Sanmoror april 2014

Page 1

ในฉบับ

ม.อ.จัดรายการ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์ 18-19 ผู้บริหาร ม.อ. เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าถวายปริญญากิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเทพฯ 15 ม.อ. รับ 5 รางวัลงานสิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยม ที่เจนีวา 28 รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล 39 ปี กับการถวายงานสนองพระราชด�ำริ 17


รอบรั้วศรีตรัง

สงกรานต์ ม.อ. สร้างความรักความผูกพันชาว ม.อ.และชุมชน หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมสืบสานประเพณี สงกรานต์ จัดกิจกรรม “รดน�้ำขอพรวันสงกรานต์ และท� ำ บุ ญ ไถ่ ชี วิ ต โค กระบื อ ” ณ ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557 จัดโดย คณะ กรรมการ สนอ.สั ม พั น ธ์ เมื่ อ วั น ที่ 11 เมษายน 2557 มี กิ จ กรรม สรงน�้ ำ พระ รดน�้ ำ ขอพรผู ้ ใ หญ่ สาดน�้ ำ ประแป้ ง และกิ จ กรรมไถ่ ชี วิ ต โค กระบื อ โดยบุ ค ลากรส� ำ นั ก งาน อธิการบดี ผู้บริหาร บุคลากรจากคณะ หน่วยงาน และผู้มี จิตศรัทธา ร่วมกิจกรรมและร่วมบริจาค จ�ำนวน 34,510 บาท โดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย มอบโค แม่ และลูก จ�ำนวน 2 ตัว ให้แก่ครอบครัวของนายตุ้ง ยุนาค ประชาชน ในเขต หมู่ 1 หมู่บ้านท่าเคหะ ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยนายสิ น ธพ อิ น ทรั ต น์ นายก อบต.ท่ า ข้ า ม จ.สงขลา ร่วมรับมอบ

นับเป็นกิจกรรมที่ชาว ม.อ.ร่วมแรงร่วมใจกันมอบ แก่ชุมชน และเพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ที่ ดี ง ามของไทย ปลู ก ฝั ง ความกตั ญ ญู ก ตเวที ต ่ อ ผู ้ มี พระคุณ ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา สร้างความสามัคคี สนุกสนานรื่นเริงร่วมกัน เพื่อความรักความผูกพันระหว่าง คนในองค์ ก ร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คณะ หน่ ว ยงาน และชุ ม ชนรอบข้ า ง โดยบุ ค ลากรส� ำ นั ก งาน อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ ร ่ ว มใจกั น ตั้ ง แต่ ต กแต่ ง สถานที่ รดน�้ ำ ผู ้ ใ หญ่ ท� ำ บุ ญ สรงน�้ ำ พระ และเล่นสาดน�้ำประแป้งกัน เป็นที่สนุกสนาน กิ จ กรรมการไถ่ ชี วิ ต โค กระบื อ ในครั้ ง นี้ เ ป็ น การ ช่ ว ยชี วิ ต โค กระบื อ ให้ ร อดพ้ น จากการถู ก ฆ่ า ที่ โ รงฆ่ า สัตว์และมอบให้กับเกษตรกรที่มีฐานะยากจนน�ำไปเลี้ยง โดยให้ค�ำมั่นสัญญาว่าจะไม่น�ำไปฆ่าหรือน�ำไปจ�ำหน่าย นอกจากวัตถุประสงค์ช่วยให้อยู่จนสิ้นอายุขัยแล้ว ยังเป็น การส่งเสริมเมตตาธรรม ไม่คิดเบียดเบียนชีวิตผู้อื่นของ ชาวสงขลานคริ น ทร์ และเป็ น การสร้ า งความรั ก ความ ผูกพันของชาว ม.อ.และชุมชน


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปีที่ 23 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2557

สารบัญ ภาพเป็นข่าว

รอบรั้วศรีตรัง

2 สงกรานต์ ม.อ. สร้างความรักความผูกพันชาว ม.อ.และชุมชน 15 ผู้บริหาร ม.อ. เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าถวายปริญญากิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเทพฯ 27 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดสัมมนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ม.อ. 30-31 พิชิตพุง พิชิตความส�ำเร็จ ของ คน ม.อ.

วิจัย 4-5 ม.อ. ลงนามร่วมโครงการ Talent Mobility น�ำนักวิจัยร่วมเอกชน 8-9 สกว.หนุน ม.อ.พัฒนาพันธุ์ปาล์มน�้ำมันทนแล้ง-ผลผลิตสูง 34 ม.อ.ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับท�ำการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี เพื่อให้ภาคเอกชนขอยกเว้นภาษีได้ 200%

ความร่วมมือสังคม/ชุมชน 6-7 ม.อ.ปัตตานี ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 11 จับมือพัฒนา 95 โรงงานยางและไม้ยางพารา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 13 ม.อ.สนับสนุน จังหวัดสงขลาเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 ประจ�ำปี 2559 22 2 นักวิจัย 2 มหาวิทยาลัย จับมือ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลหาดใหญ่ จัดกิจกรรมวัน “Earth Hour”

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ 10 “เพื่อนใจ Delivery” ของ น.ศ. ศึกษาศาสตร์ ชนะเลิศสาขาการ แพทย์และสาธารณสุข จาก กระทิงแดง U Project 23 ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทย์ ม.อ. รับโล่รางวัลผลงานดีเด่นงานป้องกันควบคุมโรค

อบรม/สัมมนา 11 โครงการอบรมครูพี่เลี้ยงโครงการ e-Learning พื้นที่เสี่ยง ภาคใต้ 24 คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.วิทยาเขตปัตตานี จัดโครงการ พัฒนาอาจารย์มุ่งน�ำเสนอผลงานทางวิชาการใน ระดับนานาชาติ

12 คณบดีทันตะฯ มอบโล่เชิดชูเกียรติบุคคลผู้ท�ำคุณประโยชน์ ให้กับคณะ แด่ Prof.Nabil Samman 12 วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต เปิดค่าย “เติมเต็มประสบการณ์ อัศวินน้อย” รุ่น 7 16 อธิการบดีเข้ารับรางวัลยอดเยี่ยม รางวัลโล่พระราชทาน ประเภทสถาบันการศึกษาที่ส่งเสริมงานอาสาสมัครใน สถาบันการศึกษา 16 ม.อ. ร่วมเป็นเจ้าภาพบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพ สมเด็จพระสังฆราช 16 อธิการบดี และคณะกรรมการ 45 ปี ม.อ. เข้าพบคุณเอนก เพิ่มวงศ์เสนีย์ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บมจ. อสมท.

การศึกษา 14 การประกวดผลงานนักศึกษาและตลาดนัดสถานประกอบการ 25 คณะวิทยาการสื่อสาร ผลิตนักนิเทศศาสตร์ แนวใหม่ เน้นสื่อภาคประชาสังคม 35 ม.อ.ร่วมกับ ซีพี ออลล์ พัฒนาสมรรถนะบัณฑิตให้ด�ำเนิน ธุรกิจค้าปลีก

รายการพิเศษ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์ 17 รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล 39 ปี กับการถวายงานสนอง พระราชด�ำริ 18-19 รายการ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์ 20-21 45 ปี ม.อ. กับ การสนองโครงการในพระราชด�ำริ

แนะน�ำบุคลากร/หน่วยงาน 26 พญ.รุ่งอรุณ จิระตราชู คุณหมอนางฟ้าแห่งโรงพยาบาล สงขลานครินทร์

บริการวิชาการ 32 32 33 33

สถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ อบรมอาชีพ มุ่งสร้างชุมชนเข้มแข็ง ฝ่ายฝึกอบรมฯ จัดอบรมสร้างสื่อและนวัตกรรมการสอนสู่การวิจัย ผู้หญิงที่อุทิศตนเพื่อชุมชนสังคมชายแดนใต้รับรางวัลสตรีต้นแบบ ส�ำนักส่งเสริมฯ อบรมเทคนิคการเป็น Supervisor แก่พนักงาน ธนาคารกรุงเทพฯ

สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์ ภารกิจ ของมหาวิทยาลัยให้ กับหน่ วยงานภายในและภายนอกมหาวิ ทยาลั ยโดยมุ่ งเน้ นหน่ วยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมายดั ง กล่ า วรู ้ จั ก มหาวิ ท ยาลั ย มากยิ่ ง ขึ้ น และจะเป็ น จดหมายเหตุ ห รื อ บั น ทึ ก ความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน

เมษายน - พฤษภาคม 2557

3


การวิจัย

ม.อ. ลงนามร่วมโครงการ

Talent Mobility น�ำนักวิจัยร่วมเอกชน ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จั ด งาน STI Talent Mobility Fair เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 26 มี น าคม 2557 ในงานมี ก ารแนะน� ำ การด� ำ เนิ น งาน Talent Mobility for Competitiveness หรื อ การส่งเสริมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการจัดการจากภาครัฐและ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ไปปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถการแข่ ง ขั น ในภาคการ ผลิ ต และบริ ก าร การปาฐกถาพิ เ ศษจากตั ว แทนภาคเอกชน การกล่ า วมอบนโยบาย โดยรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี และ พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงโครงการ Talent Mobility โดย เลขาธิ ก าร สวทน. และมหาวิ ท ยาลั ย น� ำ ร่ อ ง ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ โดย รศ.นพ.นิ เ วศน์ นั ท นจิ ต อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น โดย รศ.ดร.กิ ต ติ ชั ย ไตรรั ต นศิ ริ ชั ย อธิ ก ารบดี และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ โดย รศ.ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดีฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา

4

เมษายน - พฤษภาคม 2557


ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ เลขาธิการ สวทน.

ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ เลขาธิการ สวทน. กล่าวว่าปัจจุบันเอกชนไทยให้ความสนใจ ลงทุ น ด้ า นการท� ำ วิ จั ย ในองค์ ก รตั ว เองมากขึ้ น สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งสนั บ สนุ น ภาคอุ ต สาหกรรมคื อ ก�ำลังคน โดยภาครัฐอย่างสถาบันวิจัย ซึ่งได้แก่มหาวิทยาลัยต้องเข้ามาสนับสนุนก�ำลังคนซึ่ง จะท�ำให้ภาพรวมทั้งระบบของการพัฒนาขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยดีขึ้น กลไกที่ ท�ำให้ถึงเป้าหมายตรงนั้นเรียกว่า Talent Mobility เป็นการน�ำคนเก่งไปช่วยภาคอุตสาหกรรม โครงการ Talent Mobility จะเป็ น หน่ ว ยอ� ำ นวยความสะดวกให้ ถื อ เป็ น ตั ว กลาง ที่ ท� ำ ให้ บริ ษั ท เอกชนในภาคอุ ต สาหกรรมมารู ้ จั ก กั บ นั ก วิ จั ย ในสถาบั น วิ จั ย ของรั ฐ หรื อ มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง เราต้ อ งช่ ว ยกั น สร้ า งแรงจู ง ใจให้ นั ก วิ จั ย อยากจะช่ ว ยท� ำ งานให้ เ อกชน หากนั ก วิ ช าการ มี นั ก ศึ ก ษาไปร่ ว มงานด้ ว ย จะท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ห็ น การท� ำ งานจริ ง นอกห้ อ งเรี ย น ขณะ เดียวกันจะเริ่มรู้ว่าอาชีพไหนที่ชอบหรือไม่ชอบ ท�ำให้เขามีโอกาสได้งานท�ำสูงขึ้นมากขึ้นด้วย

รองศาสตราจารย์ ดร.พี ร ะพงศ์ ที ฆ สกุ ล รองอธิการบดีฝ่าย ระบบวิ จั ย และบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ถือเป็นมหาวิทยาลัยแรกที่ท�ำงานร่วมกับ ภาคเอกชน โดยเริ่มจากการท�ำระเบียบมหาวิทยาลัย และเสนอต่อสภา มหาวิทยาลัยเห็นชอบ ซึ่งปัจจุบันมีอาจารย์ออกไปช่วยอุตสาหกรรมด้าน เครื่องวัสดุศาสตร์ เทคโนโลยีกึ่งโลหะ 1 ราย เริ่มด�ำเนินการโครงการเมื่อปี 2556 มหาวิทยาลัยเปิดโอกาสให้อาจารย์ไปท�ำงานเต็มเวลาได้ในสถาน ประกอบการ ใช้เวลาสูงสุด 2 ปี โดยท�ำสัญญากับทางมหาวิทยาลัยครั้งละ 1 ปี แต่อาจมีการยืดหยุ่นไม่อยู่เต็มเวลาก็ได้ ขึ้นอยู่กับการตกลงกับทาง บริษัท เช่นเดียวกับค่าตอบแทนที่จ่ายตามข้อเสนอของสวทน.คือ 1.5 – 5 เท่า ขึ้นอยู่กับการเจรจากับสถานประกอบการ และขนาดของบริษัท “ที่มหาวิทยาลัยได้ท�ำโครงการนี้ เราให้บริษัทเอกชนจ่าย 1.5 เท่า ซึ่งเป็นบริษัทขนาดเล็ก แต่ถ้าเป็นบริษัทใหญ่และมีก�ำลังมากตัวเลขค่า ตอบแทนก็เพิ่มสูงขึ้นด้วย รูปแบบการเลื่อนไหลของนักวิจัยสู่บริษัทเอกชน ในต่างประเทศท�ำกันมานานแล้ว โดยเฉพาะประเทศเยอรมัน โครงการ นี้ผมเห็นว่าทุกภาคส่วนได้รับประโยชน์ และไม่ถือว่าเป็นโครงการสมอง ไหล เพราะเขายังไหลอยู่ในสายงานวิชาการ” รศ.ดร.พีระพงศ์ กล่าว เมษายน - พฤษภาคม 2557

5


ความร่วมมือ/ชุมชน/สังคม

ม.อ.ปั ต ตานี ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 11 จับมือพัฒนา

95 โรงงานยางและไม้ยางพารา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตสาหกรรมยางพารา เป็นอุตสาหกรรม ที่สร้างรายได้เป็นอันดับต้นๆของประเทศ คิดเป็น 8.19 แสนล้านบาท ในปี 2555 โดยส่งออก ในรูปยางแผ่นดิบ และน�้ำยางข้น ส่วนอุตสาหกรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง และอุ ต สาหกรรมไม้ ย างพารา ยั ง ประสบปัญหาการน�ำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่ทัน สมัยมาใช้น้อยและใช้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ม.อ.ปัตตานี โดยสถาบันวิจัยยางและพัฒนานวัตกรรมยางพารา คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี จึงร่วมกับศูนย์ส่งเสริม อุตสาหกรรมภาค 11 พัฒนาศักยภาพการผลิตและ การตลาดเพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ยางและผลิตภัณฑ์ ยางภายในประเทศพร้อมทั้งเร่งรัดการผลิตทั้งที่ ใช้ เองในประเทศและเพื่อส่งออก โดยเฉพาะการพัฒนา วั ต ถุ ดิ บ และการเพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า ไปสู ่ ก ารส่ ง ออก ผลิตภัณฑ์ยางแทนการส่งออกยางแผ่น และน�้ำยาง

นายกอบชั ย สั ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ์ รองอธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญาความร่วมมือ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมยางและไม้ยางพารา ในพื้ น ที่ 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ระหว่ า ง รศ.ดร.ซุ ก รี ห ะยี ส า แ ม คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี นายประสาทสุข นิยามราษฎร์ รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริม อุ ต สาหกรรมภาคที่ 11 จั ง หวั ด สงขลา และเจ้ า ของโรงงาน อุตสาหกรรมยางและไม้ยางพารา จ�ำนวน 95 กิจการ ในจังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส เพื่อพัฒนาศักยภาพ และผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการผลิต

