ไฟฟ้าแม่เหล็ก1

Page 1


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ฟ สิ ก ส บทที่ 16 ไฟฟ า และแม เ หล็ ก (1) ตอนที่ 1 กระแสไฟฟา – – – – –

+ + + + + ควรทราบ 1) กระแสไฟฟา เปนเพียงกระแสสมมุติ 2) กระแสไฟฟา ไมใชกระแสอิเลคตรอน 3) กระแสไฟฟาจะไหลสวนทางกับอิเลคตรอน และกระแสไฟฟาจะไหลทางเดียวกับประจุบวก และกระแสไฟฟาจะมีทศิ ทางกับสนามไฟฟา (E)

1(มช 40) กําหนดใหสนามไฟฟา (E) มีทิศทางดังรูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟา และ ทิศทางของกระแสไฟฟา ( I ) ทีเ่ กิดขึน้ จะเปนจริงดังรูปในขอใด (ขอ 3) 1.

2.

3.

4.

เราสามารถคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากสมการ I = Qt เมือ่ Q = ปริมาณประจุไฟฟาทีไ่ หลผานพืน้ ทีห่ นาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึง่ ๆ (คูลอมบ) t = เวลาทีป่ ระจุไฟฟาไหลผานจุดนัน้ ๆ (วินาที) I = กระแสไฟฟาทีเ่ กิด ( แอมแปร , A) 59


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

2. ถาประจุไฟฟาที่ผานลวดตัวนําหนึ่ง ภายในเวลา 2 นาที เทากับ 600 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟาที่ไหลผานลวดตัวนํานี้จะมีคากี่แอมแปร ( 5 x 10–6) วิธที าํ

3. ถาปริมาณประจุไฟฟาที่ผานหลอดไฟใน 1 นาที เทากับ 120 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟา ผานหลอดไฟมีคา กีแ่ อมแปร ( 2 x 10–6 ) วิธที าํ

กรณีที่โจทยไมบอกขนาดประจุไฟฟา (Q) มาใหนั้น เราอาจหาคาประจุไฟฟาไดจากสมการ Q = ne เมือ่ n = จํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า นพืน้ ทีห่ นาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึง่ ๆ e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว ) 4. หากจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นผานพืน้ ทีห่ นาตัดเสนลวดตัวนําหนึง่ เทากับ 5x1020 อนุภาค (40 แอมแปร) ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริมาณกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้น วิธที าํ

5. ถาตอลวดโลหะเสนหนึ่งกับเซลลไฟฟา แลวพบวามีกระแสไฟฟา ผานลวดเสนนี้ 3.2 A (1020 ตัว) จงหาจํานวนอิเลคตรอนทีผ่ า นพืน้ ทีภ่ าคตัดขวางลวดในเวลา 5 วินาที วิธที าํ

เราอาจคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากอีกสมการหนึ่ง คือ เมือ่ N = e = v = A =

I = Nev A ความหนาแนนอิเลคตรอน ( m–3 ) 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว ) ความเร็วลอยเลือ่ นของอิเลคตรอน (m /s ) พืน้ ทีห่ นาตัดของตัวนํา ( m2) 60


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

6. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ต.ร.มม มี e 1x1028 อนุภาคตอ ล.บ เมตร ถา e เคลือ่ นที่ ดวยความ เร็วลอยเลือ่ น 1 มม/วินาที จงหากระแสที่ไหลในเสนลวด (8 A) วิธที าํ

7(En 37) ลวดโลหะเสนหนึ่งมีพื้นที่ ภาคตัดขวาง 1 ตารางมิลลิเมตร ถามีกระแสไฟฟาจํานวน หนึ่งไหลผานลวดนี้ ในเวลา 4 วินาที โดยขนาดความเร็วลอยเลือ่ นของอิเล็กตรอนเทากับ 0.02 เซนติเมตรตอวินาที จงหาปริมาณประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานลวดนี้ในเวลาดังกลาว ( ใหความหนาแนนอิเลคตรอนอิสระของโลหะนีเ้ ทากับ 1.0 x 1029 m–3 ) (ขอ 3) 1. 8.00 C 2. 10.2 C 3. 12.8 C 4. 16.0 C วิธที าํ

ควรทราบเพิม่ เติมวา พื้นที่ใตกราฟกระแสไฟฟา ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเทากับปริมาณ ประจุไฟฟา (Q) เสมอ

8(En 41/2) กระแสไฟฟา I ที่ผานเสนลวดโลหะเสนหนึ่ง สัมพันธกับเวลา T ดังกราฟ จงหาปริมาณประจุไฟ ฟาทั้งหมดที่ผานพื้นที่หนาตัดของเสนลวดโลหะนี้ ใน ชวงเวลา 0 ถึง 10 วินาที 1. 5.0 C 2. 6.25 C 3. 7.5 C 4. 8.75 C วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

61

(ขอ 3)


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ตอนที่ 2 กฏของโอหม และความตานทาน กฏของโอหม กลาววา “ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวนําหนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับความตางศักย” เขียนความสัมพันธจะได I ϒ V I = kV V = 1k I V = IR เมือ่ V = ความตางศักย (โวลต) I = ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร) R = ความตานทาน (โอหม) 9. จะตองใชความตางศักยเทาใดตอกับตัวตานทาน 1 เมกะโอหม (106 υ) เพือ่ ใหมกี ระแส (100 โวลต ) ไฟฟาผานตัวตานทาน 1 mA วิธที าํ

10. ลวดความตานทานเสนหนึง่ เมือ่ ตอระหวางความตางศักย 4.0x10–3 โวลต มีกระแสไหล ผาน 1.0 มิลลิแอมแปร ถาตอระหวางความตางศักย 1.2 โวลต จะมีกระแสผานกีแ่ อมแปร ( ขอ ง ) ก. 0.3 x 10–3 ข. 3.3 x 10–3 ค. 4.8 x 10–3 A ง. 0.3 วิธที าํ

จาก จะได จะเห็นวา

V = V = R หาก R หาก R

IR I มาก I จะนอย นอย I จะมาก

และเกี่ยวกับความตานทานของตัวนําใด ๆ R ϒ AL R = ″ AL 62


http://www.pec9.com

Physics Online V

เมือ่

R ″ L A

= = = =

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ความตานทาน (โอหม) สภาพตานทาน (โอหม . เมตร) ความยาว (เมตร) พืน้ ทีห่ นาตัดของตัวนํา (เมตร2)

11(En 18) หนวยของความตานทานจําเพาะ คือ ก. โอหม . เมตร ข. โอหม ค. โอหมตอเมตร2

(ขอ ก) ง. โอหมตอเมตร

12. ลวดโลหะชนิดหนึง่ มีสภาพตานทาน 2.0 x 10–8 โอหม . เมตร และ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 1.0 ตารางเซนติเมตร ถาตองการใหลวดโลหะนี้มีความตานทาน 1 โอหม จะตองใชลวดยาวกี่เมตร 1. 5.0 x 10–3 2. 2.0 x 10–2 3. 50 4. 5.0 x 107 (ไมมีขอถูก) วิธที าํ

13(มช 36) ในการทดลองหาคาสภาพตานทานของสารแทงสี่เหลี่ยมผืนผายาว 1 cm และมีพื้นที่ หนาตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผานกระแสไฟฟา 1 mA ตามแนวความยาวของสารแลววัด คาความตางศักยระหวางปลายทั้งสองขางของสารซึ่งอานคาได 10–2 โวลต จงหาคาสภาพ (0.05 โอหม เมตร) ตานทานของสาร วิธที าํ

14. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 5 เทาของเสนที่ 2 ถาความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพืน้ ทีห่ นาตัดของเสนที่ 1 ตอเสนที่ 2 คือ ( ค.) ก. 1 : 3 ข. 2 : 1 ค. 5 : 1 ง. 5 : 2 วิธที าํ

63


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

15. สายไฟ 2 เสน ทําจากโลหะชนิดเดียวกัน เสนทีส่ องมีพน้ื ทีห่ นาตัดเปน 6 เทาของเสน แรก และมีความยาวเปน 3 เทาของเสนแรก จงหาวาความตานทานของเสนแรกวามีคา เปน กีเ่ ทาของเสนทีส่ อง (2 เทา) วิธที าํ

16. ลวดตัวนําขนาดสม่าํ เสมอเสนหนึง่ ยาว 8 เมตร วัดความตานทานได 9 โอหม ถามีลวด ตัวนําชนิดเดียวกัน แตขนาดเสนผาศูนยกลางเปนครึง่ หนึง่ ของเสนแรก ตองการใหมคี วาม (4) ตานทาน 18 โอหม จะตองใชลวดยาวกีเ่ มตร วิธที าํ

