Sanmoror sep 2013

Page 1

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเปิดพระราชานุสาวรีย์ ที่วิทยาเขตภูเก็ต 18-19 ม.อ.ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯ แด่สมเด็จพระเทพฯ และปริญญาเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯ แด่ฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ 20-29 ผลประเมินภายใน ม.อ. “ระดับ ดีมาก” จุดแข็ง วิจัย-แหล่งวิชาการชุมชน 4 AUN รับ ม.อ. เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน 31


การศึกษา

มเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุ ฬ า ภ ร ณ ว ลั ย ลั ก ษ ณ ์ อั ค ร ร า ช กุ ม า รี เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด� ำ เนิ น ไปทรงประกอบพิ ธี ว างศิ ล า ฤกษ์ อาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เมื่ อ วันจันทร์ ที่ 16 กันยายน 2556 เวลา 10.00 น. และพระราชทานของที่ระลึก แก่ ผู ้ บ ริ จ าคเงิ น สนั บ สนุ น คณะสั ต ว แพทยศาสตร์

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ

ทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารคณะสัตวแพทย์ ม.อ.

โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนให้มีการ บรรจุ โ ครงการ ไว้ ใ นแผนพั ฒ นาจั ง หวั ด ชายแดนใต้ พ.ศ.2555-2557 โดยศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อให้เป็นคณะสัตว แพทยศาสตร์ที่มีมาตรฐาน เป็นหลักประกันเรื่องการป้องกันการระบาด ของโรคจากสัตว์สู่คน โรคจากสัตว์สู่สัตว์ และโรคสัตว์ข้ามแดน เพื่อสนอง ศักยภาพของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ประชากรส่วนหนึ่งเลี้ยงปศุสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ และมีการเลี้ยงสัตว์หลายชนิดที่แตกต่างไปจากภาคอื่น เช่น แพะ และนกเขาชวาเสียง โดยจะมีการรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2557 “อาคารคณะสัตวแพทยศาสตร์” เป็นอาคารหลังแรกของโครงการ จั ด ตั้ ง คณะสั ต วแพทยศาสตร์ ซึ่ ง จะใช้ เ ป็ น โรงพยาบาลสั ต ว์ ทั่ ว ไป เป็ น ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพสัตว์ปศุสัตว์ สัตว์น�้ำ สัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงเป็น เพื่ อ น และสั ต ว์ ช นิ ด พิ เ ศษ พร้ อ มด้ ว ยส่ ว นชั น สู ต รและวิ นิ จ ฉั ย โรคสั ต ว์ สามารถให้บริการในส่วนอายุรกรรม ส่วนศัลยกรรมทั่วไป ส่วนฉุกเฉินและ สัตว์ป่วยวิกฤต พร้อมด้วยส่วนสัตว์ป่วยใน ซึ่งจะเปิดให้บริการบางส่วนตั้งแต่ ยังไม่แล้วเสร็จ นอกจากนี้พื้นที่บางส่วนยังใช้เป็นที่ตั้งส�ำนักงานคณะสัตวแพทยศาสตร์ แ ละสถานที่ เ รี ย นชั่ ว คราวก่ อ นที่ จ ะย้ า ยส� ำ นั ก งานส่ ว นที่ รักษาปศุสัตว์ สัตว์น�้ำ สัตว์ป่า และส่วนชันสูตรและวินิจฉัยโรคไปอยู่ที่ส่วน

ขยายของวิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ที่ ถ นนปุ ณ ณกั น ต์ ต� ำ บลทุ ่ ง ใหญ่ อ� ำ เภอ หาดใหญ่ ห่างจากที่ตั้งอาคารโรงพยาบาลสัตว์แห่งนี้ประมาณ 8 กิโลเมตร อย่างไรก็ตาม ในการได้รับงบประมาณสร้างอาคารคณะสัตวแพทย ศาสตร์นั้น เป็นงบประมาณสร้างตึกและครุภัณฑ์ประกอบอาคารเท่านั้น ยั ง ขาดงบประมาณในส่ ว นครุ ภั ณ ฑ์ โ รงพยาบาลสั ต ว์ เป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 36 ล้ า นบาท โครงการจั ด ตั้ ง คณะสั ต วแพทยศาสตร์ จึ ง ได้ มี ก ารระดมทุ น เพื่อจัดหาซื้อครุภัณฑ์ดังกล่าว เพื่อให้โรงพยาบาลสัตว์แห่งนี้เสร็จสมบูรณ์ และมีมาตรฐานโรงพยาบาลสัตว์ อันจะเป็นประโยชน์ทั้งด้านการศึกษา ของคนในภาคใต้ และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนด้วยการแก้ไขปัญหา สุขภาพอย่างครบวงจร ทั้ ง นี้ ผู ้ ต ้ อ งการสนั บ สนุ น การจั ด ซื้ อ ครุ ภั ณ ฑ์ โ รงพยาบาลสั ต ว์ สามารถสนั บ สนุ น เป็ น เช็ ค หรื อ ดร๊ า ฟต์ หรื อ โอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี ธ นาคาร ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด สาขามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชื่อบัญชี ม.อ.เพื่อ กองทุ น สมทบการจั ด สร้ า งอาคารและคุ ร ภั ณ ฑ์ ค ณะสั ต วแพทย์ ฯ เลขที่ บัญชี 565-448442-8 (ประเภทออมทรัพย์) โดยสามารถน�ำใบเสร็จไปใช้ใน การลดหย่อนภาษีได้เป็นกรณีพิเศษ ซึ่งโครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ จะน�ำเงินที่ได้รับไปจัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อประโยชน์ในการศึกษา และตอบแทน สังคมโดยให้บริการสัตวแพทย์ต่อไป”


มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 6 ประจ�ำเดือนสิงหาคม - กันยายน 2556

สารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ น สื่ อ กลางประชาสั ม พั น ธ์ ภารกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ กั บ หน่ ว ยงานภายในและภายนอก มหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน สื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจที่ จ ะท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม เป้าหมายดังกล่าวรู้จักมหาวิทยาลัยมากยิ่งขึ้น และจะเป็นจดหมายเหตุหรือบันทึกความทรงจ�ำ ภารกิจของสถาบัน

สารบัญ วิจัย

สิ่งแวดล้อม

• วพส. ม.อ.ได้รับทุน 44 ล้าน จาก สสส. เพื่อ “การพัฒนา เยียวยา 6-7 สมานฉันท์ - สร้างสรรค์ก�ำลังคนชายแดนใต้” 8-9 • ม.อ.เปิดมิติใหม่ป้องกันฟันผุ ด้วยผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติก

• ม.อ. ดึงเยาวชนร่วมกิจกรรม “ฟื้นฟูลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภา” ปลูกฝังการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

แนะน�ำบุคคล • ศาสตราจารย์ ท่านใหม่ของ ม.อ. ศาสตราจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ์

33

การศึกษา • เลขาธิการ ศอ.บต. เปิดอาคารปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์ 32 อาหารฮาลาล ที่ ม.อ.ปัตตานี

บริการวิชาการ

รอบรั้วศรีตรัง

• นักวิชาการ ม.อ. แนะรัฐบาลรับข้อเสนอเกษตรกร ลดกระแสเรียกร้อง ก่อนแก้ไขราคายางตกต�่ำระยะยาว

• ฯพณฯ ชวน หลีกภัย เปิดงาน ม.อ.วิชาการ 2556 • ม.อ. เป็นเจ้าภาพ จัดประชุม ทปอ. - สออ. ประเทศไทย • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเปิดพระราชานุสาวรีย์ ที่วิทยาเขตภูเก็ต • ม.อ.ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯ แด่สมเด็จ พระเทพฯ และปริญญาเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯแด่ ฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ • งานวันสงขลานครินทร์ • ผู้บริหาร ม.อ.ร่วมพิธีสวดพระอภิธรรมศพ ภรรยา ศ.ดร.สตางค์ มงคลสุข • M.B.A. ม.อ. จัดงานครบรอบ “25 ปี M.B.A.” ศิษย์เก่า -ศิษย์ปัจจุบัน ร่วมสมทบทุนช่วย ร.ร. จังหวัดปัตตานี

16

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ • ผลประเมินภายใน ม.อ. “ระดับ ดีมาก” จุดแข็ง วิจัย -แหล่งวิชาการชุมชน • นักศึกษาวิศวะ ม.อ.สุดเจ๋ง คว้าแชมป์การแข่งขัน ออกแบบหุ่นยนต์นานาชาติ 2013 • นักเรียนค่ายโอลิมปิก ม.อ. สร้างชื่อ คว้าเหรียญทองแดง คอมพิวเตอร์โอลิมปิก ประจ�ำปี 2556

4 14 15

สู่นานาชาติ • ม.อ. พร้อมผลักดันให้ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ เป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจภาคใต้ตอนล่าง • ม.อ.มุ่งสู่อาเซียนเป็นเจ้าภาพจัดงานนิทรรศการตลาดนัด หลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 17 “มีสถาบันการศึกษาทั้งไทย และต่างประเทศเข้าร่วมกว่า 100 สถาบัน” • ม.อ.ปัตตานี พร้อมรองรับนักศึกษาต่างชาติ และเข้าสู่ประชาคม อาเซียน • AUN รับ ม.อ. เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน

35

10 17 18-19 20-28 29 32 34

5 11 12 31

10

35

เทคโนโลยี • ม.อ.เสนอความพร้อมเป็นเจ้าภาพแข่งขันการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์โลก ปี 58 ที่ภูเก็​็ต

30

3


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ผลประเมินภายใน ม.อ.

“ระดับ ดีมาก”

จุดแข็ง วิจัย-แหล่งวิชาการชุมชน

ณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย ประจ�ำปีการศึกษา 2556 น�ำโดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ พ.ต.ท. ดร. นภดล ทองนพเนื้อ อดีตรองอธิการบดีฝ่ายบริหาร และ อดี ต คณบดี ค ณะเภสั ช ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ เป็ น ประธานกรรมการร่ ว มกั บ คณะกรรมการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายใน อีก 5 ท่าน คือ รองศาสตราจารย์ ดร.อธิ ค ม ฤกษบุ ต ร รองอธิ ก ารบดี แ ละคณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีมหานคร รองศาสตราจารย์ ดร.อมรา ช้างทรัพย์ รอง อธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประมาณ เทพสงเคราะห์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ รองศาสตราจารย์ บุ ญ สวาท พฤกษ์ ก านนท์ ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานบริหารและจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.ไชยวิทย์ ธนไพศาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เข้าประเมินคุณภาพภายในมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 2-3 กันยายน 2556 ผลการประเมิ น คณะกรรมการฯได้ ใ ห้ ค ะแนนการประเมิ น คุณภาพภายในมหาวิทยาลัย “ในระดับดีมาก” โดยได้คะแนนเฉพาะ ตัวบ่งชี้ของ สกอ. 23 ตัวบ่งชี้ เท่ากับ 4.66 และได้คะแนนตามตัว บ่งชี้รวมของ สกอ. และ สมศ. เท่ากับ 4.61 ซึ่งผลการประเมินของ คณะกรรมการฯตรงกับผลที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ประเมิน ตนเองเอาไว้ ซึ่งแสดงถึงความเที่ยงตรงของระบบการประเมินตนเอง ของมหาวิทยาลัย (ดูสรุปผลการประเมินได้ที่ http://www.qa.psu. ac.th/audit/in/2555/สรุ ป ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน.pdf ) คณะกรรมการประเมินฯ ได้ชื่นชมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ ไ ด้ มี ก ารท� ำ แผนพั ฒ นาที่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนอุ ด มศึ ก ษาของชาติ และความเปลี่ยนแปลงของโลก มีการสนับสนุนงานวิจัยจนมีผลงาน ปรากฏจ�ำนวนมาก รวมทั้งเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการแก่ชุมชนและ เยาวชนในพื้นที่ และมีเครือข่ายการประกันคุณภาพทั้งระดับพื้นที่และ ระดับชาติ อย่างไรก็ตาม ควรมีการเตรียมแผนพัฒนาและการทดแทน

4

บุ ค ลากรเพื่ อ รั บ กั บ การเปลี่ ย นแปลง เพิ่ ม ระบบข้ อ มู ล สารสนเทศ ส�ำหรับการค้นคว้าวิจัยโดยเฉพาะด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และเพิ่มความสามารถในการชี้น�ำสังคมผ่านกิจกรรมในระดับบัณฑิต ศึกษา นอกจากนั้น ยังเสนอแนะให้มหาวิทยาลัยตั้งโจทย์วิจัยและ ประเด็นการพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง คณะกรรมการประเมินฯ ยังได้ให้แนวทางในการพัฒนาว่า ควร สอดคล้องกับเอกลักษณ์ “การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย” และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตที่ “มีคุณธรรมและจริยธรรม” ควรน�ำศักยภาพ ของอดีตคณาจารย์ ศิษย์เก่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ประสบ ความส� ำ เร็ จ และสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย มาร่ ว มพั ฒ นา รวมทั้ ง น� ำ ข้ อ คิ ด เห็ น ของสภามหาวิ ท ยาลั ย และ จุ ด เด่ น ของพื้ น ที่ ที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ความเป็นพหุวัฒนธรรม มาเป็น ตัวขับเคลื่อนให้เกิดความเข้มแข็งทางวิชาการเพื่อพัฒนาทรัพยากร บุคคลและชุมชน เพื่อน�ำมหาวิทยาลัยสู่สากลตามเจตนารมณ์ต่อไป

รศ.ดร.ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า ที่ผ่านมามหาวิทยาลัยได้มีการวางแผน เพื่อใช้การพัฒนาบุคลากร ทางวิชาการ และสถานที่ มี ก ารเชื่ อ มความสั ม พั น ธ์ ทางวิชาการระหว่างวิทยาเขตและมหาวิทยาลัยในประเทศ เพื่อนบ้าน โดยการเปิดโอกาสให้ได้บูรณาการเครื่องมือและ ศาสตร์ต่างๆ ร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาเขต โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถเรียนข้ามวิทยาเขตได้ ใน บางวิชา มีการสร้างบรรยากาศของสถานที่ให้เอื้อต่อการ วิจัยและศึกษาเล่าเรียน และ มีแนวทางการพัฒนาด้านภาษา ต่างประเทศเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน


สู่นานาชาติ

ม.อ. พร้อมผลักดันให้ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ

เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจภาคใต้ตอนล่าง รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ กล่ า วในการแถลงข่ า ว “ 5 ปี แห่ ง ความส� ำ เร็ จ ของศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี ” ว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร้อมบริหารงานร่วมกับ บริ ษั ท เอ็ น . ซี . ซี . แมนเนจเม้ น ท์ แอนด์ ดิ เ วลลอปเม้ น ท์ จ� ำ กั ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ภาคใต้ ต อนล่ า ง ผลั ก ดั น ให้ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฯ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ พั ฒ นาธุ ร กิ จ MICE เน้ น การจั ด กิ จ กรรมด้ า นวิ ช าการ ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ใ ห้ เ หมาะสมรองรั บ กิ จ กรรมที่ ว างแผนไว้ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ที ม บริ ห าร บริ ษั ท เอ็ น . ซี . ซี . ฯ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ มี ประสบการณ์ แ ละความส� ำ เร็ จ ในการบริ ห ารศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติสิริกิติ์ การแถลงข่าว “5 ปี แห่งความส�ำเร็จของศูนย์ประชุม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี ” จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 30 สิ ง หาคม 2556 ณ คอนเฟอเร้ น ท์ ฮอลล์ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ผู ้ ร ่ ว มแถลงข่ า วมี รศ.ดร. ชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ นายศั ก ดิ์ ชั ย ภั ท รปรี ช ากุ ล กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท เอ็ น . ซี . ซี . แมนเนจเม้ น ท์ แอนด์ ดิ เ วลลอปเม้ น ท์ จ�ำกัด นายวิโรจน์ ทัฬหะวาสน์ ปลัดจังหวัดสงขลา นายภาณุ วรมิตร ผู้อ�ำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัด สงขลา นายจรัญ หอมเทียนทอง นายกสมาคมผู้จัดพิมพ์

และจ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย และ นายศิริชัย เชาวนปรีชา ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ม.อ. ศูนย์ประชุมนานาชาติฯ จัดสร้างขึ้น ตั้งแต่ปี 2551 เนื่องในวโรกาสฉลอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นศูนย์ประชุม ชั้นน�ำที่มีขนาดใหญ่และทันสมัยที่สุดในภาคใต้ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนใน ภาคใต้ ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม กระจายรายได้สร้างความเติบโตแก่ภาค ธุรกิจ โดยรองรับการจัดงานหลายรูปแบบทั้งระดับประเทศ และ นานาชาติ มี พื้นที่ใช้สอยขนาด 15,000 ตารางเมตร รองรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ถึง 4,000 คน พื้นที่ศูนย์ประชุมฯ ประกอบด้วย Convention Hall ขนาด 3,000 ตาราง เมตร Conference Hall ขนาด 960 ตารางเมตร ห้องสัมมนาขนาดเล็ก 8 ห้อง ลานกิจกรรมกลางแจ้ง 3,100 ตารางเมตร พร้อมระบบภาพและเสียงที่ทันสมัย อธิการบดี ม.อ. กล่าวเพิ่มเติมว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เปิดสอนสาขาวิชาการจัดการประชุม นิทรรศการและการท่องเที่ยว เพื่อเป็นรางวัล ในคณะวิทยาการจัดการ เพื่อรองรับการเติบโตของ ธุรกิจศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ซึ่งต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความ สามารถ เพื่อการจัดงานต่างๆ ในระบบธุรกิจ MICE ท�ำให้เกิดการ กระจายรายได้และการสร้างงานในหลายภาคส่วน จึงมีความเชื่อมั่น ในศักยภาพของศูนย์ประชุมนานาชาติฯ ที่มีความพร้อมตอบโจทย์ การจัดงานทุกรูปแบบ อีกทั้งตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นศูนย์กลาง ทางด้านเศรษฐกิจ ภาคใต้ตอนล่าง เป็นศูนย์กลางการคมนาคม การ ท่องเที่ยว ที่ตอบสนองทุกความต้องการของธุรกิจ MICE ได้เป็นอย่างดี ซึ่ ง เห็ น เป็ น รู ป ธรรมได้ จ ากความส� ำ เร็ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจั ด งาน ที่ผ่านมา