6

เมษายน - พฤษภาคม 2557

นายกอบชั ย สั ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม เปิดเผยว่า การลงนามสัญญาความร่วมมือเป็น โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมยางและไม้ยางพารา ประจ� ำ ปี 2557 ผู ้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ด้ า นยางและไม้ ยางพาราจ�ำนวน 95 กิจการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษาด้ ว ย ความรู้ความช�ำนาญ โดยไม่ละเมิดสิทธิ ข้อมูล หรือ ลิขสิทธิ์ ของกิจการที่เข้าร่วมโครงการหรือน�ำไปใช้ในกิจการอื่น โดย ไม่ได้รับความยินยอมล่วงหน้าจากกิจการที่เข้าร่วมโครงการฯ รศ.ดร.ซุ ก รี หะยี ส าแม คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท�ำการเรียนการสอน การท�ำวิจัย และการบริการทางวิชาการ มีนัก วิชาการที่เข้าใจถึงปัญหาและแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางและไม้ยางพารา เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและ เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ยางเพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม จากการแปรรู ป ยางพารา ส่ ง เสริ ม ให้วิสาหกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม เกิดการ รวมกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจยางพาราและไม้ยางพารา ให้มี การก�ำหนดกลยุทธ์ แนวทางการร่วมมือเพื่อรักษาเสถียรภาพ ของราคายาง รวมทั้งการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ผู้ที่เข้าร่วมโครงการรวม 95 กิจการ มีระยะเวลาท�ำงาน ตั้ ง แต่ เ ดื อน กุ มภาพั น ธ์ ถึ ง เดื อน กั นยายน 2557 โดยเปิด รับสมัครโรงงาน และคัดเลือกโรงงานอุตสาหกรรมยางพารา ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� ำ เชิ ง ลึ ก จั ด ท� ำ และ สร้างโมเดลจ�ำลองรูปแบบ 3 มิติ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่เป็น มิ ตรกั บสิ่ ง แวดล้ อม อบรม ประชุ มสั มมนา ทบทวนแผนผัง องค์กรและคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจ อุตสาหกรรม ยางพารา การจั ด ตั้ ง กลุ ่ ม เครื อ ข่ า ยและจั ด กิ จ กรรมการ เชื่ อมโยงกลุ ่ มอุ ตสาหกรรมยางและการเจรจาธุ ร กิ จ การค้า การลงทุน เป็นต้น โดยมี ตัวชี้วัด ผลของการด�ำเนินงาน ทั้ง การการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จากยางพาราตัวใหม่ออกสู่ตลาดไม่น้อยกว่า 2 ผลิตภัณฑ์


มีการจัดตั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอย่างเป็นรูปธรรม อย่างน้อย 2 กิจการ มีโมเดลจ�ำลองรูปแบบ 3 มิติ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในโรงงานยาง จ�ำนวนอย่างน้อย 1 โมเดล มีกิจกรรมพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม สามารถลดต้นทุนในกระบวนการที่ปรับปรุงไม่ น้อยกว่าร้อยละ 3 หรือ สามารถลดปริมาณของเสียลงไม่น้อย กว่าร้อยละ 5 รวมทั้งมีการรวมกลุ่มกลุ่มเครือข่ายอุตสาหกรรม ยางและไม้ยางพาราในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นายประสาทสุ ข นิ ย ามราษฎร์ รั ก ษาราชการแทน ผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 จังหวัดสงขลา กล่ า วว่ า อุ ต สาหกรรมยางพาราสร้ า งรายได้ เ ป็ น อั น ดั บ ต้ น ๆ ของประเทศ คิดเป็น 8.19 แสน เพื่อให้การพัฒนาอุตสาหกรรม ยางของไทยเป็ น ไปอย่ า งยั่ ง ยื น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ แข่งขันในตลาดโลก จ�ำเป็นต้องมีการส่งเสริมให้มีการใช้ยาง และผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศพร้อมทั้งเร่งรัดการผลิตทั้ง ที่ ใ ช้ เ องและเพื่ อ การส่ ง ออกให้ ม ากขึ้ น การต่ อ ยอดงานวิ จั ย พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง นั บ เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ต่ อ การขยายผล การใช้ ย างในเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ โ ดยเฉพาะเรื่ อ งของการพั ฒ นา วัตถุดิบและการเพิ่มมูลค่าสินค้า เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิต และการตลาด ซึ่งจะส่งผลให้การพัฒนาอุตสาหกรรมยางเกิด ขึ้ น ได้ จ ริ ง และต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ ก ารเพิ่ ม ปริ ม าณการใช้ ย างเพื่ อ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ โรงงานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างนั้ น นอกจากจะเป็ น การ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมยางแล้ว การมุ่งเน้นการส่ง ออกผลิตภัณฑ์ยางแทนการส่งออกยางแปรรูปขั้นต้นนั้น ยัง เป็ น การสร้ า งรายได้ส ่งออกให้กับประเทศ และประกอบกั บ ในปั จ จุ บั น นี้ มี ส ภาวการณ์ แ ข่ ง ขั น ในโลกธุ ร กิ จ สู ง ทวี ค วาม รุ น แรงเพิ่ ม มากขึ้ น และการเปิ ด เขตการค้ า เสรี ประชาคม

จากซ้าย รศ.อาซีซัน แกสมาน ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยยางและพัฒนา นวัตกรรมยางพารา ผ.ศ.ดร.อภิรดี แซ่ลิ่ม รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ และบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ รองอธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม นายประสาทสุข นิยามราษฎร์ รักษาราชการ แทนผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 11 จังหวัดสงขลา และ ผู้ประกอบการร่วมลงนามพัฒนายางพารา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

เศรษฐกิ จ อาเซี ย น ซึ่ ง จะมี ผ ลกระทบต่ อ ประเทศไทยทั้ ง ทาง สังคม เศรษฐกิจ การบริการ การค้า การเงิน และการลงทุนด้วย ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาคที่ 11 กรมส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานที่สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ยางในพื้ น ที่ 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ จึ ง ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมยางและไม้ยางพารา ประจ�ำปี 2557 โดยมีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการรวมกลุ ่ ม ของอุ ต สาหกรรมยาง เพื่ อ พั ฒ นา ประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ของภาคอุตสาหกรรมยางให้สูงขึ้น โดยจัดท�ำกิจกรรมปรึกษา แนะน� ำ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าง พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิ ต ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและการเชื่ อ มโยงกลุ ่ ม อุตสาหกรรมยาง (Network Meeting) ซึ่งเป็นแนวทางและ เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ของ อุตสาหกรรมยางพาราในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ สามารถเติบโตและรับมือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้ ง ในด้ า นการเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นในปี 2558 และสภาวะเศรษฐกิจโลกต่อไป เมษายน - พฤษภาคม 2557

7


การวิจัย

สกว.หนุ น ม.อ. พัฒนาพันธุ์ปาล์มน�้ำมันทนแล้ง-ผลผลิตสูง รศ.ดร.จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ

องศาสตราจารย์ ดร.จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ด้านการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และ รั ก ษาการผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยเกษตร พร้ อ มคณะ เดิ น ทางไปติ ด ตามความก้ า วหน้ า โครงการปาล์มน�้ำมัน พร้อมกับเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการชีวเคมีและเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ เอกสมทราเมษฐ์ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หัวหน้า โครงการ “การบริหารจัดการเชือ้ พันธุกรรมปาล์มน�ำ้ มัน เพือ่ การผลิตเมล็ดพันธุล์ กู ผสม เทเนอราเชิงพาณิชย์” น�ำเสนอรายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับข้อมูลด้านการผลิตและ การใช้ประโยชน์ปาล์มน�้ำมัน ทั้งเชิงการบริโภคครัวเรือนและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวม ถึงไบโอดีเซลซึ่งมีมูลค่าปีละกว่า 50,000 ล้านบาท และเป็นอาชีพของเกษตรกรมากกว่า 1 แสนครอบครัวทั่วประเทศ ซึ่งนักวิจัยได้ท�ำการคัดเลือก ผสมพันธุ์ และทดสอบศักยภาพ การตอบสนองของพันธุ์ลูกผสมเทเนอราพันธ์ุทรัพย์ ม.อ.1 ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ จากการทดสอบนักวิจัยได้ใช้จุดเด่นของพันธุ์ดูราที่ดีที่สุด ผสมกั บ พิ สิ เ ฟอรา แล้ ว ท� ำ การปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ์ จ นได้ พั น ธุ ์ ลู ก ผสม เทอเนอรา ซึ่ ง มี ลักษณะเด่ นคื อ กะลาบาง ทนแล้ ง ได้ ดี และให้ เปอร์ เ ซนต์ น�้ ำ มั น สู ง ขณะนี้ ไ ด้ เ ริ่ ม จ� ำ หน่ า ยต้ น กล้ า ที่ ผ ่ า นการ ทดสอบให้แก่เกษตรกรในราคาต้นละ 120 บาท โดยผลการทดสอบ ในแปลงเกษตรกรจะเริ่ ม ให้ ผ ลผลิ ต ในปี ที่ 3 ด้ ว ยอั ต ราเฉลี่ ย 2.123 ตั น /ไร่ / ปี ซึ่ ง สู ง กว่ า พั น ธุ ์ ก ารค้ า 8 สายพั น ธุ ์ ที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต

8

เมษายน - พฤษภาคม 2557


เฉลี่ย 1.926 ตัน/ไร่/ปี คาดว่าผลผลิตจะอยู่ที่ 4 ตัน/ไร่/ปี ที่อายุ 5 ปี ถึง 6 ตัน/ไร่/ปีเมื่ออายุ 8 ปี รวมทั้งยังได้มีการพัฒนาชุด ทดสอบสายพั น ธุ ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น อย่ า งง่ า ยที่ ส ามารถจ� ำ แนก สายพันธุ์ และยืนยันความสัมพันธ์ผลผลิตปริมาณน�้ำมันได้ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนา รองศาสตราจารย์ ดร.จั น ทร์ จ รั ส กล่ า วว่ า สกว. ต้องการสนับสนุนการวิจัยชุดนี้เนื่องจากมีความจ�ำเพาะบนฐาน ความรู้ ฐานพันธุกรรมปาล์มน�้ำมันเทเนอรา และความเข้มแข็ง ของวิชาการทั้ง 3 ด้าน คือ การปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์ และการใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอในการรับรองต้นพันธุ์ที่สามารถ ให้เปอร์เซ็นต์น�้ำมันสูง จากผลส�ำเร็จของงานวิจัยนี้สามารถ ยื่ น ขอจดทะเบี ย นต้ น พ่ อ แม่ พั น ธุ ์ ป าล์ ม น�้ ำ มั น เพื่ อ ผลิ ต พั น ธุ ์ ทรัพย์ม.อ 1 จากกรมวิชาการเกษตร จนได้หนังสือรับรองเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ปาล์มน�้ำมันเป็นพืชยืนต้นที่ใช้เวลานานถึง 4 ปี ก ว่ า จึ ง จะเริ่ ม ให้ ผ ลผลิ ต และใช้ เ วลาในการพั ฒ นาของ ทะลายอี ก 1 ปี รวมทั้ ง สิ้ น 5 ปี ซึ่ ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์มีต้นพันธุ์และแปลงที่เก็บข้อมูลต่อเนื่องมากว่า 20 ปี

มีกระบวนการคัดเลือกปรับปรุงพันธุ์และทดสอบพันธุ์ในสภาพ แวดล้อมการผลิต 4 แห่ง เพื่อให้เกษตรกรมั่นใจว่าเมล็ดพันธุ์ และต้ น กล้ า มี ผ ลผลิ ต สู ง สามารถปรั บ ตั ว ได้ ดี ใ นทุ ก สภาพ แวดล้ อ มโดยเฉพาะการทนแล้ ง ที่ มี ป ริ ม าณน�้ ำ ฝนน้ อ ยกว่ า 1,500 มิลลิเมตร/ปี อย่างไรก็ตามผู้ทรงคุณวุฒิท่ีร่วมรับฟังการน�ำเสนอผล งานในครั้งนี้ ได้แนะน�ำให้นักวิจัยน�ำพันธุ์ไปทดสอบในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มเติมด้วย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีสภาพ ภูมิอากาศแตกต่างและมีการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมันอย่าง ต่อเนื่อง อีกทั้งให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดตั้งหน่วย บริ ก ารเชิ ง พาณิ ช ย์ เ พื่ อ บริ ห ารงานการตลาดและดู แ ลงาน ส่ ว นนี้ โ ดยตรง หรื อ จั ด ตั้ ง คณะท� ำ งานความร่ ว มมื อ กั บ ภาค เอกชนให้มีการบริหารจัดการด้านการตลาดและก�ำหนดราคา ที่ ส มเหตุ ส มผล ขณะที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ก็ ใ ห้ บ ริ ก ารสั ง คมโดย ให้การสนับสนุนองค์ความรู้ด้านการผลิต การจัดการในแปลง และค� ำ แนะน� ำ การใช้ พั น ธุ ์ ที่ ถู ก ต้ อ งเหมาะสมแก่ เ กษตรกร อีกด้วย

ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

ฝ่ายวิจัยและบริการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โทรศัพท์ 074 -212849, 074 -286219 E- mail: wandee.su@psu.ac.th

เมษายน - พฤษภาคม 2557

9


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

“กลุ่มทอรักทอรุ้ง” ของนักศึกษาวิชาเอกจิตวิทยา ชั้นปีที่ 3 คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปั ต ตานี ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ สาขาการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข จากโครงการกระทิ ง แดง U Project ในผลงาน “โครงการ เพื่อนใจ Delivery” รับเงินรางวัลโครงการ 100,000 บาท และ เงิ น สมทบองค์ ก รการศึ ก ษาโครงการ 50,000 บาท พร้ อ ม ประกาศนียบัตร ถ้วยรางวัลประทาน จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ โครงการจะได้รับ ทุนสนับสนุนเพื่อลงพื้นที่ด�ำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติงานจน เสร็จสิ้นภายในเดือนพฤษภาคม 2557 จ�ำนวน 300,000 บาท

“เพื่อนใจ Delivery”

ของ น.ศ. ศึกษาศาสตร์

ชนะเลิศสาขาการแพทย์และสาธารณสุข จาก กระทิงแดง U Project ทั้งนี้ “โครงการกระทิงแดง U Project” เปิดโอกาสให้นิสิตนักศึกษา คิ ด โครงการสร้ า งสรรค์ ที่ มุ ่ ง เน้ น ให้ พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพของ ชุมชน ใน 4 สาขา คือ เกษตรกรรม การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข และนวัตกรรมเพื่อวิสาหกิจชุมชน โดยมีโครงการที่ส่งเข้ามาร่วมประกวด กว่า 156 โครงการ “กลุ่มทอรักทอรุ้ง” มีสมาชิกรวม 4 คน ได้แก่ นายฟุรกอน อาแวกาจิ นายอิ บ รอเฮ็ ม ตุ ส าตู นางสาวมารี แ ย ยะโก๊ ะ นางสาวนู ร มานี รี สุ ติ รั น ดร์ นั ก ศึ ก ษาวิ ช าเอกจิ ต วิ ท ยา ชั้ น ปี ที่ 3 คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ส่ง “โครงการเพื่อนใจ Delivery” เข้ า ประกวดจากประสบการณ์ ที่ เ คยรั บ รู ้ ถึ ง ความรุ น แรงที่ เกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น บ้ า นเกิ ด โดยเหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในพื้ น ที่ ไ ด้ เปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต และส่ ง ผลกระทบกั บ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นปอเนาะ หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ที่เปิดสอนความรู้เกี่ยวกับหลัก ศาสนาควบคู่กับการเรียนสามัญ ท�ำให้การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันในปัจจุบัน ของนักเรียนปอเนาะมีการเปลี่ยนแปลงไปมากเมื่อเทียบกับอดีตที่ผ่านมา รอยยิ้ม เสียงหัวเราะ ความสงบสุข ความรู้สึกปลอดภัยทั้งทางกาย และทางใจเป็นสิ่งที่นักเรียนปอเนาะถามหามานานเกือบสิบปี เพราะจาก สิ่งที่ได้โจษขานกันมาคือ โรงเรียนปอเนาะเป็นแหล่งบ่มเพาะกลุ่มแกนน�ำ ก่อความไม่สงบสุข ทั้งที่ความเป็นจริงก็ยังหาสาเหตุไม่ได้ และพ่อ แม่ พี่ น้อง ของนักเรียนเหล่านี้บางครอบครัวก็สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจาก เหตุ ก ารณ์ อ ยู ่ เ หมื อ นกั น ท� ำ ให้ เ กิ ด อาการทางจิ ต ใจ บางคนมี เ พี ย งเล็ ก น้อยหรือแค่ชั่วคราว แต่บางคนกลับมีปัญหาทางพฤติกรรม เช่น โกรธและ ก้าวร้าว มีความยุ่งยากทางอารมณ์ คือ แยกตัว หวาดกลัวเพิ่มขึ้นหรือ เกิดความล�ำบากในการท�ำหน้าที่ เช่นประสบความยุ่งยากในการเรียน

10

เมษายน - พฤษภาคม 2557

หนั ง สื อ มี ป ั ญ หากั บ เพื่ อ นๆ ไม่ ส ามารถใช้ ชี วิ ต ตาม ปกติได้ จากจิ ต วิ ญ ญาณความเป็ น เด็ ก ปอเนาะในตั ว ผู ้ จัดโครงการ จึงได้น�ำศาสตร์ความรู้ในเรื่องการให้การ ปรึกษาที่ก�ำลังศึกษาอยู่ซึ่งเป็นกลไกการสื่อสารอันอ่อน โยน มาใช้ในการแบ่งเบาภาระความกดดันทางจิตใจ โดยการร่วมแลกเปลี่ยนเรื่องราวต่างๆ โดยบูรณาการกับ ศาสนวิถีตามแบบอิสลาม เพื่อขัดเกลาจิตใจให้สงบสุข ภายใต้รูปแบบ Think Care Share Love โดยได้เลือก กลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม 5 โรงเรียน ในพื้นที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี คือโรงเรียน จงรักสัตย์วิทยา โรงเรียนศาสนูปถัมภ์ โรงเรียนสตรีพัฒน ศึกษา โรงเรียนดารุลบารอกะฮ และ โรงเรียนปูยุดประชา รักษ์ เพื่อส่งเสริมให้มีก�ำลังใจในการด�ำเนินชีวิตต่อไป