17(มช 28) ลวดเหล็กมีเสนผานศูนยกลางเปนสองเทาของลวดทองแดงและมีสภาพตานทานเปน 6 เทาของลวดทองแดง ถาตองการลวดทองแดง และ ลวดเหล็กที่มีความตานทานเทากัน จะตองมีอตั ราสวนของความยาวของลวดทองแดง ตอลวดเหล็กเทาใด (ขอ ค) ก. 3 : 1 ข. 1 : 3 ค. 3 : 2 ง. 2 : 3 วิธที าํ

64


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

18. ลวดเสนหนึง่ มีความตานทาน 6.0 โอหม เมือ่ นํามารีดใหเสนลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ ยาวเปนสามเทาของตอนเริม่ ตน ถาคุณสมบัติตางๆ ของสารที่ทําเสนลวดไมเปลี่ยน ความ ( ขอ ง. ) ตานทานของเสนลวดตอนสุดทายจะเปนกีโ่ อหม ก. 18 ข. 24 ค. 36 ง. 54 วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

ตอนที่ 3 พลังงานไฟฟา และ กําลังไฟฟา สมการที่ใชหาพลังงานไฟฟา W = QV W = ItV W = ItIR W = I2Rt W = VR t V 2 W = VR t เมือ่ W = พลังงานไฟฟา (จูล) Q V = ความตางศักย (โวลต) I t = เวลา (วินาที) R 65

จาก Q = I t จาก V = IR จาก I = VR

= ประจุไฟฟา (คูลอมบ) = กระแสไฟฟา (แอมแปร) = ความตานทาน (โอหม)


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

สมการที่ใชหากําลังไฟฟา P = Wt QV P = t P = IV P = I2 R 2 P = VR เมือ่ P = กําลังไฟฟา (วัตต) 19. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอา นกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหาพลัง ( 1320 จูล) งานไฟฟาทีส่ ญ ู เสียไฟเมือ่ เปดหลอดไฟนี้ 1 นาที วิธที าํ

20(มช 28) เตาไฟฟาเตาหนึง่ ประกอบดวยลวดใหความรอนซึง่ มีความทาน 48.4 υ เมือ่ ตอเขา กับความตางศักยไฟฟา 220 V เปนเวลา 10 นาที จงหาปริมาณความรอนทีเ่ กิดขึน้ ก. 6 x 105 J ข. 6 x 104 J ค. 104 J ง. 103 J (ขอ ก) วิธที าํ

21. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอา นกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหากําลังไฟ ( 22 วัตต) ฟาของหลอดไฟนี้ วิธที าํ

66


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

22(En 37) หลอดไฟฟาหลอดแรกมีความตานทาน 4 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 12 โวลต หลอดที่ 2 มีความตานทาน 5 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 15 โวลต กําลังไฟฟาที่หลอดทั้งสองใชตางกันเทาใด 1. 3 W 2. 9 W 3. 11 W 4. 22 W (ขอ 2) วิธที าํ

23(En 41) เตาไฟฟาขนาด 1200 วัตต เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต และหมอหุงขาวไฟฟา ขนาด 600 วัตต ถาใชทง้ั สามเครือ่ งกับไฟฟา 220 โวลต พรอมกันจะใชกระแสไฟฟาเทาใด (ขอ 3) 1. 8 A 2. 10 A 3. 12 A 4. 15 A วิธที าํ

24(มช 43) จงหาสภาพตานทานไฟฟาในหนวยโอหมตอเมตรของลวดยาว 2 เมตร พืน้ ทีห่ นา ตัด 10–6 ตารางเมตร เมือ่ มีกระแสไฟฟา 1 แอมแปรไหลผาน จะมีอตั ราการเปลีย่ น (ขอ 4) แปลง พลังงานไฟฟาเปนพลังงานความรอน 48 มิลลิวัตต 1. 2.4 x 10–2 2. 4.8 x 10–4 3. 4.8 x 10–8 4. 2.4 x 10–8 วิธที าํ

25(En 42/2) เครือ่ งกําเนิดไฟฟาเครือ่ งหนึง่ กําลังทํางานดวยอัตรา 88 กิโลวัตต สงกําลังไฟฟา ผานสายไฟซึง่ มีความตานทาน 0.5 โอหม เปนเวลา 5 วินาที ทีค่ วามตางศักย 22,000 โวลต จงหาคาพลังงานทีส่ ญ ู เสียไปในรูปความรอนภายในสายไฟ 1. 8 J 2. 20 J 3. 40 J 4. 80 J ( ขอ 3 ) วิธที าํ

67


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

26(มช 38) เครือ่ งกําเนิดไฟฟาเครือ่ งหนึง่ สามารถสงกําลังไฟฟาได 345 กิโลวัตต ใหหาคา พลังงานทีส่ ญ ู เสียไปในรูปของความรอนภายในสายไฟ ถาสงกําลังไฟฟาผานสายไฟยาว 500 เมตร ความตานทาน 0.25 โอหม เปนเวลา 20 วินาที ดวยความตางศักย 69 กิโลโวลต วิธที าํ

(125 จูล)

27(En 36) เครือ่ งใชไฟฟาในบานชนิด 100 วัตต 220 โวลต เมือ่ นํามาใชขณะทีไ่ ฟตกเหลือ 200 โวลต เครือ่ งใชไฟฟานัน้ จะใชกาํ ลังไฟฟาเทาใด 1. 78 W 2. 83 W 3. 88 W 4. 93 W (ขอ 2) วิธที าํ

28. เตารีดไฟฟาขนาด 1,000 วัตตใชกบั ไฟฟา 220 V ถานํามาตอกับไฟ 110 V จะไดกาํ ลัง ไฟฟาเทาใด ก. 250 W ข. 500 W ค. 700 W ง. 750 W (ขอ ก) วิธที าํ

68


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

29. จากขอทีผ่ า นมา ใชเตารีดนีโ้ ดยถูกตองคือใชกบั ไฟฟา 220 V ตองใหอตั ราความรอนเทาใด ข. 240 จูล/วินาที ก. 220 จูล/วินาที ค. 1000 จูล/วินาที ง. 2400 จูล/วินาที (ขอ ค) วิธที าํ

30(En 38) จะตองใหความตางศักยไฟฟากีโ่ วลต เพือ่ จะทําใหเกิดสนามไฟฟาทีส่ ามารถเรง อิเล็กตรอนจากหยุดนิง่ ใหมคี วามเร็ว 0.4 x 107 เมตรตอวินาที (45.5 V) กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C

มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg

วิธที าํ

31(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ทีม่ ปี ระจุ 8 x 10–9 คูลอมบ จากสภาพหยุดนิง่ ใหมอี ตั ราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด 1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3) วิธที าํ

69


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

32. ถาตัวทําใหเกิดความรอน ทําใหอณ ุ หภูมขิ องน้าํ จํานวน 2 กิโลกรัม เปลีย่ นจาก 15oC เปน 21oC ในเวลา 20 นาที จงหากําลังของตัวทําใหเกิดความรอนนี้ (วัตต) (ความจุความรอนจําเพาะของน้าํ มีคา 4200 จูล/กก.เคลวิน) (ขอ ข) ก. 0.6 ข. 42.0 ค. 105.0 ง. 142 วิธที าํ

33. ถาผานกระแสไฟฟาขนาด 15 แอมแปร ความตางศักย 220 โวลต ไปยังกาตมน้าํ ไฟฟา แบบขดลวด ซึง่ มีนาํ้ บรรจุอยู 500 กรัม จงคํานวณหาเวลาทีใ่ ชในการตมน้าํ ทีอ่ ณ ุ หภูมติ ง้ั ตน 23oC ใหเดือดทีอ่ ณ ุ หภูมิ 100oC ถา 70% ของพลังงานไฟฟาใหความรอนกับน้ําโดยตรง (กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะของน้าํ = 4.2 kJ/kg K) ก. 9 วินาที ข. 17 วินาที ค. 49 วินาที ง. 70 วินาที (ขอ ง) วิธที าํ

สมการที่ใชหาคาไฟฟา

P คาไฟฟา = ( 1000 ) t (ราคาตอหนวย) เมือ่ t = เวลา (ชัว่ โมง)

34. เมือ่ เปดหลอดไฟขนาด 100 วัตต เปนเวลานาน 20 ชัว่ โมงตอเนือ่ ง จะตองเสียคาไฟกี่ บาท ( กําหนดคาไฟฟาหนวยละ 2 บาท ) (4) วิธที าํ 70


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

35(มช 37) เครือ่ งทําน้าํ อุน ไฟฟาขนาด 3000 วัตต 220 โวลต ถาอาบน้าํ อุน เปนเวลา 15 นาที จะเสียคาไฟฟาประมาณ (อัตราคาไฟฟาสําหรับ 5 หนวยแรก เปน 3 บาท/หนวย) (2.25 บาท) วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

