ข้อมูลการผลิตยาบ้าปี 2550

Page 1

ขอมูลการผลิตยาบาป 2550 ศึกษากรณีวิเคราะหขอมูลจากสถานตรวจพิสูจน

โดย สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด 2551


2

บทคัดยอ จากการศึกษาขอมูลการตรวจพิสูจนของกลางยาเสพติด จากสถานตรวจพิสูจนทั่วประเทศ พอสรุปเปนขอมูลการผลิตยาบาในป 2550 ได ยาบาที่แพรระบาดอยูในขณะนี้สามารถแบงออกได เปนกลุมๆ ตามเอกลักษณเฉพาะของเม็ดยา โดยมีกลุมใหญๆเพียงสองกลุมที่มีตัวยาเขามาระบาดใน ประเทศมาก ไดแกกลุม G1 ซึ่งเปนกลุมเกาที่ยังคงมีตัวยาเขามาแพรระบาดมากถึงรอยละ 45.04 และกลุม G23 มีตัวยาเขามาแพรระบาดประมาณรอยละ 34.92 ดังนั้นยาบาที่เขามาแพรระบาดใน ประเทศประมาณรอยละ 80 เปนยาบาที่มาจาก 2 กลุมนี้ สวนที่เหลืออีกประมาณรอยละ 20 มาจาก กลุมผูผลิตรายเล็กๆ อีกประมาณ 75 กลุม ยาบากลุม G1 และ กลุม G23 มีแหลงผลิตตางแหลงกัน และทั้งสองแหลงมีฐานการผลิตอยูในประเทศพมา โดยกลุม G1 สวนใหญมีเสนทางลักลอบนําเขา จากทางภาคเหนือ ลงไปทางดานตะวันตกเฉียงเหนือ สวนยาบากลุม G23 สวนใหญลักลอบเขาไป ในประเทศลาว และประเทศกัมพูชาแลวนําเขาประเทศไทยทางดานตะวันออก หัวเชื้อเมทแอมเฟ ตามีนแหลง X2 และ X3 ยังคงถูกนําไปผสมในเม็ดยาบามากเหมือนปที่ผานมา แหลง X2 ถูกนําไป ใชมากที่สุดถึงรอยละ 69.70 และเปนแหลงที่ถูกนําไปผสมในเม็ดยามากที่สุดมาหลายป ขนาดและ รูปแบบของเม็ดยาบายังคงมีขนาดเทาเดิม เครื่องหมายบนเม็ดยาบานั้นประมาณรอยละ 98.69 เปน ตัวอักษร WY พบตราสัญลักษณใหมประมาณ 2-3 ตัวอยาง แตยังคงเปนกลุมเล็กๆ ยาบาที่มี สวนผสมของเมทแอมเฟตามีนต่ํามีแนว โนมเพิ่มมากขึ้นกวาป 2549 และยาบาที่ทําเปนเม็ดจาก เครื่องมือแบบงายๆ มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


3

บทนํา ปญหาตัวยาเสพติดในประเทศปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ในการเปลี่ยนแปลง นั้น มีทั้งที่เปลี่ยนแปลงกางกายภาพสังเกตเห็นได และเปลี่ยนแปลงองคประกอบของตัวยา ซึ่งตอง ใชการตรวจวิเคราะหทางวิทยาศาสตรเปนผูบอก ดังนั้นสถานตรวจพิสูจนยาเสพติดซึ่งมีภารหนาที่ หลักในการตรวจพิสูจนตัวยาเสพติด จึงเปนหนวยงานสําคัญหนวยงานหนึ่งที่สามารถบอกถึงการ เปลี่ยนแปลงของตัวยาเสพติดไดอยางถูกตอง การเฝาระวังการแพรระบาดตัวยาเสพติดเปนอีก ภารกิจหนึ่งที่ตองติดตามเฝาระวังการเปลี่ยนแปลงของตัวยา การพัฒนาการของตัวยาตัวใหม ๆ เพื่อ ใหทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงไป สําหรับการศึกษาขอมูลการผลิตยาบา ป 2550 เปนการ ประสานความรวมมือกันระหวางสถานตรวจพิสูจนยาเสพติดทั่วประเทศซึ่งประกอบดวยสํานักงาน นิติวิทยาศาสตรตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมวิทยาศาสตรการแพทย สํานักงาน ป.ป.ส. ภาค 1 – 9 / กทม. และสถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส. ในการรวมทํา โครงการติดตามเฝาระวังการแพรระบาดของยาเสพติดในประเทศ โดยเฉพาะยาบาที่เปนปญหา สําคัญของประเทศในขณะนี้ วัตถุประสงคของโครงการเพื่อติดตามการแพรระบาดของตัวยาบาที่ ลักลอบผลิตขึ้นจากกลุมตางๆวามาจากกลุมใด มีเสนทางการลักลอบนําเขาดานใด ตัวยาบามีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบไปอยางไร และแตละภาคของประเทศมี สถานการณการแพรระบาดอยูใน ระดับใด สําหรับในป 2550 สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด ไดทําการตรวจวิเคราะห และนําขอมูลไปวิเคราะหรวมกับขอมูลการตรวจวิเคราะห จากสถานตรวจพิสูจนยาเสพติดทั้ง 2 หนวย มีขอมูลในการศึกษาจํานวนทั้งสิ้น 12,320 คดี เปนยาบารวมจํานวน 5,484,391 เม็ด ใน การวิเคราะหตามโครงการฯ ครั้งนี้เพื่อมุงผลในเชิงประมาณการของสถานการณการผลิตยาบาให ใกลเคียงความจริงที่สุด เนื่องจากมีขอจํากัดของขอมูล หลังจากประมวลขอมูลการศึกษาตาง ๆ เหลานี้แลว ไดแจงใหกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนในการแกไขปญหายาเสพติด ดวย

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


4

ในการศึกษาขอมูลการผลิตยาบา ป 2550 ไดแบงขั้นตอนการศึกษาออกเปนหลายขั้นตอน โดยเนนการศึกษาที่เอกลักษณเฉพาะทางกายภาพ และทางเคมีของเม็ดยาบาจากของกลางคดีตางๆ ทั่วประเทศ แลวนําขอมูลมาจัดเปนกลุม เพื่อวิเคราะหสถานการณตางๆ ดังตอไปนี้

1. ตัวอยางที่นํามาศึกษา เปนการประสานความรวมมือของสถานตรวจพิสูจนระหวาง สํานักงานนิติวิทยาศาสตร ตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมวิทยาศาสตรการแพทย และสํานักงาน ป.ป.ส. ในการตรวจ วิเคราะหตัวอยางของกลางยาบา จากของกลางที่จับยึดไดทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมีสํานักงาน ป.ป.ส. ภาค แตละภาค เปนผูประสานกับสถานตรวจพิสูจนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เพื่อจัดสงขอมูล การตรวจวิเคราะหมายัง สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส. ตลอดป 2550 มีตัวอยางที่นํามาวิเคราะห ทั้งสิ้น 12,320 คดี คิดเปนตัวแทนของยาบาจํานวน 5,484,387 เม็ด จําแนกจํานวนคดีและจํานวนเม็ดยาบาที่แตละภาคสงเขามาได ดังแสดงใน กราฟที่ 1 และ ตารางที่ 1 กราฟที่1 แสดงจํานวนคดีของแตละภาคที่นํามาศึกษา

