หัวข้อที่ ๑. ประวัติความเป็นมาของกฎหมายเกี่ยวกับการใช้จักรยานในประเทศไทย

Page 1

หัวขอที่ ๑. ประวัติความเปนมาของกฎหมายเกี่ยวกับการใชจักรยานในประเทศไทย การคมนาคมของไทยในอดีตใชแมน้ําลําคลองและทางเกวียน เปนทางสัญจรหลักระหวางจังหวัดหรือภูมิภาค กับใช ทางเดินระหวางเรือกสวนไรนาและวัดวาอาราม เปนทางสัญจรภายในชุมชนของจังหวัดเดียวกัน หรือของจังหวัดที่มีพื้นที่ ติดตอกัน สําหรับรถจักรยาน ๒ ลอนั้น เคยใชทั้งทางสัญจรรวมกับทางเดินระหวางเรือกสวนไรนาและวัดวาอาราม และทาง เกวียนมากอน ตอมาเมื่อทางสัญจรไดพัฒนาจากทางเกวียน มาเปนทางรถไฟและถนนหนทางดังเชนปจจุบัน เสนทางสัญจร สําหรับจักรยานจึงถูกรุกดวย ขนาด ความเร็ว และจํานวน ของยานยนตสมัยใหมจนเกือบหมดสิ้น ยิ่งถนนหนทางใน กรุงเทพมหานครดวยแลว ผิวจราจรสําหรับจักรยานซึ่งเคยมีอยูตั้งครึ่งตั้งคอนของถนนทั้งหมด ไดถูกรุกใหลดลงดวยถนนเกิด ใหมที่จําตองออกแบบตามกระแสโลกที่เกิดปริมาณยานยนตเพิ่มขึ้นอยางทวีคูณ วิวัฒนาการทางกฎหมายเกี่ยวกับการใชจักรยานในประเทศไทย ไดมีการพัฒนามาจากกฎหมายเกี่ยวกับเสนทางคมนาคม ยานพาหนะ และระบบจราจร ซึ่งเริ่มตนอยางเปนระบบมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๕ ในเบื้องตนนี้ ไดลําดับรายชื่อกฎหมายเกี่ยวกับ การใชจักรยานและทางจักรยาน ตามประเภทและระยะเวลาที่ไดตราออกประกาศใชในรูปพระราชบัญญัติตางๆ ดังตอไปนี้

๑.๑. ๒๖ กันยายน ๒๔๔๔ เริ่มใช พระราชบัญญัติรถลาก รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ เหตุผลในการประกาศใช : “มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดํารัสเหนือ เกลา ฯ วา กรุงเทพมหานครในทุกวันนี้ มีรถคนลากสําหรับรับจางคนโดยสาร และรับบรรทุกของเดินในถนนหนทาง ทวี ยิ่งขึ้นเปนอันมาก แตรถที่ใชนั้นไมแข็งแรงมั่นคง และไมมีสิ่งที่สําหรับปองกันความอันตรายของผูโดยสาร กับทั้งไมสะอาด เรียบรอยตลอดไปจนคนลากรถดวย ยอมเปนที่รังเกียจและรําคาญแกผูที่จะใชรถ หรือผูที่เดินทางในทองถนนรวมกัน อีก ประการหนึ่ง คนที่ลากรถนั้น บางทีรับคนโดยสารหรือรับบรรทุกสิ่งของที่มาก หรือที่หนักเกินกําลังรถที่พาไปได จนเปน เหตุเกิดอันตรายแกคนโดยสารและคนเดินทางกับทั้งรถ และไมเปนความเรียบรอยในทองถนนอีกดวย สมควรจะตองมี พระราชบัญญัติสําหรับบังคับตรวจตราการใชรถลาก เพื่อไดจัดระเบียบรถ และปองกันความอันตรายของผูใชรถ และทั้งคน ที่เดินทางใหเปนคุณประโยชนแกมหาชน และเปนการเรียบรอยในทองถนนสืบไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตรา พระราชบัญญัติขึ้นไวสืบไปดังนี้” บทนิยาม : มาตรา ๓ บรรดารถสองลอซึ่งลากดวยคน หรือคําสามัญเรียกวา รถเจ็กหรือรถญี่ปุน หรือรถยินริกชอ สําหรับ รับจางสงคนโดยสารนั้น ในพระราชบัญญัติ นี้เรียกวา “รถลาก” และผูเปนเจาของรถนั้นเรียกวา “เจาของรถลาก” และรถ ลากที่ใชรับจางอยูในกรุงเทพมหานครใหแบงเปนสองชั้น คือ รถชั้นที่หนึ่ง และรถชั้นที่สอง ตองจดทะเบียนรถลากเมื่อ มีไวใหเชา หรือรับจาง ในเขตกรุงเทพมหานคร มาตรา ๔ ผูหนึ่งผูใดมีรถลากไวสําหรับใหเชาหรือใชรับจางหรือเที่ยวลากรับจางอยูในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตองใหผูนั้นนํารถลากมาจดทะเบียนและรับใบอนุญาตตอเจาพนักงานผูจดทะเบียนกอน เมื่อเจาพนักงานผูจดทะเบียนได ตรวจรถลากนั้นเห็นวามีลักษณะสมควรตามขอพระราชบัญญัตินี้แลว จึงจะไดรับจดทะเบียนและออกใบอนุญาตให เมื่อ เจาของรถลากนั้นไดรับใบอนุญาตสําหรับรถลากคันใดแลว จึงจะใชรถลากคันนั้นใหสําหรับรับจางหรือใหมีผูเชาไปเที่ยว รับจางได

