ประวัติหลวงปู่จวน กุลเชษโฐ ส่วนที่สอง

Page 1

โยนตําราเผาไฟทิ้งเสียกอน ทางพระกัมมัฏฐานทานสอน ใหปฏิบัติไป ภาวนาไป วันหนึ่งก็รูเอง เห็นเอง มันไปคาดวาอยาง โนน คาดวาอยางนี้ รูกอนเกิด มันก็เลยไมเกิดสักที พวกเรียนมามากตามตํารา แตไมปฎิบัติ กับพวกปฏิบัติ แตไมไดเรียนตํารา มันก็เปรียบเหมือน…คนหนึ่งพูดเรื่องเชียงใหม อานแตเรื่องเชียงใหม ภูมิประเทศเปนอยางไร ผูคนเปนอยางไร ใหเขียนกี่เลมสมุดไทก็ได แตก็เปนตามตํารา ไมเหมือนอีกคนหนึ่ง ไมตองอานตํารา ออกมุงหนาเดินทางไปเชียงใหม ไปถึง ก็เห็นเอง รูจักเอง พบกับคนที่อยูเชียงใหมดวยกัน ก็พูดกันรูเรื่อง เชียงใหม เปนอยางไร หรืออีกนัยหนึ่ง เหมือนคนเรียนเรื่องปวดฟน คนไมเคย ปวดฟน ไมเคยหาย อานตํารามาเทาใดก็อธิบายไปอยางนั้นเอง มันไมเคยเปน เปนอยางไร หายปวดฟนเปนอยางไร แตคนเคย ปวดฟนแลว พูดกันสองสามคําก็รูวา มันปวดอยางไร เวลาหาย ปวดแลวมันโลงอกสบายอยางไร


2

ภาคสาม ธรรมเทศนา

กาเลน ธมฺมสฺสวนํ การฟงธรรมโดยกาล เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ขอนี้เปนมลคลอันสูงสุด


3

ปฏิปทาวันตรัสรู วันนี้จะแสดงพระประวัติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ของเราเปนบางตอน จะขอยอน แสดงตอนเมื่อวันพระพุทธเจาตรัสรูนั้น คือในวันเพ็ญเดือน ๖ ตอนเชา พระองคไดรับขาวมธุปายาส ของนางสุชาดาพระองคเสวยเสร็จแลว ตอนกลางวันไดเสด็จขามฝงแมนํ้าเนรัญชรา มุงพระพักตรคือ หนา เขาสูตนพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งอยูฝงแมนํ้าเนรัญชราเมื่อถึงตนพระศรีมหาโพธิ์แลว เวลากลางวัน พระองคก็ปรารภความพาก ความเพียร ตามสมณวิสัย วิเวก สงัดอยูพระองคเดียว มีการเดินจงกรม บาง นั่งภาวนาบาง ในอิริยาบถทั้งสี่ ตามสมควรแกสมณวิสัย พอเวลาใกลคํ่ามีโสตถิยะพราหมณสอง คนพี่นองไดเกี่ยวหญาคาเดินผานมาที่นั้นเห็นพระองคแลวเกิดความเชื่อความเลื่อมใส จึงนอมเอา หญาคานั้นเขาไปถวายพระองค พระองครับหญาคาของโสตถิยะพราหมณ แลวก็มวนเปนบัลลังก สําหรับรองประทับที่นั่ง ครั้นเวลาพลบคํ่าพระองคเสด็จเขาสูตนพระศรีมหาโพธิ์ แลวก็ประทับนั่งที่ บัลลังกหญาคาผินพระพักตรคือหนาสูบูรพาทิศคือทิศตะวันออก ผินพระปฤษฎางคคือหลังเขาสูตน พระศรีมหาโพธิ์ นั่งขัดบัลลังกสมาธิ คือเอาขาขวาทับขาซาย มือขวาทับมือซาย ตั้งกายใหตรงดํารง สติไวเฉพาะหนาคือใจ ในขณะนั้นพระองคไดอธิษฐานจิต นอมลงไปวาการนั่งครั้งนี้ของเรา เปนการ นั่งครั้งสุดทายแหงชีวิตปจจุบันถาหากเราไมไดตรัสรูเปนพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณคือเปนพระ พุทธเจาแลว ในครั้งนี้แมหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก จะหลุดลุยเปอยผุพังไปจากกันก็ตามที เลือดจะ เหือดแหงไปก็ตามเถิด หากถาเราไมไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาในการนั่งครั้งนี้แลว จะไมลุกจากที่นั่ง นี้เลยเปนเด็ดขาด แพแลวตายเสียดีกวาเปนอยูไมดีเลยดังนี้ พระองคไดตั้งพระหฤทัยหนักแนน เหมือนแผนดิน ไมหวั่นไหวตอทุกขเวทนา หรือตอ มรณภัย คือความตาย ตั้งจิตใหกลาหาญ แลวพระองคไดยอนระลึกถึงเรื่องอดีต ที่ครั้งเมื่อพระองค ยังทรงพระเยาวคือยังเปนเด็กอยูสมัยนั้นพระบิดาและพระญาติทั้งหลายพาพระองคไปแรกนาขวัญ คือแรกนาใหม เลนนักขัตฤกษ ณ ที่ทุงนา แลววางพระองคไวผูเดียวที่รมหวาสีชมพู พระบิดาและ พระญาติทั้งหลายไดพากันไปเลนนักขัตฤกษที่ทุงนาอยางสนุกสนานจนลืมพระองค ลืมเวลา ปลอย ใหพระองคอยูผูเดียวที่รมหวาสีชมพู ในขณะนั้นพระองคไดนั่งขัดบัลลังกสมาธิ ตั้งกายใหตรง ดํารง สติไวเฉพาะหนาคือใจ แลวพระองคมีสติมากําหนดลมหายใจเขาออกคือมีสติใหรู จิตของทานอยูกับ ลมหายใจเขาออกทุกประโยค ขอนี้ขอเปรียบเทียบเพื่อใหเขาใจงาย จิตมนุษยเปรียบเหมือนกับสัตวคือ ลิง สติเปรียบ เหมือนกับเชือก ลมเปรียบเหมือนหลักหรือตอไม อันลิงเปนสัตวที่คะนอง ไมอยูสงบได ตองการ อยากจะใหลิงอยูกับที่หรืออยูสงบ ตองเอาเชือกผูกคอลิง แลวผูกใสหลักใสตอไว แมลิงนั้นจะดิ้นรน กระเสือกกระสนไปสักเทาไรๆ ถาเชือกไมขาด หลักไมถอน ลิงนั้นก็ไปไมได อันนี้แหละฉันใด ลม หายใจเขาออกเปรียบเหมือนหลักที่ปกไว สติเหมือนเชือกผูกอยู จิตที่ซุกซนคะนองก็ไปไหนไมได เหมือนลิงที่ถูกเชือกผูกอยูกับหลักฉันนั้น พระองคเอาสติควบคุมจิต มิใหจิตฟุงซานเตร็ดเตรไปจากลมหายใจ เอาสติควบคุมจิต ประคับประคองจิตใหอยูกับลมหายใจ ลมหายใจเขาออก….ยาว….สั้น….หยาย….ละเอียด ก็มีสติรู จิต อยูกับลมหายใจทุกประโยค ในสมัยนั้นจิตของทานก็คอยสงบไปตามลําดับ…ลําดับ เพราะสติมีกําลัง กวาจิต ควบคุมจิต ประคับประคองจิตอยู มิไดพลั้งเผลอ ผลที่สุดจิตของทานก็ลงถึงอัปปนาจิต หรือ อัปปนาสมาธิ หรือฐีติจิต คือจิตที่ดั้งเดิม ลงไปพักอยูเฉพาะจิตลวนๆ ไมมีอารมณอะไรเจือปน แม ทุกขเวทนา ความเจ็บปวดรวดราว ไมมีเขาไปเสียดแทงในจิต ประเภทนั้น เพราะจิตประเภทนั้นเปน จิตที่ละเอียดสุขุมมาก….เลยเวทนาไปแลว ละเอียดกวาเวทนา ละเอียดกวาอารมณทั้งหมด พระองค


4

เสวยความสุขในฐีติจิตขณะนั้น อยางสบายๆ เลย ไมมีเวทนาความเจ็บปวด เสียดแทงเขาไปรบกวน จิตประเภทนั้น ในเมื่อพระองคระลึกถึงเรื่องอดีตที่พระองคยังทรงพระเยาวอยู ไดเขาฌานหรือเขาสมาธิใน สมัยนั้น พระองคระลึกไดวาเปนสิ่งที่สบายยิ่งนัก แลวพระองคจึงมาพิจารณาเรื่องนั้นวา วิธีนั้น ชะรอยจะเปนทางตรัสรูกระมัง ดังนี้แลวพระองคจึงเอาวิธีนั้นมาประพฤติปฏิบัติทดสอบดูในคืนวัน นั้น โดยไดอธิษฐานจิตใหมั่น พระองคไดตั้งอิทธิบาททั้งสี่ไวเปนประธานของสังขารทั้งหลาย คือเปนใหญกวาสังขารทั้ง หลาย ไมมีจิตหวั่นไหวตอสังขารธรรม คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ตั้งอิทธิบาททั้งสี่ไว เปนประธานของสังขารทั้งหลาย คือฉันทิทธิบาท มีความพอใจดวยความมีสติปญญา รูจิตของทาน อยูกับลมหายใจทุกประโยค แมลมจะออกยาว เขายาว ออกสั้น เขาสั้น อยางไหนๆ ก็ตาม พระองค ไมไดบังคับลม เปนแตมีสติปญญารูจิตของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยคเทานั้น วิริยิทธิบาท มี ความเพียร ดวยความมีสติ รูจิตของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยค จิตติทธิบาท เอาใจฝกใฝดวย ความมีสติปญญา ใหรูใจของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยค วิมังสิทธิบาท มีสติปญญารูจิตของทาน อยูกับลมหายใจทุกประโยค ดังนี้ เมือ่ สติมีกําลังกวาจิต ควบคุมจิตไดแลว ควบคุมจิตใหอยู จิตนั้น…เมื่อมีสติควบคุมอยู มีกาลั ํ งมากกวา ไมสามารถที่จะเล็ดลอดไปจากสติได ตอแตนั้นจิตของทานก็คอยสงบไปตาม ลําดับ…ลําดับ ความสุขก็ปรากฏขึ้นตามลําดับ…ลําดับ แหงความสงบของจิต ลมก็ละเอียดเขาไป ตามลําดับ…ลําดับ แหงความสงบของจิต ผลที่สุดจิตของทานก็รวมใหญ ลงถึงฐีติจิต หรืออัปป นาจิต หรือ อัปปนาสมาธิเขาไปรวมอยูเฉพาะจิตลวนๆ ไมมีนิมิตอารมณอะไรเจือปน เวทนา ความเจ็บปวดรวดราวไมมีเขาไปเสียดแทงในจิตประเภทนั้น เพราะจิตประเภทนั้นเปนจิตที่ ละเอียดสุขุมมาก เลยเวทนาไปแลว ไมมีเวทนาเขาไปรบกวนจิตประเภทนั้น แมแตภายใน อารมณของจิตก็ไมมี จิตเขาไปรวมเลื่อมประภัสสรอยูอยางนั้น ตอนนี้พระองคก็มีสติทุกระยะไม ขาดสติปญญา รอบรูอยูวา จิตของเรามารวมมาพักอยูอยางนี้ และพระองคก็พิจารณาตรวจตรา ดูในจิตประเภทนี้ วา จิตของเราที่มารวมอยูนี้ เปนแตมาพักอยู ไมใชทางตรัสรู ไมใชทางพนทุกข พระองคทําความรอบรูในจิตที่รวมอยู ไมรบกวนจิต ไมถอนจิต เปนแตมีสติรอบรูอยูเทานั้น เมื่อจิต ของทานรวมพอประมาณ จิตของทานก็พลิกจากการรวมพลิกขณะขึ้นมาบางนิดหนอย จะวามาอยูใน ขั้น อุปจารสมาธิ ก็วา เมื่อจิตของทานพลิกขณะจากการรวมขึ้นมา….แมจะนิดหนอยเทานั้นก็ตาม…. แตสติปญญาของทานบริบูรณ ไมบกพรอง รอบรูอยูกับจิต กํากับอยูกับจิต ควบคุมอยูกับจิต ตอนนี้เมื่อจิตของทานถอนขึ้นมาจากฐีติจิตบางเล็กนอยแลว ทานก็ไดญาณที่หนึ่ง เรียกวา ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ รูจักการระลึกถึงชาติหนาหนหลังได ตั้งแตหนึ่งชาติจนถึงอเนกชาติ หา ประมาณมิได ในการทองเที่ยวเกิดแกเจ็บตายของพระองคและสัตวอื่นไมมีประมาณ นี้เปนตอน ปฐมยาม ยามตน ยามแรก ความรูระลึกชาติหนหลังไดนี้หาประมาณมิไดในชาติของพระองคและ สัตวอื่น ที่ทองเที่ยวเกิดแกเจ็บตายในกําเนิน ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ ในวิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป แมจะเกิดในนรก เปนเปรต อสุรกาย สัตว เดรัจฉาน และมนุษย พวกเทพเจาเหลาอทิสสมานกายก็ตาม พระองคก็รู ในญาณชนิดนี้ เรื่องอดีต ชาติหนหลังที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ไมมีที่สิ้นสุด หาประมาณมิได นี้แสดงวา พระองครูหมด ทั้งนรกและสวรรคที่พระองคทองเที่ยง เกิด แก เจ็บ ตาย ไดผานมา และพระองคก็ตรวจตราดูญาณ ประเภทนี้ ที่ระลึกชาติหนหลังไดนี้ วาไมใชความรูหรือญาณความรูเปนเหตุใหตรัสรูเพื่อความพน


5

ทุกขไปได เปนแตรูตามอาการของสังขารที่เทียว เกิด แก เจ็บ ตาย ในเรื่องอดีตเทานั้น หาตนหา ปลายมิได ญาณความรูประเภทนี้ไมใชความรูเพื่อเปนเหตุใหตรัสรูพนไปจากทุกขได เมื่อพระองคไดญาณระลึกชาติหนหลังไดของพระองคและสัตวอื่นที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด เรื่องอดีตชาติหนหลัง เปนเหตุใหพระองคไดเกิดความสลด รันทด ทอดถอนใจใหญ เกิดความสังเวชใจ จนเปนเหตุให นํ้าพระเนตรคือนํ้าตาของทานไหลออกที เดียว เพราะเกิดความสลดสังเวช สงสารชาติของตน และของสัตวอื่นที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป ในเรื่องอดีตชาติหลังๆ ไมมีที่สิ้นสุด และเกิดความกลัวสยดสยองขอพองสยอง เกลาในการเกิด แก เจ็บ ตาย ในเรื่องอดีต เทากับวาพระองคไดเห็นขุมนรกที่พระองคไดตกหมก ไหมมาแลว ผานมาแลวเกิดความเกรง ความกลัว เกิดความเบื่อหนายในชาติ คือความเกิด ใน กําเนิด ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป ในเรื่องอดีต หนหลังชาติหลังพิจารณาไปก็ไมมีที่สิ้นสุด แลวพระองคก็ตรวจตราดูวาความรูคือญาณประเภทนี้ก็ ไมใชทางตรัสรูใหพนทุกขได ตอจากนั้นพระองคจึงนอมเขามา โอปนยิโก นอมเขามา พิจารณาสา วหาเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย วาสัตวทั้งหลายที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ในเรื่องอดีตก็ดี อนาคต และปจจุบันนี้ก็ดี ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปนั้น ตองมีเหตุมีปจจัย ถาไมมีเหตุไมมีปจจัย สัตวทั้ง หลายจะทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปนั้น ยอมเปนไปไมได พระองคคนหาตัว เหตุ ตัวปจจัย ที่ใหสัตวทั้งหลายทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย เมื่อพระองคพิจารณาคนควาดูก็รู ตัว เหตุตัวปจจัยนี้คือกัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ ไดแกตัวสมุทัย คือตัณหาความอยากนี้นี่เอง เปนตัวเหตุตัว ปจจัยใหสัตวทั้งหลายทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ไมมีที่สิ้นสุด แทจริงสัตวทั้งหลายที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ในกําเนิด ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณ ฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกข อยูรํ่าไปนั้น ก็ไดแกขันธ ๕ คือรูปนามนี้นี่เอง ทองเที่ยว เกิดแลวเกิดเลา แมจะไปตกนรกเปน เปรต เปนผี เปนอสุรกาย เปนมนุษย เปนพวกเทวบุตร เทวดา เปนพระอินทร พระพรหม เปนพระ อิศวร พระนารายณ ทาวมหาพรหมก็ดี ก็รูปนามนี้เอง มิใชอื่น คือรูปนามขันธ ๕ นี้เองเปนสัตวทั้ง หลาย แตรูปนามคือขันธ ๕ นี้ที่จะทองเที่ยวเกิดแลวเกิดเลาในคติในภพในกําเนิดตางๆ นั้น ก็ เพราะอาศัยตัวเหตุตัวปจจัยคือกัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ ไดแกตัวสมุทัยคือตัณหานี้ ตัวสมุทัยคือ ตัณหาความอยากนี้นี่แหละ เปนตัวเหตุใหเกิดภพอีก ทานจึงชี้หนาตาตัวตัณหา และจี้ตัวตัณหาวา ยายํ ตณฺหา ตัณหาคือความอยากนี้ใด โปโนพฺภวิกา เปนเหตุใหเกิดภพอีก คือใหเกิดในกําเนิด ๔ ใน คติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ เพราะเหตุแหงตัณหาคือความอยาก นี้ นนฺทิ คือความยินดี ราค คือความกําหนัด ตตฺรตตฺรา ภินนฺทินี คือความเพลิดเพลิน ลุมหลงฟุง เฟอ เหอเหิม ตามความรักตามความกําหนัด ตามความยินดีที่มีอยู กลาวคือความอยากใน กามารมณ ความรัก ความใคร ความพอใจ ในกามารมณที่มากระทบทางตา ทางหู ทางจมูก ทาง ลิ้น ทางกายและทางใจ ความทะเยอทะยานอยากเปนโนนเปนนี่ใหยิ่งๆ ขึ้นไป สุดแทแตตนมี ความอยากอยางไหน ก็มีความทะเยอทะยานไปตามความอยากของตนที่มีอยู วิภวตณฺหา คือความ ไมอยากมี ไมอยากเปนในสิ่งที่ตนไมชอบไมพอใจ เชน มีลาภ ไมอยากใหเสื่อมลาภ มียศไมอยากให เสื่อมยศ มีสรรเสริญไมอยากใหมีนินทา มีสุขไมอยากใหมีทุกข มีความเกิดมาแลวไมอยากใหมีแก มี เจ็บ มีตาย เหลานี้เปนตน ตัณหาคือความอยากนี้แล เปนตัวเหตุตัวปจจัยใหสัตวทั้งหลายทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด ความไมรูตัวนี้ คือ ความไมรู ตัวเหตุตัวปจจัยนี้ทานก็เรียกวา อวิชชา เปนผูหลง เมื่อเปนผูหลงไมรูตัวเหตุตัวปจจัย มันจึงเปน ปจจยาการ เปนอาการที่สืบเนื่อง


6

แหงวัฏฏะ เปนอาการสืบเนื่องแหงทุกขทั้งหลาย เปนอาการที่ประมวลมาซึ่งทุกขทั้งหลาย เปน อาการที่ประมวลมาสืบเนื่องใหเทียวเกิด แก เจ็บ ตาย ในกําเนิด ๔ คติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณฐี ติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด นี้พระองครูดวยพระปรีชาปญญาอันละเอียด อยางนี้ในปฐมยาม สรุปในปฐมยามนั้นพระองครู อริยสัจ ๔ คือ รูทุกข รูเหตุใหเกิดทุกข รูธรรมเปนที่ดับทุกข รู ขอปฏิบัติใหถึงธรรมเปนที่ดับทุกข และพิจารณาเหตุปจจัยอันเปนตัวเหตุเปนธรรมเปนเหตุใหเกิด ทุกข ก็ไมมีที่สิ้นสุด เปนของที่นาพิลึกพึงกลัวยิ่งนัก นี้ในปฐมยาม ยางเขาสูมัชฌิมยาม คือ ยามกลาง พระองคก็มีสติควบคุมจิต นอมเขามาพิจารณาลมหายใจ เหมือนเดิม ไมทิ้งหลักเดิม ไดตั้งอิทธิบาททั้ง ๔ ไวเปนประธานของสังขารทั้งหลาย คือฉันทิทธิบาท มีความพอใจดวยความมีสติปญญา รูใจของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยค วิริยิทธิบาท มีความ เพียร ดวยความมีสติปญญารูใจของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยค จิตติทธิบาท เอาใจฝกใฝดวย ความมีสติปญญา รูจิตของทานอยูกับลมหายใจทุกประโยค วิมังสิทธิบาท มีสติปญญาหมั่นคนควา พินิจพิจารณาใหรูทุกข รูเหตุใหเกิดทุกข รูธรรมเปนที่ดับทุกข รูขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับ ทุกขอยูกับลมหายใจทุกประโยค เมื่อสติทันจิต ควบคุมจิตใหอยู มีกําลังกวาจิต จิตของทานก็คอย สงบไปตามลําดับ…ลําดับ ความสุขก็ปรากฏขึ้นตามลําดับ…ลําดับ แหงความสงบ ผลที่สุดจิตของทาน ก็ลงถึงฐีติจิตเหมือนเดิม ที่เคยรวมรูรวมมา เขาไปพักอยูเฉพาะจิตลวนๆ ไมมีอารมณอะไรเจือปน และไมมีเวทนาความเจ็บปวดเสียดแทงเขาไปรบกวนจิตประเภทนั้น เพราะจิตประเภทนั้น เปนจิตที่ วาละเอียด สุขุม วางธาตุวางขันธได ความสุขในฐีติจิตนั้นประมาณไมได เปนความสุขที่หาประมาณ ไมได เปนความสุขที่วาละเอียดยิ่งนัก ผูเขาถึงฐีติจิตแลว จึงจะรูรสความสุขแหงฐีติจิตนั้นวาเปนอยาง ไร แตผูไมเขาถึงแลวหารูไดไม เมื่อจิตของทานรวมลงถึงฐีติจิต จิตดั้งเดิมแลว ซึ่งเขาไปพักอยูเฉพาะ จิตลวนๆ ทานก็มีสติปญญารอบรูจิตของทานอยู วาจิตของเรามารวมพักเอากําลังเทานั้น ไมใชเปน สิ่งที่ใหพนทุกข พระองคไมรบกวนจิต เปนแตมีสติปญญารอบรูจิตที่รวมอยูและไมถอนจิต ปลอยให จิตถอนเอง ตามที่เปนมา เมื่อจิตของทานรวมพอประมาณแลว ตอแตนั้นในมัชฌิมยาม คือยามกลางนี้จิตของทานก็ พลิกขณะ คือถอนจากการรวม แตสติปญญาของทานบริบูรณไมบกพรอง เมื่อจิตของทานถอนจาก การรวมขึ้นมาบางเล็กนอย ตอนนี้พระองคไดญาณที่สองเรียกวา จุตูปปาตญาณ คือ รูจักการจุติแปร ผันของสัตวอื่นได ไมมีประมาณวาสัตวนี้ตายจากที่นี้ไปเกิดที่นั้น และไปเกิดเปนอยางนั้น มีสุขมีทุกข อยางนั้น จะไปตกนรกหรือเปนเปรต เปนอสุรกาย เปนสัตวเดรัจฉาน หรือเปนมนุษย เปนพวกเทว บุตร เทวดา เปนอินทร เปนพรหม เปนยมยักษ เปนครุฑ เปนนาค พระองคก็รูได มีฐานะอยางนั้น ดีชั่วอยางนั้น มีรูปพรรณสัณฐานอยางนั้น อาการอยางนั้น อายุอยางนั้น นี่จุตูปปาตญาณ พระองครู จักการจุติแปรผันของสัตววา สัตวทั้งหลายตายแลวก็ตองเกิดอีก และการจุติแปรผันตายๆ เกิดๆ ของสัตวไมมีที่สิ้นสุด หาที่หยุดที่ยั้งไมได หาตนหาปลายไมได และพระองคก็มาพิจารณาวา อะไร เปนตัวเหตุตัวปจจัยใหสัตวทั้งหลาย เทียวจุติ แปรผัน เกิด แก เจ็บ ตาย ไมแลวไมเลา การที่ สัตวทั้งหลายจะทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป ก็ตองมีเหตุมีปจจัยทีเดียว จะเกิด โดยลําพังหรือลอยๆ โดยลําพังดวยตนเองยอมเปนไมได ตองมีเหตุมีปจจัย ใหเกิด ใหแก ใหเจ็บ ใหตาย คือ ใหทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ในเรื่องอนาคตขางหนาตอไป ในกําเนิด ๔ ในคติ ๕ ใน ภพทั้ง ๓ ในวิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมแลวไมรอด ตองมีเหตุมีปจจัย พระองคก็มาพิจารณาคนหาตัวเหตุตัวปจจัยอีกเหมือนเดิม รูตัวเหตุตัวปจจัย


7

เชนปฐมยาม พระองคไดตั้งอิทธิบาททั้งสี่ไวเปน ประธานของสังขาร คือฉันทิทธิบาท มีความพอใจ ดวยความมีสติปญญา กําหนดรูดูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย คือ ใหรูเหตุและปจจัยของธรรม ทั้งหลายอยูกับลมหายใจทุกประโยค มีวิริยิทธิบาท มีความเพียรดวยความมีสติปญญา กําหนดใหรูดู เหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย สาวหาเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย ใหรูเหตุและปจจัยของ ธรรมทั้งหลาย อยูกับลมหายใจทุกประโยค จิตติทธิบาท เอาใจฝกใฝดวยความมีสติปญญา กําหนด ใหรูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย อยูกับลมหายใจทุกประโยค วิมังสิทธิบาท หมั่นคนควาพินิจ พิจารณาดวยความมีสติปญญา ใหรูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายอยูกับลมหายใจทุกประโยค หมั่นคนควาพินิจพิจารณาดวยความมีสติปญญา ใหรูในสัจธรรมทั้ง ๔ คือ ใหรูวานี่ทุกข คือความ เกิด แก เจ็บ ตาย เปนทุกข เปนตน ใหรูวานี่เหตุใหเกิดทุกข คือตัวเหตุตัวปจจัย ไดแกตัวสมุทัย คือ ตัณหาซึ่งเปนตัวเหตุตัวปจจัยใหเกิดทุกขรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด คนหาพินิจพิจารณาดวยความมีสติ ปญญาวาอันนี้คือธรรมเปนที่ดับทุกขคนควา พินิจพิจารณาใหรู ใหเห็นวา นี้คือขอปฏิบัติให ถึงธรรม อันเปนที่ดับทุกข ดังนี้ ตกลงวาในคืนวันนั้นตั้งแตปฐมยาม คือยามตนจนตลอดถึงมัชฌิมยาม คือยามกลาง พระ องคไดคนดูใหรู อริยสัจสี่ คือทุกข เหตุใหเกิดทุกข ธรรมเปนที่ดับทุกข ขอปฏิบัติใหถึงธรรมเปนที่ ดับทุกข อยางเต็มภูมิ อยางเต็มที่ และพระองคพิจารณากําหนดรูวา อันสัตวทั้งหลายที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ไมรู ไมแลว ไมสิ้น ไมสุด ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปนั้น ก็เพราะเหตุและปจจัยคือตัว กัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ ไดแกตัวสมุทัย คือ ตัณหาความอยากนี้นี่เอง เปนตัวเหตุตัวปจจัย เปนตัว กระแสพัด สัตวทั้งหลายใหเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ตัวสมุทัย คือตัณหานี้เปนกระแสของ ภวังค คือ ภพ พัดสัตวทั้งหลายใหเกิดอยูใน กามภพ รูปภพ อรูปภพ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด นี่ถา หากไมตัดเสียซึ่งกระแสของภวังคคือ ภพ ถาไมทํา กระแสของภวังคคือ ภพตัณหานี้ใหสิ้นไป ถาไม ดับตัณหานี้โดยไมใหเหลือนั้นนั่นเทียว ถาไมละไมวางไมปลอย ไมสละสลัดตัดขาดจากตัณหานี้แลว เมื่อใด ทุกขทั้งหลาย คือ ความเกิด แก เจ็บ ตาย ในกําเนิด ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ก็ไมหยุดไมยั้ง เพราะเหตุแหงกระแสตัวนี้ ซึ่งเปนตัวเหตุตัวปจจัยใหสัตวทั้งหลาย ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ไดแกตัณหา คือความอยากนี้เปนกระแสพัดสัตวทั้งหลายใหเกิด แก เจ็บ ตาย อยูในโลก ไมมีที่สิ้นสุด ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป นี่พระองครูในยามกลาง ถาหากยังมีเหตุมี ปจจัยอยูตราบใด การที่ทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ในกําเนิด ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ในวิญญาณ ฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปของสัตวทั้งหลาย ก็ตองมีอยูตราบนั้นไมมีที่สิ้นสุด เปน ปจจยาการ เปนอาการสืบเนื่องแหงภพแหงชาติไมมีที่สิ้นสุด หมุนกันอยูอยางนี้อยูในรอบเกา จึง เรียกวาโลกกลม เปนวัฏวน เปนวัฏจักร หรือเปนสังสารจักร สังสารจักรก็คือตัวเหตุตัวปจจัย ตัว สมุทัย คือตัณหานี่แล ความไมรูตัวนี้ วาเปนเหตุใหเกิดทุกข ทานก็เรียกวา อวิชชา เปนผูหลงจึงเปน ปจจยากร เปนอาการสืบเนื่องตอๆ ไป ดังทานแสดงวา อวิชชาเปนปจจัยใหเกิดสังขาร สังขานเปน ปจจัยใหเกิดวิญญาณ คือปฏิสนธิวิญญาณที่จะตองถือเอากําเนิด ๔ ในคติ ๕ ในภพทั้ง ๓ ใน วิญญาณฐีติ ๗ ในสัตตาวาส ๙ นั้นเอง วิญญาณเปนเหตุเปนปจจัยใหเกิดนามและรูป คือ ขันธ ๕ นามรูปเปนเหตุเปนปจจัยใหเกิดอายตนะ ภายในและภายนอก ภายในคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และ ใจ ภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส เครื่องสัมผัส คือสิ่งที่มาถูกตอง อายตนะเปนปจจัยใหเกิดผัสสะ คือสิ่งที่มาถูกตอง ผัสสะเปนปจจัยใหเกิด เวทนา คือความเสวย ไดแก สุข ทุกข ไมสุขไมทุกข เวทนาเปนปจจัยใหเกิดตัณหา คือความอยาก ความดิ้นรน ตัณหาเปนปจจัยใหเกิดอุปาทาน คือ ความยึดมั่นถือมั่น วานั้นเปนเรา วาเราเปนนั่น เปนนี่ วานั้นเปนตนของเรา อุปาทานเปนปจจัยให


8

เกิดภพ คือความหยั่งลงถือเอา คือ ถือเอาในคติ ตางๆ ในกําเนิดตางๆ ในภพตางๆ นั้นนั่นเอง ภพเปนปจจัยใหเกิดชาติ คือ ความปรากฏขึ้นซึ่งรูปและนามคือ ขันธ ๕ ชาติเปนปจจัยใหเกิดชรา ความแก พยาธิ ความเจ็บ มรณะ ความตาย ความโศก ความเศรา ความทุกขกาย ทุกขใจ ความเสีย ใจ ความคับแคนใจ ทุกขทั้งหลายยอมเกิดขึ้นดวยประการอยางนี้ ซึ่งมี อวิชชา เปนตนเหตุที่ไมรูจริง จึงเปนปจจ ยากร ประมวลมาซึ่งทุกขทั้งหลาย กําเนิดและภพทั้งหลาย เปนอาการที่สืบเนื่องกันไมมีที่สิ้นสุด เหมือนลูกโซนี้ ถาไมรู แตถารูตัวเหตุ ตัวปจจัย คือตัวสมุทัย ตัณหา คือ ความอยากนี้วาเปนตัวเหตุ ตัวปจจัยแลว ก็เปน วิชชา ความรูแจงเห็นจริงแลว ก็ตัดอวิชชาความมืดออกไดเทานั้น แสงสวาง คือ ปญญา ก็เกิดขึ้นเทานั้นเอง นั่น…ดับเสียไดซึ่งตัวเหตุตัวปจจัย เพราะวิชชาเกิดขึ้นแลว อวิชชาก็ดับ ไป ดังนี้ นี้เปนมัชฌิมยาม ยามกลาง คนควาใน ปฏิจฺจสมุปบาท คือ ปจจยาการ มิฉะนั้นก็ไมมีที่สิ้น สุด นอกจากจะดับจะละจะวางเทานั้นซึ่งตัวเหตุตัวปจจัย อันเปนธรรมใหหมุนติ้วอยูในวัฏสงสาร นี้ เปนยามกลาง เมื่อยางเขามัชฌิมยาม คือยามสุดทาย พระองคก็มีสตินอมเขามาพิจารณาลมหายใจเขาออก เชนเดิม ไดตั้งอิทธิบาททั้งสี่ไวเปนประธานของสังขาร คือฉันทิทธิบาท มีความพอใจดวยความมีสติ ปญญา หยั่งรูหยั่งเห็นอริยสัจธรรมทั้งสี่คือ ทุกข เหตุใหเกิดทุกข ธรรมเปนที่ดับทุกข ขอปฏิบัติใหถึง ธรรมเปนที่ดับทุกข อยูกับลมหายใจทุกประโยค วิริยิทธิบาท มีความเพียรดวยความมีสติปญญา หยั่งรูหยั่งเห็น ทุกข เหตุใหเกิดทุกข ธรรมเปนที่ดับทุกข ขอปฏิบัติใหถึงธรรมเปนที่ดับทุกข อยูกับ ลมหายใจทุกประโยค จิตติทธิบาท เอาใจฝกใฝดวยความมีสติปญญา หยั่งรูหยั่งเห็น ทุกข เหตุให เกิดทุกข ธรรมเปนที่ดับทุกขขอปฏิบัติใหถึงธรรมเปนที่ดับทุกขอยูกับลมหายใจทุกประโยค วิมังสิทธิ บาท มีสติปญญาหมั่นคนควาพินิจพิจารณาให รูทุกข รูเหตุใหเกิดทุกข รูธรรมเปนที่ดับทุกข รูขอปฎิ บัติใหถึงธรรมเปนที่ดับทุกข อยูกับลมหายใจทุกประโยค มิใหพลั้งเผลอ สติปญญาของพระองค บริบูรณเต็มที่ไมบกพรองตลอดเวลาเปน อกาลิโก มีสติควบคุมจิต มีปญญารอบรูจิต อยูกับลม หายใจทุกประโยค มิใหพลั้งเผลอ แมยามสุดทายนี้จิตของทานก็รวมลงสูฐีติจิตเหมือนเกาที่เคยรวม มา พระองคก็มีสติปญญารอบรูจิตวาจิตของเรามาพักอยู ไมรบกวนจิต เมื่อจิตรวมพอประมาณจิต นั้นก็พลิกขณะ คือถอนจากฐีติจิตขึ้นมาบางเล็กนอย ตอนนี้ทานวารวมทวนกระแสของภวังคคือ ตัด ภพ ตัดกระแสของภพ ตัดกระแสของภวังคเพราะญาณตางๆ พระองคไดผานมาแลว และทดสอบ ตรวจดูแลววาไมใชทางตรัสรูใหพนทุกขไปได จึงวายามสุดทายนี้เมื่อจิตของ พระองครวมลงแลว ถอนขึ้นมานี้ พระองคทวนกระแสตัดกระแสของภวังค คือภพ ไดแกตัวเหตุตัวปจจัยนี้เอง เปนตัว กระแสของภวังค คือ ภพคือตัวสมุทัย ตัณหา ความอยากนี้นี่แล ความไมรูตัวนี้ทานก็เรียกวาเปน อวิชชา ทานจึงมาทําตัวเหตุตัวปจจัยซึ่งเปนตัวกระแสของภวังคคือ ภพ ใหสิ้นไป ดับตัวเหตุตัวปจจัย นี้ใหหมดไปโดยไมใหเหลือนั่นเทียว ละวางปลอยสละสลัดตัดขาดจากตัวเหตุตัวปจจัยซึ่งเปนตัว กระแสของภวังคคือ ภพนี้โดยไมใหเหลือนั้นนั่นเทียว ไปจากใจของทาน เมื่อทานไดตักกระแสของ ภวังค คือภพ ขาดแลว ตอแตนั้นจึงวาปญญาอันรูเห็นตามความเปนจริงแลว อยางไรในอริยสัจธรรม ทั้งสี่ของเรา ซึ่งมีรอบสาม มีอาการสิบสองอยางนี้ หมดจดดีแลวเพียงนั้น เมื่อนั้นเราจึงไดยืนยันตน วาเปนผูตรัสรูพรอมเฉพาะซึ่งปญญา ตรัสรูชอบ ไมมีความตรัสรูอื่นที่ยิ่งไปกวาปญญา ในโลกสาม เปนไปกับดวยเทพดา มาร พรหม ทั้งหมูมนุษย สมณพราหมณ เทพดา มนุษย เพียงนั้น ก็แลปญญา อันรูเห็นตามเปนจริงแลวอยางนี้ ไดเกิดขึ้นแลวแกเรา วาความพนพิเศษของเราไมกลับกําเริบ ชาตินี้ เปนที่สุดแลว บัดนี้เราไมมีภพอีก เพราะเราไดตัดกระแสของภวังค คือภพ ขาดแลว ตัวเหตุตัวปจจัย


