์วิส ให้มีระบบน�ำทาง และการเคลื่อนที่ที่มีความแม่นย�ำ และรวดเร็ ว มากขึ้ น พั ฒ นา โครงสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ มี ค วาม คล้ า ยคลึ ง กั บ มนุ ษ ย์ ม ากขึ้ น

วิศวะ ม.อ. สุดเจ๋ง

คว้าแชมป์หุ่นยนต์ ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยนชิพ 2012 กศึกษา “ทีมดงยาง” จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ คว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขันหุ่นยนต์ชิงแชมป์ ประเทศไทย ปี 2555 “ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยนชิพ 2012”ประเภท หุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ รับพระราชทานถ้วยรางวัลจากสมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เตรี ย มเป็ น ตั ว แทนประเทศไทย ร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ระดับโลก “เวิลด์ โรโบคัพ 2013” ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ กลางปีหน้า นายพงศกร ชาญชั ย ชู จิ ต นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หัวหน้าทีม ดงยางเปิ ด เผยว่ า การแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ ชิ ง แชมป์ ประเทศไทย ปี 2555 “ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยน ชิพ 2012” จัดโดยบริษัทเอส ซี จี ร่วมกับสมาคม วิ ช าการหุ ่ น ยนต์ แ ห่ ง ประเทศไทย มหาวิ ท ยาลั ย มหิดล และส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ซึ่งจัดขึ้นเป็นปีที่ 2 มีทีมหุ่นยนต์จากทั่วประเทศเข้า ร่วมแข่งขันจ�ำนวน 60 ทีม โดยการแข่งขันแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การแข่งขันหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ และการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัย ซึ่งในปีนี้ ทีมดงยาง จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คว้ารางวัลชนะ เลิศประเภทหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะร่วมกับทีมจาก

10

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งแต่ละทีมที่ได้รับ รางวัลชนะเลิศจะเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ ระดับโลก “เวิลด์ โรโบคัพ 2013” ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปีหน้า


นายพงศกร กล่าวต่อไปว่า ส�ำหรับหุ่นยนต์จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศใน ครั้งนี้ เป็นหุ่นยนต์ที่พัฒนาต่อยอดมาจากหุ่นยนต์ที่เคย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งและรางวัลหุ่นยนต์ที่ มีปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันเมื่อปี ที่ผ่านมา ซึ่งหุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นนี้เป็นหุ่นยนต์เพศหญิง มีชื่อว่าจาร์วิส (JARVIS) โดยพัฒนาโปรแกรมควบคุม หุ่นยนต์ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติ ภารกิจการแข่งขันทั้ง 5 ภารกิจ ให้เป็นไปอย่างสมบูรณ์ มากที่สุด ประกอบด้วยภารกิจการแยกแยะสิ่งของ การ ติ ด ตามบุ ค คล การน� ำ ทาง การจดจ� ำ ใบหน้ า และการ แสดงความสามารถพิเศษ นอกจากนี้ยังได้ออกแบบให้ รู ป ลั ก ษณ์ ห รื อ โครงสร้ า งภายนอกมี ลั ก ษณะคล้ า ยตั ว การ์ ตู น ให้ ค วามรู ้ สึ ก อ่ อ นโยนและเป็ น มิ ต รกั บ มนุ ษ ย์ “การได้เข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย ในครั้งนี้ นับเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั่วประเทศ

นายพงศกร ชาญชัยชูจิต

ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการสร้างหุ่นยนต์ ได้ฝึกฝนและแสดง ความสามารถอย่างเต็มที่ และยังได้น�ำความรู้และประสบการณ์ ที่ ไ ด้ จ ากการแข่ ง ขั น มาปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ ข องที ม อีกด้วย ซึ่งในอนาคต ทีมดงยางจะพัฒนาหุ่นยนต์ จาร์วิส ให้ มีระบบน�ำทางและการเคลื่อนที่ที่มีความแม่นย�ำและรวดเร็ว มากขึ้ น พั ฒ นาโครงสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ มี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ มนุ ษ ย์ ม ากขึ้ น ส� ำ หรั บ รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ มาจากการแข่ ง ขั น ใน ครั้ ง นี้ ถื อ เป็ น ก� ำ ลั ง ใจส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ ทุ ก คนในที ม ร่ ว มกั น พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ ไป” นายพงศกร กล่ า ว

11


สิ่งแวดล้อม

นักวิชาการ ม.อ.

เตือนการเปลี่ยนของอากาศ เริ่มส่งผลต่อพืชเศรษฐกิจและพืชอาหารของภาคใต้

รองศาสตราจารย์ ดร.สายัณห์ สดุดี

องศาสตราจารย์ ดร.สายั ณ ห์ สดุ ดี ภาควิ ช าพื ช ศาสตร์ คณะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในระยะหลายปีที่ผ่านมา นอกจากจะท� ำให้ เกิดผลกระทบทางภูมิศาสตร์ เช่น การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม และภัยพิบัติ ต่างๆ แล้ว ยังมีผลต่อพืชเศรษฐกิจและพืชอาหารของภาคใต้ โดยเฉพาะข้าว ยางพารา และไม้ ผ ล เนื่ อ งจากต่ อ ไปมี แ นวโน้ ม ว่ า ผลผลิ ต ทางการเกษตรจะ ลดลง เพราะความเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ปรากฎการณ์เช่นนี้เห็นได้ชัดเจนขึ้น ในระยะ 3-4 ปี ตัวอย่างจากจากที่มีปริมาณฝนมากใน 2 ปีที่ผ่านมา กลับกลาย เป็นฝนแล้งในปีนี้

คาดการณ์ ว ่ า ปรากฏการณ์ เ อลนิ น โญ่ แ ละ ลานิ น ญ่ า จะเกิ ด บ่ อ ยขึ้ น ฤดู ก าลจะเปลี่ ย นจากมี “หน้ า ร้ อ น” กั บ “หน้ า ฝน” เป็ น “แล้ ง ” กั บ “ท่ ว ม” ตอนนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งรอยต่ อ ของการเปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง ยั ง ไม่ทราบว่าจะไปในทิศทางใด แต่ที่น่าสังเกตคือสภาพ อากาศของจังหวัดสงขลาปัจจุบันจะคล้ายกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของประเทศมาเลเซีย ซึ่งเกิดจากการขยาย ตัวที่กว้างขึ้นของเขตร้อนชื้นของโลก ฤดูของการออก ผลของผลไม้ของสงขลากับมาเลเซียและอินโดนีเซีย จะ เริ่มตรงกัน คือจะออกในช่วงปีใหม่ ส่วนอากาศของภาค ใต้ จ ะขยั บ ขึ้ น ไปแถวจั น ทบุ รี แ ละระยอง ท� ำ ให้ ผ ลไม้ ในแถบนั้นจะให้ผลช่วงเวลาเดียวกับภาคใต้ ความเปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว ท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หากั บ เกษตรกรมาก จะเห็ น ได้ จ ากพื ช ไม้ ผ ลที่ อ ายุ ยื น และให้ ผลตามฤดูกาล เช่น ลองกอง เงาะ มังคุด กลับมาออกผล นอกฤดู ไม้ ผ ลดั ง กล่ า วต้ อ งการความแห้ ง แล้ ง ในเดื อ น มี น าคม เพื่ อ กระตุ ้ น การออกดอก เมื่ อ หน้ า ร้ อ นขยั บ มา เป็ น เดื อ นกรกฎาคม – สิ ง หาคม จึ ง เปลี่ ย นเป็ น กระตุ ้ น ให้ ออกดอกเดือนตุลาคม และจะไปออกผลในช่วงปลายปีต่อ ต้นปีถัดไป การเปลี่ยนแปลงยังกล่าวในขณะนี้ยังไม่ทราบ แน่ น อนว่ า จะคงอยู ่ ต ลอดไปหรื อ เป็ น เฉพาะช่ ว งเวลานี้

12


นอกจากนั้น ยังกระทบกับเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราเช่นกัน จากที่ เมื่อก่อนใบยางจะร่วงในหน้าแล้ง และจะเริ่มผลิใบใหม่เดือนเมษายน เพื่ อ รั บ หน้ า ฝน แต่ ห ากมี ฝ นตกในหน้ า แล้ ง ใบใหม่ จ ะชื้ น และเกิ ด โรค ท� ำ ให้ ใ บร่ ว ง เช่ น ปี ที่ ผ ่ า นมา ท� ำ ให้ วั น เปิ ด กรี ด เลื่ อ นจากพฤษภาคม เป็นกรกฎาคม ท�ำวันกรีดลดลง จากประมาณ 150 วัน เหลือ ประมาณ 110 วัน หรือบางพื้นที่อาจจะน้อยกว่านั้น ซึ่งขณะนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สายั ณ ห์ สดุ ดี ก� ำ ลั ง ท� ำ โครงการวิ จั ย ผลกระทบของโลกร้ อ น ที่ มี ต ่ อ ยางพาราในภาคใต้ โดยทุ น ของส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) ซึ่ ง จะสิ้ น สุ ด โครงการในเดื อ นมี น าคม 2556 ใช้ เ วลา ศึกษาวิจัย 2 ปี

“เกษตรกรควรเตรี ย มการเพื่ อ รั บ มื อ ต่ อ ความเปลี่ ย นแปลง ดังกล่าว โดย เกษตรกรท�ำนาควรเปลี่ยนเป็นปลูกข้าวอายุสั้น ส่วน การปลู ก ไม้ ผ ลต้ อ งปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ การเปลี่ ย นแปลงช่ ว งเวลา การออกผล หรือเปลี่ยนเป็นปลูกพืชที่ ส่วนที่จะกระทบกับยางคือ โรคระบาดเช่ น โรครากขาว ซึ่ ง สามารถท� ำ ให้ ย างตายทั้ ง สวนได้ นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ประเทศมาเลเซียเปลี่ยนการปลูกพืชเศรษฐกิจจาก การปลูกยาง มาเป็นการปลูกปาล์ม เพราะการเปลี่ยนของอากาศ จะกระตุ้นเชื้อโรคบางอย่างให้เจริญเติบโตขึ้น จึงมองว่าต่อไปปาล์ม น่าจะเป็นพืชเศรษฐกิจของภาคใต้ที่น่าสนใจมากกว่ายาง เพราะไม่ กระทบกั บ ปริ ม าณฝนที่ ม ากขึ้ น ส่ ว นยางนั้ น ในภาคตะวั น ออก เ ฉี ย ง เ ห นื อ บ า ง พื้ น ที่ จ ะ มี ช ่ ว ง วั น ก รี ด ม า ก ก ว ่ า ภ า ค ใ ต ้ ” รองศาสตราจารย์ ดร.สายัณห์ กล่าว

13


การศึกษา

มอ.ว สุราษฎร์ธานี ผ่านสภามหาวิทยาลัย หนุนเป็นต้นแบบโรงเรียนวิทย์ ให้โอกาสคนเก่งได้พัฒนา ภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ่านความเห็นชอบ โครงการจัดตั้ง โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นโรงเรียนที่รองรับการสร้างฐานก�ำลังคน และการพัฒนา อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เน้นการพัฒนา การเรี ย นรู ้ ต ามศั ก ยภาพของผู ้ เ รี ย น โดยให้ นั ก เรี ย นเป็ น ศูนย์กลางการเรียนรู้ เนื่องจากจะเป็นการใช้องค์ความรู้ด้าน วิ ท ยาศาสตร์ ข องมหาวิทยาลัยให้เป็นประโยชน์แก่ นั ก เรี ย น ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นการเพิ่มความเข้มแข็งให้กับ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยมีข้อเสนอแนะให้มีการเปิดโอกาส ให้เยาวชนที่มีความสามารถ แต่ขาดโอกาสการได้เข้าเรียน ในสถานศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพ ได้ เ ข้ า ศึ ก ษา และควรท� ำ หน้ า ที่ เป็นสถานศึกษาต้นแบบทั้งด้านความรู้และการจัดการ เพื่อให้ เป็นแบบอย่างแก่สถาบันอื่น รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผย ว่ า โรงเรี ย น มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ สุ ร าษฎร์ ธ านี ซึ่ ง จะตั้ ง อยู ่ ใ น บริเวณพื้นที่ของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีจุดประสงค์ในการ

14

“โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี จะใช้ รูปแบบการบริหารแบบมูลนิธิ โดยก่อนหน้านี้มีการ ส�ำรวจความต้องการและความคิดเห็นของประชาคม ทั้งจากการท�ำแบบสอบถามและการเสวนาร่วมกับ องค์กรต่างๆ ในจังหวัด ซึ่งได้รับการตอบรับ และ การสนั บ สนุ น จากทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนในจั ง หวั ด สุราษฎร์ธานีอย่างดียิ่ง โดยโรงเรียนพร้อมในการ รับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 ในปี ก ารศึ ก ษา 2556 เป็ น ปี แ รกจ� ำ นวน 8 ห้องละ 40 คน รวม 320 คน” จัดตั้งเพื่อเสริมสร้างเยาวชนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพเพื่อเป็นก�ำลังส�ำคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ เช่นเดียวกับ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัย และ การจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ เพื่อตอบสนองความ ต้องการของท้องถิ่นและชุมชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และยัง เป็นการพัฒนาคุณภาพและยกระดับระบบการศึกษา รูปแบบ การเรียนการสอน จะเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ตามศักยภาพ ของผู ้ เ รี ย น โดยให้ นั ก เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลางการเรี ย นรู ้ เน้ น กระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เป็นการ สอนที่เน้นการปฏิบัติผ่านโครงงาน และการเรียนรู้จากสภาวะ แวดล้อมจริง มากกว่าการสอนแบบเดิม รวมทั้งมีการจัดการ ศึกษาเพื่อรองรับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาที่พัฒนาเป็นนัก วิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีศักยภาพเป็นก�ำลัง


โรงเรี ย นแห่ ง นี้ จ ะมี บ รรยากาศแห่ ง การเรี ย นรู ้ ในสภาวะแวดล้ อ มของ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ท รั พ ยากรการเรี ย นรู ้ เช่น ห้องสมุดห้องปฏิบัติการด้านภาษา ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ ท ยาศาสตร์ ห้ อ งวิ จั ย ศู น ย์ กี ฬ าและนั น ทนาการ ซึ่ ง นั ก เรี ย น สามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ต ามศั ก ยภาพ โดยมี อ าจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย นั ก ศึ ก ษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ละบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา เป็ น พี่ เ ลี้ ย ง ท� ำ หน้ า ที่ บ ่ ม เพาะนั ก เรี ย น มัธยมศึกษาเพื่อส่งต่อเข้าเรียนในสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา ภายใต้ ค วามเชื่ อ มโยงกั บ ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต รั บ งบประมาณเบื้ อ งต้ น จากจั ง หวั ด โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ มหาวิทยาลัย โดยยั ง คงไว้ ซึ่ ง การปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม สุราษฎร์ธานี จ�ำนวน 8.3 ล้านบาท และ สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งใน จริ ย ธรรมผ่ า นกิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร จะย้ า ยไปยั ง อาคารถาวรภายใน 3 ปี ด้านรูปแบบการบริหารจัดการ กระบวน การการเรียนการสอน รวมทั้งกีฬาและนันทนาการ นอกจากนี้ยังเป็นการยกระดับการ ศึ ก ษาของนั ก เรี ย น และเป็ น แม่ แ บบ ส� ำ คั ญ ในพั ฒ นาสถานศึ ก ษาอื่ น ๆ ใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดใกล้เคียง ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และภูมิภาคใกล้ เคียง ซึ่งจะท�ำให้เกิดผลกระทบเชิงบวก กั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นก� ำ ลั ง คน ของประเทศในที่สุด รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กล่ า วถึ ง สถานที่ ตั้ ง ของโรงเรี ย น มอ. วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี ว่า ในปีแรก จะใช้อาคารศูนย์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ และเครื่ อ งมื อ กลาง ภายในวิ ท ยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี เป็ น สถานที่ เ รี ย น ซึ่ ง ได้ “โรงเรียน มอ. วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี จะใช้ รู ป แบบการบริ ห ารแบบมู ล นิ ธิ โดยก่ อ นหน้ า นี้ มี การส� ำ รวจความต้ อ งการและความคิ ด เห็ น ของ ประชาคม ทั้ ง จากการท� ำ แบบสอบถามและการ เสวนาร่วมกับองค์กรต่างๆ ในจังหวัด ซึ่งได้รับการ ตอบรับ และการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและเอกชน ในจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี อ ย่ า งดี ยิ่ ง โดยโรงเรี ย น พร้ อ มในการรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในปีการศึกษา 2556 เป็นปีแรก จ�ำนวน 8 ห้องละ 40 คน รวม 320 คน” อธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กล่าว

15


รอบรั้วศรีตรัง ครงการสนุกกับค่ายวิทยาศาสตร์เพื่อเยาวชนจังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็นกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบาย ของคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในการพั ฒ นา คุณภาพบัณฑิตให้รู้จักการช่วยเหลือสังคม การใส่ใจสังคม รวมทั้งเพื่อเป็นหน้าที่ส�ำคัญของเยาวชนคนรุ่นใหม่ ในฐานะ เป็ น ลู ก สงขลานคริ น ทร์ ในการท� ำ ภารกิ จ ของการถื อ ประโยชน์ เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ซึ่ ง ที่ ผ ่ า นมาทาง โครงการได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการถือประโยชน์เพื่อน มนุษย์เป็นกิจที่หนึ่งในระดับมหาวิทยาลัย

ค่ายสนุกกับวิทยาศาสตร์

เพื่อเยาวชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 8

น่วยกิจการนักศึกษา ร่วมกับ สโมสร นั ก ศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดโครงการค่ายสนุกกับ วิ ท ยาศาสตร์ ฯ ณ ค่ า ยลู ก เสื อ ปากบาง และโรงเรี ย นบ้ า นปากบาง อ� ำ เภอละงู จั ง หวั ด สตู ล เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการ ศึ ก ษาและเปิ ด โลกทั ศ น์ ข องนั ก เรี ย น ตลอดจนให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความ ส� ำ คั ญ ของการศึ ก ษา และมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต่อการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ กิจกรรม ครั้งนี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-23 ตุลาคม 2555 ที่ ผ ่ า นมา โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาเป็นประธาน ในพิ ธี เ ปิ ด พร้ อ มทั้ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากคณะผู ้ บ ริ ห าร คณะครู อาจารย์ โรงเรียนบ้านปากบาง และผู้อ�ำนวยการ ค่ายลูกเสือ ปากบาง จังหวัดสตูล ร่วมให้เกียรติกล่าวโอวาท ให้กับนักศึกษา นักเรียน ผู้เข้าร่วมโครงการ นายอับดุลเลาะ เจ๊ะหลง นักกิจการนักศึกษา คณะ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วิ ท ยาเขตปั ต ตานี กล่ า วว่ า โครงการสนุ ก กั บ ค่ า ยวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ เยาวชนจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เป็นกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายของคณะ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพบั ณ ฑิ ต ให้ รู ้ จั ก การช่ ว ยเหลือสังคม การใส่ใจสังคม รวมทั้ง เพื่ อ เป็ น หน้าที่ส�ำคัญของเยาวชนคนรุ่นใหม่ ในฐานะเป็นลูกสงขลา นครินทร์ ในการท�ำภารกิจของการถือประโยชน์เพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ซึ่งที่ผ่านมา ทางโครงการได้รับรางวัลชนะเลิศ โครงการถื อ ประโยชน์ เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ในระดั บ มหาวิทยาลัย โครงการแนวปฏิบัติที่ดีในระดับวิทยาเขตปัตตานี ซึ่ ง เป็ น แรงจู ง ใจส� ำ คั ญ ในการต่ อ ยอดโครงการเป็ น ครั้ ง ที่ 8

16

ซึ่งการจัดกิจกรรมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมโครงการจ�ำนวนประมาณ 300 คน โดยมีกลุ่มเป้าหมายจากจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา และสตูล ซึ่งถือว่าได้รับการตอบรับจากเยาวชนได้เป็น อย่างดี นอกจากนี้ กิจกรรมยังสอดแทรกถึงความส�ำคัญของ การอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความหลากหลาย การเป็นเยาวชน ที่มีคุณธรรมจริยธรรม รู้จักพลังของชีวิต ซึ่งสิ่งดังกล่าวได้น�ำ เสนอผ่านกิจกรรมที่มีความหลากหลาย อาทิเช่น การเรียนรู้ ชีวิต กิจกรรมฐานวิชาเอก กิจกรรมรู้จักวิทยาศาสตร์ กิจกรรม สันทนาการ กิจกรรมละลายพฤติกรรม กิจกรรมเปิดโลกทัศน์ เยาวชน นอกจากกิจกรรมดังกล่าวแล้ว ทางโครงการได้มีการ จั ด ติ ว วิ ช าพื้ น ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ อาทิ เ ช่ น คณิ ต ศาสตร์ เคมี ชี ว ะ ฟิ สิ ก ส์ โดยให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการสอบก่ อ นเข้ า บท เรียน และหลังเรียน ซึ่งถือเป็นการบูรณาการการจัดกิจกรรม ลั ก ษณะ project based ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ในการสร้ า งนวั ต กรรรมใหม่ ใ นการหล่ อ หลอมผ่ า นกิ จ กรรม ให้ กั บ เยาวชน นอกจากนี้ ก ารบริ ห ารจั ด การนั้ น ทางคณะ กรรมการจัดงาน เน้นการท�ำงานอย่างมีคุณภาพ PDCA ซึ่ง สิ่งดังกล่าวท�ำให้ทีมงานได้ด�ำเนินภารกิจต่างๆ อย่างราบรื่น นอกจากนี้ กิ จ กรรมยั ง ได้ ส อดแทรกพลั ง ของเยาวชนในการ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนว่าควรเป็นอย่างไร ต้องด�ำเนินชีวิต อย่างไร ซึ่งกระบวนการการดังกล่าวล้วนเป็นสิ่งส� ำคัญที่จะ ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นและเยาวชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ รู้จักวิธีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตัวเองท่ามกลางเหตุการณ์ ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ตลอดจนปลูกฝังให้นักศึกษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี รู ้ จั ก การช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ใ น ฐานะเยาวชนพลเมือง และบัณฑิตที่ มี คุณภาพของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์สืบไป


รางวัลแห่งคุณภาพ

คว้ารางวัลชนะเลิศ

ก้าวสู่สนามแข่งขันระดับโลก ที

มดงยาง นั ก ศึ ก ษาภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ จากการแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ น อั จ ฉริ ย ะ เมื่ อ วั น ที่ 14 ธ.ค.2555 ซึ่ ง จั ด โดยเอสซี จี ร ่ ว มกั บ สมาคมวิชาการหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยมหิดล และส� ำ นั ก งานคณะกรรมการอาชี ว ศึ ก ษา(สอศ.) ภายใต้ การแข่งขันหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย ปี 2555 (ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยนชิพ 2012) โดยปีนี้มี 60 ทีมหุ่นยนต์ทั่วประเทศ เข้าร่วมแข่งขัน รวมถึงทีมจากประเทศญี่ปุ่นและเนเธอร์แลนด์ ที่ลานอเนกประสงค์ ชั้น 2 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการ เฉลิมพระเกียรติฯ

ผลการแข่งขันแบ่งเป็น 2 ประเภท เริ่มจากการแข่งขันหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ มี 2 ทีมท�ำคะแนนได้เท่ากัน ได้แก่ “ทีม ทีอาร์ซีซี 422 อาร์” (Trcc 422 R) จาก มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุรี และ “ทีมดงยาง” จากมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้คว้าถ้วยพระราชทาน สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุมารี ทั้ง 3 ทีมจะเป็นตัวแทน ประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ ระดับโลก “เวิลด์ โรโบคัพ 2013” ที่ประเทศ เนเธอร์แลนด์กลางปีหน้า ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ ประธานคณะกรรมการจั ด การแข่ ง ขั น หุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย กล่าวว่า หุ่นยนต์ของไทยปีนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

และใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ท�ำให้สามารถ ยกระดั บ มาตรฐานวงการหุ ่ น ยนต์ ไ ทย ให้สูงขึ้น ขณะเดียวกันทีมต่างชาติที่มา ร่วมสังเกตการณ์และประลองการแข่งขัน ทั้งทีมญี่ปุ่นและเนเธอร์แลนด์ต่างทึ่งใน ความสามารถของเยาวชนไทย และเห็น ว่าประเทศไทยมีศักยภาพที่สามารถจัด การแข่งขันหุ่นยนต์ระดับโลกได้ วี นั ส อั ศ วสิ ท ธิ ถ าวร ผู้อ�ำนวย การสื่ อ สารองค์ ก ร เอสซี จี ในฐานะผู ้ สนับสนุนการแข่งขันหุ่นยนต์ไทยแลนด์ โรบอต แชมเปี้ยนชิพ และส่งเยาวชนไทย เข้าร่วมการแข่ ง ขั น ระดั บ โลก กล่ า วว่ า โครงการที่ ผ ่ า นมานั บ ว่ า ประสบความ ส�ำเร็จอย่างดียิ่ง เยาวชนตัวแทนประเทศ ไทยสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ ประเทศชาติ

แสดงให้เห็นว่าเด็กไทยมีศักยภาพไม่แพ้ ชาติใดในโลกถ้าได้รับการพัฒนาถูกทาง ทั้งยังเป็นแบบอย่างที่ดีให้เยาวชนรุ่นหลัง และสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการพัฒนา สร้างสรรค์ต่อไปในอนาคต

