8hours Vol. 17

Page 1

THE MOST ADMIRED COMPLIMENTARY DESIGN MAGAZINE

VOL.17

JULY-SEPTEMBER 2012 www.rockworth.com

IN FOCUS : ARCHITECTURAL JEWELLERY IN THE OLYMPIC PARK GREEN STYLE : SUSTAINABLE SPORTS CENTRE IN LONDON MY SPACE + MY DESIGN : SIMPLY LUXURY UNLOCK : HOW TO WIN AS A TEAM



CONTENT EDITOR'S VIEW

P. 01

RADAR

London 2012 Festival | Design Tokyo 2012 | Expo Chicago | The 2012 Fentress Global Challenge

P. 03

IN FOCUS

Architectural Jewellery in the Olympic Park

P. 06

GREEN STYLE

The Lee Valley White Water Centre: Sustainable Sports Centre

P. 10

MY SPACE + MY DESIGN

Eco Driving | BMW Millennium Auto Co., Ltd.

P. 15

POSSIBILITY

Architecture with a Vision

P. 23

UNLOCK

How to Win as a Team

P. 28

GISMO

Smartpen from Livescribe | Logitech Solar Keyboard for iPad | Sun Parasols

P. 31

ROCKWORTH

Milestone towards the Green

P. 33


EDITOR'S VIEW

โลกกับกระแสการแข่งขันนับเป็นของคูก่ นั และไม่เคยห่างหายไปไหน ไม่เพียงการแข่งขัน กีฬาระดับโลกอย่างโอลิมปิกเกมส์ที่เพิ่งเปิดฤดูกาลไปเมื่อปลายเดือนก่อนที่ผู้คนต่าง จับจ้องคอยลุ้นว่าใครจะเป็นเจ้าเหรียญทองในคราวนี้ แต่ยังรวมถึงนักคิดนักออกแบบ ที่หมุนตัวเองให้เร็วกว่ายุคสมัย สร้างสรรค์ผลงานแปลกใหม่สู่สายตาสาธารณชน อย่างไม่ขาดสาย 8HOURS ฉบับ E-Edition นี้ขอพาผู้อ่าน ทุกท่านร่วมสัมผัสความร้อนแรงของดีไซน์ที่ เจืออยู่ในมหานครลอนดอน ศูนย์กลางการจัด กีฬาโอลิมปิกครั้งนี้ โดยหลายภาคส่วน ไม่ว่า ฝ่ายรัฐหรือเอกชน ล้วนร่วมมือร่วมใจกัน เปลี่ยนโฉมเมืองทั้งเมืองให้กลายเป็นเป้าสายตา ดึงดูดความสนใจของคนทัง้ โลก และสมกับฐานะ หนึ่งในเมืองหลวงแห่งกระแสแฟชั่นและดีไซน์ จิลเวลรีด่ ไี ซเนอร์ทน่ี า่ จับตามอง Ute Decker ที่เรานำ�เสนอในคอลัมน์ In Focus นับเป็น อีกหนึ่งศิลปินที่ได้รับการทาบทามให้แสดงงาน ประติมากรรมที่สวมใส่ได้ของเธอใน London Festival of Architecture 2012 ซึ่งถือเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการแปลงโฉมลอนดอน เพื่อต้อนรับโอลิมปิก นอกจากนี้ลอนดอนยังต้องการสื่อสารกับ ชาวโลกว่าศิลปะทั้งหลายที่พวกเขาสรรค์สร้าง และคัดเลือกมานำ�เสนอเหล่านี้ มิได้สนใจเพียง ภาพลักษณ์และความสวยงามเท่านั้น แต่ยังเต็ม 01

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ สถาปนิกเจ้าของบริษัท ไซต์ สเปซิฟิก จำ�กัด ก็ยิ่งขีดเส้นใต้ผลงานของ ยุคนี้ว่าจำ�เป็นต้องใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นสำ�คัญ โดยเน้นยำ�เพิ่มเติมว่า “หากเราไม่สามารถ ปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมได้ เราก็สามารถ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของเราแทนได้” สุดท้ายนี้ ด้วยความใส่ใจด้านสิ่งแวดล้อม ไม่แพ้องค์กรใดในโลก Rockworth เองมีโอกาส ได้เปิดตัว โรงงานร้อกเวิธ ที่ศรีเมือง เชนไน ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นโรงงานและสำ�นักงานที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รางวัลเหรียญทองแห่ง แรกของอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ในอินเดีย ที่ได้รับการรับรองจาก India Green Building Council ภายใต้มาตรฐานจาก United States Green Building Council ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งนอกจากความภาคภูมิใจที่เรามีส่วนบรรเทา ภาวะวิกฤตของโลกแล้ว เรายังหวังว่าจะมี เพือ่ นร่วมทางบนเส้นทาง “สีเขียว” ทีเ่ รากำ�ลังเดิน อยูน่ เ้ี พิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะความห่วงใยต่อโลกใบนี้ ไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง หากแต่ทุก ภาคส่วนต้องรับผิดชอบร่วมกันคนละไม้ คนละมือ จึงจะสร้างพลังอันยิ่งใหญ่ได้

ไปด้วยแนวคิดสีเขียวที่ช่วยสร้างให้งานศิลปะ ยั่งยืนโดยไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ดังตัวอย่าง The Lee Valley White Water Centre สถานที่สำ�หรับแข่งกีฬาทางนำ�ใน มหกรรมกีฬาโอลิมปิก ในคอลัมน์ Green Style ซึง่ ได้รบั การชืน่ ชมจากทัว่ โลกด้านสถาปัตยกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อม ในบ้านเราเอง ดีกรีการแข่งขันทั้งแง่ของ การออกแบบและธุรกิจก็จัดว่าไม่ด้อยกว่าที่ไหน ในโลก แต่ท้ายที่สุด แนวคิดดีไซน์เหล่านั้นต่าง สะท้อนออกมาในมุมเดียวกัน คือ ทำ�อย่างไรให้ ไม่เบียดเบียนโลกและผูค้ นในสังคม ดังเช่นผลงาน ของทีมงานออกแบบ-ตกแต่งโชว์รูมรถยนต์ BMW Millennium Auto สาขาพระราม 3 ตอบโจทย์ความเรียบแต่โก้หรูสไตล์ Bauhaus ได้อย่างลงตัว โดยไม่ลืมใส่ใจโลกใบนี้ ด้วย การออกแบบระบบประหยัดพลังงานต่างๆ ชาคริต วรชาครียนันท์ ให้โชว์รูมนี้เป็นอาคาร “สีเขียว” ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผลงานบ้านสะเทินนำ�สะเทินบกจาก บริษัท ร้อกเวิธ จำ�กัด (มหาชน)


EDITOR'S VIEW

Competitions exist everywhere. Not just in the race fields of this year’s 2012 Olympics, but in the arts and design world, designers are busy competing against each other to come up with an array of innovative and mesmerising designs yet.