ตอนที่ 4 การตอตัวตานทาน 4.1 การตอแบบอนุกรม มีกฏการตอดังนี้ 1) 2) 3) 4) 36. จากรูป

Iรวม = I1 = I2 V1 ¬ V2 Vรวม = V1 + V2 Rรวม = R1 + R2 ก. ใหหาความตานทานรวม (5 ϖ) ข. ใหหา I1 และ I2 (5 แอมแปร) (10 V , 15 V) ค. ใหหา V1 และ V2 (25 โวลต) ง. ใหหา Vรวม

วิธที าํ

71


Physics Online V

http://www.pec9.com

37. จากรูปจงหา กระแสไฟฟารวมของวงจร และ กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานตัวตานทาน 1 ϖ วิธที าํ

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

1ϖ 2ϖ 3ϖ V=9V

( Iรวม = I1= 3 แอมแปร)

38. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความตางศักยของตัวตานทาน 1 ϖ และ ความตางศักยรวม วิธที าํ (V1 = 3 โวลต , Vรวม = 18 โวลต)

39. จากรูปจงหา ความตางศักยทค่ี รอม (16 โวลต) ตัวตานทาน 4 ϖ

R1=2ϖ R2=4ϖ

วิธที าํ

V1= 8 V

40. จากรูปจงหา ความตางศักยรวมของวงจร วิธที าํ (33 โวลต)

R1=3ϖ R2=8ϖ

V2= ?

V2= 24 V 41. จากรูปจงหา คาความตานทาน R วิธที าํ (4ϖ)

I รวม = 3 A 2ϖ

R

Vรวม = 18 V

72


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

42(มช 41) ถาตองการแบงศักยไฟฟา V โดยใชความตานทาน จะตอง ใชตวั ตานทาน R1 ขนาดกีโ่ อหม จึงจะไดความตางศักยระหวางจุด (15 โอหม) A และ B มีคา เปน 13 V วิธที าํ

4.2 การตอแบบขนาน มีกฏการตอดังนี้ 1) 2) 3) 4)

I1 # I2 Iรวม = I1 + I2 Vรวม = V1 = V2 1 1 1 Rรวม = R1 + R2 43. ก. ใหหาความตานทานรวม (2 ϖ) ข. ใหหา Vรวม (36 โวลต) (36 โวลต) ค. ใหหา V1 และ V2 (12 A , 6 A) ง. ใหหา I1 และ I2 วิธที าํ

73


Physics Online V

http://www.pec9.com

44. จากรูปจงหา ความตานทานรวม และ ความตางศักยรวมของวงจร วิธที าํ (12 โวลต)

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

6ϖ I รวม = 3 A

12 ϖ

45. กระแสไฟฟา 3.5 แอมแปรไหลผานความตานทาน 3 โอหม และ 4 โอหม ซึง่ ตอกัน แบบขนานกระแสไฟฟาทีไ่ หลผานความตานทานแตละอันมีคา เทาใด (2 A , 1.5 A) วิธที าํ

46. จากรูปจงหา หากกระแสทีไ่ หลผานตัวตานทาน 3 ♠ เปน 10 แอมแปร แลวกระแสทีไ่ หลผาน (5 A) ตัวตานทาน 6 ♠ จะมีคา กีแ่ อมแปร

3ϖ 6ϖ

วิธที าํ

47. จากรูปจงหา หากกระแสทีไ่ หลผานตัวตานทาน 4 ♠ เปน 15 แอมแปร แลวกระแสรวมทีไ่ หล เขาวงจรทัง้ หมด จะมีคา กีแ่ อมแปร (20 A) วิธที าํ

74

4ϖ I รวม = ?

12 ϖ


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

48. ลวดความตานทาน 2 , 3 และ 4 ♠ ตอกันอยาง ขนาน ถามีกระแสไหลผานลวด 3 ♠ เปน 4 แอมแปร กระแสทัง้ หมดในวงจรเปนเทาไร (13 A) วิธที าํ

49. จากรูป จงหาความตานทานระหวาง A กับ B วิธที าํ (6)

50. จากรูป จงหาความตานทานรวม ระหวาง X กับ Y (8 ϖ) วิธที าํ

51. นําความตานทานขนาด 1 โอหม จํานวน 20 ตัวมาตอกัน จะตอกันไดความตานทานรวม มากที่สุด และนอยทีส่ ดุ กีโ่ อหมได (20 ϖ , 0.05 ϖ) วิธที าํ

75


http://www.pec9.com

Physics Online V

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

52. ลวดความตานทาน 4 เสน ตอกันดังรูป ถา ความตางศักยระหวางปลายทัง้ สองของความ ตานทาน 4 โอหม มีคา 8 โวลต จงหากระ แสทีผ่ า นความตานทานทุกเสน ( I7♠ = 0.8 A , I8♠ = 0.8 A , I10♠ =1.2 A , I4♠ = 2 A) วิธีทํา

53. กระแสทีไ่ หลผานความตานทาน 1.0 ϖ มีคา เทาใด

I = 0.5 A

16

E

1

8 5

ก. 0.3 A

ข. 0.25 A

3 4

ค. 0.279 A

วิธที าํ

76

♠ ♠

ง. 0.4 A

(ขอ ข)


Physics Online V

http://www.pec9.com

54. จากรูปวงจรตอไปนี้ จงหากระแส ทีไ่ หลผาน R2 , R3 , R4 (4 A) วิธที าํ 60 V

55. จากรูปจงหา V1 และ V2 วิธที าํ

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

R1 = 3 ♠ R4 = 6 ♠

R2 = 6 ♠ R3 = 6 ♠

(9 V , 24 V)

R1=3ϖ R2=8ϖ Vรวม= 33 V

77


http://www.pec9.com

Physics Online V

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

56. วงจรดังรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด a และ b ก. เมือ่ ไมมตี วั ตานทาน ข. เมือ่ มีตวั ตานทาน 2 k♠

9V

a

R2=2k♠ ก

ค. เมือ่ มีตวั ตานทาน 1 M♠

R1=1k♠

R1=1k♠ Vin 9V

(ก. 6V ข. 4.5 V ค. 6 V)

b

Vout

R1=1k♠ 9V

a 2 k♠

R2=2k♠ b ข.

a 1 M♠

R2=2k♠

b ค.

วิธีทํา

4.3 วงจรที่มีบางจุดยุบรวมกันได 57. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม ระหวางจุด A กับ B (1.5 โอหม)

6♠ A

วิธีทํา

78

C

3♠

6♠ D

B


Physics Online V

http://www.pec9.com

58. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม ระหวางจุด A กับ B (3.75 โอหม)

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

6♠ A

วิธีทํา

3♠

C

6♠

B

D 8♠

59. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม ระหวางจุด A กับ B (3 โอหม)

2♠

A

วิธีทํา

A

D

2♠

4♠ 4♠

วิธีทํา

D

79

1♠

1♠

B

60. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม ระหวางจุด A กับ B (1.5 โอหม)

C

B

2♠ 3♠

C


Physics Online V

http://www.pec9.com

61. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม ระหวางจุด A กับ B (6 โอหม)

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

1.2 ♠

A

C

5.6 ♠

D 6♠

12 ♠

วิธีทํา

4♠ B

62. จากรูปทีก่ าํ หนดใหจงหาความตานทาน รวมระหวางจุด A กับ B (1 โอหม)

1♠ 1♠ A

80

a

1♠ d

1♠

B

1♠

c

b f

1♠

1♠

1♠

1♠

วิธีทํา

E

F

e 1♠ 1♠

1♠


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

4.4 วงจรแบบสมมาตร 63. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A กับ B ถาตัวตานทานแตละตัว มีความตานทาน 2 ♠ ( 3 ♠) วิธีทํา

2♠ 2♠ 2♠

2♠

A

2♠ 2♠ B

2♠ 2♠

2♠

2♠

2♠ 2♠ 2♠

2♠

64. จากวงจรทีก่ าํ หนดใหจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x , y 2R 2R R R R R R R y R R R x R R R วิธีทํา

2R

2R

81

(2 R)


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

65. จากรูป จงหาความตานทานรวมระ หวางจุด x และ y (10 ♠) วิธีทํา

20♠ 5♠

6♠

5♠

6♠ 4♠

x 6♠

5♠

y 6♠

5♠

20♠

4.5 วงจร WHEATSTONE BRIDGE 66. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A กับ B (100 โอหม)

100♠

วิธีทํา

A 100♠

82

100♠ 100♠

B 100♠


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

67. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A กับ B (2.5 โอหม)

1♠

วิธีทํา

A

2♠

10♠

5♠

68. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A กับ B ( 403 โอหม) วิธีทํา