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนคดีและจํานวนเม็ดของแตละภาคที่นํามาศึกษา

ภาค 5 มีพื้นที่รับผิดชอบภาคเหนือตอนบน มีจํานวนขอมูลที่นํามาศึกษามากที่สุดและเปน ขอมูลที่คอนขางสมบูรณ รองลงมาคือ กทม. ตัวอยางที่นํามาศึกษามีทั้งที่มาจากของกลางคดีราย ใหญ และจากของกลางคดีรายเล็ก ในกรณีที่เปนของกลางรายใหญ ยังสามารถนํามาวิเคราะหหา เสนทางการลักลอบนําเขา และเสนทางการลําเลียงเขาไปในจังหวัดตอนในได สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


5

2. แนวทางในการศึกษา เปนการศึกษาเอกลักษณเฉพาะของเม็ดยาบา ที่ถูกผลิตขึ้นจากแหลงผลิตที่ตางแหลงกัน เนื่องจากการผลิตยาบาบางแหลง อาจใชวิธีการผลิต สารเคมีที่ใชผลิต และเครื่องมือที่นํามาใชนั้นมี ความแตกตางกัน เปนผลใหเม็ดยาบาที่ไดจากการผลิตในแตละแหลง จะมีลักษณะเฉพาะบางอยาง แตกตางกัน เชน รูปแบบตราประทับ สวนประกอบ สัดสวนผสม สารปนเปอนที่เกิดจากการผลิต และองคประกอบอื่นๆ ไดแก ความแข็ง ความชื้น สี และกลิ่น เปนตน 2.1 ขั้นตอนการผลิตยาบา การผลิตยาบาในภูมิภาคนี้ สามารถแบงขั้นตอนการผลิตออกเปนหลักใหญๆไดเปน สาม ขั้น โดยเริ่มตั้งแตสารเคมีไปจนถึงผลผลิตสุดทายเปนเม็ดยาบา ดังนี้ 2.1.1 การผลิตหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีน เปนขั้นแรกของการผลิต โดยนําเอาสารเคมีหลาย ชนิด ที่เปนสารตั้งตน และเคมีภัณฑตางๆ ตามสูตรการผลิตกําหนด มาทําปฏิกิริยาทางเคมี ผลผลิต สุดทายในขั้นนี้คือ ผลึกเมทแอมเฟตามีน บางครั้งเรียกวาหัวเชื้อ กอนนําไปผสมทําเปนเม็ดยาบา หากนําเอาหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนมาตกผลึกหลายครั้งจะไดผลึกเมทแอมเฟตามีนที่บริสุทธิ์มาก เรียกวา ไอซ การศึกษาสารปนเปอนเพื่อสืบหาแหลงผลิตในขั้นนี้ 2.1.2 ขั้นผสมกอนทําเปนเม็ด หัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนที่ผลิตไดจากขั้นที่ 1 มาผสมกับสาร อื่นๆ เชน กาเฟอีน อาคาเซีย หรือสารที่มีคุณสมบัติยึดเกาะอื่นๆ สี กลิ่น เปนตน ในขั้นนี้จะไดผล สุดทายเปนยาบาที่ยังมีสภาพเปนผงมีสีตามที่ใส ขั้นตอนนี้สามารถนํามาวิเคราะหหาสวนผสม อัตราสวนผสม ของเม็ดยาได เพราะแหลงผลิตแตละแหลงมีสูตรผสมที่ตางกันไมมากก็นอย 2.1.3 ขั้นทําเปนเม็ดยา โดยนําเอาผลที่ไดจากขั้นที่ 2 มาทําเปนเม็ดดวยเครื่องตอกเม็ดยา ซึ่งประกอบดวยเครื่องตอกเม็ด และหัวตอกที่มีตราประทับตางๆ เม็ดยาบาที่ทํามาจากหัวตอกตัว เดียวกันจะมีรอยตําหนิหรือตราประทับเหมือนกัน ดังแสดงในรูปภาพที่ 1 รูปภาพที่ 1 ขั้นตอนการผลิตยาบา

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


6

2.2 การวิเคราะหกลุม การแบงกลุมยาบาเปนกลุมตางๆ ตามคุณสมบัติที่เกิดจากการผลิต ในการวิเคราะหนั้นโดย การศึกษาความแตกตาง และความเหมือน หรือความใกลเคียงกันของเอกลักษณเฉพาะของเม็ดยาบา จากแหลงตางๆ แล วนํามาศึกษาเปรียบเทียบเพื่อกําหนดเปนกลุม ๆ ในการศึกษาครั้งนี้ไดใ ช ตัวอักษร G และตัวเลข เปนตัวแทนของกลุมแตละกลุม ดังแสดงในรูปภาพที่ 2

รูปภาพที่ 2 องคประกอบสําคัญที่นํามาพิจารณาแบงกลุมยาบา 2.3 เครื่องมือที่ใชในการตรวจวิเคราะห ในการตรวจพิสูจนองคประกอบตางๆทางเคมีของยาบา เพื่อนําขอมูลมากําหนดเปนกลุมๆ นั้น ใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตร ในการตรวจวิเคราะหองคประกอบ สวนผสม และคุณสมบัติอื่นๆ ที่สถานตรวจพิสูจนทุกแหงมีอยูประจําสถานตรวจพิสูจน เชน เครื่องแกสโครมาโตกราฟ (GC) ชุด ตรวจ TLC กลอง MICROSCOPE และเครื่องมืออื่นๆ ที่ใชตรวจพิสูจนของกลาง สวนการตรวจ วิเคราะหสารปนเปอนนั้น ศึกษาเฉพาะของกลางที่สงตรวจยังสถานตรวจพิสูจนของสํานักงาน ป.ป.ส. เทานั้น

3. ผลของการศึกษา ในการศึกษาเอกลักษณของยาบานั้น เปนการวิเคราะหคุณสมบัติหลักของเม็ดยา โดยแบง ขั้นตอนการศึกษาออกเปนสองสวน คือวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพ และวิเคราะหคุณสมบัติ ทางเคมี 3.1 การวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพ เปนการศึกษาลักษณะภายนอกของเม็ดยา เชน ตราประทับ รอยตําหนิ ขนาดเม็ด น้ําหนัก สี และกลิ่น ลักษณะการบรรจุ และภาชนะที่นํามาบรรจุ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ และขนาดของ เม็ดยา เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงแมพิมพ หรือหัวตอกในแตละป และศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


