Sanmoror july 2013

Page 1

...2 ...6-7 ...16-17

...18-19


การศึกษา

ม.อ. มอบปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต

แด่ ดร.อัมมาร สยามวาลา

ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล เมื่ อ วั น ที่ 7 มิ ถุ น ายน 2556 ที่ ค ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มีพิธีมอบปริญญา เศรษฐศาสตร ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั กดิ์แก่ ศาสตราจารย์ พิ เ ศษ ดร.อั ม มาร สยามวาลา ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ ได้รับ การยอมรั บ นั บ ถื อ ทั้ ง ในระดั บ ประเทศและนานาชาติ ท างด้ า น เศรษฐศาสตร์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานในการมอบ และมี ผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ ร่วมในพิธี าสตราจารย์ (พิ เ ศษ) ดร.อั ม มาร สยามวาลา เป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญในทางวิ ช าการที่ โดดเด่ น ทางเศรษฐศาสตร์ ด้ า น ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในเรื่ อ ง กลไกการผลิ ต และการค้ า ในตลาดข้ า วและพื ช ผลส� ำ คั ญ ต่ า งๆ รวมถึ ง การศึ ก ษาผล กระทบจากนโยบายของภาครัฐที่มีต่อการพัฒนาภาคการ เกษตรในชนบท เคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ทางวิ ช าการทางด้ า น เศรษฐศาสตร์ และเป็ น นั ก บริ ห ารในมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยการเกษตร และพัฒนาชนบท สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ประธานสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย และนักวิชาการ เกี ย รติ คุ ณ สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาประเทศไทย มี ผ ลงาน ทางวิ ช าการที่ มี คุ ณ ภาพชั้ น น� ำ ในระดั บ นานาชาติ ซึ่ ง มี คุ ณ ประโยชน์เป็นที่ประจักษ์ต่อสังคมจ�ำนวนมากกว่าหนึ่งร้อย ผลงาน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์

2

จากสภาวิจัยแห่งชาติ รางวัล Sir John Crawford Exchange Award สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร จาก Australian Agriculture Economics Society และ Australian Council for International Agricultural Research รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม (ร่วมกับวิโรจน์ ณ ระนอง) สาขาเศรษฐศาสตร์ เรื่อง “ประมวล ความรู้เรื่องข้าว” จากสภาวิจัยแห่งชาติ

หลั ง จากพิ ธี ม อบปริ ญ ญา เศรษฐศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ ศาสตราจารย์ ดร.อัมมาร สยามวาลา ได้ให้เกียรติ ปาฐกถา เรื่ อ ง “ทศวรรษหน้ า ของเศรษฐศาสตร์ กั บ เมื อ งไทย” โดยปาฐกถาดั ง กล่ า ว เป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ในวาระครบ 10 ปี แห่งการก่อตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารทางการศึ ก ษาด้ า นเศรษฐศาสตร์ ใ นภาคใต้ โดย หลั ง จากนี้ มี ก ารจั ด ปาฐกถาพิ เ ศษอี ก ครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ อั ง คารที่ 11 มิถุนายน 2556 ในหัวข้อ “ก้าวย่างที่มั่นคงของประเทศไทย กับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในทศวรรษหน้า” โดยมี ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เป็นองค์ปาฐก


มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 5 ประจ�ำเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2556

สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน

สารบัญ การศึกษา

ลงนามความร่วมมือ

• ม.อ. มอบปริญญาเศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต แด่ ดร.อัมมาร สยามวาลา ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับใน 2 ระดับสากล • ม.อ.เปิดหลักสูตรใหม่ สนอง “ธุรกิจไมซ์” ที่แรก ที่เดียวในไทย 6-7 เผยปีแรก เด็กแห่เรียนเกินเป้า • ม.อ. จัด “PSU Road Show” ครั้งที่ 14 ลุยแนะแนวเด็ก 5 จังหวัด 25 ภาคใต้

• ม.อ.-มธ. MOU จัดตั้งศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 8 8 • MOU กับ Michilin • ม.อ. ลงนามร่วมกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและกรมพัฒนา 30-31 พลังงานฯ คาดประหยัดค่าไฟฟ้าปีละ 40 ล้านบาท

พบอธิการบดี • “ม.อ. กับการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ”

4-5

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ • 2 น.ศ. รัฐศาสตร์ รับรางวัล สหกิจศึกษานานาชาติดีเด่นระดับชาติ 10 • นักศึกษาทีม “ดงยาง” คว้าอันดับ 11 จากการแข่งขันหุ่นยนต์ ระดับโลก ROBOCUP EINDHOVEN 2013 22 • ซายูตี สาหล�ำ นักศึกษารางวัลพระราชทาน ผู้มีผลงานเด่น ท�ำคุณประโยชน์เพื่อชุมชน และสังคม 28-29 • QS Rankings จัด ม.อ.ติดอันดับ ม.ชั้นน�ำโลกด้านเกษตรศาสตร์ 32

รอบรั้วศรีตรัง

อบรม/สัมมนา • โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี อบรมการคิด 9 เชิงบวกให้สตรีในชุมชน • ม.อ.ปัตตานีเปิดเวทีให้ภาครัฐและประชาชน หาแนวทางสร้าง กระบวนการยุติธรรมชุมชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 12-13 • โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.อ.จัดอบรม 35 “รู้ไว้ห่างไกลโรคแพะสู่คน”

สู่ประชาคมอาเซียน • ม.อ.สุราษฎร์ จับมือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัด ASEAN School Bus ให้ความรู้เรื่องอาเซียน 11 • ม.อ. พร้อมเป็นเจ้าภาพ IMT-GT Varsity Carnival ครั้งที่ 15 เชื่อมสัมพันธ์ไทย-มาเลย์-อินโด 23

• นักวิชาการ ม.อ. ให้มองเหตุไฟดับเป็นโจทย์เพื่อรู้จักเตรียมพร้อม 14 18-19 • รับน้อง “ศรีตรังช่อใหม่” วิทยาเขตหาดใหญ่ 2556 • มหาวิทยาลัยมีหลายสิ่งที่ท้าทายให้ค้นคว้าศึกษา นักศึกษา ม.อ. 20-21 ต้อง เก่ง ดี และมีความสุข

วิจัย

กิจกรรมเพื่อสังคม

หน่วยงานใหม่

• “WE GIVE BACK” เพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ สมทบกองทุน 24 100 ปี สมเด็จย่า คณะทันตะ

• เภสัช ม.อ. เปิดตัวโรงงานยาแผนไทยมาตรฐาน GMP แห่งแรกในภาคใต้

• ปัญหา “นาร้าง” ส่งผลให้ชายแดนใต้ขาดความมั่นคงด้านอาหาร พึ่งพาตัวเองได้น้อยลง การเอื้ออาทรกันขาดหายไป 15 • จัดวันนักวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 7 เชิดชูนักวิจัย ม.อ. 33

16-17

สิ่งแวดล้อม • “ม.อ.” ห่วงท่องเที่ยวน�ำเชื้อราร้ายคุกคาม “กบ” บน “ตะรุเตา” 26-27 ร่วมนานาชาติปลุกส�ำนึกอนุรักษ์ และพัฒนาวิธีตรวจเชื้อ

3


พบอธิการบดี

รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อย่างไรก็ตามในปัจจุบันได้มีหลายมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยใหญ่ ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหิดลได้ออกไปเป็น มหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ กันมากขึ้น และการด�ำเนินการต่าง ๆ เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ มีความชัดเจนมากขึ้น

พบอธิการบดี ฉบับที่ 3/2556

“ม.อ. กับการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ”

นช่ ว งสองสามเดื อ นที่ ผ ่ า นมาหลายท่ า นคงได้ ยิ น ข่ า วว่ า พระราชบั ญ ญั ติ ก ารเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ไ ด้ ผ ่ า น สภานิ ติ บั ญ ญั ติ ใ นวาระที่ ห นึ่ ง ไปแล้ ว ก� ำ ลั ง รอเข้ า วาระสองและสาม ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า หลายคนอาจจะตั้งค�ำถามในใจว่า ปัจจุบันมี มหาวิทยาลัยที่เป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐกี่แห่ง แล้วมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์มีจุดยืนในเรื่องนี้อย่างไร หากก� ำ หนดกรอบเฉพาะมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ เดิ ม และที่ จั ด ตั้ ง เพิ่มใหม่ ในองค์ประชุมของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจ�ำนวน 27 สถาบั น แล้ ว (ไม่ ร วมมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคล) ปัจจุบันมหาวิทยาลัยของรัฐเดิมที่มีสถานะเป็น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ มี จ� ำ นวนทั้ ง สิ้ น 12 สถาบั น และ ยั ง คง สถานะเดิม 15 สถาบัน นอกจากนี้หากพิจารณาเฉพาะในส่วนของ 9 มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ นั้ น พบว่ า มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ที่ มี สถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ ไปแล้ว 5 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ส่วนที่เหลืออีกจ�ำนวน 4 สถาบัน ยังคงสถานะเดิม อย่างไรก็ตาม ในจ�ำนวนมหาวิทยาลัยที่ยังคงสถานะเดิม ก็ได้มี การด�ำเนินการในการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ อย่างชัดเจน 3 แห่งคือ 1) มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ 2) มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ (ทั้ ง 2 มหาวิ ท ยาลั ย นี้ อ ยู ่ ใ นกระบวนการพิ จ ารณาของสภาผู ้ แ ทนราษฎร) และ3) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ได้ด�ำเนินการส่งร่างพระราชบัญญัติฯ ให้ สกอ.แล้ ว เตรี ย มเสนอ ครม.) ดั ง นั้ น ในกลุ ่ ม มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ทั้ ง หมด ยั ง คงมี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ข องเราเท่ า นั้ น ที่ยังไม่ก�ำหนดบทบาทเพื่อด�ำเนินการให้ชัดเจนแต่อย่างใดในการออก ไปเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ พ.ศ. 2543: ม.อ. เริ่มต้นกระบวนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหาร สู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐบาล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การเรื่ อ งการเป็ น มหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 โดยเริ่มด�ำเนินการยกร่าง พระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พ.ศ.... และน� ำ เข้ า สู ่ กระบวนการการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาคมของมหาวิ ท ยาลั ย อย่ า ง กว้ า งขวาง ตั้ ง แต่ ก ระบวนการยกร่างพระราชบัญญัติ ฯ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้รับทราบ และการเสนอความเห็นและปรับปรุง โดยมี

4

รศ.ดร.โคทม อารี ย า เป็ น ประธานในการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ซึ่ ง กระบวนการของการมี ส ่ ว นร่ ว มดั ง กล่ า วเป็ น การรั บ รู ้ ร ่ ว มกั น ในการ ก้าวสู่การเปลี่ยนแปลงเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ ตามรูปแบบวิธีการ ที่ พิ จ ารณาความเหมาะสมกั บ รู ป แบบการบริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย หลาย วิ ท ยาเขตในอนาคต หลั ง จากนั้ น เราก็ ไ ด้ มี ก ระบวนการต่ อ เนื่ อ งตาม ล�ำดับเวลา ดังนี้ วัน เดือน ปี เหตุการณ์และกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

จ�ำเป็นหรือไม่ที่ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเป็นมหาวิทยาลัย ในก�ำกับของรัฐบาล ที่ ม าของเรื่ อ งนี้ ม าจากการที่ รั ฐ บาลได้ ก� ำ หนดเป็ น นโยบาย ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ทั้ ง หมด 20 แห่ ง ปรั บ เปลี่ ย นสถานภาพไป เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในก� ำ กั บ ของรั ฐ ภายในปี พ.ศ. 2545 โดย วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการปรั บ เปลี่ ย นตามที่ ป รากฏในสมุ ด ปกขาว ของ


ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย เรื่ อ ง หลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย ในก�ำกับของรัฐ มี 2 ประเด็นคือ 1. เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษาให้มีความ เป็ น อิ ส ระ คล่ อ งตั ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ความเป็ น เลิ ศ ทางวิ ช าการ จึงให้ปรับเปลี่ยนสถานภาพไปเป็นมหาวิทยาลัยที่ไม่เป็นส่วนราชการ 2. เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามเงื่ อ นไขของธนาคารพั ฒ นาแห่ ง เอเชี ย (Asian Development Bank: ADB) ที่ ใ ห้ รั ฐ บาลไทยกู ้ เ งิ น เพื่ อ แก้ ไ ข ปั ญ หาสภาพคล่ อ ง และชดเชยการขาดดุ ล ของงบประมาณรายจ่ า ย ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 กรอบนโยบายหนึ่งที่ทบวงมหาวิทยาลัย ในขณะนั้นต้องรับผิดชอบด�ำเนินการ คือ การพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของ รั ฐ ทุ ก แห่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย อิ ส ระ (Autonomous University) หรื อ มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐภายในปี พ.ศ. 2545 อย่ า งไรก็ ต ามในปั จ จุ บั น ได้ มี ห ลายมหาวิ ท ยาลั ย โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยใหญ่ ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย มหิดลได้ออกไปเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ กันมากขึ้น และการด�ำเนิน การต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ฯ มี ค วามชั ด เจนมากขึ้ น ประกอบกับการออกไปเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับ ฯ มหาวิทยาลัยสามารถ ออกระเบียบในการด�ำเนินการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระเบียบการเงิน หรือการ บริหารบุคคลต่างๆได้เอง ซึ่งจะช่วยให้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน การบริหารจัดการ เกิดความคล่องตัว และลดความซ�้ำซ้อนลงได้ซึ่ง เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นในปัจจุบันเนื่องจากการจ�ำกัดอัตราก�ำลังของภาครัฐ ในขณะเดียวกันระบบบริหารบุคคลที่มีอยู่สองระบบในปัจจุบัน คื อ ระบบข้ า ราชการ และระบบพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย โดยที่ จ� ำ นวน ข้าราชการจะค่อย ๆ หมดไป (ปัจจุบันมีจ�ำนวนพนักงานมหาวิทยาลัย เกือบร้อยละ 50 ของจ�ำนวนข้าราชการและพนักงานมหาวิทยาลัยรวมกัน) ในอนาคตจะมี แ ต่ บุ ค ลากรที่ เ ป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย เท่ า นั้ น ซึ่ ง หมายความว่าระบบบริหารบุคคลจะอยู่ในรูปแบบของมหาวิทยาลัยใน ก�ำกับ ฯ โดยปริยาย ดังนั้นถ้าระบบการเงินและระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ปรับเปลี่ยนจะท�ำให้เกิดอุปสรรคในการบริหารจัดการในภาพรวม

ผมขอยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมาให้เห็น ภาพของความคล่องตัวด้านการเงินที่แตกต่างระหว่างมหาวิทยาลัย ในก� ำ กั บ ฯ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ยั ง เป็ น ระบบราชการ โดยยกตั ว อย่ า ง ของโครงการมหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ ซึ่ ง ปรากฏว่ า เงิ น โครงการ มหาวิทยาลัยวิจัยสามารถโอนเข้าไปเป็นเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ในก� ำ กั บ ฯ และสามารถด�ำ เนิ น การวิ จั ย ได้ ทั น ที โ ดยมี ค วามคล่ อ งตั ว ในการใช้ จ ่ า ยเงิ น ในขณะที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ในระบบราชการเช่ น ม.อ. และ ม.ข. ต้องรอการโอนเงินแบบเบิกจ่ายแทนกัน (ท�ำให้การเริ่มท�ำวิจัย ล่าช้ากว่ามหาวิทยาลัยในก�ำกับอยูห่ ลายเดือน) การเบิกจ่ายเงินมีขนั้ ตอน มากมายและมีการตรวจสอบที่ซ�้ำซ้อนท�ำให้ขาดความคล่องตัวและ ด้อยประสิทธิภาพ