10♠ A

C 20♠

69. จากรูปจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x กับ y 200♠

200♠ x 50♠

B

6♠

100♠

20♠

500♠

500♠

83

B

D

(200 โอหม)

500♠

วิธีทํา

10♠

y


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

70. จากวงจรในรูป โวลมิเตอรอา นคาไดศนู ย จงหาตัวตานทาน R ในวงจรมีคา กีโ่ อหม วิธีทํา

20♠

(6 โอหม)

A

40♠ E

R

C

30♠

V

B

D 10♠

4.6 วงจร Delta , Wye 71. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A และ B จากรูปวงจรทีก่ าํ หนดให (2.6 โอหม) วิธีทํา

3♠

C

A

B

5♠ 3♠

2.5♠ D

84

2♠


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

72. จากวงจรดังรูปตัวตานทานทุกตัวมีความตาน ทานตัวละ 30 โอหม จงหาความตานทานรวม ( 100 ระหวางจุด A และ B 3 โอหม)

C

30♠

30♠ 30♠

วิธีทํา

A

30♠

30♠

30♠ 30♠

F

30♠

30♠ B

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 แรงเคลือ่ นไฟฟา แรงเคลือ่ นไฟฟา (E) คือ พลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบใชในการเคลื่อนที่จนครบ 1 รอบวงจร E = I(R+r) เมือ่ E คือ แรงเคลือ่ นไฟฟา (โวลต) I คือ ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร) R คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา (โอหม) r คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟา(โอหม) 85


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

73. เซลไฟฟาอันหนึง่ มีความตานทานภายใน 2 โอหม เมือ่ ตอกับความตานทาน 8 โอหม พบวามีกระแสไฟฟาไหล 0.15 แอมแปร แรงเคลือ่ นไฟฟาของเซลไฟฟาอันนีค้ อื ( 1.5 V ) วิธที าํ

74(มช 27) เซลไฟฟาอันหนึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 50 โวลต เมือ่ ตอกับความตานทาน 10 โอหม พบวามีกระแสไฟฟาไหล 4.5 แอมแปร ความตานทานภายในของเซลไฟฟาอันนีค้ อื ข. 0.50 ♠ ค. 1.1 ♠ ง. 5 ♠ (ขอ ค) ก. 0 ♠ วิธที าํ

75(En 36) จงหากระแสไฟฟาทีไ่ หลผาน แอมมิเตอร (A) ในวงจร (ขอ 3) 1. 0.3 A 2. 0.6 A 3. 1.0 A 4. 1.5 A วิธที าํ

86


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

76. เซลไฟฟาเซลหนึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2♠ ตอเปนวงจร ดวยลวดความตานทาน 8♠ จงหา ก. กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานวงจร ( 0.2 A) ( 1.6 V) ข. ความตางศักยทข่ี ว้ั เซล ( 0.4 V) ค. ความตางศักยภายในเซล วิธที าํ

77. เมือ่ นําเอาลวดความตานทาน 4 υ ตอเขากับขัว้ แบตเตอรีแ่ รงเคลือ่ นไฟฟา 18 โวลต ความ ตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด (12 V) วิธที าํ

78. เมือ่ นําเอาลวดความตานทาน 6 และ 12 υ ตอเขากับขัว้ แบตเตอรีแ่ รงเคลือ่ นไฟฟา 18 V ความตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด เมือ่ ลวดตานทาน ทัง้ สองตอกันแบบอนุกรม (16.2 V) วิธที าํ

87


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

79. จากขอทีผ่ า นมา หากตัวตานทาน 6 และ 12 υ เปลีย่ นเปนตอกันแบบขนาน จะเกิดความ ตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด (12 V) วิธที าํ

80. เมือ่ ตอความตานทาน 1 υ เขาระหวางขัว้ เซลลไฟฟาเซลลหนึง่ วัดกระแสไฟฟาได 5 แอมแปร เมือ่ เปลีย่ นความตานทานเปน 7 υ วัดกระแสไฟฟาได 1 แอมแปร เซลลไฟฟา ( 7.5 โวลต ) นีม้ แี รงเคลือ่ นไฟฟาเทาไร วิธที าํ

81(มช 28) เมือ่ ตอความตานทาน 1♠ เขาระหวางขัว้ เซลลไฟฟาเซลลหนึง่ วัดกระแสไฟฟาได 2 A เมือ่ เปลีย่ นความตานทานเปน 2.5♠ วัดกระแสไฟฟาได 1 A เซลลไฟฟานีม้ แี รง เคลือ่ นไฟฟาเทาไร (ขอ ง) ก. 1.0 V ข. 1.5 V ค. 2.5 V ง. 3.0 V วิธที าํ

88


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

82(มช 35) ความตานทานตัวหนึง่ ตอกับแบตเตอรี่ ทําใหมกี ระแส 0.6 แอมแปร ไหลผาน เมือ่ นําความตานทาน 4 โอหม มาตออนุกรมกับความตานทานตัวแรก จะทําใหกระแส ลดลงไปจากเดิม 0.1 แอมแปร จงหาแรงเคลือ่ นไฟฟาของแบตเตอรี่ ก. 5 โวลต ข. 6 โวลต ค. 12 โวลต ง. 0.48 โวลต (ขอ ค.) วิธที าํ

83(En 33) เซลไฟฟาหนึง่ เมือ่ เอาลวดความตานทาน 8.5 ♠ ตอระหวางขัว้ ของเซลลจะเกิด ความตางศักยทข่ี ว้ั ของเซล 2.125 V เมือ่ ทําใหวงจรเปดความตางศักยทข่ี ว้ั เซลเปลีย่ นเปน 2.5 V จงหาความตานทานภายในเซล (1.5 ϖ ) วิธที าํ

84. วงจรไฟฟาดังรูป มีกระแสไฟฟา 4 แอมแปร ผานตัวตานทาน ถาไมคดิ ความตานทาน ภายในแบตเตอรีจ่ งหา R = 0.5 โอหม ก. กระแสไฟฟาทีผ่ า นหลอดไฟ 4 แอมแปร R1 ข. ความตางศักยระหวางปลายตัวตานทาน 6 โวลต r ค. ความตานทานของหลอดไฟ หลอดไฟ ง. พลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปใน 10 วินาที จ. กําลังไฟฟาทีส่ ญ ู เสียไปในตัวตานทาน (ก. 4 แอมแปร ข. 2 V ค. 1 โอหม ง. 240 J จ. 8 W) 89


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

วิธที าํ

การตอเซลลไฟฟาโดยทั่วไปมี 2 แบบหลัก ๆ ไดแก 1) การตอแบบอนุกรม คือ การตอเซลลไฟฟาใหอยูในสายเดียวกัน กรณี 1 ตออนุกรมแบบถูกทิศ Eรวม = E1 + E2 rรวม = r1 + r2 กรณี 2 ตออนุกรมแบบกลับทิศ Eรวม = E1 – E2 rรวม = r1 + r2 85. จากรูปจงหากระแสทีไ่ หลในวงจร วิธที าํ

(5 แอมแปร)

90


Physics Online V

http://www.pec9.com

86. จากวงจรทีแ่ สดงตามรูป จงหากระแสในวงจร ก. 0.25 A ข. 0.50 A ค. 1.00 A ง. 1.50 A

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

(ขอ ค)

วิธที าํ

87. จากรูป จงหากระแสทีไ่ หลในวงจร

(4 แอมแปร)

วิธที าํ

88(En 40) พิจารณาวงจรไฟฟาดังรูป จงหาคา (ขอ 2) กระแสไฟฟาทีไ่ หลในวงจร 1. 0.25 A 2. 0.50 A 3. 0.75 A 4. 1.00 A วิธที าํ

91


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

2) การตอแบบขนาน คือ การตอเซลลไฟฟาแบบแยกอยูคนละสาย 1 = r1 + r1 Eรวม = E และ rรวม 1 2 89. จงหา I ทีผ่ า นความตานทาน 2♠ จากรูป

(2 A)

วิธที าํ

90. จงหา I ทีผ่ า นความตานทาน 4 ♠ จากรูป (1 A) วิธีทํา

91. จงหากระแสไฟฟาผานตัวตานทาน a , b และ c ในวงจรไฟฟา ดังรูป ให E1 = 3 V Ra = 7 ♠ E2 = 3 V R b = 4 ♠ r1 = 1 ♠ Rc = 12 ♠ (0.5 ,0.375 , 0.125 A) r2 = 1 ♠ วิธีทํา