7

ของเม็ดยาบากับกลุมผูทําเม็ดยา นอกจากนั้นยังนําขอมูลทั้งหมดมาศึกษาวิเคราะหรวมกับขอมูล คุณสมบัติทางเคมี ในการวิเคราะหเครือขายผูผลิต ผูคา และวิเคราะหแนวโนมการแพรระบาด เสนทางการแพรกระจาย จากขอมูลการศึกษาเบื้องตน พบวาเม็ดยาบาที่แพรระบาดในป 2550 สวนใหญมีลักษณะ ทางกายภาพไมตางจากยาบาที่ตรวจพบหลายปที่ผานมา ดังแสดงในกราฟที่ 2,3 และ 4 ซึ่งเปนกราฟ ที่แสดงถึงขนาดเสนผาศูนยกลาง ความหนา และน้ําหนักของยาบา 3.1.1 ขนาดของเม็ดยา ขึ้นกับขนาดของแมพิมพ กราฟที่ 2 แสดงขนาดเสนผาศูนยกลางของเม็ดยาบา ขนาดเสนผาศูนยกลาง ของเม็ดยาบาสวนใหญยังคง มีขนาด 6 - 6.5 มิลลิเมตร พบมากถึงรอยละ 81.05 แสดงวายาบาสวนใหญยังมี ขนาดเทาเดิม กราฟที่ 3 แสดงขนาดความหนาของเม็ดยาบา ขนาดความหนาของเม็ด ยารอยละ 67.65 อยูในชวง ประมาณ 3 - 3.5 มิลลิเมตร และรอยละ 13.72 มีขนาด บางลง ซึ่งเปนขอมูลปกติยัง ไมเปลี่ยนแปลง กราฟที่ 4 แสดงน้ําหนักของเม็ดยาบา น้ําหนักของเม็ดยาบา ประมาณรอยละ 58.69 อยู ในชวงระหวาง 90 - 100 มิลลิกรัม น้ําหนักรองลงมา รอยละ 25.99 อยูในชวง ระหวาง 80 - 90 มิลลิกรัม จากภาพรวมยาบาที่แพรระบาดในประเทศ ป 2550 ประมาณรอยละ 70 – 80 เปนยา บาที่มีรูปรางลักษณะ ขนาด และน้ําหนักไมตางจากยาบาในชวงหลายปที่ผานมา เม็ดยาสวนใหญ ยังคงมีขนาดเสนผาศูนยกลางอยูระหวาง 6 – 6.5 มิลลิเมตร ความหนาอยูระหวาง 3 – 3.5 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักหนักอยูระหวาง 90 – 100 มิลลิกรัม สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


8

3.1.2 รูปแบบตราประทับ จากการตรวจสอบรูปแบบตราประทับบนเม็ดยาบาในป 2550 พบความแตกตางของตรา ประทับ ที่เดนชัดแบงออกไดเปน 4 แบบ ไดแก ตัวอักษร WY, R ตัวเลข 888 และรูปแบบอื่นๆ โดยรอยละ 98.69 เปนตัวอักษร WY รอยละ 0.24 เปนตัว อักษร R รอยละ 0.06 เปนตัวเลข 888 และรูปแบบอื่นๆ คิดเปนรอยละ 1.00 ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 สัดสวนตราประทับ

3.2 ศึกษาคุณสมบัติทางเคมี 3.2.1 ศึกษาสวนประกอบและสัดสวนผสม จากขอมูลป 2550 พบวา ปริมาณเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยาบาหนึ่งเม็ด สวนใหญยังอยู ในชวงระหวางรอยละ 20 – 30 รองลงมาอยูระหวางรอยละ 10 – 20 และชวงรอยละ 1 – 10 ปริมาณ ความบริสุทธิ์ของกาเฟอีนในเม็ดยาบา อยูระหวางรอยละ 50 – 70 ดังแสดงในกราฟที่ 5 และ 6 กราฟที่ 5 แสดงปริมาณความบริสุทธิ์ของเมทแอมเฟตามีน ป 2550 จากการตรวจวิเคราะห ปริมาณเมทแอมเฟตามีนใน เม็ดยาบา/เม็ด ของป 2550 สวนใหญ ยังคงอยูในชวงระ หวางรอยละ 20 – 25 รองลง มาอยู ระหวางรอยละ 15 – 20 และรอยละ 25 - 30 ปริมาณเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยาบามีการเปลี่ยนแปลงไปตามหวงเวลา และบางสถาน การณ โดยหวงเวลาใดที่หัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนมีนอย หรือหายาก จะพบยาบาคุณภาพต่ํามีมากขึ้น โดยเฉพาะชวงต่ํากวารอยละ 10 สําหรับในป 2550 สถานการณของหัวเชื้ออยูในภาวะปกติ สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


9

กราฟที่ 6 แสดงปริมาณความบริสุทธิ์ของกาเฟอีน ป 2550

% กาเฟอีน

ปริมาณกาเฟอีนในเม็ดยาบาสวนใหญอยูในปริมาณที่คงตัว ระหวางรอยละ 50 – 70 ไม เปลี่ยนแปลงมาก เวนแตยาบาที่ทําเปนเม็ดกันเองในกลุมเล็ก ไมมีมาตรฐาน หรือพวกที่นํายาบามา บดแลวทําเม็ดใหมโดยการเพิ่มสารตัวอื่นเพื่อใหไดปริมาณมากขึ้น จากการศึกษาเปรียบเทียบปริมาณเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยาบาที่เขามาระบาดในประเทศ ในชวง 3 ปที่ผานมา พบวายาบาในป 2549 และ 2550 สวนใหญเม็ดยามีปริมาณเมทแอมเฟตามีนอยู ในชวงระหวางรอยละ 20 – 25 ตางจากยาบาป 2548 สวนใหญมีปริมาณอยูระหวางรอยละ 25 – 30 แสดงวาการผลิตยาบาในระยะสองปที่ผานมามีคุณภาพต่ํากวา โดยเฉพาะป 2550 ยาบาที่มีปริมาณ เมทแอมเฟตามีนระหวางรอยละ 15 – 20 เพิ่มมากกวาป 2549 สวนปริมาณที่ต่ํากวารอยละ 10 นั้นมี นอยกวา ดังแสดงในกราฟที่ 7 กราฟที่ 7 แสดงภาพรวมปริมาณความบริสุทธิ์ของเมทแอมฯ ของป 2548 – 2550

จากขอสังเกตในการศึกษาเปรียบเทียบปริมาณเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยาบา ตลอดชวงสาม ปที่ผานมา พบวาเม็ดยาบาป 2548 สวนใหญมีสัดสวนผสมอยูในระดับใกลเคียงกัน มีคาเบี่ยง เบน ไมมาก เชนเดียวกับยาบาป 2550 แตป 2548 นั้นเม็ดยาบามีคุณภาพดีกวาป 2550 ดังนั้นกลุมผู ผสมกอนทําเปนเม็ดของทั้งสองปนี้ นาจะเปนกลุมเดียวกัน เพียงแตลดปริมาณหัวเชื้อเมทแอมเฟตา สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