02

In this E-Edition of 8HOURS, we proudly present impressive design projects that make the London 2012 Games unique in each and every way. This includes the wearable sculptures of a new-coming jewellery designer, Ute Decker, whose works are parts of the London Festival of Architecture 2012, to the eco-conscious Olympic venue like the Lee Valley White Water Centre in our Green Style column. Then back to our home ground Thailand, where the theme of living together with others and nature is also ubiquitous. A good example of this concept is the architectural and interior design of the BMW Millennium Auto showroom at Rama III that fuses the smart elegance of a Bauhaus style with the building’s environmentally-friendly infrastructure. While another local favourite of ours is the amphibious house by Chutayaves

Sinthuphan of Site Specific Co., Ltd. which shows how we can adapt our way of life to meet the nature environment. And lastly, as a company that cares for our mother earth, Rockworth is so proud that our new factory at Sri City, Chennai in India was awarded the first gold medal eco-friendly factory and office of the India’s furniture industry certified by the India Green Building Council under the standard of the United States Green Building Council. Not only that, we hope there will be more people and even more organisations who want to join this “green path”. We believe all our small efforts can turn into a big impact towards a sustainable environment if we do it together. Chakrit Vorachacreyanan Executive Vice President ROCKWORTH PUBLIC COMPANY LIMITED


RADAR

• LONDON 2012 FESTIVAL • DESIGN TOKYO 2012 • EXPO CHICAGO 2012 • THE 2012 FENTRESS

GLOBAL CHALLENGE


RADAR

LONDON 2012 FESTIVAL

DESIGN TOKYO 2012

EXPO CHICAGO 2012

21 JUNE - 9 SEPTEMBER LONDON, UK

4 - 6 JULY TOKYO, JAPAN

20 - 23 SEPTEMBER CHICAGO, USA

เทศกาลใหญ่ยักษ์ที่จัดขึ้นทั่วประเทศอังกฤษ เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสที่อังกฤษได้เป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ถือเป็นเทศกาลที่ รวบรวมการแสดงไว้มากที่สุดถึง 12,000 โชว์ โดยมีศิลปินชั้นนำ�พร้อมใจเข้าร่วมฉลองงาน London 2012 ครั้งนี้จากทั่วทุกมุมโลก ภายใน งานมีศลิ ปะทุกแขนงไม่วา่ จะเป็น การเต้น ดนตรี ละคร อาหาร งานศิลปะ แฟชั่นโชว์ ภาพยนตร์ หนังสือ ผู้สนใจสามารถจองตั๋วเข้าชมงาน และ ดาวน์โหลดโบรชัวร์ของงานเพื่อวางแผนการ เข้าชมได้

ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ให้ความสำ�คัญกับการดีไซน์ และมีงานแฟร์ดๆี จัดขึน้ อย่างสม่�ำ เสมอ รวมทัง้ Design Tokyo 2012 ครั้งที่ 3 ซึ่งจัดขึ้นเป็น ประจำ�ทุกปีที่โตเกียว บิ๊ก ไซท์ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยรวบรวมผลงานการออกแบบ ล่าสุดจากดีไซเนอร์ที่มีชื่อเสียงจากทั่วทุกมุม โลก และเป็นศูนย์รวมสินค้าอุปกรณ์ตกแต่ง บ้านทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นเฟอร์นิเจอร์แนว โมเดิรน์ ของแต่งบ้านหลากสไตล์ ของใช้ทเ่ี น้น แนวคิดอนุรกั ษ์ เครื่องครัวดีไซน์เก๋ ตลอดจน ของใช้สำ�หรับเด็กและสัตว์เลีย้ ง งานนีค้ าดว่า จะได้รบั ความสนใจจากผู้ที่รักงานดีไซน์อย่าง ล้นหลามเช่นเคย

อีกหนึง่ นิทรรศการน่าสนใจทีร่ วบรวมงานหาดูยาก มาไว้ในทีเ่ ดียว งาน Expo Chicago 2012 เป็น นิทรรศการงานศิลปะร่วมสมัยและนำ�สมัย ซึ่ง รวมเอางานดีไซน์นานาชาติมาไว้ด้วยกัน จัดขึ้น ที่ Navy Pier สถานที่สำ�คัญทางประวัติศาสตร์ ของเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐ อเมริกา นอกจากงานนี้จะเป็นการรวบรวม ผลงานระดับพรีเมียมเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ ให้กับการจัดแสดงงานนิทรรศการศิลปะแล้ว ยังเป็นงานชุมนุมของผู้มีใจรักงานศิลปะโดยแท้ งานนี้คอศิลปะไม่ควรพลาดอย่างยิ่ง

The spectacular 12-week, UK-wide celebration brings together leading artists from across the world celebrate the huge range, quality and accessibility of the UK’s world-class culture, and give the opportunity for people across the country to celebrate the London 2012 Olympic and Paralympic Games. This national fest features over 12,000 shows by leading artists from all over the world with all forms of arts such as dancing, music, theatre, food, fashion, film, etc. www.festival.london2012.com

04

A delightful event for all design aficionados! This annual design exhibition, held for the third year at Tokyo Big Sight, Tokyo, Japan, is going to be packed to the roof with design extravaganza from all over the world such as modern furniture, kitchenware, eco-friendly products and toys. www.designtokyo.jp/en

Expo Chicago 2021, dubbed as the inaugural international exposition of contemporary and modern art and design, will open the fall art season, featuring leading international galleries and offering a curated blend of contemporary and modern art and design. The event, held at Navy Pier in Chicago, will attract the world’s top artists, thinkers, curators and collectors, all with the common aim of fostering new dialogue within the international art community. www.expositionchicago.com


RADAR

THE 2012 FENTRESS GLOBAL CHALLENGE COMPETITION

ออกแบบภายใน สามารถเข้าร่วมการแข่งขัน ได้ทั้งประเภททีมและประเภทเดี่ยว โดยงาน ออกแบบที่ส่งเข้าประกวดจะต้องตอบโจทย์ ดังต่อไปนี้ - เทรนด์ของที่ทำ�งานในอนาคตเป็นอย่างไร? - ที่ทำ�งานในอนาคตจะมีหน้าตาและการใช้งาน อย่างไร? - วัตถุประสงค์ขน้ั พืน้ ฐานของทีท่ �ำ งานคืออะไร?

โอกาสดีส�ำ หรับนิสติ นักศึกษาทีว่ าดฝันอยากเป็น สถาปนิก กับการแข่งขัน The 2012 Fentress Global Challenge การออกแบบสถานทีท่ �ำ งาน ในอนาคต รวมทัง้ เทคนิคการบริหารพืน้ ที่ ซึง่ จัด เป็นประจำ�ทุกปีโดย Fentress Architect บริษทั รับออกแบบระดับโลกทีม่ ชี อ่ื ในด้านการออกแบบ สิง่ ปลูกสร้างสาธารณะ อย่าง สนามบินแห่งชาติ พิพธิ ภัณฑ์แห่งชาติ ศูนย์การประชุมนานาชาติ โดย ผูเ้ ข้าร่วมต้องเป็นนิสิตนักศึกษาที่กำ�ลังศึกษาอยู่ หรือนิสิตนักศึกษาที่เพิ่งจบใหม่ แต่ยังไม่ได้เข้า ทำ�งานในบริษัทใด จากคณะสถาปัตย์ หรือ

ผู้ที่สนใจเข้าแข่งขันสามารถลงทะเบียนก่อน วันที่ 6 ส.ค. 2555 โดยสามารถส่งผลงานเข้า ประกวดได้ตั้งแต่วันนี้ จนถึงวันที่ 3 กันยายน 2555 ประกาศผลผู้ชนะวันที่ 24 ตุลาคม โดยผู้ ชนะเลิศรางวัลที่ 1 จะได้รับเงินรางวัล 10,000 เหรียญสหรัฐฯ ใบประกาศนียบัตร พรอ มโอกาส ฝึกงานทีส่ �ำ นักงาน Fentress Architect ประเทศ สหรัฐอเมริกา และจะได้จัดนิทรรศการแสดง www.fentressarchitects.com/edge/globalผลงานที่ชนะการประกวด ผู้ชนะที่ 2 จะได้รับ challenge เงินรางวัล 1,000 เหรียญสหรัฐฯ พรอมทั้ง ใบประกาศนียบัตร ส่วนผู้ชนะที่ 3 จะได้รับเงิน รางวัล 500 เหรียญสหรัฐฯ และใบประกาศนียบัตร

05

The Fentress Global Challenge is an annual international competition created to engage students worldwide in the exploration of future design possibilities in public architecture. For the Second annual competition, students are invited to envision the Workplace of the Future. Students currently studying at college level in Architectural or Interior Design program are encouraged to apply either as an individual or as a team for a chance to win scholarships and 4-week all-expense -paid internship at Fentress Architects. Registration deadline: 6 August 2012. Submission deadline: 3 September 2012.