การเริ่มต้นอีกครั้งของ ม.อ.บนเส้นทางการปรับเปลี่ยนสู่การเป็น มหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ เกื อ บ 7 ปี นั บ จากที่ ป ระชุ ม คณบดี ค รั้ ง ที่ 13/2549 วั น ที่ 2 พฤศจิกายน 2549 ได้มติให้ชะลอการยืนยันร่างพระราชบัญญัติ ฯ มาถึง ช่ ว งเวลานี้ ที่ ป ระชุ ม คณบดี ค รั้ ง ที่ 4/2556 วั น ที่ 4 เมษายน 2556 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี ได้มีมติเห็นชอบ ให้ด�ำเนินการเตรียมการขับเคลื่อนให้มหาวิทยาลัยของเราปรับสถานะ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ โดยให้ ด� ำ เนิ น การร่ า งพระราช บัญญัติของมหาวิทยาลัยให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี และได้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับ ของรัฐโดยมี อธิการบดีเป็นประธาน และมีการแต่งตั้งคณะท�ำงาน 3 ชุดย่อย เพื่อด�ำเนินการในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ 1. คณะท� ำ งานยกร่ า ง พระราชบั ญ ญั ติ ฯ โดยมี ร องอธิ ก ารบดี (อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา)เป็นประธาน และคณบดี ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ (อาจารย์ ว ศิ น สุวรรณรัตน์) เป็นรองประธาน 2. คณะท� ำ งานประชาสั ม พั น ธ์ แ ละ รับฟังความคิดเห็น โดยมี รองอธิการบดีฝ่าย ระบบสารสนเทศและโครงสร้างกายภาพ (รศ.ดร.เกริกชัย ทองหนู) เป็น ประธาน รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ (รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร ) และ รศ.อิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ เป็นรองประธาน 3. คณะท�ำงานยกร่างข้อบังคับ ฯ เรื่องต่าง ๆ มีรองอธิการบดีฝ่าย วางแผนและการเงิน (ผศ.ดร.นิวตั ิ แก้วประดับ) เป็นประธาน อาจจะมีประเด็นค�ำถามเกิดขึ้นว่า การออกไปเป็น มหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ จะมีผลกระทบต่อบุคลากรและ นั ก ศึ ก ษามากน้ อ ยแค่ ไ หน ในประเด็ น ของบุ ค ลากรนั้ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย จะไม่ มี ผ ลกระทบในทางลบ แต่ น่ า จะมี ผ ลดี ม ากกว่ า เพราะพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย จะเป็ น บุ ค ลากร ส่ ว นใหญ่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย และระเบี ย บต่ า งๆ จะเอื้ อ ต่ อ การบริ ห าร บุ ค คลที่ เ ป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ในส่ ว นข้ า ราชการนั้ น การออกไป เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยจะขึ้นอยู่กับความสมัครใจ ยกเว้นผู้บริหาร ที่ จ ะต้ อ งเป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งไรก็ ต ามจากตั ว อย่ า งของ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่ออกไปเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ แล้วจะพบว่า ข้าราชการที่ออกไปเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยจะได้ค่าตอบแทนสูงขึ้น ในส่วนนักศึกษานั้นน่าจะได้รับการบริการที่ดีขึ้นจากการปรับระบบการ บริหารจัดการและการเงินที่มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ แต่หลาย คนอาจจะตั้ ง ประเด็ น ว่ า การเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ฯ จะมี ก ารขึ้ น ค่าเทอมสูงขึ้น ซึ่งในข้อนี้เป็นการเข้าใจผิดเพราะการเป็นมหาวิทยาลัย ในก� ำ กั บ ฯ นั้ น รั ฐ บาลยั ง สนั บ สนุ น งบประมาณอยู ่ ดั ง นั้ น การขึ้ น ค่ า เทอมไม่ได้ขึ้นอยู่กับการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับ ฯ หรือไม่ เพราะใน ปัจจุบันนี้ถึงแม้จะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบราชการก็ยังมีความจ� ำเป็น ที่จะต้องขึ้นค่าเทอมตามอัตราเงินเฟ้อ เช่น ในปี 2557 มหาวิทยาลัยมี แผนที่จะปรับค่าเทอม และจะปรับทุก ๆ 3 ปีตามอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น โดยสรุปมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดยมติที่ประชุมคณบดี ได้มีจุดยืน ที่จะขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ทั้งนี้มีแผนการด�ำเนินการร่างพระราชบัญญัติ ฯ ฉบับใหม่รวมทั้งการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาคมให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี

5


การศึกษา

อุตสาหกรรมไมซ์ (M-I-C-E) ประกอบด้วย ธุรกิจการจัดการประชุม (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive Travel) การประชุมนานาชาติ (Convention) และงานแสดงนิทรรศการนานาชาติ (Exhibition) ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยมีการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้มที่จะขยายตัว อย่างต่อเนื่อง

ม.อ.เปิดหลักสูตรใหม่ สนอง “ธุรกิจไมซ์” ที่แรก ที่เดียวในไทย เผยปีแรก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโทหญิง ดร.เกิดศิริ เจริญวิศาล

6

เด็กแห่เรียนเกินเป้า

ณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิด หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล ตอบโจทย์การขยายตัวของ ธุรกิจไมซ์ หลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทย ปีแรกนักเรียน ให้ความสนใจแห่เรียนเกินเป้า คาดอนาคตเปิดเป็นหลักสูตรนานาชาติ รองรับประชาคมอาเซียน ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ร้ อ ยโทหญิ ง ดร.เกิ ด ศิ ริ เจริ ญ วิ ศ าล ผู้อ�ำนวยการหน่วยวิจัยการพัฒนาการท่องเที่ยวชายแดน คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ริเริ่มหลักสูตร เปิดเผยว่า อุตสาห กรรมไมซ์ (M-I-C-E) ประกอบด้วยธุรกิจการจัดการประชุม (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive Travel) การประชุมนานาชาติ (Convention) และงานแสดงนิ ท รรศการนานาชาติ (Exhibition) ซึ่ ง ปัจจุบันในประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้ม ที่จะขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์จึงเล็งเห็นถึงความจ�ำเป็นของการผลิตบุคลากร ที่มีความรู้ ความ สามารถ และทักษะเฉพาะในการปฏิบัติหน้าที่ในอุตสาหกรรมดังกล่าว จึงได้เปิดให้มีการเรียนการสอนในหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการ จัดการประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลขึ้นในปีการ ศึกษา 2556 เป็นปีแรก ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากเดิมที่คาดว่า จะรับนักศึกษาจ�ำนวน 30 คน แต่เนื่องจากมียอดผู้สมัครเกินเป้าที่วางไว้ จึงได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนทั้งหมด 61 คน


“หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นับว่าเป็น หลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวในประเทศไทย นักศึกษา จะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจในอุตสาหกรรมไมซ์ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติจนเกิดเป็นความรู้และทักษะในการ ท�ำงาน มีความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริง ไม่เพียงแค่น�ำเสนอ เนื้ อ หาในเชิ ง ทฤษฏี เ ท่ า นั้ น ผู ้ จ บการศึ ก ษาจะเป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพการจั ด การธุ ร กิ จ โดย สามารถประกอบอาชี พ เป็ น ผู ้ จั ด งานแสดงสิ น ค้ า และ นิ ท รรศการ (PEO) ผู ้ จั ด งานอี เ วนท์ (Organizer) ผู้ประกอบการธุรกิจงานประชุมและนิทรรศการ ผู้ปฏิบัติ งานในศูนย์การประชุม (Venue and Convention Center) ผู้ออกแบบและจัดประชุมนานาชาติ มัคคุเทศก์ หรืออาชีพ อิสระ” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโทหญิง ดร.เกิดศิริ กล่าว

ด้านอาจารย์ธนิถา แสงวิเชียร หั ว หน้ า สาขาวิ ช าการจั ด การประชุ ม นิ ท รรศการและการท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ เป็ น รางวั ล คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า คณะวิ ท ยาการจั ด การได้ เ ตรี ย มความ พร้อมทั้งในด้านงบประมาณ ด้านการ พั ฒ นาศั ก ยภาพของคณาจารย์ และความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ย งานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่ส�ำคัญคือได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารประชุ ม นานาชาติ ที่ ใ หญ่ ที่สุดในภาคใต้ ส�ำหรับเรื่องการเรียนการสอน หลักสูตรเล็ง เห็ น ถึ ง ความจ� ำ เป็ น ในด้ า นภาษาสากล จึ ง จั ด ให้ มี ก ารเรี ย น การสอนเป็นภาษาอังกฤษ 25% เพื่อเตรียมความพร้อมที่จะ พัฒนาหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรนานาชาติ รองรับการขยายตัว ของอุ ต สาหกรรมไมซ์ ในโอกาสที่ ป ระเทศไทยก�ำ ลั ง จะก้ า ว เข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอีก 2 ปีข้างหน้า หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการประชุม นิทรรศการและการ ท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยวเพื่อ เป็นรางวัล เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือจากส�ำนักงาน ส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ TCEB ในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ส�ำหรับ การจัดการธุรกิจด้านการประชุมและนิทรรศการ โดยมุ่งเน้น ผลิตบัณฑิตให้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานในอุตสาหกรรม ไมซ์ ซึ่งปัจจุบันยังคงขาดแคลนบุคลากรอีกเป็นจ� ำนวนมาก

7


ลงนามความร่วมมือ

ม.อ.-มธ. MOU จัดตั้งศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ แ ละ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงนามบันทึกข้อ ตกลงความร่ ว มมื อ “การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ห นั ง สื อ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ” เมื่ อ วั น ที่ 14 มิ ถุ น ายน 2556 เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วมหนั ง สื อ เอกสารทางวิชาการของอาจารย์ นักวิชาการ ในมหาวิทยาลัย เตรียมเปิดให้บริการปลายปีนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าว ว่า การลงนามความร่วมมือในการจัดตั้งศูนย์

เมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2556 รศ.ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ ในฐานะ ผู ้ แ ทนอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ โดยมี รศ.ดร.จรัญ บุญกาญจน์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ พร้อมด้วย

8

หนั ง สื อ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ น ครั้ ง นี้ นั บ เป็ น โอกาสที่ ดี เนื่ อ งจากได้ รั บ ความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่ ง ถื อ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ป ระสบความ ส�ำเร็จในการจัดตั้งศูนย์หนังสือมาเป็นเวลา หลายปี โดยจะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางวิ ช าการของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เนื่ อ งจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์มีคณาจารย์ที่มีศักยภาพในการ แต่งต�ำรา หนังสือ เอกสารทางวิชาการอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก การจัดตั้งศูนย์หนังสือจึง จะเป็นเสมือนจุดรวบรวมผลงานดังกล่าว เพื่อให้นักศึกษา อาจารย์ ตลอดจนบุคคล ทั่วไปได้เข้าถึงผลงานดังกล่าวได้ง่ายยิ่งขึ้น ด้ า นศาสตราจารย์ ดร.สมคิ ด เลิ ศ ไพฑู ร ย์ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ที่ผ่านมามหาวิทยาลัย

คณะผู ้ บ ริ ห ารและคณาจารย์ ภ าควิ ช า วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล ได้ เ ดิ น ทางเข้ า ร่ ว ม งานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง โครงการ ความร่ ว มมื อ การจั ด การเรี ย นการสอน แบบบู ร ณาการกั บ การท� ำ งาน(Workintegrated Learning:WiL) โครงการสห กิจศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ฯ ณ ส�ำนักงาน คณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (สวทน.)

ธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ มี ค วามร่ ว มมื อ อั น ดี ใ นด้ า นการท� ำ วิ จั ย การได้ร่วมมือด้านการจัดตั้งศูนย์หนังสือใน ครั้ ง นี้ จ ะเป็ น การส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย ให้ แ น่ น แฟ้ น ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ยิ น ดี ที่ จ ะ สนั บ สนุ น ทั้ ง ในด้ า นของงบประมาณและ ถ่ า ยทอดความรู ้ ใ นการบริ ห ารจั ด การศู น ย์ ห นั ง สื อ แ ก ่ บุ ค ล า ก ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพื่ อ ให้ ศู น ย์ ห นั ง สื อ มี ก าร พัฒนาและเจริญเติบโตต่อไปในอนาคต สถานที่ตั้งของศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ อยู ่ ที่ ชั้ น ล่ า ง อาคารศู น ย์ ทรั พ ยากรการเรี ย นรู ้ (LRC) มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซึ่งคาดว่า จะสามารถเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ ได้ในปลายปีนี้


อบรม/สัมมนา

โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี อบรมการคิดเชิงบวกให้สตรีในชุมชน

ครงการจั ด ตั้ ง คณะพยาบาลศาสตร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จั ด โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การสร้ า งเสริ ม ความคิ ด ทางบวกเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพสตรี ใ นชุ ม ชนที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ ค วามไม่ ส งบ เมื่ อ วั น ที่ 16-17 พฤษภาคม 2556 ณ อาคาร 4 โครงการจัดตั้งคณะพยาบาล ศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่องานด้านบริการวิชาการสู่ชุมชน เป็ น ศู น ย์ ก ลางความรู ้ ในการบริ ก ารวิ ช าการเพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพชีวิตของชุมชน มีผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ ความไม่สงบ เข้าร่วมโครงการกว่า 30 คน

ผศ.พัชรียา ไชยลังกา

ผศ.พัชรียา ไชยลังกา ผู้อ�ำนวยการโครงการ จั ด ตั้ ง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยว่า เหตุความไม่ สงบในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ท� ำ ให้ มี ห ญิ ง หม้ า ย จ�ำนวนมากกว่า 2,000 คน ภายหลังประสบเหตุการณ์ หญิงหม้ายดังกล่าวต้องปรับเปลี่ยนบทบาทมาเป็น ผู ้ น� ำ ครอบครั ว และรั บ ภาระในการดู แ ลครอบครั ว หญิงหม้ายส่วนใหญ่มีความเครียดระดับสูง ซึ่งต้องการ ความช่วยเหลือเยียวยาในการปรับตัวให้อยู่ในสภาพ ชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงต่อไป ส่วนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความ ไม่สงบ ที่เข้าร่วมโครงการ สะท้อนความรู้สึกว่า ชีวิต หลังจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบจากสถานการณ์

ในพื้นที่ได้เปลี่ยนแปลงไปโดยปริยาย จาก เดิ ม มี หั ว หน้ า ครอบครั ว คอยดู แ ลท�ำ มากิ น เลี้ยงครอบครัว กลับกลายเป็นว่าตัวเองต้อง มารับภาระเสียเอง ต้องเป็นทั้งพ่อและแม่ ของลูก รับผิดชอบเรื่องทั้งหมดในครอบครัว โดยเฉพาะ ค่าใช้จ่ายในครอบครัว ไม่ว่าจะ เป็นค่าอาหาร ค่าเรียนหนังสือ และอื่นๆ อีก มากมาย ท� ำ ให้ ทุ ก วั น นี้ ล� ำ บากมาก อยาก ขอวอนให้ผู้ที่กระท�ำต่อเหตุการณ์ความไม่ สงบในพื้ น ที่ เห็ น ใจ และหยุ ด การกระท� ำ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ พี่ น ้ อ งประชาชนในพื้ น ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้อยู่ร่วมกันอย่าง สันติภาพ ไม่ว่าจะเป็นศาสนาไหนก็ตาม ทั้ ง นี้ กิ จ กรรมในโครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การสร้ า งเสริ ม ความคิ ด ทางบวกเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพสตรี ใ นชุ ม ชน ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ ค วาม ไม่สงบครั้งนี้เน้นในเรื่องของการเสริมสร้าง ความคิ ด ทางบวกเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพสตรี ในชุ ม ชนเป็ น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้ หญิ ง หม้ า ยสามารถปรั บ ตั ว กั บ สภาพชี วิ ต ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อจะน�ำไปถึงการสร้าง เสริมสุขภาพสตรีในชุมชนที่ได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์ความไม่สงบ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ กั บ หญิ ง หม้ า ยคนอื่ น ๆ เป็ น การเรียนรู้ร่วมกัน ให้ก�ำลังใจซึ่งกัน ตลอดจน การประยุกต์ใช้แนวคิดของการฟื้นหายให้ เกิดประโยชน์ต่อการปรับตัวต่อความเครียด ให้มีประสิทธิภาพต่อไป

9


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

2 น.ศ. รัฐศาสตร์ รับรางวัล

สหกิจศึกษานานาชาติดีเด่นระดับชาติ ปัจจุบันมีแรงงานไทย ที่เข้าไปท�ำงานในรัฐสุลต่าน โอมานอย่างถูกต้องตาม กฎหมายประมาณ 500 คน ซึ่งแรงงานเหล่านี้จะได้รับ ค่าจ้าง ประมาณ 12,00020,000 บาท/เดือน ขึ้นอยู่ กับความสามารถและฝีมือ พร้อมกับได้รับสวัสดิการ ที่พักอาศัย พร้อมอาหาร รถรับ-ส่ง และการรักษา พยาบาล

ในการปฏิบัติสหกิจศึกษาครั้งนี้ นักศึกษาทั้งสองได้จัดท�ำ 2 โครงการ ได้แก่ “สรุปกฎหมายแรงงานของรัฐ สุลต่านโอมาน” และ วิจัยเชิงคุณภาพ ในหั ว ข้ อ “สถานการณ์ แ รงงานไทย ในรั ฐ สุ ล ต่ า นโอมาน” แต่ ใ นการน� ำ เสนอผลงานสหกิ จ ศึ ก ษาได้ เ ลื อ ก หัวข้อ “แนวโน้มการจ้างแรงงานไทย ในรั ฐ สุ ล ต่ า นโอมาน” มาน� ำ เสนอ ทั้ ง นี้ ทั้ ง สองโครงการดั ง กล่ า ว ได้ เป็ น ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ ส ถาน เอกอั ค รราชทู ต และแรงงานไทยที่ จะเข้ามาท�ำงานในรัฐสุลต่านโอมาน งานวิ จั ย “แนวโน้ ม การจ้ า ง แรงงานไทยในรั ฐ สุ ล ต่ า นโอมาน” สรุปได้ว่า ปัจจุบันมีแรงงานไทยที่เข้า ไปท� ำ งานในรั ฐ สุ ล ต่ า นโอมานอย่ า ง ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายประมาณ 500 คน ซึ่งแรงงานเหล่านี้จะได้รับค่าจ้าง ประมาณ 12,000-20,000 บาท/เดือน ขึ้ น อยู ่ กั บ ความสามารถและฝี มื อ พร้ อ มกั บ ได้ รั บ สวั ส ดิ ก ารที่ พั ก อาศั ย

