Sanmoror jan 2014

Page 1

ในฉบับ... สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 18-19 หอประวัติ ม.อ. จัดท�ำเพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ “ม.อ. ใต้ร่มพระบารมี” 16-17 พบ...สัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ ชายฝั่งเกาะลิดี หวั่นสร้าง ท่าเรือน�้ำลึก กระทบระบบนิเวศรอบเกาะ 10-11 นักวิจัย ม.อ. พัฒนาปะการังเทียมต่อเนื่อง ลดวิกฤต การกัดเซาะชายฝั่ง สร้างที่อาศัยให้สัตว์น�้ำ 20-21


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ม.อ.คว้ารางวัล

2 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 1 special prize งาน “Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013” ณ กรุงโซล

ณาจารย์ แ ละนั ก วิ จั ย จากสถานวิ จั ย การวิ เ คราะห์ ส ารปริ ม าณน้ อ ยและ ไบโอเซนเซอร์ คว้ า รางวั ล 2 เหรี ย ญทอง 1 เหรี ย ญเงิ น และ 1 special prize งาน “Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013” ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี จากการส่ ง ผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ จ� ำ นวน 3 ผลงาน ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมการประดิษฐ์ ของเกาหลี (Korea Invention Promotion Association; KIPA) เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน – 2 ธั น ว า ค ม 2 5 5 6 ร า ง วั ล ที่ ไ ด ้ รั บ ประกอบด้วย

รางวั ล ระดั บ เหรี ย ญทอง ผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เรื่ อ ง “Novel cost-effective sorbent for toxic chemicals analysis” (ตัวดูดซับราคาประหยัดชนิดใหม่ส�ำหรับการวิเคราะห์สารพิษ) ผู้ร่วมประดิษฐ์คิดค้น รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา (หัวหน้าผู้ประดิษฐ์คิดค้น) รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร, ผศ.ดร. จงดี ธรรมเขต , ดร.ภมรรัตน์ เกื้อเส้ง

รางวั ล ระดั บ เหรี ย ญทองผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ เรื่ อ ง “Real time capacitive affinity sensor system” (ระบบ คาพาซิทิฟแอฟฟินิตีเซนเซอร์แบบตรวจวัดตามเวลาจริง) ผู้ร่วมประดิษฐ์คิดค้น รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร (หัวหน้าผู้ ประดิษฐ์คิดค้น), รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา, รศ.บุญเจริญ วงศ์กิตติศึกษา, รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล, ผศ.ดร. วรากร ลิ่มบุตร ดร.อาภรณ์ นุ่มน่วม, ผศ.พรรณี อัศวตรีรัตนกุล, ผศ.ดร. จงดี ธรรมเขต, ผศ.ดร. ชิตนนท์ บูรณชัย, ดร.สุภาพร ดาวัลย์, ดร.สุชีรา ธนนิมิต

รางวัลระดับเหรียญเงิน และ รางวัลพิเศษ (special prize) จากประเทศไต้หวัน ซึ่งเป็นรางวัลที่ต่างชาติ มอบให้กับ ผลงานวิจัยที่มีลักษณะเด่น ผลงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง “Zinc Field Test Kit” (ชุดทดสอบสังกะสีภาคสนาม) ผู้ร่วมประดิษฐ์คิดค้น ผศ. ดร. วรากร ลิ่มบุตร (หัวหน้า ผู้ประดิษฐ์คิดค้น), รศ.ดร. เพริศพิชญ์ คณาธารณา, รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร, ผศ. อดุลย์ เที่ยงจรรยา

ที่มา : ttp://www.sc.psu.ac.th/New56/TH/News/SlideImageDetail.asp?NewsID=354


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

สารบัญ รอบรั้วศรีตรัง

สู่...ชุมชน/สังคม

ทอดพระเนตรผลงานและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ศิษย์เก่า วจก. ได้รับแต่งตั้งเป็นหนึ่งใน กกต.ชุดใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ลงนามร่วม ศูนย์ NANOTEC ในการจัดตั้ง ศูนย์เผยแพร่องค์ความรู้นาโนเทคโนโลยีระดับภาคใต้ แบบตราสัญลักษณ์ 45 ปี ม.อ. คณะพยาบาลศาสตร์ จัดบริการคัดกรองสุขภาพ เนื่องในวันพยาบาลแห่งชาติ

บริการวิชาการ

5 ม.อ.ปัตตานี ชูยุทธศาสตร์บริการวิชาการชุมชน 4 อธิการบดี ม.อ.เข้าเยี่ยมผู้ป่วยจากเหตุความไม่สงบที่โรงพยาบาล ร่วมศึกษาและพัฒนาหมู่บ้านประมงต้นแบบน�ำร่อง สงขลานครินทร์ เผยคนไข้ ที่ส่งต่อมา 12 คน สาหัส 3 คน 15 ทูลเกล้าฯถวายแผ่นรองฉลองพระบาทเพื่อสุขภาพ 14 เปิดเวที “ลวดลายและเรื่องเรา ณ ชายแดนใต้” 15 ม.อ. เดินหน้าต่อร่าง พ.ร.บ. ในก�ำกับ แม้ยุบสภา สะท้อนเรื่องราววิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น 15 ม.อ.บริจาคเงินช่วยเหลือฟิลิปปินส์ 26-27 คณะวิทย์ ม.อ. จัดโครงการ ค่ายอาสาพัฒนาทาง 16-17 หอประวัติ ม.อ. จัดท�ำเพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ วิทยาศาสตร์เพื่อชนบท ครั้งที่ 34 มอบรอยยิ้มให้ชุมชน “ม.อ. ใต้ร่มพระบารมี” ดึงปาน ธนพร - โต๋ ศักดิ์สิทธิ์ 28-29 นักวิชาการ ม.อ.ปัตตานี และภาครัฐควรชัดเจนในเรื่องการ ร่วมถ่ายทอดบทเพลง ในโอกาสครบรอบ 45 ปี ม.อ. ลดต้นทุนและเพิ่มมูลค่ายางพารา โดยการแปรรูปในประเทศ 18-19 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 32 32 33 34

วิจัย

35 ศูนย์เครื่องมือวิทย์ ม.อ. ตรวจสารตกค้างในข้าว สุ่มตัวอย่าง ในสงขลา ยืนยันยังปลอด “เมทิลโบรไมด์”

สู่ประชาคมอาเซียน 12-13 ม.อ.ปัตตานี จัดงานเทศบาลอาหารชายแดนใต้ เพื่อส่งเสริม การตลาดเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าชายแดนใต้ และสินค้าโอทอปกว่า 280 คูหา

6-7 ม.อ.ลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิในสิทธิบัตร “กรรมวิธีการเตรียม เชื้อโพรไบโอติก” ป้องกันฟันผุแก่ประชาชน 10-11 พบ...สัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ ชายฝั่งเกาะลิดี หวั่นสร้างท่าเรือน�้ำลึก กระทบระบบนิเวศรอบเกาะ 20-21 นักวิจัยม.อ. พัฒนาปะการังเทียมต่อเนื่อง ลดวิกฤตการกัดเซาะชายฝั่ง สร้างที่อาศัยให้สัตว์น�้ำ

22 สถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ม.อ. พบกลไกลใหม่เสริม กระบวนการผลิตไบโอดีเซลต่อเนื่อง

4

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ 2 ม.อ.คว้า รางวัล 2 เหรียญทอง 1 เหรียญเงิน และ 1 special prize งาน “Seoul International Invention Fair (SIIF) 2013” ณ กรุงโซล 8-9 คณะแพทย์ฯ พัฒนาข้อสอบประมวลความรู้ ขั้น 1 อีกหนึ่งรางวัลการันตี แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จากเวที PSU Quality Award 24-25 ม.อ. ติด 1 ใน 100 ม.ชั้นน�ำ กลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ จัดอันดับโดย Times Higher Education 2014 สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยโดยมุ่งเน้นหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สื่อสร้างความเข้าใจ ที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่ งขึ้ น และจะเป็ นจดหมายเหตุ หรือบันทึกความทรงจ�ำภารกิจของสถาบัน

20 26 ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

3


รอบรั้วศรีตรัง

อธิการบดี ม.อ.เข้าเยี่ยมผู้ป่วย

จากเหตุความไม่สงบที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

เผยคนไข้ ที่ส่งต่อมา 12 คน สาหัส 3 คน

ผศ.นพ.ชิต เพชรพิเชษเชียร ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสงขลา นคริ น ทร์ ร ศ . พ ญ . ม ณ ฑิ ร า ตัณฑนุช ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ รองผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ ผศ.นพ.ธนะรัตน์ บุ ญ เรื อ ง แพทย์ ศั ล ยศาสตร์ ออร์โธปิดิกส์ นพ.บุญประสิทธิ์ กฤตย์ประชา แพทย์ศัลยศาสตร์ หลอดเลือด และพยาบาลได้ร่วมกันแถลงข่าวเกี่ยวกับอาการของ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ จากเหตุ ค นร้ า ยลอบวางระเบิ ด 3 จุ ด ในพื้ น ที่ อ.สะเดา จ.สงขลา ซึ่งมียอดผู้บาดเจ็บรวม 27 คน ทางโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ได้รับไว้ดูแล 12 คน ต้องเข้ารับการผ่าตัด 10 คน ในจ�ำนวนนี้ สาหัส 3 รายโดยที่มีแผนรองรับอุบัติเหตุหมู่ ได้ระดม ก�ำลังแพทย์ พยาบาล และบุคลากรมาเป็นก�ำลังเสริมการท�ำงานร่วม กับเจ้าหน้าที่ในห้องฉุกเฉิน รวมทั้งมีการขยายพื้นที่ห้องผ่าตัดเพิ่มขึ้น ผศ.นพ.ชิ ต เพชรพิ เ ชษเชี ย ร ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล สงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า หลังจากที่ทางโรงพยาบาลได้รับแจ้ง เหตุระเบิด และมีการประสานขอส่งตัวผู้ได้รับบาดเจ็บ โดยที่ทาง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้มีแผนรองรับอุบัติเหตุหมู่ ได้ระดม ก�ำลังแพทย์ พยาบาล และบุคลากรมาเป็นก�ำลังเสริมการท�ำงาน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ในห้องฉุกเฉิน รวมทั้งมีการขยายพื้นที่ห้องผ่าตัด เพิ่มขึ้นด้วย โดยผู้ได้รับบาดเจ็บที่ถูกส่งตัวมายัง รพ.ม.อ.หาดใหญ่ มีทั้งสิ้น 12 คน เป็นชาย 6 คน และหญิง 6 คน ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้า แม่ค้าที่อยู่ใกล้กับจุดระเบิดบริเวณโรงแรมโอลิเวอร์ ซึ่งในจ�ำนวนนี้ เป็นแรงงานหญิงต่างชาติ คือ ชาวพม่า และเวียดนาม รวม 2 คน และแพทย์ได้อนุญาตให้กลับบ้านได้ 1 คน เนื่องจากได้รับบาดเจ็บ เล็กน้อย ทั้ ง นี้ ผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็บทั้ง 11 คน ที่เหลือส่ว นใหญ่มีอาการ หนัก เนื่องจากโดนทั้งไฟไหม้ รวมทั้งแรงอัด และสะเก็ดระเบิดตาม ร่างกายหลายแห่ง ซึ่งแพทย์ต้องเร่งทยอยน�ำเข้าห้องผ่าตัดเพื่อช่วย ชีวิตเป็นการด่วน โดยขณะนี้มีผู้ป่วยที่ต้องรักษา และรอดูอาการ

4

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

อยู ่ ใ นห้ อ งไอซี ยู จ� ำ นวน 3 ราย ประกอบด้วย หญิงชาวเวียดนาม 1 ราย โดนแรงอัด และสะเก็ดระเบิด จนท�ำให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง ฉีกขาด และชายไทยอีก 2 คน โดย หนึ่งในนั้นโดนแรงอัดระเบิดจนหัว กะโหลกเปิด มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้ม สมอง และมีบาดแผลไฟไหม้ตาม ตัวอย่างรุนแรงอีกหลายแห่ง ซึ่งจากการวัดชีพจรล่าสุด ผู้ป่วยยังคง ปลอดภัย ส่วนผู้ป่วยที่เหลือได้ถูกส่งต่อไปยังหออภิบาลผู้ป่วย และ หอศัลยกรรมกระดูกและข้อ ซึ่งแพทย์ได้ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด และรศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ และผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้เข้าเยี่ยมให้ก�ำลังใจ ผู้ป่วยจาก เหตุความไม่สงบดังกล่าว โดยมีคณะแพทย์ผู้ให้การรักษาให้ข้อมูล

ทั้ ง นี้ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ ล อบวางระเบิ ด เมื่ อ 22 ธั น วาคม 2556 บริเวณลานจอดรถด้านหน้าโรงแรมโอลิเวอร์ อ.สะเดา จ.สงขลา จ�ำนวน 3 จุด โดย 2 จุดแรก ที่จอดรถด้านในสถานี ต�ำรวจภูธรสะเดา และ หน้าสถานีต�ำรวจภูธรปาดังเบซาร์ เป็น ระเบิดแสวงเครื่อง ซุกซ่อนไว้ ในรถจักรยานยนต์ ที่น�ำมาจอด ทิ้งไว้แต่ไม่มีผู้ ได้รับบาดเจ็บ ส่วนจุดที่ 3 บริเวณลานจอดรถ ด้านหน้าโรงแรมโอลิเวอร์ อ.สะเดา จ.สงขลา โดยคนร้ายได้น�ำ วัตถุระเบิดแสวงเครื่อง ซุกซ่อนไว้ ในรถยนต์เก๋ง ขับมาจอดไว้ บริเวณดังกล่าว และจุดชนวนระเบิดคาร์บอมบ์ขึ้น ท�ำให้มีผู้ ได้ รับบาดเจ็บ น�ำส่ง รพ.สะเดา และ รพ.ปาดังเบซาร์ รวมแล้ว 27 ราย ส่งต่อมาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 12 ราย และเป็น ผู้ป่วยภายในที่ รพ.สะเดา และ รพ.ปาดังเบซาร์ แห่งละ 3 ราย และ กลับบ้านได้ จ�ำนวน 6 ราย ส่วนนักท่องเที่ยวทุกคนปลอดภัย


สู่ชุมชน/สังคม

ม.อ.ปัตตานี ชูยุทธศาสตร์บริการวิชาการชุมชน

นั

ร่วมศึกษาและพัฒนาหมู่บ้านประมงต้นแบบน�ำร่อง

กวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ชูยุทธศาสตร์บริการวิชาการชุมชน ร่วมศึกษาและพัฒนาหมู่บ้าน ประมงจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เป็ น หมู ่ บ ้ า นประมงต้ น แบบน� ำ ร่ อ ง สร้ า งสั ง คมที่ มี สุ ข ภาพกายและใจที่ ดี สภาพแวดล้ อ มที่ พึ ง ประสงค์ ประชาชนมีอาชีพและระบบสวัสดิการชุมชนที่เข้มแข็ง รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม หัวหน้าโครงการศึกษา และพั ฒ นาชุ ม ชนประมงต้ น แบบน� ำ ร่ อ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า หมู่บ้านประมง ในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ เ ป็ น ประชาคมที่ มี ลั ก ษณะ เฉพาะตั ว มี ก ารตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู ่ อ ย่ า งหนาแน่ น ตาม ชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น�้ำประกอบอาชีพท�ำการประมง เป็ น หลั ก ประชาชนมี ร ายได้ แ ละระดั บ การศึ ก ษาที่ ค ่ อ นข้ า งต�่ ำ และมี ฐ านะ ยากจน ส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ปัญหายาเสพติด นอกจากนั้นประชาคมโดยทั่วไปมีลักษณะ ทางสังคมที่โดดเดี่ยว ขาดการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง ขาดภาวการณ์เป็นผู้น�ำ ที่ดี กอปรกับปัจจุบันจังหวัดชายแดนภาคใต้ก�ำลังประสบปัญหาสถานการณ์ ความไม่สงบ ส่งผลให้ชุมชนประมงพื้นบ้านที่มีปัญหาเดิมเป็นพื้นฐาน ต้องได้รับ ผลกระทบจากปัญหาความไม่สงบอีกทางหนึ่ง แม้ว่ารัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาความมั่นคง ในส่วนของการแก้ไข ปัญหาชุมชนประมงพื้นบ้านนั้น จะเน้นไปที่การพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับ การวาง ปะการังเทียม การปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ และการขุดลอกร่องน�้ำเป็นหลัก ในขณะ ที่ปัญหาพื้นฐานที่เกิดขึ้นในชุมชนประมงยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างเต็มที่ อีกทั้ง การด� ำ เนิ น งานในลั ก ษณะของการสร้ า งชุ ม ชนต้ น แบบให้ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ชุ ม ชน ตามอุดมคติให้มากที่สุดนั้น ยังไม่มีการน�ำไปปฏิบัติให้เห็นผลชัดเจนได้ หลักการ ส�ำคัญของการพัฒนาพื้นที่ชนบทนั้น ต้องก�ำหนดให้พื้นที่เป็นโจทย์ส�ำคัญโดยเน้น การบู ร ณาการการปฏิ บั ติ ง านของภาครั ฐ และการมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนอย่ า ง จริงจังและต่อเนื่อง รศ.ดร.ซุ ก รี หะยี ส าแม กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า จากปั ญ หาดั ง กล่ า วจึ ง มี โครงการศึกษาและพัฒนาชุมชนประมงต้นแบบน�ำร่อง โดยการสร้างหมู่บ้าน ประมงต้ น แบบให้ เ ป็ น สั ง คมที่ มี ค วามสุ ข ประชาชนมี สุ ข ภาพกายและใจดี มี คุ ณ ธรรม อาศั ย ในสภาพแวดล้อมที่ดี ประชาชนร่ว มกันอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานส�ำคัญของ ชุมชนได้รับการพัฒนา มีอาชีพที่เหมาะสม เยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษาในระดับ สูง มีระบบสวัสดิการที่มั่นคงที่เกิดจากการสร้างรายได้ของชุมชนเอง มีระบบ สหกรณ์และกองทุนชุมชนที่สามารถเป็นที่พึ่งของชุมชนได้เองในอนาคต พร้อม

กับมีการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง ส�ำหรับชุมชนประมง ต้ น แบบน� ำ ร่ อ งระยะแรก ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ เริ่ ม ด� ำ เนิ น การมาตั้ ง แต่ ปี 2553 ประกอบ ด้วย บ้านบางปลาหมอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี บ้านคาโต อ�ำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี บ้านทอน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ปี 2554 ประกอบด้วย บ้ า นปาเระ อ� ำ เภอยะหริ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี บ้ า น บางปลาหมอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี บ้านตือ ลาฆอปาลัส อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ปี 2555 ประกอบด้วย บ้านปะเสยาวอ อ�ำเภอสายบุรี จังหวัด ปัตตานี บ้านบานา อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี บ้าน กาแลตาแป อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส โครงการ ดั ง กล่ า วใช้ ก ลยุ ท ธ์ ก ารด� ำ เนิ น งานโครงการด้ ว ยวิ ธี ด� ำ เนิ น การแบบบู ร ณาการ เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว มของ ประชาชน มุ ่ ง ประเด็ น ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม การดู แ ลสุ ข ภาพกาย และใจ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาคม และ การพัฒนาอาชีพทางเลือกให้แก่ประชาคม ส� ำ หรั บ กลยุ ท ธ์ แ ละกิ จ กรรมด� ำ เนิ น การ ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 กิจกรรมการแสวงหากลุ่มแกนน�ำ ที่ ช ่ ว ยผลั ก ดั น ให้ มี กิ จ กรรมหรื อ โครงการที่ เ ข้ ม แข็ ง พร้อมกับเก็บข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ของประชาชนในหมู่บ้าน ขั้นที่ 2 กิจกรรม การมีส่วนร่วมของประชาชน เวทีประชาคม และการ ด�ำเนินกิจกรรมหรือโครงการตามแผนปฏิบัติงานอัน เกิดจากเวทีประชาคม โดยมีรูปแบบของการพูดคุย อย่างไม่เป็นทางการ ขั้นที่ 3 การด�ำเนินกิจกรรมหรือ โครงการตามแผนปฏิบัติงานอันเกิดจากเวทีประชาคม มีการขับเคลื่อนกิจกรรมในลักษณะของการพัฒนา และสร้างอาชีพ ซึ่งนับว่าเป็นความต้องการพื้นฐาน ของประชาคม การให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ สุ ข ภาพ การ รู ้ จั ก วิ ธี ดู แ ลรั ก ษาตั ว เองเมื่ อ เป็ น โรคต่ า งๆ การร่ ว ม สร้างและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่จ�ำเป็น ของหมู่บ้าน อันจะเป็นสัญลักษณ์ของความร่วมมือ และสามัคคี ที่จะคงไว้เป็นหลักฐานต่อไปในอนาคต ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

5


การวิจัย

ม.อ. ลงนามอนุญาตให้ ใช้สิทธิในสิทธิบัตร

“กรรมวิธีการเตรียมเชื้อโพรไบโอติก” ป้องกันฟันผุแก่ประชาชน

เป็นนิมิตใหม่ของมหาวิทยาลัยที่ท�ำให้งานวิจัย ออกไปสู ่ ชุ ม ชนขอให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ สมโพรไบโอติ ก แพร่หลายไปยังประชาชน และประชาชนทั่วไปเข้าถึง ได้ ง ่ า ยในราคาไม่ แ พง โดยเฉพาะของฝากส� ำ หรั บ 3 จังหวัดชายแดนใต้

พรไบโอติก เพื่อป้องกันฟันผุ เป็นผลงานวิจัย ของ ศ.ดร.ระวี เถียรไพศาล ร่วมกับทันตแพทย์หญิงสุพัชรินทร์ พิวัฒน์ ทั น ตแพทย์ ห ญิ ง สุ กั ญ ญา เธี ย รวิ วั ฒ น์ และทั น ตแพทย์ ห ญิ ง กนกพร ก�ำภู คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยผู้วิจัย ศึกษาพบโพรไบโอติกสายพันธุ์ Lactobacillus paracasei SD1 ซึ่งเป็นแบคทีเรียสายพันธุ์ที่ได้มาจากช่องปาก มีความสามารถ ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคฟันผุ ทดสอบร่วม 10 ปี ไม่มีผลข้างเคียง น�ำมาเป็นประโยชน์ในการช่วยป้องกันโรคในช่อง ปากได้ โดยมาพั ฒ นารู ป แบบเป็ น อาหารเสริ ม ในหลายรู ป แบบ เพื่อเป็นทางเลือกของผู้บริโภค เช่น นมผง นมอัดเม็ด โยเกิร์ต และ ผสมในเครื่ อ งดื่ ม น�้ ำ ผลไม้ ต ่ า ง ๆ ช่ ว ยป้ อ งกั น โรคในช่ อ งปากได้

6

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557


ในหลายปี ท่ี ผ ่ า นมา ได้ มี ก ารน� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น มผงผสม โพรไบโอติก ไปทดลองใช้ในอาสาสมัคร จ�ำนวน 2 โครงการ โครงการแรกคื อ กลุ ่ ม อาสาสมั ค รทั่ ว ไป และโครงการที่ ส อง คือกลุ่มอาสาสมัครที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง พบว่า ในทั้งสอง โครงการ กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับนมผงผสมโพรไบโอติกพบ การลดลงของเชื้อก่อโรคฟันผุ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับ นมผงทั่วไป โดยในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อฟันผุสูง จะเห็นการ ลดลงของเชื้อฟันผุได้ชัดเจนกว่ากลุ่มความเสี่ยงต�่ำ และเชื้อ Lactobacillus paracasei SD1 สามารถคงอยู่ในช่องปากได้ อย่างน้อย 1 เดือน หลังจากการได้รับนมผงผสมโพรไบโอติก นอกจากนี้ ไ ม่ พ บอาการข้ า งเคี ย ง หรื อ อาการไม่ พึ ง ประสงค์ ใด ๆ ในอาสาสมัครทั้งสองโครงการ โดยผลการวิจัยได้รับการ ตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ท างวารสารวิ ช าการนานาชาติ แ ล้ ว ปั จ จุ บั น ผู้วิจัยได้น�ำ โพรไบโอติกLactobacillus paracasei SD1 มา พัฒนารูปแบบเป็นอาหารเสริมในหลายรูปแบบเพื่อเป็นทาง เลือกของผู้บริโภค เช่น นมผง นมอัดเม็ด โยเกิร์ต และผสมใน เครื่องดื่มน�้ำผลไม้ต่าง ๆ ในการน�ำมาผสมในเครื่องดื่มจะน�ำ เอาหัวเชื้อมาเตรียมในรูปแบบของ microencapsulation ซึ่ง มีลักษณะเป็นแคปซูลเล็กๆ คล้ายชาไข่มุก และต้องเคี้ยวเพื่อ ให้ตัวเชื้อได้ออกมาสัมผัสในช่องปาก การท�ำในรูปของแคปซูล นี้จะท�ำให้เชื้อสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้นานกว่าการผสมลงใน น�้ำและเครื่องดื่มโดยตรง อย่างไรก็ตาม หากเตรียมผสมในรูป แบบของนมผงและโยเกิร์ตจะสามารถท�ำให้เชื้อมีชีวิตอยู่ได้ นานกว่า โดยยังคงประสิทธิภาพในการป้องกันฟันผุได้เท่าเดิม

การพั ฒ นารู ป แบบของการน� ำ โพรไบโอติ ก มาใช้ ใ ห้ มี ความหลากหลาย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคสามารถมี ท างเลื อ ก ตามความพึ ง พอใจ โพรไบโอติ ก สามารถใช้ เ ป็ น ประโยชน์ ได้ ใ นคนทุ ก อายุ เช่ น ในผู ้ สู ง อายุ มั ก มี ป ั ญ หาของฟั น ผุ ที่ ผิ ว รากฟัน เนื่องจากผู้สูงอายุมักมีปัญหาของเหงือกร่น ซึ่งมีวิจัย ในต่างประเทศพบว่าโพรไบโอติกสามารถช่วยให้ดีขึ้นได้ การวิจัยดังกล่าวข้างต้นได้รับการสนับสนุนจากโครงการ ส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ในอุ ด มศึ ก ษาและพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่งชาติ ของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)ใน การ โพรไบโอติคไปผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อป้องกันฟันผุเป็น ทางเลือกหนึ่ง ร่วมกับการดูแลรักษาสุขภาวะในช่องปากของ ประชากรไทยหวังผลว่าจะลดฟันผุของเด็กไทยได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติก ในรูปแบบต่างๆ ที่ ห ลากหลาย และศึ ก ษาความคงตั ว ของ โพรไบโอติก ปัจจุบันได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม คือ นมผงผสมโพรไบโอติกLactobacillus paracaseiSD1 มีคุณสมบัติที่ต้องการและ สามารถคงคุ ณ ภาพของผลิ ตภั ณ ฑ์ใ นการ เก็บรักษาได้เป็นปี เก็บรักษาได้ง่าย เหมาะ กับผู้บริโภคทุกอายุ น�้ำหนักเบา เคลื่อนย้าย ได้สะดวก นอกจากนี้สามารถดัดแปลงรูป แบบเป็นนมอัดเม็ด และยาอม โดยเตรียม จากนมผงหรือผสมโพรไบโอติกใน นมเปรี้ยว โยเกิร์ต และ เครื่องดื่มน�้ำผลไม้ ความคงตัว ของโพรไบโอติกในนมเปรี้ยว และโยเกิร์ต มีความคงตัวดี ส่วนในน�้ำผลไม้ต้องใช้เทคนิค microencapsulation ในการเก็บรักษาโพรไบโอติกในเม็ด bead ท�ำให้สามารถเก็บ รักษาเชื้อได้ดีในการท�ำการประเมินผลของรูปแบบและรสชาติ ของ ผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติกLactobacillus paracaseiSD ชนิดต่างๆ ในประชาชนทั่วไป มีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ทุก ชนิดสูง และอยากให้ผลิตเพื่อจ�ำหน่าย จึงเห็นได้ว่าหากผลิต ทางการค้าน่าจะประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจได้

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

7


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ารที่ จ ะท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาของสถาบั น เป็ น ผู ้ รู ้ ส่ ว นหนึ่ ง มาจากตั ว นั ก ศึ ก ษาเองที่ จ ะต้ อ งมี ค วามสนใจ มีความพยายามที่จะจดจ�ำและเรียนรู้ แต่อีกส่วนหนึ่งมาจากวิธีการที่สถาบันหรือหน่วยงานที่ให้ความรู้ หมายถึงถ้าหากระบบการถ่ายทอด ความรู้มีประสิทธิภาพ และเหมาะสม ในขณะเดียวกันนักศึกษามีความพร้อม ผลลัพธ์ที่ได้ คงเป็นไปตามที่คิดหวังไว้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นทุกอย่างต้องอาศัยการพัฒนาและปรับปรุงอยู่เสมอเช่นกัน

คณะแพทย์ ม.อ. พัฒนาข้อสอบประมวลความรู้ ขั้นที่ 1

อีกหนึ่งรางวัลการันตี แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จากเวที PSU Quality Award

งไม่ง่ายนักหากจะพัฒนาสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้ดีข้ึน เพราะ นั่ น หมายถึ ง ความพยายามที่ ม ากกว่ า ปกติ แต่ ง าน ด้านแพทยศาสตรศึกษา คณะแพทยศาสตร์ ก็ยังพัฒนางาน อยู่เสมอจนประสบความส�ำเร็จในหลายๆ เรื่อง และหนึ่งในนั้น คือ การคว้ารางวัลคุณภาพของหน่วยทะเบียนและประเมินผล การศึกษา จากผลงานการพั ฒ นาข้ อ สอบประมวลความรู ้ ขั้นที่ 1 หรือ ข้อสอบ comprehensive 1 ในงานเวทีคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือ PSU Quality Award โดยมี รศ.พญ.พรรณทิ พ ย์ ฉายากุ ล และพญ.ศรี ล า ส� ำ เภา เข้ารับรางวัลจาก รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี การจัดสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ในชั้นปีที่ 3 เริ่มต้น ตั้ ง แต่ ปี ก ารศึ ก ษา 2543 เพื่ อ เป็ น เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น ในการ ผ่ า นจากชั้ น ปรี ค ลิ นิ ก เข้ า สู ่ ชั้ น คลิ นิ ก จากผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ สอบในช่ ว งปี แ รกๆ พบว่ า ข้ อ สอบส่ ว นใหญ่ จ ะมี ลั ก ษณะ ที่ เ น้ น ความจ� ำ ในเนื้ อ หาของวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ พ้ื น ฐาน และเป็ น ข้ อ สอบที่ ต ้ อ งมี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ในสั ด ส่ ว นที่ สู ง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 ศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศรว.) ได้ก�ำหนด ให้ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ชั้ น ปี ที่ 3 มี ก ารสอบเพื่ อ ประเมิ น ความรู ้ ความสามารถในการประกอบวิ ช าชี พ เวชกรรมขั้ น ตอนที่ 1 (National Examination License1: NLE1) โดยมี ลั ก ษณะ เป็นข้อสอบเชิงประยุกต์ที่บูรณาการความรู้ระหว่างปรีคลินิก และคลินิก ซึ่งรูปแบบและช่วงเวลาการสอบมีความคล้ายคลึง

8

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

กับการสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ของคณะฯ ดังนั้นคณะแพทยศาสตร์ จึงเล็งเห็นโอกาสในการพัฒนา ข้อสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ให้ได้มาตรฐานและมีลักษณะ ใกล้เคียงกับข้อสอบของศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความ สามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม เพื่อเป็นประโยชน์ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะสอบผ่ า น NLE1 และพั ฒ นาข้ อ สอบให้ มี คุณภาพดี สามารถเก็บเป็นคลังข้อสอบได้ การพัฒนามีการก�ำหนดขั้นตอนไว้ 11 ขั้น โดยแต่ละ ขั้นตอนมีการด�ำเนินการตามกระบวนการ PDCA ขั้นตอนที่ 1 : วางแผนงาน ทบทวน หาข้อมูลการสอบ คือ มีการศึกษาและทบทวนการด�ำเนินการและกระบวนการได้ มาซึ่งข้อสอบ ประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ที่ผ่านมา เพื่อก�ำหนด รูป แบบ วิธีการจัดการที่เหมาะสมที่จะด�ำเนินการจัดท�ำ หลังจากนั้น


จึงศึกษาวิธีการด�ำเนินการและกระบวน การการออกข้อสอบ NLE1 ของ ศรว. และน�ำประยุกต์ให้เข้ากับกระบวนการการออก ข้อสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ของคณะแพทยศาสตร์ ขั้นตอนที่ 2 : แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ วางแผนก�ำหนดคุณสมบัติของคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และก�ำหนดให้มีผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลชั้นปรีคลินิก และคลินิกร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ ประกอบ ด้ ว ย รองคณบดี ฝ ่ า ยการศึ ก ษา ผู ้ ช ่ ว ยคณบดี ฝ ่ า ยการศึ ก ษา ในส่ ว นคณะกรรมการจะคั ด เลื อ กอาจารย์ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก แต่ละภาควิชาที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนทั้ง จากคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนที่ 3 : จัดท�ำตารางข้อสอบ (table of specification) โดยวางแผนการจัดท�ำ ตารางข้อสอบ สร้างตาราง ส่งตารางข้อสอบ ปรับแก้ตารางข้อสอบ ที่ผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการฯ และภาควิ ช าแล้ ว เพื่ อ น� ำ ไปใช้ เ ป็ น ตาราง การออกข้อสอบฉบับสมบูรณ์ต่อไป ขั้นตอนที่ 4 : หน่วยทะเบียนและประเมินผลการ ศึกษา ด�ำเนินการขอข้อสอบจากแต่ละภาควิชาตามตาราง ข้ อ สอบ เมื่ อ ได้ ต ารางข้ อ สอบฉบั บ สมบู ร ณ์ หน่ ว ยทะเบี ย น และประเมินผลการศึกษา จะด�ำเนินการส่งตารางข้อสอบไปยัง ภาควิชาที่ได้รับมอบหมายให้ออกข้อสอบ ขั้นตอนที่ 5 : อาจารย์ประจ�ำภาควิชาออกข้อสอบ ตามตารางข้อสอบ เมื่อหัวหน้าภาควิชาได้รับตารางข้อสอบ ในหั ว ข้ อ ที่ ภ าควิ ช าได้ รั บ มอบหมาย จะด� ำ เนิ น การกระจาย ข้ อ สอบเพื่ อ มอบหมายให้ อ าจารย์ ใ นภาควิ ช าออกข้ อ สอบ โดยจะส่งต่อแบบฟอร์มในการออกข้อสอบพร้อมทั้งค�ำแนะน�ำ ทั้งหมดให้อาจารย์ ที่จะออกข้อสอบ ขั้นตอนที่ 6 : ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณา ข้ อ สอบ เมื่อหน่วยทะเบียนฯ ได้รับข้อสอบที่แต่ละภาควิชา ส่ ง มา จะด� ำ เนิ น การจั ด ประชุ ม คณะกรรมการเพื่ อ พิ จ ารณา ข้อสอบทุกข้อ ขั้ น ตอนที่ 7 : ผู ้ เ ชี่ ย วชาญฯ ตรวจสอบข้ อ สอบ ภาพรวมทั้ ง ฉบั บ เมื่ อ ข้ อ สอบทุ ก ข้ อ ได้ ผ ่ า นการพิ จ ารณา จากที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบแล้ว ประธานซึ่ง เป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้ า นการประเมิ น ผลชั้ น ปรี ค ลิ นิ ก และคลิ นิ ก จะตรวจสอบข้อสอบทั้งฉบับเพื่อตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ ของข้อสอบ และดูว่าข้อสอบแต่ละข้อ ไม่มีข้อสอบที่ช้ีน�ำค�ำตอบ

ในข้ออื่นและไม่มีความซ�้ำซ้อน ขั้นตอนที่ 8 : ด�ำเนินการสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ ก�ำหนดให้สอบในช่วงปิดเทอมของชั้นปีที่ 3 โดยให้สอบก่อน NLE 1 อย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพื่อให้นักศึกษา มีเวลาในการเตรียมตัวเพิ่มเติมส�ำหรับการสอบ NLE 1 ต่อไป ขั้นตอนที่ 9 : วิเคราะห์คะแนนสอบของนักศึกษา และประกาศให้นักศึกษาทราบไม่เกิน 5 วันหลังการสอบ เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การสอบ หน่ ว ยทะเบี ย นฯ จะด� ำ เนิ น การตรวจ และวิ เ คราะห์ คะแนนสอบของนั ก ศึ ก ษาจ� ำ แนกตาม วัตถุประสงค์ เพื่อประกาศคะแนนให้นักศึกษาทราบ และน�ำมา พัฒนาความรู้ก่อนการสอบ NLE1 ขั้ น ตอนที่ 10 : วิ เ คราะห์ ข ้ อ สอบ หน่วยทะเบียนฯ จะท�ำการวิเคราะห์ข้อสอบทุก ข้อโดยละเอีย ดและส่ง ผลการ วิเคราะห์ไปยังผู้ออกข้อสอบ เพื่อน�ำมาปรับปรุงพัฒนาข้อสอบ ในปีต่อไปและเก็บข้อสอบที่มีคุณภาพเข้าคลังข้อสอบ ซึ่งจาก ผลการวิเคราะห์ข้อสอบสรุปย้อนหลังตั้งแต่ปีการศึกษา 25512555 พบว่า ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 ทั้งฉบับ (KR.20) มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 0.8 และแนวโน้มสูงขึ้น ในทุกๆ ปี และจากผลการวิเคราะห์ข้อสอบพบว่ามีข้อสอบที่ดี มีคุณภาพสามารถเก็บเข้าคลังข้อสอบได้นั้นมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ส่วนสัดส่วนของข้อสอบที่ต้องตัดทิ้งนั้นก็ลดลงอย่างเห็นได้ชัด ขั้นตอนที่ 11 : วิเคราะห์ผลการสอบ ประมวลความรู้ ขั้ น ที่ 1 และ NLE1 เพื่ อ น� ำ มาพั ฒ นาข้ อ สอบต่ อ ไป จาก การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลการสอบประมวลความรู้ขั้นที่ 1 กับผลการสอบ NLE 1 ของนักศึกษาแพทย์ ม.อ. พบว่าแนว โน้มของผู้สอบผ่านเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ปี จากผลการวิเคราะห์ คะแนนสอบนั้น คณะแพทยฯ สามารถพยากรณ์ได้ว่านักศึกษา ที่ได้คะแนนสอบ Comprehensive 1 ร้อยละ 60 ขึ้นไป จะสอบ ผ่าน NLE 1 ซึ่งข้อมูลการพยากรณ์นี้ท�ำให้นักศึกษาสามารถ ประเมิ น ตนเองและกระตุ ้ น ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น ในการพัฒนาความรู้ ของตนเองก่อนสอบ NLE 1 จากการปรับกระบวนการเพื่อพัฒนาข้อสอบประมวล ความรู ้ ขั้ น ที่ 1 จะท� ำ ให้ ค ณะแพทยศาสตร์ มี วิ ธี ก ารจั ด การ ที่เหมาะสมในการด�ำเนินการพัฒนาการสอบประมวลความรู้ ขั้ น ที่ 1 และผลการวิ เ คราะห์ พบว่ า ร้ อ ยละของผู ้ ส อบผ่ า น NLE 1 มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกๆ ปี โดยหากเปรียบเทียบกับสถาบัน อื่น พบว่านักศึกษาแพทย์ ม.อ. มีร้อยละของการสอบผ่านสูงกว่า ภาพรวมทั้งประเทศ

ที่มา ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 31ฉบับที่ 22 ประจ�ำเดือนกันยายน – ตุลาคม 2556

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

9


วิจัย

พบ...

สัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ ชายฝั่งเกาะลิดี

หวั่นสร้างท่าเรือน�้ำลึก กระทบระบบนิเวศรอบเกาะ

กาะลิ ดี เป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ อ ยู ่ ใ นเขตพื้ น ที่ ข อง อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา อ�ำเภอเมือง จังหวัด สตู ล ห่ า งจากท่ า เรื อ ปากบาราประมาณ 7 กิ โ ลเมตร มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 10 ตารางกิ โ ลเมตร มี ห าดทรายขาวบริ สุ ท ธิ์ และมี เวิ้ ง อ่ า วยื่ น เข้ า ไปในตั ว เกาะเป็ น สระน�้ ำ ใสสะอาด เหมาะส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ช อบเล่ น น�้ ำ ทะเลมี ห น้ า ผาและถ�้ ำ เป็ น ที่ อ าศั ย ของนกนางแอ่นเป็นจ�ำนวนมาก เสน่ห์ของเกาะลิดี อยู่ที่การเป็นเกาะคู่แฝดที่มีขนาดไล่เลี่ยกัน และมีเกาะน้อยๆประมาณ 3-4 เกาะ เรียงรายอยู่ใกล้ๆ มีถ�้ำซึ่งเป็นแหล่งอาศัย ของนกนางแอ่น รอบด้านคือหาดทรายขาวบริสุทธิ์ และมีเวิ้งอ่าวยื่นไปในน�้ำ

10

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557


ศ.ดร.เสาวภา อังสุภานิช ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ศ.ดร.เสาวภา อังสุภานิช ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ เปิดเผยว่า ได้พบสัตว์พื้นใต้น�้ำชนิดใหม่ ของโลก ชายฝั่งเกาะลิดี จังหวัดสตูล เป็นสัตว์คล้ายกุ้งขนาดเล็ก ล�ำตัวยาวประมาณ 3 - 4 มิลลิเมตร อาศัยอยู่ในตะกอนดินร่วน เหนียวปนทรายในป่าชายเลนของหาดที่เกาะลิดี ซึ่งอยู่ห่างจากฝั่ง ท่าเรือปากบารา อ.ละงู ประมาณ 7 กิโลเมตร พบสัตว์ชนิดนี้ ในเดือนพฤศจิกายน 2553 น�้ำมีความเค็มประมาณ 34 ส่วนต่อ 1,000 มี ช่ื อ วิ ท ยาศาสตร์ ว ่ า “ฮาลมายแรบซู เ ดส กู ตุ ย ” (Halmyrapseudes Gutui) ตามชื่อ Halmyrapseudes Gutui เป็นสัตว์ใน Phylum Arthropoda, Subphylum Crustacea, Order TanaidaceaFamily Parapseudidae, Genus Halmyrapseudes เป็นการค้นพบใหม่ในระดับชนิด (species) ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ชื่อผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ (Dr. Modest Gutu) ซึ่ ง ได้ รั บ การเผยแพร่ ใ นวารสาร Kakui, K. and Angsupanich, S. 2013. Description of three species of Halmyrapseudes (Crustacea:Tanaidacea:Parapseudidae), with a discussion of biogeography. Zootaxa 3736 (4) : 345 – 367.

Halmyrapseudes Gutui แม้เป็นสัตว์ขนาดเล็กแต่ใน บางฤดูกาลมีความชุกชุมมากเกือบ 10,000 ตัว/ตารางเมตร จึงเป็นกลุ่มสัตว์ที่ส�ำคัญในห่วงโซ่อาหารของสัตว์น�้ำจ�ำพวก ปลา กุ้ง ปู หอย ดาวทะเล ปลิงทะเล นานาชนิดบนหาดของ เกาะลิดี นอกจากนี้ ยังเป็นตัวการส�ำคัญในการกินซากอินทรีย์ ต่างๆ ในตะกอนดิน ซึ่งมีส่วนช่วยบรรเทาความเน่าเสียให้ ท้องทะเลด้วย แต่ถ้าในตะกอนดินมีสารอินทรีย์และของเสีย อื่นๆ เช่น คราบน�้ำมันปนเปื้อนอยู่มากเกินไป จะท�ำให้สัตว์ ชนิดนี้และอื่นๆ ไม่สามารถด�ำรงชีพอยู่ได้เช่นกัน

ดังนั้น โครงการก่อสร้างท่าเรือน�้ำลึก ซึ่งในขณะนี้อยู่ ในระยะการประชาพิจารณ์ จึง ต้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต รอบ เกาะลิดีด้วย เนื่องจากเป็นเกาะที่อยู่ ใกล้พื้นที่ โครงการฯ ยิ่งกว่านั้น เป็นเกาะที่มี ความหลาก หลายเชิงระบบนิเวศสูงแม้เป็นเกาะเล็ก ๆ โดย มีทั้งป่าชายเลน หญ้าทะเล สาหร่าย ปะการัง หาดโคลน หาดทราย และหาดหิน จึงเหมาะเป็น แหล่งเรียนรู้ธรรมชาติชายฝั่งที่อยู่ ใกล้บ้าน

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

11


สู่...ประชาคมอาเซียน

ม.อ.ปัตตานี

เปิดงานเทศกาลอาหารชายแดนใต้

เพื่อส่งเสริมการตลาดเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าชายแดนภาคใต้

และสินค้าโอทอป รองรับเศรษฐกิจอาเซียน

เป็นโครงการการพัฒนาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ของไทยให้เป็น ศูนย์กลางการผลิตอาหารและสินค้า อื่นๆ ที่มีคุณภาพระดับสากลเพื่อ ส่งเสริมการตลาด เพิ่มช่องทางการ จ�ำหน่ายสินค้าของจังหวัดชายแดน ภาคใต้ เพื่อรวบรวมข้อมูลผู้ผลิต และผู้ประกอบการอาหารในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ การก�ำหนดแนวทางในการพัฒนา ธุรกิจอาหารในพื้นที่ และเพื่อแสดงผล งานทางวิชาการ การประชาสัมพันธ์ การรับสมัครนักศึกษาเพื่อเข้าศึกษา ต่อในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเผยแพร่ศิลป วัฒนธรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้

12

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

ร.มะรอนิ ง สาแลมิ ง รองเลขาธิ ก าร ศู น ย์ อ� ำ นวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นประธานจัดงานเทศกาล อาหารชายแดนใต้ เพื่อส่งเสริมการตลาด เพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย สิ น ค้ า ชายแดนภาคใต้ และสิ น ค้ า โอทอป เมื่ อ วั น ที่ 19 ธั น วาคม ที่ ผ ่ า นมา ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ กิจกรรมประกอบด้วย การแสดงและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์จากจังหวัดชายแดนภาคใต้ กว่า 250 ร้านค้า การประกวดการพัฒนาผลิตภัณฑ์แนวคิด “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหาร OTOP จังหวัดชายแดนใต้สู่ตลาด ประชาคมอาเซียน” การแสดง ผลงานทางวิชาการและการประชาสัมพันธ์หลักสูตรของมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กิจกรรมจับคู่ธุรกิจสินค้าและอาหาร การแสดงศิลปวัฒนธรรม นิทรรศการของหน่วยงานราชการ กิจกรรม ส�ำรวจและรวบรวมข้อมูลผู้ประกอบการอาหารในพื้นที่ 5 จังหวัด กิจกรรม จับคู่ธุรกิจสินค้าและ โดยมีผู้ร่วมโครงการจากหลายหน่วยงาน อาทิ กลุ่ม ผู้ประกอบการในโครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการฮาลาล ของศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล ม.อ.ปัตตานี กลุ่มผู้ประกอบการใน โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์จังหวัดปัตตานี ในโครงการของ ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นและกลุ ่ ม OTOP ใน 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ กลุ ่ ม ผู ้ ประกอบการผลิตจ�ำหน่ายสินค้าฮาลาลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และประเทศมุสลิมอื่นๆ เครือข่ายสหกรณ์อิสลามภาคใต้ คณะกรรมการ อิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทย และคณะกรรมการอิ ส ลามประจ� ำ จั ง หวั ด 5 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ กลุ ่ ม หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การรั บ รอง มาตรฐานอาหาร และหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบล


อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด พาณิ ช ย์ จั ง หวั ด และส� ำ นั ก งานพั ฒ นา ชุมชน ดร.มะรอนิง สาแลมิง รองเลขาธิการ ศูนย์อ�ำนวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ ท�ำให้นักธุรกิจนอกพื้นที่ ขาดความมั่ น ใจเข้ า มาลงทุ น ภาครั ฐ จึ ง ปรั บ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ เป็ น การสร้ า งความเข้ม แข็งของผู้ประกอบการในพื้ นที่ งาน เทศกาลอาหารชายแดนใต้ประจ�ำปี 2556 เป็นโครงการพัฒนา จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต อาหาร และสินค้าอื่นๆ ที่มีคุณภาพระดับสากล และเพื่อเพิ่มช่องทาง การจ�ำหน่ายสินค้า ของจังหวัดชายแดนใต้ “เป็ น โครงการการพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ของไทยให้ เ ป็ น ศู นย์ก ลางการผลิต อาหารและสินค้ า อื่ น ๆ ที่ มี คุ ณ ภาพระดั บ สากลเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การตลาด เพิ่ ม ช่ อ งทาง การจ�ำหน่ายสินค้าของจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อรวบรวม ข้ อ มู ล ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ ป ระกอบการอาหารในจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การก� ำ หนดแนวทางในการ พัฒนาธุรกิจอาหารในพื้นที่ และเพื่อแสดงผลงานทางวิชาการ การประชาสั ม พั น ธ์ ก ารรั บ สมั ค รนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้” ดร.มะรอนิง สาแลมิง เปิดเผยเพิ่มเติม ผศ.สมปอง ทองผ่ อ ง รองอธิการบดี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า จังหวัดชายแดน ภาคใต้ มี ศั ก ยภาพในการผลิ ต อาหาร โดยเฉพาะจั ง หวั ด ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส มีกลุ่ม OTOP มากกว่า 700 ราย ที่ขึ้นทะเบียนกับส�ำนักงานพัฒนาชุมชน และมีผู้ประกอบการ ระดั บ SME และโรงงานขนาดใหญ่ ม ากกว่ า 10 แห่ ง จากการเก็บข้อมูลของภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร และโภชนาการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 โดยการลงพื้นที่ให้ค�ำปรึกษาและตรวจเยี่ยม สถานประกอบการ พบว่า ปัญหาหนึ่งของผู้ประกอบการ

ในพื้นที่ คือ ช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้ายังอยู่ในวงจ�ำกัด และ บางสินค้ายังเป็นที่รู้จักในวงแคบ ดังนั้นภาควิชาวิทยาศาสตร์ การอาหารและโภชนาการ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จึ ง ได้ จั ด ท� ำ โครงการส่ ง เสริ ม การตลาด ผู ้ ป ระกอบการอาหารชายแดนภาคใต้ ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 19-22 ธันวาคม ที่ผ่านมา ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อเป็นการสนับสนุน ผู้ประกอบการให้มีโอกาสขยายตลาดสู่กลุ่มลูกค้าที่กว้างขวาง ขึ้น โดยการส่งเสริมให้มีการจับคู่ธุรกิจ เพื่อเพิ่มช่องทางในการ จ�ำหน่ายสินค้าและกระจายสินค้าได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังเป็น โอกาสให้ผู้ประกอบการได้รับข้อคิดเห็นโดยตรงจากผู้บริโภค เพื่อน�ำไปปรับปรุงสินค้า ให้ตรงกับความต้องการของตลาด รศ.ดร.ซุ ก รี หะยี ส าแม คณบดี ค ณะวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่ า วว่ า ศู น ย์ วิ ท ยาศาสตร์ อ าหารฮาลาล เป็ น หน่ ว ยงาน ภายในภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ คณะ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นแหล่งรวมความรู้ทางด้านการจัดการ ที่ เกี่ยวข้องกับอาหารฮาลาล มีเป้าหมายเพื่อตอบสนองความ ต้องการของสังคมในการพัฒนาความรู้และเทคโนโลยีด้าน อุ ต สาหกรรมอาหาร และรองรั บ นโยบายของรั ฐ ที่ ว างแผน เตรี ย มความพร้ อ มในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ ไ ปสู ่ ค วามเป็ น ศูนย์กลางของอุตสาหกรรมฮาลาล ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหาร ฮาลาล เล็งเห็นว่า ผลิตภัณฑ์ชายแดนใต้ก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญ ต่อการส่งออกอาหารของไทยมากขึ้นเป็นล�ำดับ แต่ผลจาก สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ท�ำให้ ไม่ มี นั ก ลงทุ น เข้ า มาด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เพิ่ ม เติ ม จากที่ เ คยเป็ น อยู ่

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

13


สู่...ชุมชน/สังคม

เปิดเวที

“ลวดลายและเรื่องเรา

ณ ชายแดนใต้” สะท้อนเรื่องราววิถีชีวิตวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น

ศ.อภิ นั น ท์ โปษยานนท์ รองปลัด กระทรวงวั ฒ นธรรม เป็ น ประธานเปิ ด งาน “ลวดลายและเรื่ อ งราว ณ ชายแดนใต้ ” สะท้ อ นเรื่ อ งราววิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรมชุ ม ชน ท้ อ งถิ่ น โดยมี น ายนฤพล แหละตี รอง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ปั ต ตานี กล่ า วต้ อ นรั บ เมื่ อ วั น ที่ 13 พฤศจิ ก ายน 2556 ณ หอศิ ล ป วัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดขึ้น โดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กระทรวงวัฒนธรรม และ บริษัทป่าใหญ่ครีเอชั่น จ�ำกัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบรับนโยบายการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดน ภาคใต้โดยใช้มิติทางวัฒนธรรม และยังเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชน ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ได้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ผ ่ า นกิ จ กรรม ด้านวัฒนธรรม และสามารถน�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ อาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเอง ชุมชนต่อไป การจัดงานในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ ประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ประกอบการกลุ่มอาชีพ ต่างๆ เครือข่ายด้านวัฒนธรรม และชุมชนในท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรม การแสดงนิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถกับเรื่องราวการทรงงานเกี่ยวกับผ้า ในพื้นที่ภาคใต้ การแสดง นิทรรศการเรื่อง ผ้ากับวิถีชีวิต ๓ จังหวัด ชายแดนใต้ นิทรรศการแสดง ผลงานของผู้เข้ารับการอบรมกิจกรรม “ร้อยหัวใจในผืนผ้า” การแสดง เครื่องแต่งกายย้อนยุคมลายูดั้งเดิม คลี่คลาย และสู่ปัจจุบัน การแสดง เครื่องแต่งกายและผลิตภัณฑ์ชายแดนใต้ การเสวนาแลกเปลี่ยนเรียน รู้ในหัวข้อ “มรดกภูมิปัญญาชายแดนใต้สู่วัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์” (Creative Culture) จากวิทยากรผู้มีชื่อเสียง อาทิ นายเผ่าทอง ทองเจือ ผศ.จุรีรัตน์ บัวแก้ว นอกจากนี้ ได้เปิดพื้นที่ส�ำหรับเด็ก เยาวชน และ สตรี ร่วมเสวนาในหัวข้อ “เด็กรุ่นใหม่ เปิดใจเรียนรู้” วิถีบ้าน วิถีเรา วิ ถี วั ฒ นธรรม โดยมี วิ ท ยากรผู ้ เ ชี่ ย วชาญเกี่ ย วกั บ เด็ ก และเยาวชน เป็นผู้ด�ำเนินรายการ อาทิ นิ ร มล เมธี สุ ว กุ ล การออกร้านจ�ำหน่าย สินค้าทางวัฒนธรรม ซึ่งในทุกกิจกรรมจะได้รับองค์ความรู้ การพัฒนา ทักษะ เพื่อสามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอดงานช่างฝีมือ สร้างรายได้ให้แก่ ตนเอง อีกทั้งเกิดความรัก ความภาคภูมิใจของท้องถิ่นตัวเองอีกด้วย ศ.ดร.อภิ นั น ท์ รองปลั ด กระทรวงวั ฒ นธรรม กล่ า วว่ า การ จั ด งานดั ง กล่ า วเป็ น หนึ่ ง ในยุ ท ธศาสตร์ ที่ รั ฐ บาลได้ ม อบหมายให้ กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) ด�ำเนินการด้วยการใช้มิติวัฒนธรรมแก้ไข ปั ญ หาความไม่ ส งบในพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต้ ในการสร้ า งความรู ้ ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับคนในพื้นที่ โดยการถ่ายทอด