17


สู่ประชาคมอาเซียน

พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเป็นองค์ปาฐก

และทรงหารือวิชาการ ร่วมกับนิติศาสตร์ ม.อ. และมหาวิทยาลัยมาลายา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya) ประเทศมาเลเซีย จัดกิจกรรม ความร่วมมือทางวิชาการ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซี ย เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและกิจกรรมแลกเปลี่ยน นั ก ศึ ก ษาระหว่ า งสองสถาบั น ในการนี้ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช ร กิ ติ ย าภา ทรงเป็ น องค์ ป าฐก ในหั ว ข้ อ เรื่ อ ง “Benefits and Application of the Bangkok Rules to Female Offenders” พร้อมทรงหารือทางวิชาการ และเผยแพร่การน�ำ “ข้อก�ำหนดกรุงเทพฯ” ไปสู่การปฏิบัติ รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำเสนอโครงการ ร่ ว มมื อ ในด้ า นต่ า งๆระหว่ า งสองสถาบั น และ อาจารย์ อั จ ฉรา จั น ทน์ เ สนะ อาจารย์คณะ นิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ เสนอผลงานวิจัย กิจกรรมและความร่วมมือใน โครงการก�ำลังใจฯในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์ เจ้าพัชรกิติยาภา ซึ่งเป็นการช่วยเหลือผู้ต้องขัง หญิงในมิติต่างๆในการนี้ ศาสตราจารย์ตันสี เก๊าธ์ จัสมอน (Professor Tan Sri Dr.Ghauth

18


jasmon) รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมาลายา ดร.กิตติพงษ์ กิ ต ยารั ก ษ์ ปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม นายกฤต ไกรจิ ต ติ เอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย รศ.ดร. จุฑามาส ศตสุข รองอธิการบดีฝ่ายการศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ อาจารย์ ว ศิ น สุ ว รรณรั ต น์ คณบดี ค ณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะผู้บริหารและ นักศึกษาทั้งสองสถาบัน จ�ำนวน 250 คน เข้าร่วมในงานดังกล่าว การเสด็จไปยังมหาวิทยาลัยมาลายาครั้งนี้ ทรงหารือ ทางวิชาการกับคณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยมาลายา พร้อมทั้ง ทรงให้คณะผู้ถวายงานในโครงการ ก�ำลังใจในพระด�ำริ น�ำเสนอผลส�ำเร็จ ของการปฏิ บั ติ ต าม “ข้ อ ก� ำ หนด กรุงเทพฯ” ในประเทศไทยและทรง เปิดนิทรรศการ “Making the Invisible Visible : Experiences from Thai Criminological Research and Practice” ซึ่งน�ำปัญหาของผู้ต้องขัง หญิงที่สังคมมองข้าม มาท�ำให้เป็นสิ่ง ที่จับต้องได้ ให้สังคมและผู้เกี่ยวข้อง ตระหนักมากยิ่งขึ้น ด้วยการน�ำ “ข้อ ก� ำ หนดกรุ ง เทพฯ” ซึ่ ง ประเทศไทย ริเริ่มให้เกิดเป็นบรรทัดฐานระหว่าง

ประเทศในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิง มาสู่การปฏิบัติในเรือน จ� ำ ในการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี รวมถึ ง ในการศึ ก ษาวิ จั ย มหาวิทยาลัยมาลายา ถือเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของ ประเทศมาเลเซีย ผลิตบัณฑิตด้านนิติศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมาลายา มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในประเทศไทย โดยมีโครงการ จัดประชุมสัมมนาของมหาวิทยาลัยทางกฎหมายในอาเซียน โดยจะเริ่มที่ประเทศไทย และมาเลเซีย ก่อนขยายไปยังประเทศ ต่าง ๆ รวมทั้ง มีการพูดถึงโครงการก� ำลังใจในพระด� ำริด้วย

19


วิจัย

ม.แห่งชาติไต้หวันยก ม.อ.

น�ำด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร ที่ 193 จาก 300 ของโลก ที่ 37 ของเอเชีย หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ติ ด อั น ดั บ โลก การจัดอันดับมหาวิทยาลัยยอดเยี่ยมปี 2012 ที่ จั ด ขึ้ น โดย National Taiwan University แห่ ง ไต้ ห วั น ซึ่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ชาติ ข อง ไต้ ห วั น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งอย่ า งมากด้ า นการค้ น คว้ า วิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และได้รับการยกย่องให้เป็น มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของโลก เป็ น การจั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ยอดเยี่ ย มจากทั่ ว โลก จากผลงาน ตี พิ ม พ์ แ ละวารสารทางวิ ช าการต่ า งๆ ซึ่ ง มี ก าร จั ด อั น ดั บ ทั้ ง ในภาพรวม และแบ่ ง ออกเป็ น สาขา วิชาต่างๆ

รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ ฑี ฆ สกุ ล ร อ ง อ ธิ ก า ร บ ดี ฝ ่ า ย ร ะ บ บ วิ จั ย แ ล ะ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า จากการจัดอันดับ มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ ทั่ ว โลก ของ National Taiwan University นั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ใน อันดับ ที่ 193 จาก 300 อันดับทั่วโลก และเป็นอันดับที่ 37 ของเอเชีย ทางด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร จากผลงาน วิจัยที่มีคุณภาพหลายด้าน จากหลายคณะในมหาวิทยาลัย เช่น คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ และคณะในวิ ท ยาเขตต่ า งๆ ที่ มี ก ารเปิ ด สอนทางด้ า น วิ ท ยาศาสตร์ ก ารเกษตร โดยเฉพาะผลงานวิ จั ย ด้ า น เทคโนโลยี อ าหาร ของศาสตราจารย์ ดร.สุ ท ธวั ฒ น์ เบญจกุล ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะอุตสาหกรรม เกษตร ที่มีผลงานฟิล์มเจลาตินจากหนังปลา ซึ่งเป็นการ แปรรู ป เศษหนั ง ปลาเหลื อ ใช้ จ ากอุ ต สาหกรรมอาหาร ทะเลที่ ดู ไ ม่ มี ค ่ า แล้ ว มาท� ำ ถุ ง วั ส ดุ ล ะลายน�้ ำ ส� ำ หรั บ

20

บรรจุน�้ำมันและถุงปรุงรส ท�ำให้สามารถรับประทานได้ทันที โดย ไม่ต้องฉีกซอง ใช้กับผลิตภัณฑ์บะหมี่ส�ำเร็จรูป ซึ่งเป็นผลงานวิจัย ที่สามารถตอบโจทย์ให้อุตสาหกรรมอาหารทะเลของไทยได้ ซึ่งก็ พิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความสามารถ และผลงานในระดั บ สากลของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้เป็นอย่างดี ในการประชุ ม สภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่ อ วั น ที่ 24 พฤศจิกายน 2555 ได้มีการให้แนวคิดหลายประเด็นเพื่อน�ำ มหาวิทยาลัยสู่ล�ำดับต้นๆ ในการจัดอันดับของสถาบันต่างๆ เช่น ให้มีการก�ำหนดจุดเด่นของมหาวิทยาลัยให้ชัดเจนเพื่อจะได้ตั้ง เป้าหมายในการขับเคลื่อนได้เต็มที่ โดยอาจขอความร่วมมือจาก กรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย หรื อ ภาคเอกชน หรื อ มหาวิ ท ยาลั ย ในต่ า งประเทศที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นสภาพแวดล้ อ มใกล้ เ คี ย งกั น โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีหลายเรื่องที่สามารถน�ำมาเป็นจุด เด่นได้ เช่น เรื่องการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ การมุ่งไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ต้องมีการปรับเปลี่ยนความคิด และวั ฒ นธรรมองค์ ก รเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ค วามเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่งชาติ และให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย และควรมีการระดมความคิดเห็นเรื่องดังกล่าวอย่างน้อยปีละครั้ง อย่ า งไรก็ ต าม นอกจากการจั ด อั น ดั บ ของผลงานวิ ช าการแล้ ว มหาวิทยาลัยควรจะค�ำนึงถึงอันดับของการเป็นตัวเลือกในการ เข้าศึกษาต่อของนักเรียนด้วย


สู่ประชาคมอาเซียน

อิสลามศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์

มุ่งสร้างสมดุลย์ระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับจิตวิญญาณ

ารจัดสัมมนาวิชาการนานาชาติ “ISLAMIC STUDIES IN CHANGING WORLD: CHALLENGES AND OPPORTUNITIES” เริ่ ม ขึ้ น แล้ ว ที่ อาคารวิ ท ยอิ ส ลาม ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี โดย นายนิ วั ฒ น์ ธ� ำ รง บุ ญ ทรงไพศาล รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด งาน เมื่ อ วั น ที่ 14 มกราคม 2556 โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วรายงาน ความเป็ น มา ท่ า มกลางนั ก วิ ช าการอิ ส ลามศึ ก ษาจากทั่ ว โลก กว่า 500 คน โดยหลายฝ่ายมีความยินดีและสนับสนุนการจัด สัมมนาครั้งนี้ เพราะจะเป็นการร่วมพัฒนาแนวคิดด้านอิสลาม ศึกษา ให้มีความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน

ท่านอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ให้ ค วามเห็ น ว่ า อิ ส ลามศึ ก ษาที่ มี อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ต้องมีการพัฒนาคุณภาพขึ้น เพื่อให้ตอบโจทย์ทาง สั ง คม เพื่ อ ผลิ ต มุ ส ลิ ม ตามอุ ด มคติ ข องอิ ส ลามที่ หยิบยื่นความปรารถนาดีให้แก่เพื่อนมนุษย์ และ เพื่อลบภาพความรุนแรงความสุดโต่งในด้านต่างๆ ที่ ท� ำ ลายภาพของมุ ส ลิ ม ในอุ ด มคติ ให้ ห มดไป อย่างไรก็ตาม ควรกระจายความรูด้ ้านอิสลามศึกษา ในไทยที่วันนี้มีอยู่เพียงในระดับอุดมศึกษา ให้ลงไป สู่ระดับการศึกษาที่ต�่ำกว่านี้ เพราะเป้าหมายของ