10

มีนลง สวนยาบาป 2549 เปนยาบาที่มีสัดสวนผสมของเมทแอมเฟตามีนเฉลี่ยอยูในหลายระดับ นาจะมีแหลงผสมกอนทําเปนเม็ดหลายแหลง 3.2.2 การศึกษาสารปนเปอน ( Impurity Drug Profile ) การสังเคราะหหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนนั้นมีหลายวิธี และสารเคมีที่นํามาทําปฏิกริยาใน แตละวิธีมีความแตกตางกัน ดังนั้นสารปนเปอนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาจึงแตกตางไปดวย การตรวจ วิเคราะหหาสารปนเปอน ตองใชเทคนิควิธีการที่นอกเหนือจากการตรวจพิสูจนทางคดี การศึกษา ครั้งนี้เปนการศึกษาเฉพาะตัวอยางยาบาที่อยูในสถานตรวจพิสูจนของ สํานักงาน ป.ป.ส. เทานั้น สวนใหญเปนคดีที่มีของกลางเปนจํานวนมากในแตละคดี และเปนของกลางที่มาจากทั่วทุกภาคของ ประเทศ ตัวอยางที่นํามาศึกษาใน ป 2550 ไดตรวจไปทั้งสิ้น 997 ตัวอยาง ผลการตรวจดังแสดงใน ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงสัดสวนหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนแตละแหลงที่ถูกนําไปใชของป 2550

จากตารางที่ 3 เปนการเปรียบเทียบสารปนเปอน ที่ไดจากตรวจวิเคราะหตัวอยางยาบาตั้งแตป 2544 จนถึง ป 2550 จากการศึกษาพบวา เม็ดยาบาสวนใหญยังคงนําหัวเชื้อมาจากแหลง X2 มากถึงรอย ละ 69.70 รองลงมาคือแหลง X3 ประมาณรอยละ 26.78 สวนแหลงอื่นๆถูกนําไปใชในปริมาณที่ต่ํา ซึ่งไมตางจากขอมูลป 2549 แสดงวาแหลง X2 ยังเปนแหลงผลิตแหลงใหญ และหางาย 3.2.3 ความสัมพันธระหวาง หัวเชื้อกับตราประทับ สวนประกอบสําคัญในการศึกษาของเม็ดยาบาคือ ตราประทับ และหัวเชื้อเมทแอมเฟตา มีนที่นํามาผสมในเม็ดยา การศึกษาความสัมพันธระหวางหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีน กับตราประทับ บนเม็ดยานั้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อดูวายาบากลุมใดนําเอาหัวเชื้อจากแหลงใดไปใชผสมในเม็ดยา และผสมในสัดสวนอยางไร เพื่อเปนขอมูลประมาณการ ในการวิเคราะหแหลงที่มาของเม็ดยา และ ความสัมพันธของเม็ดยาตางคดีกัน ในการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษาเฉพาะหัวเชื้อจากแหลง X2 และX3

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


11

เนื่องจากทั้งสองแหลงถูกนํามา ใชเปนสวนผสมในเม็ดยามากที่สุด การศึกษาครั้งนี้ใชตัวอยาง ทั้งสิ้น จํานวน 523 คดี จากยาบา 23 กลุม โดยมีรายละเอียดดังแสดงในกราฟที่ 8 กราฟที่ 8 ความสัมพันธระหวาง G และ X ป 2550

แหลงผลิตหัวเชื้อ X2 เปนแหลงที่ยาบากลุม G23 นํามาใชมากที่สุดถึง 180 ตัวอยาง รองลงมาคือกลุม G1 จํานวน 127 ตัวอยาง แหลงผลิตหัวเชื้อ X3 เปนแหลงที่ยาบากลุม G23 นํามาใชมากที่สุดถึง 61 ตัวอยาง รองลงมาคือกลุม G1 จํานวน 50 ตัวอยาง ดังนั้นจากขอมูลโดยประมาณ พอสรุปไดวายาบาป 2550 พบวากลุม G23 นําเอาหัวเชื้อ เมทแอมเฟตามีนจากแหลง X2 ไปผสมในเม็ดยามากที่สุด รองลงมาคือแหลง X3 เชนเดียวกับ ยาบา กลุม G1 แตปริมาณการนําไปใชนอยกวา G23

4. การแพรกระจายของยาบากลุมตางๆ จากการตรวจวิเคราะหตัวอยางของกลางยาบา พบวาในป 2550 มีกลุมยาบาเขามาระบาดศ ประมาณ 77 กลุม มีสัดสวนการแพรระบาดแตกตางกันไป ดังแสดงในตารางที่ 4

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


12

ตารางที่ 4 สัดสวนการกระจายตัวของยาบากลุมตาง ๆ ของป 2549 และ2550

จากตาราง พบวาป 2550 ยาบากลุม G1 ยังคงมีตัวเขามาระบาดในประเทศมากที่สุดถึงรอย ละ 45.04 รองลงมาเปนยาบากลุม G23 มีสัดสวนรอยละ 34.92 สวนกลุมอื่นๆ นั้น ยังคงมีสัดสวน การแพรระบาดในปริมาณที่นอยไมถึง 10 % ดังนั้นพอสรุปไดวา ป 2550 มียาบา 2 กลุม ที่มีตัวยาเขามาระบาดมากตามสัดสวนที่กลาว ไว เมื่อเทียบกับป 2549 พบวามีเพียงยาบากลุม G1 มีตัวยาเขามาระบาดมากที่สุดถึง 22.22 % รองลงมา คือกลุม G34 มีสัดสวนประมาณ 7.32 % สวน G23 นั้น ระบาดอยูในลําดับที่ 5 ประมาณ 6.07% ดังนั้นในป 2550 ยาบากลุม G23 มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นกวาป 2549 4.1 การแพรระบาดของยาบากลุม G1 และ G23 จากข อมู ลที่กล าวมาขางต น แสดงใหเ ห็ นวา ป 2550 ยาบาที่ เขามาระบาดในประเทศ ประมาณรอยละ 80 มาจากยาบากลุม G1 และ G23 สวนที่เหลืออีกประมาณรอยละ 20 มาจากกลุม เล็กๆ อีกประมาณ 75 กลุม ยาบาทั้งสองกลุมนั้น ตัวเม็ดยาของแตละกลุม จะมาจากแหลงเดียวกัน หรือหลายแหลงนั้น อยูระหวางการศึกษา แตมีขอสันนิษฐานวา ยาบาในกลุมเดียวกันนาจะมีแหลง ผสมกอนจะทําเปนเม็ดยานั้นมาจากแหลงเดียวกัน สวนแหลงที่ทําเปนเม็ดยาบาอาจมีหลายแหลง สวนหัวตอกที่นํามาใชนาจะมาจากแหลงทําหัวตอกเดียวกัน จึงมีตัวอักษรที่เหมือนกันในแตละกลุม โดยการพิจารณาจากคุณสมบัติของทั้ง 2 กลุม ดังแสดงในรูปภาพที่ 2 และ รูปภาพที่ 3 สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