IN FOCUS

ARCHITECTURAL JEWELLERY IN THE OLYMPIC PARK

PHOTO: UTE DECKER, ELKE BOCK

มหกรรมกีฬาที่กำ�ลังจะเกิดขึ้นในประเทศอังกฤษปีนี้ มิใช่แค่งานเดียวที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจำ�นวนมหาศาลให้มาเยือนมหานคร ของโลกอย่างลอนดอน หากยังมีงานที่น่าสนใจในแวดวงสถาปัตยกรรมอย่าง เทศกาล London Festival of Architecture หรือ LFA ที่ได้รับการยอมรับและรู้จักกันดีในแวดวงนักสร้างสรรค์ระดับโลก 06


IN FOCUS

1

2

London Festival of Architecture เริ่มต้น ขึ้นเมื่อปี 2004 โดย London Architecture Biennale หรือ LAB โดยเป็นการจัดแสดง ผลงานทางสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจเลียบไป ตามถนนบริเวณ Clerkenwell ซึ่งถือเป็นย่าน ที่มีสถาปนิกอยู่รวมตัวกันต่อตารางเมตรมาก ที่สุดในโลก ในระยะเริ่มต้นของการจัดงานผู้จัด มุ่งเน้นไปในหมู่ผู้สนใจชาวอังกฤษเป็นหลัก โดย มีผู้สนใจร่วมงานครั้งแรกจำ�นวน 15,000 คน และมีจำ�นวนมากขึ้นมาโดยตลอด เทศกาลนี้เป็นการร่วมมือกันระหว่างองค์กร ด้านวัฒนธรรมระดับแนวหน้าของอังกฤษอย่าง The Architecture Foundation, British Council, New London Architecture และ Royal Institute of British Architects London โดยถือเป็นครั้งแรกที่มีการจัดงานในรูปแบบ สากล ภายใต้ธีม “The Playful City” ซึ่งมี 3 จุดประสงค์เพือ่ ให้ชาวลอนดอนและนักท่องเทีย่ ว ได้มีส่วนร่วมกับตัวเมืองลอนดอน ด้วยการ ตีความสถานที่แต่ละแห่งขึ้นมาใหม่ผ่านสื่อ ศิลปะอย่างอนิเมชั่นและศิลปะการจัดวางที่ จัดแสดงอยู่บริเวณสถานที่ต่างๆ ภายในตัว 1. กำ�ไล “Minimalism II” | วัสดุ: เงินรีไซเคิล 100% เมืองโดยล้อไปกับสภาพแวดล้อมของเมืองใน 2. ประติมากรรมบนข้อมือ “Curvature II” | วัสดุ: ขณะเดียวกัน ซึง่ ภายในงานได้มีการคัดเลือกผล งานที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของเหล่า เงินรีไซเคิล 100% 3. แหวนซ้อนแหวนทองแท้ “PURE Double Ring” | สถาปนิกและศิลปินมากมายที่มาช่วยสร้างสีสัน วัสดุ: ทองคำ�ทีไ่ ด้มาจากการค้าขายอย่างเป็นธรรม ให้กับงานระดับโลกทางสถาปัตยกรรมครั้งนี้

07

และคงไม่ใช่เรื่องธรรมดาที่จะมีนักออกแบบ จิวเวลรีส่ กั คนได้จดั แสดงผลงานในเทศกาลใหญ่ ระดับ London Festival of Architecture แต่ สำ�หรับ Ute Decker (อูเทอ เด็คเกอร์) อดีต นักหนังสือพิมพ์ชาวเยอรมันผู้จบการศึกษาด้าน เศรษฐศาสตร์การเมือง แล้วผันตัวเองมาเป็น ดีไซเนอร์เจ้าของผลงานออกแบบจิวเวลรี่เชิง สถาปัตยกรรมผูป้ ระสบความสำ�เร็จระดับโลกแล้ว ถือได้วา่ ผลงานของเธอได้รบั อิทธิพลทางการ ออกแบบและความคิดมาจากมุมมองทาง สถาปัตยกรรมโดยตรง จึงทำ�ให้ผลงานของเธอ ได้รับการทาบทามเพื่อเข้าร่วมแสดงงาน ผลงานของ Decker โดดเด่นด้วยสไตล์มนิ มิ ลั รูปทรงเรียบ เท่ แปลกตา มีเอกลักษณ์ไม่เหมือน ใคร ตลอดจนการนำ�วัสดุรีไซเคิลมาใช้และการ ผสมผสานหลากหลายวัสดุที่ทำ�ให้งานน่าสนใจ มีมติ ทิ ง้ั ในเชิงรูปทรงและเนือ้ หาซึง่ สะท้อนสภาพ สังคมและสิง่ แวดล้อมในเวลาเดียวกัน เธอตั้งใจ ให้ผู้เข้าร่วมชมงานตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบทีเ่ กิดจากสังคมโดยรวมผ่านทางผลงาน จิวเวลรี่ของเธอเอง Decker เริม่ เป็นทีร่ จู้ กั จากงานประติมากรรม ที่สามารถสวมใส่ได้ของเธอซึ่งทำ�มาจากเงิน รีไซเคิลและเรซินที่มีส่วนผสมจากพืช เธอได้รับ การยอมรับระดับโลกหลังจากสร้างสตูดิโอของ ตนเองภายในเวลาเพียง 1 ปี (ช่วงปี 2010) ซึง่ เธอได้รบั การยอมรับในฐานะ Trendsetter


IN FOCUS

“Suspended Rectangles” | วัสดุ: เงินรีไซเคิล 100%, เส้นไหมถักโครเชต์สีแดง และเส้นด้ายสเตนเลส

และเป็นหนึ่งในนักจิวเวลรี่ที่สร้างแรงบันดาลใจ ที่สุดคนหนึ่งของอังกฤษ ที่สำ�คัญเธอยังเป็นนัก ออกแบบจิวเวลรีค่ นแรกทีส่ ร้างสรรค์คอลเลคชัน่ ทองคำ�ที่ได้มาจากการค้าขายอย่างเป็นธรรม (Fairtrade and Fairmined) เธอมีความเชือ่ ว่า วัตถุแต่ละชนิดมีความหมาย มากกว่าประโยชน์ใช้สอย แนวคิดในการทำ�งาน ของเธอได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาญี่ปุ่นอย่าง “วาบิ ซาบิ” ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงความสำ�คัญของ “พื้นที่” อาทิ ความเงียบระหว่างตัวโน้ตที่สื่อ มาถึงผลงานของเธอที่มีความสอดประสานกัน ระหว่างรูปทรงที่สร้างสรรค์และพื้นที่ว่างเปล่า อันกลายมาเป็นจุดเด่นในงานของ Decker ซึ่ง ไม่ใช่แค่เพียงเครื่องประดับ หากเป็นงานศิลปะ ที่สามารถสวมใส่ได้ไม่ซำ�ใคร “ความงดงาม” ในนิยามของเธอจึงไม่ใช่แค่ ความพยายามตั้งใจในการรังสรรค์งานแต่ละ ชิ้น และยิ่งไม่ใช่ความสมบูรณ์แบบที่หลายคน นึกถึง หากเป็นการทิ้งร่องรอยของการทำ�งาน ไม่ว่าจะเป็นการขึ้นรูป โค้งงอ และเชื่อมต่อกัน ของแต่ละชิ้นส่วนเป็นความงามจากงานฝีมือ อันแสดงให้เห็นถึงความเป็นมนุษย์ที่ไม่มีใคร สมบูรณ์พร้อมไปเสียทุกอย่าง