14

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

มรดกทางภู มิ ป ั ญ ญา และองค์ ค วามรู ้ ข องชาวชายแดนใต้ สู ่ ก ารใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น เพื่ อ ให้ ป ระชาชนทุ ก ระดั บ ได้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นความ รู ้ ค วามคิ ด ระหว่ า งกั น โดยเฉพาะการหยิ บ ยกเรื่ อ งราวของผ้ า ไทย พื้นเมืองชายแดนใต้ ซึ่งมีเอกลักษณ์และเรื่องราวของลายผ้า มาเป็น สื่อกลางในการท�ำความเข้าใจบอกเล่าถึงมรดกภูมิปัญญาเพื่อเป็นแรง บันดาลใจให้แก่นักออกแบบในพื้นที่ได้สร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่า และต่อยอดน�ำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มในตลาดต่างประเทศ ศ.ดร.อภินันท์ กล่าวต่อไปว่า จากการเก็บข้อมูลทางวัฒนธรรม ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ผ่านมา พบว่า งานสร้างสรรค์ทาง วัฒนธรรมถูกมองข้าม และไม่ได้รับการยอมรับ ทั้งที่ผลงานของศิลปิน ในท้ อ งถิ่ น นี้ มี ศั ก ยภาพจ� ำ นวนมาก สิ่ ง เหล่ า นี้ ท� ำ ให้ เ ห็ น ว่ า การขั บ เคลื่อนทางวัฒนธรรมจึงเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญที่จะช่วยละลายความ ตึงเครียดของคนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ท� ำ ให้ ค นหลากหลายทั ศ นคติ และความคิ ด สามารถมาท� ำ กิ จ กรรม ร่วมกันได้ อย่างไรก็ตามกระทรวงวัฒนธรรม มีนโยบายในการส่งเสริม และต่อยอดภูมิปัญญาในด้านต่างๆ ทั้งการออกแบบ แฟชั่น ให้น�ำไป สู่การประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจ�ำวันโดยผูกโยงเรื่องราวเกี่ยวกับ ความเชื่อ เรื่องราวและขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องถิ่นด้วย “เรายังสามารถน�ำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาแปลงเป็น สินค้าทางวัฒนธรรม เช่น การเขียนภาพจิตรกรรมพบว่ามีศิลปิน จากปัตตานี ยะลา นราธิวาส ได้รางวัลระดับชาติอย่างมากมาย ผลงานมีมูลค่าถึงหลักแสน ขณะที่ท้องตลาดก็มีความต้องการ ผลงานดั ง กล่ า วจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ย ดั ง นั้ น จะต้ อ งมาคิ ด หาแนวทาง ต่ อ ยอดผลงาน ให้ ส ามารถน� ำ องค์ ป ระกอบ ของงานที่ ดี มี คุณภาพในท้องถิ่นมาจัดท�ำเป็นสินค้าทางวัฒนธรรม พร้อมทั้ง หาช่องทางการตลาดเพิ่มเติม ที่ส�ำคัญทางกระทรวงจะต้องส่ง ผู ้ เ ชี่ ย วชาญมาอบรมเพิ่ ม ด้ ว ย จากนั้ น ก็ ใ ห้ น� ำ สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ การ คัดเลือกมาขายในงานโอท็อปวัฒ นธรรมที่จะมีการจัดขึ้นหลาย พื้นที่ทั่วประเทศต่อไป” ศ.ดร.อภินันท์ กล่าว


รอบรั้วศรีตรัง

ทูลเกล้าฯถวายแผ่นรองฉลองพระบาทเพื่อสุขภาพ

ที

มงานศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ประกอบด้วย ผศ.ค�ำรณ พิทักษ์ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์บ่มเพาะฯ ผศ.นพ.สุนทร วงษ์ศิริ นักวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ม.อ. นางจันทิมา วงษ์ศิริ ผู้ประกอบการของศูนย์บ่มเพาะฯ และนางสาวจริยา ค�ำแหง ผู้จัดการศูนย์บ่มเพาะฯทูลเกล้าฯถวายแผ่นรองฉลองพระบาท เพื่อสุขภาพ แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่ อ วั น ที่ 23 กั น ยายน 2556 ที่ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ โดยผศ.นพ.สุ น ทร วงษ์ ศิ ริ ได้ ถ วาย ข้ อ มู ล และถวายการ Scan ฝ่ า พระบาทด้ ว ยเครื่ อ ง Footscaner ก่อนจะถวายผลิตภัณฑ์ พระองค์ท่าน ทรงเป็นกันเองและให้ความสนพระทัยต่อผลิตภัณฑ์ และการที่จะน�ำไปใช้มาก ซึ่งทางทีมงานศูนย์บ่มเพาะฯ และนั ก วิ จั ย จะได้ ด� ำ เนิ น การเพื่ อ ทู ล เกล้ า ฯตาม พระราชประสงค์ต่อไป

ม.อ. เดินหน้าต่อร่าง พ.ร.บ. ในก�ำกับ แม้ยุบสภา รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ยั ง คงเดิ น หน้ า จั ด กิ จ กรรม รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ต่ อ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ การเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของ รั ฐ ต่ อ ไป แม้ รั ฐ บาลจะประกาศยุ บ สภาผู ้ แ ทนราษฎรแล้ ว ก็ ต าม เนื่ อ งจากยั ง อยู ่ ร ะหว่ า งขั้ น ตอนภายในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ต ามแผนฯ แล้ ว จะต้ อ งน� ำ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยา ลั ย ฯ เข้ า ผ่ า นความเห็ น ชอบของสภามหาวิ ท ยาลั ย ภายใน วั น ที่ 1 มี น าคม 2557 จากนั้ น จึ ง จะน� ำ เสนอให้ ก ระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารตรวจสอบเพื่ อ น� ำ เสนอส� ำ นั ก งานเลขานุ ก าร คณะรั ฐ มนตรี ในคณะรั ฐ มนตรี ชุ ด ใหม่ ต ่ อ ไป ซึ่ ง หากเป็ น ไป ตามก� ำ หนด ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ข องมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ จะเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ พร้ อ มกั บ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ข องอี ก หลายมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ต้องส่งคืนกลับส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อ รอการเข้าสู่การพิจารณาของสภาฯ ชุดใหม่ เช่นเดียวกัน

ทั้ ง นี้ ขณะนี้ ร ่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ยังเป็นร่างที่ 4 ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมจากร่างที่ 3 ที่ได้ ผ่านการรับฟังความคิดเห็นจากประชาคมในครั้งแรกมาแล้ว โดย ในครั้งต่อไปอธิการบดีในฐานะประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ จะน�ำประธานคณะกรรมการย่อย 3 ฝ่ายคือ คณะกรรมการยก ร่างพระราชบัญญัติ คณะกรรมการยกร่างข้อบังคับ และ คณะ กรรมการประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็น ออกรับฟังความ คิ ด เห็ น จากประชาคมทั้ ง 5 วิ ท ยาเขตอี ก ครั้ ง ในช่ ว งเวลาดั ง นี้ • วิทยาเขตปัตตานี เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2556 เวลา 14.00 น. • วิทยาเขตภูเก็ต เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2557 เวลา 09.00 น. • วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2557 เวลา 09.00 น. • วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2557 เวลา 14.00 น. • วิทยาเขตตรัง เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2557 เวลา 14.00 น. ดู ร ่ า ง 4 พ.ร.บ. มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ที่ http://www.psu.ac.th/th/node/6185

ม.อ. บริจาคเงินช่วยเหลือฟิลิปปินส์

ตลาดเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่ง เปิ ด รั บ บริ จ าคจากประชาชน ร่ ว มกั บ สภานั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และบุคลากรส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ บริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยประเทศฟิลิปปินส์ จาก พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ซึ่งพัด ถล่มฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 โดยส่งมอบผ่านกองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และจังหวัดสงขลา โดยมียอดเงิน บริจาค จ�ำนวนทั้งสิ้น 59,100 บาท (ห้าหมื่นเก้าพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน)

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

15


รอบรั้วศรีตรัง

หอประวัติ ม.อ. จัดท�ำเพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ

“ม.อ. ใต้ร่มพระบารมี”

ดึงปาน ธนพร – โต๋ ศักดิ์สิทธิ์ ร่วมถ่ายทอดบทเพลง ในโอกาสครบรอบ 45 ปี ม.อ.

“จะขอเป็นคนดี เป็นลูกที่ดีของพ่อ ศักดิ์ศรี ของ ม.อ. จะขอเทิดทูนตลอดไป ยึดมั่น คุณธรรมตราบที่ยังมีลมหายใจ จดจ�ำไว้ว่า ความดี คือศักดิ์ศรีของความเป็นคน” ท่ อ นหนึ่ ง ของบทเพลง “ม.อ.ใต้ ร ่ ม พระบารมี ” หนึ่ ง ในเพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ “ม.อ. ใต้ร่ม พระบารมี ” ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยหอประวั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เนื่ อ งในวาระครบรอบ 45 ปี แห่ ง การก่ อ ตั้ ง มหาวิทยาลัย ซึ่งถูกร้อยเรียงและบรรจงถ่ายทอดด้วยถ้อยค�ำ ที่ แ สดงถึ ง ความส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ท รงพระราชทานชื่ อ อั น เป็ น มงคล ให้แก่มหาวิทยาลัย

อาจารย์มนัส กันตวิรุฒ

รศ.ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข

16

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

าจารย์มนัส กันตวิรุฒ ผู้อ�ำนวยการหอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ประสานงานและด�ำเนินการผลิตเพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ “ม.อ.ใต้ร่มพระบารมี” เล่าให้ฟังถึงจุดเริ่มต้นของการจัดท�ำเพลงชุดพิเศษนี้ว่า อาจารย์ ได้ฟังเพลงของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในยุคแรก ซึ่งขับร้องและบรรเลงโดยวงดนตรี สุนทราภรณ์ ตั้งแต่สมัยยังเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ครั้นเมื่อเข้ารับราชการที่คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปี 2517 จึงเกิดแรงบันดาลใจที่พัฒนาเพลง มหาวิทยาลัยให้เหมาะสมกับยุคสมัยและเป็นที่นิยมมากขึ้น ด้วยความมุ่งมั่นส่งผลให้ อาจารย์เป็นผู้มีส่วนส�ำคัญในการจัดท�ำเพลงมหาวิทยาลัยในยุคที่ 2 มีชื่อชุดว่า “มอบดวงใจ ไว้ที่ร่มศรีตรัง” เมื่อปี 2527 และยุคที่ 3 มีชื่อชุดว่า “ตามรอยพระยุคลบาท” ในปี 2544 นับว่าอาจารย์เป็นผู้บุกเบิกการน�ำนักร้องยอดนิยมของประเทศในขณะนั้นมาขับร้องใน แวดวงเพลงมหาวิทยาลัย และเมื่อปี 2549 อาจารย์ได้รับมอบหมายจาก รศ.ดร.บุญสม ศิริบ�ำรุงสุข อดีตอธิการบดี ให้เป็นผู้จัดท�ำหอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาจารย์ จึงมีความคิดที่จะจัดท�ำเพลงชุดใหม่เพื่อใช้ประกอบการจัดนิทรรศการในหอประวัติ โดย ใช้ชื่อชุดว่า “ม.อ.ใต้ร่มพระบารมี” ด้วยความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระราชทานชื่อให้มหาวิทยาลัย และท�ำให้เราทุกคนได้อาศัย อยู่ในผืนแผ่นดินสงขลานครินทร์ด้วยความเป็นสุข ร่มเย็นเรื่อยมาจวบจนทุกวันนี้ โดยเพลง ชุดนี้ได้จัดท�ำขึ้นในปี 2556 เนื่องในโอกาสครบรอบ 45 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัย


เพลงมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ชุดพิเศษ “ม.อ. ใต้ ร ่ ม พระบารมี ” ประกอบด้ ว ย 2 บทเพลง คือ เพลง “ม.อ. ใต้ ร ่ ม พระบารมี” และเพลง “ประโยชน์ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น ที่ ห นึ่ ง ” ทั้ ง 2 บทเพลงได้รับการประพันธ์ค�ำร้อง และท�ำนองโดยคุ ณ ยิ น ดี ร� ำ พั น (ผู้ประพันธ์เพลงเทิดพระเกียรติ “เดินตามพ่อ”) ท�ำดนตรีและ เรียบเรียงเสียงประสานโดยคุณพิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิตต์ ครู เ พลงผู ้ เ รี ย บเรี ย งเสี ย งประสาน แผ่ น เสี ย งทองค� ำ และเสาอากาศ ทองค� ำ ประสานเสี ย งโดยนั ก ร้ อ ง ประสานเสี ย งพิ ม พ์ ป ฏิ ภ าณกรุ ๊ ป บรรเลงโดยวงดนตรี Big Band ใช้ นักดนตรีกว่า 50 ชีวิต ใช้ห้องบันทึก เสียงที่มีคุณภาพอย่างพิมพ์ปฏิภาณ สตู ดิ โ อ สร้ า งความไพเราะและ อรรถรสในการรับฟังเพลงที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น “ส� ำ หรั บ บทเพลงแรก “ม.อ. ใต้ ร ่ ม พระบารมี ” ได้ รั บ การถ่ายทอดโดยนักร้องหญิงยอดนิยม อย่าง “ปาน ธนพร แวกประยูร” โดยเนื้อหาของ บทเพลงได้กล่าวถึงการร�ำลึก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ ไ ด้ พ ระราชทานพระนาม สมเด็จพระราชบิดาให้เป็นชื่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคใต้ ซึ่งลูกพระบิดาทุก คนจะได้น้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน ด้วยการปฏิบัติตนตามรอยพระยุคลบาท และท�ำความดีเพื่อ ทดแทนคุณแผ่นดินไทย และอีกหนึ่งบทเพลงคือ “ประโยชน์ เพื่อนมนุษย์เป็นที่หนึ่ง” ขับ ร้ อ งและบรรเลงเปี ย โนโดย “โต๋ ศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร” เจ้ า ของรางวั ล Best Asian Artist Thailand บทเพลง ได้ ก ล่ า วถึ ง พระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระบรมราชชนก ที่ ว ่ า “ขอให้ ถื อ ประโยชน์ ข องเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ยึดถือเป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน รวมทั้ง บุคลากรและนักศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการใช้ชีวิต เพื่อสร้างความเจริญรุ่งเรืองของชาติบ้านเมือง” อาจารย์มนัส กล่าว

อาจารย์ ม นั ส ได้ เ ล่ า เพิ่ ม เติ ม ว่ า การด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ เพลงมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ชุ ด พิ เ ศษ “ม.อ.ใต้ ร ่ ม พระบารมี” ในครั้งนี้ ใช้เวลาด�ำเนินการกว่า 3 เดือน โดยรับ การช่ ว ยเหลื อ จาก คุ ณ สุ ฉั น ทนา กาญจนจงกล ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะพยาบาลศาสตร์ รุ่นที่ 7 ในการ หาทุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดท�ำ โดยมี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์จากคณะต่างๆ จ�ำนวน หลายท่านให้ความสนับสนุนบริจาค สมทบ ซึ่ ง ผู ้ ด� ำ เนิ น การและประสาน งานการผลิต นักประพันธ์เพลง ผู้จัด ท�ำดนตรีและเรียบเรียงเสียงประสาน รวมทั้งนักร้องคุณภาพ ทั้ง 2 ท่าน ต่างมีความตั้งใจที่จะท�ำให้เพลงมหาวิทยาลัยชุดนี้ เป็นแนวเพลงไทยสากลร่วมสมัย ที่สามารถเข้าถึงผู้ฟังที่เป็น กลุ่มนักศึกษา ได้ตระหนักถึงคุณค่าของการเป็นลูกพระบิดา พร้อมจะเติบโตเป็นคนดีที่มีคุณภาพต่อไปในวันข้างหน้า โดย ยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรม และมุ ่ ง มั่ น เพี ย รกระท� ำ แต่ ค วามดี ง าม

เพลงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชุดพิเศษ “ม.อ.ใต้ร่ม พระบารมี” มีจ�ำหน่ายในราคาชุดละ 99 บาท ที่โซนขายของ ที่ระลึก บริเวณชั้น 1 อาคารส�ำนักงานหอประวัติมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โทรศัพท์ 0-7428-2038

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

17


รอบรั้วศรีตรัง

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ทอดพระเนตรผลงานและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พระราโชวาทผ่านระบบการสอนทางไกลแก่นักเรียนในโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ หลังจากนั้น เสด็จ ฯ ศูน ย์ประชุม นานาชาติฉ ลองสิริราช สมบั ติ ค รบ 60 ปี ท อดพระเนตรนิ ท รรศการและทรงเยี่ ย มชม โครงการพัฒนาเกาะบุโหลน ภายใต้มูลนิธิชัยพัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ และทรงร่ ว มงานเลี้ ย งพระกระยาหารค�่ ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดถวาย

มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทอดพระเนตรผลงานและโครงการอันเนื่อง มาจากแนวพระราชด�ำริ ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ไบโอดีเซล นวัตกรรมส�ำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ และโครงการ ที่สนับสนุนโดยมูลนิธิชัยพัฒนา ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2557 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ ไปยังมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เพื่ อ ทอดพระเนตร โครงการพื้ น ที่ ป กปั ก พันธุกรรมสิ่งมีชีวิตเขาคอหงส์ “โรงงานสาธิตการผลิตไบโอดีเซล หรือ เอทิลเอสเตอร์ ด้วยกระบวนการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ” “อาคารวิ จั ย วิ ศ วกรรมประยุ ก ต์ สิ ริ น ธร” ทรงติ ด ตามโครงการ ความร่วมมือในการพัฒนาเสริมทักษะทางวิชาการให้แก่นักเรียน โรงเรียนในเขตพื้นที่ภาคใต้ โดยมูลนิธิชัยพัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ โรงเรี ย น มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ และ พระราชทาน