13

รูปภาพที่ 3 คุณสมบัติเฉพาะของยาบากลุม G1

รูปภาพที่ 4 คุณสมบัติเฉพาะของยาบากลุม G23

จากการติดตามเฝาระวังยาบากลุมตางๆ ที่แพรระบาดในประเทศมาหลายป พบวายาบา กลุม G1 เปนยาบากลุมเดียวที่มีตัวยาเขามาแพรระบาดมากที่สุดมาโดยตลอด ในป 2549 พบวาเริ่ม มีปริมาณลดจํานวนลง ในขณะเดียว กันยาบากลุม G23 เริ่มพบตัวยาเขามาระบาดในประเทศมากขึ้น ตั้งแตกลางป 2549 ดังแสดงในกราฟที่ 9

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


14

กราฟที่ 9 แสดงสัดสวนการแพรระบาดของกลุมยาบาเฉพาะบางกลุมตลอดป 2549 G1

จากขอมูลป 2550 ของยาบากลุม G1 และ G23 มีสัดสวนการแพรระบาดใกลเคียงกัน กลุม G1 ยังคงมีตัวยาเขามาระบาดมากที่สุด และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันกลุม G23 กระจายใน ระดับคงที่และมีแนวโนมจะลดลง ดังแสดงไวในกราฟที่ 10 และตารางที่ 5 กราฟที่ 10 การแพรระบาดของยาบากลุม G1 และ G23 ใน ป 2550

ตารางที่ 5

4.2 การแพรกระจายของยาบากลุม G1 และG23 ในพื้นที่ตางๆ จากการศึกษาเปรียบเทียบการแพรระบาดของกลุม G1 และ กลุม G23 ในภาพรวมทั้ง ประเทศและในแตละพื้นที่ ดังแสดงในแผนภูมิที่ 1

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


15

แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบการกระจายตัวของยาบากลุม G1 และกลุม G23 ในภาพรวมทั้งประเทศ จากแผนภูมิที่ 1 การกระจายตัว ของยาบากลุม G1 ตลอด 3 ปที่ผานมา ความหนาแนนของตัวยามีมากในจังหวัด เชียงใหม ลําพูน ลําปาง ตาก พิษณุโลก กําแพงเพชร นครสวรรค ยาบากลุมนี้ เปนกลุมดั้งเดิม มีกําลังการผลิตสูง มีฐาน ผลิตในประเทศพมา และสวนใหญยังคง ใชเสนทางลําเลียงเดิม การกระจายตัวของยาบากลุม G23 ที่ผานมาความหนาแนนของตัวยามีมาก ตั้งแตแนวชายแดนเชียงราย หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี จันทบุรี ซึ่งมี พื้นที่ติดกับประ เทศลาวและกัมพูชา นอกจากนั้นยังพบมากในพืน้ ที่ภาคใต พื้นที่ผลิตนาจะอยูทางประเทศพมา แลว สงผานไปประเทศลาว และกัมพูชาเพื่อ เขาไทย หมายเหตุ; ยาบากลุม G23 เดิมเปนกลุมเล็ก ปจจุบันไดพัฒนามาเปนกลุมใหญขึ้น

จากภาพรวมทั้งประเทศ การกระจายตัวของยาบาทั้ง 2 กลุม มีความแตกตางของความ หนาแนนของตัวยาในแตละพื้นที่ สามารถนํามาวิเคราะหหาแหลงลักลอบนําเขาได กลุม G1 ความหนาแนนของตัวยามีมากในพื้นที่ทางซีกตะวันตก ตั้งแตจังหวัดแนวชาย แดนทิ ศ เหนื อ ลงไปจั ง หวั ด ชายแดนทางทิ ศ ตะวั น ตก ได แ ก เชี ย งใหม ลํ า ปาง ลํ า พู น ตาก กําแพงเพชร พิษณุโลก นครสวรรค เปนตน แสดงวายาบากลุมนี้มีฐานการผลิตอยูในพื้นที่ทางเหนือ ในเขตพมา แลวลักลอบนําเขามาทางดานเหนือ และดานตะวันตกเฉียงเหนือ แลวกระจายเขาไปใน จังหวัดชั้นในของภาคกลาง กทม. และลงไปทางภาคใต กลุม G23 ความหนาแนนของตัวยามีมากในพื้นที่ทางซีกตะวันออก จากจังหวัดชายแดน ภาคเหนือลงไปทางดานตะวันออก ไดแก เชียงราย พะเยา นาน หนองคาย ลงไปถึงอุบล ราชธานี สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


16

ไปบุรีรัมย สระแกว แลวกระจายเขาไปในพื้นที่จังหวัดชั้นใน และลงไปภาคใต จากลักษณะการ กระจายตัวดังกลาว แสดงวายาบากลุม G23 มีฐานผลิตอยูในพมา ลักลอบผานเขาประเทศลาวและ ประเทศกัมพูชา แลวนําเขาประเทศไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกอีกครั้ง จากการกระจายตัวของยาบาทั้งสองกลุมดังกลาว เมื่อนํามาพิจารณาเปนพื้นที่รายภาคโดย การเปรียบเทียบจากตัวยาทั้งสองกลุม ดังแสดงในแผนภูมิที่ 2 ถึง 6 ดังตอไปนี้ แผนภูมิที่ 2 เปรียบเทียบในพื้นที่ภาคเหนือ ระหวาง กลุม G1 และกลุม G23

จากแผนภูมิที่ 2 ในพื้นที่ภาคเหนือพบวาตัวยาบากลุม G1 มีความหนาแนนของตัวยาเกือบ ทุกจังหวัด ทั้งภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนลาง ขณะเดียวกันกลุม G23 มีการกระจายตัว นอยกวา ยกเวนจังหวัดเชียงราย พะเยา นาน ซึ่งมีแนวชายแดนติดกับประเทศลาว

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


17

แผนภูมิที่ 3 เปรียบเทียบในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหวาง กลุม G1 และกลุม G23

จากแผนภูมิที่ 3 พบวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบตัวยาบากลุม G23 กระจายตัวหนาแนน เกือบทุกจังหวัดทั้งอีสานเหนือและอีสานใต สวน G1 กระจายตัวหนาแนนนอย มีเพียงบางจังหวัด ไดแก หนองคาย ขอนแกน ชัยภูมิ นครราชสีมา แผนภูมิที่ 4 เปรียบเทียบในพื้นที่ภาคตะวันตก ระหวาง กลุม G1 และกลุม G23