อบรม/สัมมนา

ครงการอบรมครูพี่เลี้ยง

ครงการ e-Learnin ากปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ใ นหลายปี ที่ ผ ่ า นมา ท� ำ ให้ ป ระชาชนใน พื้นที่ขาดโอกาสในด้านต่าง ๆ มากมาย รวมทั้งความ ไม่ ป ลอดภั ย ในชี วิ ต มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาส ในด้ า นการศึ ก ษาของนั ก เรี ย นในพื้ น ที่ จุ ด เสี่ ย ง ท� ำ ให้ ผลการสอบวั ด ผลของนั ก เรี ย นในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลายอยู ่ ใ นเกณฑ์ ต�่ ำ ส่ ง ผลโดยตรงให้ มี โ อกาส น้อยที่จะประสบความส�ำเร็จในการสอบแข่งขัน จากปัญหาดังกล่าว มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น โครงการ ต้นแบบศูนย์ทางไกลเพื่อการศึกษาและ พัฒนาในพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัดชายแดน ภาคใต้ (e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต้) โดยจั ด ให้ มี ก ารสอนเสริ ม และเตรี ย ม ความรู้วิชาพื้นฐานใน 6 รายวิชา ได้แก่ วิชาฟิสิกส์ วิชาเคมี วิชาชีววิทยา วิชา คณิ ต ศาสตร์ วิ ช าภาษาไทย และวิ ช าภาษาอั ง กฤษ ให้ แ ก่ นั ก เรี ย นในห้ า จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในปี 2557 ก�ำหนดจัดการเรียนการสอนทางไกล ระหว่ า งเดื อ นพฤษภาคม 2557 ถึ ง เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2558 เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนทางไกล

และเมื่อวันที่ 21-23 เมษายน 2557 ศู น ย ์ ส ่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู ้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดโครงการ อบรมครู พี่ เ ลี้ ย ง ช่ ว งที่ 1 ใน 3 รายวิ ช า ได้แก่ รายวิชาชีววิทยา รายวิชาฟิสิกส์ และ รายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ โดยผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยพั ฒ นาการเรี ยนการสอนให้ เ กี ยรติเ ป็น ประธานกล่าวเปิดงาน และผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายหลักสูตรและคุณภาพการศึกษาให้เกียรติ บรรยายในหัวข้อ “การเป็นครูพี่เลี้ยงที่ดี” ให้แก่ ครูพี่เลี้ยงจากโรงเรียนในห้าจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ และครอบคลุมไปถึงเทคนิคการสอน วิธีการ อธิ บ ายข้ อ ซั ก ถาม ตลอดจนการท� ำ หน้ า ที่ เป็นครูพี่เลี้ยงที่ดี และเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2557 จั ด อบรมเจ้ า หน้ า ที่ เ ทคนิ ค เพื่ อ เพิ่ ม ความรู้ทางด้านการใช้งานระบบการเรียนการ สอนทางไกล (Vidyo) ให้แก่เจ้าหน้าที่เทคนิค จากโรงเรี ย นในห้ า จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เมษายน - พฤษภาคม 2557

11


ภาพเป็นข่าว

คณบดีทันตะฯ มอบโล่เชิดชูเกียรติบุคคล

ผู้ท�ำคุณประโยชน์ให้กับคณะ แด่ Prof.Nabil Samman เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ ได้มอบโล่ เชิดชูเกียรติ ให้กับ Prof.Nabil Samman บุ ค คลผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ ค ณะทั น ต แพทยศาสตร์ เนื่องโอกาสครบรอบ 30 ปี แห่ ง การก่ อ ตั้ ง คณะฯ ซึ่ ง Prof.Nabil Samman เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิแก่คณาจารย์ ในทางด้าน การเรียนการสอนให้กับภาคศัลยศาสตร์

รุ่น “เติมเต็มประสบการณ์อัศวินน้อย” 7 วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต เปิดค่าย

ยพิบัติทางธรรมชาติ และภัยอันตรายรอบตัวเรา นั้นเป็นสิ่ง ใกล้ ตัว ควรรู้จัก และควรที่จะมีค วามรู้และแนวทางการ ป้องกันแก่เด็กและเยาวชน เป้าหมายคือท�ำให้เด็กไทยมี ความรู้ ว่าภัยอะไรบ้างและควรจะแก้ปัญหาในเบื่องต้นอย่างไร เมื่อเกิด สถานการณ์จริง วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ภูเก็ต จัดกิจกรรมระหว่างปิดภาคเรียน “ค่ายเติมเต็มประสบการณ์ อัศวินน้อย” รุ่นที่ 7 ระหว่างวันที่ 2-4 เมษายน 2557 ซึ่งมีน้องๆ เยาวชนต่างโรงเรียนเข้าร่วมท�ำกิจกรรมมากมาย โดยมีการสอด แทรกความรู้ ฝึกทักษะและเตรียมความพรอมในสถานการณ์ที่เกิด

12

เมษายน - พฤษภาคม 2557

ขึ้นจริง การปฏิบัติตนเมื่อประสบภัยต่างๆ เช่น ไฟไหม้ สึนามิ ฝึกการโรยตัวจากอาคารสูงนอกจากนี้แล้วน้องๆ เยาวชนได้ ฝ ึ ก การทํ า งานเป็ น ที ม การระดมความคิ ด การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และการแบ่งปัน มั น ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ พ วกเราทุ ก คนควรจะหั น มาให้ ความสนใจ และตระหนักถึงภัยธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้น และควรที่จะค�ำนึงถึงข้อมูลพื้นฐานที่จ�ำเป็นและจะสร้าง ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตัวเอง ลดการพึ่งพาคนอื่น ซึ่ง การช่วยเหลือตัวเองถือเป็นสิ่งส�ำคัญมากในยามวิกฤต เพราะจะช่วยลดความสูญเสียลงได้ ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ จึงจ�ำเป็นต้องมีไว้เป็นอาวุธป้องกันตัวเอง


ความร่วมมือ/ชุมชน/สังคม

จังหวัดสงขลา ประชุมเตรียมความพร้อมรับเป็นเจ้าภาพ จั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 45 ประจ� ำ ปี 2559 และการ แข่ ง ขั น กี ฬ าคนพิ ก ารแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 35 ประจ� ำ ปี 2560 ที่ ส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จากความส�ำเร็จของการจัดการแข่งขัน กี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทยครั้ ง ที่ 39 หรื อ สงขลา นครินทร์เกมส์ ที่ผ่านมา นายกฤษฎา บุ ญ ราช ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด สงขลา เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 ประจ�ำปี 2559 และการแข่ ง ขั น กี ฬ าคนพิ ก ารแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 35 ประจ�ำปี 2560 โดยมีนายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การ บริ ห ารจั ง หวั ด สงขลา และ รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มประชุ ม ซึ่ ง หลั ก เกณฑ์ ในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กการเสนอเข้ า เป็ น เจ้ า ภาพในการ จั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าแห่ ง ชาติ และกี ฬ าเยาวชนแห่ ง ชาติ นั้ น จั ง หวั ด ที่ เ สนอตั ว จะต้ อ งมี ค วามพร้ อ มด้ า นสนามที่ จ ะใช้ ในการแข่งขัน ที่พัก บุคลากร เพียงพอที่จะร่วมจัดการแข่งขัน ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี อ งค์ ก รทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน ที่สามารถรองรับและสนับสนุนการจัดการแข่งขันได้ ที่ส�ำคัญ ด้ า นความปลอดภั ย จากหลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วทางจั ง หวั ด สงขลามี ค วามพร้ อ มที่ จ ะสามารถเป็ น เจ้ า ภาพในการจั ด

การแข่งขันในครั้งนี้ได้ รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ย พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ยิ น ดี สนั บ สนุ น จั ง หวั ด สงขลาในการเป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 ประจ�ำปี 2559 และการแข่งขันกีฬา คนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 35 ประจ�ำปี 2560 ด้วยความพร้อม ของสนามกี ฬ ากลาง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ สระว่ า ยน�้ ำ ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ โดยจะเป็ น สนามแข่ ง ขั น กี ฬ า แห่ ง ชาติ ร่ ว มกั บ สนามกี ฬ าติ ณ สู ล านนท์ อ.เมื อ ง จ.สงขลา ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด สงขลา กล่ า วต่ อ ไปว่ า จากความ ส� ำ เร็ จ ที่ จั ง หวั ด สงขลาเป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า โดย เฉพาะกี ฬ ามหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทยครั้ ง ที่ 39 หรื อ สงขลานคริ น ทร์ เ กมส์ เมื่ อ วั น ที่ 1-8 พฤษภาคม พ.ศ.2555 นั บ เป็ น การเปิ ด บ้ า นต้ อ นรั บ ทั พ นั ก กี ฬ าจาก 125 สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั่ ว ประเทศ เป็ น ที่ ชื่ น ชมเป็ น อย่ า งดี เป็ น ผลมา จากความร่วมมือ และความพร้อมในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การเดินทาง ที่พัก สนามในการแข่งขันกีฬา สามารถรองรับได้ รวมถึงบุคลากรทางการกีฬาที่มีคุณภาพ จึงเป็นแรงผลักดัน ที่จะให้จังหวัดสงขลา เสนอเพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพในการจัด แข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 ประจ�ำปี 2559 ระหว่างวันที่ 19-29 พฤศจิกายน 2559 นี้

เมษายน - พฤษภาคม 2557

13


การศึกษา

ผลงานนักศึกษา และตลาดนัดสถานประกอบการ การประกวด

องศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในฐานะประธาน เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง (ระดับ B) เป็นประธานเปิด งานการประกวดผลงานนักศึกษาและตลาดนัดสถานประกอบ การ และร่วมลงนามความร่วมมือด้านสหกิจศึกษา ระหว่างเครือ ข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนล่าง กับ ชมรมการจัดการ งานบุ ค คลจั ง หวั ด สงขลา สาขาการบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เมื่อวันอังคารที่ 18 มีนาคม 2557 ที่ห้อง LRC1-2 ศูนย์ส่งเสริม และพัฒนาการเรียนรู้ ชั้น 8 อาคารส�ำนักทรัพยากรการเรียนรู้

การจัดงานดังกล่าว เพื่อสร้างความเข้มแข็งการด�ำเนิน งานสหกิ จ ศึ ก ษาในเขตภาคใต้ ต อนล่ า ง และเพื่ อ การใช้ ทรั พ ยากรร่ ว มกั น อย่ า งมี คุ ณ ค่ า มี คุ ณ ภาพและยั่ ง ยื น โดย ในงานมี ก ารบรรยายพิ เ ศษ “นโยบายของส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กับการส่งเสริมการจัดการ ศึกษาเชิงบูรณาการการเรียนรู้กับการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา” โดย คุณอรสา ภาววิมล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักประสานและส่ง เสริมกิจการอุดมศึกษา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พบปะ สอบถามต�ำแหน่งงานจากสถานประกอบการได้โดยตรง และ การคัดเลือกโครงงานนักศึกษาสหกิจศึกษาระดับเครือข่ายฯ ส�ำหรับน�ำเสนอในงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2557 การจั ด การศึ ก ษาระบบสหกิ จ ศึ ก ษา เป็ น รู ป แบบการ จัดการศึกษาหนึ่งที่สามารถช่วยให้บัณฑิตมีความพร้อมทั้งด้าน

14

เมษายน - พฤษภาคม 2557

วิชาการและการใช้ชีวิตในสังคม ท�ำให้บัณฑิตมีคุณลักษณะ และสมรรถนะที่ตรงกับความต้องการขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยปัจจุบันมีการขยายการจัดการไป ในระดั บ นานาชาติ จุ ด ส� ำ คั ญ ของการจั ด การศึ ก ษาแบบสห กิ จ ศึ ก ษา คื อ ความร่ ว มมื อ กั น เสริ ม ประสบการณ์ จ ริ ง ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา ระหว่ า งสถานศึ ก ษาและสถานประกอบการ ซึ่ ง สถานศึกษาในเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ที่มีการด�ำเนินงานด้านสหกิจศึกษาที่ผ่านมา ต่างได้รับความ ร่ ว มมื อ อย่ า งดี จ ากสถานประกอบการ ท� ำ ให้ ส ามารถผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ เ ป็ น ที่ ต ้ อ งการ ของสังคมได้อย่างต่อเนื่อง ส� ำ หรั บ เครื อ ข่ า ยอุ ด ม ศึกษาภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งมี เ ค รื อ ข ่ า ย พั ฒ น า ส ห กิ จ ศึ ก ษาภาคใต้ ต อนล่ า ง ประกอบด้วย 8 สถาบันการ ศึ ก ษา คื อ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยนราธิวาส ราชนคริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลศรี วิ ชั ย มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สงขลา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ ยะลา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ และมหาวิทยาลัยฟาฏอนี


รอบรั้วศรีตรัง

ผู้บริหาร ม.อ. เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าถวายปริญญากิตติมศักดิ์

แด่สมเด็จพระเทพฯ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี พระราชทานพระราชวโรกาส ให้คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าถวายปริญญาวิทยาศาสตร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ (ชี ว วิ ท ยา)เมื่ อ วั น ที่ 2 1 มี น า ค ม 2 5 5 7 ที่ อ า ค า ร ชั ย พั ฒ น า สวนจิตรลดา

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงเป็ น นั ก วิ ช าการที่ ใ ฝ่ พ ระทั ย กั บ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรงให้ความส�ำคัญกับการศึกษา วิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ อันเป็นจุดเริ่มต้นของ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่งเป็นธนาคารพืชพรรณส�ำหรับเก็บรักษาพันธุกรรมพืชที่ เป็นเมล็ดและเนื้อเยื่อ และเป็นแหล่งข้อมูลพันธุกรรมพืชเพื่อ สะดวกในการอ้างอิงค้นคว้า ในส่วนของพระมหากรุณาธิคุณ แก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปี 2539 ทรงมีพระราช ด�ำริให้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ร่วมกับพิพิธภัณฑ์พืช ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จัดถ่ายภาพตัวอย่าง พรรณไม้แห้งที่รวบรวมไว้ในพิพิธภัณฑ์มากกว่า 20,000 ตั ว อย่ า ง ต่ อ มาในปี 2545 ทรงมี พ ระราชานุ ญ าตให้ มหาวิ ท ยาลั ย ด� ำ เนิ น การโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช ในพื้นที่ปกปักเขาคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่ออนุรักษ์ป่าใกล้เมืองผืนสุดท้ายของอ�ำเภอหาดใหญ่ ศึกษา วิจัย และอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาให้ เกิดผลต่อชุมชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพ พระวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ที่มีต่อการคุ้มครองความหลาก หลายทางชีวภาพ

ปี 2549 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ น ้ อ มเกล้ า ฯ ถวายพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ซึ่งอยู่ในโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ และทรงพระราชทาน ชื่ อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ฯ แห่ ง นี้ ว ่ า “พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานธรรมชาติ วิ ท ยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี” โดยพระเกียรติคุณดังกล่าว สภามหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ใ นการประชุ ม ครั้ ง ที่ 349(5/2556) เมื่ อ วั น ที่ 22 มิถุนายน 2556 จึงได้มีมติให้ขอพระราชทานทูลเกล้าถวาย ปริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ (ชี ว วิ ท ยา) แด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เมษายน - พฤษภาคม 2557

15


ภาพเป็นข่าว

อธิการบดีเข้ารับรางวัลยอดเยี่ยม รางวัลโล่พระราชทาน ประเภท

สถาบันการศึกษาที่ส่งเสริมงานอาสาสมัครในสถาบันการศึกษา ศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้ารับ รางวั ล ยอดเยี่ ย ม รางวั ล โล่ พ ระราชทาน ประเภทสถาบั น การศึ ก ษา ที่ส่งเสริมงานอาสาสมัครในสถาบันการศึกษา จากการประกวดโครงการงาน มหกรรมจิตอาสาในสถาบันการศึกษา ปี 2 (2556) ระดับอุดมศึกษา (Education & Volunteer Expo 2013) จัดโดย สถาบันคลังสมองของชาติส�ำนักบัณฑิต อาสาสมั ค ร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ องค์ ก ารกระจายเสี ย งและแพร่ ภ าพ สาธารณะแห่งประเทศไทย (สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส) และ เครือข่ายจิตอาสา เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2557 ที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต ท่านอธิการบดี ผู้อ�ำนวยการกองกลาง และศิษย์เก่า ประกอบด้วย คุ ณ ประพั น ธ์ บุณยเกียรติ คุณสุฉันทนา กาญจนจงกล กรรมการศิ ษ ย์ เ ก่ า ฝ่ า ยส่ ง เสริ ม มวลชน สัมพันธ์ เข้าพบคุ ณ เอนก เพิ่ ม วงศ์ เ สนี ย ์ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ บมจ. อสมท. เพื่ อ ขอบคุ ณ ในความร่ ว มมื อ การให้ เ วลา ส�ำหรับการจัดงาน 45 ปี มหาวิทยาลัย และ ประสานความร่ ว มมื อ ด้ า นอื่ น ๆ เมื่ อ 11 มีนาคม 2557 ที่ อสมท.