9

ไมมีแลว ดังนี้จึงไดบัญญัติวา อาสวักขยญาณ คือพระองครูจักทําความสิ้นไปจากอาสวะ และรู จักวาอาสวะของเราไดสิ้นไปแลว เราไดสิ้นไปแลวจากอาสวะทั้งหลาย คือ กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชา สวะ ทิฏฐิสวะ เหลานี้เปนตน ไมมีแลว กามาสวะ พระองคไมมีความหลงใหลใฝฝนฟุงเฟอเหอเหิม ไปตามกามารมณทั้งหลาย ภวาสวะ คือภพไดแกกําเนิด ๔ คติ ๕ ภพทั้ง ๓ วิญญาณฐีติ ๗ สัตตาวาส ๙ อวิชชาสวะ ไดแก อวิชชาคือความรูไมแจง ความรูไมจริง ทิฏฐิสวะ ความรู ความเห็นผิด นี้เรียกวา อาสวะ เปนสวนที่ละเอียดลึกมาก นี้ พระองครูจักทําความสิ้นไปจากอาสวะ และรูจักความสิ้นไป จากอาสวะแลวจากใจของทาน เมื่อพระองคทําอาสวะ ซึ่งเปนตัวเหตุตัวปจจัย สวนละเอียดนี้ใหสิ้น ไปใหดับไปโดยไมใหเหลือนั้นนั่นเทียว นั่นแหละ พระองคจึงไดชื่อวาเปนผูสิ้นไปแลวจากอาสวะทั้ง หลาย ไมยึดมั่นถือมั่นดวยอุปาทาน เปนผูเสร็จกิจ จบพรหมจรรย ไมมีกิจที่จะตองทําตอไปอีก ดังนี้ คือเปนผูเสร็จกิจในการละการวาง ในการประหารกิเลส ไมมีกิเลส อาสวะที่ตองประหารหรือละ วางอีก จึงเปนผูเสร็จกิจ ดังนี้ ที่เหลืออยูก็ยังแตกริยากิจหรือปฏิปทากิจ ทางดําเนินตามปฏิปทา อริยมรรค เพื่อความเหมาะสม และดีงามเทานั้น เหมือนกับวาบุคคลผูสรางทางสําเร็จแลว ก็ไมได สรางอีก ไมไดทําอีก มีแตการเดินตามหนทางที่ตนสรางแลวเทานั้น นี้เมื่อยังมีชีวิตอยูในปจจุบัน แต สวนการละการวาง การถอนกิเลส การประหารกิเลส การดับกิเลสนั้นไมมีอีกแลว เพราะทานไดถอน ละวางและดับหมดแลว จึงวาเปนผูเสร็จกิจ ไมมีกิจที่ตองทํา ที่เหลืออยูในปจจุบันที่มีชีวิตก็มีแต กริยากิจ ปฏิปทากิจ ที่จะตองดําเนินเพื่อความเหมาะสมในปฏิปทา ในอริยมรรคเทานั้นนั่นเอง ลําดับตอไปพระองคก็ตรวจตราทวนกระแสดูใน ปฏิจฺจสมุปบาท ปจจยาการ วา เมื่ออวิชชา ดับ สังขารก็ดับ สังขารดับ วิญญาณก็ดับ วิญญาณดับ นามรูปก็ดับ นามรูปดับ อายตนะก็ดับ อายนตนะดับ ผัสสะก็ดับ ผัสสะดับ เวทนาก็ดับ เวทนาดับ ตัณหาก็ดับ ตัณหาดับ อุปาทานก็ดับ อุปาทานดับ ภพก็ดับ ภพดับ ชาติก็ดับ ชาติดับ ความแก ความเจ็บ ความตาย ความโศก ความเศรา ความรองไห รําพึง รําพัน ความทุกขกาย ความทุกขใจ ความเสียใจ ความคับแคนใจ ก็ดับไปตามๆ กัน ดังนี้ และพระองคก็ทวนหวนกลับอีกวา ชาติดับ ความแก ความเจ็บ ความตายก็ดับ เพราะชาติ ดับ ภพก็ดับ อุปาทานก็ดับ อุปาทานดับ ตัณหาก็ดับ ตัณหาดับ เวทนาก็ดับ เวทนาดับ ผัสสะก็ดับ ผัสสะดับ อายตนะก็ดับ อายตนะดับ นามรูปก็ดับ นามรูปดับ วิญญาณก็ดับ วิญญาณดับ สังขารก็ดับ สังขารดับ อวิชชาก็ดับ อวิชชาดับ แลวสิ่งทั้งหมดก็ดับไปตามๆ กัน เทานั้น คนดูในปจจยาการ ปฏิจจสมุปบาท อยางละเอียดลออเต็มภูมิสติปญญาของ พระองคไมมีความสงสัยเลย นี่แหละพระองคไดทําตัณหานี้แลใหสิ้นไป จึงได อาสวักขยญาณ รูความสิ้นไปจากอาสวะทั้ง หลาย ไดตรัสรูเปนพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ คือ เปนพระพุทธเจาเกิดขึ้นในโลก ในวันเพ็ญ เดือนหกดังนี้แหละ หลังจากการตรัสรูใหม ๆ พระองคไดเยาะเยยตัณหาในพระหฤทัย คือในใจของพระองคเอง วา ดูกรนายชางเรือน คือตัณหา เมื่อกอนเรายังคนตัวของทานไมพบ จับตัวของทานไมได ไมรู ไม เห็นตัวของทาน เพราะตัวของทานมีมายามาก และมีอวิชชา ปกปดไว มิใหเห็น ทานก็พาเราเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ไปในภพนอยภพใหญ ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป บัดนี้ เราไดจับตัวของทานไดแลว ไดรู เห็นตัวของทานแลว เราจะฟาดฟนทานดวยดาบเพชร คือพระวิปสสนาปญญาของเรา ทานจะไมได กอเรือนรังคือภพชาติอีกตอไป ปราสาทของทานเราก็ไดทําลายแลว ยอดปราสาทของทาน เราก็ได ทําลายแลว ปราสาทนั้น คือจักษุประสาทไดแกตา โสตประสาทไดแกหู ฆานประสาทไดแกจมูก ชิวหาประสาทไดแกลิ้น กายประสาทไดแกกาย มนะประสาทไดแกใจ เราไดทําลายแลว คือเราไดยก ขึ้นพิจารณาใหเห็นเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา คือเปนของมิใชตน มิใชของตน มิใชของ


10

แหงตนแลว ยอดปราสาทคือตัวเหตุตัวปจจัย ซึ่ง ตัวสมุทัยคือตัณหาความอยากนี้ ซึ่งมีอวิชชาปก ปดไวไมใหรูใหเห็นใหเราหลงงมงาย เกิด แก เจ็บ ตาย อยูยอดปราสาทของทานคือ อวิชชาตัณหานี้ เราไดทําลายดวยดาบเพชร คือ พระวิปสสนาของเราแลว คือ ปญญาของเราแลวขาดสะบั้นลงไปแลว ไมมีสะพานเชื่อมตอ ไมเปนปจจยาการ อาการสืบเนื่องแหงทุกข ทั้งหมดแหงภพทั้งหลายอีกแลว ดัง นี้ ทานจะไมไดพาเราเที่ยวกระเซอะกระเซิง เกิด แก เจ็บ ตาย ในภพนอย ภพใหญ ใหเปนทุกขอยู รํ่าไปอีกแลว ดังนี้ และลํ าดับตอไปพระองคก็ไดเปลงพระพุทธอุทานขึ้นดวยพระโอษฐของพระองคเองวา พราหมณผูมีเพียรเพงอยู ดวยความมีสติปญญา ไดตั้งอิทธิบาททั้งสี่ไวเปนประธานของสังขาร คือฉัน ทิทธิบาท มีความพอใจดวยความมีสติปญญา กําหนดรูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายอยางนี้อยู เมื่อพราหมณนั้นวิริยิทธิบาท มีความเพียรดวยความมีสติปญญารูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย อยูกับลมหายใจทุกประโยค จิตติทธิบาท เอาใจฝกใฝดวยความมีสติปญญา ใหรูเหตุและปจจัย ของธรรมทั้งหลายอยูกับลมหายใจทุกประโยค วิมังสิทธิบาท หมั่นคนควาพินิจ พิจารณาดวยความมี สติปญญา รูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายอยูกับลมหายใจทุกประโยค ดังนี้ เมื่อพราหมณนั้นเปน ผูรูเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายแจงชัดแลวดังนี้ พราหมณนั้นยอมทําเหตุและปจจัยทั้งหลายนั้น ใหสิ้นไป ดับเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายโดยไมใหเหลือนั้นนั่นเทียว ละวางปลอยสละสลัดตัด ขาดจากเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลาย ไปจากใจของตนโดยไมใหเหลือนั้นนั่นเทียว เมื่อพราหมณ นั้นทํ าเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายดับเหตุและปจจัยของธรรมทั้งหลายโดยไมใหเหลือนั้นนั่น เทียวไปจากใจของทานแลว พราหมณนั้นยอมเปนผูชนะมารและเสนามาร มารและเสนามารยอมรัง ควานพราหมณนั้นไมได เหมือนลมรังควานภูเขาที่แทงทึบไปดวยหินศิลาใหญๆ ไมได พราหมณนั้น ยอมเปนผูรุงเรืองสองสวางอยู ไมมีกาลไมมีเวลาเปนอกาลิโก ดุจ พระอาทิตยที่อุทัยกําจัด อากาศที่มืดใหสวาง ฉะนั้น นี่พระองคไดเปลงพระอุทาน ในยามสุดทายหลังจากการตรัสรู ใหมๆ นั้น นี่แหละที่ไดแสดงพระประวัติ พระสัมมาสัมพุทธเจาตอนที่พระองคตรัสรูนั้น เมื่อพวกเราได ฟงแลวพึงนอมเขาไปพิจารณาเอาเอง สําหรับปฏิปทาทางภาวนา ในคืนวันที่พระองคตรัสรูนั้น นี่ทาน พระอาจารยใหญมั่น ทานเคยยกแสดงใหศิษยานุศิษย ฟงบอยๆ เพื่อเปนคติแกศิษยานุศิษยตอไป อนึ่ง การปฏิบัติทั้งหลาย นิสัยแตละทานๆ แตละคนๆ วาสนาแตละทาน แตละคนยอมไม เหมือนกัน บางทานบางคนจิตก็รวมงาย บางทานบางคนจิตก็รวมยาก บางทานบางคนจิตไมรวมก็มี เรื่องนี้ยอมเปนไปตามวาสนาบารมีของแตละทานๆ เมื่อผูใดหรือทานใดภาวนาไปจิตไมรวม เดี๋ยว จะเขาใจวาตนภาวนาเปนไปไมไดอยางนี้ อยางนี้อยาเพิ่งเสียใจ เพราะพระอริยสาวก แตกอนบาง องคจิตทานก็รวม บางองคจิตทานก็ไมรวม พอจิตสงบเขาอยูในขั้นอุปจารสมาธิ ทานพิจารณารูเห็น ตามเปนจริงในสัจธรรมแลว ทานก็หลุดพนไปจากอาสวกิเลสได พนทุกขไปได ไมมีความสงสัยเลย ขอยุติการแสดงธรรมแตเพียงนี้


11

ปฐมเทศนาโดยยอ พากันตั้งใจฟงแสวงหาโมกขธรรมเพื่อพนทุกข เลาประวัติของพระพุทธเจาเสียกอน พระ พุทธเจาทานประสูติที่ปา ออกบวชที่ปา ตรัสรูที่ปา ปรินิพพานที่ปา เมื่อ พระพุทธเจาตรัสรู แลว ประกาศธรรมเทศนาแสดงธัมมจักรกัปปวัตนสูตร เปน เทศนาครั้งแรกก็แสดงที่ปาคือปาอิสิป ตนมฤคทายวันใกลเมืองพาราณสีแก ทานพระปญจวัคคียทั้ง ๕ คือ ทานอัญญาโกณ ฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ กัณฑแรกในปฐมเทศนา พระอัญญาโกณฑัญญะไดดวงตา เห็นธรรม คือ ปญญารูเห็นธรรมโดยไมเชื่อใครๆ ทั้งหมด เปน สันทิฏฐิโก รูเองเห็นเอง เชื่อธรรม ธรรมที่ พระอัญญาโกณฑัญญะเห็นนั้น เปนธรรมอยางไร และที่พระพุทธเจาไดแสดงแก พระ ปญจวัคคียทั้ง ๕ ที่ทําใหอัญญาโกณฑัญญะมีดวงตาไดเห็นธรรม ทานแสดงธรรมประเภทไหน พวก เราคงทราบกันดีแลว เพราะลวนแลวแตนักศึกษาธรรมะดวยกันทั้งนั้น ทางนี้ไมมีทางสงสัยเลย เบื้องตนพระองคไดยกสวนผิด ๒ อยาง ซึ่งใหพวกเราละเลิก ผูมุงหวังโมกขธรรมเพื่อพน ทุกข คือ กามสุขัลลิกานุโยค และ อัตตกิลมถานุโยค ทั้ง ๒ กามอัตตทั้ง ๒ สั้นที่สุด กามคือความรัก อัตตคือความชัง ความรักกับความชังนี้เปนที่สุดของทั้ง ๒ อยาง ถาจิตใจของเรายังเอียงมาขางรัก บาง เอียงขางชังบาง ก็ไมถูกมัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลาง ความไมรูโทษแหงความรักและความชังนี้ ทานเรียกวา โมหะ หรือ อวิชชา เมื่อพระองคชี้โทษทั้ง ๒ คือทางทั้ง ๒ นี้เสร็จสิ้นแลว จึงชี้ มัชฌิมาปฏิปทาทางสายกลางที่พระองคไดตรัสรู เพื่อความเขาไปสงบระงับ ดวยความรูยิ่ง เพื่อความ รูดี เพื่อความดับ ดับกับอะไรละ กับกิเลส ความรัก ความชัง ความหลงนั่นเอง พระองคยกขึ้นวา อยเมว อริโย อฏฐงฺคิโก มคฺโค ทางอันประเสริฐประกอบดวยองค ๘ ประการ ทางเดียวเทานี้ ทางอื่นยอมไมมี ที่ไปจากกิเลสความโลก โกรธ หลง สาเหตุดังกลาว คือ ความเห็นชอบ ดําริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ เพียรชอบ ประพฤติชอบ ตั้งจิตไวชอบ สัมมาทิฏฐิปญญาอันเห็นชอบ เห็นชอบเห็นอะไร เห็นวาความเกิดเปนทุกข เห็นวาความแก มันเปนทุกข เห็นวาความเจ็บมันเปนทุกข เห็นวาความตายมันเปนทุกข เห็นแนลงไป ไมใชเห็นตาม ตํารับตํารา สันทิฏฐิโก นั่นเอง เห็นวาความโศกความเศราความรํ่าไรเปนทุกข ถาใครเห็นอันนี้แลว ไมมีความโศกเลย ความเศราเลย สลัดออก นี่มันไมเห็นมันจึงโศก จึงเศรา จึงรํ่าไร จึงพิรี้พิไร บน เพออยูนักภายในใจ เห็นความไมสบายกายเปนทุกข เห็นความเสียใจเปนทุกข ถาเห็นความเสียใจ มันเปนทุกข จะไปเสียใจทําไมมันทุกขทําไม เห็นวาความคับแคนใจเปนทุกข ถาความคับแคนใจคิด ไมออกชอกไมพบ มีความเคลือบแคลงสงสัยอัดอั้นตันใจ ถาเห็นวาสิ่งเหลานี้เปนทุกขแลวจะไปอัด อั้นคับแคนใจไปทําไม เห็นวาพลัดพรากประสบสิ่งที่ไมชอบใจเปนทุกข ไมชอบใจประสบเขาเราเห็น วาเปนทุกข เราตองวางเฉย ถาเห็นวาพลัดพรากจากสิ่งที่ชอบใจ พระสบเขาเราเห็นวาเปนทุกข สิ่ง ใดที่รักนอกจากตัวเราแลวก็มี บุตร ภริยา สามี ลําดับตอไปก็วัตถุ ขาวของเงินทองสมบัติ ลําดับๆ ไป สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่รัก เมื่อเวลาพลัดพรากจากเราไป พลัดพรากจากไปมันเปนทุกข ถาเห็นวาสิ่ง เหลานี้เปนทุกขเราจะไปคิดใหมันทุกขทําไม พระพุทธเจาทานใหสละใหกําจัด ถาไมสละสิ่งเหลานี้ แลวมันก็ไมพนทุกข เห็นวาไมสมความรัก ความปรารถนา ปรารถนาอะไร ไมสมประสงคมันก็เปน ทุกข เห็นวาขันธ ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่ประกอบไปดวยอุปาทาน ยึดมั่น ถือมั่น มีความสําคัญมั่นหมายถือเอาเปนดิบเปนดีวา เอตํ มม นั่นของเรา เอโสหมสฺมิ เราเปนนั่นเปน นี่ เอโส เม อตฺตาติ นั่นเปนตนของเรา ถาไปยึดถืออยางนี้มันก็เปนทุกข พระองคทานวาอยางนี้ เน ตํ มม นั่นไมใชเรา ขันธไมใชเรา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั่นไมใชเรา เนโสหมสฺมิ


12

เราไมไดเปนนั่นเปนนี่ น เมโส อตฺตาติ นั่นไมใชตนของเรา เอวเมตํ ยถาภูตํ สมฺมปฺปฺ ญาย ทฏฐพฺพํ ใหพวกทานรูเห็นดวยปญญาความเปนจริง สัจธรรมมีเทานี้ ความเห็นชอบ เห็นความเกิดเปนทุกข ความแกเปนทุกข ความเจ็บเปนทุกข ความตายเปน ทุกข ความโศกเศรารํ่าไรเปนทุกข ถาเห็นความเกิดเปนสุข นี่ไมเห็นชอบ ถาเห็นวารางกายของเรานี้ เต็มไปดวยสิ่งโสโครก ของสกปรก ของบูดของเนา ของเหม็น เห็นซากอสุภะ ของปฏิกูลที่ทุกคนรัง เกียจทั้งเบื้องบน เบื้องลาง เบื้องกลาง สภาพกามลวนแลวแตเปนของที่ทุกคนพึงรังเกียจเต็มไปดวย ซากผีซากสัตว เห็นอยางนี้เห็นชอบ เห็นชอบอะไรละ เห็นชอบตามธรรมะ ชอบตามสัจธรรมของจริง แนะ!..ถาเห็นเปนของไมสวย ไมงาม เกิดราคะที่ไหน เกิดความพอใจที่ไหน จริงก็เห็นวาเปนสิ่งไมใช ของเราแลวมันก็วางลงไปไดเห็นไหมสังขารรางกายของเรานี้ ไมใชสัตวไมใชบุคคล ธาตุมตฺตโก มัน เปนธาตุดิน นํ้า ลม ไฟ นิสตฺโต ไมใชสัตว บุคคล ไมใชตัวตนเราเขา นิชฺชีโว ไมมีชีวิต สฺโญ วางคือ สูญ สูญจากสัตวบุคคล สูญจากตัวตน จากเขา สูญจากนิยมสมมุติบัญญัติ สูญจากสัตวและสังขาร ดวยประการทั้งปวง ใหมันเห็นไป ใหพิจารณาไป นี่ทางพนทุกข ไมพิจารณาอยางนี้มันไมพน สังโยชนเครื่องเกาะเกี่ยวผูกไว เกิดรักเกิดชังไว ความเห็นชอบในธรรมเหตุ ใหเกิดเหตุคือเห็นตัณหา ความอยากนี่ละ อันเปนเหตุใหเกิดทุกข ทุกขนี้จะเกิดขึ้นมันคือตัณหาความอยาก ยายํ ตณฺหา ตัณหา คือความอยากนี้เปนเหตุใหเกิดภพอีก กามภพ รูปภพ ภพนอย ภพใหญ เกิดแกเจ็บตายอีก เกิด ทุกขเกิดยากอีก เพราะเหตุแหงตัณหา นนฺทิ ความยินดี ราค ความกําหนัด ตตฺรตตฺรา ภินนฺทินี ความยินดีเพลิดเพลิน ยินดีในอารมณนั้นๆ กลาวคือ ความใครในกามารมณ ความทะเยอทะยาน อยากเปนโนนเปนนี่ ความทะเยอทะยานไมอยากเปนนั่นเปนนี่ สิ่งใดที่ตนไมอยากใหเกิดใหมีขึ้น เกิดแลวก็ไมอยากใหแก ไมอยากเจ็บ ไมอยากตาย ไดอะไรมาที่ตนรักตนชอบไมอยากใหพลัดพราก ไป ไมอยากใหฉิบหายไป ไดตามาไมอยากใหตามัว ไดหูมาไมอยากใหหูดับ ไดผมมาไมอยากใหผม ขาว ไดตนมาไมอยากใหแก ไมอยากใหเจ็บ ไมอยากใหตาย นี่ความทะเยอทะยาน หานั่นมาเจิม มา นวดมาทา มาสระ มานวดมาเฟน ใหหนุมขึ้น หลอกลวงอยูอยางนั้น ตัณหามันหนามาก หาความ ทุกขความยุงมาใสตัว ปญญาสัมมาทิฏฐิ เห็นธรรมเปนเหตุใหเกิดทุกข คือ เห็นตัณหา ไมมีธรรมอื่นอันทําใหเกิด ทุกขนอกจากตัณหาความอยาก ความทะเยอทะยาน ลุมหลง กามตัณหา ความรัก ความพอใจ ภวตัณหา ความทะเยอทะยาน วิภวตัณหา ความหลง กามตัณหาความรัก ภวตัณหาความชัง วิภวตัณหา ความหลง ไมรูเทาไมรูโทษแหงความรัก ความชัง ความทะเยอทะยาน มีแตหามาทับถม ตัวเองใหมันทุกข ทับถมจิตใหทุกขมันมืดอยูนั่น นี้ปญญาสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบในธรรมเปนเหตุ ใหเกิดทุกข ปญญาสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบในธรรมอันเปนที่ดับทุกข เห็นอยางไร ธรรมอันเปนที่ดับ ทุกขนั่น ถาเราไมตองการทุกขใหเกิดขึ้น เราตองดับตัณหา โยตสฺสาเยว ตณิหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย พึงทําตัณหาใหสิ้นไป พึงดับตัณหาไมใหเหลือนั่นเทียว ธรรมอัน เปนที่ดับทุกข คือการละตัณหา ละเสียตัณหา ปลอยตัณหา สละตัณหา ตัดขาดจากตัณหา นี่คือธรรม อันเปนที่ดับทุกข ไปดับที่อื่นไมถูก ตองดับที่นี่ ทุกขมันอยูที่นี้ มันเกิดขึ้นที่นี้ เกาใหถูกที่คันใหถูก แผลใหมันถูกจุด ปญญาสัมมาทิฏฐิ เห็นขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข ก็ศีลนี่แล สมาธิ ปญญานี้แล พิจารณาเห็นทุกขเปนตัวปญญาสัมมาทิฏฐิ พิจารณาเห็นทุกข เห็นเหตุใหเกิดทุกขก็ดับได ตัวขอ ปฏิบัติถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข ประกอบดวยองค ๘ ประการ วากันที่เกานั่นเอง คือความเห็นชอบ


13

ดําริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งจิตไวชอบ นี้ขอปฏิบัติ ใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข สัมมาสังกับโป ดําริชอบ ออกจากทุกข ออกจากความเกิดแกเจ็บตาย ออกจากกามภพ รูป ภพ ดําริกับเหตุใหเกิดทุกข ดําริกับทุกข กับตัณหาตัวเดียวกันนั่นเอง สัจธรรมมีอันเดียวดําริใน ขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข สัมมาวาจา เจรจาชอบ เวนวาจาที่ไมดี เวนพูดเท็จสอเสียด คําหยาบ สําราก เพอเจอ เหลว ไหล สัมมากัมมันโต การงานชอบ เวนฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดมิจฉากาม สัมมาอาชีโว เวนจากเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด สําเร็จอยูดวยการเลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ เพียรละบาปที่ยังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น เพียรระวังบาป เพียง ชําระบาปที่เกิดขึ้นแลว เพียรระวังบาปที่ยังไมเกิดไมใหเกิดขึ้นดวยความ พอใจ ดวยความพยายาม ดวยความเคารพ ความเพียร ดวยเปนผูมีสติปญญาประคองตั้งจิตไว คําวาบาปคืออะไร ไดแกกรรม อันเปนกิเลสเครื่องเศราหมองของใจ กรรมกิเลสที่เปนเครื่องเศราหมองของใจคืออะไร คือความ โลภ ความโกรธ ความหลง มันเปนบาป มันมีอยูใหชําระออก มันไมมีอยู ใหระวังไวไมใหมีเกิดขึ้น นี้ เพียรละบาป เพียรบําเพ็ญบุญกุศล คุณงามความดี ถาไมมีเพียรใหมีขึ้น ศีลไมมีเพียรใหมีขึ้น ทาน ภาวนาไมมี เพียรใหมันมีขึ้น ศีลไมมี สมาธิไมมี ปญญาไมมี ก็เพียรใหมีขึ้นดวยความพยายาม ดวย ความปรารภความเพียร ดวยเปนผูมีสติประคองตั้งจิตไว นี่ความเพียรชอบ สัมมาสติ ความระลึกชอบ ใหพิจารณากายของเรานี้ เบื้องบนเบื้องลางเบื้องกลาง มีผมและ หนังหุมอยูเปนที่สุดโดยรอบ ใหเห็นวารางกายของเรานี้เต็มไปดวยของไมสะอาดเปนประการตางๆ อยูในรางกายนี้ มีผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม หัวใจ ตับ ปอด ไต พังผืด ลําไสใหญ ลําไสนอย อาหารใหม อาหารเกา เยื่อในสมองศีรษะ นํ้าดี นํ้าเสลด นํ้าเหลือง นํ้า เลือด นํ้าเหงื่อ นํ้ามันขน นํ้าตา นํ้ามันเหลว นํ้ามูก นํ้าลาย นํ้ามันไขขอ นํ้ามูตร มีสติระลึกชอบ แมฉันใด กายของเราเปรียบเหมือนไถผูกไว ๒ ขาง เต็มไปดวยธัญชาติตางๆ มีขาวสาลี ขาวเปลือก ถั่วเขียว ถั่วเหลือง งา ขาวสาร บุคคลผูมีตาดีแกไถออกแลว ปจจเวกขายะ พึงจะเห็นไดวาเหลานี้ขาว สาลี เหลานี้ขาวเปลือก เหลานี้ถั่วเขียว เหลานี้ถั่วเหลือง เหลานี้งา เหลานี้ขาวสาร แมกายของเราก็ ฉันนั้น ถาเราเปนผูมีสติดี มีปญญาดี สองลงไปในกาย พิจารณากายแลวมันตองเห็นวา กายของเรานี้ มีหนังหุมอยูโดยรอบ จะเห็นชัดวารางกายของเรานี้เต็มไปดวยของไมสะอาด แตละสวนแลวเปนของ สกปรกโสโครกที่มีอยูในกายคือ ขน ผม เล็บ หนัง เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก มาม ตับ หัวใจ ปอด ไต พังผืด ลําไสใหญ ลําไสนอย อาหารใหม อาหารเกา เยื่อในสมอง ศีรษะ นํ้าดี นํ้าเสลด นํ้า เหลือง นํ้าเลือด นํ้าเหงื่อ นํ้ามันขน นํ้าตา นํ้ามันเหลว นํ้ามูก นํ้ามันไขขอ นํ้าลาย นํ้ามูตร เห็นชัด มี สติดี สติเปนตา ปญญาเปนแสงสวาง ทานใหมีสติดี มันก็ไมสําเร็จประโยชน ไมเห็น เปรียบเหมือน คนตาบอดตามืด มองไปไหนก็ไมเห็น เปนอยางนั้น สติเปนตาของใจ เปนตาของปญญา นอมเขามา พิจารณาซี ใหเห็นตามความเปนจริงเทานั้น สัมมาสมาธิ ตั้งใจไวชอบ เหตุไฉนจึงตั้งใจไวชอบ วิวิจฺเจวกาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ คือ ใจเมื่อจิตปราศจากกามารมณทั้งหลาย ปราศจากอกุศลกรรมทั้งหลาย ความโลภ ความโกรธ ความ หลง มันก็เปนสมาธิเทานั้น มันก็บหวั่นไหว ยอมเปนผูเขาถึงความเพง วิตกยกขึ้นสูอารมณของ กัมมัฏฐานคือ ทุกข สมุทัย ยกขึ้นสูสัจธรรม วิตกยกขึ้นเอาทุกขตัวนี้ขึ้นมาเปนอารมณ วิจารณ พิจารณานี้ ใหมันรู เมื่อพิจารณารูแลวมันก็เกิดปติ สุขอันเกิดจากวิเวกความสงบสงัด ไมมีที่อื่นอีก


14

เพียงแคนี้ พระองคแสดงปฐมฌาน ในธัมมจักร กัปปวัตนสูตร เมื่อจิตมาถึงขนาดนี้ จิตไดรับ ความวิเวกสงบสงัด ความสุขก็เกิดขึ้น ทานจึงทําปฐมฌานนี้ เมื่อจิตสงบสงัดแลว มีความสุขแลว เปน จิตที่ตั้งเปนสมาธิ ทานวาไมหวั่นไหว เปนจิตออนควรแกการงาน ไมหวั่นไหว ควรนอมโนมจิตชนิดนี้ เขามาเพื่อ อาสวักขยญาณ วานี้ทุกข นี่เหตุใหเกิดทุกข นี่ธรรมอันเปนที่ดับทุกข นี่ขอปฏิบัติใหถึง ธรรมอันเปนที่ดับทุกข ไมตองพูดถึงวา ฌานที่ ๒ ฌานที่ ๓ ฌานที่ ๔ เพียงแคนี้ก็พอ เอวัง พอดี ไหม เทศนนี่เทศนกัมมัฏฐานสั้นหนอยนะ


15

ปจฉิมโอวาท นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ฯ อามนฺตยามิโว ภิกฺขเว ขยวยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถาติ ตั้งใจฟงสงบจิต บัดนี้จะไดแสดงพระสัทธรรมเทศนาอันเปนพระปจฉิมโอวาทขององคพระ สัมมาสัมพุทธเจา ในวันที่พระองคจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน กอนหนาที่พระองคจะเสด็จดับขันธ ปรินิพพานนั้น พระองคไดประทานพุทธโอวาทเปนครั้งสุดทาย แกพุทธบริษัททั้งหลายคือ ภิกษุสงฆ ภิกษุณีสงฆ อุบาสก อุบาสิกา โดยยอวา “ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เราขอบอกใหทานทั้งหลายทราบวา สังขารทั้งหลายเปนของไมเที่ยง มี ความเกิดขึ้นแลวก็มีความเสื่อมสิ้นไปเปนธรรมดา พวกทานทั้งหลายจงยังประโยชนตนและ ประโยชนทานใหถึงพรอมดวยความไมประมาทเถิด” ดวยพระผูมีพระภาคเจาตรัสพระพุทธโอวาทเทานี้แลวไมตรัสอีกตอไป พระองคก็ปดพระ โอษฐเลยทีเพียว นี้จึงเรียกวา ปจฉิมโอวาท ครั้งสุดทาย ตอนนั้นพระองคก็ทรงเขาสูปรินิพพาน ตาม ประเพณีเยี่ยงอยางของพระสัพพัญูพุทธสัมมาสัมพุทธเจาแตกอนมา ซึ่งพระสาวกทั้งหลายยอมทํา ตามไมได เพราะเปนนิสัยของพระพุทธเจาจําพวกเดียว เปนพุทธนิสัย พุทธจริยา เปนพุทธประเพณี ของพระสัพพัญูพุทธ ดังนี้ ทีนี้จะขอยอนแสดงในปจฉิมโอวาท ที่พระพุทธเจาไดตรัสแกพุทธบริษัทสมัยนั้นโดยยอวา ทานใหพิจารณาใหรูใหเห็นซึ่งสังขารทั้งหลายอันเปนของไมเที่ยง มีความเกิดขึ้นในเบื้องตน มีความ แปรปรวนในทานกลาง และมีความดับความทําลายในที่สุด คําวา สังขารทั้งหลาย ซึ่งเปนของไมเที่ยง มี ขย วย ขย คือเสื่อมไป วย คือฉิบหายไป นั้น ทานเรียกวาสังขาร สังขารเหลานี้อยูที่ไหน อะไรเปนสังขารที่เสื่อมสิ้นไป ขอสรุปลงวา สังขารก็คือราง กายของเรานี้เอง ไดแก รูป นาม คือขันธ ๕ นี้เอง ซึ่งเปนสังขาร มิใชอื่น พระองคหมายเอาสังขารคือ ขันธ ๕ รูป นาม อันนี้เปนสังขาร มันมีความขะยะเสื่อมไป วะยะสิ้นไปดับไป อยูในสังขารรางกาย ของเรานี้ แตลวนแลวขะยะเขาไปสูความแก ความเจ็บ ความตาย ในรางกายสังขารของเราทานทั้ง ปวงนี้ ตา ก็จะขะยะเขาไปสูความแก ความมืด ความมัว หู ก็ขะยะขยับเขาไปสูความตึง ความหนัก ความหนวง จมูก ก็ขะยะขยับเขาไปสูความจืดจางจากกลิ่น ลิ้น ก็ขะยะขยับเขาไปสูความจืดจางจาก รส กาย ก็ขะยะขยับเขาไปสูความแก ความเจ็บ ความตาย ความฉิบหายทั้งหมด ใจ ก็ขะยะขยับเขา ไปสูความโลภ ความโกรธ ความหลง สูกิเลสตัณหาอันเปนเหตุใหเกิดทุกขอยูรํ่าไป ขะยะขยับเขาไปสู รูป สูเสียง สูกลิ่น สูรส สูโผฏฐัพพะ สูธรรมารมณตางๆ ทุกสิ่งทุกอยางมีแตเสื่อมไปสิ้นไป ไมมี อะไรที่จะเหลืออยู ผม ก็ขะยะเขาไปสูความหงอกความขาวทั้งหมดทีเดียว แมขน เล็บ ฟน ก็ขะยะ ขยับเขาไปสูความโยก ความคลอน ความหลุด ความถอน ความหลน หนัง ก็ขะยะขยับเขาไป สู ความแก ความเหี่ยวความแหง กําลังวังชา ก็ขะยะขยับเขาไปสูความแกความเจ็บความตาย ลดนอย ถอยกําลังลงไป อายุ ความเกิดมาในเบื้องตนมันก็ขะยะขยับเขาไปสูความตายในที่สุดดังนี้ นี้เรียกวา สังขารเปนของไมเที่ยง ทานใหพิจารณา สังขารคือ รูป นาม คือขันธ ๕ ของเราที่มีอยูเดี๋ยวนี้ มันไม ขะยะขยับออก มีแตมันขะยะขยับเขาไปสูความแก ความเจ็บ ความตายทั้งสิ้น แมใจก็ขะยะขยับเขา ไปสูกิเลสตัณหา ความอยากความทะเยอทะยาน อยากโนนอยากนี่ไมมีที่สิ้นสุด นี้พระพุทธเจาเตือน ใหพุทธบริษัททั้งหลายพิจารณาสังขารทั้งหลายเหลานี้ ใหเห็นวาเปนของไมเที่ยง เปนทุกข และให เห็นวาสิ่งใดไมเที่ยง สิ้งนั้นเปนทุกข และสิ่งนั้นก็เปนอนัตตา มันจึงมีความแปรปรวนอยูเสมอ คือมัน


