สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ
CSR ปี 2554 CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ หลั กการด� ำ เนิ นธุรกิจ ที่ดีต ้อ งมีค วามสมดุลระหว่างการเติ บ โต ทางเศรษฐกิ จ ควบคู ่ ไ ปกั บ การดู แ ลสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จ� ำ กั ด (มหาชน) มี พั น ธกิ จ ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้เจริญเติบโตและเข้มแข็งบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล การดูแล รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น รวมทั้ ง ค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มเป็นส�ำคัญ ด้ ว ยเหตุ นี้ ไออาร์ พี ซี จึ ง บู ร ณาการความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ไว้ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งชั ด เจน สร้ า งสมดุ ล ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยน� ำ ดั ช นี ส ากลด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คมมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ค� ำ นึ ง ถึ ง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ย ภายใต้ แ นวคิ ด “ห่ ว งใย” (Care) “แบ่ ง ปั น ” (Share) และ “ใส่ ใ จ” (Respect) กอปรกั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก ภาคส่ ว น ที่ ป ระสานให้ เ กิ ด เป็ น โครงการและกิ จ กรรมที่ มี คุ ณ ค่ า มากมาย ทั้ ง ด้ า นการพั ฒ นาเครื่ อ งจั ก รและกระบวนการผลิ ต ที่ ไ ม่ เ พี ย งเพิ่ ม ความเข้ ม แข็ ง ในการเติ บ โตของธุ ร กิ จ แต่ ยั ง ค� ำ นึ ง ถึ ง สั ง คมและ สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ส� ำ คั ญ อาทิ โครงการผลิ ต พลั ง ไอน�้ ำ และไฟฟ้ า ร่วม (Combined Heat and Power Project: CHP) การยกเลิก หน่ ว ยผลิ ต ไอน�้ ำ ที่ ใ ช้ น�้ ำ มั น เตาเป็ น เชื้ อ เพลิ ง จ� ำ นวน 6 ชุ ด และ การติ ด ตั้ ง ระบบหอเผาก๊ า ซ (Flare System) ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การ เผาไหม้ที่สมบูรณ์มากขึ้น ส่ ว นด้ า นชุ ม ชนและสั ง คม ไออาร์ พี ซี ไ ด้ ริ เ ริ่ ม และด� ำ เนิ น โครงการและกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กั บ การศึ ก ษา สุ ข ภาพ และการพั ฒ นาชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้พนักงานทีม่ จี ติ อาสาได้มสี ว่ นร่วม ในการพัฒนาไปพร้อมๆ กัน ส�ำหรับโครงการด้านสิ่งแวดล้อม ในปี 2554 ไออาร์พีซีได้ด�ำเนินโครงการปลูกป่าลดโลกร้อน ถวายพ่อ และโครงการรวมพลังสร้างป่าธรรมชาติรอบเขต ประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี บนพื้นที่กว่า 200 ไร่ รวมระยะทางกว่า 8 กิโลเมตร สิ่งเหล่านี้สร้างความมั่นใจ ได้ว่า ไออาร์พีซีและชุมชนจะพัฒนาและเติบโตอย่าง ยั่งยืน และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขไปพร้อมๆ กัน ในนามของผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานไออาร์ พี ซี ขอขอบคุณทุกภาคส่วนทีเ่ ข้าร่วมและให้การสนับสนุน กิจกรรมเพื่อสังคมของไออาร์พีซีมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ ง ถื อ เป็ น แรงผลั ก ดั น ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ไ ออาร์ พี ซี มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะช่ ว ยส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชน และลดผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่าง จริงจัง เพราะเราตระหนักและส�ำนึกอยู่เสมอว่า “เมืองไทย” คือบ้านของเรา ...และเชื่อมั่นว่า ไม่มีใครท�ำให้บ้านหลังนี้ น่าอยูไ่ ด้เท่า “พวกเรา” ทีอ่ ยูใ่ นบ้านหลังเดียวกัน
(นายอธิคม เติบศิริ) กรรมการผู้จัดการใหญ่
CONTENTS สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ Care Share Respect 4 กลยุทธ์การด�ำเนินงานด้านกิจกรรมเพื่อสังคม 8 Case Study: ไออาร์ซีพีกับการจัดการเรื่องกลิ่น 10 ด้านเศรษฐกิจ - โครงการผลิตพลังไอน�้ำและไฟฟ้าร่วม (Combined Heat and Power Project: CHP) - โครงการผลิตพลังไอน�ํ้ำและไฟฟ้าร่วม สู่รางวัลอันทรงเกียรติ Crown Standard Award - โครงการยกเลิกหน่วยผลิตไอน�้ำที่ใช้น�้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิง - เครื่องก�ำจัดกลิ่นจากกระบวนการผลิต ABS - โครงการก่อสร้างหน่วยที่ใช้ป้องกันมลภาวะทางอากาศ (Tail Gas Treating Unit plant: TGTU) - นวัตกรรมเพื่อธุรกิจยั่งยืน (Green ABS) - ระบบหอเผาก๊าซ เพื่ออากาศบริสุทธิ์ (Flare System) - ศูนย์ประสานงานภาคสนามบ้านก้นหนอง - โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) - โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน - โครงการทานตะวันบานที่บ้านค่าย ปี 3
24
ด้านสังคม - โครงการคลินิกปันน�้ำใจ - โครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ - โครงการทุนช้างเผือกหมู่บ้าน - ศูนย์เรียนรู้เครือข่ายชุมชน ไออาร์พีซี - โครงการเปิดบ้านฟังธรรม - โครงการฝึกอบรมคนพันธุ์ใหม่ หัวใจพุทธะ - โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเอาชนะยาเสพติด - ศูนย์เครื่องจักรกลหนักเพื่อชุมชน - โครงการจิตอาสาปรับปรุงคุณภาพประปาชุมชน - โครงการจิตอาสาช่วยผู้ประสบภัยน�้ำท่วม - โครงการจิตอาสาไออาร์พีซีเพื่อสังคม
46
ด้านสิ่งแวดล้อม - โครงการก่อสร้างหอชมวิวและศูนย์การเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน พระเจดีย์กลางนํ้า - โครงการรวมพลังสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี (Protection Strip)
Care Share Respect ห่วงใย แบ่งปัน ใส่ใจ
ใ
นโลกที่ทุกสิ่งมีความเชื่อมโยงถึงกัน การเจริญเติบโต ของบางสิ่ ง เป็ น การเร่ ง ให้ อี ก สิ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ส�ำหรับไออาร์พีซี ธุรกิจจะเติบโตอย่างเข้มแข็งและยั่งยืนได้ ต้องมีปรัชญาในการด�ำเนินธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม อย่ า งชั ด เจน ทั้ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม ฟันเฟืองทั้งสามต้องเติมเต็มซึ่งกันและกันอย่างเกื้อกูลสมดุล การด�ำเนินธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมหรือ CSR (Corporate Social Responsibility) ในนิยามของไออาร์พีซี ไม่ได้หมายความว่า “รับผิดชอบต่อสังคม” เท่านั้น หากยัง หมายความถึง “Care Share Respect” หรือ “ห่วงใย แบ่งปัน ใส่ใจ” ด้วย ซึ่งถือเป็นหัวใจของการพัฒนาและเติบโตอย่าง ยั่งยืนโดยแท้จริง จากปรัชญาในการด�ำเนินธุรกิจน�ำไปสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและสัมผัสได้ ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์และโครงการต่างๆ หลากหลาย และครอบคลุมทุกด้าน ดังนี้
ซึ่ ง พร้ อ มให้ บ ริ ก ารชุ ม ชนอยู ่ แ ล้ ว ด้ า นส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา ไออาร์ พี ซี ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ เยาวชนและ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมสร้างอนาคตที่ดีของประเทศ ชาติ และส�ำหรับด้านการพัฒนาชุมชนและชุมชนสัมพันธ์ ไออาร์พีซีได้ให้การสนับสนุนโครงการและกิจกรรมชุมชน รวมทั้งให้พนักงานเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนซึ่งมีทั้งกิจกรรมที่ใช้ทักษะและความรู้ ของพนักงาน เช่น โครงการจิตอาสาปรับปรุง ประปาชุมชน รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งในปี 2554 มีกิจกรรมจิตอาสาจ�ำนวนมากถึง 53 ครั้ง ร่วมรวมพลังเพื่อสร้างสรรค์ ชุ ม ชนและสั ง คมอย่ า งเห็ น ผลเป็ น รูปธรรม ทั้งยังเป็นการกระชับความ สัมพันธ์ระหว่างอุตสาหกรรมกับชุมชน ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