92

a r1 E1

b c r2 E2


http://www.pec9.com

Physics Online V

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

92. ไดโอดเปลงแสงตัวหนึง่ จะเปลงแสงเมือ่ มีกระแสไฟฟา 20 มิลลิแอมแปร ผานขณะตอไบ แอสตรง และความตางศักยระหวางขัว้ 1.7 โวลต ถานําไดโอดตัวนีไ้ ปตอกับแบตเตอรี่ 6 โวลต ทีม่ คี วามตานทานภายในนอยมาก จะตองนําตัวตานทานคาเทาใดมาตออยางไรกับ วงจรเพือ่ ไมใหไดโอดเสียหาย ( นําความตานทาน 215 โอหม ตออนุกรมกับไดโอด) วิธีทํา

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 6 การหาความตางศักยระหวางเซลล เราสามารถหาความตางศักยระหวางเซลลไฟฟาใด ๆ ไดจากสมการ Vab = ϒIR – ϒE

เมือ่ Vab I R E

คือ คือ คือ คือ

ความตางศักยระหวางจุด a กับจุด b กระแสไฟฟาในวงจร ความตานทานระหวางจุด a กับ b แรงเคลือ่ นไฟฟาระหวางจุด a กับ b

ตองทราบเพิ่มเติม 1. ตองคิดจากจุด a ไปจุด b ตามทิศการไหลของกระแสไฟฟา 2. หาก E มีทศิ ตานกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขัว้ บวกของเซลล) ตองใช E เปนลบ หาก E มีทิศเดียวกับกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขั้วลบของเซลล) ตองใช E เปนบวก

3. Vab = Va – Vb Vab = –Vba 4. หากเราคิดจนครบรอบวงจร จะไดวา V = 0 จะไดออกมาวา 0 = θIR – θE ϒE = ϒIR 93


Physics Online V

http://www.pec9.com

93. จากวงจรดังรูป จงหาความตางศักย ไฟฟาระหวางจุด b กับ c และระหวางจุด d กับ a (12 , 7.5 โวลต ) วิธีทํา

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

a

6V 1υ

6V 1υ 2υ d

94. จากวงจรดังรูป จงหาศักยไฟฟาทีจ่ ดุ a,b,c (2.5 , 11 , 9) วิธีทํา

b

a 6V 2υ

6υ 12V 2υ 2V 1υ

12V 1υ

5υ d

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

94

c

b 4υ

8V 2υ

c


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ตอนที่ 7 Kirchoft’s Law กฏของจุด ( Point Rule ) กลาววา “ ทีจ่ ดุ ใดๆ ในวงจรไฟฟาผลรวมของกระแสไฟฟาที่ เขาสูจ ดุ นัน้ ทัง้ หมด จะเทากับผลรวมของกระแสไฟฟาทีไ่ หลออกจากจุดนัน้ ทัง้ หมดเสมอ ” กฏของวง (Loop Rule ) กลาววา “ ในวงจรไฟฟาทีค่ รบวงจรใดๆ ( วงจรปด ) ผลรวม ของแรงเคลือ่ นไฟฟาตลอดวงจรนัน้ ๆ จะมีคา เทากับผลรวมของความตางศักยของทุกๆ จุดในวง จรปดนัน้ ” เขียนเปนสมการจะไดวา ρ E = ρ IR 95. จากวงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟาทีผ่ า น เซลล 8 โวลต ( 0.5 A)

วิธีทํา

12V 2υ

10V 1υ

96. จากวงจรดังรูปจงคํานวณหากระแสไฟฟา ทีผ่ า นตัวตานทาน 2 โอหม ( 1 A)

8V 2υ

5V,2υ 1υ

วิธีทํา

2V,1υ

95


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

97. จากวงจรดังรูป แอมมิเตอรจะอานคาได เทาไร (4.2 แอมแปร)

3υ A

วิธีทํา

3V

6V

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 8 กัลวานอมิเตอร แอมปมเิ ตอร โวลตมเิ ตอร และโอหมมิเตอร กัลวานอมิเตอร คือ เครื่องมือใชวัดปริมาณกระแสไฟฟา

1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ...............เขากับตัวตานทานในวงจร 2) ตองนําซันต(R s) มาตอแบบ.................กับกัลวานอมิเตอร เพือ่ ลด ปริมาณ.....................ทีใ่ หผา นกัลวานอมิเตอรใหมปี ริมาณนอยลง 3) กัลวานอมิเตอร + ซันต เรียกวา ......................ใชวดั กระแสไฟฟา 96


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

98. แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ ความตานทาน RG = 100 โอหม กระแสไฟฟาผานสูงสุด 10 ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 210 ไมโครแอมแปร ผานตองใช ความตานทาน (5 ϖ ) Rs ขนาดเทาใดมาตอขนาน วิธที าํ

99(มช 32) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ ความตานทาน RG = 900 โอหม กระแสไฟฟาผาน สูงสุด 10 ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 100 ไมโครแอมแปร ผานตองใช (ขอ ก) ความตานทาน Rs มีคา เทาไรตออยางไร ก. Rs = 100 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร ข. Rs = 60 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร ค. Rs = 100 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร ง. Rs = 90 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร วิธที าํ

100(มช 26) แอมปมเิ ตอรวดั กระแสได 1 mA ตองใชความตานทานซันต 10♠ ตอขนานกัลวานอมิเตอรซึ่งมีความไว 100 →A คาความตานทานของกัลวานมิเตอร(RG) มีคาเทาใด ก. 100♠ ข. 90♠ ค. 10♠ ง. 2♠ (ขอ ข) วิธที าํ

97


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

101(En 44/2) แกลแวนอมิเตอรตวั หนึง่ มีความตานทาน 20 โอหม อานไดเต็มสเกลเมือ่ ตอเขา กับความตางศักย 0.2 โวลต ถาตองการทําใหเปนแอมมิเตอรทอ่ี า นเต็มสเกลได 1 แอมแปร โดยตอตัวตานทานขนาน (หรือซันต) กับแกลแวนอมิเตอรน้ี ขณะทีแ่ อมมิเตอรอา นไดเต็ม สเกลกระแสทีผ่ า นซันตมคี า เทาใด 1. 0.01 A 2. 0.10 A 3. 0.90 A ง. 0.99 A (ขอ 4) วิธที าํ

การวัดความตางศักยไฟฟา 1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ................กับตัวตานทานในวงจร 2) ตองนํามัลติพลายเออร (Rm) ซึ่งมีคามากๆ มาตอแบบ.............. กับกัลวานอมิเตอร เพือ่ ใหกระแสไหลมาหากัลวานอมิเตอร นอยๆ ทําใหเหลือกระแสไหลผานตัวตานทาน (R) ใกลเคียง กับกระแสเดิม จะทําใหวดั ความตางศักยไดใกลเคียงความจริง 3) กัลวานอมิเตอร + มัลติพลายเออร เรียกวา ..................... ใชวดั ความตางศักย

102(มช 27) การดัดแปลงกัลวานอมิเตอรเปนโวลต จะตองนําความตานทานมาตอรวมแบบใด ก. ซันตและความตานทานมีคา นอย ข. ซันตและความตานทานมีคา มาก ค. อนุกรมและความตานทานมีคา นอย ง. อนุกรมและความตานทานมีคา มาก (ขอ ง) 103 (มช 37) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ มีความตานทาน 1000 โอหม วัดกระแสไฟฟาสูงสุด 100 ไมโครแอมแปร จงหาขนาดของความตานทานทีน่ าํ มาตอกับแกลแวนอมิเตอรน้ี เพือ่ ดัดแปลงใหเปนโวลตมเิ ตอรทว่ี ดั ความตางศักยสงู สุด 1 โวลต (9000 ϖ) วิธที าํ

98


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

104(มช 44) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ มีความตานทาน 0.2 โอหม กระแสไฟฟาสูงสุดทีไ่ หล ผานไดมคี า 50 มิลลิแอมแปร ตองหาความตานทานเทาไร (โอหม) มาตอกับแกลแวนอ– มิเตอรน้ี เพือ่ ใหวดั ความตางศักยไดสงู สุด 100 มิลลิโวลต 1. 0.2 2. 1.8 3. 2 4. 2.4 (ขอ 2) วิธที าํ

การวัดความตานทาน โอหมมิเตอร (Ohmmeter) คือ เครือ่ งมือทีใ่ ชวดั ความตานทาน สวน ประกอบทีส่ าํ คัญของโอหมมิเตอร คือ แกลแวนอมิเตอร ตอกับตัวตานทาน แปรคา R0 และ เซลลไฟฟา E ดังรูป