16

เสื่อมไป มันสิ้นไปอยูเสมอๆ ไมเปนไปตาม ปรารถนาของใครๆ ดังนี้ ใหมีสติ ปญญานอม เขามาพิจารณาสังขารธรรมทั้งหลายเหลานี้วา สังขารธรรมทั้งหลายเหลานี้คือ รูป นาม ไดแกขันธ ๕ ไดแกกายของเรานี้ ใหเห็นวามีความแปรปรวนอยูเปนธรรมดา ไมมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะจีรังยั่งยืนยงคง ทนไปได สังขารธรรมนี้ มีเกิดแลวก็ดับ ทําลายฉิบหายไป จะเปนที่ชอบเนื้อเจริญใจแกปราชญ ผู พิจารณาเห็นโทษดวยปญญาจักษุแลวก็หาไม สังขารธรรมนี้แตละลวนแลวเปนของปฏิกูลพึงเกลียด มีกลิ่นอันเหม็น อันเนา อยูตลอดกาลและเวลา พิจารณาใหรูใหเห็นวา สังขารธรรมนี้ เปนวัตถุอันชั่ว เปนของชั่วยิ่งกวาของทั้งปวง พิจารณา ใหเห็นวาสังขารธรรมนี้มันเปนของปฏิกูลพึงเกลียดอยูโดยปกติธรรมดา มันเปนของสกปรกโสโครก อยูเองเต็มที่แลว มิหนําซํ้ามันยังนําสิ่งอื่น ที่สกปรกโสโครกตามลงไปอีกดวย สิ่งที่มันนําลงไปนั้น ลวนแลวเปนสิ่งที่ไมดี เปนของสกปรกโสโครกทั้งนั้น เชนอยางอาหารการขบฉันที่เราทานนําตามลง ไปสูกระเพาะ แตลวนแลวเปนของปฏิกูลพึงเกลียด เมื่อตกสูกระเพาะแลวยิ่งเปนของปฏิกูลพึง เกลียดอันเหม็นอันเนา เมื่อซัดสาดออกมาตามสังขารรางกายก็เปนของปฏิกูลพึงเกลียด ดวยสี สัณฐานและกลิ่น สิ่งที่มันนําลงไปแตลวนแลวเปนของสกปรกโสโครก นอกนั้นมันยังนําความแก ความเจ็บ ความตาย เขาถมทับอีกเสียดวย พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมทั้งหลายนี้ ถาไมประดับมันก็ปราศจากงาม ขจัดจากงาม เพราะเหตุที่ไมประดับ ถาไมทํานุบํารุงรักษา ไมประดับประดาชําระสะสางแลว ปลอยไวก็จะเหม็น สาบเหม็นไอเหม็นสาง เขาใกลใครก็ไมได เมื่อไมประดับประดาไมรักษาแลว อยาวาแตไมงามแกตา นักปราชญทานผูมีปญญาเลย แมแตตาพาลปุถุชนคนที่มีกิเลสหนาปญญาหยาบนั้นก็หางามไม สังขารธรรมทั้งหลายเหลานี้แตลวนแลวเปนของปฏิกูล พึงเกลียด มีกลิ่นอันเหม็นอันเนาอยูตลอด กาลเวลา เปนของปฏิกูลพึงเกลียดทั้งพื้นเบื้องบน ทั้งพื้นเบื้องลาง เปนของปฏิกูลพึงเกลียดเบื้อง ขวางตางๆ เปนของปฏิกูลพึงเกลียดแกตนและทั่วๆ ไป สังขารธรรมนี้เปนอันใครๆ จะไมวากลาว ตักเตือน สั่งสอนนั้นไดเลยเปนอันขาด เพราะเปนไปตามอํานาจวิสัยแหงตน ตามถนัดตนลําพังตน จะหาผูวากลาวตักเตือนสั่งสอนนั้นไมไดเลยเปนอันขาด สังขารธรรมเหลานี้คือ กายของเรามี ตา หู จมูก ลิ้น กาย เปนตน ไมมีผูใดใครผูหนึ่ง จะพึง เปนใหญยํ่ายีขูเข็ญขมขูนั้นไดเลยเปนอันขาด ถึงทานผูมีอํานาจอาชญา ปราบปรามปจจามิตรคือ ขาศึกศัตรูหมูอริ ปราบไปไดทั่วทุกทิศตลอดพื้นปฐพีมณฑลนั้นก็ตาม แตจะมาปราบปรามสังขาร ธรรมอันนี้ มิใหเหม็นมิใหเนา ปราบปรามมิใหเฒามิใหแก มิใหเจ็บ มิใหตายนั้น จะปราบปรามมิได เลยเปนอันขาด เพราะสังขารธรรมนี้ เปนไปตามอํานาจวิสัยแหงตน ตามถนัดตน ตามลําพังตน ถึง คราวจะเมื่อยมันก็เมื่อย ถึงคราวจะมึนมันก็มึน ถึงคราวจะเจ็บมันก็เจ็บ ถึงคราวจะปวดมันก็ปวด ถึง คราวมันแกมันก็แก ถึงคราวมันตายมันก็ตาย ถึงคราวฉิบหายจะหาผูใดผูหนึ่งจะพึงบังคับไมได ไมมี ผูใดใครผูหนึ่งเอาไวได เพราะเหตุแหงรูป นาม คือสังขารธรรมอันนี้ มันเปนของไมเที่ยง เกิดขึ้นใน เบื้องตน มันแปรปรวนไปในทามกลาง มันดับมันทําลายฉิบหายไปในที่สุด มันเปนทุกขคือทุกข เพราะความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย เหลานี้เปนตน มันเปนโรคอยูเปนนิจ เหลาโรคพยาธิ อาพาธความเจ็บปวดตางๆ ยอมมีอยูในกายของเราทานทั้งหลายนี้ อันที่จริงกายของเราทานทั้งปวงนี้ เปนกอนโรคเปนตัวโรค เปนสมุฏฐานที่ตั้งที่อยูของโรค โรคทั้งหลายที่มีอยูในกายนั้น มีหลายอยาง คือ จกฺขุโรโค โรคในตา โสตโรโค โรคในหู ฆาน โรโค โรคในจมูก ชิวฺหาโรโค โรคในลิ้น กายโรโค โรคในกาย มีหลายอยาง โรคตางๆ ยอมเกิดขึ้นใน กาย มนโรโค โรคที่ใจ คือโรคไดแกกิเลสตัณหา ราคะ โทสะ โมหะ มานะความถือตนถือตัวทิฏฐิ


17

ความรูผิดเห็นผิดเหลานี้ แตละลวนแลวเปนโรค ดวยกันทั้งนั้น ทั้งสิ้น ทั้งหมด โรคในปาก โรคที่ ฟน กาโส สาโส ปนาโส โรคไอ โรคหืด โรคหวัด ฑโห ชโร กุจฺฉิโรโค ไขพิษ ไขเชื่อมมัว ไขในทอง มุจฺฉา ปกฺขนฺทิกา สุลา โรคลมจับออนหวิวสวิงสวาย โรคบิดลงทองจุดเสียดปวดทอง วิสูจิกา กุฏฐํ กณฺโฑ โรคลมราก โรคเรื้อน โรคฝ กิลาโส โสโส อปฺปมาโร โรคกลาก มองครอ ลมบาหมู ทนฺทุกณฺฑุ กจฺฉุ โรคหิดเปอย หิดดาน คุดทะราด หูด ขี้ทูด กุฏฐัง โรคมะเร็ง รขสา วตจฺฉิกา โลหิตํ โรคละลอก คุดทะราด นอนอาเจียรโลหิต ปตฺตํ มธุเมโห อํสา โรคดีพิการ โรคเบาหวาน โรค ริดสีดวง ปฬกา ภคณฺฑลา โรคฝดาษ ลาดตะกั่วพุพอง โรคริดสีดวงสําไล โรคผอมเหลืองผอมแหง แรงนอย โลหิตจืดจางใหออนเพลียละเหี่ยใจ โรคเหน็บชา ปตฺตสมุฏฐานา อาพาธา ความเจ็บเกิดแต ดีใหโทษ เสมฺหสมุฏฐานา อาพาธา ความเจ็บเกิดแตเสมหะใหโทษ วาตสมุฏฐานา อาพาธา ความ เจ็บเกิดแตลมใหโทษ สนฺนิปาติกา อาพาธา ไขสันนิบาตคือเจ็บเกิดแตดี เสมหะและลมเจือกันให โทษ อุตุปริณามชา อาพาธา โรคเกิดแตฤดูแปรปรวน ฤดูไมเสมอ วิสมปริหารชา อาพาธา โรคเกิด แตการผลัดเปลี่ยนอิริยาบถ คือยืน เดิน นั่ง นอนไมเสมอกัน เดินมากก็เปนโรคประเภทหนึ่ง ยืน มากก็เปนโรคประเภทหนึ่ง นั่งมากก็เปนโรคประเภทหนึ่ง นอนมากก็เปนโรคประเภทหนึ่ง ใน อิริยาบถทั้ง ๔ ประเภทนั้น ชื่อวาจะไมมีโรคแทรกอยูไมมีเลย มีแตโรคทั้งหมดทีเดียว ยืน เดิน นั่ง นอน แตละลวนแลวเปนโรคทั้งหมด ยอมมีโรคเกิดขึ้นแทรกขึ้นไปในอิริยาบถนั้นๆ โอปกฺกมิกา อา พาธา โรคเกิดเพราะความเพียรมากหรือทําการงานมาก กมฺมวิปากชา อาพาธา โรคเกิดแตวิบากคือ ผลของกรรมที่ตามมาทัน เหมือนหมาไลเนื้อทันที่ไหนกัดกินที่นั้น ไมรอเลยทีเดียว แมวิบากผลของ กรรมตามมาทันก็เชนเดียวกัน ทันตากัดตาใหเจ็บตา ปวดตา ทันหูกัดหูเจ็บหูปวดหู ทันจมูกกัดจมูก ทันปากกันลิ้น ทันกายกัดแขงขา อวัยวะ ปวดหัว ปวดศีรษะ ปวดทอง ปวดอะไรตออะไร กรรมมัน กัดมันกิน มันตามมาทัน สีตํ อุณฺหํ โรคเกิดแตเย็นและรอน ถึงฤดูเย็นฤดูหนึ่งก็มีโรคประเภทหนึ่ง เกิดขึ้น ฤดูรอนก็มีโรคประเภทหนึ่งเกิดขึ้น ชิฆจฺฉา ปปาสา โรคเกิดแตหิวขาว กระหายนํ้า อุจฺจาโร ปสฺสาโวติ โรคเกิดแตอุจจาระปสสาวะ ไมสะดวกทําใหปวดมวน รําคาญ ลําบากมากทีเดียว นี้ราง กายของเราทานทั้งปวงนี้มันเปนโรคอยูเปนนิจ ทานพิจารณาใหรู มันเปนไขอยูเปนนิจ มันเปนของที่ ไหลออกมาแหงอสุจิ แหงกิเลสของสกปรกโสโครกเหมือนผีซากเนาที่แตกเนา ปุพฺโพโลหิต เปอย หวะอยูเปนนิจ ไหลออกทางตาขี้ตา ไหลออกทางหูขี้หู ไหลออกทางจมูกขี้มูก ไหลออกทางปากขี้ฟน เสลด นํ้าลาย ไหลออกทางกายขี้ผม ขี้ขน ขี้เล็บ ขี้เหงื่อ ขี้ไคล ขี้คอ ขี้รักแร ไหลออกทางแอบ แอขาขี้ตะลุยกุยเนาเหม็น ผางฮาย ไหลออกทวารเบา ระดูอันเหม็นอันเนา และเยี่ยว ไหลออกทวาร หนัก ตดและขี้ ไหลออกทางไหนแตลวนแลวไมดี เปนของปฏิกูลพึงเกลียดดวยกันทั้งนั้น ทั้งสิ้น ทั้ง หมด กายของเรานี้เหมือนกับถูกลูกปนอันขัดยอก หรือประหนึ่งเหมือนถูกหลาวและหอกเสียด แทงเขาไปเจ็บปวดรวดราวอยูตลอดเวลา สังขารธรรมนี้เปนของปฏิกูลพึงเกลียด เปนที่ติฉินนินทา เกลียดหนายแหนงแหงพระอริยเจาทั้งหลายยิ่งนัก สังขารธรรมนี้มันอากูลมูลหมอง เศราหมองดวย โรค โรคาพยาธิ อาพาธ เบียดเบียนอยูเปนนิจ สิ่งที่ไมนารักไมนาปรารถนา คือความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย มันนําเอามาบังเกิดขึ้น สังขารธรรมนี้ เปรียบเหมือนดวยบุคคลผูอื่น เพราะเหตุ ที่บอกไมได เอาไวไมฟงมีแตมันจะขาดเด็ดกระเด็นกระจัดกระจายออกดวยอํานาจชาติทุกข พยาธิ ทุกข ชราและมรณาทุกข พิจารณาใหเห็นวา สังขารธรรมนี้ มันเปนตัวอัปรียจัญไร เพราะเหตุนํามา ซึ่งความชั่วรายฉิบหาย คือมันนําเอาความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย มาใหบังเกิดขึ้น สังขาร ธรรมนี้มันเปนตัวอุปทวะเปนตัวอุบาทว เพราะมันขนเอาความชั่วของไมดี คือมันขนของขี้แก ขี้เจ็บ


18

ขี้ตาย ขี้โรค ขี้ภัย มาสะสมถมทับลงไป สิ่งที่มัน ขนมาถมทับ แตลวนแลวเปนขอไมดีทั้งหมด และก็เปนของไมเที่ยง เปนอนัตตาอีกเสียดวย สังขารธรรมนี้เปนบอเกิดแหโทษทุกขภัยอันตรายทั้ง หลายทั้งปวง มันเปนตัวอุปสรรค ตัวอันตรายคอยยํ่ายีเบียดเบียนอยูเปนนิจ สังขารธรรมนี้มันไหวอยู ดวยโลกธรรม คือไหวอยูดวยอํานาจของความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย สังขารธรรมนี้ พิจารณาเห็นวา บางคาบมันก็ทําลายเอง บางคาบมันก็ทําลายดวยความเพียรผูอื่น หรือสัตวอื่น วัตถุ อื่น มันไมมีเปนที่ยั่งยืนไปไดเลยเปนเด็ดขาด มีแตมันจะทอดทิ้งกลิ้งอยูในที่ตางๆ คือ ทอดทิ้งกลิ้ง อยูในประเทศตางๆ จะหาที่อยูกําหนดนั้นไมไดเลยเปนอันขาด สังขารธรรมนี้พิจารณาใหรูใหเห็นวา ถึงคราวจะเกิด จะแก จะเจ็บ จะตายแลว จะหาที่หลบหลีกเรนซอนใหพนจากปวยไข พนจากแก พน จากเจ็บ พนจากตายนั้นหาไมไดเลยเปนอันขาด เพราะตัวของเรานี้เปนเรือนรังของความแก ความ เจ็บ ความตาย เปนที่อยูของความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย พิจารณาดวยความมีสติปญญา ใหรูใหเห็นวา สังขารธรรมนี้ ปราศจากที่พึ่ง เอาเปนที่พึ่งไมได มันเกิดมาไมไดเปนที่พึ่งอาศัยที่จะ คุมครองปองกันชาติ ชรา พยาธิ มรณะ นั้นไมไดเลยเปนอันขาด พิจารณาดวยสติปญญาใหรูใหเห็น วาสังขารธรรมนี้ เปนของปราศจากเที่ยงและงาม คือปราศจากเที่ยงและสุข และปราศจากตน มี สภาวะเปลาสูญจากเที่ยงจากสุข ปราศจากตน มิใชตน มิใชของตน มิใชของแหงตน พิจารณาดวย ความมีสติปญญาใหรูใหเห็นวา สังขารธรรมนี้มันมีปกติเบียดเบียนอยูเปนนิจ เหมือนบาปมิตรขาศึก ศัตรูหมูอริ คอยติดตามอยูไมรูแลว พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้ มีแตความฉิบหายนั้นแลเปน เบื้องหนา มันไมพนไปจากความฉิบหายไปไดเลยเปนอันขาด พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้ มัน ยังมีกิเลสเปนเครื่องหมักดองคือ ราคะ โทสะ โมหะ เปนเครื่องหมักดองใหเราเกิด ใหแก ใหเจ็บ ให ตาย มิรูแลว พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมมีกรรมทั้ง ๒ ไดแก กุศลกรรม ไดแกบุญ อกุศลกรรม ไดแกบาป เปนปจจัยประชุมแตงแลวมันก็ดับทําลายฉิบหายไป พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม มัน เปนเหยื่อแหงมาร เปนอาหารของพญามัจจุราช คือความตาย มันขบมันเคี้ยว มันกลืนกินเขาไป ทุก เดือนทุกปไมหยุดยั้ง ชีวิตอินทรีย ของพวกเราทั้งหลายนี้ มันกระชั้นชิดติดกับความตายทุกทีๆ ขะยะมันขะ ยะขยับเขาไปสูความตายความฉิบหาย ทุกกาลทุกเวลาทุกนาทีๆ เปนสิ่งที่ควรสลดสังเวชยิ่งนัก พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้ อากูลมูลหมองไปดวย ชาติ คือความเกิด ชรา คือความแก พยาธิ คือความเจ็บไข มรณะ คือความตายไมวางไมเวน พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรมนี้ ประกอบไปดวย ความโศกเศรา ความรองไหรํ่าไรรําพัน ความทุกขกาย ทุกขใจ ความเสียใจ ความคับแคนใจอยูมิรู แลว พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม คือรูป นาม สังขารธรรมนี้ ไดแกขันธ ๕ ทั้งหลายนี้ ที่จริงก็คือ นายชางเรือน ตัณหาคือความอยากนี้เปนนายชางผูปรุงผูแตง ผูแปรแปลงขึ้น แลวมันก็ดับทําลายฉิบ หายไป อันที่จริงนายชางเรือนคือตัณหานี้เองเปนนายชางใหญ เปนตัวเหตุตัวปจจัยใหรูป นาม คือ ขันธ ๕ นี้ ทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย เปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด อันสัตวทั้งหลายคือ รูป นาม คือขันธ ๕ นี้ ที่จะทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปไมมีที่สิ้นสุด เพราะนายชางเรือน คือตัณหานี้เปนตัวเหตุตัวปจจัย รูป นาม คือขันธ ๕ นี้เอง เปนเหตุใหสัตวทั้งหลายทองเที่ยว เกิด แก เจ็บ ตาย ใน กําเนิด ๔ ใน คติ ๕ ใน ภพทั้ง ๓ ใน วิญญาณฐีติ ๗ ใน สัตตาวาส ๙ เปนทุกขอยู รํ่าไป มิใชอื่น ไดแก รูป นาม คือขันธ ๕ นี้ รูปนาม คือขันธ ๕ นี้เอง เปนสัตวทั้งหลาย แมจะไปตก นรก เปนเปรต เปนผีเปนอสุรกาย เปนเดรัจฉานก็ตาม เกิดเปนมนุษยทุกชาติทุกภาษาก็ตาม เปน เทวบุตรเทวดาก็ตาม เปนอินทรเปนพรหมก็ตาม เปนพระนารายณ เปนพระอิศวร หรือทาว มหาพรหมก็ตาม หรือพระผูเปนเจาไหนๆ ก็ตาม ก็รูป นาม คือ ขันธ ๕ นี้เอง เปนสัตวทั้งหลายมิใช


19

อยางอื่น แตรูป นาม ขันธ ๕ นี้ที่จะทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ใหเปนทุกขอยูรํ่าไป ใหเปนสัตวทั้ง หลายนั้น ก็อาศัยนายชางเรือนคือตัณหานี้เองเปนตัว เหตุ ตัว ปจจัย เปนตัว กัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ ใหสัตวทั้งหลายเกิดขึ้นนี้ ทานใหพิจารณา พระพุทธเจาทานจึงตรัสวา รูป นาม ขันธ ๕ นี้เปนตัว วิบาก คือเปนตัวผล เปนตัว วิปากวัฏฏะ เปนตัวผลของ กัมมวัฏฏะ กัมมวัฏฏะ เปนตัวเหตุตัวปจจัย คือตัว สมุทัย ตัณหาความอยากนี้นี่เอง เปนตัวเหตุตัวปจจัยใหทุกขเกิดขึ้น วิปากวัฏฏะ คือตัวผล ได แกทุกขคือ ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย อันความเกิด แก เจ็บ ตาย ในตัวกําเนิดในคติ ในภพตางๆ จะมีขึ้นในตัว กัมมวัฏฏะ คือกิเลสไดแกตัวสมุทัย คือ ตัณหา ตัวสมุทัยคือความอยากนี้ นี่เอง เปนตัว กัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ เปนตัวเหตุตัวปจจัยใหรูป นามคือขันธ ๕ ทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ไมมีที่สิ้นสุด ใหเปนทุกขอยูรํ่าไปนี้ วิปากวัฏฏะ คือตัวผลไดแกความเกิด ความแก ความ เจ็บ ความตายเปนทุกข ตัว กัมมวัฏฏะ ไดแกตัว สมุทัย คือตัณหาเปนเหตุใหเกิดทุกข ทานพิจารณา ใหรูนายชางเรือนคือตัณหา เมื่อรูแลวก็ดับได นาน…. นั้นก็เปนผูรูอริยสัจ ๔ รูขอปฏิบัติใหถึงธรรม อันเปนที่ดับทุกข ฉะนั้น ขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข ไดแก ศีล สมาธิ ปญญา ก็คือตัวสติ ปญญานี้เอง รูเห็นตามความเปนจริงวา นี้ทุกข วานี้เหตุใหเกิดทุกข นี้คือธรรมอันเปนที่ดับทุกข ได แกตัวสติปญญานี้นี่เอง รูชอบ เห็นชอบ รูยิ่ง เห็นจริงตามความเปนจริง นี้ทานใหพิจารณา นายชาง เรือนคือตัณหานี้แล เปนนายชางใหเกิดภพเกิดชาติไมมีที่สิ้นสุด พิจารณาใหเห็นวาสังขารธรรม มี ความเกิดแลวก็มีความดับ ความเสื่อมความสิ้นไปเปนธรรมดา จะเวนจากความดับความทําลาย ความฉิบหายไปไมไดเลยเปนอันขาด พิจารณาใหรูเห็นตามเปนจริงในสังขารธรรมเหลานี้ ดวยความ มีสติปญญา เพื่อจะไดสงบระงับดับเสียซึ่งฉันทะ ราคะ สละละวางจากฉันทะ ราคะ คือความรักความ กําหนัด ความยินดีในสังขารธรรมเหลานี้ จะไดปราศจากฉันทะ ราคะ คือความรัก ความกําหนัด ความยินดี ในสังขารธรรมทั้งหลายนี้ เมื่อเราพิจารณาใหรูเห็นวาสังขารธรรมทั้งหลายเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา คือเปนของไมเที่ยง มิใชตน มิใชของตน มิใชของแหงตนอยางนี้ ก็จะเปนผู เบื่อหนายซึ่งความรัก ความกําหนัด ความยินดี ในรูป นาม สังขารธรรมอันนี้ เมื่อปราศจากความรัก ความกําหนัด ความยินดีแลวนั้นนั่นแล องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาวา “ดูกร โมฆราชพราหมณ พราหมณผูมีเพียรเพงอยู พิจารณาซึ่งรูป นาม สังขารธรรมอันนี้ ใหเปนของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาอยูอยางนี้ เปนนิจนิรันดร พราหมณนั้นลับตาของพญา มัจจุราช คือความตาย พญามัจจุราชคือความตาย ตามไมได ตามไมถึง ตามไมทัน พราหมณนั้นจะ พนจากปากพญามัจจุราชคือความตาย จะขบเคี้ยวกลืนกินพราหมณนั้นไมได” เราไดสดับตรับฟงพระสัทธรรมเทศนามาถึงเพียงนี้ ควรจะนอมจิตเพงพิจารณาสังขารใหถึง พรอมดวยความไมประมาท สมดังที่พระพุทธองคไดทรงแสดงพระพุทธโอวาทในปจฉิมสมัยครั้งนั้น เอวํ ก็มีดวยประการฉะนี้


20

ภาคสี่ ธรรมสนทนา

กาเลน ธมฺมสากจฺฉา การเจรจาธรรมโดยกาล เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ ขอนี้เปนมงคลอันสูงสุด


21

ทานอาจารยใหญมั่น ทานเคยเทศนไว “แกใหตกเดอ… ถาแกไมตก คาพกเจาไว แกบได แขวนคอตองแตง แกบพน คา กน ยางยาย คายางยายเวียนตายเวียนเกิด เอากําเนิดในภพทั้งหลาย ภพทั้งสามเปนเฮือนเจา อยู” พกไวที่ไหนละ…พกไวที่จิตใจ อารมณตางๆ ถาพกไวที่นี่ มันก็ แขวนคอตองแตง และ “คากนยางยาย” ไปมาก็ลําบาก หวงนั่น หวงนี่ “ยางยาย” แปลวา พะรุงพะรัง “เชือก ผูกคอ ปอผูกศอก ปลอกผูกขา” เวียนตายเวียนเกิด เอากําเนิดทั้งสาม… เกิดในกามภพ รูป ภพ อรูปภพ…ภพที่สาม เลยเปนเรือนใหอยูตลอดไป เกิดแลวตาย ตายแลวเกิด…. วนเวียน อยูอยางนี้ ไปไหนไมได


22

ธรรมสนทนา ธรรมสากัจฉาระหวางทานเจาคุณ เจาอาวาสวัดหนึ่งในกรุงเทพมหานคร และหมูศิษย กับพระอาจารยจวน กุลเชฏโฐ ในเดือนกุมภาพันธ ๒๕๒๑ ทานเจาคุณ วันนี้ พวกเรามาประชุมพรอมกันหลายคน ผมอยากจะถามเรื่องการเขาสมาธิตามตําราก็มี อยู แตละคนก็ปฏิบัติกันไป แตก็รูสึกวายังไมถองแท ไมทราบวาอยูตรงไหน ขั้นไหน จิตบางทีก็มี พลั้งเผลอ ไมสามารถจะมีสติกํากับรูไดตลอดเวลา ทานอาจารยเปนผูปฏิบัติมามาก ขอนิมนตใหชวย อธิบายแนวทางปฏิบัติใหความกระจางแกญาติโยมดวย ทานอาจารย ครับผม กระผมจะพยายาม เรื่องของการพลั้งเผลอ ที่ไมสามารถมีสติรูอยูตลอดเวลานั้น พวกเราเพียงสาวก …..เปนแตเพียงสติเปนแตเพียงปญญา มีการเผลอไปไดเปนธรรมดา แตวาเผลอ กับมีสติ มันตองมีกรรมวิตก มีวิสัยวิตก พยาบาทวิตกแทรกเปนธรรมดา อันเรื่องนี้เปนเรื่องของ สังขาร กับกรรมปฏิรูป มันตองมีพรอมมา และเราก็รูโทษ ก็ตองละวาง และเราอยาไปคํานึงวา สมาธิ แบบนี้เปนอยางไร คืออะไรแน ขณิกะ อุปจาระ อัปปนา ถาคํานึงแบบนั้นคือวายังคํานึงถึงอนาคต เรื่องสมาธิในตําราอยาพูดเลยครับผม อยาไปนึกเลย เผาไฟทิ้งเสียกอน ตํารานั่นแหละเผาไฟทิ้งเลย ทีนี้ทานยังแนะไปอีก ถาจิตของเรารวมแปลวา ภวังคจิต หรือฐีติจิต มันวางอารมณ วาง กัมมัฏฐานทั้งหมด อยูเฉพาะจิตลวนๆ เปนจิตที่ใสบริสุทธิ์ ไมมีมลทินเลย สวางยิ่งกวาไฟนี่อีก ใส นิ่มนวลสะอาด วางอารมณทั้งหมด เวลาจิตจะลงใหมีสติ ทั้งนี้ จิตไมถึงฐาน ทานเจาคุณ ผมลองดูแลว ผมเคยไปอยางนี้ พอมันวางอารมณหมด มันจะเขาไป อารมณทุกอยางมันจะเขาไปอยูเลย แมจะนั่งอยูมันก็ไมยอมออก จนกระทั่งอยูแตวาอยูในตัวของมันตลอด แตออ!..สมาธิเปนอยางนี้ ชางมันเถอะ อารมณมันมาจากหู จากตา จะเห็นอยางไรไมยอมออกเด็ด ไมยอมออก เอ!..นี่เปน สมาธิ เอ!..นี่มันทําอยางไร มันไมรูจะไปทางไหน สบาย… แมจะนอนทําสมาธิ หลับ … ตายไปเลย อีกตอนนี้ จะทําอยางไร ทานอาจารย ทานอาจารยมั่นเทศนละเอียด กระผมบันทึกไว ในประวัติของกระผม เรื่องนี้นาสนใจจริงๆ แกไดครับผม กระผมจะแสดงถวายโดยยอๆ เทาที่จําได คือวาวันหนึ่ง กระผมภาวนาบริกรรม นี่พูด ถึงความเปนมาบริกรรมนึกในใจวา พุทโธ พุทโธ พุทโธ ทั้งวัน นี่เราจะไมนอน มีแตนั่งอยางเดียว พอเวลาพลบคํ่าแลวก็นั่งเลย จะไมยอมลุกจากที่ใหตลอดคืนยังรุง อธิษฐานจิตไว พอบริกรรมลงไป คําบริกรรมก็ละเอียด ใจสงบเปนสมาธิ จิตมันจะรวมเปนบางคนนะครับผม สําหรับกระผมเวลา จิ ตจะรวม คลายๆ กับวารางกายมันไหว ไหวตัว แลวจิตสติของเราแนบอยูนี่ แนบจิต จิตรวมเลย ลง ถึงขีดเลย ลงจนใสบริสุทธิ์หมด วางอารมณหมด คืนเดียวเหมือนกับวาเวลาผานไปเพียงชั่วโมง ไมรู


23

สึกตัว สบายมาก พอรุงสวางจิตถอน เวลานั้น กระผมเพิ่งเขาไปฝกหัดใหม พรรษา ๔ เทานั้น ก็ ไมรูวา ควรจะทําอยางไร ไดแตคิดวา เอ!..จิตมันทําไมเปนอยางนี้ ทานเจาคุณ ผมก็เหมือนกัน ไมรูจะแกตอนไหน มันไปหยุดอยูแคนั้น ติดอยูแคนั้น ไปหนาไมไป แลวทํา อยางไรตอไปครับ ทานอาจารย ของกระผมขณะนั้น เวทนานี่ไมมีละ ไมมีเลยความเจ็บความปวด ไมรูสึกเสียเลย สบาย… แสนสบาย เพราะวาจิตมันออกจากธาตุ มันวางธาตุหมดแลว วางอารมณหมดแลว วางอารมณหมด ความเจ็บความปวดไมปรากฏในจิตขณะนั้น มันลงดิ่งเลย นี่ก็เลยเกิดความสงสัย วันหลังก็เลยไป เรียนถามทานอาจารยใหญ เลาเรื่องถวายทาน แลวก็เรียนถามวา เมื่อจิตมันเปนอยางนั้น เปนอยาง ไรครับผม ทานก็นั่งพิจารณาทวนกระแสดู ออ!..จิตของทานจวนลงถึงฐีติจิต จิตเดิม ลงทีเดียวถึง เลย แตวาทานขาดสติ เวลาจิตลง ก็ปลอยเลยใหจิตลงไมรูตัว และเวลาตอนถอนขึ้นทานก็ไมมีสติ คือถอนไปเลยคลายๆ กับวาเรานอนหลับแลวลุกไปเลย ทานเจาคุณ หมายความวาทั้งตอนลงตองมีสติ และตอนถอนขึ้นตองมีสติ ใชไหมครับ ทานอาจารย ครับผม ตองมีสติ นี่เรามันขาดอันนี้ ทีนี้ถาเวลามันจะลงไปใหมีสติรวมอยู ก็ใหมีสติรูวาจิต ของเรารวม เวลาจิตถอนก็ใหมีสติรูวาจิตของเราถอน และอยาบังคับจิตใหรวม ใหรวมเอง เวลารวม อยาบังคับจิตใหถอนขึ้น ใหถอนเอง ถาบังคับแลว ใชไมได แตใหมีสติรูทุกระยะ เวลาถอนปบ พิจารณากัมมัฏฐานอันเดียว ตอไปจะเปน สันทิฏฐิโก รูเองเห็นเอง ทีนี้ เรามาพิจารณาปฏิปทาของพระพุทธเจานี่ ในวันที่จะตรัสรูนั่นแหละ ประวัติของทานนี่ พูดตามประวัติ พระองคมาพิจารณาวาแตกอนเราอยูเปนเด็กอายุ ๗ ป มีพิธีแรกนาขวัญ พระบิดา เอามาไวใตรมไม จิตของเราลงถึงฐีติจิต ลงถึงภวังค เรียกวา ฌาน เราพิจารณาอะไร จิตของเราจึงลง ถึงขนาดนั้น ที่ไดรับความสบายรมเย็น เมื่อพิจารณาทวนกระแสคืน พระองครูวา เราพิจารณา “อานาปานสติ”” คือมีสติกําหนดลมหายใจเขา ลมหายใจออกเทานั้น ไมมีวิธีอื่น วิชาเรื่องตรัสรู พระองคไมไดคํานึง ไมไดเอาจิตไปคํานึงโนนคํานึงนี่ พิจารณาแตวาลมหายใจเขา ก็ใหมีสติรู หายใจ ออกก็ใหมีสติรู สติของพระองคทันจิต เมื่อสติทันจิตแลว จําเปนจิตมันจะตองออน ออนจากอารมณ ตางๆ ออนลงๆ ละเอียดลงๆ จิตของพระองคตกถึงภวังคจิตในปฐมยาม ใสบริสุทธิ์ พระองคมี สติรูทุกระยะ นี่จิตของเราก็มารวมลงถึงฐีติจิต ภวังคจิต ถึงจิตเดิม มาพักอยู จิตมาพัก พักเอากําลัง ทานบอก ทานรูนี่ ….แตพวกเราไมเชนนั้น พอเกิดรูอะไรนิดหนอย ก็นึกวารู โอ!..เราดีแลว นี่! วิมุตติธรรม นี่ละมรรคผลเปนพระโสดา เปนพระสกิทาคามี เปนพระอนาคามี ….นี่มันเมาไปเลย พระพุทธเจาทานไมเปนอยางนั้น ทีนี้เมื่อเวลาจิตรวมลง พระองคก็ปลอยจิตใหรวมอยู มีสติ รูอยูวาจิตของเรารวมมาพัก ไมรบกวนจิต เวลาจิตถอนปบไดญาณที่ ๑ “ปุพเพนิวาสานุสติญาณ” ระลึกชาติหนหลังได เพราะพระองคสรางสมบารมีมามาก บารมีทานจึงแกกลา ตั้งแตหนึ่งชาติ ถึง อเนกชาติ ทั้งพระองคและสัตวอื่นหาประมาณมิได พระองคก็มาพิจารณาตามญาณที่ไดนั่งชมอยู ณ ที่นั้นวา ที่นั่น ความรูที่มีนั่น อันนี้ก็ไมใชทางตรัสรูนี่ มันรูไปตามอาการที่เปนมาเฉยๆ ไมใชทางพน ทุกข ไมใชความรูที่เปนเหตุใหพนทุกข พระองคจึงถอน ถอนเลย มาพิจารณาลมหายใจอีก นี่ถาพวก