5


การวิจัย

ได้รับทุน 44 ล้าน จาก สสส. เพื่อ “การพัฒนา เยียวยา สมานฉันท์ - สร้างสรรค์ก�ำลังคนชายแดนใต้” “วพส. มีโครงการบัณฑิตอาสา ซึ่งใช้งบประมาณ เป็น 1 ใน 3 ของงบประมาณที่ได้รับ ถ้าชุมชน เดือดร้อนมหาวิทยาลัยจะอยู่ได้อย่างไร เราต้องเป็น อันหนึ่งอันเดียวกับชุมชน อาจารย์มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ จึงต้องร่วมออกไปในชุมชน เราไม่ ได้สอนหนังสือในมหาวิทยาลัยอย่างเดียว เราจึงมี โครงการบัณฑิตอาสา เพื่อเป็นกลไกให้มหาวิทยาลัย ลงสู่ชุมชน ท�ำมา 9 รุ่นแล้ว มีอาจารย์เข้าไปร่วม กว่า 50 คน ไปพัฒนาชุมชน ไปเป็นที่ปรึกษา ท�ำให้ ม.อ.เป็นที่ยอมรับและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับชุมชน รู้ว่าชุมชน เป็นอย่างไร” ถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาสุ ข ภาพภาคใต้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ (วพส.) เป็ น เสาหลั ก ในการพั ฒ นาสุ ข ภาพภาคใต้ โดยการ สนั บ สนุ น ของ ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) ส�ำหรับ การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาระบบสาธารณสุขในภาคใต้ โดย เฉพาะเรื่ อ งใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้องท�ำงาน ร่วมกันในหลายภาคส่วน นักวิชาการของ วพส.ประกอบ ด้ ว ยแพทย์ นั ก สั ง คม นั ก วิ ช าการสาธารณสุ ข เรา ช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ช าการแก่ นั ก วิ จั ย รุ ่ น ใหม่ ขอเชิ ญ นั ก วิชาการมาคุยและร่วมท�ำโครงการร่วมกัน ที่ส�ำคัญต้อง มีอุดมการณ์ และต้องท�ำงานให้ได้ดี ต้องมีการท�ำงาน

6

เป็นทีม มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยกันแก้ปัญหาแม้จะยาก วพส. สร้างก�ำลังคน ให้มีนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีความคิดที่ดี แต่ละคน ต่างมีพื้นฐานไม่เหมือนกัน ต้องร่วมพูดคุย แต่ละคนคิดอย่างไร ก็ไม่ ไปฝื น เขา ส่ ง เสริ ม ความเข้ ม แข็ ง ในอุ ด มการณ์ ข องเขา ส่ ง เสริ ม ให้ ท� ำ งานช่ ว ยชุ ม ชนให้ ส� ำ เร็ จ ” ศ.นพ.วี ร ะศั ก ดิ์ จงสู ่ วิ วั ฒ น์ ว งศ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ กล่าวเชิญชวนนักวิชาการมาร่วมงานวิจัย งบประมาณ จ�ำนวน 44 ล้านบาท เป็นทุนที่ สสส. สนับสนุน สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมอบให้มาเป็นครั้งที่ 3 ตั้งแต่ พ.ศ.2547 ซึ่งเป็นปีที่ได้จัดตั้ง สถาบั น แห่ ง นี้ ครั้ ง ที่ 2 เมื่ อ พ.ศ. 2553 และครั้ ง นี้ เ ป็ น ครั้ ง ที่ 3 มีก�ำหนดระยะเวลา 3 ปี การพัฒนาก�ำลังคน วพส.ท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยระบาด วิทยา ซึ่งมีความเข้มแข็งในการผลิตนักวิชาการระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ไปสร้างสุขภาวะ แก่ 3 จังหวัดภาคใต้ มีบัณฑิต และนักศึกษาปัจจุบันหลายคนที่มาจากภาคใต้ได้รับทุนจาก วพส. โดยมหาวิทยาลัยวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ ได้ให้ทุนสมทบด้วย กิ จ กรรมในชุ ม ชน ที่ ผ ่ า นมาได้ แ ก่ โครงการบั ณ ฑิ ต อาสา ศูนย์ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความร่วมมือระหว่าง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กั บ อาเจะห์ หลั ง ภั ย พิ บั ติ สึ น ามิ การวิจัยและพัฒนาชุดการเรียนการสอนเชิงพหุวัฒนธรรม เครือข่าย


การเรียนรู้เพื่อสุขภาวะจังหวัดชายแดนใต้ ส่งเสริมศักยภาพ อาจารย์ รุ ่ น ใหม่ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยระบาดวิ ท ยา คณะแพทย ศาสตร์ โครงการร่วมอนุรักษ์เขาคอหงส์ และโครงการพัฒนา เครือข่ายการดูแลและส่งเสริมสุขภาวะเด็กที่มีความต้องการ พิเศษ เป็นต้น” “จนถึ ง ขณะนี้ เรายั ง เน้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ แต่ ก็ มี กิ จ กรรมในพื้ น ที่ อื่ น ๆ บ้ า ง ที่ ต ้ อ งจ� ำ กั ด พื้ น ที่ ล งบ้ า ง เนื่ อ งจากทรั พ ยากรมี จ� ำ กั ด เนื้ อ หาก็ จ ะเน้ น ที่ สุ ข ภาพของ ประชาชน ไม่ ว ่ า จะเป็ น ด้ า น การเลี้ ย งดู บุ ต ร โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยาเสพติด พฤติการณ์การกินที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกก�ำลังกาย” “วพส. มีโครงการบัณฑิตอาสา ซึ่งใช้งบประมาณ เป็น 1 ใน 3 ของงบประมาณที่ได้รับ ถ้าชุมชนเดือดร้อนมหาวิทยาลัย จะอยู่ได้อย่างไร เราต้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับชุมชน อาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงต้องร่วมออกไปในชุมชน เรา ไม่ได้สอนหนังสือในมหาวิทยาลัยอย่างเดียว เราจึงมีโครงการ บัณฑิตอาสา เพื่อเป็นกลไกให้มหาวิทยาลัยลงสู่ชุมชน ท�ำมา 9 รุ่นแล้ว มีอาจารย์เข้าไปร่วมกว่า 50 คน ไปพัฒนาชุมชน ไป เป็นที่ปรึกษา ท�ำให้ ม.อ.เป็นที่ยอมรับและเป็นอันหนึ่งอันเดียว

กับชุมชน รู้ว่าชุมชน เป็นอย่างไร” วพส. จัดตั้งศูนย์ประสานงานวิชาการให้ ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่ ส งบจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ (ศวชต.) ให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบที่ ห นี ร ้ อ นมา พึ่ ง เย็ น ซึ่ ง มี ท างชาวไทยพุ ท ธและไทยมุ ส ลิ ม ที่ เดื อ ดร้ อ น หญิ ง หม้ า ย คนพิ ก าร เด็ ก ก� ำ พร้ า โดยได้ จั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบ” “หญิ ง หม้ า ยจ� ำ นวนมากต้ อ งสู ญ เสี ย สามี ไม่ มี ใ ครดู แ ลลู ก และยั ง ถู ก คุ ก คาม เด็ ก ก� ำ พร้ า ที่ พ ่ อ แม่ เ สี ย ชี วิ ต ล้ ว นเป็ น ฝั น ร้ า ย ต้ อ งการการ เยี ย วยาระยะยาว ศวชต. เริ่ ม จั ด ตั้ ง ที่ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เมื่อ พ.ศ. 2548 จากนั้น ก็เพิ่มศูนย์ ที่ วิ ท ยาลั ย พยาบาลยะลา และที่ ม หาวิ ท ยาลั ย นราธิ ว าสราช นครินทร์ นอกจากช่วยเยียวยาแล้ว ศวชต. ยังพัฒนาฐานข้อมูล ผู้ได้รับผลกระทบ ช่วยให้หญิงหม้ายได้รวมตัวกันแก้ปัญหา และพัฒนาสังคม นอกจากนี้ได้จัดตั้งมูลนิธิเพื่อการเยียวยา และสร้างความสมานฉันท์ชายแดนใต้ ช่วยเหลือผู้ป่วยและ ผู้บาดเจ็บที่ทางราชการไม่สามารถช่วยได้ มีโครงการสร้างความ สมานฉั น ท์ ใ นพื้ น ที่ ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจที่ ดี ใ นระยะยาว”

“หน้าที่ของเราอีกด้านที่มหาวิทยาลัยมอบหมายเป็น งานภายใน คือ ช่วยสนับสนุนวิชาการให้วิทยาเขต เล็กของ มอ. และนักวิชาการรุ่นใหม่ในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ทั้งแพทย์ เภสัชกร พยาบาล แพทย์แผนไทย เทคนิคการแพทย์ สัตวแพทย์ ให้เกิดความ เข้มแข็งทางการวิจัย” สุ ด ท้ า ย ขอเชิ ญ ชวนนั ก วิ ช าการรุ ่ น ใหม่ ที่ มี อุ ด มการณ์ เพื่ อ ชุ ม ชนแวะมาเยี่ ย มสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาสุ ข ภาพภาค (วพส.) ได้ที่ชั้น 6 อาคารบริหาร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ หรื อ โทรมาที่ 074-455150 หรื อ ส่ ง อี เ มล์ southern.rdh@gmail.com มหาวิทยาลัยของเราจะได้เข้มแข็ง และเป็นหนึ่งเดียวกับชุมชน

7


การวิจัย

ม.อ.เปิดมิติใหม่ป้องกันฟันผุ ศ.ดร. รวี เถียรไพศาล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า ได้ร่วมกับอาจารย์ ทพญ.สุพัชรินทร์ พิวัฒน์ และคณะผู้ร่วมวิจัย ท�ำการต่อยอดการน�ำโพร ไบโอติกสายพันธุ์ Lactobacillus paracasei SD1 ซึ่งเป็นแบคทีเรียสายพันธุ์ที่ได้มาจากช่องปาก และมีความสามารถในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคฟันผุ ไปพัฒนารูปแบบเป็น ผลิตภัณฑ์ผสมโพรไบโอติกในรูปแบบต่าง ๆ โดยได้ ใช้ถึงปัจจุบัน เป็น เวลาร่วม 10 ปี ในการ ศึกษาวิจัย จนได้องค์ความรู้สามารถเข้าใจธรรมชาติของ Lactobacilllus สายพันธุ์ต่าง ๆ และ สามารถ จ�ำแนกชนิดเชื้อก่อโรคและเชื้อที่น�ำมาเป็นประโยชน์ในการช่วยป้องกันโรคในช่องปากได้ ในหลายปีที่ผ่ านมา ได้มี การน� ำผลิ ตภัณฑ์นมผงผสม โพรไบโอติก ไปทดลองใช้ในอาสาสมัคร จ�ำนวน 2 โครงการ โครงการแรกคือ กลุ่มอาสาสมัครทั่วไป และโครงการที่สอง คื อ กลุ ่ ม อาสาสมั ค รที่ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ ฟั น ผุ สู ง เช่ น คนไข้ ปากแหว่งเพดานโหว่ที่มีการจัดฟัน ผลการศึกษาพบว่า ใน ทั้งสองโครงการ กลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับนมผงผสมโพรไบ โอติกพบการลดลงของเชื้อก่อโรคฟันผุ เมื่อเทียบกับกลุ่ม ควบคุมที่ได้รับนมผงทั่วไป โดยในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อ ฟันผุสูง จะเห็นการลดลงของเชื้อฟันผุได้ชัดเจนกว่ากลุ่ม ความเสี่ ย งต�่ ำ และเชื้ อ Lactobacillus paracasei SD1 สามารถคงอยู่ในช่องปากได้อย่างน้อย 1 เดือน หลังจาก การได้รับนมผงผสมโพรไบโอติก นอกจากนี้ไม่พบอาการข้างเคียง หรืออาการไม่พึง ประสงค์ใด ๆ ในอาสาสมัครทั้งสองโครงการ โดยผลการวิจัยได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ทางวารสารวิชาการนานาชาติแล้ว ปัจจุบันผู้วิจัยได้น�ำ โพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 มาพัฒนารูปแบบเป็นอาหารเสริมในหลายรูปแบบเพื่อเป็นทางเลือก ของผู้บริโภค เช่น นมผง นมอัดเม็ด โยเกิร์ต และผสมในเครื่องดื่มน�้ำผลไม้ต่าง ๆ โดยในการน�ำมาผสมในเครื่องดื่มจะน�ำเอาหัวเชื้อมาเตรียมในรูปแบบของ microencapsulation ซึ่งมีลักษณะเป็นแคปซูลเล็กๆ คล้ายชาไข่มุก และต้องเคี้ยวเพื่อให้

8


ตัวเชื้อได้ออกมาสัมผัสในช่องปาก การท�ำในรูปของแคปซูลนี้จะ ท�ำให้เชื้อสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้นานกว่าการผสมลงในน�้ำและ เครื่องดื่มโดยตรง อย่างไรก็ตาม หากเตรียมผสมในรูปแบบของนมผง และโยเกิร์ตจะสามารถท� ำให้เชื้อมีชีวิตอยู่ได้นานกว่า โดยยังคง ประสิทธิภาพในการป้องกันฟันผุได้เท่าเดิม การพัฒนารูปแบบของการน� ำโพรไบโอติกมาใช้ให้มีความ หลากหลาย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคสามารถมี ท างเลื อ กตามความ พึ ง พอใจ โพรไบโอติ ก สามารถใช้ เ ป็ น ประโยชน์ ไ ด้ ใ นคนทุ ก อายุ เช่น ในผู้สูงอายุมักมีปัญหาของฟันผุที่ผิวรากฟัน เนื่องจากผู้สูงอายุ มักมีปัญหาของเหงือกร่น ซึ่งมีวิจัยในต่างประเทศพบว่าโพรไบโอติก สามารถช่ ว ยให้ ดี ขึ้ น ได้ ดั ง นั้ น การพั ฒ นารู ป แบบการน� ำ มาใช้ ตามความเหมาะสมจึงมีนัยส�ำคัญเช่นกัน ลดปริมาณของเชื้อก่อโรคฟันผุ ร่วมกับการควบคุมอาหาร หวานและดูแลสุขภาพช่องปากสม�่ำเสมอ จะท�ำให้การลด อัตราการเกิดฟันผุในประชากรไทยประสบผลส�ำเร็จยิ่งขึ้น ในอนาคตมีแผนการวิจัยต่อยอดในการน�ำโพรไบโอ ติกไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสุขภาพในช่องปากได้แก่ การ ผสมโพรไบโอติกและฟลูออไรด์โดยคาดหวังประสิทธิภาพ ที่ สู ง ขึ้ น กว่ า การใช้ โ พรไบโอติ ก หรื อ ใช้ ฟ ลู อ อไรด์ เ พี ย ง อย่างเดียว ทั้งนี้อาจเป็นการเพิ่มทางเลือกให้เหมาะกับ ชุมชน ในท้องที่ที่มีฟลูออไรด์ในน�้ ำดื่มสูงอาจใช้โพรไบ โอติกเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การน�ำโพรไบโอติกมา ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการป้ อ งกั น โรคปริ ทั น ต์ อั ก เสบ และการ ป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ ราในช่ อ งปาก ซึ่ ง เป็ น เป้ า หมายการ ขยายงานวิจัยของทีมงานวิจัยนี้ในอนาคตเช่นเดียวกัน และทีมงานวิจัยได้ขยายวงขึ้นโดยมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาต่ า งๆ จากต่ า งสถาบั น เข้ า ร่ ว ม ในการวิ จั ย ใน อนาคตคาดว่ า ความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วจะสามารถท� ำ ให้ การวิ จั ย ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากโครงการ องค์ความรู้ในการน�ำโพรไบโอติกมาประยุกต์ใช้เพื่อเสริม ส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ในอุ ด มศึ ก ษาและพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย วิ จั ย สุ ข ภาพในช่ อ งปากมี ค วามชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ศาสตราจารย์ แห่งชาติ ของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และส�ำนักงาน ดร. รวี เถียรไพศาล กล่าว พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในการใช้โพรไบโอติกเพื่อป้องกันฟันผุ นั้นมีข้อดีหลายประการ โดยกลไกการท�ำงานของโพรไบโอติกนั้น สามารถลดเชื้อก่อโรคฟันผุ โดยการแข่งขันเพื่อครอบครองพื้นที่ และโพรไบโอติกยังสามารถ สร้างสารยับยั้งการเจริญเติบโตต่อเชื้อก่อโรคฟันผุโดยตรง นอกจากนี้ โพรไบโอติกยังสามารถกระตุ้นภูมิต้านทานต่อเชื้อก่อโรคด้วยกลไก ดั ง กล่ า วต่ า งจากการใช้น�้ ำ ยาบ้วนปาก หรือสารต้า นเชื้ อ ซึ่ ง มี ผ ล ในการลดเชื้ อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว และอาจมี ป ั ญ หาการดื้ อ ต่ อ สาร ต้านเชื้อตามมาในภายหลัง อย่างไรก็ตาม เป็นที่ทราบกันดีว่าฟันผุเกิดจากหลายสาเหตุ การน�ำ Lactobacillus ชนิดนี้ไปผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อป้องกัน ฟันผุเป็นทางเลือกหนึ่งร่วมกับการดูแลรักษาสุขภาวะในช่องปาก และ พฤติกรรมการกินอาหารโดยเฉพาะอาหารหวาน ที่เป็นปัจจัย เอื้ อ ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของเชื้ อ ก่ อ โรคฟั น ผุ ดั ง นั้ น หากสามารถ