21


อิสลามศึกษาไม่เพียงแต่ต้องการผลิตคนเก่งเท่านั้น แต่ต้องการ ผู้ริเริ่มสนับสนุนการจัดสัมมนาตั้งแต่ครั้งที่หนึ่ง ได้กล่าวว่า การ พัฒนาคนให้เป็นคนดีด้วย เพื่อสร้างสมดุลย์ระหว่างการพัฒนา ประชุมครั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจาก “ปฏิญญาปัตตานี” ที่ก�ำหนด ด้านวัตถุกับด้านจิตวิญญาณ ทั้งนี้ นักการศึกษาที่มาจากหลาย ให้ นักวิชาการอิสลามศึกษาทั่วโลกมาประชุมกันที่ปัตตานีทุก 2 ปี สิบประเทศล้วนมีความชื่นชมต่อประเทศไทยและมหาวิทยาลัย เพื่อตอบโจทย์ ชี้ทิศทางการแก้ปัญหาให้โลกในมุมมองอิสลาม สงขลานครินทร์ ที่เปิดกว้างและสนับสนุนการเปิดการสอนด้าน ศึกษา ซึ่งเป็นการประชุมที่นักวิชาการทั่วโลกจะต้องคอยฟังแนวคิด อิ ส ลามศึ ก ษาขึ้ น เพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ์ ข องประเทศ การพัฒนาอิสลามศึกษา และการน�ำพาโลกสู่สันติและสมานฉันท์ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่ออนาคตของทุกประเทศในโลก ซึ่งนี่เป็นคุณค่าที่ประเทศไทยได้รับจากการประชุม และเป็นความ ด้ า น H.E Sheik Umar Ubaid Hasanah ผู ้ อ� ำ นวยการ ภาคภู มิ ใ จของประชาชนในท้ อ งถิ่ น และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา กรมการวิ จั ย และอิ ส ลามศึ ก ษา ประเทศกาตาร์ กล่ า วถึ ง การที่ นครินทร์ที่ได้รับเกียรติ ได้รับความเชื่อมั่นให้เป็นสถานที่จัดสัมมนา นักวิชาการอิสลาม ได้มีโอกาสมาร่วมกันรื้อฟื้นคลังปัญญาด้าน ในการประชุมโต๊ะกลม ได้มีการพูดถึงเรื่องส�ำคัญเกี่ยวกับ วัฒนธรรม ศาสนา และ องค์ความรู้ ซึ่งมีมาแต่อดีต โดยชาวไทย อิ ส ลามศึ ก ษา 3 ประเด็ น เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นาของโลกที่ เ น้ น มุสลิมได้แสดงศักยภาพในการเชิญชวนสังคมโลกให้มาร่วมกัน การศึกษา การวิจัย การแก้ไขปัญหา เพื่อรักษาไว้ซึ่งสิทธิและความ เป็นสักขีพยาน แสดงถึงอิสรภาพในการจัดกิจกรรมที่ มั่ น คงของมนุ ษ ย์ ดั ง นั้ น อิ ส ลามศึ ก ษา จะต้ อ งมี ก าร เกี่ ย วข้ อ งกั บ ศาสนา เพื่ อ เป้ า หมายของความ ขับเคลื่อนให้เกิดใน 3 หัวข้อ คือ ร่วมมือในการสร้างสรรค์มนุษยชาติ ความ 1. มี ค วามสมดุ ล ย์ ปัญหาของโลก รุ น แรงสุ ด โต่ ง และการถื อ ทิ ฐิ เป็ น ตั ว ทุ ก วั น นี้ เ กิ ด จากความคิ ด สุ ด โต่ ง รุ น แรง ท�ำลายศาสนา การจัดสัมมนาครั้งนี้ นับ มีการเน้นด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เป็นสะพานน�ำไปสู่การลดความรุนแรง เน้ น วั ต ถุ จ นลื ม การพั ฒ นาด้ า นจิ ต ใจ และก�ำจัดความสุดโต่งที่มีอยู่ในมุสลิม เน้นผลก�ำไรจนลืมคุณค่าของครอบครัว ได้ และได้ ข อบคุ ณ รั ฐ บาลไทยที่ ใ ห้ ความสมดุ ล ย์ จ ะน� ำ พาสั ง คมอนาคต โอกาสและยอมรับกิจกรรมทุกศาสนา ให้อยู่รอดได้ เป็ น การแสดงถึ ง อารยธรรม และสอด 2. มีความสมบูรณ์แบบ จะต้องไม่ คล้ อ งกั บ แนวทางที่ อิ ส ลามได้ น� ำ เสนอ ศึ ก ษาเฉพาะวั ฒ นธรรมและศาสนา แต่ จะต้องเกี่ยวข้องกับทุกศาสตร์ เช่น การแพทย์ ดั ง เช่ น ค� ำ ตรั ส ขององค์ อั ล เลาะห์ ที่ ว ่ า จง เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ หลักคิดและ เชิญชวนสู่แนวทางของพระองค์ พระผู้อภิบาล จิ ต วิ ญ ญาณ จะต้ อ งท� ำ งานร่ ว มกั บ ทุ ก ศาสตร์ เ พื่ อ แห่ ง สากลโลก ด้วยสติปัญญา วิทยปัญญา ไม่ใช่ วิธีการที่ไม่เกี่ยวข้องกับอารยธรรม และให้เสวนาด้วยความสร้าง หาค�ำตอบให้โลกของเรา 3.เปี่ยมด้วยคุณภาพ ไม่ท�ำเพราะอยากท�ำหรือท�ำเพราะ สรรค์เพื่อสังคมโลก ผู้อ�ำนวยการกรมการวิจัยและอิสลามศึกษา ประเทศกาตาร์ เป็นนโยบายรัฐแต่เพียงอย่างเดียว ต้องมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ได้ขอบคุณมหาวิทยาลัยและรัฐบาลไทย ที่ให้ความส�ำคัญกับการ นอกจากนั้น ที่ประชุมได้เน้นในเรื่องสิทธิและความมั่นคงของ จัดประชุมครั้งนี้ และให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหามุสลิม มนุษย์ ถ้าเราใช้อย่างถูกต้องและสมานฉันท์ จะน�ำมาซึ่งสันติภาพ และมุ ส ลิ ม ควรพิ จ ารณาบทบาทของตนในการช่ ว ยแก้ ป ั ญ หา ซึ่ ง จะต้ อ งมุ ่ ง เน้ น การศึ ก ษาและหาค� ำ ตอบเรื่ อ งการก่ อ การร้ า ย สั ง คมให้ ป ระเทศ ร่ ว มกั บ ทุ ก ฝ่ า ยเช่ น เดี ย วกั น โดยเสนอว่ า ใน และความรุนแรงสุดโต่ง การสร้างภาพลักษณ์ที่ถูกต้องของโลก การประชุมครั้งหน้าควรเชิญนักวิชาการที่สนใจจากต่างศาสนา อิสลามให้ปรากฏ การให้ความส�ำคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ ต่ า งวั ฒ นธรรมเข้ า มาร่ ว มสั ม มนาและแสดงความคิ ด เห็ น ด้ ว ย ระหว่ า งชาวมุ ส ลิ ม กั บ ประชาชนที่ ไ ม่ ใ ช่ มุ ส ลิ ม และการที่ ก าร ก่อนหน้าการเปิดการสัมมนา คือในวันที่ 13 มกราคม 2556 พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของโลกปั จ จุ บั น ส่ ง ผลกระทบกั บ คุ ณ ค่ า ของ ได้ มี ก ารประชุ ม โต๊ ะ กลมระหว่ า งตั ว แทนประเทศและตั ว แทน อิ ส ลาม เช่ น ความเป็ น มนุ ษ ย์ สั น ติ ภ าพ ที่ ห ลั ก การอิ ส ลามให้ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ ข้ า ร่ ว มการสั ม มนา โดยศาสตราจารย์ ก นก ความส� ำ คั ญ เหล่ า นี้ คื อ เรื่ อ งใหญ่ นี้ คื อ เรื่ อ งที่ ป ระชาคมอิ ส ลาม วงศ์ตระหง่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และ ควรให้ความสนใจ และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม

22


สิ่งแวดล้อม

ปล่อยหอยหวานคืนสู่ธรรมชาติ ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เสริมทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้แก่นักเรียนในโครงการ วมว. ด้วยการฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมปล่อยหวานคืนสู่ธรรมชาติ ผศ.กนก จันทร์ทอง ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ โครงการสนั บ สนุ น การจั ด ตั้ ง ห้ อ งเรี ย น วิ ท ยาศาสตร์ ใ นโรงเรี ย น โดยการก� ำ กั บ ดูแลของมหาวิทยาลัยฯ (โครงการ วมว.) ภ า ย ใ ต ้ ก า ร ส นั บ ส นุ น ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดกิจกรรม ปล่ อ ยหอยหวานคื น สู ่ ธ รรมชาติ บริ เ วณ เกาะขาม ต� ำ บลสะกอม อ� ำ เภอเทพา จังหวัดสงขลา เมื่อเร็วๆ นี้ จากกิจกรรมการเข้าค่ายรักษ์ทะเล ครั้ ง ที่ 3 จั ด ขึ้ น โดยแผนกวิ ช าเทคโนโลยี การประมง คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เป็ น โครงการที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ เสริ ม ทั ก ษะให้ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความรู้สามารถด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นายทั ศ ไนย สุ ข เบญจา ตั ว แทนของนั ก เรี ย นในโครงการฯ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 กล่ า วว่ า หอยหวาน (Babylonia areolata Link 1807) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า หอยตุ๊กแก หอยน�้ำผึ้ง หอยเทพรส เป็ น หอยทะเลฝาเดี ย ว (Gastropoda) ที่ มี เ ปลื อ กสี ข าวหรื อ ครี ม เกลียวเปลือก มีลายแต้มสีน�้ำตาลปนด�ำ ชอบอาศัยอยู่ตามพื้นทราย จัดเป็นหอยทะเลเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ที่มีราคาค่อนข้างแพง กิโลกรัมละ 250-300 บาท ปัจจุบันเนื่องจากเป็นที่ต้องการของตลาด จึงส่งผลให้ ในช่วง 5-10 ปีที่ผ่านมา มีการท�ำประมงหอยหวานมากเกินก�ำลังการ ผลิ ต ของธรรมชาติ (overfishing) ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากผลผลิ ต ที่ จั บ ได้ จากธรรมชาติมีปริมาณน้อยลง และมีขนาดของล�ำตัวเล็กลงด้วย ดัง นั้น คณะนักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์ร่วมกับหน่วยวิจัยและเพาะ ฟั ก สั ต ว์ น�้ ำ แผนกวิ ช าเทคโนโลยี ก ารประมง คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปั ต ตานี จึ ง ได้ จั ด กิ จ กรรมปล่ อ ยหอยหวานกลั บ คืนสู่ธรรมชาติ เพื่อการฟื้นฟู และการอนุรักษ์พันธุ์ หอยหวาน ให้กลับมาอุดมสมบูรณ์อีกครั้ง โดยการ เพาะขยายพันธุ์ และปล่อยกลับคืนสู่ธรรมชาติ เพื่อ รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาชายฝั่ง เพื่อ ให้ ยั ง คงมี พั น ธุ ์ ห อยหวาน ซึ่ ง สามารถสร้ า งรายได้ และอาชีพให้กับคนในชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป อาจารย์ชินวัฒน์ พิทักษ์สาลี วิทยากรและ ผู้สอนในรายวิชาการเพาะเลี้ยงหอยทะเล กล่าวว่า หอยหวานที่ใช้ในกิจกรรมนี้ เป็นผลผลิตของหน่วย วิจัยและเพาะฟักสัตว์น�้ำ ซึ่งมีคุณอัมรินทร์ ทองหวาน เป็ น หั ว หน้ า หน่ ว ยฯ หอยหวานที่ ป ล่ อ ยนั้ น เป็ น หอยหวานที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์ และอนุบาล ให้ ไ ด้ ข นาดประมาณ 1.5-2.0 เซนติ เ มตร จ� ำ นวน 20,000 ตั ว ซึ่ ง นอกจากนั ก เรี ย นจะได้ ค วามรู ้ แ ละ เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวแล้ว นักเรียนที่เข้าค่ายรักษ์ ทะเล ยังได้ความรู้ จากกิจกรรรม และการส�ำรวจชีวิต สัตว์ใต้ทะเลบริเวณเกาะขาม แพลงก์ตอน สัตว์ไม่มี กระดู ก สั น หลั ง และปลาทะเลชนิ ด ต่ า งๆ ตลอดจน การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ด้ ว ยระบบ GIS และความ หลากหลายจากผลิตภัณฑ์อาหารทะเลอีกด้วย

23


รอบรั้วศรีตรัง

เจตนารมณ์ของการร่วมลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ ก็ เพื่ อ ที่ จ ะให้ นั ก ศึ ก ษาได้ มี โ อกาสเตรี ย มตั ว เตรี ย มความ พร้ อ มในการท� ำ งานด้ า นต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ การค้ า ปลี ก เมื่ อ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู ้ ถึ ง การท�ำ งานเหล่ า นั้ น แล้ ว ก็ จ ะ สามารถจบมาท�ำงานในต�ำแหน่งระดับหัวหน้างานและระดับ บริ ห ารได้ ทั น ที ไม่ ต ้ อ งเสี ย เวลาเรี ย นรู ้ ง านใหม่ ทั้ ง หมด

ในเชิงของการตลาดมีสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา การเรียน รู้เฉพาะทฤษฏีอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอ ควรจะต้องเรียนรู้และ มีประสบการณ์จริงด้วย ส�ำหรับในแง่ของคณาจารย์ก็จะได้รับ ความรู้และกลยุทธ์ใหม่ๆ ที่ได้จากการศึกษาวิจัย หรือการอบรม ซึ่งสามารถน�ำมาใช้ในการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้านนายเรืองเวช วิทวัสการเวช ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

วิทยาการจัดการ ม.อ. ลงนามร่วมมือ บริษัท เซ็นทรัล รีเทล พัฒนาทักษะวิชาชีพค้าปลีก

ณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จับมือบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ผู้ด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ด้ า นการค้ า ปลี ก ร่ ว มมื อ พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาสู ่ ก ารเป็ น ผู ้ ประกอบการด้ า นค้ า ปลี ก มื อ อาชี พ ตอบสนองความต้ อ งการ ที่ พุ ่ ง สู ง ของตลาดแรงงาน โดยจั ด พิ ธี ล งนามความร่ ว มมื อ ทาง วิ ช าการ โครงการจั ด การศึ ก ษาหลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต สาขาวิชาการตลาด เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ จงพิ ศ ศิ ริ รั ต น์ คณบดี ค ณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีเป้าหมายในการพัฒนาบัณฑิตให้มีความรู้ และประสบการณ์ สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศ โดยเฉพาะในภาคใต้ การลงนามความร่วมมือกับบริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัดในครั้งนี้ จึงเกิดจากความต้องการร่วม กันที่จะพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้ได้รับความรู้ทั้งทางทฤษฎีและ การปฏิบัติงานจริง เมื่อนักศึกษาเหล่านี้ต้องก้าวเข้าสู่การประกอบ วิชาชีพในอนาคต จะได้สามารถท�ำงานได้ด้วยความพร้อม และ ประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงานได้เร็วขึ้น เนื่องจากปัจจุบัน

