mutiple media project

Page 1

112302 I Mutiple Media Project I Sound Ethnography Laboratory ฉบับรางสําหรับการนําเสนอความกาวหนาครั้งที่ 1 วันที่ 10 กุมภาพันธ 2558 เรวดี งามลุน 550310254 SOUND WITH UNCONCIOUS I เสียงกับการทํางานของจิตไรสํานึก ทําไมถึงสนใจหัวขอนี้ ? เสียงกับการทํางานของจิตไรสํานึก (Unconcious) มันทํางานสอดคลองกันผานผัสสะทั้ง 5 ของมนุษย คือรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ปรากฎการณที่เกิดขึ้นกับภาวะของจิตที่ถูกทํางานในขณะที่เราไมรูตัวหรือเรียกวาจิตไรสํานึก ซึ่งมันก็นําไปสู ปรากฎการณของเสียงที่เปลงออกมาในรูปแบบตางๆไมวาจะเปนเสียงของความฝน เสียงอุทาน เสียงหัวเราะ เสียงกรีดรองหรือตะโกน เสียงที่เกิดจากลักษณะของความผิดปรกติหรืออาการพลั้งเผลอที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของมนุษย เชน การพลั้งปาก พลั้งมือ อาการ หลงลืม สิ่งที่แสดงออกมามันคือกระบวนการ เก็บกดในจิตไรสํานึก หรือ การปลดปลอยพลังงานจิตที่สั่งสมในจิตใตสํานึกซึ่ง กระบวน การทํางานของจิตใตสํานึก และจิตไรสํานึกนั้นมันเปนการทํางานรวมกันเสมือนกับการตอทอตรงเขาดวยกัน ทุกอยางที่เกิดขึ้นลวนแลว แตเปนจิตสํานึกทั้งสิ้น แตจิตไรสํานึกมันเปนรองรอยที่ตอ ประสาน ประเด็นทางสังคมอื่นๆได เราควรใสใจจิตไรสํานึกมากขึ้นเพราะในโลกที่ตองการคําอธิบายสิ่งที่เปนรูปธรรม จับตองได เราลวนแลวแตใชจิตใตสํานึก กําหนด เหตุ และผล กําหนดรูปแบบตางๆทางสังคมแตเราไมเคยอธิบายถึงอารมณสิ่งที่มัน Ineffableที่มันเกิดขึ้นวามันมีนัยยะสําคัญ ของการทํางานจิตไรสํานึกอยางไร ? และทําไมเราตองสนใจเสียงของจิตไรสํานึก เพราะเสียงที่มันเกิดขึ้นโดยที่เราไมรูตัว มันมีความ หลากหลาย และเปนพหุภาษา การทํางานของเสียงที่มันนาสนใจ มันทํางานรวมกันระหวางจังหวะ Dialog ของรางกาย (Bฺ ody) และ Dialog ของสังคมที่ถูกเปลงออกมาทางเสียง เชน การอุทานออกมาเปนภาษาถิ่นพรอมแสดงทาทางการตกใจ การหัวเราะใน ขณะประชุมกับการหัวเราะขณะที่เรานั่งดูทีวีอยูที่บานมันคือมารยาทที่จิตสํานึกของเราสั่งไมใหจิตไรสํานึกถูกทํางานการทำอะไรที่ เราไมไดตั้งใจมันจะไมเปนระเบียบ มารยาทที่ดีมันคือการควบคุมทางสังคม ดังนั้นการแสดงออกของเสียงผานจิตไรสํานึกในบริบทตางๆจึงถูกควบคุมโดยระบบสังคม ไมวาจะเปน เพศสภาพ มารยาท ของสังคมที่เปนตัวกําหนดแตเมื่อมันไมสามารถควบคุมเสียงไดมันจึง Ineffableสิ่งที่เรารับรูไดคือการตีความมิติหลายๆอยางเขากับ ระบบสังคมเชน การพลั้งปาก พลั้งมือ อาการหลงลืมสิ่งที่แสดงออกมามันคือกระบวนการ เก็บกด ในจิตไรสํานึก หรือ การปลดปลอย พลังงานจิตที่สงั่ สมในจิตใตสํานึก เชน เรื่องตลกขบขัน คําคมไหวพริบตางๆที่แสดงออกมาเปนการระบายความรูสึกที่เก็บกดเชนเดียว