10

นั

กศึ ก ษาคณะรั ฐ ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิศ นักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่น ระดับชาติ โล่รางวัล เกียรติบัตร พร้อมเงิน รางวัลจ�ำนวน 20,000 บาท ในงาน “วันสหกิจศึกษาไทย” ครั้งที่ 5 ภายใต้แนวคิด “สหกิจศึกษาไทย กลไกสู่การพัฒนาประชาคมอาเซียนพลัส” จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ร่ ว มกั บ สมาคมสหกิ จ ศึ ก ษาไทย และ 9 เครื อ ข่ า ยสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั่ ว ประเทศ เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 6 มิถุนายน 2556 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา นายอั บ ดุ ล รอฮิ ม ดาซิ ง และนายอั บ ดุ ล ฮากิ ม ดื อ ราแมง นั ก ศึ ก ษาคณะรั ฐ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาปัตตานี ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ นักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติ ดีเด่น ระดับชาติ จากโครงงานเรื่อง “Employment Tendency of Thai Labour in the Sultanate of Oman” เปิดเผยว่า ได้มีโอกาสฝึกงานที่สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงมัสกัต ประเทศโอมาน ซึ่งสอดคล้องกับสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ก�ำลังศึกษาอยู่ โดยท�ำหน้าที่ฝ่ายการเมือง และเศรษฐกิจ และฝ่ายกงสุลแผนกการตรวจลงตรา (วีซ่า) ซึ่งงานหลักได้แก่ สรุปข่าว บทความ สรุป สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในรัฐสุลต่านโอมานและสาธารณรัฐเยเมน ข่าวเกี่ยวกับประเทศไทยใน หนั ง สื อ พิ ม พ์ โ อมาน การติดต่อกับหน่วยงานราชการ การพบปะกับนักธุรกิจ การเยี่ยมนักโทษไทย การรับค�ำร้องขอตรวจลงตรา นิติกรณ์ รวมทั้งได้เป็นตัวแทนขึ้นแสดงร�ำมวยไทยต่อหน้าเอกอัครราชทูต จากประเทศต่างๆ ในงานวันชาติหรือวันพ่อแห่งชาติ ซึ่งถือเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่ง

พร้อมอาหาร รถรับ-ส่ง และการรักษาพยาบาล ส�ำหรับแนวโน้มการจ้างแรงงานไทยในรัฐสุลต่าน โอมานยังคงเพิ่มขึ้นในอัตราต�่ ำมากเมื่อเทียบกับการจ้างในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และ กาตาร์ ทั้งนี้ อาจจะเป็นผลมาจากอัตราค่าจ้างแรงงานต่างชาติจากประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล และศรีลังกา อยู่ในระดับต�่ำมาก นายจ้างสามารถเลือก จ้างได้ง่ายกว่า ลงทุนน้อยกว่า และแรงงานจากชาติที่กล่าว ล้วนมีความสัมพันธ์ วิถีชีวิต ความเชื่อ และศาสนาที่ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะแรงงานอินเดียที่มีมากที่เป็นชุมชนใหญ่ที่สุดในประเทศนี้ ส่วน “สรุปกฎหมายแรงงานของรัฐสุลต่านโอมาน” เป็นการสรุปจากภาษาอังกฤษเป็นภาษา ไทยมีทั้งหมด 125 มาตรา ซึ่งรัฐสุลต่านโอมานได้แก้ไขกฎหมายแรงงานใหม่ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมัสกัตได้มอบหมายให้สรุปกฎหมายแรงงานที่แก้ไขล่าสุดเพื่อ เป็นประโยชน์แก่แรงงานไทย และเพื่อเป็นคู่มือแก่ผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับการจ้างแรงงานใน รัฐสุลต่านโอมาน การสรุปกฎหมายแรงงานฉบับนี้ ได้แบ่งเป็นสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและ ลูกจ้าง และเลือกมาตราที่เป็นสิทธิและหน้าที่โดยการแบ่งเป็นบทต่างๆ ได้แก่ การจ้างงานคนโอมาน และต่างชาติ สัญญาการจ้างงาน ค่าจ้าง การจ้างงานผู้เยาว์ ชั่วโมงการท�ำงาน การจ้างงานสตรี การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม การจ้างงานในเหมืองแร่ การจัดการความขัดแย้ง และการลงโทษ


สู่ประชาคมอาเซียน

ม.อ.สุราษฎร์ จับมือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัด

ASEAN School Bus

ให้ความรู้เรื่องอาเซียน

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จัดกิจกรรมอาเซียนสัญจร (ASEAN School Bus) เมื่อวันที่ 28-31 พฤษภาคม 2556 ณ โรงเรียนพุนพินพิทยาคม โรงเรียนเวียงสระ โรงเรียนกาญจนดิษฐ์วิทยาคม และโรงเรียน เกาะสมุ ย จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี โดยได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจากจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี นอกจากนี้ ยั ง ได้ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น ในการจั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ าเซี ย นพลั ส ที่ ม.อ.วิ ท ยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี เพื่ อ เป็ น แหล่ ง การเรี ย นรู ้ อ าเซี ย นของจั ง หวั ด รวมถึ ง การจั ด ท� ำ เว็ บ ไซต์ อ าเซี ย น ซึ่ ง ก� ำ ลั ง จะเปิ ด ให้ บ ริ ก าร คลั ง ความรู ้ อ าเซี ย น ให้ กั บ เยาวชนของจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี และผู้สนใจทั่วไปอีกด้วย กิจกรรมอาเซียนสัญจร เป็นกิจกรรมที่ถูกออกแบบเพื่อ ให้ ก ารเรี ย นรู ้ อ าเซี ย นมี ค วามสมบู ร ณ์ ม ากที่ สุ ด จุ ด เน้ น ของ ความรู้เป็นเรื่องทั่วไปที่ควรรู้เกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น ประเทศสมาชิก เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การใช้ภาษา สกุ ล เงิ น สิ น ค้ า ที่ ส� ำ คั ญ ระบอบการเมื อ งในอาเซี ย น บุ ค คล ส�ำคัญทางการเมือง ศิลปะประจ�ำชาติ และการรับรู้การเตรียม พร้ อ มเพื่ อ เข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น พ.ศ.2558 ซึ่ ง กิ จ กรรมถู ก ถ่ายทอดโดยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยให้กับนักเรียน ด้วยวัย ที่ใกล้เคียงกันท�ำให้การเรียนรู้ค่อนข้างมีความเป็นกันเองและ กล้าพูดคุย นอกจากนี้ยังมีเกม และกิจกรรมการแสดงที่สร้าง

ความสนใจให้ กั บ นั ก เรี ย นได้ เ ป็ น อย่ า งดี ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ การ ตอบรั บ จากนั ก เรี ย นกว่ า 3,000 คน ในการสมั ค รเข้ า ร่ ว ม เป็ น สมาชิ ก ของ ASEAN Boys and Girls @ Suratthani อาจารย์ เ บญญาภา ช่ ว ยเมื อ ง คณะศิ ล ปศาสตร์ และวิทยาการจัดการ ซึ่งได้รับเชิญไปรายงาน ผลการด� ำ เนิ น งานกิ จ กรรมอาเซี ย นสั ญ จร ทางสถานี โ ทรทั ศ น์ แ ห่ ง ประเทศไทย จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี กล่าวว่า การเตรียมความพร้อม ของเยาวชนไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นั้น ควรเริ่มจากการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจของการเข้า สู่ประชาคมอาเซียน ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไป และมีการ วางแผนในการสร้างความสามารถของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมรรถนะสากล เช่น การใช้ภาษาในการสื่อสาร รวมถึงการ เรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศสมาชิกต่างๆ เพื่อการอยู่ร่วมกัน ส�ำหรับกิจกรรมอาเซียนสัญจร จะจัดกิจกรรมนี้อย่าง ต่อเนื่อง โดยมีก�ำหนดการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป ในวันที่ 21-22 สิงหาคม 2556 ในกิจกรรม ม.อ.วิชาการ ที่วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี และหากสถาบันการศึกษาในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความประสงค์จะให้ไปจัดกิจกรรมอาเซียนสัญจร สามารถติ ด ต่ อ ได้ ที่ ศู น ย์ ป ระสานงานโครงการ อาเซียนพลัส (ชั่วคราว) โทรศัพท์ 0-7735-5040 ต่อ 2037-8 E-mail :aseansurat@hotmail.com (คุณสายฝน สุทธิรักษ์)

การเตรียมความพร้อมของเยาวชน ไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนั้น ควรเริ่มจากการให้ความรู้ สร้าง ความเข้าใจของการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ไม่ควรตื่นตระหนกจนเกินไป และมีการ วางแผนในการสร้างความสามารถของตนเอง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสมรรถนะสากล เช่น การใช้ภาษาในการสื่อสาร

11


ประชุม/สัมมนา

ม.อ.ปัตตานีเปิดเวทีให้ภาครัฐและประชาชน หาแนวทางสร้างกระบวนการยุตธิ รรมชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้

ศู

นย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน ยุติธรรมจังหวัดปัตตานี จัดสัมมนาส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้าน ยุติธรรมชุมชน โดยมีนายขวัญชาติ วงศ์ศุภรานันต์ รองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด ปั ต ตานี เป็ น ประธานพิ ธี เ ปิ ด การสั ม มนา กล่ า วต้ อ นรั บ โดย ดร.อะห์หมัด ยี่สุ่นทรง หัวหน้าศูนย์ยุติธรรมชุมชนวิทยาลัยอิสลาม ศึกษา และนายสัณฐาน รัตนะ หัวหน้าส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี กล่ า วรายงานการจั ด โครงการ โดยมี เ จ้ า หน้ า ที่ ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรม คณะ กรรมการศูนย์ยุติธรรม และผู้สนใจ รวม 500 คน เข้าร่วมการสัมมนา เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 ณ ห้องประชุม เช็คดาวูด อัลฟาฏอนีย์ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพให้ กั บ ประชาชนและเครื อ ข่ า ยอาสาสมั ค รของ หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมที่ จ ะมี ส ่ ว นร่ ว มในการอ� ำ นวย ความยุติธรรมแก่ประชาชนในชุมชนของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

12

นายขวัญชาติ วงศ์ศุภรานันต์ รองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด ปั ต ตานี ประธานพิ ธี เ ปิ ด การสัมมนาส่งเสริมและสนับสนุน กิจกรรมด้านยุติธรรมชุมชน กล่าว ว่ า นั บ เป็ น โครงการที่ ไ ด้ เ ห็ น การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในการช่วยเหลืองานภาคราชการ ในบทบาทอาสาสมั ค รหรื อ อื่ น ๆ เป็ น การขั บ เคลื่ อ น งานยุ ติ ธ รรมในระดั บ ชุ ม ชนโดยมี ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรม ชุ ม ชนวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นศูนย์กลาง ปัจจุบัน อั ต ราก� ำ ลั ง ของทางราชการที่ ล ดลง ส่ ง ผลให้ ง าน ของราชการติ ด ขั ด บ้ า ง จึ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง อาศัยความร่วมมือจากประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในงานราชการ เพื่ อ เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นา ชุ ม ชน จั ง หวั ด และประเทศชาติ โ ดยเฉพาะงาน ยุติธรรม ซึ่งความยุติธรรมเป็นสาเหตุส�ำคัญประการ หนึ่งที่เป็นชนวนของเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ “ทุกท่านที่เข้าร่วมการสัมมนาในวันนี้ จะเป็นก� ำลัง ส�ำคัญในการน�ำความยุติธรรมไปสู่ประชาชนอย่าง เท่าเทียมและทั่วถึง เพราะการที่จะให้ท่านเป็นพลัง ส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า วจะต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพ หา แนวทางร่ ว มกั น และต้ อ งขอขอบคุ ณ ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรม ชุ ม ชนวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ซึ่งเป็นศูนย์หลักในการน�ำ ความรู้ทางวิชาการมาถ่ายทอดให้ศูนย์ยุติธรรมชุมชน ต่าง ๆ” นายขวัญชาติ วงศ์ศุภรานันต์ กล่าวเพิ่มเติม


นายสัณฐาน รัตนะ หัวหน้าส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดปัตตานี กล่าวถึง โครงการสั ม มนาส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด้ า นยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน ว่ า การจั ด โครงการครั้ ง นี้ สื บ เนื่ อ งจากส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด ปั ต ตานี ได้ รั บ การส่งเสริมและสนับสนุนจากกระทรวงยุติธรรม ให้ด�ำเนิน โครงการสอดคล้องตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรม 4 ปี พ.ศ.2555-2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการ มี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน และพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยความร่ ว ม มื อ ระบบงานยุ ติ ธ รรม ซึ่ ง กระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ ใ ห้ ค วาม ส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมภาคประชาชนที่ให้ความสนใจใน บทบาทด้านการยุติธรรมตามแนวทางยุติธรรมชุมชน ในกิจกรรมบริหารจัดการ ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด และให้ บ ริ การแก่ ป ระชาชนในด้ า นงานยุ ติ ธ รรม ส� ำ หรั บ ส่ ง เสริมและสนับสนุนกิจกรรมด้านยุติธรรมชุมชนของศูนย์ประสานงานยุติธรรม ชุมชน โดยมีจุดมุ่งหมายในการเพิ่มศักยภาพให้กับภาคประชาชนและเครือข่าย อาสาสมัครของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมที่จะให้มีส่วนร่วมในการ อ�ำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนในชุมชนของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดร.อะห์ ห มั ด ยี่ สุ ่ น ทรง หัวหน้าศูนย์ยุติธรรมชุมชนวิทยาลัยอิสลาม ศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เปิดเผยถึงการจัดตั้งศูนย์ ยุติธรรมชุมชนวิทยาลัยอิสลามศึกษา ว่า จากสถานการณ์ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ส่งผลกระทบต่อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชน ภาครั ฐ และภาคเอกชน จึ ง พยายามหาวิ ธี ก ารเพื่ อ คลี่ ค ลายสถานการณ์ ลดความ รุนแรงและป้องกันไม่ให้เกิดเหตุขึ้นอีก ด้วยการสร้างความ เข้ า ใจอั น ดี ร ะหว่ า งภาครั ฐ และประชาชน ให้ เ กิ ด ความไว้ วางใจและเกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน เพื่อความสงบสุขและ ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ดังนั้นมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จึงร่วมกับกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ลงนามความร่วมมือว่าด้วยศูนย์บริการข้อมูลทางวิชาการด้านยุติธรรมชุมชน และสิทธิมนุษยชน โครงการเสริมสร้างความยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดยุติธรรมชุมชนให้กับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยที่กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ให้การ สนั บ สนุ น ข้ อ มู ล วิ ช าการด้ า นยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน ส� ำ หรั บ วิ ท ยาลั ย อิ ส ลามศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน สนับสนุนข้อมูลวิชาการด้านอิสลามศึกษาให้กับบุคลากรของกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุ ติ ธ รรม รวมทั้ ง อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ แ ละสมาชิ ก เครื อ ข่ า ย

ยุติธรรมชุมชน ทั้ ง นี้ ทั้ ง สององค์ ก รจะร่ ว มกั น ศึ ก ษา วิ จั ย เพื่ อ น� ำ ความความรู ้ ด ้ า นมุ ส ลิ ม ศึ ก ษา หลั ก คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ ส อดคล้ อ งกั บ หลักการอิสลามมาใช้ในการป้องกันปัญหา อาชญากรรม ลดข้อพิพาทและความขัดแย้ง ในชุมชน แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดและผู้ติดยา เสพติด มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อส่งเสริม ให้นักศึกษาและประชาชนเห็นความส� ำคัญ โดยใช้ แ นวคิ ด ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนในการสร้ า ง ความปรองดอง ความสงบสุขของคนในชุมชน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย ดร.อะห์หมัด ยี่สุ่นทรง เปิดเผยเพิ่ม เติมว่า ศูนย์ยุติธรรมชุมชนวิทยาลัยอิสลาม ศึ ก ษา มี บ ทบาทในการเป็ น ศู น ย์ ส นั บ สนุ น ข้ อ มู ล ทางวิ ช าการเกี่ ย วกั บ วิ ถี อิ ส ลาม เพื่ อ สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต โดยการป้ อ งกั น สั ง คม และแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด โดยข้ อ มู ล ทาง วิชาการดังกล่าว จะสนับสนุนกลุ่มเป้าหมาย 2 ส่วน ได้แก่ข้าราชการและหน่วยงานราชการ ในพื้นที่ เช่น ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ส�ำนัก งานคุมประพฤติจังหวัด ศูนย์ยุติธรรมชุมชน และเครื อ ข่ า ยยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน ส่ ว นที่ ส องคื อ การสนั บ สนุ น ระบบความยุ ติ ธ รรมให้ แ ก่ ผู ้ ด้อยโอกาสในพื้นที่ ชมภาพการสัมมนาได้ที่ http://pr.pn.psu.ac.th/justice/index.htm