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


18

ในพื้ น ที่ ภ าค 7 อยู ใ นพื้ น ที่ ภ าคกลาง มี แ นวชายแดนติ ด กั บ ประเทศพม า ในจั ง หวั ด กาญจนบุรี ซึ่งเปนอีกจังหวัดหนึ่งที่มีการลักลอบนํายาบาเขามา จากแผนภูมิที่ 4 มีตัวยาเขามาใน พื้นที่ในระดับความหนาแนนใกลเคียงกัน ตางกันที่จังหวัดกาญจนบุรี G23 หนาแนนนอยกวา สําหรับ จังหวัดกาญจนบุรี ยังเปนจุดลักลอบนําเขาของยาบากลุม G24 ดวย แผนภูมิที่ 5 เปรียบเทียบในพื้นที่ภาคตะวันออกและภาคกลาง ระหวาง กลุม G1 และกลุม G23

จากพื้นที่ภาคตะวันออกกลุม G23 ยังหนาแนนในจังหวัดสระแกว และจันทบุรี ซึ่ง เป น พื้ น ที่ ติด ชายแดนกั มพู ชา ส ว นพื้น ที่ ต อนในการกระจายตั ว ของทั้ง สองกลุม ใกล เ คี ย งกั น

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


19

เนื่องจากพื้นที่ภาคกลางตอนในนาจะเปนเสนทางผานของตัวยาทั้งสองกลุม ดังนั้นในพื้นที่ภาค กลางจึงมีตัวยาของทั้งสองกลุมเขามาในพื้นที่ในระดับความหนาแนนใกลเคียงกัน แผนภูมิที่ 6 เปรียบเทียบในพื้นที่ภาคใต ระหวาง กลุม G1 และกลุม G23

ในพื้นที่ภาคใต ยาบากลุม G23 มีตัวยาเขามาระบาดในพื้นที่ภาคใตตอนลางมากกวากลุมG1 โดย เฉพาะ พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต สวนใตตอนบนนั้นมีปริมาณใกลเคียงกัน จากภาพแผนภูมิการกระจายตัวของยาบากลุม G1 และ G23 ในจังหวัดตางๆ ของแตละ ภาค เห็นไดวาระดับความหนาแนนของตัวยาบาในแตละกลุมในพื้นที่จังหวัดตามแนวชายแดน มี ความเดนชัดกวาจังหวัดตอนในของประเทศ พื้นที่ภาคกลางทั้งทางดานตะวันออกและตะวันตก การกระจายตัวของทั้ง 2 กลุมไมคอยแตกตางกัน อาจเนื่องมาจากเปนพื้นที่ทางผานของยาบาทั้ง 2 กลุม รวมทั้งกลุมอื่นดวย เพื่อเขาสูสวนกลางและลงไปทางภาคใต 4.3 ศึกษาเพื่อพิสูจนหาแหลงผสมกอนทําเปนเม็ดยาบาของแตละกลุม เปนการศึกษาความสัมพันธระหวาง แหลงหัวเชื้อ (X) กับกลุมหัวตอกเม็ดยา(G) เพื่อเปน แนวทางในการสืบหาที่มาของแหลงปรุงหรือผสมกอนทําเปนเม็ดของยาบาแตละกลุม วามาจาก แหลงเดียวกันหรือตางแหลงกัน และมีจํานวนกี่แหลง

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


20

4.3.1 กลุม G1 จากขอมูลพบวา แหลงที่มาของหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนของยาบากลุมนี้ มาจาก 3 แหลง คือแหลง X2, X3 และ X13 สวนมากมาจาก แหลง X2 และ X3 โดยมีปริมาณเมทแอมเฟตามีนใน เม็ดยาบากลุมนี้ มี 2 ชวงหลัก ไดแกชวงระหวางรอยละ 25 – 30 รองลงมาไดแกชวงระหวาง ระหวาง 20 – 25 ขอนาสังเกตถึงแมวากลุม G1 จะมีหัวเชื้อตางแหลงกันแตปริมาณเมทแอมเฟตามีน ในเม็ดยาบาใกลเคียงกัน ดังแสดงใน กราฟที่ 11 กราฟที่ 11ปริมาณเมทแอมเฟตามีนจาก X2 และ X3 ในยาบากลุม G1

จากคาปริมาณเมทแอมเฟตามีนทั้งสองชว งของหัวเชื้อเมทแอมฯ ทั้งสองแหล งมีความ สัมพันธและสอดคลองกัน นาจะมีผูปรุงหรือผูผสมเปนคนเดียวกัน หรือใชสูตรผสมเดียวกัน และ จากคาความเข็มขนที่แสดงในกราฟนาจะมีสูตรผสมสูตรเดียว 4.3.2 กลุม G23 จากขอมูลพบวายาบากลุมนี้มีแหลงหัวเชื้อมาจาก 6 แหลง คือ X1, X2, X3,X4,X10 และ X12 สวนมากมาจาก 2 แหลงคือ แหลง X2 และ X3 เชนเดียวกับกลุม G1 หัวเชื้อที่มาจากแหลง X2 ปริมาณเมทแอมเฟตามีนมี 2 ชวงหลัก ไดแกชวงระหวาง 20 – 25 % และชวง 15 – 20 % สวนหัวเชื้อจากแหลง X3 ปริมาณเมทแอมเฟตามีนสวนมากอยูชวงเดียว คือชวงระหวาง 15 – 20 % จากความหลากหลายของหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีน และคาปริมาณเมท แอมเฟตามีนในเม็ดยาไมคอยสอดคลองกัน อาจสรุปไดวายาบากลุมนี้นาจะมีผูปรุง หรือผูผสม คน ละกลุมกัน หรือใชสูตรผสมตางกัน ดังแสดงในกราฟที่ 12

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


21

กราฟที่ 12 ปริมาณเมทแอมเฟตามีนจาก X2 และ X3 ในยาบากลุม G23

4.3.3 พิจารณาจากแหลงหัวเชื้อเปนหลัก ยาบากลุม G1 และกลุม G23 ที่มีหัวเชื้อเมทแอมฯ จากแหลง X2 เดียวกัน ดังกราฟที่ 13 นาจะมีคนปรุงหรือผสมมาจากกลุมเดียวกัน หรือใชสูตรผสมในสัดสวนเดียวกัน กราฟที่ 13 แสดงความสัมพันธระหวางหัวเชื้อจาก X2 กับกลุม G1 และกลุม G23

ยาบากลุม G1 และกลุม G23 ที่มีหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนจากแหลง X3 เดียวกันดังแสดง ในกราฟที่ 14 นาจะมีคนปรุงหรือผสมตางกลุมกัน ดังแสดงในกราฟที่ 14 กราฟที่ 14 แสดงความสัมพันธระหวาง หัวเชื้อจาก X3 กับ G1และ G23

จากขอมูลความสัมพันธระหวางหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีน กับกลุมG1 และกลุม G23 เมื่อนํามากําหนดใหเห็นเปนแผนภาพรายละเอียดของขั้นตอนการผลิตดังแสดงในรูปภาพที่ 5

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


22

รูปภาพที่ 5 การผลิตยาบากลุม G1และG23 ที่มีหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนจากแหลง X2 และX3

