ม.อ.ทูลเกล้าฯ ถวายทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราชกุมารี ...18 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมฯ ม.อ. ภูเก็ต ผ่านการรับรอง วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ISO/IEC 29110 ...2 “ผศ.ดร.ศรีสมภพ” เผยบรรยากาศรัฐบาลไทยเจรจา BRN ...10 “โรคหัวใจ” พุ่ง รพ.มอ. พบ 5 เดือนทะลุพันราย ...12 คณะวิทยาการจัดการ ม.อ. เตรียม นศ.สู่โลกอาชีพ จับมือไทยพาณิชย์ MOU ด้านสหกิจศึกษา ...17 เทคนิคการแพทย์ ม.อ. ผ่านการรับรองแล้ว คาดอีก 3 ปี เปิดรับป.โท ...20
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมฯ และศูนย์การเรียนรู้ ม.อ. ภูเก็ต
ผ่านการรับรอง
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ISO/IEC 29110 คณะเทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มและงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ภายใต้ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ได้รับใบรับรองกระบวนการวิศวกรรมซอฟท์แวร์ตามมาตรฐาน ISO/IEC 29110 หลั ง เข้ า ร่ ว มโครงการยกระดั บ ความสามารถบุ ค ลากรด้ า น มาตรฐานซอฟต์ แ วร์ แ ละผู ้ ป ระกอบการซอฟต์ แ วร์ ข นาดกลางและ ขนาดเล็กไทย สู่ระดับมาตรฐานสากล ซึ่งจัดขึ้นโดยมูลนิธิสถาบันเพื่อ พัฒนานวัตกรรมและส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินได้คะแนนเกิน 85% ของมาตรฐานที่ตั้งไว้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัตนา เวทย์ประสิทธิ์ ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เปิดเผยว่า มาตรฐาน ISO/IEC 29110 คือ กระบวน การพัฒนาซอฟต์แวร์ตามมาตรฐานสากลที่จัดขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ หน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานเอกชนขนาดเล็กที่มี กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้รับการ รับรองคุณภาพการผลิตและมีกระบวนการพัฒนา ซอฟต์ แ วร์ ที่ มี ม าตรฐาน เป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ โดยใช้ศักยภาพด้านมาตรฐานระดับสากลเป็นตัวน�ำและเพื่อเป็นการ สร้างโอกาสการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ส�ำหรับมาตรฐาน ISO/IEC 29110 นั้น พัฒนามาจากความร่วมมือ ของหลายๆ ประเทศ ซึ่งประเทศไทยได้เริ่มมีส่วนในการพัฒนามาตรฐาน ตัวนี้มาแล้วเป็นเวลาหลายปีโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ทุกวันนี้มีหน่วยงานราชการที่เข้ารับการประเมินและได้รับรอง มาตรฐานแล้วประมาณ 3-4 หน่วยงาน รศ.ดร.พันธ์ ทองชุมนุม คณบดีคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ม.อ.ภูเก็ต กล่าวว่า คณะฯ มีความภูมิใจอย่างยิ่งส� ำหรับผลประเมินที่ คณะฯ ได้ ผ ่ า นการรั บ รองตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 ซึ่ ง หลังจากนี้คณะฯ คงจะต้องด�ำเนินงานอย่างมีมาตรฐานเพื่อรักษาระดับ มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง นอกเหนื อ จากนี้ ค ณะฯ มี แ นวทางการพั ฒ นามาตรฐานด้ า น ไอทีที่เด่นชัดอื่นๆ เช่น การเข้าร่วมโครงการสอบมาตรฐานวิชาชีพไอที
Information Technology Professional Examination: ITPE ซึ่งเป็นมาตรฐานนี้ได้ร่วมมือกันระหว่างกลุ่มภาคี 7 ประเทศ คือ ญี่ปุ่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม เมียนม่า มองโกเลีย และประเทศไทย ซึ่งความร่วมมือ ดั ง กล่ า วฯ เป็ น หนึ่ ง ในมาตรฐานสากลที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรับในระดับภูมิภาค โดยจะร่วมกันจัดสอบเพื่อวัด ระดับความรู้และทักษะพื้นฐานด้านไอทีแบบไม่อิง ผลิตภัณฑ์ใดๆ ทั้งนี้ ม.อ.ภูเก็ต ได้ลงนามใน MOU ร่วมกับ สวทช ในการเป็นศูนย์สอบและศูนย์ติวสอบ ITPE ในเขตภาคใต้ ตั้ ง แต่ ป ี 2554 โดยมี ค ณะฯ เป็นผู้บริหารจัดการโครงการนี้ และเพื่อส่งเสริมและ ผลักดันให้นักศึกษาและบุคลากรสายไอทีของคณะฯ ได้ใฝ่หาความรู้และยกระดับทักษะของตนเองให้ได้ มาตรฐานและพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง คณะฯ จึง สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการสอบครั้งแรกให้แก่นักศึกษา และบุคลากรภายในคณะฯ อย่ า งไรก็ ต ามคณะฯ ก็ ยั ง ให้ ค วามส�ำ คั ญ กั บ ประกาศนียบัตรอื่นๆในค่ายอื่นๆ เช่น Cisco, Sun และ Microsoft เป็นต้น โดยพยายามจะจัด กิจกรรมเสริมเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความ สามารถเพื่ อ น� ำ ไปสอบประกาศนี ย บั ต รดั ง กล่าว ได้มากขึ้น
มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2556
สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน
สารบัญ วิจัย
รอบรั้วศรีตรัง
• ม.อ. ขยายผลงานวิจัยระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศผลิตก๊าซชีวภาพ 8 แก้ปัญหาน�้ำเสียจากการผลิตยางแผ่นรมควัน • ม.อ. หนุนงานวิจัยใช้ได้จริง มอบรางวัล “งานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อ 24 ชุมชน ประจ�ำปี 2555” • ส�ำนักวิจัยและพัฒนา เข้าร่วมกิจกรรม มหกรรมวิจัยส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ณ จังหวัดขอนแก่น ด้วยแนวคิด “งานวิจัยที่ใช้ได้ กินได้” 26 • โครงการศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ภาคใต้ โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ สิ่งดีๆ ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น ส�ำหรับผู้ป่วย นักศึกษา 28 และประชาชนในภาคใต้
• ม.อ.จับมือศิษย์เก่า ปลูกศรีตรัง 90,000 ต้นทั่วไทย • ที่ปรึกษาสภาฯให้ศิษย์เก่ายึดคุณธรรมในวิชาชีพ ให้ ม.อ.ภูมิใจที่เติบโตแม้มีอุปสรรครอบด้าน • ม.อ. ร่วมแก้วิกฤตพลังงาน ตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม ภาคใต้-กลางตอนล่าง
เรือ่ งเล่าอธิการบดี • พบอธิการบดี ฉบับที่ 2/2556 “กรรมการสภาวิทยาเขต”
4
บริการวิชาการ • “โรคหัวใจ” พุ่ง รพ.มอ. พบ 5 เดือนทะลุพันราย
12
2 6 27 31
การศึกษา • ม.อ.ทูลเกล้าฯถวายทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราชกุมารี • เทคนิคการแพทย์ ม.อ. ผ่านการรับรองแล้ว คาดอีก 3 ปี เปิดรับ ป.โท
34
ความร่วมมือสังคม/ชุมชน 10
• “ผศ.ดร.ศรีสมภพ” เผยบรรยากาศรัฐบาลไทยเจรจา BRN
ลงนามความร่วมมือ • คณะวิทยาการจัดการ ม.อ. เตรียม นศ.สู่โลกอาชีพ จับมือไทยพาณิชย์ MOU ด้านสหกิจศึกษา
17
• สัมมนา เตรียมความพร้อมการใช้เกณฑ์ EdPeX ในการประกันคุณภาพการศึกษา
21
สิ่งแวดล้อม • กลุ่มโรงงานควบคุมพื้นที่ภาคใต้ ในการควบคุมของสถาบันวิจัย พลังงาน ม.อ. พร้อมให้ความร่วมมือการอนุรักษ์พลังงานสนับสนุน การจัดตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม รณรงค์รับมือภาวะวิกฤต 22 พลังงาน
แนะน�ำหลักสูตรใหม่ • ม.อ.ปัตตานีเปิดหลักสูตรโภชนศาสตร์และการกําหนดอาหาร เป็นแห่งแรกของภาคใต้
18 20
สู่นานาชาติ • ม.อ น�ำหลักสูตรนานาชาติจัดโรดโชว์ที่เซี่ยงไฮ้
16
อบรม/สัมมนา
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ • คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมฯ ม.อ. ภูเก็ต ผ่านการรับรอง วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ISO/IEC 29110 • นักศึกษา ม.อ. ได้รับรางวัลการประกวดโครงงานนักศึกษาสหกิจ ศึกษาดีเด่น ประจ�ำปี 2555 • สภาวิจัยแห่งชาติ มอบ 4 รางวัลให้แก่ผลงานวิจัยของอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประจําปี 2555 • นักศึกษาแพทย์ ประจ�ำรุ่น 38 คว้ารางวัลผลงานระดับนานาชาติ
14
27
30
ศิลปและวัฒนธรรม 13
• นิตยา ไกรวงศ์ เมื่อพยาบาล สร้างสรรค์งานเพลง “ตะลุงแพทยศาสตร์” • สืบสานการละเล่นพื้นบ้าน งาน สงกรานต์ ม.อ. -เทศบาลเมืองคอหงส์
32 35
3
เรื่องเล่าอธิการบดี
พบอธิการบดี ฉบับที่ 2/2556
“กรรมการสภาวิทยาเขต” ผ
รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4
มมี เ รื่ อ งส� ำ คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ การวางระบบบริ ห าร วิทยาเขตที่จะเรียนให้ประชาคมชาว ม.อ. ได้รับทราบ โดยที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2556 ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบข้ อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ว่ า ด้ ว ยกรรมการสภาวิ ท ยาเขต ซึ่ ง ข้ อ บั ง คั บ ดั ง กล่ า ว มี ส าระส� ำ คั ญ คื อ การให้ แ ต่ ล ะวิ ท ยาเขตมี ก รรมการสภา วิทยาเขตขึ้น ด้วยเหตุผลที่ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ ป ระกอบด้ ว ย 5 วิ ท ยาเขต และแต่ ล ะวิ ท ยาเขต มี ค วามแตกต่ า งเชิ ง พั ฒ นาการ และสภาพแวดล้ อ มเชิ ง พื้นที่ที่ต่างกัน เป็นความแตกต่างกันอย่างหลากหลายมิติ ในแต่ละวิทยาเขต ท�ำให้การประชุมสภามหาวิทยาลัยเพื่อ พิ จ ารณาเฉพาะเรื่ อ ง ในบางกรณี มี เ วลาค่ อ นข้ า งจ� ำ กั ด บางกรณี ต ้ อ งเข้ า ใจสภาพของพื้ น ที่ ที่ ตั้ ง ของวิ ท ยาเขต เป็ น ผลท� ำ ให้ ยั ง ไม่ ส ามารถขั บ เคลื่ อ นให้ วิ ท ยาเขตเกิ ด การพั ฒ นาที่ เ หมาะสมกั บ พื้ น ที่ ตั้ ง ของวิ ท ยาเขตนั้ น ๆ ได้ เนื่ อ งด้ ว ยการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ก รณี เ ฉพาะเรื่ อ งของ วิ ท ยาเขต จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ก ารประมวลข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก เป็ น รายวิทยาเขต การเสนอให้มีกรรมการสภาวิทยาเขต จึงเป็น แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาดังกล่าว
ในข้ อ บั ง คั บ ดั ง กล่ า วได้ ก� ำ หนดให้ ก รรมการสภา วิทยาเขตประกอบด้วย • กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ประธาน กรรมการ • อธิการบดีหรือตัวแทนอธิการบดี กรรมการ • ศาสตราจารย์จากภายนอกมหาวิทยาลัย กรรมการ จ�ำนวนไม่เกิน 4 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมหาวิทยาลัย กรรมการ จ�ำนวนไม่เกิน 4 คน • รองอธิการบดีในวิทยาเขต จ�ำนวน 1 คน กรรมการ • คณบดีในวิทยาเขต จ�ำนวนกลุ่มสาขาวิชาละ 1–2 คน กรรมการ • ผู ้ แ ทนบุ ค ลากรสายวิ ช าการที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ศาสตราจารย์ กรรมการ หรื อ ไม่ ต�่ ำ กว่ า รองศาสตราจารย์ จ�ำนวนไม่เกิน 3 คน • ผู้แทนสภาอาจารย์ที่ด�ำรงต�ำแหน่งศาสตราจารย์ กรรมการ หรือ ไม่ต�่ำกว่ารองศาสตราจารย์ จ�ำนวน 1 คน • ผู้แทนบุคลากรสายสนับสนุน จ�ำนวน 1 คน กรรมการ โดยกรรมการสภาวิ ท ยาเขตมี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ใ นการ ก�ำหนดเป้าหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนการด�ำเนิน งานด้ า นวิ ช าการ และวิ จั ย ของวิ ท ยาเขตให้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวนโยบายของมหาวิ ท ยาลั ย และจุ ด เน้ น ของวิ ท ยาเขต เสนอแนะแนวทางในการจั ด หาเงิ น ทุ น และแหล่ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ ให้ วิ ท ยาเขตด� ำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ พิ จ ารณา ก� ำ หนดทิ ศ ทางนโยบายการมี ห ลั ก สู ต รที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ วิ ท ยาเขตนั้ น ๆ และพิ จ ารณาหลั ก สู ต รการศึ ก ษา การเปิ ด การปรั บ ปรุ ง การยุ บ รวม หรื อ การยกเลิ ก หลั ก สู ต รการ ศึกษา และรายวิชาส�ำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี และ ปริ ญ ญาโท เสนอสภามหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ทราบและทั ก ท้ ว ง และเสนอความเห็ น ต่ อ สภามหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ พิ จ ารณา อนุ มั ติ ส� ำ หรั บ หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาเอก รวมทั้ ง แต่ ง ตั้ ง
กรรมการ อนุกรรมการ คณะบุคคลหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด เพื่ อ ปฏิ บั ติ ง านตามอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการสภา วิ ท ยาเขต และอื่ น ๆ ตามที่ ส ภามหาวิ ท ยาลั ย มอบหมาย และสภามหาวิ ท ยาลั ย ได้ เ ห็ น ชอบให้ ก รรมการสภามหา วิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานกรรมการสภาวิทยาเขต ดังนี้ ส� ำ หรั บ กรรมการคนอื่ น ๆ อยู ่ ร ะหว่ า งด� ำ เนิ น การ ทาบทามและสรรหาซึ่ ง คาดว่ า สามารถจะน� ำ เสนอให้ สภามหาวิ ท ยาลั ย เห็ น ชอบในคราวการประชุ ม ในวั น ที่ 11 พฤษภาคม 2556 เมื่อได้กรรมการสภาวิทยาเขตเรียบร้อย แล้ววิธีปฏิบัติในการพิจารณาหลักสูตรจะปรับเปลี่ยนไปซึ่ง ทางมหาวิทยาลัยจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง แต่จะไม่กระทบ ต่ อ ขั้ น ตอนการท� ำ หลั ก สู ต รภายในคณะหรื อ หน่ ว ยงาน จะ เห็นว่าสภาวิทยาเขตจะช่วยวิทยาเขตในการก� ำหนดจุดเน้น ของวิ ท ยาเขตและการพิ จ ารณาหลั ก สู ต รสามารถท� ำ ได้ รวดเร็ ว ขึ้ น แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามส่ ว นกลางจะต้ อ งสร้ า งระบบ ที่ ส ามารถดู แ ลในภาพรวมของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ไ ด้ แ ละ ท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดมาตรฐานและการก�ำกับเรื่องคุณภาพ รวมทั้งการติดตามและประเมินผล ผมขอจบเรื่ อ งหนั ก ๆ ไว้ แ ค่ นี้ และขอให้ ทุ ก ท่ า นมี ความสุ ข ในวั น หยุ ด เนื่ อ งในเทศกาลสงกรานต์ เติ ม พลั ง ให้ เต็มที่แล้วกลับมาท�ำงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไปนะครับ
5
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
นักศึกษา ม.อ. ได้รับรางวัลการประกวดโครงงาน นักศึกษาสหกิจศึกษาดีเด่น ประจ�ำปี 2555
ง
านพัฒนาการเรียนการสอนและเครือข่ายการศึกษา ศูนย์ สื่ อ การเรี ย นรู ้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด ประชุ ม วิ ช าการ หั ว ข้ อ “Best practice : ผลงานนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา” เมื่อวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2556 ณ ห้องสุริยาศสิน ชั้น 8 โรงแรม ลีการ์เดนส์ พลาซ่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อเผยแพร่ผลงานด้าน สหกิ จ ศึ ก ษาออกสู่สังคมภายนอกให้กว้างขวางขึ้ น ตลอดจนเพื่ อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา องค์กรผู้ ใช้บัณฑิต และนั ก ศึ ก ษา อี ก ทั้ ง เพื่ อ คั ด เลื อ กและตั ด สิ น ผลงานเด่ น ระดั บ เครื อ ข่าย/ระดับชาติ ส�ำหรับงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2556 สหกิจศึกษาเป็นการจัดการเรียนการสอนแนวทางหนึ่งในการพัฒนา ศั ก ยภาพผู ้ เ รี ย น โดยมุ ่ ง เน้ น การจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ ใ นสภาพที่ เป็นจริง ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและองค์กรผู้ใช้ บั ณ ฑิ ต เป็ น การจั ด การเรี ย นการสอนที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม ความสามารถเพื่ อ การ ท�ำงานของบัณฑิต ปัจจุบันสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ได้จัดหลักสูตร สหกิจศึกษาจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งหาก มีเวทีส�ำหรับสถาบันการศึกษาเหล่านั้น ในการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน ทั้งในรูปแบบการจัดโครงการ เพื่อแก้ไข ปัญหาของหน่วยงาน หรือผลปฏิบัติงานประจ�ำของนักศึกษาสหกิจศึกษา อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้รู้และนักศึกษาที่ผ่านประสบการณ์ การเรี ย นการสอนสหกิ จ ศึ ก ษามาก่ อ น ก็ จ ะเป็ น วิ ธี ห นึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยท� ำ ให้ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ค วามเข้ า ใจ และสนใจเข้ า ร่ ว มจั ด หลั ก สู ต รสหกิ จ ศึ ก ษา มากขึ้ น คณะท� ำ งานเครื อ ข่ า ยเชิ ง ประเด็ น สหกิ จ ศึ ก ษาภาคใต้ ต อนล่ า ง
6
จึงได้จัดโครงการประชุม“Best practice : ผลงาน นักศึกษาสหกิจศึกษา” ในครั้งนี้ ขึ้น ผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการ เป็น คณาจารย์ ผู้แทนจากองค์กรผู้ใช้บัณฑิต และนักศึกษาจาก สถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายภาคใต้ตอนล่าง จ�ำนวน 150 คน กิจกรรมมีการบรรยายให้ความรู้ เกี่ ย วกั บ สหกิ จ ศึ ก ษา ในด้ า นสถานศึ ก ษาและ สถานประกอบการ น� ำ เสนอผลงาน best practice นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา และแสดง นิ ท รรศการเกี่ ย วกั บ ผลงานสหกิ จ ศึ ก ษาของ สถาบันการศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิต โดย รศ.ดร.วรวุ ธ วิ สุ ท ธิ์ เ มธางกู ร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่า สั ม พั น ธ์ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า ว เปิดงาน และมอบเกียรติบัตรรางวัลสหกิจศึกษา ดี เ ด่ น ระดั บ เครื อ ข่ า ยจากงานวั น สหกิ จ ศึ ก ษา ไทย ครั้ ง ที่ 4 เมื่ อ วั น ที่ 6 มิ ถุ น ายน 2555 มี การบรรยายเรื่ อ ง “สหกิ จ ศึ ก ษากั บ การพั ฒ นา นั ก ศึ ก ษาสู ่ อ าเซี ย น” โดยวิ ท ยากร ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัย
ศรีปทุม “สถานประกอบการกับการพัฒนานักศึกษา” วิทยากร นายสุมิตร หฤทัยบริรักษ์ หัวหน้าแผนกอาวุโส แผนกทรัพยากร บุคคล บริษัท โชติวัฒน์อุตสาหกรรมการผลิต จ�ำกัด การน� ำ เสนอผลงานสหกิ จ ศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาแต่ ล ะ สถาบั น (Best practice) ตามสาขาฯ และวิ ท ยากรวิ พ ากษ์ ผลงานนั ก ศึ ก ษา วิ ท ยากรวิ พ ากษ์ ได้ แ ก่ ผศ. อั จ ฉราพร โชติ พ ฤกษ์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ผศ.ดร.สุ พั ต รา เดวิ สั น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รศ.มนั ส อนุ ศิ ริ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา อาจารย์มณฑิรา เอียดเสน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อาจารย์ ม ณี รั ต น์ รั ต นพั น ธ์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ นายนันทชัย ทองเกียรติ บริษัทแมนเอ โฟรสเซ้ น ฟู ๊ ด จ� ำ กั ด และ นายสุ มิ ต ร หฤทั ย บริ รั ก ษ์ บริ ษั ท โชติวัฒน์อุตสาหกรรมการผลิต จ�ำกัด ผลการพิจารณาคัดเลือกและตัดสินโครงงานนักศึกษา สหกิจศึกษาดีเด่น ประจ�ำปีการศึกษา 2555 ระดับ เครือข่าย ของเครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคใต้ตอนล่าง จ�ำนวน 4 ด้าน มีดังนี้ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โครงงาน เรื่ อ ง การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน กระบวนการตั ด แต่ ง ชิ้ น ส่ ว นสุ ก ร Efficiency Improvement in Swine Cutting Up Process. โดย น.ส.จิรันดา เบญจปัญญาวงศ์ นั ก ศึ ก ษา คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ โครงงานเรื่ อ ง เครื่ อ งส่ ง ไฟสภาวะเหลื อ ง phototherapy lamp โดย นายธีระพันธ์ อันตรเสน และนายนราวิชญ์ เพชรไพศาล นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ โครงงานเรื่อง ระบบ ขายบัตรก�ำนัลส่วนลด โดย นายจิรวัฒน์ ทองใหญ่ มหาวิทยาลัย หาดใหญ่ รางวัลชมเชย 2 รางวัล ได้แก่ โครงงานเรื่อง Job assignment for Information Technology with dot Project version 2.2.0 โดย นายสุ เ มธ สุ ภั ค ศิ ริ ป ระสาน นั ก ศึ ก ษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และ โครงงานเรื่อง สห กิจศึกษา บริษัท เอชพีเอส อินเทลลิเจนซ์ จ�ำกัด โดย นายอัมมาร์ ล่านุ้ย และ นายอักษรศิลป์ ศิริยุวสมัย นักศึกษา คณะเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการจัดการ รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โครงงานเรื่อง การผลิตสารคดี เชิงข่าววิทยุกระจายเสียงเติมเต็มรอยยิ้มให้ทางเลือกใหม่ โดย น.ส.สุวดี ศรีสมบูรณ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ โครงงานเรื่อง ชุมชน รัฐ ทุน ในอ่าวปากบารา โดย นางสาวสุกัญญา หมาดหยัน นาย จิรนนท์ เสียมไหม นายบุญเลิศ เตี้ยเล็ก และนายอนุชา มะหมัด นักศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 2 ได้ แ ก่ โครงงานเรื่ อ ง ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแสงสว่างในส�ำนักงานเพื่อการประหยัด พลั ง งาน Improvement The Lightiog System At Office To Be High Energy Efficiency โดย นายณรงค์ศักดิ์ สังข์ทอง นั ก ศึ ก ษา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย สงขลา รางวัลชมเชย 1 รางวัล ได้แก่ โครงงานเรื่อง “การประยุกต์ โปรแกรมพื้นฐานสู่การพัฒนาคู่มือการค�ำนวณ ค่าเสื่อม ครุภัณฑ์ของโรงพยาบาลป่าตอง อ�ำเภอกระทู้ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ” โดย นางสาวกานต์ ป รี ย า ค� ำ ทอง นั ก ศึ ก ษาคณะมนุ ษ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษา รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โครงงาน เรื่อง การลดการผลิตสารสีน�้ำตาล จากเนื้ อ เยื่ อ กล้ ว ยตานี โ ดยการใช้ กรดชนิ ด ต่ า งๆ โดย น.ส.พรทิ พ ย์ แสงศิลป์ นักศึกษาจากคณะทรัพยากร ธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 โครงงานเรื่ อ ง วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอันตรายจากไฟฟ้าช็อตที่ได้รับผลกระทบ จาก การเกิดอุทกภัย โดย นายธวัชชัย อินทสระ และนายอ�ำพล หลั ก จิ ต ตโร นั ก ศึ ก ษา คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ด้านสหกิจศึกษานานาชาติ รางวั ล ชนะเลิ ศ ได้แก่ โครงงานเรื่อง “Employment Tendency of Thai Labour in the Sultanate of Oman” By Mr.Abdulhakim Dueramaeng & Mr.Abdulrahim Dasing International Relations Major, Faculty of Political Science Prince of Songkla University Pattani Campus รางวั ล รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 1 ได้ แ ก่ โครงงานเรื่ อ ง Roles and Functions of Thai Consulate in Malaysia โดย น.ส. รีนา เจ๊ะดอเลาะ นักศึกษา วิทยาลัยนานาชาติดิษยะศริน มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
7
วิจัย
ม.อ. ขยายผลงานวิจัยระบบบ่อหมักร่วม
ไร้อากาศผลิตก๊าซชีวภาพ แก้ปัญหาน�้ำเสีย จากการผลิตยางแผ่นรมควัน
“
จากความส�ำเร็จในการขยายการ วิจัยดังกล่าว สถาบันวิจัยระบบ พลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ จึงได้ขอการสนับสนุน จากกองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน ส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง พลังงาน ในครั้งนี้ มีเป้าหมาย ก่อสร้างและติดตั้งระบบผลิตก๊าซ ชีวภาพจากน�้ำเสียจากการท�ำยาง แผ่นรมควัน 5,000,000 กิโลกรัม ต่อ ปี
”
8
ม.อ.