24

กล่าวว่า เจตนารมณ์ของการ ร่ ว มลงนามความร่ ว มมื อ ใน ครั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ที่ จ ะให้ นั ก ศึ ก ษา ได้ มี โ อกาสเตรี ย มตั ว เตรี ย ม ความพร้อมในการท�ำงานด้าน ต่างๆ เกี่ยวกับการค้าปลีก เมื่อ นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงการท�ำงานเหล่านั้นแล้ว ก็จะสามารถจบ มาท�ำงานในต�ำแหน่งระดับหัวหน้างานและระดับบริหารได้ทันที ไม่ ต ้ อ งเสี ย เวลาเรี ย นรู ้ ง านใหม่ ทั้ ง หมด ซึ่ ง ในอี ก 5 ปี ข ้ า งหน้ า คาดว่าความต้องการบุคลากรทางด้านนี้จะมีสูงขึ้นมาก เราจึง จ�ำเป็นที่จะต้องมีบุคลากรที่มีทักษะ มีประสบการณ์ บวกกับการ มีสถาบันการศึกษาที่เข้มแข็ง ก็จะท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศไทย เจริญต่อไปได้ ส�ำหรับความร่วมมือของบริษัทเซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด นัน้ ประกอบไปด้วย การสนับสนุนทุนการศึกษา การสนับสนุน ในด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้กับนักศึกษา การสนับสนุน ในการจั ด ส่ ง ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ เป็ น วิ ท ยากรหรื อ อาจารย์ พิ เ ศษ หรือคณะกรรมการที่ปรึกษาวิชาการของสาขา เพื่อให้การจัดการ ศึ ก ษามี คุ ณ ภาพและสอดคล้ อ งกั บ นโยบายของหลั ก สู ต ร อุ ด มศึ ก ษา และร่ ว มมื อ ในการปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั น เช่ น การท� ำ โครงการ งานวิจัย การผึกอบรมและจัดกิจกรรมให้บ ริ การทาง วิชาการและวิชาชีพ ส่งเสริมการเพิ่มพูนประสบการณ์ด้านการ ตลาดให้แก่คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรสายวิชาการของ มหาวิทยาลัย เป็นต้น


รอบรั้วศรีตรัง

ม.อ. จัดงาน

วันเชิดชูครูสงขลานครินทร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด งานวั น เชิ ด ชู ค รู สงขลานคริ น ทร์ ในวั น ที่ 16 มกราคม 2556 ณ ห้ อ ง conference ศู น ย์ ป ระชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เพื่อยกย่องเชิดชูครูของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กิจกรรมมีการขับร้องเพลงหมู่โดยตัวแทนนักศึกษาจากทุกคณะ พิธีเปิดโดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธาน และมอบรางวัลให้กับนักศึกษาจากการประกวดบทกลอน โดยมีผู้ได้รับรางวัลที่ 3 คือ นาย เป็ น ต้ น จิ น ะกุ ล นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 คณะศิ ล ปศาสตร์ และ รางวั ล ชมเชย 2 รางวั ล คื อ น.ส.จิตติมา ด�ำมี นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ และ น.ส.สุกัญญา แซ่อ๋อง นักศึกษา ชั้นปีที่ 1 คณะศิลปศาสตร์ ทั้งนี้ รางวัลชนะเลิศและรางวัลที่สอง ไม่มีผู้ได้รับรางวัล

จากนั้น มอบเกียรติบัตรแก่อาจารย์ตัวอย่าง การแสดงจากชมรมนาฏรักษ์ และ ร่วมร้องเพลง แม่พิมพ์ของชาติ และเพลงเขตรั้วสีบลู ในปีนี้ มีคณาจารย์ได้รับการเสนอชื่อจาก คณะต่ า งๆ ให้ เ ป็ น อาจารย์ ตั ว อย่ า งด้ า นการ เรียนการสอน อาจารย์ตัวอย่างที่ได้รับการเสนอ ชื่อจากนักศึกษา และศิษย์เก่าในฐานะเป็นที่รัก ชื่นชมและศรัทธา รวมจ�ำนวน 116 ท่าน

ม.อ.เข้าร่วมจัดนิทรรศการและร่วมสร้างสรรค์กิจกรรมแก่เด็ก

ในโครงการแข่งขันจินตคณิตล้านนาชิงแชมป์ภาคใต้ ครั้งที่ 5

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ เ ข้ า ร่วมจัดนิทรรศการและสร้างสรรค์กิจกรรมใน งานโครงการ “การแข่งขันจินตคณิตล้าน นาชิ ง แชมป์ ภ าคใต้ ครั้ ง ที่ 5” เมื่ อ วั น ที่ 19 มกราคม 2556 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ แก่ นั ก เรี ย นในเครื อ ข่ า ย ของสถาบัน จ�ำนวน 31 โรงเรียน มีนักเรียน บุ ค ลากรครู ผู ้ ป กครอง และผู ้ บ ริ ห าร เข้ า ร่วมงานประมาณ 2,000 คน การเข้ า ร่ ว มสร้ า งสรรค์ กิ จ กรรมใน ครั้ ง นี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการฯที่ ท าง สถาบั น ได้ เ ชิ ญ มหาวิ ท ยาลั ย เข้ า ร่ ว มใน

ฐานะที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เป็ น สถาบั น การศึ ก ษา ที่ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต กั บ การพั ฒ นาและถ่ า ยทอด วิชาการ ตามพระราชปณิธานของสมเด็จพระ มหิ ต ลาธิ เ บศ อดุ ล ยเดชวิ ก รม พระบรมราช ชนกที่ว่า “ขอให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวมก่อน ตนเอง” ทั้ ง นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น� ำ กิ จ กรรมที่ เ หมาะสมกั บ น้ อ งๆ นั ก เรี ย น ที่ เ รี ย นอยู ่ ใ นวั ย ระดั บ อนุ บ าลจนถึ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โดยมี พี่ ๆ นั ก ศึ ก ษาคณะ วิทยาศาสตร์และประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัย มาสร้างสรรค์และท� ำกิจกรรม อาทิ กิจกรรม เกมส์ทายปัญหาความรู้รอบตัวส�ำหรับเด็ก การ คิ ด บวกเลข การต่ อ เลข วิ ธี คิ ด จิ น ตคณิ ต คื อ การใช้จินตนาการในการคิดค�ำนวณจ�ำนวนเลข ต่างๆ ด้วยการสมมุติเป็นภาพลูกคิด เพื่อเสริม สร้างสมาธิ เสริมปัญญา พัฒนาสมอง พร้อม แจกของที่ ร ะลึ ก แก่ น ้ อ งๆ ที่ ม าร่ ว มกิ จ กรรม นอกจากนี้ ไ ด้ น� ำ เอกสารข้ อ มู ล แนะแนวการ ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย มาแจกแก่ ค รู แ ละ ผู้ปกครองที่เข้าร่วมงานในครั้งนี้ด้วย

อนึ่ง โครงการ “การแข่งขันจินตคณิต ล้านนาชิงแชมป์ภาคใต้ ครั้งที่ 5 จัดขึ้นเพื่อ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงความสามารถ ทางด้ า นจิ น ตคณิ ต ได้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ทักษะพัฒนาตนเอง เพิ่มพูนประสบการณ์ การเข้าร่วมกิจกรรม ส�ำหรับบุคลากรครูได้ มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการ เรี ย นการสอนหลั ก สู ต รจิ น ตคณิ ต ระหว่ า ง กั น ปรั บ มาตรฐานการเรี ย นการสอนใน โรงเรี ย นไปสู ่ ร ะดั บ สากล จั ด โดย สถาบั น จินตคณิตล้านนา ส�ำนักงานปัตตานี

25


รางวัลแห่งคุณภาพ

นศ.คณะนิติศาสตร์

รับรางวัลจากการแข่งขันโต้สาระวาทีภาษาไทย ระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปี 2555 คณะนิ ติ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ เ ข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น โต้สาระวาทีภาษาไทยระดับอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมความรู้สิทธิมนุษยชน เนื่อง ในโอกาสวันสิทธิมนุษยชนสากล ตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคม ประจ�ำปี 2555 ณ ศูนย์ ราชการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ อาคารรั ฐ ประศาสนภักดี ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพ มหานคร ซึ่งผู้เข้าแข่งขันได้ท�ำการแข่งขัน

ในรอบคั ด เลื อ กรอบที่ 1-7 ตั้ ง แต่ เ ดื อ น กั น ยายน พ.ศ. 2555 จากสถาบั น การ ศึกษาที่เข้าร่วม รวม 17 สถาบัน - จ�ำนวน 32 ที ม โดยที ม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ มี ค ะแนนรวมจั ด อยู ่ ใ นอั น ดั บ ที่ 2 และผ่ า นเข้ า รอบชิ ง ชนะเลิ ศ ซึ่ ง ได้ ท� ำ การแข่ ง ขั น เสร็ จ สิ้ น ไปเมื่ อ วั น ที่ 17 ธันวาคม 2555 ที่ผ่านมาแล้วนั้น โดยการแข่งขันในรายการดังกล่าว นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ในนามตัวแทน นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ภายใต้ ก ารควบคุ ม ที ม โดย อาจารย์ธีรวัฒน์ ขวัญใจ ผู้ช่วยคณบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษา และอ�ำนวยการเข้า ร่วมแข่งขันโดยอาจารย์วศิน สุวรรณรัตน์ คณบดีคณะนิติศาสตร์ ได้สร้างชื่อเสียง

และชนะการแข่งขัน 2 รายการ ดังนี้ 1.รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 โดยมีนักศึกษาใน ทีมจ�ำนวน 4 คน ประกอบด้วย นายพิชญ โพธิ์พิชญกุล รหัสนักศึกษา 5211310062 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 นางสาวกมลชนก สุขเส้ง รหัสนักศึกษา 5311310004 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 นายศิวรุฒิ ธรรมรงค์ รหัสนักศึกษา 5511310045 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 นางสาวจุไรรัตน์ จันทสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา5411310018 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 2. รางวัลผู้พูดดาวรุ่งอันดับ 3 ได้แก่ นายศิวรุฒิ ธรรมรงค์ รหัสนักศึกษา 5511310045 นักศึกษาชั้นปีที่ 1

คว้าสองรางวัลจาก TESA Top Gun Rally 2012 าควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ร่วมกับ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งทีมนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน โครงการประชันทักษะทางด้านระบบสมองกลฝังตัว(TESA Top Gun Rally 2012 ) เมื่อวันที่ 21 - 27 ตุลาคม 2555 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า คุณทหารลาดกระบัง ในโอกาสนี้ทีมนักศึกษาได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัล Friendship Award โดยมีรายนามอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา ได้รับรางวัล ดังนี้

26

อาจารย์ที่ปรึกษา 1. ผศ.ดร. ณัฎฐา จินดาเพ็ชร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 2. ผศ.ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นักศึกษา 1. นายนเรนทร์ฤทธิ์ ทองทวี สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2. นายจักรกฤษณ์ ศรีวรรณ สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. นายณัฐพงศ์ พรหมมาก สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 4. นายจตุพร เกื้อเส้ง สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า


สิ่งแวดล้อม

นักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อม ม.อ. แนะรับมือ 8 พื้นที่เสี่ยง

กนน� ำ นั ก วิ ช าการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม และที ม งาน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน นโยบายและแผน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่งเดินหน้าจัด ประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 2 ใน 8 พื้นที่ เมื่อเร็วๆ นี้ ตามโครงการ พัฒนาลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ แก่ตัวแทนประชาชน ตัวแทนภาครัฐ และเอกชน ถึงวิธีการปรับตัวดังนี้ 1. เขตห้ า มล่ า สั ต ว์ ป ่ า ทะเลน้ อ ย ต� ำ บลทะเลน้อ ย อ� ำ เภอควนขนุ น จังหวัดพัทลุง อาจารย์ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านชีววิทยาทางทะเล เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้เข้าร่วมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ ของพื้ น ที่ รวมไปถึ ง การประกอบอาชี พ ที่ ห ลากหลาย เพื่ อ รองรั บ กั บ การ เปลี่ยนแปลงทางอาชีพ 2. อ� ำ เภอสิ ง หนคร จั ง หวั ด สงขลา อาจารย์ ศั ก ดิ์ อ นั น ต์ ปลาทอง บรรยายถึงผลกระทบจากลมพายุและน�้ำจืดจากแผ่นดินที่ถูกผลักดันมาลง ทะเลสาบสงขลาแก่ชาวประมงของลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ซึ่งจะส่งผลกระทบ ต่อสัตว์น�้ำที่เลี้ยงในกระชัง และสัตว์ทะเลที่หนีน�้ำจืดออกไปยังทะเลลึก 3. อ�ำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รศ.ดร.สายัณห์ สดุดี และ รศ.ดร. บั ญ ชา สมบู ร ณ์ สุ ข สองนักวิชาการด้านทรัพยากรการเกษตร บรรยายถึง ความเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยง ต่อการสูญสิ้นเกษตรกรชาวนาและข้าวพันธุ์ พื้นเมือง เช่น ข้าวพันธุ์สังข์หยด 4. ชายหาดแหลมโพธิ์ ต� ำ บลคู เ ต่ า อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ผศ.พยอม รัตนมณี และคุณอดุลย์ เบ็ญนุ้ย สองนักวิชาการด้านการกัด เซาะชายฝั่ง เสนอแนะมาตรการการปรับตัวในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ควรมีการศึกษาและส�ำรวจชนิดพันธุ์พืชท้องถิ่นที่ช่วยลดการกัดเซาะชายฝั่ง 5.พื้นที่ชุ่มน�้ำทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง และเทือกเขาสันกาลาคีรี จังหวัด สงขลา ผศ.ดร.ปาริชาติ วิสุทธิสมาจาร นักวิชาการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บรรยายถึงความส�ำคัญทางชีวภาพของพรุควนขี้เสียน ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน�้ำระดับนานาชาติแห่งแรกของประเทศไทยทรัพยากร ดั ง กล่ า วก� ำ ลั ง ถู ก คุ ก คามอย่ า งหนั ก จนส่ ง ผลให้ สิ่ ง มี ชี วิ ต ทั้ ง พื ช และสั ต ว์ ที่หายากและอยู่ในภาวะเสี่ยงอาจจะสูญพันธุ์ไปได้ในอนาคต

ด่วน !

6. อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขาปู ่ เ ขาย่ า ต� ำ บลเขาปู ่ อ� ำ เภอศรี บ รรพต จั ง หวั ด พั ท ลุ ง รศ.ดร.ดนุ พ ล ตั น นโยภาส นั ก วิ ช าการด้ า นดิ น ถล่ ม แจ้ ง เตื อ น ประชาชนให้มีการปรับตัวด้วยการละเว้นการบุกรุก แผ้วถางป่า เพื่อปลูกยางพารา และปาล์มน�้ ำมันใน พื้ น ที่ ล าดชั น ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ท� ำ ให้ ไ ม่ มี ร ากต้ น ไม้ ยึ ด หน้ า ดิ น และเกิ ด ดิ น ถล่ ม เมื่ อ มี ฝ นตกหนั ก ในที่ สุ ด 7.วัดพะโคะ อ.สทิงพระ จังหวัดสงขลา รศ. ดร. ศรี สุ พ ร ปิ ย ะรั ต นวงศ์ นั ก วิ ช าการด้ า นศิ ล ปและ วัฒนธรรม กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ส่งผลกระทบต่อมรดกทางวัฒนธรรมบริเวณลุ่มน�้ำ ทะเลสาบสงขลา รวมไปถึ ง ความรู ้ เ ท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ ของมนุ ษ ย์ ที่ มี จิ ต ศรั ท ธาในการบู ร ณะมรดกทาง วัฒนธรรมในทางที่ไม่ถูกวิธีตามข้อก� ำหนดของกรม ศิลปากร เช่น การใช้ปูนวิทยาศาสตร์ฉาบผนัง แทน ปู น ต� ำ ที่ ผ สมกั บ น�้ ำ ผึ้ ง โบราณ การปู ก ระเบื้ อ งสมั ย ใหม่บนอาคารไม้ที่อาจมีการผุพังจากความชื้นและ ปลวก ท�ำให้ไม่สามารถรับน�้ำหนักไว้ได้ 8. ชุมชนเมืองหาดใหญ่ จ.สงขลา รศ.ดร.ธนิต เฉลิมยานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ หัวหน้าศูนย์วิจัยภัยพิบัติทางธรรมชาติ กล่าวถึง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศประกอบกับการเป็น พื้นลุ่มรองรับปริมาณน�้ำฝนของชุมชนเมืองหาดใหญ่ ส่งผลให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมืองหาดใหญ่ ต้องรับ กับสถานการณ์น�้ำท่วมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ที่สนใจ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติม ได้ที่ http://www.onep.go.th/slbproject2555 หรือ Facebook และ Fangage ที่ใช้ชื่อว่า โครงการพัฒนา ลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน

27


การศึกษา

ม.อ. จับมือ สออ.ประเทศไทย จัดประชุมวิชาการ-คัดเลือกผลงาน

สู่เวทีระดับภูมิภาค ASAIHL ประเทศฟิลิปปินส์ ทุกวันนี้ คนไทยมีการลงทุน เพื่อการศึกษามากแต่กลับสวนทาง กั บ ผลการเรี ย นของเยาวชน ซึ่ ง ส่วนหนึ่งอาจมาจากทั้งรายได้ที่ไม่ เพียงพอของผู้ปกครองที่จะส่งบุตร หลานเข้ า ศึ ก ษาในระดั บ สู ง ระดั บ การศึ ก ษาของหั ว หน้ า ครอบครั ว และรวมทั้งทักษะของผู้เรียนเอง

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล

อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับสมาคมสถาบันการศึกษา ขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประจ�ำประเทศไทย (สออ.ประเทศไทย) เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 29 ในหัวข้อ “New Approaches in Teaching and Learning at Tertiary Level” เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดและแลก เปลี่ ย นวิ ธี ก ารใหม่ ๆ ในการเรี ย นการสอนระดั บ อุ ด มศึ ก ษา และเพื่ อ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กผลงานทางวิ ช าการเป็ น ตั ว แทนประเทศไทยไปน� ำ เสนอในการประชุมวิชาการระดับภูมิภาค (ASAIHL) ณ ประเทศฟิลิปปินส์ มี ตั ว แทนนั ก วิ ช าการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และเสนอผลงานจากสถาบั น อุดมศึกษาภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่ า วว่ า สมาคมสถาบั น ศึ ก ษาขั้ น อุ ด มแห่ ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี วัตถุประสงค์หลักเพื่อจะช่วยเหลือสถาบันสมาชิกให้มีความร่วมมือกันในการพัฒนา คุ ณ ภาพการเรี ย นการสอน การวิ จั ย ให้ เ ข้ า สู ่ ร ะดั บ มาตรฐานสากล จึ ง ได้ ก ารจั ด ประชุมในครั้งนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดี ประสบการณ์ วิธีการใหม่ๆ ในการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

และน� ำ เอาความรู ้ ที่ ไ ด้ ใ นครั้ ง นี้ ไ ปพั ฒ นาการศึ ก ษา มหาวิทยาลัยในสังกัด อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ ในขณะเดียวกันการประชุมในครั้งนี้ยังเป็นโอกาสที่จะ คัดเลือกบทความวิชาการดีเด่นเพื่อน�ำไปเสนอในการ ประชุมวิชาการระดับภูมิภาคที่ ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งได้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-7ธันวาคม 2555 หวังอย่างยิ่งว่า การจัดการประชุมครั้งนี้จะมีส่วนช่วยให้เกิดเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างผู้เข้าร่วมประชุม น�ำไปสู่การท�ำงาน ร่วมกันในอนาคต ด้านศาสตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี แ ละประธานสออ. ประเทศไทยกล่าวว่า ในแต่ละปีจะมีการประชุมวิชาการ ระดับประเทศ (Inter-University Conference) ปีละ 2 ครั้ ง โดยแต่ ล ะมหาวิ ท ยาลั ย จะหมุ น เวี ย นกั น เป็ น เจ้าภาพ เพื่อระดมสมอง สร้างเวทีวิชาการ พัฒนาการ อุดมศึกษา ซึ่งการจัดประชุมในแต่ละครั้งที่ผ่านมาท�ำให้ ได้ผลงานไปน�ำเสนอในระดับนานาชาติมากขึ้นเรื่อยๆ

28

ส� ำ หรั บ การประชุ ม ในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น เป็ น ครั้ ง ที่ 29 ในหั ว ข้ อ New Approaches in Teaching and Learning at Tertiary Level ซึ่งเป็นเรื่องที่ น่ า สนใจและเหมาะสมอย่ า งยิ่ ง โดยเฉพาะในภาวการณ์ ก ้ า ว เข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น ในอี ก ศาสตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า ไม่ถึงสามปีข้างหน้า การประชุมครั้งนี้ยังจัดให้มีการปาฐกถาพิเศษในหัวข้ออุดมศึกษา ที่ ไ กลกว่ า โลกาภิ วั ต น์ (Post Globalization Higher Education) โดย ดร.กฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร อาจารย์ แ ละที่ ป รึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญของการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ส่งผลต่อการเพิ่มผลิตภาพและความมั่นคง ของประเทศที่ยาวนาน การให้ความส�ำคัญต่อการลดความเหลื่อมล�้ำ และความไม่เป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาของคนในประเทศ และ การพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนด้ ว ยการศึ ก ษาเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคม โดยไม่ต้องพึ่งพาแรงงานจากต่างชาติ


ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร

ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร กล่าวว่า แต่ เดิมนั้นในระบบการศึกษาของไทยได้จัด ให้เอื้อต่อการประกอบวิชาชีพแม้จะเป็น การส�ำเร็จการศึกษาในระดับที่ไม่สูงมาก แต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา ได้มีการเปลี่ยนความคิดของคนไทยให้มี ความต้องการการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ถึงระดับอุดมศึกษา ตามแนวคิดของชาติ ตะวันตก มีการเปิดเสรี ให้โอกาสทางการ ศึกษามากขึ้น และต้องมีการปรับตนเอง ตลอดเวลาเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงตาม ยุ ค สมั ย เช่ น การเพิ่ ม ความรู ้ ภ าษาต่ า ง ประเทศเพื่อเข้าสู่ความเป็นนานาชาติ และ ความรู้ด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ซึ่งท�ำให้ ถูกเป็นห่วงว่า การปรับเปลี่ยนดังกล่าวจะ น�ำการศึกษาไปสู่เชิงพาณิชย์มากเกินไป ดั ง นั้ น นั ก คิ ด ด้ า นการศึ ก ษาหลาย ท่าน จึงมีความคิดเห็นให้ว่า ควรมีการจัด ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหม่ ให้ บัณฑิตรู้จักคิดเป็น ท�ำงานได้จริง เป็นผู้เสีย สละ น�ำความรู้ทางวิชาการเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม เห็นใจและให้โอกาสผู้อื่น และมี มิติแห่งความเป็นไทย หากท�ำได้ดังนี้ ใน อนาคตประเทศไทยก็จะมีการอุดมศึกษา ที่เน้นการท�ำงานเพื่อเพื่อนมนุษย์มากขึ้น ทุกวันนี้ คนไทยมีการลงทุนเพื่อการ ศึกษามากแต่กลับสวนทางกับผลการเรียน ของเยาวชน ซึ่ ง ส่ ว นหนึ่ ง อาจมาจากทั้ ง

รายได้ที่ไม่เพียงพอของผู้ปกครอง ที่ จ ะส่ ง บุ ต รหลานเข้ า ศึ ก ษาใน ระดั บ สู ง ระดั บ การศึ ก ษาของ หั ว หน้ า ครอบครั ว และรวมทั้ ง ทักษะของผู้เรียนเอง ดร.กฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร กล่าวว่า ในอนาคตประเทศไทย จะเผชิ ญ กั บ ภาวะขาดแคลนคน วั ย ท� ำ ง า น ที่ มี ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ นื่ อ ง จ า ก จ� ำ น ว น ประชากรที่ มี อั ต ราการเกิ ด น้ อ ยลงกว่ า ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งหากรวมกับผลการ ศึ ก ษาของเยาวชนที่ ต�่ ำ ลงแล้ ว จะท� ำ ให้ ประเทศไทยเสียโอกาสการเป็นตลาดงาน ที่ดี ขาดบุคลากรในการพัฒนาประเทศใน อนาคต และในขณะเดียวกันกับที่แรงงาน ต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานในประเทศมีสูงขึ้น ซึ่ ง หากไม่ มี ก ารจั ด การศึ ก ษาให้ กั บ บุ ต ร หลานของคนเหล่านี้ ก็จะเป็นปัญหาใหญ่ ให้ประเทศต้องแก้ในวันข้างหน้า

เกิ ด มุ ม มองทางประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ต ่ า งกั น และเป็นสาเหตุของความขัดแย้ง ในอนาคต คนไทยรุ่นหลังจึงมีความ จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนความคิดซึ่งเคยเป็นตาม แบบตะวันตก มาเป็นรูปแบบของประเทศ ตะวันออกมากขึ้น ต้องบ่มเพาะความเข้าใจ เรื่ อ งพหุ วั ฒ นธรรม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง วัฒนธรรมอิสลาม สร้างความเข้าใจร่วมกัน เรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งของอดี ต และเข้ า ใจในความเป็ น วี ร บุ รุ ษ ที่ เ ป็ น ที่ เคารพของคนในชาติหนึ่ง แต่อาจจะไม่ได้ รับการยอมรับจากประเทศเพื่อนบ้าน มีการ ลงทุนด้านการศึกษามากขึ้นทั้งกับเยาวชน ไทยและบุ ต รหลานของแรงงานต่ า งด้ า ว เพื่อปลูกฝังความเป็นไทย และ เป็นสะพาน เชื่ อ มระหว่ า งประเทศตามกรอบความ ร่วมมืออาเซียนบวกสาม ซึ่งเป็นความร่วม มื อ ระหว่ า งสมาชิ ก อาเซี ย นกั บ ประเทศ นอกกลุ ่ ม 3 ประเทศ คื อ จี น เกาหลี ใ ต้ และญี่ ปุ ่ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ

ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 เราต้องมีความเคารพในความเป็น พหุวัฒนธรรม ที่แต่ละประเทศและแต่ละ พื้ น ที่ ล ้ ว นมี ค วามเชื่ อ ความคิ ด ภาษา วัฒนธรรมที่ต่างกัน ในภูมิภาคของอาเซียน หรื อ แม้ แ ต่ ใ นประเทศไทยในอดี ต เป็ น แหล่ ง รวมของหลายเชื้ อ ชาติ แ ละหลาย วัฒนธรรมมานานแล้ว แต่การมารวมตัว เป็ น รั ฐ ซึ่ ง ต้ อ งมี ร ะบบการปกครองกลาง ภาษากลาง หลั ก สู ต รการศึ ก ษากลาง ประวัติศาสตร์ที่เป็นของส่วนกลาง ท�ำให้

ในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก สมาคมสถาบั น การศึ ก ษาขั้ น อุ ด ม แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of Southeast Asian Institutions of Higher Learning - ASAIHL) มี ส ถาบั น สมาชิ ก กว่ า 166 สถาบั น ใน 18 ประเทศ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศ หนึ่ ง ในประเทศสมาชิ ก ประกอบด้ ว ย สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ และเอกชน รวมทั้ ง สิ้ น 37 แห่ ง กระจายอยู ่ ทั่ ว ทุ ก ภูมิภาคของประเทศ

29


วิจัย

ม.อ. น�ช่วำยแก้ผลวิ จ ย ั ปัญหาคุณภาพน�้ำดื่ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น� ำ งานวิ จั ย เทคโนโลยี กรองน�้ ำ เข้ า พื้ น ที่ กั น ดาร ช่ ว ยติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกรอง คุ ณ ภาพสู ง โรงเรี ย น ตชด.สงขลา พร้ อ มสอนกระบวนการ ดู แ ลและจั ด การ หวั ง นั ก เรี ย นได้ น�้ ำ ดื่ ม มี ม าตรฐาน เผยยั ง มี งานวิ จั ย อี ก หลายชิ้ น ก� ำ ลั ง จะถู ก เลื อ ก เพื่ อ น� ำ ออกเผยแพร่ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ชุมชน ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ไชยวรรณ วั ฒ นจั น ทร์ รอง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยและพัฒนา ฝ่าย วิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า เมื่อ ระหว่างวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2555 คณะนักวิจัยและนักศึกษา จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้าติดตั้ง เครื่องกรองน�้ำระบบกรองหยาบ 5 ไมครอน และเครื่องกรอง น�้ ำ ดื่ ม ชนิ ด 3 ท่ อ ภายใต้ โ ครงการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี / นวัตกรรมจากผลงานวิจัย แก่โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน สื่อมวลชนกีฬา ต�ำบลส�ำนักแต้ว อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นที่ ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งไกลจากตั ว เมื อ ง และขาดแคลน น�้ ำ ดื่ ม ที่ มี คุ ณ ภาพ โดย พั น ต� ำ รวจเอกชั ย ณรงค์ สุ ต สม ผู้ก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 สงขลา เป็นผู้รับมอบ

เครื่องกรองน�้ำซึ่งส�ำนักวิจัยและพัฒนาได้น�ำติดตั้งที่โรงเรียน ต�ำรวจตระเวนชายแดน แห่งนี้ เป็นองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี ผ่องสุวรรณ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วั ส ดุ คณะวิ ท ยาศาสตร์ ซึ่ ง แม้ ลั ก ษณะภายนอก

30


จะไม่ ต ่ า งจากเครื่ อ งกรองน�้ำ ทั่ ว ไป แต่ ค วามแตกต่ า งจะ อยู ่ ที่ ก ระบวนการ โดยก่ อ นที่ จ ะติ ด ตั้ ง และเลื อ กไส้ ก รอง มหาวิทยาลัยจะเข้าพื้นที่เพื่อตรวจสอบน�้ำ ทั้งทางกายภาพ หรือทางเคมี กับทางชีวภาพเพื่อตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อ เป็นการรับประกันว่าน�้ำดื่มที่ผ่านเครื่องกรองนี้ จะมีความ สะอาด ปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์ ได้มาตรฐาน ไส้กรองเป็น สิ่งที่ท�ำขึ้นจากการวิจัยท�ำให้ได้คุณภาพมากกว่าที่จ�ำหน่าย ทั่วไป นอกจากนั้น มหาวิทยาลัยยังได้สอนกระบวนการดูแล และจั ด การเครื่ อ งกรองน�้ ำ นี้ ให้ แ ก่ บุ ค ลากรของโรงเรี ย น และให้ ค วามรู ้ พื้ น ฐานด้ า นแหล่ ง น�้ำ ทางธรณี วิ ท ยา และ คุณภาพน�้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค แก่นักเรียนด้วย “มหาวิทยาลัยมีนโยบายที่จะน� ำงานวิจัยที่เป็น ประโยชน์ ไปถ่ายทอดแก่พื้นที่และชุมชน เพื่อให้คน ทั่ ว ไปสามารถเข้ า ถึ ง องค์ ค วามรู ้ แ ละสามารถจั ด การ ตนเองได้ เพราะหากมีการท�ำวิจัยเสร็จสิ้นและน�ำเก็บไว้ ก็ จ ะไม่ มี ใ ครได้ ป ระโยชน์ โดยในอนาคต มี ง านวิ จั ย อี ก หลายชิ้ น ที่ จ ะถู ก คั ด เลื อ ก เพื่ อ น� ำ ออกเผยแพร่ ใ ห้ ชุ ม ชนและสาธารณะได้ รั บ ทราบ” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยวรรณ กล่าว ด้ า น พั น ต� ำ รวจเอกชั ย ณรงค์ สุ ต สม กล่ า วว่ า น�้ ำ สะอาดส� ำ หรั บ ดื่ ม มี ค วามจ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ โรงเรี ย นใน

พื้ น ที่ ทุ ร กั น ดาร ซึ่ ง ต้ อ งการน�้ ำ ส� ำ หรั บ การบริโภคของนักเรียนนับร้อยคน โดยที่ ผ่ า นมาโรงเรี ย นต� ำ รวจตระเวนชายแดน แก้ ป ั ญ หาคุ ณ ภาพน�้ ำ ด้ ว ยการต้ ม หรื อ ซื้ อ น�้ ำ มาใช้ ท� ำ ให้ สิ้ น เปลื อ ง ภายใต้ ง บ ประมาณการซื้ อ น�้ ำ ดื่ ม ที่ จ� ำ กั ด โดยต้ อ ง น�ำค่าอาหารมาแบ่งเป็นค่าซื้อน�้ำดื่มท�ำให้ คุณภาพอาหารลดลง และต้องใช้จากเงิน จากโครงการพิเศษเพื่ออาหารกลางวันมา ทดแทน การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกรองน�้ ำ จะเกิ ด ประโยชน์กับโรงเรียนอย่างมาก เป็นการ ประหยั ด ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการซื้ อ น�้ ำ ดื่ ม และ นักเรียนได้ดื่มน�้ำที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน หวังว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยในการ ส� ำ รวจเพื่ อ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกรองน�้ ำ ดื่ ม ให้ แ ก่ โ รงเรี ย นต� ำ รวจ ตระเวนชายแดน อื่นๆ ในจังหวัดสงขลา ซึ่งมีอยู่ 10 โรงเรียน หลังการรับมอบดังกล่าว คณะนักวิจัยและนักศึกษา ยังได้มีการให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่องแหล่งน�้ำทางธรณีวิทยา คุ ณ ภาพน�้ ำ เพื่ อ การอุ ป โภค-บริ โ ภค การสาธิ ต เรื่ อ งชนิ ด ของสารกรอง ไส้ ก รอง เครื่ อ งกรอง ปฏิ บั ติ ก ารตรวจสอบ คุณภาพน�้ำอย่างง่าย การล้างเครื่องกรอง สารกรอง และ ไส้ ก รอง และเทคโนโลยี เ มมเบรนเพื่ อ การกรอง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไตรภพ ผ่องสุวรรณ ภาควิชาฟิสิกส์ ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ด รุ ณี ผ่ อ งสุ ว รรณ ภาควิ ช า วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี วั ส ดุ อาจารย์ ป ระเสริ ฐ พฤฒิ ค ณี อาจารย์ ป ระจ� ำ หลั ก สู ต รวั ส ดุ ศ าสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ และคณะ

31


นวัตกรรม

ทรูบีม...ตึกใหม่

ทันสมัยที่สุด

อีกหนึ่งการพัฒนากระบวนการ

รักษาผู้ป่วยมะเร็ง

ละแล้ ว วั น เวลาก็ ไ ด้ ล ่ ว งเลยมาถึ ง ปลายปี พ.ศ. 2555 แล้ว เมื่อกาลเวลาผ่านไป สิ่งต่างๆ ก็ย่อม มี ก ารเปลี่ ย นแปลง เช่ น เดี ย วกั บ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น หมุ น เวี ย น เพิ่ ม ขึ้ น ลดลง ของปั จ จั ย ต่ า งๆ แต่ ก าร เปลี่ ย นแปลงสิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ การเพิ่ ม ขึ้ น ของ อาคาร ใช่ แ ล้ ว !!! อาคารที่ พู ด ถึ ง อยู ่ นี้ คื อ อาคาร รังสีรักษาใหม่ ที่เกิดขึ้นด้านข้างอาคารแพทยศาสตร ศึ ก ษาราชนคริ น ทร์ ชื่ อ ของเค้ า ก็ คื อ ทรู บี ม หรื อ เรี ย กอย่ า งเป็ น ทางการว่ า “อาคารเครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคความเข้ ม สู ง ” โอกาสอั น ดี นี้ คุ ณ อั ม พร ฝั น เซี ย น หรื อ พี่ เ ล็ ก หั ว หน้ า นั ก ฟิ สิ ก ส์ หน่ ว ย รั ง สี รั ก ษา ภาควิ ช ารั ง สี วิ ท ยา ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ได้ พ า ทีมข่าวคณะแพทย์ชมอาคารใหม่นี้ด้วยตนเอง

32

เริ่มต้นจากดาวเด่นประจ�ำตึก นั่นคือ เครื่อง ทรูบีม (True Beam) มี ชื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ว ่ า Linear Accelerator “True Beam” ราคาเครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคความเข้ ม สู ง รุ ่ น True Beam รวมตึกและอุปกรณ์ทั้งหมด มูลค่ารวม 215 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยและเครื่องคอมพิวเตอร์วางแผน ค� ำ นวณฉายรั ง สี เ พื่ อ ป้ อ นข้ อ มู ล การรั ก ษาแก่ เ ครื่ อ งฉาย รั ง สี เครื่ อ งฉายรั ง สี นี้ ใ ช้ กั บ ผู ้ ป ่ ว ยมะเร็ ง สามารถปล่ อ ย รั ง สี ใ ห้ ค รอบคลุ ม ต� ำ แหน่ ง รั ก ษามะเร็ ง ได้ เ หมื อ นจริ ง เสมือนหนึ่งเอาแปรงทาสีที่ก้อนมะเร็ง ฝรั่งเรียกส�ำนวนว่า Radiotherapy Dose Painting