จากขอมูลการตรวจวิเคราะหยาบากลุม G1และG23 ทั้งทางกายภาพและทางเคมีแลว มีขอสันนิษฐานถึงความสัมพันธของทั้งสองกลุม พอสรุปไดดังนี้ ยาบากลุม G1 ที่มาของหัวเชื้อมาจาก 3 แหลง คือแหลง X2, X3 และ X13 สวนใหญนิยม ใชแหลง X2 และ X3 ผูปรุงหรือผูผสมกอนทําเปนเม็ดของกลุมนี้นาจะมีเพียงกลุมเดียว ถึงแมวา หัว เชื้อจะมาจากตางแหลงกัน โดยสังเกตจากสัดสวนผสมสอดคลองกัน สวนแหลงทําเปนเม็ดยานั้นยัง ไมมีขอมูลเพียงพอในการระบุแหลงทําเม็ดยา ยาบากลุม G23 ที่มาของหัวเชื้อมาจาก 6 แหลง คือแหลง X1,X2, X3, X4, X10 และ X12 สวนใหญนิยมใชหัวเชื้อจาก X2 และX3 ผูปรุงหรือผูผสมกอนทําเปนเม็ดนาจะทํามาจากหลายกลุม เพราะ สัดสวนผสมของเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยามีหลายคา และไมสอดคลองกัน จากขอมูล ที่กลาวมาพอสรุปไดวาขบวนการผลิตยาบา ตั้งแตแหลงผลิตหัวเชื้อเมทแอมเฟ ตามีน แหลงผสมยาบาเปนผง และแหลงทําเปนเม็ดยาบานั้น ไมนาจะผลิตอยูในแหลงเดียวกัน ขอมูล 4.3 ขางตนยังมีขอมูลไมเพียงพอที่จะสรุปไดวา ยาบาแตละกลุมมีแหลงปรุงหรือ ผสมมาจากแหลงเดียวกันหรือไม เปนเพียงแคสันนิษฐานเบื้องตน เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา ตอไปได

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


23

5. การศึกษาพื้นที่ลักลอบนําเขาและเสนทางผานของยาบากลุมตางๆ จากการเฝาศึกษาติดตามเสนทางการนําเขา และเสนทางลําเลียงของยาบากลุมตางๆ โดยทําการศึกษาจากคดีที่มีของกลางยาบาในคดีมากกวา 5,000 เม็ดขึ้นไป ซึ่งถือวาเปนคดีราย ใหญไมนาจะมีไวเสพเพียงอยางเดียว จากขอมูล ป 2550 ทั้งป พบวาของกลางสวนใหญ พบมากทาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งนาจะเปนเสนทางนําเขาหลัก ดังแสดงในรูปภาพที่ 6 แผนภูมิที่ 7 แสดงถึงของกลางมากกวา 5,000 เม็ดที่ยึดไดในพื้นที่ตางๆ ของป 2550

ทุกจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือพบยาบากลุม G1 และหรือ กลุมG23 ยกเวนจังหวัดแมฮอง สอนไมพบยาบาทั้งสองกลุม จากขอมูลดังกลาวพอสรุปไดวาพื้นที่ภาคเหนือเปนพื้นที่ลักลอบ นําเขาของยาบาทั้งสองกลุมดังกลาว นอกจากนั้นยังใชเปนขอมูลยืนยันไดวาแหลงผลิตยาบาทั้งสอง แหลงอยูในประเทศพมา

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


24

ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของกลางคดีรายใหญสวนมากเปนกลุม G23 โดย เฉพาะจังหวัดตามแนวชายแดนที่ติดกับประเทศลาวและประเทศกัมพูชา แสดงใหเห็นวายาบากลุม นี้ สวนใหญลักลอบเขาไปทางประเทศลาวและประเทศกัมพูชา แลวลักลอบนําเขาไทย

ของกลางคดีรายใหญในพื้นที่ภาคกลางพบทั้งยาบากลุม G1 และกลุม G23 มีสัดสวนของ คดีใกลเคียงกัน สวนพื้นที่กรุงเทพฯ นอกจากพบทั้งสองกลุมเปนจํานวนมากและมีสัดสวนของคดี ใกลเคียงกันแลวยังพบยาบากลุมอื่นๆอีกหลายกลุม เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวใชเปนเสนทางผาน และ ที่พักของยาบา จึงมีสัดสวนใกลเคียงกัน

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


25

3 ภาค 4

ในพื้นที่ภาคใตของกลางคดีรายใหญ พบกลุม G23 ในพื้นที่สงขลาคดีเดียว และกลุมอื่น ซึ่งนาจะเปนยาบาที่ลักลอบมาจากทางเหนือ

ในพื้นที่ภาคตะวันตก พบทั้งยาบากลุม G1และ กลุมG23 ในพื้นที่ในสัดสวนใกลเคียงกัน ขอมูลของกลางคดีรายใหญที่จับยึดทางภาคเหนือ ไดแกพื้นที่ภาค 5 และ ภาค 6 พบของ กลางยาบาที่มาจากทั้งกลุม G1 และกลุม G23 เปนสวนใหญ สวนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใน พื้นที่ภาค 3 และภาค 4 พบยาบามาจากกลุม G23 เพียงกลุมเดียว มีเพียงจังหวัดนครราชสีมาที่พบ กลุม G1 แสดงวายาบาที่ลักลอบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก สวนใหญเปน ยาบากลุม G 23 ในพื้นที่ภาคกลาง ไดแกภาค 1 ภาค 2 และ กทม. สวนมากเปนกลุม G1และกลุม G23 ในสัดสวนใกลเคียงกัน ในสวนของพื้นที่ภาค 7 พบทั้งกลุม G1 และ G23 ในสวนของ สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


26

จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเปนจังหวัดหนึ่งที่มีการลัก ลอบนําเขายาบาจากพมาทางทิศตะวันตกอีกดาน หนึ่งพบกลุม G1 นอกจากนั้นจังหวัดกาญจนบุรียังเปนจุดลักลอบนําเขาของกลุม G24 ดวย สวนใน พื้นที่ภาค 8 และ ภาค 9 คดีรายใหญพบใน จ.นครศรีธรรมราช จ.สงขลา และ จ.นราธิวาส พบกลุม G23 จากขอมูลทั้งหมดนํามาสรุปเสนทางการนําเขาของยาบากลุม G1,G23 และ G24 ดังแสดงใน แผนภูมิที่ 7 แผนภูมิที่ 7 แสดงเสนทางลักลอบนําเขาของยาบากลุม G1, G23 และ G24

6. ยาบาที่ทําขึ้นโดยใชเครื่องมือแบบงายๆ เปนกลุมยาบาที่เม็ดยามีรูปรางไมเรียบรอย ผิวขรุขระไมเรียบ ตราประทับไมชัดเจน นาจะ เกิดจากการนําเอาเครื่องมือแบบงายๆ มาทําใหเปนเม็ด หรือเกิดจากการนําเอาเม็ดยาบามาบดเพื่อ เพิ่มเนื้อสาร แลวนํามาทําเปนเม็ดขึ้นใหม ซึ่งตางจากยาบาทั่วไปที่มีรูปเม็ดและผิวดูเรียบรอย ดัง แสดงในรูปภาพที่ 11