24

เราไดอยางนี้บาง ไดญาณระลึกชาติหนหลังได ก็ ตื่นเตนใหญซีนี้ โอ!..เราไดญาณหูทิพย ตาทิพย โอ!..ไปกันใหญเลย หลงกันใหญเลย พระองคไมหลงนี่ นี่เปนปฏิปทาทางดําเนินทางจิตของทาน แลวทานก็ตั้งพระทัยมีสติกําหนดลมหายใจเขา ลมหายใจออกตอไป ทีนี้ยามที่ ๒ จิตของ พระองคก็รวมอีก เหมือนเกานั่นแหละ ลงภวังคลงถึงฐีติจิตเหมือนเกา พระองคก็มีสติรูวาจิตของเรา ลงมาพัก คือวาคลายกับวาเราทํางานเหนื่อยแลวก็ตองพักเอากําลัง ไดกําลังแลวก็ฟนคืน พระ องคก็รูมีสติรูวาจิตของเรามารวมอยูเหมือนเกา อันนี้ก็ไมใชทางตรัสรู เปนแตมารวมพัก เพราะ ภวังคจิตเปนภพของจิต เวลาคนเรากอนจะตายตองเขาภวังคกอน เพราะภวังคเปนจิตสําคัญที่สุด แตจะไปที่ไหนแลวแต อาสันกรรม จะมาตัด คนที่มีกิเลสก็ไปตามกรรม เปนอยางนั้น เพราะฉะนั้น ทานจึงวาภวังคจิตเปนภพเปนตนทาง คือ สถานีหัวลําโพง มันจะไปสายไหนแลวแตกรรม ผูมี สังโยชนมีกิเลส พระองคจึงรูวาจิตของเรามารวมอยูอยางนี้ มาพักเอากําลัง มีสติรูรวมพอประมาณ จิตก็พลิกขณะ พอพลิกขณะขึ้น พระองคได ญาณที่สอง เรียกวา จุตูปปาตญาณ รูจักการจุติแปรผัน ของสัตวอื่นและของพระองควา จากนี้จุติไปนั่น…ไปนั่น มีรูปรางอยางนั้นๆ ไปนรก ไปเปนเปรต เปนผี เปนสัตว เปนมนุษย รูปรางประเภทไหน เปนเทพบุตร เปนเทพดา รู…ไมมีที่สิ้นสุด ฌานอันนี้ ความรูอันนี้พระองคมาพิจารณาวา รูแบบนี้ก็ไมใชทางประตูที่เปนเหตุใหพระองคพนทุกข พระ องคก็วางเลย ไมเอา พระองคก็มีสติกําหนดเขามาพิจารณาลมหายใจอีก พระองคไมทิ้งฐานเดิม สติปฏฐานตัวนี้ ยามที่ ๓ ยามสุดทาย ทีนี้จิตของพระองคก็รวมอีกถึงฐีติจิต คืนเดียวรวมถึง ๓ ครั้ง นี่ตามประวัตินะ ขอรับ พระองคก็รูวาเอาจิตของเรามารวมอยู เหมือนเกาแลว ก็ไมใชทางตรัสรูอีก เปนแตมาพักอยู ปลอยใหจิตรวมพอประมาณ จิตก็พลิกขณะ พอจิตพลิกขณะขึ้น สวนสติของพระองคนี่บริบูรณเต็มที่ อยูแลว พระองคจึงสาวหาเหตุหาปจจัย อะไรพาเปนมา อะไรพาเปนไป มันก็รูเรื่องกันวันนั้น สิ่งที่พา เปนมาในอดีต สิ่งที่จะพาเปนไปในอนาคตคืออะไร อวิชฺชา ปจฺจยา สงฺขารา อวิชชาความรูตัวนี้เปน ปจจัยใหเกิดสังขารวัฏฏะ รวมกันอยูนี่ เรียกวา “อาสวักขยญาณ” รูความสิ้นไปแหงอาสวะ มีเทานี้ แหละก็ตรัสรู ตรัสรูแลวก็เสวยวิมุตติสุขอยู ๔๙ วัน แลวจึงมาแสดงธัมมจักร ถาม ทานอาจารยครับ เมื่อกี้นี้ทานอาจารยบอกวา พอจิตลงถึงฐีติจิต จิตเดิมที่ทานอาจารยบอก วาสวางยิ่งกวาไฟนี่นะครับ ทานอาจารยเห็นเปนนิมิตหรืออยางไรครับ ทานอาจารย ไมเห็นเปนนิมิต เห็นจริงๆ นี่แหละ ถาม เห็นเปนรูปใสเลยหรือครับ ทานอาจารย ขาว นิ่มนวล ถาม เห็นคลายๆ ลูกแกว หรือครับ ทานอาจารย (หัวเราะ) รอสันทิฏฐิโก ซี เห็นเองรูเอง ทานเจาคุณ สันทิฏฐิโก ทานบอกแลว


25

ถาม ถูกตามหลักที่ทานอาจารยวา ธรรมดาพวกเราจิตมันลงแลว มันก็ไมมีสติติดตอกัน ลงก็ไมมี สติ ขึ้นก็ไมมีสติ ทานอาจารย ธรรมดาพวกเรานั้น บารมีเราไมเหมือนพระพุทธองค พวกจิตรวมนี่นิมิตมันเกิดเปน ๒ ระยะครับผม ระยะแรก ทางเราเรียกวา ปากกระบอก กอนที่จิตจะรวม แตยังไมรวม กําลังจะเขาภวังค ชอบมีนิมิตตางๆ แทรกขึ้น นี่ชอบใหเผลอ ถาตามนิมิตละก็จิตไมรวมเลย ถอนเลย ระยะที่สอง เมื่อจิตรวมแลวกําลังจะเริ่มถอนขึ้น มีนิมิตแทรกอีก โดยมากคนเรามักตามนิมิต กันหมด เปนอยางไรก็ตามทานใหนอมพิจารณา พิจารณา “โอปนยิโก” นอมเขามาพิจารณา กัมมัฏฐานของเราเสียกอน ไมใหมันไหวตามนิมิตนั้น ถาหากวาสติปญญาของเราแกกลา ก็จะทําลาย นิมิตได พิจารณานิมิตนั่นเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาได อุปมาเหมือนกับนายพราน นายพรานหนา ใหมยังไมเคยไปดักเนื้อ ปลูกนั่งรานสูงๆ อยูบนปลายไม เวลากระทิงหรือสัตวปาตัวใหญมาหากินนํ้า ที่ที่สัตวมันจะลงมากินนํ้า นายพรานใหมก็ไปอยูหางที่เขาปลูกไวนั่นแหละดักอยูนั่นเอาปนไปอยูนั่น ทีนี้พูดตามภาษาภาคอีสาน จะเขาใจหรือไมเขาใจก็ไมรูละ อันเจาภูมิผีของเขานั่นนะ ผีรักษาสัตวนะ บางทีแสดงเปนคนถือโคมไฟ “ลุง…ลุง ลูกของลุงตกเรือนจะตายแลวเดี๋ยวนี้ รีบลงมา” อยางนี้ก็มี “รีบลงมาดูลูกตกเรือนจะตาย” นายพรานใหมก็นั่งนึก เอ!..จริงหรือไมหนอ หรือไมจริงหนอ ถาจะ ลงไปก็กลัวเพราะกลางคืนอยูกลางดงเสือมันราย ถาลงไป คนคนนั้นแหละเปนเสือกินเลย บางทีเปน เสือมาหรือเปนพระกัมมัฏฐานมา มากรองเอานํ้า นายพรานเขาใจวาเปนพระก็ไมกลายิง ตื่นเชามา เปนวันใหม เมื่อกลับบานมาพูดใหนายพรานใหญฟง เรื่องเปนอยางนั้นๆ แลว ผมกลัวผมไมยิง แลวผมก็ไมลง นายพรานใหญยิ้มเพราะเคยผาน ทีนี้นายพรานใหญวันหลังก็ไป ไปก็ไดความมา เหมือนกันคือ มีคนมาบอก “ลุง…ลุง เมียของลุงตกเรือนตาย ใกลจะตายแลวไปดูซิ” นายพรานใหญ ฉลาดรูยิงใส ก็กลายเปนเสือตาย อา…คลาด ทีนี้อยูมา มีพระกัมมัฏฐานถือกลดสะพายบาตรมากรอง นํ้า เอาปนยิงกลายเปนวัวเปนกระทิง นี่ถาปญญาของเราอินทรียของเราแกกลา เรื่องนิมิตตางๆ พอเห็นเขาก็ไมกลัวเอาปนยิงมันเลย เอาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยิงใสมันเลย ไมตองกลัวไมตอง ตื่นเตนเหมือนพวกพรานนอยหนาใหมทั้งหลาย ทานเจาคุณ ตามธรรมดานะ สาวกของเราไมเหมือนพระพุทธเจา จะใหบริบูรณไมได มีขาดมีอะไรอยู แลว คําวาขาดนี่ สติตองใหมันทัน ทานอาจารย การเผลอธรรมดาไมมีโทษ การเผลอธรรมดา ใครก็เผลอได แตการเผลอดวยความ เพลิดเพลินนี่จึงวาเปนผูประมาท ทานเจาคุณ พออารมณที่เปนกรรมวิตก กรรมวิบากเกิดขึ้น กิเลสมันไมฟุงขึ้นมันนอนลงไป แตพอ อารมณไปกระทบมันขึ้นมา ออ!…ไอนี่ตัวสตินี่วิกลจริต นี่แสดงวามันเปนอนุสัยไปตกนอนอยู มัน เหมือนกับตะกอนไปตกอยู มันไมขุนขึ้นมา แตพอมีอะไรไปกระทบมันขึ้นมา นํ้านั้นก็ขุน ก็พอรูวาไอ กิเลสตัวนั้นมันเกิดตอนนี้เอง พอไปเปนอาสวะมันไหลไปสูอารมณไหลไปสูอารมณของคนเรา มันจะ


26

ไปปรุงไปแตงกับอะไร บางทีมันไมเห็น คือ อารมณอดีตอยูในใจ เวลามันปรุงขึ้นมา มันแตง มันเอง ไมมีใครเห็นมัน ทานอาจารย เพราะฉะนั้น อารมณเรานี่แหละ พระองคจึงยกมาแสดงแกปญจวัคคีย เมื่อแสดงธัมมจักร แกปญจวัคคีย ทานเห็นวาปญจวัคคียนี้มีอินทรีย ๕ แกกลาแลว สมควรที่จะรับอบรมทางวิปสสนา ยิ่งๆ ขึ้นไปอีก ทานจึงยกขันธ ๕ นี้เปนสังขารทั้งหมด “รูปง อนัตตา” รูปรางกายทั้งหมดเปน อนัตตา ไมใชตน “เวทนา” ความเสวยสุข ความเสวยทุกข ความเสวยไมสุขไมทุกข ก็เปนอนัตตา “สัญญา” ความจําไดหมายรูสิ่งตางๆ ดีชั่ว ไมดี ไมชั่ว อดีตก็ตาม อนาคตก็ตาม เปนอนัตตาไมใช ตน “สังขาร” ความคิดความปรุงความแตง ซึ่งเปนเพราะธาตุ ก็เกิดพรอมจิต ดับพรอมจิต เปน อนัตตามิใชตน ใครจะหามไดหามไมใหจิตคิด “วิญญาณ” ความรู ตารูรูป หูรูเสียง จมูกรูกลิ่น ลิ้นรู รส กายรูสัมผัส ใจรูธรรมารมณ คือ อารมณตางๆ ใครจะไปหามได ธรรมชาติมีอยูอยางนี้ สิ่งเหลานี้ เปนอนัตตานะ ภิกษุทั้งหลายพวกทานตองคอยละวางปลอยสละ อยาไปคํานึงถาไมรูสิ่งเหลานี้ ไปยึด เอามันก็เปนกรรม เปนวิหิงสะ เปนพยาบาท เปนตัวตัณหาอุปาทานขึ้น มันก็เลยกอภพกอชาติ เรียก วาอวิชชาเปนสังขาร ความคิดความปรุงความแตง รักชังอยูอยางนั้นเปนวิญญาณ วิญญาณนี้จึงเปน วิญญาณปฏิสนธิ เมื่อรูแลวสังขารไมมี วิญญาณไมมี หมด…หมดปฏิสนธิ หมดภพ ทานเจาคุณ ฉะนั้นการที่ทานแนะนําคือวา บางคนตองการใชจิตเปนสมาธิ เปนฌาน เปนสมาบัติคลายๆ มันตองงดทุกสิ่งทุกอยาง แตวาที่ทานบอกนะเพื่อความถอน ความวางความปลอยการยึดถือรางกาย เรานั่งพิจารณารางกายของเราเพื่อตองการเปนสมาธิอยางหนึ่งอยางใดมากอน แลวมันจึงคอยถอน คอยวาง ทีแรกรางกายของเราเหมือนอยางเราไดสิ่งของมาใหมๆ เสื้อผาสวยๆ งามๆ นี่แหละ แหม รัก….ใชไปๆ จนมันหมดคา หมดอะไร จึงไดทิ้งไวเปนผาเช็ดเทา จนกระทั่งมันหมดคาหมดสภาพ ไอนี่มันเปนสังขาร เพราะฉะนั้นจิตของเราจึงถอน ผมถึงบอกวาสติมันตองตามจิตทัน เวลามันแยก ออกมันแทรกอารมณมันตามปบ ถาเราไมตามทัน เกิดพยาบาท เกิดวิตกวิจารณ ใจมันจะรอน ทานอาจารย เพราะฉะนั้นทานจึงใหเจริญบอยๆ การเจริญกัมมัฏฐานที่จะไดผลเทาที่ควร ทานสอนให พิจารณาโทษของกาม ยกโทษของมันเสมอๆ มาพิจารณาเหมือนกับกอนเราจะพอกยาตองลางแผล ใหสะอาด ถาลางบไดพอพอกยาโอสถลงไป เชื้อโรคมันกินยาโอสถ ยาโอสถเขาไมถึงโรค จะหาวายา ไมดีไมได ตองเปนอุบายของใครของมัน ของคนฉลาดจึงได แตที่เปนสัมมาสมาธิ พระองคไดยก อริยมรรค ๘ ปญญาสัมมาทิฏฐิขึ้นกอน ความเห็นชอบเสียกอน ดําริชอบกอนจึงจะลงสูสัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นได ขาดปญญาไมได ขาดสติไมได สติก็คือตัวปญญานั่นเอง จะใหจิตลงสมาธิลวนๆ มันก็ไมมีผล มันตัดกระแสไมขาด ตัดกระแสภวังคไมขาด สัมมาสมาธิในอริยมรรค สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ เห็นอะไรละนี่ ทานยกปญญาขึ้น สัมมาสังกัปโป ดําริชอบ ดําริอะไรละ ไมใชดําริยกโทษของกามดอกหรือ สวน สัมมาวาจา สัมมากัม มันโต สัมมาอาชีโว ก็ไมเปนปญหาอะไรนี่ สัมมาวายาโม เพียรชอบ เพียรอะไรก็เพียรละบาป อะไร เปนบาป กามวิตก วิหิงสาวิตก พยาบาทวิตก นี่มันเกิดขึ้นแลวเพียรละออกไป ดวยความพอใจ ดวย ความพยายาม ดวยปรารภความเพียร ดวยความเปนผูมีสติ ประคองตั้งจิตไว อยาใหกามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตกเกิดขึ้น ถาเกิดขึ้นพยายามชําระออก เพียรระวังบาปที่ยังไมเกิดมิใหเกิดขึ้น อะไรบาป ก็อันเดียวนั้นแหละที่ยังไมเกิดอยาใหเกิดขึ้นดวยความพอใจ ดวยความพยายาม ดวย


27

ความปรารภความเพียร ดวยเปนผูมีสติ ประคอง ตั้งจิตไว เพียรรักษาบุญกุศล คุณงามความดี ศีล สมาธิ ปญญา ที่ยังไมเกิดใหเกิดมีขึ้น เพียรบําเพ็ญคุณงามความดี ศีล สมาธิ ปญญา คือความสงบนี่ แหละ คือยังไมบังเกิดใหเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแลวเพียรรักษาไวใหเจริญยิ่งไพบูลยเต็มเปยมแหงกุศล ธรรมนั้น ดวยความพอใจ ดวยความพยายาม ดวยความเปนผูมีสติ ประคองตั้งจิตไว สติตั้งไวที่ไหน ละ ตั้งไวที่จิต ทานก็บอกแลว สัมมาสติ คือระลึกชอบ ใหเปนผูมีสติพิจารณาเห็นกายเปนเวทนา เห็นจิต เห็นธรรม เนืองๆ อยู มี สติสัมปชัญญะ ความเพียรที่ประกอบความพิจารณาที่ประกอบไป ดวยสติปญญาอันนี้แหละ จะกําจัดกามวิตก วิหิงสาวิตก พยาบาทวิตก ความยินดียินรายในเรื่องของ กาม กวาดเสียใหพินาศหมด สัมมาสติ มีสตินอมเขามาพิจารณากายของตนนี้เบื้องบน เบื้องลาง เบื้องขวางทามกลาง มีหนังหุมอยูเปนที่สุดรอบ เห็นวารางกายของเราเต็มไปดวยของไมสะอาด เต็ม ไปดวยทุกข เปนกอนของทุกข เปนกอนของสังขาร เต็มไปดวย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถาเรามีสติดี แลว มองลงไปก็เห็นชัดตามเปนจริงเทานั้น สังขารมันก็ไมมี ที่มันมีสังขารก็เพราะอวิชชา ไมรูตาม เปนจริงเทานั้น ถาหมดอวิชชาแลว รูตามจริงแลว สังขารไมมีแลว มีแตสภาวธรรมเปนธรรมดาของ มันอยูอยางนั้น มันละมันวาง มันเห็นโทษ มีสัมมาสติ ระลึกชอบ รูชอบ เห็นชอบ ก็ตัวปญญานั่นเอง สัมมาสมาธิใหเจริญฌานทั้ง ๔ คือ สติปฏฐาน ๔ พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม วาลงบอนเดียวที่ เดียวนั่นแหละ วิตกยกจิตขึ้นสูวิจารณ พิจารณา เมื่อจิตวิตกยกจิตขึ้นสูกัมมัฏฐาน ก็ลงที่เราตอง พิจารณา วิจารณคนควาใหรูตามเปนจริงวา นี่ทุกข นี่เหตุใหเกิดทุกข นี่คือธรรมอันเปนที่ดับทุกข นี่ คือขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกขเปนอยางนี้ ผลคือปติและสุขอันเกิดแตความสงบ จึงจะเกิด ขึ้น ทําใหชํานิชํานาญ เมื่อชํานิชํานาญแลว วิตกวิจารณทั้งสองก็ระงับลง นี่พูดตามตํารา ตอแตนั้นทานวา วิตก วิจารณ ตัวนี้ ระงับลงเปน “สันทิฏฐิโก” จนเปนผูรูเอง เห็นเอง จะ เขาถึง ความเพงที่ ๒ เปนเครื่องผองใสในใจภายใน ไมมีความสงสัยเสียแลว กําจัดนิวรณทั้ง ๕ ได กามฉันท พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจ กุกุจจะ กําจัดไดเลย มันวางวิตกวิจารณ จึงจะเขาถึงความเพง ที่ ๒ เปนเครื่องผองใสใจ ณ ภายใน ใหสมาธิเปนธรรมอันเอกอุ มีขึ้นไมมีวิตก ไมมีวิจารณ ไมมี สงสัยแลว มีแตปติและสุขอันเกิดจากสมาธิ ความซาบซาน อิ่มอกอิ่มใจ…สบาย…นี่เปนสมาธิที่ควรไว ใจ จัดเปนสัมมาสมาธิ ไมมีความเสื่อม อนึ่ง เพราะปติไดนิราศปราศไป เพราะความสุขในปตินั้นเหมือนกับกาฝาก เปนความสุขที่ ไมแนนอน ไมเหมือนความสุขในสมาธิ เพราะความสุขในปติ ไมตัดสังโยชนขาด สวนความสุขใน สมาธิตัดสังโยชนขาด ตามฐานะของปญญาอยางหยาบ อยางกลาง อยางละเอียด ตามฐานะ เปนผู เพิกเฉยอยูและมีสติสัมปชัญญะ คือ ปญญา เปนมัชฌิมาเปนกลาง และจะมีสติสัมปชัญญะเพิกเฉย อยู นี่คือตัวปญญา มีความรูเดนรอบรูอยูอยางนั้น บานแลวนี่ ใครหาหนทางใหออกจากทุกขใครหา หนทางใหรูทุกข ใหรูเหตุใหเกิดทุกข ใครหาหนทางที่จะดับทุกข ใครหาหนทางที่จะใหถึงขอปฏิบัติ ใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข อะไรเปนทุกข อะไรเปนเหตุใหเกิดทุกข สาวหาเหตุหาปจจัย เราจะดับ ทุกขไดอยางไร เมื่อเรารูเหตุก็ดับได มันอยูในขณะเดียวกัน และยอมเปนผูเสวยสุขดวยนามกาย หรือดวยกาย นี่เรียกวาตัดสังโยชน ๓ ขาด คือ ๑. สักกายทิฏฐิ ๒. วิจิกิจฉา ๓. สีลัพพตปรามาส ละได สักกายทิฏฐิ คืออะไร สักกายทิฏฐิ คือ ทานไมถือกาย ไมเห็นกายวาเปนตน ไมเห็นตนวาเปนกาย ไมเห็นกายมีในตน ไมเห็นตนมีในกาย ไมเห็นเวทนาโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนเวทนา


28

ไ ม  เ ห็ น เ ว ท น า มี ใ น ต น ไมเห็นตนมีในเวทนา ไมเห็นสัญญาความจําไดหมายรูสิ่งตางๆ เปนตน ไมเห็นตนโดยเปนสัญญา ไมเห็นสัญญามีในตน ไมเห็นตนมีในสัญญา ไมเห็นสังขารความคิดความปรุงความแตงโดยเปนตน ไมเห็นตนเปนสังขาร ไมเห็นสังขารมีในตน ไมเห็นตนมีในสังขาร ไมเห็นวิญญาณโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนวิญญาณ ไมเห็นวิญญาณมีในตน ไมเห็นตนมีในวิญญาณ เรื่องของขันธ ๕ ไมใชเรื่องของวัฏฏะ ไมใชเรื่องของอวิชชา ไมใชเรื่องของกามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก ขันธ ๕ เปนไปตามธรรมดาอยูอยางนั้น เมื่อเปนเชนนี้ ทานเห็นอะไร ก็ เห็นตัณหา เห็นกรรมกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ นี่มันยังเปนตนอยูนี่นะ จึงวาเรามีกรรมเปนของของ ตน มีกรรมเปนผูใหผล มีกรรมเปนแดนเกิด มีกรรมเปนผูติดตาม เราทํากรรมใดไว บุญหรือ บาป กรรมนั้นจะเปนทายาท คือเราจะตองรับผลของกรรมวนเวียนกันอยูอยางนี้ เห็นอันนี้เปนตัว วัฏฏะ วัฏฏวนวัฏฏจักร เปนตัวสังขาร คือ ตัวตัณหา โลภ โกรธ หลง หรือ ราคะ โทสะ โมหะ กามตัณหา ภวะ ภวา วิภวะ วิภวา ตัวนี้เห็นตัวนี้ ตัวนี้มันอยูที่ไหน ก็อยูที่ใจของเรา ทานจึงมาชําระ ตัวนี้ออก ถาผูมีปญญายังออน อินทรียยังออนก็ชําระอยางหยาบได ตอจากนั้น ทานก็อาศัยคุณของอุเบกขา สติสัมปชัญญะ และเปนผูเสวยความสุข มีสติ มี อุเบกขา มีอุเบกขามีสติอยูเปนสุข…เปนสุข ไมหวั่นไหวแลว พระอริยเจาทั้งหลายทานกลาวสรรเสริญ บุคคลผูนั้นวา เปนผูมีอุเบกขา มีสติอยูเปนสุข ….เปนสุข นั่น….. ทานรับรองแลวนี่ ตอแตนั้นก็ยอน เขาถึงความสุข ยอนเขาถึง ความเพงที่ ๓ เพราะละสุขเสียได ละทุกขเสียได ความสุขก็เปน “กามสุ ขัลลิกานุโยค” คือความรัก ความทุกขก็เปน “อัตตกิลมถานุโยค” คือ ความชัง ความไมรูโทษรูภัยใน ความรักความชัง ก็เรียกวา โมหะอวิชชา ก็เปนสังขารอยูอยางนี้ ละไดยอมเขาถึง ความเพงที่ ๔ สุขไมมี ทุกขไมมี มีแตสติเปนธรรมชาติที่บริสุทธิ์เพราะ อุเบกขา นี่เปนสัมมาสมาธิ ในมัชฌิมาปฏิปทาในอริยมรรคของ พระพุทธเจา สมาธิประเภทนี้ ตัดสังโยชนขาดมาเปนลําดับๆ ตามกําลังของสติของปญญาของมรรคคือปญญา สมาธิประเภทนี้เปน สมาธิอยูตลอดเวลา เปน “อกาลิโก” ไมอางกาลอางเวลาเพราะขาดจากสังโยชน ไมมีการเสื่อม มีแต เจริญกาวหนาไป ถึงแมวาชาติปจจุบันนี้ไมถึงที่สุด ตายไปก็เปนนิสัยปจจัยไปสําหรับชาติหนาภพ หนาตอไป ก็เปรียบเสมือนเราเดินทาง วันนี้เดินทางแมยังไปไมถึงจุดหมายปลายทาง นอนพัก นั่งพัก ตื่นมาเดินตอไปอีก แตเมื่อเปนทางที่ถูก วันหนึ่งก็ตองถึงที่หมาย ไมมีผิดทาง ไมมีถอย หลัง ใชไหมครับผม ทานเจาคุณ ครับ ผมจะขอถาม คือ ในทางวิธีปฏิบัติที่เราปฏิบัติมา คือกัมมัฏฐานสองอยางนี้ สมถะ กัมมัฏฐาน กับ วิปสสนากัมมัฏฐาน มีผูตําหนิโดยเฉพาะพวกที่นั่งวิปสสนากัมมัฏฐานฝกหัดจากสาย พมาตําหนิ สายของเรานี้ โดยเฉพาะสายของทานอาจารยมั่นนี่เปนสายสมถะ สายสมถะไมมีทางจะ เดินไปถึงมรรคผลได ตองอาศัยวิปสสนา เขาบอกวาแบบ “ยุบหนอ…พองหนอ” เขาขึ้นวิปสสนาเลย ขั้นขันธ ๕ เลย ขันธ ๕ คืออะไร คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งเปนปจจุบันธรรม จับเอา ปจจุบัน ขณะเดิน ขณะนั่ง ขณะนอน แลวจะเห็นความเกิดความดับของขันธ ๕ ความเกิดความดับ ของขันธ ๕ นี่แหละเรียกวา “วิปสสนาภูมิ” ภูมิของวิปสสนา เขาวาวิธีปฏิบัติของสาย ทานอาจารย มั่นนี่ เปนไดแคสมถะ เปนจริงอยางไรครับ?


29

ทานอาจารย เรื่องของขันธมันก็เปนขันธ เอาปญญาของเราไปเปรียบกับมัน มันแยกไมได มันปรากฏขึ้น เองใชไหม ทานเจาคุณ ครับผม เราตองไปใชสัญญา ความจําไดหมายรูของเรา เราตองไปใชความจําวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูปของเราก็หมายความวาทําใหเกิดขึ้นในปจจุบันของเราวา มันจะมาทางหู ทางตา ทางจมูก มันมีรูปนี่นะ คืออารมณในจิตของเรา อารมณมันจะมาทางตา ทางหู และถาเผื่อ เกิดขันธ ๕ ขึ้นมาพรอมกันเลย ในขันธ ๕ นี่นะมันจะดับไปพรอมกับรูป เวทนา สัญญา สังขาร ทุก อยางพรอมกันนี่ ….เกิดดับ….เกิดดับ ตามอารมณที่เราทํากัมมัฏฐาน นี่เขาวาอารมณมันเกิดดับ เกิด ดับ แตอันนี้ที่ทานอธิบายใหฟงจริง ขันธ ๕ มันมีปรากฏขึ้น พอทานเห็นความเกิด ความดับ มันจะ ดับพรอมกับตัววิปสสนามันปรากฏมันจึงเกิดดับ…เกิดดับ เพราะฉะนั้นกัมมัฏฐาน ๒ อยางนี่ เรียกวา เปนของคูกัน ทั้งสมถะและวิปสสนา จะอยางใดอยางหนึ่งแยกกันไมได แยกกันไมออกเปนธรรมทั้งคู นิมนตอธิบายใหญาติโยมเขาใจ ทานอาจารย จะวาเรื่องขันธ ๕ มันเปนแผนกหนึ่ง ถาเราพิจารณาดูตามเปนจริงแลว ขันธ ๕ ไมใชกิเลส ไมใชตัณหา ไมใชบุญ ไมใชบาป พูดกันงายๆ วาผมมันมีกิเลสไหม ขนมีกิเลสไหม หนังมีกิเลสไหม มันรักใคร มันชังใคร ทานจึงวาเปน “อัพยากตธรรม” เปนธรรมที่ปราศจากจิต ปราศจากวิญญาณ ไมรูอะไร เปนอัพพยากตธรรม เพราะฉะนั้นพระ “โสดาบัน” ทานละสังโยชนตัวนี้ได หมายความวา วัฏฏะไมมีอยูในขันธ ๕ ขันธ ๕ ไมใชตัววัฏฏะมีอยูในกรรม กรรมกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ โลภ โกรธ หลง นี่ทานละอยางหยาบได บาปบุญคุณโทษ สังขารมันไมมีในกรรมกิเลสนี้ ความเศราหมองอันนี้ เพราะฉะนั้นพระโสดาบัน ทานจึงเชื่อตอกรรมและผลของกรรม กรรมก็หมายถึงความเจตนานั่นเอง มีกรรมในใจของเรา เปนอนุสัยนอนอยูนี่ อา!..กิเลส ละความชั่วไดโดยเด็ดขาดแลว ทานจึงมีศีล ๕ บริสุทธิ์ เปนบริสุทธิศีล ถาเปนฆราวาสก็ไมสามารถทําบาปทั้งในที่ลับและในที่แจง มีหิริโอตตัปปะ ความละอายและความเกรงกลัวตอบาปทั้งในที่ลับและที่แจง ที่แจงไมทําบาป ไมสามารถทําบาปดวย กายดวยวาจา ที่ลับไมสั่งสมบาปที่กรรมกิเลสไวที่ใจใหมีกําลังขึ้น มีแตกําลังละเทานั้น ดูๆ ก็นาจะทํา ไดงายๆ ทานเจาคุณ ที่จริงพูดมันงาย มันนาจะละ กิเลสมันก็นาจะละ มันนาจะละความจงใจ ความตั้งใจที่ทําให มันเกิดเปนกิเลสขึ้นมา กิเลสแสดงออกทางกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม เราคิดทีเดียวมันเกิดขึ้น มา ทําใหไดผลของกรรม ผลของที่เราทํา ทานอาจารย พระโสดาบันทานละสังโยชนอยางหยาบ ทําบาปดวยกายดวยวาจาละได รักษาวาจาใหเรียบ รอยบริสุทธิ์ แตสังโยชนอยางกลางอยางละเอียดยังฝงอยู ยังเกาะอยู สังโยชนอยางกลาง อยาง ละเอียด ไมเปนเหตุใหตกอบายภูมิทั้ง ๔ มีแตมนุษยสุข สวรรคสุข ตลอดจนนิพพานนั้นๆ เปน “นิย โตสัตว เปนนิยโตจิต” ทานเจาคุณ อยางชาสุด ๗ ชาติ ทานก็ไปนิพพาน พระโสดาบันทานไมมีตกนรก