๑.๒. พระราชบัญญัติรถจาง รัตนโกสินทรศก ๑๒๔ ประกาศใชในปพุทธศักราช ๒๔๔๘

๑.๓. ๑ เมษายน ๒๔๕๙ เริ่มใช พระราชบัญญัติขนาดเกวียน พระพุทธศักราช ๒๔๕๙ -๘-


เหตุผลในการประกาศใช : “มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ดํารัสเหนือเกลา ฯ สั่งวา ตามหัวเมืองในสยามรัฐสีมา มีเกวียนที่ใชเปนพาหนะในการเดินทาง และบรรทุกสินคาเปนประโยชนอยูเปนอันมาก แตเกวียนเหลานั้นบางเมืองทําขนาดระหวางลอตางกัน ไมสามารถจะนําไปใชในทางบางเมืองได เปนความลําบากขัดของ อยู ทรงพระราชดําริหเห็นวา ถาใหเกวียนทั้งปวงมีขนาดระหวางลอเดินทางรวมติดตอกันได จะเปนประโยชนแกพลเมือง ในการไปมาคาขายยิ่งขึ้นเปนอันมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหสอบสวนไดขนาดทางเกวียนที่มีอยูเปนขนาดกลาง โดยมากแลวตามหัวเมืองในพระราชอาณาจักรวาขนาดทางเกวียนกวาง ๑ เมตร ๔๕ เซ็นติเมตร นั้นเปนขนาดสามัญ จึงได ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหเจาพนักงานปกครองทองที่ ชี้แจงใหเจาของเกวียนจัดการแกไขเกวียนที่ยังไมไดขนาดนั้น เปนขนาดระหวางลอทั้ง ๒ ขาง กวาง ๑ เมตร ๔๕ เซ็นติเมตร ไดโดยมากแลว แตทรงพระราชดําริหเห็นวา ควรใหวาง ขนาดระหวางลอเกวียนไวเสียใหเปนหลักฐานเมื่อผูใดจะสรางเกวียนใหมก็ดี หรือจะแกขนาดเกวียนเกาทีมีอยูแลวก็ดี จะ ไดแกใหเปนขนาดเดียวกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติไวดังตอไปนี้”

๑.๔. พระราชบัญญัติลอเลื่อน พระพุทธศักราช ๒๔๖๐ [ยกเลิกโดย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติลอเลื่อน พุทธศักราช ๒๔๗๘]

๑.๕. พระราชบัญญัติลอเลื่อน พุทธศักราช ๒๔๗๘ เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชจักรยานโดยตรงในหลายเรื่อง เชน การจดทะเบียนและออกใบอนุญาต รถจักรยาน ๒ ลอ(ยกเลิกแลว) ๓ ลอ และ ๔ ลอ, การจดทะเบียน และออกใบอนุญาตขับขี่รถจักรยาน ๒ ลอ ๓ ลอ และ ๔ ลอ , ลักษณะลอเลื่อน เครื่องหมายลอเลื่อนรับจาง และเครื่องแตงกายผูขับขี่ลอเลื่อนรับจาง รายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับจักรยาน อยูในหัวขอเรื่อง “การจดทะเบียน และออกใบอนุญาตรถจักรยาน ๒ ลอ ๓ ลอ และลอเลื่อนอื่นๆ”, “การจดทะเบียน และออกใบอนุญาตขับขี่รถจักรยาน ๒ ลอ และ ๓ ลอ” และ “ลักษณะลอเลื่อน เครื่องหมายลอเลื่อนรับจาง และเครื่องแตงกายผูขับขี่ลอเลื่อนรับจาง” ของรายงานฉบับนี้ หมายเหตุ : นายอดิเรก แตงทอง นิติกร กองนิติการ กรมการขนสงทางบก ไดเสนอขอมูลเขาสูการสัมนาเชิงปฏิบัติการวา คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ ไดเสนอใหมีการยกเลิก พรบ.รถลาก รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ พรบ. รถจาง รัตนโกสินทรศก ๑๒๔ และพรบ.ลอเลื่อน พุทธศักราช ๒๔๗๘ ตอมาเมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่ไมเหมาะสมกับกาลปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดมีผลบังคับใช อันเปนการยกเลิก พรบ.ลอเลื่อน พุทธศักราช ๒๔๗๘ สงผลให "ใบอนุญาตขับขี่ลอเลื่อนและรถจักรยานทุกชนิด" ตองยกเลิกไปทั้ง ๒ กรณี คือ ๑. ไมตองสอบขอรับใบอนุญาตขับขี่จากพนักงานเจาหนาที่ และไมมีโทษปรับไมเกินสองรอยบาทอีกตอไป ๒. ไมตองมีใบอนุญาตขับขี่อยูกับตัวขณะขับขี่ และไมมีโทษปรับเปนเงินไมเกินสิบสองบาทอีกตอไป สวน พรบ.จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ยังไมไดยกเลิก จึงยังคงมีการบังคับใชบทบัญญัติเชนเดิมตอไป ดังนั้น พรบ.จราจรทางบกฯ ซึ่งมีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่อง “รถจักรยาน” ไวโดยเฉพาะใน ลักษณะ ๑๐ จึงนาจะมีบทบาทสําคัญ และอาจจะมีการแกไขเพิ่มเติมใหครอบคลุมรายละเอียดบางประการที่เคยมีอยูในกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปทั้ง ๓ ฉบับ