ม.อ. ร่วมเป็นเจ้าภาพ

อธิการบดี และคณะกรรมการ 45 ปี ม.อ. เข้าพบคุณเอนก เพิ่มวงศ์เสนีย์ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บมจ. อสมท.

บ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพ สมเด็จพระสังฆราช

รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร ศิษย์เก่า และบุคลากร ร่วมพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวาย พระศพ สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก (สุวฑฺฒนมหาเถร เจริญ คชวัตร) ณ ต�ำหนักเพ็ชร วัดบวร นิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 สมเด็ จ พระญาณสั ง วร วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร ทรง ได้รับการสถาปนา เป็น สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก เมื่ อ วั น ที่ 21 เมษายน 2532 เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19

16

เมษายน - พฤษภาคม 2557

ทรงด�ำรงต�ำแหน่งยาวนานกว่าสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ใดๆ เป็นระยะเวลา 24 ปี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต 25 ปี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบวร นิเวศวิหาร 52 ปี ทรงอุปสมบท ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2476 ด้านการศึกษาทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งแรก ของไทย คือ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ริเริ่มให้มีส�ำนักฝึกอบรมพระธรรมทูต ที่จะไปปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ ทรงเป็นพระมหาเถระไทยรูปแรก ที่ได้ด�ำเนิน งานพระธรรมทูตในต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ทรงด�ำรงต�ำแหน่งหน้าที่ส�ำคัญ ทางการคณะสงฆ์ในด้านต่างๆ พระกรณียกิจเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา ประเทศชาติ และประชาชน เป็นอเนกประการ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกล มหาสังฆปริณายก สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2556 สิริพระชนมายุได้ 100 พรรษากับ 21 วัน


รายการ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์

รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล

39 ปี กับการถวายงานสนองพระราชด�ำริ ากเด็ ก ชาวอั ม พวา สมุ ท รสงคราม ที่ ครั้ ง หนึ่ ง เคยเพี ย งแต่ ยื น ถื อ ธงรั บ เสด็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ สมเด็ จ พระนาง เจ้ า พระบรมราชิ นี น าถ ริ ม แม่ น�้ ำ ที่ อั ม พวาบ้ า นเกิ ด แต่ ไ ม่ ไ ด้ เ ห็ น พระองค์ ท ่ า น และอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ที่ ต ้ อ ง ปีนต้นสาเกเพื่อให้ ได้เ ห็นพระองค์ท่านแม้ ในระยะไกล ครั้งเสด็จวัดอัมพวันเจติยาราม รศ.ดร.สั ณ ห์ ชั ย กลิ่ น พิ กุ ล ไม่ เ คยคาดคิ ด ว่ า เพี ย ง 2 ปี ห ลั ง เข้ า รั บ ราชการ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้มีโอกาสท�ำงานใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทตั้งแต่ ครั้งนั้นจนบัดนี้ ตลอดมาเป็นเวลา 39 ปีแล้ว วันที่ 9 กันยายน 2518 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ นิคมควนกาหลง จังหวัดสตูล เพื่อทอดพระเนตรโรงงานสกัดน�้ำมัน ปาล์มขนาดเล็ก และ สวนปาล์มที่ทางนิคมได้ปลูกไว้ตั้งแต่ ปี 2511 โดย อาจารย์สัณห์ชัย กลิ่ น พิ กุ ล ได้ เ ป็ น หนึ่ ง ในคณาจารย์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ไ ด้ เ ข้ า ไปประกอบและติ ด ตั้ ง เครื่ อ งหี บ น�้ ำ มั น ปาล์ ม แบบไฮดรอลิ ก ที่ นิ ค มควนกาหลงที่ สั่ ง ซื้ อ มาจากประเทศ เนเธอร์แลนด์ และได้เฝ้ารับเสด็จด้วย รับสั่งถามว่า “มาจากไหน” กราบบังคมทูลว่า “เป็นอาจารย์จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์พะยะค่ะ” ทรงถามต่อว่า “แล้วมาท�ำอะไรอยู่ที่ควนกาหลง” กราบบังคมทูลว่า “เขาให้มาตั้งเครื่องจักรสกัดน�้ำมันปาล์ม” รับสั่งถามว่า “เครื่องนี้เราสร้างเองในประเทศได้ไหม” กราบบังคมทูลว่า “สร้างได้พะยะค่ะ” รับสั่งต่อว่า “งั้นฉันให้เป็นการบ้านเลยนะ ปีหน้าจะตามมาดู” นั่นเป็นครั้งแรกที่ได้มีพระราชด�ำรัสให้มหาวิทยาลัยวิจัยเครื่องจักรหีบน�้ำมันปาล์ม ขนาดเล็ก และปีต่อมาได้เสด็จมาติดตามงานที่ทรงรับสั่งเอาไว้ เครื่องจักรผลิตน�้ำมันปาล์ม ที่สร้างใหม่เครื่องนี้ใช้วิธีการทอดผลปาล์มแทนการนึ่งเพื่อให้ได้น�้ำมัน ซึ่งมีข้อดีคือไม่มี น�้ำเสียในกระบวนการผลิต ท�ำให้ทรงพอพระทัยอย่างยิ่ง ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของการเข้า ร่ ว มถวายงานโครงการในพระราชด� ำ ริ ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ด� ำ เนิ น การสื บ เนื่ อ งมาอี ก หลายโครงการจนปัจจุบัน เช่นเดียวกับความรู้สึกของนักวิจัยที่ได้มีโอกาส ท�ำงานสนองพระราชด�ำริ รศ.ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล มีความภูมิใจ ประทับใจในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ 39 ปี ในชีวิตการท�ำงานได้มีโอกาสเข้าเฝ้าถวายงานใกล้ชิด เบื้ อ งพระยุ ค ลบาทมาโดยตลอด แม้ จ ะเกษี ย ณอายุ ราชการแล้ว แต่ยังได้รับการแต่งตั้งจากมูลนิธิชัยพัฒนา ให้เป็นผู้ตรวจการภาคใต้ และผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน ทดแทน และยังเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อีกด้วย

“หากโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด� ำ ริ คื อ การบ้ า นที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงไว้ ว างพระราชหฤทั ย และมอบหมายให้ท�ำ ตั้งแต่ปี 2518 เป็นต้นมา ผมได้ ท� ำ การบ้ า นดั ง กล่ า วประมาณ 12 ชุ ด แล้ ว และทุ ก โครงการล้ ว นเพื่ อ ราษฎร ผู้ด้อยโอกาสทั้งสิ้น ความสุขของพระองค์ ท่ า นคื อ การที่ ร าษฎรมี ค วามเป็ น อยู ่ แ ละ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ” รองศาสตราจารย์ ดร.สัณห์ชัย กลิ่นพิกุล กล่าว

เมษายน - พฤษภาคม 2557

17


รายการ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์

รายการ 45 ปี ม.อ. หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด งาน 45 ปี หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทางสถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ทีวี เมื่อวันศุกร์ที่ 30 พฤษภาคม 2557 เวลา 22.3024.00 น. ด�ำเนินการจัดกิจกรรมและรูปแบบรายการโดย บริษัท ที วี บู ร พา โดยเป็ น การจั ด รายการครบรอบการสถาปนา ที่ ต ่ า งจากรู ป แบบเดิ ม ที่ เ คยมุ ่ ง การน� ำ เสนอแต่ เ รื่ อ งพั ฒ นา การของมหาวิทยาลัยและการแสดงเป็นหลัก “45 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์” เป็นรายการ ที่ ยึ ด เรื่ อ งราว ปั ญ หา วั ฒ นธรรมของชุ ม ชนในพื้ น ที่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย เข้าไปมีส่วนร่วม ผ่านผลงานที่เกี่ยวกับภาคใต้ของบุคลากร นักวิชาการ ศิษย์เก่า โดยเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม สิ่งแวดล้อม การแพทย์และสาธารณสุข มีการแสดง ศิลปะวัฒนธรรมพื้นถิ่น ดนตรี คอรัส เพลงประจ�ำมหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ การประชาสั มพั น ธ์ ความส� ำเร็ จของภารกิ จของมหาวิ ทยาลั ยต่ อภาคใต้ และ การรับบริจาคเพื่อระดมทุนสนับสนุนกองทุนของมหาวิทยาลัยด้านต่างๆ

18

เมษายน - พฤษภาคม 2557


รูปแบบการน�ำเสนอ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน คือ 1.เขตรั้ ว สี บ ลู 2.เชิ ด ชู ป ณิ ธ าน 3. เอกงานวิ จั ย 4.วิ ช ชาลั ย แห่ ง ธรรมราชา 5.ศรั ท ธาแห่ ง ความดี ศรี ต รั ง สะพรั่ ง บาน โดยสลั บ กั บ การแสดงพื้ น บ้ า น ดนตรี คอรัส เพลงประจ�ำมหาวิทยาลัย และการรับบริจาค เนื้อหาการน�ำเสนอในแต่ละตอน 1. เขตรั้วสีบลู ว่ า ด้ ว ยการก่ อ ก� ำ เนิ ด มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ตั้ ง แต่ ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม จนกระทั่งขยายบทบาทเป็นศูนย์ความรู้ทางวิชาการถึง 5 วิทยาเขตได้แก่ ปัตตานี หาดใหญ่ ภูเก็ต สุราษฏร์ธานี และตรัง 2. เชิดชูปณิธาน น�ำเสนอโดยใช้การน�ำเสนอเรื่องราว และการเล่าเรื่องผ่านลูกพระบิดาที่ยังคง ยึดมั่นในพระปณิธานในการท�ำงานเพื่อผู้อ่ืน โดยปฏิบัติงานด้านการศึกษา สาธารณสุข สิทธิมนุษยชน การปกครอง อยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ มีการ สนทนากับแขกรับเชิญและนักวิชาการ พูดถึงลักษณะพิเศษในการท�ำงาน การเปิดสาขาที่เป็นความต้องการของพื้นที่ เช่น กฎหมายอิสลาม และคณะ พยาบาลศาสตร์ 3. เอกงานวิจัย ว่าด้วยความพยายามของมหาวิทยาลัยที่จะยกระดับคุณภาพในการพัฒนา สู่ความเป็นเลิศ และเป็นที่พึ่งของท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นงานวิจัยและนวัตกรรม รูปแบบเป็นนิทรรศการงานวิจัยและนวัตกรรมโดยให้นักวิจัยน�ำเสนอ บอกเล่า เรื่องราว ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม ที่โดดเด่น 4. วิชชาลัยแห่งธรรมราชา ว่ า ด้ ว ยการมี โ อกาสได้ ถ วายงานในโครงการพระราชด� ำ ริ บทบาทของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กับโครงการในพระราชด�ำริและมูลนิธิชัยพัฒนา 5. ศรัทธาแห่งความดี ศรีตรังสะพรั่งบาน พูดถึงศิษย์เก่าที่สร้างคุณูปการให้แก่ประเทศไทยในภูมิภาคต่างๆ เป็นการ สัมภาษณ์ศิษย์เก่าที่ท�ำงานอยู่ทั่วประเทศไทย บอกเล่าเนื้อหา ความหลัง สิ่งที่ ม.อ.ได้ให้กับตนเอง

เมษายน - พฤษภาคม 2557

19


รายการ 45 ปี ม.อ. 45 ปี เพื่อเพื่อนมนุษย์

45 ปี ม.อ. กับ การสนองโครงการในพระราชด�ำริ หาวิ ท ยาลัยสงขลานครินทร์ เข้า มามีส่ว นในการรับ สนองพระราชด�ำริในโครงการเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ ของราษฎรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในท้องถิ่นภาคใต้ ตั้งแต่ปี 2518 ครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯทอดพระเนตรโรงงาน สกั ด น�้ ำ มั น ปาล์ ม ขนาดเล็กและสวนปาล์มที่นิคมสร้างตนเอง ควนกาหลง จังหวัดสตูล โดยหลังจากนั้น 1 ปี ได้รับสนองพระ ราชด�ำริโดยการสร้างเครื่องจักรสกัดน�้ำมันปาล์มขนาดเล็ก ที่สกัดน�้ำมันโดยการทอดผลแทนการนึ่งที่ไม่ต้องปล่อยน�้ำเสีย ให้ เ ป็ น พิ ษ กั บ สภาพแวดล้ อ ม ซึ่ ง ปั จ จุ บั น นี้ อ งค์ ก ารบริ ห าร ส่วนต�ำบลอุไดเจริญ ร่วมกับควนกาหลง ยังคงไว้ซึ่งจ�ำลอง แบบโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์ม และยังคงมีต้นปาล์มในสมัยที่เสด็จ มาในครั้งปี 2518 อีกด้วย เมื่อปาล์มน�้ำมันกลายมาเป็นพืชเศรษฐกิจของภาคใต้ ท�ำให้เกษตรกรเริ่มทิ้งนาข้าว หันมาปลูกปาล์มแทน ในปี 2530 ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ กรมชลประทาน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และกระทรวงมหาดไทย จัดท�ำโครงการปลูกข้าวเพื่อบริโภค ในสหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ โดยให้ยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพี ย งเนื่ อ งจากคนกระบี่ ส ่ ว นใหญ่ ป ลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น เพี ย ง อย่ า งเดี ย ว ไม่ ป ลู ก ข้ า วเพื่ อ บริ โ ภค หากนาข้ า วในภาคอื่ น มี ปัญหาอาจจะท�ำให้คนกระบี่ไม่มีข้าวบริโภค ซึ่งต่อมาได้รับ โรงสีพระราชทานและได้มีการปลูกข้าวอยู่ต่อเนื่อง ปี 2543 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ ริ่ ม โครงการ น�้ ำ มั น ปาล์ ม ผลิ ต เป็ น ไบโอดี เ ซล โดยใช้ วั ต ถุ ดิ บ เป็ น น�้ ำ มั น ทอดใช้แล้วและเอทานอลต่อมาได้วิจัยและพัฒนาโรงงานน�้ำ มันไบโอดีเซล ที่เป็นระบบต่อเนื่อง สามารถขยายก�ำลังผลิต ไปถึง 200,000 ตัน ต่อวัน แต่เนื่องจากท�ำเป็นงานวิจัยท�ำได้ เพียงชั่วโมงละ 60 ลิตรหรือ 1,200 ลิตร ต่อวัน จากงานวิจัย ดังกล่าวท�ำให้มหาวิทยาลัยสามารถผลิตเอทานอลจากอ้อย มันส�ำปะหลัง และกากต่าง ๆ ท�ำให้ประเทศไทยสามารถจะผลิต ไบโอดีเซลเป็นพลังงานทดแทนโดยพึ่งพาวัตถุดิบในประเทศ

20

เมษายน - พฤษภาคม 2557


ต่อมาในปี 2546 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้าร่วม โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี โดย มหาวิทยาลัยได้น้อมเกล้าถวายพื้นที่ป่าเขาคอหงส์ มีลักษณะ เป็ น ป่ า ดั้ ง เดิ ม และมี ก ารปลู ก ยางพารา พื้ น ที่ อ ยู ่ ด ้ า นหลั ง มหาวิทยาลัยทางทิศตะวันออกเป็นพื้นที่ปกปักษ์พันธุกรรมพืช โดยมหาวิทยาลัย ร่วมกับเทศบาลคอหงส์ เทศบาลหาดใหญ่ ค่ายเสนาณรงค์ ช่วยกันอนุรักษ์ป่าคอหงส์ ให้อุดมสมบูรณ์ ไม่ ถู ก บุ ก รุ ก ท� ำ ลาย และยั ง มี ก ารส่ ง เสริ ม เยาวชนเกี่ ย วกั บ กิจกรรมเขาคอหงส์ ปลูกจิตส�ำนึกรักพื้นป่าคอหงส์ เส้นทาง เดินธรรมชาติของเขาคอหงส์ อีกด้วย โครงการพัฒนาความเป็นอยู่ของเกาะบุโหลนเกาะเล็ก ๆ อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา จังหวัดสตูล เป็นอีก หนึ่งโครงการที่มูลนิธิชัยพัฒนา ได้มอบให้ทางมหาวิทยาลัย เข้าพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร ทั้งด้านสาธารณสุขโดยรับ ผู้ป่วยเรื้อรัง เป็นคนไข้ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ การเข้าแก้ปัญหา การขาดแคลนน�้ำอุปโภคบริโภคมาก และปัญหาในเรื่องของ ขยะมูลฝอย การประมง การอนุรักษ์วัฒนธรรมดั้งเดิม การท�ำ ปทานุ ก รมเปรี ย บเทีย บภาษาอูรัก ลาโว้ย การเลี้ย งสั ตว์ การ แปรรูปผลิตภัณฑ์ การศึกษา สุขภาพอนามัย ซึ่งเกือบทุกคณะ ของมหาวิทยาลัยได้ร่วมกันเข้าไปพัฒนาในทุกด้านดังกล่าว มหาวิทยาลัยยังได้รับการสนับสนุนจากบริษัท TOT ติดตั้งระบบ เครือข่ายไร้สายเมื่อปีที่แล้ว เพื่อการศึกษาทางไกล ในหลักสูตร ของโรงเรียนมัธยมสาธิต วิทยาเขตปัตตานี มีโครงการ “หมอน้อย”