ด้านเศรษฐกิจ ไออาร์พีซีให้ความส�ำคัญกับการ สร้างสรรค์นวัตกรรมเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ทางการแข่ ง ขั น ขณะเดี ย วกั น ก็ ใ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนากระบวนการ ผลิตที่ลดการก่อมลภาวะในด้านต่างๆ ให้ ด้านสิ่งแวดล้อม มากที่สุด และก้าวไปสู่การเป็นผู้น�ำด้านอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ไออาร์พีซีร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม (Eco Industry) เพราะปัจจัยความส�ำเร็จของธุรกิจไม่ใช่เพียงแค่ แสวงหามูลค่าเพิม่ ทางธุรกิจเท่านัน้ หากแต่ยงั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้าง โดยกิจกรรมหลักในปี 2554 คือโครงการรวมพลังสร้างป่า ธรรมชาติรอบเขตประกอบการ (Protection Strip) ซึ่งเป็น คุณค่าให้แก่ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอีกด้วย การพัฒนาต่อเนื่องจากการปลูกแนวสนเป็นรั้วสีเขียวระหว่าง โรงงานกับชุมชนโดยรอบตั้งแต่ 10 ปีก่อน แสดงให้เห็นถึง ด้านสังคม ในปี 2554 ที่ผ่านมา ไออาร์พีซีมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ ความมุง่ มัน่ ของไออาร์พซี ใี นการให้ความส�ำคัญกับสิง่ แวดล้อม ทุกภาคส่วนในการพัฒนาสังคมและชุมชนร่วมกัน เปิดโอกาส และชุมชนมาโดยตลอด หัวใจของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนคือ การผสานองค์ประกอบ ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กร เช่น การตั้งคณะกรรมการไตรภาคี และคณะกรรมการพหุภาคี ทั้ง 3 ส่วน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้เกิด จากภาคส่วนต่างๆ เพื่อร่วมกันด�ำเนินการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่น ความสมดุลและก้าวไปบนเส้นทางเดียวกัน เติบโตไปพร้อมๆ กัน ด้านการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวติ ไออาร์พซี รี ว่ มกับ ในทุกย่างก้าวของการพัฒนา ไออาร์พซี จี งึ พร้อมก้าวไปกับชุมชน หลายภาคส่วนด�ำเนินโครงการหน่วยแพทย์เคลือ่ นทีเ่ พือ่ ให้เข้าถึง ด้วยความรู้สึกห่วงใย แบ่งปัน ใส่ใจ ชุมชนได้มากขึ้น นอกเหนือจากคลินิกปันน�้ำใจในศูนย์เรียนรู้ฯ
กลยุทธ์การด�ำเนินการ
ด้านกิจกรรมเพื่อสังคม
ท่
ามกลางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีที่ผ่านมา ธุ ร กิ จ ต้ อ งปรั บ ตั ว และเตรี ย มพร้ อ มในการพั ฒ นา ศักยภาพและการบริหารจัดการความเสี่ยงยิ่งขึ้น ไออาร์พีซี เชื่อมั่นว่า แนวทางแห่งการด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน คือ การบริหารความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหนึ่ง ในกลยุทธ์การขับเคลื่อนองค์กร มุ่งสู่การอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุขและยั่งยืน จากเจตนารมณ์ข้างต้น ไออาร์พีซีบูรณาการเรื่องความ รับผิดชอบต่อสังคมไว้ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างชัดเจน ตั้งแต่ ปี 2551 โดยประยุกต์เป็นกลยุทธ์ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผ่านยุทธศาสตร์การด�ำเนินงาน 3 ส่วน ได้แก่ “แบ่งปัน” (Share)
6
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
“ห่วงใยและใส่ใจ” (Care & Respect) และ “การประกันคุณภาพ” การด�ำเนิน งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (Assurance) ซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่าง เป็นรูปธรรมผ่านโครงการและกิจกรรม ต่างๆ ทีห่ ลากหลาย มุง่ เน้นให้สงั คมและ ชุมชนสัมผัสได้ถึงความรู้สึกห่วงใยและ การดูแลเอาใจใส่ชุมชนด้วยความจริงใจ
ด้ ว ยนโยบายที่ มุ ่ ง มั่ น ไออาร์ พี ซี ด�ำเนินงานกิจกรรมและโครงการต่างๆ ตามกลยุทธ์ “แบ่งปัน” (Share) “ห่วงใย และใส่ใจ” (Care & Respect) และ “การประกั น คุ ณ ภาพ” (Assurance) โดยเน้นการสร้างรากฐานความเข้าใจ และสร้ า งความมั่ น ใจในกระบวนการ ด�ำเนินงาน รวมทั้งให้ความส�ำคัญกับ กระบวนการมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมที่ ร่วมกันคิด ท�ำ และหาทางแก้ไข เพื่อให้ ชุมชนและอุตสาหกรรมอยู่ร่วมกันอย่าง มีความสุข ภายใต้ แ นวคิ ด ของการแบ่ ง ปั น (Share) ไออาร์ พี ซี ถ อดรหั ส เป็ น การ ด�ำเนินงาน 2 รูปแบบ คือ ความมุ่งมั่นใน การเปิดเผยข้อมูลและร่วมแบ่งปันซึ่งกัน และกัน กับความมุ่งมั่นต่อกระบวนการ มีส่วนร่วม ผ่านกิจกรรมและโครงการ ต่างๆ ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชนและสั ง คม เช่ น ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ เ ครื อ ข่ า ยชุ ม ชน พื้ น ที่ ที่ ไออาร์พีซีตั้งใจจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่ง
พบปะของพนักงานและคนในชุมชน มีการท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่ ว มกั น ทุ ก สั ป ดาห์ คลิ นิ ก ปั น น�้ ำ ใจที่ ใ ห้ บ ริ ก ารตรวจรั ก ษา พยาบาลขั้นพื้นฐานให้แก่ชุมชนรอบเขตประกอบการโดยไม่มี ค่าใช้จ่าย และกิจกรรมเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) เพื่อสร้างความมั่นใจในการด�ำเนินธุรกิจของไออาร์พีซี เป็นต้น ในส่วนความมุ่งมั่นต่อกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ไออาร์พีซีสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรม โดยร่วมเป็นหนึ่งในคณะกรรมการพหุภาคี ซึ่งประกอบด้วย ภายใต้แนวคิดของการแบ่งปัน (Share) ไออาร์พีซีถอดรหัส เป็นการด�ำเนินงาน 2 รูปแบบ คือ ความมุ่งมั่นในการเปิดเผย ข้อมูลและร่วมแบ่งปันซึ่งกันและกัน กับความมุ่งมั่น ต่อกระบวนการมีส่วนร่วม ตัวแทนจากทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานราชการ ตัวแทนจาก ภาคประชาชน ผูน้ ำ� ชุมชน เพือ่ ก�ำกับและติดตามการด�ำเนินงาน โครงการผลิตพลังไอน�้ำและไฟฟ้าร่วมจากพลังงานสะอาดด้วย ก๊าซธรรมชาติ (CHP) ร่วมเป็นคณะกรรมการโครงการพัฒนา ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม (คพอ.) และเป็ น หนึ่ ง ใน คณะกรรมการไตรภาคีที่แต่งตั้งโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
7
พร้อมทัง้ หน่วยงานราชการ ตัวแทนจากภาคประชาชน เพือ่ ก�ำกับ ดูแล ติดตามการด�ำเนินงานการแก้ปัญหาด้านกลิ่นที่เกิดขึ้น ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี นอกจากนี้ ไออาร์พีซียังได้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ด�ำเนิน โครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ชุมชน อาทิ โครงการจัดท�ำศูนย์สขุ ภาพชุมชนและหน่วยแพทย์ เคลือ่ นที่ เพือ่ ให้บริการด้านการแพทย์และเฝ้าระวังด้านสุขภาพ แก่ชุมชนอย่างทั่วถึง ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งศูนย์วิจัยเกษตรเพื่อชุมชน เพื่อท�ำการวิจัยและให้บริการ ความรู ้ ท างวิ ช าการด้ า นการเกษตรกั บ ชุ ม ชน ร่ ว มมื อ กั บ ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากสถาบันพระปกเกล้า ในโครงการประชาเสวนา หาทางออกของการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง โครงการนี้ มี ไ ออาร์ พี ซี เ ป็ น กรณี ศึ ก ษา เพื่ อ การมี ส ่ ว นร่ ว ม
ในการพัฒนาด้านสังคม สุขภาพ และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งร่วมกับพนักงานและ ชุมชนรวมพลังสร้างป่าธรรมชาติระหว่าง เขตประกอบการกั บ ชุ ม ชนโดยใช้ วิ ธี ปลู ก ป่ า แบบธรรมชาติ ระยะที่ 1 มี ความยาวรวม 8 กิ โ ลเมตร พื้ น ที่ ร วม กว่ า 200 ไร่ เพื่ อ เพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ปรั บ ทั ศ นี ย ภาพให้ ร ่ ม รื่ น ด้ ว ยการเพิ่ ม จ�ำนวนต้นไม้ ซึง่ จะช่วยรองรับการดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้มากขึ้น ส่วนโครงการด้านความห่วงใยและ ใส่ใจ (Care & Respect) ไออาร์พีซี มี ค วามตั้ ง ใจในการแก้ ไ ขปั ญ หาเรื่ อ ง