30

ทานอาจารย เมื่อพระโสดาบันทานเห็นวา ทานไมเห็นวาขันธ ๕ เปนตน ทานไมเห็นตนเปนขันธ ๕ ไม เห็นขันธทั้ง ๕ มีในตน ไมเห็นตนมีในขันธ ๕ แลว ทานเห็นอะไร? ตอบวา พระโสดาบันทานเห็น กรรม เห็นกรรมเปนตน เห็นตนเปนกรรม เห็นกรรมมีในตน เห็นตนมีในกรรม กรรมเปนกิเลส มัน แกไมหมด เปนสังโยชนผูกอยูนั่น พูดงายๆ ทานเห็นตนตอของวัฏฏะแลวมีแตพยายามที่จะทําลาย มันเทานั้น นี่ทานจึงเขาถึงสัมมาสมาธิ สมาธิความตั้งใจไวชอบ มันมีความสุข ตกนํ้าไมไหล ตกไฟไม ไหม เปนอกาลิโก เปนสมาธิตลอดเวลา แมจะยืนเดินนั่งนอนอะไร เขาสังคมไหนก็ไมเสื่อม ไม เหมือนสมาธิประเภทอื่น สมาธิประเภทอื่นนั้น ตอนนั้นจึงเขาสมาธิ ตอนนี้จึงเปนสมาธิ สมาธิอันนี้ มันมีสังโยชนคลุมเครืออยู ตัดสังโยชนไมขาดเปนสมาธิเฉยๆ ไมใชสัมมาสมาธิ สวนสัมมาสมาธิใน อริยมรรค ตองอาศัยปญญา ถาม ที่วา “เห็นกายมีในตน เห็นตนมีในกาย” นั้น ทานอาจารยจะกรุณาอธิบายใหละเอียดอีกนิด ไดไหมครับ ทานอาจารย พวกเราเห็นอยูเดี๋ยวนี้แลว คือตัดสังโยชนไมขาดนี่แหละ มันคลุมเครือกัน มันจึงเกิดรัก เกิด ชังอยูนี่ เกิดสวยเกิดงามกันอยูนี่ ไมตองไปอธิบายใหยากเลย ทานเจาคุณ มันมีความถือ ๓ อยางนะครับทานอาจารย เขาเรียกวา ตัณหาคาหะ มานะคาหะ และ ทิฏฐิ คาหะ ที่ภาษามคธทานวา เอตํ มม นั่นของเรา เอโสหมสฺมิ นั่นเปนตัวของเรา เอโส เม อตฺตาหิ นั่น เปนตัวตนของเรา นี่ความเห็น ๓ อยางนั่นคืออะไร คืออันนี้ แตรวมกันก็กอนอันนี้แหละ มันนี่ของ เรากับของเขา รางก็ของเรา มือก็ของเรา ตีนของเรา ขาของเรา นี่เรียกวามีในตน เรียกวา ตัณหาคา หะ ทานอาจารย (พวกเรามันยังไมตองพูดถึงสังโยชนเลย มันพอแลวสังโยชนนะ) ทีนี้จะมาแบงแยกประเภทของโสดามี ๓ อยาง แมนบ ๑. เกิดอีกชาติเดียว เอกพิชี ๒. เกิดอีกสองชาติ โกลัง โกละ ๓. เกิดอีกเจ็ดชาติ สัตตัก ขัตตุ ปรมะ ทําไมพระโสดาบันจึงมีชาติตางกัน มีปญหาเกิดขึ้นทําไมไมเหมือนกัน เปนพระโสดาเหมือน กัน ทําไมมีชาติเร็วชากวากัน อันนี้อาตมาพิจารณาแบงไปตามพระปา ประเภทที่วา เอกพิชี เกิดอีกชาติเดียว นี่ทานแกกลา เปนปญญินทรีย คือ ปญญาของทาน แกกลา ประเภทโกลัง โกละ เกิดอีกสองชาตินี่ ทานแกกลาในทาง สัทธินทรีย ความศรัทธา ประเภท สัตตัก ขัตตุ ปรมะ เกิดอีกเจ็ดชาติ ทานแกกลาในทาง วิริยินทรีย ความเพียร เราสันนิษฐานไดอยางไร มีเหตุผลอยางไร มีเหตุผลคือวา โพธิสัตวมี ๓ ประเภท ปญญาทิกะ ศรัทธาทิกะ วิริยาทิกะ ปญญาทิกะ ตรัสรู ๔ อสงไขยแสนกัป ศรัทธาทิกะ ตรัสรู ๘ อสงไขยแสนกัป


31

วิระยาทิกะ ตรัสรู ๑๖ อสงไขย แสนกัป ชาติที่ทานจะตองบําเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู ชานาน แตกตางกัน แตทานก็เปนโพธิสัตวเหมือน กัน เปนอยางนั้น เหมือนนักเรียนสอบชั้นเดียวกัน ไดที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ ถาม ทานอาจารยครับ แลวระหวางชาติหนึ่งๆ นี่นานสักเทาไร ทานอาจารย ก็ตามอายุไขยของมนุษยในยุคนั้น สมัยนั้นแหละ ถาม วันนี้ไมเทศนอีกหรือครับ ทานอาจารย เทศนแลวนี่ เลาเรื่องพระพุทธเจาวันตรัสรูมาจบแลวไงละ นิมนตพระเดช พระคุณอธิบาย บาง ทานเจาคุณ ทานวาใหฟงวา ฌานทั้ง ๓ ในที่สุดไดอาสวักขยญาณ ไดฌานยามสุดทาย ฌานที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติไดตางๆ ในที่สุดมันก็ไมใชทางสิ้นกิเลส แตไมหลง พระ พุทธเจาทานยอนกลับมาใหม ทําจิตถึงฌานที่ ๒ รูความเกิดของสัตวตางๆ ในโลก วาเกิดมาเพราะ อะไร เปนอยางไรจึงมาเกิด รูหมดจุติอุบัติวาจะไปเกิดในที่ไหน ก็ไมใชทางสิ้นกิเลส ทานจึงยอนมา กําหนดที่ตัว รูที่เกิดของกิเลสตัณหา เพราะฉะนั้นอริยสัจที่เราใชจําสัญญานะ อริยสัจ ๔ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค นี่แหละ ตัวที่ทานวาใหฟงมันอยูในนี้ ตัวกิเลสกรรมนั้นมันเกิดในตัวของเรา ถาเราจับตัว ไดเมื่อไร เราก็จะไดเห็นในที่สุดตัวของเรา แตสมาธิมันยังไมพอ ตัวอวิชชามันยังบดบังคลายๆ มี โมหะ เอาซี ใครปฏิบัติมาอยางไร ใหถาม ใหทานอาจารยอธิบายแกไข ถาม ทานอาจารยครับ ถาจะเริ่มตนปฏิบัติ ก็พยายามรักษาศีล ๕ โดยเริ่มดวยทางกายกอน แลวก็ คอยๆ ลดวาจา ลดใจไปใชไหมครับ ทานอาจารย พระพุทธเจาทานแสดงวา สิ่งที่ภิกษุหรือบรรพชิตควรศึกษามี ๓ อยาง ๑. ศีล รักษากาย วาจา ใจ ใหเรียบรอย ๒. สมาธิ รักษาใจใหตั้งมั่น ๓.ปญญา คือความรอบรูในกองสังขาร มันเปนอันเดียวกันนั่นแหละ กองสังขาร สังขารมันกองอยูที่ไหนละ รูปก็กองสังขาร เวทนาก็ กองสังขาร สัญญา สังขาร วิญญาณ แตแลวลวนเปนกองสังขารหมด ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย กองสังขารนะ กองอยูที่นี่ ใหรอบรูมัน อะไรเปนเหตุ เปนปจจัย ใหเกิดกองสังขาร เพราะ ไมรูความเปนจริง คือ อวิชชา ก็เทานี้ คิดๆ ดูก็งายๆ ถาไมรูอันนี้มันก็เปนสังขารอยูเรื่อย มันก็วนอยูนี่ กิเลสวนสังขาร มันกองอยู ที่ไหน ทานก็บอกกองอยูที่นี้ อยูที่ใจเรานี่ มันไมไดกองที่อื่นนะ ความแก ความเจ็บ ความตาย ก็กอง อยูนี่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ราคะ โทสะ โมหะ ตัณหา ก็ลวนเปนสังขาร กองอยูที่นี่หมด


32

ทานใหรอบรู ปญญาใหรอบรูในกองสังขาร มัน กองอยูนี่ รูแลวก็ละกันได ถาไมรูก็เปนอวิชชา สังขารก็มากองอยูนี่ ที่เกานี่แหละ กําเนิด ๔ คติ ๕ ภพ ๓ ก็กองสังขารหมด ผม ขน เล็บ ฟน หนัง กองสังขารหมดนั่นแลวมัน แกอยูนี่ นี่แหละกองสังขาร วันกอนไปเทศนหนาศพ จึงวา สังขารเรานี่ “ขะยะ วะยะ” ทาน อธิบายขะยะ วะยะ ธัมมา สังขารา สังขารทั้งหลายเรานี้ มัน ขะยะ นี่ มันเสื่อมไป วะยะ มันสิ้นไป ทานจึงเปรียบเหมือนกับกบเขียดมันเตน กบก็ดีเขียดก็ดี มันเตน ขะยะ ขะยะ ขะยะ ไป มนุษยก็ เหมือนกัน เกิดมามันก็เตน ขะยะ ขะยะ ขะยะ ไปหาความแก ความเจ็บ ความตาย ความฉิบหาย สังขารก็บอกตรงๆ อยางนี้นะ วาตาก็เตนขะยะ ขะยะ ขะยะเขาไปหาความแก อะไรๆ มันก็เตน ขะ ยะ ขะยะ เขาไปหาความเจ็บ ความตายกันหมด วะยะ เตนเขาไปหาความฉิบหาย แมนบ เตนขะยะ ขะยะ เขาไปหมด ใชไหม ผมมันก็เตนขะยะเขาไปหาความเสื่อม ทีแรกมันก็ดํา ตอมามันก็ขาว มันเต นขะยะ ขะยะ เขาไป ที่สุดมันก็เตนเขาไปหาวะยะ ความฉิบหาย เขากองไฟ ความตาย เผาไปแลว หมดสูญเลย นี่สังขารเปนอยางนี้ มันไมเตนถอยหลัง เตนเขาไปเรื่อย มันเตนขะยะ ขะยะ คือ เหมือนกบเขียด ใจมันก็เตนขะยะ ขะยะ เขาไปหากิเลสตัณหา มันไมเตนออกเลย มีแตความอยาก ความทะเยอทะยานขึ้นไป อะไรมันก็เตนเขาไปหมด เตนหาความฉิบหาย ทําอะไรสมความรักความ ปรารถนา ความอยากของตน โศกเศราเผาตนนี่ พินาศฉิบหายอยูนี่ กายก็เตนขะยะ ขะยะ เขาไปหา ความแก ความเจ็บ ความตาย ใจก็เตนขะยะ ขะยะ เขาไปหาราคะ โทสะ โมหะ อยูนี่ละ มันขะยะ ขะ ยะ เขาไปในนี้นะ

ถาม อยากใหอาจารยอธิบาย “สีลัพพตปรามาส” ในแงปฏิบัติ ทานอาจารย อธิบายวาเปนผูงมงาย ผูลูบคลํา ถือมงคลตื่นขาว ก็เพราะเปนผูบรูจริง ความเปนจริงนั่น แหละใหเปนไป เปนผูลูบคลํา ผูสงสัย โยหนาโยหลัง บตัดสินใจลงได ผูที่ละสีลัพพตปรามาสได ละ สักกายทิฏฐิได ก็ตัดลงเลยวัฏฏะทั้งหลาย กัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ มันเกิดขึ้นจากไส เกิดขึ้นจากกรรม กรรมกิเลสตัวนี้ ตัวนี้เปนตัววัฏฏะ อันนี้มามันก็วนอยางโนน อันนี้มาก็เปนอยางหนึ่ง ถาบมีมันก็ถึง หมดแลว จะสงสัยอะไรมหา สีลัพพตปรามาส ถาม สงสัยที่วา ลูบคลําสีลัพพต ที่วาเราแปลตามศัพท ศีล เอาละ สีลัพพต ขอวัตรปฏิบัติตางๆ ศีลที่เรารักษาก็ตามที่วา สีลัพพต แปลวาการลูบคลําศีลพรต ในทางปฏิบัติอยากจะทราบวา ถา อธิบายตามแบบก็คือวา รักษาศีล หรือปฏิบัติอยางนี้เพื่อหวังอยากเปนเทพเจา เปนเทพองคนั้น เทพองคนี้ อยากไดเปนโนนเปนนี่ แนวในทางปฏิบัติมันเปนอยางไร ที่มันจะเปนสีลัพพตปรามาส หรือวาไปยึดศีล ไปยึดวัฏฏะ ไอนี่ดี ไอนี่ไมดี ทานอาจารย สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาสนี่ คนไมไดยึด มีแตคนละออก พูดงายๆ ละสังโยชน แตเรามาพิจารณาตอนนี้วา พระโสดาบันละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ไมตอง พูดไมเปนปญหาเลย ละสักกายทิฏฐิเทานั้นก็พอแลว ในนั้นมันรวมหมดแลว คือหมายความวา ละ สักกายทิฏฐิสิ่งเหลานี้มันก็หมดไปแลว ไมมีปญหาเลย เราไมมีตนเลย พระโสดาบันทาน


33

ไ ม  เ ห็ น ก า ย โ ด ย เ ป  น ต น ไมเห็นตนโดยเปนกาย ไมเห็นกายมีในตน ไมเห็นตนมีในกาย ไมเห็นเวทนาโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนเวทนา ไมเห็นเวทนามีในตน ไมเห็นตนมีในเวทนา ไมเห็นสัญญาโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนสัญญา ไมเห็นสัญญามีในตน ไมเห็นตนมีในสัญญา ไมเห็นสังขารโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนสังขาร ไมเห็นสังขารมีในตน ไมเห็นตนมีในสังขาร ไมเห็นวิญญาณโดยเปนตน ไมเห็นตนโดยเปนวิญญาณ ไมเห็นวิญญาณมีในตน ไมเห็นตนมีในวิญญาณ พระโสดาบันนี่ทานไมไดถือขันธวาเปนตน ไมเห็นตนเปนขันธ ไมเห็นขันธมีในตน ไมเห็น ตนมีในขันธ เมื่อเปนเชนนี้พระโสดาบันทานเห็นอะไรเปนตน เห็นตนเปนอะไร เห็นอะไรมีในตน เห็นตน มีในอะไร มันยุงกันอยูนี่ละ ทานเจาคุณ ใหฟงกันใหดีนะ ทานอาจารย พระโสดาบัน ทานเห็น กรรม…! เห็นกรรมเปนตน เห็นตนเปนกรรม เห็นกรรมมีในตน เห็นตนมีในกรรม มันยังแกไมตกนี่นะ กรรมกิเลส กัมมวัฏฏะ มันเปนวิบากอยูนี่ ราคะ โทสะ โมหะ โลภ โกรธ หลง ตัณหา ลวนแตเปนกรรมหมด เปนเหตุเปนปจจัย อวิชชา ตัณหา สังขาร มันเปนกรรมหมด แหละ ทานเจาคุณ เอาละ เมื่อเห็นอยางนี้ เมื่อเห็นวาขันธ ๕ ไมเปนตน มันเปนอนัตตา เพราะขันธ ๕ นี่มันไม ใชตัวไมใชตน แตผูเห็นนี่เปนปญญา หรือเปนอะไร ทานอาจารย เปนปญญา ครับผม ทานเจาคุณ ปญญาเปนผูเห็น นี่ปญญาที่เห็นนี่ ไอตัวที่เห็นนี่ทางฝายปฏิบัติทานเรียกวาอะไรครับ ทานอาจารย ปญญา เห็น “ตัวเหตุ” ใหเปนวัฏฏะ ใหเกิดทุกข เห็นกิเลส เห็นตัณหา ตัวสมุทัย แตวา พระโสดาบันนี่ วิปสสนาญาณไมแกกลา แตเห็นวามีอะไรอยูในตนเกี่ยวพันอยูกับตน มีกรรม กิเลส กรรมกิเลสเปนตัววัฏฏะใหหมุนอยู เพราะฉะนั้นทานจึงพยายามละตัวนี้ ทําลายตัวนี้ ไมใหมี กําลัง มีแตใหออนลงไป ใหหมดไป เพราะฉะนั้นพระโสดาบัน ที่ทานอายุ ๗ ขวบ ฟงเทศนพระพุทธ เจาสําเร็จโสดา ทานไดศึกษามาจากไหน พระพุทธเจาทานวาทํากรรมมันเปนบาป กรรมตัวนี้มันเปน บาป อยาไปทํา ทานก็เชื่อตอกรรม เชื่อตอผลของกรรม เชื่อตอวิบากของกรรม เชื่อตอพระปญญา ตรัสรูของพระพุทธเจา ทานจึงเปนผูมีศีลบริสุทธิ์เทานั้น


34

มหาผูหนึ่งถาม เดี๋ยวอยากจะขอถามทานอาจารย คือเกิดสงสัย มันเกี่ยวกับการปฏิบัติ เพราะเทาที่เคย ปฏิบัติมา เราเรียนมาในทางอภิธรรม คืออภิธรรมมันเกี่ยวกับเรื่องนามธรรม จิต เจตสิก ภูติ นิพพาน นี่จิต เจตสิก นิพพาน เขาวา จิตกับวิญญาณนี่ บางคนก็วาอันเดียวกัน บางคนก็วาตางกัน ที นี้ปญหาก็เกิดมา ถาวิญญาณในทางที่เกิดมา ทางที่เรียกวา จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณนี่ กับปฏิสนธิวิญญาณ คือวิญญาณซึ่งนําไปสูปฏิสนธิ ถาพูดอยางแยกประเภท คือวา วิญญาณซึ่งรูแจงทางประสาทสัมผัสของเรา ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย นี่ เวลาอารมณมันมากระทบเรา รู แตวิญญาณ ที่เรียกวามันรูทางภายในนี่ มันเปนพวกมโนวิญญาณ มโนวิญญาณนี้อารมณชัด หรือ ไมชัด จึงเรียกมหันตารมณ อติมหันตารมณ ทางนี้ดับไปแลว ในภวังค มันก็ทํางานของมันอยูทาง มโนวิญญาณทั้ง ๒ อยางนี้ ครับ ธาตุเดิมของจิตที่เราเรียกวา จิต หรือที่เรียกวาธาตุรูนี่ ตัวที่มันจะ บริสุทธิ์ หรืออยางในทายพระสูตร จะเปนใน อนัตตลักขณสูตร? หรือ อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึ สูติ จิตทั้งหลายพนจากอาสวะเพราะความไมถือมั่น มันจะตองมี แตวาผมสมมติ ที่ถอนบัญญัติ ที่ เราเคยสมมติ เปนตัวเปนตนตางๆ นี่พอมันหมดสมมติ มันไมมีตัวไมมีตนเลย ทานอาจารย อือ!..มหาทนมาพอแฮง ทานเจาคุณ จิตที่พนจากกิเลส เปนจิตหลุดพนจากอาสวะ ทานอาจารย มันก็หมดแลว ที่เรียกวาวิญญาณปฏิสนธิ จิตปฏิสนธิวิญญาณ ก็หมายความวา ไมรูแจง ตัวเหตุตัวปจจัยตัว นี้ มันมีตัวเหตุตัวปจจัย คือ อวิชชาความไมรู มันจึงเปนปฏิสนธิวิญญาณ ปฏิสนธิจิต ก็มีเทานี้ ถารู แลวมันก็ อาสเวหิ จิตตานิ วิมุจฺจึสูติ อยางทานมหาวา ทานเจาคุณ ก็หมายความวา ไมมีปฏิสนธิตอไป ทานอาจารย ครับผม *************** ถาม ในขณะที่พิจารณลมอยูนั้น เราก็เห็นวาอันนี้มันเปนลมเปนธาตุขันธ ซึ่งมันก็ลงไตรลักษณ มันเทียบเปนอนิจจังเปนทุกข เปนอนัตตา แลวก็พิจารณากายมันเปนดิน ดินเปนธาตุ มันเปนดิน เปนธาตุ มันไมหนีธาตุ ๔ ไปได คอยๆ พิจารณาไป แตบางครั้งจิตก็อดแวะโนนดูนี่นอกเรื่องไปไม ได พิจารณาอยางไรก็ไมเขาถึงฐีติจิตสักที จะทําอยางไรคะ ตอบ เดี๋ยวกอน รูสึกจะสับสนกันแลวเรื่องฐีติจิต ฟงกอน จะอธิบายใหฟง… การปฏิบัติของแตละ คนๆ ของแตละทานๆ ที่จะเขาถึง ฐีติจิต คือจิตดั้งเดิมนั้น เหมือนกันก็มี ไมเหมือนกันก็มี เพราะ เหตุใด….? เพราะเปนไปตามบุพเพวาสนาของใครของมัน มันเปนอยางนั้น พระพุทธเจาทานเปนได แตพระสาวกองคอื่นๆ บางองคก็ไมลงถึงฐีติจิต ฐีติจิตนี้คือเปนแตวาจิตเขาไปพักอยู พนวิปสสนาไป แลว เพราะเปนจิตที่ละเอียดเกินกวาธาตุขันธแลว พนไปแลว รูเหตุรูปจจัยไมได ทีนี้ถาเราตองการ


35

คนใหรูชัดเห็นจริงฝายธาตุ ฝายขันธ จะอยูขั้นฐีติ จิตไมได ตองอยูแคระดับอุปจาระ…. ฝายเหตุ ฝายปจจัย ฝายขันธ เห็นรูปธรรม นามธรรม เหมือนพระพุทธเจา ที่อยูในขั้นอุปจาระ รูไดก็เพราะ อาศัยปญญานี้ ใหบริสุทธิ์ มันเปนอยางนั้น เพราะฉะนั้นพระสาวกบางองคทานพิจารณาดวยจิต ทาน ลงถึงฐีติจิต ลงพักอยู แลวถอนจากฐีติจิตขึ้นมา ทานถึงมาพิจารณาที่ผานไป บางทานพิจารณาไป สงบไป ในชั้นในภูมิของอุปจารสมาธิ พิจารณาไปเองเลย การรูวิชาการตางๆ ความรูจริงเห็นจริงอยู ในขั้นอุปจาระ แตเราจะรูวาฐีติจิตได ตองรูถึงจิตดั้งเดิมในภูมิธรรมดา ทีนี้ยกตัวอยาง อยางพระอริย สาวกนั่งฟงเทศนของพระพุทธเจา พระพุทธเจาตรัสเทศนาอยู สาวกเหลานั้นตั้งจิตตั้งสติสงบพอดีๆ อยูในอุปจาระ ทานเทศนอยางไรก็รูเรื่อง จิตของสาวกเหมือนนํ้าไหลไปได ถาจิตของทานผูฟงเขาถึง ฐีติจิตก็ไมไดความ เพราะละเอียดแลว ฐีติจิตนั้นละเอียดอยูแลว การพิจารณาตองอยูในขั้นอุปจาระ พอดีๆ ดวย ความมีสติปญญา กําหนดฟงพระธรรมเทศนาจึงจะเขาใจได อยางทานเทศนาแกพระ ปญจวัคคีย เทศนพรอมถามพรอม พระปญจวัคคียก็ตอบเห็นพรอม ถาจิตลงถึงฐีติจิตแลวก็อยาเลย ไมมีทางพิจารณาหรอก เพราะฉะนั้นทานพวกปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อเราภาวนาไปปฏิบัติไป ถาจิตของเราไมลงถึงฐี ติจติ อยาเพิ่งลงความเห็นวาเราภาวนาไมเปน อยาเพิ่งนอยเนื้อตํ่าใจ ถาเปนผูนอยเนื้อตํ่าใจก็ เปนผูหลง หลงแลวความนอยเนื้อตํ่าใจทําใหเกิดทุกข พระพุทธเจาทานขาดไปจากอาสวกิเลสได ถึงอาสวักขยญาณในภูมิอุปจาระนี้ ถอนจากฐีติจิต ทุกอยางทานไดจากฌานนี้ รูอยูในภูมิอุปจาระนี้ รูตัวเหตุ ตัวปจจัย ก็รูอยูนี่ รูอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาก็ รู อยูในภูมินี้ นิมิตตางๆ ก็รูอยูในนี้ ทั้งความดี ความหลง ความรูแจงอยูในขั้นนี้ ฉะนั้นทานจึงใหตั้ง อิทธิบาท ๔ ไว นี้มันสําคัญ ตองเขาใจระหวางพิจารณา ไมไดอาศัยฐีติจิตเลย ถาจิตลงถึงฐีติจิตพิจารณาไมได เราจะพิจารณาได แตตอนอยูในขั้นอุปจาระเทานั้น ซึ่งก็เปน ได เมื่อตอนถอนจากฐีติจิตมาอยูอุปจาระ….. ถาม การพิจารณาจะรูอะไรอยางนี้ ไมจําเปนตองรูเฉพาะตอนถอนออกจากฐีติจิตกอน แลวขึ้นมา อยูอุปจาระ ถึงแมจะยังไมถึงฐีติจิตแตสงบอยูเพียงขั้นอุปจาระ ก็รูไดเหมือนกันใชไหมคะ ตอบ ได อุปจาระนี้มี ๒ ตอน ๒ ระยะ ระยะหนึ่งกอนจิตรวมลงถึงฐีติจิต อีกระยะหนึ่งรวมถึงฐี ติจติ แลวถอนขึ้นมา…มันเปนขั้นสําคัญออกรูเรื่องตางๆ มากเรื่อง ความรูวิชาตางๆ ก็ไดมาตอน นี้ แตรูแลว หลงหรือไมหลงนี่….มันสําคัญตรงนี้ ใครจะเขามาแบบไหน เราจับจุดอะไร อารมณอะไร ก็ตาม โดยมากคนไดนิมิตก็มักเชื่อไปหมด วางใจ สมมติวาเห็นเทวดา พิจารณาเทวดาองคนั้น เห็น สวรรค พิจารณาสวรรค เห็นนรกปรากฏ เห็นในนิมิตนรกก็พิจารณานรก มันเปนยังงั้น ฟงสัจธรรม กําลังพิจารณาทุกข ใจสลดสังเวช พระพุทธเจาทานพิจารณาทุกข เรื่องทุกขในอดีต คือเกิด แก เจ็บ ตาย จึงเปนเหตุให พระหฤทัย ในใจสลดวาเหมือนพระองคเห็นนรกที่ลุยนรกมาแลว นํ้าพระเนตรของพระองคไหลลง เลย สลดสงสารชาติของตนที่ทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ในอดีตไมมีที่สิ้นสุด แมพระองคมีญาณถึง ขนาดนี้แลว ชวนใหเพลิดเพลิน หลงอยางไร แตก็ไมมีติดในญาณนี้แลว พระองคยอนไปหาอะไรคือ ตัวเหตุตัวปจจัย ใหเกิด แก เจ็บ ตายไมมีที่สิ้นสุด ถาเปนอยางคนที่มีสติปญญาออน ลองดูซี ถาไปรู ไปเห็นอยางนั้น อาตมาวาตั้งตัวเปนหมอดูเลย แตพวกเราสติปญญามันไมพอ มันยังไมถึงฐานะที่จะ เห็น


36

เพราะวาสนาใชไหมละ พระองคทานมี วาสนาครบหมด สวนสาวกนั้นไมเหมือน พระองคทาน บางองคระลึกชาติไดก็มี บางองคระลึกชาติไมไดก็มี แตเรื่องการตัดได อาสวักขย ญาณนั้นทุกองคเหมือนกันหมด หายจากขอสงสัยมีอันเดียวเทานั้น ทุกองคไดเหมือนกัน แต เรือ่ งระลึกชาติไมใชเรื่องพนทุกข งานของธรรมคือ งานถอนวัฏฏะทําจุดเดียว ทําที่เดียว กําหนด ลงทีเ่ ดียว ดังนั้น ถาเรากําหนดตรงไหนถูกกับจริตนิสัยของเราก็รีบทําเสีย ใหเห็นชัดลงนี่แหละ ไมเหมือนงานของโลก งานของโลกอยางเชน เราเขียนหนังสือ เราเขียนจดหมายมาหาคนนั้น แตงอยางนี้ เขียนถามไปตอบมามันยุงกันไปหมด งานของโลกเปนงานติดตอตอเนื่องกันเหมือน สายโซ สวนงานของธรรมไมใชเชนนั้น จับที่เดียวเทานั้น สังขาร วิญญาณ นามรูป ภพชาติ ตรง ไหนก็ได จุดเดียว ที่เดียว เจาะลงไปเลย ภูมิอุปจารสมาธิ คือภูมิของสมถวิปสสนา สมถะ คือตัวสติ วิปสสนา คือตัวปญญา มันอัน เดียวกันนี่แหละ เรียกชื่อตางกัน สมมติสติเปรียบเหมือนไฟ แตปญญาก็คือแสงสวางของไฟตางหาก ถาไฟมีกําลังมากแสงสวางก็มาก ถาสติมันดี ปญญามันก็ดี เราจะเรียกวาแสงสวางเปนไฟก็ไมได เรียกไฟเปนแสงสวางก็ไมได ไฟตางหาก แสงสวางตางหาก แตก็อันเดียวกัน หยั่งลงทีเดียว รูเรื่อง กัน ไมสงสัยเลย สมมติวาเราจะพิจารณาหนัง หนังเปนของสกปรกโสโครก เปนของไมเที่ยง เปน ทุกข เปนอนัตตา อันอื่นก็เหมือนกัน มันเปนอยางนี้เรื่องธรรมะ ขอสําคัญพิจารณาใหแนวแนก็แลว กัน ใหเห็นชัด ใหเห็นเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หาเหตุ หาปจจัยของมันเทานั้น มันก็รูเรื่องกันขึ้น ถาม ทานอาจารยใหพิจารณากัมมัฏฐานอะไรที่ถูกกับจริตของเรา แตพวกเราไมรูวาอะไรมันถูก กับจริตของเรา อยางเราจะไปกราบเรียนถามทานครูบาอาจารยไดไหมวาอะไรถูกจริตกับเรา ควร พิจารณาผม หรือขน หรือเล็บ หรือฟน หรือหนัง หรือมรณานุสติ….หรืออะไรตออะไร ตอบ ถายังไมรูก็หมายความวา ยังเปนผูหลงอยู ยังหนาอยู สิ่งใดอะไรอยูในตัวเราเราตองรู ความ โลภอยูในตัวเราเราตองรู ความโกรธอยูในตัวเราเราตองรู ความหลงอยูในตัวเราเราตองรู ในรางกาย ของเรา เรามีโรคอะไรอยูเราตองรู เราเจ็บตรงไหนเราก็ตองรู ใจของเราไมดีตรงไหนเราตองรู สนฺทิฏ ฐิโก ตองรูเอง ถาม ถาเราพิจารณาแลวจิตเราสงบไดเร็วแปลวา กัมมัฏฐานบทนั้นถูกกับจริตของเรา อยางนี้ใช ไหมคะ ตอบ นั้นแหละ ใหมันสลดสังเวช ธรรมอันใดในกัมมัฏฐานอันใด เมื่อเราพิจารณาแลว สติของเรา ไมฟนเฝอ ไมลุมหลง จิตของเราสงบ และการพิจารณาของเราก็แจงไปตามลําดับๆ นั่นเรียกวาโรค ถูกกับยา ใหเรากินยาขนานนั้นๆ อยายักยายเปลี่ยนใหม ถาเราพิจารณาอะไรดวยกัมมัฏฐานสวน ไหนแลว อารมณของเราไมสงบ จิตของเราฟนเฝอ แปลวาไมถูกกับยา รักษาโรคนั้นไมไดผล ถาม ที่ทานอาจารยเคยสอนวา ใหศึกษาปฏิปทาพระพุทธเจาวาทานตรัสรูอยางไร แลวใหดําเนิน ตามปฏิปทาของทานนั้น ใจเราก็รูวาวิธีของทานดีแน วิเศษแน แตเรากลัววาบารมีเรายังไมเทียบทาน เพราะวาทานพิจารณาคืนนั้น คืนเดียวทานก็ไดตรัสรูเลยในคืนวันนั้น สวนบารมีของเรานั้น พิจารณา คืนนี้ รุงขึ้นเราก็คงไมรูแน ดังนั้นเราก็เลยวางไวกอน แมเราพิจารณาสงบลงแลวก็คิดวา ตัวสงบของ


37

เรามันยังไมถึงฐีติจิตหรือจิตรวมใหญ เมื่อยังไม ถึ ง อั น นี้ ถ  า เราไปพิ จ ารณามั น ก็ เ หมื อ นกั บ เป น ธรรมะที่คาดคะเนเอา หรือความรูที่ยังไมจริง เมื่อกอนเขาใจวาอยางนั้น แตวันนี้เขาใจแลว อุปจารสมาธิที่ทานอาจารยอธิบายนั้น มีปญญาอยูในนั้นดวยในตัวคือ เดิมไปเขาใจวา อุปจารสมาธิ คือการที่จิตรวมแลวนิ่ง แตวายังไมถึงฐีติจิต เมื่อไรที่ถึงฐีติจิตแลว พอ ยกธรรมจะตองเกิดมาเปนปจจัตตังเสียกอน คือรูเอง เห็นเอง ของใครของมัน แลวแตนิสัยของตน เอง แตความจริงเราไมตองรอจนจิตรวมจนถึงฐีติจิตก็พิจารณาได ตอบ ใช…จะตองพูดเรื่องปจจัตตังและฐีติจิตอีกครั้งหนึ่ง ปจจัตตัง เปนอยางไร ฐีติจิต เปนอยาง ไร ปจจัตตัง คือรูเอง เห็นเอง สวนฐีติจิต คือจิตดั้งเดิม ทานเปรียบวา อัปปนาสมาธิ อัปปนาจิต และ ฐีติจิต ตางอยูในฐานเดียวกันแตมีชื่อตางกัน อัปปนาสมาธิเปนจิตที่แนวแน ลงไปถึงจิตเดิม อัปปนา จิตก็เหมือนกัน ฐีติจิตก็เหมือนกัน ฐีติจิตเปนจิตที่วาง ไมมีอารมณ เปนจิตเดิม เปนจิตที่ทานเรียกวา เปน “ประภัสสร” แจงสวาง จะอธิบายใหฟง ถาผูเขาไมถึง “ไมเห็น” ผูเขาถึง “เห็น” ใครจะพูดอยางไรก็ชางไมสนใจ เพราะรูอยูแลวเปนปจจัตตัง อัปปนาสมาธินี้ จิตนั้นไมมีเศรา ไมมีหมอง ไมมีมืด ไมมีมัว เหมือน พระอาทิตยทานสองสวางอยู แตที่พระอาทิตยจะมืดจะมัวเศราหมอง เพราะขี้เมฆเขามาบดบัง พระ อาทิตย ไมใชพระอาทิตยเลื่อนเขาไปหาขี้เมฆ นี่ทานเปรียบไวนัยหนึ่ง ธรรมชาติของจิตมันเปนของ ใสบริสุทธิ์ หากแตมีกิเลสเขามาหมักหมมบดบังจึงไดฝาฟางไป ถาใชสติปญญาชําระใหดีๆ แลว มัน ก็จะลงสูสภาพบริสุทธิ์ อีกนัยหนึ่ง ทานเปรียบขี้เมฆนั่นแหละ เปรียบเหมือนอุปกิเลสคือความโลภ ความโกรธ ความหลง ไดแกโลกธรรมที่ไหลเขามาทางหู ทางตา ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ เลยใหมัวเมา จิตก็เลยมืด แสงสวางก็ถูกบดบัง อีกนัยหนึ่งทานเปรียบเหมือนการเขียนเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐ ลบเลข ๑ ถึง ๙ ทิ้ง ยังเหลือแต ๐ อยู ๐ นี้ เลข ๐ นี้เปรียบเหมือนตัวฐีติจิต คือจิต ดั้งเดิม ซึ่งก็ไมมีราคาคางวดอะไร จะบวกลบคูณหารกับเลขอะไรก็ไมทําใหเลขจํานวนนั้นมีคาขึ้นได แตวา ๐ นี้จะวาไมมีคาก็ไมได แตถาเอาไปตอเพิ่มกับเลขจํานวนใดก็จะทําใหเลขจํานวนนั้นวิจิตรพิ ศารไป เชนเลข ๑ เอาเลข ๐๐๐๐๐ ตอเขาเปน ๑๐ เปน ๑๐๐ เปน ๑,๐๐๐ เปน ๑๐,๐๐๐ เปน ๑๐๐,๐๐๐ เปน ๑,๐๐๐,๐๐๐ ไป แมเรื่องของจิตก็เชนกัน เรื่องฐีติจิตนี้ถาขาดสติปญญาแลวถอน ขึ้นมาไมมีสติปญญานะ เมื่อขาดสติปญญาพลั้งเผลอถอนขึ้นมา ปลอยถอนขึ้นมาเฉยๆ ประสบ อารมณอะไรเปนกิเลสไปเลย นี่มันจะหยุดไมไดมันเผลอสติของเราไมดี ทานวาจิตเปนของพิสดาร มากมาย แตวาถาฐีติจิตตัวนี้ไดรับการอบรมดวย สติปญญาดีแนชัดแลว ก็ลงสูสภาพเดิมอันใส บริสุทธิ์ ************ ถาม ขอกราบเรียนถามเรื่อง ภวังคจิต ฌานจิต และสมาธิจิต ตอบ ทานเปรียบไว ภวังคจิต ฌานจิต สมาธิจิต ภวังคจิต ไมใชจิตดั้งเดิมนะ ภวังคคือภพ มันตกอยูในตัวกัมมวัฏฏะ กิเลสวัฏฏะ ควบคุมอยู ภวังคคือภพเดิมของจิต ภพที่จิตเคยทองเที่ยวเกิด แก เจ็บ ตาย ดวยอํานาจของกัมมวัฏฏะ กิเลส วัฏฏะ คือ รัก โลภ โกรธ หลง ราคะ โทสะ โมหะ จิตตกภวังค แลวจะไมมีสติ ไมมีปญญา เราสังเกต ไดงาย ภวังคจิตเขาไปอยูเฉยๆ ไมมีสติปญญาเลย มีแตภวังคจิต จะวานอนหลับก็ไมใช เชน คน