ที่เป็นการอบรมเยาวชนด้านการรักษาพยาบาล เพื่อให้ท�ำการ รักษาเบื้องต้นได้ เช่น สามารถท�ำแผล ท�ำคลอด เย็บแผล และ สามารถสื่ อ สารกั บ แพทย์ โ รงพยาบาลละงู ในช่ ว งฤดู ม รสุ ม โดยใช้ระบบสื่อสารทางไกล

นั่นคือ ส่วนหนึ่งที่เป็นส่วนหลักที่มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้เข้าไปมีส่วนสนองพระราชด�ำริ ตลอดเวลา 45 ปี ของการก่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ในการน� ำ ศั ก ยภาพทางวิ ช าการเข้ า ไปพั ฒ นา เพื่อ ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของราษฎร อันเป็นพระราช ประสงค์ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

เมษายน - พฤษภาคม 2557

21


ความร่วมมือ/ชุมชน/สังคม

นักวิจัย มหาวิ ท ยาลั ย จับมือ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลหาดใหญ่ จัดกิจกรรมวัน

“Earth Hour”

นั ก วิ จั ย 2 มหาวิ ท ยาลั ย จั บ มื อ ห้ า งสรรพ สินค้าเซ็นทรัลหาดใหญ่ (ถนนเสน่หานุสรณ์) จัดกิจกรรมรณรงค์กระตุ้นกระแสอนุรักษ์พลังงาน วัน “Earth Hour” พร้อมโชว์นวัตกรรมชวนประชาชน นัก ท่องเที่ยวย�่ำพื้นอัจฉริยะ “Smart Floor” ส่งพลังงาน เปิดป้ายไฟ “Earth Hour Thailand” รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า วัน Earth Hour ถือก�ำเนิด ในปีพุทธศักราช 2550 และจัดต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลา 7 ปี โดย จัดขึ้นครั้งแรก ณ นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย มีวัตถุประสงค์ หลัก คือ ต้อ งการกระตุ้นให้ม วลมนุษยชาติ ตระหนักถึงปัญหา เรื่องภาวะโลกร้อน ลักษณะกิจกรรม จะเป็นการปิดดวงไฟ ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าโดยพร้อมเพรียงกันเป็นเวลา 1 ชั่วโมง ซึ่งนับจาก การรณรงค์ เ พื่ อ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในครั้ ง นั้ น ได้ ก ระตุ ้ น และสร้ า ง กระแสการอนุรักษ์พลังงานให้คนในประเทศต่างๆ จาก 370 เมือง ใน 37 ประเทศในปี พุ ท ธศั ก ราช 2551 และมากขึ้ น ตามล� ำ ดั บ จนแทบทั่วโลกในปีต่อๆ มา ในส่วนของประเทศไทยได้เข้าร่วม กิจกรรมนี้ครั้งแรกในปีพุทธศักราช 2551 โดยความร่วมมือภาครัฐ และเอกชนกว่า 40 องค์กรในกรุงเทพมหานคร เข้าร่วมกิจกรรม และขยายไปในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศในเวลาต่อมา รศ.ดร.วิไลวรรณ กล่าวต่ออีกว่า ในปี 2557 นี้ วัน Earth Hour ได้ถูกก�ำหนดขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม 2557 ในเวลา 20.30-21.30 นาฬิ ก า ตามเวลาท้ อ งถิ่น ของประเทศต่า งๆ ในส่ว นของอ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยเฉพาะบริเวณจัดงานซึ่งได้รับความ อนุเคราะห์จากห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาหาดใหญ่นั้น นอกจาก จะมีการปิดดวงไฟในบริเวณที่ไม่จ�ำเป็น และถอดปลั๊กเครื่องใช้ ไฟฟ้าบางชิ้นโดยพร้อมเพรียงกันในชั่วโมงดังกล่าว ยังมีกิจกรรม

22

เมษายน - พฤษภาคม 2557

พิเศษอันเป็นความร่วมมือของนักวิจัยและนักศึกษาจาก 2 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา น�ำโดย ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.สุดเขตต์ พจน์ประไพ ซึ่งเดินทางมาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ และ รองศาสตราจารย์ ดร.นันทกาญจน์ มุรศิต จากสถาบันวิจัยความ เป็นเลิศนาโนเทคโนโลยีเพื่อการพลังงาน แห่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จับมือกันจัดกิจกรรมสาธิตการผลิตพลังงานไฟฟ้า ด้วยต้นแบบ Smart Floor หรือพื้นอิจฉริยะ ซึ่งเปิดตัวเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ณ เมืองหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ในค�่ ำ คื น นี้ พื้ น อั จ ฉริ ย ะถื อ เป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ ที่ แ สดงถึ ง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการสร้างพลังงานไฟฟ้า พื้นอัจฉริยะท�ำงานโดยอาศัยแรงสั่นสะเทือนจากการเดินย�่ำไปบนพื้น ซึ่งจะ มีผลต่อวัสดุภายในพื้นและก่อให้เกิดพลังงานไฟฟ้า โดยนักวิจัย นักศึกษา ประชาชน และนักท่องเที่ยว ได้ร่วมกันย�่ำพื้น Smart Floor เพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้า จนกระทั่งไฟป้าย “Earth Hour Thailand” ติดสว่างหมดทุกตัวอักษร นับเป็นกิจกรรมที่มอบสาระประโยชน์ด้านการผลิตพลังงานทางเลือกที่สะอาด ปลอดภัย สามารถน�ำมาเป็นพลังงานทางเลือกอีกรูปแบบหนึ่งในสังคมไทย พร้อมรณรงค์ให้คนไทยหันมาสนใจเรื่องการประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้นด้วย


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์

หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทย์ ม.อ.

รับโล่รางวัลผลงานดีเด่นงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุ ม โรค กระทรวง สาธารณสุข คัดเลือกศาสตราจารย์ นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รั บ โล่ ประกาศเกี ย รติ คุ ณ ในฐานะบุ ค คลที่ สนับสนุนงานป้องกันควบคุมโรค ในการประชุมวิชาการ ป้องกันควบคุมโรคแห่งชาติ ประจ�ำปี 2557 โดยพระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ จะเสด็จไปทรงเปิดงานฯ และประทานโล่รางวัลแก่บุคคล และหน่ ว ยงานที่ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น งาน ป้องกันควบคุมโรค ความยากจน เช่น บาดทะยักเด็กแรกคลอด ท้องร่วง ปอดบวม หนอนพยาธิผ่านดินและปัญหาทุพโภชนาการ การวิจัยทางระบาด วิทยาของวัณโรค ปัญหาปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม เช่น สารหนูจากการ ท�ำเหมืองและตะกั่วจากอู่ซ่อมเรือ ปัญหาสุขภาพการเจริญพันธุ์ ของประเทศต่างๆ เช่น ไทย เวียดนาม เนปาล พม่า มองโกเลีย โดย มีงานวิจัยที่ได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติจ�ำนวนมาก

ศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ เป็นผู้อุทิศตนอย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 25 ปี ในการจัดระบบด้านงานวิจัยทาง ระบาดวิทยาโดยเฉพาะงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคใน ภาคใต้ เป็นแบบอย่างของนักวิจัยรุ่นใหม่ที่เรียนรู้อยู่ตลอด เวลา มีผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นที่ยอมรับจากหน่วย งานสากลในระดับนานาชาติ และสถาบันการศึกษาในต่าง ประเทศโดยท�ำวิจัยอย่างต่อเนื่องยาวนาน ในการติดตาม สภาวะปัญหาสุขภาพต่างๆ ของภาคใต้ โดยเฉพาะโรคจาก

ศ.นพ.วี ร ะศั ก ดิ์ จงสู ่ วิ วั ฒ น์ ว งศ์ เป็ น ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง หน่ ว ยระบาดวิ ท ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นผู้อ�ำนวยการ สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาสุ ข ภาพภาคใต้ (วพส.) มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ แ ละได้ รั บ การ คัดเลือกเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจ�ำปี 2552 สาขาวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ จากส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

เมษายน - พฤษภาคม 2557

23


อบรม/สัมมนา

ศ.ดร.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดอบรมการเขียนรายงานวิจัยและบทความทางวิชาการประเภท ต่ า งๆ เป็ น ช่ อ งทางผลั ก ดั น ผลงานไปสู ่ ร ะดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ โดยมี ผศ.สมปอง ทองผ่ อ ง รองอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นประธานในพิธีเปิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557 โดยมี ศ.ดร.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ เป็นวิทยากรบรรยาย เรื่องเทคนิค การเขียนบทความวิจัย เพื่อการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติ

คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.วิทยาเขตปัตตานี จัดโครงการ

พัฒนาอาจารย์มุ่งน�ำเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ ผศ.พัชรียา ไชยลังกา คณบดีคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปัตตานี กล่าวว่า เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความ เข้าใจในการเขียนรายงานวิจัยและบทความทาง วิชาการประเภทต่างๆ สามารถน�ำมาเขียนและน�ำ เสนอในรูปของบทความได้อย่างครบถ้วนเหมาะสม และถู ก ต้ อ ง และให้ ผู ้ เ ข้ า อบรมได้ ท ราบแหล่ ง เผยแพร่ผลงานวิชาการและแนวทางการส่งผลงาน วิชาการเพื่อตีพิมพ์ในระดับชาติและนานาชาติ เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ใน การเขียนรายงานวิจัยและบทความทางวิชาการ ซึ่ง การเขี ย นรายงานวิ จั ย และบทความทางวิ ช าการ เพื่ อ การตี พิ ม พ์ จั ด เป็ น ขั้ น ตอนที่ ส� ำ คั ญ ของการ ด�ำเนินโครงการวิจัย เนื่องจากเรื่องราวที่น�ำมาเขียน เป็นรายงานหรือบทความต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือ องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมข้อมูลด้วย วิธี การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีลักษณะเป็น วิ ท ยาศาสตร์ มี ก ารประมวลความคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบระเบียบ มีการถ่ายทอดความคิดเป็นภาษา เขียนที่ชัดเจนสละสลวยสามารถสื่อความรู้ความ เข้าใจกับผู้อ่านได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียน รายงานหรือบทความนั้นๆ” การฝึกอบรมเทคนิค การเขี ย นรายงานวิ จั ย และบทความทางวิ ช าการ เพื่อการตีพิมพ์ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากส�ำหรับ นั ก วิ จั ย และนั ก วิ ช าการทั่ ว ไปเพื่ อ ให้ ส ามารถ เขียนและน�ำเสนอผลงานศึกษาค้นคว้าวิจัย ของ ตนเองได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี โ อกาสเผย แพร่ ผ ลงานให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของหน่ ว ยงานและ สาธารณชนอย่างกว้างขวางต่อไป คณะพยาบาล ศาสตร์จึงได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการพัฒนา

24

เมษายน - พฤษภาคม 2557

ศั ก ยภาพอาจารย์ ด ้ า นการวิ จั ย และการเขี ย นบทความทางวิ ช าการ ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ขึ้นเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557 ซึ่งเป็น ขั้ น ตอนที่ ส� ำ คั ญ ในการ ท� ำ โครงการวิ จั ย เพราะเป็ น กระบวนการใน การน�ำผลการวิจัยมาเขียนรายงานอย่างเป็นระบบโดยอาศัยเทคนิค ในการเขียนที่ถูกต้อง เพื่อให้ได้รายงานการวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถ น�ำไปเผยแพร่และตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและระดับนานาชาติ


การศึกษา

คณะวิทยาการสื่อสาร ผลิตนักนิเทศศาสตร์ แนวใหม่

เน้นสื่อภาคประชาสังคม

ณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปั ต ตานี ร่ ว มกั บ สื่ อ ภาคประชาสั ง คมชายแดนใต้ จั ด งาน มหกรรมสื่อเพื่อสันติภาพชายแดนใต้หวังผลักดันนโยบายผลิตบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ สู่สื่อภาคประชาสังคม ผศ.ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยมุมมองความคิดเกี่ยวกับการจัดงานมหกรรมสื่อเพื่อสันติภาพ ชายแดนใต้ ซึ่งจัดระหว่างวันที่ 27-28กุมภาพันธ์ 2557 ณ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีสื่อสารมวลชน และผู้สนใจกว่า 500 คน จาก 40 องค์กร เข้าร่วมงาน ว่า“มองเห็นสถานการณ์การสื่อสารที่เป็นการสื่อกระแสหลัก เช่นสื่อมวลชนที่อยู่ใน กทม. สื่อมวลชนส่วนกลาง มีข้อจ�ำกัดและมีอุปสรรคหลายอย่าง ต่อกระบวนการสร้างสันติภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฉะนั้นจึงเป็นทิศทางใหม่ที่ทางเครือข่ายภาค ประชาสังคมในพื้นที่จะพยายามผลักดันให้องค์กรที่เป็นภาคประชาสังคม หรือองค์กรประชาชน มีบทบาทและมีศักยภาพทางการสื่อสารมากขึ้น ท�ำให้คนกลุ่มนี้สามารถสื่อสารเรื่องราวของ ตนเอง สามารถที่จะส่งเสียงความต้องการของตัวเองไปยังกลุ่มคนและสาธารณชนทั่วไปได้มาก ขึ้น เพราะที่ผ่านมาปัญหาการน�ำเสนอข่าวจังหวัดชายแดนภาคใต้ของสื่อกระแสหลักยังมีปัญหา เรื่องของความสมดุลของข้อมูลข่าวสาร มีปัญหาเรื่องของข้อมูลที่ไม่รอบด้าน อาจจะไม่ได้มี เสียงของคนในท้องถิ่นมากนัก ดังนั้นทิศทางของการพัฒนาสื่อที่เป็นสื่อทางเลือกหรือสื่อภาค ประชาคมจะเป็นทิศทางของสื่อในอนาคต นั่นคือศักยภาพของคนในพื้นที่ที่จะสื่อสารได้เป็นสิ่ง ที่จ�ำเป็น ซึ่งจะเชื่อมโยงกับภารกิจการผลิตบัณฑิตของคณะวิทยาการสื่อสาร ประกอบกับความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ดิจิตอล ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสื่อสารที่เกิดทีวีดิจิตอลขึ้น เกิด วิทยุดิจิตอลขึ้น ท�ำให้ขยายตลาดแรงงานลงมาสู่ภาคส่วนต่างๆในภูมิภาคมากขึ้น ซึ่งตรงนี้จะ เป็นตลาดแรงงานใหม่ที่เราจะต้องเปิดโอกาสให้บัณฑิตสาขานิเทศศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เข้าสู่การเป็นสื่อภาคประชาสังคม ซึ่งผู้ปฏิบัติหน้าที่สื่อภาคประชาสังคมควรจะมี คุณสมบัติ เป็นผู้ประกอบการที่สามารถท�ำทุกอย่างได้เบ็ดเสร็จภายในตัวเอง เป็นผู้บริหารองค์กร ได้ เป็นผู้ผลิตสื่อได้ เป็นผู้น�ำเสนอเนื้อหาเรื่องราวได้ นี่คือทิศทางของนักนิเทศศาสตร์ในอนาคต” “สื่อต่อไปที่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ ไม่จ�ำเป็นต้องสื่อกระแสหลัก ซึ่ ง สื่ อ ภาคประชาสั ง คม เป็ น สื่ อ ตั ว เลื อ ก ถ้ า เนื้ อ หาดี ก็ ส ามารถเลี้ ย ง ตัวเองได้ นับว่าการจัดงานมหกรรมสื่อเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ ที่เกิด ขึ้ น ในวั น นี้ กั บ ภารกิ จ ของคณะวิ ท ยาการสื่ อ สาร ในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต มีความสอดคล้องกัน จึงคิดว่าจ�ำเป็นที่เราจะต้องร่วมมือกับภาคประชา สังคม เพื่อท�ำให้พันธกิจของคณะวิทยาการสื่อสาร สามารถพัฒนาไป ได้ ในอนาคตและเป็นไปอย่างที่ตั้งเป้าไว้” คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าว