13


รอบรั้วศรีตรัง

นักวิชาการ ม.อ. ให้มองเหตุไฟดับ เป็นโจทย์เพื่อรู้จักเตรียมพร้อม

ดร.สมพร ช่วยอารีย์ นักวิชาการคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขต ปัตตานี และประธานโครงการเฝ้าระวังภัยพิบัติลุ่มน�ำ้ ปัตตานี หรื อ PB Watch ได้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ ส ถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง ม.อ.ปัตตานี ในหัวข้อ “เราเรียนรู้อะไรจากเหตุการณ์ไฟฟ้า ดับทั้ง 14 จว.ภาคใต้ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคมที่ผ่านมา” ว่า กรณีดังกล่าวถือเป็นบทเรียนแก่ชุมชนในยุคปัจจุบัน ที่ต้องมีการด�ำเนินชีวิตโดยพึ่งปัจจัย พื้นฐาน 3 อย่าง คือ ไฟฟ้า ประปา และโทรศัพท์มือถือ โดยต้องเรียนรู้และเตรียมตัวที่จะใช้ ชีวิตให้ได้หากวันหนึ่งต้องขาดทั้ง 3 สิ่งนี้ในช่วงเวลายาวนาน จะเห็นได้จากกระแสไฟฟ้า ซึ่งแม้จะดับเพียง 2-3 ชั่วโมง แต่มีผลท�ำให้การสื่อสารต้องถูกตัดขาดไปบางส่วน และก่อให้ เกิ ด ความวิ ต กกั ง วลจากความไม่ แ น่ น อนของสถานการณ์ โ ดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู ้ ที่ อ าศั ย อยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งความเดือดร้อนจากการไม่ได้เตรียมการรับมือ การขาดสิ่งที่เคยอ�ำนวยความสะดวก การรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ อาจใช้หลัก เตรียมตัว ป้องกัน รับมือ และ ฟื้นฟู โดย ก่อนเกิดภัย ต้องมีการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการเผชิญเหตุ และเตรียมการป้องกันล่วง หน้าที่ยั่งยืน เช่น การเตรียมพร้อมตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องใช้ว่ายังใช้ได้หรือไม่ ในขณะ เกิดภัยต้องมีการรับมือขณะเผชิญเหตุทั้งการดูแลตัวเองและดูแลผู้อื่น และหลังเกิดภัยต้องมีการเยียวยาฟื้นฟูรักษาผลกระทบ ที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเตรียมการไว้อย่างดี แต่ในอนาคตอาจเกิดภัยที่มีความรุนแรงมากขึ้นเช่นกรณีบางพื้นที่ใน ญี่ปุ่น ที่แม้สร้างเขื่อนกันสึนามิป้องกันไว้แล้วโดยอาศัยประสบการณ์ แต่ไม่สามารถรับความรุนแรงของสึนามิเมื่อปี 2554 ได้ “ปัญหา น�้ำ ไฟ และ การติดต่อสื่อสาร ล้วนเป็นเรื่องที่ต้องเกิดเมื่อมีภัยพิบัติ ภูมิปัญญาที่เราเคยใช้เมื่อเกิดไฟฟ้าดับเมื่อ หลายสิบปีก่อนถูกลืมไปแล้วในสมัยปัจจุบัน จากเคยเตรียมเทียนไข ตะเกียง น�้ำมันก๊าด ไว้ประจ�ำบ้าน มาสู่การใช้ไฟฉาย ซึ่ง เมื่ อ ถึ ง เวลาใช้ จ ริ ง จะต้ อ งเสี ย เวลาค้ น หาในความมื ด อุ ป กรณ์ บ างอย่ า งหมดสภาพการใช้ ง านเนื่ อ งจากเก็ บ ไว้ น านโดยไม่ ไ ด้ ตรวจสอบเป็ น ประจ� ำ เราน่ า จะขอบคุ ณ เหตุ ก ารณ์ ที่ ช ่ ว ยเป็ น โจทย์ ใ ห้ รู ้ จั ก แก้ ป ั ญ หา ได้ เ รี ย นรู ้ ว ่ า เรามี ข ้ อ จ�ำ กั ด และเราจะน� ำ พลังงานอื่นๆ มาใช้ร่วมอย่างไร ภัยพิบัติถ้าจัดการได้ถือว่าเป็นเหตุการณ์ธรรมดาที่หาทางออกได้” ดร.สมพร ช่วยอารีย์ กล่าว

นักวิชาการด้านภัยพิบัติ ม.อ.ปัตตานี ให้มองกรณีไฟฟ้า ดับทั่วใต้เป็นบทเรียน เพื่อการ เตรียมตัวรับมือภัยพิบัติที่จะ เกิดโดยไม่คาดคิด เชื่อปัญหา ต่างๆ หากมีทางออกถือเป็น เหตุการณ์ปกติ

คณะวิทยาศาสตร์แลกเปลี่ยนความร่วมมือ

ณ National Taiwan University (NTU) ประเทศไต้หวัน

เมื่อวันที่ 24-27 มีนาคม 2556 ทีมบริหาร และคณาจารย์ จ ากคณะวิ ท ยาศาสตร์ น� ำ โดย ท่ า นคณบดี รศ.ดร.วิ ไ ลวรรณ โชติ เ กี ย รติ รศ.ดร.อัญชนา ประเทพ รองคณบดีฝ่ายวิจัย

14

และบัณฑิตศึกษา ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์ เดินทางไปแลกเปลี่ยนความร่วมมือในด้านการวิจัย การเรียน การสอนและกิ จ กรรมทางวิ ช าการ ณ National Taiwan University (NTU) ประเทศไต้หวัน


วิจัย

ปัญหา

“นาร้าง”

ส่งผลให้ชายแดนใต้ขาดความมั่นคงด้านอาหาร

พึ่งพาตัวเองได้น้อยลง การเอื้ออาทรกันขาดหายไป ครงการวิ จั ย การพั ฒ นาการมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน ในการจัดการลุ่มน�้ ำสายบุรีจัดเวทีระดมความคิดเห็น การแก้ปัญหานาร้าง นักวิจัย ม.อ.หาดใหญ่ ระบุ ปัญหานาร้างเกิด จากมี แ รงจู ง ใจของเกษตรกรที่ เ ห็ น ว่ า มี พื ช เศรษฐกิ จ ตั ว อื่ น ให้ ผ ล ตอบแทนดีกว่าชาวนาการอพยพไปท�ำงานต่างถิ่น น�้ำท่วมขังที่นา ที่เกิดจากคันคลองส่งน�้ำชลประทาน และพื้นถนนที่ยกสูง การขาย ที่นาให้นายทุน โครงการวิจัยการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ จัดการลุ่มน�้ำสายบุรี ได้จัดสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “ตอบโจทย์ นาร้าง: ความจริง ปัญหาและทางออก” ที่ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นุกูล รัตนดากุล ที่ปรึกษาเครือข่ายลุ่มน�้ำ สายบุ รี แ ละนั ก วิ ช าการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นประธานในพิธี เปิดการสัม มนาในครั้งนี้ โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาจากสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และผู้ที่มีปัญหาเรื่องนาร้าง เข้าร่วมกว่า 40 คน โครงการวิจัยการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ลุ่มน�้ำสายบุรี ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ แ ละศู น ย์ อ�ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ การสั ม มนาครั้ ง นี้ มี ก ารปาฐกถาพิ เ ศษว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งนาร้ า ง โดย คุ ณ สุ ม าลี ขุ น พิ ทั ก ษ์ ก�ำ นันต� ำ บล มะกรูด อ�ำ เภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รวมทั้งยังได้มีการเสนอข้อค้นพบปัญหานาร้างใน พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้โดยตัวแทนชุมชน วิเคราะห์และวิจารณ์ และแลกเปลี่ยนข้อค้นพบปัญหานาร้าง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชาวบ้านลุ่มน�้ำ สายบุรีและลุ่มน�้ำปัตตานี เปิดเผยว่า ปัญหานาร้างมีผลกระทบสูง ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และทางสิ่งแวดล้อมส่งผลให้การพัฒนา ในพื้นที่ขาดความยั่งยืน ชาวนาเกือบทั้งหมดปลูกข้าวไว้บริโภคใน ครัวเรือนเป็นหลัก สาเหตุหลักที่เกิดปัญหานาร้าง คือ ระบบการ ระบายน�้ำของชลประทาน น�้ำท่วมขังที่นา การสร้างถนนยกพื้นสูง เป็นต้น จนท�ำให้ที่นาต้องถูกปล่อยทิ้งร้างไป นอกจากนี้ทางโครงการวิจัยการพัฒนาการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจัดการลุ่มน�้ำสายบุรี ยังเปิดโอกาสให้ผู้ที่เข้าร่วม สัมมนาได้เสนอปัญหานาร้างของตนเอง และแสดงความคิดเห็น ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ส ะท้ อ นถึ ง การท� ำ อาชี พ ชาวนาในปั จ จุ บั น ไม่ เ ป็ น ที่ ยอมรับของสังคม เปรียบเสมือนอาชีพที่ไม่มีศักดิ์ศรี และชาวนา

จ�ำนวนไม่น้อยคิดว่าอาชีพท�ำนาไม่สามารถสร้างความร�่ำรวยให้กับ ตนเองได้ แต่ทุกคนก็ยังยืนยันว่าจะท� ำอาชีพนี้ต่อไปเพื่อสืบสาน และอนุรักษ์ให้ชนรุ่นหลังสืบทอดต่อไป ทั้ ง นี้ จ ากรายงานการวิ จั ย เรื่ อ ง สาเหตุ แ ละผลกระทบ จากปั ญ หานาร้ า งในจั ง หวั ด ปั ต ตานี ที่ ด� ำ เนิ น การโดย รศ.ดร. สมบู ร ณ์ เจริ ญ จิ ร ะตระกู ล นั ก วิ ช าการคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และคณะนักวิจัย ค้นพบว่า ปัญหานาร้างในจังหวัดปัตตานีเริ่มมีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 เป็นต้นมา และปรากฏชัดขึ้นเป็นล�ำดับก่อนปี พ.ศ. 2540 จากข้อมูล ของทางราชการ ในปี 2548 จังหวัดปัตตานี มีพื้นที่นา 323,786 ไร่ เป็นพื้นที่นาร้าง 61,906 ไร่ หรือร้อยละ 19.12 สาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหานาร้าง คือ พืชเศรษฐกิจตัวอื่น ให้ ผ ลตอบแทนดี ก ว่ า การอพยพไปท� ำ งานต่ า งถิ่ น ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ น�้ำท่วมขังที่นาที่เกิดจากคันคลองส่งน�้ำชลประทาน และพื้นถนนที่ยกสูง การขายที่นาให้นายทุน และทัศนคติของชาวนา ที่มีต่อการท�ำนาแย่ลง

“หลั ง เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในสามจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ในปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลได้ทุ่มเทงบประมาณใน การจัดท�ำโครงการต่างๆ หลายโครงการ เพื่อยกระดับ ความเป็นอยู่ของชาวนาให้ดีขึ้น แต่ดูเหมือนทุกโครงการ ไม่ค่อยประสบความส�ำเร็จ ทั้งนี้เนื่องจากขาดการมีส่วน ร่วมของชาวนาในกระบวนการก�ำหนด การตัดสินใจ และ การด�ำเนินโครงการ ปัญหานาร้างได้ส่งผลกระทบต่อ ความมั่นคงด้านอาหารของชาวนา ความเป็นครอบครัว ความเอื้ อ อาทรกั น ในชุ ม ชน วั ฒ นธรรมข้ า ว รวมทั้ ง ผลกระทบเชิ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม และในที่ สุ ด ส่ ง ผลให้ ก าร พึ่งตนเองได้ของครัวเรือนและชุมชนมีน้อยลง และท�ำให้ การพัฒนาขาดควายั่งยืน” รายงานการวิจัยดังกล่าวระบุ

15


หน่วยงานใหม่

เภสัช ม.อ. เปิดตัวโรงงานยาแผนไทย มาตรฐาน GMP แห่งแรกในภาคใต้

ณะเภสั ช ศาสตร์ ม.อ. มุ ่ ง เน้ น การให้ ค วามส� ำ คั ญ ของ ภูมิปัญญาไทย เปิดตัวสถานผลิตยาแผนโบราณมาตรฐาน GMP เป็ น แห่ ง แรกในภาคใต้ ใช้ วั ต ถุ ดิ บ ในท้ อ งถิ่ น เพื่ อ สร้ า ง อาชี พ ชุ ม ชน ผลิ ต ยาบริ ก ารโรงพยาบาลรั ฐ และร้ า นยาเอกชน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัศมิ์ ปิ่นสุวรรณ

“ปัจจุบัน ยาสมุนไพรหลายชนิดได้รับการรับรอง ว่ามีความปลอดภัยสามารถใช้เป็นยารักษาโรคได้ คนส่วนใหญ่จะรู้สึกว่ายาแผนปัจจุบันใช้แล้วเห็น ผลเร็ว แต่หากใช้โดยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์จะเกิด อันตรายจากผลข้างเคียง ยาสมุนไพรแม้ออกฤทธิ์ ช้าแต่ผลข้างเคียงจะน้อยกว่า”

16

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริรัศมิ์ ปิ่นสุวรรณ คณบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คณะเภสั ช ศาสตร์ นอกจากจะมี ภ ารกิ จ ด้ า นการเรี ย นการ สอนและการวิ จั ย แล้ ว ยั ง มุ ่ ง เน้ น การให้ ค วามส� ำ คั ญ ของ ภูมิปัญญาไทย หรือ สมุนไพร เพื่ออนุรักษ์และเพิ่มมูลค่าให้ กับสมุนไพรไทย โดยเมื่อเร็วๆ นี้ ได้เปิดตัวสถานผลิตยาแผน โบราณที่ พั ฒ นามาจากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของคณะ จนได้ รั บ การรับรองมาตรฐาน GMP หรือ มาตรฐานการผลิตที่ดี เป็น แห่งแรกในภาคใต้ โดยใช้วัตถุดิบซึ่งมีในท้องถิ่นเพื่อสร้างอาชีพ ให้คนในท้องถิ่น เพื่อให้ได้ยาสมุนไพรที่มีคุณภาพและมุ่งเป็น แกนหลั ก ในการพั ฒ นายาสมุ น ไพรให้ กั บ ภาคใต้ โดยได้ รั บ ความร่วมมือกับโรงพยาบาลในเครือข่าย 14 จังหวัดภาคใต้ และมีศาสตราจารย์(พิเศษ) ภก.ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เภสัชกร ผู้อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและ เอเชีย เป็นที่ปรึกษาโครงการ คณบดี ค ณะเภสั ช ศาสตร์ กล่ า วว่ า แม้ ป ระเทศไทย จะมีสมุนไพรอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่ยาสมุนไพรจะต้องผลิต จากโรงงานที่ มี คุ ณ ภาพ มี ก ระบวนการผลิ ต มี วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุณภาพ รวมทั้งมีงานวิจัยต่างๆ ที่จะมาช่วยสนับสนุนให้เห็น ถึงประโยชน์ของสมุนไพร สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างความมั่นใจให้ แก่แพทย์ผู้รักษาและผู้ป่วย ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมและผลักดัน ให้ มี การใช้ ยาสมุ นไพรมากขึ้ น อย่ างไรก็ต ามการจะพัฒนา โรงงานอุตสาหกรรมสมุนไพรให้ได้มาตรฐานนั้นเป็นเรื่องที่ต้อง ใช้เวลา และต้องมีการตรวจวัดในหลายขั้นตอน ท�ำให้มีต้นทุน ค่อนข้างสูง ประกอบกับโรงงานผลิตยาในภาคเอกชนหลายๆ แห่งที่เป็นโรงงานขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นมาใหม่ ได้มีการเตรียม ความพร้อมด้านคุณภาพของยา เพื่อรับการเข้าสู่ประชาคม อาเซี ย น โดยใช้ เ กณฑ์ ม าตรฐานใหม่ ข อง GMP ที่ เ รี ย กว่ า PIC/S ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วโลก ส่วนโรงงานเก่า


หรื อ โรงงานขนาดเล็ ก รวมทั้ ง โรงพยาบาล ต่ า งๆ ซึ่ ง เป็ น หั ว ใจ ส� ำ คั ญ ในการผลิ ต ยา เข้ า สู ่ ร ะบบกระทรวง สาธารณสุ ข ยั ง คงจะ ต้องได้รับผลักดันให้กลายเป็นสถานที่ผลิตยาที่ได้รับมาตรฐาน เพื่อน�ำไปสู่การผลิตยาที่มีคุณภาพ “สิ่ ง หนึ่ ง ที่ คณะเภสั ช ศาสตร์ ม.อ.พยายามท� ำ ก็ คื อ การพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ต ่ า งๆ ในเรื่ อ งของสมุ น ไพร ไม่ ว ่ า จะ เป็ น เรื่ อ งของการวิ จั ย ฤทธิ์ ความเป็ น พิ ษ และวิ ธี ก ารใช้ ย า ต่ า งๆ สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องคณาจารย์ ที่ จ ะท� ำ การวิ จั ย และผลั ก ดั น งานวิ จั ย ออกมาสู ่ ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง ซึ่ ง หวั ง เป็ น อย่างยิ่งว่าโรงงานผลิตยาสมุนไพรแห่งนี้จะเป็นจุดเชื่อมใน การน� ำ งานวิ จั ย ออกไปสู ่ ก ารสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ น� ำ ไปใช้ กั บ ประชาชนได้จริง เชื่อว่าหากเราได้รับความร่วมมือในระบบ เครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นโรงงานหรือภาคเอกชน อนาคตของยา สมุนไพรไทยจะไปได้อีกไกล ไม่ว่าเข้าสู่ประชาคมอาเซียนหรือ ประชาคมโลกก็ ต าม” คณบดี ค ณะเภสั ช ศาสตร์ ม.อ.กล่ า ว