๑.๖. พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวง พระพุทธศักราช ๒๔๖๔ เหตุผลในการประกาศใช : -๙-


“มีพระบรมราชโองการ ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ดํารัส เหนือเกลา ฯ ใหประกาศใหทราบทั่วกันวา ดวยมีเหตุสมควรที่จะ จัดวางการรถไฟแผนดิน รถไฟราษฎรและทางหลวงให เรียบรอยดียิ่งขึ้น และเพื่อรวบรวมบท กฎหมายขอบังคับในเรื่องนี้เขาไวเปนหมวดหมู จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให ตราพระราชบัญญัติโดยบทมาตราไวตอไปดังนี้”

๑.๗. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๕ เรื่องทางหลวง (ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕) [ยกเลิกโดย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕]

๑.๘. พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชจักรยานในแงของ “กฎกติกาการใชรถจักรยานระหวางเมือง”, “สัญญาณ เครื่องหมาย ปายจราจร”, “การแบงชั้นทางหลวง” “มาตรฐานและลักษณะของทางหลวง งานทาง และเขตทางหลวง”, “มาตรฐานที่จอดรถ ระยะแนวตนไม และเสาพาดสาย” “ขอกําหนดทางวิศวกรรมของทางจักรยาน อุโมงค ผิวจราจร การ รับน้ําหนัก การรองรับความเร็ว ความลาดชัน ที่จอดจักรยาน” รายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับจักรยาน กลาวไวในหัวขอ “พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕” “สัญญาณ เครื่องหมาย ปายจราจร” และ “ขอกําหนดทางวิศวกรรมของ ทางจักรยาน และที่จอดจักรยาน” ของรายงานฉบับนี้

๑.๙. พระราชบัญญัติรถยนตร ร.ศ.๑๒๘ (พ.ศ.๒๔๕๒) และประกาศแกไข เพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๖๐ ๑.๑๐. พระราชบัญญัติรถยนตร พุทธศักราช ๒๔๗๓ [ยกเลิกโดย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติรถยนตร พ.ศ. ๒๕๒๒]

๑.๑๑. พระราชบัญญัติรถยนตร พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกฎหมายที่เกี่ยวของและเทียบเคียงกับการใชจักรยานในหลายเรื่อง เชน ใบอนุญาตขับรถยนตรสวนบุคคล ตลอดชีพ, ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนตรตลอดชีพ และการขนสงรถจักรยาน ๒ ลอ รายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับจักรยาน อยูในหัวขอ “ใบอนุญาตขับรถยนตรสวนบุคคลตลอดชีพ และใบอนุญาตขับ รถจักรยานยนตรตลอดชีพ”, “พระราชบัญญัติรถยนตร พ.ศ. ๒๕๒๒” และ “การขนสงรถจักรยาน ๒ ลอ” ของรายงานฉบับ นี้

๑.๑๒. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พุทธศักราช ๒๔๗๗ [ยกเลิกโดย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒]

๑.๑๓. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชจักรยานในแงของ “กฎกติกาการใชรถจักรยาน ๒ ลอในเมือง”, “สัญญาณ เครื่องหมาย ปายจราจร”, รายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับจักรยาน กลาวไวในหัวขอ “พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒” ของรายงาน ฉบับนี้

- ๑๐ -


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.