เมษายน - พฤษภาคม 2557

25


แนะน�ำบุคคล/หน่วยงาน

พญ.รุ่งอรุณ จิระตราชู

คุณหมอนางฟ้าแห่งโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อน�ำเรื่องเล่าจากสังคมออนไลน์ ในเว็บไซต์ พั น ทิ ป ดอทคอม ห้ อ งสวนลุ ม พิ นี โพสโดย นานาชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2556 เรื่องราวเป็น การกล่าวชื่นชม พญ.รุ่งอรุณ จิระตราชู สังกัด ภาควิ ช ารั ง สี วิ ท ยา โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ มาถ่ า ยทอดและได้ ร ่ ว มกั น ภาคภู มิ ใ จที่ เ ราได้ อ ยู ่ ใ น องค์กรแห่งนี้ พ่อผมป่วยเป็นมะเร็งเจอคุณหมอนางฟ้า คุณหมอรุ่งอรุณ ห้องฉายแสง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คนท�ำดีย่อมได้รับการยกย่อง เป็นเรื่องธรรมดาครับ “พ่อผมป่วยเป็น มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ครับ เป็นตั้งแต่ปี 49 ตอนแรกรักษาตัวที่โรงพยาบาลสงขลา และท�ำการผ่าตัดส�ำไส้ ครั้งที่ 1 จากนั้นพ่อถ่ายโดยใช้ถุงบริเวณช่องท้องครับ หลังจากนั้นอีก 1 ปี หมอที่โรงพยาบาลสงขลาก็ท�ำการรักษาจนพ่อผมกลับ มาถ่ายทางทวารหนักได้เหมือนเดิม พ่อดีใจมากท�ำให้แกมั่นใจในการเข้า สังคมขึ้น ต่อมาพ่อเจ็บที่ท้องอีกจนทางบ้านตัดสินใจส่งตัวไปที่โรงพยาบาล สงขลานครินทร์หรือที่เรียกว่า ม.อ.สงขลา หรือ ม.อ.หาดใหญ่ นั่นแหละครับ เนื่องจากมีอาจารย์หมอเก่งๆ หลายท่าน และที่ส�ำคัญ คือ มียาคีโม หลายชนิ ด พ่ อ ผมถ่ า ยเป็ น เลื อ ดและเจ็ บ มาก จนต้ อ งเข้ า ผ่ า ตั ด รอบที่ 2 นอนโรงพยาบาลอยู ่ เ กื อ บเดื อ น มี ทั้ ง การฉายแสง และให้ คี โ ม จนท� ำ ให้ ครอบครั ว ผมพบกั บ คุ ณ หมอหลายท่ า น ทั้ ง คุ ณ หมอแผนกอายุ ร กรรม และคุณหมอทางด้านฉายแสง ปกติเมื่อพ่อพบหมออายุรกรรมเสร็จหมอ จะส่งต่อมาที่ห้องฉายแสงทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล ผม แม่ และพ่ อ ต้ อ งไปกั น เกื อ บเดื อ นเพื่ อ เข้ า รั บ การฉายแสง จนท�ำให้พบกับคุณหมอที่ชื่อ คุ ณ หมอรุ ่ ง อรุ ณ คุณหมอเป็นคนตัวเล็กๆ เสียงใส สังเกตทุกครั้งที่เข้าพบคุณหมอแล้วพ่อผมจะดีใจที่ได้คุยกับหมอ ท�ำให้เราทั้งสามคนเวลาไปโรงพยาบาล (ม.อ.สงขลา) แล้วอยากให้พ่อเจอ หมอรุ ่ ง อรุ ณ จั ง เพราะบางวั น เราไปแค่ ฉ ายแสงอย่ า งเดี ย ว รอประมาณ ครึ่งชั่วโมงแล้วกลับคือไม่ต้องพบหมอ ครั้งหนึ่งพ่อนอนอยู่เพื่อรอเข้าห้องขีดเส้นก่อนฉายแสง คุณหมอเดิน ผ่านมาพ่อเหลียวไปมองหมอจนสุดสายตาเลย ผมสังเกตุอยู่ห่างๆ เพราะ คนไข้ ห มอเยอะมากเลยไม่ เ ห็ น พ่ อ ผม หลายครั้ ง คุ ณ หมอบอกพ่ อ ผมว่ า “คุณลุงต้องสู้น่ะ หมอก็จะรักษาให้ดีท่ีสุด เจ็บบ้างธรรมดาน่ะคุณลุง แน่ะดูผลซิ ดีขึ้นตั้งเยอะทั้งในส่วนของฉายแสงและผลเลือด คุณลุง สู ้ น ่ ะ ” พ่อผมยิ้มทุกครั้งที่ได้เจอท่านแม่ก็พลอยชื่นใจไปด้วย รอยยิ้มของ คนเป็ น มะเร็ ง มี ค ่ า มากครั บ ถ้ า ใครมี ผู ้ ป ่ ว ยที่ ใ กล้ ชิ ด จะรู ้ มั น หาได้ ย าก เพราะเจ็บและต้องรักษาต่อเนื่องกินเวลานานทั้งการฉายแสง และให้คีโม ค่ารักษาผมรับราชการครับเลยใช้สิทธิเบิกได้ ผมเคยถามหมอว่า ยาที่ ใช้ส�ำหรับการรักษาในกรณีที่เบิกได้ของราชการนั้นดีขนาดไหนครับ คุณหมอ ตอบได้น่าสนใจครับ ท่านตอบว่า หากเปรียบยาที่ใช้รักษาเป็นเหมือนการเดิน

26

เมษายน - พฤษภาคม 2557

ทางไปกรุงเทพฯ น่ะคุณลุง เหมือนกับคุณลุงนั่งเครื่องบิน ไปแหละ ยาดีในระดับนึง คุณลุงไม่ต้องนั่งรถไฟไปมันช้า และเหนื่อย แต่มันก็เป็นการนั่งเครื่องบินที่เป็นสายการ บินชั้นประหยัดน่ะค่ะ ไม่ใช่ชั้นธุรกิจทีมีราคาแพงผม แม่และพ่อ เรายิ้มกับค�ำตอบที่ได้รับและพ่อผมเข้าใจได้ จนพ่อมีก�ำลังใจในการเข้ารับการรักษาขึ้นเยอะ พ่อเคย บอกว่าหากเปรียบเหมือนมวย (พ่อผมชอบดูมวยมาก) หากขึ้นสังเวียนพ่อผมจะต่อยกับมะเร็งให้ครบทั้ง 12 ยก หากต้ อ งแพ้ พ ่ อ ต้ อ งแพ้ ค ะแนนจากกรรมการตั ด สิ น เท่านั้น ไม่แพ้เพราะโดนน็อคแน่นอน

นี่คือก�ำลังใจของคนไข้มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ระยะที่ 3 เข้ า สู ่ ร ะยะที่ 4 ที่ พ ่ อ ได้ รั บ จากคนรอบข้ า งรวมทั้ ง จาก คุณหมอรุ่งอรุณ หลังจากรักษาอยู่ที่ม.อ. อยู่ประมาณ 3 ปี พ่อผมก็อาการทรุดหนักและพบว่าตอนหลังมีวัณโรค แทรกซ้อนจนท�ำให้พ่อเสียชีวิตลงอย่างสงบ เมื่อปลาย เดือนตุลาคมปี 56 ที่เพิ่งผ่านมา เลยอยากฝากบอกหลายคนที่ไม่รู้จักโรคมะเร็ง รวมทั้งคนที่เป็นโรคนี้หรือมีญาติที่เป็นโรคนี้ ก�ำลังใจเป็น สิ่งส�ำคัญมากมันมีค่าส�ำหรับผู้ป่วย แต่ที่ผมแปลกใจมาก คือ ทั้งที่ไม่ได้รู้จักกันหรือเป็นญาติกันมาก่อน คุณหมอ รุ่งอรุณ ห้องฉายแสง โรงพยาบาล ม.อ.สงขลา ท�ำให้ พ่อผมและครอบครัวของผมมีก�ำลังใจในการรักษาและ พ่อผมมีแรงต่อสู้กับโรคร้ายนี้อย่างไม่น่าเชื่อ ขอยกย่อง และกราบขอบพระคุณคุณหมอเป็นอย่างสูงครับ ต้อง ขออภัยที่ผ มจ�ำนามสกุล คุณหมอไม่ไ ด้ครับ ผมมีภาพ คุณหมอให้ดูด้วยครับ ที่มา..ข่าวคณะแพทย์ปีที่ 32 ฉบับที่ 226 ประจ�ำเดือน กุมภาพันธ์ 2557 หน้า 15


รอบรั้วศรีตรัง านประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต หาดใหญ่ จั ด สั ม มนาเครื อ ข่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิ ทยาลัย หัวข้อ “การจัดท�ำแผนการสื่อสารการตลาดของมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงในอนาคต” เมื่ อ วั น ที่ 24 – 26 เมษายน 2557 ณ โรงแรมปกาสัย รีสอร์ท จ.กระบี่ โดยในปี 2557 ก�ำหนดจัดท�ำแผนกลยุทธ์ในประเด็น “1 คณะ 1 ชุมชน” ผู้เข้าร่วม สัมมนาประกอบด้วย ประชาสัมพันธ์และ ผู้รับผิดชอบด้านประชาสัมพันธ์ ของคณะ / หน่ ว ยงาน ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต ร่ ว มจั ด ท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ ประชาสัมพันธ์ในประเด็นดังกล่าว

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จัดสัมมนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์ ม.อ. ร่วมจัดท�ำแผนสื่อสารการตลาด ดร.พี ร ภั ฏ รุ ่ ง สั ท ธรรม ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยองค์ ก รสั ม พั น ธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การจั ด สั ม มนาในครั้ ง นี้ มุ ่ ง หวั ง ให้ มี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นด้านการ ประชาสั ม พั น ธ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา เป็ น ที่ รั บ รู ้ ข องหน่ ว ยงาน ต่ า งๆ ทั้ ง ภายใน และ ภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย โดยเฉพาะการ สื่อสารภายในองค์กรสร้างการรับรู้ให้เกิดขึ้นกับบุคลากรภายใน องค์กรเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง เมื่อคนภายในองค์กรรับทราบข้อมูลต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ก็มีส่วนช่วยให้การประชาสัมพันธ์มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ได้กล่าวถึงงานสื่อสารมวลชนสัมพันธ์ เป็น สิ่งที่ช่วยประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้เกิดการสร้างภาพลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยได้อีกทางหนึ่ง ด้วยการจับประเด็นเด่นๆ มาพูดคุย สื่ อ สารออกไปสู ่ ภ ายนอก รวมทั้ ง การบริ ห ารความสั ม พั น ธ์ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งก็ มี ส ่ ว นในการช่ ว ยเผยแพร่ ข ่ า วสาร ของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ รวมทั้ ง การน� ำ สื่ อ ต่ า งๆ อาทิ ยู ทู ป เฟสบุ ๊ ค ทีวีดิจิตอล มาช่วยในการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น ประเด็นการสัมมนาจัดท�ำแผนกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ ในครั้งนี้ เป็น 1 ใน 4 ประเด็นหลักที่ ได้ก�ำหนดไว้ คือ 1. ประเด็น ACTIVE LEARNING 2. ประเด็ น 1 คณะ 1 ชุ ม ชน 3. ประเด็ น การเป็ น ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา EDUCATION HUP 4. ประเด็ น การจัดอันดับ RANKING ซึ่งอีก 3 ประเด็น ดังกล่าว จะได้ก�ำหนด เป็นแผนกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ในปีต่อไป การสัมมนาในครั้งนี้ มีการบรรยายและระดมสมองจัดท�ำ แผนกลยุ ท ธ์ ในประเด็น “1 คณะ 1 ชุม ชน” โดยมี นายทวาทศ สุ ว รรณโร รั ก ษาการหั ว หน้ า งานประชาสั ม พั น ธ์ กล่ า วต้ อ นรั บ ผู้เข้าร่วมสัมมนา ดร.พี ร ภั ฎ รุ ่ ง สั ท ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย องค์ ก รสั ม พั น ธ์ กล่ า วเปิ ด การสั ม มนา และการบรรยายหั ว ข้ อ “การจั ด ท� ำ แผนการสื่ อ สารการตลาดของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา

นครินทร์ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต” โดย ผศ.ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผศ. ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา ได้พูดถึง กลวิธีการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ หรือ Integrated Marketing Communications : IMC โดยกล่าวว่า IMC ให้ ความส� ำ คั ญ กั บ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ขององค์ ก ร หัวใจ IMC เป็นการสื่อสารเพื่อการตลาด และประชาสั ม พั น ธ์ รู ้ เ ขารู ้ เ รา รู ้ ก ลุ ่ ม เป้ า หมายและศั ก ยภาพของเรา รู ้ ส าน สัมพันธ์ โดยการผสมผสานเครื่องมือการสื่อสารการตลาด ได้แก่ การโฆษณา การส่งเสริมการขาย การขายโดยบุคคล การจัดอบรม ให้ความรู้แก่ลูกค้า และการบอกเล่าปากต่อปาก โดยมีลูกค้าหรือ กลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นความคิ ด ลู ก ค้ า ต้องใช้สื่อหลายๆอย่างผสมผสานและต่อเนื่อง เครื่องมือสื่อสาร ต้องสอดคล้องกับพฤติกรรมการรับสื่อของลูกค้า และมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ลูกค้า รู้จัก ยอมรับ หรือจดจ�ำ

เมษายน - พฤษภาคม 2557

27


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ม.อ. รับ 5 รางวัล

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ส ่ ง ผลงานวิ จั ย เข้ า ร่ ว มประกวดและจั ด แสดงนิ ท รรศการในฐานะ ตั ว แทนประเทศไทย ในงาน 42nd International Exhibition of Inventions of Geneva ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ระหว่างวันที่ 2-6 เมษายน 2557 จ�ำนวน 5 ผลงาน ถือเป็น โอกาสอันทรงเกียรติที่ได้ร่วมแสดงศักยภาพของประเทศไทย และผลงานนัก ประดิษฐ์คิดค้นชาวไทยให้ประจัก ษ์ต่อ ชาวโลก และยังเป็นโอกาสดีที่นักประดิษฐ์ ไทยได้พบปะกับนักธุรกิจนัก ลงทุ น ที่ ต ้ อ งการซื้ อ สิ น ค้ า และนวั ต กรรมอี ก ทางหนึ่ ง ด้ ว ย โดยแต่ละผลงานได้รางวัลจากงานดังกล่าว ดังนี้

งานสิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยม ที่เจนีวา

1) ผลงานวิจัยเรื่อง กาวส�ำหรับติดยางกับโลหะโดยใช้ กาวรองพื้น (ไพรเมอร์) และกาวยางธรรมชาติ โดย รศ.ดร. เจริญ นาคะสรรค์ รศ.อาซีซัน แกสมาน และ ดร.เอกวิภู กาลกรณ์ สุ ร ปราณี (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะวิทยาศาสตร์) ได้รับรางวัลเหรียญทอง กาวส�ำหรับติดยางกับโลหะเตรียมโดยใช้ยางธรรมชาติ ที่ลดน�้ำโมเลกุลกราฟต์ด้วยมาลิอิกแอนไฮไดรด์ โดยคอมเปาวด์ ยางกับสารเคมีชนิดต่างๆ เช่น สารกระตุ้น สารวัลคาไนซ์และ สารเพิ่ มการยึ ด ติ ด แล้วละลายในตัวท�ำละลายผสม พบว่ า กาวที่ เ ตรี ย มได้ มี ค วามสามารถในการต้ า นทานต่ อ แรงปอก และเฉือนเทียบเท่ากับกาวในเชิงพาณิชย์หลายชนิด ผลิตภัณฑ์ ที่เตรียมได้ถูกทดลองใช้เป็นกาว ประสานลูกยางดึงอวนเรือ และน�ำไปใช้งานจริงในการลากดึงอวนเรือเป็นเวลาประมาณ 3 เดื อ น พบว่ า กาวสามารถใช้ ง านได้ ดี ใ นการลากดึ ง อวน เรือประมงของเรือประมงขนาดใหญ่

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2) ผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง มี ด ผ่ า ตั ด นิ้ ว ล็ อ กแบบเจาะผ่ า น ผิวหนัง โดย ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี และ รศ.ดร.เจษฎา วรรณสินธุ์ (คณะแพทยศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์) ได้รับรางวัลเหรียญทอง และรางวัล Special Prize ของประเทศ ไต้หวัน