38

นอนหลับจิตก็กองไว ไมใชคนนอนหลับ ไมใชจิต ตกภวังค วางเหมือนกับนอนหลับ คนนอนหลับ เปนนิทราจิต นิทราจิต ธาตุก็นอน จิตก็นอน แตภวังคจิต ธาตุไมพักเขาไปนอน แตจิตที่เรียกวา ภวังคจิตมันเปนยังงั้น ฌานจิต นี่อีกอยางหนึ่ง ฌานจิตมีแตสติ แตขาดตัวปญญาวิปสสนา นี่พูดใหเขาใจงายๆ มัน เปนอยางงั้น อยางพวกที่เพงฌาน รูปฌาน ๔ สมัยกอนพระพุทธเจาของเรา ยังมีรูปฌาน ๔ เพงดิน เพงนํ้า เพงลม เพงไฟ ดวยความมีสติในจุดนั้น มุงหมายใหจิตสงบ ไมมุงหมายใหถอนกิเลส นี่เรื่อง การเพงฌาน ๔ ไมวาจะเพงดินก็ตาม เพงนํ้าก็ตาม เพงลมก็ตาม เพงไฟก็ตาม เพงดวยความมีสติ ถาไมมีสติจิตก็ไมสงบ ไมรูตัวเองเพง แลวจะไปสงบไดอยางไร ตองใชสติ การเพงใหมีสติเปนฌาน นอกพระพุทธศาสนา พระองคไปเรียนมาแลว ในอรูปฌาน ๔ เพงอากาศ อากาสานัญจายตนะ มันออกไปแลวไมมีที่สิ้นสุด ดวยความมีสติ ถามีสติกํากับจิต จิตก็สงบ เพงวิญญาณความรูไมมีที่สิ้นสุด วิญญาณัญจายตนะเพงความรูใหนอม เขามา อากิญจัญญายตนะ เพงความรูใหนอมเขามา เพงใหละเอียดลงไปอีกความรูนะ เนวสัญญานา สัญญายตนะ รูก็ไมใช ไมรูก็ไมใช รวมทั้ง ๒ อัน รูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ เปนโลกียฌานไมมี การถอนกิเลส ไมมีการถอนสังโยชน ไมมีเรื่องวิปสสนา เพียงแตทําใจใหสงบ ขมกิเลสไวชั่วคราว เมื่อเสื่อมจากการขม หรือเสื่อมจากสติ กิเลสก็เกิดขึ้น แตฌานนี้ก็เปนบทพื้นฐานของวิปสสนาได เพราะตั้งอยูในความสงบ มีสติแลว เปนรากฐานไวแลว ถาผูสํานึกในอรูปฌาน ๔ คือ เนว สัญญานาสัญญายตนะ ณาน รูก็ไมใช ไมรูก็ไมใช เปนฌานที่ละเอียดคนวิปสสนาไมได แตไมใชอัปป นาสมาธิ ไมใชฐีติจิต ตองถอนมาในอากิญจัญญายตนฌาน มีความรูอยู จึงจะคนวิปสสนาได รูแจง เห็นจริงได นี่เรื่องของฌานมีเทานี้ สมาธิจิต ตองอาศัยปญญา เดินตามอริยมรรคปญญา สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ จิตถึงจะ ถอนกิเลสเปนพักๆ ไปตามสติปญญา มันเปนยังงั้น เพราะฉะนั้นสัมมาทิฏฐิความเห็นชอบคืออะไร คือเห็นวานี่ทุกข นี่เหตุใหเกิดทุกข นี่ธรรมอันเปนขอดับทุกข นี่คือขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับ ทุกข เห็นชัดลงไปนี้ นี่ทุกขคืออะไร คือการเกิด แก เจ็บ ตาย เปนเหตุใหเกิดทุกข คืออะไร คือตัว สมุทัยตัวตัณหา นี่ธรรมอันเปนที่ดับทุกขคืออะไร คือการละตัณหา วางตัณหา ขอปฏิบัติใหถึงธรรม อันเปนที่ดับทุกขเปนอยางไร พากันเจริญใหมาก พิจารณาใหมาก บํารุงใหมาก คือตัวสติปญญาเทา นั้นเอง ถาสนับสนุนตัวสติปญญาใหมาก จิตก็พนไปนั้นเอง ปญญาบริสุทธิ์ สติของตนจะบริสุทธิ์ ศีล ของตนจะบริสุทธิ์ สติของตนจะบริสุทธิ์หลุดพนไปเพราะปญญา มันเปนอยางงั้น เมื่อถอนจากรากนี้ แลว ก็จะเปนสัมมาสมาธิตามขั้น ถอนสังโยชนได เปนอกาลิโก ไมมีกาลเวลา ไมมีการเขาการออก ไมมีเสื่อม ไมเหมือนสมาธิกระรอกกระแต สมาธิในอริยมรรคไมมีถอนกิเลสแลว ก็เปนสมาธิตามขั้น ของสติปญญา ถาถอนหมดก็เปนอกาลิโก ไมมีกาลไมมีเวลา ไมมีเสื่อมไมมีคลาย มีแตเจริญ เราจะ ไปคนดูขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข ทานก็บอกวา ใหมีศีล สมาธิ ปญญา เทานั้น ศีลคือตัว สติ ปญญาพิจารณารูแจง รูรอบใหหมดเรื่อง ก็เทานี้เอง ถาม ดูเปนเรื่องงายเหลือเกิน ตอบ ก็งายซิ เพราะพระองคทานเทศนเอาไวแลว ปฏิปทาของพระองควันตรัสรูอยางไรละ…ทาน ตั้งปฏิปทาไวแลวใชไหมละ ทานจะพูดกับใครก็วาจาชอบ สมบูรณดวยสติ ศีล สมาธิ ปญญา สติ


39

ปญญาของทานรอบรูหมดแลว สวนธาตุขันธทาน ก็พิจารณามาตั้งแตยังไมไดบวช เห็นแลวเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาแลว ปลอยไปตามธรรมชาติ เมื่อมีเกิด มีแก มีเจ็บ มีตาย อยางนี้ คงมีทางใด ทางหนึ่งที่จะออกจากเกิดแกเจ็บตายได แตทานยังคนไมพบเทานั้น เพราะวาเปนธรรมสวนที่ลึก ละเอียด ทานจึงไดออกบวช เมื่อออกบวชแลว ๖ ปถึงไดคนพบตัวเหตุตัวปจจัย ไมใชเลนๆ นา พวก เรามาเห็นอยางนี้คลายๆ กับวาพระองคเตรียมทางใหเราแลวราดยางใหเราแลว เรามีรถยนตก็ขี่ไป เทานั้น ขับดีก็ดี ขับไมดีก็ตกถนนเทานั้น ตาเราดีหรือไม….ขับไป สติเราดีหรือไม…ขับไป สติเปรียบ เหมือนตา ปญญาเปรียบเหมือนแสงสวาง ประสาทของตาดีหรือไม ถาเราตาฝาตาฟางไมดี เคยเห็น ที่อาตมาเขียนไวเปนคติ จําไดไหม “สติเปนตา ปญญาเปนแสงสวาง สติจางแสงสวางไมพอ เหมือนตาลอฝาฟาง ยอมเห็นวิปริตจิตพิการ” และ “สติกลา ปญญาสวาง รูจักทางถูกผิด จิต สงบพบสันติสุข รูทุกข เพราะสติปญญา” ถาม ที่ทานอาจารยบอกวาพระพุทธเจาทานสรางถนนราดยางไวเสร็จนี่ คนที่ไดเห็นถนนแลว ทําไมยังไปไมไดหมด ยังหลงทางกันอีก ตอบ ไปถามเขาซี มาถามอาตมาไมไดหรอก ถมไปที่คนเห็นถนนราดยางแลวไมเดิน ก็เดินเขาปา เขารกเขาพงไป ไมงั้นเขาจะวา หลงเห็นกงจักรเปนดอกบัวหรือ ทานอาจารยมั่นทานก็บอกวา ทาน เองก็หลงมาพอแรงแลว เรื่องนี้นะ เรามันเพียงแตเปนสติเปนปญญา พระพุทธเจาทานเปนมหาสติ มหาปญญา อาตมาไปอยูกับทานอาจารยมั่น ภาวนาแลวจิตมันลงสูฐีติจิตตลอดคืนยันรุง ถอนขึ้นมา มีนิมิตขึ้นมา จากนิมิตก็ไปตามอารมณและก็เพลินอยูในฐีติจิตวามันสุข มันไปติดอยูในอดีต มันไมดู ปจจุบัน มันวางไปเลย สบายไปเลย ไปกราบเรียนถามทานวา “บุคคลผูพิจารณาควรตองมีสติใหได ทุกลมหายใจไมใชหรือครับ ถาไมไดทุกลมหายใจ สติมันเผลออยูอยางนี้จะไมเปนไรหรือครับ” ทาน นั่งสงบจิตพิจารณาครูหนึ่งแลวก็ตอบวา “ไมไดหรอก ผมก็ไมไดทุกลมหายใจ พวกสาวกไมไดทุ กลมหายใจดอก มีพระพุทธเจาองคเดียวเทานั้นแหละที่ได เพราะพระพุทธเจาทานเปนมหาสติ มหา ปญญา สวนพระสาวกนั้น เปนแตเพียงสติ เปนแตเพียงปญญา ไมไดทุกขณะจิต ตองมีการพลั้ง เผลอเปนธรรมดา แตถาการเผลอนี้ไมเพลิดเพลิน ไมจัดเปนเสียหาย แตการพลั้งเผลอดวยความ เพลิดเพลินลุมหลงยินดีนั้นเสียหาย ฟุงเฟอเหอเหิม ยินดีในสิ่งนั้น ตอไปจะเกิดเปนมานะขึ้นได” ถาม ขอประทานโทษ ตอนทานอาจารยบวชตอนแรกๆ ทานอาจารยมีเผลอไปบางไหม ตอบ อาตมาบวชตอนแรกก็เผลอไปบอยๆ เหมือนกัน แตถาเราจับจุดมันได ถึงจะเผลอไปก็ตาม ก็รีบเอาสติเขาจับไว สําคัญที่เราตองจับจุดใหได และคอยระวังไว ถาม แตกอน เวลาพิจารณาอะไร ประเดี๋ยวมันทิ้งสิ่งนี้ ไปติดที่การทํางานทางโลกของเรา แตเดี่ยว นี้รูสึกวาไปไดนาน อยางเมื่อจับอะไรอยูก็จะนิ่งอยูกับสิ่งนี้ อยูไดนาน แปลวาสติของเราก็ดีขึ้นหนอย ตอไปถาหัดไปก็จะอยูกับสิ่งนั้นไดนานมากขึ้น มีบางทานบางองคทานเคยสอนวา ใหภาวนาใหมีสติ ปญญาแกกลากอน มีรากฐานมั่นคงเสียกอน อยาเพิ่งไปทําวิปสสนาเร็วนัก เดี๋ยวจะเฝอ เพราะวาสติ เรายังออนอยู บางองคก็วาอยาภาวนามาก สมาธิแกกลามากไปไมดี เดี๋ยวเปนบา ดูคานกันอยู ก็ไม ทราบวาจะทําอยางไร


40

ตอบ วิปสสนาความรูแจง ถารูแจงก็ไมเปน ถายังไมรูแจงก็ยังไมใชวิปสสนา สติเปนตัวสมถะ วิปสสนาเปนตัวปญญา ธรรมอันนี้อันเดียว เราไปเรียกเองตางหาก พระทานแตกอนทานอยูในปา เห็นใบไมรวงลงมา โอ!..อนิจจัง วัตสังขารา สิ่งที่ไมมีวิญญาณเปนของไมเที่ยง สิ่งที่มีวิญญาณก็ เหมือนกัน ถาม เราคิดอยางทานยังไมไดมันยังไมแจง ยังไม สันทิฏฐิโก เวลาทานอาจารยคิดแลวมันกระจาง ขึ้นในใจ ตอนนั้นมีรูสึกเปนอยางไร เหมือนพวกเราฟงธรรมจากทานอาจารยมันก็เปนอยางนี้ มันไมรู กระจางจากใจ ไมไดรูเองเห็นเอง มันเปนไปตามตํารา ของทานอาจารยเวลาไดธรรมะชัดผุดขึ้นในใจ มันสวางโรไปหมด ใชไหมคะ ตอบ คราวแรก ก็ตองอาศัยตํารา อาศัยจากการไดยินไดฟงมากอนเหมือนกัน เหมือนการ เดินทางที่จะใหไปถึงจุดหมายไดก็อาศัยแผนที่ทางเดิน เดินไปตามทางที่ทานผูรูบอกไวแนะไว บากทางไวให ก็จะไปถึงที่หมายไดเร็วขึ้น พอถึงแลว ก็รอง…ออ!..นี่เอง ที่ทานวา ฟงจากทาน เราก็วาดภาพไวอยางหนึ่ง ถึงที่แลว เราก็เห็นเอง อาจจะเหมือนที่คาดไวก็ได ไมเหมือนก็ได แต มันก็ถึง บางออ ทั้งนั้น คิดๆ ดูก็ไมใชของยาก ถาจับจุดถูก เหมือนอยางพระพุทธเจาเมื่อทานไดตรัสรูใหมๆ ทานก็ เยาะเยยตัณหา เยาะเยยเลนอยูในใจ ตัณหาเมื่อเราไมพบ ไมเห็นจับตัวของทานไมได ทานก็พาเรา กระเซอะกระเซิงเกิดในภพนอยภพใหญ ไมมีที่สิ้นสุด เดี๋ยวนี้เราคนพบตัวทานแลวจับตัวทานไดแลว ปราสาทของทานเราไดทําลายแลวดวยดาบสติปญญาที่มี ยอดปราสาทของทานเราก็ทําลายแลว เผา ทิ้งแลว ปราสาทคืออะไร จักษุประสาท คือตา โสตประสาทคือหู ฆานประสาทคือจมูก ชิวหา ประสาทคือลิ้น กายประสาทคือกาย มนะคือใจ ยกขึ้นสูไตรลักษณ หมายความวาทําลายแลว ยอด ปราสาทคือตัวเหตุตัวปจจัย อวิชชา โกรธ หลง ทําลายแลวเราพนจากสังขารแลว จิตของเราพนจาก สังขาร ไมมีสังขารแลว นี่ทานเยาะเยยภายในกายใจของทาน ทานเปลงอุทานวา “พราหมณคือนัก บวช พราหมณผูเพียรเพงอยู ดวยความมีสติ พราหมณผูมีเพียรเพงอยูดวยความมีปญญา ยอมรูเหตุ ของปจจัยของธรรมทั้งหลาย เมื่อพราหมณผูรูเหตุรูปจจัยของธรรมทั้งหลายแลว พราหมณผูนั้นยอม ทําเหตุทําปจจัยธรรมทั้งหลายใหสิ้นไป เมื่อพราหมณไดทําเหตุทําปจจัยของธรรมทั้งหลายใหสิ้นไป แลว พราหมณนั้นยอมเปนผูชนะมารและเสนามาร มารและเสนามารยอมรังควาญพราหมณผูนั้นไม ได เหมือนลมรังควาญภูเขาไมได พราหมณนั้นยอมเปนผูชนะมารเหมือนพระอาทิตยที่ทําความมืด ใหสวางฉะนั้น” ไมหลงอีกแลว ถาจิตเขาไปพักอยูมันจะเปนอยางไร ตัวเหตุตัวปจจัย องคที่จะไปรู ตัวเหตุตัวปจจัยก็ดี ของธาตุขันธก็ดี ตองถอนขึ้นมาทุกขั้นเลย ที่ขาดจากอาสวะตัดไปจากอาสวะจาก ภพจากชาติรูอยูในขั้นอุปจาระนี้ ขั้นอุปจาระคือขั้นตัวสติปญญา ขั้นสมถะนี่ ถาเราขาดสิตปญญา ธรรมเปนอนัตตาหาประมาณมิได ถาขาดสติปญญาเพราะมันแทรกอยู ทานวาเปรียบเหมือนนํ้าไหล ในถาด มันก็มีอันหนึ่งแทรกอยู แลวแตวาภายในหรือภายนอกที่แทรกอยู บางทีเปนอุบาย บางทีเปน นิมิตเปนภาพที่แทรกอยู เมื่อสติปญญาเราไมพอมันก็วางวิ่งไปตามนิมิต เหมือนฉายหนัง มีแตอยาก จะพูด อยากจะคุย ถาของจริงแลวก็สงบ ถาม


41

แต ล ะองค ท  า นต อ งหลงอย า งท า น อาจารยวาไหมครับ ตอบ มีเยอะเกือบจะทุกรายนะ เพียงแตวาทานรูแลวถอยกลับมาเร็วหรือไมเทานั้น บางองคก็แก ไขได บางองคก็แกไมได ถาม อยางนี้เพื่อนฝูงชวยกันไดไหมครับ ตอบ ได ************ ถาม ทานอาจารยเคยบอกวา เมื่อจิตรวมถึงฐีติจิต เราจะเกิดรูตัวขึ้นมาเอง ใชไหมครับ ตอบ ใชแลว…. รูเอง ทานอาจารยใหญมั่นทานแนะนําไวเสมอวา ถาจิตมันรวมลงถึงขีดถึงขนาด ใหมีสติกํากับไว ปลอยใหจิตรวมอยู อยาไปรบกวนจิต และจะบังคับใหจิตรวม หรือบังคับใหจิตถอน นี่บังคับไมได อยาไปรบกวนจิต ถาจะถอนจิตมันถอนเอง แตเราตองมีสติรูอยู นี่ประเภทจิตรวมนะ ถาจิตจะถอนขึ้นก็ใหมีสติ ถาจิตรวมแลว เวลาถอนขึ้นเกิดมีนิมิต เรามักจะตามนิมิต มันเผลอไป เรื่อย เราตองมีสติตามไปดวย นิมิตไปไหนก็ตามไปดวย นี่แหละมันมักจะเสียกันตอนนี้ อาตมาก็เสีย ตอนนี้เหมือนกัน ถาม ตอนนั้นทานอาจารยแกไขไดอยางไร และเผลอไปนานไหมครับ ตอบ มันมีวิธีแกในตัวของมันเอง ก็เผลอไปนานมั่ง ไมนานมั่ง แลวแตจริตนิสัยของแตละบุคคล ถาม บางครั้งนั่งภาวนา เมื่อจิตเริ่มรวม ไดเกิดนิมิตภาพ จิตก็ตามนิมิตนั้นไป เพราะอยากรูวา นิมิตภาพนั้นเปนใคร เขามาปรากฏทําไม เขาตองการจะใหเราชวยอะไรบาง เกิดความสงสัยวาเวลามี นิมิตควรทําอยางไร ตอบ นิมิตจะเกิดขึ้นไดมีอยู ๒ ระยะ คือ ระยะแรก กอนที่จิตจะรวม แตยังรวมไมถึงขีด จะเกิดนิมิตขึ้น ระยะที่ ๒ เมื่อจิตรวมถึงขีดแลว ตอนจิตกําลังจะถอนขึ้นก็จะเกิดนิมิตขึ้นได นิมิตเกิดขึ้นได ๒ ระยะ ตองระวัง ระวังปากอาวตองคุมไวใหดี ปากอาวอันตราย อยาไปติด นิมิต อยาไปอยากรู มันเห็นมาแลว ไมไดผลประโยชนอะไร เรากลับมาพิจารณากัมมัฏฐานของเรา ใหดี ความอยากรูในนิมิตมันเปนตัณหา เปนตัวสมุทัย มันเปนตัวสังขาร นั่นทานเรียกวา อาการของ จิต บางทีอาการของจิตจะหลอก จิตเปนของวิจิตรพิสดาร จะหลอกเรา กิเลสของเรามันหลอกตัวเรา ใหไปหลงในภาพนิมิต


42

พวกนักศึกษาหรือนักเรียนใหม ก็อยางนี้ แหละ มักจะสนใจอยากรูอยากเห็นจิตใจของ เพื่อนตางๆ อยากรูอยากเห็นดวงวิญญาณของคนที่ตายไปแลว อยากรูอยากเห็นเทพบุตร เทวดา ตางๆ ภูตผีปศาจ อยางนั้น อยางนี้ จะอธิบายใหเขาใจงายๆ เหมือนเรานอนหลับสนิท เราก็คงรูวาเวลาเรานอนหลับสนิท จะไม รูอะไรเลยเหมือนกับคนตาย พูดงาย ทีนี้เวลาเราตื่นขึ้นใหมๆ ยังไมมีสติ ถาอะไรมาประสบในเวลา ตื่นขึ้นใหมๆ ก็ตองตื่นเตนใชไหม ก็ตองตื่นเตน พวกเราพอจิตรวม เวลาถอนขึ้นมามีนิมิต จิตมา เจออะไรก็จับปุบเลย จับเอาแบบไมมีสติเพลินไปเลยนี่ มันไปไกลจนสุดกู กวาจะรูตัว เอะ!..เรา ผิด….มันกินไปไกลแลว รูเทากินครึ่งแลว รูไมถึงกินหมด จะทําอยางไรละ คือวาเรารูแลวอยางนี้ มัน แกมันเอง นิสัยของเราเคยเปนอยางนั้น ก็แกมันเองได อยางพระพุทธเจาทานก็ปลอยเหมือนกัน เมื่อพระองคทานไดฌานทีแรก ระลึกชาติหนหลัง ได ทานก็ตรวจชาติหนหลัง จนไมมีที่ตรวจ ไมมีที่สิ้นสุดแลว ก็กลับมาพิจารณาจิตก็รวมอีก จิตถอน ขึ้นมาทานก็ไดฌาน จนนิมิตสิ้นสุดอีก ทานก็กลับมาพิจารณา แตวานั่นเปนธรรมดาของสัตวผูมี กรรมกิเลสอยูเปนกิเลสวัฏ กรรมวัฏ หมุนรอบ ทานมวนตรงนี้เลย มวนตรงกิเลสวัฏ กรรมวัฏ ดูไปก็ เปนกิเลสวัฏ กรรมวัฏ ดูแลวมีประโยชนอะไรละ ถาเราไมตัด มันก็จะตอไปไมมีที่สิ้นสุด เราลูกศิษย พระพุทธเจา ก็ตองตัดตามทานซี ************ ถาม ปกติเปนคนไมคอยมีศรัทธาในเรื่องศาสนานัก โดยเฉพาะเรื่องอิทธิปาฏิหาริยตามที่ไดเคย อานพบในพระไตรปฎก หรือในชาดก ยิ่งเห็นเปนเรื่องเหลวไหลไรสาระเลย แตตอมาไดเกิดพบเห็น สิ่งแปลกๆ ซึ่งเปนสิ่งอัศจรรย อยางไมนาเชื่อ เกิดขึ้นบอยๆ ครั้ง ทําใหตองยอมเชื่อในสิ่งเหลานี้ และหันเขามาสนใจศึกษาในพระพุทธศาสนาอยางแทจริง ทําใหมีศรัทธาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมี ครู บาอาจารยหลายทานไดบอกวาสิ่งตางๆ เหลานั้นเกิดขึ้นเพื่อเปนสิ่งจูงใจใหเลื่อมใสในพระพุทธ ศาสนา ทําไมเราไมพบเห็นสิ่งเหลานี้ตั้งแตอายุยังนอย จะไดหันมาศึกษาและมีความศรัทธาเชื่อถือ ตั้งแตตน ตอบ คนเราก็อยางนี้แหละ เมื่อเปนเด็กก็สนุกสนานเพลิดเพลินเปนอยูอยางหนึ่ง พอเปนผูใหญ นิสัยบารมีก็แกกลาไดคิดขึ้นมาเอง จะเลาใหฟง มีนิทานอยูเรื่องหนึ่ง ตั้งแตสมัยพระพุทธเจา มีอุบาสกคนหนึ่งเขาเปนหัวหนา พอคาเกวียน มีเกวียนเปนบริวาร ๕๐๐ เลม อุบาสกคนนั้นเขามีนิสัยมีวาสนาบารมีจะไดบรรลุพระ โสดาบัน แตยังไมไดสําเร็จ เมื่อขณะที่เขาไปคาขายเอาสินคาบรรทุกเกวียนไป ๕๐๐ เลม พวกเทวดา ก็ปรึกษากันวาพวกเราตองตามไปรักษาพอคาคนนี้ เพราะวาพอคาคนนี้เขามีนิสัยที่จะไดบรรลุโสดา ตองตามรักษาเพื่อไมใหพอคานั้นเกิดอันตราย ถาเราไมตามไปรักษาแลวมีอันตรายเกิดขึ้น ศีรษะ ของเราจะแตกออกเปนเจ็ดเสี่ยง เทวดาจึงตองตามไปรักษา ใหความปลอดภัยทุกสิ่งทุกอยางจน ตลอดทาง ครั้นเมื่ออุบาสกคนนั้นกลับมาบาน ไดมาฟงเทศนพระพุทธเจา จึงไดสําเร็จโสดาบัน นี่ อยางนี้แหละ พวกมีนิสัย เทวดาตองตามรักษาเสมอ ไมถึงคราวถึงกาลก็ไมเปนไร พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ บุคคลใดยึดถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนที่พึ่ง บุคคลนั้นยอมไปสูสุคติตลอดแสน กัปป เมื่อละอัตภาพรางกายของมนุษยไปแลว จะไดเปนผูถือวามีกายทิพย กายเทวดา กายเทพบุตร


43

และบุคคลผูนั้นเปนผูถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ดวยความมั่นแมนแลว สําหรับอันตราย ตางๆ เปนตนวา ยาพิษ ศาสตราวุธ หรือไฟไหม บุคคลผูนั้นจะไมตายเพราะสัตวกัดตอย หรือ สงคราม ไมตายดวยยาพิษ ยาเบื่อ เวนเสียแตผลกรรมของบุคคลผูนั้นซึ่งทําไวแตสมัยกอนจะตามมา ทันเอง นั่นเปนสิ่งที่เหลือวิสัย ถาตายไปแลวก็ไปเกิดบนสวรรค ถากลับมาเกิดเปนมนุษยอีก ก็เปน มนุษยที่ดี มีตาดี มีหูดี ปากดี จมูกดี ลิ้นดี กายดี ใจดี และบําเพ็ญคุณงามความดีใหเกิดขึ้น บําเพ็ญ ทาน ศีล ภาวนาใหเกิดขึ้น มีนิสัยบารมีสรางไว บําเพ็ญไปเรื่อยๆ พอแกกลาก็สําเร็จ พระ นิพพาน ผูมีศรัทธาความเชื่อ ความเลื่อมใส บําเพ็ญทาน ศีล ภาวนา ผูนั้นจะไดบุญ ไดกุศล ถาตาย ไปแลว บุญกุศลจะใหความสุขแกผูนั้น ใหไปสูสุคติ มนุษยสุข สวรรคสุข นิพพานสุข ถายังไมถึงพระ นิพพาน บุญกุศลที่ตนเองไดทําไว ก็จะเปนอุปนิสัยที่ตามรักษาคุมครองบุคคลนั้น ใหประสบแต ความสุขความเจริญในสุคติ มีมนุษยสุข สวรรคสุข นิพพานสุข ถาบุคคลผูนั้นหมั่นขยันเพียรบําเพ็ญ ไมหยุดหยอน อาจถึงนิพพานสมบัติในชาติปจจุบัน หรือในชาติตอๆ ไป เพราะฉะนั้นผูบําเพ็ญบุญ กุศล บําเพ็ญคุณงามความดี ทานจึงวามีเทวธรรม เทวดาคอยอภิบาลรักษาใหอยูเย็นเปนสุข ให ปราศจากอันตรายทั้งหลายทั้งปวง “ธรรมยอมรักษาผูปฏิบัติธรรม” ไมใหมีอันตราย ไมใหตกไปใน ที่ชั่ว ผูประพฤติปฏิบัติธรรม ไปอยูที่ไหนยอมไมมีอันตราย ปลอดภัย ดังนั้นเราจึงไมควรสงสัยเรื่องเทวดาตามมาอภิบาลรักษาหรือไม คุณงามความดีของเรานี่ แหละ เปนเทวดารักษา เทวธรรมคุมครองเราเทวดาก็คุมครอง เทวธรรมคืออะไร “หิริ” คือความ ละอายสิ่งที่ชั่ว สิ่งที่เปนบาป “โอตตัปปะ” คือความสะดุงกลัว ความเกรงกลัวในสิ่งที่ชั่ว สิ่งที่เปน บาป เมื่อเราไมทําความชั่ว คุณงามความดีของเรานั่นแหละรักษา ภายในเรามีคุณงามความดีรักษา ภายนอกเราก็มีเทวดารักษา เหมือนนิทานที่เลามานั่นเอง เราไมตองสงสัย ************* ถาม ขอเรียนถามทานอาจารยวา เวลาที่ยังลืมตาอยู รูสึกเหมือนมีภวังคสมาธิคางอยู และขณะ เดียวกันก็สามารถพูดคุยเรื่องหนึ่งได คือถาหลับตาก็เรียกวาเขาสมาธิ แตนี่ลืมตาและรูสึกเหมือน แบงเปน ๒ ภาค ภาคหนึ่งเหมือนเปนสมาธิ อีกภาคหนึ่งพูดคุยกับคนอื่นไดตามปกติ เชนนี้เรียกวา เรามีสมาธิจิตอยูเหมือนกันใชไหมคะ ตอบ สมาธิตองมีสติรูอยูกับตัวตลอดเวลา บางครั้งเผลอๆ ไปบางเปนธรรมดา แตถามีความ เพลิดเพลินก็เปนอันตราย

ถาม มีความรูสึกวา ถาเราปฏิบัติไดถึงขนาดนั้นควรจะไดฌาน ๔ อดสงสัยไมได เพราะอาการมัน มาตรงกับตําราที่เขาวาเปนฌาน ๔ พอรูสึกวา เอ!..นี่ฌาน ๔ ใชไหม จิตจะตกทันที เราจะประคอง ไมใหจิตตกไดอยางไร ตอบ


44

เราจะคาดวาอาการอยางนั้นเปนฌาน ๔ ไมได กิเลสมันยังอยูมันก็สงสัย เราอยาสงสัยวา มันจะเปนตามนั้นตามนี้ เราบําเพ็ญเรื่อยๆ ไป สวนจิตนั้นก็ใหนิ่งอยูเฉพาะจิต อยาไปดูตํารา มันจะ เปนสัญญา ไมไดพบของจริง โยนตําราเผาไฟทิ้งเสียกอน ทางพระกัมมัฏฐาน ทานจึงสอนใหปฏิบัติ ไป ภาวนาไป วันหนึ่งก็รูเอง เห็นเอง มัวไปคาดวาอยางโนน คาดวาอยางนี้ รูกอนเกิด มันก็เลยไม เกิดสักที พวกเรียนมามากตามตํารา แตไมปฏิบัติ กับพวกปฏิบัติ แตไมตองเรียนตํารา มันก็เปรียบ เหมือน…คนหนึ่งพูดเรื่องเชียงใหม อานแตเรื่องเชียงใหม ภูมิประเทศเปนอยางไร ผูคนเปนอยางไร ใหเขียนกี่เลมสมุดไทยก็ได ปาฐกถาก็ได แตก็เปนตามตํารา ไมเหมือนอีกคนหนึ่ง ไมตองอานตํารา ออกมุงหนาเดินทางไปถึงเชียงใหม ไปถึง ก็เห็นเอง รูจักเอง พบกับคนที่อยูเชียงใหมดวยกันก็พูด กันรูเรื่อง เชียงใหมเปนอยางไร หรืออีกนัยหนึ่งเหมือนคนเรียนเรื่องปวดฟน คนไมเคยปวดฟน ไม เคยหาย อานตํารามาเทาใดก็อธิบายไปอยางนั้นเอง มันไมเคยเปน เปนอยางไร หายปวดฟนเปน อยางไร แตคนเคยปวดฟนแลว พูดกันสองสามคําก็รูวา มันปวดอยางไร เวลาหายปวดแลวมันโลงอก สบายอยางไร ************ ถาม ทําไมบางคนภาวนาแลว เขามีนิมิตเห็นโนนเห็นนี่ แตอยางผม ภาวนาไป ไมเคยเห็นอะไร เลย ตอบ นิสัยของคนไมเหมือนกัน อยางจิตของทานอาจารยใหญมั่น ทานไปเรียนถามอาจารยเสารวา “จิตของผมเดี๋ยวขึ้นพรหมโลก เดี๋ยวลงนรก เดี๋ยววิ่งไปโนนมานี่ จิตของทานเปนอยางไร” ทาน อาจารยเสารตอบวา “จิตของผมเรียบๆ ไปเลย” มันไมเหมือนกันหรอก เรื่องจริตนิสัย ถาม ขอประทานโทษ จิตของทานอาจารยขึ้นลงเหมือนกันใชไหมคะ ตอบ ก็เหมือนกันขึ้นลง แตเราตองจับอารมณของเราวา พิจารณาอะไร ตองพิจารณาอยางนั้น จิต ของเรามันสอหา แสหา หลักของเรามีอยูในสัจธรรม ถาม ขอใหทานอาจารยกรุณาอธิบายถึงอารมณเวลาอยูในฌานมีลักษณะอยางไร ตอบ ฌานคือ การเพง ฌานในพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจา ทานเจริญฌานสติปฏฐาน พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม ถาฌานนอกศาสนาคือ ฌานอยูเฉยๆ จิตมันลงไป วางอารมณหมด ฌานแบบนี้เปรียบเหมือนหญาที่มีหินทับอยู ถาเอาหินออกหญาก็งอกออกมา ฌานนอกสติปฏฐาน เปนอยางนั้น อยาฤๅษี จากกษัตริยบวชเปนฤๅษีอยู ๒๐ พรรษา เจริญฌานไดสําเร็จฌาน ๔ จิตอยู เฉพาะจิตเฉยๆ เขาใจวาถึงที่สุดแลว แตที่แทวันหนึ่งเหาะผานพระราชวัง เห็นผูหญิงสวยเขา เกิด ความรักฌานเสื่อมตกลงจากอากาศลงมาเลยก็มี วิธีใหจิตอยูเฉยๆ เราจะบริกรรมอันหนึ่งอันใดก็ได เพงกสิณก็ได เพงมีอารมณอันเดียว มีความหมายตั้งจิตขางหนาเปนผูบังคับจิตใหรวม เพงจิตนั้นให รวมนี้เรียกวาความสุข ทีนี้จิตถอนจากอันนั้นก็มาถึงความสุขอันนั้นรวมเปนอารมณหลอเลี้ยงจิตใหมี ความสุข แตฌานในพระพุทธศาสนานั้น ใชวิธีบังคับสติใหพิจารณาอยูในไตรลักษณในสัจธรรม ถาม