18

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

โครงการพื้นที่ปกปักอนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขาคอหงส์ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริด�ำเนินงานโดย พิพิธภัณฑสถาน ธรรมชาติวิทยาฯ และสถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลาย ทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย คณะวิทยาศาสตร์เพื่อสานต่อ พระราชปณิ ธ านแห่ ง องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยเน้นการด�ำเนินงานทางด้านวิชาการ การศึ ก ษาทดลองวิ จั ย เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ป ระโยชน์ จ าก แหล่ ง พั น ธุ ก รรมการพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล ในการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมสิ่ ง มี ชี วิ ต เพื่ อ ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยและ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด รวมทั้ ง การสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมสิ่ ง มี ชี วิ ต กิ จ กรรมที่ โ ครงการได้ ด� ำ เนิ น การอยู ่ ประกอบด้วย 4 ด้าน คือกิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืชกิจกรรม ส�ำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืชกิจกรรมศูนย์ข้อมูลพันธุกรรม พืช และ กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โรงงานสาธิ ต การผลิ ต ไบโอดี เ ซล หรื อ เอทิ ล เอส เตอร์ ด้วยกระบวนการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเป็นหน่วยงาน ในสถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนจากน�้ำมันปาล์มและ


พืชน�้ำมัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ด�ำเนินการวิจัยด้านพลังงาน ทดแทนไบโอดีเซลอย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 10 ปีมีก�ำลังใน การผลิตไบโอดีเซลอยู่ที่ประมาณ 13,000 ลิตร ต่อสัปดาห์ข้อดี ของกระบวนการการผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่อง ที่สถาบันฯได้มี การพัฒนา คือ อุปกรณ์การผลิตมีขนาดเล็กลง คุณภาพของไบโอ ดีเซลสม�่ำเสมอ ประหยัดพลังงาน-แรงงาน เนื่องจากสามารถผลิต ได้ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง โดยไม่ต้องปิด-เปิดเครื่องใหม่หลายครั้ง และไม่ต้องใช้แรงงานคนตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันได้มี การค้นพบกลไกใหม่ของปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชันด้วยตัว เร่งปฏิกิริยาแอลคาไลน์ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล:ปฏิกิริยา ของเหลว-ของเหลว หนุนการผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่อง เพื่อ ให้ได้ไบโอดีเซลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและมีคุณภาพสูงยิ่งขึ้น อาคารวิจัยวิศวกรรมประยุกต์ สิรินธรคณะวิศวกรรม ศาสตร์ เป็นที่ตั้งของสถานวิจัยวิศวกรรมฟื้นฟู ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม แนวพระราชด�ำริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ที่ทรงให้ความส�ำคัญกับผู้สูงอายุ และ ผู้พิการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้พิการจากความไม่สงบ ทั้งพิการทางการเคลื่อนไหว สู ญ เสี ย ทางการได้ ยิ น และพิ ก ารทางสายตา โดยมี ก ารวิ จั ย และพัฒนา องค์ความรู้และผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต ให้ กับผู้สูงอายุและผู้พิการ โดยได้ทอดพระเนตรนิทรรศการผลงาน การพัฒนาเท้าเทียมน�้ำหนักเบา และการฟื้นฟูกล้ามเนื้อด้วยการ ออกก�ำลังกายผ่านเกมส์ ซึ่งเป็นการเล่นเกมส์โดยใช้สัญญาณ ไฟฟ้ า กล้ า มเนื้ อ มาเป็ น ส่ ว นประกอบ เพื่ อ ช่ ว ยเสริ ม และฟื ้ น ฟู ความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ โดยผู้สูงอายุไม่เกิดความเบื่อหน่าย ในการออกก�ำลังกาย มีการออกก�ำลังกายสม�่ำเสมอเพื่อความ ส�ำเร็จในการฟื้นฟูรักษา นิทรรศการ “สร้างบ้านให้ปลา รักษาหาดทราย” เป็นการ น� ำ เสนอการพั ฒ นาปะการั ง เที ย มเพื่ อ แก้ ป ั ญ หาการกั ด เซาะ ชายฝั่ง สร้างที่อยู่ให้สัตว์น�้ำ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล และเพิ่ม รายได้สร้างอาชีพแก่พี่น้องประชาชนภาคใต้ โดยมีการออกแบบ ปะการังเทียมด้วยคอมพิวเตอร์ แล้วน�ำมาสร้างเป็นแบบจ�ำลอง ทางกายภาพ โดยทดลองวางในรางจ�ำลองคลื่นที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทยท�ำให้ได้ปะการังเทียมที่มีลักษณะเป็นรูปทรงโดม ฐานเปิด ท�ำจากปูนซีเมนต์ สูงประมาณ 1 เมตร 70 เซนติเมตร หนักประมาณ 3-4 ตัน จากการทดลองวางที่อุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี ปรากฎผลในเบื้องต้นค่อนข้าง ดี ม าก นั บ ว่ า เป็ น ปะการั ง เที ย มที่ มี โ ครงสร้ า งที่ ส ามารถสลาย

พลังงานคลื่นได้มากที่สุด มีความมั่นคง มีเสถียรภาพ แข็งแรง สามารถป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งได้ดี สัตว์น�้ำอย่างกุ้ง หอย ปู ปลา สามารถใช้เป็นที่อยู่อาศัยได้มากที่สุด โครงการพัฒนาเกาะบุโหลน ภายใต้มูลนิธิชัยพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทาน พระราชานุมัติให้ส�ำนักงาน มูลนิธิชัยพัฒนา ร่วมกับมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ด�ำเนินงานโครงการช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่เกาะ บุโหลนจังหวัดสตูล โดยการสนับสนุนการศึกษา วิจัยและพัฒนา และเพื่อนักวิชาการ บุคลากร นักศึกษาจะได้ใช้วิชาความรู้ไปช่วย เหลือชาวบ้าน เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชน โดยครอบคลุมแนวทางการช่วย เหลือ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสาธารณสุข ด้านระบบสาธารณูปโภค ด้าน อาชีพ และด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรม มีการสร้างกลุ่มช่วย เหลือกันเองด้านสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพการศึกษาเพื่อให้ นักเรียนได้กลับมาพัฒนาชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน การสร้าง แหล่งกักเก็บน�้ำจืด การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร

โครงการความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาเสริ ม ทั ก ษะ ทางวิ ช าการให้ แ ก่ นั ก เรี ย น โรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ ภ าคใต้ ระหว่ า งมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และโรงเรี ย น มอ.วิ ท ยานุ ส รณ์ เ ป็ น โครงการสอนทางไกล แบบสองทางเพื่ อ สนองพระราชด� ำ ริ ข องสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุ ด าฯด้ า นการพั ฒ นา และให้ โ อกาสทางการศึ ก ษาให้ แ ก่ โรงเรี ย นในเขตพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ความรู ้ และประโยชน์ทางการศึกษาเพิ่มขึ้น โดยมหาวิทยาลัยได้มีการ พัฒนาคุณภาพด้านวิชาการวางระบบการเรียนการสอนทางไกล และเสริมความรู้ทางวิชาการให้แก่นักเรียนก่อนที่จะเข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษาและมูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุนงบประมาณ ในการด�ำเนินงานโครงการโดยใช้โรงเรียนมอ.วิทยานุสรณ์ เป็น โรงเรี ย นสอนต้ น ทาง ได้ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนทางไกล แบบสองทาง ใน 5 สาขาวิ ช า คื อ ฟิ สิ ก ส์ เคมี ชี ว ะ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ โดยคณาจารย์จากโรงเรียนมอ.วิทยานุสรณ์ และจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีโรงเรียนปลายทางใน พื้นที่จังหวัดภาคใต้ 22 โรงเรียน ซึ่งการเรียนการสอนสองทาง ท� ำ ให้ ค รู ผู ้ ส อนและนั ก เรี ย นสามารถโต้ ต อบกั น ได้ ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเข้าใจมากกว่าการเรียนการสอนแบบทางเดียว

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

19


การวิจัย

นักวิจัยม.อ.

พัฒนาปะการังเทียมต่อเนื่อง

ลดวิกฤตการกัดเซาะชายฝั่ง สร้างที่อาศัยให้สัตว์น�้ำ

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พั ฒ นาปะการั ง เที ย มอย่ า ง ต่อเนื่อง แก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง สร้างที่อยู่ ให้สัตว์น�้ำ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล เพิ่ ม รายได้ สร้ า งอาชี พ แก่ พี่ น ้ อ งประชาชน ภาคใต้ เตรียมวางปะการังเทียมเพิ่มที่อ�ำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เดือนมีนาคมนี้

ผศ.ดร.พยอม รัตนมณี

20

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

ศ.ดร.พยอม รั ต นมณี อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ) หัวหน้างานวิจัย ปะการังเทียมฟื้นฟูชายฝั่ง เปิดเผยว่า เมื่อปี 2557 ได้พบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง เป็นพื้นที่วงกว้างในภาคใต้ ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน บ้านเรือนเสียหาย ขาดที่ท�ำกิน และมีแนวโน้มที่จะสร้างความเสียหายรุนแรงในอนาคต อีกทั้งพบว่า ที่ผ่านมาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพ เป็นการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้า และสร้างผลกระทบในเชิงลบให้เกิดขึ้นในพื้นที่ใกล้เคียง มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์จึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่มั่นคงและยั่งยืน โดยเริ่มศึกษาวิจัยการท�ำปะการังเทียมเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2549 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลา 7 ปี การวิ จั ย เริ่ ม จากการรวบรวมข้ อ มู ล ส� ำ รวจหาพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ที่ ช าวบ้ า นได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ น และปรึ ก ษาหารื อ กั บ ชาวบ้ า นถึ ง แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หา ด้ า น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เริ่มจากการศึกษาวิจัยโดยการจ�ำลองปะการังเทียม ด้วยคอมพิวเตอร์ จากนั้นน�ำมาสร้างเป็นแบบจ�ำลองทางกายภาพ โดยทดลองวางใน รางจ�ำลองคลื่น ที่สร้างขึ้นที่ภาควิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. ซึ่งเป็น


เมื่อปี 2557 ได้พบปัญหาการ กัดเซาะชายฝั่งเป็นพื้นที่วงกว้าง ในภาคใต้ ซึ่งสร้างความเดือด ร้อนให้กับประชาชน บ้านเรือน เสียหาย ขาดที่ท�ำกิน และมีแนว โน้มที่จะสร้างความเสียหาย รุนแรงในอนาคต อีกทั้งพบว่าที่ ผ่านมาแนวทางการแก้ไขปัญหา ดังกล่าวยังไม่มีประสิทธิภาพ เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

อ� ำ เภอหนองจิ ก จั ง หวั ด ปั ต ตานี และที่ บ ้ า นกู บู ต.ไพรวั ล ย์ จ.นราธิวาส ในปี 2558 ซึ่งในอนาคตจะมีการพัฒนาออกแบบ รูปทรงปะการังเทียมให้บางลง เพื่อประหยัดงบประมาณใน การก่อสร้าง แต่ยังคงสามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ได้ดี และสามารถเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น�้ำ สร้างความมั่นคง ทางด้านทรัพยากรทางทะเล ฟื้นฟูทรัพยากรประมงสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้คนในพื้นที่อย่างยั่งยืน

รางจ�ำลองคลื่นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่ก�ำลังใช้งานอยู่ ในขณะนี้ เพื่อที่จะพัฒนาออกแบบรูปร่างหน้าตาของปะการัง เทียมสามารถสลายพลังงานคลื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จากการศึกษาวิจัยเพื่อการออกแบบปะการังเทียม ท�ำให้ได้ ปะการั ง เที ย มที่ มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป ทรงโดมฐานเปิ ด ท� ำ จาก ปูนซีเมนต์ สูงประมาณ 1 เมตร 70 เซนติเมตร หนักประมาณ 3-4 ตัน โดยน�ำไปทดลองเชิงปฏิบัติการ ทดลองวางครั้งแรก ที่อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี ผลใน เบื้องต้นค่อนข้างดีมาก นับว่าเป็นปะการังเทียมที่มีโครงสร้าง ที่ ส ามารถสลายพลั ง งานคลื่ น ได้ ม ากที่ สุ ด มี ค วามมั่ น คง มีเสถียรภาพ แข็งแรงมากที่สุด สามารถป้องกันการกัดเซาะ ชายฝั ่ ง ได้ ดี สั ต ว์ น�้ ำ อย่ า งกุ ้ ง หอย ปู ปลา สามารถใช้ เ ป็ น ที่อยู่อาศัยได้มากที่สุด ผศ.ดร.พยอม กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า มี แ ผนที่ จ ะน� ำ ปะการั ง เที ย มไปวางที่ บ ้ า นปะเสยะวอ อ.สายบุ รี จ.ปั ต ตานี ในเดื อ นมี น าคม 2557 และน� ำ ไปวางที่ บ ้ า นตั น หยงเปาว์ ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

21


การวิจัย

สถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ม.อ.

พบกลไกลใหม่เสริมกระบวนการผลิตไบโอดีเซลต่อเนื่อง

ถานวิ จั ย และพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนจากน�้ ำ มั น ปาล์ ม และพื ช น�้ ำ มั น คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ค้นพบกลไกใหม่ ของปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชันด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาแอลคาไลน์ ในกระบวน การผลิ ต ไบโอดี เ ซล ปฏิ กิ ริ ย าของเหลว-ของเหลว หนุ น การผลิ ต ไบโอดี เ ซล แบบต่อเนื่อง เพื่ อให้ ได้ ไบโอดี เซลที่ผ่านเกณฑ์ม าตรฐานและมีคุ ณภาพสูงยิ่ง ขึ้น รศ.ดร.ชาคริต ทองอุไร

22

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

รศ.ดร.ชาคริต ทองอุไร ผู้อ�ำนวยการสถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนจาก น�้ำมันปาล์มและพืชน�้ำมัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผย ว่า สถาบันได้ด�ำเนินการวิจัยด้านพลังงานทดแทนไบโอดีเซลอย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 10 ปี ในระยะเวลาที่ ย าวนานนี้ ไ ด้ พ บปั ญ หา อุ ป สรรคหลายประการ โดยเฉพาะการ วิจัยด้านการผลิตเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งให้โจทย์ใหม่ๆ แก่นักวิจัยอยู่เสมอ น�ำไปสู่แนวทาง การศึ ก ษาค้ น คว้ า ประเด็ น ใหม่ ๆ จนกระทั่ ง ได้ ค� ำ ตอบที่ ชั ด เจนเพิ่ ม มากขึ้ น เกิ ด เป็ น แนวคิดของกลไกใหม่ของการเกิดปฏิกิริยาทรานส์เอสเตอริฟิเคชันด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา แอลคาไลน์ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล ปฏิกิริยาของเหลว-ของเหลว ซึ่งเป็นกลไล ที่ ส ามารถสนั บ สนุ น ให้ ก ระบวนการผลิ ต ไบโอดี เ ซลแบบต่ อ เนื่ อ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น การผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่อง เป็นกระบวนการที่สถาบันฯ ได้เริ่มมีการทดลองมา ตั้งแต่ ปี 2549 ซึ่งมีข้อดีคือ อุปกรณ์การผลิตมีขนาดเล็กลง คุณภาพของไบโอดีเซลสม�่ำเสมอ ประหยัดพลังงาน-แรงงาน เนื่องจากสามารถผลิตได้ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง โดยไม่ต้องปิด-เปิด เครื่องใหม่หลายครั้ง และไม่ต้องใช้แรงงานคนตลอดเวลา แต่มีข้อเสียคือต้องเพิ่มค่าติดตั้ง ชุดควบคุมอัตโนมัติทั้งการควบคุมอัตราการป้อนวัตถุดิบ อุณหภูมิ ท�ำให้การลงทุนสูงขึ้น ซึ่ง ที่ผ่านมาได้รับการสนับสนุนการสร้างโรงงาน พร้อมซื้อชุดทดลองระบบการผลิตไบโอดีเซล แบบต่อเนื่องจากมูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามมกุฎราชกุมารี ทรง เป็นประธาน ปัจจุบันมีก�ำลังในการผลิตไบโอดีเซลอยู่ที่ประมาณ 13,000 ลิตร ต่อสัปดาห์ “การค้ น พบกลไกใหม่ ข องปฏิ กิ ริ ย าทรานส์ เ อสเตอริ ฟ ิ เ คชั น ด้ ว ยตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า แอลคาไลน์ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล ปฏิกิริยาของเหลว-ของเหลว เป็นกลไกที่ยัง ไม่มีใครน�ำเสนอมาก่อน แม้กลไกใหม่นี้อาจยังไม่สมบูรณ์ที่จะตอบค�ำถามอย่างครบถ้วน ในขณะนี้ แต่ก็น่าจะสามารถอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นส่วนใหญ่ได้ และหวังว่าจะสามารถ อธิบายได้อย่างครบถ้วนมากขึ้นในอนาคต” รศ.ดร.ชาคริต ทองอุไร กล่าว


รอบรั้วศรีตรัง

ขอเชิญร่วมสมทบทุน

สร้างศูนย์อุทิศร่างกายเพื่ออาจารย์ใหญ่

ครูผู้ไร้เสียง อ

าจารย์ ใหญ่ คือ บุคคลผุ้อุทิศร่างกายหลัง จากหมดลมหายใจเเล้ว น�ำมาซึ่งคุณูปการ ต่ อ การเรี ย นการสอนกายวิ ภ าคศาสตร์ เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู ้ จ ากร่ า ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ทั ก ษะในทาง วิชาชีพที่ดีแก่นักศึกษาคณะแพทยศาสตร์ ทันตเเพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ กายภาพบ�ำบัด เเพทย์ แ ผนไทย และเทคนิ ค การเเพทย์ การอุ ทิ ศ ร่างกายเพื่อเป็นอาจารย์ ใหญ่ นอกจากจะได้เป็นครู แก่ นั ก ศึ ก ษาดั ง กล่ า ว ในกระบวนการการเรี ย นรู ้ ยั ง ได้ มี ก ารท� ำ บุ ญ อุ ทิ ศ ส่ ว นกุ ศ ลทั้ ง ก่ อ น เริ่ ม เรี ย น และเมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การเรี ย นการสอนได้ มี ก ารจั ด พิ ธี พระราชทานเพลิงศพ ถือเป็นเกียรติอันสูงส่งส�ำหรับ ผู้อุทิศร่างกายเพื่อเป็นอาจารย์ใหญ่ ปั จ จุ บั น สถานที่รับรองญาติของผู้อุทิศ ร่างกายเพื่ อ เป็นอาจารย์ใหญ่ยังเป็นสถานที่คับแคบและขาดบริเวณส�ำหรับ พักญาติที่มาส่งร่างของอาจารย์ใหญ่ ขณะรับร่างอาจารย์ใหญ่ มาเพื่อประกอบพิธีและผ่านขั้นตอนการรักษาสภาพ ปัจจุบัน ทางภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์ ได้จัดตั้ง “กองทุนอาจารย์ใหญ่” เพื่อใช้ใน กิจการต่างๆ และน�ำเงินส่วนหนึ่งมาเพื่อจัดสร้างศูนย์อุทิศ ร่างกายขึ้น ในวงเงินประมาณ 1,000,000.บาท (หนึ่งล้าน บาทถ้วน) ซึ่งยังต้องการทุนในการก่อสร้างอีกจ�ำนวนมาก เพื่อเป็นการท�ำให้ศูนย์อุทิศร่างกาย มีความสะดวกแก่ผู้มา อุทิศร่างกาย และญาติอาจารย์ใหญ่ที่มาส่งร่างอาจารย์ใหญ่ ในการร่วมบริจาคดังกล่าวท่านสามารถบริจาคได้โดย โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 565-2-18810-7 ชื่อบัญชี กองทุนคณะวิทยาศาสตร์ **ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) สาขามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร้อมส่ง ส�ำเนาหลักฐานการโอนเงิน พร้อมระบุว่า กองทุนอาจารย์ใหญ่ มาที่หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 0 7444 6663 หรือส่งมาที่ E-MAIL : ranu.j@psu.ac.th วัตถุประสงค์ของกองทุนอาจารย์ใหญ่ 1. สนับสนุนการด�ำเนินการที่เกี่ยวกับร่างบริจาค 2. สนั บสนุ น พั ฒ นางานด้ า นวิ ช าการของภาควิช า กายวิภาคศาสตร์ 3. วั ต ถุ ป ระสงค์ อื่ น ๆ ตามมติ ที่ ป ระชุ ม ภาควิ ช า กายวิภาคศาสตร์ สอบถามรายละเอียดได้ที่ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทร.0 7444 6663