28

เมษายน - พฤษภาคม 2557

A-Knife เป็ น มี ด ผ่ า ตั ด ที่ออกแบบส�ำหรับผ่าตัดรักษา อาการนิ้วล็อคโดยวิธีการเจาะ สอดผ่ า นรู แ ผลเจาะที่ ผิ ว หนั ง ขนาด 2 มิ ล ลิ เ มตร แทนการ ผ่ า แบบมาตรฐาน ซึ่ ง จะต้ อ ง เปิดแผลขนาดกว้างประมาณ A-Knife มีดผ่าตัด 1.5 เซนติ เ มตร A-Knife ท� ำ จากโลหะสแตนเลส ออกแบบให้มีลักษณะปลายมน ขนาดเล็ก คมมีดขนาดกว้าง 3 มิลลิเมตร และมีมุมโค้งที่เหมาะสม ท�ำให้ สามารถเจาะสอดผ่ า นรู แ ผลเจาะขนาดเล็ ก ที่ ผิ ว หนั ง เพื่ อ เข้ า ไปตั ด คลายปลอกหุ ้ ม เอ็ น ที่ เ ป็ น สาเหตุ ก ารล็ อ คของนิ้ ว ผลการรักษาโดยวิธีเจาะผ่านผิวหนังด้วย A-Knife จะดีกว่า การผ่าแบบมาตรฐานคือ ผู้ป่วยจะเจ็บน้อย การพักฟื้นสั้น หลัง ผ่าตัดไม่ต้องเย็บปิดบาดแผล ผู้ป่วยสามารถกลับไปใช้งานของ มือได้ภายใน 24 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบมาตรฐานที่ ต้องพักฟื้นประมาณ 1 สัปดาห์ การผ่าตัดท�ำได้ง่าย ลดความ ซับซ้อนรวดเร็ว จากเวลาที่ใช้ผ่าแบบมาตรฐานประมาณ 10-15 นาที เหลือเพียง 1-3 นาที ลดการใช้อุปกรณ์การผ่าตัดลง สามารถ ผ่าตัดรักษาผู้ป่วยนิ้วล็อคได้ที่แผนกผู้ป่วยนอกโดยไม่ต้องอาศัย ห้องผ่าตัด 3) ผลงานวิจัยเรื่อง วัสดุรองรับแรงกดทับอวัยวะผู้ป่วย ขณะผ่าตัดที่ผลิตจากพอลิเมอร์หุ้มยางพารา โดย ผศ.พญ.นลินี โกวิทวนาวงษ์ และดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย (คณะแพทยศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ได้รับรางวัลเหรียญทอง ผลงานการประดิ ษ ฐ์ ห มอนรองศี ร ษะเพื่ อ ป้ อ งกั น แผลกดทับจากการผ่าตัดมีจุดเด่นคือ ช่วยให้จัดท�ำผู้ป่วยในการ ผ่าตัดให้สะดวกยิ่งขึ้นและลดความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ จากการที่ ผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งนอนทั บ อยู ่ ใ นท่ า เดิ ม จากการผ่ า ตั ด ที่ ยาวนาน สามารถเพิ่ ม มู ล ค่ า ของยางพาราซึ่ ง เป็ น วั ส ดุ จ าก


วัสดุรองรับแรงกดทับอวัยวะผู้ป่วยขณะผ่าตัด

ธรรมชาติให้สามารถใช้ทางการแพทย์ได้และลดการน�ำเข้า วั ส ดุ ก ารแพทย์ จ ากต่ า งประเทศ สามารถปรั บ การผลิ ต ใน อุตสาหกรรมขนาดย่อมได้ 4) ผลงานเรื่ อ ง ถุ ง ละลายน�้ ำ จากฟิ ล ์ ม เจลาติ น โดย ศ.ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล, ผศ.ดร.ธรรมนูญ โปรดปราน และนายภควรรษ ทองนวลจันทร์ (คณะอุตสาหกรรมเกษตร) ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ฟิล์มเจลาตินจากหนังปลาสามารถใช้เป็นทางเลือกใหม่ ส�ำหรับงานบรรจุภัณฑ์สะดวกใช้เพื่อทดแทนบรรจุภัณฑ์จาก พอลิเมอร์สังเคราะห์หรือพลาสติก ซึ่งฟิล์มดังกล่าวสามารถ ประยุกต์ใช้ในการเคลือบบนอาหาร ห่ออาหาร หรือผลิตเป็น ซองส�ำหรับบรรจุอาหารเพื่อป้องกันอาหารจากปัจจัยภายนอก ต่างๆ ได้แก่ น�้ำ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไขมัน และจุลินทรีย์ ฟิล์มดังกล่าวสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และสามารถรั บ ประทานได้ แ ละยั ง เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ดังนั้น ฟิล์มเจลาตินจากหนังปลาจึงได้มีการพัฒนาเป็นซอง บรรจุภัณฑ์สามารถละลายน�้ำได้

เทคโนโลยี “การเคลือบสระน�้ำจากน�้ำยางธรรมชาติ ร่วมกับวัสดุเสริม” เพื่อป้องกันน�้ำซึมลงสู่ผิวดิน หรือส�ำหรับ กั ก เก็ บ น�้ ำ ไว้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ส ามารถ ใช้ เ คลื อ บบ่ อ หรื อ สระน�้ ำ ได้ทุกประเภท เช่น สระกักเก็บน�้ำในภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะ เขตพื้ น ที่ น อกชลประทานที่ ข าดแคลนน�้ ำ ท� ำ เกษตรในช่ ว ง หน้าแล้ง บ่อเพาะเลี้ยงสัตวน�้ำ บ่อเลี้ยงปลา กุ้งบ่อ บ�ำบัดน�้ำ เสียและกักเก็บน�้ำ ใช้ส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม บ่อตกแต่ง หรือบ่อเอนกประสงค์ในหน่วยงานภาครัฐ สถานศึกษา หรือ บ้านเรือนทั่วไป

“การเคลือบสระน�้ำจากน�้ำยางธรรมชาติ ร่วมกับวัสดุเสริม”

องค์ ค วามรู ้ ส� ำ คั ญ จากงานวิ จั ย ประกอบด้ ว ยสู ต ร หรื อ ส่ ว นผสมของน�้ ำ ยางพาราชนิ ด ครี ม ที่ ผ สมสารเคมี ช นิ ด ต่ า งๆ ลงไปส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ปู ห รื อ เคลื อ บสระ และ กรรมวิธีการปู/เคลือบสระด้วยวิธีฉีดพ่น ซึ่งเป็นวิธีที่แตกต่าง จากการปู ส ระ โดยใช้ ย างแผ่ น หรื อ พลาสติ ก ทั่ ว ไปซึ่ ง ต้ อ ง ผ่ า นกรรมวิ ธี รี ด แผ่ น ภายในโรงงานก่ อ นและต้ อ งขนย้ า ย วัสดุปูมีขนาดและน�้ำหนักมาก เทคโนโลยีเคลือบสระน�้ำ ใช้ วั ต ถุ ดิ บ จากน�้ ำ ยางธรรมชาติ ร ่ ว มกั บ สารเคมี จ� ำ นวนหนึ่ ง ที่ ไม่ ก ่ อ มลพิ ษ เป็ น การส่ ง เสริ ม การใช้ ป ระโยชน์ จ ากน�้ ำ ยาง ธรรมชาติ เ พื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลิ ต ผลทางการเกษตร เทคโนโลยีผ่านการทดสอบทั้งในด้านประสิทธิภาพ คุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยของน�้ำที่กักเก็บในบ่อ

ฟิล์มเจลาตินจากหนังปลา

5) ผลงานเรื่อง วัสดุปูสระเก็บกักน�้ำ จากน�้ำยางข้นชนิดครีมโดย รศ.อาซีซัน แกสมาน และผศ.ดร.อดิศัย รุ่งวิชานิวัฒน์ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ได้รับ รางวัลเหรียญทองแดง

เมษายน - พฤษภาคม 2557

29


รอบรั้วศรีตรัง

“ถ้ า ไม่ ล ดน�้ ำ หนั ก โรคเบาหวาน โรค ความดั น โลหิ ต สู ง จะลุ ก ลามมากขึ้ น ”

เพื่ อ นบางคน เจอค� ำ พู ด ของหมอ แบบนี้ หรื อ จะรอ ให้ ถึ ง วั น ที่ ห มอเตื อ น บุ ค ลากรส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึง จัด โครงการพิชิตพุง พิ ชิ ต ความส� ำ เร็ จ เนื่ อ งจากตระหนั ก ถึ ง ผลของความ อ้ ว น คื อ โรคเรื้ อ รั ง ที่ ต ามมาเป็ น ขบวน คื อ โรคหั ว ใจ หลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เบาหวาน

พิชิตพุง พิชิตความส�ำเร็จ

ของคน ม.อ.

ครงการพิ ชิ ต พุ ง พิ ชิ ต ความส� ำ เร็ จ ม.อ. เป็ น กิจกรรมส�ำนักงานสร้างสุข (Happy workplace) สนับสนุนโดย สสส. และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กิจกรรม Happy Workplace ในด้าน Happy Body ใช้ระยะเวลาด�ำเนินการ 4 เดือน (117 วัน) วันเริ่มต้น โครงการวันที่ 24 ตุลาคม 2556 วันสิ้นสุดโครงการ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 มีบุคลากรเข้าร่วมโครงการ 161 คน บุคลากรที่ร่วมโครงการลดน�้ำหนักได้ส�ำเร็จ 104 คน หรือ ร้อยละ 64.6 น�้ำหนักที่ลดได้รวมถึง 187 กก. กิจกรรมแบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการให้ความรู้ กิจกรรมสร้างความเชื่อมั่น สร้างแรงบันดาลใจ ด้วยกิจกรรมสันทนาการ แนะน�ำปัญหา ความอ้วน ผลกระทบจากความอ้วน การจัดการ ควบคุมน�้ำ หนัก เรียนรู้ 3 อ. วิธีออกก�ำลังกายที่เหมาะสม โดยใช้หนังสือ “พิชิตอ้วน พิชิตพุง” จัดท�ำโดยเครือข่ายคนไทยไร้พุง เป็นคู่มือ ลดน�้ำหนัก วิทยากรได้แก่ ผศ.นพ.กอปร์ชุษ ตยัคคานนท์ นางรติกร พลรักษ์ นางอวยพร พืชนุกูล คณะแพทยศาสตร์ ม.อ. เมื่ อ วั น ที่ 24 ตุ ล าคม 2556 เวลา 13.00-16.30. น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 อาคารกีฬาและนันทนาการ ม.อ.หาดใหญ่

30

เมษายน - พฤษภาคม 2557

ทั้งนี้จะให้แต่ละคนจับคู่กัน วาดรูปร่างของเพื่อนผู้ร่วม กิจกรรม แล้วให้แต่ละคนวาดรูปร่างในจินตนาการที่ตนเอง ต้องการขึ้นในกระดาษ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และมีการวัดรอบเอว ชั่งน�้ำหนัก ส่วนสูง เพื่อส�ำรวจดัชนี มวลกาย บุคลากรที่เข้าร่วมโครงการ ทั้ง 161 คน พบว่า ดัชนี มวลกายอยู่ในระดับ ระดับ 1 มากที่สุด กล่าวคือ อยู่ในระดับ อ้วน ระดับ 1 68 คน ร้อยละ 42.24 ปกติ 50 คน ร้อยละ 31 น�้ำหนักเกิน 32 คน ร้อยละ 20 อ้วนระดับ 2 7 คน ร้อยละ 4 ผอม 4 คน ร้อยละ 2.48 ช่วงที่ 2 เป็นการพบปะแลกเปลี่ยนความกับเพื่อนๆ ในส�ำนักงานอธิการบดี ม.อ.หาดใหญ่ ที่ประสบความส�ำเร็จ ในการลดน�้ำหนักมาแล้ว ประกอบด้วย 1.นายนันทวี ภักดีจิตต์ กองกิจการนักศึกษา 2.นายพิเชฐร วิจิตร กองคลัง 3.นางสาว สุภาภรณ์ เพ็งทอง กองกิจการศึกษา 4.นางสาวปรรณพัชร์ ตั้งสมิตคารนันทร์ กองกลาง และพบนั ก โภชนาการ และฟั ง บรรยาย“เรี ย นรู ้ วิ ธี การกินอย่างไรไม่อ้วน ” โดย นางสาวพรพิศ เรืองขจร และ


นางสาวศิ ริ ม ะโน ชู ศ รี นักโภชนาการ โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 อาคารกีฬาและนันทนาการ ช่วงที่ 3 มอบรางวัลแก่ ผู้ร่วมโครงการที่ลดน�้ำหนักได้ 50 คน แรก ตามล�ำดับน�้ำหนักตัว ที่ลดลง จากผู้สมัครเข้าร่วม โครงการ 161 คน รางวั ล เป็ น กระเป๋ า เป้ ส� ำ หรั บ ใส่ ชุ ด และ อุปกรณ์ในการออกก�ำลังกาย อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิ ก ารบดี เป็ น ผู ้ ม อบรางวั ล วั น ที่ 21 กุ ม ภาพั น ธ์ 2557 ณ ห้องประชุม 1 ส�ำนักงานอธิการบดี และมอบรางวัลแก่ทีมลดน�้ำหนัก ทีมละ 3 คน รางวัลที่ 1 ได้รับเงินสด 2,000 บาท รางวัลที่ 2 ได้รับเงินสด 1,500 บาท รางวั ล ที่ 3-5 เงิ น สด 1,000 บาท มี ผู ้ ส มั ค รที ม ลดน�้ ำ หนั ก จ�ำนวน 15 ทีม

ผลของโครงการมีดังนี้ บุ ค ลากรส� ำ นั ก งานอธิ ก ารบดี เ ข้ า ร่ ว มโครงการรวม 161 คน ทีมลดน�้ำหนัก 15 ทีม ผู้ที่ลดน�้ำหนักได้ 104 คน คิดเป็นร้อยละ 64.6 รวม น�้ำหนักที่ลด 187 กิโลกรัม น�้ำหนักเท่าเดิม 40 คน คิดเป็นร้อยละ 27.84 และน�้ำหนักเพิ่มขึ้น 17 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 รวม น�้ำหนักที่เพิ่มขึ้น 37.8 กิโลกรัม รางวัลที่ 1 ได้แก่ ทีมจากการอาคารสถานที่ ประกอบ ด้วยนางอมลมนี นุ่นศรี นายพลภัทร กุลฑล และนางนงเยาว์ รุ ยั ล จาก กองอาคารสถานที่ สามารถลดน�้ ำ หนั ก ได้ รวม 18.3 กิโลกรัม รางวัลที่ 2 ได้แก่ ทีมของนางรัตติยา เขียวแป้น กองการ เจ้าหน้าที่ นางกัญรดา โรจจานุภัทร กองกลาง และนางสาว ฐิ ติ รั ช ต์ ไม้ เ รี ย ง กองแผนงาน ลดน�้ ำ หนั ก ได้ 9.45 กิ โ ลกรั ม รางวัลที่ 3 ได้แก่ทีมของนายนิคม อัตตะ นางประไพ ทอง วงศ์ กองกลาง และนางธีรดา อัตตะ หน่วยตรวจสอบภายใน นายจักรกริช ซึ้งประสิทธิ์ หัวหน้ารักษาความปลอดภัย ม.อ. มี ดั ช นี ม วลกาย ในระดั บ เสี่ ย ง คื อ อ้ ว นระดั บ 2 และมี

โรคประจ� ำ ตั ว คื อ โรคเบาหวาน และความดั น โลหิ ต สู ง ต้ อ ง รับประทานยา จากการเข้าร่วมโครงการนี้ ได้ลดน�้ำหนักลง 3 กิโลกรัม ช่วยให้โรคความความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน อยู่ในภาวะที่ควบคุมได้ และอาการปวดเมื่อยหัวเข่าหายไป นายนั น ทวี ภั ก ดี จิ ต ต์ กองกิ จ การนั ก ศึ ก ษา ผู ้ ที่ ล ด น�้ำหนักได้ 4 ก.ก. กล่าวว่า เมื่อลดน�้ำหนักลง ช่วยให้อาการ ปวดเข่าหายไปและสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ และ หมอให้ รั บประทานยาเพื่ อควบคุ มด้ ว ย ผมปั ่ นจั กรยานออก ก�ำลังกาย มื้อเย็นทานแต่น้อยและไม่สะสมอาหารไว้ในตู้เย็น นางนงเยาว์ รุ ยั ล กล่ า วว่ า ตนและสามี ชวนกั น ออกก�ำลังกาย มื้อเย็น ทานผลไม้แทน จึงไม่ต้องท�ำกับข้าว รูปร่างและสุขภาพดีขึ้นทั้งตนเองและสามี ผู้ที่สามารถลดน�้ำหนัก ได้ 10 ล�ำดับแรก ลดน�้ำหนัก ได้ระหว่าง 4-11.2 ก.ก จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ มีผู้ตอบแบบสอบถามจ�ำนวน 50 ราย พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ มี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ มาก โดยมี ค ่ า เฉลี่ ย ระดั บ ความ พึงพอใจระหว่าง 3.7-4.0 ดังนี้คือระยะเวลาของโครงการ 3.9 ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 3.7 รางวัลผู้ร่วมกิจกรรม 3.8 ความ เหมาะสมและความสามารถของวิ ท ยากร 4.0 การให้ บริการและการประสานงาน 3.9 ความเหมาะสมของสถานที่ และเครื่ อ งเสี ย งในการจั ด กิ จ รรม 3.8 และความเหมาะสม ของโครงการในภาพรวม 4 โดยมี ข ้ อเสนอแนะว่ า ชอบมาก ต้องการให้จัดอย่างต่อเนื่อง อยากให้มีโครงการดีๆ อย่างนี้อีก ควรจะมีการแลกเปลี่ยนเทคนิคการลดพุงของแต่ละคน รวมทั้ง ทีมที่ได้รับรางวัล และให้มีเทคนิคใหม่ๆ เข้ามามีส่วนช่วยลด ความอ้วน และควรมีรางวัลปลอบใจเล็กๆ น้อยๆ ด้วย