ขยายผลงานวิ จั ย ระบบบ่ อ หมั ก ร่ ว มไร้ อ ากาศผลิ ต ก๊ า ซ ชี ว ภาพ แก้ ป ั ญ หาน�้ ำ เสี ย จากการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของกระทรวงพลั ง งาน และ สหกรณ์ ก องทุ น สวนยาง สถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดพิธี ส่งมอบสั ญ ญารั บ การสนับ สนุ นสร้ า งระบบผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพในสหกรณ์ กองทุนสวนยาง ระยะที่ 1 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2556 ณ ห้องสงขลา โรงแรม หรรษา เจ บี หาดใหญ่ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธีรวัฒน์ หังสพฤกษ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นประธานส่งมอบสัญญาโครงการส่งเสริมสาธิตการผลิตก๊าซชีวภาพ ดังกล่าว ให้กับ นายสิทธิโชติ วันทวิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายอนุรักษ์ พลั ง งานและพลั ง งานทดแทน เพื่ อ รั บ การสนั บ สนุ น โครงการฯ จาก กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (สพน.) กระทรวงพลังงาน ส�ำหรับ การสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ของสหกรณ์กองทุนสวนยางที่เข้าร่วม โครงการฯ หวั ง ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ก ๊ า ซชี ว ภาพ ในการจั ด การน�้ ำ เสี ย และ เป็ น พลั ง งานทดแทนในการผลิ ต ยางแผ่ น รมควัน ลดต้นทุนการผลิต และการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
นายวิ โ รจน์ จิ ร ะวั ฒ น์ ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ย ฝ่ า ยพั ฒ นาสวน สงเคราะห์ ส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง (สกย.) กล่าว ขอบคุ ณ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และ กระทรวงพลั ง งาน ที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น ให้ ก ารด� ำ เนิ น งานของ สกย. ก้ า วหน้ า ไปอี ก ขั้ น หนึ่ ง ในแง่ของการใช้ก๊าชชีวภาพจากบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย ลดต้นทุนการผลิต รวมทั้งร่วมส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อีกทั้งกลุ่มเกษตรกรได้รับ ความรู ้ และขอเป็ น ก� ำ ลั ง ใจให้ ก ลุ ่ ม สหกรณ์ ที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ ก เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ประสบความส� ำเร็จ มีการต่อยอด พัฒนา ความก้าวหน้า ส่งเสริมนโยบายการด�ำเนินงานและการเพิ่มประสิทธิภาพ ของสหกรณ์ในอนาคต จากปัญหาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ของสหกรณ์โรงอบ / รมยาง ใน การผลิตแผ่นรมควัน ท�ำให้เกิดกลิ่นเหม็น และน�้ำทิ้งดังกล่าวไม่ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานน�้ำทิ้งของกรมโรงงานอุตสาหกรรม รศ.ดร. สุเมธ ไชยประพัทธ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ในฐานะ ผู้อ�ำนวยการโครงการฯ ได้ น�ำผลการวิจยั ระบบบ่อหมัก ร่วมไร้อากาศแบบแผ่นคลุม ประยุ ก ต์ มาใช้ ป รั บ ปรุ ง ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย เพื่ อ แก้ไขปัญหาดังกล่าว ให้กับ สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางบ้ า นเก่ า ร้ า ง จ� ำ กั ด ต.คลองหอยโข่ ง อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา โดยการผลิตก๊าซชีวภาพจากน�้ ำเสียของ สหกรณ์ ผ ลิ ต ยางแผ่ น รมควั น แก้ ป ั ญ หาการจั ด การน�้ ำ เสี ย และ วั ส ดุ อิ น ทรี ย ์ ข องสหกรณ์ ผ ลิ ต ยางแผ่ น รมควั น อี ก ทั้ ง เป็ น พลั ง งาน ทดแทนในการผลิ ต ยางแผ่ น รมควั น แทนการใช้ ไ ม้ ฟ ื น ลดต้ น ทุ น เชื้ อ เพลิ ง ในการผลิ ต ลดปั ญ หากลิ่ น เหม็ น จากการปล่ อ ยน�้ ำ เสี ย รบกวนต่อชุมชน และ ส่งเสริมการเรียนรู้และตระหนักถึงคุณค่าของ พลั ง งานทดแทนให้ กั บ กลุ ่ ม เกษตรกรผ่ า นกลุ ่ ม สหกรณ์ ที่ ส ามารถ เป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนได้ สามารถน� ำมูลสัตว์หรือวัสดุอินทรีย์มา เติมในระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศ เพื่อหมักร่วมกับน�้ำเสียเพิ่มอัตรา การผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถน�ำไปใช้ครัวเรือนได้ จากความส� ำเร็จในการขยายการวิจัยดังกล่า ว สถาบั น วิ จั ย ระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้ขอการสนับสนุน จากกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ส� ำ นั ก งานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ในครั้งนี้ มีเป้าหมายก่อสร้าง และติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต ก๊ า ซ ชี ว ภาพจากน�้ ำ เสี ย จาก การท� ำ ยางแผ่ น รมควั น 5,000,000 กิโลกรัม ต่อ ปี หรือ ประมาณ 10 สหกรณ์ สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ สู ง สุ ด ประมาณ 105,000
ลูกบาศก์เมตรต่อปี และคาดว่าสามารถน�ำไปทดแทน ไม้ฟืนที่ใช้ในการรมควันยางได้ถึง 2 ล้านกิโลกรัม / ปี ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงได้ถึง 800 ตัน / ปี สหกรณ์ ก องทุ น สวนยางที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ ก เข้าร่วมโครงการฯ ระยะที่ 1 นี้ มี จ�ำนวน 10 สหกรณ์ โดยเป็ น กลุ ่ ม สหกรณ์ ในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ตรั ง พั ท ลุ ง สตุ ล และ สงขลา ได้ รั บ การสนั บ สนุ น การก่อสร้างระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศ จากกองทุน ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ส� ำ นั ก นโยบายและ แผนพลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน และ สหกรณ์ กองทุ น สวนยาง ทั้ ง นี้ เ งิ น สมทบค่ า ก่ อ สร้ า งขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพพื้ น ที่ ข องสหกรณ์ อี ก ทั้ ง ได้ รั บ การอบรม ด้านเทคโนโลยี การบริหารจัดการ การควบคุมดูแล ระบบ แก่ ก ลุ ่ ม ตั ว แทนสหกรณ์ ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ
9
ความร่วมมือ/ชุมชน
ผศ.ดร.ศรีสมภพ อาจารย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เจรจาของรัฐบาลไทย โดย พล.ท.ภราดร กับฝ่ายขบวนการ บีอาร์เอ็น ที่น�ำโดย นายฮัสซัน ตอยิบ แกนน�ำขบวนการบีอาร์เอ็น เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2556 ที่รัฐกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อที่จะให้ผู้น� ำศาสนา และประชาชนที่เข้าร่วมการสัมมนาครั้งนี้รับทราบ
“ผศ.ดร.ศรีสมภพ”
เผยบรรยากาศรัฐบาลไทยเจรจา BRN นักงานคณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดปัตตานี ร่ ว มกั บ ศู น ย์ อ� ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ (ศอ.บต.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จัด “สัมมนา เพื่ อ สร้ า งความปรองดองและสั น ติ ภ าพในจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ” เมื่ อ วั น ที่ 30 มี น าคม 2556 ที่ ห ้ อ งประชุ ม เล็ ก มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยมี พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิ ก ารสภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ (สมช.) ร่ ว มด้ ว ย พล.อ.นิพัทธ์ ทองเล็ก รองปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง เลขาธิการศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ (ศอ.บต.) และ ผศ.ดร.ศรี ส มภพ จิ ต ร์ ภิ ร มย์ ศ รี ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ฝ้ า ระวั ง สถานการณ์ ภ าคใต้ และมี ผู ้ น� ำ ศาสนาและประชาชนทั้งไทยพุทธ และมุสลิมในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ เข้าร่วมประมาณ 300 คน พ.ต.อ.ทวี ได้ ใ ห้ ผศ.ดร.ศรี ส มภพ จิ ต ร์ ภิ ร มย์ ศ รี ได้ เ ล่ า ถึ ง บรรยากาศของพู ด คุ ย กั น ระหว่ า งคณะเจรจาของ รัฐบาลไทย ที่น�ำโดย พล.ท.ภราดร กับฝ่ายขบวนการบีอาร์เอ็น ที่น�ำโดย นายฮัสซัน ตอยิบ แกนน�ำขบวนการบีอาร์เอ็น เมื่อ วันที่ 28 มีนาคม 2556 ที่รัฐกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เพื่อที่จะให้ผู้น�ำศาสนาและประชาชนที่เข้าร่วมการสัมมนา ครั้งนี้รับทราบถึงบรรยากาศของการพูดคุย ผศ.ดร.ศรีสมภพ เล่าถึงบรรยากาศของการพูดคุยการ พูดคุยครั้งนี้ว่า คณะเจรจาของฝ่ายไทยประกอบด้วย 9 คน เป็นตัวแทนจากหน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าทหาร ต�ำรวจ ฝ่าย ปกครอง จ� ำ นวน 6 คน และตั ว แทนจากภาคประชาสั ง คม จ�ำนวน 2 คน ส่วนฝ่ายขบวนการ มีตัวแทนที่มาเจรจาในครั้ง นี้จ�ำนวน 6 คน โดยเป็นตัวแทนที่มาจากขบวนการบีอาร์เอ็น จ� ำ นวน 5 คน และตั ว แทนของพู โ ล (PULO) 1 คน “การพูดคุยครั้งนี้เป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับผม เพราะไม่เคย มีประสบการณ์อย่างนี้มาก่อน ผมมีความรู้ ในเรื่องทฤษฎี
10
เท่านั้น สิ่งที่ประทับใจคือ ทางรัฐบาลมาเลเซียมีการเตรียม ความพร้อมเป็นอย่างดี ทั้งการจัดเวที การจัดกระบวนการ พูดคุย ตลอดจนสถานที่การประชุมก็มีความลึกลับซับซ้อน กว่ า จะเข้ า ไปถึ ง รถต้ อ งวนกั น หลายรอบ ประธานในที่ ประชุมเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในการจัดประชุมลักษณะนี้ ท� ำ ให้ บ รรยากาศในการพู ด คุ ย เป็ น บรรยากาศที่ ไ ปด้ ว ยดี มีความเป็นมิตรต่อกัน ไม่ได้ตึงเครียดแต่อย่างใด” อ.ศรี ส มภพ เล่ า ต่ อ ว่ า ในช่ ว งเช้ า มี ก ารพู ด คุ ย กั น ใน เรื่ อ งของเงื่ อ นไขข้ า งต้ น หรื อ TOR ในประเด็ น ว่ า จะมี ก าร จั ด กระบวนการพู ด คุ ย อย่ า งไร พู ด ถึ ง เรื่ อ งของสมาชิ ก ที่ เ ข้ า ร่วมในการพูดคุยอย่างไร การประสานงานทั้ง 2 ฝ่าย จะท�ำ กันอย่างไร ต่อด้วยการพูดถึงประเด็นการขอความคุ้มครอง ทางกฎหมาย หรื อ หลั ก ประกั น การคุ ้ ม ครองทางกฎหมาย ส�ำหรับตัวแทนของฝ่ายขบวนการที่จะออกมาพูดคุยกัน โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ส� ำ หรั บ บุ ค คลที่ มี ห มายจั บ ตามประมวล กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความอาญา (ป.วิ อ าญา) หรื อ ตาม หมายพระราชก� ำ หนดการบริ ห ารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (หมาย ฉฉ.) ว่าจะท�ำอย่างไรในเรื่องนี้ เพื่อ ความสะดวกในการด� ำ เนิ น การในระหว่ า งที่ มี ก ารเจรจากั น ในช่ ว งบ่ า ย ใช้ เ วลาในการพู ด คุ ย กั น นานมาก ตั้ ง แต่ เวลา 14.00 น. จนถึ ง ช่ ว งค�่ ำ เริ่ ม ด้ ว ย พ.ต.อ.ทวี เ สนอต่ อ ฝ่ายการขบวนการบีอาร์เอ็น จ�ำนวน 3 ข้อ คือ 1.ท�ำอย่างไร ที่ จ ะให้ ค วามรุ น แรงลดลง โดยเฉพาะความรุ น แรงต่ อ เด็ ก สตรี ครู พระ และผู้หญิง 2.ท�ำอย่างไรที่หลีกเลี่ยงการก่อเหตุ ในเขตเมื อ ง เขตชุ ม ชน และเขตเศรษฐกิ จ เพราะจะท� ำ ให้ คนบริสุทธิ์ได้รับผลกระทบด้วย 3.สร้างความเชื่อมั่นโดยการ มาร่วมกันช่วยหาสาเหตุของความรุนแรง “ในช่วงนี้เป็นส่วนที่ ใช้เวลามากที่สุดในการพูดคุย โดย ตัวแทนขบวนการบีอาร์เอ็นกล่าวว่า ปัญหารากเหง้าของ
ความขัดแย้ง และความรุนแรงที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เป็นความผิดของ ขบวนการบีอาร์เอ็นอย่างเดียว แต่จะต้องพูดถึงว่ารัฐไทย ก็ เ ป็ น เงื่ อ นไขที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความรุ น แรง ตั ว แทนขบวนการ บี อ าร์ เ อ็ น ได้ ร ะบายความรู ้ สึ ก สะเทื อ นใจที่ รั ฐ ไทยกระท�ำ ต่ อ พี่ น ้ อ งประชาชนมลายู ป าตานี ตั้ ง แต่ อ ดี ต เช่ น กรณี ข อง นายหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ กรณีเหตุการณ์กบฏดุซงญอ เมื่ อ 2491 กรณี เ หตุ สั ง หาร 6 ศพที่ ส ะพานกอตอเมื่ อ ปี 2518 เหตุการณ์ประท้วงที่ปัตตานีเมื่อปี 2518 เหตุการณ์ ตากใบ เมื่อปี 2547 เหตุการณ์กรือเซะ เมื่อปี 2547 เป็นต้น” อ.ศรี ส มภพ กล่ า วว่ า ในการระบายและสะท้ อ น ความรู ้ สึ ก สะเทื อ นใจต่ อ ชะตากรรมของชาวมลายู ป าตานี ที่ ต ้ อ งถู ก รั ฐ ไทยกระท� ำ ในเหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ ของตั ว แทน ขบวนการบี อ าร์ เ อ็ น เป็ น ด้ ว ยความตึ ง เครี ย ด โดยพู ด ด้ ว ย ภาษามลายูถึงความรู้สึกเจ็บปวด เจ็บช�้ำ อัดอั้น สะเทือนใจ โดยระหว่างการบอกเล่านั้น ผู้พูด และเพื่อนร่วมคณะไม่อาจ กลั้ น น�้ ำ ตาในสิ่ ง ที่ ไ ด้ บ อกเล่ า และได้ ยิ น กระทั่ ง ผู ้ เ ล่ า ได้ ร้ อ งไห้ โ ฮต่ อ หน้ า ที่ ป ระชุ ม และต้ อ งออกนอกห้ อ งประชุ ม เพื่อระงับอารมณ์ความรู้สึกจึงสามารถเข้าร่วมพูดคุยได้ “การแสดงความรู้สึกนี้ผมคิดว่าเป็นความรู้สึกที่แ ท้ จริงของเขา เป็นความรู้สึกของนักต่อสู้ปาตานีที่ต้องการ ต่อสู้เพื่อประชาชนของเขา ความรู้สึกเจ็บปวดที่เคยถูกกระท�ำ จากรัฐในอดีต โดยที่คณะเจรจาของฝ่ายไทยทุกคนรับฟัง อย่างสงบ ไม่มีการตอบโต้กันแต่อย่างใด ทุกคนมีความตั้งใจ ที่จะรับฟังกันถึงความเจ็บปวดของพี่น้องประชาชนปาตานี” ทางด้าน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง เลขาธิการ ศอ.บต. ได้ ชี้แจงถึงการด�ำเนินการของรัฐบาลที่ผ่านมา ในการแก้ปัญหา ต่างๆ ต่อประชาชนในพื้นที่ เช่น การเยียวยาต่อผู้สูญเสียจาก เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบอย่ า งเต็ ม ที่ การเปิ ด พื้ น ที่ ส นั บ สนุ น ด้านวัฒนธรรม ภาษา โดยการเปิดสถานีโทรทัศน์ภาษามลายู รวมทั้งการแก้ปัญหาเรื่องของความยุติธรรมต่อประชาชนใน พื้นที่ ตลอดจนการออกมาตรการต่างๆ ไม่ให้เจ้าหน้าที่ของ รั ฐ ไปท� ำ ร้ า ยประชาชน เป็ น ต้ น ส่ ว นเรื่ อ งของเหตุ ก ารณ์ ใ น อดีต เช่น กรณีหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ กรณีเหตุการณ์กบฏ ดุซงญอ เป็นต้น เป็นเรื่องที่ทางเจ้าหน้าที่ของรัฐที่นั่งอยู่ที่นี้ ไม่ได้อยู่ในช่วงนั้น จึงไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ “เมื่อมาถึงจุดนี้ ผมเองในฐานะที่เป็นนักวิชาการ หรือ ตัวแทนภาคประชาชนที่เข้าไปร่วมในกระบวนการนี้ พยายาม ที่ จ ะพู ด ให้ เ ห็ น ว่ า ผมมี ค วามเข้ า ใจต่ อ ความรู ้ สึ ก ของฝ่ า ย ขบวนการบี อ าร์ เ อ็ น หรื อ ต่ อ พี่ น ้ อ งมลายู ป าตานี เพราะ ผมมี ค นรู ้ จั ก ในพื้ น ที่ และมี ลู ก ศิ ษ ย์ ที่ เ ป็ น ชาวมลายู ห ลาย คน และมี ค วามรู ้ สึ ก ในความเจ็ บ ปวดต่ า งๆ ขณะเดี ย วกั น ผมชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ความเจ็ บ ปวดที่ เ กิ ด ขึ้ น ในปั จ จุ บั น นี้ ไม่ ใ ช่ มี เฉพาะคนมลายู อ ย่ า งเดี ย ว เพราะเหตุ ก ารณ์ ค วามรุน แรง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ มี ผู ้ ที่ เ สี ย ชี วิ ต แล้ ว กว่ า 5,500 คน บาดเจ็ บ เป็ น หมื่ น คน คนที่ เ สี ย ชี วิ ต มี ทั้ ง ทหาร ต� ำ รวจ ไทยพุ ท ธ