G

E R0 x

Rx

y

เมือ่ ตองการวัดความตานทาน Rx ใดๆ ใหเอาขัว้ x และ y ไปตอทีป่ ลายตัวตานทานนัน้ ซึง่ จะมีผลใหกระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร ถา Rx มีคา มาก กระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร มีคา นอย เข็มจะเบนนอย แตถา Rx มีคา นอย กระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอรมคี า มาก เข็มจะ เบนมาก แตถา นําปลาย x และ y แตะกัน ถือวาความตานทานเปนศูนย กระแสไฟฟาจะผาน โอหมมิเตอรมากทีส่ ดุ เข็มของโอหมมิเตอรจะเบนไดมากทีส่ ดุ ตําแหนงของเข็มขณะนีต้ อ งชี้ ศูนย ดังนัน้ สเกลของโอหมมิเตอร จะกลับกับแอมมิเตอร และโวลตมเิ ตอร 99


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

105. โอหมมิเตอรตวั หนึง่ ภายในมีเซลลไฟฟา ซึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 3 โวลต และมีความตาน ทานภายใน 5 โอหม ตออนุกรมอยูก บั ตัวตานทานแปรคามีความตานทาน 250 โอหม และแกลแวนอมิเตอรมคี วามตานทาน 45 โอหม ก. ถาตอปลายทัง้ สองของโอหมมิเตอร กันโดยตรงจะมีกระแสไฟฟาผานแกลแวนอ(0.01 แอมแปร) มิเตอรเทาไร ข. ถาตอปลายทัง้ สองของโอหมมิเตอรเขากับตัวตานทานตัวหนึง่ ปรากฏวามีกระแสไฟ (300 โอหม) ฟาผาน 0.005 แอมแปร ตัวตานทานทีต่ อ มีความตานทานเทาไร วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 9 แมเหล็ก และ สนามแมเหล็ก สมบัตเิ บือ้ งตนของแมเหล็ก 1) แทงแมเหล็ก 1 แทงจะมี 2 ขัว้ คือ ขัว้ เหนือและขัว้ ใตเสมอ 2) ขัว้ แมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน และขัว้ ตางกันจะดูดกันเสมอ 3) บริเวณรอบ ๆ แทงแมเหล็กซึง่ ปกติจะมีแรง ทางแมเหล็กแผออกมาตลอดเวลา บริเวณ โดยรอบแทงแมเหล็กนีเ้ รียก สนามแมเหล็ก สนามแมเหล็กจะเปนปริมาณเวกเตอร ซึง่ ภายนอกแทงแมเหล็ก จะมีทศิ ออกจากขัว้ เหนือ เขาหาขัว้ ใต และภายในแทงแมเหล็กจะมีทศิ จากขัว้ ใตไปหาขัว้ เหนือ 100


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

4) เสนทีเ่ ขียนแทนแรงทีแ่ มเหล็กแผออกมา เรียก เสนแรงแมเหล็ก 5) จํานวนเสนแรงแมเหล็ก เรียกวา ฟลักซ แมเหล็ก (∑) ซึง่ มีหนวยเปน เวเบอร เราสามารถคํานวณหา ฟลักซแมเหล็ก ซึง่ ตกบนพืน้ ทีร่ องรับหนึง่ ไดจากสมการ  = BA sin ± เมือ่  = ฟลักซแมเหล็ก (เวเบอร) B = ความเขมสนามแมเหล็ก (เวเบอร/m2 , เทสลา) A = พืน้ ที่ (m2 ) ± = มุมระหวางสนามเมเหล็กกับพืน้ ทีร่ องรับ 106. จงวาดรูปเสนแรงแมเหล็กตอไปนี้ ใหสมบูรณ

N

S

107. ฟลักซแมเหล็ก คือ .................................................................... มีหนวยเปน ................... 108. ขดลวดพืน้ ที่ 10 x 10–4 m2 วางอยูใ นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กขนาดสม่าํ เสมอ 10 เทสลา จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 90o กับสนามแมเหล็ก (10–2)

วิธที าํ

109. จากขอทีผ่ า นมา จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 30o กับสนามแมเหล็ก (5x10–3 ) วิธที าํ

101


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

110. จากขอทีผ่ า นมา จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 0o (0 เวเบอร) กับสนามแมเหล็ก วิธที าํ

111(มช 34) กลองสีเ่ หลีย่ มซึง่ แตละดานมีพน้ื ทีเ่ ทากันหมดเทากับ 0.10 ตารางเมตร วางอยูใ น สนามแมเหล็กสม่าํ เสมอขนาด 5 เทสลา โดยทีท่ ศิ ทางของสนามแมเหล็กตัง้ ฉากกับระนาบ ของกลองดานใดดานหนึง่ ฟลักซสนามแมเหล็กทีผ่ า นกลองนีค้ อื (ขอ ข) ก. 0 Wb ข. 0.5 Wb ค. 1.0 Wb ง. 03 Wb วิธที าํ

112(En 43/1) ขดลวดของมอเตอรไฟฟามีพน้ื ทีห่ นาตัด 0.4 m2 วางอยูใ นสนามแมเหล็ก 2 เทสลา โดยมีแนวระนาบของขดลวดทํามุม 30o กับสนามแมเหล็กดังรูป จงคํานวณวา ฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวดเทากับเทาไร 1. 1.0 Weber 2. 0.8 Weber 3. 0.6 Weber 4. 0.4 Weber (ขอ 4) วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

102


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ตอนที่ 10 แรงกระทําตออนุภาคไฟฟาซึง่ เคลือ่ นทีใ่ นสนามแมเหล็ก เมือ่ อิเลคตรอนหรือประจุลบใด ๆ เคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตอประจุ ไฟฟานัน้ ซึง่ สามารถหาทิศของแรงกระทําตออิเลคตรอนนีไ้ ดโดยใชกฎมือซาย

113(มช 37) ถามีอเิ ลคตรอนวิง่ ตามแนวราบไปทางขวาผานสนามแมเหล็กขนาดสม่าํ เสมอซึง่ มี ทิศพุง ออกมาตัง้ ฉากกับระนาบของแผนกระดาษ แนวทางการเคลือ่ นทีข่ องอิเลคตรอน คือ 1. วิง่ ในแนวราบตามเดิม 2. เบีย่ งเบนจากแนวเดิมลงขางลาง 3. เบีย่ งเบนพุม ออกมาจากแผนกระดาษตามทิศของสนามแมเหล็ก (ขอ 4) 4. เบีย่ งเบนจากแนวเดิมขึน้ ขางบน วิธที าํ

103


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

สําหรับขนาดของแรงทีก่ ระทําตอประจุลบ เราสามารถหาคาไดจากสมการ F = qv B sin ± เมือ่ q = ประจุ (คูลอมบ) V = ความเร็วของประจุนน้ั (m/s) B = ความเขมสนามไฟฟา (เทสลา) ± = มุมระหวางสนามแมเหล็กกับทิศความเร็ว 114. ประจุไฟฟา –3.2 x10–19 คูลอมบ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 2.5 x 105 เมตรตอวินาที ผานเขาไปในบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กขนาด 1.2 เทสลา โดยทิศของความเร็วตัง้ ฉากกับ ทิศของสนามแมเหล็ก จงหาขนาดของแรงทีก่ ระทําตอประจุไฟฟานี้ (9.6 x 10–14 N ) วิธที าํ

ควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงที่สนามแมเหล็กกระทําตอประจุไฟฟา

1) หากประจุบวกเคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก ก็จะเกิดแรงกระทํา ตอประจุบวกนัน้ เชนกันเราสามารถหาขนาดของแรงกระทําได จากสมการ F = q v B sin ± (เหมือนแรงกระทําตอ e ) และหาทิศของแรงไดโดยใชกฎมือขวา ดังรูป 2) กรณีตอ ไปนี้ แรงกระทํามีคา เปนศูนย 2.1 q = 0 เชนกรณีทน่ี วิ ตรอนเคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก 2.2 กรณีความเร็ว (V) มีคา เปนศูนย 2.3 กรณีทป่ี ระจุไฟฟาเคลือ่ นขนานกับทิศสนามแมเหล็ก กรณีน้ี ± = 0o จะได sin ± = sin 0o = 0 ทําใหแรงกระทํามีคา เปนศูนยเชนกัน

104


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

3) เมือ่ ประจุไฟฟาถูกแรงกระทําในสนามแมเหล็ก ประจุไฟฟานัน้ จะเคลือ่ นทีเ่ ปนรูปวงกลม ซึง่ หารัศมีไดจาก sin± R = m vqB หากประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก จะได sin90o R = m v qB นัน่ คือ R = mqBv เมือ่ m คือ มวลของประจุนน้ั (kg) หากประจุเคลื่อนที่เอียงทํามุมกับสนามแมเหล็ก ประจุนน้ั จะเคลือ่ นเปนเกลียวสปริง ดังรูป 115. โปรตอนตัวหนึง่ เขามาในสนามแมเหล็กขนาด 1.5 เทสลา ดวยความเร็ว 2x107 เมตร/วินาที โปรตอนเปนอนุภาคมีประจุไฟฟา 1.6 x 10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาแรงทีส่ นามแมเหล็ก นีก้ ระทําตอโปรตรอนเมือ่ (ก. 2.4x10–12 N ข. 4.8x10–12 N) ก) โปรตอนทํามุม 30o กับสนามแมเหล็ก ข) โปรตอนทํามุมฉากกับสนามแมเหล็ก วิธที าํ