ด้าน รองศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ เปิด เผยว่า ปัจจุบัน ยาสมุนไพรหลายชนิดได้รับการรับรอง ว่ามี ความปลอดภัยสามารถใช้เป็นยารักษาโรคได้ คนส่วนใหญ่จะ รู้สึกว่ายาแผนปัจจุบันใช้แล้วเห็นผลเร็ว แต่หากใช้โดยความ รู้เท่าไม่ถึงการณ์จะเกิดอันตรายจากผลข้างเคียง ยาสมุนไพร แม้ออกฤทธิ์ช้าแต่ผลข้างเคียงจะน้อยกว่าและปลอดภัยกว่า แต่อย่างไรก็ตามการใช้ยารักษาโรคที่เกินความจ� ำเป็นต้อง ระมัดระวังผลต่อตับและไต ซึ่งเภสัชกรต้องให้ความรู้ด้านนี้กับ ผู้ป่วย สถานผลิตยาแผนโบราณของคณะเภสัชศาสตร์ เป็น สถานผลิตยาที่มีความพร้อมที่สุดในภาคใต้ส�ำหรับการดูงาน ของหน่วยงานสาธารณสุข และเป็นแหล่งเรียนรู้ผู้ประกอบการ อื่นๆ โดยมีก�ำลังผลิตยาเม็ด 25,000 เม็ดต่อสัปดาห์ โดยใน ระยะแรกของการผลิตได้จ�ำหน่ายที่ร้านขายยาของคณะ และ ต่อมาได้ให้บริการแก่โรงพยาบาลที่ใช้ยาสมุนไพรในการรักษา ในภาคใต้ และ ภาคตะวันออก โดยในอนาคตจะขยายตลาดโดย ใช้ศิษย์เก่าของคณะซึ่งมีร้านขายยาเป็นผู้ช่วยด้านการตลาด และหากความต้ อ งการมากขึ้ น จะมี ก ารเพิ่ ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต และเพิ่มบุคลากรประจ�ำสถานผลิตยาดังกล่าวต่อไป

17


รอบรั้วศรีตรัง

รับน้อง

“ศรี ต รั ง ช่ อ ใหม่” วิทยาเขตหาดใหญ่ 2556 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ประจ� ำปีการศึกษา 2556 เมื่อ วันที่ 26 – 29 พฤษภาคม 2556 โดยกิจกรรมเริ่มขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 พฤษภาคม 2556 มีการบรรเลงดนตรีไทย และร� ำ อวยพร หน้ า พระราชานุ ส าวรี ย ์ สมเด็ จ พระบรมราชชนก และมี พิ ธี ถ วายราชสั ก การะและปฏิ ญ าณตน ณ ลานพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก โดยมีอาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี เป็น ประธานในพิธี พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร คณบดี นายกองค์การบริหารองค์การนักศึกษา วางพานพุ่มถวาย ราชสักการะ สมเด็จพระบรมราชชนก จากนั้น นายศุภากร วานิชกุล นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาการจัดการ ประธานสภานักศึกษา กล่าวน�ำ นักศึกษาใหม่ปฏิญาณตน ต่อด้วยการขับร้องประสานเสียงเพลงเขตรั้วสีบูล

อาจารย์ พิ ชิ ต เรื อ งแสงวั ฒ นา กล่ า วต้ อ นรั บ และแสดงความยิ น ดี กับนักศึกษาใหม่ทุกคน ด้วยความยินดี ที่เข้ามาเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ อั น ทรงเกี ย รติ แ ห่ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ พระราชทานนามตามพระนามของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลา นครินทร์ ซึ่งชาวสงขลานครินทร์ทุกคนมีพระองค์ท่านเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และน้ อ มน� ำ พระราชปณิ ธ านของพระองค์ ที่ ว ่ า “ขอให้ ถื อ ประโยชน์ ส ่ ว น ตั ว เป็ น ที่ ส อง ประโยชน์ ข องเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ” มาหล่อหลอม นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ให้เป็น “คนดีของสังคม” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รักษาคุณภาพทางวิชาการ และการ ศึ ก ษามาตลอดระยะเวลา 45 ปี จนเป็ น ที่ ย อมรั บ จากนานาชาติ จากการ ได้ รั บ คั ด เลื อ กเป็ น 1 ใน 9 ของ มหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย แห่ ง ชาติ และได้ รั บ การ จัดอันดับจาก SCImago Institutions ประเทศสเปน ให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย อันดับที่ 4 ของประเทศ นอกจากความมีคุณภาพทางวิชาการแล้ว มหาวิทยาลัยฯ ยังเน้นให้นักศึกษามีจิตส�ำนึกในการช่วยเหลือสังคม ภาคภูมิใจในความเป็น นักศึกษาของ “สงขลานครินทร์” อาจารย์ พิ ชิ ต กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า ขอให้ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คนมุ ่ ง มั่ น ใน การศึกษา “รักษาความเป็นอัตลักษณ์ของสงขลานครินทร์ ที่ไม่ได้เก่ง เฉพาะวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่นักศึกษาต้องมีคุณธรรมจริยธรรม ควบคู่ด้วยเพื่ออนาคตที่จะออกไปท�ำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข พร้อมที่จะท�ำประโยชน์เพื่อชุมชน สังคม และประเทศชาติต่อไป” นอกจากพิธีถวายราชสักการะสมเด็จพระบรมราชชนก และนักศึกษาใหม่ ปฏิญาณตนแล้ว ยังมีกิจกรรม เปิดตะวันน้องใหม่ ซึ่งเป็นพิธีกรรมทางศาสนา แต่ละศาสนา โดยศาสนาพุทธได้จัดพิธีท�ำบุญตักบาตร หน้าลานพระบรมราชา นุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก จากนั้นเป็นกิจกรรม เชิญธงประจ�ำมหาวิทยาลัย

18

และ ธงประจ�ำคณะ โดยมี รศ.ดร.จุฑามาศ ศตสุ ข รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยการศึ ก ษา และ รศ.ดร. วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดี ฝ่ า ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ กล่าวต้อนรับและให้ข้อคิดส�ำหรับนักศึกษา ใหม่ และการบรรยาย “เพราะเราคือ นักศึกษา สงขลานครินทร์” โดย รศ.วิลาวัณย์ เจริญจิระ ตระกูล หัวข้อ “การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย” โดยคุ ณ สุ ร บถ หลี ก ภั ย ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี และอีกหนึ่งกิจกรรมที่ให้นักศึกษาใหม่ ได้ร่วม บ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน คือ กิจกรรม “ร่วม แรงร่วมใจน้องใหม่บ�ำเพ็ญ” โดยมีกิจกรรม ปลูกป่า ปรับปรุงภูมิทัศน์ และท�ำความสะอาด ทั้งบริเวณภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย


ภาพบรรยากาศวันที่ 26 พฤษภาคม 2556

ภาพบรรยากาศวันที่ 27 พฤษภาคม 2556

19


รอบรั้วศรีตรัง

นการปฐมนิเ ทศนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2556 ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖o ปี รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ ศตสุข รองอธิการบดี ฝ่ า ยการศึ ก ษา ได้ ก ล่ า วต้ อ นรั บ และให้ ข ้ อ คิ ด ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาใหม่ ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย มี บ ทบาทในการบ่ ม เพาะนั ก ศึ ก ษาให้ เ ป็ น ทั้ ง คนดี แ ละ คนเก่ ง นั ก ศึ ก ษาในรุ ่ น ปั จ จุ บั น เป็ น คนในศตวรรษที่ 21 ที่ ส ามารถ ในการใช้ เ ทคโนโลยี เพื่ อ แสวงหาความรู ้ จ ากทั่ ว โลกน� ำ มาใช้ ใ ห้ เป็ น ประโยชน์ การศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย จะไม่ เ พี ย งแต่ ต ้ อ งอาศั ย ความจ� ำเพียงอย่างเดียว แต่ต้องรู้จักคิดวิเคราะห์ ตั้งค� ำถาม เพื่อให้ได้ความรู้ มหาวิทยาลัยมีหลายสิ่ง ที่ ท ้ า ทายให้ ค ้ น คว้ า ศึ ก ษาแต่ ต ้ อ งรู ้ จั ก จั ด สรรเวลาระหว่ า งวิ ช าการและกิ จ กรรมอื่ น ๆ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ ป็ น อุ ป สรรคในการเรี ย น และให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรั ก ในสถาบั น มี ค วามพากเพี ย รอดทน และมี ค วามตั้ ง ใจ

มหาวิทยาลัยมีหลายสิ่งที่ท้าทายให้ค้นคว้าศึกษา นักศึกษา

ม.อ. ต้อง เก่ง

ดี และมีความสุข

การรวมตัวกันของประเทศของประชาคมอาเซียนในปี 2558 จะท�ำให้มี การเปิดเสรีทั้งการค้า การศึกษา และแหล่งงาน นักศึกษาทุกคนก�ำลังอยู่ในช่วง เปลี่ ย นผ่ า นจากนั ก เรี ย นเป็ น นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง ไม่ เ พี ย งแต่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตของ ร่ า งกายตามวั ย เท่ า นั้ น แต่ ต ้ อ งมี ก ารเตรี ย มความพร้ อ ม ส� ำ หรั บ โอกาสที่ จ ะ แข่งขันกับบัณฑิตจากอีกหลายประเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความ ได้ เ ปรี ย บด้ า นพื้ น ที่ตั้งเพราะใกล้ชิดประเทศในกลุ่ม อาเซี ย น ในทุ ก วิ ท ยาเขต เป็ น สั ง คมที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะ คื อ เป็ น สั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม ที่ มี ค วามเคารพ และให้เกียรติซึ่งกันและกัน ส่วน รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุ ธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ กล่ า วว่ า ชีวิตนักศึกษาจะต้องอาศัยการพึ่งพาตนเอง มากขึ้น ขณะเดียวกันต้องมีการตั้งเป้าหมาย ของชีวิต หลังการส�ำเร็จการศึกษา อยากให้ บัณฑิตสงขลานครินทร์เป็นทั้งคนเก่ง คนดี และมี ค วามสุ ข กิ จ กรรมเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยหล่ อ หลอมคนให้ เ ป็ น คนดี มหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ได้ ก� ำ หนดให้ ผู ้ ที่ จ ะส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา ต้ อ งผ่ า นชั่ ว โมงการ ท�ำกิจกรรมไม่ต�่ำกว่า 100 ชั่วโมง แต่อย่างไรก็ตามความส�ำเร็จต้องขึ้นอยู่กับ ความพยายามของตัวนักศึกษาเองด้วย ในการปฐมนิเทศครั้งนี้ ได้มีการบรรยายในหัวข้อ “เพราะเราคือนักศึกษา สงขลานคริ นทร์ ” โดย รองศาสตราจารย์ วิ ล าวั ล ย์ เจริ ญ จิ ร ะตระกู ล โดย ผู ้ บ รรยายได้ ใ ห้ ห ลั ก การใช้ ชี วิ ต นั ก ศึ ก ษาอย่ า งมี ค วามสุ ข ว่ า จะต้ อ งใช้ ห ลั ก “ 3 L” คื อ “Love” มี ค วามรั ก ในตนเองและผู ้ อื่ น “Like” มี ค วามชอบในวิ ช า เรี ย นและผู ้ ส อน หาความสุ ข ง่ า ยๆ ด้ ว ยการคิ ด บวก และ “Learn” ให้ ค วาม

20

ส� ำ คั ญ กั บ การเรี ย นรู ้ เ พื่ อ ความเป็ น คนที่ มี คุ ณ ภาพ เพราะทั ก ษะชี วิ ต และทั ก ษะการ ท� ำ งานเป็ น สิ่ ง ที่ ต ้ อ งเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตนเอง ใน ปี ที่ ผ ่ า นมาสิ่ ง ที่ ผู ้ จ ้ า งงานพึ ง พอใจบั ณ ฑิ ต ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ม าก เป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง คื อ ความมี คุ ณ ธรรม ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ นั ก ศึ ก ษาทุ ก คนจะต้ อ งรั ก ษาไว้


นอกจากนั้ น ยั ง ได้ ใ ห้ ห ลั ก การเตรี ย มตั ว เพื่ อ เข้ า สู ่ ก าร ท�ำงานว่า จะต้องประกอบด้วย หลัก “4 C” คือ Collaboration มีความร่วมมือร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมท�ำ โดย ต้ อ งเป็ น ทั้ ง ผู ้ ใ ห้ แ ละผู ้ รั บ Communication มี ทั ก ษะในการ สื่อสาร ทั้งการคิด การฟัง และ การพูด ตลอดจนการแสดงออก ทางภาษากายอื่นๆ Creative มีความคิดสร้างสรรค์ซึ่งเป็นที่ ต้องการของทุกองค์กร และ Critical Thinking มีทักษะการคิด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ ทั ก ษะการแก้ ป ั ญ หา และทั ก ษะการ ตัดสินใจซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของความส�ำเร็จ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังได้เชิญ คุณสุรบถ หลีกภัย หรื อ คุ ณ ปลื้ ม ไดเร็ ค เตอร์ และ พิ ธี ก รหลั ก ของรายการ “VRZO” บรรยายหั ว ข้ อ “การใช้ ชี วิ ต ในมหาวิ ท ยาลั ย ” โดย คุณปลื้มได้กล่าวว่า วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ถ้าอยากท�ำ อะไรไม่ต้องลังเล ให้ท�ำงานที่เรารักให้ดีที่สุดแล้วงานจะออกมา ดีเป็นธรรมชาติ และให้คิดนอกกรอบ หลายคนในทุกวันนี้น�ำ เอาบรรทัดฐานของผู้อื่นมาใช้ในการด�ำเนินชีวิตของตนซึ่งท�ำให้ เกิดทุกข์ ควรจะลองท�ำตามความคิดตนเอง เพราะคนที่เริ่มต้น จาก “ศูนย์” จะได้เปรียบกว่าคนที่เริ่มที่ “ร้อย” เพราะเขาจะรู้จัก ว่า “หนึ่ง ถึง เก้าสิบเก้า” หน้าตาเป็นอย่างไร และ “เราจะอยู่กับ อนาคตได้ด้วยความฝัน หากไม่มีความฝันก็จะไม่มีทุกอย่าง”

21


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

นักศึกษาทีม

“ดงยาง”

คว้าอันดับ 11 จากการแข่งขันหุ่นยนต์ ระดับโลก

ROBOCUP EINDHOVEN 2013

กศึกษาสาขาเมคาทรอนิกส์ ภาควิชาวิศวกรรม เครื่องกล ทีม “ดงยาง” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประกอบด้วย นายพงศกร ชาญชัยชูจิตร นายพีรยุทธ แซ่โค้ว นายอันวาร์ ราชาวนา นายทศพร คงสุ จ ริ ต นายพิ ชั ย บ่ ม ไล่ และ นายเอกสิ ท ธิ์ กาญจนแก้ว โดยมี รศ.ดร.พฤทธิกร สมิตไมตรี และ ดร. วฤทธิ์ วิ ช กุ ล เป็ น อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ได้ รั บ พระราชทาน ถ้ ว ยรางวั ล ชนะเลิ ศ การแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ ชิ ง แชมป์ ประเทศไทย ปี 2555 “Thailand Robot Championship 2012” ประเภท หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ นอั จ ฉริ ย ะ จากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับเกียรติเป็นตัวแทนประเทศไทย ร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ระดับโลก ROBOCUP EINDHOVEN 2013

การแข่ ง ขั น หุ ่ น ยนต์ ร ะดั บ โลก ROBOCUP EINDHOVEN 2013 จั ด ขึ้ น ณ เมื อ ง Eindhoven ประเทศ Netherland ระหว่างวันที่ 26 – 30 มิถุนายน 2556 วัตถุประสงค์เพื่อเร่งการพัฒนาเทคโนโลยี หุ ่ น ยนต์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและราคาประหยั ด ส� ำ หรั บ รองรั บ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ โดยการแข่ ง ขั น จั ด แข่ ง หลายประเภท ได้แก่ หุ่นยนต์เตะบอล (RoboCup Soccer) หุ่นยนต์ระบุที่อยู่ผู้ประสบภัย (RoboCup Rescue) และหุ่นยนต์รับค�ำสั่งในบ้าน (RoboCup@Home) เป็นต้น ทีมดงยาง เข้าแข่งขันในประเภท RoboCup@Home ซึ่งมีการจ�ำลองสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ หุ่นยนต์ปฏิบัติรับใช้งานในบ้าน มีตัวแทน 21 ทีมจากประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมแข่งขันในครั้งนี้ การแข่งขันรอบแรกเป็นการคัดเลือกตัวแทนเพียง 11 ทีมเข้าแข่งขันต่อไป โดยทีมดงยางพร้อมหุ่น ยนต์อัจฉริยะ Jarvis เป็นหนึ่งในทีมที่ผ่านเข้าสู่รอบสองไปได้ จากนั้นในรอบสองคัดเลือกตัวแทน 5 ที ม เพื่ อ เข้ า แข่ ง ขั น รอบสุ ด ท้ า ย ที ม ดงยางสามารถท� ำ ผลงานอยู ่ ใ น อันดับที่ 11 ของโลก ด้วยคะแนน 2,483 คะแนนทีมจากประเทศไทยที่เข้าร่วม การแข่งขันในประเภท RoboCup@ Home อีก 3 ทีม ได้แก่ SKUBA จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อันดับที่ 8) TRCC จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี (อั น ดั บ ที่ 13) และ BART LAB Assistbot จาก มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล (อั น ดั บ ที่ 20)

22


สู่อาเซียน

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ ให้เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรม IMT-GT Varsity Carnival ครั้งที่ 15 ในระหว่างวันที่ 22-28 พฤศจิกายน 2556 เชื่ อ มความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศในเขต สามเหลี่ ย มเศรษฐกิ จ ไทย มาเลเซี ย และอิ น โดนี เ ซี ย ด้วยกิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม การสัมมนา แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้น�ำนักศึกษาและการ แข่งขันกีฬา หวังพัฒนานิสิต นักศึกษา ส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศก่อนก้าวสู่ประชาคมอาเซียน