9


รอบรั้วศรีตรัง

ฯพณฯ ชวน หลีกภัย เปิดงาน

ม.อ.วิชาการ 2556 ฯพณฯ ชวน หลี ก ภั ย อดี ต นายกรั ฐ มนตรี และ ที่ ป รึ ก ษาสภา มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น ประธานเปิ ด งาน ม.อ.วิ ช าการ ประจ� ำ ปี 2556 ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ฯพณฯ ชวน หลีกภัย กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ครบ รอบ 45 ปี ในปี นี้ ซึ่ ง จากระยะเวลาที่ ก ่ อ ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ขึ้นมาในภาคใต้ มหาวิทยาลัยได้แสดงให้เห็นว่า ม.อ. เป็นสถาบันอุดมศึกษา ที่ มี ศั ก ยภาพในการสร้ า งความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ให้ แ ก่ ท ้ อ งถิ่ น ชุ ม ชนภาคใต้ เป็นอย่างมาก อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้สร้าง ผลงานทางวิชาการที่เป็นคุณประโยชน์อย่างยิ่งต่อภาคใต้และต่อประเทศชาติ ขอชื่ น ชมยิ น ดี กั บคณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ได้รับรางวัลทั้งระดับชาติและนานาชาติ อาทิ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2555 รางวั ล นั ก วิ ท ยาศาสตร์ รุ ่ น ใหม่ โ ครงการมนุ ษ ย์ แ ละชี ว มลฑลของ ยูเนสโก ประจ�ำปี 2555 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. ได้รับรางวัล ชนะเลิศประเภทหุ่นยนต์เพื่อนอัจฉริยะ เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้ า สู ่ ก ารเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จ� ำเป็นจะต้องเตรียมการเพื่อรองรับ การแข่งขันและเตรียมความพร้อมให้มากขึ้น จึงหวังว่ามหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์จะเป็นสถาบันอุดมศึกษาของภาคใต้ที่เป็นผู้น�ำในอาเซียน รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดงาน ม.อ.วิชาการ ขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อ แสดงผลงานทางวิชาการ และเผยแพร่ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย โดยเน้น ให้เห็นถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยด้านวิชาการ เพื่อการพัฒนาภาคใต้ และ ในปีนี้ นับเป็นโอกาสส�ำคัญอีกวาระหนึ่งที่มหาวิทยาลัยได้ด�ำเนินงานมาครบ รอบ 45 ปี และในฐานะที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย แห่งชาติ ดังนั้น ทุกคณะและหน่วยงานของมหาวิทยาลัย จึงได้พร้อมใจกัน จัดงาน ม.อ.วิชาการ โดยมีแนวคิดหลักว่า “บ่มเพาะคนดี ชี้น�ำสังคม สั่งสม ปัญญา พัฒนางานวิจัย 2556 ม.อ.วิชาการ บูรณาการองค์ความรู้สู่ชุมชน”

10

หลั ง จากพิ ธี เ ปิ ด แล้ ว มี ก ารบรรยายในหั ว ข้ อ กรอบเวลาและกระบวนการจัดสอบในการคัดเลือกเข้า ศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ปี ก ารศึ ก ษา 2557 โดย ผศ.ดร.พงษ์ อิ น ทร์ รั ก อริ ย ะธรรม อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เนชั่ น และ ประธาน คณะอนุ ก รรมการด� ำ เนิ นการสอบ ในระบบ admission ซึ่งเป็นกิจกรรม หนึ่งในงานตลาดนัดหลักสูตรอุดม ศึกษา ในงาน ม.อ.วิชาการ 56 ส� ำ หรั บ นิ ท รรศการที่ น� ำ เสนอภายในงาน ม.อ. วิชาการ ประจ�ำปีนี้ มีประเด็นและหัวข้อเรื่องที่มีความ ส�ำคัญและน่าสนใจ อาทิ นวัตกรรมยางพารา การเพิ่ม มูลค่าผลิตภัณฑ์อาหารครบวงจรและความยั่งยืนของ อุตสาหกรรมอาหารในภาคใต้ ทรัพยากรธรรมชาติแห่ง คาบสมุ ท รไทย การจั ด การนวั ต กรรมทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข ที่ ต อบสนองต่ อ ความต้ อ งการใน ภาคใต้ การวิจัยพัฒนาและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ชายแดนใต้และพหุวัฒนธรรม “นิทรรศการ 45 ปี ม.อ. จากวันนั้น ถึง..วันนี้” เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีคณะและหน่วยงานต่าง ๆ ได้ร่วม กันจัดกิจกรรม อาทิ งานตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา โดยสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั้ ง ของรั ฐ และเอกชนจากใน ประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน งานวันเกษตรภาคใต้ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับการจัดงาน ม.อ. วิชาการครั้งนี้ นับเป็น ครั้ ง ที่ 11 ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด ต่ อ เนื่ อ งกั น มา และ ทุ ก วิ ท ยาเขตของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ มี ก ารจั ด งาน ม.อ. วิ ช าการเช่ น เดี ย วกั น โดยครั้ ง ต่ อ ไป จั ด ที่ วิ ท ยาเขต หาดใหญ่ วันที่ 18 -19 สิงหาคม 2556 จัดที่วิทยาเขต ปัตตานี โดยมีนายภาณุ อุทัยรัตน์ รองปลัดกระทรวง มหาดไทย เป็นประธานในพิธีเปิด ในวันที่ 18 สิงหาคม 2556 เวลา 08.45 น. ณ อาคารเรียนรวม วิทยาเขต ปัตตานี และปาฐกถาพิเศษเรื่อง “นักศึกษาไทย ปรับตัว เรียนรู้ สู่ประชาคมอาเซียน” วันที่ 20-22 สิงหาคม 2556 จัดที่วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี วันที่ 29-30 สิงหาคม 2556 จัดที่วิทยาเขตตรัง และวันที่ 14-15 พฤศจิกายน 2556 จัดที่วิทยาเขตภูเก็ต


สู่นานาชาติ

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จัดงานนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 17 ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 เมื่อวันที่ 16-17 สิงหาคม 2556 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตหาดใหญ่ เพื่ อ เผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ข ้ อ มู ล หลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก แก่ นักเรียน ครู ผู้ปกครองและผู้สนใจทั่วไป ใน 14 จังหวัดภาคใต้ เตรียม พร้อมในด้านการศึกษามุ่งสู่อาเซียนในปี 2558 ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมในภาคใต้ที่มาร่วมงานกับสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ เป็นการเปิด โลกทั ศ น์ ท างด้ า นการศึ ก ษามี ส ถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว มงานในครั้ ง นี้ จ� ำ นวนกว่ า 100 สถาบัน ผู้เข้าร่วมงาน กว่า 15,000 คน

ม.อ. มุ่งสู่อาเซียน

เป็นเจ้าภาพจัดงานนิทรรศการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้งที่ 17

มีสถาบันการศึกษาทั้งไทยและต่างประเทศเข้าร่วมกว่า 100 สถาบัน 157 คูหา

ทั้ง นี้โ ครงการตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษา ครั้ งที่ 17 ได้ เชิ ญ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายพิเศษในประเด็นที่เป็นประโยชน์แก่ ครูแนะแนว นักเรียน ในหัวข้อ “การก�ำหนดกรอบเวลาและกระบวน การจัดสอบในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ปี ก ารศึ ก ษา 2557” โดยผศ.ดร.พงษ์ อิ น ทร์ รั ก อริ ย ะธรรม ประธานคณะอนุกรรมการด�ำเนินการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อใน สถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือแอดมิชชั่น นอกจากนี้ยังมีการบรรยายในหัวข้อ “ระบบการคั ด เลื อ กนั ก เรี ย น ใน 14 จังหวัดภาคใต้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยวิธีรับตรง ประจ�ำปีการศึกษา 2557” นอกจากการบรรยายพิเศษ แล้ ว ยั ง มี ก ารจั ด กิ จ กรรมการแสดงต่ า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ การแนะน�ำสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่เข้าร่วมงานพร้อมของ ที่ระลึกแจกแก่นักเรียนที่มาร่วมกิจกรรมบนเวที อีกทั้งการตอบค�ำถาม ชิงรางวัลรับของที่ระลึกมากมาย

ส�ำหรับงานตลาดนัดหลักสูตรอุดมศึกษาครั้งที่ 17 นี้ มี ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั้ ง ของรั ฐ และเอกชน เข้ า ร่ ว มจั ด งานรวมทั้ ง สิ้ น 100 สถาบั น 157 คู ห า ประกอบด้ ว ย สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ ได้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ในสั ง กั ด ส� ำนั ก งานคณะ กรรมการการอุ ด มศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคล สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน สถาบั น อุ ด ม ศึกษาที่สังกัดหน่วยงานอื่น ๆ จ�ำนวน 75 สถาบัน 98 คูหา อาทิ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สถาบันการ บินพลเรือน ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี ฯลฯ และสถาบัน จากต่างประเทศ จ�ำนวน 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศ มาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศสิงคโปร์ จ�ำนวน 25 สถาบัน 25 คูหา เป็นต้น อนึ่ ง การจั ด งานนิ ท รรศการตลาดนั ด หลั ก สู ต รอุ ด มศึ ก ษาในแต่ ล ะปี ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการอุ ด มศึ ก ษาจะร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ภู มิ ภ าคต่ า งๆหมุ น เวี ย นในการเป็ น เจ้ า ภาพโดย ในครั้ ง ที่ 17 นี้ ภาคเหนื อ มี มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็น เจ้าภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีมหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ภาคกลาง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สยาม และภาคใต้ ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

11


สู่นานาชาติ

ม.อ.ปัตตานี พร้อมรองรับนักศึกษาต่างชาติ

และเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

.อ. ปัตตานี พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทั้งการเปิดหลักสูตรนานาชาติ การเปลี่ยน ก�ำหนดเปิดและปิดภาคการศึกษาให้สอดคล้องกับประเทศอาเซียน ในขณะที่นักศึกษา ต่างชาติเข้ามาศึกษาต่อมีจ�ำนวนมากขึ้น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ยุพดี ชัยสุขสันต์

การที่มีนักศึกษาต่างชาติมาศึกษา ในวิทยาเขตปัตตานีมากขึ้นแสดง ให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีมีความ พร้อมในทุกด้านที่จะรองรับนักศึกษา ต่างชาติ และพร้อมที่จะก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ซึ่งทุกคณะ และหน่วยงานในวิทยาเขตปัตตานี ล้วนมีการตื่นตัวในการเตรียม ความพร้อมรับนักศึกษาต่างชาติ

12

ผศ.ดร.ยุพดี ชัยสุขสันต์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และวิเทศสัมพันธ์ วิทยาเขต ปัตตานี กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขต ปัตตานี ในการเข้าสู่ประคมอาเซียนว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านโครงสร้างกายภาพ อาคารสถานที่ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ด้ า นการเตรี ย มความพร้ อ มในการรั บ นั ก ศึ ก ษา ต่ า งชาติ ที่ จ ะมี จ� ำ นวนมากขึ้ น ทุ ก ปี ในเรื่ อ งของการลงทะเบี ย น ที่ พั ก อาศั ย ระบบ ความปลอดภั ย สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกและความช่ ว ยเหลื อ ที่ ห ลากหลายในรู ป ของกิ จ กรรม/โครงการต่ า ง ๆ อาทิ การจั ด สอนภาษาไทยส� ำ หรั บ การสื่ อ สารและ การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ การปฐมนิเทศนักศึกษาต่างชาติ การอบรมเจ้าหน้าที่บุคลากรที่เกี่ยวข้องในด้านทักษะภาษาต่างประเทศและการดูแล นักศึกษาต่างชาติ รวมถึงการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ในปี ก ารศึ ก ษา 2556 นี้ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี มี นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ เ ข้ า มาศึ ก ษาจ� ำ นวน 64 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 0.63 ของนั ก ศึ ก ษา ทั้งหมดของวิทยาเขตปัตตานี จ�ำนวน 10,114 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2555 ที่มี นักศึกษาต่างชาติจ�ำนวน ร้อยละ 0.50 โดยมาศึกษาในระดับปริญญาตรี 49 คน และ ระดับบัณฑิตศึกษา 15 คน นักศึกษาต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาจากประเทศจีน (36 คน) รองลง มาคือ นักศึกษาจากประเทศกัมพูชา (12 คน) ซึ่งได้รับทุนพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากประเทศเวียตนาม (4 คน) เนปาล (4 คน) และกินี (3 คน) นอกจากนี้มีนักศึกษาจากไลบีเรีย ตูนีเซีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และซูดาน ประเทศละ 1 คน โดยนักศึกษาต่างชาติระดับปริญญาตรีเข้าศึกษา ที่วิทยาลัยอิสลามศึกษา สาขาวิชาอิสลามศึกษา 27 คน คณะวิทยาการสื่อสาร สาขา วิชานวัตกรรมการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ 9 คน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 คน ในสาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง (3 คน) สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (2 คน) สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ (1 คน) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ (1 คน) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 คน ในสาขาวิชาการจัดการทรัพยากร มนุษย์และองค์การ (4 คน) สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (1 คน) และสาขา วิ ช าภาษาฝรั่ ง เศส (1 คน) ส่ ว น นักศึกษาต่างชาติในระดับบัณฑิต ศึ ก ษา 15 คน ศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย อิสลามศึกษาสาขาอิสลามศึกษา 4 คน คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี 11 คนในสาขาวิชาวิธี วิ ท ยาการวิ จั ย 4 คน สาขาวิ ช า วิ ท ยาศาสตร์ ก ารอาหารและ


โภชนาการ 2 คน สาขาเทคโนโลยี การประมง 2 คน และสาขาวิชา ชีววิทยาประยุกต์ ฟิสิกส์ประยุกต์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาละ 1 คน จากการจั ด กิ จ กรรมปฐม นิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ที่ ม า ศึ ก ษาในวิ ท ยาเขตปั ต ตานี ก ่ อ น การเปิ ด ภาคการศึ ก ษา 1/2556 โดยกองบริการการศึกษาร่วมกับ กองกิจการนักศึกษา วิทยาเขต ปัตตานี พบว่านักศึกษาต่างชาติเหล่านี้มีความพอใจในระบบ การเรียนการสอนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การที่ มี นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ม าศึ ก ษาในวิ ท ยาเขตปั ต ตานี มากขึ้น แสดงให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต ปัตตานี มีความพร้อมในทุกด้านที่จะรองรับนักศึกษาต่างชาติ และ พร้อมที่จะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งทุกคณะและหน่วยงาน ในวิทยาเขตปัตตานีล้วนมีการตื่นตัวในการเตรียมความพร้อม รั บ นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ ได้ จั ด การเรี ย นการสอนเป็ น ภาษาต่ า ง ประเทศในหลายรายวิ ช า มี ก ารจั ด ท� ำ หลั ก สู ต รหลายรู ป แบบ ที่ มี ค วามเป็ น นานาชาติ ทั้ ง แบบ 2+2 และ double degree และมี เ นื้ อ หาหลั ก สู ต รเป็ น ความต้ อ งการของผู ้ ศึ ก ษา มี ก าร จั ด กิ จ กรรมการแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษา (student mobility) กับ มหาวิ ท ยาลั ย ในต่ า งประเทศ โดยเฉพาะมาเลเซี ย อิ นโดนีเซีย และจีนมากขึ้น มีการลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ที่มหาวิทยาลัยเป็น ผู ้ อ อกแบบระบบขึ้ น ใช้ เ อง โดยขณะนี้ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี ก� ำ ลั ง ด�ำเนินการจัดท�ำเวบไซต์ภาษาอังกฤษส�ำหรับการลงทะเบียน และการเรียนการสอนส�ำหรับนักศึกษาต่างชาติ ส่วนนักศึกษา ชาวไทยที่ เ ป็ น เพื่ อ นร่ ว มชั้ น ก็ ต ้ อ งมี ทั ก ษะการใช้ ภ าษาต่ า ง ประเทศได้ เ ช่ น กั น โดยเฉพาะนั ก ศึ ก ษาของวิ ท ยาเขตปั ต ตานี ส่วนใหญ่มีทักษะภาษามลายู ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในประเทศแถบ อาเซียน ขณะนี้วิทยาเขตได้ก�ำลังรณรงค์ โครงการบัณฑิตของ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี พู ด ภาษายาวี แ ละภาษามลายู ไ ด้ ทุ ก คน ซึ่ ง จะท� ำ ให้ บั ณ ฑิ ต ที่ จ บจากวิ ท ยาเขตปั ต ตานี มี ค วามได้ เ ปรี ย บ ในการที่สามารถใช้ภาษาได้ถึง 3 ภาษาคือ ไทย อังกฤษ และ มลายูกลาง นอกจากนี้วิทยาเขตปัตตานีได้ด�ำเนินการปรับปรุง ระบบสาธารณูปโภค ระบบความปลอดภัย และสวัสดิการ ทั้ง ที่พักอาศัย การรักษาพยาบาล การให้บริการคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เน็ต ในทุกหอพักและทุกอาคาร ให้มีระบบอินเตอร์เน็ต ไร้สายบริการครอบคลุมทุกพื้นที่ ในส่วนของส�ำนักวิทยบริการ ก็ ไ ด้ จั ด หาหนั ง สื อ ภาษาต่ า งประเทศให้ นั ก ศึ ก ษาได้ สื บ ค้ น ประกอบการเรียนได้อย่างเพียงพอ รวมถึงการให้ความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในบริบทต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557 เป็นต้นไปมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีก็ได้ก�ำหนดปฏิทินการศึกษา ให้สอดคล้องกับการเปิดและปิดภาคเรียนของมหาวิทยาลัยใน ประเทศประชาคมอาเซียน โดยก�ำหนดเปิดภาคการศึกษาที่ 1

ในวันที่ 11 สิงหาคม 2557 และปิดภาคเรียนในวันที่ 21 ธันวาคม 2557 และเปิ ด ภาคการศึ ก ษาที่ 2 ในวั น ที่ 12 มกราคม 2558 ปิดภาคในวันที่ 23 พฤษภาคม 2558 ภาคฤดูร้อนเปิดเรียนใน วันที่ 8 มิถุนายน 2558 และปิดการศึกษาภาคฤดูร้อนในวันที่ 1 สิงหาคม 2558 กิ จ กรรมที่ น อกเหนื อ จากการเรี ย นการสอนในห้ อ งเรี ย น นั้น มหาวิทยาลั ยได้ รั บ ความร่ วมมื อ จากกองกิจ การนั กศึกษา ในการน�ำนักศึกษาต่างชาติเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยจัดขึ้น อาทิ กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษา กิจกรรม รับน้อง กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์และกิจกรรมอื่นๆ มีการน�ำนักศึกษา ไปเข้าค่ายร่วมกิจกรรมกับนักศึกษาต่างประเทศ การส่งนักศึกษา ไปอบรม ดูงาน และฝึกงาน ณ ต่างประเทศ ท�ำให้นักศึกษามี ความมั่นใจในการสื่อสารและการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และ ขณะนี้ได้ด�ำเนินการปรับปรุงอาคารสโมสรบุคลากรเป็น International student club เพื่อเป็นศูนย์รวมของนักศึกษาต่างชาติ และเป็นที่ส�ำหรับจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษาต่างชาติ กั บ นั ก ศึ ก ษาไทยและบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ส� ำ หรั บ บุ ค ลากร ในวิ ท ยาเขตก็ ต ้ อ งมี ค วามเชี่ ย วชาญในภาษาต่ า งประเทศทั้ ง ภาษาอังกฤษและภาษามลายูในระดับดีด้วยเช่นกัน ซึ่งวิทยาเขต ปั ต ตานี ก็ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ส ามารถสื่ อ สาร ภาษาอังกฤษได้มากขึ้น โดยจัดอบรมภาษาอังกฤษแก่บุคลากร สายสนั บ สนุ น เป็ น ระยะ รวมถึ ง กิ จ กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการ อบรมเจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ของคณะ/หน่วยงานเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในด้านการบริหารจัดการดูแลนักศึกษา ต่างชาติและผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศต่าง ๆ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็ น สั ง คมพหุ วั ฒ นธรรม มี นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามหลาก หลายทางด้านวัฒนธรรม และภาษา และจากการที่มี พื้ น ที่ ติ ด ต่ อ และเป็ น ประตู สู ่ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า น อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนักศึกษามีความ ได้ เ ปรี ย บทางด้ า นภาษาไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาษาอั ง กฤษ หรื อ ภาษามลายู มหาวิ ท ยาลั ย มี โ ครงการส่ ง เสริ ม ให้ บัณฑิตของวิทยาเขตปัตตานี พูดภาษาอังกฤษ และพูด ภาษามลายู ไ ด้ ทุ ก คน จึ ง มี ค วามพร้ อ มอย่ า งสู ง ที่ จ ะ เปิ ด รั บ นั ก ศึ ก ษาจากนานาชาติ และการส่ ง เสริ ม ให้ นั ก ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ไปอบรม ฝึ ก งาน และ ศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศมากขึ้นทุกปี