116(En 43/1) โปรตอนจากดวงอาทิตยเคลือ่ นทีล่ งหาผิวโลกในแนวดิง่ บริเวณเสนสูตรศูนยของ โลก ซึง่ มีสนามแมเหล็กโลกขนานกับผิวโลก โปรตอนจะเบนไปทางทิศใด

1. ทิศเหนือ

2. ทิศตะวันตก

3. ทิศใต

4. ทิศตะวันออก

(ขอ 4)

ตอบ

117(มช 27) สนามแมเหล็กจะไมมีผล ตอ ก. ประจุไฟฟาที่อยูนิ่ง ค. แมเหล็กถาวรทีอ่ ยูน ง่ิ

ข. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ ง. แมเหล็กถาวรทีเ่ คลือ่ นที่

ตอบ 105

(ขอ ก)


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

118(En 34) เมือ่ อิเลกตรอนเคลือ่ นทีผ่ า นบริเวณหนึง่ ซึง่ มีสนามกรณีใดทีค่ วามเร็วของอิเล็กตรอนไมเปลีย่ นแปลง 1. ขนานกับสนามแมเหล็ก 2. ขนานกับสนามไฟฟา (ขอ 1) 3. ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก 4. ตั้งฉากกับสนามไฟฟา ตอบ

119(En 41)อนุภาคแอลฟาและอนุภาคบีตาเคลือ่ นทีเ่ ขาไปในแนวขนานกับสนามแมเหล็ก B ที่มี คาสม่าํ เสมอดังรูป การเคลือ่ นทีใ่ นสนามแมเหล็กของอนุภาคทัง้ สองจะเปนอยางไร 1. เปนเสนตรง 2. เปนวงกลม โดยวิ่งวนคนละทางกัน 3. เปนวงกลม โดยวิ่งวนทางเดียวกัน 4. เปนรูปเกลียว (ขอ 1) ตอบ

120(มช 31) ยิงอิเล็กตรอนดวยความเร็ว 5.0x107 เมตร/วินาที เขาไปในทิศตั้งฉากกับ B จะมี แรงกระทําตออิเล็กตรอนดวยขนาดเทาไร ใน หนวยของนิวตัน (ขอ ก) ก. 2.8 x 10–14 ข. 0.7 x 10–10 ค 1.0 x 102 ง. 1.8 x 105 วิธที าํ

121(มช 31) จากขอทีผ่ า นมาอิเล็กตรอนจะมีการเคลือ่ นทีอ่ ยางไร

(ขอ ค)

ก. หยุดนิง่ กับทีเ่ นือ่ งจากแรงโนมถวง ข. เคลือ่ นทีเ่ ปนรูปพาราโบลา ค. เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในทิศตามเข็มนาฬิกา ง. เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในทิศทวนเข็มนาฬิกา ตอบ 106


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

122(มช 31) จากขอทีผ่ า นมารัศมีความโคงของการเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนมีคา กีเ่ มตร (ขอ ง) ก. 8.31 x 10–55 ข. 3.94 x 10–22 ค. 2.78 x 10–10 ง. 8.13 x 10–2 วิธที าํ

123. อนุภาคดิวเทอรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 9.6 x 106 เมตรตอวินาที ในทิศทางที่ตั้งฉาก กับสนามแมเหล็กที่มีขนาด 0.4 เทสลา ทําใหอนุภาคดิวเทอรอนเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลม รัศมี 0.5 เมตร อัตราสวนระหวางประจุตอมวลของอนุภาคดิวเทอรอน จะมีคา กีค่ ลู อมบตอ กิโลกรัม 1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107 (ขอ 4) วิธที าํ

124. อิเล็กตรอนทีจ่ ดุ A ดังรูป มีความเร็ว(Vo) 107 m/s จงหา ก) ขนาดของความเขมสนามแมเหล็กที่ทําให อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B (1.14 x 10–3 เทสลา)

ข) เวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B วิธที าํ

(1.57 x 10–8 วินาที)

107


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

125. ในเครือ่ งเรงอนุภาคบางแบบ อนุภาคจะถูกทําใหวิ่งเปนวงกลม โดยใชสนามแมเหล็กที่มี ทิศทางตัง้ ฉากกับแนวทีอ่ นุภาควิง่ ถาสนามแมเหล็กสม่ําเสมอขนาด B เทสลา และอนุภาค มีมวล m ประจุ q เวลาทีอ่ นุภาควิง่ แตละรอบจะตองเปนกีว่ นิ าที °q m °B 1. 2mB 2. 2° 3. 3qB 4. 2°mqB (ขอ 2) qB วิธที าํ

126. อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 100 เมตร/วินาที เขาไปในสนามแมเหล็ก ซึ่งมีคา 0.1 เทสลา ในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็กนั้น กินเวลากี่วินาที ทิศทางของการเคลือ่ นทีจ่ งึ จะ เบนไปจากเดิม 60o กําหนดใหมวลของอิเล็กตรอน = 9x10–31 กิโลกรัม 1. 0.5x10–12 2 6x10–11 3. 7x10–8 4. 8x10–9 (ขอ 2) วิธที าํ

127. อนุภาคมวล 0.5 กรัม มีประจุไฟฟา –2.5 x 10–8 คูลอมบ เคลือ่ นทีใ่ นแนวระดับดวย ความเร็วตน 6 x 104 m/s เขาไปในสนามแมเหล็ก แตยงั คงเคลือ่ นทีไ่ ปไดในแนวระดับ จงหาขนาดของสนามแมเหล็ก (3.33 เทสลา) วิธที าํ

108


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ตอนที่ 11 สนามแมเหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟาไหลในตัวนํา เออรเสตด นักฟสิกสชาวเดนมารค เปนผูค น พบวา เมือ่ ปลอย ใหกระแสไฟฟาไหลผานตัวนําจะเกิดสนามแมเหล็กขึ้นรอบ ๆ ตัวนํา ในทิศทางที่เราสามารถหาได โดยใชกฏมือขวาโดยใหใชมอื ขวาโดย ใชมือขวากําเสนลวดนั้น และใหชน้ี ว้ิ หัวแมมอื ไปตามทิศของกระแส จะไดวาทิศของสนามแมเหล็กจะไหลตามทิศสี่ ที่กําขดลวด สําหรับขนาดของสนามแมเหล็กหาจาก B = (2x10–7) RI เมือ่

B I R โปรดสังเกตุ

= สนามแมเหล็กเหนีย่ วนํารอบลวดโลหะตัวนํา (Tesla) = กระแสไฟฟา (A) = ระยะหางจากตัวนําถึงจุดที่วัดคาสนาม (m) ทิศของสนามแมเหล็กจะตั้งฉากกับทิศของกระแสไฟฟาเสมอ

128(มช 36) ถามีกระแสไหลในลวดตัวนําเสนตรงดังรูป จะมีอะไรเกิดขึน้ กับอนุภาคอิเลคตรอน ก. และ ข. ซึง่ กําลังเคลือ่ นทีข่ นานกับเสนลวดนีด้ ว ยอัตราเร็ว v (ขอ 1) 1. อิเลคตรอน ก และ ข เคลือ่ นทีเ่ ขาหาลวดตัวนํา 2. อิเลคตรอน ก และ ข เคลือ่ นทีอ่ อกจากลวดตัวนํา 3. อิเลคตรอน ก เคลือ่ นทีเ่ ขาหาลวดตัวนํา และ อิเลคตรอน ข เคลือ่ นทีอ่ อกหาง 4. อิเลคตรอน ก เคลื่อนที่ออกหางลวดตัวนํา และ อิเลคตรอน ข เคลื่อนที่เขาหาลวดตัวนํา 129(En42/1) AB เปนสวนของลวดตรงยาวมีกระแส I จาก A ไป B และมีอเิ ล็กตรอนประจุ –e กําลัง วิง่ ผานจุด C ดวยความเร็ว v ซึ่งมีทิศขนานกับ AB ดังรูป ขณะนัน้ อิเล็กตรอนมีความเรงตามขอใด 1. มีความเรงในทิศเขาหาเสน AB 2. มีความเรงในทิศออกจากเสน AB 3. มีความเรงในทิศขนานกับการเคลือ่ นที่ 4. ไมมคี วามเรง (ขอ 2) 109