ม.อ. IMT-GT Varsity Carnival พร้อม

เป็นเจ้าภาพ

ครั้งที่ 15 เชื่อมสัมพันธ์ไทย-มาเลย์-อินโด

รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดี ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า โครงการ IMT-GT Varsity Carnival จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2539 โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย อุ ต ระมาเลเซี ย (Universiti Utara Malaysia) ประเทศมาเลเซี ย และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่วมกันต่อตั้ง เพื่อให้เกิดการสร้างความสัมพันธ์ทางด้านวิชาการ การ พัฒนาบุคลากร การพัฒนานิสิตนักศึกษาร่วมกัน ผ่านกิจกรรมทางด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม การสั ม มนาแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ร ะหว่ า งผู ้ น�ำ กิ จกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ในเครื อ สามเหลี่ ย มเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ได้ ต กลงที่ จ ะผลั ด เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นกั น เป็ น เจ้ า ภาพ ในแต่ละปี โดยมุ่งหวังจะพัฒนานิสิต นักศึกษาและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันใกล้ชิด ในหมู่เยาวชนของสามประเทศให้กระชับแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องให้เกิดการ ประสานสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ดีในอนาคต สอดคล้องกับนโยบายการก้าวสู่ประชาคม อาเซียนในปี พ.ศ. 2558

ส�ำหรับโครงการ IMT-GT Varsity Carnival ในปีนี้ได้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 15 โดยมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นเจ้าภาพ ซึ่งที่ผ่านมามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เคยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมดังกล่าวมาแล้ว 2 ครั้ง คือในปีพ.ศ.2540 และปีพ.ศ.2550 ปีนี้จึงถือเป็นครั้งที่ 3 ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับเกียรติ ให้ เ ป็ น เจ้ า ภาพจั ด กิ จ กรรมดั ง กล่ า ว โดยก� ำ หนดให้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมการแสดง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมในหั ว ข้ อ “Exploring ASEAN Culture Though Mythic Dance” กิ จ กรรมการสั ม มนาในหั ว ข้ อ “Maintaining Self-Identity Towards ASEAN Community” และกิ จ กรรมการแข่ ง กี ฬ าในหั ว ข้ อ “Sport Spirit” ซึ่ งจะมีนักศึกษา และบุ ค ลากรจากทั้ ง สามประเทศรวม 12 มหาวิ ท ยาลั ย เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมในครั้ ง นี้ กว่า 1,000 คน” รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ กล่าว

รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุ ธ วิสุทธิ์เมธางกูร กล่าวเพิ่มเติมว่า การ จัดกิจกรรม IMT-GT Varsity Carnival ครั้ ง ที่ 15 ในปี นี้ นอกจากบุ ค ลากร และนั ก ศึ ก ษาที่ ร ่ ว มกั น ด� ำ เนิ น การจั ด กิจกรรมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยังได้รับการประสานความร่วมมือจาก หลายองค์กรส�ำคัญในท้องถิ่นเพื่อร่วม กั น ขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมดั ง กล่ า ว อาทิ ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ศาลากลางจั ง หวั ด สงขลา องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลา เทศบาลนครหาดใหญ่ การท่ อ งเที่ ย ว แห่งประเทศไทยส�ำนักงานภาคใต้ เขต 1 สถานีต�ำรวจภูธรหาดใหญ่ เป็นต้น และ ในโอกาสนี้ขอเชิญชวนประชาชนชาว จั ง หวั ด สงขลาร่ ว มกั น เป็ น เจ้ า ภาพ ต้ อ นรั บ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทั้ ง จาก มหาวิทยาลัยในประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีใน การพัฒนาประเทศทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและด้านอื่นๆ ต่อไป

23


กิจกรรมเพื่อสังคม

“WE GIVE BACK” เพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ 38,000 บาท ทั้งนี้ ยังไม่รวมเงินที่รับบริจาคโดยศิลปินดารา และคณะผู้จัดงาน “WE GIVE BACK” ซึ่งจะได้มีการท�ำพิธีมอบ ที่มหาวิทยาลัยในโอกาสต่อไป

กองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า คณะ ทันตแพทยศาสตร์ จัดตั้งขึ้นในวโรกาสครบรอบ 100 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี “พระมารดาแห่งการทันตแพทย์ ไทย” เมื่อปี 2543 ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรง ห่วงใยและให้ความส�ำคัญในการที่ประชาชนจะต้องมี ทั น ตสุ ข ภาพที่ ดี เพื่ อ ส่ ง เสริ ม งานทั น ตสาธารณสุ ข ต่ า ง ๆ และสนั บ สนุ น เสริ ม สร้ า งความก้ า วหน้ า ของ บุคลากรทางทันตแพทยศาสตร์ โดยได้รับพระกรุณา ธิคุณล้น เกล้าฯ จากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรง เป็นองค์อุปถัมภ์พระองค์แรก และปัจจุบันได้รับพระ มหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงรั บ กองทุ น อยู ่ ใ นพระ ราชูปถัมภ์ตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2551 เป็นต้นมา

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก พลตรี พั ช ร รั ต ตกุ ล กรรมการ บริหารกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า คณะทันต แพทยศาสตร์ โดยร่วมกับ สยามเซ็นเตอร์ ม.ร.ว.ศรีค�ำรุ้ง ยุคล และ ภูวดิศ กฤตพลนารา ดีไซเนอร์แบรนด์ ISSUE จัดงานการ กุศล “WE GIVE BACK” เมื่อวันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2556 ณ ดิสคัฟเวอรี่พลาซ่า สยามเซ็นเตอร์ กรุงเทพมหานคร เพื่อ หารายได้สมทบทุนกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี สมเด็จย่า ผู้สนใจสมทบทุน ติดต่อกองทุนเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วยเหลือ ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ และผู้ป่วยยากไร้ที่ต้องได้รับการ สมเด็จย่า คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา รักษาทางทันตกรรม โดยได้รับความร่วมมือจากร้านจ�ำหน่าย นครินทร์ ได้ที่ส�ำนักงานกองทุน โทร 0-7428-7511 หรือ 0-7428-7524 สิ น ค้ า นั ก ออกแบบ ศิ ล ปิ น ดาราชื่ อ ดั ง มา ร่ ว มงานจ� ำ นวนมาก โดยมี ผู ้ บ ริ ห ารของ มหาวิ ท ยาลั ย รองศาสตราจารย์ ว รวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยพั ฒ นา นั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย์ เ ก่ า สั ม พั น ธ์ และ ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ทพ.วรพงษ์ ปั ญ ญายงค์ รองคณบดี ฝ ่ า ยกิ จ การพิ เ ศษและการศึ ก ษา ต่อเนื่อง คณะทันตแพทยศาสตร์ เข้าร่วมงาน ในงานดังกล่าว คณะทันตแพทยศาสตร์ ได้มีการออกบูธจ�ำหน่าย เสื้อยืดสีม่วงมีลาย ปั ก ภาพพระราชทานภาพฝี พ ระหั ต ถ์ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสื้อเติมยิ้มด้วยรักของคณะทันตแพทยศาสตร์ ตุ๊กตาจัดฟัน ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าชม งานจ�ำนวนมาก โดยได้รายได้จากการจ�ำหน่าย และการบริจาคเฉพาะที่คูหาของคณะจ�ำนวน

24


การศึกษา

ม.อ. จัด “PSU Road Show” ครั้งที่ 14

ลุยแนะแนวเด็ก 5 จังหวัดภาคใต้ ม

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทั้ ง 5 วิ ท ยาเขต จั ด โครงการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละแนะแนว นอกสถานที่ แ ก่ นั ก เรี ย นโรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาใน 5 จั ง หวั ด ภาคใต้ “PSU Road Show” ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 24-28 มิถุนายน 2556 ที่จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต ตรัง และ นครศรีธรรมราช น�ำทีมอาจารย์และเจ้าหน้าที่จากกว่า 30 คณะ เดินทางไปแนะน�ำหลักสูตร พร้อมให้ข้อมูลระบบคัดเลือกเข้า มหาวิทยาลัยและโครงการพิเศษต่างๆ ในปีการศึกษา 2557 ดร.สุ ข สวั ส ดิ์ ศิ ริ จ ารุ กุ ล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการรับ นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า เมื่ อ วั น ที่ 24-28 มิถุนายน 2556 คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทุกวิทยาเขต ประกอบด้วย วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี แ ละวิ ท ยาเขตตรั ง ได้ ร วมตั ว กั น เพื่ อ เดิ น ทาง ไปพบกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาใน 5 จังหวัด ภาคใต้ ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต ตรัง และนครศรีธรรมราช ภายใต้ ชื่อโครงการ “PSU Road Show” ซึ่งครั้งนี้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 14 เพื่อแนะแนวและให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและสาขา วิ ช าที่ น ่ า สนใจ ตลอดจนผลงานและนวั ต กรรมต่ า งๆ ของ มหาวิ ท ยาลั ย ผ่ า นการจั ด คู ห าแสดงนิ ท รรศการ กิ จ กรรม บนเวที การแจกเอกสาร แผ่ น พั บ และการตอบข้ อ ซั ก ถาม จากอาจารย์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ ป ระจ� ำ หลั ก สู ต รโดยตรง โดยมี คณะใน 5 วิทยาเขต 30 คณะ ประกอบด้วย วิทยาเขตหาดใหญ่ - คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ คณะแพทย์ แ ผนไทย โครงการจั ด ตั้ ง คณะ สั ต วแพทยศาสตร์ โครงการจั ด ตั้ ง วิ ท ยาลั ย นานาชาติ คณะ อุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะนิติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ และงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง วิทยาเขตปัตตานี - งานประชาสัมพันธ์ วิทยาเขตปัตตานี คณะศิลปกรรม

ศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาการสื่อสาร คณะศึ ก ษาศาสตร์ คณะรั ฐ ศาสตร์ โครงการจั ด ตั้ ง คณะ พยาบาลศาสตร์ ปัตตานี วิทยาเขตตรัง - คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ โครงการจัดตั้ง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และงานประชาสัมพันธ์วิทยาเขต ตรัง วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะ ศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาการจั ด การ และงานประชาสั ม พั น ธ์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วิทยาเขตภูเก็ต - คณะการบริการและการท่องเที่ยว คณะเทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม คณะวิเทศศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ภูเก็ต งานประชาสัมพันธ์วิทยาเขตภูเก็ต นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมการบรรยายเพื่ อ ให้ อ าจารย์ แนะแนวและนักเรียนได้ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดเลือก เข้ามหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2557 ทั้งระบบสอบตรง ระบบ แอดมิชชั่น และโครงการพิเศษต่างๆ ของมหาวิทยาลัย โดย ตารางการจัดกิจกรรม PSU Road Show ปีการศึกษา 2557 ได้เริ่มต้นขึ้นในวันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน 2556 ที่โรงเรียนศรียา ภัย จังหวัดชุมพร วันอังคารที่ 25 มิถุนายน 2556 ที่โรงเรียน สุ ร าษฎร์ ธ านี จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี วั น พุ ธ ที่ 26 มิ ถุ น ายน 2556 ที่ โ รงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระศรี น คริ น ทร์ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต วั น พฤหั ส บดี ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2556 ที่ โ รงเรี ย น สภาราชินี จังหวัดตรัง และปิดท้ายในวันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน 2556 ที่ โ รงเรี ย นเบญจมราชู ทิ ศ จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช กิ จ กรรมประชาสั ม พั น ธ์ แ ละแนะแนวการเข้ า ศึ ก ษา ต่อในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในจังหวัดภาคใต้จัดขึ้น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยเริ่ ม จั ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2542 เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นในภาคใต้ ไ ด้ มี โ อกาสรั บ ทราบข้ อ มู ล ของสาขาวิ ช า และคณะต่ า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย จากรุ ่ น พี่ แ ละบุ ค ลากร มหาวิ ท ยาลั ย โดยตรง เพื่ อ เพิ่ ม ความมั่ น ใจในการตั ด สิ น ใจ เลือกเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในทุกวิทยาเขต

25


สิ่งแวดล้อม “ตะรุเตา” เป็นอุทยานแห่งชาติที่อยู่ ในทะเลอันดามัน บริเวณช่องแคบมะละกา มหาสมุทรอินเดีย ในท้องที่อำ� เภอ เมื อ ง จั ง หวั ด สตู ล ด้ า นใต้ ข องเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห่ า ง จากชายแดนไทย-มาเลเซี ย เพี ย ง 4.8 กิ โ ลเมตร อุ ท ยาน แห่ ง ชาติ ต ะรุ เ ตาเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วในความใฝ่ ฝ ั น ของ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั่ ว ไป เนื่ อ งจากเป็ น จุ ด รวมของความงาม ที่ ธ รรมชาติ ส ร้ า งสรรค์ ทั้ ง บนเกาะ และในน�้ ำ มี ป ่ า ที่ อุดมสมบูรณ์เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ในน�้ำ ก็ ง ดงามด้ ว ยกลุ ่ ม ปะการั ง หลากสี ส วยสด จนเป็ น ที่ กล่ า วขวั ญ กั น ไปทั่ ว โลกได้ รั บ การยกย่ อ งจากองค์ ก าร UNESCO ให้ เ ป็ น มรดกแห่ ง อาเชี ย น โดยประกอบด้ ว ย เกาะน้ อ ยใหญ่ จ� ำ นวน 51 เกาะ รวมทั้ ง พื้ น ที่ บ นเกาะและ ทะเลประมาณ 931,250 ไร่ หรือ 1,490 ตารางกิโลเมตร

“ม.อ.” ห่วงท่องเที่ยวน�ำเชื้อราร้ายคุกคาม “กบ” บน “ตะรุเตา”

ร่วมนานาชาติปลุกส�ำนึกอนุรักษ์ และพัฒนาวิธีตรวจเชื้อ

ารเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ต ะรุ เ ตา ไม่เพียงแต่ท�ำให้นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเดินทางมาชม ความงามของเกาะแห่งนี้ จนท�ำรายได้จากการท่องเที่ยวให้กับ จังหวัดสตูลถึง 1,710 ล้านบาทในปี 2552 เท่านั้น ในอีกมุมหนึ่ง การท่ อ งเที่ ย วอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ สภาพทางธรรมชาติ ข องพื ช และสัตว์พื้นถิ่น โดยเฉพาะโรคระบาดที่ติดมากับนักท่องเที่ยวหรือ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีผลกับสัตว์ที่เป็นห่วงโซ่อาหาร

“นับว่าโชคดีที่จากการสุ่มตรวจเชื้อราไคทริด ยังไม่พบ การติ ด เชื้ อ หรื อ อาการที่ ส ่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า มี ก ารติ ด เชื้ อ ของกบ บนเกาะตะรุ เ ตา แต่ ยั ง คงต้ อ งเฝ้ า ติ ด ตามต่ อ ไปในอนาคต เนื่ อ งจากในการท� ำ งานร่ ว มกั บ Dr. Judit Voros จาก พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ประเทศฮังการี ได้ตรวจพบเชื้อรา ไคทริ ด บนผิ ว หนั ง คางคกแคระบนเขาคอหงส์ พื้ น ที่ ติ ด กั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น การพบเชื้อราไคทริดในธรรมชาติเป็นครั้งแรกในไทย”

ดร.ศันสรียา วังกุลางกูร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า นั ก ชี ว วิ ท ยาก� ำ ลั ง ให้ ความสนใจกับการระบาดของเชื้อราสายพันธุ์เก่าแก่ชนิดหนึ่ง ชื่อ “ไคทริต (Chytrid)” ซึ่งมีผลกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำเช่นกบ ที่ได้ท�ำให้

เกิดการตายของกบไปทั่วโลก จากข้อมูลของ Amphibian ark® พบว่าทั่วโลกมีเชื้อราไคทริดประมาณ 1,000 สายพันธุ์ทั้งในน�้ำ และในพื้นที่ชื้น โดย Longcore และคณะรายงานในปี 1999 ว่า เชื้อราไคทริด ชนิด Batrachochytrium dendrobatidis หรือเรียก สั้น ๆ ว่า BD สามารถเติบโตได้ดีบนผิวหนังกบ ท�ำให้เกิดการติดเชื้อ ในกบมากกว่า 6,000 ชนิดทั่วโลก และท�ำให้มีลดจ�ำนวนลงอย่าง รวดเร็ ว รุ น แรงถึ ง สู ญ พั น ธุ ์ การระบาดนี้ อ าจกิ น เวลาเพี ย ง 2-3 สั ป ดาห์ เ ท่ า นั้ น เนื่ อ งจากสปอร์ ข องเชื้ อ ราสามารถติ ด ไปกั บ ดิ น ใต้พื้นรองเท้า หรือบนเสื้อผ้า อุปกรณ์ของนักท่องเที่ยว จึงมีการ แพร่กระจายของเชื้อราชนิดนี้ไปทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว

26


สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซึ่งเป็นการ พบเชื้ อ ราไคทริ ด ในธรรมชาติ เ ป็ น ครั้ ง แรกใน ไทย นอกจากนี้ นักศึกษาจากภาควิชาชีววิทยา ก�ำลังมีการพัฒนาการตรวจเชื้อราบนผิวหนังกบ ด้วยการเพาะเชื้อในจานเพาะเลี้ยง ซึ่งมีต้นทุน ถู ก กว่ า การตรวจแบบเดิ ม ที่ ต ้ อ งใช้ ก ารตรวจ ด้วย DNA ที่ต้องใช้เครื่องมือราคาแพง ซึ่งหาก ประสบความส� ำ เร็ จ จะเป็ น การแยกเชื้ อ ราไค ทริดบริสุทธิด้วยการเพาะเชื้อได้เป็นแห่งแรกใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ” ดร.ศั น สรี ย า วั ง กุ ล างกู ร กล่าว “โครงงานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาวิ ธี ก าร ตรวจเชื้ อ ราบนผิ ว หนั ง กบด้ ว ยการเพาะเชื้ อ ในจานเพาะเลี้ยง” ซึ่งยังอยู่ระหว่างการศึกษา