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


27

รูปภาพที่ 11 แสดงอุปกรณการผลิตยาบาแบบงายๆ และรูปแบบเม็ดยาบา

ยาบาที่ทําเปนเม็ดยาดวยเครื่องมือแบบงายๆ เพิ่มมากขึ้น จากขอมูลป 2550 พบมากถึง 88 คดี กระจายไปหลายจังหวัด โดยเฉพาะภาคเหนือมีความหนาแนนมากที่จังหวัดเชียงราย ลงไปทาง จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดตาก ทางดานภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบมากที่จังหวัดนครราชสีมา และกรุงเทพมหานคร ดังแสดงในแผนภูมิที่ 8 แผนภูมิที่ 8 การกระจายของยาบาตอกดวยมือ

พิจารณาจากปริมาณเมทแอมเฟตามีน และกาเฟอีนในเม็ดยาบาที่ทําเปนเม็ดดวยเครื่องมือ แบบงายๆ ดังแสดงในกราฟที่ 15 และ 16

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


28

กราฟที่ 15 แสดงปริมาณเมทแอมเฟตามีนในเม็ดยาบาตอกมือ ป 2550 ปริมาณเมทแอมเฟตามีนมี ความหลากหลายมาก ไมมสี ูตร ผสมที่แนชัดเปนมาตรฐาน เหมือนกลุมใหญ ต่ํากวา 10 ประมาณ 40 ตัวอยาง 10-20 ประมาณ 27 ตัวอยาง 20-30 ประมาณ 21 ตัวอยาง

กราฟที่ 16 แสดงปริมาณกาเฟอีนในเม็ดยาบาตอกมือ ป 2550 ปริมาณกาเฟอีนสวนใหญ อยูในชวงระหวางรอยละ 60 – 70 ซึ่งเปนปริมาณมาตรฐานของ ยาบาทั่วไป แตมีบางสวนทีม่ ี มากกวา รอยละ 70 แตเปนสวน นอย

<30 จํานวน คดี

3

30.140 3

40.150 8

50.160 19

60.1 - 70 28

70.1 - 80 14

80.1 - 90 7

>90 2

จากตัวอยางยาบาที่ทําเปนเม็ดดวยเครื่องมือแบบงายๆ จํานวน 88 ตัวอยาง พบคาปริมาณ เมทแอมเฟตามีนในเม็ดยามีมากมายหลายคา ไมมีสูตรผสมที่เ ปนมาตรฐาน ในขณะที่ ปริ มาณ กาเฟอีน สวนใหญอยูในชวง รอยละ 50 – 80 ซึ่งเปนคาที่พบไดในเม็ดยาบาทั่วไป นอกจากนั้นยัง ตรวจพบสารผสมอื่นๆ นอกจากสวนผสมหลัก จํานวน 22 ตัวอยาง เชน ตรวจพบแอมเฟตามีน จํานวน 6 ตัวอยาง ตรวจพบสารอีเฟดรีนจํานวน 5 ตัวอยาง และตรวจจําพบสารอื่นๆที่ผูตรวจ ไมไดรายงานชื่อสารอีกจํานวน 11 ตัวอยาง

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


29

จากขอมูลดังกลาวแสดงวาการทําเม็ดยาบาดวยเครื่องมือแบบงายๆ นั้น มีทั้งที่นําเอาผงที่ ผสมเรียบรอยแลวจากผูผลิตในขั้นที่ 2 มาทําเปนเม็ด หรือนําเอายาบาที่เปนเม็ดเดิมมาบด แลวเพิ่ม ปริมาณกาเฟอีน หรือสารอื่นๆ เพื่อเปนการเพิ่มปริมาณจํานวนมากขึ้น แลวทําเปนเม็ดใหม จากรายงานผลการศึกษาทั้งหมดที่กลาวมาขางตน เปนการศึกษาจากขอมูลของสถานตรวจ พิสูจนยาเสพติดทั่วประเทศ เพื่อนําผลการศึกษาไปประเมินเปนสถานการณแนวโนมการแพร ระบาดของยาบาในแตละพื้นที่ เสนทางการลักลอบนําเขา แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของตัวยา ตลอดจนศึกษาถึงพฤติกรรมการผลิต กลุมผูผลิต วิธีการผลิต สารเคมีที่ใชผลิต เพื่อใหเจาหนาที่ ปราบปรามยาเสพติด ไดรับขอมูลเกี่ยวกับตัวยาเสพติดที่ใกลเคียงความจริงมากที่สุด เพื่อผลการ ปราบปรามอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น สรุป ผลการศึกษาขอมูลการตรวจพิสูจนของสถานตรวจพิสูจนทั่วประเทศ ที่เขารวมโครงการฯ ในป 2550 พอสรุปไดดังนี้ 1. ประมาณรอยละ 80 ของยาบาที่เขามาแพรระบาดในประเทศ มาจากยาบาสองกลุม คือกลุม G1 และกลุม G23 โดยเฉพาะกลุม G1 มีตัวยาเขามาแพรระบาดมากที่สุดมากอน ป 2546 จน ถึงปจจุบัน สวนกลุม G23 เริ่มพบมากขึ้น ตั้งแตกลางป 2549 จนถึงปจจุบันมีตัวยาเขา มาระบาดประมาณรอยละ 35 2. ยาบากลุม G1 สวนมากมีเสนทางเขามาทางภาคเหนือล้ําไปในพื้นที่ดานตะวันตก ในขณะที่ กลุม G23 สวนใหญสงผานไปทางประเทศลาวและประเทศกัมพูชา แลวเขามาไทยทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก 3. แหลงผลิตหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีน แหลงผสมผงยาบา และแหลงทําเปนเม็ดยาบา ทั้งสาม สวนแยกจากกันอยางเดนชัด 4. ผูปรุงหรือผูผสมผงยาบากอนทําเปนเม็ดของกลุม G1 และG23 ที่มีหัวเชื้อจากแหลง X2 นาจะมาจากคนกลุมเดียวกัน สวนแหลง X3 นาจะมาจากตางกลุมกัน 5. เม็ดยาบาที่ทําจากเครื่องมืองายๆมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น โดยนําเอาผงยาบาที่ผสมเรียบรอย แลวจากผูผลิตในขั้นที่ 2 มาทําเปนเม็ด หรือนําเอายาบาที่เปนเม็ดเดิมมาบด แลวเพิ่มสาร กาเฟอีน หรือสารอื่นๆ เพื่อเพิ่มปริมาณเนื้อยาใหมากขึ้น 6. แหลงผลิตหัวเชื้อเมทแอมเฟตามีนยังคงเปนสองแหลงเดิม คือ X2 และX3โดยเฉพาะแหลง X2 พบวาถูกนําไปใชผสมในยาบาจากกลุมตางๆ มากขึ้น

สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจนยาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.