13


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

นักศึกษาวิศวะ ม.อ.สุดเจ๋ง

คว้าแชมป์การแข่งขัน ออกแบบหุ่นยนต์นานาชาติ 2013

นั ก ศึ ก ษาจากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ตั ว แทนจากประเทศไทย สร้ า งชื่ อ ด้ ว ยการ คว้ า แชมป์ ก ารแข่ ง ขั น ออกแบบหุ ่ น ยนต์ ร ะดั บ นานาชาติ ห รื อ International Design Contest Robocon 2013 ภายใต้ ชื่ อ การแข่งขัน “Indiana Robot” ระหว่างวันที่ 9-19 กรกฎาคม 2556 ณ เมืองเซาเปาโล ประเทศบราซิล นายปวริศร์ ฤทธิ์เมธี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาเมคาทรอนิกส์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เจ้ า ของผลงาน กล่ า วว่ า การแข่ ง ขั น ออกแบบหุ่นยนต์ระดับนานาชาติหรือ International Design Contest Robocon เป็นกิจกรรม ที่จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเทคนิคความคิด สร้างสรรค์ และเปิดโอกาสให้นักศึกษาในหลายๆ ประเทศที่จะเป็น วิศวกรในอนาคตได้เข้าร่วมทีมเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร่ ว มกั น โดยในแต่ ล ะปี จ ะมี ก ารหมุ น เวี ย นกั น เป็ น เจ้ า ภาพของ มหาวิ ท ยาลั ย ทั่ ว โลก ซึ่ ง ในปี นี้ มี ป ระเทศที่ เ ข้ า ร่ ว มแข่ ง ขั น ทั้ ง หมด 8 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น บราซิล เกาหลีใต้ ฝรั่งเศส จีน สิงคโปร์ โมร็อกโก และประเทศไทย ซึ่ ง ที ม ของตนได้ รั บ ชื่ อ ว่ า ที ม สี แ ดง ประกอบด้ ว ย นักศึกษาจาก 6 ประเทศ ได้แก่ประเทศไทย จีน ญี่ปุ่น สิงคโปร์ บราซิล และฝรั่งเศส

14

“การแข่งขันออกแบบหุ่นยนต์ระดับนานาชาติหรือ International Design Contest Roboconในปีนี้ ใช้ชื่อว่า “Indiana Robot” (อิน เดียนา โรบอต) ก�ำหนดโจทย์การแข่งขันให้สร้างหุ่นยนต์ 2 ตัว และเรือ 1 ล�ำ ปฏิบัติภารกิจการไล่ล่าสมบัติ ด้วยกลไก ที่รวดเร็ว ง่าย และไม่ซับซ้อน เป็นหุ่นยนต์ที่เน้นการปฏิบัติงาน ในระยะเวลาสั้ น ๆ สมาชิ ก ในที ม ที่ ม าจากหลายเชื้ อชาติมีความ แตกต่างกันทางวัฒนธรรมและภาษาจะต้องท�ำงานร่วมกัน และ ช่วยเหลือกันในการสร้างหุ่นยนต์ โดยแต่ละคนต้องพยายาม น�ำเสนอความคิดของตนเอง เพื่อให้งานออกมาดีที่สุด” นายปวริ ศ ร์ ฤทธิ์ เ มธี เปิ ด เผยต่ อ ไปว่ า ตนเองรู ้ สึ ก ชอบ หุ่นยนต์มาตั้งแต่วัยเด็ก และเริ่มสนใจที่จะสร้างหุ่นยนต์เมื่อศึกษา อยู ่ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 จึ ง ท� ำ ให้ ตั ด สิ น ใจเข้ า ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ชั้ น ปริ ญ ญาตรี ที่ ภ าควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เพราะเชื่ อ ว่ า จะสามารถสานความ ฝั น ของตนเองในการสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ เ ป็ น จริ ง ได้ เกื อ บ 2 ปี ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาอยู ่ ที่ นี่ ต นได้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ พื้ น ฐานโครงสร้ า งหุ ่ น ยนต์ พื้ น ฐานการเขี ย นโปรแกรม โดยมี อ าจารย์ และรุ ่ น พี่ ทั้ ง ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษา อยู ่ แ ละจบการศึ ก ษาไปแล้ ว คอยให้ ค วามรู ้ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาและ พัฒนาทักษะการสร้างหุ่นยนต์ กระทั่งไปคว้ารางวัลในครั้งนี้มาได้ นายปวริ ศ ร์ ฤทธิ์ เ มธี กล่ า วทิ้ ง ท้ า ยว่ า นอกเหนื อ จาก รางวัลการแข่งขันแล้ว สิ่งส�ำคัญที่ได้จากการสร้างหุ่นยนต์คือการ ได้ เ พื่ อ น ได้ ป ระสบการณ์ เนื่ อ งจากหุ ่ น ยนต์ ตั ว หนึ่ ง ไม่ ส ามารถที่ จะสร้ า งคนเดี ย วภายในระยะเวลาสั้ น ๆ ได้ การแก้ ป ั ญ หาโจทย์ ท�ำ ให้ ทุ ก คนในที ม ได้ แ บ่ ง ปั น ความรู ้ ซึ่ ง กั น และกั น ได้ฝึกนิสัยการ ยอมรั บ ความคิ ด เห็ น ของผู ้ อื่ น ส� ำ หรั บ ตนเองต้ อ งการที่ จ ะพั ฒ นา ศั ก ยภาพและทั ก ษะการสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ จะได้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการขั บ เคลื่ อ นวงการหุ ่ น ยนต์ ไ ทยให้ ก ้ า วหน้ า ต่ อ ไป


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

นักเรียนค่ายโอลิมปิก ม.อ. สร้างชื่อ

คว้าเหรียญทองแดงคอมพิวเตอร์โอลิมปิก ประจ�ำปี 2556

นายกฤติศักดิ์ ไชยกุล

นายกฤติศักดิ์ ไชยกุล นักเรียนค่ายส่งเสริม โอลิมปิกวิชาการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐาน วิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ หรือ สอวน. ศูนย์มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ คว้ารางวัลเหรียญ ทองแดง จากการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่าง ประเทศ ประจ�ำปี พ.ศ.2556 เมื่อวันที่ 6-13 กรกฎาคม 2556 ณ เมืองบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย

นายกฤติศักดิ์ ไชยกุล หรือน้องท๊อป นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน แสงทองวิทยา จังหวัดสงขลา เจ้าของเหรียญทองแดง การแข่งขันคอมพิวเตอร์ โอลิมปิกระหว่างประเทศ ประจ�ำปี พ.ศ.2556 เปิดเผยว่า ได้เริ่มเข้าค่ายส่งเสริม โอลิมปิกวิชาการของ สอวน. ศูนย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งแต่ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 ซึ่งถือได้ว่าที่นี่คือจุดเริ่มต้นที่ท�ำให้ตัวเองเกิดความสนใจที่จะศึกษา

และเรี ย นรู ้ ท างด้ า นคอมพิ ว เตอร์ เนื่ อ งจาก กิจกรรมการอบรมในค่ายมีทั้งการให้ความรู้ เกี่ ย วกั บ ทฤษฎี ก ารเขี ย นโปรแกรมเบื้ อ งต้ น และได้ มี โ อกาสลงมื อ เขี ย นโปรแกรมจริ ง ท�ำให้รู้สึกว่าการแก้โจทย์ปัญหาคอมพิวเตอร์ เป็นเรื่องที่สนุกและท้าทาย เป็นแรงบันดาลใจ ให้ตัวเองศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาฝีมือด้าน คอมพิวเตอร์อย่างจริงจัง น้องท๊อปเล่าให้ฟังว่ากว่าที่ตนเองจะ ผ่ า นการคั ด เลื อ กได้ เ ป็ น ผู ้ แ ทนประเทศไทย และไปคว้ า เหรี ย ญทองแดงจากแข่ ง ขั น คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศในครั้งนี้ มาได้ ตนต้องใช้ความพยายามในการฝึกฝน แก้ปัญหาโจทย์ทางคอมพิวเตอร์อย่างหนัก และต่อเนื่อง โดยต้องร่วมแข่งขันกับนักเรียน ผู ้ แ ทนประเทศจ� ำ นวนประมาณ 300 คน จากกว่า 80 ประเทศ ซึ่งนอกจากรางวัลและ ประสบการณ์การแข่งขันระดับโลก น้องท๊อป ยังจะได้รับทุนโอลิมปิกวิชาการสมเด็จพระเจ้า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ศึกษาระดับปริญญา ตรีถึงปริญญาเอก ณ ต่างประเทศ ซึ่งคาดว่า จะเลือกไปศึกษาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา น้ อ งท๊ อ ปกล่ า วทิ้ ง ท้ า ยฝากถึ ง เพื่ อ นๆ น้องๆ ว่า เราต้องรู้ว่าตนเองชอบอะไร สนใจ เรื่องอะไร เมื่อรู้แล้วเราจะต้องศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับสิ่งนั้นอย่างมุ่งมั่น ตั้งใจ แล้วเราจะรู้สึก สนุกกับสิ่งนั้น ตนเชื่อว่าทุกคนสามารถท�ำได้

15


บริการวิชาการ

นักวิชาการ ม.อ. แนะรัฐบาลรับข้อเสนอเกษตรกร ลดกระแสเรียกร้อง ก่อนแก้ไขราคายางตกต�่ำระยะยาว

ากวิ ก ฤตการณ์ ท างการเมื อ งที่ มี ก ารเรี ย กร้ อ งของ เกษตรกรชาวสวนยางพาราให้ รั ฐ บาลก� ำ หนดราคา ประกั น ยางพารา จนเกิ ด การประท้ ว งปิ ด เส้ น ทางคมนาคม มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ได้ จั ด การเสวนาเรื่ อ ง “ทางออกยางพาราไทย” เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556 ผู้ร่วม เสวนาคือ รศ.ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข จากภาควิชาพัฒนาการ เกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ รองศาสตราจารย์อาซีซัน แกสมาน ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นานวั ต กรรม ยางพารา และผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ท วี ศั ก ดิ์ นิ ย มบั ณ ฑิ ต คณบดี ค ณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เพื่ อ เป็ น เวที เ สนอแนวความคิ ด จากนั ก วิ ช าการ สู ่ การหาแนวทางแก้ ไขปัญหาที่ตรงจุด ตลอดจนเสนอแนะแนว ทางแก้ ป ั ญ หาระยะสั้ น และระยะยาวแก่ ภ าคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

รศ. ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข ผู้เชี่ยวชาญจากภาควิชาพัฒนาการ เกษตร คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เปิ ด เผยในเวที ก ารเสวนาว่ า ตั ว เลขต้ น ทุ น ยางพาราที่ วิ เ คราะห์ โ ดย หน่ ว ยงานภาครั ฐ มี ค ่ า ต�่ ำ กว่ า ตั ว เลขต้ น ทุ น ที่ วิ เ คราะห์ โ ดยเกษตรกร ซึ่ ง อาจเป็ น เพราะหน่ ว ยงานของภาครั ฐ ได้ วิ เ คราะห์ เ ฉพาะตาม หลักวิชาการ ยังไม่ได้ค�ำนึงถึงกระบวนการผลิตที่แท้จริงของเกษตรกร ซึ่งมีความซับซ้อนและแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่การผลิต อย่างไรก็ตาม หากคิดในภาพรวมแล้วตัวเลขต้นทุนการผลิตยางพาราของประเทศไทย ถือได้ว่าสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซีย สิงคโปร์ เมื่อราคายาง ในตลาดโลกลดลง เกษตรกรไทยจึงได้รับความเดือดร้อน เป็ น ที่ ม าของการชุ ม นุ ม เรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลก� ำ หนดราคา ประกันยางพาราที่เป็นปัญหายืดเยื้ออยู่ในขณะนี้ “แนวทางแก้ไขปัญหาที่ควรเร่งด�ำเนินการในขณะนี้ คือการเปิดเจรจาพูดคุยกันระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มเกษตรกร

16

และทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งในเรื่ อ งยางพารา เพื่ อ ร่ ว มกั น ตกลงราคาตามตั ว เลขที่ เ กษตรกรยื่ น ข้ อ เสนอ คิ ด ว่ า ตั ว เลขราคาที่ น ่ า จะเป็ น ไปได้ คื อ 100 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งก็ถือว่าเป็นราคาที่ค่อนข้างฝืน ตลาดโลกพอสมควร แต่ คิ ด ว่ า มี โ อกาสท�ำ ได้ โดย รั ฐ บาลอาจจะมี ก ารก� ำ หนดกรอบระยะเวลาการ ประกันราคายางพาราให้ชัดเจน และให้เงินอุดหนุน ปั จ จั ย การผลิ ต แก่ เ กษตรกรตามกรอบระยะเวลา ที่ ก� ำ หนดไว้ ในระหว่ า งนั้ น ก็ จ ะได้ ห าแนวทางการ แก้ ไ ขปั ญ หาราคายางตกต�่ ำ ในระยะยาวที่ ชั ด เจน ต่อไป น่าจะเป็นหนทางลดกระแสการเรียกร้องเรื่อง ราคาได้ในขั้นต้น เชื่อว่าคนไทยถึงแม้จะแตกต่างกัน ทางมุมมอง แต่เราคุยกันได้บนพื้นฐานของเหตุผล” รองศาสตราจารย์ ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข กล่าว ส� ำ หรั บ การแก้ ไ ขปั ญ หาราคายางตกต�่ ำ ใน ระยะยาวนั้น รศ. ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข ให้ความ เห็นว่า ควรมีการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราโดย ส่ ง เสริ ม การแปรรู ป ยางเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ หรื อ สร้ า ง นวัตกรรมด้านยางพารา พร้อมๆ กับการสนับสนุน การใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากยางพาราภายในประเทศให้ มากขึ้นแทนที่จะพึ่งตลาดโลกเพียงอย่างเดียว นอก จากนี้ เ กษตรกรควรตระหนั ก ถึ ง การใช้ ชี วิ ต ตาม แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะเป็นการประกัน ความเสี่ยงให้แก่ตนเองได้อีกทางหนึ่ง


การประชุมสัมมนา

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น เจ้ า ภาพจั ด ประชุ ม สามั ญ ที่ ป ระชุ ม อธิ ก ารบดี แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4/2556 และการประชุมสามัญสมาคมสถาบันการศึกษา ขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ประจ�ำประเทศไทย ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2556 ที่ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ โดยมีสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นภาคีเครือข่าย และสถาบันที่สนใจ เข้ า ร่ ว มประชุ ม 37 สถาบั น รวมทั้ ง ส�ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวง ศึกษาธิการ โดยมี รศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นประธาน โดย ในวันดังกล่าว นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้เดินทางมา การมอบนโยบาย การอภิปราย และตอบข้อซักถามของที่ประชุม

ม.อ. เป็นเจ้าภาพ จัดประชุม ทปอ. – สออ. ประเทศไทย

โดยมีระเบียบวาระหนึ่งที่น่าสนใจ คื อ การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ระสานงาน ปฏิ ญ ญาหาดใหญ่ ซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม เห็ น ชอบให้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลา นคริ น ทร์ เ ป็ น ศู น ย์ ป ระสานงาน ปฏิญญาหาดใหญ่ต่อไป โดยเน้น ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ในกลุ ่ ม ทปอ. ร่ ว มมื อ กั น ในการแก้ ป ั ญ หา 3 จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ โดยใช้ วิ ช าการและการศึ ก ษา เข้ามาช่วยแก้ปัญหา ซึ่งในเรื่องดังกล่าว รศ. ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า มหาวิทยาลัย พร้ อ มจะเป็ น แกนกลางประสานงานในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว และ อยากให้ รั ฐ บาลสนับสนุนการด�ำเนินการเรื่องดังกล่ า วอย่ า ง จริ ง จั ง ด้ ว ย นอกจากนั้ น ยั ง มี ม ติ ใ ห้ ม หาวิ ท ยาลั ย ทุ ก แห่ ง รั บ นักศึกษาโดยวิธีรับตรงพร้อมกันในช่วงเดือนมกราคม ตั้งแต่ปีการ

ศึกษา 2557 เป็นต้นไป เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ของนักเรียนและผู้ปกครอง ด้านนายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร ได้ ก ล่ า วถึ ง นโยบาย ที่ ว างไว้ ต ่ อ ที่ ป ระชุ ม ซึ่ ง มี ใ น 4 ประเด็ น คื อ การส่ ง เสริ ม และใช้ ประโยชน์จากการวิจัยซึ่งเป็นบทบาทส�ำคัญของมหาวิทยาลัย การส่งเสริมคุณภาพและสมรรถนะของบัณฑิตเพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน การส่งเสริมคุณภาพและสิทธิประโยชน์ ของคณาจารย์ และการมุ่งแก้ปัญหายาเสพติด ดูข่าวดังกล่าวผ่านสื่อมวลชนได้ที่ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1377420 906&grpid=03&catid&subcatid http://www.dailynews.co.th/education/228510 http://www.manager.co.th/qol/viewnews. aspx?NewsID=9560000106223 http://www.thaipost.net/news/260813/78337 http://www.komchadluek.net/detail/20130815/165913/ทปอ.จับมือป.ป.ช. สร้างเครือข่ายปราบโกง.html#.UhrC8eE0Pps