มุ ส ลิ ม และประชาชนผู ้ บ ริ สุ ท ธิ์ ดั ง นั้ น ความเจ็ บ ปวดจาก เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบในพื้ น ที่ เป็ น ความเจ็ บ ปวดของ ทุ ก ฝ่ า ย เราไม่ อ ยากที่ จ ะให้ ค นในพื้ น ที่ เ สี ย ชี วิ ต มี จ� ำ นวน มากกว่ า นี้ เรามี ห นทางหาทางออกกั น หรื อ ไม่ ใ นตอนนี้ ” ในการพู ด คุ ย ในครั้ ง นี้ ขบวนการบี อ าร์ เ อ็ น เสนอว่ า รั ฐ ต้องแสดงให้เห็นถึงรูปธรรมที่ชัดเจนในเรื่องของการให้ความ ยุติธรรมต่อพี่น้องประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะในเรื่องกฎหมาย และต่ อ ผู ้ ต ้ อ งหาในคดี ท างการเมื อ ง ซึ่ ง ทางฝ่ า ยขบวนการ บี อ าร์ เ อ็ น รั บ จะพิ จ ารณาเรื่ อ งของการลดการก่ อ เหตุ ก ารณ์ ความรุนแรง โดยจะน�ำเรื่องนี้เข้าไปพิจารณาในสภาของเขา แต่ยังไม่สามารถที่จะพูดคุยในรายละเอียดได้ เนื่องจากเวลา ไม่เพียงพอ จึงมีการนัดให้มีการพูดคุยกันอีกครั้งในวันที่ 29 เมษายน 2556 โดยมีการฝากการบ้านแก่ทั้ง 2 ฝ่ายว่า ทางฝ่าย รั ฐ ไทยรับ ที่จ ะไปด�ำเนินการในเรื่อ งของความยุติธรรม ส่วน ขบวนการบีอาร์เอ็นท�ำอย่างไรที่จะท�ำให้ความรุนแรงลดลง “การพูดคุยครั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่า ทางฝ่ายขบวนการ บีอาร์เอ็นมาในฐานะตัวแทนองค์กร หรือตัวแทนจากสภาซึ่ง เป็นองค์กรน�ำของขบวนการ ไม่ ใช่มาในนามส่วนตัว ดังนั้น หากจะมีข้อตกลงอะไรกับรัฐไทย จึงต้องเป็นข้อตกลงที่ผ่าน มติของสภาของเขา โดยองค์กรต่างๆ ทุกระดับต้องรับทราบ ส�ำหรับประเด็นที่วิตกกังวลว่า การพูดคุยครั้งนี้จะแก้ปัญหา ความรุนแรงได้จริงหรือไม่ คงมีหลักประกันมากพอสมควร ว่า ครั้งนี้เป็นการพูดคุยในนามองค์กร หรือเป็นกลไกที่เรามี ความเชื่อมั่นว่าน่าจะเป็นตัวช่วยในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้” อ.ศรี ส มภพ กล่ า วอี ก ว่ า ในช่ ว งท้ า ยของการพู ด คุ ย ตนมีความประทับใจในค�ำพูดของทั้ง 2 ฝ่าย โดยนายฮัสซัน ตอยิ บ ได้ พู ด ว่ า ขอขอบคุ ณ ที่ ท างรั ฐ ไทยรั บ ฟั ง ความรู ้ สึ ก เจ็บปวดของนักสู้ปาตานี แม้ว่าจะมีปัญหาบ้างในกระบวนการ สร้างสันติภาพก็ตาม เราจะพยายามหาทางออกให้ได้ ส่วน พล.ท.ภราดร กล่ า วว่ า ความส� ำ เร็ จ ในวั น นี้ คื อ การได้ รั บ รู ้ ความจริงใจระหว่างทั้ง 2 ฝ่าย ซึ่งเป็นโอกาสที่จะให้มีการพูดคุย ต่ อ ไป ดั ง นั้ น การพู ด คุ ย ครั้ ง ต่ อ ไปต้ อ งดี ขึ้ น เมื่ อ รั บ ทราบ ความรู้สึกของทั้ง 2 ฝ่ายด้วยความจริงใจ
(ที่มา สมิหลาไทม์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 562 ประจ�ำวันที่ 6 -12 เมษายน 2556 น.20)
11
บริการวิชาการ
ประสบการณ์ 12 ปี “ศูนย์โรคหัวใจ” โรงพยาบาล ม.อ.ได้งบ 140
ล้ า นบาท พร้ อ มทั้ ง เครื่ อ งมื อ และบุ ค ลากรที่ เ ชี่ ย วชาญ “นพ.นพดล ช�ำนาญผล” เผยศักยภาพดูแลรักษาครอบคลุมทุกด้าน ติดอันดับ 1 – 2 ใน ประเทศและได้มาตรฐานนานาชาติ ขณะที่ผู้ป่วยโรคหัวใจพุ่งสูง 5 เดือน ที่ผ่านมา พบแล้วกว่าพันราย ด้วยเป็นโรคที่ต้องรักษาทันท่วงที จึงเปิด บริการ 24 ชั่วโมง และพร้อมให้บริการผู้ที่สงสัยว่าจะเป็น
“โรคหัวใจ” พุ่ง
รพ.มอ. พบ 5 เดือนทะลุพันราย นพ.นพดล ช�ำนาญผล ผู้อ�ำนวยการศูนย์โรคหัวใจ ต�ำแหน่ง อาจารย์ ห น่ ว ยโรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด เผยว่ า ศู น ย์ โ รคหั ว ใจ นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ มี ก ารตั้ ง ตามพระนามของสมเด็ จ พระเจ้ า พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2544 ด้ ว ยการสนั บ สนุ น ของส� ำ นั ก งานสลาก กิ น แบ่ ง รั ฐ บาลให้ ง บประมาณจ� ำ นวน 140 ล้ า นบาท ท� ำ ให้ โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ ส ามารถจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นโรคหั ว ใจได้ อ ย่ า งครบวงจร อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น ศู น ย์ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในภาคใต้ ซึ่งตอนนี้จ�ำนวนคนไข้โรคหัวใจตั้งแต่ช่วงเดือนตุลาคม 2555 จึงถึงเดือนมีนาคม 2556 มีจ�ำนวนคนไข้แล้วกว่า 1,121 คน ในช่วง ของ 5 เดื อ นที่ ผ ่ า นมา ถื อ ว่ า เป็ น จ� ำ นวนตั ว เลขเยอะพอสมควร และเครื่องมือที่ใช้ตรวจโรคและรักษาโรคของศูนย์ที่นี่ถือว่าได้รับ มาตรฐานระดั บ นานาชาติ ที่ ส ามารถครอบคลุ ม ได้ ห มดทุ ก ด้ า น และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์เป็นโรงพยาบาลแรกในประเทศ ที่ได้รับคุณภาพการรักษาคนไข้โรคหัวใจเส้นเลือดอุดดัน ซึ่ ง ศู น ย์ โ รคหั ว ใจนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ไ ด้ เ ติ บ โตมาตลอด โดยที่เราเริ่มท�ำการรักษาโรคที่เรียกว่า “หัตถการ” เป็นการรักษา ที่ มี วิ ธี ส ลั บ ซั บ ซ้ อ นมาก เริ่ ม แรกนั้ น จะรั ก ษาที่ จ� ำ กั ด เฉพาะโรค จนพั ฒ นามาจนเรื่ อ ยๆ เมื่ อ ครบปี ที่ 11 เราสามารถให้ ก ารรั ก ษา โรคหัวใจได้อย่างครอบคลุมทุกด้าน เท่าที่ประเทศนี้ทำ� ได้ ในปัจจุบัน ระดั บ นานาชาติ เ ราเองก็ ท� ำ ได้ ปริ ม าณคนไข้ ใ นปี ห นึ่ ง ๆ เกื อ บ 2 พั น กว่ า ราย ซึ่ ง ในการท� ำ อั ล ตราซาวด์ หั ว ใจ ตรวจรั ก ษาโรคปี หนึ่งๆ จะมีคนไข้ประมาณ 5-6 พันราย ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงมาก สิ่ ง ที่ เ ราอยากให้ ท� ำ มากที่ สุ ด คื อ การประชาสั ม พั น ธ์ ศู น ย์ โรคหั ว ใจนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ เ พราะยั ง มี ค นไข้ อี ก หลายคน
12
ยังไม่ทราบว่าในภาคใต้ของเรามีศูนย์นี้ เป็นปัญหาอีกส่วนหนึ่งของ โรงพยาบาลรัฐบาลที่ไม่ได้มีช่องทางการประชาสัมพันธ์ได้อย่าง ทั่วถึง ท�ำให้คนไข้ไปไม่ถึงแหล่งการศึกษาหรือแม้แต่แพทย์บางคน ที่ไม่ได้จบจาก ม.อ. ก็ยังไม่ทราบว่าโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ท�ำอะไรได้บ้างในการรักษาโรคหัวใจ ซึ่งศูนย์ของเราสามารถรักษา โรคหัวใจในการฉีดสีเข้าไปในหลอดเลือดหัวใจได้ปีหนึ่งๆ จ� ำนวน กว่า 2 พันกว่าราย และการท�ำบอลลูนโรคหัวใจ ถือว่าเราติดอันดับ 1-2 ประเทศของการรักษาโรคหัวใจในลักษณะนี้ก็ว่าได้ การรักษาโรคหัวใจที่มีศูนย์การรักษาแบบเครื่องมือครบวงจร นั้ น เราถื อ ว่ า เรามี อ ยู ่ ที่ เ ดี ย วในภาคใต้ เช่ น เครื่ อ งกรอหิ น ปู น ใน เส้นเลือด เครื่องวัดความดันในเส้นเลือด เครื่องอัลตราซาวด์ดูขนาด เส้นเลือด ซึ่งถือว่าโรงพยาบาลเอกชนแทบจะไม่มี หรือมีก็อาจจะ ไม่ได้ใช้เพราะเครื่องมือพวกนี้มีราคาค่อนข้างสูง แต่ในโรงพยาบาล คนไข้ที่มีสิทธิ์ของข้าราชการ ประกันสังคม และที่มีสิทธิ์รักษาสุขภาพ ถ้ ว นหน้ า ที่ มี สิ ท ธิ์ ไ ด้ เ ข้ า รั บ การรั ก ษาด้ ว ยเครื่ อ งมื อ พวกนี้ ไ ด้ ต าม ความเหมาะสมทุ ก คน ไม่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด และมี ข ้ อ บ่ ง ชี้ ข องคน คนไข้ ที่ เ ข้ า มารั ก ษาที่ อ ยู ่ ใ นประเทศเหมื อ นกั บ การรั ก ษาต่ า งประเทศ ท�ำให้เรามีปัญหาในเรื่องของประชาสัมพันธ์แก่ประชาชน หรือคนไข้ บางคนยังเข้าใจว่าการเสียเงินรักษาเป็นการรักษาที่ได้ข้อดีจริงๆ แล้ ว ปั จ จุ บั น เครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ที่ เ ราน� ำ มารั ก ษาคนไข้ นั้ น เรามี ประสิ ท ธิ ภ าพดี ก ว่ า โรงพยาบาลเอกชนทั่ ว ไป และเป็ น เครื่ อ งมื อ อุปกรณ์ระดับนานาชาติ ในเรื่องของบุคลากรที่มารักษาคนไข้นั้น เรามีบุคลากรที่เรียน มาเฉพาะทาง ตามโรงพยาบาลอื่นๆ บางแห่งจะไม่มีหมอจบเฉพาะ ทางมาเหมือนที่นี่อย่างเช่น ในเรื่องของการรักษาโรคหัวใจ เรามี บุคลากรที่ไม่ได้จบแค่อายุรศาสตร์มาอย่างเดียว มีการต่อสาขาย่อย ของอายุรศาสตร์ ไม่มีโรงพยาบาลเอกชนในภาคใต้ที่ไหนมีบุคลากร
เช่ น นี้ จะมี เ พี ย งหมอที่ จ บอายุ ร ศาสตร์ ม าเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ไม่ ว ่ า จะเป็นในเรื่องของการท�ำบอลลูนเส้นเลือดหัวใจ สาขาย่อยรักษา คลื่นไฟฟ้าวงใจหรือวงจรไฟฟ้าหัวใจที่ผิดปกติ การใส่เครื่องกระตุ้น หัวใจก็จะเป็นสาขาย่อยลงไปอีก โดยท�ำได้ในเฉพาะโรงพยาบาล ของรัฐเท่านั้น คุณภาพของการรักษาโรคของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์นั้น เราเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในประเทศด้วยซ�้ำ ในเรื่องของการรักษา โรคหัวใจเส้นเลือดอุดตันเฉียบพลัน ซึ่งเป็นกรณีของคนไข้ที่เข้ามา รักษาแบบฉุกเฉิน โดยเป็นการรักษาที่ไม่ต้องใช้ยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งมีข้อมูลทางการวิจัยพบว่า ถ้าหมอสามารถท�ำบอลลูนได้เดี๋ยวนั้น คนไข้จะได้ผลดีกว่ายาละลายลิ่มเลือด ท� ำให้เราได้มีการเปิดท� ำ โดยเปิด 24 ชั่วโมง และการท�ำบอลลูนจะต้องเป็นการรักษาที่เร่งด่วน และใช้เวลาค่อนข้างเร็ว มีการจับเวลาตั้งแต่คนไข้เข้ามาในประตูห้อง ซึ่งเราเป็นแหล่งแรกๆ ของการท�ำการรักษาโรคในลักษณะนี้ และเรา ยังท�ำก่อนโรงพยาบาลใหญ่ๆ ในกรุงเทพฯ อีกด้วย นอกเหนื อ จากนั้ น โรคหั ว ใจเส้ น เลื อ ดอุ ด ตั น เฉี ย บพลั น หรื อ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เราได้รางวัล “HA” คือรางวัล THIP : Thailand Hospital Indicater Project เป็นการเก็บข้อมูลดูอัตรา การเสียชีวิตของโรคร้ายแรงในประเทศไทย โดยศูนย์ของเราเป็นศูนย์ ที่ มี อั ต ราของคนไข้ โ รคหั ว ใจเส้ น เลื อ ดอุ ด ตั น เฉี ย บพลั น น้ อ ยที่ สุ ด ในประเทศไทยและลดลงต่อเนื่องทุกปี และให้บรรยายถึงข้อมูลนี้ แก่โรงพยาบาลอื่นๆ ที่อิมแพคอารีน่า เมืองทองธานี กรุงเทพฯ 2 ปี ต่อเนื่องของการบรรยายให้ความรู้ในเรื่องนี้ ในเรื่ อ งของกุ ม ารแพทย์ เ ด็ ก ๆ เป็ น โรคหั ว ใจจ� ำ นวนเยอะ เช่นเดียวกัน เช่น หัวใจพิการตั้งแต่ก�ำเนิด หัวใจผนังรูรั่ว เส้นเลือด บางเส้นไม่ปิด กุมารแพทย์ของเราสามารถที่จะเอาอุปกรณ์ต่างๆ เข้าไปปิดผนังรูรั่วได้ โดยท�ำให้ลดจ�ำนวนการผ่าตัดไปได้เยอะมาก เพราะการผ่าตัดจะมีความเสี่ยงต่อชีวิต และเด็กผู้หญิงเมื่อโตขึ้น ก็ จ ะมี แ ผลเป็ น ที่ ห น้ า อก ไม่ ส วยงาม ภาวะแทรกซ้ อ นตามมา ภายหลัง ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โรคกลุ่มนี้ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สามารถใส่อุปกรณ์ทางเส้นเลือดทางขาจนถึงหัวใจเพื่อไปอุดผนัง โดยไม่ต้องเปิดแผลผ่าตัด ซึ่งการผ่าตัดจะใช้เฉพาะรายที่มีรูรั่วใหญ่ มากไม่เหมาะส�ำหรับวิธีการแบบนี้แต่ส่วนใหญ่จะปิดได้ค่อนข้าง หมดโดยไม่ต้องผ่าตัด ทีมหมอผ่าตัดศูนย์ของเราในปัจจุบันของการรักษาโรคหัวใจ เข้มแข็งมาก ท�ำงานหนัก ผ่าตัดคนไข้บายพาร์ทหัวใจ เปลี่ยนลิ้นหัวใจ ผลการรั ก ษาดี ขึ้ น มากตามล� ำ ดั บ จนสามารถไว้ ว างใจได้ โ ดยที่ ถ้าญาติของเราจะต้องมีการผ่าตัด โดยไม่ต้องส่งไปยังกรุงเทพฯ เราสามารถรักษากันได้ที่นี่เลยทันที แม้แต่อาจารย์แพทย์เราเองป่วย ก็ยังผ่าตัดที่นี่ หรือแพทย์โรงพยาบาลอื่นๆ หรือญาติเขามารักษาที่นี่ เพราะจะเริ่มรู้ถึงเรื่องของคุณภาพของเรา “สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ยืนยันและรู้ในวงการของเรา โดยไม่ได้ไปด้วย การโฆษณา เช่นเดียวกันโรคหัวใจในภาคใต้ก็มารักษาที่โรงพยาบาล
สงขลานคริ น ทร์ แต่ ยั ง ขาดในเรื่ อ งของประชาสั ม พั น ธ์ ข องศู น ย์ ให้แก่ประชาชนมากขึ้น แต่คนหนึ่งๆ ก็ไม่ใช่ว่าจะรักษาและใช้ได้ ทุ ก สิ ท ธิ์ ใครที่ มี ก� ำ ลั ง ทรั พ ย์ ก็ ส ามารถช่ ว ยค่ า ใช้ จ ่ า ยของรั ฐ โดย ผลก� ำ ไรก็ ไ ม่ ไ ด้ ต กไปไหนก็ จ ะน� ำ ไปพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ของ การรักษาโรค และให้องค์กรเข้มแข็งเพิ่มขึ้น ปัจจุบันนี้จ�ำนวนผู้ป่วยโรคหัวใจมีเพิ่มมากขึ้น แต่เดิมแพทย์ ในภาคใต้ ส ่ ว นหนึ่ ง มี ค วามรู ้ ท างการแพทย์ เ พิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ความ สามารถการวินิจฉัยเพิ่มขึ้น แต่ไม่ได้เป็นไปตามจ�ำนวนคนไข้ อาจจะ เป็ น เพราะรายได้ ข องแพทย์ ใ นโรงพยาบาลรั ฐ จะน้ อ ยกว่ า ใน โรงพยาบาลเอกชน ท�ำให้เราเห็นว่าโรงพยาบาลของรัฐโอบอุ้มคน ที่ไม่มีก�ำลังเงินที่มีจ�ำนวนค่อนข้างมาก แต่ท�ำไมถึงไม่มีการกระจาย คนไหนมีรายได้ก็ควรจะมารักษาในโรงพยาบาลของรัฐบ้าง และ คนไหนที่มีก�ำลังเงินน้อย รัฐก็ต้องโอบอุ้มเขาไว้ด้วย คนไหนมีรายได้ บางส่วนก็ควรช่วยกันสนับสนุนโรงพยาบาลและรัฐ “ไม่มีโรงพยาบาลไหนจะเหมือนที่นี้เพราะการรักษาโรคหัวใจ ที่เป็นเอ็กเซอร์เล็นซ์เซ็นเตอร์ (Excellent Center) จะต้องมีเครื่องมือ ที่ครอบคลุมทุกด้าน” เรื่องของโรคหัวใจนั้นอาการของคนที่เริ่มจะเป็น และมักจะพบ บ่อยๆ คือ ถ้าเป็นแบบเฉียบพลันจะเป็นอาการแน่นหน้าอกไปจน ถึงคอ และเหงื่อแตก ซึ่งเป็นสัญญาณของคนที่จะเป็นโรคหัวใจแบบ เฉี ย บพลั น โดยเฉพาะคนที่ สู บ บุ ห รี่ โ รคเบาหวาน ทุ ก คนสามารถ ที่ จ ะเป็ น ได้ จะเห็ น ได้ ง ่ า ยๆ บางครั้ ง อาจจะไม่ มี สั ญ ญาณเตื อ น โดยเป็นทันทีทันใด ซึ่ ง การรั ก ษานั้ น ของศู น ย์ เ ราถ้ า ผู ้ ป ่ ว ยไม่ ไ ด้ มี ก ารเสี ย ชี วิ ต จากที่บ้าน เราสามารถท�ำการรักษาบอลลูนฉุกเฉิน เปิดเส้นเลือด หัวใจ โดยเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ และโรคหัวใจ เรื้ อ รั ง เส้ น เลื อ ดนั้ น จะค่ อ ยๆ ตี บ ลง คนไข้ ก ลุ ่ ม นี้ จ ะพบในคนไข้ ที่ อ อกก� ำ ลั ง กาย วิ่ ง แบบเร็ ว จะแน่ น ในอก หรื อ แน่ น ลิ้ น ปี ่ ส าเหตุ มาจากการสัมพันธ์ของการออกแรง เหนื่อยง่ายผิดปกติ หรือพบ ในคนที่ ไ ม่ ค ่ อ ยออกก� ำลั ง กาย หายใจไม่ ทั น หอบเหนื่อยผิดปกติ จนถึ ง ขั้ น หมดสติ เป็ น ลมเพราะเส้ น เลื อ ดจะขาดเลื อ ด แต่ จ ะมี อาการที่ไม่รุนแรงเท่ากับโรคหัวใจแบบเฉียบพลัน ในโอกาสที่ศูนย์โรคหัวใจนราธิวาสราชนครินทร์ ครบ 12 ปี ปลายปีนี้ เรายินดีรักษา และมีความประสงค์ที่จะเป็นแหล่งที่พึ่ง ของคนไข้ในภาคใต้ ไม่ใช่เฉพาะคนจังหวัดสงขลา เราจะพยายาม ที่จะให้บริการครอบคลุมบริการให้ความปลอดภัย สะดวก รวดเร็ว เพื่อให้คนไข้ได้เข้าใจและเข้าถึง “ถ้ า ใครไม่ แ น่ ใ จส� ำ หรั บ อาการที่ เ กิ ด กั บ ตนเองว่ า จะเสี่ ย ง เป็นโรคหัวใจหรือไม่ให้เข้ามาปรึกษาได้ตลอดเวลา เพราะเป็นโรค ที่อันตราย ถ้ารู้ว่าตนเองเริ่มมีอาการสามารถเข้ามาที่นี่ได้” นพ.นพดล กล่าวในที่สุด ที่มา : หนังสือพิมพ์โฟกัส ปีที่ 16 ฉบับที่ 785 ประจ�ำวันที่ 16-22 มีนาคม 2556