กับความฝน การทํางานของจิตไรสํานึกมันเหมือนกับพาเราไปสูสภาวะของความเปนเด็กอีกครั้งหนึ่ง ทําใหผูศึกษาประเด็นเรื่องเสียงกับ จิตไรสํานึก เห็นถึงประเด็นความคิดในเรื่องอุดมการณทางสังคมบางอยางที่ฝงอยูในเสียงไมวาจะเปน ระบบภาษา มารยาททางสังคม เพศสภาพที่สังคมกําหนด ชาติพันธ วัฒนธรรมที่ตางกันลวนมีอุดมการณ ความเชื่อ และอํานาจที่ฝงอยู ทําใหการควบคุมมารยาทของ สังคมที่แสดงออกมาแมกระทั่งในระดับคําพูดที่เปลงออกมาจากจิตไรสํานึกก็สามารถวิเคราะหรูปแบบมิติของสังคมของคนนั้นๆไดวามี รูปแบบของวัฒนธรรมเปนเชนไร


แนวคิดพื้นฐานในงานวิจัย การศึกษาวิจัยในประเด็นเรื่องเสียงกับ จิตไรสํานึก (Unconcious) มีวิธีการศึกษาวิธีวิทยาที่มีแรงบันดาลใจจากมโนทัศน เรื่องจิตไรสํานึกที่เปนพื้นฐานสําคัญของทฤษฎีจิตวิเคราะหของฟรอยด จิตไรสํานึก (Unconcious)ที่ฟรอยดแสดงใหเห็นวาจิตไร สํานึกเปนสวนของพฤติกรรมภายในที่เจาตัวไมรูสึกตัวเลย อาจเนื่องจากเจาตัวพยายามเก็บกดไว นอกจากนี้จิตไรสํานึกยังอาจเปนเรื่อง ของอิด (Id) ซึ่งมีอยูในตัวเรา เปนพลังที่ผลักดันใหเราแสดงพฤติกรรมตามหลักแหงความพอใจ(Principle of pleasure) แตสิ่งนั้นถูก กดหรือขมไวจนถอยรนไปอยูในสภาพที่เราไมรูตัวสวนของจิตไรสํานึกจะแสดงออกมาในรูปของ ความฝน การละเมอ การพลั้งปากพูด การแสดงออกทางดานจินตนาการ วรรณคดี ศิลปะ ผลงานดานวิทยาศาสตร การกระทําที่ผิดปกติตางๆแมกระทั้งการระเบิดอารมณ รุนแรงเกินเหตุ บางครั้งก็เปนเพราะจิตไรสํานึกที่เก็บกดไวซึ่งฟรอยดมีความเชื่อวา จิตไรสํานึกมีอิทธิพลและบทบาทสําคัญตอ บุคลิกภาพและการแสดงพฤติกรรมของมนุษยมาก แตกตางจากลากองที่เขาเห็นวา จิตไรสํานึกนั้นมีลักษณะโครงสรางเหมือนภาษาที่เราสามารถลวงลึกได มีหลักเกณฑทาง วิทยาศาสตรที่มีลักษณะเปนสสาร มีโครงสราง มีความละเอียด เปนการจัดเตรียมอยางเปนธรรมชาติที่สุด จิตไรสํานึกจึงเปนแนวคิด ที่เคลื่อนที่ไมอยูนิ่งเพราะมันเปนเหมือนสิ่งที่ทําหนาที่แทนความพิเศษ ความลึกลับตางๆที่เกิดขึ้นจิตสํานึกไดถูกสรางขึ้นมาเหมือนภาษา จิตไรสํานึกของมนุษยจึงเต็มไปดวยวาทกรรมของสิ่งอื่นหรือของสังคมความเปนมนุษยของอัตบุคคลเปนเพียงสิ่งประดิษฐของวัฒนธรรม กลาวคือจิตไรสํานึกไดถูกปรากฏแกเราอยางใจจดใจจอซึ่งมักเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาจากการแตกแยกในตัวตนแตละคนจนเกิดชองวางหรือ ความแตกตางขึ้น แนวคิดเรื่อง ตัวตน (Subject) ของฌารก ลากอง ฌารก ลากอง กลาววา มนุษยเปนความวางเปลา (Nothingness) มนุษยตองผานกระบวนการบันทึกความรูหรือกระบวนการทําให มนุษยใน 3 ประการ ซึ่งสงผลใหมนุษยมีความแปลกแยกในตัวเอง หรือมีบุคลิกภาพเปน “สามคนในรางเดียว” คือ 1) คนแรกเกิดขึ้น ในกระบวนการบันทึกจินตนาการ จึงมีนิสัยเพอฝน ชอบคิดเขาขางตัวเอง และตัดสินอะไรจากภายนอก 2) คนที่สองเกิดในกระบวนการ บันทึกสัญลักษณเปน “เด็กดี”ชอบอางเหตุผล กฎหมาย และศีลธรรม สวน 3) คนที่สามเกิดขึ้นในกระบวนการบันทึกความจริง จึงเปน คนอารมณออนไหว ชอบหมกมุนอยูกับอารมณ และความรูสึกของตัวเอง ดื้อรั้น เก็บตัว แตทั้งสามคนมีนิสัยเหมือนกันตรงที่ กาวราว หลงตัวเอง บาอํานาจ เห็นแกตัวและไมรักใครเลยอาจกลาวไดวาตัวตนของมนุษยแทจริงในทัศนะของลากองคือ Negativity ที่ซอนลึก อยูในความจริงสําหรับทัศนะเรื่อง อัตบุคคลลากองไดพิจารณามนุษยออกเปน 3 สวนคือ 1. มนุษยคือความคิด 2. มนุษยเปนวัฒนธรรม และ 3.มนุษยอยูในปรารถนา สิ่งที่ถูกบันทึกลงในจิตไรสํานึกของมนุษย หรือที่ลากองเรียกวาความรูของมนุษยที่บันทึกในกระบวนการ แหงจินตนาการ เกิดจากการถายแบบจากภาพของสิ่งอื่น ซึ่งใหผลลัพธเปนอัตลักษณ(Identity) หรืออีโกในอุดมคติเมื่อมนุษยเขาสูกระ บวนการขัดเกลาทางสังคม ลากองกลาววาแนวคิดของฟรอยดเริ่มตนจากแรงขับตางๆของปจเจกชน และความพึงพอใจตางๆของพวกเขา และนั่นทําให เขาไมสนใจมิตติ างๆทางสังคม สําหรับลากองความสัมพันธระหวางตัวตนกับตัวตน (Subject- to – subjectrelation)เปนสิ่งที่เราเรียก วา“ความเปนตัวตนระหวางกัน (Intersubjectivity)” สวนเปาหมายของการวิเคราะหในทัศนะของลากองคือตําแหนงของความจริง (Truth)ของความแทจริง (Authenticity) ถึงอยางไรก็ตามลากองยังเชื่อวา จิตไรสํานึกไมสามารถที่จะเปนเนื้อหาอันหนึ่งของความรูได กลาวคือ อีโกของแตละคนไดฉายตัวของตนเองและตอมาก็ลมเหลวที่จะรูจักตัวของตนเอง ความรูตัวตน (Self- Knowledge) ความคิด ที่วาตัวตนสามารถสะทอนตัวของมันเองไดเปนเรื่องซึ่งเปนไปไมไดขณะที่ฟรอยดดูเหมือนจะมีความเชื่อในจิตไรสํานึกในฐานะที่เปนแนว คิดที่มีแกนแทอันหนึ่ง สําหรับลากองจิตไรสํานึกไมมีทางที่แทจริงของคําอธิบายหนึ่งไดเขามองวาจิตไรสํานึกไมใชเปนสิ่งซึ่งมีมาแตแรก และไมใชสัญชาตญาณ จิตไรสํานึกเปนสิ่งที่มนี ัยยะ (ไมใชแสดงออกตรงๆ) ในทุกๆสิ่งในสิ่งที่พูดและกระทํา


คําถามในงานวิจัย การศึกษาในประเด็นเรื่อง เสียงกับจิตไรสํานึก มันถูกทํางานในบริบทของเพศสภาพ ควบคูกับระบบมารยาทสังคมแลวมันมี เสียงอะไรบางที่ Control และ Uncontrol ตัวเราอยู ความนาสนใจมันจึงอยูที่การทํางานรวมกันระหวาง dialog รางกาย (Bฺ ody) อารมณ (Emotion) และ dialog ของเสียงทางสังคมที่ถูกเปลงออกมา ทําใหเราเห็นภาพไดชัดเจนมากขึ้น ประเด็นคําถามตอมาคือเสียงที่เปลงออกมาจากความไมตั้งใจไมวาจะเสียงกรีดรอง เสียงอุทานเสียงหัวเราะหรือแมแตคําพูดที่ หลุดปากและอาการพลั้งมือ มันสามารถบงบอกถึงระบบภาษาของมนุษย สํานึกรวมของสังคม ความกลัวและ ชาติพันธได เอกลักษณที่ โดดเดนในเสียง