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จึงร่วมมือกับสถาบันฮาร์ริสัน (Harrison institute) ประเทศอังกฤษ โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนรัฟฟอร์ด (Rufford Small Grants Foundation) ประเทศ อังกฤษ ได้จัดอบรมเจ้าหน้าที่ในอุทยานแห่งชาติตะรุเตา และ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ให้มีความรู้เบื้อง ต้นเกี่ยวกับอนุกรมวิธาน ชีววิทยา นิเวศวิทยา ของกบ รวมทั้ง มีความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับการสังเกตและติดตามโอกาสการ ติดเชื้อราไคทริด ชนิด Batrachochytrium dendrobatidis บน ผิวหนังกบ เนื่องจากเล็งเห็นว่าอุทยานแห่งชาติตะรุเตาเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา สม�่ำเสมอ จึงมีความเสี่ยงต่อการน�ำสปอร์ของเชื้อราไคทริดเข้า มาโดยไม่ตั้งใจ ซึ่งเข้าอบรมมีความเข้าใจและสามารถจ�ำแนก ความแตกต่ า งของกบบนเกาะตะรุ เ ตาในเบื้ อ งต้ น สามารถ น� ำ ไปขยายผลใช้ บ รรยายในการจั ด ค่ า ยธรรมชาติ ศึ ก ษาให้ แก่นักเรียน นักท่องเที่ยว และถ่ายทอดให้แก่รุ่นน้องต่อไปได้ “นั บ ว่ า โชคดี ที่ จ ากการสุ ่ ม ตรวจเชื้ อ ราไคทริ ด ยั ง ไม่ พบการติดเชื้อหรืออาการที่ส่อให้เห็นว่ามีการติดเชื้อของกบ บนเกาะตะรุ เ ตา แต่ ยั ง คงต้ อ งเฝ้ า ติ ด ตามต่ อ ไปในอนาคต เนื่องจากในการท�ำงานร่วมกับ Dr. Judit Voros จากพิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติวิทยา ประเทศฮังการี ได้ตรวจพบเชื้อราไคทริดบน ผิวหนังคางคกแคระบนเขาคอหงส์ พื้นที่ติดกับมหาวิทยาลัย

เจ้ า ของโครงการคื อ นางสาวมาศสุ ภ า สั ง วะระ ภาควิ ช า ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ โดยมี ดร.ศันสรียา วังกุลางกูร เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และรองศาสตราจารย์ ดร. เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร จากภาควิชาจุลชีววิทยา เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ในทางชีววิทยาสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกสามารถแบ่งได้ 3 กลุ่มหลัก ๆ คือ 1) กระท่าง หรือซาลามานเดอร์ 2) เขียดงู หรือซีซีเลียน และ 3) กบ อึ่งอ่างและคางคก แต่สัตว์ในกลุ่มสัตว์ สะเทินน�้ำสะเทินบกที่เรารู้จักกันทั่วไป ในชื่อ กบ ซึ่งเป็นสัตว์ ที่พบใกล้ตัวมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นในบ้านเรือน เทือกสวน ไร่นา และมนุ ษ ย์ เ รายั ง ใช้ ป ระโยชน์ จ ากกบหลายประการ ซึ่ ง ที่ เห็ น ได้ โ ดยตรง เช่ น การน� ำ มาท� ำ เป็ น อาหาร หรื อ ที่ เ ราได้ ประโยชน์ จ ากกบโดยทางอ้ อ ม เช่ น การช่ ว ยควบคุ ม แมลง ศัตรูพืช นอกจากนี้กบยังมีความส�ำคัญในแง่เป็นตัวเชื่อมโยง ในสายใยอาหารของระบบนิ เ วศอี ก ด้ ว ย การลดจ� ำ นวนลง ของกบในธรรมชาติอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ แต่ส่วนมาก จะเกิดขึ้นจากผลกระทบของกิจกรรมของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็น การท�ำลายถิ่นอาศัย หรือโดยทางอ้อม เช่น อุณหภูมิของโลก ที่ ร ้ อ นขึ้ น ซึ่ ง จะมี ผ ลต่ อ อุ ณ หภู มิ ข องน�้ ำ ท� ำ ให้ ลู ก อ๊ อ ดตาย สารเคมีที่เจือปนลงในน�้ำท�ำให้ลูกอ๊อดมีการพัฒนาผิดปกติ รวมทั้ ง การระบาดของเชื้ อ ราไคทริ ต (Chytrid) บนผิ ว หนั ง ที่ท�ำให้เกิดการตายของกบไปทั่วโลกด้วย

27


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ซายูตี สาหล�ำ นักศึกษารางวัลพระราชทาน

ผู้มีผลงานเด่นท�ำคุณประโยชน์เพื่อชุมชน และสังคม

นายซายูตี สาหล�ำ

ายซายูตี สาหล�ำ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานโยบาย สาธารณะ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับรางวัลพระราชทาน ระดับอุดมศึกษา ประจ�ำปีการศึกษา 2555 โดยเป็นผู้ที่มีผลการ เรียนดี มีความรับผิดชอบสูง แบ่งเวลาเรียนและท�ำกิจกรรม ร่วม กับชุมชน และสังคม รวมถึงองค์กรระดับสากล เป็นผู้น�ำในการ ท�ำกิจกรรมที่เป็นคุณประโยชน์ต่อชุมชน มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ ยอมรับจากทุกหน่วยงานที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม เป็นผู้น�ำเยาวชน ด้ า นประชาธิ ป ไตย ปั ญ หาการทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น ในสั ง คมไทย

นายซายูตี สาหล�ำ นักกิจกรรมเพื่อชุมชน โดยในปี 2553 ได้ ร่วมกับรุ่นพี่นักศึกษา ในโครงการค่ายสิงห์สัมฤทธิ์ โดยสร้างฝายกั้นน�้ำ ณ สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ป่าเขาช่อง จ.ตรัง ได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นประธานชมรมเสรี ช น คนประชาธิ ป ไตย ลงพื้นที่ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยน�้ำท่วม พื้นที่นพพิต�ำ จ. นครศรีธรรมราช ในปี 2554 และ จัดโครงการค่ายสิงห์อาสาพัฒนาโรงเรียนบ้านควนไม้ไผ่ อ.จะนะ จ.สงขลา จัดกิจกรรมเปิดหมวกหางบประมาณ ปรับปรุงอาคารเรียน และห้อง สมุดโรงเรียน ได้รับเลือกตั้ง ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธาน ยุ ว ชนประชาธิ ป ไตย ภาคใต้ ภายใต้ ก าร สนับสนุนของส�ำนักงาน เลขาธิ ก ารสภาผู ้ แ ทน ราษฎร เป็นโครงการระดับ ภาคใต้ เผยแพร่ความรู้เกี่ยว กั บ ประชาธิ ป ไตยและส่ ง เสริ ม

28

วัฒนธรรมประเพณีของชาวพุทธ นอกจากนี้ยังเป็น วิทยากรร่วมเสวนา สิทธิเสรีภาพของนักศึกษาใน ระบอบประชาธิปไตย ผลงานเด่ น ในด้ า นการต่ อ ต้ า นปั ญ หาการ ทุจริต คอรัปชั่นสังคมไทย ได้ท�ำหน้าที่ ประธานเครือ ข่ายเยาวชน คอรัป “ฉัน” ไม่ขอรับ ประเทศไทย ครอบคลุมเครือข่าย จ�ำนวน 90 มหาวิทยาลัย ภาย ใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของส� ำ นั ก งานองค์ ก ารพั ฒ นา


นายซายู ตี สาหล� ำ กล่ า วว่ า กิ จ กรรมที่ ภาคภู มิ ใ จอี ก กิ จ กรรมหนึ่ ง คื อ ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เป็ น ตั ว แทนมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในการ เข้ า ร่ ว มโครงการ Kizuna Project 2013 ภายใต้ ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เพื่อไปศึกษาดูงานเรื่องการจัดการ ภัยพิบัติ ณ ประเทศญี่ปุ่น

แห่ ง สหประชาชาติ ประจ� ำ ประเทศไทย (United Nation Development Programme) UNDP Thailand เป็นองค์กร ขยายเครื อ ข่ า ยปลู ก ฝั ง การ สร้ า งสั ง คมต่ อ ต้ า นคอรั ป ชั่ น สร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับ

คอรัปชั่นแก่นักศึกษา กิจกรรมผู้น�ำเยาวชนประชาธิปไตย ได้รับเชิญเป็นวิทยากร ในเวที นโยบายสาธารณะ รับฟังความคิดเห็นเยาวชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ อีกทั้งยังเป็นผู้ประสานงานกิจการเยาวชนด้านประชาธิปไตย สมาคมรั ฐ ศาสตร์ แ ละรั ฐ ประศาสนศาสตร์ ภ าคใต้ มี เ ครื อ ข่ า ย 7 มหาวิทยาลัยทั่วภาคใต้ และเป็นหัวหน้าโครงการเวทีเยาวชนเสวนา : สภาหน้ า สั น ติ ร่ ว มกั บ โครงการเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง และการมี ส่ ว นร่ ว มทางภาคใต้ ข องประเทศไทย (STEP Project) นอกจากนี้ ยังได้รับเชิญเป็นวิทยากรร่วมเสวนาในฐานะเยาวชน การเลือกตั้งระดับ ท้องถิ่น ได้รับเชิญสัมภาษณ์ในสื่อต่างๆ หัวข้อ Shout for the South ในหนั ง สื อ Chang Agent (ผู ้ น� ำ แห่ ง การเปลี่ ย นแปลง ให้ สั ม ภาษณ์ รายการเรื่ อ งเด่ น เย็ น นี้ สถานี โ ทรทั ศ น์ ช่ อ ง 3 ประเด็ น “คนรุ ่ น ใหม่ หั ว ใจประชาธิ ป ไตย” ให้ สั ม ภาษณ์ กิ จ กรรมพลั ง นั ก ศึ ก ษารณรงค์ การเลือกตั้ง ออกอากาศสถานีโทรทัศน์ โมเดิร์นไนน์ทีวี เป็นพิธีกรเวที ประชันวิสัยทัศน์ ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งระดับท้องถิ่น กิจกรรมด้านพัฒนาชุมชน เป็น ประธานโครงการต้นกล้าแผ่นดิน ระดมความคิ ด พิ ชิ ต อนาคตประเทศไทย พั ฒ นาชุ ม ชนพื้ น ที่ ใ น จั ง หวั ด สงขลา โครงการลู ก พระบิ ด าอาสาพั ฒ นาชุ ม ชน เป็ น กิ จ กรรม ทาสีอาคารเรียน ตาดีกา และปลูกต้นไม้ตลอดแนวถนนมัสยิดบ้านซอง รวมทั้งกิจกรรมละศีลอดร่วมกับประชาชน บ้านซอง อ.นาทวี จ.สงขลา และอีกหนึ่งกิจกรรมจิตอาสา ค่ายสิงห์สัมฤทธิ์ ปี 2555 พัฒนาชุมชน ท�ำความสะอาดวัดและมัสยิดในต�ำบลหนองธง ปลูกต้นไม้ตลอดแนว ถนนทางเข้าน�้ำตกไพรวัลย์ กิจกรรมดูแลลูกหลานก�ำพร้า มัสยิดหัวเลี้ยว ต.ยามู อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

จากผลงานเด่นของ นายซายูตี สาหล�ำ ที่ก่อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ เยาวชน ชุ ม ชน และสั ง คม ครอบคลุม ทั้งในด้านการบริการพัฒนาชุมชน ด้าน จิตอาสา ท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งด้านการ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจนด้ า น วิชาการ การกีฬา และ นันทนาการ โดยร่วมกิจกรรม ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น ได้รับโล่ นักกิจกรรมตัวอย่าง ด้ า นการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมประชาธิ ป ไตย และ ด้านวิชาการ จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ล้วนเป็นผลงานที่มีคุณภาพ ได้รับการยกย่องจาก คณาจารย์ และเพื่ อ นนั ก ศึ ก ษา รวมทั้ ง หน่ ว ยงาน ภายนอก แสดงให้เห็นถึงการได้รับความไว้วางใจว่า เป็นคนดี มีความรู้ เปี่ยมด้วยความสามารถ ตลอดจน มี คุ ณ ธรรม เป็ น ผู ้ น� ำ เพื่ อ สร้ า งชุ ม ชน สั ง คม และ ประเทศชาติ จนได้ รั บ การคั ด เลื อ ก จากกระทรวง ศึกษาธิการ ให้เป็นผู้ได้รับรางวัลพระราชทาน ระดับ อุดมศึกษา ประจ�ำปี 2555

29


ลงนามความร่วมมือ

ม.อ.

ลงนามร่วมกับ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและกรมพัฒนาพลังงานฯ

คาดประหยัดค่าไฟฟ้าปีละ 40 ล้านบาท ม.อ.ลงนามร่ ว มกั บ กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน และ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค ในการจ้ า งปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ใช้ พ ลั ง งาน ภายในมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทุ ก วิ ท ยาเขต ภายใต้ โครงการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ การประหยั ด พลั ง งานในอาคารภาครั ฐ เพื่ อ ลดการใช้ พ ลั ง งานลงไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 10 คาดจะประหยั ด ได้ ป ี ล ะ 40 ล้ า นบาท ภายใต้ ง บลงทุ น ของการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคไม่ เ กิ น 400 ล้ า นบาท ด�ำเนินการภายในระยะเวลา 9 เดือน พร้อมดูแลรักษาระบบ 10 ปี

(จากซ้ า ย) นายประมวล จั น ทร์ พ งษ์ รองอธิ บ ดี กรมพั ฒ นาพลั ง านทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน รศ.ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ นายสุวัฒน์ เชี่ยวชาญชัย ผู้ช่วยผู้ว่าการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ รศ.ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัย ระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมลงนามสัญญา ว่าจ้างปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้โครงการบริหารจัดการ เพื่อการประหยัดพลังงานในอาคารภาครัฐ และบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือโครงการให้ค�ำปรึกษาด้านการจัดการและอนุรักษ์ พลังงาน ตามนโยบายพลังงานแห่งชาติ และมติคณะรัฐมนตรี

30

ในการด� ำ เนิ น งาน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ โดย สถาบั น วิ จั ย ระบบพลั ง งานและการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค จะ ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งาน ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในระยะเวลา 9 เดื อ น และจะตรวจพิ สู จ น์ ผลการประหยั ด พลั ง งาน รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารและบ� ำ รุ ง รั ก ษาระบบและอุ ป กรณ์ เ ป็ น เวลา 10 ปี ซึ่ ง จะสามารถลด การใช้ พ ลั ง งานลงได้ ป ระมาณ 40 ล้ า นบาทต่ อ ปี ภายใน งบลงทุ น ของการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคไม่ เ กิ น 400 ล้ า นบาท โดยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นอาคารควบคุม ภาครัฐ จากข้อมูลการใช้พลังงานเมื่อปี 2554 พบว่ามหาวิทยาลัย ใช้พลังงานรวมกันประมาณ 77 ล้านหน่วย คิดเป็นค่าไฟฟ้า


270 ล้ า นบาท เที ยบเท่าน�้ ำ มันดิบ 6.7 พันตัน โดยมี ข ้ อ สรุ ป ในการด�ำเนินการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ภายในมหาวิทยาลัยดังนี้ 1. มี ก ารรื้ อ ถอนและเปลี่ ย นเครื่ อ งปรั บ อากาศเก่ า ที่ ใ ช้ ม าเป็ น ระยะเวลานาน เป็ น เครื่ อ งปรั บ อากาศประหยั ด พลั ง งานประสิ ท ธิ ภ าพสู ง เบอร์ 5 ภายใน 5 วิ ท ยาเขตของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ วิทยาเขตหาดใหญ่ ปัตตานี สุราษฎร์ ตรังและภูเก็ต รวมจ�ำนวน 4,341 เครื่อง 2. รื้ อ ถอนโคมไฟถนน เปลี่ ย นเป็ น แบบโคมหลอด แอลอีดี (LED) รวมจ�ำนวน 2,549 ชุด 3. มี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบตรวจวั ด อั ต ราการใช้ พ ลั ง งาน ทุกวิทยาเขต นายประมวล จันทร์พงษ์ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า กรมดูแลโรงงาน 6,000 แห่ง และส่วนราชการซึ่งมีอาคารควบคุมจ�ำนวน 800 แห่ง ทั้งนี้ ประเทศเราน�ำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ส่วนราชการ มีอุปกรณ์เก่าเยอะมาก เนื่องจากมีขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง อุ ป กรณ์ จึ ง ใช้ น าน 15-20 ปี ถ้ า หากเปลี่ ย นเป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ประหยัดพลังงานจะช่วยลดงบประมาณได้มาก การใช้ไฟฟ้า ของภาคใต้มีการขยายตัวจากการสร้างโรงแรม รีสอร์ทตาม ชายทะเล รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วว่ า การเปลี่ ย นแอร์ แ ละหลอดไฟใน โครงการนี้ จะประหยัดได้ 40 ล้านต่อปี ทั้ง 5 วิทยาเขต โดย ท� ำ พร้ อ มกั น ทุ ก วิ ท ยาเขต รวมทั้ ง ลดการใช้ น� ำ มั น ดิ บ ในการ ผลิตกระแสไฟฟ้า ม.อ.จะสร้างระบบและรณรงค์ให้นักศึกษา บุคลากรในการประหยัดพลังงาน นายสุ วั ฒ น์ เชี่ ย วชาญชั ย ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ ว ่ า การไฟฟ้ า ส่ ว น ภูมิภาค กล่าวว่า โครงการนี้จะลดการใช้พลังงานลงไม่น้อย กว่า ร้อยละ10 เมื่อเที่ยบกับปี 2554 ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก เราด� ำ เนิ น การโดยใช้ รู ป แบบบริ ษั ท ธุ ร กิ จ จั ด การ พลังงาน ESCO อนุรักษ์พลังงานครบวงจร มีการตรวจสอบ การใช้ พ ลั ง งาน จั ด หาแหล่ ง ทุ น เพื่ อ น� ำ ค่ า ใช้ จ ่ า ยไฟฟ้ า ที่