08

“สำ�หรับฉันแล้ว การขึ้นรูปของงานจิวเวลรี่ หรือในงานประเภทอื่นนั้น เป็นเรื่องของการนำ� เสนอไอเดียความคิดที่เป็นนามธรรม ความ รู้สึกทางด้านสุนทรีย์และความเชื่อ นั่นจึงเป็น เรื่องสำ�คัญมากที่ความงามของผลงานแต่ละชิ้น ของฉันไม่ได้มแี ต่ภายนอกเท่านัน้ แต่ยงั อยูท่ ส่ี ว่ น สำ�คัญอย่างแหล่งกำ�เนิดของวัสดุแต่ละชนิดที่ ถูกเลือกนำ�มาใช้และการใช้มือในการประดิษฐ์ ผลงานขึ้นมาที่ละชิ้นในสตูดิโอของฉันเอง” แน่นอนว่าจำ�นวนนักท่องเที่ยวหลายล้านคน ที่จะเข้ามาเที่ยวชมงานมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ที่ลอนดอนในครั้งนี้ อาจมีเพียงส่วนหนึ่งที่มี โอกาสได้ชมผลงานของเธอ แต่เชื่อได้ว่าความ โดดเด่นความน่าสนใจในฐานะงานสถาปัตยกรรม และประติมากรรมที่สวมใส่ได้ของ Decker คงจะสร้างความประทับใจให้ผคู้ นจำ�นวนไม่นอ้ ย

งานอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจภายใน London Festival of Architecture ระหว่างวันที่ 23 มิ.ย. - 8 ก.ค. The Floating Cinema ดีไซน์โดย Je Ahn and Maria Smith เป็นเรือขนาด 12 ทีน่ ง่ั ที่เก๋ไก๋ด้วยการฉายภาพยนตร์ในขณะที่ มุ่งสู่งานโอลิมปิก อีกทั้งยังมีงานสัมมนา พูดคุยที่น่าสนใจเลียบไปตามคันคลอง และชมวิวธรรมชาติ ซึ่งสามารถศึกษา วัฒนธรรมไปด้วยในขณะเดียวกัน Fast, Faster, Fastest ผลงานการ ออกแบบสะพานที่มุ่งสู่ Olympic Stadium โดดเด่นด้วยแสงสีทำ�ให้ผู้ มาเยี่ยมชมสามารถวิ่งแข่งกับฮีโร่ของ ตัวเองเสมือนกำ�ลังอยู่บนลู่วิ่งในระยะทาง 100 เมตร Fantasticology มีทม่ี าจากคำ�ว่า Fantastic และ Archaeology ผลงานของ Klassnik Corporation นำ�เสนองานคอนเซ็ปต์ดไี ซน์ โดยใช้พนั ธุไ์ ม้มากมายทีม่ สี สี นั ดึงดูดสายตา มาผสมผสานกัน ตลอดจนการจัดวางที่ สามารถชมความงามได้หลากหลายมุม โดยเฉพาะถ้ามองมาจากด้านบน ก็จะเห็น แพทเทิร์นเรขาคณิตซึ่งช่วยสร้างความ น่าสนใจให้บริเวณงานโอลิมปิกยิ่งขึ้น


IN FOCUS

THE UPCOMING MEGA -ATHLETIC EVENT DUE TO TAKE PLACE IN THE UK THIS YEAR ISN’T THE ONLY REASON PEOPLE ARE HEADING TO LONDON NOW. IT'S THE LONDON FESTIVAL OF ARCHITECTURE (LFA) THAT MAKES THE PLACE EVEN MORE INEVITABLE TO MISS. Started in 2004 by the London Architecture Biennale (LAB), the event takes a form of inspiring architectural installation display along the road in Clerkenwell, the area that has the highest number of architect populations in the world. And the number of participants continues to grow drastically from just only 15,000 in its first year. This exhibition is the collaboration between England’s leading cultural organisations, including the Architecture Foundation, the British Council, the New London Architecture and the Royal Institute of British Architects London, under the theme of ‘The Playful City’. Londoners and its visitors will be able to take part in interpreting London and its places through different artistic mediums such as animations and installations around town. One notable artist taking part in this exhibition is the ‘architectural jeweller’, Ute Decker, a German journalist-turneddesigner whose fabulous design has

09

been directly influenced by architectural concepts and perspectives. Her style is marked by its distinct sense of minimalism, bold and striking shapes as well as the use of recycled materials. Renowned by her wearable arts made of recycled silver and bio-resin, Deckers was voted ‘trendsetter’ and one of ‘Britain’s most inspirational jewellery designers’ within a year after establishing her studio in 2010. She is also one of the first jewellery designers worldwide to create her collection with Fairtrade and Fairmined gold. Her creations are not only pieces of jewellery but also unique pieces of art. For her, each object carries a meaning beyond its functional use. Her ethos is influenced by the ancient Japanese philosophy of "wabi sabi": as the silence between musical notes is vital, so does the harmony between the created form and the empty space. Her concept of beauty isn’t simply by creating a perfect piece but by leaving small marks of the work-process of bending, forming and joining the hand-made quality of crafting remains visible a a humble recognition of our human flaws and imperfections. “For me, creating a form, be it in jewellery or any other medium, is a very personal abstract expression of my ideas, aesthetic sensitivity as well as values. Consequently, it is important to me that the beauty of my pieces is not only on the outside but also is an integral part; from the mindful choice of the materials’ provenance through to the careful hand-crafting of each individual piece in my studio,” said Deckers. Her solo exhibition in the London Festival of Architecture this July will showcase her signature one-of-a-kind and smallseries pieces in recycled silver and Fairtrade gold at the Corner Shop Gallery on Clerkenwell Green.

Other highlights in the London Festival of Architecture (23 June – 8 July 2012) The Floating Cinema by Je Ahn and Maria Smith takes a shape of a 12seat boat that sails though London waterways while hosting a variety of programmes such as on-board screenings, quirky canal tours, talks and workshops.

Fast, Faster, Fastest is a 100-metre long interactive light-based artwork that challenges people to race against the speed of their sporting heroes on one of the Olympic Stadium bridges.

Fantasticology or the 'FantasticArchaeology' by Klassnik Corporation is the wildflower meadow that acts as a floral celebration of the industrial heritage of the London 2012 Olympic Park. Recreating the footprints of the industrial buildings which previously occupied the location through patterns of coloured planting.