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

23


รางวัลแห่งคุณภาพ

ม.อ. ติด 1 ใน 100

ม.ชั้นน�ำ กลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่

จัดอันดับโดย Times Higher Education 2014

มื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2556 ส�ำนักจัดอันดับ มหาวิ ท ยาลั ย ชื่ อ ดั ง จากประเทศอั ง กฤษ Times Higher Education ได้ ป ระกาศผลการจั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย จากกลุ ่ ม ประเทศเศรษฐกิ จ เกิดใหม่ จ�ำนวน 100 มหาวิทยาลัย ในชื่อ Times Higher Education BRICS & Emerging Economies Rankings 2014 โดยมีกลุ่มประเทศที่ติดกลุ่มในการ จั ด อั น ดั บ ทั้ ง สิ้ น 22 ประเทศจากทั่ ว โลก จากการ ส� ำ รวจกลุ ่ ม ประเทศใน FTSE Group ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ประเทศที่ ถู ก จั บ ตามองถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตอย่ า ง ต่อเนื่องและมีความร่วมมือกันทางด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย

24

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

ในการจัดอันดับตามกลุ่มประเทศดังกล่าว มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในล�ำดับที่ 89 โดยมี มหาวิทยาลัยจากประเทศไทย 5 แห่ง ติดอยู่ในการจัดอันดับ ในกลุ ่ ม 100 มหาวิ ท ยาลั ย แรกของกลุ ่ ม ประเทศเศรษฐกิ จ เกิดใหม่ ประจ�ำปี 2014 ของ Times Higher Education ได้แก่ • อันดับที่ 29 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี • อันดับที่ 52 มหาวิทยาลัยมหิดล • อันดับที่ 82 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • อันดับที่ 85 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • อันดับที่ 89 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากกลุ่มประเทศเศรษฐกิจ เกิดใหม่ของ Times Higher Education ในครั้งนี้นั้น นับเป็น การจัดอันดับมหาวิทยาลัยเฉพาะกลุ่มประเทศเขตเศรษฐกิจ เกิดใหม่เป็นครั้งแรก โดยกลุ่มประเทศ “BRICS” ซึ่งเป็นกลุ่ม ประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบ ด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ โดยชื่อ BRICS ถู ก ใช้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ สดงถึ ง การย้ า ยอ� ำ นาจเศรษฐกิ จ โลก


จากกลุ่มพัฒนาแล้วอย่าง G7 มาสู่กลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาทั้ง 5 ประเทศ ประกอบ รวมกับกลุ่มประเทศ “Emerging Economies” ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยกลุ่มประเทศเหล่านี้ มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูง การจัดอันดับครั้งนี้ทาง Times Higher Education ยังคงยึดระเบียบวิธีวิจัย และตัวชี้วัดปกติของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกเหมือนเดิม ได้แก่ 13 ตัวชี้วัด จาก 5 กลุ่มใหญ่ในด้าน การสอน งานวิจัย การอ้างถึงผลงานทางวิชาการ รายได้ จากภาคอุตสาหกรรม และสายตาจากนานาชาติที่มองมหาวิทยาลัย

อ้างอิงจาก http://blog.eduzones.com/tonsungsook/120472 http://www.timeshighereducation.co.uk/world-university-rankings/2014/brics-and-emerging-economies

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

25


สู่...ชุมชน/สังคม

คณะวิทย์ ม.อ. จัดโครงการ

ค่ายอาสาพัฒนาทางวิทยาศาสตร์เพื่อชนบท ครั้งที่ 34

มอบรอยยิ้มให้ชุมชน ค

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้จัดโครงการค่ายอาสา พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ ชนบท ครั้ ง ที่ 34 ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 14-24 ตุ ล าคม 2556 ซึ่ ง ในปี นี้ นั ก ศึ ก ษา และบุคลากรได้เข้าร่วมท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่ เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ได้แก่ การสร้าง อาคารเอนกประสงค์ การจัดกิจกรรมทาง วิ ช าการ การซ่ อ มแซมและจั ด ท� ำ อุ ป กรณ์ การเรียนการสอน กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ และการร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ ณ โรงเรียน วัดจาก ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัด สงขลา รวมผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฯในครั้ ง นี้ ประมาณ 157 คน

“การจั ด ค่ า ยเพื่ อ สร้ า งห้ อ งสมุ ด ให้ กั บ โรงเรี ย นวั ด จากในครั้ ง นี้ ประสบความส�ำเร็จอย่างงดงามทั้งนี้ก็เนื่องจากได้รับความร่วมมือเป็น อย่ า งดี จ ากทั้ ง ทางโรงเรี ย น ชาวบ้ า นและจากทางคณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อาจารย์ ไ ด้ เ ห็ น ห้ อ งสมุ ด เสร็ จ สมบู ร ณ์ ตามที่ตั้งใจไว้ เห็นรอยยิ้มของเด็ก ๆ และคุณครูโรงเรียนวัดจาก รอย ยิ้มของชาวบ้าน แต่สิ่งส�ำคัญที่อาจารย์ภูมิใจมากที่สุดก็คือ การที่ได้เห็น เด็กของเราเติบโต มีความรับผิดชอบ รู้จักการวางแผน มีจิตสาธารณะ และสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้เป็นอย่างดี* *ดร.มรกต เเก้วเพชร กล่าว* จากการได้ พู ด คุ ย กั บ หั ว หน้ า หน่ ว ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา คุ ณ พงศธร เตชะวัชรานนท์ ถึงค่ายอาสาครั้งนี้ คุณพงศธร ได้กล่าวว่า

“ค่ า ยอาสาพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ ชนบทจั ด โดย สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ปี นี้ เ ป็ น ครั้ ง ที่ 34 ส� ำ หรั บ ค่ า ยอาสาฯ ครั้ ง นี้ มี ก ารบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ให้กับโรงเรียนและชุมชนหลายกิจกรรม เช่น สร้าง ห้ อ งสมุ ด ขนาด 10.5x5 เมตร เตาเผาขยะ แปลงเกษตร ปุ ๋ ย หมั ก ตั ด หญ้ า สนามฟุ ต บอล และตกแต่ ง กิ่ ง ไม้ เป็ น ต้ น นอกจากกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์แล้วนักศึกษายังได้เรียนรู้ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งที่น่ีชุมชนวัดจากมีแหล่งเรียนรู้ให้น้อง ๆ มากมาย เช่น การเลี้ยงแพะ การท�ำน�้ำยาล้างจานและการ ประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงน�้ำยาปรับผ้านุ่มที่ใช้แล้วจะเห็นได้ว่า ครงการค่ายอาสาพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อชนบท จัดขึ้นเป็น ศักยภาพชุมชนเข้มแข็งมาก และช่วงเวลาที่นักศึกษาอยู่ค่ายฯ ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ ตรงกับช่วงประเพณีการชักพระและแข่งเรือของอ�ำเภอระโนด ของนั ก ศึ ก ษาให้ มี จิ ต ส� ำ นึ ก สาธารณะ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ความมี ซึ่งนักศึกษาได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำเรือพระให้กับวัด ระเบี ย บวิ นั ย บุ ค ลิ ก ภาพ สามารถปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ สภาพสั ง คมที่ และร่ ว มชมการแข่ ง เรื อ ประเพณี ข องอ� ำ เภอระโนดอี ก ด้ ว ย เปลี่ ย นไปได้ อ ย่ า งเหมาะสม นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การฝึ ก ฝนการท� ำ งาน ด้ ว ยความเป็ น คณะวิ ท ยาศาสตร์ นั ก ศึ ก ษายั ง ได้ น� ำ ความรู ้ อย่างมีระบบ ฝึกความรับผิดชอบ สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ และ ทางวิทยาศาสตร์ที่ตนได้ศึกษามาถ่ายทอดให้น้องๆ นักเรียน ใช้เวลาว่างในช่วงปิดภาคการศึกษาให้เกิดประโยชน์ ท�ำให้น้อง ๆ ได้รับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และมีแรงบันดาลใจ โดยส่วนใหญ่เเล้วกิจกรรมค่ายอาสาจะได้รับความสนใจจาก ในการศึกษาต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนวิทยาศาสตร์ น้องๆ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์เป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ การสร้างความสัมพันธ์ ในกิ จ กรรมครั้ ง นี้ นอกเหนื อ จากการลงมื อ ปฎิ บั ติ กิ จ กรรม กับชุมชนได้มีกิจกรรมการแข่งขันกีฬาร่วมกัน 2 ประเภท คือ ต่ า ง ๆ ของนั ก ศึ ก ษาด้ ว ยตั ว เองเเล้ ว ทุ ก ๆ กิ จ กรรม ก็ ไ ด้ รั บ การให้ การแข่งฟุตบอลและวอลเล่ย์บอล ซึ่งได้รับความร่วมมือจาก ค� ำ ปรึ ก ษาที่ ดี จ ากอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาโครงการค่ า ยอาสาฯ ดร.มรกต ชาวบ้านมาร่วมการแข่งขันเป็นอย่างดี เเก้วเพชร เป็นอย่างดี โดยอาจารย์ได้พูดถึงภาพรวมการท�ำกิจกรรม ส�ำหรับค�่ำคืนสุดท้ายมีพิธีปิดค่ายอาสาฯ และส่งมอบ ในครั้งนี้ว่า ห้องสมุดให้กับโรงเรียนและชุมชน ซึ่งได้รับเกียรติจากผู้ช่วย

26

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557


ถ้อยทีถ้อยอาศัย ฝึกขอบคุณ ขอโทษและมีน�้ำใจต่อกัน บทเรียนที่หา ไม่ได้ในห้องเรียนนี้ จะเป็นแนวทางให้นักศึกษาได้เรียนรู้ในการใช้ ชีวิตของตนเอง กิจกรรมดี ๆ แบบนี้จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลยหาก ไม่มีผู้สนับสนุนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหา วิทยาลัยสงขลานครินทร์ สมาคมนักศึกษาเก่าคณะวิทยาศาสตร์ สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ ม.อ. ศู น ย์ ก ารค้ า ลี ก าร์ เ ดนส์ พลาซ่ า บริ ษั ท โชติวัฒน์อุตสาหกรรมการผลิต บริษัทปูนซีเมนต์ไทย (ทุ่งสง) จ�ำกัด บริ ษั ท หาดทิ พ ย์ จ� ำ กั ด มหาชน ร้ า นกุ ๊ ก สิ ง ห์ ศู น ย์ อ าหารโรงช้ า ง รุ ่ น พี่ ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะวิ ท ยาศาสตร์ และผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาที่ ไ ม่ ป ระสงค์ ออกนามรวมทั้งแรงกายแรงใจของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์”

คณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาเป็นประธานในการส่งมอบจากคณะ วิทยาศาสตร์และรองผู้อ�ำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จังหวัด สงขลา เป็นผู้รับมอบพร้อมด้วยผู้น�ำท้องถิ่นและชาวบ้านมาร่วม เป็ น สั ก ขี พ ยานกว่ า 200 คน ในงานนี้ มี ก ารแสดงแลกเปลี่ ย น วั ฒ นธรรมระหว่ า งชาวบ้ า นและนั ก ศึ ก ษา และการรั บ ประทาน อาหารในเมนู สู ต รพิ เ ศษจากฝี มื อ ของพ่ อ แม่ พี่ น ้ อ งชุ ม ชนวั ด จาก คือ ข้าวหม้อแกงหม้อ ขนมหวาน ผลไม้และอาหารนานาชนิดที่ เอร็ดอร่อยเป็นเอกลักษณ์ประจ�ำถิ่น การเรียนรู้นอกห้องเรียนของ นักศึกษาโดยใช้กิจกรรมซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการฝึกฝนตนเอง 11 วั น 10 คื น 150 ชี วิ ต ได้ เ สริ ม สร้ า งให้ นั ก ศึ ก ษามี จิ ต ส� ำ นึ ก สาธารณะ มีระเบียบวินัย รับผิดชอบในหน้าที่ ฝึกการวางแผนและ บริหารจัดการงาน เกิดความสัมพันธ์อันดีและมีความผูกพันต่อกัน สิ่งหนึ่งที่ทุกคนมีความภูมิใจร่วมกันคือได้สร้างสิ่งดี ๆ ให้กับสังคม และจะเป็ น ประสบการณ์ ที่ ต ้ อ งจดจ� ำ ไปตลอดกั บ รอยยิ้ ม เสี ย ง หัวเราะของเด็กนักเรียน คุณครูและชาวบ้านจะยังคงท�ำให้ชาวค่าย ได้สืบสานโครงการค่ายอาสาฯ แบบนี้ต่อไป การด�ำเนินงานภายใน ค่ายอาจจะไม่ได้ราบรื่นทั้งหมด แต่อุปสรรคต่างๆ ก็ได้หลอมให้ นั ก ศึ ก ษาของคณะวิ ท ยาศาสตร์ ไ ด้ ฝ ึ ก ฝนตนเอง แก้ ป ั ญ หาเป็ น

*ความประทับใจในการท�ำกิจกรรมค่ายอาสา* *จุดเริ่มต้นของผมในการเข้ามาเป็นนักกิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์แห่งนี้ก็เริ่มตั้งแต่ ผมตัดสินใจเข้าร่วมค่ายอาสาพัฒนา วิทยาศาสตร์เพื่อชนบท ครั้งที่ 33 ที่ โรงเรียนบ้านแหลม จังหวัดพัทลุง ในครั้งนั้นผมไปในฐานะสมาชิกค่ายคนหนึ่งและการไปค่ายในครั้งนั้น ก็เปลี่ยนชีวิตผมในรั้วมหาวิทยาลัยไปอย่างสิ้นเชิงจากคนที่ไม่เคยเข้า ร่วมกิจกรรมอะไรเลยกลับกลายเป็นคนที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกอย่างที่ทาง มหาวิ ท ยาลั ย หรื อ ทางคณะจั ด และต่ อ มาผมก็ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มเป็ น คณะ กรรมการสโมสรนักศึกษาของทางคณะและได้มีโอกาสเป็นผู้รับผิดชอบ โครงการค่ายอาสาพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อชนบทครั้งที่ 34 ซึ่งจากการ ส� ำ รวจสถานที่ ก็ ตัดสิ นใจเลื อ ก โรงเรี ย นวั ดจากอ� ำ เภอระโนด จั ง หวั ด สงขลา เป็นสถานที่จัดค่ายในครั้งนี้ซึ่งในครั้งนี้ผมมาในค่ายนี้ไนฐานะ ผู ้ จั ด ไม่ ใ ช่ ส มาชิ ก ค่ า ยเหมื อ นปี ที่ แ ล้ ว บอกตามตรงว่ า ความรู ้ สึ ก นั้ น แตกต่างกันมาก จากที่เราเป็นสมาชิกค่ายก็แค่ปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับ มอบหมาย สนุกเฮฮากับเพื่อน ไม่ต้องคิดอะไรมากแต่มาครั้งนี้ ผมต้อง รับทราบ ทุกปัญหา ทุกข้อดีข้อเสียของกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในค่าย ซึ่ง ในแต่ ล ะวั น ปั ญ หาก็ ม าหาอย่ า งไม่ ซ�้ ำ หน้ า กั น เลยซึ่ ง ผมก็ ต ้ อ งหาทาง แก้ปัญหาเหล่านั้นให้ได้ยอมรับว่าวันแรกที่จัดค่ายเป็นอะไรที่มั่วมาก อะไรหลายๆ สิ่งหลายๆ อย่างยังไม่เข้าร่องเข้ารอย แต่ผมโชคดีที่มีเพื่อน มีพี่ในสโมสร รวมถึงพี่บุคลากรหน่วยกิจการนักศึกษา คอยให้ค�ำปรึกษา และช่วยกันแก้ปัญหาไปทีละอย่าง จนปัญหาค่อยๆ ถูกแก้ไป วันหลังๆ หลายสิ่งหลายอย่างก็เริ่มเข้าร่องเข้ารอยขึ้น * *การไปค่ายอาสาฯ ผมคิดว่าก็คือการที่แต่ละคนมาสวมบทบาท บทบาทหนึ่งที่ไม่เคยท�ำในชีวิตจริง เช่น บางคนมาสวมบทคนงานก่อสร้าง บทบาทแม่ครัวพ่อครัว บทบาทนักสัมพันธ์ชุมชน ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้หลายๆ คนอาจจะไม่ได้ท�ำเมื่อออกสู่โลกความเป็นจริงทุกเช้าทุกคนในค่ายต้อง ตื่นเช้า เพื่อมารับประทานอาหารและก็แยกย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ที่ตนเอง ได้รับมอบหมายซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละวัน พอถึงเวลาเที่ยง และเย็น ของทุกวันทุกคนก็ต้องมารับประทานอาหารเที่ยงและเย็นและกิจกรรม แต่ละอย่างที่ทุกคนได้ท�ำนั้นแต่ละวันก็อาจจะเจอปัญหาระหว่างปฏิบัติ กิจกรรม และแต่ละคนก็ต้องแก้ปัญหาเหล่านั้นไปให้ได้ ซึ่งเหล่านี้ที่กล่าว มานั้นล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อทุกคนออกนอกรั้วมหาวิทยาลัย กับการใช้ชีวิตจริง ซึ่งการไปค่ายอาสาฯก็เหมือนการฝึกการใช้ชีวิตใน สังคมนั้นเอง ผมในฐานะน้อง ในฐานะเพื่อน ในฐานะพี่ต้องขอขอบคุณ พี่ๆ เพื่ อ นๆ และน้ อ งๆ ที่ ร ่ ว มกั น ท� ำ กิ จ กรรมครั้ ง นี้ จ นประสบความส� ำ เร็ จ ได้ อ ย่ า งดี ข อบคุ ณ ทุ ก คนที่ ส นุ ก กั บ กิ จ กรรม อี ก ทั้ ง ต้ อ งขอบคุ ณ ชุ ม ชน โรงเรียนผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ผู้ใหญ่บ้าน และอีกหลายๆ ท่านที่ไม่ได้ กล่าวถึงที่ให้การต้อนรับพวกเรานักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดี 11 วันที่อยู่ในค่ายเป็น 11 วันที่อบอุ่นมาก และจะเป็น 11 วันที่จะอยู่ในใจ สมาชิกค่ายทุกคนตลอดไป* *นายปัฐวี ซ้ายหั่น (แจ็คกี้) นักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี ชั้นปีที่ 2* *ประธานค่ายอาสาพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อชนบท ครั้งที่ 34* กล่าว