45

บางคนเจริ ญ ฌานอย า งนั้ น จนชํ านาญ แลว ก็ไปติดเพลิดเพลินอยูในฌานนั้น อยางที่ ทานอาจารยกลาววาเหมือนถอนหญาที่มีหินทับไว แตบางทานก็บอกวา กอนจะไปพิจารณาตอง บําเพ็ญฌานใหชํานาญเสียกอน และทานอาจารยบางองคเคยสอนวา ตองภาวนาใหมีพลังสักระยะ หนึ่งกอน แลวคอยพิจารณา เหมือนจะปลูกบานตองวางรากฐานใหแข็งแรงเสียกอน ตอบ ก็แลวแตจริตของบุคคล พระโยคาวจรเจาบางองคจิตรวมกอน เมื่อจิตถอนแลวจึงพิจารณา บางองคพิจารณากอนแลวจิตจึงรวม บางองคพิจารณาแลวขาดไปเลย มันไมเหมือนกันหรอก พระ อรหันตแตละองคยังมีวาสนาบารมีตางกัน บางองคนั่งฟงพระพุทธเจาเทศนก็สําเร็จในที่นั้นเลย บาง องคบําเพ็ญภาวนาเสียกอนเมื่อมาฟงเทศน ก็พิจารณาแลวพิจารณาเลาจึงจะไปได จิตของทาน อาจารยมั่น ทานวาจิตรวมกอน จิตของทานอาจารยอีกองคหนึ่งวาพิจารณากอนจึงรวม อีกองคหนึ่ง วา พิจารณาลงขาดไปเลย กิเลสมันขาดเปนระยะไปเลย เลยหมดไปเลย มันตางกัน นิสัยวาสนาบารมี ที่บําเพ็ญมานั้นตางกัน เราพูดมันยาก บางทานมีฐานมาดีแลว สมมติทานฟงเทศน ทานพิจารณาของ ทานจิตของทานก็ขาดไปเลย ฐานของทานดีแลว จริตของเราเปนอยางนั้นแหละดี ทุกสิ่งทุกอยางถาไมตั้งมั่นก็ไปไมได ถาไมมีกําลังก็ไปไมได ตรัสรูเร็ว ปฏิบัติงาย, ตรัสรูเร็ว ปฏิบัติยาก, ตรัสรูยาก ปฏิบัติงาย, ตรัสรูยาก ปฏิบัติยาก มีดังนี้ ปฏิบัติงายรูไดงายไมลําบาก ปฏิบัติงาย ตรัสรูยาก คือจิตมันสงบยาก มันรูยาก ปฏิบัติยากรูไดเร็ว รูงาย ปฏิบัติยากตรัสรูยาก ไดตรัสรูแตมันก็ยาก มีแคนี้ นิสัยของสัตวโลก จะใหเหมือนกันมันไมเหมือนกันหรอก บางทานเปนผูมีตาทิพย ดู พรหมโลกได ดูนรกได ดูเทวดาได อยางพระโมคคัลลานะหรือพระอนุรุทธะ ตอนพระพุทธเจาจะ เสด็จปรินิพพาน องคอื่นจําตองคอยถามทานพระอนุรุทธะ ทานมีทิพยจักษุเปนเลิศที่สุดในบรรดา สาวก องคอื่นก็ไมเทียบเทากับทาน ดูแตพระอรหันตยังไมเหมือนกัน พวกเราก็ไมตางกันกับทาน บางคนจิตหยาบ บางคนละเอียด ที่เขาละเอียดเขามีพื้นฐานดีแลว พอเขาเจริญภาวนา เขาก็ไดเลย ตัดไปเลย พวกเราก็ตองพยายามบําเพ็ญความเพียรกันไป อยาทอดทิ้งความเพียร วันหนึ่งผลสําเร็จก็ ตองเปนของเรา ถึงจะไมถึงที่สุดในชาตินี้ แตก็จะเปนนิสัยปจจัยติดตัวเราไปในชาติหนาภพหนา ขอ ใหบําเพ็ญตอไปเถอะ *********** ถาม ขอกราบเรียนถามในเรื่องพระเวสสันดร มีตอนหนึ่งกัณหาชาลีถูกชูชกเฆี่ยนตีตอหนาพอ ก็ ตัดพอพระเวสสันดรตอนหนึ่งวา “กุมาร กุมารีใดไรนิราศ ปราศจากพอ ยังแตแมผูเดียว ก็พอแลพอ เหลียว ชื่อวาผูพรอมทั้งบิดาและมารดา ทาริกา ทารกผูใดไรนิราศปราศจากแม ยังแตพอผูเดียว ก็ เปลาเปลี่ยว ไดชื่อวาสูญสิ้นทั้งบิดาและมารดา” เฉพาะนางกัณหายังบอกขอลาวา “พระบิดาอยาได นอยพระทัยเลย พระคุณเอย….อยาวาลูกนี้ลวงมาดูถูก ที่จะไดกลับมาเปนพอลูกกันสืบไปนั้น….. คงไมมีอีกกระมัง” เพราะอธิษฐานอยางนั้น ชาติหนานางกัณหาจึงไมไดมาเกิดเปนลูก พระพุทธเจา อีก ใชไหมคะ


46

ตอบ เขาไมไดอธิษฐานหรอก เขารํ่าไรรําพันใหพอฟง คือวาโบราณ กุมาร กุมารีใดปราศจากแม ยังแตพอคนเดียวก็จะเปลาเปลี่ยวเพราะปราศจากหมด ถากุมารกุมารีใดปราศจากพอ ยังแตแมผู เดียวก็ถือวามีพรอม มีพรอมเพราะวาบิดานี่ถึงอบรมลูกอยางไรก็ไมถึงใจ แตมารดานั้นอบรมลูกถึง ใจ เลี้ยงลูกถึงใจ คุณของมารดานั้นมีมากหาประมาณมิได เพื่อใหพอสลดใจ กัณหาจึงแกลงวา อยา วาลูกประจานหนาพอเลย อยาวาลูกดูถูกดูหมิ่นเลย ถาม “ชาติหนาก็คงไมไดพบกันอีกแลว” มีประโยคนั้นตอไหมเจาคะ ตอบ ไมมี คงจะวา จะไดกลับมาเปนพอลูกกันอีกในชาตินี้คงจะไมมีหวังแลว เพราะกลัววา พราหมณจะฉีกเนื้อฉีกเลือดกินเปนอาหารในกลางทาง จะไดกลับมาเห็นหนาพอลูกกันอีกนั้นเห็นจะ ไมมีทางแลว วาอยางนั้น ถาม แตพอดีชาติหนากัณหาก็ไมไดเกิดจริงๆ ตอบ ไดเกิด แตชาลีนั่นเขาไมไดปรารถนา เขาไมไดโกรธในพอ แตก็อาจจะเปนกรรมเปนเวรของ พวกเขาที่นางกัณหาเกิดชาติไหนก็มีแตอธิษฐานๆ ชาติหนาไมมาเกิดหรอก กัณหาไมปรารถนามา เกิด แตกรรมยังไมหมดจึงตองมาเกิดอีก ไดมาเกิดในตระกูลเศรษฐี ชาลีนี่ไมไดอธิษฐาน ถาม แตกัณหาเปนคนตัดพอวา ที่จะไดกลับมาเปนพอเปนลูกกันสืบไปอีกนั้น เห็นจะไมมีอีกแลว เพราะฉะนั้น ก็เพราะคําตัดพออันนั้น ถึงไมไดมาเกิดเปนพอลูกกันอีกกับพระเวสสันดรหรือ พระ พุทธเจา ใชไหมเจาคะ ตอบ อาจจะเปนอยางนั้นก็ได เด็กนอยถูกตีหลาย เจ็บปวด ก็รําพันไป….เหตุที่กัณหาชาลีถูก พราหมณตีเพราะวา สมัยกอนกัณหาชาลีเปนสามีภรรยากัน ไปฆาวัวแกตายเนื่องจากเอาของใสหลัง ตางไป ทีนี้กลัวจะไมทันเวลาไปจายสินคาหรือซื้อสินคา วัวอยากกินหญากินนํ้าก็ไมใหกิน ตีไปเรงไป เลยไปถึงจุดที่หมายถึงใหกิน เปนอยางนี้เรื่องของกรรม จึงวากัณหาชาลีเปนพอคา พราหมณชูชก เปนวัวตางในสมัยนั้น มีแตตีเคี่ยวเข็ญไปเรื่อยเพราะกลัวจะไมทันเวลา ถาม กัณหาชาลีสองคนนี้ที่เปนพี่นองกัน ก็เคยเกิดเปนสามีภรรยากันดวยหรือ? ตอบ เคยซิ ชาติในเวสสันดรชาดกนั้น…ตอไปก็เปนสามีภรรยากัน แตงงานกัน ถาม ที่วาชาติกอน กัณหาชาลี เคยตีชูชก และขาติตอมาชูชกตีกัณหาชาลี แลวชาติตอไปเปนอยาง ไร ตอบ


47

เขาพนไปแลว กรรมสนองกรรม คือจาก ชาตินั้น พวกกัณหาชาลีก็ไปอยูในชั้นดุสิต สราง บารมีเต็ม แลวไปเกิดเปนมนุษย พอเกิดเปนมนุษยไดพบพระพุทธเจาไมนาน ก็สําเร็จเปน พระ อรหันต ชาลีก็เปนพระราหุล กัณหาเปนนางอุบลวรรณาเถรี ชูชกนะมาเกิดเปนพระเทวทัต ถาม ทานอาจารยเจาคะ ทําไมชูชกลงมาเกิดเปนพระเทวทัตคะ

ตอบ แกก็สรางกรรมไวทุกชาติ สรางกรรมทําเชนนี้มาทุกชาติ แตก็มีศรัทธาความเชื่อความ เลื่อมใสแฝงอยู แตวาเปนความทุจริต ถาม เอ!..ทําไมตอไปภายหนาพระเทวทัตจึงจะไดเปนพระปจเจกไดคะ ตอบ คือวาตอนนั้นแกเห็นโทษของตนเอง เกิดความสลดใจ แกมาเห็นโทษของตนเอง จึงขอขมา โทษพระพุทธเจา พระเทวทัตมีศรัทธาออกบวชเปนภิกษุในพระพุทธศาสนา แตก็มาทําลายสงฆให แตกกัน ทํารายพระพุทธเจา แตผลที่สุดไมสําเร็จ สุดทายเลยมาพิจารณาเห็นโทษของตน จึงใหลูก ศิษยหามมา หามมาก็พอดีบูชาพระพุทธเจา ดวยอานิสงสอันนี้ อานิสงสที่ขอขมาพระพุทธเจา แลวก็ เห็นโทษของตนแลวก็ถวายชีวิต พระเทวทัตจึงจะไดมาตรัสรูเปนพระปจเจกพุทธเจาในภายหลัง ถาม สงสัยนิดหนึ่งอยางที่เคยไดยินวา ผูที่ทําใหพระพุทธเจาถึงหอพระโลหิตนี่ จะไมมีทางไดเปน พระอรหันตไมใชหรือคะ แตวาพระเทวทัตนี่ก็ทํากรรมอันนี้ แตกลับจะไดเปนพระปจเจกตอไปขาง หนา ดีกวาพระอรหันตเสียอีกนี่ มันไมขัดกันหรือเจาคะ ตอบ ไมขัด มันไมขัด ทานเสวยกรรมอันหนักนั่น ที่วาไมมีทางไดตรัสรูเปน พระอรหันต นั้นหมายถึงไมมีทางเปนในชาติปจจุบันได ถาม หมายความวาไมสําเร็จในชาตินี้ แตตอไปถารับกรรมตกนรกอเวจีและสรางบารมีตอไป เรื่อยๆ แลวก็อาจจะกลับสําเร็จไปได และอยางองคุลิมาลที่ฆาคนเปนรอยๆ คน ทําไมถึงบรรลุเปน พระอรหันตไดในชาติปจจุบัน ตอบ เพราะวากรรมอันนี้เปนดวยคนหลอกลวง บุคคลอื่นทําลายเกียรติศักดิ์ หรือ คุณงามความ ดีขององคุลิมาล องคุลิมาล หรือ อหิงสกะ นี่เรียนเกงในจํานวนนักเรียน ๕๐๐ คน อาจารยก็รัก เพราะวาองคุลิมาลเปนผูปฏิบัติใกลชิดอาจารย เคารพอาจารยมาก และก็สอบไดที่ ๑ ของนักเรียน พวกนักเรียนก็เลยอิจฉาพยาบาท ไปซัดทอดบอกอาจารยวา นักเรียนคนนี้ตอไปจะแขงดีอาจารย จะ ทําลายอาจารย ขอใหอาจารยกําจัดเสียฆาเสีย อาจารยก็วาฆาอยางไร ฆาลูกศิษยไมได เลยทําอุบาย บอกวา ยังมีอีกวิชาหนึ่ง ถาเรียนจบของอาจารยไดก็จะเรียนเกงมาก วิชานั้นเปนของที่ทํายาก ถา เรียนไดแลวจะตองเปนจาวโลก รูวาเขามุงหวังจะเปนจาวโลก อาจารยก็หาอุบายใหคนอื่นเขาฆา โดย หลอกองคุลิมาลวา กอนจะเรียนวิชานี้ไดตองไปหานิ้วมือมนุษยมา ๑,๐๐๐ นิ้ว ใหไดกอน มีขอแมวา


48

นิ้วหนึ่งก็ใหเอามาจากคนหนึ่ง ไดครบ ๑,๐๐๐ นิ้ว แลวใหกลับมา อาจารยจะสอนวิชาใหไดเปน จาวโลก เอ!…องคุลิมาลคิด เอ!..เราเกิดในตระกูลสูง อาจารยไมควรทําบาปอยางนี้ ตระกูลเราไมเคย ทํา แตที่เรามุงหนามาเรียนวิชานี่เพราะบิดามารดาสงมา เพื่อจะไดเรียนวิชาชั้นสูงพิเศษ ถาเราไมทํา เราก็ไมไดวิชา ไมไดเปนจาวโลก จําเปนเราตองเอา ไมฆาโดยเจตนา ทีแรกก็ขอเขาแตใครจะไปให เมื่อไมใหก็ตองฆาเอา ตัดเอาคนละนิ้ว คือไมฆาโดยเจตนา ฆาเพราะหลง ก็เหมือนอยางทหารนี่ ยก ทัพจับศึกกันนี่ ทุกคนจะยิงกัน ตายกันเปนรอยเปนพันเปนหมื่น เพราะเขาไมไดเจตนา ทําตามคําสั่ง ของผูอื่น แตผูออกคําสั่งไปตกนรกอยางพระเตมีย ผูสั่งก็เหมือนกัน ถาไมทําอยางนั้นขาศึกมันก็เขา มาเบียดเบียน ก็หมายความวาถาไมทําอยางนั้นก็ไมได มันเดือดรอนกันหมด ถาม พระองคุลิมาล คงทําบารมีชาติกอนๆ ไวมากเหมือนกัน ใชไหม ตอบ มี พระพุทธเจาทานพิจารณาแลว องคุลิมาลนี่เคยสรางบารมี มีนิสัยเปนอรหันตอยู แตขณะ นี้จิตหยาบกระดาง โหดเหี้ยมแลว เพราะฆาคนมามาก เก็บนิ้วมือไว ไมรูจะเก็บที่ไหนก็รอยไวเปน พวงมาลัย ขณะนั้นไดนิ้วมา ๙๙๙ นิ้วแลว ขาดอีกนิ้วเดียวก็จะครบพัน ก็หมายความวา ฆามาแลว ๙๙๙ คน ขาดอีกคนหนึ่งจะครบพันคน พันชีวิต และวันนั้นมารดาขององคุลิมาลก็จะออกไปหาลูก ลูกพบก็จะฆามารดา เพราะวันนั้นจะครบแลว ถาใครมาก็จะฆาเอาแลวไมวาพอไมวาแม ใครๆ ก็ ตาม ยังอีกนิ้วเดียวเทานั้นจะสําเร็จแลวนี่ พระพุทธเจาพิจารณารูวา วันนี้มารดาขององคุลิมาลจะไป สงอาหาร ไมได….องคุลิมาลนี่จะฆามารดา จําเปนเราตถาคตจะไปกอน ออกไปกอนมารดา เพราะถา องคุลิมาลทํามาตุฆาต คือ ฆามารดา นิสัยอรหันตก็จะสิ้นไปทันที ตองตกนรกอเวจี และตอนนั้นพระ เจาปเสนทิโกศลจะยกกองทัพไปปราบโจรองคุลิมาล ไปตั้งทัพไวนอกวัดเชตวัน พระพุทธเจาก็ เสด็จไปทรมานกอน องคุลิมาลเห็นพระพุทธเจาก็คิดวา โอ!..บุรุษคนนี้สวยงาม เราจะเอานิ้วมือให ได ก็ถือดาบวิ่งตามไป พระองคอธิษฐานใหองคุลิมาลเตนขยอกๆ อยูที่เกาเขยาอยูนั่น ที่วาไลตามไป ไมใช อธิษฐานใหองคุลิมาลเตนยึกๆ คลายๆ วาตัววิ่งอยูเรื่อย พระองคดําเนินไปชาๆ องคุลิมาลวิ่ง ตามเทาใดก็ไมทัน จนเหนื่อยจึงโกรธ รองวาพระพุทธเจา วา “หยุด! หยุด! สมณะ สมณะ สมณะ หยุด!” นานๆ เขาพระองคก็วา “เราหยุดแลว เธอซิไมหยุด” “หยุดทําไมวิ่งไป สมณะพูดปด” “เรา ไมใชหยุดนิ่ง เราหยุดทําบาป เธอยังไมหยุดทําบาป เธอไมหยุดฆาคน” องคุลิมาลฟงแลวก็รูสึกวา ตนผิด จึงวางอาวุธ ถาม แลวอาจารยที่สั่งใหไปฆา อันนี้อาจารยก็ผิดมากใชไหมเจาคะ

ตอบ คืออาจารยไมไดสั่งฆาคน แตสั่งตัดเฉพาะนิ้วมือเฉยๆ ถาเอานิ้วมือเขาแลว เขาไมใหเขาก็คง ฆาองคุลิมาล เจตนาใหคนฆาองคุลิมาล แตก็ไมมีใครฆาองคุลิมาลได องคุลิมาลกลับสามารถฆา คนไดเกือบจะถึงพันหนึ่ง ขาดอยูคนเดียว พอดีพระพุทธเจาเสด็จไปทรมานสําเร็จ การที่องคุลิมาลไมไดมีจิตตั้งใจคิดฆาคนนี้ เปนสัจจะความจริง ฉะนั้นตอมาภายหลัง เมื่อ องคุลิมาลมาพบหญิงมีครรภ เจ็บทองอยางนาสงสาร จึงอธิษฐานนํ้าลางที่นั่งใหหญิงนั้นกิน โดยวา “ตัง้ แตเราเกิดมา ไมเคยแกลงปลงสัตวมีชีพจากชีวิต ดวยอํานาจการกลาวคําสัตยนี้ ขอความ


49

สวัสดีจงมีแกครรภของทาน โหตุ โสตฺถิ คพฺภ สฺส” วาแคนั้น หญิงนั้นก็คลอดลูกออกมาโดย งาย คาถาของพระองคุลิมาล “โหตุ โสตฺถิ คพฺภสฺส” ใหผูหญิงคลอดลูกงาย ยังคงใชแพรหลายกัน จนเดี๋ยวนี้ ถาม องคุลิมาลทานก็ตองมีสัจจบารมีมากซีคะ ตอบ เรื่องเหลานี้จึงไดเรียกวา สังขารของเราไมเที่ยง ราคะสังขาร โทสะสังขาร โมหะสังขาร ก็ลวน เปนสังขารเปนของไมเที่ยงไมแนนอน มันวางกันได พอเราวางได มันก็หมดเรื่อง ที่เราวางไมไดมัน ติดพันกันอยู ลําบากแกไมตก องคุลิมาลนี่เมื่อเวลาบวชแลวมานั่งภาวนา พวกนิมิตทั้งหลาย ผีปศาจถือหอกถือดาบจะมา แทง จนกลัวแกไมตก จึงไปหาพระพุทธเจา พระพุทธเจาทานใหละ อยาไปถือเปนอารมณ ตอมาจึง บําเพ็ญไดจนสําเร็จอรหันต ถาม เพราะฉะนั้นเวลาเรานั่งภาวนา ถาเราเห็นภาพนิมิตนากลัวพวกนี้เราตองละ ไมรูไมชี้ใชไหม ครับ ตอบ คําวา “ละ” หมายความวาอยาไปติดมัน อยางไปยึดมัน รูก็ไมเปนไร เหมือนอยางเรา เห็นคนสวยคนงาม เราก็รูวาคนๆ นั้นสวย คนนั้นงาม แตอยาไปติดความสวยความงามของเขา อยาไปวิ่งตามคนสวยคนงาม อยาไปรักคนสวยคนงาม วางตัวเฉยๆ ถาไปรักนั่น กําหนัดอยูนั่น ไมสบายแลว หรืออยางเห็นคนที่ไมดี คนกลั่นแกลงเรา เราก็ชังคนนั้น แตอยาไปติดตามชังมัน ใหละมัน รูวามันชัง เราก็ละ อยาใหเปนโทษ ถามันชังแลว เรามัวแตเอาความชังมาปลุกปลํ้าใจ ของเรา มันก็เลยเกิดเปนโทษ ก็เบียดเบียนกันใชไหม

ถาม เพียงแต ชัง ยัง ชัง ไดหรือเจาคะ นึกวาเราควรเพียงรูวาเขาไมดีเทานั้น แตเราไมควรตอง ไปชังเขา ตอบ ทําไดอยางนี้ก็ดีซี รูวาไมดี ไมชังก็ดีแลว ปญญาคนเรามันมีหลายขั้น ขั้นหนึ่งรูวาไมดีก็ยังไป เกลียดไปชังเบียดเบียนเขา นี่ปญญาขั้นหนึ่ง สวนอีกขั้นหนึ่ง ถาเห็นวาเปนคนไมดีก็เพียงแตรูวาไมดี ไมตองชังเขา ละมันเสีย นี่คนละขั้น คนละระดับ ใจคนมันตางกัน ใจดี ใจดํา ใจกํ่า ใจขาว ใจ ยาว ใจสั้น ใจแคบ ใจกวาง ใจเพชร ใจพลอย ใจแกว เปนอยางนั้น ถาม ใจยาว ใจสั้น ใจขาว ใจดํา เปนอยางไรครับ ตอบ คนใจยาว หมายถึงวา ใจมันก็ดี อยางเขามาเปนหนี้เปนสินเรา มาขอผอนกอนครับ ผมยัง หาเงินไมทัน เออ!…เอาไวตอๆ ไปก็ได ยืดไปเรื่อย ผอนผันเขา พูดงายๆ นี่เปนคนใจยาว ให


50

อโหสิกรรมไปเรื่อยๆ ไมเอาโทษเอากรรมเขา ไม บีบบังคับเขา เขาใจไหม นี่คนใจยาว ถาคนใจสั้น ก็เอาเดี๋ยวนี้แหละ เอามาซี ไมเอื้อเฟอผอนสั้นผอนยาวใหใคร สวนคนใจขาว ก็ใจสะอาด ใจไมมี มลทิน และคนใจดํา ก็ใจอํามหิต ถาม แลวใจเพชร ใจพลอย ละครับ ตอบ ใจเพชร นี่หมายถึงวา ใจดี ใจบริสุทธิ์ ไมกลับกลอกหลอกหลอน เปนเพชร ใจพลอย ก็ คลายๆ กันนั้นแหละ ประเภทผูละ นองๆ ใจเพชร ใจเพชรก็แคโสดา สกิทา อนาคา ใจพลอยก็คือ จุลโสดา นองชายโสดา ถาม ทานอาจารยบอกวาจิตใสสะอาดบริสุทธิ์แลวนี่ จิตเปนแกว ยังไงๆ ก็เปนโสดาเลย โสดาแลว บางคนบอกวาถาจิตใสเปนดวงแกว เปนอรหันตดวยซํ้าไป ตอบ มันใสก็ใสตางๆ กัน ใสอยางหมดมลทินหมดกิเลส ใสอีกอยางหนึ่ง มันไมหมด มันมีเปนอา สวะนอนอยู เวลาจิตลงไปมันก็ใส ถอนมาก็เปนจิตธรรมดา ใสเฉพาะตอนปรุงแตง ของพระโสดา สกิทาคา ปญญาของทานมันดีไมหลอก ของพระอรหันตทานบริสุทธิ์เปนแกวแลว

ถาม สวนมากคนสมัยใหม จะนึกวาเรื่องสมัยพระพุทธเจาเปนเรื่องแตงเติมเสริมขึ้น เปนเรื่อง นิทาน ผูใหญในบานเมืองก็ยังเขียนบอยๆ วาชาดกนั้นเปนนิทาน เขานึกวาเปนเรื่องเขียนเลนกันทั้ง นั้น ตอบ ธรรมดาปุถุชนนี่ เขาไมเชื่องายหรอก ใครๆ ก็เหมือนกันแหละ ถาม แลวทําไมทานอาจารยเชื่อละเจาคะ เหตุใดทานอาจารยจึงเชื่อวาคําสั่งสอนนั้นๆ เปนของ พระพุทธเจาจริงๆ ที่จริงทุกคนเคารพพระพุทธเจา แตที่ไมเชื่อเพราะไมเชื่อวาเรื่องอันนั้นเปนคําของ พระพุทธเจาจริง นึกวาเปนการเติมกันขึ้นมา อยางนี้ทานอาจารยก็ตองรูแจงมากอน เห็นจริงแลว ทานอาจารยจึงเชื่อ ตอบ เชื่อก็เชื่อเหตุเชื่อผลนั้นแหละ พระพุทธเจาทานแสดงมีเหตุมีผล อยางทานวาในรางกายของ เราเปนของไมสวยไมงาม ถาดูเผินๆ มันก็งาม เห็นหนาสวย ผิวสวย ปากสวย ตาสวย ถาเราดู ละเอียดแลวมันก็ไมงามอยางทานวา ใตผิดใตหนังลงไป มันมีอะไรสวย ปากตานั่นอีกไมนานก็เหี่ยว ยน เปนกระดูกกลวงโบไปหมด เขาเชื่อกันอยางนั้น จึงถึงสัจธรรมนี่แหละ เราจะเถียงทานมันไปไม ได จะวางามหากดูละเอียดมันก็ไมงาม แมนของทาน อยางการทําบาปนี่เปนบาป ทําไปแลวมันก็ รอน อยางไปฆาเขาดูซิ ไปลักขโมยของเขาดูซิ ที่เห็นอยูนี่เปนอยางไร ติดคุก ติดตะราง เดือดเนื้อ รอนใจใชไหม แตถาเราทําดีเราก็อยูเย็นเปนสุข สบายใจ


51

ถาม หลวงปูขาวเคยบอกวา มนุษยเราเคยเปนพอเปนแมเปนพี่เปนนองเปน ครูบาอาจารย กันมาทุกคน ทุกคนเคยเปนกันทั้งนั้น ไมเคยที่จะไมเกี่ยวของกัน เพราะเราตางเกิดกันมาเปน อสงไขยชาติ นับชาติไมถวน ถาเปนอยางนั้นคนเราก็ไมนาจะเปนศัตรูกัน ควรจะรักใครปองดองกัน แตทําไมคนถึงกลับไปเปนศัตรูกัน ตอบ มันเปนเรื่องของกิเลส กิเลสมันไมแน อยางภรรยาสามีทีแรกก็รักกัน ตอมาก็ชังกันเกลียด กันได ตีกัน ฆากันได ถาม พวกนี้พอมาเกิดใหมก็เปนศัตรูกัน ตอบ พวกกิเลสนี้มันไมแน มันเปนของไมแนนอนยืนยันไมได ************* ถาม เคยไดยินประวัติวา ทานอาจารยอยูที่ดงหมอทองและถํ้าจันทร แหงละหลายๆ ป เปนสถาน ที่นาภาวนา ดีมาก ตางกันอยางไรเจาคะ ตอบ มันดีคนละอยาง อยูดงหมอทอง ภาวนาจิตรวมงาย บางวันรวมตลอดวันตลอดคืน นั่งแลว เอาปบตั้งไว นั่งบนปบตลอดคืนไมลม ไมนอนตลอด ๒ เดือนทั้งกลางคืนกลางวัน เหตุที่ทําอยางนั้น เพราะวา จิตของเราลงไปแลวมันนิ่งไมรูสึกตัว รูวาจิตรวม ทีนี้พอออกพรรษาไปหาทานอาจารยฟง เทศน ทานใหพิจารณาบาง เพราะจิตมันรวมพอแลว เราอยาไปพัก ถามีแตพักมันเปนโทษ ปญญา ไมกลา ปญญาไมมี เลยกลับมาถํ้าจันทร ทีนี้ไมใหจิตมันลง มีแตคนอยางเดียว แตมันดีคนละฐาน มี แตคนกาย เลนพิจารณากาย ไมใหจิตพัก แตอยางนั้นมันก็อยากลงอยู ความรูสึกวามันจะพักอยาง เดียว เพราะมันเคยพักเคยสบายจนติด ตองแกกันจนหาย ถาม ตอนนี้ทานอาจารยยังคนอีกไหม ตอบ ก็คนซี ทางปฏิปทาทางเดินก็ตองเดินไป มันทิ้งไมได พระพุทธเจาเองก็ไมทิ้ง ถาทิ้งอันนี้ ก็เทากันทิ้งบาตร ก็เดินอยูเรื่อยๆ นั่นแหละ เหมือนเราไดหนังสือมาเลมหนึ่ง เราก็ตองดูหนังสือ อยูตลอด อานหมดเลม แลวก็อดเอามาอานทบทวนไมได ************ ถาม การที่คนเราจะละ มานะการถือตัว นี้รูสึกวาจะทําไดยาก เพราะเราเคยนึกแตจะเปรียบ เทียบตัวเองกับคนอื่นอยูตลอดเวลา มักจะคิดวาตัวเรานี่ดีกวาคนอื่น หรือเราเลวกวาเขา จะตองทํา อยางไร จึงจะตัดตัวมานะการถือตัวนี้ลงเสียได ตอบ


52

ถาจะตัด มานะ ตองตัดความสําคัญตัว ออกทิ้ง ทานวามันเปนมาจากมานะ มานะ แปล วา การถือ มละจิตเปนมลทินเบื้องตน เปนความเศราหมอง ถือวาประเสริฐกวาเขา เสมอกับเขา เลว กวาเขา มานะการถือนี้ทานแยกเปน ๓ อยาง คือ ๑. สําคัญวาตนประเสริฐกวาเขา ๒. สําคัญวาตนเสมอเขา ๓. สําคัญวาตนเลวกวาเขา ตนประเสริฐกวาเขา ขึ้นชื่อวา เราจะประเสริฐกวาเขาหรือสูงกวาเขาโดยวิธีไหนก็ตาม จะเปน รูปสวย รูปงามหรืออะไรก็ตาม เสียงไพเราะ หรือปญญาวิชาความรู หรือโดยฐานะ โดยชาติตระกูล โดยยศศักดิ์ก็ตาม ตนประเสริฐกวาเขา สําคัญวาตนประเสริฐกวาเขา - ตนประเสริฐกวาเขา สําคัญวา ตนเสมอเขา - ตนประเสริฐกวาเขา สําคัญวาตนเลวกวาเขา ตนเสมอเขา แตก็สําคัญไปตางๆ ตนเสมอเขาจะดวยวิธีใดก็ตาม สําคัญวาตนประเสริฐกวา เขา - ตนเสมอเขาสําคัญวาตนเสมอเขา - ตนเสมอเขาสําคัญวาตนเลวกวาเขา คราวนี้มาถึงพวกที่ตนเลวกวาเขา แตก็สําคัญไปอีก - ตนเลวกวาเขาสําคัญวาตนประเสริฐ กวาเขา - ตนเลวกวาเขาสําคัญวาตนเสมอเขา - ตนเลวกวาเขายังสําคัญวาตนเลวกวาเขา สําคัญ ทุกอยางนี้จัดเปน มานะ ทั้งสิ้น ยังถือเปนตัวของเรา ถาไมถือเปนตัวของเรา จะไป คิดเปรียบกับเขาใหรูอยางไร วา เราประเสริฐกวาหรือเสมอเขาหรือเลวกวาเขา เพราะฉะนั้นพระ อรหันตทานจึงวา ไมสําคัญ…ไมสําคัญ เขาใจไหม ถายังมีความสําคัญอยูก็หาทุกข ยึดอยู และยังอาจ ยึดผิดอีก เหมือนกับตาบอก ไมรูไมเห็นอะไร แตก็สําคัญไปเรื่อยๆ แบบคนตาบอดคลําชาง เคยได ยินไหม อาตมาจะเลานิทานเรื่องตาบอกคลําชางใหฟง มีคนตาบอด ๖ คน พากันไปนั่งอยูใตรมตนมะกอก ซึ่งกําลังมีลูกสุกหงอม แลวนั่งสนทนา กันอยู ขณะนี้นายควาญชางออกมาเลี้ยงชาง ใกลๆ บริเวณรมมะกอก เอาชางมาผูไวที่ใกลตนมะกอก แลวก็ลงมานั่งพัก ควาญชางเห็นคนตาบอด ๖ คนจึงถามวา “พวกเจาสนทนาอะไรกัน” คนตาบอด บอกวา “สนทนากันเรื่องตางๆ ขาพเจาคุยกันเรื่องชาง อยากจะรูวาชางมีตัวเปนอยางไร” ควาญชาง ก็อธิบายใหฟง ชางตัวมันใหญ มันเปนอยางนั้นๆ คนตาบอดจึงบอกวา “เอะ!..เราอยากรูจักตัวชาง จะทําอยางไรเราจึงจะรู เพราะตาเรามองไมเห็น” “ถาอยากรูก็ไปคลําดูซิ ไปลูบไปจับดูซิ เพราะชาง เรามันดีฝกเชื่องแลว ไมเปนไรหรอกไวใจได” นายควาญชางบอก คนตาบอดทั้ง ๖ คนจึงเดินไปดู คนตาบอดทั้ง ๖ คน มีลักษณะตางกันดังนี้ ตาบอดคนที่ ๑ ตาบอดแตอวัยวะทุกสวนดีหมด ตาบอด คนที่ ๒ ตาบอด ใบหูไมดีทั้ง ๒ ขาง ตาบอดคนที่ ๓ ตาบอด ตัวดํา จมูกแหวง ตาบอดคนที่ ๔ ตา บอด ปากมันเวาออกไป ตาบอดคนที่ ๕ ตาบอด แขนกุดขางหนึ่ง ตาบอดคนที่ ๖ ตาบอด ขากุดขาง หนึ่ง คนตาบอดทั้ง ๖ คนนี่ไมเหมือนกัน ก็พากันไปคลําดูตัวชาง ตาบอดคนที่ ๑ ไปคลําดูชาง คลําไปถูกมือชาง ที่เขาเรียกวางวงชาง จมูกชาง “เอะ!..ชางนี่ เหมือนปลิงนะ เหมือนกับปลิง ปลิงมันกัดคนได อยูในนํ้าดูดกินเลือดคนไมรูหรือ” แลวก็ออกมา ตาบอดคนที่ ๒ เขาไปคลําไปถูกงาชาง “เอะ!..ชางนี่เหมือนเคียวเกี่ยวขาว โคงๆ คลายๆ เคียวเกี่ยวขาว” แลวก็ออกมา ตาบอดคนที่ ๓ คลําไปถูกหูชาง “เอะ!..เหมือนกับพัด ชางนี่เหมือนพัดโบกลมนะ” ตาบอดคนที่ ๔ เขาไปคลําไปถูกหัวชาง “ชางนี่เหมือนกับตั่ง” ที่เรียกวาเกาอี้เอามารองนั่ง ตาบอดคนที่ ๕ คลําไปถูกหางชาง “เอะ!..ชางเหมือนไมกวาด ปดกวาดบานเรือน”