GREEN STYLE

THE LEE VALLEY WHITE WATER CENTRE

SUSTAINABLE SPORTS CENTRE


GREEN STYLE

มหกรรมกีฬาโอลิมปิก 2012 ที่กำ�ลังจะเริ่มขึ้นกลางกรุงลอนดอนในอีกไม่กี่วัน ข้างหน้านี้ นอกจากจะมีความน่าสนใจในแง่ของสถานที่จัดการแข่งขันที่เคยได้รับ การคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพมาแล้วถึง 2 สมัยคือ ในปี 1908 และ1948 ในอีก 64 ปี ถัดมา ซึ่งก็คือครั้งนี้ ถือเป็นครั้งสำ�คัญที่มหานครของโลกอย่างลอนดอนจะได้แสดง จุดยืนความเป็นศูนย์กลางศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ตลอดจนเมืองแห่งความคิด สร้างสรรค์ด้านการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้จากสถาปัตยกรรมและ การจัดการด้านพลังงานภายในการแข่งขันกีฬานานาชาติครั้งนี้ หนึ่งในศูนย์กีฬาที่ได้รับการชื่นชมและยอมรับ ในแง่ของสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมสำ�หรับ งานโอลิมปิกครัง้ นีไ้ ด้แก่ The Lee Valley White Water Centre ซึ่งตั้งอยู่ที่ Hertfordshire ทาง ตอนเหนือของลอนดอน โดยสร้างขึ้นมาเพื่อ เป็นสถานที่สำ�หรับแข่งกีฬาทางนำ�ในมหกรรม กีฬาโอลิมปิก 2012 ซึ่งก่อนหน้านี้มีชื่อเรียกว่า Broxbourne White Water Canoe Centre ใช้งบประมาณในการสร้างกว่า 32 ล้านปอนด์ และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการไปเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 โดยเป็นโครงการแรกที่สร้าง เสร็จก่อนการงานโอลิมปิกถึง 18 เดือน จุดเด่นของของ Lee Valley อยูต่ รงทะเลสาบ ที่มีความลึก 1.2 เมตรซึ่งสร้างขึ้นพร้อมกับ การออกแบบระบบคลื่นนำ�เลียนแบบธรรมชาติ อันเป็นผลงานการออกแบบของ Faulkner Browns ที่มีสถานีปั๊มนำ�ของตัวเองและมีระบบ 11

จัดการนำ� ซึ่งใช้พลังงานทดแทนจากธรรมชาติ อีกด้วย ภายใน Lee Valley ยังมีความโดดเด่น ในแง่ของประโยชน์ใช้สอยและการออกแบบ ที่ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อม เนื่องมาจากการบริหาร จัดการพืน้ ทีใ่ ห้มเี ส้นทางนำ� 2 สายให้เลือกเล่นคือ สาย Olympic สำ�หรับใช้ในการแข่งขันโอลิมปิก และสำ�หรับนักกีฬาแคนูทม่ี คี วามเชีย่ วชาญ และ สาย Legacy สำ�หรับนักกีฬาใช้ในการฝึกซ้อม และสำ�หรับบุคคลทัว่ ไปตลอดจนเยาวชนทีส่ นใจ ในกีฬาประเภทนี้ เส้นทางนำ� 2 สายที่อยู่ในศูนย์กีฬาแห่งนี้มี ความสำ�คัญอย่างมากในแง่สง่ิ แวดล้อม เนือ่ งจาก เส้นทางสาย Legacy ใช้พลังงานในการจัดการ น้อยกว่าสาย Olympic ถึงร้อยละ 80 และใช้ พลังงานน้อยกว่าศูนย์กีฬาทางนำ�ทั่วไป ซึ่งปกติ แล้วศูนย์กฬี าทางนำ�ล กั ษณะนีม้ กั จะเป็นสถานที่ ที่มีการใช้พลังงานสูง เนื่องจากต้องใช้พลังงาน

ภาพถ่ายมุมสูง ซึ่งแสดงถึงความยิ่งใหญ่ของ ระบบคลืน่ เลียนแบบธรรมชาติ ผลงานออกแบบ ของ Faulkner Browns ที่มีสถานีปั๊มนำ�ของ ตัวเองและระบบการจัดการนำ�จากพลังงาน ทดแทน


GREEN STYLE

นอกจาก Lee Valley White Water Centre แล้ว ภายในงาน โอลิมปิกครั้งนี้ ยังมีสถานที่อีก หลายแห่งที่ให้ความสำ�คัญด้าน สิ่งแวดล้อม อาทิ

อาคารต้อนรับได้รบั การออกแบบให้ใช้พลังงานอย่างประหยัดและคำ�นึงถึงสิง่ แวดล้อมเป็นหลัก ในการปั๊มนำ�เข้าสู่ทะเลสาบเพื่อให้เกิดคลื่นนำ� ใกล้เคียงกับธรรมชาติ ดังนั้นจึงต้องมีการคิดค้น วิธีใช้พลังงานไฟฟ้าจากปั๊มนำ�ให้ประหยัดทีส่ ดุ ด้วยการออกแบบเพือ่ ให้ทะเลสาบสามารถกักเก็บ นำ�ให้ได้มากที่สุด มีการระเหยน้อยที่สุด และมี การนำ�นำ�จ ากแหล่งนำ�ใ ต้ดนิ มาใช้ การออกแบบ ระบบดูแลคุณภาพนำ�ในทะเลสาบอย่างมี ประสิทธิภาพและชาญฉลาดนี้เอง มีส่วนทำ�ให้ การนำ�นำ�ฝนจากทะเลสาบที่กักเก็บไว้ ตลอดจน นำ�บาดาลสะอาด และมีคุณภาพเหมาะสำ�หรับ การใช้งานภายในศูนย์กีฬา จึงช่วยลดการใช้ ไฟฟ้าจากปัม๊ นำ�ใ นการดูดนำ�จ ากภายนอกในทีส่ ดุ นอกจากนี้อาคารอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ภายในศูนย์ อาทิ พืน้ ทีต่ อ้ นรับแขก, ร้านอาหาร, ห้องเปลีย่ น เสื้อผ้า, ส่วนชมการแข่งขัน หรือแม้กระทั่งห้อง

12

เก็บอุปกรณ์ยังได้รับการออกแบบให้คำ�นึงถึง สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เนื่องด้วยพลังงานเกิน กว่าร้อยละ 20 ที่ใช้งานภายในศูนย์ รวมถึง พลังงานที่นำ�มาใช้สำ�หรับปั๊มนำ�เข้าสู่ทะเลสาบ ก็ล้วนมาจากการใช้แหล่งพลังงานทดแทน อย่างการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ช่วยทำ�ให้ Lee Valley มีความสำ�คัญทั้งในแง่สถานที่จัด กิจกรรมกีฬาทางนำ�และมีประโยชน์ต่อชุมชน โดยรอบ The Lee Valley White Water Centre จึงเป็นศูนย์กฬี าทีไ่ ด้รบั การยอมรับในแง่คณ ุ ภาพ ความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม และยังเป็นต้นแบบ สำ�หรับศูนย์กีฬาแห่งอื่นๆ ที่ต้องการลดการใช้ พลังงานเพื่อความเป็นอยู่อย่างยั่งยืนในอนาคต