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

27


สู่...ชุมชน/สังคม

นักวิชาการ ม.อ.ปัตตานี

แนะภาครัฐควรชัดเจนในเรื่องการลดต้นทุน

และเพิ่มมูลค่ายางพารา

โดยการแปรรูปในประเทศ

นั

กวิชาการด้านยางพารา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แนะแนวทางการแก้ไขปัญหาราคายางตกต�่ำใน ระยะยางโดยรัฐต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในการ ลดต้นทุนการผลิตและการเพิ่มมูลค่ายางพารา ด้วยการแปรรูป เช่น ถนนยางมะตอยผสม ยางพารา แผ่นยางปูพื้น สนามเด็กเล่นและ สนามกีฬา โดยสามารถเพิ่มมูลค่ามากกว่าการ ส่งออกเดิม 5 เท่า ทั้งนี้รัฐต้องมีมาตรการการ สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมด้วยการลดหย่อน ภาษีในระยะแรกของการลงทุน

รศ.ดร.อาซีซัน แกสมาน

28

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

ศ.ดร.อาซี ซั น แกสมาน ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น วิ จั ย และ พั ฒ นานวั ตกรรมยางพารา มหาวิ ท ยาลั ยสงขลานคริน ทร์ กล่าวว่า สถานการณ์การผลิตยางพาราไทยใน 5 ปีที่ผ่านมา พบว่า การใช้ยางในประเทศเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง สะท้อนให้เห็นถึงความ ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในนโยบายการเพิ่ ม มู ล ค่ า ยางพาราของรั ฐ บาล ส�ำหรับแนวคิดของรัฐบาลที่เสนอให้มีการลดต้นทุนการผลิต โดยการ ช่ ว ยเหลื อในเรื่ องปั จจั ยการผลิ ตนั้ น เป็ น วิ ธีการแก้ ปั ญ หาระยะสั้น ไม่ ต รงจุ ด เพราะโครงสร้ า งต้ น ทุ น ปั จ จั ย การผลิ ต มี เ พี ย ง 15-20% เท่านั้น จะต้องมีมาตรการการบริหารจัดการเรื่องแรงงานที่ชัดเจนเพิ่ม เติมด้วย ส�ำหรับมาตรการเกี่ยวกับการเร่งรัดการโค่นต้นยางอายุเกิน 25 ปี เป็นแนวคิดในการแก้ปัญหาราคายางตกต�่ำ แต่ในภาคปฏิบัติ ท�ำได้ยาก เนื่องจากรัฐไม่สามารถบังคับ แนะน�ำให้เกษตรกรโค่นต้นยาง และปลูกทดแทนใหม่ได้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงในอนาคตคือ ปริมาณยาง พาราที่ล้นตลาด เนื่องจากในปี 2557 จะเป็นปีที่ปะเทศไทยมีผลผลิต ยางเพิ่มจากผลผลิตยางในโครงการ 1 ล้านไร่ และอีก 2 ล้านไร่ ที่อยู่ นอกโครงการ คาดว่าน่าจะมีผลกระทบต่อราคายางพาราแน่นอน รศ.ดร.อาซีซัน แกสมาน กล่าวเพิ่มเติมว่า ภาคอุตสาหกรรม เป็นส่วนส�ำคัญในการแก้ปัญหายางพารา โดยการน�ำยางพาราไปใช้ ประโยชน์ในการท�ำเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ เป็นที่ทราบกันดีว่าใน ปี 2555 ประเทศไทยส่งยางออกในรูปวัตถุดิบคือ ยางแท่ง ยางแผ่น รมควั น น�้ ำ ยางข้ น และยางแปรรู ป อื่ น ๆ ประมาณ 3.12 ล้ า นตั น คิดเป็นร้อยละ 86 สร้างรายได้เข้าประเทศ 336,000 ล้านบาท ใช้ แปรรู ป ในประเทศเพี ย ง 0.5 ล้ า นตั น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 14 แต่ ส ร้ า ง รายได้ 260,000 ล้ า นบาท เมื่ อ เที ย บการเพิ่ ม มู ล ค่ า เพิ่ ม พบว่ า การ ใช้ยางพาราผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สามารถเพิ่มมูลค่าได้ประมาณ 4.8 เท่ า ของราคาวั ต ถุ ดิ บ ปั จ จุ บั น ยางพารามี ก ารใช้ ม ากที่ สุ ด ใน อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ล้ อ รถยนต์ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 70 รองลงมาคื อ ถุงมือยาง เส้นด้ายยางยืด ถุงยางอนามัย ยางฟองน�้ำ


ทั้ ง นี้ ยางพาราสามารถไปใช้ประโยชน์เป็นถนนยาง มะตอยผสมยางพารา เป็นแนวทางหนึ่งที่ได้มีการศึกษาวิจัย ซึ่ ง ถ้ า มี ก ารผลั ก ดั น อย่ า งจริ ง จั ง จะท� ำ ให้ มี ก ารใช้ ย างพารา ในประเทศเพิ่มมากขึ้น และยังสามารถใช้ประโยชน์ในรูปแบบ อื่นๆ เช่น แผ่นยางปูพื้นส�ำหรับสนามเด็กเล่น สนามกีฬา เหล่านี้ เป็ น ผลจากการวิ จั ย ที่ นั ก วิ จั ย ในสถาบั น การศึ ก ษาได้ ศึ ก ษา ไว้แล้ว หากมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ภาคเอกชนสามารถ น�ำไปผลิตได้ ส�ำหรับแนวทางการแก้ปัญหาต้นทุนการผลิตที่น�ำไป สู่การแก้ปัญหาราคายาง ควรมีมาตรการระยะเร่งด่วน เจรจา กั บ ทุ ก ฝ่ า ยให้ มี ก ารประกั น ราคายาง มาตรการระยะกลาง คื อ ภาครั ฐ ต้ อ งมี น โยบายเร่ ง รั ด การใช้ ย างในประเทศ การ สนั บ สนุ น ปั จ จั ย การผลิ ต การสนั บ สนุ น ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี

ผลิตภัณฑ์ยางพาราให้ภาคเอกชน และสนับสนุนการลดหย่อน ภาษีในระยะแรกของการลงทุนที่ชัดเจน และมาตรการระยะ ยาวคื อ ก� ำ หนดนโยบายควบคุ ม การขยายพื้ น ที่ ป ลู ก และ มุ ่ ง เน้ นการเพิ่ มผลิ ตภาพการผลิ ตให้ สู ง ขึ้ น ก� ำ หนดนโยบาย บริ ห ารจั ด การแรงงาน และสนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นา เพื่อสร้างนวัตกรรมจากยางพาราให้มีมูลค่าเพิ่ม โดยรัฐต้อง สนั บ สนุ น ระยะยาวทั้ ง โครงสร้ า งพื้ น ฐาน อุ ป กรณ์ และการ พัฒนาคน มีการก�ำหนดเป้าหมายผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เป็นระยะ รวมทั้งสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนอย่างเต็มที่ ผู ้ ที่ ส นใจขอทราบรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ รศ.ดร. อาซี ซั น แกสมาน ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา นวัตกรรมยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี อ.เมือง จ.ปัตตานี 94000 โทร.08 9658 5892

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

29


สู่...ชุมชน/สังคม

รัฐต้องจริงใจ

แก้ปัญหายางพารา

่ส�ำคัญ “ ปัอย่จจุางยิบัน่งอุส�ตำสาหกรรมที หรับการแก้ปัญหานี้ คือ การน�ำยางพาราไปใช้ประโยชน์ ในการท�ำผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ซึ่งยางพารามีการใช้มากที่สุดใน อุตสาหกรรมยางล้อคิดเป็น ร้อยละ 70 รองลงมาคือ ถุงมือยาง เส้นด้ายยางยืด

นั

กวิชาการชี้ปัญหายางไทยสามารถแก้ได้ แต่รัฐบาล ต้องแสดงความจริงใจในการแก้ปัญหา และหาคน กลางในการเจรจา สุดท้ายควรให้ความรู้เกษตรกรและเอกชน เพื่อเพิ่มผลรวมถึงมูลค่าสินค้า เมื่อเร็วๆ นี้ ณ ห้องประชุม Conference hall ศูนย์ประชุม นานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ได้มีการจัดเสวนาหาทางออกเรื่องยางพารา ภายใต้ หัวข้อ “ทางออก....ยางพารา ไทย” โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และนั ก วิ ช าการผู ้ เ ชี่ ย วชาญ เพื่ อ เปิ ด เวที ร ะดมความคิ ด เห็ น และข้อเสนอแนะ โดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า ที่ ผ ่ า นมาการแก้ ป ั ญ หายาง โดย เฉพาะการพูดคุยยังไม่สามารถหาข้อยุติได้ ทางมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ซึ่งไม่เคยนิ่งดูดายต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ภาคใต้และประเทศไทย จึงจัดงานนี้ขึ้นมา เพื่อหาวิธีในการ แก้ไขปัญหา เพราะตอนนี้ได้เกิดประเด็น ค�ำถามแก่ประชาชน คือ ประการแรก ราคาต้นทุนยางพาราไทยเมื่อเปรียบเทียบกับ ราคาของเพื่อนบ้าน ประการที่สอง คือ อยากทราบว่าราคายาง ในตลาดโลกตอนนี้เป็นอย่างไรถัดมากคือ มาตรการของรัฐที่ จะช่วยแก้ไขราคายางทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว “สุดท้ายคือ มาตรการเพิ่มการใช้ยางพาราในประเทศให้ มากขึ้นกว่าการพึ่งพาตลาดโลก วิธีการเพิ่มมูลค่าทางวิชาการ แก่ เ กษตรกรและผู้ประกอบการยางพารา ซึ่งหนทางเหล่ า นี้

30

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

จะน� ำ ไปสู ่ ก ารหาทางออก” รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล กล่ า ว ด้าน รศ.ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข ผู้เชี่ยวชาญจากภาค วิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวว่า การวิเคราะห์ต้นทุนของยางพารา มีหลายหน่วยงานที่ได้วิเคราะห์ แต่กลับไม่มีผลสมมติฐาน ที่ ส ะท้ อ นต้ น ทุ น แท้ จ ริ ง เพราะใช้ วิ ธี คิ ด ที่ แ ตกต่ า งกั น โดย อ้างอิงข้อมูลในปี 2556 ของสถาบันวิจัยยางร่วมกับส�ำนักงาน เศรษฐกิจเกษตร พบว่า ต้นทุนราคายางแท่งรมควันอยู่ที่ 64.74 สตางค์ ต่อกิโลกรัม โดยแบ่งเป็นค่าแรงงาน 60% ค่าปุ๋ย 15% และอื่นๆ 25% ขณะที่มาเลเซียราคาต้นทุนของยางแท่งต่อ 1 กิโลกรัมจะอยู่ที่ 45 บาท ถัดมาอินโดนีเซีย 51 บาท ในส่วนของ กัมพูชา ลาว เวียดนาม พม่าจะอยู่ที่ 36 บาท ซึ่งสาเหตุที่ท�ำให้ ราคายางของไทยแพงกว่าเพื่อนบ้านเพราะเราจะใช้น�้ำยาง พาราในการท�ำยางแผ่นรมควัน ขณะที่ชาติเพื่อนบ้านจะแปรรูป มาจากยางก้นถ้วย อีกทั้งค่าแรงที่สูงขึ้นด้วย รศ.ดร.บั ญ ชา สมบู ร ณ์ สุ ข กล่ า วต่ อ ว่ า ถึ ง แม้ ประเทศไทยจะส่งออกยางพาราเป็นอันดับต้นๆ ของโลก แต่ ก็ไม่ได้เป็นประเทศที่สามารถชี้น�ำราคายาง อีกทั้งระบบการ ควบคุมพ่อค้าคนกลางสามารถท�ำได้ยาก ซึ่งหากเปรียบเทียบ กั บ ประเทศจี น ที่ เ กษตรกรสามารถจ� ำ หน่ า ยโดยตรงไปยั ง รั ฐ บาลได้ เ ลย ท� ำ ให้ เ ราเสี ย เปรี ย บในจุ ด นี้ รวมถึ ง การฝื น ราคาตลาดโลกเป็ น เรื่ อ งที่ ท� ำ ได้ แต่ จ ะต้ อ งท� ำ ในระยะสั้ น มีกรอบเวลาชัดเจน โดยตนเชื่อว่า 3 - 6 เดือน น่าจะเป็นช่วงเวลา ที่เหมาะสม และจะต้องหามาตรการเพิ่มเติม รศ.ดร.บัญชา เผยต่อว่า เกษตรกรในเมืองไทยจะต้อง มีการปรับตัว เพราะปีที่แล้วเกษตรกรอาจจะใช้จ่ายฟุ่มเฟือย และมีการจ้างแรงงานเพิ่ม รวมถึงส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยน วิถีจากการขายน�้ำยางเป็นการขายยางก้นถ้วย ซึ่งจะช่วยใน การลดต้ น ทุ น อี ก ทั้ ง ยั ง อยากฝากไปถึ ง รั ฐ บาลว่ า จะต้ อ งมี ความจริงใจในการแก้ปัญหามากกว่านี้ การเรียกคุยหน่วยงาน ทุ ก ภาคส่ ว น ซึ่ ง ต้ อ งเป็ น หน่ ว ยงานที่ เ ป็ น กลาง โดยเชื่ อ ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย จะเป็ น ตั ว กลางที่ ดี ที่ สุ ด ในการพู ด คุ ย อี ก ทั้ ง อยากฝากถึงสื่อมวลชนว่าต้องน�ำเสนอข่าวทั้งฝ่ายเกษตรกร และรัฐบาลอย่างเท่าเทียบกัน สุดท้ายเชื่อว่า วิธีการแก้ความ ขัดแย้งบนข้อเท็จจริง แก้ง่าย แต่หากมีเหตุผลอื่นจะแก้ยาก


ขณะที่ ผศ.ทวี ศั ก ดิ์ นิ ย มบั ณ ฑิ ต คณบดี ค ณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ทุ ก วั น นี้ ทั้ ง 3 ชาติ คื อ ไทย มาเลเซี ย และอิ น โดนี เ ซี ย เกิ ด ความไม่ไว้วางใจกันเพราะมีกระแสข่าวว่า บางประเทศแอบไป เจรจาขายยางพาราล่ ว งหน้ า ท� ำ ให้ เ ป็ น เรื่ อ งยากที่ จ ะเห็ น ความร่ ว มมื อ ของทั้ ง 3 ประเทศ ในการชี้ น� ำ ราคายางของ ตลาดโลก อีกทั้งราคาสินค้าเกษตรทุกชนิดบนโลกนี้ หากมี ปริมาณรวมกันเกิน 10% จะท�ำให้ราคาต�่ำ เพราะมีตัวเลือก เยอะและเป็นสินค้าที่เน่าเปื่อยได้ง่าย รวมถึงการขึ้นราคายาง ตามอ�ำเภอใจของพ่อค้าคนกลาง ผศ.ทวีศักดิ์ เผยต่อว่า นักวิชาการควรให้ความรู้ความ เข้าใจแก่เกษตรกรมากกว่านี้ โดยเฉพาะการเลือกพันธุ์ยางที่ จะปลูกแต่ละพื้นที่เพราะบางพันธุ์ไม่เหมาะจะปลูกในพื้นที่สูง บางพั น ธุ ์ ไ ม่ เ หมาะที่ จ ะกรี ด ยางบ่ อ ยๆ อี ก ทั้ ง ควรมี ก ารจั ด โซนนิ่งแยกพื้นที่แต่ละพื้นที่ว่าต้องใช้พันธุ์ยางพาราชนิดไหน ในการปลู ก โดยจะต้ อ งขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพภู มิ อ ากาศอี ก ด้ ว ย ผศ.ทวีศักดิ์ เสริมต่อว่า เกษตรกรควรมีการใส่ปุ๋ย 2 ครั้งต่อ 1 ปี รวมถึงวิธีการใส่ปุ๋ยควรละเอียดมากกว่านี้ กล่าวคือ จังหวะการใส่ปุ๋ยเป็นเรื่องที่ส�ำคัญมาก เพราะจะต้องใส่ปุ๋ยหลัง จากที่ฝนตก เพื่อให้มีการละลายสารอาหารอย่างสูงสุด และ เกษตรกรชาวสวนยางส่วนมากเลือกที่จะใช้ปุ๋ยที่ใส่ในนาข้าว มาใส่ในสวนยางพารา ท�ำให้ได้ผลผลิตที่ไม่เต็มที่ สุดท้ายควร มีการส่งเสริมให้เกษตรใช้วิธีการอัดแก๊สเพื่อเพิ่มน�้ำยางในต้น ยางที่อายุ 10 ปีขึ้นไป โดยจะสามารถได้น�้ำยางเฉลี่ยต้นละ 2 ลิตร แต่จะต้องใส่ปุ๋ย 300 กรัมต่อต้น ใช้สูตร 30-15-18 จ�ำนวน 5 - 6 ครั้งต่อปี ซึ่งวิธีนี้จะเหมาะกับสวนยางขนาดเล็ก 15 - 20 ไร่ ในส่ ว นของ รศ.อาซี ซั น แกสมาน ผู ้ อ� ำ นวยการ ส ถ า บั น วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ยางพารา คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี กล่าวว่า ควรมีการส่งเสริมและ ตรวจสอบว่านอกจากผลิตภัณฑ์ หลักๆ ที่เราใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ยังมีผลิตภัณฑ์อื่นอีกไหม ที่ใช้ ยางพาราเป็ น วั ส ดุ ใ นการผลิ ต เพราะในปัจจุบันผลิตภัณฑ์บาง ชนิด ที่เคยใช้ยางพาราเป็นวัตถุ หลั ก ถู ก แทนที่ ด ้ ว ยพลาสติ ก เนื่ อ งจากราคายางที่ สู ง เกิ น ไป ในอดีตท�ำให้ตลาดโลกหันไปใช้ วั ส ดุ อื่ น ที่ ถู ก มี ต ้ น ทุ น น้ อ ยกว่ า แม้ ว ่ า ยางธรรมชาติ จ ะดี ก ว่ า วั ต ถุ ดิ บ อื่ น ๆ แต่ ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ ง

ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้าด้วย และจะท�ำอย่างไรให้ตลาด โลกหันกลับมาใช้ยางพาราเหมือนเดิม รศ.อาซีซัน กล่าวต่อว่า ในประเทศไทยให้ความส�ำคัญ เกี่ ย วกั บ วิ จั ย และการพั ฒ นาน้ อ ยเกิ น ไปและขาดหน่ ว ยงาน ที่จะประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน ซึ่งหากมีการวิจัย ที่มากขึ้น จะท�ำให้เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่งสามารถเพิ่มมูลค่า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อี ก ทางหนึ่ ง เพื่ อ ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรมผลิ ต ยางพารา สามารถพึ่งพาตนเองได้ แนวทางการแก้ ป ั ญ หายางพารา : จากสถานการณ์ ราคายางพาราของประเทศตกต�่ำส่งผลให้เกษตรกรกว่า 60 จังหวัดเดือดร้อน ซึ่งการแก้ไขปัญหานี้ สามารถท�ำได้ตั้งแต่ ระดั บ ต้ น น�้ ำ เช่ น การเพิ่ ม ผลผลิ ต ต่ อ ไร่ ระดั บ กลางน�้ ำ คื อ การแปรรูปยางขั้นต้นเพื่อได้วัตถุดิบส�ำหรับการอุตสาหกรรม เช่นการผลิตยางรมควัน เป็นต้น โดยปั จ จุ บั น อุ ต สาหกรรมที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ส� ำ หรั บ การแก้ ป ั ญ หานี้ คื อ การน� ำ ยางพาราไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการ ท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช นิ ด ต่ า งๆ ซึ่ ง ยางพารามี ก ารใช้ ม ากที่ สุ ด ใน อุตสาหกรรมยางล้อคิดเป็นร้อยละ 70 รองลงมาคือถุงมือยาง เส้นด้ายยางยืด เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ ถนนยางมะตอยผสม ยางพาราเป็นแนวทางที่มีการวิจัยมาเป็นเวลานาน จะท�ำให้ มีการใช้ยางพาราในประเทศเพิ่มมากขึ้น สุ ด ท้ า ยการสร้ า งความยั่ ง ยื น ให้ กั บ ภาคเกษตรกรรม ของประเทศเป็นเรื่องที่มีความจะเป็นอย่างยิ่ง และต้องช่วยทัน โดยหลายภาคส่วนตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ โดยจะ ต้องมีการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราของประเทศ ร่ ว มกั น ให้ เ ป็ น ระบบ อี ก ทั้ ง จะต้ อ งด� ำ เนิ น การให้ เ กิ ด ผลใน ทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ สร้ า งความยั้ ง ยื น และแก้ ป ั ญ หาในระยะยาว

ที่มา สมิหลา ไทมส์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 584 ประจ�ำวันที่ 7-13 กันยายน พ.ศ.2556

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

31


รอบรั้วศรีตรัง

ศิษย์เก่า วจก.

ได้รับแต่งตั้งเป็นหนึ่งใน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 ที่ประชุมวุฒิสภา ได้มีมติเห็นชอบบุคคลให้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการการเลือกตั้ง ชุ ด ใหม่ จ� ำ นวน 5 คน คื อ รศ.สมชั ย ศรี สุ ท ธิ ย ากร นายบุญส่ง น้อยโสภณ นายประวิช รัตนเพียร นายธีรวัฒน์ ธีรโรจน์วิทย์ และ นายศุภชัย สมเจริญ” ส� ำ หรั บ ร ศ . ส ม ชั ย ศรี สุ ท ธิ ย ากร เป็ น อดี ต รอง อ ธิ ก า ร บ ดี ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธรรมศาสตร์ ปั จ จุ บั น เป็ น ข้าราชการบ�ำนาญ ส�ำเร็จการ ศึกษารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ทฤษฎีการบริหารทั่วไป) เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ สอง คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ปี 2523 และพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รั ฐ ประศาสนศาสตร์ ) เกี ย รติ นิ ย มดี ม ากคณะรั ฐ ประศาสน ศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี 2527

กกต.ชุดใหม่

ประสบการณ์ท�ำงาน • ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก เสริ ม ศึ ก ษาและบริ ก ารสั ง คม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2540 • ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ปี2548 • รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวางแผนและพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ปี2548 • ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรปริญญาโท และ ปริญญาเอกทาง รัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีปทุม ส� ำ หรั บ กรรมการการเลื อ กตั้ ง อี ก 4 ท่ า น ประกอบด้ ว ย นายบุ ญ ส่ ง น้ อ ยโสภณ ผู ้ พิพากษาอาวุ โ สในศาลอุท ธรณ์ ภาค 7 ศาลอุทธรณ์ภาค 7 นายประวิช รัตนเพียร อดีตผู้ตรวจ การแผ่นดิน นายธี ร วั ฒน์ ธี ร โรจน์ วิ ท ย์ ผู้พิพากษาอาวุโส ในศาลอุ ท ธรณ์ นายศุ ภ ชั ย สมเจริ ญ ผู ้ พิ พ ากษาอาวุ โ ส ในศาลฎีกา

คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ลงนามร่วม ศูนย์ NANOTEC ในการจัดตั้งศูนย์เผยแพร่องค์ความรู้นาโนเทคโนโลยีระดับภาคใต้ รศ.ดร.วิ ไ ลวรรณ โชติ เ กี ย รติ คณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา และ ศ.นพ.สิ ริ ฤ กษ์ ทรงศิ วิ ไ ล ผอ.ศู น ย์ น าเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ ลงนามความ ร่วมมือจัดตั้งศูนย์ประสานวิทยากรเครือข่าย เพื่อ เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้าน นาโนเทคโนโลยีระดับภาคใต้ ภายใต้ชื่อ “NANO PLUS+” โดยจั ด ตั้ ง ขึ้ น ณ คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี พั น ธกิ จ หลั ก ใน การสร้ า งความตระหนั ก และความเข้ า ใจทาง ด้านนาโนเทคโนโลยีอย่างถูกต้องและปลอดภัย อย่ า งมี จ ริ ย ธรรม แก่ ชุ ม ชนประชาชน นั ก เรี ย น นักศึกษา ครู อาจารย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน และ สนับสนุนในการน�ำนาโนเทคโนโลยี ไปเพิ่มมูลค่า ให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์ในภาครัฐและเอกชน

32

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557


รอบรั้วศรีตรัง

แบบตราสัญลักษณ์

45 ปี ม.อ.

อาจารย์สุดารัตน์ สุกาพัฒน์

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ก� ำ หนดตราสั ญ ลั ก ษณ์ เพื่ อ ใช้ ประกอบในการออกแบบสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ กิ จ กรรม ในโอกาส ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ส ถาปนามา ครบ 45 ปี ในระหว่ า ง เดือนมีนาคม 2556 - มีนาคม 2557 อาจารย์สุดารัตน์ สุกาพัฒน์ รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและกิจการ นักศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี อาจารย์ประจําสาขาวิชาศิลปะประยุกต์ ผู้ออกแบบตราสัญลักษณ์ ในโอกาส 45 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ให้รายละเอียดความหมาย ขององค์ประกอบต่างๆ ของตราสัญลักษณ์ดังกล่าว ว่า ตั ว เลข 45 หมายถึง การครบรอบ 45 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยออกแบบรูปร่างของตัวเลข 45 ให้มี เส้นสายที่พลิ้วไหว เมื่อนําตัวเลข 45 มาสอดประสานกั บ รู ป ร่ า งของเครื่ อ งหมาย Infinity ซึ่ ง หมายถึ ง การพั ฒ นา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของมหาวิ ท ยาลั ย ในทุ ก ๆด้ า น ทุ ก ๆมิ ติ ลั ก ษณะการพลิ้ ว ไหว ของเส้ น หมายถึ ง การต่ อ เนื่ อ งไม่ ห ยุ ด นิ่ ง มี ค วามกลมเกลี ย ว การช่ ว ยกั น ขับเคลื่อนองค์กร/ สถาบันให้มีความเจริญก้าวหน้าตลอดเวลา สีน�้ำเงิน หมายถึง สีบลู เป็นสีประจํามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สีทอง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง สี ม ่ ว ง หมายถึ ง สี ข องดอกไม้ ป ระจํ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ คือ ดอกศรีตรัง นอกจากนี้ อ าจารย์ สุ ด ารั ต น์ สุ ก าพั ฒ น์ ยั ง มี ผ ลงานการออกแบบ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ , ภาพการ์ ตู น mascot 28 ชนิ ด กี ฬ า และรวมถึ ง ออกแบบ เหรียญรางวัล เพื่อใช้ในการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย ครั้ ง ที่ 39 ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เ ป็ น เจ้ า ภาพจั ด การแข่ ง ขั น เมื่ อ วันที่ 1-8 พฤษภาคม 2555 ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.psu.ac.th/sites/default/files/logo_45_psu.jpg

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

33


รอบรั้วศรีตรัง

คณะพยาบาลศาสตร์

จัดบริการคัดกรองสุขภาพ

เนื่องในวันพยาบาลแห่งชาติ ผศ.ดร.ยุ พ ดี ชั ย สุ ข สั น ติ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ ช าการและวิ เ ทศ สั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี เปิ ด งานกิ จ กรรม พยาบาลสร้างเสริม เติมรักษ์สุขภาพ เนื่อง ในวันพยาบาลแห่งชาติ ประจ�ำปี 2556 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 ณ ลานกิจกรรมนักศึกษา เพื่อน้อม ร� ำ ลึ ก ถึ ง สมเด็ จ พระศรี น คริ น ทราบรมราชชนนี และให้ บ ริ ก าร ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพแก่บุคลากร นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไป กิ จ กรรม ประกอบด้ ว ย การตรวจสุ ข ภาพเบื้ อ งต้ น การคั ด กรอง โรคเบาหวาน การให้ ค� ำ ปรึ ก ษาปั ญ หาสุ ข ภาพด้ า นร่ า งกาย และจิ ต ใจ และสาธิ ต การท� ำ โยคะ ผศ.ดร.ยุ พ ดี ชั ย สุ ข สั น ติ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กล่าวว่า การจัดกิจกรรมในโครงการ วั น พยาบาลแห่ ง ชาติ ใ นครั้ ง นี้ นั บ เป็ น กิ จ กรรมที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการได้ รั บ การบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพ มี ค วาม รู ้ ค วามเข้ า ใจในการดู แ ลสุ ข ภาพอย่ า งถู ก ต้ อ ง ตลอดทั้ ง บุ ค ลากรผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารได้ ใ ห้ บ ริ ก ารพยาบาลเป็ น การแสดง กตเวทิตาคุณ และระลึกถึงผู้ก�ำเนิดวิชาชีพพยาบาล รวมทั้ง สร้ า งความตระหนั ก ในหน้ า ที่ ข องพยาบาลซึ่ ง เป็ น บุ ค ลากร ทางการแพทย์ ที่ ส� ำ คั ญ มากในการให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชน ให้มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ผศ.พัชรียา ไชยลังกา ผู้อ�ำนวยการ โครงการจั ด ตั้ ง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี กล่าวว่า เนื่องด้วยเป็นวันคล้าย วันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี และในฐานะที่พระองค์ ท่ า น ทรงส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาวิ ช าการ พยาบาล ตลอดพระชนม์ ชี พ ของพระองค์ ท รงปฏิ บั ติ พ ระราช ภารกิจในการพัฒนาสุขภาพ อนามัยและคุณภาพชีวิตของพสก นิกร น�ำศิริสุขแก่พสกนิกร ทุกก้าวพระบาทที่เสด็จไปถึงโดยเฉพาะ ชนบทที่ห่างไกล ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณดังกล่าวแล้วนี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้เสนอขอความคิดเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรี ให้วันที่ 21 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันพยาบาลแห่งชาติ ตั้งแต่ปี

34

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

พุ ท ธศั ก ราช 2533 ในโอกาสเดี ย วกั น นี้ คณะพยาบาลศาสตร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ได้ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ เพื่ อ เป็ น การ แสดงกตเวทิตาคุณ ร�ำลึกถึงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ผู้ก�ำเนิดวิชาชีพพยาบาล เป็นเกียรติและศักดิ์ศรีแก่วิชาชีพ และ เผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาพแก่บุคลากรและประชาชนทั่วไป โดยปี นี้ มี กิ จ กรรมที่ น ่ า สนใจ อาทิ การตรวจสุ ข ภาพเบื้ อ งต้ น การชั่งน�้ำหนักวัดส่วนสูง การค�ำนวณดัชนีมวลกาย การตรวจวัด ระดั บ น�้ ำ ตาลในเลื อ ด การคั ด กรองโรคเบาหวานและความดั น โลหิต บริการให้ค�ำปรึกษาปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ การท�ำโยคะ เพื่อสร้างสมดุลให้ร่างกายและจิตใจ แจกเอกสาร ความรู้ด้านสุขภาพ และบริการน�้ำดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ “ตน เป็ น คนหนึ่ ง ที่ ใ ส่ ใ จเรื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพ และได้ ใ ช้ บ ริ ก าร ตรวจสุขภาพคัดกรองความเสี่ยงซึ่งจัดโดยโครงการจัดตั้ง คณะพยาบาลศาสตร์ เป็นครั้งที่สอง นับว่าเป็นโครงการที่ดี ที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การให้ บ ริ ก ารบุ ค ลากรในการส่ ง เสริ ม สุขภาพกายและจิตอย่างต่อเนื่อง จึงขอชวนเชิญบุคลากร วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ร่ ว มใส่ ใ จดู แ ลสุ ข ภาพอย่ า งจริ ง จั ง และ ต่อเนื่อง” นางรัตติยา โกริภาพ ผู้ปฏิบัติงานบริหาร ช�ำนาญงาน


บริการวิชาการ

ศูนย์เครื่องมือวิทย์ ม.อ.

ตรวจสารตกค้างในข้าว สุ่มตัวอย่างในสงขลา ยืนยันยังปลอด

“เมทิลโบรไมด์”

างสาวพิมพ์พิมล เพ็ญจ�ำรัส นักวิทยาศาสตร์ ศู น ย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า จากกรณีที่ ในช่วงเดือน ที่ ผ ่ า นมามี ข ่ า วตรวจพบข้ า วสารบรรจุ ถุ ง บางยี่ ห ้ อ มี ก ารตกค้ า งของสารเมทิ ล โบรไมด์ ซึ่ ง เป็ น สารที่ ใ ช้ รมควันเพื่อฆ่าเชื้อโรคในอาหารเพื่อการเก็บรักษา เช่น ผลไม้อบแห้ง แป้ง ถั่ว เมล็ดพืชและธัญญพืช เกินค่า มาตรฐาน ท�ำให้ประชาชนเกิดการกังวลและเกิดความ ไม่มั่นใจในข้าวสารที่ซื้อมาบริโภค โดยในส่วนของศูนย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจส่วนหนึ่งในการให้บริการ ตรวจสอบสารต่ า งๆ โดยบุ ค ลากรและเครื่ อ งมื อ ที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพ ได้มีหน่ว ยงาน บุคลากรมหาวิ ท ยาลัย และประชาชนทั่วไปในพื้นที่จังหวัดสงขลา ขอน�ำข้าวสาร ที่ซื้อมาเพื่อบริโภคมาตรวจสอบหาสารดังกล่าวเป็น ประจ�ำ โดยที่ผ่านมาได้มีการตรวจสอบข้าวสารที่วาง ขายในจังหวัดสงขลากว่า 10 ยี่ห้อ ปรากฎผลว่าไม่พบ สารตกค้างของ สารรมควันเมทิลโบรไมด์ แต่อย่างใด

สารเมทิลโบรไมด์ เป็นสารที่ระเหยได้ง่าย ซึ่งหากหายใจ เอาสารที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น ต�่ ำ เข้ า ไป อาจมี อ าการเวี ย นศี ร ษะ ปวดศีรษะ ง่วงนอน เสียการทรงตัว สายตาพร่ามัว ท�ำลายปอด และไต เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ ส่วนถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง โดยตรงจะท�ำให้แสบร้อนเป็นแผลไหม้ ในการทดสอบนั้น จะน�ำข้าวที่เป็นตัวอย่างมาชั่ง แล้ว ใส่น�้ำเกลือในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อช่วยในการระเหยของสาร เนื่องจากเมทิลโบรไมด์เป็นสารที่ระเหยกลายได้ง่าย จากนั้น น�ำไปให้ความร้อนเพื่อให้สารระเหยเป็นไอ แล้วใช้กระบวนการ

Solid-phase microextraction ให้สารระเหยไปเกาะอยู่บน แท่งไฟเบอร์ที่มีความเหมาะสมในการดูดซับสารชนิดนี้ โดย ใช้ เ วลา 1 ชั่ ว โมง ต่ อ จากนั้ น น� ำ ไปเข้ า เครื่ อ ง GC-MS เพื่ อ ตรวจสอบว่ามีสารที่ต้องการอยู่หรือไม่ ซึ่งการตรวจสอบไม่ ปรากฎว่าพบสารเมทิลโบรไมด์ ในตัวอย่างข้าวสารแต่อย่างใด กระบวนการทั้ ง หมดใช้ เ วลาไม่ เ กิ น 3 ชั่ ว โมงและไม่ ใ ช่ กระบวนการที่ยุ่งยาก เพียงแต่เครื่องมือในการทดสอบ เช่น เครื่อง GC-MS มีราคาสูงและเหมาะส�ำหรับใช้ในห้องปฏิบัติ การที่มีการทดสอบสารอย่างอื่นร่วมอยู่ด้วย เพื่อความคุ้มค่า ในการใช้งาน เช่น ตรวจสอบสารยาฆ่าแมลง น�้ำมันหอมระเหย สารสะกัดจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติต่างๆ อย่างไรก็ตาม ในการตรวจสอบครั้งนี้ มุ่งไปที่การตกค้าง ของสารรมควันเมทิลโบรไมด์ ซึ่งอยู่ในความกังวลของผู้บริโภค ในเวลานี้ แต่ไม่ได้รวมการตรวจสอบสารตกค้างชนิดอื่น เช่น ยาฆ่าแมลง ซึ่งจะต้องมีการแยกตรวจสอบต่างหากอีกครั้งหนึ่ง

ธันวาคม 2556 - มกราคม 2557

35



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.