เมษายน - พฤษภาคม 2557

31


บริการวิชาการ

สถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ อบรมอาชีพ

มุ่งสร้างชุมชนเข้มแข็ง

ถานี บ ริ ก ารวิ ช าการชุ ม ชนจะนะ ฝ่ า ยบริ ก ารวิ ช าการชุ ม ชน ส�ำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ม.อ. จัดโครงการเสริม สร้างและพัฒนาศักยภาพชุมชนเข้มแข็งหมู่ที่ 5 บ้านทุ่งใหญ่ ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา (ระยะที่ 1) โดยในวันที่ 24 – 27 มีนาคม ที่ผ่านมา ได้จัด อบรมพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตให้แก่คนในชุมชน หมู่ ที่ 5 บ้านทุ่งใหญ่ ต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา หลักสูตรการอบรม ประกอบ ด้วย ปฏิบัติการท�ำขนมอบเบเกอรี่,ปฏิบัติการท�ำขนมอบ, หลักการบรรจุ ภัณฑ์อาหาร และปฏิบัติการบรรจุภัณฑ์อาหาร, กระบวนการจัดตั้งกลุ่ม และการขึ้นทะเบียน SME และการขอเครื่องหมายรับรองคุณภาพอาหาร (ฮาลาล / อ.ย.) ผู้เข้าอบรม สามารถน�ำทักษะ ความรู้ที่ได้ ไปประกอบ อาชีพเสริม ท�ำขนมประเภทเบเกอรี่ จ�ำหน่ายในชุมชน และหมู่บ้านใกล้เคียง ในอนาคตจะมีการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพให้ชุมชนแห่งนี้เข้มแข็ง ยิ่งขึ้น โดยการสร้างกลุ่มอาชีพ การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน เช่น การส่งเสริม การออกก�ำลังกาย การตรวจสุขภาพ การแนะน�ำทางด้านโภชนาการ เป็นต้น นอกจากนี้ในช่วงวันที่ 28 พฤษภาคม 2557 ส�ำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง จะมีการสรุปผลการด�ำเนินโครงการและติดตามประเมินผล เพื่อใช้ประกอบการ ต่อยอดโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณหน้า ปี 2558

ฝ่ายฝึกอบรมฯ

จัดอบรมสร้างสื่อและนวัตกรรมการสอนสู่การวิจัย

ายฝึกอบรมและการศึกษาต่อเนื่อง ส�ำนัก ส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ม.อ. อบรม หลักสูตรการสร้างสื่อและนวัตกรรมการสอนสู่การ วิจัย เมื่อวันที่ 31 มีนาคม - 4 เมษายน 2557 ณ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารคอมพิ ว เตอร์ ภาควิ ช าเทคโนโลยี ทางการศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ภายใต้ โ ครงการพัฒ นาคุณภาพ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พิ ธี เ ปิ ด โดยผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ผศ.ดร.เสถียร แป้ น เหลื อ วิ ท ยากรประกอบด้ ว ย ผศ.ดร.วสั น ต์ อติศัพท์, ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์, อาจารย์ลลิดา บุญธง, ดร.มัฮดี แวดราแม และผศ.อาฟีฟี ลาเต๊ะ คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งผู้ที่เข้ารับการอบรมเป็นบุคลากร ทางการศึกษา จ�ำนวน 50 คน

32

เมษายน - พฤษภาคม 2557


ผู้หญิงที่อุทิศตนเพื่อชุมชนสังคมชายแดนใต้

รับรางวัลสตรีต้นแบบ

งค์การอ๊อกแฟม (OXFAM) ร่วมกับมูลนิธิยูนิลิเวอร์ ได้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กให้ ผู ้ ห ญิ ง ที่ อุ ทิ ศ ตนท� ำ งาน ด้ ว ยความเสี ย สละให้ แ ก่ ชุ ม ชนสั ง คมชายแดนใต้ ภายใต้ สถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้น รับรางวัล “สตรีต้นแบบ” โดย พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในช่วงวันสตรีสากล เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ที่ ผ่ า นมา ณ มิ ว เซี ย มสยาม กรุ ง เทพฯ โดยมี ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นผู้มอบรางวัล ในงานยังมีการจัด แสดงนิ ท รรศการภาพถ่ า ย “ดอกไม้ ก ลางไฟใต้ ” จากฝี มื อ ช่ า งภาพสารคดี ชื่ อ ดั ง ของประเทศ มี ผู ้ ส นใจ และสื่ อ มวลชน เข้าชม และรายงานข่าวเป็นจ�ำนวนมาก สตรีที่ได้รับรางวัลทั้ง 10 คน ดังกล่าว ประกอบด้วย. 1.นาง แยน๊ะ สะแลแม 2.นางสาวดวงสุดา สร้างอ�ำไพ 3.นางนฤมล สาและ 4.นางสี ตี น อร์ เจ๊ ะ เล๊ า ะ 5.นางสาวอารี ด ้ า สาเม๊ า ะ 6.นางสม โกไศยกานนท์ 7.นางมาริ ส า สมาแห 8.นางนิ เ ด๊ า ะ อิ แ ตแล 9.นางสาวอรอุมา ธานี และ10.นางสาวกัลยา โสพาศรี ทั้ ง นี้ ส ่ ว นใหญ่ เป็ น สตรี ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ ความรุนแรงในชายแดนใต้ และ 9 ใน 10 คน เป็นสตรีที่เป็นแกนน�ำ สมาชิกเครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ องค์ ก รภาคี ก ารท� ำ งานกั บ ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) วิทยาเขตปัตตานี โดยฝ่ายส่งเสริม

และเผยแพร่ ได้มีบทบาทในการก่อตั้งเครือข่ายฯ ให้ค�ำปรึกษา พัฒนา ศักยภาพ และเครือข่ายฯ เป็นองค์กรภาคีท�ำงานร่วมกับฝ่ายฯ มาตั้งแต่ ปี 2553 ในโครงการการสร้างความมั่นคงด้านอาหารและอาชีพแก่ชาย และหญิงที่เปราะบางในภาคใต้ของประเทศไทย สนับสนุนโดยองค์การ อ๊อกแฟม และสหภาพยุโรป จนถึงปัจจุบันเครือข่ายฯก็ยังได้ด�ำเนินงาน ในกิจกรรมด้านต่างๆ กับฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ ในการรับรางวัล เนื่องในวาระโอกาสวันสตรีสากลปีนี้ ยังมี สตรีอีกท่าน คือ นางค� ำ นึ ง ช� ำ นาญกิ จ สตรีที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ และแกนน�ำสตรีในเครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อ สันติภาพชายแดนใต้ ที่ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นด้านการส่งเสริมสันติภาพ จากส�ำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนา สั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ เมื่ อ วั น ที่ 7 มี น าคม ที่ ผ ่ า นมา ที่ อิมแพ็ค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี โดยมีนางปวีณา หงสกุล รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ เป็ น ผู้มอบรางวัล ส�ำหรับบทบาทการท�ำงานที่โดดเด่นของผู้หญิงที่ได้รับรางวัล ครั้ ง นี้ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น บทบาททางด้ า นการเยี ย วยาช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ, สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการส่ ง เสริ ม การเข้ า ถึ ง กระบวนการ ยุติธรรม, การสื่อสารเพื่อสร้างก�ำลังใจให้ผู้ได้รับผลกระทบ และสร้าง ความเข้าใจระหว่างคนที่มีความต่างทางศาสนาและวัฒนธรรม การ เป็นคนกลางไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง, การส่งเสริมอาชีพและสร้างความ เข้มแข็งให้ชุมชน และการพัฒนาและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งนับว่าเป็นบทบาท ที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างสันติภาพ ในพื้นที่ ส่วนบทบาทงานด้านการสื่อสารสาธารณะ ที่แกนน�ำผู้หญิง เหล่านี้ ได้ด�ำเนินการร่วมกับฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ ที่โดดเด่น เป็น ที่ รู ้ จั ก คื อ การท� ำ หนั ง สื อ “เสี ย งของความหวั ง เรื่ อ งเล่ า ผู ้ ห ญิ ง เพื่ อ กระบวนการสันติภาพชายแดนใต้” และ การจัดท�ำรายการวิทยุ “เสียง จากผู้หญิงชายแดนใต้” ซึ่งเผยแพร่ทางสถานีวิทยุในเครือข่ายมากกว่า 15 แห่งในพื้นที่ โดยฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ ได้ช่วยพัฒนาศักยภาพ ผู้หญิงดังกล่าว จนสามารถเป็นนักเขียน และนักจัดรายการวิทยุได้

ส�ำนักส่งเสริมฯ อบรมเทคนิคการเป็น Supervisor นั ก ส่ ง เสริ ม และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดอบรม หลักสูตร เทคนิคการเป็น Supervisor และการบริหาร เวลาอย่างมีประสิทธิภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 13-15 มีนาคม 2557 ให้แก่บุคลากรระดับหัวหน้างานสังกัดธนาคาร กรุ ง เทพ จ� ำ กั ด (มหาชน) ที่ ป ฏิ บั ติ ง านอยู ่ ใ นสาขา ต่า งๆ ในเขตภาคใต้ ณ โรงแรมสิงห์ โกลเด้น เพลส อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยมี ผศ.นิ รั ต น์ จรจิ ต ร และ ผศ.ดร.ฆนัท ธาตุทอง เป็นวิทยากร และ ได้รับ เกียรติจาก ผศ.ดร.เสถียร แป้นเหลือ ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง เป็ น ประธาน เปิดการอบรม

แก่พนักงาน ธนาคารกรุงเทพฯ

เมษายน - พฤษภาคม 2557

33


การวิจัย หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) ได้ยื่น เอกสารขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับ ท� ำ การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ไ ปที่ ส� ำ นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ ส งขลา 2 เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2554 และ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 ที่ผ่านมา ส�ำนักงาน สรรพากรพื้ น ที่ ส งขลา 2 ได้ แ จ้ ง ผลการพิ จ ารณามายั ง ม.อ. โดยแนบประกาศ กระทรวงการคลังเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 268) เรื่องรายชื่อผู้รับท�ำการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยี ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2555 ให้ ม.อ. เป็นผู้รับท�ำการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี ในล�ำดับที่ 318 โดยให้ ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2554 เป็นต้นไป

ม.อ.ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับท�ำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี

เพื่อให้ภาคเอกชนขอยกเว้นภาษีได้ 200%

ดังนั้น ภาคเอกชนที่ท�ำวิจัยกับ ม.อ. หรือว่าจ้าง ม.อ. ท�ำวิจัยตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2554 (ตามสัญญา จ้าง) เป็นต้นไป สามารถยื่นขอรับรองโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขอยกเว้นภาษีได้ 200% ทั้งนี้ การยื่นขอยกเว้นภาษีย้อนหลัง จะต้องยื่นภายในระยะเวลา 3 ปี นับจากวันที่ที่ระบุในสัญญาจ้างเท่านั้น ตัวอย่าง การค�ำนวณภาษีส�ำหรับโครงการวิจัยและพัฒนาที่ได้รับสิทธิ์ในการหักค่าใช้จ่าย 2 เท่า รายได้ รายจ่าย - ต้นทุนการจ่าย - ค่าใช้จ่ายงานวิจัยและพัฒนา ก�ำไรสุทธิ หัก ค่าใช้จ่ายงานวิจัยและพัฒนา ต่อที่ 2 ยอดเงินเพื่อค�ำนวณภาษี ภาษีที่เอกชนต้องจ่ายให้รัฐ (20%)

กรณีไม่ขอรับการรับรอง 15,000,000 8,000,000 1,000,000 6,000,000 0 6,000,000 1,200,000

กรณีขอการรับรอง 15,000,000

ประหยัด 200,000

8,000,000 1,000,000 6,000,000 1,000,000 5,000,000 1,000,000

ผู้สนใจ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณตรีภพ พินันโสตติกุล (นักวิเคราะห์เชิงธุรกิจ) ส�ำนักงานความร่วมมืออุตสาหกรรม (OIL) อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาคารศูนย์ทรัพยากร การเรียนรู้ (LRC) ชั้น 12 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110โทรศัพท์ : (+66) 0-7428-9324 โทรสาร : (+66) 0-7428-9339 E-mail : treephop.p@psu.ac.th ท่านสามารถศึกษาข้อมูลและ download แบบค�ำขอรับรองโครงการวิจัย ฯ ได้ที่http://www.nstda.or.th/rdc Download ขั้นตอนการยื่นขอรับรองโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี Download แผ่นพับรายละเอียด Download โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์

34

เมษายน - พฤษภาคม 2557


การศึกษา

ม.อ.ร่วมกับ ซีพี ออลล์ พัฒนาสมรรถนะบัณฑิต

ให้ด�ำเนินธุรกิจค้าปลีก

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ซี พี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) จัดโครงการเสริมสร้างสมรรถนะบัณฑิตให้ ด�ำเนินธุรกิจเองได้ รุ่นที่ 12 มุ่งหวังเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะ การท� ำ งานในธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาและพั ฒ นาทั ก ษะความ รั บ ผิ ด ชอบ การสื่ อ สาร และการน� ำ เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยได้ มี ก าร ปฐมนิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฯ เมื่ อ วั น ที่ 31 มี น าคม 2557 ณ ห้องประชุม 1 ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ มีคุณณรงค์ศักดิ์ ภูมิศรีสอาด รองกรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ซี พี ออลล์ จ� ำ กั ด (มหาชน) กล่ า วให้ โ อวาท ผศ.ชุ ติ พ ร จิโรจน์กุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายสวัสดิการนักศึกษา กล่าวต้อนรับ โครงการเสริมสร้างสมรรถนะบัณฑิตให้ด�ำเนินธุรกิจเองได้ เกิดขึ้น จากคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เห็น ความส�ำคัญที่จะส่งเสริม และหาทางเลือกให้นักศึกษาซึ่งจะเป็นบัณฑิตให้ มีความรู้หรือฝึกปฏิบัติพื้นฐานที่จะประกอบธุรกิจเองได้ และคุณก่อศักดิ์ ไชยรั ศ มี ศั ก ดิ์ ซึ่ ง เป็ น กรรมการในคณะกรรมการส่ ง เสริ ม กิ จ การ มหาวิทยาลัยฯ มีความยินดีให้นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ ไปฝึกปฏิบัติงานในธุรกิจค้าปลีกกับร้านสาขา 7 – Eleven โดย บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้เตรียมวิทยากรในภาคบรรยาย และร้านสาขา 7 – Eleven ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานในร้าน โครงการฯได้เริ่มด�ำเนินการ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 จนถึงปัจจุบัน รวม 12 รุ่น ผศ.ชุติพร จิโรจน์กุล กล่าวว่า โครงการเสริมสร้างสมรรถนะบัณฑิต ให้ด�ำเนินธุรกิจเองได้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาสมรรถนะ การท�ำงานในธุรกิจค้าปลีกให้กับนักศึกษา พัฒนาทักษะความรับผิดชอบ การสื่อสาร และการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ในปีการศึกษา 2556 จัดขึ้นระหว่าง วันที่ 6 เมษายน – 30 มิถุนายน 2557 มีนักศึกษาเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 45 คน จาก 3 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตตรัง จ�ำนวน 6 คน วิทยาเขตปัตตานี จ�ำนวน 36 คน และวิทยาเขตหาดใหญ่ จ�ำนวน 3 คน นักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการฯในวั น นี้ นอกจากได้ รั บ การพั ฒ นาศั ก ยภาพ เพิ่ ม พู น ความรู ้ และทั ก ษะ ในการด� ำ เนิ น งานธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก แล้ ว ทุ ก คนยั ง ได้ ท� ำ ความ รู ้ จั ก กั น สร้ า งความสั ม พั น ธ์ นั ก ศึ ก ษาระหว่ า งวิ ท ยาเขต ตลอดจนได้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�ำงานร่วมกันอีกด้วย

เมษายน - พฤษภาคม 2557

35



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.