13
รอบรั้วศรีตรัง
ดอกศรี ต รั ง เป็ น ดอกไม้ ป ระจ� ำ มหาวิ ท ยาลั ย มี สี ม ่ ว งงดงาม เป็ น ไม้ ประจ� ำ ถิ่ น ของอเมริ ก าใต้ ต้ น ศรี ต รั ง ต้ น แรกถู ก น� ำ มาปลู ก ในประเทศไทย ที่ จั ง หวั ด ตรั ง โดยพระยารั ษ ฎานุ ป ระดิ ษ ฐ์ สมุ ห เทศาภิ บ าลมณฑลภู เ ก็ ต เป็ น ผู ้ น� ำ มาปลูกเมื่อประมาณกว่า 100 ปีมาแล้ว
ม.อ.จับมือศิษย์เก่า
ปลูกศรีตรัง 90,000 ต้นทั่วไทย
อธิการบดี ร่วม นายกสมาคมนักศึกษาเก่า สงขลานครินทร์ แถลงข่าวโครงการรณรงค์ ปลูกศรีตรังถวายเป็นพระราชกุศล และส่งเสริมความ สัมพันธ์ระหว่างสถาบัน-ศิษย์เก่า-ศิษย์ปัจจุบัน ตั้งเป้า 90,000 ต้น สะพรั่งบานทั่วไทย ใน 4 ปี
ในการแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ “ปลูกศรีตรังทั่วไทย ร้อยดวงใจ ร่ ว มกั น ถวายองค์ ร าชั น พ่ อ ของแผ่ น ดิ น ” เมื่ อ 30 มี น าคม 2556 ที่ โรงแรมสวิสโซเทล เลอคอลคอร์ด กรุงเทพฯ รองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัย ร่ ว มกั บ สมาคมนั ก ศึ ก ษาเก่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด โครงการ “ปลู ก ศรี ต รั ง ทั่ ว ไทย ร้ อ ยดวงใจร่ ว มกั น ถวายองค์ ร าชั น พ่ อ ของ แผ่นดิน” โดยตั้งเป้าหมายให้ได้จ�ำนวน 90,000 ต้น ทั่วประเทศ ภายใน 4 ปี เพื่ อ น้ อ มถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลเนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว ทรงมีพระชนมายุครบ 86 พรรษา ในปี พ.ศ. 2556 นอกจากนั้น ยังเพื่อ สืบสานพระราชปณิธานในการฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริม สนับสนุนความรักความสามัคคีของประชาคมมหาวิทยาลัย และให้ทุกภาค ส่วน ได้มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเบื้องต้นได้ก�ำหนดสถานที่ปลูกไว้ที่ ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ทุกวิทยาเขต คือวิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขต ภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วิทยาเขตตรัง วิทยาเขตละ 10,000 ต้น รวม 50,000 ต้น และอีก 9 จังหวัดที่เหลือในภาคใต้ คือ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง ยะลา นราธิวาส จะปลูกจังหวัดละ 4,000 ต้น รวม ในภาคใต้ทั้งหมดเป็น 86,000 ต้น ส่วนที่เหลือ 4,000 ต้นจะกระจายไปปลูกตาม ภูมิภาคอื่น ๆ โดยอาศัยเครือข่ายของศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตลอดระยะเวลา 45 ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ผลิต บัณฑิตออกไปรับใช้ชุมชนท้องถิ่นภาคใต้และประเทศชาติแล้ว เป็นจ�ำนวน กว่า 1 แสนคน กระจายกันไปท�ำงานอยู่ทั่วประเทศ และมีเป็นจ�ำนวนมากที่ ได้มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และ เข้าไปมีบทบาทในการสร้าง ความก้าวหน้าให้หลายองค์กร ทั้งภาคราชการและภาคเอกชน และมีส่วนสร้าง ชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสามารถน�ำประสบการณ์ที่
14
ได้รับมาแลกเปลี่ยนเพื่อการเรียนรู้กับศิษย์ปัจจุบัน โครงการ “ปลูกต้น ศรีตรังทั่วไทย ร้อยดวงใจรวมกัน ถวายองค์ราชัน พ่อของแผ่นดิน” อาจไม่ เ ห็ น ผลในช่ ว งเวลาอั น สั้ น เนื่ อ งจากต้ อ งมี ร ะยะเวลาการเจริ ญ เติ บ โต แต่ จ ากความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ของทุ ก ภาคส่ ว น ทั้ ง ประชาคม มหาวิ ท ยาลั ย นั ก ศึ ก ษาเก่ า ประชาชนทั่ ว ไป และสื่ อ มวลชน คิ ด ว่ า จะ ได้ เ ห็ น ศรี ต รั ง บานสะพรั่ ง ทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ ข องไทย ในอี ก 5-10 ปี ข้ า งหน้ า ด้ า น ศาสตราจารย์ นพ.วี ร ะพล จั น ทร์ ดี ยิ่ ง นายกสมาคม นักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ขณะนี้เราก�ำลังด�ำเนิน
ในเบื้องต้นได้ก�ำหนดสถานที่ปลูกไว้ที่ ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ทุกวิทยาเขต คือวิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วิทยาเขตตรัง วิทยาเขตละ 10,000 ต้น รวม 50,000 ต้น และอีก 9 จังหวัดที่เ หลือในภาคใต้ คือ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง ยะลา นราธิวาส จะปลูกจังหวัดละ 4,000 ต้น รวมในภาคใต้ทั้งหมดเป็น 86,000 ต้น ส่วนที่เ หลือ 4,000 ต้นจะกระจายไปปลูกตามภูมิภาค อื่ น ๆ โดยอาศั ย เครื อ ข่ า ยของศิ ษ ย์ เ ก่ า ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ การเพื่อรับบริจาคสนับสนุน จากหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ บริษัทเอกชน ศิษย์เก่า ประชาชน และผู้สนใจ เพื่อร่วมเป็นเจ้าภาพสนับสนุนโครงการ โดยบริจาคเป็นเงินได้ต้นละ 250 บาท ซึ่งใช้ในการเตรียมต้นกล้า ปลูก ดูแลรักษา และสนับสนุนค่าใช้จ่ายอื่นๆ โดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ จะร่วมมือกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมป่าไม้ ในการช่วยเตรียมต้นกล้า และความรู้ทางด้านวิชาการในการปลูก และ จะอาศัยความร่วมมือของ นักศึกษา บุคลากร ของมหาวิทยาลัย และ เครือข่ายของศิษย์เก่าในพื้นที่ต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานของทางราชการ หรือเอกชน ในการช่วยกันดูแลรักษาต่อไป ดอกศรีตรัง เป็นดอกไม้ประจ�ำมหาวิทยาลัย มีสีม่วงงดงาม เป็นไม้ ประจ�ำถิ่นของอเมริกาใต้ ต้นศรีตรังต้นแรกถูกน�ำมาปลูกในประเทศไทย ที่จังหวัดตรัง โดยพระยารัษฎานุประดิษฐ์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต เป็นผู้น�ำมาปลูกเมื่อประมาณกว่า 100 ปีมาแล้ว เมื่อออกดอกพร้อมกัน จะมีความงดงาม และท�ำให้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยมีสีสันและจะมีส่วน สร้ า งความผู ก พั น ให้ กั บ ประชาคมทุ ก ส่ ว นของมหาวิ ท ยาลั ย รวมทั้ ง ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน ในการจัดงาน ศรีตรังสะพรั่งบาน เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2556 ที่ โรงแรมสวิสโซเทล เลอคองคอร์ด กรุงเทพฯ ได้มีการเปิดประมูลต้นศรีตรัง รุ่นแรกที่จะน�ำไปปลูกตามโครงการ จ�ำนวน 15 ต้น มีนักศึกษาเก่าร่วม ประมูลได้เงินรวมจ� ำนวน 112,000 บาท ทั้งนี้ นายจ� ำรัส ปิติกุลสถิตย์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือภูเก็ตเซาท์เทอร์นกรุ๊ป ศิษย์เก่าหลักสูตร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) ของคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งเปิดสอนที่ภูเก็ต รุ่นที่ 4 ปี 2551 ซึ่งร่วมประมูลต้นศรีตรัง 5 ต้น เป็น จ�ำนวนเงิน 79,000 บาท กล่าวว่า ศรีตรังจะสะพรั่ง บานทั่ ว ประเทศได้ ก็ ด ้ ว ยการร่ ว มแรงร่ ว มใจของ ศิษย์เก่าทุกคน พลังของศิษย์เก่าจะท�ำให้จ�ำนวน ต้ น ศรี ต รั ง จะค่ อ ยๆ เพิ่ ม ขึ้ น จากหลั ก ร้ อ ยสู ่ ห ลั ก แสนในอี ก หลายปี ข ้ า งหน้ า และตนเองจะมอบ ต้นศรีตรังที่ประมูลได้คืนให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อ น�ำไปปลูกที่วิทยาเขตต่างๆ เพื่อดอกศรีตรังจะได้ สะพรั่งบานทั่วประเทศตามโครงการต่อไป ขอเชิญร่วมบริจาคสนับสนุนโครงการปลูก ต้นศรีตรังทั่วไทย 90,000 ต้น โดยกรอกแบบฟอร์ม บริจาค online ได้ที่ http://www.sritrang.in.th/ index.php?modules=donate&f=form
15
รอบรั้วศรีตรัง
ฯพณฯชวน หลีกภัย ที่ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ ป าฐกถาพิ เ ศษ “บทบาทของมหาวิ ท ยาลั ย และสมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า กั บ การพั ฒ นาภาคใต้ ” ให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห ารและศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ในงานศรีตรังสะพรั่งบาน เมื่ อ 31 มี น าคม 2556 ที่โรงแรมสวิสโซเทล เลอคองคอร์ด กรุงเทพ
ฯพณฯชวน หลีกภัย ที่ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ที่ปรึกษาสภาฯให้ศิษย์เก่ายึดคุณธรรมในวิชาชีพ
ให้ ม.อ.ภูมิใจที่เติบโตแม้มีอุปสรรครอบด้าน ที่ ป รึ ก ษาสภา มหาวิ ท ยาลั ย กล่ า วว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ กระจายโอกาสทางการ ศึ ก ษาให้ กั บ เยาวชน ชาวภาคใต้ เป็ น ผู ้ น� ำ ทางความคิ ด และเป็ น ผู ้ ก� ำ หนดแนวทางการพั ฒ นาภาคใต้ ในภาพรวมแล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จะต้ อ งเป็ น สถาบั น ที่ มี ม าตรฐานทางการศึ ก ษาตาม ที่ได้ถูกก� ำหนดไว้จากส่วนกลาง แต่การที่จะเน้นความเป็นเลิศด้านใด นั้นขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม พื้นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย เช่นการใช้โอกาส และศักยภาพของสถาบันการศึกษาที่อยู่ใกล้ชิดประเทศมาเลเซีย ในการ พั ฒ นาภาษาเพื่ อ เข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น โอกาสของการที่ มี วิ ท ยาเขต จ�ำนวนมาก ท�ำให้สามารถเปิดสอนหลากหลายสาขาวิชา ซึ่งเป็นจุดเด่น ของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ และมหาวิทยาลัยก็สามารถดูแลวิทยาเขตต่างๆ ให้ก้าวหน้าไปได้ด้วยดีเมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต อื่นๆ ที่บางแห่งสามารถพัฒนาได้ในระดับดีมาก แต่บางมหาวิทยาลัย ก็ยังต้องใช้เวลาในการพัฒนากันต่อไป จุดเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อีกอย่างหนึ่งคือศักยภาพ ของผู้บริหาร ตั้งแต่ระดับกรรมการสภามหาวิทยาลัยที่ประกอบด้วยผู้ทรง คุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถ มีประสิทธิภาพสูงในการถ่ายทอดความ คิดเห็น และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่มีความต่อเนื่องในการพัฒนา ไม่มี การแย่งชิงที่ท�ำให้การพัฒนาต้องหยุดชะงักลง ท�ำให้มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ สามารถก้าวขึ้นมาสู่ล�ำดับต้นของมหาวิท ยาลั ย คุ ณ ภาพของ ประเทศ แม้วา่ จะไม่ได้อยูใ่ นแถวหน้าสุดก็ตาม ซึง่ ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย สามารถเข้ า ไปมี ส่วนร่วมในการช่วยสนับสนุน ทั้งการให้ ค วามคิ ด เห็ น และ การสนั บ สนุ น ที่ เ หมาะสมตามต�ำ แหน่ ง หน้ า ที่ แ ละสถานะของตน ในปัจจุบัน มีการพูดกันมากในเรื่องของคุณธรรม และมหาวิทยาลัย
16
หลายแห่งได้น�ำหัวข้อนี้ไปสู่การเรียนการสอน การ ฝึกอบรม เนื่องจากคุณธรรมต้องมีในบุคลากรของ ทุกวิชาชีพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์นับว่าเป็น มหาวิทยาลัยที่ทันสมัย ที่น�ำเอาพระราโชวาทของ สมเด็จพระบรมราชชนก ที่ให้ถือเอาประโยชน์ของ เพื่อนมนุษย์เป็นที่หนึ่ง ซึ่งทรงให้ไว้กว่า 100 ปีแล้ว มาใช้เป็นหลักในการด�ำเนินชีวิตของนักศึกษาและ บุคลากร เพราะนั่นคือหลักธรรมาภิบาลที่สอนให้ มี ค วามส� ำ นึ ก และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในวิ ช าชี พ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พัฒนามาได้ ภายใต้เงื่อนไขหลายประการ เช่น การเปรียบเทียบ คุณภาพการศึกษาของเยาวชนไทยซึ่งถูกมองว่า ก�ำลังตกต�่ำลง กว่าประเทศเพื่อนบ้าน และการ มี ส ถานที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ที่ มี ค วามไม่ ส งบท� ำ ให้ ไม่มีเยาวชนและนักวิชาการจากพื้นที่อื่นเข้ามา ร่ ว มพั ฒ นา ในวั น นี้ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ของมหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ควรภาคภู มิ ใ จที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แห่ ง นี้ ส ามารถ พั ฒ นาไปถึ ง จุ ด หมายได้ ท ่ า มกลาง อุ ป สรรค นานาประการ ในขณะที่สถาบันอื่นอีกหลายแห่ง แทบไม่มีผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว การพั ฒ นาของมหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งมี ต่ อ ไป โดยมี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในหน้าที่การงานทั้งภาครัฐและเอกชน เป็น ก�ำลังส�ำคัญ ทั้งการพัฒนาภายใต้ภารกิจ การผลิ ต บั ณ ฑิ ต การวิ จั ย การบริ ก าร วิ ช า ก า ร แ ล ะ ก า ร ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ป แ ล ะ วัฒนธรรม และการช่วยพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของเยาวชนในระดับประเทศ ที่ก�ำลัง ถู ก มองว่ า ล้ า หลั ง กว่ า ประเทศเพื่ อ นบ้ า น
ลงนามความร่วมมือ
คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.