การด�ำเนินงาน CSR ตามกลยุทธ์ 1. ศูนย์เรียนรู้เครือข่ายชุมชน ไออาร์พีซี การเปิดเผยข้อมูล และการแบ่งปัน
การมีส่วนร่วม
8
3. โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) 1. คณะกรรมการพหุภาคี 2. คณะกรรมการไตรภาคี
Share
Care & Respect
2. คลินิกปันน�้ำใจ
การประชุม War Room เพื่อบริหารจัดการผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
3. ศูนย์วิจัยการเกษตรเพื่อชุมชน 4. โครงการประชาเสวนา 4.1 โครงการฐานข้อมูลสุขภาพชุมชน และหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ 4.2 รวมพลังสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการ (Protection strip) 1. ศูนย์ควบคุมภาวะฉุกเฉิน และรับเรื่องร้องเรียน (ECC) 2. ศูนย์ประสานงานภาคสนาม
ไออาร์พีซีด�ำเนินธุรกิจ โดยบูรณาการความรับผิดชอบ ต่อสังคมไว้ในการด�ำเนินธุรกิจ อย่างชัดเจน และมีกลยุทธ์ ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้น�ำด้าน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ต่อไปในอนาคต กลิ่ น และผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยนอกจากติดตัง้ สถานีตรวจวัดคุณภาพ อากาศตามจุดต่างๆ ในชุมชนรอบเขต ประกอบการฯ แล้ว ไออาร์พซี ยี งั ปฏิบตั กิ าร เชิงรุกโดยด�ำเนินการจัดตัง้ คณะกรรมการ (War Room) ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร ของหน่ ว ยผลิ ต ต่ า งๆ มี ห น้ า ที่ บ ริ ห าร และด�ำเนินการเพื่อลดปัญหาเรื่องกลิ่น และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ ชุ มชน โดยบู ร ณาการวิธีแก้ปัญหาให้ มีความรวดเร็วฉับไว อาทิ การตั้งศูนย์ ควบคุมภาวะฉุกเฉินและรับเรือ่ งร้องเรียน (ECC) ที่ชุมชนสามารถติดต่อกับบริษัท
ได้ โ ดยตรงตลอด 24 ชั่ ว โมง และในปี 2554 ได้ ตั้ ง ศู น ย์ ประสานงานภาคสนามในพื้นที่ชุมชนขึ้นเพื่อให้การติดตาม และตรวจสอบปัญหาเรื่องกลิ่นเป็นไปอย่างรวดเร็ว และ อ�ำนวยความสะดวกต่อการรับแจ้งปัญหาเรื่องกลิ่นจากชุมชน มากขึ้น นอกจากนี้ยังมีมาตรการด้านอื่นอีกมากมายที่ไออาร์พีซี พร้อมมุ่งมั่นและพัฒนา โดยน�ำแนวคิดนิเวศอุตสาหกรรม (Industrial Ecology) มาประยุกต์ใช้กบั การพัฒนาอุตสาหกรรม แบบยัง่ ยืน ด้วยการพัฒนาออกแบบระบบอุตสาหกรรมใหม่ให้ คล้ายคลึงกับระบบนิเวศทางธรรมชาติ มุ่งเน้นความเป็นมิตร กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม อยู ่ บ นหลั ก การพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น และให้ ส ามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น เป็ น ส�ำ คั ญ เพื่ อ คง ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานให้ ชนรุ ่ น หลั ง และเพื่ อ ก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นอุ ต สาหกรรม เชิงนิเวศต่อไปในอนาคต ไออาร์พีซีด�ำเนินธุรกิจโดยบูรณาการความรับผิดชอบต่อ สังคมไว้ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างชัดเจน และมีกลยุทธ์ด้าน การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง มุ ่ ง เน้ น การจั ด การประสิ ท ธิ ผ ล การด�ำเนินงาน ทั้งในด้านการทบทวนและสื่อสาร ด้านการ ปรับปรุงผลการด�ำเนินงาน และด้านการประกันประสิทธิผล การด�ำเนินงาน เพือ่ เสริมสร้างการด�ำเนินงานทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น และให้อุตสาหกรรมอยู่ร่วมกับชุมชนและ สังคมอย่างมีความสุขและยั่งยืนตลอดไป
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
9
Case Study:
ไออาร์พีซีกับการจัดการเรื่องกลิ่น
ไ
ออาร์พีซีตระหนักดีว่า การด�ำเนิน กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีอาจมีผลกระทบด้านกลิ่นกับ ชุมชนโดยรอบ อันเกิดจากสารก�ำมะถัน (SOx) ซึ่งสารนี้มาจากการใช้น�้ำมันเตา เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตไอน�้ำ (Boiler) ส� ำ หรั บ ป้ อ นในหน่ ว ยผลิ ต รวมทั้ ง กลิ่ น ก� ำ มะถั น ที่ อ าจเกิ ด จาก กระบวนการผลิ ต ของกลุ ่ ม บริ ษั ท อื่ น ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตประกอบการ แนวทาง การจั ด การจึ ง มี ทั้ งแนวทางเชิงรุก และ แนวทางการติดตามเฝ้าระวัง ในการจัดการเชิงรุก มาตรการส�ำคัญ คือ ลดปัญหาที่แหล่งก�ำเนิด ตลอดจน
10
มีการแก้ไขอย่างทันท่วงที โดยโครงการ ที่ไออาร์พีซีด�ำเนินการแล้ว เช่น ติดตั้ง เครื่ อ งก� ำ จั ด กลิ่ น จากการผลิ ต เม็ ด พลาสติก ABS (RTO) หน่วยที่ 2 ติดตั้ง เครือ่ งแยกไฮโดรคาร์บอนเพือ่ น�ำกลับมา ใช้ใหม่ (VRU) ในหน่วยงานที่มีการจ่าย น�้ำมันลงรถ ติดตั้งหน่วยลดและก�ำจัด กลิ่นไอระเหยของบ่อดักแยกน�้ำมันใน โรงกลั่นหน่วยที่ 2 (ADU 2) ติดตั้งแนว ป้องกันลม (Wind Shield) ที่หัวถังเก็บ น�้ำมันเตา (Tank Farm) เพื่อป้องกัน ไม่ให้กลิ่นออกจากถังไปสู่ชุมชน ติดตั้ง ตัวลดความเร็วลม (Wind Break) ที่เขต ประกอบการฯ ด้านทิศเหนือ (IP) และ
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
ที่โรงไฟฟ้า (PW) เพื่อป้องกันกลิ่นไปสู่ ชุมชน รวมทั้งมีการพัฒนาเทคนิคและ เทคโนโลยี ล ดกลิ่ น ที่ แ หล่ ง ก� ำ เนิ ด ซึ่ ง ด� ำ เนิ น การโดยผู ้ เ ชี่ ย วชาญเรื่ อ งกลิ่ น (Dr.Glenn) ที่ได้ลงพื้นที่หลายครั้งแล้ว นอกจากนี้ ในปี 2554 โครงการผลิต พลังไอน�้ำและไฟฟ้าร่วมจากพลังงาน สะอาดด้วยก๊าซธรรมชาติ (CHP) ทดแทน โรงงานผลิ ต ไอน�้ ำ ที่ ใ ช้ น�้ ำ มั น เตาเป็ น เชื้อเพลิงเริ่มเดินเครื่องอย่างจริงจัง ซึ่ง จะช่วยลดการใช้นำ�้ มันเตาอันเป็นสาเหตุ หลักของปัญหากลิ่น รวมทั้งมีการจัดตั้ง ศู น ย์ ป ระสานงานภาคสนามเพื่ อ แก้ ปั ญ หาเรื่ อ งกลิ่ น ในเชิ ง รุ ก ขึ้ น ที่ ส ถานี อนามั ย บ้ า นก้ น หนอง โดยมี ก ารจั ด เจ้ า หน้ า ที่ ป ระจ� ำ ศู น ย์ เ พื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ตรวจสอบและวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล การ ตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศ พร้ อ มเป็ น หน่ ว ยเคลื่ อ นที่ เ ร็ ว เมื่ อ เกิ ด เหตุ และ ประสานงานกลับมายังภายในบริษทั เพือ่ ท�ำการตรวจสอบแก้ไขเหตุทกี่ ำ� ลังเกิดขึน้ ได้ ทั น ไม่ ใ ห้ ก ลิ่ น ไปส่ ง ผลกระทบกั บ ชุมชน และยังเป็นอีกช่องทางในการรับ แจ้งเหตุและข้อแนะน�ำต่างๆ จากชุมชน
นอกจากนีย้ งั มีโครงการอืน่ ทีไ่ ออาร์พซี ี ด�ำเนินการ อาทิ ลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากแหล่งก�ำเนิด โดยจัดตั้ง หน่วยที่ใช้ป้องกันอากาศที่เป็นพิษจาก ซัลเฟอร์ออกไปสู่อากาศภายนอก (Tail Gas Treating Unit plant:TGTU) จัด โครงการปลู ก ป่ า ธรรมชาติ ร อบเขต ประกอบการฯ เพื่ อ เป็ น แนวป้ อ งกั น ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับชุมชนโดยรอบ ติดตั้งระบบประมวลผลการกระจายตัว ของแก๊ ส เพื่ อ ให้ ท ราบแหล่ ง ก� ำ เนิ ด ของปั ญ หาเรื่ อ งกลิ่ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง และร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือต่างๆ ในการป้องกัน แก้ไข และจัดการกลิ่น ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แนวทางการจั ด การเชิ ง รุ ก ในส่ ว น การบริ ห ารจั ด การ อยู ่ ใ นรู ป แบบการ จัดตั้งคณะกรรมการ โดยมีตัวแทนจาก ทุ ก ภาคส่ ว น คื อ หน่ ว ยงานราชการ ตัวแทนจากภาคประชาชน ผู้น�ำชุมชน และตัวแทนจากไออาร์พีซี เข้าร่วมเป็น คณะกรรมการพหุภาคี เพื่อก�ำกับและ ติดตามการด�ำเนินงานในโครงการผลิต พลังไอน�้ำและไฟฟ้าร่วมจากพลังงาน สะอาดด้วยก๊าซธรรมชาติ (CHP) และ เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการไตรภาคี เพื่อ ก�ำกับ ดูแล ติดตามการด�ำเนินงานการ แก้ปัญหาด้านกลิ่น ส่วนในไออาร์พีซีเอง ก็ มี ก ารตั้ ง คณะกรรมการแก้ ไ ขปั ญ หา เรื่องกลิ่น (War Room) ที่ประกอบด้วย ผู ้ บ ริ ห ารของหน่ ว ยผลิ ต ต่ า งๆ ของ บริษัทฯ โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มปิโตรเคมีและการกลั่นเป็นประธาน โดยน�ำข้อร้องเรียนทีเ่ กิดขึน้ มาหามาตรการ ปรับปรุงแก้ไข แนวทางการเฝ้ า ระวั ง ได้ จั ด ให้ มี การติดตามและวัดคุณภาพอากาศผ่าน จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ และระบบ