53

ตาบอดคนที่ ๖ เขาไปคลําถูกที่ขาชาง “เอะ!..ชางนี่เหมือนกับสูบตีเหล็ก” แลวก็ออก ไป เมื่อออกไปถึงใตรมมะกอกแลว คนตาบอดก็ถามไถกัน ใครวาชางคืออะไร ตางคนตางไป คลําชางกันมาทุกคนแลว ตาบอดคนที่ ๑ จึงวา “ชางที่ขาพเจาไปคลําดูแลวมันเหมือนกับปลิง” ตา บอดคนที่ ๒ บอกวา “ไมใช ชางทําไมเหมือนปลิง ขาพเจาไปคลําดูแลวชางเหมือนกับเคียวเกี่ยวขาว นะ” คนที่ ๓ จึงบอกวา “ไมใชหรอก ตนไปคลําดูแลว คลําตรงไหนก็เหมือนกัน เหมือนกับพัด” คน ที่ ๔ บอกวา “เหมือนเกาอี้” คนที่ ๕ วา “เหมือนไมกวาด” สวนคนที่ ๖ บอกวา “เหมือนสูบตี เหล็ก” แตละคนมีความเห็นไมลงรอยกัน คนตาบอดพวกนี้คลําชางตัวเดียวกัน แตมีความเห็นไม ตรงกัน เถียงกันไมจบ ตาบอดคนหนึ่งจึงพยายามจะหาทางไกลเกลี่ยโดยตั้งขอปุจฉาขึ้นใหม “เอา เถอะ! เคยรูจัก คน ไหม คน คืออะไร คนเปนยังไง ไหนพวกเราลองบอกกันดูวิ เผื่อจะตกลงกันได ไมตองถกเถียงกันเหมือนเรื่อง ชาง” ตาบอดคนที่ ๑ จึงวา “คนก็ตองตาบอด มีทุกสิ่งทุกอยางครบแตตองตาบอด” ตาบอดคนที่ ๒ ก็วา “ไมใช คนตองตาบอด หูตึงจึงจะเปนคน” ตาบอดคนที่ ๓ บอกวา “ไมใช คนมันตองดําแหวง จมูกแหวง ตาบอด จึงใชคน” ตาบอดคนที่ ๔ จึงวา “อยางนั้นไมใชคน คนมันตองตาบอด ปากวากซี” ตาบอดคนที่ ๕ “ไมใช คนทําไมเปนอยางนั้น คนมันตองตาบอด แขนกุนขางหนึ่งซิ” ตาบอดคนที่ ๖ ก็วา “ไมใช คนมันตองขากุน ตาบอด ถึงจะเปนคน” คนตาบอดมีความเห็นไมลงรอยกัน ขณะนั้นมะกอกที่สุกงอมก็เลยรวงตกลงมาใสหัวคนพวก นั้น ตางคนก็รองเอ็ดตะโร หาวาเพื่อนมาแกลงตนทํารายตน ก็เลยเอากําปนเขาชกตอยใสกันเปน พัลวัน ชางที่อยูใกลๆ กันก็เลยหัวเราะ หัวเราะคนตาบอดที่ถกเถียงทะเลาะกัน หัวเราะจนตาหรี่ นี่ แหละเขาถึงวาตั้งแตนั้นชางก็เลยตาหยีเล็กอยางนั้นตลอดมาจนทุกวันนี้ อันที่จริง คติจากเรื่องนี้ก็คือ ทุกอยางเพราะความสําคัญ สําคัญตามความเห็นของตน อันที่จริงใครคลําถูกที่ไหนก็คือชางเหมือน กัน ************ ถาม คนที่มีศีลไมบริบูรณ จะเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติภาวนาไหมคะ

ตอบ ตองเปนอุปสรรคซี ศีลหมายถึงเจตนาวิรัติ วิรัติเฉพาะหนา วิรัติปจจุบัน เวลานี้เรามีศีล บริสุทธิ์แลว กายของเราก็บริสุทธิ์ วาจาของเราก็บริสุทธิ์ ใจของเรานะทําใหมันบริสุทธิ์ นี่มันสําคัญ แมจะทําบาปทํากรรมมามาก ฆาสัตวตัดชีวิตมามาก แตเราก็ยังไปเกี่ยวของอยู นี่หมายความวา เจตนาตนมันยังอยู มันรับไมได ถาเห็นวามันเปนบาปก็วิรัติงดเสีย ขาดไปแลวก็แลวไป ถาม ถาเรามีความจําเปนตองพูดปดเพราะตองการใหเขาเปนคนดี เชนมีอาชีพเปนครู ก็ตองสั่ง เด็กนักเรียนใหทํางานทําการบาน ขูวาถาไมทําครูจะตี ทั้งที่ใจจริงแลว ไมไดคิดจะตีนักเรียนเลย อยางนี้จะถือวาเราพูดปดไหมคะ ตอบ


54

ออ!..อยางนี้ไมถือเปนพูดปด ธรรมดา บิดามารดาปกครองบุตร ครูปกครองนักเรียน ก็ ตองตี ตองขู เพราะปรารถนาจะใหเขาดี พระอริยเจาทานก็ใชเหมือนกัน มันเรื่องของโลก บางคน ตองการใชการขูคํารามจึงจะเกรงกลัว แตภายในใจของเรามีเมตตาเต็มเปยมเลย เจตนาเราไมมี เรา อยากใหเขาดีตางหาก ใหเขารูสึกกลัว มันไมจัดวาเปนบาป เหมือนกับวาเราวาเราจะฆาเขา แตเราไม ฆา ยิ่งเปนบุญเสียอีก อยางพระพุทธเจาทําพรหมทัณฑแกนายฉันนะ นายฉันนะเปนคนหัวดื้อ ถือวา ตนเปนผูพาพระพุทธเจาเสด็จออกบวช ถือวาเปนผูใกลชิดพระพุทธเจา สงฆทั้งหลายจะวากลาว ตักเตือนอยางไรก็ไมเชื่อฟง สงฆทั้งหลายจึงมากราบทูลพระพุทธเจา พระองคก็ปลอยไว จนกระทั้ง เวลาจวนใกลพระองคจะปรินิพพาน จึงไดตรัสกับพระอานนทวา “อานนท เราจะทําพรหมทัณฑแก ฉันนะภิกขุ ใหเธอประกาศแกสงฆ อยาใหสงฆทั้งหลายสั่งสอนฉันนะภิกขุนี้ตอไป อยาวากลาว ตักเตือนเธอเลย ถาใครวากลาวตักเตือนจะเปนโทษ” ทานพิพากษาไวเมื่อพระองคปรินิพพานแลว สงฆทั้งหลายก็ประชุมกันทําพรหมทัณฑแกพระฉันนะ ตามที่พระองคทรงสั่งไว พระองคนั้นก็ไมพูด ดวย พระองคนี้ก็ไมพูดดวย ผลที่สุดพระฉันนะก็เกิดทุกขใหญ เห็นโทษของตนเองถึงกับรองไหเลย พระฉันนะละทิฏฐิมานะแลว สงฆจึงสั่งสอนตักเตือนวากลาว พระฉันนะทานก็เลยบําเพ็ญไปถึง พระอรหันต พระพุทธเจาทานก็ใชวิธีนี้เหมือนกัน ถาม ทานอาจารยครับ พระอรหันตองคอื่นๆ นิพพานระหวางอยูในรูปฌานกับอรูปฌานหรือ เปลา ตอบ ขอนี้ตอบไมไดหรอก อันนี้เปนปฏิปทาของพระพุทธเจา สาวกองคอื่นจะไมเขาฌานตามก็ได เพราะทานรูแลว แตวาทานไมทําเหมือนพระพุทธเจา ถาม สําหรับทานอาจารยใหญมั่น เมื่อทานจะมรณภาพทานเขาฌานอยางนี้หรือเปลาครับ ตอบ ทานก็นอนสงบจิตของทาน หมดลมไปเลย (หัวเราะ) ถาม ไมใช ทานเขาฌานอยางพระพุทธเจาหรือเปลา ตอบ ไมรูทานสิ ตองถามทาน (หัวเราะ) ฌานแปลวาการเพง ซึ่งเปนปฏิปทาของทานอยูแลว เหมือนกอนจะเดินทางออกนอก ประเทศ จะเดินทางไปดวยวิธีไหน จะไปทางนํ้า ทางบก หรือไปทางอากาศ มันมีอยูแลวนี่ เมื่อทาน ยังมีชีวิตอยูทานไดคนดูละเอียดหมดทุกสิ่งแลว เปนอนัตตาสมมติสั้นๆ อยางนี้ กอนทานจะมรณ ภาพ ทานก็คนเหมือนกัน หนทางมันออกไปทางนี้ เมื่อรูแลวก็วางมันเทานั้นเอง จะวาเขาฌานหรือ ไมเขาฌานก็ตามใจ ทานวาไววา ทําความเพงดวยความมีสติไมมีในผูใด ปญญาก็ไมมีในผูนั้น ปญญาไมมีในผูใด ฌานก็ไมมีใน ผูนั้น ฌานและปญญาทั้ง ๒ มีในผูใด ผูนั้นอยูใกลพระนิพพานยิ่ง นัก ถาม ขอความกรุณาทานอาจารยอธิบายเรื่อง ฌาน เพิ่ม


55

ตอบ ฌาน แปลวา การเพง เปนการเพงดวยความมีสติ อยางที่บอกแลว ถาฌานนั้นไมมี คือการ เพงดวยความมีสติไมมีในผูใด ปญญาก็ไมมีในผูนั้น ปญญาไมมีในผูใด ฌานก็ไมมีในผูนั้น ฌานและ ปญญาทั้ง ๒ อยางนี้ มีในผูใด ผูนั้นก็อยูใกลพระนิพพานยิ่งนัก ฌานภายนอกพระพุทธศาสนาก็มี การเพงนี่ตองอาศัยสติ ควบคุมอารมณของจิต อาศัยสติควบคุมจิต ใหเพงอยูในจุดนั้น จุดที่ตนเพง นั้น สมมติจะเพงอะไร ฌานภายนอกพุทธศาสนา เพงดิน เพงนํ้า เพงลม เพงไฟ ถาเพงดินก็เอาดิน มาทําเปนรูเรียกวา “กสิณ” ปฐวีกสิณ เพงอยูที่นั่น มีสติเพงอยู ถาไมมีสติมันก็ไมสงบลงได เพง เฉยๆ ก็สงบไมได ถาไมอาศัยการเพงดวยความมีสติควบคุมจิต เมื่อจิตนั้นถูกสติควบคุม จิตก็สงบ เมื่อจิตสงบ ความสุขก็เกิดขึ้น วางอารมณได เรื่องของฌานจะเปนฌานรูปไหนก็ตาม ตองการความสงบทั้งนั้น ไมตองการโดยวิปสสนา ไมรูทุกข ไมรูเหตุที่เกิดทุกข ไมรูธรรมเปนที่ดับทุกข ไมมีขอปฏิบัติใหถึงธรรมอันเปนที่ดับทุกข ไมมี เลย ตองการเพงใหสงบ ดวยความมีสติ เมื่อจิตสงบละเอียดลงไป เออ!..ถือวา มีความสุข สบายแลว พอแลว นี่เรียกวา การเพงฌาน ถาม ไมใชวิปสสนาเลย หรือคะ ตอบ ไมมีวิปสสนา พูดงายๆ คือตัดวิปสสนา ถาม พวกนี้ถาตายไปก็ไปเกิดเปนพรหม อรูปพรหม ใชไหมคะ ตอบ จะเกิดที่ไหนก็ชางเถอะ อยาไปพูดถึงเรื่องนั้นเลยมันอีกไกล และอานิสงสของฌาน ถาหาก วามรณภาพในขณะที่ฌานยังไมเสื่อมก็ตองไปเกิดพรหมโลก มันมีอยูแลว ฉะนั้นฌานนี่ทานจึงวาเปน แตเพียงขมกิเลสไว ไมถอนกิเลส เขาใจไหม ทานจึงเปรียบเหมือนหินกะลาที่ทับหญาไว เมื่อเอาหิน นั่นออกหญาก็งอก เมื่อฌานเสื่อม การเพงสติมันออนแอ สติเสื่อมแลว กิเลสก็ขึ้นมาตามเดิม นี่เรื่อง ของฌาน แตความจริงฌานก็เปนพื้นฐานของวิปสสนาได ซึ่งผูสําเร็จรูปฌาน ๔ มีสุข เอกัคคตา มี สติบริบูรณอยูนี่ ถาม การเพงเชนนี้ไมไดใชปญญาเพงใชไหมคะ ตอบ ไมไดใชปญญาคนวิปสสนา ในสัจธรรม ไมไดคนรูปขันธทั้ง ๕ ใหเห็นเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พูดงายๆ คือการเพงฌานชนิดนี้มุงแตใหจิตสงบลงเทานั้น ไมไดเกี่ยวของกับพวกเบญจขันธ ทีนี้ผูจะมาคนวิปสสนา วางเอกัคคตามันอยูในสุข มันก็คนได ถาอยูในอรูปฌาน ๔ เนว สัญญานาสัญญา รูปก็ไมใช ไมใชรูปก็ไมใช คนวิปสสนาไมไดเพราะมันละเอียด ตองถอนมาอยู อาจิณตอายตนะ มีความรูอยูหนอยๆ เปนบาทพื้นของวิปสสนาไว วิปสสนานั้นอาศัยสติเหมือนกัน เพงใหจิตสงบเรียกวา สมถกัมมัฏฐาน เมื่อจิตสงลมีสติบริบูรณแลว จึงคนวิปสสนา สาวหาใหรูสัจจะ ของจริง รูจักทั้งผลทั้งเหตุพรอมๆ กัน ถารูผลแลวก็รูเหตุ ผลคือความเกิด แก เจ็บ ตาย ในขันธ ๕ นี่ก็รูเหตุคือตัวปจจัย ตัวตัณหา คือตัวสมุทัย อันนี้ไมใชถมทับ ถมอยางหนึ่ง ทับอยางหนึ่ง อันนี้ถอน ถอนทิ้ง ถอนราก วิปสสนานี่ถอนราก ถอนหญาออกเลยไมมีหญาที่จะงอก


56

ถาม ตามที่ไดเคยเรียนมาทางดานอภิธรรม ไดสอนไววา ถาปฏิบัติกัมมัฏฐานแลว จะหาทางเดิน ไปวิปสสนาไมได เพราะจะติดแคปติสุข ติดอยูแคนี้ ติดอยูแคฌาน จะไมเห็นทางไปวิปสสนา อยาก กราบเรียนถามทานอาจารยวา เราจะไปไดหรือไม อยูที่สติของเรา และเราจะใชปญญามองทางไหน ใชไหมคะ ตอบ ความเห็นของคน ก็ถูกตามเขาวาเหมือนกัน ถาสติออน ปญญาก็ออน อาจจะไปติดแคสมาธิ ถาเขาตองการเทานั้น มันก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง ถาม ทานอาจารยครับ ตามที่วาทานอาจารยมั่นขณะที่ทานจะดับขันธ ทานวางทางเดินของทานไว แลว แตในสมัยพุทธกาล มีพระอรหันตบางองคทานไมไดวางทางเดินไวกอน เชนพระองคหนึ่ง ได ฟงเทศนจากพระพุทธเจา ไดสําเร็จพระอรหันต ขณะเดินไปหาผาสบงจีวรมาหม ไดไปพบโคบา และ ถูกโคบาขวิด และทานนิพพานทันที เชนนี้ทานวางกําหนดไวอยางไร ตอบ วางอะไร ถาม วางทาง เลือกทางอยางไร ตอบ โอย!..ทางของทานก็มีอยูแลว ทานเดินถูกทางของทานแลว ทานไมกังวลแลว มันเปนเรื่อง ของคนตาย แลวแตจะตาย ตกตนไมตายก็มี ตายเพราะเสือกัดก็มี มี พระอรหันตองคหนึ่ง นั่ง สวดมนตอยูสุดทายแถว ขณะนั่งสวดมนตอยูเสือไดมาคาบเอาพระองคนี้ไป ตอนนั้นทานยังไมได เปนพระอรหันต ยังเปนปุถุชนนี่แหละ เมื่อเสือมาคาบไป ทานก็รองใหพระองคอื่นชวยดวย ภิกษุทั้ง หลายไดยินก็บอกวา ทานชวยตัวเองซิ พิจารณาตัวของทานชวยตัวเอง พระองคนั้นทานก็มาพิจารณา ตัวเองจนกระทั่งสําเร็จพระอรหันตในปากเสือนี่เอง ถาม มีความรูสึกตัว มีสติรูสึกตัวตลอดเวลา วาเราทําอะไรอยู ปญญานี่อยูที่สติหรืออยูที่ใจคะ ตอบ ถาขาดสติปญญา รูเห็นตามความเปนจริงแลว ใจตัวนี้มันก็เขาไปยึด เขาไปยึดติดทุกสิ่งทุก อยาง สําคัญมั่นหมายทุกสิ่งทุกอยาง หากสติมันแกกลา ปญญามันก็แกกลาเทานั้น บุคคลผูนั้นให นอมใจเชื่อ เมื่อนอมใจเชื่อ ยอมตั้งสติมั่น เมื่อตั้งสติมั่น อันมีความเพียรประคองไวดวยความมีสติ ประคองที่ใจ เมื่อมีความเพียรประคองไวดวยความมีสติ ยอมตั้งใจมั่น เมื่อตั้งใจมั่น ยอมเชื่อ เมื่อ เชื่อยอมรูชัด เมื่อรูชัดก็เอาความเพียรประคองไวดวยความมีสติในตอนรูชัดนั้น เมื่อมีความเพียง โดยมีสติในความรูชัด ยอมตั้งสติมั่น เมื่อตั้งสติมั่นยอมรูชัด เมื่อรูชัดก็ยอมเชื่อ เมื่อเชื่อใหมีความ เพียรประคองไว มีความเพียรมีสติประคองไวดวยความเชื่อ เมื่อมีความเพียรประคองไวดวยความมี สติในความเชื่อ ยอมตั้งใจมั่น ทุกสิ่งทุกอยางอยาสักแตวารู ยาว ญาณมตฺตาย สักแตวารู ปติสฺสติ จ วิหรติ สติอาศัยความระลึกรู เมื่อรูชัดตามเปนจริงแลว วิหรติ ไมมีติด ไมยึดถึออะไรในโลก ฉะนั้น


57

พระพุทธเจาทานออกจากธาตุ ออกจากขันธ จึง ออกจากฌานที่ ๔ เขาไปยึดสุข ก็ติดสุข ไมพน ทุกข ถาไปวางอุเบกขาเลย โดยไมรู มันก็เปนกังวลอีก ทานเขาฌานที่ไหนละ จะอุปมาอุปไมยใหฟง สองสามอยางนี้ นี่อันหนึ่ง ฌานที่ ๔ มีองคสอง จําไวเดอ…ดูนี่จะเทียบออกมา แตอาตมาก็ไมไดอะไรหรอก สุข เอกัคคตา นี่ฌาน ๔ สวนฌาน ๕ เอ กัคคตาอุเบกขา พระองคออกจากธาตุขันธเขาสูพระนิพพาน ระหวางฌานที่ ๔ กับฌานที่ ๕ ตอกัน ตัดหัวตัดทาย มันรูเองจะวาวิสุทธิธรรมก็ได จะวานิพพานธรรมก็ได อมตธรรมก็ได แลวแตสมมติ อยางเชน ใสเสื้อเปนกริยา นี่เปนกริยาสมมติบัญญัติแลว เขาใจไหม? พระพุทธเจานี้เสด็จปรินิพพานระหวางฌานที่ ๔ ฌานที่ ๕ ตอกันใชไหม นี่แหละอาตมาได เคยถามปญหาหลวงปูขาว และถาม ดร.เชาวน เพื่อไมใหรบกวนหลวงปูวา “ทําไมเอกัคคตาจิตจึงไม ขาดจากฌานทุกชั้น มีเอกัคคตาจิตติดไปทุกชั้น เพราะเหตุอันใด พระอรหัตตองคอื่นๆ ก็ขาดออก หมด แตมีเอกัคคตาจิตไมขาด แมแตตอนพระพุทธเจาเสด็จปรินิพพาน เอกัคคตาจิตก็ยังอยู” ดร. เชาวนตอบวา “โอย!..ผมตอบไมไดครับ นิมนตหลวงปูตอบ” หลวงปูขาวจึงตอบวา “มันจะขาดยัง ไง เปนของธรรมชาติ ตัวอมตะ ถาไมรูตัวนี่ กิเลสวัฏฏะ กรรมวัฏฏะ ตัวนี้มันก็วัดไปวัดมา” นี่ เที่ยว กอเหตุกันตาย ตัดหมดแลว ไมมีอะไร เขาใจไหม แตอยาเพิ่งเหมาวาเราหมดกิเลส ถายังไมเขาใจก็ เรียน ก..ข..กัน นี่เปนปริยัติ ภาคทฤษฎีนะ ภาคปฏิบัติตางหาก นี่ละจะวาใหฟง มีของอยู ๕ อยาง ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ องคฌานที่ ๑ มี ๕ อยาง คือ วิตก วิจารณ ปติ สุข เอกัคคตา ยางเขาฌานที่ ๒ นอยกวาฌานที่ ๑ ตัดวิตก วิจารณ ออกไป ยังเหลือ ปติ สุข เอกัคคตา ทีนี้ยางเขาฌานที่ ๓ ปติตัว นี้ก็หมดไป คงเหลือแตสุข และเอกัคคตา พอเขาฌานที่ ๔ ตัวสุขมันหายไป สุขไมมี ทุกขไมมี มีแต สติเปนธรรมชาติ เพราะอุเบกขาคือรูแลว วางอุเบกขา แตสติไมลืม (อันนี้พระพุทธเจาเขา ปรินิพพาน ระหวางฌานที่ ๔ คือ สุข เอกัคคตา) และฌานที่ ๕ เอกัคคตา อุเบกขา พระพุทธเจาทาน เขาสูปรินิพพานระหวางฌานที่ ๔ ตอกับฌานที่ ๕ เชื่อมกันตัดหัวตัดทาย หางมันเปนแมลงปองหัวมี พิษ เหมือนกับเขาฆาอสรพิษ ตัดหางตัดหัวมันก็ดิ้นไมได ถาไมตัดหางมันก็ฟาดเอา เอาเขี้ยว ออก ถาไมตัดหัวมันก็กัดเอา ขอสําคัญที่วา เมื่อจิตของเรามีสติบริบูรณเปนจิตที่สงบ มีสติแลวก็วาง อุเบกขา คําวาอุเบกขาอันนี้มีสติบริบูรณ แลวอุเบกขาเราคนใจสัจธรรมนั่นละเอียดแลวหรือยัง รูเหตุ แลวหรือยัง รูเหตุที่เกิดทุกขแลวหรือยัง ถาม มีความรูสึกวาลมหายใจของเราออกตามขุมขน และมีทุกขติดอยูนิดเดียว ธรรมดาเมื่อมี ทุกขตรงไหน ไดกําหนดลมหายใจมันจะละเอียดผานลึกลงไป ทุกขนั้นจะหายไปทันที แตยังเหลืออีก นิดเดียว พยายามใหลมหายใจละเอียดเขาไปอีก ทุกขอีกนิดเดียวนั้นก็ไมยอมหายไป เพียรมานาน แลว พอทําไดก็มาติดอยูตรงนี้ อยากจะเรียนถามทานอาจารยวาจะทําอยางไรดีคะ ตอบ อะไรเปนทุกข เรารูใชไหม ถาม ทราบคะ บางครั้งเวลานั่งสมาธิ พอเราเมื่อยตรงนี้เรากําหนดลมหายใจลงไป ทุกขตัวนี้ก็หาย เดี๋ยวมันก็ไปเกิดอีก มันมีแตทุกขทั้งตัวเลย พอรูสึกเชนนี้ก็กําหนดลมหายใจไปเรื่อยๆ แลวตัวเราก็ หายไป พอตัวเราหายไปเหลือทุกขติดอยูนิดเดียว ตอบ


58

มันไมหายหรอก ทุกขเปนจิต ตัวไมได หาย ทุกขเกิดในตัวของตัว ถาตัวหายทุกขก็ไมมี ที่วาทุกขนิดเดียวมันอยูที่ไหน มันเกาะอยูที่ไหน มันมีนิดเดียว มันอยูที่ไหน ถาม ปกติถาทุกขเหลืออยูตรงไหน ก็จะกําหนดรูเลยวา อยูตรงบา ตรงแขน ตรงขา เอาลมหายใจ กําหนดลงไปไดเลย แตวาทุกขที่เหลือนิดเดียวนี้ บอกไดดวยความรูสึก แตบอกไมไดวามันอยูตรง ไหน มองหาในตัวเองก็ไมมี เอะ!..มันอยูตรงไหนนะ แตรูวามันคือทุกข ตอบ ใครวาทุกข ใครวาทุกขอยูตรงไหน มันก็อยูตรงนั้น ในตัวของเราเองนะ ที่ใจของเรานั่นนะซี ตรงที่หมายนะ ที่วาหมาเหาบางนั่นนะ ยังไมรูตัว ใครเปนผูวาทุกขอยูตรงไหน ตัวของเราอยูตรงไหน นั่นแหละ นอมเขามาตรงนั้น เขาใจไหม จะเลาเรื่องเปรียบเทียบใหฟง เปนเรื่องของยักษตนหนึ่งที่ไดไปทาพนันกับ พระพุทธเจา ใหตางคนตางลี้หนีไปไมใหใครเห็น ถาลี้แจงแลว ใครหาไมเห็นจะตองยอมเปนลูกศิษยผูนั้น แตถาลี้ แลวยังหาพบ ก็ไมยอมเปนลูกศิษย พระพุทธเจาทานจึงใหยักษลี้ไปกอน ยักษนี้เปนยักษที่มีฤทธิ์ จึง หายตัววับไปอยูใตพื้นดิน พื้นบาดาล พระองคเลยรองไปวา ใหขึ้นมาติดอยูที่นิ้วพระหัตถของพระ องค ยักษก็ขึ้นมาติดปุบที่นิ้วพระหัตถทันที ตอไปยักษไดลี้ไปอยูพรหมโลก พระพุทธเจาก็เรียกให ขึ้นมาติดที่นิ้วพระหัตถอีก ครั้งสุดทายยักษไดลี้ไปอยูที่จักรวาล พระองคก็เรียกมาติดที่พระหัตถอีก ยักษจึงวายอมแลว ขอยอมแพพระองคแลว ทีนี้พระพุทธเจาจะเปนฝายลี้หนียักษบาง พระองคไดลี้ปบไปอยูในหัว ในศีรษะของยักษนั้น อาฬวกยักษก็พยายามมองหา มองไมเห็นดําลงไปในดินก็ไมเห็น ไปหารอบจักรวาลก็ไมเห็น หาถึง ๓ ครั้งแลวไมพบ หมดฤทธิ์ หูทิพย ตาทิพย ก็หมดประโยชน ยักษจึงวา ขาพระองคยอมแพแลว ขอ นิมนตพระองคเสด็จออกมาเถิด พระพุทธเจาทานก็เสด็จออกจากหัวของยักษนั้น อยูในหัวนั่นเอง ยักษหาเทาใดก็ไมพบ เหมือนตัวเรา หาอยูนั่นเอง เขาใจไหมละ ผูใดสําคัญผูนั้นแหละ ผูใดหาก็ผู นั้นแหละ ครั้งหนึ่ง ทานอาจารยมั่น ทานเคยเทศนเรื่องการละตัณหาใหฟง เปนเรื่องในสมัยพระพุทธ เจา มีพระภิกษุแกองคหนึ่งมาบวช ไดฟงเทศนของพระพุทธเจา แตไมเขาใจ ภิกษุองคนั้นจึงทูลขอ พระพุทธเจาวา พระพุทธเจาเทศนมาก เมื่อเวลาทานเทศนจบแลว ขอนิมนตพระองคเทศนใหขา พระองคฟงโดยยอๆ อีกครั้ง เพราะขาพระองคเปนคนแกจําไมได พระพุทธเจาจึงวาใหทานละเสีย ซึ่งตัณหา ละเสียซึ่งตัณหาอยาไปหาใหนอมออกมา มันจึงจะออก ผูหานะคือตัวของเรา เพราะมันยัง หลงอยู มันจึงหา ถาไมหลงมันก็ไมหา คือมันรูไมชัด ภิกษุแกนั้นไดฟงอุบชาย ก็นําไปนอมพิจารณา ไปนั่งบําเพ็ญจนสําเร็จอรหันต นี่แหละยิ่งหายิ่งหลง และทานกลับคํา “ตัณหา” เปน หา-ตัน ตัณหานั้น…ยิ่งหาก็ยิ่งตัน ยิ่ง หายิ่งตันยิ่งมืด *********** ถาม ทานอาจารยคะ เราอยากจะออกปฏิบัติธรรม เพื่อหวังถึงที่สุดของทุกข ตามรอยเทาครูบา อาจารยที่เราไดเคยไดยินไดฟงเรื่องของทานมา ศรัทธาของเราก็เต็มเปยมแลว แตยังมีภาระอยูมาก ดูเผินๆ ก็เหมือนครอบครัวสุขสบายแลว ไมตองหวงอีกแลว แตเราก็ยังคิดอีกวา ถาเราเขาวัดไปแลว ครอบครัวที่อยูขางหลังจะเปนอยางไร ลูกจะเปนอยางไร เผื่อเขาจะมีปญหาที่ตองการความชวยเหลือ


59

จากเรา เราเคยจัดใหเขา แกใหเขาไปได ถาเรา ไมอยูแลว เขาจะทําอยางไร เคยคิดวา ลูกโตแลว ก็จะปลอยได เกิดมีหลานอีก หวงหลายอีก ผูหญิงนะมีหลายหวงเจาคะ หวงสามี หวงลูก แลวตอไป ก็หวงหลาน พยายามจะปลด หลุดเปลาะนี่ มาตอเปลาะโนน หวงไป กังวลไป จะทําอยางไร ตอบ จะทําอยางไร…..เราก็ตองคิดเอง ใชปญญาคิดดูซี….ถาคิดจะออกปฏิบัติธรรม วามีศรัทธา เต็มเปยมแลว เปยมอยางไร เปยมจริงก็ตองออกไดแลว นี่หวงอีนุงตุงนังอยูนี่….! สิ่งที่ลวงแลวไป แลว ก็ใหมันลวงแลวไปไมตองมาคํานึงถึงวุนวายอีก สิ่งที่ยังไมมาถึงก็อยาไปคาดการณลวงหนา วาจะเปนอยางโนน เปนอยางนี้ เอามาคิดเปนอารมณ ปรุงแตงใหเปนทุกข ใหคิดแตปจจุบัน แก ปจจุบันนี้ ทุกขทั้งหลายอยูในปจจุบันนี้ อยาไปขังไว ใหปลอยไป ทุกข มันจะเกิดเพราะอะไร…? ก็เพราะความหวง ความหวง ความหึง ปลอยเสีย…! เพราะความโศก ความเศรา ความรองไหรํ่าไร รําพัน ปลอยเสีย…! เพราะการพลัดพรากจากคนที่รัก คนที่ชอบใจ ปลอยเสีย…! เพราะความอยากเปนโนน เปนนี่ แลวไมสมหวัง เพราะไมอยากเปน ไมอยากมีในสิ่งที่เราไม ชอบใจ เชน ไมอยากเจ็บ ไมอยากแก ไมอยากตาย แตมันก็ตองเจ็บ ตองแก ตองตาย…. ก็เปนทุกข เปนรอนไป ปลอยเสีย…! ถาไมปลอยทุกข มันก็ไมหมด ใหดูปจจุบันนี้ รักษาใจของเราใหมันดีในปจจุบันนี้ ปลอยทุกขใหหมด วางทุกขใหหมด อยาไปพะวักพะวงขางหนาและขางหลัง ขางหนา คือ สิ่งที่คาดการณวาจะเกิดขึ้นในอนาคต กลัวโนนจะเกิด กลัวนี่จะเปน กลัวไป สารพัด ขางหลัง คือ อดีตที่ผานมา…. หวนระลึก หวนคิดแคน หวนคิดอาฆาต หวนหวง หวนอาลัย ตองแกใหได เวลานี้ มาผูกเอาไวหมด แกไมได ……ไมแกกันเลย ทานอาจารยใหญมั่น ทานเคยเทศนไว “แกใหตกเดอ…ถาแกไมตก คาพกเจาไว แกบได แขวนคอตองแตง แกบพน คากนยางยาน คายางยายเวียนตาย เวียนเกิด เอากําเนิดในภพทั้งหลาย ภพทั้งสามเปนเฮือนเจาอยู” พกไวที่ไหนละ…พกไวที่จิตที่ใจ อารมณตางๆ ถาพกไวที่นี่ มันก็แขวนคอตองแตง และ “คา กนยางยาย” ไปมาก็ลําบาก หวงนั่น หวงนี่ “ยางยาย” แปลวา พะรุงพะรัง “เชือกผูกคอ ปอผูกศอก ปลอกผูกขา” เวียนตายเวียนเกิด เอากําเนิดทั้งสาม…เกิดในกามภพ รูปภพ อรูปภพ ….ภพทั้งสาม เลยเปนเรือนใหอยูตลอดไป เกิดแลวตาย ตายแลวเกิด….วนเวียนอยูอยางนี้ ไปไหนไมได เพราะความหวง เปนเชือกผูกคอ ความรักเปนเชือกผูกคอ ความชังเปนเชือกผูกคอ ความ หลงเปนเชือกผูกคอ เปนปอผูกศอก….


60

เปนปลอกผูกขา… ยุงอีนุงตุงนังไปหมด มันก็ไปไหนไมได เราลองแกดูซี…! ภาษิตมีวาไว “ผูแบกโลก ผูคํ้าโลก ผูวางโลก ผูจูงโลก

อยูตํ่า อยูกลาง อยูสูง ยุงรุงรัง……

จะอยูตํ่า จะอยูกลาง หรือจะอยูสูง หรือจะยอมยุงรุงรัง ก็ใชปญญาพิจารณาดู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.