นั้นๆที่เปลงออกมามันเหมือนตกอยูภายใตอํานาจของอารมณหรือสภาวะบางอยางเขาครอบงำ จิตไรสํานึกมันจะกระ ตุนสิ่งที่อยูในใจเรา(จิตสํานึก) ดังนั้นพฤติกรรมการแสดงออกเชนนี้มันสามารถสังเกตุและวิเคราะหไดจากหลายๆบริบทที่มันกระตุน การทํางานของเสียงและจิตไรสํานึกที่ออกมาจากอาการตามบริบทที่แตกตางกันออกไป การวางแผนและขั้นตอนการทํางาน การเก็บขอมูลตามสถานการณผาน dialog การทํางานของภาษา เชนการเลาเรื่อง การพูดคุย การเปลงของถอยคํา จะทํา ใหไดความหลากหลายของภาษาแตละสังคม (ระบบภาษา) เราจะรูวาการใชภาษามันจะมีระบบภาษาในสังคมที่เหมือน (ภาษาประจำ ชาติ) และตางกัน(ภาษาถิ่น) เพศ ชาติพันธที่หลากหลาย เสียง สําเนียง มันจะเกิดพหุภาษาเสียงที่เปลงออกมามีความหลากหลายและ ขัดแยงกันอยู มันเปนการศึกษาเสียงผาน Form of living ศึกษาเสียงใหเห็นการดํารงอยูของมนุษย ทั้งนี้ผูศึกษาจะทดลองฟงเสียงจาก สถานที่ที่ใหเสียงที่หลากหลาย ทางดานอารมณ จิตใจ และการเคลื่อนไหวของรางกาย สถานที่ทเี่ ปนจุดรวมของเสียงที่กําหนดมารยาท ในสังคม เชน โรงพยาบาล โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนเด็กอนุบาล(เด็กเล็ก) สถานที่ที่เสียงมัน Control วาควรหรือไมควร มารยาท ของเสียงทีถ่ ูกทํางานมันควบคุมระบบโครงสรางของสังคมอยู เสียงรองไห เสียงดีใจ เสียงที่เด็กตอตานมันมีเหตุและผลและที่มาของ เสียงนั้นๆ และยิ่งเปนสถานที่ที่มีความหลากหลายของชาติพันธ การเก็บ dialogของระบบภาษาผานงานเขียน สถานการณในการแสดง อาการตางๆมันยอมมีความตางหรือความเหมือนที่ปรากฎใหเห็น ขั้นตอนการเขาถึงขอมูล และเก็บขอมูลในงานวิจัย กลาววาทุกการกระทํายอมออกมาจากจิตสํานึกทั้งสิ้นแตจิตไรสํานึก มันเปนรอยตอสูประเด็นอื่นๆไดการทํางานของจิตไรสํานึกมันเหมือนกับพาเราไปสูสภาวะของความเปนเด็กอีกครั้งหนึ่ง เพราะเด็กคือ Subject ที่สังคมสรางขึ้นมาใหไดเรียนรู กรอบความคิดเรื่องมารยาทในสังคมทั้งการพูด การกินการเคารพผูอาวุโสและการประพฤติ ปฎิบัติในสิ่งที่ถูกที่ควร ดังนั้นการเก็บขอมูลจึงเปนการทดลองที่นอกจากจะฟงแคเสียงแลวการทํางานในเรื่องจินตภาพและการวาด ภาพอาจจะชวยในการวิเคราะหจิตไรสํานึกของเด็กที่มีตอสังคมได (การเก็บขอมูลในลักษณะนี้ยังเปนเพียงการสันนิษฐานเบื้องตน ตองอาศัยเวลา กระบวนการเก็บขอมูลในการทํางาน) ทัง้ นี้ ผูวิจัยอาศัยการศึกษาเสียงผาน Form of living ผานความหลากหลาย ทั้งเพศ ชวงอายุและชาติพันธ ทําใหเห็นความ แตกตางของเสียงที่ถูกเปลงออกมาจากจิตไรสํานึก (Unconcious) มันถูกทํางานแตกตางกันหรือเหมือนกัน ขึ้นอยูกับระบบของสังคม นั้นๆเปนตัวกําหนด ในขณะเดียวกันมันก็สรางความหลากหลายในการวิเคราะหของผูศึกษาวิจัยในประเด็นนี้ดวยเชนกัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.