เตรียม นศ.สู่โลกอาชีพ จับมือไทยพาณิชย์ MOU ด้านสหกิจศึกษา คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ลงนามข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการโครงการสหกิจศึกษา กับบมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 26 มี น าคม 2556 สนั บ สนุ น โอกาสให้ นั ก ศึ ก ษาเรี ย นรู ้ วิ ช าชี พ จากการปฏิ บั ติ ง านจริ ง ในสาขาการเงิ น การบั ญ ชี การตลาด และการจั ด การ เตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ บรรจุ ร ายวิ ช าสหกิ จ ศึกษาในหลักสูตรของคณะในปี 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัตรา เดวิ สั น ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ ช าการ ในฐานะประธานกรรมการ สหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า สหกิจศึกษาคือการบูรณาการการเรียน การสอนกับการท�ำงานเข้าด้วยกัน ท�ำให้นักศึกษามีโอกาสน�ำวิชา ความรู้ในวิชาชีพที่เล่าเรียนมาใช้ในการปฏิบัติงานจริง ส�ำหรับการ ลงนามความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กับธนาคารไทยพาณิชย์ในครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกของ มหาวิทยาลัยที่มีการลงนามความร่วมมือด้านสหกิจศึกษาในระดับ คณะกับสถานประกอบการ สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย ที่ ต ้ อ งการให้ บ รรจุ ร ายวิ ช าสหกิ จ ศึ ก ษาลงในทุ ก หลั ก สู ต รของ มหาวิทยาลัย ยกเว้นหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพเนื่องจากมี สภาวิชาชีพเป็นผู้ดูแล โดยในแต่ละหลักสูตรที่มีการบรรจุรายวิชา สหกิจศึกษาจะต้องมีนักศึกษาผ่านการเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา อย่างน้อยร้อยละ 5 ของจ�ำนวนนักศึกษาที่รับในแต่ละปี การลงนาม ในวันนี้นับเป็นก้าวแรกของการมีส่วนร่วมพัฒนานักศึกษาและผลิต บุคลากรในสาขาวิชาชีพการธนาคารที่มีคุณภาพสู่ตลาดแรงงาน ด้ า นผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ จ งพิ ศ ศิ ริ รั ต น์ คณบดี ค ณะ วิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ก ล่ า วว่ า ปั จ จุ บั น นั ก ศึ ก ษาในภาควิ ช าบริ ห ารธุ ร กิ จ ของคณะวิ ท ยาการจั ด การ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีจ�ำนวน ประมาณ 2,000 กว่าคน เฉลี่ยในแต่ละ รุ่นมีจ�ำนวนประมาณ 600 คน ส�ำหรับ นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะเข้ า ร่ ว มโครงการสหกิ จ ศึ ก ษาจะเป็ น นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 ใน สาขาวิชาการเงิน การบัญชี การตลาดและการจัดการ โดยจะเข้า ร่ ว มสหกิ จ ศึ ก ษากั บ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ เ ป็ น ระยะเวลา 1 ภาค การศึกษา ซึ่งคณะวิทยาการจัดการมีแผนที่จะบรรจุรายวิชาสหกิจ ศึกษาลงในหลักสูตรต่างๆ ของคณะ ในปี พ.ศ. 2557 การได้ร่วม ลงนามความร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ใ นครั้ ง นี้ จึ ง ถื อ เป็ น นิมิตหมายที่ดี ที่จะตอบโจทย์แผนการด�ำเนินงานดังกล่าว ขณะที่นายกรพัฒน์ บุญเสริมสมบัติ ผู้จัดการทรัพยากร บุ ค คลสั ม พั น ธ์ - ลู ก ค้ า บุ ค คล บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่ า วว่ า ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา บุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพสู ่ สั ง คม ซึ่ ง การ พัฒนาในเรื่องดังกล่าวจะต้องประกอบไปด้วยการพัฒนาในภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สิ่งที่ธนาคารไทยพาณิชย์ต้องด�ำเนินการใน โครงการสหกิจศึกษาที่ได้ลงนามความร่วมมือกับคณะวิทยาการ จั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ใ นครั้ ง นี้ คื อ การพั ฒ นา นักศึกษาให้มีความพร้อมก่อนเข้าสู่การท� ำงานจริงในอนาคต ซึ่ง ในระหว่ า งที่ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มโครงการสหกิ จ ศึ ก ษา ธนาคาร จะจั ด ให้ มี บุ ค ลากรของหน่ ว ยงานคอยดู แ ล พร้ อ มแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์กับนักศึกษา และจะเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ ในหลายๆ ด้าน มาให้ความรู้ด้านการท�ำงานให้แก่นักศึกษาด้วย ธนาคารมั่นใจว่าจะสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนานักศึกษา ให้เป็นบุคลากรที่มีประโยชน์และคุณค่าต่อสังคมอย่างแท้จริง
17
การศึกษา
ทูลเกล้าฯ ถวายทุนการศึกษา ม.อ. เฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราชกุมารี
สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯสยามบรม ราชกุมารี พระราชทานพระวโรกาสให้ นายอภิชาต จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา น�ำผู้ แทนมหาวิทยาลัยภาครัฐและภาคเอกชน เฝ้าทูล ละอองพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายทุน การศึกษา “โครงการทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราชกุมารี” ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก และทุนฝึกอบรม เพื่อ พระราชทานความช่วยเหลือด้านการศึกษาให้แก่ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เมื่ อ วั น ที่ 6 มี น าคม 2556 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
18
ในวโรกาสเดียวกันนี้ รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ มถวาย ทุ น การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท และระดั บ ปริ ญ ญาเอก รวม 5 ทุน ได้แก่ 1) ทุ น ระดั บ ปริ ญ ญาโทคณะอุ ต สาหกรรมเกษตร จ�ำนวน 1 ทุน (อาทิ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชา อาหารเพื่ อ สุ ข ภาพและโภชนาการ สาขาวิ ช าการจั ด การ เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมเกษตร สาขาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์) โดยใช้เวลา เรียนตลอดหลักสูตร 2 ปี 2) ทุ น ระดั บ ปริ ญ ญาโทคณะการบริ ก ารและการ ท่ อ งเที่ ย ว สาขาวิ ช าการจั ด การบริ ก ารและการท่ อ งเที่ ย ว
(นานาชาติ) จ�ำนวน 1 ทุน โดยใช้เวลาเรียนตลอดหลักสูตร 2 ปี 3) ทุนระดับปริญญาเอกคณะพยาบาลศาสตร์ สาขา พยาบาลศาสตร์ (นานาชาติ) 4) ทุ น ระดั บ ปริ ญ ญาโท/เอกคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จ�ำนวน 1 ทุน (อาทิ สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สาขาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมเคมี สาขาวิศวกรรมวัสดุ) โดยใช้ เวลาเรียนตลอดหลักสูตร 3 ปี 5) ทุนปริญญาโท/เอกคณะแพทยศาสตร์ จ�ำนวน 1 ทุน สาขาระบาดวิทยา โดยใช้เวลาเรียนตลอดหลักสูตร 3 ปี ทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราช กุมารี จัดขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๕๖ พรรษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะหน่วยงานที่รับ ผิดชอบการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงได้จัด “โครงการ ทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยามบรมราชกุมารี” เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและสนับสนุนโครงการตามแนว พระราชด�ำริที่จะส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน
ของประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยทรงมีหลักคิดที่จะน� ำการศึกษา มาเป็นปัจจัยหลักในการสร้างและพัฒนาความรู้ ความคิดของ ประชาชนและเป็นเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนและสังคม โครงการทุนการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ๕๖ พรรษา สยาม บรมราชกุ ม ารี เป็ น การสนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร ปกติ แ ละนานาชาติ ทั้ ง ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ปริ ญ ญาโทและ ปริญญาเอก และทุนฝึกอบรม รวมทั้งสิ้น ๙๔ ทุน จ�ำแนกเป็น ทุนการศึกษา ๘๔ ทุนและทุนฝึกอบรม จ�ำนวน ๑๐ ทุนให้แก่ นักเรียน/นักศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้าน โดยส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษาได้ รั บ ความอนุ เ คราะห์ จ ากสถาบัน อุดมศึกษาภาครัฐและเอกชน จ�ำนวน ๑๒ แห่ง ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหา วิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห าร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยรังสิต และ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในการจัดสรรทุนการศึกษาดังกล่าว
19
การศึกษา
“
คณะมี แ ผนที่ จ ะเพิ่ ม จ� ำ นวนบุ ค ลากร โดยเริ่ ม จากการเพิ่ ม จ� ำ นวนอาจารย์ โดยเน้ น เป็ น ผู ้ ที่ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปริญญาเอกในสาขาเทคนิคการแพทย์ โดยตรง หรื อ จบปริ ญ ญาโทในสาขาที่ สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขาเทคนิคการแพทย์ ได้ ควบคู่ไปกับ การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รการเรี ย นการ สอนให้ เ ป็ น แบบ Active Learning
” เทคนิคการแพทย์ ม.อ. ผ่านการรับรองแล้ว คาดอีก 3 ปี เปิดรับ ป.โท คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการ รั บ รองสถาบั น จากสภาเทคนิ ค การแพทย์ หลั ง เปิ ด การเรี ย นการ สอนมา 5 ปี การั น ตี ค วามพร้ อ มด้ ว ยอั ต ราการได้ ง านของบั ณ ฑิ ต ปี แรกอยู ่ ที่ 100% เดิ น หน้ า พั ฒ นาหลั ก สู ต ร เพิ่ ม จ� ำ นวนอาจารย์ วาง รากฐานงานวิ จั ย วางแผนเปิ ด สอนปริ ญ ญาโทในอี ก 3 ปี ข ้ า งหน้ า รองศาสตราจารย์ ดร.ศิ โ รช จิ ต ต์ สุ ร งค์ คณบดี ค ณะเทคนิ ค การ แพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คณะเทคนิคการแพทย์ เป็น คณะน้องใหม่ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งสภาเทคนิคการแพทย์ได้ ให้การรับรองหลักสูตรให้แก่คณะเมื่อปีที่ผ่านมา และในปีนี้คณะได้ผ่านการ รั บ รองสถาบั น จากสภาเทคนิ ค การแพทย์ ซึ่ ง ผลการตรวจประเมิ น นั้ น นั บ ได้ ว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ได้รับการรับรองเป็นระยะเวลา 4 ปีการศึกษา คือตั้งแต่ปี 2556-2559 คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เปิดให้มีการ เรียนการสอนมาแล้ว 5 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 200 กว่าคน มีบัณฑิต จบการศึ ก ษาไปแล้ ว จ�ำ นวน 2 รุ ่ น ซึ่ ง จากการส�ำ รวจพบว่ า บั ณ ฑิ ต รุ ่ น แรกมี อัตราการได้งานท�ำทั้งหมด 100% ส่วนรุ่นที่ 2 ก�ำลังอยู่ในระหว่างการส�ำรวจ “คณะมีแผนที่จะเพิ่มจ�ำนวนบุคลากร โดยเริ่มจากการเพิ่มจ�ำนวนอาจารย์ โดยเน้ น เป็ น ผู ้ ที่ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาเอกในสาขาเทคนิ ค การแพทย์ โดยตรง หรือจบปริญญาโทในสาขาที่สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก สาขาเทคนิคการแพทย์ได้ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน ให้เป็นแบบ Active Learning คือให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และมีการ ผลิตสื่อการเรียนการสอนให้เป็นแบบ e-Learning มากขึ้น ส่วนแผนในระยะยาว นั้นคาดการณ์ไว้ว่าอีก 3 ปีข้างหน้า คณะจะเปิดรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี เพิ่มขึ้น และจะสามารถเปิดสอนในหลักสูตร ระดับปริญญาโทได้ จากนั้นก็จะมุ่งสู่การท�ำ วิจัยด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยจัดตั้งเป็น หน่วยวิจัยหรือ Research Unit เน้นงานวิจัย ทางโรคติ ด เชื้ อ อุ บั ติ ใ หม่ เชื้ อ ดื้ อ ยา ซึ่ ง งาน
20
วิจัยเหล่านั้นจะได้น�ำมาใช้เป็นงานบริการวิชาการ สั ง คมต่ อ ไป” รองศาสตราจารย์ ดร.ศิ โ รช กล่ า ว รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรช จิตต์สุรงค์ กล่าว เพิ่ ม เติ ม ว่ า นอกจากการด� ำ เนิ น การด้ า นการเรี ย น การสอนในสาขาเทคนิคการแพทย์แล้ว ปัจจุบันคณะ เทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยัง มีศูนย์บริการวิชาการเทคนิคการแพทย์ที่ให้บริการ ตรวจสุขภาพ ตรวจวิเคราะห์โรคต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคไขมัน เป็นต้น ซึ่งแม้จะเป็นคณะน้องใหม่ มีจ�ำนวน เจ้าหน้าที่ค่อนข้างจ�ำกัด แต่คณาจารย์รวมทั้งเจ้าหน้าที่ ทุกคนมีความตั้งใจและทุ่มเทให้กับการท�ำงานอย่าง เต็มศักยภาพ อย่างไรก็ตามคณะยังคงวางแผนที่จะ น�ำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ในการด� ำเนินงานเพื่อ อ�ำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา ให้มีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
อบรม/สัมมนา
สัมมนา เตรียมความพร้อม
การใช้ เกณฑ์ EdPeX ในการประกันคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงานเครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง C-IQA มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ ในฐานะประธานเครื อ ข่ า ยฯ โดยมี รองศาสตราจารย์ นวลจิรา ภัทรรังรอง ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพ เป็นประธาน เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง C-IQA จัดสัมมนา “เกณฑ์ EdPeX และความเชื่ อ มโยงกับ IQA&EQA” โดยวิทยากร ศาสตราจารย์ นพ. สงวนสิน รัตนเลิศ ณ ห้องประชุม Conference ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลอง สิริราชสมบัติ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2556 รศ.นวลจิรา ภัทรรังรอง เปิดเผยว่า เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อ การด�ำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPeX) เป็นเกณฑ์คุณภาพซึ่งมีหลายประเทศ ใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ น�ำเกณฑ์นี้ มาน�ำร่องกับสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง และมีการเชิญชวน ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้ EdPeX ในการพัฒนาคุณภาพแทน IQA เพื่อให้ บุ ค ลากรในเครื อ ข่ า ยภาคใต้ ต อนล่ า ง ได้ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ในในเกณฑ์ ดังกล่าว เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจภาพรวมของเกณฑ์ให้ผู้เกี่ยวข้องหลัก และบุคลากรที่สนใจใช้เป็นฐานความรู้เพื่อเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ในกรณีที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอาจปรับเปลี่ยนไปใช้เกณฑ์ EdPeX ในการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดสัมมนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนามี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ เกณฑ์ EdPeX สามารถน�ำเกณฑ์ EdPeX เข้ า สู ่ ก ารด� ำเนิ น งานของหน่ ว ยงาน อีกทั้ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มโยงเกณฑ์ EdPeX กับ IQAและEQA ผู้เข้าร่วมสัมมนา ประกอบด้วยบุคลากร ด้านงานประกันคุณภาพ จากสถาบันเครือ ข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง 8 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ ยะลา มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ มหา วิ ท ยาลั ย หาดใหญ่ มหาวิ ท ยาลั ย อิ ส ลาม ยะลา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ศรีวิชัย และวิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ บุคลากรด้านงานประกันคุณภาพจาก คณะ / หน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
21
สิ่งแวดล้อม ถาบันวิจัยระบบพลังงานมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดพิธีรับมอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจ�ำปี 2555 จากโรงงานควบคุม พื้นที่ ภาคใต้ ซึ่งปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ในระดับดีเยี่ยม และ สนับสนุนกิจกรรมภาครัฐด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงงานควบคุมในการจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงาน สามารถจัดส่งรายงานการจัดการพลังงานประจ� ำปี 2555 ได้ทันภายในเดือน มีนาคม 2555 พิธีมอบรางวัล ดังกล่าว จัดขึ้นเมื่อ 26 มีนาคม 2556 ณ ห้องประชุม 210 ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีโรงงานควบคุม ในพื้นที่ภาคใต้ ส่งรายงานการจัดการพลังงานในครั้งนี้ จ�ำนวน 45 แห่ง
กลุ่มโรงงานควบคุม พื้นที่ภาคใต้ ในการควบคุมของ อนุรักษ์พลังงานสนับสนุนการจัดตั้งสมาคมเครือข่าย
นายจักรพันธ์ ชูแก้ว พลังงานจังหวัดปัตตานี ในนามอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า กระทรวง พลั ง งาน ในฐานะหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการรั บ มื อ และแก้ ป ั ญ หา สถานการณ์ ก ารขาดแคลนพลั ง งานอั น เนื่ อ งจากประเทศพม่ า จะหยุ ด จ่ า ยก๊ า ซ ธรรมชาติ เพื่อซ่อมบ�ำรุงแท่นขุดเจาะที่มี ปัญหา ระหว่างวันที่ 5 - 14 เมษายน 2556 ส่งผลกระทบให้ผู้ใช้พลังงาน หลายภาคส่วนอาจเกิดสถานการณ์พลังงานไม่เพียงพอต่อความต้องการ ใช้งาน กระทรวงพลังงานจึงมีแผนรับมือด้านไฟฟ้า โดยมอบให้การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าจาก ก๊าซธรรมชาติเป็นน�ำ้ มันดีเซลและน�้ำมันเตาในโรงไฟฟ้าส�ำรอง พร้อมทั้ง ขอความร่วมมือผู้ประกอบการขนาดใหญ่ ลดการใช้ไฟฟ้าในช่วงดังกล่าว รวมทั้ ง ขอความร่ ว มมื อ ผู ้ ป ระกอบการห้ า งสรรพสิ น ค้ า ร่ ว มมื อ ปิ ด ไฟ ในห้ า งบางจุ ด ปรั บ อุ ณ หภู มิ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ ให้ สู ง กว่ า 20 องศา เซลเซียส รวมทั้งขอให้ประชาชนช่วยกันประหยัดพลังงานให้มากขึ้น อีกทั้งจัดตั้ง “เครือข่าย Energy Hot Line” ซึ่งเป็นการร่วมมือระหว่าง กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั กษ์ พลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน และหน่ ว ยงานเชี่ ย วชาญด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน 9 แห่ ง โดยมี สถาบั น วิ จั ย ระบบพลั ง งาน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ร่ ว มเป็ น เครือข่าย ให้บริการให้ค�ำปรึกษาแก่โรงงานและอาคาร ด้านนายมานิต วงษ์สุรีย์รัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรม ภาคใต้ ในฐานะกลุ ่ ม ตั ว แทนภาคอุ ต สาหกรรม เปิ ด เผยว่ า กลุ ่ ม อุตสาหกรรมในภาคใต้พร้อมที่จะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการ ใช้ พ ลั ง งาน เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ประเทศชาติ และท� ำ ให้ วิ ก ฤตค่ า ใช้ จ ่ า ย ด้านพลังงานที่จะเกิดขึ้นกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมน้อยลง โดยสภา อุตสาหกรรม ได้ประสานไปยังสถานประกอบการให้พิจารณาระบบ