เครื่องฉายรังสีนี้สามารถปล่อยรังสีได้สูงสุดถึง 2400 cGy/min ซึ่งเครื่องฉายรังสีโดยทั่วไปจะมีอัตราปล่อยรังสีที่ 00 cGy/min เครื่องนี้จึงเหมาะกับการรักษาผู้ป่วยที่ต้องการ ปริ ม าณรั ง สี สู ง ในเวลาอั น สั้ น เช่ น SBRT: Stereotactic Body Radiotherapy ซึ่งใช้รังสี 800-1200 cGy ต่อครั้ง การฉาย หรื อ รั ง สี ศั ล ยกรรม (Radiosurgery) ซึ่ ง ใช้ รั ง สี 1600-1800 cGy ต่อครั้งการฉาย ที่ส�ำคัญ เครื่องนี้มีความ ทันสมัยที่สุดในประเทศ ณ ปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามเครื่องฉายรังสี True Beam นี้ก็ยังคง ฉายรังสีในเทคนิคปกติได้เหมือนเครื่องฉายรังสีทั่วไป แต่ตัว เครื่องและโปรแกรมควบคุมมีความแม่นย�ำสูงสุดถึง 0.3 มม มีรังสีเอกซ์ 15 MV ส�ำหรับผู้ป่วยตัวหนา ซึ่งทางโรงพยาบาล ยั ง ไม่ เ คยมี ม าก่ อ น การท� ำ งานของบุ ค ลากรใช้ เ ครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ไฟเบอร์ออพติคเชื่อมกับหน่วยรังสีรักษา ส�ำหรับอาคารนี้จะมีนักฟิสิกส์การแพทย์เป็นผู้ดูแล เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ รวมไปถึงการควบคุมคุณภาพ ระบบเครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคและการค� ำ นวณปริ ม าณรั ง สี ที่ ใ ช้ กับผู้ป่วย และความปลอดภัยจากการใช้รังสี โดยมีวิศวกร และนายช่างอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ดูแลระบบการผลิตรังสี ระบบไฟฟ้าและระบบน�้ำหล่อเย็น(chiller)ในการระบาย ความร้ อ นออกจากเครื่ อ ง มี นั ก รั ง สี ก ารแพทย์ เ ป็ น ผู ้ ดู แ ล การฉายรังสีผู้ป่วยด้วยเทคนิคซับซ้อน และมีพยาบาลเป็น ผู ้ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย ที่ ส�ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ มี แ พทย์ รั ง สี รั ก ษาเป็ น ผู ้ ใ ห้ การรักษาผู้ป่วยตามลักษณะของโรค อาคาร True Beam ได้รับการออกแบบโดย บริษัท Business Alignment จ�ำกัด โดยใช้มาตรฐานห้องฉายรังสี ตาม NCRP: National Council on Radiological

Protection ของ USA ได้ รั บ การตรวจสอบจาก Planning department ของบริ ษั ท Varian Medical System ผู ้ เ ป็ น เจ้าของผลิตภัณฑ์ และยังตรวจสอบโดยนักฟิสิกส์ของหน่วย รังสีรักษา และหน่วยอาชีวอนามัยทางรังสี รวมทั้งยังต้องผ่าน การตรวจสอบจากส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เพื่อให้มั่นใจว่า ห้องฉายรังสีหนา 240 ซม นี้ มีความปลอดภัยตามมาตรฐาน NCRP ทั้ง 5 ด้านของผนังห้อง เครื่องเร่งอนุภาคความเข้มสูงและอุปกรณ์ของห้อง ฉายรั ง สี นี้ ตอบสนองความต้ อ งการของผู ้ ป ่ ว ยมะเร็ ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง เครื่ อ งฉายรั ง สี ใ หม่ ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งที่ 4 ของคณะ แพทยศาสตร์นี้ไม่เพียงรองรับจ�ำนวนผู้ป่วยทั้งหมดในปัจจุบัน ซึ่ ง มี จ� ำ นวนเฉลี่ ย 200 คนต่ อ วั น แต่ ยั ง ตอบสนองเทคนิ ค การฉายรั ง สี รั ก ษาโรคมะเร็ ง ที่ ทั น สมั ย เช่ น IMRT/VMAT* อุปกรณ์ประกอบเครื่องที่ส�ำคัญคือระบบถ่ายภาพเอกซ์เรย์ น�ำวิถี (Image Guide) ซึ่งใช้เช็คต�ำแหน่งก่อนปล่อยรังสี ท�ำให้ ผู้ป่วยได้รับรังสีแม่นย�ำมากเมื่อใช้ร่วมกับเทคนิค IMRT/VMAT เมื่อความพร้อมของระบบเต็มประสิทธิภาพ จะสามารถให้ บริการรังสีศัลยกรรมเป็นแห่งแรกในภาคใต้เพิ่มได้อีกด้วย

ที่มาข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 213 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2555 หน้า 8-9

IMRT: Intensity Modulation Radiotherapy คือเทคนิคการฉายแบบปรับความเข้มรังสีได้ที่มุมต่างๆ รอบตัวคนไข้ ตามลักษณะความลึก และรูปร่างของก้อนมะเร็งของผู้ป่วยแต่ละคน เพื่อให้ได้ปริมาณรังสีครอบคลุมเฉพาะก้อนมะเร็ง ขณะเดียวกันก็สามารถลดผลกระทบต่อเนื้อเยื่อ ข้างเคียงได้ดี VMAT: Volume Modulation Arc Therapy หรือบางครั้งเรียก Rapid Arc Raiotherapy เป็นเทคนิคการฉายรังสีที่พัฒนาจากการฉายรังสีแบบ IMRT โดยเป็นการฉายรังสีแบบหมุนต่อเนื่องรอบตัวคนไข้ที่ต�ำแหน่งก้อนมะเร็ง การพัฒนาซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์นี้ ผนวกกับศักยภาพด้านความเข้ม รังสีสูงของตัวเครื่อง จะท�ำให้ระยะเวลาในการฉายรังสีแต่ละครั้งสั้นลงเมื่อเทียบกับ IMRT

33


ภาพเป็นข่าว

โรงเรียน SM Sains Kuala Terengganu

รัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เยือนคณะศึกษาศาสตร์ คณะครู แ ละนั ก เรี ย นจากโรงเรี ย น SM Sains Kuala Terengganu รั ฐ ตรั ง กานู ประเทศมาเลเซี ย เยื อ นคณะศึ ก ษาศาสตร์ และ โรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมี ดร.นุวรรณ ทับเที่ยง ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี อาจารย์ ว รภาคย์ ไมตรีพันธ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายองค์กรสัมพันธ์และเครือข่าย คณะศึกษาศาสตร์ และ ผศ.กนก จั น ทร์ ท อง ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ร่ ว มให้ ก ารต้ อ นรั บ และบรรยายสรุ ป เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2555

ม.อ.ปัตตานี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ

โครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ อาหารฮาลาล คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จั ด โครงการอบรม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร เ รื่ อ ง “ N o v e l F o o d Processing: W a t e r s p r a y r e t o r t , Vacuum frying, Vacuumevaporation” ให้แก่ผู้เข้าอบรมซึ่งเป็นตัวแทนจากโรงงาน อุ ต สาหกรรมในจั ง หวั ด ปั ต ตานี และ ใกล้เคียง รวม 33 คน อาทิ บริษัท ชัยเจริญ มารีน จ�ำกัด, บริษัท รอแยล ฟูดส์ จ�ำกัด

(ปั ต ตานี ), บริ ษั ท ศิ ริ นั น ท์ ฟู ้ ด จ� ำ กั ด , บริษัท ตอยยีบันฟู้ดส์ จ�ำกัด เป็นต้น และ จากหน่วยงานราชการ เช่น มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี และส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี เมื่ อ วั น ที่ 24 - 25 ตุ ล าคม 2555 ณ ศู น ย์ วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล การจั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารครั้ ง นี้ จัดขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับการหลัก การใช้งาน การดูแลรักษาและการประยุกต์ ใช้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารของเครื่ อ งฆ่ า เชื้ อ แบบ Water spray retort, เครื่ อ งทอด

ภายใต้สภาวะสุญญากาศ (Vacuum Frying) และเครื่ อ งระเหยภายใต้ ส ภาวะสุ ญ ญากาศ (Vacuum Evaporation) เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม อบรมมี ท างเลื อ กที่ เ หมาะสมในการพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ และสามารถตอบสนองความต้องการ ของผู ้ บ ริ โ ภคในอนาคตได้ โดยมี ดร.ศุ ภ ชั ย ภิสัชเพ็ญ อาจารย์จากภาควิชาเทคโนโลยีวัสดุ ภั ณ ฑ์ ค ณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มอ.หาดใหญ่ นายณั ฐ พล ไชยค� ำ วั ง วิ ศ วกรฝ่ า ยเทคนิ ค จากบริษัท โอนเนอร์ ฟู้ดส์ แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด ผศ.ดร.พัชรินทร์ ภักดีฉนวน และดร.สุธีรา เสาวภาคย์ เป็นวิทยากรในการบรรยาย และ สาธิตการใช้เครื่องมือ

วิศวฯ MOU กับ บริษัท Design Gateway และสมาคมสมองกลฝังตัวไทย ด้ า นเทคโนโลยี ส มองกลฝั ง ตั ว ของ ม.อ. และน�ำความรู้ด้านเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ไปสร้างประโยชน์สังคมและประเทศ

รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ร่วมในพิธีลงนาม MOU กับบริษัท Design Gateway และ สมาคมสมองกลฝั ง ตั ว ไทย เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา ในเรื่อง “การเพิ่มขีดความสามารถของระบบ

34

สมองกลฝั ง ตั ว ” โดยมี ผศ.ดร.วรรณรั ช สั น ติ อ มรทั ต อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เป็นหัวหน้าโครงการ โดยความร่วมมือในครั้งนี้ท�ำขึ้นเพื่อให้เพิ่ม ความสั ม พั น ธ์ และศั ก ยภาพทางวิ ช าการ ในการสนั บ สนุ น การพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาทาง


ศิลปและวัฒนธรรม

ศิลปศาสตร์ ม.อ.

เปิดม่านละครเวที ปี’56

เรื่อง “กากี”

คณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จัดแสดงละครเวทีประจ�ำปี 2556 เรื่อง “กากี” วรรณคดีเนื้อหา เข้ ม ข้ น สะท้ อ นปั ญ หาสั ง คม สอดแทรกความบั น เทิ ง ด้ ว ย บทเพลงและโชว์ อั น วิ จิ ต รตระการตา ระหว่ า งวั น ที่ 8-10 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์มนตรี มีเนียม อาจารย์ประจ�ำคณะ ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้จัดและผู้ก� ำกับ ละครเวที เรื่ อ ง “ ก า กี ” เปิ ด เผยว่ า คณะศิ ล ปศาสตร์ ได้ จั ด แสดงละครเวที ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ซึ่ ง สาเหตุ ที่ ใ นปี นี้

เลือกวรรณคดีเรื่อง “กากี” มาจัดแสดงเป็นละครเวทีนั้น ก็เพื่อ ที่ จ ะสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง สภาพความเป็ น จริ ง ของสั ง คมที่ ป ระกอบ ไปด้ ว ยมนุ ษ ย์ ที่ มี พ ฤติ ก รรมที่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ ง ก่ อ นที่ สั ง คม จะตั ด สิ น ว่ า การกระท� ำ เ หล่ า นั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ดี หรื อ ไม่ ดี นั้ น ควรที่ จ ะมองให้ ห ลากหลายแง่ มุ ม และเข้ า ใจถึ ง เหตุ แ ละปั จ จั ย ของการแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นเสียก่อน

ละครเวทีเรื่อง “กากี” นอกจากจะให้สาระและแง่คิด แก่ผู้ชมแล้ว ผู้จัดยังได้สร้างสรรค์ให้ละครเวทีเรื่องนี้ตอบสนอง

ด้ า นความบั น เทิ ง ให้ แ ก่ ผู ้ ช ม ด้ ว ยการน� ำ บทเพลง ดนตรี แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง อั น ง ด ง า ม ตระการตา ผสมผสานเข้ า ไป ในแต่ ล ะฉาก โดยมี นั ก ศึ ก ษา ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า นคริ น ทร์ จ ากหลากหลาย คณะเป็ น ผู ้ แ สดง และได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากโรงเรี ย น หาดใหญ่วิทยาลัยที่ได้น�ำการ แสดงมาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ ละครเวทีในครั้งนี้ด้วย อาจารย์ ม นตรี กล่าว เพิ่ ม เติ ม ว่ า นั ก แสดงและ ที ม งานทุ ก คนมี ค วามตั้ ง ใจ อย่ า งมากในการผลิ ต ผลงาน ละครเวที เ รื่ อ งนี้ เพื่ อ หวั ง จะ สื บ สานศิ ล ปวั ฒ นธรรมด้ า น การละครของไทยให้มีอยู่ต่อไปไม่สูญหายและมั่นใจว่าผู้ชมจะได้ รั บ ความสุ ข ความสนุ ก สนานและความประทั บ ใจกลั บ ไปอย่ า ง แน่นอน

ธนาคารไทยพาณิชย์

มอบเต็นท์เพื่อใช้ ในภารกิจของมหาวิทยาลัย นายพิพัฒน์ พงศ์ทิพย์พนัส ผู้จัดเขตธนาคารไทยพาณิชย์ มอบเต็ น ท์ จ� ำ นวน 2 หลั ง แก่ ม หาวิ ท ยาลั ย โดยมี รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี รศ.ดร.เกริ ก ชั ย ทองหนู รองอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยระบบสารสนเทศและโครงสร้ า งกายภาพ รั บ มอบ เพื่ อใช้ใน ภารกิจของมหาวิทยาลัย



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.