สถานีปั๊มนำ� Pudding Mill Lane pumping station ออกแบบโดยบริษัท John Lyall Architects ซึ่งได้รับรางวัล จาก New London Architecture Award และถูกนำ�มาใช้ในงานโอลิมปิกในครั้งนี้ จุดเด่นอยู่ที่การออกแบบทีส่ วยงาม เปิดให้ คนภายนอกได้เห็นการทำ�งานของระบบ ตัวแท็งก์เรืองแสงตอนกลางคืน ประหยัด ค่าก่อสร้างมากกว่าคอนกรีตและ สวยงามกว่า อีกทั้งยังใช้นำ�ที่มาจาก การรีไซเคิลเป็นหลักช่วยลดการใช้นำ� ภายในงานโอลิมปิก The Old Ford Water Recycling Plant ซึง่ ดีไซน์โดยบริษทั John Lyall Architects ด้วยเช่นกัน สถานีรไี ซเคิลนำ�แ ห่งนีม้ บี ทบาท สำ�คัญในการรีไซเคิลนำ� เพือ่ นำ�มาใช้ส�ำ หรับ การกดชักโครกในห้องนำ�ในงานโอลิมปิก ซึ่งคาดว่าจะมีส่วนช่วยลดการใช้งานนำ� จากท่อนำ�ไ ด้ถงึ ร้อยละ 58 อีกทัง้ ยังมีดไี ซน์ สวยงามเข้ากับสิ่งแวดล้อม ด้านบนสถานี ใช้วสั ดุไม้ ส่วนด้านล่างของตัวอาคารเป็นหิน ซึง่ นกหรือแมลงสามารถใช้เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยได้ ช่วยทำ�ให้พน้ื ทีบ่ ริเวณนัน้ มีความเป็นสีเขียว มากขึ้น


GREEN STYLE

Located in Hertfordshire, North of London, the Lee Valley White Water Centre will play host to water sports in the London Olympics

A dual watercourse lessens the impact of energy-hungry water pumps and achieves major savings

Chosen twice as the Olympic hosts in 1908 and 1948, 64 years on London is once again enjoying the same honor in 2012 while exhibiting its glory as the world’s leader in arts, cultures, economy as well as its capacity as the city of creative environmental design as seen from the splendid architecture and energy management in this year’s Olympics.

13

One of the most widely acclaimed architectures of the London 2012 is the Lee Valley White Water Centre. Previously named ‘Broxbourne White Water Canoe Centre’, located in Hertfordshire, north of London, this spectacular venue will play host to water sports in the London Olympics. This £32M construction was officially opened on December 9, 2009 making it the first newly-constructed venue to be completed 18 months ahead of the Games. The Centre boasts a 1.2M deep lake with artificial white water rapids system designed by the renowned Faulkner Browns Architects with its own pumping station with water management system using alternative energy resources. The design reflects its functionality and environmental focus, the white water centre has purpose-built two courses—the Olympic Standard Competition Course

and the Legacy Loop for athlete training purposes and amateur canoeing. These two courses reflect the great importance this centre places on its environmental effect. The Legacy course uses 80% less energy than the Olympic course and on the whole, this state-ofthe-art centre requires less energy than any normal water sport arenas. The centre consumes an intensive amount of energy for its wave-creating water pumps so it was designed to maximise the use of energy by contained as much water as possible in the lake with lowest evaporation rate. To do this, a 1.2M deep lake was created to supply the water for the course. The water for the lake is sourced from an aquifer to minimise potable water demands. The lake design considered the collection of rainfall, minimising evaporation and managing the water level drop when the courses are switched on. The design of


GREEN STYLE

Besides the Lee Valley White Water Centre, there are also other environmentally-friendly constructions which are part of the London Olympics, such as:

Aerial view of the Lee Valley White Water Centre that hosts the canoe slalom events

THIS STATE-OFTHE-ART CENTRE REQUIRES LESS ENERGY THAN ANY NORMAL WATER SPORT ARENAS

14

the lake, with a treatment system, ensures an extremely high water quality standard. In addition to this, the other buildings and constructions in this project, such as the reception area, cafe, changing rooms, spectator viewing zone and equipment storage all have been designed to save the energy with over 20% of its energy being produced from renewable sources including ground source heat pumps and solar collectors. The Lee Valley White Water Centre, acknowledged for both its stunning design and environmentally-friendliness, serves as an exemplarity of an energysustainable sporting arena of the future.

The Old Ford Water Recycling Plant is another fine piece of work by John Lyall Architects. The plant recycles water for flush toilets in the Olympic Park and is expected to provide a 58% reduction in the use of tap water at the park. It also boasts a unique design that uses wood on the upper part and stones on the lower part of the building where birds and bugs can make their homes making the surrounding area even greener. The Pudding Mill Lane pumping station by John Lyall Architects as well has been highly praised for both its beauty and functionality. The sewage pumping station, 2011 winner of the New London Architecture Award, features a see-through wall which is illuminated at night. It also costs much less than concrete wall and is, of course, much finer to behold. The majority of water used in this pumping station is mainly from recycled sources to help reducing the use of water during the Olympics.


MY SPACE + MY DESIGN

ECO DRIVING BMW MILLENNIUM AUTO CO., LTD.


MY SPACE + MY DESIGN

ทุกวันนี้เรากล้าเอ่ยอย่างเต็มปากว่า Bayerische Motoren Werke บริษัท รถยนต์แห่งแรกของบาวาเรีย หรือ BMW คือแบรนด์รถยนต์ที่มีตำ�นาน ทุกอย่างที่ เป็น BMW ผ่านการคิดมาแล้วอย่างดี ที่สุดตั้งแต่ยุคเริ่มต้น

จะใช้สีเบจ เพื่อให้ความรู้สึกผ่อนคลาย สำ�หรับ พื้นที่โชว์รถจะใช้สีเทาเพื่อขับความโดดเด่น ของรถ วัสดุที่ใช้จึงเป็นกระเบื้องด้าน โทนสีถกู กำ�หนดให้เหมือนกันทัว่ โลกคือ สีเบจ และสีเทา เพื่อให้ได้คุณภาพที่ทัดเทียมกันและ เพื่อความเป็นเอกภาพ ส่วนการจัดดิสเพลย์รถ จะออกแบบให้จอดเรียงกันประหนึง่ ว่ารถทุกคัน

จากมอเตอร์ไซค์ในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง สู่ เครื่องยนต์ของเครื่องบิน นี่เองเป็นสาเหตุให้ โลโก้ของ BMW มีลกั ษณะคล้ายใบพัดเครือ่ งบิน ที่กำ�ลังหมุน คุณปิยะเทพ ศิวากาศ ผู้อำ�นวยการฝ่ายการ ขายและการตลาด BMW Millennium Auto Co., Ltd. เล่าให้ฟังถึงตำ�นานของ BMW และ เพิ่มเติมว่า “BMW เป็นรถที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ โดดเด่น มีจุดร่วมของรถทุกรุ่นที่เมื่อมองแล้ว จะรู้เลยว่าเป็น BMW เช่น กระจังหน้าคู่ ไฟคู่ และก็ตวั เสา C ที่ออกแบบมาในลักษณะที่ เป็นโค้งทุกรุ่น เรียกได้ว่า Kink Design ของ บริษัท ทั้งนี้เพื่อให้รถดูสปอร์ตและน่าขับขี่ แม้จะมีการปรับดีไซน์ให้ดูร่วมสมัยตามเวลา แต่จุดร่วมเหล่านี้ยังคงเป็นเอกลักษณ์ของ BMW ทุกยุคทุกสมัย” “นอกจากนี้ โชว์รูมของ BMW ถูกออกแบบ มาให้มีรูปแบบเหมือนกันทั่วโลก หลักการดีไซน์ ของตัว BMW จะออกแบบมาเพื่อให้รถโดดเด่น คุณปิยะเทพ ศิวากาศ ทีส่ ดุ มีการแบ่งแยกพืน้ ทีช่ ดั เจน โดยใช้โทนสี ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายการขายและการตลาด เช่น ส่วนบริการลูกค้า (customer area) BMW MILLENNIUM AUTO CO., LTD. 16