ตรวจวั ดคุ ณ ภาพอากาศแบบต่ อเนื่ อง 24 ชั่วโมง พร้อมระบบการรายงานผล แบบอัตโนมัตไิ ปยังศูนย์รบั เรือ่ งร้องเรียน และระบบแจ้งเหตุผา่ นทางโทรศัพท์มอื ถือ ที่จะส่งตรงไปยังผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ เกี่ ย วข้ อ งทั น ที ที่ ค ่ า ตรวจวั ด เกิ น กว่ า ค่าที่เฝ้าระวัง เพื่อด�ำเนินการแก้ไขก่อน เกิดผลกระทบต่อชุมชนหรือเกินกว่าค่า มาตรฐาน โดยมีสถานีตรวจวัดคุณภาพ อากาศแบบถาวรตั้ ง อยู ่ ที่ บ ริ เ วณวั ด ปลวกเกตุ โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี บ้านพักพนักงานไออาร์พซี ี องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบ้านแลง และสถานีอนามัย บ้ า นก้ น หนอง อี ก ทั้ ง ยั ง มี ร ถตรวจวั ด คุณภาพอากาศเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์ ตรวจวัดที่ทันสมัย และอุปกรณ์ตรวจวัด คุณภาพอากาศเคลือ่ นทีเ่ ร็วจ�ำนวน 2 ชุด
และเพื่อให้ชุมชนเกิดความสบายใจ ทางไออาร์พีซีได้เชิญให้ชุมชนเข้ามาชม มาตรการและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ไออาร์พีซี น� ำ มาติ ด ตั้ ง เพื่ อ ลดผลกระทบในด้ า น สิ่งแวดล้อมต่อชุมชนทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาวมาอย่างต่อเนื่อง ผ่านโครงการ เปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) เพื่อสร้างความเข้าใจและส่งผลถึงความ เชื่อมั่นของชุมชนต่อการด�ำเนินงานของ ไออาร์พีซีสืบไป ทัง้ หมดนีเ้ ป็นการทุม่ เทอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้ปญ ั หาการร้องเรียน เรื่องกลิ่นอันเกิดจากกระบวนการผลิต ลดลง แต่ไออาร์พีซียืนยันว่ายังคงมุ่งมั่น พัฒนาจัดการเรื่องกลิ่นต่อไปอย่างไม่ หยุดยั้ง
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
11
ด้านเศรษฐกิจ
ECO OMY
การเติบโตอย่างยั่งยืน
สิ่งแวดล้อม
สังคม
เศรษฐกิจ
การมีส่วนร่วม
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต
ดำ�เนินธุรกิจให้เจริญเติบโต บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมเศรษฐกิจ ดูแลรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
โครงการผลิตพลังไอนํ้าและไฟฟ้าร่วม
(Combined Heat and Power Project: CHP) ก้าวใหม่ เพื่ออากาศสะอาดบริสุทธิ์
ไ
ออาร์พซี มี นี โยบายและเจตนารมณ์ อันแน่วแน่ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิตไฟฟ้าและไอนํา้ ให้มเี สถียรภาพ สามารถพึ่ ง พาตนเองด้ า นพลั ง งานได้ มากยิ่งขึ้น และช่วยลดผลกระทบด้าน สิ่ ง แวดล้ อ มต่ อ ชุ ม ชน โดยออกแบบ กระบวนการผลิ ต และเครื่ อ งจั ก รที่ ไ ม่ ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม โครงการผลิตพลังไอนํา้ และไฟฟ้าร่วม (Combined Heat and Power Project: CHP) เกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี 2550 และ ด�ำเนินการแล้วเสร็จทุกหน่วยการผลิต ในเดื อ นพฤษภาคม 2554 ที่ ผ ่ า นมา ด้วยมูลค่าการลงทุนกว่า 8,000 ล้านบาท โดยโครงการนี้ น�ำเชื้ อ เพลิ ง สะอาดคื อ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ทดแทนการ เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าเดิมที่ใช้นํ้ามันเตา และถ่ า นหิ น เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ด้ ว ยก�ำลั ง การผลิตไฟฟ้า 228 เมกะวัตต์ และไอนํ้า 408 ตั น ต่ อ ชั่ ว โมง เป็ น การพั ฒ นา ขี ด ความสามารถในการพึ่ ง พาตนเอง ด้านพลังงาน เพื่อแก้ไขปัญหาไฟฟ้าดับ
ในกรณีผดิ ปกติและฉุกเฉิน ท�ำให้โรงงาน ต้ อ งหยุ ด การผลิ ต และปล่ อ ยก๊ า ซไป เผาไหม้ที่หอเผาไหม้เพื่อความปลอดภัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก และหมด ปัญหาเรื่องกลิ่นก�ำมะถันที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการเผาไหม้ โครงการผลิตพลังไอนํา้ และไฟฟ้าร่วม ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกสู ่ บ รรยากาศได้ ปีละกว่า 419,000 ตัน เที ย บเท่ า กั บ อากาศ โครงการผลิตพลังไอนํ้าและไฟฟ้าร่วม เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการ พึ่งพาตนเองด้านส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด
บริสทุ ธิจ์ ากการปลูกป่าชายเลนประมาณ 100,000 - 140,000 ไร่ ซึง่ ได้การรับรองจาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นอกจากนี้โครงการฯ ยังสามารถ ลดการใช้นํ้ามันเตาในการผลิตไอนํ้าลง ได้ประมาณ 240,000 ตันต่อปี และลด การปลดปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ลงได้ประมาณ 32 ตันต่อวัน หรือลดลง ไปจากเดิ ม ถึ ง ร้ อ ยละ 40 เลยที เ ดี ย ว แถมปัญหาเรื่องกลิ่นที่กวนใจยังหมดลง อย่างสิ้นเชิง
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
11
โครงการ
ผลิตพลังไอนํ้าและไฟฟ้าร่วม สูร ่ างวัลอันทรงเกียรติ Crown Standard Award
ด้
วยความห่วงใยและค�ำนึงถึง ผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่างจริงจัง ไออาร์พซี จี งึ ได้รเิ ริม่ โครงการ ผลิตพลังไอนํา้ และไฟฟ้าร่วม (Combined Heat and Power Project: CHP) โดยใช้พลังงานสะอาดคือก๊าซธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ตั้ ง แต่ วั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน 2550 และ ในปี 2554 สามารถเดินเครื่องจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบ (Power Synchronization) ได้ครบทั้ง 6 หน่วยการผลิต ส่ ง ผลให้ ใ นปั จ จุ บั น โครงการนี้ สามารถลดปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ใน ประเทศไทย แล้ ว ยั ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในโครงการกลไกการพั ฒ นาที่ ส ะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) สามารถลดปริมาณการปล่อย ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ประมาณ 419,000 ตันต่อปี (เทียบเท่ากับ การปลูกป่าชายเลนประมาณ 100,000 140,000 ไร่ ) ลดปริ ม าณการระบาย ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงได้มากกว่า ร้อยละ 40 12
ภายใต้ ค วามมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจที่ จ ะลด ผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม และการ ด�ำเนิ น งานที่ มี ศั ก ยภาพอย่ า งจริ ง จั ง ต่อเนื่อง ท�ำให้โครงการผลิตพลังไอนํ้า และไฟฟ้าร่วม (CHP) เป็นโครงการแรก ของจังหวัดระยองที่ได้รับรางวัล “มาตรฐานมงกุ ฎ ไทย (Crown Standard)” จากนายศิ ริ ธั ญ ญ์ ไพโรจน์ บ ริ บู ร ณ์ ผู้อ�ำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน) กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยผ่ า นเกณฑ์ ดั ช นี ชี้ วั ด การพั ฒ นาที่ ยั่งยืนต่างๆ รวมทั้งผ่านการเห็นชอบจาก ภาคประชาชนซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในพื้นที่โดยตรง