ลดลง มาจ่ า ยเป็ น ค่ า ลงทุ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม รศ.ดร.สุ เ มธ ไชยประพั ท ธ์ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กล่าวว่า ม.อ.ใช้ไฟฟ้า 270 ล้านบาท ต่อปี เทียบเท่าการใช้น�ำมันดิน 6.7 พันตันต่อปี โดยเปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ง านยาวนานและ เสื่ อ มสภาพ ใช้ พ ลั ง งานสิ้ น เปลื อ ง จะลดการ ใช้ พ ลั ง งานได้ ร ้ อ ยละ 10 และก� ำ หนดให้ ล ด การใช้ไฟฟ้าตามแผนการอนุรักษ์พลังงาน ลง 25% ในอี ก 20 ปี ข ้ า งหน้ า และเพื่ อ ปฎิ บั ติ ไ ด้ ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการอนรักษ์พลังงาน ข้ อ มู ล จากรายงานการจั ด การพลั ง งานปี 2 554 และ สถาบั น วิ จั ย ระบบพลั ง งาน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ท� ำ การรวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง การใช้ ไ ฟฟ้ า ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดังนี้ 1. วิทยาเขตหาดใหญ่ ใช้ไฟฟ้า เฉลี่ยเดือนละ 16-17 ล้านบาท ปีละ 195 ล้านบาท และจะมีเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ จ�ำนวน 2,649 เครื่อง ประกอบด้วยคณะหน่วยงานดังนี้ คณะ เทคนิ ค การแพทย์ 21 เครื่ อ ง คณะศิ ล ปศาสตร์ 180 เครื่ อ ง คณะทรัพยากรธรรมชาติ 174 เครื่อง คณะวิทยาศาสตร์ 410 เครื่อง คณะอุตสาหกรรมเกษตร 95 เครื่อง คณะการแพทย์ แผนไทย จ� ำ นวน 8 เครื่ อ ง บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย 7 เครื่ อ ง คณะ เภสั ช ศาสตร์ 114 เครื่ อ ง คณะพยาบาลศาสตร์ 166 เครื่ อ ง คณะวิศวกรรมศาสตร์ 392 เครื่อง คณะทันตแพทยศาสตร์ 318 เครื่อง คณะแพทยศาสตร์ 485 เครื่อง คณะวิทยาการจัดการ 93 เครื่อง ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 32 เครื่อง คณะการจัดการสิ่ง แวดล้อมและศูนย์ส่งเสริมศิลปและวัฒนธรรม 72 เครื่อง หอพัก นักศึกษา 36 เครื่อง และจะเปลี่ยนโคมไฟถนน 1,054 โคม 2. วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ใช้ ไ ฟฟ้ า เฉลี่ ย เดื อ นละ 2-3 ล้ า นบาท ปี ล ะ 30 ล้ า นบาท จะมี เ ปลี่ ย นเครื่ อ งปรั บ อากาศ จ�ำนวน 842 เครื่อง ประกอบด้วย วิทยาเขต 783 เครื่อง หอพัก นักศึกษา 59 เครื่อง และจะเปลี่ยนโคมไฟถนน 1,200 โคม 3. วิทยาเขตภูเก็ต ใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยเดือนละ 1-1.2 ล้านบาท ปีละ 13 ล้านบาท จะมีเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ จ�ำนวน 385 เครื่อง และเปลี่ยนโคมไฟถนน 49 โคม 4. วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยเดือนละ 0.60.7 ล้านบาท ปีละ 7.5 ล้านบาท จะมีเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ จ�ำนวน 325 เครื่อง ประกอบด้วยวิทยาเขตภูเก็ต 233 เครื่อง หอพักนักศึกษา 152 เครื่อง และจะเปลี่ยนโคมไฟถนน 150 โคม 5. วิทยาเขตตรัง ใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยเดือนละ 4.5-4.7 ล้านบาท ปีละ 5.5 ล้านบาท จะมีเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศ จ�ำนวน 140 เครื่อง และเปลี่ยนโคมไฟถนน 96 โคม

31


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

QS Rankings

จัด ม.อ.ติดอันดับ ม.ชั้นน�ำโลกด้านเกษตรศาสตร์

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัด อั น ดั บ ในสาขาวิ ช าเฉพาะทาง โดย QS World University Rankings ให้ อ ยู ่ ใ นอั น ดั บ ที่ 101 – 150 จาก 200 อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ของโลก ประจ� ำ ปี 2013 ด้ า นเกษตรศาสตร์ แ ละ วนศาสตร์ (Agriculture & Forestry) ส� ำ หรับตัว ชี้ วั ด ในการจั ด อั น ดั บ ประกอบด้ ว ย ชื่ อ เสี ย งทาง วิชาการ ชื่อเสียงจากผู้ว่าจ้างบัณฑิต การอ้างอิง ทางวิชาการและความโดดเด่นทางวิชาการ ทั้งนี้มีมหาวิทยาลัยในประเทศไทย 7 สถาบัน ที่ติดอยู่ใน 200 สถาบันใน 13 สาขาวิชา ในการจัด ล�ำดับดังกล่าว ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี รายละเอี ย ด เพิ่ ม เติ ม ที่ http://www.topuniversities. com/subject-rankings

32


วิจัย

วันนักวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 7

เชิดชูนักวิจัย ม.อ.

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดงาน “วันนักวิจัยและนวัตกรรม ม.อ. ครั้งที่ 7” ประจ�ำปี 2556 เมื่ อ วั น ที่ 17 มิ ถุ น ายน 2556 ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี เพื่อเชิดชูเกียรติ นักวิชาการของมหาวิทยาลัยที่ได้มีความส�ำเร็จในการสร้างสรรค์ผลงาน เป็นที่รู้จักกัน ในระดับชาติและนานาชาติ และเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัยในการการพัฒนาบุคลากรให้เป็นนักวิชาการ ผู้มีความรู้ความสามารถมีความเข้มแข็ง และมีทักษะด้านการวิจัย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานเปิดงาน ผู้มีผลงานการได้รับรางวัลระดับนานาชาติ เป็ น นั ก วิ จั ย ตั ว อย่ า งหรื อ มี ผ ลงานดี เ ด่ น เป็นนักวิจัยที่มีผลงานได้รับการอ้างอิงสูงสุด 20 อั น ดั บ แรก จากฐานข้ อ มู ล ISI และ มี ผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชน มี 9 ท่าน ประกอบด้วย Dr.Alan Frederick-Geater คณะแพทยศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร คั น ธโชติ คณะวิ ท ยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธี ร ะพล ศรี ช นะ คณะเภสั ช ศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ด ร . พู น สุ ข ป ร ะ เ ส ริ ฐ ส ร ร พ ์ ค ณ ะ หลั ง จากนั้ น เป็ น การจั ด เสวนาเรื่ อ ง “วิ . ..จาก...ใจ:จาก อุ ต สาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ ดร.เพริ ศ พิ ช ญ์ ฐานรากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์” โดยวิทยากร ศาสตราจารย์ คณาธารณาคณะวิทยาศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ ดร.วีระพงศ์ ปรัชชญาสิทธิกุล คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ วรวุฒิคุณชัย คณะวิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุภิญญา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ ดร.ผดุ ง ศั ก ดิ์ รั ต นเดโช ติ๋วตระกูล คณะเภสัชศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยบริ ก ารวิ ช าการและวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย พงษ์ไพจิตร คณะวิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญ ธรรมศาสตร์ และรองศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ หันพงศ์กิตติกูล คณะอุตสาหกรรมเกษตร ส่ ว นนั ก วิ จั ย ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล The BLUE Jacket ในปี นี้ มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ด�ำเนินการเสวนา โดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อั ค รวิ ท ย์ กาญจนโอภาษ คื อ รองศาสตราจารย์ ดร.พู น สุ ข ประเสริ ฐ สรรพ์ คณะ ผู้อ�ำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อุ ต สาหกรรมเกษตร โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พู น สุ ข ในงานดั ง กล่ า ว มี พิ ธี ม อบโล่ ร างวั ล และเกี ย รติ บั ต ร ประเสริ ฐ สรรพ์ ได้กล่าวว่า ในการที่จะเป็นนักวิจัยที่ประสบ แก่ นั ก วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ระดั บ ชาติ นั ก วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ความส�ำเร็จได้ ต้องยึดหลัก 5 M 1 L คือ • Mind … ต้องท�ำวิจัยด้วยใจรัก มีความสุขที่ได้ท�ำวิจัย ระดั บ นานาชาติ รางวั ล เครื อ ข่ า ยวิ จั ย ดี เ ด่ น มหาวิ ท ยาลั ย • Man … ผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย คื อ ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ง านวิ จั ย โล่รางวัลผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชน โล่และรางวัล นวั ต กรรมสงขลานคริ น ทร์ โล่ ร างวั ล ผู ้ ป ระกอบการดี เ ด่ น ประสบความส�ำเร็จ • Money ... ต้องมีงบประมาณที่เหมาะสมในการท�ำวิจัย ของศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อุทยานวิทยาศาสตร์ เกียรติบัตร • M&M … Material & Method การหาข้ อ มู ล และวิ ธี เชิดชูเกียรติให้กับนักวิจัยที่สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย เกียรติบัตรวิทยานิพนธ์ดีเด่น รางวัล 2012 PSU Researcher การวิจัย รวมทั้ง Machine หรืออุปกรณ์ประกอบในการท�ำวิจัย • Management มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ Grand Slam และ รางวัล The BLUE Jacket โดยมีนักวิจัย • Environment สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อ เข้ารับรางวัลในวันดังกล่าวจ�ำนวน 200 ท่าน ส�ำหรับผู้ได้รับรางวัล 2012 PSU Researcher Grand การท�ำวิจัยเป็นสิ่งส�ำคัญ ซึ่งรวมถึงที่เป็นสิ่งของ เช่นเครื่องมือ Slam ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้กับนักวิจัยที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ สถานที่ และที่เป็นบุคคล เช่นเพื่อนร่วมงาน เป็นต้น ในงาน“วั น นั ก วิ จั ย และนวั ต กรรม ม.อ.” 5 ปี ติ ด ต่ อ กั น ซึ่ ง เป็ น

33


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ถาปัตย์ ม.อ. ตรัง คว้าชมเชย งานสถาปนิก’56 นั ก ศึ ก ษาสาขาสถาปั ต ยกรรม ชั้ น ปี ที่ 1 คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ได้รับรางวัลชมเชยในการออกแบบ นิทรรศการภายใต้หัวข้อ “ 101 บาท เปลี่ยนชีวิต” ในงานสถาปนิก’56 จัดโดยสมาคม สถาปนิ ก สยามในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ณ อาคารชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 1-3 เมื อ งทอง ธานี กรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง การประกวดครั้ ง นี้ มี ส ถาบั น เข้ า ร่ ว มประกวดทั้ ง สิ้ น 28 สถาบัน และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง สามารถคว้ า รางวั ล ชมเชยมาได้ ผลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล คื อ “ฃ ขวด คืนชีพ” แนวความคิดหลักใน การออกแบบคือ การใช้เงินจ�ำนวน น้ อ ยเพื่ อ แก้ ป ั ญ หาในชี วิ ต ประจ� ำ วัน การน�ำเอาขวดน�้ำพลาสติกมาใช้ เป็นท่อน�้ำปล่อยน�้ำผ่านหลังคาบ้าน เพื่ อ ลดความร้ อ นภายในตั ว บ้ า น และน�ำน�้ำที่เหลือไปรดน�้ำผักสวนครัว ซึ่งนอกจากจะสร้างภาวะน่าสบายให้กับสมาชิก ในครอบครัวแล้วยังเป็นแหล่งอาหารที่ส�ำคัญของบ้านและชุมชน อีกด้วย

นักศึกษาสถาปัตย์ ม.อ. ตรัง

คว้า 5 รางวัลการประกวดวาดภาพกลุ่มจังหวัดอันดามัน

เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2556 โครงการหอศิลป์อันดามัน จังหวัดกระบี่ โดย ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดกระบี่ได้จัดประกวดการวาดภาพแหล่งท่องเที่ยว ในกลุ่มจังหวัดอันดามัน ประจ�ำปี 2556 ขึ้นที่อาคารเอนกประสงค์ ส�ำนักงาน เทศบาลนครตรั ง โดยมี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ ค้ น หาศิ ล ปิ น หน้ า ใหม่ ที่ ส ามารถผลิ ต ผลงานศิลปะและน�ำไปจัดแสดงในหอศิลป์อันดามัน จังหวัดกระบี่ในช่วงเดือน ตุ ล าคม 2556 ในการนี้ ส าขาสถาปั ต ยกรรม โครงการจั ด ตั้ ง คณะสถาปั ต ย กรรมศาสตร์ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมประกวดด้วย และผลการแข่งขันปรากฏว่า นักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรมสามารถคว้ามาได้ถึง 5 รางวัลด้วยกัน ได้แก่ 1) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป ได้ รั บ เงิ น รางวั ล 3,500 บาท พร้อมใบประกาศเกีย รติ คุ ณ ได้ แ ก่ นายพี ร ณั ฐ

34

ช่างทองเครือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 2) รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 2 ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป ได้รับ เงินรางวัล 3,000 บาท พร้อมใบประกาศ เกียรติคุณ ได้แก่ นายสิทธิกร สุวรรณรัตน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 3) รางวัลชมเชย ระดับอุดมศึกษา และประชาชนทั่วไป รวม 3 รางวัล ได้รับ ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ ได้ แ ก่ นางสาว เทพศิ ริ น ทร์ อิ น ทสระ นายธนชั ย ไกรทิพย์ และ นายซอฟวัน สายู นักศึกษา ชั้นปีที่ 2


อบรม/สัมมนา

โครงการจัดตั้ง

คณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.อ.

“รู้ไว้ห่างไกลโรคแพะสู่คน”

จัด อบรม

ครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดอบรม “รู้ ไว้ ไกลโรคแพะสู่คน ประจ�ำปี 2556” เพื่อให้ผู้เลี้ยงแพะ อาสาปศุ สั ต ว์ เจ้ า หน้ า ที่ ป ศุ สั ต ว์ และบุ ค คลทั่ ว ไปเข้ า ใจสาเหตุ อาการ การดูแลรักษาการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อจากแพะสู่คน รวมถึง การเก็บตัวอย่างส่งตรวจที่ถูกต้อง

รองศาสตราจารย์ สพ.ญ.อุษา เชษฐานนท์ ผู้อ�ำนวยการ โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ กล่าวว่า ภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะภาคใต้ตอนล่าง มีการเลี้ยงแพะเป็นจ�ำ นวนมาก เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย และมีการเลี้ยงแพะ แบบปล่อย ซึ่งประหยัดแรงงาน ค่าอาหาร และพื้นที่ อย่างไร ก็ตามการเลี้ยงแบบปล่อยนั้น แพะจะหากินเป็นบริเวณกว้าง ในหลากหลายพื้นที่ ท�ำให้แพะมีโอกาสสัมผัสเชื้อติดโรค รวมทั้ง ยังสามารถแพร่กระจายโรคได้ค่อนข้างมาก ทั้งพยาธิ และโรค ติดต่อต่างๆ ซึ่งหลายโรคสามารถติดต่อสู่คนได้

โครงการจั ด ตั้ ง คณะสั ต วแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ได้ จั ด อบรมในครั้ ง นี้ ขึ้ น กิ จ กรรมนี้ เ ป็ น การอบรมต่อยอดจากการอบรมการจัดการโรคและการผลิต ปศุสัตว์แบบพัฒนา และการอบรมความรู้เรื่อง “รู้ไว้ห่างไกล โรคแพะสู่คน” ในปี 2555 โดยครั้งนี้ จัดอบรมขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2556 ณ โรงเรียนปศุสัตว์อ�ำเภอนาทวี (ศูนย์เรียนรู้ อ�ำเภอนาทวี) จังหวัดสงขลา ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากหลายภาคส่วน ทั้งจาก นายอ�ำเภอนาทวี ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา ปศุสัตว์อ�ำเภอนาทวี สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์เทพา นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลฉาง ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 ซึ่ง เป็นเจ้าของพื้นที่ ประธานชมรม ผู ้ เ ลี้ ย ง แ พ ะ จั ง ห วั ด ส ง ข ล า เลขานุ ก ารชมรมผู ้ เ ลี้ ย งแพะ นาทวี และบริษัท เมิร์จ เพอร์เฟค คอมพาเนี ย น (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด รวมถึ ง เกษตรกรผู ้ เ ลี้ ย ง แพะที่ เ ข้ า ร่ ว มอบรมจากอ�ำ เภอ ระโนด จะนะ นาทวี และเทพา

35



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.