กำ�ลังแล่นอยู่บนถนน เหล่านี้คือจุดเด่นที่ทำ�ให้ BMW มีความแตกต่าง” สำ�หรับโชว์รมู แห่งใหม่ของ Millennium Auto ในสาขาพระราม 3 คุณปิยะเทพ เล่าว่าคอนเซ็ปต์ การออกแบบคือ one of the best in town ที่ นอกจากจะยึดตามแนวทางของ BMW แล้ว สิ่งที่เพิ่มเติมคือการขยายส่วน customer area ให้กว้างขวางขึ้น กล่าวคือจะมีส่วนของศูนย์ บริการสองชัน้ และมีสว่ นทีเ่ ป็นศูนย์ตดิ ตัง้ ระบบ PDI คือโปรแกรมสำ�หรับตัวรถโดยเฉพาะ ซึง่ จะ ทำ�ให้สามารถส่งมอบรถได้เร็ว ลูกค้าก็ได้รับการ บริการที่สะดวกรวดเร็ว ไม่เพียงเท่านี้ โชว์รูมพระราม 3 ยังเน้นการ ออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคำ�นึงถึง คุณภาพชีวิตของพนักงานเป็นหลัก โดยให้ความ สำ�คัญกับอุณหภูมภิ ายในให้เย็นสบาย เพราะหาก พนักงานมีสุขภาพกายและใจที่ดีก็จะส่งผลถึง การบริการลูกค้าที่ดีด้วย แสงจากภายนอก สามารถผ่านเข้ามาในโชว์รูมโดยการติดกระจก ส่วนภายในเลือกใช้หลอดไฟทีเ่ ป็น LED ตลอดจน ออกแบบตัวผนังให้เป็นเกร็ดและช่อง เพื่อช่วย ระบายอากาศในตัวอาคาร ด้วยรูปแบบของการออกแบบโชว์รมู พระราม 3 แน่นอนว่าทุกสิ่งล้วนสร้างสรรค์มาเพื่ออำ�นวย ความสะดวกให้แก่ลูกค้าเป็นอันดับแรก อาทิ ห้องส่งมอบรถใหม่ทล่ี กู ค้าสามารถทดลองสตาร์ท รถได้โดยไม่ต้องออกไปด้านนอก หรือเกรงว่าจะ มีควันรถลอยอยูภ่ ายในเนือ่ งจากมีทอ่ ทีอ่ อกแบบ สำ�หรับสวมเข้ากับท่อไอเสียเพื่อพาก๊าซออกไป


MY SPACE + MY DESIGN

การออกแบบที่เน้นให้ความสะดวกสบายแก่ลูกค้าและพนักงาน เพราะเชื่อว่าหากพนักงาน มีสุขภาพกายและใจที่ดี ก็จะส่งผลถึงการบริการลูกค้าที่ดีด้วย

โชว์รูม Millennium Auto สาขาพระราม 3 สามารถจอดรถได้มากถึง 30 คัน ทั้งชั้นล่าง และชั้นบนที่จัดแสดงรถยนต์ BMW Premium Selection (BMW USED CAR)

หลักการดีไซน์โชว์รูมของ BMW จะออกแบบมา เพื่อให้รถโดดเด่นที่สุด มีการแบ่งแยกพื้นที่ชัดเจน โดยใช้โทนสีเบจในส่วนบริการลูกค้า และสีเทาใน พื้นที่โชว์รถ 17

ด้านนอก นอกจากนีโ้ ชว์รมู ยังได้รบั การออกแบบ ให้เหมาะกับความสะดวกสบาย เพื่อที่ลูกค้าจะ สามารถรับฟังและซักถามข้อสงสัยจากเจ้าหน้าที่ ของโชว์รูมได้นานเท่าที่ต้องการ คุณปิยะเทพ กล่าวเพิม่ เติมอย่างภาคภูมใิ จว่า "โชว์รมู Millennium Auto สาขาพระราม 3 แห่ง ใหม่นถ้ี กู ออกแบบมาเพือ่ เป็นโชว์รมู ทีส่ ามารถจัด แสดงรถยนต์มากที่สุดแห่งหนึ่ง โดยรถรุ่นใหม่ จะจัดแสดงชั้นล่าง ส่วนด้านบนจะเป็นพื้นที่ สำ�หรับรถยนต์ BMW Premium Selection (BMW USED CAR) ซึง่ สามารถจอดรถได้มาก ถึง 30 คัน ซึ่งถือว่าเป็นอาคารที่กว้างขวางมาก สำ�หรับพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพฯ" และอีกสิง่ หนึง่ ทีท่ าง BMW ได้ให้ความสำ�คัญ นั่นก็คือเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในโชว์รูม ซึ่งทุกชิ้นต้อง สะท้อนความเป็นแบรนด์คุณภาพ “BMW เป็น Luxury Brand ดังนัน้ การคัดเลือกเฟอร์นิเจอร์ ก็ต้องพิถีพิถันเป็นพิเศษ การใช้เฟอร์นิเจอร์ที่ สะท้อนถึงความหรูหราของโชว์รูมและสินค้าก็ เป็นอีกปัจจัยสำ�คัญ ดังนั้น Millennium Auto จึงเลือกสินค้าของ Rockworth เพื่อตอบโจทย์ ข้อนี้ อีกทั้งรูปแบบเฟอร์นิเจอร์แบบนี้ได้ก็ถูก กำ�หนดมาจากบริษัทแม่ที่ Munich แล้ว ดังนั้น supplier ทีส่ ามารถตอบโจทย์ระดับนีไ้ ด้ ทัง้ เรือ่ ง รูปแบบ ดีไซน์ ความคงทน ก็มเี พียง Rockworth เท่านั้น" “ผมเชื่อว่าโชว์รูมพระราม 3 จะตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าได้ดี ลูกค้าจะมีโอกาส ได้อยู่กับรถที่เขารัก ได้รับความสะดวกสบาย จากการบริการ เราใส่ใจจนถึงการดีไซน์การเดิน ทางเข้าออกให้สะดวกสบาย ไม่ให้เกิดปัญหา จราจร และยังมีที่จอดรถชั้นใต้ดินที่มากพอ เพื่อรองรับลูกค้าที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตด้วย” คุณปิยะเทพ กล่าวทิ้งท้าย


MY SPACE + MY DESIGN It is no exaggeration to say that Bayerische Motoren Werke is a brand of legends. Bavaria’s first car manufacturer better known as BMW is where design and engineering are carefully thought out. From maker of fine motorcycles during World War II to manufacturer of airplane engine, it is BMW’s heritage that gave birth to its propeller-inspired logo. “Every BMW vehicle has a distinct character. You cannot mistake it for something else: the fenders, the headlights, and the C-shape curve, for examples. These are ‘King of Design’ elements, adding on to the sporting look, but with a universal appeal. Even though these design elements change overtime, they are still very distinctively BMW,” said Mr. Piyathep Siwakas, Vice President of Sales and Marketing at BMW Millennium Auto Co., Ltd. “The attention to design extends to our showrooms. Anywhere in the world, all showrooms are designed to reflect our BMW characters. We use grey and beige colour scheme to define spaces between customer and display areas. Beige is used, with wooden texture, to evoke a relaxing atmosphere. For our display area, cars were arranged on matte grey granite floor, so each vehicle would stand out,” said Mr. Piyathep. “The same colour scheme is used worldwide. Our furniture and stationary too changes every five years to keep up-to-date with the latest design and standard,” he added. The new showroom in Bangkok’s up-and-coming Rama III neighbourhood is the latest embodiment of BMW design. “We take ‘one of the best in time’ concept and try to improve the customer experiences,” said Piyathep. “We have