17


รอบรั้วศรีตรัง

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

ทรงเปิดพระราชานุสาวรีย์ ที่วิทยาเขตภูเก็ต สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี จะเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดพระ ราชานุ ส าวรี ย ์ สมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุ ล ยเดชวิ ก รม พระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ที่ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เมื่อวันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม 2556 โดย ผู ้ บ ริ ห าร คณาจารย์ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษา และ ผู้มีเกียรติ เฝ้าฯรับเสด็จ

รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ถวายรายงาน ความเป็ น มาในการจั ด สร้ า งพระราชานุ ส าวรี ย ์ ที่ วิ ท ยาเขตภู เ ก็ ต ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์ได้จัดสร้างพระราชานุสาวรีย์ไว้ในทุกวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย เพื่อ เป็ น ที่ เ คารพสั ก การะ เป็ น สิ ริ ม งคล แก่ บุ ค ลากร นั ก ศึ ก ษาและประชาชนในจั ง หวั ด ภาคใต้ เพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ ไ ด้ ท รงเสี ย สละ มุ ่ ง มั่ น ปฏิ บัติพระราช กรณียกิจที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ โดยได้มีพิธีเปิดพระราชานุสาวรีย์แล้วใน 4 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตปัตตานี วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตตรัง วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ส�ำหรับการด�ำเนินการก่อสร้างพระราชานุสาวรีย์ที่วิทยาเขตภูเก็ต ได้รับความร่วมมือจาก กรมศิลปากรในการออกแบบและหล่อปั้น เป็นพระรูปในลักษณะพระอิริยาบทประทับ พระเก้าอี้ ขนาดสองเท่าของพระองค์จริง โดยได้มีพิธีอัญเชิญพระรูปขึ้นประดิษฐานยังแท่นพระราชานุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 หลังจากนั้นทรงพระราชทานของที่ระลึกแก่ผู้บริจาคเงินสมทบการก่อสร้างพระราชานุสาวรีย์ฯ ทรงกดปุ่มไฟฟ้าเปิดแพรคลุม พระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก และ ทรงปลูกต้นสักสยามมินทร์

18


ในระหว่างที่ทอดพระเนตรนิทรรศการซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ จัดไว้ในอาคารส�ำนักงานอธิการบดี สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ ทรงสนพระทัยความเป็นมาของการจัดสร้างพระราชา นุสาวรีย์ในทุกวิทยาเขต โดยทรงตรัสถึงอธิการบดีทุกท่านที่ปรากฏ ภาพในนิทรรศการ ทรงมีพระราชปรารภถึงการศึกษาของเยาวชน ที่ด้อยโอกาสในท้องถิ่นห่างไกล เช่นที่เกาะบุโหลน จังหวัดสตูล ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ก� ำ ลั ง เข้ า ร่ ว มพั ฒ นากั บ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา ทรงสนพระทั ย พื ช พื้ น ถิ่ น ที่ พ บได้ ใ นบริ เ วณพื้ น ที่ ข อง มหาวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขตตรั ง เช่ น หม้ อ ข้ า วหม้ อ แกงลิ ง หยาด น�้ำค้าง สาหร่ายข้าวเหนียว ซึ่งแม้จะพบเป็นบริเวณจ�ำกัดแต่เป็น พืชหายาก และมีความน่าสนใจในเชิงธรรมชาติวิทยา และการศึกษา พั น ธุ ์ พื ช โดยก� ำ ลั ง น� ำ เสนอเพื่ อ ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ใ นโครงการอนุ รั ก ษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ นอกจากนั้น ยังทรงมี พระราชปฏิสันถาร กับนักศึกษาจากประเทศกัมพูชาซึ่งได้เข้าศึกษา ที่วิทยาเขตภูเก็ต โดยทุนพระราชทาน โดยทรงตรัสชื่นชมในความ

ตั้งใจในการศึกษา และทรงทราบถึงค�ำชมจากหลายมหาวิทยาลัย ที่มีนักศึกษาทุนศึกษาอยู่ ส�ำหรับต้นสักสยามมินทร์ซึ่งทรงปลูกในวันนี้ เป็นพันธุ์ต้นสัก ที่ ไ ด้ ม าจากการเพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ จากต้ น สั ก ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลก มี อ ายุ ม ากกว่ า 1,500 ปี ในวนอุ ท ยานสั ก ใหญ่ อ� ำ เภอน�้ ำ ปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความสูง 47 เมตร วัดรอบต้นได้ประมาณ 10 เมตร โดยโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (อพ.สธ.) ได้ตั้งเป้าหมายให้หน่วยงาน และประชาชนทุ ก พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศร่ ว มกั น ปลู ก ระหว่ า งวั น ที่ 5 ธันวาคม 2553 ถึง 5 ธันวาคม 2558 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา เพื่อกระตุ้นให้คนไทยเกิดจิตส�ำนึกในการใช้ทรัพยากร ของชาติ และเพื่ออนุรักษ์พันธุ์ต้นสักที่มีอายุยืนยาวและขนาดล�ำต้น ใหญ่ที่สุดในโลก ให้คงอยู่สืบไป

19


รอบรั้วศรีตรัง

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร

ม.อ.ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯ

แด่สมเด็จพระเทพฯ

และปริญญาเภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตฯ

แด่ฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ฯ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2555 ในระหว่างวันที่ 14 - 16 กันยายน 2556 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราช สมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งนี้ สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในคราวประชุมครั้งที่ 349(5/2556) เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2556 ได้มีมติ ให้ขอพระราชทานทูลเกล้าถวายปริญญากิตติมศักดิ์ และมอบปริญญากิตติมศักดิ์แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้ 1. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ชีววิทยา) 2. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เภสัชศาสตร์) 3. สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 2 อิบน์ อัล ฮุสเซน แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน รัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. ดร. กฤษ รักษาเคน ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 5. นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 6. ศ.(พิเศษ) วิชา มหาคุณ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 7. ศ.ดร.สมจิต หนุเจริญกุล พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 8. นายสมยศ กีรติชีวนันท์ วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 9. รศ. บ๊อบ บีตั้น (Associate Professor Robert J.S. Bob Beeton) วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ชีววิทยา) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นนักวิชาการที่ใฝ่พระทัย กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรงให้ความส�ำคัญกับการศึกษา วิ จั ย ด้ า นความหลากหลายทางชี ว ภาพ อั น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ มี ก ารจั ด ท� ำ สวน พื ช สมุ น ไพรในโครงการส่ ว นพระองค์ ฯ สวนจิ ต รลดา ทรงมี พ ระราชด�ำ ริ ใ ห้ อนุรักษ์ พื ช พรรณของประเทศ และด� ำ เนิ น การเป็ น ธนาคารพื ช พรรณส� ำ หรั บ เก็ บ รั ก ษา พันธุกรรมพืชที่เป็นเมล็ดและเนื้อเยื่อ ทรงมีพระราชด�ำริให้ท�ำศูนย์ข้อมูลพันธุกรรม พืชเพื่อสะดวกในการอ้างอิงค้นคว้า

20


ปีพุทธศักราช 2539 ทรงมีพระราชด�ำริให้โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับพิพิธภัณฑ์พืช ภาควิชา ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัด ถ่ า ยภาพตั ว อย่ า งพรรณไม้ แ ห้ ง ที่ ร วบรวมไว้ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มากกว่า 20,000 ตัวอย่าง ต่อมาในปีพุทธศักราช 2545 ทรงมี พระราชานุ ญ าตให้ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ด� ำ เนิ น การโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในพื้นที่ปกปักเขาคอหงส์ ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่ออนุรักษ์ป่า ใกล้เมืองผืนสุดท้ายของอ�ำเภอหาดใหญ่ ศึกษาวิจัย และอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชี ว ภาพ พั ฒ นาให้ เ กิ ด ผลต่ อ ชุ ม ชน ในปี พุ ท ธศั ก ราช 2549 มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง ได้ น ้ อ มเกล้ า ฯ ถวายพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานธรรมชาติ วิ ท ยา ซึ่ ง อยู ่ ใ นโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานชื่อพิพิธภัณฑ์ฯ แห่งนี้ว่า “พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานธรรมชาติ วิ ท ยา ๕๐ พรรษา สยามบรม ราชกุ ม ารี ” และพระราชทานพระราชานุ ญ าตให้ เ ชิ ญ อั ก ษร พระนามาภิ ไ ธย “ส.ธ.” ประดั บ เหนื อ ชื่ อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ฯ จาก พระราชด� ำ ริ ที่ พ ระราชทานข้ า งต้ น จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ให้ เ ห็ น ถึ ง พระอั จ ฉริ ย ภาพ พระวิ สั ย ทั ศ น์ อั น กว้ า งไกล ที่ มี ต ่ อ การ คุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เภสัชศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (เภสัชศาสตร์)

แต่ครั้งทรงศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมีอินทรีย์ ณ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ได้ ท รงเสนอวิ ท ยานิ พ นธ์ ด ้ า นเคมี ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ใ นหั ว ข้ อ ที่ เ ป็ น วิ ธี ป ฐมบทของ การวิ จั ย และพั ฒ นายาจากพื ช สมุ น ไพร กล่ า วคื อ หั ว ข้ อ “การศึ ก ษาองค์ ป ระกอบทางเคมี ข องเหง้ า กระชาย เหลื อ ง” ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก ารศึ ก ษาฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยา พิษวิทยาการอธิบายฤทธิ์ของพืชสมุนไพร สื บ เนื่ อ งต่ อ ไปยั ง กระบวนการสั ง เคราะห์ ท างเคมี แ ละ ดั ด แปลงโมเลกุ ล ของสารที่ มี ฤ ทธิ์ ท างชี ว ภาพ ให้ เ ป็ น ยา ที่ใช้รักษาโรคหรือบรรเทาอาการที่มีประสิทธิผลต่อไป การทรงงานด้ า นเคมี ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ แ ละ สมุนไพรไทยได้ปรากฏอย่างชัดเจนอีกครั้ง เมื่อทรงก่อตั้ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ขึ้นในปีพุทธศักราช 2530 ซึ่งสถาบัน แห่ ง นี้ ป ระกอบด้ ว ยห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ มี ศั ก ยภาพครบถ้ ว น ทุกมิติของการวิจัยและพัฒนายา อาทิ ห้องปฏิบัติการวิจัย เคมีของยา ห้องปฏิบัติการวิจัยเภสัชวิทยา และโดยเฉพาะ ห้องปฏิบัติการวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติซึ่งทรงเป็นหัวหน้า ห้องปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง นับเป็นการขยายขอบเขต ของการวิ จั ย และพั ฒ นายาและสารที่ มี ฤ ทธิ์ ท างชี ว ภาพ จากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ใ ห้ ค รบถ้ ว นตามหลั ก วิ ช าการ สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอ เจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อั ค ร ราชกุมารี ยังทรงเป็นผู้น�ำในการศึกษาวิจัย พัฒนาคุณค่า ของสมุนไพรไทย ทรงตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทรงได้ รั บ การเชิ ด ชู พ ระเกี ย รติ คุ ณ ในฐานะ นักวิทยาศาสตร์จากนานาอารยะประเทศ อาทิ ทรงรับการ ทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ มถวายรางวั ล เหรี ย ญทอง อั ล เบิ ร ์ ต ไอน์สไตน์ จากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่ ง สหประชาชาติ ทรงได้ รั บ การถวายรางวั ล และพระเกี ย รติ ย ศต่ า งๆ เช่ น กั น อาทิ รางวั ล Albert Hoffmann Centennial Gold Medal จากมหาวิทยาลัยซูริก ในฐานะที่ ทรงเป็นนักวิจัยด้านเคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่มีผลงาน เด่น ทรงได้รับการถวายสมาชิกภาพเกียรติยศจาก Society for Medicinal Plant and Natural Product Research หรือ GA เป็นต้น สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ ๒ อิบน์ อัล ฮุสเซน แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน รัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 2 อิบน์ อัล ฮุสเซน ทรง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคร มีบทบาทส�ำคัญในการปฎิรูปการเมืองเศรษฐกิจและสังคม ราชกุมารี ทรงสนพระทัยและทรงประกอบพระกรณียกิจ ซึ่งเป็น ของจอร์แดน ในด้านการเมือง ทรงวางรากฐานของสถาบัน คุณูปการต่อการวิจัยและพัฒนายาจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติมา การเมืองและเตรียมความพร้อมของประชาชนในการพัฒนา

21


ไปสู ่ ป ระชาธิ ป ไตยระบอบ รั ฐ สภาและสถาบั น พระ ม ห า ก ษั ต ริ ย ์ ภ า ย ใ ต ้ รั ฐ ธรรมนู ญ โดยพสกนิ ก ร มี ค ว า ม จ ง รั ก ภั ก ดี แ ล ะ ประชาคมระหว่ า งประเทศ ต่างยกย่องว่า ทรงพระปรีชา สามารถในการปฏิรูปและการพัฒนา เพื่อถ่ายโอนพระราช อ�ำนาจไปสู่ประชาชน จึงเป็นสาเหตุที่ท�ำให้สังคมจอร์แดน ยั ง คงมี เ สถี ย รภาพท่ า มกลางกระแส Arab Spring และ การเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู ้ แ ทนราษฎรครั้ ง ล่ า สุ ด ที่ ผ ่ า นมา เมื่ อ วั น ที่ 23 เมษายน 2556 ทรงสละพระราชอ� ำ นาจใน การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี แต่ให้มาจาก การพิจารณาคัดเลือกระหว่างผู้ได้รับการเลือกตั้ง โดยทรง จ� ำ กั ด บทบาทมาเป็ น การให้ ข ้ อ เสนอแนะ ค� ำ ปรึ ก ษาต่ อ ฝ่ า ยการเมื อ ง สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว ม ทางการเมื อ งของประชาชน และปฏิ รู ป สถาบั น พระ มหากษัตริย์ให้ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ในปัจจุบัน ดร.กฤษ รักษาเคน ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

ดร.กฤษ รักษาเคน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง Coordinator of Advising Resource Center ณ มหาวิทยาลัยบอล สเตท สหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น ผู ้ เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษา อังกฤษ ตั้งแต่ปี 2544 จนถึง ปั จ จุ บั น ดร.กฤษ รั ก ษาเคน เป็นบุคคลส�ำคัญที่มีส่วนผลัก ดั น ในการด� ำ เนิ น โครงการ ค่ า ยภาษาอั ง กฤษระหว่ า ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ กั บ Ball State University (PSU-BSU English Camp) รวมทั้งเป็นผู้ประสานงานหลัก ในการจัดหา Camp leaders มาเข้าร่วมโครงการ ดร.กฤษ รักษาเคน ยังเป็นผู้ที่มีส่วนส�ำคัญในการท�ำให้โครงการค่าย ภาษาอั ง กฤษเป็ น ที่ รู ้ จั ก และเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ ห้ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย อื่ น ๆ ในประเทศไทยอี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการระหว่ า ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กับมหาวิทยาลัยบอล สเตท โดยได้ลงนามในข้อตกลง ความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง สองมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 เป็นผู้ที่มีส่วนร่วมใน

22

การน�ำพามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สู่ความเป็นนานาชาติ และช่ ว ยสานต่ อ แนวนโยบายมหาวิ ท ยาลั ย ในการเตรี ย ม ความพร้ อ มนั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากรเพื่ อ เข้ า สู ่ ก ารเป็ น ประชาคมอาเซียน นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นายฐากร ตั ณ ฑสิ ท ธิ์ ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกิ จ การ กระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ แ ล ะ กิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม แห่ ง ชาติ ได้ ใ ช้ ค วามรู ้ ค วาม สามารถ ก� ำ ลั ง กาย ก� ำ ลั ง ใจ ปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ เ พื่ อ การ พัฒนางานในด้านต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ ได้ ร ่ ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาเพื่ อ ยกระดั บ การพั ฒ นา เยาวชนในภาคใต้ โดยด� ำ เนิ น การและสนั บ สนุ น โครงการ ต้นแบบศูนย์ทางไกลเพื่อการศึกษา และพัฒนาในพื้นที่เสี่ยง ภัยจังหวัดชายแดนภาคใต้ (e-Learning) ซึ่งเป็นโครงการ ระหว่างส�ำนักงาน กสทช. กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นตุ ล าคม 2552 โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ส่ ง เสริ ม และขยายโอกาสในการพั ฒ นาศั ก ยภาพและองค์ ค วามรู ้ ให้แก่ครู นักเรียนและประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงภัยของจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือและ สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงาน ต่างๆ ในพื้นที่เสี่ยงภัยมีระยะเวลาด�ำเนินโครงการ 3 ปี ระหว่าง ปีพุทธศักราช 2553 - 2555 โครงการดังกล่าว เป็นหนึ่งใน หลายโครงการที่จะใช้การศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ แก่เยาวชนในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โดยมุ่งหวังจะให้น�ำการ พัฒนาและความสงบสุขให้เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) วิชา มหาคุณ นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ศาสตราจารย์ (พิ เ ศษ) วิ ช า มหาคุ ณ มี ผ ลงานทาง วิชาการเป็นจ�ำนวนมาก ผลงานทางวิชาการที่ส�ำคัญ ได้แก่ ต� ำ ราเรื่ อ งกฎหมายล้ ม ละลาย ต� ำราเรื่ อ งการฟื ้ น ฟู กิจการ ของลูกหนี้ ต�ำราเรื่องการใช้เหตุผลในทางกฎหมาย ต�ำรา เรื่ อ งการตี ค วามกฎหมายซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง ร่ ว มกั บ ศาสตราจารย์


ธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้รับทุน จากมู ล นิ ธิ ร อกกี้ เ ฟลเลอร์ ให้ วิ จั ย เรื่ อ งการเผยแพร่ ความรู ้ ก ฎหมายไปสู ่ ช นบท และได้ รั บ ทุ น จากองค์ ก าร อนุ เ คราะห์ เ ด็ ก แห่ ง นอร์ เ วย์ ให้ วิ จั ย เรื่ อ งผลกระทบของ เด็ ก ที่ ถู ก ทารุ ณ กรรม ต่ อ มา ได้ เ ป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม ในการร่ า ง พระราชบั ญ ญั ติ คุ ้ ม ครองเด็ ก และพระราชบั ญ ญั ติ ศ าล เยาวชนและครอบครัวฉบับใหม่ ผลงานต่างๆ เหล่านี้ล้วน ได้ รั บ การยอมรั บ และการอ้ า งอิ ง อย่ า งกว้ า งขวาง เป็ น ผู ้ อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ การสอนในฐานะอาจารย์ พิ เ ศษ ทั้ ง ในระดั บ ปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ตลอดจนหลักสูตรพิเศษ ให้แก่นิสิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ตลอดจนเนติบัณฑิตยสภารวมทั้งสถาบัน การศึ ก ษาระดั บ สู ง หลายแห่ ง เป็ น ที่ เ คารพอย่ า งสู ง ในหมู ่ นักศึกษา และบุคลากรทางด้านนิติศาสตร์ จากการอุทิศตน ให้แก่งานวิจัย งานวิชาการและวิชาชีพด้านนิติศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.สมจิต หนุเจริญกุล พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ศ.ดร.สมจิต หนุเจริญกุล เป็ น อาจารย์ พ ยาบาลของ ภาควิ ช าพยาบาลศาสตร์ ( ป ั จ จุ บั น เ ป ็ น โ ร ง เ รี ย น พยาบาล) คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี มหา วิทยาลัยมหิดล เป็นเวลา 36 ปี และเคยท� ำ หน้ า ที่ บ ริ ห าร หลั ก สู ต รในหลายต� ำ แหน่ ง เป็นผู้มีคุณูปการอย่างสูงต่อ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มาเป็น เวลากว่าสามสิบปี เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการสนับสนุน และให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ ค ณะพยาบาลศาสตร์ ใ นการ วางรากฐานการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยเป็น อาจารย์ พิ เ ศษ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาและเป็ น ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นการ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต ร จนท� ำ ให้ ห ลั ก สู ต รระดั บ บัณฑิตศึกษาของคณะฯ ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ เป็นประธานกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกในการสอบป้ อ งกั น วิ ท ยานิ พ นธ์ นั ก ศึ ก ษาการ ประเมินผลงานของคณาจารย์ของคณะฯ ที่เสนอขอต�ำแหน่ง

ทางวิชาการในระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ และเป็ น วิ ท ยากรในกิ จ กรรมวิ ช าการ ต่ า ง ๆ ของคณะฯ ที่ จั ด ขึ้ น ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ อย่างสม�่ำเสมอ นายสมยศ กีรติชีวนันท์ วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล นายสมยศ กีรติชีวนันท์ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม เครื่องกล จากคณะวิศวกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ เมื่ อ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2520 หลั ง ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษา รั บ ต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู ้ จั ด การ โรงงาน จากนั้นได้เปิดกิจการ ของตนเอง เคยได้รับคัดเลือก จากคณะกรรมการสมาคมนั ก ศึ ก ษาเก่ า วิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้เป็นวิศวกรดีเด่น ปี พ.ศ. 2541 เป็นอุปนายกสมาคมศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ และให้ ก ารสนั บ สนุ น งาน การเรี ย นการสอนของภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อย่างต่อเนื่อง โดยการสนับสนุนเครื่องปรับอากาศ สนับสนุนให้บุคลากร และนักศึกษาเข้าเยี่ยมชมโรงงานและให้ทุนวิจัยแก่นักศึกษา ในระดั บ ปริ ญ ญาโทและเอกที่ ส นใจท� ำ วิ จั ย ด้ า นระบบ ปรับอากาศ ร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (เนคเทค)ในการวิ จั ย พั ฒ นาชุ ด ขั บ เคลื่อนส�ำหรับมอเตอร์แบบ ดีซีไร้แปรงถ่าน หรือ “อินเวอร์เตอร์ สัญชาติไทย นอกจากนี้ยังเป็นที่ปรึกษากลุ่มอุตสาหกรรม เครื่ อ งปรั บ อากาศและท� ำความเย็ น ของสภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทยอีกด้วย รองศาสตราจารย์ บ๊อบ บีตั้น (Associate Professor Robert J.S. Bob Beeton) วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเทคโนโลยี และการจัดการสิ่งแวดล้อม รศ.โรเบิร์ต เจ เอส บ๊อบ บีตั้น ปัจจุบันปฏิบัติหน้าที่ เป็ น อาจารย์ ต� ำ แหน่ ง รองศาสตราจารย์ ที่ ค ณะภู มิ ศ าสตร์ การวางแผนและการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย ควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ได้เริ่มเข้ามามีส่วนร่วมใน

23


การพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 และร่วมเป็นอาจารย์ผู้สอน ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในหลักสูตร ดังกล่าว ขณะเดียวกันได้ร่วมกับอาจารย์คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมจัดท�ำแผนการ พัฒนาจังหวัดภูเก็ตและพื้นที่ชายฝั่งอันดามันเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งแผนดังกล่าวนี้ ปัจจุบันคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้ใช้เป็นแนวทางในการด� ำเนินงานแผน ยุทธศาสตร์ของคณะ นอกจากนี้ยังเป็นผู้ประสานงานให้ผู้บริหารของคณะเทคโนโลยี และสิ่ ง แวดล้ อ มเดิ น ทางไปสร้ า งความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ คณะผู ้ บ ริ ห ารของ มหาวิทยาลัยควีนแลนด์ จนมหาวิทยาลัยควีนแลนด์ได้บรรจุภารกิจความร่วมมือทาง วิชาการด้านต่าง ๆ กับคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานของมหาวิทยาลัยที่เป็นเอกสารอย่างชัดเจน

รางวัลอาจารย์ดีเด่นของ

กองทุน เอกิ้น เลาเกเซ่นอนุสรณ์ ปี 2556 รศ.สุปราณี อัทธเสรี ได้ไปบุกเบิกจัดตั้งส�ำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ ้ า หลวง และด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รองคณบดี และคณบดี ส�ำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ ในปัจจุบัน เป็นนักวิชาศึกษาทางการพยาบาล ผู ้ มี ค วามรู ้ ด ้ า นการพยาบาล มารดา ทารก และการผดุ ง ครรภ์ อ ย่ า ง ลึกซึ้ง เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการและวิชาชีพทางการพยาบาล ตลอดจน นั ก วิ ช าการในสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเป็ น การทั่ ว ไป ถึ ง แม้ ว ่ า รศ.สุ ป ราณี อัทธเสรี จะด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้บริหารก็ยังท�ำหน้าที่ครูผู้ถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ศิษย์อย่างสม�่ำเสมอ โดยมีการจัดท�ำแผนการสอนที่ดี ใช้เทคนิคการ สอนที่เร้าความสนใจเพื่อให้ศิษย์จดจ�ำได้ง่าย และตลอดเวลาจะสอดแทรก คุณธรรมจริยธรรมเพื่อให้ผู้เรียนเติบโตขึ้นเป็น “คนเก่ง และคนดี” ด้ า นการวิ จั ย รศ.สุ ป ราณี อั ท ธเสรี มี ค วามรู ้ ค วามสามารถในการ ท�ำงานวิจัยทางการพยาบาลทั้งทางด้านการศึกษาพยาบาลและการปฏิบัติ พยาบาล โดยเฉพาะด้ า นมารดา ทารก และการผดุ ง ครรภ์ นอกจาก ด�ำเนินการวิจัยด้วยตนเองแล้ว ยังให้ค�ำปรึกษาอันทรงคุณค่าที่เกี่ยวกับ การวิจัยแก่อาจารย์ใหม่ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงอย่างเป็นที่ประจักษ์ จนได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัย รศ.สุปราณี อัทธเสรี เป็นผู้ประสบความส�ำเร็จในวิชาชีพ ด�ำรงชีวิต อย่างธ�ำรงมั่นอยู่ในความสุจริตเที่ยงธรรม บ�ำเพ็ญตนเพื่อประกอบกิจการ ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ และท�ำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยและสังคม เป็ น อเนกประการจนเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ นั บ เป็ น บุ ค คลที่ มี เ กี ย รติ ป ระวั ติ และคุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมสามารถเป็ น แบบอย่ า งให้ อ าจารย์ ผู ้ อื่ น น� ำ ไป ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี

24


รอบรั้วศรีตรัง

“รางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์” จัดขึ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชชนก ในฐานะที่ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติตลอดพระชนม์ชีพ และเพื่อยกย่องผู้อุทิศตน ท�ำประโยชน์แก่ชุมชนในภาคใต้ ให้เป็นตัวอย่างการด�ำรงชีพ และเป็นแรงบันดาลใจในการท�ำความดีให้กับ อนุชนรุ่น ผู้ ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ที่มีผลงานที่แสดงการอุทิศตนเพื่อท�ำประโยชน์แก่ชุมชนภาคใต้ เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมสูง ซึ่งในปี 2556 มีผู้ได้รับรางวัลอนุสรณ์สงขลานครินทร์ จ�ำนวน 2 ท่าน คือ นายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตร และนายแวอาแซ แวมามุ

ผู้ได้รับรางวัล

อนุสรณ์สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2556

นายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตร

นายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตร ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลรามัน อ�ำเภอรามัน จังหวัดยะลา เป็นชาวอ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา ส�ำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปีพ.ศ. 2529 และได้รับ วุฒิบัตรสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงสุขภาพจิตชุมชน จากกรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข หลังจากส�ำเร็จการศึกษาได้ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลรามัน จังหวัดยะลา เป็ น ที่ แ รกและที่ เ ดี ย วจนถึ ง ปั จ จุ บั น ตลอดระยะเวลา 20 กว่ า ปี ที่ ผ ่ า นมา ได้ มุ ่ ง มั่ น ทุ่มเทในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยอย่างเต็มความสามารถ โดยมีหลักคิดในการท�ำงาน เรื่องการให้ คือ “อย่าคิดว่าเราจะได้อะไรจากสิ่งที่ท�ำแต่ให้คิดว่าเราจะให้อะไร กั บ คนอื่ น ” ท� ำ ให้ โ รงพยาบาลรามั น สามารถพั ฒ นาในด้ า นต่ า งๆ จนมี ค วามพร้ อ ม ในการให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชน สามารถจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับ วิถีชาวมุสลิมได้อย่างลงตัว อีกทั้งยังได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA เป็นโรงพยาบาลแรกของจังหวัดยะลาด้วย นายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตร ได้ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งในการจัดให้มีบริการ ทางการแพทย์ตามหลักศาสนาอิสลาม โดยได้สร้างระบบการดูแลแม่และเด็กด้วยการ น�ำหลักศาสนาอิสลามมาใช้ควบคู่กับการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยการสร้างเครือข่าย ผดุงครรภ์แบบโบราณ ยึดหลักการที่ว่า “ไม่ ทิ้ ง วิ ช าชี พ แต่ ค งรั ก ษาจิ ต วิ ญ ญาณ” เช่น อนุญาตให้ โ ต๊ ะ บิ ดั น (หมอต� ำ แย) สามารถอยู ่ ใ นห้ อ งคลอดเพื่ อ สร้ า งขวั ญ และ ก�ำลังใจให้หญิงที่มาคลอดในโรงพยาบาล และให้มีการสวดอาซานรับขวัญเด็กเกิดใหม่ ในโรงพยาบาล เป็ น ต้ น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ล ดอั ต ราการเสี ย ชี วิ ต ของแม่ แ ละเด็ ก ในชุ ม ชน จนท� ำ ให้ โ รงพยาบาลรามั น เป็ น โรงพยาบาลต้ น แบบในการดู แ ลแม่ แ ละเด็ ก ของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากนี้ นายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตร ได้ผลักดันให้มีโครงการผ่าตัดต้อกระจก เพื่ อ คื น ดวงตาแก่ ผู ้ สู ง อายุ ใ ห้ ส ามารถมองเห็ น และสามารถอ่ า นคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อาน ได้ อี ก ครั้ ง ทั้ ง ที่ โ รงพยาบาลรามั น เป็ น โรงพยาบาลชุ ม ชน ซึ่ ง ไม่ มี แ พทย์ เ ฉพาะทาง และไม่ มี ห ้ อ งผ่ า ตั ด ใหญ่ แต่ ด ้ ว ยการประสานขอความร่ ว มมื อ จากหลายภาคส่ ว น ท�ำให้โรงพยาบาลรามันสามารถด�ำเนินโครงการผ่าตัดต้อกระจกได้ส�ำเร็จ ตลอดจน ได้ให้ความส�ำคัญในการดูแลช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในชุมชนให้สามารถเข้าถึงบริการ สุขภาพ เช่น ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งนายแพทย์รอซาลี ปัตยะบุตรได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ แพทย์เพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยอย่างเต็มความสามารถ

25


นายแวอาแซ แวมามุ อายุ 62 ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 จากโรงเรี ย นอั ต ตั ร กี ย ะห์ อิ ส ลามี ย ะห์ จั ง หวั ด นราธิ ว าส ปั จ จุ บั น เป็ น ครู ส อนศาสนา เป็ น อิ ห ม่ า มประจ� ำ มั ส ยิ ด กามาลียะห์อิสลามียะห์ จังหวัดนราธิวาส และเป็นกรรมการอิสลาม ประจ�ำจังหวัดนราธิวาส เป็นผู้อุทิศตนต่อสังคมส่วนรวม ให้ความ ร่ ว มมื อ กั บ ทุ ก ภาคส่ ว นทั้ ง หน่ ว ยงานราชการ หน่ ว ยงานเอกชน และประชาชนในพื้ น ที่ ไ ด้ มี ส ่ ว นร่ ว มในทุ ก กิ จ กรรม และยั ง เป็ น ผู้เสียสละมีความเพียรพยายามในการท�ำงาน ทั้งในหน้าที่อิหม่าม ประจ�ำมัสยิด หน้าที่กรรมการอิสลามประจ� ำจังหวัด และงานอื่นๆ ที่ได้รับการร้องขอโดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก

นายแวอาแซ แวมามุ

นายแวอาแซ แวมามุ ได้จัดท�ำโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อ สังคมส่วนรวมหลายโครงการ เช่น การจัดโครงการค่ายคุณธรรม จริยธรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน ภายใต้การยึดหลักการที่ว่า “สร้ า ง พื้นที่ท�ำดีให้กว้าง ซึ่งเมื่อทุกคนท�ำดี คนที่ไม่ดีจะอยู่ในสังคม ไม่ได้ และหันกลับมาท�ำความดี” โครงการเช็ดน�้ำตาเด็กก�ำพร้า โดยการน�ำเงินซากาด (บริจาค) มาช่วยเหลือสนับสนุนทุนการศึกษา ให้ แ ก่ เ ด็ ก ก� ำ พร้ า ในอ� ำ เภอสุ ไ หงปาดี โครงการมั ส ยิ ด ครบวงจร ซึ่ ง จั ด ให้ มี ส หกรณ์ แ ละศู น ย์ บ ริ ก ารสุ ข ภาพภายในมั ส ยิ ด และยั ง เป็นผู้ประสานสร้างความเข้าใจระหว่างภาครัฐกับชาวบ้านเกี่ยวกับ สถานการณ์ ค วามไม่ ส งบ โดยการจั ด ประชุ ม ระหว่ า งเจ้ า หน้ า ที่ ภาครั ฐ กั บ ผู ้ น� ำ ศาสนาเพื่ อ หาความสงบที่ แ ท้ จ ริ ง ท� ำ ให้ ช าวบ้ า น เข้าใจเจ้าหน้าที่ภาครัฐมากขึ้น นอกจากนี้ยังได้สร้างความสมานฉันท์ ระหว่างพี่น้องชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิม ด้วยการจัดกิจกรรม ทางศาสนาที่ ทุ ก คนในหมู ่ บ ้ า นเข้ า ร่ ว มไม่ ว ่ า จะเป็ น กิ จ กรรมของ ทางวัดหรือมัสยิด นอกจากนี้ นายแวอาแซ แวมามุ ได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด โดยกล่ า วว่ า ปั ญ หายาเสพติ ด เป็ น พื้นฐานของปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ซึ่งนายแวอาแซ แวมามุ ได้เน้นการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก โดยได้จัดโครงการอบรมค่ายคุณธรรม และจริยธรรมเยาวชนห่างไกลยาเสพติดที่มีการจัดอย่างต่อเนื่อง ประจ�ำทุกปี ซึ่งในปีนี้ได้จัดเป็นปีที่ 10 และได้จัดโครงการค่ายอบรม คุณธรรมจริยธรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนโดยโครงการดังกล่าวมีส่วน ช่วยในการสร้างภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดให้กับเยาวชน ลดปัญหา การแพร่ ร ะบาดของยาเสพติ ด ในพื้ น ที่ สร้ า งความสงบเรี ย บร้ อ ย ในพื้นที่ ท�ำให้เยาวชนยึดมั่นในหลักศาสนาและช่วยสร้างสังคมให้มี ความสามัคคีน�ำไปสู่สันติสุข

26


รอบรั้วศรีตรัง

อาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ ผลงานดีเด่น ม.อ. ประจ�ำปี 2556

หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จัดโครงการคัดเลือกอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ ตัวอย่างรุ่นใหม่ เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อส่งเสริมและประกาศเกียรติคุณอาจารย์ ที่สอนดี รับผิดชอบและเอาใจใส่นักศึกษา ประพฤติปฏิบัติตนดีงาม เป็นตัวอย่างที่ดี ของอาจารย์ทั่วไป รวมทั้งคัดเลือกผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัย ซึ่งอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่และเจ้าของผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะเข้ า รั บ พระราชทานโล่ เ กี ย รติ ย ศและประกาศเกี ย รติ คุ ณ ในพิ ธี พ ระราชทาน ปริญญาบัตรประจ�ำปีของมหาวิทยาลัย รับรางวัลจากมูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ และรั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศและประกาศเกี ย รติ คุ ณ ในงานวั น สงขลานคริ น ทร์ ซึ่งในปี 2556 นี้ มีผู้ได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่และผลงาน ดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ดังนี้ อาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2556 1. ด้านการเรียนการสอน ผศ. ดร.สุใจ ส่วนไพโรจน์ คณะศึกษาศาสตร์ ผศ. ดร.สุใจ ส่วนไพโรจน์ เป็นผู้มีความเข้าใจในศาสตร์ของการสอน สร้างการตระหนักรู้แก่บัณฑิต วิชาชีพครูให้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีแนวคิดที่น่าชื่นชมในการสร้างครูเพื่อสร้างชาติ โดยให้ ข้อคิดว่า “งานสอนเป็นงานของใจ ได้ให้การดูแลศิษย์ด้วยจิตวิทยาในพื้นที่สังคมพหุวัฒนธรรม และตั้ง มั่นว่าครูที่เก่งคือ ครูที่ลึกซึ้งในการถ่ายทอดแก่นความรู้แก่ศิษย์ครูที่ยอดเยี่ยมคือ ครูที่เป็นแบบอย่าง ที่ดีแก่ศิษย์ และครูที่ยิ่งใหญ่คือ ครูที่สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ศิษย์ ” ที่ผ่านมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุใจ ส่วนไพโรจน์ มีผลการประเมินจากผู้เรียนในระดับดีมาก ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา และได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ มากมาย อาทิ รางวัลอาจารย์ตัวอย่างระดับอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2556 รางวัลอาจารย์ ที่เป็นที่รัก ชื่นชม และศรัทธาของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2553 ปี 2555 และ ปี 2556 รางวัลคณาจารย์แห่ง ชาติทางครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ประจ�ำปี 2553 รางวัลบุคลากรดีเด่น ปี 2552 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รางวัล เป็นต้น ดร.ทพญ.สุพาณี บูรณธรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ดร.ทันตแพทย์หญิงสุพาณี บูรณธรรม เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการสอน เป็นอย่างมาก มีความรับผิดชอบในหน้าที่ความเป็นอาจารย์ ทุ่มเทแรงกายแรงใจและอุทิศเวลา ให้ กั บ การสอน พร้ อ มที่ จะถ่ายทอดความรู้แก่นักศึกษาทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการ ให้ค�ำ แนะน�ำทางวิชาการและทัศนคติที่ถูกต้องในการท�ำงานและการเป็นทันตแพทย์ที่ดี ให้ก�ำลังใจเพื่อ ให้นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง มีการวางแผนการการสอนอย่างเป็นระบบทุกขั้นตอนและปรับเปลี่ยนให้ทันต่อ สถานการณ์อย่างเหมาะสม ก�ำหนดรูปแบบการประเมินผลที่สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษา น�ำเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียนและเป็นช่องทางให้นักศึกษาสามารถขอค�ำปรึกษา หรือซักถามได้ตลอดเวลา ประดิษฐ์ คิดค้น ประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มาเป็นเครื่องมือที่จ�ำเป็นและเป็นประโยชน์ต่อการ เรียนการสอน และน�ำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์เพื่อการเรียนการสอนและการให้บริการทางทันตกรรมอย่างเป็นรูปธรรม 2.ด้านบริการวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรัญญา หุ่นศรีสกุล คณะทันตแพทยศาสตร์ ผศ.ดร.ทันตแพทย์หญิงจรัญญา หุ่นศรีสกุล เป็นผู้ที่มีความมุ่งมั่นในการน�ำข้อมูลทางวิชาการ มาขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการด�ำเนินงานทันต สาธารณสุขในเขตภาคใต้อย่างต่อเนื่อง เป็นรองประธานคณะกรรมการทันตสาธารณสุขภาคใต้

27


(คทสต.) และรักษาการหัวหน้าฝ่ายทันตสาธารณสุขชนบทภาคใต้ มีบทบาทส�ำคัญในฐานะรองผู้จัดการเครือข่ายโรงเรียน ทันตแพทย์สร้างสุขขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพและสุขภาพช่องปาก ร่วมกับคณะทันตแพทยศาสตร์ ทั้ง 8 สถาบัน เป็ น แกนน� ำ หลั ก ในการสร้ า งภาคี เ ครื อ ข่ า ย เป็ น วิ ท ยากรทั้ ง ในระดั บ ภาคและระดั บ ประเทศ เป็ น แกนน� ำ หลั ก ในการ พัฒนาสื่อการดูแลสุขภาพช่องปาก ทั้งยังผู้มีบทบาทระดับประเทศ คือเป็นประธานชมรมทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย เป็นคณะกรรมการโครงการเด็กไทยไร้ฟันผุ ของมูลนิธิทันตนวัตกรรม ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นหัวหน้าโครงการ วิจัยเด็กใต้ฟันดี ซึ่งเป็นการท�ำงานร่วมกับองค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อสร้างสรรค์และประเมินนวัตกรรมการสร้างเสริม สุขภาพช่องปากที่เหมาะสมกับประเทศไทย อาจารย์ตัวอย่างรุ่นใหม่ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2556 ผศ.ดร.วิวัฒน์ พิชญากร คณะเภสัชศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวัฒน์ พิชญากร เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มุ่งมั่นในการท�ำงานด้าน การเรี ย นการสอนและด้ า นการวิ จั ย เป็ น ผู ้ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ สร้ า งผลงานที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด องค์ความรู้ใหม่ เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่น เช่น การริเริ่มน�ำพอลิเมอร์ จากยางพารา มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นทางเครื่ อ งส� ำ อางและเภสั ช กรรม ได้ รั บ รางวั ล เชิ ด ชู เ กี ย รติ จ ากหน่ ว ยงาน ภายนอก เช่ น ประกาศเกี ย รติ คุ ณ คณะกรรมาธิ ก ารวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารและโทรคมนาคมวุ ฒิ ส ภา ปีพุทธศักราช 2555 เป็นผู้มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และน�ำเสนอผลงานวิจัย ในงานประชุ ม วิ ช าการต่ า ง ๆ อย่ า งสม�่ ำ เสมอ รวมถึงเป็นผู้ประดิษฐ์ในงานสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรจ� ำนวนหลายเรื่อง ในด้านบริการวิชาการ ได้ปฏิบัติหน้าที่การเป็นเภสัชกรประจ�ำสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน เภสัชกรผลิต และวิเคราะห์ เภสัชภัณฑ์ เป็นอาจารย์พิเศษทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการเผยแพร่ งานวิจัย และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานวิชาการให้แก่หน่วยงานต่างๆ ผศ.ดร.ชินวัชร์ สุรัสวดี คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชินวัชร์ สุรัสวดี เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะที่เป็นครูที่ดี และเป็นนักวิจัยที่ดี มี ความซื่อสัตย์สุจริตในงานวิจัย เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและมีความเชี่ยวชาญสูงในด้านการ รับรู้ระยะไกล การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การพยากรณ์อากาศเชิงเลข ภัยธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เป็นที่ยอมรับจากนักวิชาการนานาประเทศ ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจ�ำ ปีพุทธศักราช 2555 ด้วยผลงานการพัฒนาอัลกอริทึม AMP ส�ำหรับประมาณค่าหยาดน�้ำฟ้าทั่วโลก จากข้อมูลที่สังเกตจาก ดาวเทียมมิลลิมิเตอร์เวฟแบบแพสซิฟ การพัฒนาเทคโนโลยีระบบพยากรณ์อากาศเชิงเลขความละเอียดสูงส�ำหรับประเทศไทย และการพัฒนาอุปกรณ์รับรู้คลื่นความถี่มิลลิมิเตอร์เวฟแบบแพสซิฟส�ำหรับใช้บนดาวเทียมเพื่อตรวจวัดหยาดน�้ำทั่วโลกจากผล งานวิจัยและประสบการณ์การท�ำงานวิจัย ส่งผลให้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ได้รับเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคุณภาพผลงานวิจัย ส�ำหรับวารสารวิชาการระดับนานาชาติ และได้รับเชิญเป็นประธานของช่วงการประชุมในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

งานวันสงขลานครินทร์

หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ จั ด งานวั น สงขลานคริ น ทร์ ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 16 กั น ยายน 2556 ณ ศู น ย์ ก ารประชุ ม นานาชาติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองและแสดงออก ถึงความปลื้มปิติยินดีของมหาวิทยาลัย ในคุณงามความดีความส�ำเร็จ และความรู ้ ค วามสามารถของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง ได้ รั บ พระราชทาน ปริ ญ ญาบั ต รกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ อาจารย์ ดี เ ด่ น ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล กองทุ น เอกิ้ น เลาเกเซ่ น อนุ ส รณ์ อาจารย์ ตั ว อย่ า งผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ของมู ล นิ ธิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้อุทิศตนท�ำประโยชน์แก่ ชุมชนในภาคใต้ ซึ่ ง ได้ รั บ รางวั ล อนุ ส รณ์ ส งขลานคริ น ทร์ อาจารย์ แ ละศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น ที่ ท� ำ ชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ ม หาวิ ท ยาลั ย ตลอดจนเพื่ อ เป็ น การแสดงความ ขอบคุ ณ ผู ้ มี อุ ป การคุ ณ และบ�ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ต ่ อ กิ จ การของมหาวิ ท ยาลั ย ในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย คาดหวั ง ว่ า การแสดงออกครั้ ง นี้ จะส่ ง ผลให้ ค ณาจารย์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า และบุ ค ลากรทุ ก ฝ่ า ยของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ ต ระหนั ก ในเกี ย รติ คุ ณ และยึดถือแบบอย่างที่ดีงามเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติสืบต่อไป

28


8.นายศิลปชัย จารุเกษมรัตนะ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านผลงานเด่น 1. รศ.ดร.สมปอง เตซะโต ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. รศ.ดร.สมพร รุ่งเรืองกลกิจ ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 3. รศ.ก�ำพล ประทีปชัยกูร ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 4. ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ นอกจากนี้ ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล และมี ผ ลงานดี เ ด่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย 5. ผศ.ดร.หมุดตอเล็บ หนิสอ ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 6. อาจารย์เจษฎา โมกขกุล ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2556 ดังนี้ 1. สาขาการประดิ ษ ฐ์ ผลงาน เซรามิ ก เมมเบรนเพื่ อ การกรอง 7. ผศ.ดร.สุพัตรา เดวิสัน ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ (Ceramic membranes for filtration) ของ ผศ.ดรุณี ผ่องสุวรรณ 3. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านสร้างคุณประโยชน์แก่สังคมและสถาบัน คณะวิทยาศาสตร์ 1. ผศ.ดร.โสเพ็ญ ชูนวล ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ 2. สาขาการวิจัย 2. อาจารย์ ธ รรมรั ต น์ นุ ต ะธี ร ะ ศิ ษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ - ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลงาน ระบบผลิตไบโอดีเซล แบบต่อเนื่องจากน�้ำมันชนิดกรดไขมันอิสระสูงด้วยคลื่นอัตราโซนิค ของ 3. ผศ.ดร.ปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันดร์ ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 4. พล.ต.ต.วิชัย เกษมวงศ์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ รศ.ก�ำพล ประทีปชัยกูร และคณะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ - ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ผลงาน ประวัติศาสตร์ 5. นายภูมิกิตติ์ รักแต่งาม ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ ปัตตานีสมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง ของ รศ.ดร. 6. รศ.ดร.ทพญ.ชิดชนก ลีธนะกุล ศิษย์เก่าคณะทันตแพทยศาสตร์ 7. นายไกวัลย์ โรจนานุกุล ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ครองชัย หัตถา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3. สาขาการแต่งต�ำรา ผลงาน Penaeid Pharmacokinetics The 8. นายอภินันท์ ศรีสมานุวัตร ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ kinetics of Antibiotic in Aquacultured Shrim ของ รศ. ดร. ด�ำรงศักดิ์ 9. นายวิวัฒน์ สิริเกียรติกุล ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 10. นายอุดม ทักขระ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ ฟ้ารุ่งสาง คณะเภสัชศาสตร์ 4. สาขาการบริการวิชาการ ผลงาน การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน 11. พญ.ปาจรีย์ อารีย์รบ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ การจัดการสวนปาล์มน�้ำมันแก่เกษตรกร เพื่อเพิ่มผลผลิตปาล์มน�้ำมัน ของประเทศ ของ นายธีระพงศ์ จันทรนิยม คณะทรัพยากรธรรมชาติ 4. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 5. สาขาท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ผลงาน โครงการปลู ก ฝั ง 1. ผศ.ดร.ศิริพันธ์ ศิริพันธ์ ศิษย์เก่าคณะพยาบาลศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม โดยผ่านอาจารย์ใหญ่ ครูผู้ไร้เสียง ของ ผศ.ดร. อุราพร 2. รศ.ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 3. นายพิเชษฐ์ เกียรติเดชปัญญา ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ วงศ์วัชรานนท์ และคณะ คณะวิทยาศาสตร์

5. ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่ 1. ผศ.ดร.สมัคร แก้วสุกแสง ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 2. อาจารย์ตันติพงษ์ เพชรไชยา ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 3. นายสามารถ พระวิสัตย์ ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 4. อาจารย์ศุภชัย ศรีขวัญแก้ว ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์ 5. ดร.จงดี ธรรมเขต ศิษย์เก่าคณะวิทยาศาสตร์ 6. ภญ.วุฒิรัต ธรรมวุฒิ ศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ 7. นางสาวฐปนีย์ เอียดศรีไชย ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจัดการ 8. อาจารย์ปรัชญ์ พิมานแมน ศิษย์เก่าคณะศิลปกรรมศาสตร์

ศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2555 1. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านความส�ำเร็จในอาชีพ หน้าที่การงาน 1. นางโกสุ ม ภ์ หมู ่ ข จรพั น ธ์ ศิ ษ ย์ เ ก่ า คณะพยาบาลศาสตร์ 2. นายกมล นิทรัพย์ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. นายชัยบูลย์ เนตยกุล ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์ 4. นายปิยพร นิลกานนท์ ศิษย์เก่าคณะทรัพยากรธรรมชาติ 5. ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ศิษย์เก่าคณะศึกษาศาสตร์ 6. นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ 7. นายวัฒนา ทองศิริ ศิษย์เก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์

29


เทคโนโลยี

ม.อ. เสนอความพร้อมเป็นเจ้าภาพ

แข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โลก ปี 58 ที่ภูเก็ต

อธิการบดี ม.อ. และ คณะ เดินทางประชุมและศึกษาดูงาน การแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับโลก ACM-ICPC World Finals 2013 ณ นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก สหพันธรัฐ รัสเซีย ระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน - 5 กรกฎาคม 2556 เตรียม พร้อมเป็น เจ้าภาพจัดงาน ACM-ICPC World Finals 2015 ที่ภูเก็ต การแข่งขันเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับโลก (International Collegiate Programming Contest ACM-ICPC) เป็นการแข่งขันเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาทั่วโลก ที่มีชื่อเสียง ที่สุด จัดต่อเนื่องมากกว่าสามสิบปี และในปี 2013 มีการจัดแข่งขัน ชิงชนะเลิศระดับโลก ครั้งที่ 37 ณ เมือง Saint Petersburg แห่งสหพันธรัฐ รัสเซีย โดยมี มหาวิทยาลัย Saint Petersburg University ITMO เป็น เจ้าภาพ ในงานนี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมงาน ทั้งในส่วนของผู้จัดงานการแข่งขันระดับภูมิภาคเอเชีย (ACM-ICPC Asia Phuket Regional Programming 2013) และในส่วนการเสนอความพร้อม ในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันระดับโลก ในปี 2015 ในครั้งนี้ รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ภูวดล บุตรรัตน์ รองอธิการบดี วิทยาเขตภูเก็ต รองศาสตราจารย์ ดร.จรั ญ บุ ญ กาญจน์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ น�ำคณะท�ำงานจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหา วิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ พร้ อ มด้ ว ยตั ว แทน 2 ท่ า น จากส� ำ นั ก งาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ หรือ SIPA ซึ่งเป็นผู้สนับสนุน หลักของการจัดงาน ACM-ICPC ในประเทศไทย ได้เดินทางร่วมกัน เพื่อไปประชุมและน�ำเสนอการเตรียมความพร้อมส� ำหรับการจัดงาน ACM-ICPC World Finals 2015 ณ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร์จะเป็นเจ้าภาพ คณะจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้ ป ระชุ ม หารื อ กั บ Dr. William Poucher (ICPC Executive Director) และคณะกรรมการ ACM-ICPC ถึงการจัดงาน ในปี 2015 ที่จังหวัดภูเก็ต โดยทางคณะ กรรมการ ACM-ICPC มีความพอใจในความก้าวหน้าของเตรียมความ พร้ อ มของมหาวิ ท ยาลั ย และจะเดิ น ทางมายั ง จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เพื่ อ ประสานงานและด�ำเนินการเตรียมงานต่อในโอกาสถัดไป

30

หลั ง จากได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม และศึ ก ษาดู ง านในปี นี้ ทาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะเตรียมด�ำเนินการต่อในด้านต่างๆ และ ติดต่อผู้สนับสนุนอย่างเป็นทางการจากกระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงไอซีที กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา และ หน่วย งานอื่นในประเทศไทย รวมทั้งประสานงานกับทาง ACM-ICPC เพื่อ ให้การจัดงาน World Finals 2015 เป็นไปโดยเรียบร้อยและจะสร้าง ความประทับใจกับผู้ร่วมงานซึ่งเป็นตัวแทนจากมหาวิทยาลัยชั้นน� ำ ของโลกในการแข่งขันโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงนี้ และนั บ เป็ น โอกาสอั น ดี ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ ให้ จั ด งานในระดั บ โลกเพื่ อ เผยแพร่ ชื่ อ เสี ย งและแสดงศั ก ยภาพของ มหาวิทยาลัยในเวทีโลกต่อไป ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมงานในปี 2015 ณ จังหวัด ภูเก็ตจะมีประมาณ 1,200 คน จากทั่วโลก Links ที่เกี่ยวข้อง • เรื่องเล่าจากคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ : http://share.psu. ac.th/blog/eng-dean/29717 • VDO Presentation for ACM-ICPC World Finals Phuket 2015 hosted by PSU : http://www.youtube.com/ watch?v=L4pyaXHOsX0 • Official ACM-ICPC website: http://icpc.baylor.edu • ACM-ICPC at PSU Hatyai :http://acm-icpc.coe.psu.ac.th/ main.html • ACM-ICPC Thailand : http://www.acmicpc-thailand.org/


สู่นานาชาติ

รับ ม.อ. เป็นสมาชิกเครือข่าย

AUN มหาวิทยาลัยอาเซียน ศ.ดร.อมรรัตน์ พงศ์ดารา รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิ ด เผยว่ า ในการประชุ ม คณะกรรมการเครื อ ข่ า ยมหาวิ ท ยาลั ย อาเซี ย น (Asean University Network) หรื อ AUN ที่ ป ระเทศเมี ย นมาร์ เมื่ อ ต้ น เดื อ นกรกฎาคม 2556 ที่ ผ ่ า นมา ที่ ป ระชุ ม ได้มีมติให้รับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน อย่ า งเป็ น ทางการ โดยก่ อ นหน้ า นี้ มี ส มาชิ ก ซึ่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย จากประเทศไทย 4 สถาบั น จากทั้งหมด 27 สถาบัน คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน หรือ AUN เป็นความร่วมมือ ของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือน พฤศจิกายน 2538 เพื่อส่งเสริมการสร้างความตระหนักในความ เป็นอาเซียน การเข้าถึงคุณภาพการศึกษา การเพิ่มคุณภาพการ ศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ตลอดชีวิตและการ พัฒนาวิชาชีพชั้นสูง การสร้างความเข้มแข็งให้กับการเคลื่อน ย้ายพรมแดน และความเป็นสากลของการศึกษา ในปีที่ผ่านมา เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ประกอบไป ด้วยสมาชิก 27 มหาวิทยาลัย จาก 10 ประเทศ คือ มหาวิทยาลัย ภู มิ น ทร์ พ นมเปญ มหาวิ ท ยาลั ย นิ ติ ศ าสตร์ แ ละ เศรษฐศาสตร์ กัมพูชา มหาวิทยาลัยแห่งบรูไนดารุส ซาลาม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง สถาบันเศรษฐศาสตร์ย่างกุ้ง สถาบั น เทคโนโลยี ย ่ า งกุ ้ ง มหาวิ ท ยาลั ย อเทนี โ อ เดอมะนิลา มหาวิทยาลัยเดอลาซาลเล ฟิลิปปินส์ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ มหาวิ ท ยาลั ย ปุ ต รา มาเลเซีย มหาวิทยาลัยมาลายา มหาวิทยาลัย ซายส์ มาเลเซีย มหาวิทยาลัยแห่งชาติมาเลเซีย

มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ชาติ ล าว มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ชาติ เ วี ย ดนาม นคร โฮจิมินห์ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนาม ฮานอย มหาวิทยาลัย การจั ด การแห่ ง สิ ง คโปร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี นั น ยาง มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ชาติ สิ ง คโปร์ มหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง อิ น โดนี เ ซี ย มหาวิทยาลัยกัดจาห์ มาดา อินโดนีเซีย สถาบันเทคโนโลยีบันดุง มหาวิทยาลัยแอร์ลังกา อินโดนีเซีย อุดมศึกษาไทยมีความสัมพันธ์กับเครือข่ายมหาวิทยาลัย อาเซียนในหลายด้าน ได้แก่ การดําเนินการในการเข้าถึงข้อมูล ด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาในอาเซียน การสร้างความรู้ความ เข้ า ใจเกี่ ย วกั บ อาเซี ย นให้ ถึ ง แก่ น การสร้ า งความตระหนั ก ใน บทบาทหน้าที่และความร่วมมือในความเป็นอาเซียน การกําหนด บทบาทหน้ า ที่ แ ละกิ จ กรรมในด้ า นการศึ ก ษา วิ จั ย บริ ห าร วิ ช าการ การแลกเปลี่ ย นวั ฒ นธรรม และการดํ า เนิ น การตาม แผนและกิจกรรมความร่วมมือของสมาชิกและสมาชิกเครือข่าย สมทบ นอกจากนี้เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนยังร่วมมือกับ ประเทศจี น และประเทศอื่ น ๆ ในเอเชี ย เพื่ อ มอบทุ น การศึ ก ษา ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกแก่นักศึกษาในประเทศอาเซียน เพื่อไปเรียนในประเทศอื่นๆ เช่น ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น และ ประเทศเกาหลี ในชื่อทุน “AUN Scholarship” อีกด้วย

31


การศึกษา

เลขาธิ ก าร ศอ.บต. เปิดอาคารปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล ที่ ม.อ.ปัตตานี พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง เลขาธิการ ศู น ย์ อ� ำ นวยการบริ ห ารจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็ น ประธานเปิ ด อาคารปฏิ บั ติ ก าร ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล ณ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร และโภชนาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2556 เลขาธิ ก าร ศอ.บต. ได้ ก ล่ า วถึ ง นโยบายของศู น ย์ อ� ำ นวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่สนับสนุนและส่งเสริมเศรษฐกิจของ ประชาชนในพื้ น ที่ โดยการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพของธุ ร กิ จ อาหารฮาลาล เนื่องจากเล็งเห็นถึงจุดแข็งของวัฒนธรรม สังคม และฐานทรัพยากรที่ มีอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งข้อได้เปรียบของการมีแนว เขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นที่น่ายินดีที่มหาวิทยาลัยได้สนอง รับนโยบายของ ศอ.บต. และใช้ความสามารถทางวิชาการของบุคลากร ท�ำงานสอดรับกับนโยบายและความต้องการของผู้ประกอบการ นับว่า เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ช่วยสนับสนุนการประกอบกิจการของวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และจะช่วย

พัฒนาศักยภาพของธุรกิจอาหารฮาลาล เพิ่มโอกาสในการขยาย ตลาดผลิตภัณฑ์ฮาลาลทั้งในและต่างประเทศ และโอกาสส�ำหรับ การแข่งขันในประชาคมอาเซียนต่อไป อาจารย์เนตรนภิส อ๋องสุวรรณ หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์ อาหารฮาลาล กล่าวว่า ศูนย์ฯ มีหน้าที่ให้ค�ำปรึกษาและช่วย พั ฒ นาคุ ณ ภาพสถานประกอบการให้ เ ป็ น มาตรฐานสากล ให้การอบรมถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจเทคโนโลยีการผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารฮาลาล การบริ ก ารตรวจวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพ ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม ให้บริการตรวจวิเคราะห์สาร ปนเปื้อนต้องสงสัยในวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล ตลอด จนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล ศูนย์ดังกล่าว มีความพร้อมด้านวิชาการ บุคลากรและเครื่องมือ โดยรวมความ รู ้ ท างด้ า นการจั ด การวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ อาหารฮาลาล เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของสั ง คมใน การพั ฒ นาความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ด ้ า นอุ ต สาหกรรมอาหาร เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ ไ ปสู ่ ค วามเป็ น ศู น ย์ ก ลางของ อุตสาหกรรมฮาลาล เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ในพื้นที่ ก่อให้เกิดการมีงานท�ำและมีรายได้

ผู้บริหาร ม.อ.ร่วมพิธีสวดพระอภิธรรมศพ ภรรยา ศ.ดร.สตางค์ มงคลสุข

คณะผู ้ บ ริ ห ารจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ น�ำโดย อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดีเดินทางไปร่วม ไว้ อ าลั ย และร่ ว มพิ ธี ส วดพระอภิ ธ รรมศพ คุ ณ ยุ พิ น มงคลสุ ข ภรรยา ศ.ดร.สตางค์ มงคลสุ ข อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ณ วัดธาตุทอง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 21

32

สิงหาคม 2556 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ศกรณ์ มงคลสุข คณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บุตรชาย ให้การต้อนรับ ศ.ดร.สตางค์ มงคลสุ ข ได้ รั บ การโปรดเกล้ า โปรด กระหม่อมแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ท่านที่สอง ตั้งแต่ปีพ.ศ.2512-2514 ท่านเป็นผู้มีบทบาท ส�ำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในด้านพื้นที่ตั้ง สิ่ ง ก่ อ สร้ า ง มาตรฐานหลั ก สู ต ร ตลอดจนการประสานความ ร่วมมือกับต่างประเทศ กระทั่งถึงแก่อนิจกรรมเมื่อปี 2514 ท่าน ยังคงเป็นที่เคารพรักของศิษย์ เก่า ศิษย์ปัจจุบัน และบุคลากร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า นครินทร์จวบจนปัจจุบัน


แนะน�ำบุคคล

ศาสตราจารย์ ท่านใหม่ของ ม.อ. ศาสตราจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ์

ศ.

ธี ร ะ เ อ ก ส ม ท ร า เ ม ษ ฐ ์ อาจารย์ ป ระจ� ำ ภาควิ ช าพื ช ศาสตร์ คณะทรั พ ยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชา พื ช ศาสตร์ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤศจิ ก ายน 2554 โดยมี ป ระกาศ ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี เรื่ อ ง แต่ ง ตั้ ง ข้ า ราชการพลเรื อ นใน สถาบันอุดมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ซึ่งเป็น เรื่องที่น่ายินดีและเป็นความภาคภูมิใจของชาวมหาวิทยาลัย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ศ.ธี ร ะ เอกสมทราเมษฐ์ เป็นผู้วิจัยและปรับปรุงพันธุ์ปาล์มลูกผสมเทเนอร่า พันธุ์ทรัพย์ ม.อ.1 ซึ่ ง ให้ ผ ลผลิ ต สู ง และปรั บ เข้ า กั บ สภาพแวดล้ อ มของ ประเทศไทย

ปาล์มน�้ำมัน พันธุ์ทรัพย์ ม.อ.1 เป็นผล งานการวิจัย ที่ต้องใช้ความพยายามความอดทน ในการปรั บ ปรุ ง พั น ธุ ์ ทั้ ง การศึ ก ษาพั น ธุ ก รรม การผสมพันธุ์ การคัดเลือกพันธุ์ การทดสอบพันธุ์ การปรับปรุงต้องใช้เวลาประมาณ อย่างน้อย 5-6 ปี การวิจัยการพัฒนาพันธุ์ปาล์มน�้ำมันลูกผสมเท เนอราพันธุ์ดีของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปรากฎผลทดสอบพันธุ์ลูกผสมเทเนอราในชั่วรุ่น ลูก เมื่อปาล์มอายุ 3–4 ปี พบว่าให้ผลผลิตทะลาย 2.1 ตันต่อไร่ต่อปี และเมื่อปาล์มอายุ 7–8 ปี ให้ ผลผลิตทะลาย 5.8 ตันต่อไร่ต่อปี ซึ่งเป็นระดับ ผลผลิตที่สูงกว่าผลผลิตปาล์มน�้ำมันทั่วไป ที่เฉลี่ย ทั่วประเทศของปี 2553 อยู่ที่ 2.3 ตันต่อไร่ต่อปี

ปาล์มน�้ำมัน จัดเป็นพืชน�ำ้ มันชนิดเดียวของโลก ที่ให้ผลผลิต น�้ ำ มั น ต่ อ หน่ ว ยพื้ น ที่ สู ง ที่ สุ ด เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ พื ช น�้ำ มั น อื่ น ทุกชนิด และสามารถน� ำไปใช้ประโยชน์ ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ อย่ า งหลากหลาย ทั้ ง ในด้ า นอุ ป โภคและบริ โ ภค รวมทั้ ง ผลิ ต เป็ น น�้ ำ มั น ไบโอดี เ ซล ขณะที่ วั ส ดุ เ หลื อ ทิ้ ง ในโรงงานสกั ด ปาล์ ม น�้ำมัน ยังน�ำมาใช้ผลิตไฟฟ้าได้ด้วย จากการประเมินมูลค่าการ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลั ก ที่ ไ ด้ จ ากปาล์ ม น�้ ำมั น ของไทย พบว่ า ในปี 2553 มี มู ล ค่ า รวมทุ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม ากกว่ า 1 แสนล้ า นบาท ปั จ จุ บั น ประเทศไทยมี พื้ น ที่ ป ลู ก ปาล์ ม น�้ำ มั น ประมาณ 4 ล้ า นไร่ จั ด เป็ น อั น ดั บ 4 ของโลก รองจากประเทศอิ น โดนี เ ซี ย มาเลเซี ย และ ไนจีเรียตามล�ำดับ มีผลิตทะลายเฉลี่ยต่อไร่จัดอยู่ ในอันดับ 2–4 ของโลก โดยมีผลผลิตทะลายเฉลี่ยต่อไร่ต�่ำกว่าประเทศมาเลเซีย แต่สูงกว่าประเทศอินโดนีเซีย และโคลัมเบียในบางปีการผลิต

33


รอบรั้วศรีตรัง

M.B.A. ม.อ. จัดงานครบรอบ “25 ปี M.B.A.” ศิษย์เก่า - ศิษย์ปัจจุบันร่วมสมทบทุนช่วย ร.ร. จังหวัดปัตตานี

ลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต (M.B.A.) คณะวิ ท ยาการ จั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จั ด งานฉลองครบรอบ 25 ปี M.B.A. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ภายใต้ชื่องาน “25 ปี M.B.A. 25 ความดีเพื่อประโยชน์ของเพื่อน มนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2556 ณ ศูนย์ประชุม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ร าชสมบั ติ ค รบ 60 ปี รายได้ ห ลั ง หั ก ค่ า ใช้ จ ่ า ยน�ำ สมทบทุนซื้ออุปกรณ์การเรียนให้ โรงเรียนบ้านควนประ จังหวัดปัตตานี ผศ.จงพิศ ศิริรัตน์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หรือ M.B.A. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ.2532 ด้วยแนวคิดการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ความช�ำนาญในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานจากทฤษฎีและงานวิจัย โดยมุ่งเน้น ให้มหาบัณฑิตมีจริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ สามารถพัฒนาธุรกิจให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน สู ่ ร ะดั บ สากล เพื่ อ ตอบสนองการขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ ระหว่ า งประเทศของไทยให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายส่งเสริมการส่งออกของรัฐ ในวาระที่ ห ลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ มหาบั ณ ฑิ ต หรื อ M.B.A. คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ด�ำเนินการมาครบ 25 ปี จึงได้จัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งยิ่งใหญ่ ภายใต้ชื่องาน “25 ปี M.B.A. 25 ความดีเพื่อประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ในวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2556 ตั้ ง แต่ เ วลา 18.00 น. ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ ฉ ลอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อเป็นการเปิด โอกาสให้เครือข่ายศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันได้พบปะกัน และยังได้ร่วม กันช่วยเหลือสังคม ด้วยกิจกรรมการประมูลของจากหลักสูตร ศิษย์เก่า และศิ ษ ย์ ป ั จ จุ บั น ซึ่ ง เงิ น ที่ ไ ด้ จ ากการประมู ล รวมกั บ รายได้ ทั้ ง หมดจาก การจัดงานหลังหักค่าใช้จ่าย จะน�ำไปจัดซื้ออุปกรณ์การเรียนการสอน ให้ กับโรงเรียนบ้านควนประ ต�ำบลนาประดู่ อ�ำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่ยังคงขาดแคลนในด้านงบประมาณ นอกจากนี้ภายในงานยังได้มีการรวบรวมกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ที่ ส� ำ คั ญ ของหลั ก สู ต รจ� ำ นวน 25 กิ จ กรรม ตลอด 25 ปี ที่ ผ ่ า นมา การ มอบรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น การแสดงมุทิตาจิตแด่อาจารย์ และการแสดง มิ นิ ค อนเสิ ร ์ ต จากศิ ล ปิ น ชื่ อ ดั ง แสตมป์ อภิ วั ช ร์ บรรยากาศเต็ ม ไปด้ ว ย ความรัก ความอบอุ่นระหว่างศิษย์เก่าศิษย์ปัจจุบัน และคณาจารย์ สร้างความประทับใจให้แก่ผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างมาก

34


สิ่งแวดล้อม

ดึงเยาวชนร่วมกิจกรรม

“ฟื้นฟูลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภา”

ปลูกฝังการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ค

ณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ จั ด กิ จ กรรม “ฟื ้ น ฟู ลุ ่ ม น�้ ำ คลอง อู่ตะเภา”น�ำนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาจาก 3 โรงเรียน ลงพื้น ที่ ศึ ก ษาประเด็ น ปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม หวั ง ปลู ก ฝั ง ให้เยาวชนเห็นความส� ำคัญและตระหนักถึงการอนุรักษ์ คลองอู ่ ต ะเภา ซึ่ ง เป็ น สายน�้ ำ ที่ ห ล่ อ เลี้ ย งชุ ม ชนที่ ใ หญ่ ที่สุดในจังหวัดสงขลา

ผศ.ดร.โรจนัจฉริย์ ด่านสวัสดิ์ คณบดีคณะการจัดการสิ่ง แวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดเผยว่า คลองอู่ตะเภา อยู่ในลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภา ซึ่งเป็นลุ่มน�้ำย่อยในลุ่มน�้ำทะเลสาบ สงขลา เป็ น แหล่ ง น�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ มี ก ารน� ำ มาใช้ เ พื่ อ การเกษตร อุตสาหกรรมและการผลิตน�้ำประปาเพื่ออุปโภคบริโภค เป็นสายน�้ำ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในจั ง หวั ด สงขลา เมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาและการเพิ่ ม ขึ้ น ของจ�ำนวนประชากร การใช้ทรัพยากรธรรมจึงมีมากขึ้นตามไป ด้วย ท�ำให้คลองอู่ตะเภาเกิดความเสื่อมโทรมลงด้วยปัญหาต่างๆ อาทิ ปั ญ หาน�้ ำ เสี ย ปั ญ หาการขาดแคลนน�้ ำ ในฤดู แ ล้ ง ปั ญ หา ขยะ ปัญหาการท�ำลายระบบนิเวศริมคลอง คณะการจัดการสิ่ง แวดล้ อ มมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จึ ง พยายามขั บ เคลื่ อ น กิจกรรมที่มีส่วนช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟูลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภามาอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยการจั ด โครงการที่ มุ ่ ง ปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติให้แก่เยาวชน โดยเปิดโอกาสให้ได้ไปสัมผัส กับธรรมชาติ เป็นการสร้างประสบการณ์นอกห้องเรียนที่มีคุณค่า นั ก เรี ย นที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมในครั้ ง นี้ เ ป็ น นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยม ศึกษาจาก 3 โรงเรียนในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2 โรงเรียนคูเต่าวิทยา และโรงเรียนบ้านไร่ รวมจ�ำนวนประมาณ 30 คน โดยได้ออกเดินทางไปส�ำรวจพื้นที่ลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภา และศึกษา

ประเด็นปัญหาบริเวณต้นน�้ำ ที่หน่วยอนุรักษ์และการจัดการต้นน�้ำ คลองอู่ตะเภา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อ�ำเภอ สะเดา และบริเวณกลางน�้ำที่บริเวณริมคลองวัดอู่ตะเภา อ�ำเภอ หาดใหญ่ และจั ด ให้ มี ก ารระดมความคิ ด เห็ น และแลกเปลี่ ย น แนวทางการแก้ ป ั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มและการฟื ้ น ฟู ลุ ่ ม น�้ ำ คลอง อู ่ ต ะเภา ร่ ว มกั บ วิ ท ยากรซึ่ ง เป็ น นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ แ ละจากหน่ ว ยอนุ รั ก ษ์ แ ละการจั ด การต้ น น�้ ำ คลองอู่ตะเภาฯ อีกด้วย ผศ.ดร.โรจนัจฉริย์ ด่านสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ลุ่มน�้ำคลอง อู่ตะเภาเป็นหนึ่งใน 3 พื้นที่ที่มีปัญหาวิกฤติด้านคุณภาพน�้ำที่ต้อง แก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางของลุ่มน�้ำคลอง อู่ตะเภาที่มีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมอยู่เป็นจ�ำนวนมาก คุณภาพ น�้ำของคลองอู่ตะเภาและคลองสาขาส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์เสื่อม โทรมถึงเสื่อมโทรมมากมาโดยตลอด จึงถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนต้อง ให้ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูลุ่มน�้ำคลองอู่ตะเภากัน อย่างจริงจัง

35



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.