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
การได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฎไทย ในครั้ ง นี้ เป็ น การยื น ยั น ความตั้ ง ใจ ในแนวทางที่ตระหนักถึงชุมชน สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ข อ ง ไออาร์พีซีเพื่อก้าวไปสู่การเป็น โรงไฟฟ้าทีม่ คี วามรับผิดชอบ ต่ อ ชุ ม ชนโดยรอบ และ การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า ง ยั่งยืน
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
โครงการ ยกเลิกหน่วยผลิตไอนํ้า ที่ใช้นํ้ามันเตาเป็นเชื้อเพลิง
ยืนยันโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาด
ป
ณิ ธ านอั น แน่ ว แน่ ที่ จ ะผลิ ต พลังงานสะอาดประสิทธิภาพ สูงเป็นดัง่ พันธสัญญาทีไ่ ออาร์พซี มี ใี ห้แก่ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชน โดย ไออาร์พีซีเดินหน้าอย่างต่อเนื่องในการ สร้างพลังงานสะอาด เริ่มต้นจากการ หยุ ด ใช้ นํ้ า มั น เตาในหน่ ว ยผลิ ต ไอนํ้ า และไฟฟ้าร่วม เพื่ อ เป็ น การยื น ยั น การหยุ ด ใช้ นํ้ า มั น เตาในหน่ ว ยผลิ ต ไอนํ้ า และ ไฟฟ้าร่วม ไออาร์พีซีจึงได้จัดพิธียกเลิก หน่ว ยผลิ ต ไอนํ้ า ที่ ใ ช้ นํ้ า มั น เตาเป็ น เชื้อเพลิงของโรงงานผลิตนํ้ามันหล่อลื่น ขั้นพื้นฐาน (Lube base oil plant) พร้อม เดิ น เครื่ อ งผลิ ต โรงงานพลั ง งานไฟฟ้ า และความร้อนร่วมที่ท�ำให้ประสิทธิภาพ การใช้พลังงานของประเทศสูงขึ้น งานนี้ มีนายวราวุธ ปิ่นเงิน รองผู้ว่าราชการ จังหวัดระยอง เป็นประธาน พร้อมด้วย นายพงษ์เทพ จารุอ�ำพรพรรณ รองอธิบดี
กรมโรงงานอุตสาหกรรม นายสหัสชัย พาณิชย์พงศ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ หัวหน้า ส่ ว นราชการ คณะกรรมการไตรภาคี พหุ ภ าคี พี่ น ้ อ งประชาชน พนั ก งาน ไออาร์ พี ซี และสื่ อ มวลชนร่ ว มเป็ น สั ก ขี พ ยานโดยพร้ อ มเพรี ย งกั น และ นับเป็นนิมิตหมายอันดีที่สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม องค์กรภาครัฐและเอกชน สามารถอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งยั่ ง ยื น และมี ความสุข การยกเลิกหน่วยผลิตไอนํา้ ทีใ่ ช้นาํ้ มัน เตาเป็ น เชื้ อ เพลิ ง เป็ น ผลดี ต ่ อ สภาวะ แวดล้ อ มรอบโรงงานและประเทศใน วงกว้าง โดยเป็นการน�ำความร้อนจาก ไอเสี ย มาใช้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด ช่ ว ยลด ก๊ า ซเรื อ นกระจก และลดการปล่ อ ย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปพร้อมๆ กัน สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาด อากาศ สดใส และใส่ใจสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
13
เครื่องกำ�จัดกลิ่น จากกระบวนการผลิต ABS
แ
ม้ เ ป็ น ผู ้ บุ ก เบิ ก อุ ต สาหกรรม ปิโตรเคมีครบวงจรแห่งแรกใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไออาร์พีซี ไม่เพียงให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา ศั ก ยภาพด้ า นการผลิ ต ยั ง มุ ่ ง ส่ ง เสริ ม และพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนโดยรอบ รวมทั้ ง ตระหนั ก ถึ ง การดู แ ลรั ก ษา สิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ เพื่อการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น และเจริ ญ เติ บ โต เคี ย งคู ่ กั น ไป ไออาร์ พี ซี จึ ง ยึ ด มั่ น ใน แนวปฏิบัติด้านการพัฒนาและปรับปรุง ประสิ ท ธิ ภ าพกระบวนการผลิ ต ใน อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี เพื่ อ สร้ า ง ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่างยั่งยืน ผลผลิ ต ส�ำคั ญ ในอุ ต สาหกรรม ปิโตรเคมีคอื เม็ดพลาสติกเอบีเอส (ABS) ซึ่งจัดเป็นเม็ดพลาสติกวิศวกรรมที่น�ำไป ใช้งานได้อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึง่ กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกเอบีเอส (ABS) นี้ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด กลิ่ น ของสาร 14
ประกอบอิ น ทรี ย ์ ร ะเหยง่ า ย (Volatile Organic Compounds: VOCs) ต่อชุมชน ทีอ่ ยูโ่ ดยรอบตามทิศทางของลมทีพ่ ดั พาไป ไออาร์พีซีตระหนักในอาชีวอนามัย ของชุ ม ชนเป็ น ส�ำคั ญ จึ ง ริ เ ริ่ ม ด�ำเนิ น โครงการควบคุ ม และลดการระบาย สารอินทรีย์ระเหยง่าย ด้วยการติดตั้ง ระบบควบคุมอากาศและลดการระบาย สารอินทรียร์ ะเหยง่ายก่อนออกสูบ่ รรยากาศ โดยเครื่องก�ำจัดกลิ่นหน่วยแรกเริ่มเดิน เครื่ อ งตั้ ง แต่ ป ี 2538 พบว่ า สามารถ ก�ำจัดไอระเหยของสารประกอบอินทรีย์ (VOCs) ได้ ถึ ง 93,500 คิ ว ต่ อ ชั่ ว โมง (55,000 SCFM) อย่างไรก็ตาม ในกรณี ที่เครื่องจักรเกิดขัดข้องหรือเกิดไฟฟ้าดับ ต้องหยุดเดินเครือ่ งกะทันหัน โรงงานผลิต เม็ดพลาสติกเอบีเอส (ABS) จะต้องหยุด ท�ำงานด้วย ทัง้ นีเ้ พือ่ ป้องกันไอระเหยของ สารประกอบอินทรีย์ (VOCs) ทีล่ มพัดพา ไปส่งผลกระทบต่อชุมชน ด้ ว ยเหตุ นี้ เมื่ อ กลางปี 2554 ที่ ผ่ า นมา ไออาร์ พี ซี จึ ง พั ฒ นาแนวทาง
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการท�ำงานของ เครือ่ งก�ำจัดกลิน่ และเพือ่ ป้องกันการหยุด ฉุกเฉินของโรงงานผลิต โดยด�ำเนินการ ติดตั้งเครื่องก�ำจัดกลิ่นหน่วยที่สองและ เริ่มเดินเครื่อง หลังจากด�ำเนินงานพบว่า สามารถก�ำจัดไอระเหยของสารประกอบ อิ นทรี ย์ (VOCs) ได้ ถึง 120,000 คิว ต่ อ ชั่ ว โมง โดยมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ก�ำจัด VOCs ได้ถึงร้อยละ 99.5 ท�ำให้ คุณภาพอากาศของชาวระยองสะอาด มากขึ้น นี่ เ ป็ น เพี ย งอี ก หนึ่ ง ความมุ ่ ง มั่ น ที่ ไออาร์ พี ซี ด�ำเนิ น การแล้ ว เสร็ จ แต่ ไออาร์พซี ไี ม่เคยหยุดนิง่ ทีจ่ ะคิดค้นพัฒนา ปรับปรุงการด�ำเนินงานต่อไปในอนาคต เพือ่ กระบวนการผลิตทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และไม่ให้ เกิดผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
โครงการก่อสร้างหน่วยที่ใช้ป้องกันมลภาวะทางอากาศ
(Tail Gas Treating Unit plant: TGTU)
ก
ารด�ำเนินธุรกิจของไออาร์พีซี มี อุ ด มการณ์ ห ลั ก ที่ ยึ ด มั่ น คื อ อุตสาหกรรมและชุมชนสามารถอยูร่ ว่ มกัน ได้อย่างเกื้อกูลและเติบโตเคียงคู่กันไป รวมทั้งธุรกิจต้องใส่ใจดูแลและตระหนัก ต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ ส�ำหรั บ อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี กระบวนการผลิตอาจก่อให้เกิดผลกระทบ กับชุมชนใกล้เคียงและสิ่งแวดล้อมบ้าง อาทิ ก�ำมะถันหรือซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซึ่งจัดเป็นหนึ่งในธาตุที่มีความ ส�ำคัญในการผลิตวัตถุดิบอุตสาหกรรม ก�ำมะถันเป็นก๊าซไม่มีสี ไม่ไวไฟ แต่อาจ ส่ ง ผลกระทบต่ อ อาชี ว อนามั ย ของคน ในชุ ม ชนโดยรอบเขตประกอบการ ไออาร์ พี ซี จึ ง จั ด การป้ อ งกั น โดยติ ด ตั้ ง หน่วยแก๊สขั้นปลายในแหล่งก�ำเนิดเพื่อ ลดก�ำมะถัน และสร้างคุณภาพอากาศ สะอาดแก่ชาวระยอง ในโรงกลั่ น นํ้ า มั น ไออาร์ พี ซี จ ะมี หนวยกูคืนกํามะถัน (Sulfur Recovery Units: SRUs) เปนกระบวนการกูคืน กํ า มะถั น บริ สุ ท ธิ์ จ ากแก ส ไฮโดรเจน-