22
การผลิ ต ปรั บ เปลี่ ย นการใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร ให้ ป ริ ม าณการใช้ ไฟฟ้ า ในกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมลดลง ในช่ ว ง 5 - 14 เมษายน 2556 เพื่อให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ สามารถจ่ายไฟฟ้า เพื่อลด ปัญหาการใช้ไฟฟ้าในกลุ่มครัวเรือนลดลง และเชิญชวนกลุ่ม โรงงานที่ได้ส่งมอบรายงานการจัดการพลังงานแล้ว ต้องมา พิจารณาในรายละเอียดต่างๆ เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน สามารถประหยัดพลังงานฝ่าวิกฤตพลังงาน ได้อย่างจริงจัง นายศุ ภ เดช อ่ อ งสกุ ล รองเลขาธิ ก ารสมาคม ยางพาราไทย ในฐานะผู้แทนโรงงานควบคุม กล่าวขอบคุณ สถาบันวิจัยระบบพลังงาน ม.อ. ส�ำหรับการเป็นพี่เลี้ยงให้ ค� ำ แนะน� ำ และเป็ น ที่ ป รึ ก ษาด้ า นการจั ด การพลั ง งานให้ กลุ ่ ม โรงงานควบคุ ม อี ก ทั้ ง ขอบคุ ณ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต ฯ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวง พลั ง งาน ที่ ไ ด้ ร ่ ว มกั น จั ด โครงการตอบสนองผู ้ ใช้พลังงาน กลุ่มโรงงานได้อย่างต่อเนื่อง และยินดีให้ความร่วมมือการ จั ด ตั้ ง สมาคมเครื อ ข่ า ยโรงงานควบคุ ม พื้ น ที่ ภ าคใต้ แ ละ ภาคกลางตอนล่าง ในการรณรงค์รับมือภาวะวิกฤตพลังงาน พร้อมทั้งยินดีเป็นส่วนหนึ่งในการลดการใช้พลังงาน ควบคุม การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อลดภาวะโลกร้อน รองศาสตราจารย์ ดร.สุ เ มธ ไชยประพั ท ธ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยระบบพลังงานมหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร์ กล่าวถึงการจัดตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม พื้น ที่ ภ าคใต้ แ ละภาคกลางตอนล่ าง ในการรณรงค์รับมือ ภาวะวิ ก ฤตพลั ง งาน ซึ่ ง เป็ น มาตรการหนึ่ ง ในการควบคุ ม การใช้พลังงาน นอกจากการวิเคราะห์การใช้พลังงานของ โรงงานควบคุ ม และรายงานผลการวิ เ คราะห์ ใ ห้ โ รงงาน ควบคุมรับทราบ สมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม ดังกล่าว
สถาบันวิจัยพลังงาน ม.อ. พร้อมให้ความร่วมมือการ โรงงานควบคุม รณรงค์รับมือภาวะวิกฤตพลังงาน จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ โ รงงานควบคุ ม ช่ ว ยเหลื อ และดู แ ลในเรื่ อ งการ อนุรักษ์พลังงาน ในรูปของคณะ กรรมการ โดยในช่ ว งเริ่ ม จั ด ตั้ ง สถาบั น วิ จั ย พลั ง งาน ม.อ. จะ ด�ำเนินการในฐานะประธานคณะ กรรมการ จนกว่ า จะมี ผู ้ แ ทน โรงงานควบคุมเป็นประธานคณะกรรมการเป็นการถาวร ทั้งนี้สมาชิก ของสมาคมเครือข่ายฯ ซึ่งอยู่ในโรงงานควบคุม ของสถาบันวิจัยพลังงาน ม.อ. มีจ�ำนวน 726 แห่ง ในเดือนพฤษภาคม นี้ จะมีการจดทะเบียน จัดตั้งสมาคมฯ และเริ่มรับสมัครสมาชิก ส�ำนักงานสมาคมฯ ในระยะแรก ใช้ ส ถานที่ สถาบั น วิ จั ย ระบบพลั ง งาน ม.อ. ส� ำ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นา ชั้น 11 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ โทร. 0 7428 6968 ดูรายละเอียด การจัดตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานฯ ได้ที่ http :// perin.psu.ac.th ด้าน นายด�ำรง ไสยะ วิศวกรอาวุโส ระดับ 11 โรงไฟฟ้าจะนะ บรรยายพิเศษ “การรับมือภาวะวิกฤตพลังงาน เมื่อพม่าหยุดจ่ายก๊าซ ให้ ไ ทย” โดยได้ พูดถึงมาตรการรองรับภาวะวิกฤตดังกล่าว ด้ วยการ งดการบ� ำ รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ้ า ทั้ ง หมด ช่ ว งวั น ที่ 5 -14 เมษายน 2556
ประสานงานกับประเทศเพื่อนบ้าน สปป. ลาว เพื่อขอซื้อ ไฟฟ้ า เพิ่ ม เติ ม ประสานงานกรมชลประทานเพิ่ ม การ ระบายน�้ ำ เพื่ อ ลดปริ ม าณการใช้ น�้ ำ มั น ในการผลิ ต ไฟฟ้ า โดยไม่ ก ระทบกั บ พื้ น ที่ ท ้ า ยน�้ ำ และ ขอความร่ ว มมื อ จาก โรงไฟฟ้ า ทุ ก โรงไฟฟ้ า เดิ น เครื่ อ งเต็ ม ที่ โรงไฟฟ้ า จะนะ จ่ายไฟฟ้าครอบคลุม 5 จังหวัด ได้แก่ สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี และ นราธิวาส จังหวัดสงขลาซึ่งในภาคใต้จังหวัด สงขลามีปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด 500 เมกะวัตต์ ก่ อ นการส่ ง มอบรายงานการจั ด การพลั ง งานของ โรงงานควบคุม ได้มีการจับรางวัล IPAD 4 จ�ำนวน 1 รางวัล ให้กับโรงงานควบคุมที่ส่งมอบรายงานฯ โดยโรงงานที่ได้ รับรางวัล ได้แก่ บริษัทเจริญโภคภัณฑ์ โดย นายจักรรินทร์ เดชสถิตย์ ผู้แทน พลังงานจังหวัดสงขลา เป็นผู้จับรางวัล และมอบรางวัล ในครั้งนี้ การรับมอบรายงาน การจัดการพลังงานโรงงาน ควบคุ ม พื้ น ที่ ภ าคใต้ จาก ผู้แทนโรงงานควบคุมฯ ซึ่ง ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การส่ง เสริมการอนุรักษ์พลังงาน ในระดับดีเยี่ยมจ�ำนวน 45 แห่ง ในครั้งนี้ มี รศ.ดร. สุเมธ ไชยประพัทธ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยระบบพลังงาน ม.อ. นายด�ำรง ไสยะ วิศวกรอาวุโส ระดับ 11 โรงไฟฟ้าจะนะ นาย จักรรินทร์ เดชสถิตย์ ผู้แทน พลังงานจังหวัดสงขลา และ นายกิตติเทพ ถาวรสุข เลขาธิการสภาอุตสาหกรรม จังหวัด สงขลา ร่ ว มรั บ มอบรายงานการจั ด การพลั ง งานดั ง กล่ า ว
23
วิจัย
หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด ประกวดงานวิ จั ย ที่ มี ป ระโยชน์ ต ่ อ ชุ ม ชน ประจ�ำปี 2555 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการท�ำวิจัยที่ชุมชนสามารถน�ำ ไปต่อยอดและปฏิบัติได้จริง ปีนี้มีงานวิจัยได้รับรางวัลดีเด่นจ� ำนวน 2 งานวิจัย ได้แก่ งานวิจัยเรื่องสถานภาพการผลิตโคเนื้อและเนื้อโคของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และงานวิจัยเรื่องการประยุกต์ ใช้ระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศ ส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำ เสียสหกรณ์ โรงอบ/รมยาง และทดแทนเชื้อเพลิงไม้ฟืนในการรมควันยางแผ่น
ม.อ. หนุนงานวิจัยใช้ได้จริง มอบรางวัล
งานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชน ประจ�ำปี 2555
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธรรม นิยมวาส ผู้อ�ำนวย การส�ำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ กล่าวว่า การประกวด ผลงานดั ง กล่ า วมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สนั บ สนุ น ให้ นั ก วิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย จัดท�ำโครงการวิจัยที่มีคุณค่า สามารถ น�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ด้าน การพั ฒ นาความเป็ น อยู ่ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน การเมื อ ง การปกครอง เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม นโยบายของทางราชการ หรื อ อื่ น ๆ ซึ่งการประกวดในปีนี้มีผลงานวิจัยที่ได้รับการพิจารณาให้ได้ รับรางวัลดีเด่นที่มีประโยชน์ต่อชุมชน จ�ำนวน 2 ผลงานวิจัย ได้แก่ งานวิจัยเรื่องสถานภาพการผลิตโคเนื้อและเนื้อโคของ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และงานวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้ระบบ บ่ อ หมั ก ร่ ว มไร้ อ ากาศ ส� ำ หรั บ บ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย สหกรณ์ โ รงอบ/ รมยาง และทดแทนเชื้ อ เพลิ ง ไม้ ฟ ื น ในการรมควั น ยางแผ่ น รองศาสตราจารย์ ดร.โอภาส พิมพา นักวิจัยจากคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุ ร าษฎร์ ธ านี เจ้ า ของผลงานวิ จั ย เรื่ อ ง สถานภาพการผลิ ต โคเนื้ อ และเนื้ อ โค ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวว่า พื้นที่ ส่ ว นใหญ่ ใ นจั ง หวั ด สุ ร าษฏร์ ธ านี เ ป็ น พื้ น ที่ เ กษตรกรรม นิ ย มปลู ก ยางพารา ปลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น แต่ ยั ง มี เ กษตรกร บางส่วนที่เลี้ยงโคเนื้อเป็นอาชีพเสริม แต่ทว่าการขยายพื้นที่ ปลู ก ปาล์ ม น�้ ำ มั น มี เ พิ่ ม มากขึ้ น ในขณะที่ ก ารเลี้ ย งโคเนื้ อ กลับมีจ�ำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง จึงเกิดค�ำถามว่าโคเนื้อจะ อยู่ร่วมกันกับปาล์มน�้ำมันได้อย่างไร และจะเพิ่มมูลค่าของ
24
โคเนื้ อ ในระบบเกษตรกรรมได้ อ ย่ า งไร จากการศึ ก ษาพบ ว่ า เกษตรกรยั ง ประสบปั ญ หาหลายประการ ทั้ ง ปั ญ หาการ เลี้ยง การจัดการอาหารสัตว์ การจัดตั้งกลุ่ม ปัญหาด้านองค์ ความรู ้ ด้ า นการจั ด การมู ล โคและของเสี ย ตลอดจนปั ญ หา ด้านการตลาด เพื่อช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว จึงน�ำองค์ความรู้ จากการวิ จั ย ถ่ า ยทอดสู ่ ชุ ม ชน สนองการท� ำการเกษตรแบบ ผสมผสาน และใช้ ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอ เพียง ตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ นักวิจัย จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เจ้ า ของผลงานวิ จั ย เรื่ อ งการประยุ ก ต์ ใช้ ร ะบบบ่ อ หมั กร่ ว มไร้ อ ากาศ ส�ำหรั บ บ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย สหกรณ์ โ รงอบ/รมยาง ทดแทนเชื้ อ เพลิ ง ไม้ ฟ ื น ในการมควั น ยางแผ่ น กล่ า วว่ า งานวิ จั ย ชิ้ น นี้ ไ ด้ น� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นสหกรณ์ ก องทุ น สวน ยางน�ำร่อง คือ ส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง
บ้านเก่าร้าง และได้มีการน� ำไปขยายผลยังสหกรณ์อื่นในเฟส 1 โดยการสนับสนุนร่วมระหว่างสหกรณ์เองและกระทรวงพลังงาน อีก 10 แห่ง ปัจจุบันมีการเข้าศึกษาดูงานในสหกรณ์กองทุนสวน ยางบ้ า นเก่ า ร้ า งอย่ า งต่อเนื่องจากกลุ่มเกษตรกรต่างๆ ทั้ ง จาก ภาคใต้และภาคอื่นๆ ของประเทศ รวมทั้งจากต่างประเทศ โดย หลายแห่ ง ของบประมาณจากจั ง หวั ด หรื อ องค์ ก รในพื้ น ที่ เพื่ อ ก่อสร้าง และทางผู้วิจัยได้ให้การสนับสนุนทางเทคนิคอย่างต่อ เนื่องแบบให้เปล่า และคณะผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะหารือกับกระทรวง พลังงานและส�ำนักงานสงเคราะห์การท�ำสวนยางเพื่อด�ำเนินการ ในเฟสต่อไป และผลักดันเชิงนโยบายให้ระบบผลิตก๊าซชีวภาพเป็น มาตรฐานในการจัดท�ำโรงงานยางแผ่นรมควันของประเทศต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล รองอธิการบดี ฝ่ายระบบวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยมี นโยบายที่ จ ะสร้ า งผลงานวิ จั ย และน� ำ องค์ ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด โดย เฉพาะประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่น ทั้งในระดับภาคใต้และในระดับประเทศ ซึ่ง มหาวิทยาลัยได้จัดประกวดและมอบรางวัล งานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง มาตั้งแต่ปี 2545 เนื่องด้วยเห็นความส�ำคัญของนักวิจัยซึ่งเป็นองค์ ประกอบหลักของการท� ำวิจัยที่ดีและมีคุณภาพ การมอบรางวัล
ดังกล่าวนี้จึงเป็นเสมือนการสร้างก�ำลังใจ การสร้างแรงกระตุ้น ให้ นั ก วิ จั ย มี พ ลั ง ที่ จ ะสร้ า งงานวิ จั ย ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ป ระเทศชาติ ต ่ อ ไป
25
วิจัย ผศ.ดร.วิ ภ าดา เวทย์ ป ระสิ ท ธิ์ รั ก ษาการ รองผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นา ฝ่ า ยเผย แพร่ แ ละสารสนเทศวิ จั ย ในฐานะตั ว แทนส� ำ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นา เข้ า ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ด กิ จ กรรม มหกรรมวิ จั ย ส่ ว นภู มิ ภ าค ครั้ ง ที่ 1(Regional Research Expo 2013) วั น ที่ 13 มี น าคม พ.ศ. 2556 ณ จั ง หวั ด ขอนแก่น โดยเน้น งานวิจัยที่ใช้ ได้ กินได้ จากผลงาน วิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น และมหาวิ ท ยาลั ย ในเครือข่ายวิจัยภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ส�ำนักวิจัยและพัฒนา เข้าร่วมกิจกรรม
มหกรรมวิจัยส่วนภูมิภาค ครั้งที่ 1 ณ จังหวัดขอนแก่น ด้วยแนวคิด...
“งานวิจัยที่ใช้ได้ กินได้” โดยในช่ ว งเช้ า เป็ น พิ ธี เ ปิ ด งาน ซึ่ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก คุณศันสนีย์ นาคพงศ์ รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี มาเป็ น ประธานในพิ ธี พ ร้ อ มกล่ า วเปิ ด งาน นอกจากนี้ ยั ง มี นายสมศั ก ดิ์ สุ ว รรณสุ จ ริ ต ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ขอนแก่ น เป็ น ผู ้ ก ล่ า วต้ อ นรั บ และ ศ.นพ.สุ ท ธิ พ ร จิ ต ต์ มิ ต รภาพ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เป็นผู้กล่าวรายงาน โดยนอกจากพิธีเปิดงานแล้ว คุณศันสนีย์ ยังกล่าวปาฐกถา พิ เ ศษเรื่ อ ง “การบู ร ณาการยุ ท ธศาสตร์ ป ระเทศกั บ การวิ จั ย ของชาติ ” ให้ แ ขกที่ ม าร่ ว มงาน ได้ รั บ ฟั ง ถึ ง ยุ ท ธศาสตร์ ข อง รัฐบาล ที่มุ่งเน้นเรื่องการพัฒนางานวิจัย ให้มีประสิทธิภาพ และยกระดับขีดความสามารถของคนในประเทศได้มากขึ้น นอกจากนั้นในช่วงบ่ายยังมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งภาคนิทรรศการ และการอภิปราย เสวนา หรือการสาธิตจากปราชญ์ชาวบ้าน ซึ่งน�ำผลงานวิจัยที่ใช้ได้ กินได้ มาแสดงให้เห็นทักษะ ความ สามารถในการพั ฒ นาและต่ อ ยอดงานวิ จั ย สู ่ ก ารน�ำ ไปใช้ ประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง โดยงานดั ง กล่ า วจะจั ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในปีหน้า โดยจะหมุนเวียนเปลี่ยนไปทั่วทุกภูมิภาค เพื่อให้เกิด การตื่นตัวทางด้านงานวิจัยอย่างยั่งยืนต่อไป
26
สู่นานาชาติ
ม.อ. น�ำหลักสูตรนานาชาติจัดโรดโชว์ที่เซี่ยงไฮ้
ม
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดตลาดการศึกษา ประเทศจีน ร่วมงาน the 9th Forum on International Education Cooperation ระหว่าง 28-29 เมษายน 2556 ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจี น โดยเน้ น สาขา บริ ก ารการท่ อ งเที่ ย ว ม.อ.วิ ท ยาเขต ภูเก็ต สาขาดิจิตอล มีเดีย ม.อ.วิทยาเขตหาดใหญ่ บริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.หาดใหญ่ และ Thai Cultural Program ซึ่งเป็นหลักสูตรพิเศษ 1 เดือน ที่ ม.อ.วิทยาเขตหาดใหญ่
ผศ.ดร.ราม แย้มแสงสังข์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้อ�ำนวยโครงการจัดตั้งวิทยาลัย นานาชาติ เปิ ด เผยว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ สนใจเปิ ด ตลาดจีนให้กว้างขวางขึ้น จึงได้จัดโรดโชว์ที่ประเทศจีน จึงได้เข้า ร่ ว มงาน the 9 th Forum on International Education Cooperation ระหว่าง 28-29 เมษายน 2556 ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ณ ห้ อ งสมุ ด นครเซี่ ย งไฮ้ โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย ในประเทศไทยเข้ า ร่วม 4 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยรามค� ำแหง มหาวิทยาลัย หอการค้ า ไทย มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ ร่ ว มด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศอื่ น ๆ ประกอบด้ ว ย มหาวิ ท ยาลั ย และหน่ ว ยงานด้ า นการศึ ก ษาจากประเทศอิ ยิ ป ต์ สวี เ ดน รั ส เซี ย เยอรมั น ไต้ ห วั น และมหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศจี น และมีความร่วมมือในการจัดค่ายวัฒนธรรม Thai Cultural Program ซึ่งเป็นหลักสูตรพิเศษ 1 เดือน ของงานวิเทศสัมพันธ์ กอง บริ ก ารการศึ ก ษาให้ กั บ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เซี่ ย งไฮ้ โดยการ ประสานงานของนางหัทยา คูสกุล รองกงศุลใหญ่ ณ นครเซี่ยงไฮ้ ขณะนี้ นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ที่ ม าเรี ย นที่ ม.อ.มากที่ สุ ด คื อ นักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รับนักศึกษาจีน มาเรียน ปริญญาตรี สาขาบริการและการท่องเที่ยว ม.อ.ภูเก็ต รุ่นละ 30 คน โดยรับตรงระดับมัธยม ที่มณฑลเจียงซี มีเจียงซี ไซแอนซ์ แอนด์ เทคโนโลยี เป็นตัวแทนให้ นอกจากนี้ มี นั ก ศึ ก ษา อิ น โดนี เ ซี ย บังคลาเทศ ปากีสถาน มาเรียนระดับปริญญา โท เอก ด้านพยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ระบาดวิ ท ยา โดยมี นั ก ศึ ก ษาจาก ประเทศเวียดนามเพิ่มมากขึ้น โดยที่หลักสูตร ระดั บ โท เอก มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศไทย มี ก ารเปิ ด หลั ก สู ต รที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น จึ ง มี