http://www.pec9.com

Physics Online V

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

หากเราปลอยกระแสไฟฟาไหลวนเกลียวขดลวด จะเกิดสนามแมเหล็กไหลวนรอบเกลียวขดลวดนัน้ ดังแสดง ในรูป ทิศการไหลวนของสนามแมเหล็กนี้สามารถหาได โดยใชกฏมือขวา โดยเอามือขวากําขดลวดทัง้ เกลียว และ ใหนิ้วทั้งสี่วนตามกระแสไฟฟา หากหัวแมมือชี้ไปทางทิศใด สนามแมเหล็กจะวนออกขด ลวดทางดานนัน้ ลักษณะนี้จะทําใหขดลวดนี้เปนเสมือนแทงแมเหล็กแทงหนึ่ง โดยดานที่ หัวแมมอื ชีไ้ ปจะเปนขัว้ แมเหล็กเหนือ เพราะมีสนามแมเหล็กพุงออกดังกลาว ขดลวดที่มี กระแสไฟฟาไหลผานแลวกลายเปนเสมือนแทงแมเหล็กเชนนี้ เรียก ขดลวดโซลินอยด ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 12 แรงกระทําตอลวดทีม่ กี ระแสไหลผานในสนามแมเหล็ก หากเรามีเสนลวดวางอยูใ นสนามแมเหล็ก และมี กระแสไฟฟาไหลผาน จะเกิดแรงกระทําตอเสนลวดนัน้ เราสามารถหาทิศของแรงทีก่ ระทํานัน้ ได โดยใช กฏมือขวาดังแสดงในรูปภาพ และหาขนาดของแรงกระทํานั้นไดจากสมการ F = I L B sin ±

เมือ่ F I L ±

= = = =

แรงกระทําตอเสนลวดนัน้ (N) กระแสที่ไหลผาน (A) ความยาวของขดลวด (m) มุมระหวางทิศกระแสกับสนามแมเหล็ก

130. ลวดเสนหนึ่งยาว 5.0 เซนติเมตร มีกระแสไหล 4 แอมแปร วางอยูในสนามแมเหล็กขนาดสม่ําเสมอ 10–3 เทสลา โดยลวดเอียงทํามุม 30o กับสนามแม เหล็กดังรูป จงหาขนาดของแรงแมเหล็กทีก่ ระทํา ตอลวดเสนนี้ ( 1x10–4 นิวตัน) วิธที าํ 110


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

131(มช 36) ลวดเสนหนึ่งยาว 5 เมตร มีกระแสไหลผาน 4 แอมแปร วางอยูในสนามแมเหล็ก ขนาดสม่ําเสมอ 10–3 เทสลา โดยลวดทํามุมฉากกับสนามแมเหล็กขนาดของแรงที่กระทํา ตอลวดเปนกีน่ วิ ตัน (0.02 นิวตัน) วิธที าํ

132. เสนลวดตัวนํายาว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟาไหลผาน 10 แอมแปร และทํามุม 30o กับทิศของสนามแมเหล็กขนาด 1.5 เทสลา จงหา ก. ขนาดของแรงทีเ่ กิดขึน้ (4.5) (0.5 m/s2) ข. ถามีมวล 9 กิโลกรัม จงหาความเรง ค. ในเวลา 2 วินาที จะมีความเร็วเทาใด (1 m/s) วิธที าํ

133. แทงตัวนํายาว 10 เซนติเมตร มวล 0.05 กิโลกรัม มีกระแสไฟฟาผาน 25 แอมแปร เมือ่ นําไปไวในบริเวณที่มีสนามแมเหล็กขนาดสม่ําเสมอ ปรากฏวาแทงตัวนํานี้สามารถลอยนิ่ง อยูในสนามแมเหล็ก จงหาวาขนาดของสนามแมเหล็กมีคากี่เทสลา (ขอ 2) 1 2. 15 5. 11 1. 13 3. 17 4. 19 วิธที าํ

111


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

แรงกระทําระหวางลวดตัวนํา 2 เสนที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟาไหลผาน

กรณีทม่ี ลี วดตัวนํา 2 เสน ขนานกัน หากมีกระแสไฟฟาไหลไปในทางตรงกันขาม ลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงผลักกัน หากมีกระแสไฟฟาไหลไปทางเดียวกัน ลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงดูดกัน 134(En 44/1) สายไฟทีเ่ ดินในอาคารประกอบขึน้ ดวยลวดทองแดง 2 เสน หุมฉนวนและมี เปลือกหุมให 2 เสน รวมอยูด ว ยกันอีกชัน้ หนึง่ เมื่อมีการใชเครื่องไฟฟาในบาน ลวด 2 เสน จะมีแรงกระทําตอกันหรือไม และอยางไร 1. ไมมแี รงกระทําตอกัน เพราะมีฉนวนหุมแยกจากกันไมได 2. มีแรงกระทําตอกัน โดยผลักและดูดสลับกันเพราะเปนไฟฟากระแสสลับ 3. มีแรงกระทําตอกันและเปนแรงดูดเขาหากัน 4. มีแรงกระทําตอกันและเปนแรงผลักซึ่งกันและกัน (ขอ 4) แรงกระทําตอขดลวดทีอ่ ยูใ นสนามแมเหล็ก และมีกระแสไฟฟาไหลผาน

หากเรานําขดลวดไปไวในสนามแมเหล็ก แลวปลอย กระแสไฟฟาใหเขาไปไหลวนดังรูป จะพบวาแรง กระทําตอขดลวด 2 ขางจะมีทิศตรงกันขาม จะสง ผล ทําใหขดลวดนัน้ เกิดการหมุนตัวเราสามารถหา โมเมนตการหมุนของขดลวดนีไ้ ดจากสมการ M = N I A B cos ±

เมือ่ M N A B ± 112

= = = = =

โมเมนตของแรงคูค วบ (N.m) จํานวนรอบของขดลวด พืน้ ทีข่ องขดลวด (m2) ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา) มุมระหวางระนาบพืน้ ที่ (A) กับ สนามแมเหล็ก (B)


Physics Online V

http://www.pec9.com

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

ควรจํา 1) โมเมนตสงู สุดเกิดเมือ่ A ขนานกับ B คือ ± = 0o 2) โมเมนตตาํ่ สุดเกิดเมือ่ A ตั้งฉากกับ B คือ ± = 90o เพราะ M = N I A B cos ± M = N I A B cos 90o M = N I A B (0) M= 0 135. ขดลวดตัวนํารูป พื้นที่ 10 cm2 วางอยูใ นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็ก 5 เทสลา ถาจํานวน ขดลวดตัวนําเทากับ 400 รอบ จงหาโมเมนตของแรงคูค วบทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ระนาบ ขดลวดทํา มุม 60o กับแนวสนามแมเหล็ก คาของกระแสที่ผานขดลวดเทากับ 6 แอมแปร (6 N.m) วิธที าํ

136(มช 36) ขดลวดวงกลมมีพื้นที่หนาตัด 60 ตารางเซนติเมตร มีขดลวดพันอยู 600 รอบ และ มีกระแสไหลผาน 1 แอมแปร วางไวในสนามแมเหล็กที่มีความเขม 1 เทสลา โมเมนต สูงสุดของขดลวดจะมีคา กีน่ วิ ตันเมตร (3.6 N.m) วิธที าํ

113


http://www.pec9.com

Physics Online V

บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

มอเตอรกระแสตรง

จากหลักการณของขดลวดหมุนตัวในสนามแมเหล็กทีผ่ า นมา เราอาจนําไปสรางเปน มอเตอรกระแสตรงได แตอาจมีปญ  หาเบือ้ งตนดังนี้ ปญหาที่ 1 เมื่อขดลวดหมุนไปไดครึ่งรอบสายไฟที่ตอกระแสเขาจะเกิดการไขวกันทําให กระแสไหลกลับดานกับตอนแรกสงผลใหขดลวดหมุนกลับไปกลับมาดังรูป วิธีแกคือ ใสวงแหวนครึ่งซีกสัมผัสกับแปลงขดลวดตัวนํา ดังรูป ปญหาที่ 2 เมือ่ ขดลวดหมุนตัวไป 1/4 รอบ ระนาบพื้นที่จะตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก โมเมนตการหมุนจะมีคาเปน 0 ขดลวดจะหยุดหมุน

วิธีแกคือ ใสขดลวดเพิ่มเขาไปอีกในระนาบตั้งฉากกับขดลวดเดิม ดังรูป 137. ตามรูปมอเตอรจะหมุนอยางไร ก. จะหมุนกลับไปกลับมาจากตามเข็ม นาฬิกาแลวทวนเข็มนาฬิกา

ข. จะหมุนกลับไปกลับมา จากทวนเข็ม นาฬิกาแลวตามเข็มนาฬิกา ค. หมุนตามเข็มนาฬิกา ง. หยุดนิง่ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

114

(ขอ ข)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.