ซัลไฟด (H2S) ทีเ่ ป็นอันตรายจากโรงกลัน่ นํ้ า มั น ซึ่ ง สามารถกู คื น กํ า มะถั น ได ประมาณร้อยละ 95 - 97 อย่างไรก็ดี แก๊ส ขั้นปลาย (Tail Gas) ที่เหลืออยู่จะถูก ส่งไปเผาที่เตาเผาขยะ (Incinerator) ก่อนถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศต่อไป ไออาร์พีซีตระหนักถึงความส�ำคัญ ของคุ ณ ภาพอากาศและสิ่ ง แวดล้ อ ม และมุ ่ ง มั่ น ในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม เมืองระยองให้น่าอยู่ จึงได้ลงทุนติดตั้ง หนวยแกสขั้นปลาย (Tail Gas Treating Unit: TGTU) เพื่ อ เพิ่ ม อั ต ราการกู คื น กํามะถันไดถึงร้อยละ 99.9 เป็นหน่วย ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพอากาศเพื่ อ ปรั บ ลด ปริ ม าณก๊ า ซซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ จ าก แหล่ ง ก�ำเนิ ด โดยกระบวนการผลิ ต นี้ จะท�ำให้คุณภาพอากาศของชาวระยอง สะอาดขึน้ เป็นอย่างมาก และสามารถลด ก�ำมะถันให้ตํ่าลงได้มากกว่าที่กฎหมาย ก�ำหนด ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ท ้ า ทายส�ำหรั บ ไออาร์พีซีในการด�ำเนินการอย่างดีที่สุด เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ชุ ม ชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
การติ ด ตั้ ง หน่ ว ยแก๊ ส ขั้ น ปลายใช้ เงินลงทุนจ�ำนวนมาก แต่เพื่อให้ชุมชน มีคุณภาพชีวิตและอาชีวอนามัยที่ดีขึ้น อากาศมีคณ ุ ภาพสะอาดมากขึน้ ไออาร์พซี ี ถือว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง และยืนยันว่า ไออาร์พีซีมีความมุ่งมั่น พั ฒ นาแก้ ไ ขกระบวนการผลิ ต เพื่ อ ให้ อุตสาหกรรม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างเกื้อกูลและ เติบโตเคียงคู่กันไป
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
15
นวัตกรรมเพื่อธุรกิจยั่งยืน (Green ABS)
ด้
วยความมุง่ มัน่ ทีไ่ ม่หยุดยัง้ ฝ่าย วิจัยและพัฒนาของไออาร์พีซี จึ ง คิ ด ค้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ แ ปรจิ น ตนาการ เป็นนวัตกรรมแห่งการสร้างสรรค์ ภายใต้ แนวคิ ด ในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ควบคู ่ กั บ ความห่ ว งใยชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยนับเป็นผู้ผลิตรายแรกในโลกที่น�ำ เอายางธรรมชาติมาทดแทนการใช้ยาง สั ง เคราะห์ ใ นการผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก ABS ซึ่งนวัตกรรมนี้สามารถช่วยเหลือ เกษตรกร ลดการน�ำเข้า และเป็นกลไก การพัฒนาอุตสาหกรรมที่สะอาดด้วย ไออาร์พีซีพัฒนากระบวนการผลิต ABS (Acrylonitrile Butadiene Styrene: ABS) มาอย่าง ต่อเนื่อง จากจุ ด เริ่มต้นใน ปี 2533 ด้วย ก�ำลังเริ่มต้นที่ 18,000 ตันต่อปี จนสามารถพัฒนาและ
16
ขยายกระบวนการผลิตเป็น 120,000 ตัน ต่อปีในปัจจุบนั โดยมุง่ พัฒนากระบวนการ ผลิตเม็ดพลาสติก ABS ให้เป็นมากกว่า เม็ดพลาสติกแบบเดิม พัฒนาองค์ความรู้ ด�ำเนินการวิจยั และพัฒนาการน�ำยางพารา ธรรมชาติมาใช้เป็นวัตถุดิบแทนการใช้ ยางสังเคราะห์ในการผลิตเม็ดพลาสติก ABS ภายใต้ชอื่ Green ABS กระบวนการ ผลิตนี้เป็นนวัตกรรมที่สามารถช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ผลิตยางพารา และลดการ น�ำเข้ายางสังเคราะห์ อีกทัง้ ยังเป็นไปตาม โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดด้วย การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ของไออาร์พีซีต้องสร้างนวัตกรรมด้าน สิ่ ง แวดล้ อ ม และสามารถตอบสนอง ความต้องการของกลุม่ ลูกค้าทีห่ ลากหลาย ตามภาวะเศรษฐกิ จ ที่ เ ปลี่ ย นแปลง อย่างรวดเร็ว ความพยายามและทุ่มเท ทรัพยากรเพื่อคิดค้นและวิจัยนวัตกรรม ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะพิ จ ารณาตั้ ง แต่ ก าร ออกแบบผลิตภัณฑ์ รูปแบบการใช้งาน จนถึ ง การก�ำจั ด ของเสี ย ที่ เ หลื อ จาก ผลิตภัณฑ์ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
พัฒนาไม่หยุดยั้ง Green ABS เป็นเพียงหนึง่ ในความมุง่ มัน่ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ ได้มาตรฐาน สากล และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง ต่อเนื่องของไออาร์พีซี ล่าสุดไออาร์พีซีได้ร่วมมือกับส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพือ่ ต่อยอดวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หลักของไออาร์พซี ี ซึง่ นอกจากโครงการ Green ABS แล้ว ยังมีโครงการดังต่อไปนี้ 1. โครงการ EPS for Construction น�ำโฟม มาผสมกับคอนกรีตเพื่อใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง 2. โ ครงการ Compound Polymer Composite (WPC) เป็นการผลิตเม็ดพลาสติก ผสมขี้เลื่อย 3. โ ครงการ Renewable Chemical ทีน่ ำ� นาํ้ มันพืชมาทดแทนนาํ้ มันดิบในการผลิต นํ้ามันหล่อลื่นหรือนํ้ามันเครื่อง ด้วยการเติม ไฮโดรเจนลงไป 4. โครงการ Acetylene Black การน�ำก๊าซ อะเซทิ ลี น มาเผาเพื่ อ ให้ ไ ด้ เ ขม่ า ด� ำส� ำ หรั บ อุตสาหกรรมถ่านไฟฉาย ทั้งหมดนี้เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ไออาร์พีซี ยื น หยั ด ในค� ำ มั่ น สั ญ ญาที่ ว ่ า การพั ฒ นา ศักยภาพในกระบวนการผลิตต้องมาพร้อมกับ สิ่งแวดล้อมที่ดีของชุมชนเสมอ
และเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ไออาร์พีซี ยั ง ได้ ท�ำการพั ฒ นาทั้ ง ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ และกระบวนการผลิต ร่วมกับสถาบัน วิ จั ย ชั้ น น�ำทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ มากมาย เพื่อให้ได้สิ่งที่ดีที่สุดกับธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
ระบบหอเผาก๊าซ เพื่ออากาศบริสุทธิ์ (Flare System)
ไ
ออาร์ พี ซี มี เ จตนารมณ์ ใ นการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม จึงมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพ ทุ ก ด้ า น พั ฒ นาระบบต่ า งๆ และเพิ่ ม ศักยภาพด้านการจัดการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิด มลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ห นึ่ ง ใ น ม า ต ร ก า ร ส�ำ คั ญ ด ้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ออาร์ พี ซี ภ าคภู มิ ใ จคื อ การติ ด ตั้ ง ระบบหอเผาก๊ า ซ (Flare System) เพื่ อ ท�ำลายก๊ า ซที่ ร ะบาย ออกมาจากระบบการผลิ ต ก่ อ นปล่ อ ย ออกไปในอากาศ และท�ำให้ เ กิ ด การ เผาไหม้ที่สมบูรณ์ขึ้น ส�ำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หอเผา ถือเป็นอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยที่มี ความส�ำคัญต่อกระบวนการผลิต เพราะ มีหน้าที่เผาก�ำจัดก๊าซที่ระบายออกจาก ระบบการผลิต โดยโรงงานต่างๆ จะมี การเดินท่อระบายก๊าซจากตัวโรงงานเพือ่ ส่งก๊าซไปท�ำลายยังหอเผา ซึ่งไออาร์พีซี
ให้ความส�ำคัญกับหอเผานี้ โดยอาคาร โครงสร้ า งเหล็ ก ได้ รั บ การออกแบบ มาเพื่อระบบนี้โดยเฉพาะ ให้สามารถ ทนทานต่อความร้อนสูง และเป็นไปตาม มาตรฐานของ American Petroleum Institute (API) ซึ่งไออาร์พีซีมีหอเผา ดังกล่าวจ�ำนวน 5 แห่ง สามารถรองรับ การเผาก๊าซรวม 2,369 ตันต่อชั่วโมง หอเผาเป็ น ระบบที่ ต ้ อ งจุ ด ติ ด ไฟ ไว้ตลอดเวลา เรียกว่า ไฟน�ำร่อง (Pilot Flame) โดยใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) เพื่อ เตรี ย มความพร้ อ มในการเผาท�ำลาย ก๊าซได้ในทันที ในระบบการผลิตปกติ เมื่ อ เริ่ ม เดิ น เครื่ อ งจั ก รหรื อ ระหว่ า ง เดินเครื่องจักรจะมีการส่งก๊าซที่ตกค้าง จากการท�ำปฏิ กิ ริ ย าที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ ไ ป ก�ำจัดทิ้ง หรือเกิดจากความดันในระบบ การผลิตสูงเกินค่าความปลอดภัย วาล์ว ควบคุมความดันจะระบายก๊าซออกไป เผาท�ำลาย ทว่าเมื่อระบบการผลิตเกิด เหตุ การณ์ ใ นสถานการณ์ ฉุกเฉิ น เช่น ไม่ มี นํ้ า หล่ อ เย็ น ไฟฟ้ า ดั บ หรื อ มี เ หตุ ไฟไหม้ ระบบความปลอดภัยของโรงงาน จะท�ำงาน โดยระบบระบายก๊ า ซหรื อ วาล์วนิรภัยจะเปิดเมื่อมีความดันสูงเกิน เพื่ อ ระบายก๊ า ซออกไปที่ ห อเผาไหม้ ท�ำให้ปริมาณของก๊าซที่ระบายออกมา มี ป ริ ม าณมาก จึ ง ท�ำให้ เ กิ ด เปลวไฟ ลุกไหม้ที่มีขนาดใหญ่กว่าปกติ ปัญหาหนึง่ ทีพ่ บจากระบบหอเผาก๊าซนี้ ก็ คื อ ควั น ด�ำที่ เ กิ ด จากการเผาไหม้ ที่ ไม่สมบูรณ์ในช่วงแรกของหอเผาไหม้ ซึ่ ง ไออาร์ พี ซี รั บ มื อ ด้ ว ยการใช้ ไ อนํ้ า แรงดันสูงเพื่อดึงอากาศเข้าไป ท�ำให้เกิด การเผาไหม้สมบูรณ์ ควันจึงลดลงและ หมดไปในทีส่ ดุ แม้การใช้ไอนํา้ แรงดันสูง ฉีดเช่นนี้จะท�ำให้เกิดเสียงดังในท่อขณะ ที่มีการเผาไหม้ แต่ไออาร์พีซีมุ่งมั่นที่จะ พัฒนาระบบและแก้ไขต่อไป