คู ่ แ ข่ ง มาก และมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี น โยบายเปิ ด รั บ นักศึกษาจากประเทศอาเซียนมากชึ้น สาขาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เน้ น ส่ ง เสริ ม ได้ แ ก่ สาขา บริ ก ารการ ท่องเที่ยว ม.อ.วิทยาเขตภูเก็ต สาขาดิจิตอล มีเดีย ม.อ.วิทยาเขต หาดใหญ่ บริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ ม.อ.หาดใหญ่ และ Thai Cultural Program ซึ่ ง เป็ น หลั ก สู ต รพิ เ ศษ 1 เดื อ น เรี ย นที่ ม.อ.วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ โดยมี ง านวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ กองบริ ก ารการ ศึกษา ดูแลหลักสูตร โดยอาจารย์ของวิทยาลัยนานาชาติเป็นผู้สอน ผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการการศึกษาต่อในครั้งนี้ ส่วนใหญ่จะ เป็ น ผู ้ ป กครอง มาขอข้ อ มู ล หลั ก สู ต รการศึ ก ษาไปให้ ลู ก หลาน ความสนใจของผู ้ ป กครอง จะสนใจสนั บ สนุ น ให้ บุ ต รหลานเรี ย น สาขาบริการการท่องเที่ยว และดิจิตอลมีเดีย นักเรียนส่วนใหญ่เรียน สายวิทยาศาสตร์ บางคนก็เคยมาท่องเที่ยวประเทศไทยและอยาก มาเรียนที่ประเทศไทย โดยคูหาของ ม.อ. ตกแต่งสวยงาม เพื่อดึงดูดผู้ชมงาม รวม ทั้งเจ้าหน้าที่ที่มาจัดนิทรรศการ แต่งกายด้วยชุดไทย เพื่อร่วมเผย แพร่วัฒนธรรมไทย มีสื่อมวลชน คือสถานีโทรทัศน์เซี่ยงไฮ้ มาท�ำ ข่าวและสัมภาษณ์ ผศ.ดร.ราม แย้มแสงสังข์ หัวหน้าคณะ ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น�ำไปออกอากาศ นับเป็นการเผยแพร่ มหาวิทยาลัยในสื่อต่างประเทศ และได้รับความร่วมมือจากศิษย์ เก่าของมหาวิทยาลัยที่มาเรียนต่อที่ประเทศจีน และนักศึกษาจีนที่ เคยมาเรียนภาษาที่ประเทศไทยมาร่วมให้ข้อมูลเป็นภาษาจีนแก่ผู้ สนใจ นอกจากนี้ได้ฉายวีดิทัศน์แนะน�ำมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาษาจีน แจกเอกสารแนะน�ำหลักสูตรที่เปิดสอน พร้อมทั้งอัตราค่า เรียน เวบไซต์ เพื่อประกอบการตัดสินใจ และจัดท�ำแบบสอบถาม ความสนใจหลักสูตรที่จะเรียน เพื่อจัดส่งข้อมูลให้ผู้สนใจต่อไป คณะผู้จัดนิทรรศการการศึกษาต่อ ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประกอบด้วย ผศ.ดร.ราม แย้ ม แสงสั ง ข์ ผู ้ ช ่ ว ยอธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ น.ส.ห้องขวัญ อ่องวุฒิวัฒน์ จากงานวิเทศสัมพันธ์ กองบริการ การศึกษา วิทยาเขตปัตตานี น.ส.ชุษณา สุวรรณมาลา น.ส.ณัฐกานต์ แก้ ว มณี จากงานวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ กองบริ ก ารการศึ ก ษา วิทยาเขต หาดใหญ่ นางวราภรณ์ ชวพงษ์ งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ม.อ.หาดใหญ่ และ น.ส.เจะมายะ เจะดื อ ราแม จากบั ณ ฑิ ต วิทยาลัย วิทยาเขตปัตตานี
27
วิจัย
รงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐที่มีศักยภาพสูงที่สุด ในภาคใต้ นอกจากเป็ น แหล่ ง ฝึ ก อบรมบุ ค ลากร แพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ และยังเป็น แหล่งส่งต่อ ส�ำหรับการดูแลผู้ป่วย ที่ ซั บ ซ้ อ น โรคยาก โรคที่ ต ้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี แ ละแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญที่ มี มาตรฐานสากลของภาคใต้
โครงการศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ภาคใต้ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
สิ่งดีๆ ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น ส�ำหรับผู้ป่วย นักศึกษา และประชาชนในภาคใต้ โรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ จึ ง เป็ น ภาพลั ก ษณ์ ข อง ประเทศที่บ่งระดับคุณภาพมาตรฐานทางการแพทย์ของภาคใต้ ซึ่งศักยภาพนี้ใช้สนับสนุนการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล อื่ น ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนในภาคใต้ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ตั้ ง ของโรง พยาบาลสงขลานครินทร์ในอ�ำเภอหาดใหญ่ถือเป็นต�ำแหน่งที่ ใช้ส�ำหรับสนับสนุนระบบรักษาพยาบาลการดูแลประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อสร้างความมั่นใจ เชื่อมั่นให้กับ ประชาชนในพื้นที่ไม่สงบ ด้วยมาตรฐานการแพทย์ของประเทศ ระบบการดูแลเอาใจใส่ของรัฐที่ต้องไม่ด้อยกว่าประเทศเพื่อน บ้านชายแดน และไม่ด้อยกว่าภูมิภาคอื่นภายในประเทศ จากยุทธศาสตร์ Asian Economics Community (AEC) การเปิดเสรีทางการค้าจะส่งผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพ การศึ ก ษา และการเคลื่ อ นย้ า ยบุ ค ลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ในอนาคต และสนั บ สนุ น นโยบายของรั ฐ บาลให้ เ กิ ด ผล ประโยชน์ที่แท้จริงอย่างยั่งยืน นโยบายของรั ฐ บาล ที่ ส นั บ สนุ น การเป็ น ศู น ย์ ก ลาง สุ ข ภาพนานาชาติ (Medical Hub) โดยให้ ทุ ก ภู มิ ภ าคมี Excellence Center เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น การยกระดั บ ศั ก ยภาพ มาตรฐานการแพทย์ของประเทศให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา ทางการแพทย์ (Academic Hub) เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นของคน ไทยทั้ ง ประเทศและขยายความสามารถในการแข่ ง ขั น เพื่ อ สร้างรายได้เข้าสู่ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น โดยก่อให้เกิดการ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ด้ า นบริ ก ารสุ ข ภาพในประเทศ โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ เห็นความจ�ำเป็นที่จะต้องปรับเพิ่มบทบาทของ โรงพยาบาล โดยให้ความร่วมมือกับพื้นที่จังหวัดสงขลา และ จังหวัดโดยรอบ เพื่อให้ตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาลและความ
28
คาดหวังของผู้รับบริการ โดยจัดตั้งศูนย์กลางทางการแพทย์ ระดับนานาชาติ เพื่อสร้างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เป็นศูนย์กลาง ทางการแพทย์ที่ร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน ใน เขตพื้นที่ภาคใต้ มีความเป็นเลิศทางวิชาการและการให้บริการ รักษาพยาบาลที่เทียบเคียงระดับสากล โดยลักษณะโครงการ คื อ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ทางการแพทย์ และเสริ ม ศักยภาพศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ที่มีอยู่แล้ว ให้ มีศักยภาพในการรักษาโรคยากและซับซ้อน โดยร่วมมือกับ ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตพื้นที่ภาคใต้ และเป็นที่ พึ่งพิงของประชาชนในภูมิภาค รวมทั้งเป็นแหล่งผลิตบุคลากร ทางการแพทย์ ชั้ น สู ง ผลิ ต งานวิ จั ย และนวั ต กรรม เพื่ อสร้าง องค์ความรู้ใหม่และน�ำมาใช้ในการพัฒนามาตรฐานการรักษา พยาบาลของประเทศ Research and Development (R&D) โดยจุดมุ่งหมายที่ก�ำหนดไว้ มีดังนี้ 1) เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการผลิ ต บุ ค ลากรแพทย์ แ ละ สาธารณสุขที่มีมาตรฐานคุณภาพสูงเข้าสู่ระบบ งานในภาคใต้ แ ละยกระดั บ การศึ ก ษาและ เศรษฐกิจของภาคใต้ตอนล่าง ยุ ท ธศาสตร์ ก ารเปิ ด Medical Hub และ การเข้ า สู ่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ก่อให้เกิดความต้องการ บุคลากรทางด้านการบริการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานระดับ สากลเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมาก รวมถึ ง ความต้ อ งการเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และบุคลากรทางการแพทย์ ในการดูแลรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ การ สร้ า งงานวิ จั ย ทางคลิ นิ ก ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ เพื่ อ ความเป็นเลิศทางวิชาการ และตอบสนองต่อความต้องการ
การเข้าถึงบริการที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และเพียงพอจากระบบบริการสุขภาพของประเทศที่ได้รับ การพัฒนาหลักประกันสุขภาพไปมากแล้ว 2) พั ฒ นาโรงพยาบาลสงขลานคริ น ทร์ ใ ห้ เ ป็ น Excellence Center ในภูมิภาค ความจ�ำเป็นในการสร้างความเจริญในเขตพื้นที่ภาคใต้ เพื่อเสริมยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาทางความไม่สงบ และ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนในเขตพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต้ ไ ด้ รั บ การยกระดั บ การศึ ก ษา เข้ า ถึ ง บริ ก ารสุ ข ภาพที่ มี ร ะดั บ มาตรฐานทัดเทียมระดับเพื่อนบ้าน และไม่ด้อยกว่าภูมิภาค อื่นของประเทศ รวมถึงการพัฒนาต่อเนื่องให้เป็นศูนย์กลาง ในการให้บริการโรคยากและซับซ้อน จัดการฝึกอบรมแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ 45 สาขา เพื่ อ ถ่ า ยทอดความรู ้ สร้ า งแพทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญ ให้ กั บ ประเทศและภู มิ ภ าคอย่ า งเพี ย งพอเสริ ม ศักยภาพสถานบริการในภาคใต้ทุกภาคส่วนทั้งภาครั ฐ และ เอกชน ใช้ เ ป็ น สถานที่ ฝ ึ ก อบรมบุ ค ลากรทางการแพทย์ ขั้ น สูงสุด และยังสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในภาคใต้ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมทางการ แพทย์ที่มีคุณภาพ สร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อน�ำมายกระดับการ แพทย์ และการสาธารณสุขของประเทศให้เป็นเลิศในภูมิภาค แนวทางการด�ำเนินงาน เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ การพัฒ นา ได้ มี การก� ำ หนดแผน งานไว้ดังนี้ • แผนงานจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ทางการแพทย์ ภาคใต้สาขาต่างๆ เช่น Comprehensive Cancer Center, Advance Diagnostics & Radiological Intervention
Center, Bioengineering & Nanotechnology Center, Genetics Diagnostics & Gene Therapy Center เป็นต้น • แผนงานการพั ฒ นา ระบบดูแลรักษาพยาบาลทาง การแพทย์โรคเฉพาะทาง โดย จั ด หาครุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี เ ทคโนโลยี การรั ก ษาที่ ทั น สมั ย ในการ เป็นศูนย์กลางในการให้บริการ โรคยากและซับซ้อน สามารถ รองรับการดูแลรักษาพยาบาล สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น เขตพื้ น ที่ ภ าคใต้ ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ และจั ด ระบบ การเข้าถึงบริการสุขภาพให้กับ ประชาชนในเขตพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะเขตพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ • แผนงานเพิ่มศักยภาพของแพทย์ บุคลากรทางการ แพทย์ โดยการจั ด หาแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ ศูนย์ละ 1 คน/ต�ำแหน่ง พร้อมกับ พัฒนาแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ และพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ ให้ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถเที ย บเท่ า มาตรฐานระดั บ นานาชาติ โครงการนี้ ก� ำ ลั ง ด� ำเนิ น การอยู ่ ใ นขั้ น ตอนการน� ำ เสนอ คณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ซึ่ง เมื่อมีการด�ำเนินการอย่างเต็มรูปแบบ คณะแพทยศาสตร์จะ เป็นแหล่งฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พยาบาล และบุคลากร ทางการแพทย์ และเป็นศูนย์การศึกษาต่อเนื่องส�ำหรับบุคลากร ทางการแพทย์ และศูนย์บริการวิชาการ ส�ำหรับประชาชนทั่วไป สามารถสร้างงานวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และน�ำมาใช้ในการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลของ ประเทศ (R&D) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากร เครื่อง มือ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อบริการผู้ป่วยในภาคใต้ และยกระดับขีดความสามารถให้ เป็นศูนย์การแพทย์เฉพาะทางในภาคใต้ มีความพร้อมสูงสุด ในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคยากและซับซ้อนในภาคใต้ โดยไม่ ต้องเดินทางไปรักษาพยาบาลในกรุงเทพมหานคร อีกทั้งเป็น แหล่ง ให้ เกิดการสร้ างงานวิ จั ยและนวัต กรรมทางคลินิก ทั้ง ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และเกิดความร่วมมือในระดับชาติ
(ที่มา ข่าวคณะแพทย์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 216 ประจ�ำเดือนมีนาคม 2556 น.8-9)
29
แนะน�ำหลักสูตรใหม่
กระแสความสนใจของสังคมเกี่ยวกับอาหารเพื่อการป้องกัน และการบํ า บั ด โรคมี ม ากขึ้ น ส่ ง ผลให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารที่ มี ก าร กล่ า วอ้ า งสรรพคุ ณ เพื่ อ สุ ข ภาพเป็ น ที่ ต ้ อ งการสํ า หรั บ ผู ้ บ ริ โ ภค มากขึ้ น มี ก ารนํ า เสนอข้ อ มู ล ข่ า วสารทางโภชนาการมากมายใน หลากหลายช่ อ งทางเพื่ อ สนองตอบต่ อ ความต้ อ งการของ ผู้บริโภค ดังนั้นการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโภชนาการ มีความสําคัญอย่างยิ่งกับสังคมไทย
ม.อ.ปัตตานีเปิดหลักสูตรโภชนศาสตร์
และการกําหนดอาหารเป็นแห่งแรกของภาคใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี เปิดหลักสูตรปริญญาตรีสาขา โภชนศาสตร์และการกําหนดอาหาร ใน ปีการศึกษา 2556 เปิดสอนเป็นที่เดียว ของภาคใต้ ทําให้บัณฑิตเป็นที่ต้องการ ในตลาดแรงงานไทย มีการสอนเกี่ยว กั บ หลั ก ฮาลาลสํ า หรั บ ระบบบริ ก าร สุขภาพและอาหาร รศ.ดร.ซุ ก รี หะยี ส าแม คณบดี ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี กล่าวว่า กระแสความสนใจของ สังคมเกี่ยวกับอาหารเพื่อการป้องกันและ การบําบัดโรคมีมากขึ้น ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ อาหารที่ มี ก ารกล่ า วอ้ า งสรรพคุ ณ เพื่ อ สุ ข ภาพเป็ น ที่ ต ้ อ งการสํ า หรั บ ผู ้ บ ริ โ ภค มากขึ้น มีการนําเสนอข้อมูลข่าวสารทาง โภชนาการมากมายในหลากหลายช่ อ ง ทางเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของ ผู้บริโภค ดังนั้นการมีความรู้ความเข้าใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับโภชนาการมีความสําคัญ อย่างยิ่งกับสังคมไทย ทําให้นักโภชนาการ ที่มีความรู้และมีศักยภาพในการให้ความ รู้และคําแนะนําที่ถูกต้องแก่ประชาชนใน การใช้อาหารเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน บําบัด และควบคุมโรค จึงยังเป็นที่ต้องการ ในสังคมไทย ในปัจจุบันนี้มีหลากหลาย หน่วยงานที่ต้องการผู้ปฏิบัติงานที่มีความ รู้ความสามารถทางด้านโภชนาการและ การกําหนดอาหาร ได้แก่ สถานพยาบาล
30
สถานประกอบการเกี่ยวกับสุขภาพ และ ความงาม อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ หน่ ว ยงานราชการที่ มี ห น้ า ที่ ส ่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ และให้ความรู้ทางด้านโภชนาการ และสถาบั น การศึ ก ษา แต่ ส ถาบั น การ ศึ ก ษาในประเทศไทยที่ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ใน สาขาการกํ าหนดอาหารยังมีจํ ากัดเพียง 2 สถาบั น คื อ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เท่านั้น จึงนับ ได้ ว ่ า บั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามรู ้ ค วามเชี่ ย วชาญ ในสาขาวิ ช านี้ ยั ง ขาดแคลนอยู ่ ใ นสั ง คม ไทย ประกอบกั บ เป็ น หลั ก สู ต รที่ มี ก าร เรียนการสอนเกี่ยวกับหลักฮาลาลสําหรับ ระบบบริการสุขภาพและอาหารด้วย รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม กล่าวเพิ่ม เติ ม ว่ า หลั ก สู ต รดั ง กล่ า วเป็ น การตอบ สนองต่ อ ปั ญ หาด้ า นความขาดแคลน บุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในด้ า น โภชนศาสตร์ แ ละการกํ า หนดอาหาร ที่ สํ า คั ญ ยั ง เป็ น การขยายโอกาสให้ กั บ ประชาชนในภาคใต้ให้สามารถศึกษาใน สาขาวิ ช าดั ง กล่ า วได้ ม ากขึ้ น เนื่ อ งจาก ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ก ารอาหารและ โภชนาการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นสถาบันการศึกษา เดี ย วที่ มี ห ลั ก สู ต รโภชนศาสตร์ แ ละการ กําหนดอาหาร ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ นอกจากนี้ อ งค์ ค วามรู ้ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ หลักสูตร สามารถนําไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ในด้ า นการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ การป้ อ งกั น
และการบํ า บั ด โรคที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การ บริโภคอาหาร สําหรับประชาชนในพื้นที่ ได้อีกด้วย อันจะเป็นการเพิ่มคุณภาพชีิวิต ของประชาชนในภาคใต้ได้อีกด้วย คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กําหนดเปิด รั บ เข้ า ศึ ก ษาตั้ ง แต่ ปี ก ารศึ ก ษา 2556 จํานวน 30 คน โดยผ่านกระบวนการคัด เลื อ กจากสํ า นั ก งานคณะกรรมการการ อุ ด มศึ ก ษา และมหาวิ ท ยาลั ย กํ า หนด โดยผู้ศึกษาในหลักสูตรนี้จะมีความรู้ทาง ด้านโภชนศาสตร์และการกําหนดอาหาร สามารถบูรณาการความรู้ในการวางแผน จั ด อาหารอย่ า งถู ก หลั ก โภชนาการ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการสํ า หรั บ คน ปกติ แ ละผู ้ ป ่ ว ยด้ ว ยโรคต่ า งๆ ถ่ า ยทอด ความรู ้ แ ก่ ป ระชาชนเพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ อาหารในการป้องกัน บําบัด และควบคุม โรคที่เกี่ยวข้องกับอาหารได้ ประยุกต์ใช้ ความรู้ทางด้านโภชนศาสตร์ในการพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารเพื่ อ สุ ข ภาพได้ อ ย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง มี ทั ก ษะในการ บริหารจัดการการบริการอาหารปริมาณ มากสําหรับกลุ่มคนปกติและกลุ่มผู้ป่วย อีกด้วย ผู ้ ส นใจสอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติมได้ที่ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร และโภชนาการ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี โทร.0 7331 2160 ในวั น และเวลาราชการ หรื อ เวปไซต์ www.sat.psu.ac.th
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
นักศึกษาแพทย์ ประจ�ำรุ่น 38