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
17
ศูนย์ประสานงานภาคสนามบ้านก้นหนอง
หน่วยเคลื่อนที่ไวเรื่องกลิ่น
ก
ารเฝ้ า ระวั ง ผลกระทบที่ อ าจ เกิดขึน้ จากการประกอบกิจการ ของไออาร์ พี ซี เ กี่ ย วกั บ ด้ า นคุ ณ ภาพ อากาศในแหล่งชุมชน เป็นพันธกิจหนึ่ง ที่ไออาร์พีซีให้ความส�ำคัญ นอกจากจัด สร้างสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศขึ้น ในแหล่งชุมชนรอบนอกตั้งแต่ปี 2549 ไออาร์พีซีพยายามอย่างยิ่งยวดในการ เร่ ง ด�ำเนิ น การตรวจสอบกลิ่ น ทั น ที ที่ มี ผู้ร้องเรียน
เพื่ อ ให้ ส ามารถรุ ก เข้ า แก้ ป ั ญ หา ในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและเกิดความ คล่ อ งตั ว ยิ่ ง ขึ้ น ไออาร์ พี ซี จึ ง ก่ อ ตั้ ง คณะท�ำงานคุณภาพในนามของ “ศูนย์ ประสานงานภาคสนามบ้านก้นหนอง” ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2554 โดยมีหน้าที่ หลั ก ในการเฝ้ า ระวั ง ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ผ่านระบบตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบ อั ต โนมั ติ โดยเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ และหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบ เคลื่อนที่ ในแหล่งชุมชนรอบนอกอื่นๆ เฝ้ า ระวั ง ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มผ่ า นระบบตรวจวั ด ควบคู ่ ไ ปกั บ การส�ำรวจพื้ น ที่ โ รงงานที่ คุ ณ ภาพอากาศแบบอั ต โนมั ติ โดยเจ้ า หน้ า ที่ เสี่ยงต่อปัญหาด้านกลิ่น ผู้เชี่ยวชาญ และหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศ แบบเคลื่อนที่ 18
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
โดยเฉพาะเมื่ อ มี ผู ้ ร ้ อ งเรี ย นเรื่ อ ง กลิ่น ศูนย์ฯ มีความคล่องตัวสูง ลงพื้นที่ อย่ า งรวดเร็ ว เพื่ อ ตรวจสอบหาสาเหตุ และรวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ได้ทัน ก่อนทีก่ ลิน่ นัน้ จะจางหายไป ขณะเดียวกัน เจ้ า หน้ า ที่ ข องศู น ย์ ฯ ยั ง เป็ น เสมื อ น ตั ว แทนของไออาร์ พี ซี เมื่ อ เข้ า พื้ น ที่ ก็ สามารถพูดคุยชี้แจง ให้ค�ำปรึกษา หรือ ตอบข้อซักถามเพื่อให้ชุมชนคลายกังวล และอุ่นใจขึ้นในความจริงใจแก้ปัญหา เรื่องกลิ่นของไออาร์พีซี
ผลการด�ำเนิ น งานในภาพรวม สามารถตรวจหาต้นตอของปัญหาเรื่อง กลิน่ ทีม่ าจากโรงงานในเขตประกอบการฯ ไออาร์พซี ี (กลิน่ ในกลุม่ ของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แ ละไอระเหยจากนํ้ า มั น ) ได้ถกู ต้องแม่นย�ำ และน�ำไปสูก่ ระบวนการ แก้ไขปัญหาได้ถูกจุดมากยิ่งขึ้น ซึ่งผล ตอบรับก็คอื ชุมชนพอใจกับการปฏิบตั งิ าน ในลักษณะดังกล่าวมากยิ่งขึ้นนั่นเอง ศูนย์ประสานงานภาคสนาม บ้านก้นหนอง โทรศัพท์: (038) 802-560, 1800-800-008
ระบบเฝ้าระวังตรวจวัดอากาศ ในชุมชน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. แบบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ กึ่งถาวร จ�ำนวน 5 สถานี คือ สถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศวัดปลวกเกตุ สถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศโรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศบ้านพักพนักงาน ไออาร์พซี ี สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศชุมชน บ้ า นก้ น หนอง และสถานี ต รวจวั ด คุ ณ ภาพ อากาศชุมชนบ้านแลง 2. แบบหน่วยตรวจวัดคุณภาพอากาศ เคลื่อนที่ จ�ำนวน 2 หน่วย 3. แบบรถตรวจวั ด คุ ณ ภาพอากาศ ในบรรยากาศ จ�ำนวน 1 คัน
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
19
โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) สร้างความมั่นใจให้ชุมชน
ต
ลอดการด�ำเนินงานที่ผ่านมา ไออาร์พซี มี งุ่ มัน่ ในการประกอบ ธุรกิจควบคู่ไปกับการดูแลสังคม ชุมชน และใส่ ใ จต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเฉพาะ การแก้ไขปัญหามลภาวะต่างๆ อันอาจ เกิ ด ขึ้ น จากกระบวนการผลิ ต ในระบบ อุตสาหกรรม ดังนั้นอะไรก็ตามที่อาจจะ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือเกิด เป็นข้อร้องเรียนจากประชาชนในชุมชน ไออาร์พีซีพร้อมเร่งด�ำเนินการปรับปรุง แก้ไขด้วยความเต็มใจ แต่สิบปากว่า ก็ไม่เท่าตาเห็น และนั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการ “เปิดบ้านสานสัมพันธ์” เพื่อ
ให้ตัวแทนทุกภาคส่วนได้เข้าเยี่ยมชม โรงงาน และเห็นถึงความตัง้ ใจจริงในการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมของไออาร์พีซี โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์จัดขึ้น เดือ นละ 1 ครั้ ง โดยปี 2554 เริ่ มต้ น ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมิ ถุ น ายนจนถึ ง ปลายปี มี ผู้เข้าเยี่ยมชมทั้งหมด 7 รุ่น รวมจ�ำนวน กว่า 450 ราย ผู้เข้าเยี่ยมชมในแต่ละครั้ง ประกอบด้ ว ยคณะกรรมการไตรภาคี ตัวแทนชุมชน กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และตัวแทนจาก หน่วยงานราชการต่างๆ ผู้เข้าเยี่ยมชม ที่ มี ค วามหลากหลายช่ ว ยเปิ ด มุ ม มอง และสร้างความรู้ใหม่ๆ ให้แก่กัน
เป็นอย่างดี รวมถึงได้พาชุมชนเข้าไปชม โครงการ RTO หน่วยที่ 2 ซึ่งเป็นหน่วย ก�ำจั ด กลิ่ น ไอระเหยของสารประกอบ อินทรีย์ (VOCs) ที่เกิดจากกระบวนการ ผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก เอบี เ อส (ABS) ส่วนไฮไลท์ของการเยี่ยมชมอยู่ที่คลอง คึกฤทธิ์ ซึง่ เป็นคลองสาธารณะทีไ่ หลผ่าน เข้ามาในเขตประกอบการของไออาร์พีซี โดยทีผ่ า่ นมาเคยเกิดข้อกังขาว่า ไออาร์พซี ี ถมคลองท�ำให้เกิดนํ้าท่วม ซึ่งความจริง แล้วพบว่า ไออาร์พีซีได้มีการขุดลอก คู คลองเป็ น อย่ า งดี ท�ำให้ นํ้ า ไหลผ่า น สะดวกยิ่งขึ้น
เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้รับรู้ถึงการท�ำงานของไออาร์พีซี อย่างใกล้ชิด ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริงใจ และพร้อม แก้ไขปัญหาเพื่อการอยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน ในการเปิดบ้านแต่ละครั้ง ไออาร์พีซี จะพาผูเ้ ข้าเยีย่ มชมเข้าไปดูโครงการผลิต พลังไอนํา้ และไฟฟ้าร่วม หรือ CHP ซึง่ เป็น โครงการที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง จึงสามารถยกเลิ กการใช้ นํ้า มั น เตาใน กระบวนการผลิตได้ทั้งหมด และช่วยลด ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมได้ 20
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
ทั้ ง หมดนี้ ก็ เ พื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ รั บ รู ้ ถึ ง การท�ำงานของ ไออาร์พีซีอย่างใกล้ชิด ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของความจริงใจที่จะด�ำเนินไปอย่างไม่ หยุดยั้ง และพร้อมแก้ไขปัญหาเพื่อการ อยู่ร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืน
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
โครงการ
ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
ไ
ออาร์ พี ซี เ ชื่ อ มั่ น ว่ า การเติ บ โต อย่างเข้มแข็งและยัง่ ยืนของธุรกิจ ต้ อ งควบคู ่ ไ ปพร้ อ มๆ กั บ การส่ ง เสริ ม เศรษฐกิจของชุมชนให้กา้ วหน้าบนวิถที าง อันเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ไออาร์พีซี จึงมีแนวคิดสนับสนุนกิจกรรมหลากหลาย มิตเิ พือ่ สร้างโอกาสและสร้างรายได้ให้แก่ ชุมชน การสนับสนุนด้านอาชีพชุมชนของ ไออาร์พซี ี เริม่ ต้นจากการปรับปรุง พัฒนา ส่งเสริมกิจกรรมการอบรมการฝึกอาชีพ ต่ า งๆ ภายในศูนย์เรีย นรู้ฯ ไออาร์พีซี อย่างต่อเนื่อง โดยกิจกรรมจะผ่านการ คั ด สรรจากข้ อ เสนอแนะของชุ ม ชน เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของ ชุมชนอย่างแท้จริง ซึ่งกิจกรรมฝึกอบรม ภายในศู น ย์ เ รี ย นรู ้ ฯ สามารถน�ำไป ประกอบอาชี พ เป็ น รายได้ เ สริ ม และ พัฒนาเป็นรายได้หลักได้ เช่น การฝึก อบรมการกรีดยางพารา การเพาะเห็ด การอบรมการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ซึ่งมี การด�ำเนินการไม่ยงุ่ ยากแต่สามารถสร้าง รายได้ให้แก่ครัวเรือนได้ และขยายผล การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ไปยังโรงเรียน
ต่างๆ โดยรอบเพื่อให้เด็กๆ ได้ เรี ย นรู ้ เ ป็ น วิ ช าชี พ ติ ด ตั ว และ กลายเป็นทุนการศึกษา เพือ่ ขยาย โอกาสทางการศึ ก ษาคื น กลั บ ให้แก่เด็กๆ ที่ขาดโอกาสได้อีก ในส่ ว นวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนที่ มี ค วาม เชีย่ วชาญอยูแ่ ล้ว ไออาร์พซี มี งุ่ มัน่ พัฒนา ศักยภาพของกลุม่ อาชีพให้มคี วามเข้มแข็ง มากขึ้น โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความ หลากหลาย ค�ำนึงถึงกลุม่ เป้าหมาย และ ขยายช่องทางการจ�ำหน่าย เช่น เปิดพืน้ ที่ ให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจ�ำหน่ายสินค้า ในโครงการเที่ยว ท่อง ลอง รู้ ซึ่งจัดเป็น ประจ�ำทุ ก เดื อ น หรื อ ในเทศกาลงาน ทุ่งทานตะวันบานที่บ้านค่าย นอกจากนี้ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนสามารถน�ำผลิตภัณฑ์ ต่างๆ มาวางจ�ำหน่ายภายในศูนย์เรียนรูฯ้ ไออาร์พซี โี ดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ซึง่ ไออาร์พซี ี มีความตั้งใจส่งเสริมการกระจายรายได้ ไปสู่ชุมชน และส่งเสริมสินค้าชุมชนให้มี ยอดขาย จึ ง เป็ น อี ก ช่ อ งทางหนึ่ ง ใน การวางจ�ำหน่ า ยสิ น ค้ า ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ ในท้องถิ่น อาทิ ของช�ำร่วยมีฝีมือ ผ้า อเนกประสงค์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
กลุม่ ผลิตผ้าอเนกประสงค์บา้ นหนองจอก กะปิ ร สชาติ ดี ข องกลุ ่ ม แปรรู ป ผลผลิ ต เกษตร กลุ่มแม่บ้านวัดใหม่กระบกขึ้นผึ้ง และอื่นๆ อีกมากมาย ไออาร์พีซีส่งเสริมให้เกิดการสร้าง เครื อ ข่ า ยวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน เข้มแข็ง และมั่นคง เพื่อให้ชุมชนมีความเป็นอยู่ ที่ดีและมีความสุขพร้อมกับการเติบโต ของธุรกิจ
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
21
โครงการ
3
ทานตะวันบานที่บ้านค่าย ปี
ด้
วยแนวคิดทีค่ �ำนึงถึงการพัฒนา และการเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ไปพร้อมกับชุมชนในทุกด้าน ไออาร์พีซี จึงพัฒนาพื้นที่กว่า 300 ไร่ ให้เป็นทุ่ง ทานตะวัน แหล่งท่องเทีย่ วชือ่ ดังแห่งใหม่ ของอ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เป็นการ พัฒนาสิง่ แวดล้อมและส่งเสริมเศรษฐกิจ ด้านการท่องเที่ยวให้ดียิ่งขึ้น โครงการทานตะวันบานที่บ้านค่าย ปีนี้จัดเป็นปีที่ 3 โดยโครงการนี้เกิดจาก แรงบันดาลใจของนายสยุมพร ลิ่มไทย อดีตผูว้ า่ ราชการจังหวัดระยอง ทีต่ อ้ งการ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและผู้น�ำท้องถิ่น มีการจัดจ้างแรงงานในท้องที่ ส่งเสริมการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน จนกระทั่งด�ำเนินการ แล้วเสร็จ สามารถเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้
22
สรุปผลการดำ�เนินงานโครงการ CSR ปี 2554
เห็ น อ�ำเภอบ้ า นค่ า ยมี แ หล่ ง ท่ องเที่ยว ใหม่ ตั้ ง แต่ ป ี 2552 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของไออาร์พีซีที่ต้องการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการสร้างรายได้ ให้ แ ก่ ชุ ม ชน จึ ง ได้ ม อบพื้ น ที่ บ ริ เ วณ ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอบ้านค่าย ให้เป็น พื้ น ที่ ด�ำเนิ น การ โดยมี ก ารประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและผู้น�ำท้องถิ่น มีการจัดจ้าง แรงงานในท้องทีเ่ พือ่ ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ ชุมชน จนกระทั่งด�ำเนินการแล้วเสร็จ สามารถเปิ ด เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วได้ ถือเป็นการส่งเสริมและกระตุน้ เศรษฐกิจ ในด้านการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ให้เกิดขึน้ ภายในท้องถิน่ นอกจากนีย้ งั เป็นโครงการ น�ำร่องในการศึกษาพืชเศรษฐกิจตัวใหม่ อีกด้วย
Blue Circle
Eco Industry
ธุรกิจสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อม
พื้ น ที่ ใ นโครงการทานตะวั น บาน ที่บ้านค่าย จะเปิดให้บริการท่องเที่ยว ประมาณวันที่ 25 ธันวาคม - 31 มกราคม ของแต่ละปี ซึ่งเป็นช่วงที่บรรยากาศเย็น ก�ำลังดี ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา โครงการ ทานตะวั น บานที่ บ ้ า นค่ า ยได้ รั บ การ ตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี จ ากนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ประชาชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ระยองและ
จังหวัดใกล้เคียง ประเมินได้จากยอด นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้าชมเป็นจ�ำนวนมาก และ เมือ่ มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเข้าสูป่ ที ี่ 3 พื้นที่เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีม่ าเยือนก็เพิม่ ขึน้ เป็นอย่างมาก ส�ำหรั บ การจั ด งานในครั้ ง นี้ คณะ กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหินโค่ง ประชานุ เ คราะห์ แ ละส่ ว นการศึ ก ษา
ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัว ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมหารายได้ในงาน ทานตะวันบานทีบ่ า้ นค่ายปี 3 ซึง่ ก็ประสบ ความส�ำเร็จเป็นอย่างดี โดยน�ำรายได้ จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวมอบให้แก่ โรงเรี ย นบ้ า นหิ น โค่ ง ประชานุ เ คราะห์ และศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ในสั ง กั ด ของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัว นับว่า เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการสร้างรายได้ ให้ ชุ ม ชน และยั ง เป็ น การสนั บ สนุ น การศึกษาให้แก่เด็กๆ ในพื้นที่อีกด้วย ซึ่ง สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของไออาร์พซี ที ี่ พร้อมเติบโตควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบ และดูแลชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
เมล็ดทานตะวัน จิ๋วแต่ (ประโยชน์) แจ๋ว เห็นเมล็ดทานตะวันเล็กๆ อย่างนี้แต่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เพราะประกอบด้วยโปรตีน ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส อีกทั้งยังมีวิตามินต่างๆ ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินเค วิตามินบี 2 โดยเฉพาะวิตามินอีมีสูงกว่าพืชอื่นๆ ซึ่งวิตามินอีมีความส�ำคัญต่อสุขภาพ คือ รักษาผิวหนัง ให้แลดูสดใส เยาว์วัย นอกจากนี้ยังท�ำให้ระบบสืบพันธุ์ปกติ ช่วยลดไขมันในหลอดเลือด และ บ�ำรุงสายตาอีกด้วย
CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY REPORT
23