คว้ารางวัลผลงานระดับนานาชาติ นักศึกษาแพทย์ รุ่น 38 เข้าร่วม Siriraj International Medical Microbiology and Immunology Competition Thailand 2012 (SIMIC THAILAND 2013) ซึ่งเป็นการแข่งขัน ตอบปัญหาจุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา และวิทยาภูมิคุ้มกันทาง การแพทย์ น านาชาติ จั ด ขึ้ น ที่ ค ณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าช พยาบาล ระหว่างวันที่ 14-17 มีนาคม 2556 การแข่งขันครั้งนี้มีสถาบันแพทย์ ส่งนักศึกษาเข้าแข่งขันทีมละ 4 คน รวมทั้งหมด 70 ทีม ซึ่งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ส่งทีมนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 (ในขณะนั้น) จ� ำนวน 4 คน สมัครร่วม แข่งขันเป็นปีแรก ในทีมประกอบด้วย นศพ. ณัฐพร ชุมคง นศพ. ณัฐพล อุบลสูตรวนิช นศพ. สิปป์ภวิชญ์ อิสริวาทีกร และ นศพ. ศศิกร ปรีชา โดยรูปแบบของการแข่งขันแบ่งเป็น 2 วัน วันแรก ข้อสอบลักษณะ True or False 5 ข้อ ใน 20 หัวข้อใหญ่ (รวมข้อสอบ True or False ทั้งหมด 100 ข้อ) มีการคิดคะแนนแบบบวกเพิ่มจากข้อที่ตอบถูกและหักลบจากข้อที่ ตอบผิดในแต่ละหัวข้อใหญ่ การสอบข้อเขียนในครั้งนี้ใช้เป็นเกณฑ์ในการจับ ฉลากแบ่งสายในวันต่อไปตามคะแนนเฉลี่ยของแต่ละทีม โดยทีมที่มีคะแนน เฉลี่ยสูงสุด 40 ทีมแรก ใน 70 ทีม จาก 17 ประเทศ จะได้เข้ารอบต่อไป วันที่สอง เป็นการสอบปากเปล่า โดยแบ่งสายเป็น 8 สาย สายละ 5 ทีม การสอบมีลักษณะให้แต่ละทีมส่งผู้เข้าแข่งขันขึ้นเวที 3 คน และให้ สมาชิกของแต่ละทีมออกมายืนข้างหน้าเวทีเพื่อตอบค�ำถามครั้งละ 1 คน โดยมีกติกาว่า ถ้าตอบค�ำถามส�ำหรับตนเองถูกจะได้ 3 คะแนน ถ้าตอบผิด สมาชิกจากทีมอื่นจะแข่งกันกดปุ่มเพื่อแย่งสิทธิ์ในการตอบ ซึ่งถ้าตอบถูก จะได้ 2 คะแนน ถ้าตอบผิดจะติดลบ 1 (-1) คะแนน โดยทีมที่ได้อันดับ 1 ของแต่ละสายจะได้ผ่านเข้ารอบต่อไป ซึ่งเป็นลักษณะสอบปากเปล่าเช่นกัน จนเหลือ 3 ทีมสุดท้ายในรอบชิงชนะเลิศ ผลการฝ่ า ฟั น ของน้ อ ง ๆ ที่ สุ ด ก็ ส ามารถเข้ า สู ่ ร อบ 8 ที ม สุ ด ท้ า ย (semi - final)และคว้ารางวัลดังนี้ 1 เหรียญทอง คือ นศพ. ศศิกรปรีชา ประเภท รวมคะแนนบุคคล
1 เหรี ย ญเงิ น คื อ นศพ. ณั ฐ พร ชุ ม คง ประเภท รวมคะแนนบุคคล 2 เหรี ย ญทองแดง ได้ แ ก่ นศพ. ณั ฐ พล อุ บ ล สู ต ร ว นิ ช และน ศ พ . สิ ป ป ์ ภ วิ ช ญ ์ อิสริวาทีกร ประเภทรวมคะแนนบุคคล นอกจากผลการคว้ารางวัลในประเทศแล้ว คณะแพทยศาสตร์ ยังได้เคยส่งนักศึกษาอีก 1 ทีม ไปร่วมแข่งขัน “10th Inter-Medical School Physiology Quiz” ระหว่างวันที่ 29 - 30 สิงหาคม 2555 ณ University of Malaya ประเทศมาเลเซีย โดยมี นศพ.ณัฐพล อุบลสูตรวนิช นศพ.สิปป์ภวิชญ์ อิสริวาทีกร นศพ. ณภัทร พฤกษ์ประเสริฐ,นศพ. สรวิ ช ญ์ พุ ฒิ นาถ,นศพ. สุ พ ศิ น บู ช า เข้าร่วม แข่งขันโดยมีอาจารย์พี่เลี้ยง 2 ท่าน คอยดูแลและ ให้ค�ำแนะน�ำ คือ อาจารย์ นพ. ปราโมทย์ ทานอุทิศ และภาควิชารังสีวิทยาอาจารย์ นพ.ธนาพั น ธ์ พีรวงศ์ ภาควิชารังสีวิทยา และนั ก ศึ ก ษาของเราสามารถคว้ า รางวั ล “The second best new team” ซึ่ ง เป็ น รางวั ล ที่ ม อบให้ กั บ ที ม ใหม่ ที่ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ที่ ท� ำ คะแนนเฉลี่ ย ได้ อ ยู ่ อั น ดั บ ที่ 15 จากที ม เข้ า ร่ ว ม การแข่งขั้นทั้งหมด 70 ทีมมาแล้ว ที่มา ข่าวงานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์
31
ศิลปวัฒนธรรม
นิตยา ไกรวงศ์
เมื่อพยาบาล สร้างสรรค์งานเพลง
ห
ลั ง จากเสี ย งของวงคอรั ส ในงาน “วิ พิ ธ ทั ศ นา” จบลงมี ค วาม สงสั ย ว่ า ใครเป็ น คนแต่ ง เพลงเหล่ า นี้ เนื่ อ งจากแต่ ล ะเพลง ของคณะแพทยศาสตร์ ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น นั้ น ล้ ว นมี ค วามหมาย และมี คุ ณ ค่ า มากนัก แล้วผู้แต่งเพลง ผู้ประพันธ์เพลง ส่วนใหญ่ก็จะเป็นบุคลากรของ คณะแพทยศาสตร์เสียด้วยซ�้ำ
พี่ไม่ได้คิดว่าตัวเองเป็นกวี หรือ นักประพันธ์ หรอกค่ะ เพราะไม่ใช่คนที่จะนั่งดูท้องฟ้า ดู ทะเล หรือดูดาวยามค�่ำคืน แล้วเกิดแรงบันดาล ใจแต่งกลอนพรั่งพรูออกมาท�ำนองนั้น คนที่ สนิทกันจะรู้ว่าพี่เป็นสไตล์เด็กวิทย์ ไม่ใช่เด็ก ศิลป์ ส่วนใหญ่ผลงานของพี่เป็นเพราะมีคน ตั้งโจทย์ให้ แล้วพี่ก็มีหน้าที่แก้โจทย์ให้ส�ำเร็จ ส�ำหรับตัวเองถ้ามีคนมาชมว่า แต่งเก่งจัง กลอน เพราะจัง ก็ชื่นใจแล้วค่ะ
32
“ตะลุ ง แพทยศาสตร์ ” เป็ น อี ก หนึ่ ง บทเพลงที่ ผู ้ แ ต่ ง เป็ น บุ ค ลากรของคณะ แพทยศาสตร์ นั่ น คื อ คุ ณ นิ ต ยา ไกรวงศ์ ภารกิ จ หลั ก ของพี่ นิ ต ยา คื อ พยาบาล และท� ำ หน้ า ที่ นี้ ไ ด้ ดี จนได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น หั ว หน้ า หอผู ้ ป ่ ว ยเฉลิ ม พระบารมี 11 แต่นอกจากท�ำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยได้เป็นอย่างดีแล้ว การแต่งเพลง หรือ แต่งกลอน ก็เป็นเลิศ เพราะไม่ว่าจะงานเล็ก งานใหญ่ โดยเฉพาะงานส�ำคัญๆ ของคณะฯ พี่นิตยา จะได้ รั บ การทาบทามให้ แ ต่ ง กลอนเพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นงานนั้ น ๆ ซึ่ ง เป็ น ที่ ป ระทั บ ใจ และชื่นชอบ แก่ผู้ฟังและผู้จัดงานเป็นอย่างยิ่ง พาไปฟังพี่นิตยาเล่าดีกว่า ว่าการเป็น พยาบาลนักประพันธ์ มีที่มาที่ไปอย่างไร และรู้สึกอย่างไรบ้าง เริ่มท�ำงานในคณะแพทย์ พี่เริ่มท�ำงานในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2526 ค่ะ (30 ปีแล้ว) จุดเริ่มต้นของความสนใจในการแต่งกลอน แต่งเพลง ที่บ้านเป็นครอบครัวครู (วิชาเอกภาษาไทย) จึงมีหนังสือวรรณคดีต่างๆ เช่น พระอภัยมณี รามเกียรติ์ อิเหนา ลิลิตพระลอ ฯลฯ ตอนเด็กๆพี่ชอบอ่านหนังสือเหล่านี้ พอโตขึ้นก็ได้เรียนเรื่อง โคลง กาพย์ กลอน ประเภทต่างๆ จึงสามารถแต่งส่งครูได้เร็ว กว่ า เพื่ อ นๆ เพราะเราจะคุ ้ น เคยกั บ รู ป แบบการสั ม ผั ส นอก สั ม ผั ส ใน แบบแผน ฉันทลักษณ์ต่างๆ จากการอ่านและจ�ำมาตั้งแต่เด็กๆ ค่ะ ตอนเรียนมัธยมพี่จะท�ำคะแนนภาษาไทยได้ดี อาจารย์แนะแนว อยากให้เรียน อั ก ษรศาสตร์ แต่ พี่ ไ ม่ อ ยากเป็ น ครู จึ ง เลื อ กเรี ย นสายวิ ท ย์ และตั้ ง ใจเลื อ กเรี ย น พยาบาล เพราะอยากให้มีใครสักคนในครอบครัวที่รู้เรื่องเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บบ้างค่ะ ชอบผลงานที่แต่งชิ้นไหนมากที่สุด ชอบกลอน “มหิดลร�ำลึก” ค่ะ รศ.ดร.อรัญญา เชาวลิต คณบดีคณะพยาบาล ศาสตร์ ม.อ. (ขณะนั้นท่านด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดี) ขอให้แต่งกลอนเพื่อน�ำไป ท�ำโปสเตอร์ จัดนิทรรศการในงาน “วั นถื อ ประโยชน์ เ พื่ อนมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิจ ที่หนึ่ง” เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2552 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ และทราบว่าอาจารย์ คณะศิลปศาสตร์น�ำไปท�ำเป็นเพลง โดยแต่งท�ำนองให้ ซึ่งมีการร้องเพลงนี้ในการแสดง ดนตรีวันนั้นด้วย แต่พี่ติดช่วยงานวันมหิดลของคณะแพทย์ จึงไม่ได้ไปร่วมงานของ มหาวิทยาลัย เลยไม่มีโอกาสได้ฟังค่ะ พยาบาลกับการแต่งกลอนหรือเพลงที่ไม่น่าจะไปกันได้ คิดว่าเป็นการฝึกสมองซีกซ้าย กับซีกขวาให้ทำ� งานสมดุลกันค่ะ ซึ่งในคณะแพทย์
ก็มีบุคลากรอีกหลายท่านที่สามารถแต่งเพลง หรือแต่งกลอนได้ เพียงแต่พี่อาจ จะท�ำงานมานาน จึงมีคนรู้จักเยอะกว่าและบอกต่อๆ กันมา พอใครต้องการกลอน ก็จะนึกถึงพี่ค่ะ ผลงานที่ประพันธ์ขึ้นมาตั้งแต่ชิ้นแรกจนถึงปัจจุบันทั้งหมดมีกี่ชิ้น ถ้าแต่งเพลงมีไม่มากค่ะ จะมี 3 เพลงที่ประทับใจค่ะ ส่วนแต่งกลอน พี่ไม่ เคยนับ คิดว่า คงเยอะเหมือนกัน และมีหลากหลายแนวมาก เช่น งานเกษียณ อายุ ร าชการของบุ ค ลากรในคณะฯ งานเปิ ด การประชุ ม วิ ช าการ งานแต่ ง งาน งานเชิดชูเกียรติ วันส�ำคัญต่างๆ งานศพ ฯลฯ ซึ่งถ้าแต่งกลอนงานศพ ตอนนั่งเขียน จะรู้สึกเย็นหลังวูบๆ (กลัวเค้าจะมาขอบคุณค่ะ) รู้สึกอย่างไรเวลาที่ได้แต่งกลอนหรือแต่งเพลง จริงๆ แล้วไม่ใช่เป็นความชอบ แต่เป็นสิ่งที่เราท�ำได้ มากกว่า เพราะส่วนใหญ่ เป็นผู้ที่เราเกรงใจ ขอมา เช่น งานเกษียณ ถ้าเป็นคนที่เรารู้จัก ก็จะแต่งได้เร็ว ถ้า บางคนเราไม่รู้จัก ก็จะแต่งตามที่เค้าเล่าให้ฟัง หรือเขียนประวัติใส่กระดาษมาให้ ซึ่งต้องใช้จินตนาการนานหน่อย และรู้สึกว่า กลอนออกมาแห้งๆ ไม่มีชีวิตชีวาค่ะ ต่างจากกลอนที่เราอยากเขียนขึ้นมาให้ใครคนใดคนหนึ่งเป็นพิเศษค่ะ เพลงตะลุงคณะแพทย์ทแี่ ต่งขึน้ มีทมี่ าทีไ่ ปอย่างไร มีแรงบันดาลใจจากไหน เพลงตะลุงแพทยศาสตร์ เป็นเพลงแรกที่แต่ง (เมื่อก่อนเคยแต่แปลงเพลง) ตอนนั้นปี พ.ศ.2540 ครบ 25 ปี คณะแพทย์ มีการจัดประกวดแต่งเพลงเพื่อน�ำไป ท�ำเป็นเพลงประจ�ำคณะฯ พี่กุ้ง ชุติมา ผาติด�ำรงกุล หน่วยปฐมภูมิ เป็นคนบอกให้ ส่งประกวด แต่เนื่องจากพี่ไม่มีความรู้เรื่องดนตรีเลย และไม่ทราบว่าจะเริ่มยังไง จึง เฉยๆ แต่พี่กุ้งก็คอยลุ้นอยู่ตลอด จึงคิดว่าน่าจะลองดู ก็เลยแต่งเป็นกลอนขึ้นมาก่อน แล้วลอง เคาะจังหวะใส่ท�ำนองเข้าไป ถ้าไม่ลงตัวก็เพิ่มค�ำ หรือตัดค�ำ จนจบเพลง แล้วส่งไปประกวด ต่อมากรรมการก็โทรมาบอกให้ส่งเป็นเทปไปให้ เพราะต้องการรู้ ว่าเพลงนี้ร้องยังไง แต่พี่ไม่รู้จักใครที่จะให้ช่วยร้องเพลงและเล่นดนตรีให้ ก็เลยเฉยๆ จนใกล้จะหมดเขต มีความรู้สึกว่าถ้าเพลงของเราได้รับการคัดเลือกเป็นหนึ่งในเพลง ประจ�ำคณะฯ คงเป็นความภาคภูมิใจมากๆ คืนนั้นก็เลยอัดเทป เสียงร้องของตัวเอง โดยใช้ปากกาเคาะขวดให้เป็นจังหวะแทนเครื่องดนตรี ตอนเช้าก็ส่งไปให้กรรมการ ทันเวลาพอดีค่ะ (เพิ่งมาทราบภายหลังว่า เพลงที่แต่งไปนั้นเป็นจังหวะตะลุง) เพลงที่ 2 ชื่อเพลง “ไข้ใจ เมื่อไกลเธอ” คือมีหนุ่มคนหนึ่งมาเฝ้าไข้พ่อและ
แอบปิ๊งพยาบาลที่หอผู้ป่วยพี่ (สมัยนั้นพี่ เป็นหัวหน้าหอ ผู้ป่วยพิเศษทั่วไป) เพลงนี้ แต่งเสร็จตั้งใจจะเขียนเนื้อเพลงด้วยลายมือ ใส่ ก ระดาษหวานๆ แล้ ว น� ำ ไปเข้ า กรอบ สวยๆ มอบให้น้องเค้าในวันแต่งงาน จนป่านนี้ น้องเค้าแต่งงาน มีลูก 2 คนแล้ว แต่พี่ก็ยัง ไม่ได้ใส่กรอบให้เค้าเลยค่ะ เพลงที่ 3 ชื่อเพลง “อุ่นไอรัก” แต่ง ตอนไปดูงานที่มูลนิธิฉือจี้ ประเทศไต้หวัน ได้ให้ไกด์ แปลเป็นภาษามือให้ด้วย ซึ่งต่อ มาพี่จุด (จุฑารัตน์ เกียรติศิริโรจน์) ได้นำ� ไป เผยแพร่ โดยให้แกนน�ำจริยธรรมร้องเพลงนี้ และท� ำ ภาษามื อ ประกอบ ก่ อ นเริ่ ม การ อบรมจริยธรรมของฝ่ายบริการพยาบาลค่ะ (ร้องกันสดๆ เพราะไม่มีดนตรี) ความฝันอันสูงสุดของนักประพันธ์ พี่ไม่ได้คิดว่าตัวเองเป็นกวี หรือ นัก ประพันธ์หรอกค่ะ เพราะไม่ใช่คนที่จะนั่งดู ท้องฟ้า ดูทะเล หรือดูดาวยามค�่ำคืน แล้ว เกิดแรงบันดาลใจแต่งกลอนพรั่งพรูออกมา ท�ำนองนั้น คนที่สนิทกันจะรู้ว่าพี่เป็นสไตล์ เด็กวิทย์ ไม่ใช่เด็กศิลป์ ส่วนใหญ่ผลงาน ของพี่เป็นเพราะมีคนตั้งโจทย์ให้ แล้วพี่ก็มี หน้าที่แก้โจทย์ให้ส�ำเร็จ ส�ำหรับตัวเองถ้ามี คนมาชมว่ า แต่ ง เก่ ง จั ง กลอนเพราะจั ง ก็ชื่นใจแล้วค่ะ
อยากขอบคุณ ขอบคุ ณ ครอบครั ว ที่ ป ลู ก ฝั ง ให้ รั ก การอ่านหนังสือ รักภาษาไทย แต่ที่บ้าน ไม่มีใครทราบว่าพี่ได้น�ำความรู้เหล่านั้น มาใช้ประโยชน์ ถ้าข่าวคณะแพทย์ฉบับ นี้เผยแพร่ ค่อยขอไปให้อ่านสักฉบับค่ะ
33
รอบรั้วศรีตรัง สถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ เดิ น หน้ า จั ด ตั้ ง สมาคมเครื อ ข่ า ยโรงงาน ควบคุ ม ด้ า นพลั ง งานในพื้ น ที่ ภ าคใต้ แ ละภาคกลาง ตอนล่ า ง หลั ง ได้ รั บ มอบหมายจากกรมพั ฒ นา พลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน กระทรวง พลังงาน หวังเป็นกลไกผลักดันให้ โรงงานควบคุมใน พื้นที่ดังกล่าวกว่า 700 แห่ง ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พร้อมเป็นศูนย์กลาง สนั บ สนุ น การลดใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เตรียมจดทะเบียนจัดตั้งเดือนพฤษภาคมนี้
ม.อ. ร่วมแก้วิกฤตพลังงาน ตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม ภาคใต้-กลางตอนล่าง
รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ เปิ ด เผยว่ า เนื่ อ งด้ ว ยประเทศไทยมี อัตราการผลิตสินค้าและบริการสูงขึ้น ท�ำให้การ ใช้พลังงานมีเพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ซึ่งภาค อุตสาหกรรมนับเป็นภาคส่วนที่มีการใช้พลังงาน สูงมาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลั ง งาน กระทรวงพลั ง งานจึ ง ได้ พ ยายามหามาตรการที่ จ ะ สนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมปฏิบัติตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงาน ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลและส่งเสริมการลดการใช้พลังงานใน พื้นที่ภาคใต้และภาคกลางตอนล่างซึ่งมีโรงงานควบคุมประมาณ 700 กว่าแห่ง จึงได้เสนอที่จะจัดตั้งสมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุม ด้ า นพลั ง งานในพื้ น ที่ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางแลกเปลี่ ย น ถ่ายทอดเทคโนโลยี ตลอดจนประชาสัมพันธ์ ให้การศึกษา อบรม เผยแพร่ ข ่ า วสารหรื อ ข้ อ มู ล ด้ า นอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและรั ก ษา สิ่งแวดล้อม โดยในช่วงแรกสถาบันวิจัยระบบพลังงาน มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ จะด� ำ เนิ น การในฐานะประธานคณะกรรมการ จากนั้นในระยะยาวจะมีผู้แทนโรงงานควบคุมเป็นประธานคณะ กรรมการอย่างถาวร โดยจะจดทะเบียนจัดตั้งสมาคมให้เสร็จสิ้น ภายในเดือนพฤษภาคม 2556
34
สมาคมเครือข่ายโรงงานควบคุมด้านพลังงานในพื้นที่ภาคใต้ และภาคกลางตอนล่าง ประกอบไปด้วยสมาชิกประเภทนิติบุคคล โรงงานควบคุ ม ขนาดเล็ ก นิ ติ บุ ค คล โรงงานควบคุ ม ขนาดใหญ่ และประเภทบุคคล ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานโรงงานควบคุม ผู้รับ ผิ ด ชอบพลั ง งานอาวุ โ ส ซึ่ ง โรงงานควบคุ ม ที่ เ ข้ า ร่ ว มเป็นสมาชิก จะได้รับบริการต่างๆ จากสมาคม เช่น การศึกษาดูงานด้านการ อนุรักษ์พลังงานภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การขอรับการ สนับสนุนด้านการลงทุนจากกองทุนเพื่อการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานเบื้องต้น การฝึกอบรมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การ ศึกษาดูงานด้านพลังงานภายในและต่างประเทศ การตรวจวัดและ วิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานเพื่อค�ำนวณ หามาตรการลดการใช้พลังงาน เป็นต้น ซึ่งคาดว่าผลจากการจัดตั้ง สมาคมจะสามารถสนับสนุนโรงงานควบคุมให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ด้านพลังงานอย่างถูกต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของโรงงาน ควบคุ ม ที่ เ ป็ น สมาชิ ก ทั้ ง หมด และสามารถลดการใช้ พ ลั ง งาน ได้ไม่น้อยกว่า 10 ktoe ต่อปี ซึ่ง คิดเป็นมูลค่า 240 ล้านบาทต่อปี อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถลดการปล่ อ ย ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ ถึ ง 60,000 ตันต่อปี ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น วิ จั ย ระบบพลั ง งาน มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า สมาคมเครื อ ข่ า ยโรงงาน ควบคุมด้านพลังงานในพื้นที่ภาคใต้และภาคกลางตอนล่าง จะ เป็นเสมือนฟันเฟืองตัวหนึ่งที่จะขับเคลื่อนให้การอนุรักษ์พลังงาน ของกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมือที่ดีจากโรงงานควบคุม ในพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ โรงงานที่ ส นใจจะเข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก สามารถ ติ ด ต่ อ ได้ ที่ ส�ำ นั ก งานสมาคมตั้ ง อยู ่ ที่ ชั้ น 5 ตึ ก สิ ริ น ธร ด้ า นหลั ง คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ต� ำ บลคอ หงส์ อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา โทร. 0 7428 6968 หรื อ ติดตามรายละเอียดการจัดตั้งสมาคมได้ที่ www.perin.psu.ac.th
ศิลปและวัฒนธรรม
สืบสานการละเล่นพื้นบ้าน งานสงกรานต์
ม.อ.-เทศบาลเมืองคอหงส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ เทศบาลเมืองคอหงส์ ร่วม งานประเพณีสงกรานต์ ภายใต้ชื่องาน “คอหงส์ สงกรานต์วิถีไทย” เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556 ตั้ ง แต่ 8.30 น. ณ บริ เ วณถนนปุ ณ ณกั ณ ฑ์ โดยปิ ด ถนนปุณณกัณฑ์ ภายในงานมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย โดยขบวนแห่ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์น�ำเสนอการละเล่นพื้นบ้านของไทย ประกอบ ด้วย “รีรีข้าวสาร” “งูกินหาง” “เดินกะลา” “ม้าก้านกล้วย” และ “กระโดดยาง” โดยบุคลากรของส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การเล่นกับเด็กเป็นของคู่กันมาเนิ่นนาน แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติ หรื อ ท้ อ งถิ่ น ที่ ถ ่ า ยทอดกั น มาตั้ ง แต่ รุ ่ น ปู ่ ย ่ า ตายาย สมั ย นี้ เ ป็ น โลกแห่ ง เทคโนโลยี แ ละมี ก ารพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ท� ำ ให้ เ ด็ ก ยุ ค นี้ ต ่ า ง ก็สนใจเล่นเกมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงย้อนอดีต ไปในวั ย เด็ ก รื้ อ ฟื ้ น ความสนุ ก สนานกั บ การละเล่ น พื้ น บ้ า น ที่ ห ลายคน อาจจะหลงลืมไป ประโยชน์ของการเล่นท�ำให้ผู้เล่นเกิดความสามัคคี ท�ำงาน เป็นกลุ่ม รู้จักช่วยเหลือกัน นอกจากนี้ยังฝึกร่างกายให้แข็งแรง และจิตใจ เบิกบานสนุกสนานไปด้วย รวมทั้ ง จั ด ให้ มี พิ ธี ส รงน�้ ำ เจ้ า พ่ อ คอหงส์ สรงน�้ ำ พระประจ� ำ วั น เกิ ด สรงน�้ ำ ผู ้ สู ง อายุ ชมวิ ถี ชี วิ ต ท้ อ งถิ่ น คอหงส์ ซุ ้ ม อาหารจากคณะ/หน่ ว ย งานต่ า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ อาทิ 1. ข้ า วย� ำ - ศู น ย์ คอมพิวเตอร์ ส�ำนักงานทรัพยากรการเรียนรู้หอสมุด คุณหญิงหลงฯ 2. น�้ำสมุนไพร - คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ การแพทย์ แ ผนไทย 3. กระเพาะปลา - คณะอุ ต สาหกรรมเกษตร
4. ขนมหวานไทยๆ - คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ 5. ข้าวหมกไก่ - คณะวิทยาการจัดการ 6. เส้นบุกลุยสวน +น�้ำจิ้มซอสโหระพา - คณะแพทยศาสตร์ 7. น�้ำแข็งบอก คณะศิลปศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ 8. ผัดไทย - คณะเทคนิค การแพทย์ 9. มะม่วงน�้ำปลาหวาน - ศูนย์ส่งเสริมศิลป วัฒนธรรม และเทศบาลเมืองคอหงส์ สาธิตการท�ำขนม ม่ อ ชี่ โดยชุมชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ และสาธิตการ ละเล่นของเด็กไทย และการแสดงศิลปวัฒนธรรรม การแสดง คอนเสิร์ต ชมวิถีชีวิตท้องถิ่นคอหงส์ ชมโขน มโนราห์ และอื่นๆ ภาคค�่ำ : มีการแสดงดนตรีจากวิทยาลัยเทคโนโลยีอุดมศึกษา คอนเสิร์ต โกไข่ นายสน และเล่นน�้ำสงกรานต์