18

Happy workforce always means happy customers. a bigger customer area with an additional space on the second floor. The service has included the latest PDI system for our new customers, which allows us to deliver our cars to our customers in the most efficient manners.” The Rama III showroom was designed and built with the environment and employees in mind. The temperature inside is well regulated. The building allows for the maximum use of natural light. And all internal light sources come from energy-efficient bulbs. The walls too are perforated for better ventilation, since customers can test the vehicles inside the building. These small but important elements have been added up because they know that happy workplace means happy customers. Everything is designed with the customers in mind: what would be most convenient and helpful for them. For instance, they can test their cars inside the showroom, because the exhaust is connected to a pipe that will suck out the fumes. The space is designed so that customers feel at ease, since they would be spending much time deciding on their new dreamed car. “For a car showroom within inner city of

Bangkok, where space is precious, the Millennium Auto Rama III Showroom is designed to house the most cars. New models will be on displayed on the ground floor and upper floor is home to more than 30 premium used cars,” said Piyathep. Every single piece of furniture inside the showroom is very important to BMW. They must reflect the BMW brand of quality. “BMW is a luxury brand, therefore we must be selective with our furniture, which should complement the cars in our showroom too. Rockworth meets the criteria of BMW International standards in design, form and durability,” Said Piyathep. “I believe our Rama III showroom meets all the needs of our customers. Customers get to spend time with the cars they love and receive the best services from our staff. The design plays an important role in making their experiences a seamless one - no more traffic problems and plenty of parking space for future expansion too,” added Piyathep.


MY SPACE + MY DESIGN

SIMPLY LUXURY ทีมออกแบบ-ตกแต่ง โชว์รูม BMW Millennium Auto Co., Ltd. พระราม 3

“เรียบ โก้ มีระดับ” คือโจทย์ทท่ี มี ออกแบบ และตกแต่งได้รับ โดยต้องดึงเอกลักษณ์ และตัวตนความเป็น BMW ออกมาให้ สามารถสัมผัสได้อย่างเป็นรูปธรรม อาจ จะดูเป็นโจทย์ที่ชัดเจนเรียบง่าย แต่ทว่า แฝงไว้ด้วยรายละเอียดที่ลึกซึ้งในการ ออกแบบ ซึง่ ทีมงานทัง้ 4 ท่าน ก็ได้รว่ ม กันถอดสมการ จนเกิดเป็นผลงานการ ออกแบบที่ลงตัว ทั้งในแง่ความงามและ ประโยชน์ใช้สอย คุณเทพพิทักษ์ ดวงจันทร์ Project Director เล่าถึงความท้าทายของการออกแบบว่า “เนื่องจากอาคารมีความกว้างมาก จึงทำ�ให้ เป็นตึกที่มีความซับซ้อนในการออกแบบมาก ตามไปด้วย เช่น ด้านหน้าซึง่ เป็นพืน้ ทีส่ �ำ หรับ โชว์รถ เราก็ตอ้ งดีไซน์ให้มกี ารใช้เสาน้อยทีส่ ดุ คำ�นวณระยะห่างของเสาให้ยาวขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อเปิดพื้นที่ให้รถลูกค้าเห็นรถได้ชัดเจน” เมือ่ โครงสร้างลงตัวแล้ว คุณวรุณ ลิมป์เฉลิม Executive Director ก็เป็นผู้รับหน้าที่ต่อในด้าน งานสถาปัตยกรรม ซึ่งก่อนที่จะออกแบบงาน สักชิน้ ความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ถึงตัวตนของแบรนด์ เป็นสิ่งที่คุณวรุณให้ความสำ�คัญมากที่สุด “BMW มีต้นกำ�เนิดจากเยอรมัน จึงมี คาแรคเตอร์แบบทีเ่ รียกในเชิงศิลปะว่า เบาเฮาส์ (Bauhaus) คือชื่นชมความตรงไปตรงมา งาน 19

จากซ้ายไปขวา : คุณธีรวัต อัศวเรืองชัย สถาปนิก บริษัท สำ�นักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำ�กัด | คุณวรุณ ลิมป์เฉลิม Executive Director บริษัท สำ�นักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำ�กัด | คุณวัฒนพงษ์ สุขประชา Interior Designer & Control, Millennium Group Corporation | คุณเทพพิทักษ์ ดวงจันทร์ Project Director บริษัท เอ็ทโปร สุมิตร ดีไซน์ จำ�กัด

แทบจะไม่มีเส้นมุมโค้ง แต่จะเป็นเส้นมุมฉาก เสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งก็คือทรงเหลี่ยมหรือกล่อง นั่นเอง เพียงแต่ว่าเหลี่ยมหรือกล่องไหนคือ ความงาม ข้อแตกต่างมันคืออะไร ก็คือราย ละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ที่เรานำ�มาใส่ในการ ออกแบบโชว์รูม สังเกตจากจังหวะการวาง ระนาบของพื้นผิวไม่ได้จบแบบชนมุมเท่านั้น แต่อาจจะมีการยื่นของฝ้าหรือของพื้นออกมา บ้าง จะปรากฏให้เห็นอยู่ทั้งภายนอกและภายใน อาคาร หรือแม้แต่การดิสเพลย์รถแต่ละคันก็จะ ต้องเรียงเป็นมุมฉาก แสดงออกถึงความมีวินัย ของคนเยอรมัน” อีกความชัดเจนในคาแรคเตอร์ของ BMW สะท้อนผ่านสีหลัก คือ เทา และเบจ คุณวรุณ มองว่าสีเหล่านี้จะทำ�ให้อาคารกลายเป็นฉาก หลังที่ทรงพลังซึ่งขับให้ตัวรถโดดเด่นออกมา อย่างสมบูรณ์แบบที่สุด อันเป็นหลักการเดียว กับการออกแบบ Art Gallery “หน้าที่ของผมก็คือสร้างกรอบให้กับผลงาน แต่เราก็ต้องคำ�นึงถึงการใช้งานด้วยเป็นสำ�คัญ เช่น พนักงานบริการก็ต้องอยู่ในส่วนที่มองเห็น ลูกค้าได้ชัดเจน แต่ก็ต้องทิ้งระยะ ให้พื้นที่กับ ลูกค้าด้วย ทั้งนี้เรามีการแบ่งสัดส่วนและจัด วางพื้นที่อย่างชัดเจน คือ พื้นที่จัดแสดง พื้นที่ ออฟฟิศ และพื้นที่รับรองลูกค้า โดยเลือกใช้ การจัดแบ่งด้วยโทนสีของพื้นที่สอดรับกับการ ใช้งาน ทั้งยังช่วยให้ดูโปร่งอีกด้วย โดยส่วน ตัวผมเองมองว่าโชว์รูมขนาดใหญ่ที่อยู่ในเมือง แบบนี้มีไม่มากนัก อาคารนี้จึงถือว่าเป็นหนึ่ง


MY SPACE + MY DESIGN ในโชว์รูมที่มีเอกลักษณ์และสื่อถึงความเป็น BMW ได้อย่างชัดเจนที่สุด” และความชัดเจนในสไตล์ของ BMW ก็ได้รับ การตอกยำ�ในรายละเอียดการตกแต่งภายใน ภายใต้การออกแบบของ คุณวัฒนพงษ์ สุขประชา ซึ่งสอดรับกับทั้งคอนเซ็ปต์ของ BMW ตามที่ได้ รับโจทย์มา แล้วนำ�มาผนวกเข้ากับฟังก์ชั่นการ ใช้งาน ทำ�ให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าสนใจ คือ เรียบโก้ และครอบคลุมการใช้สอยครบครัน “เนื่องจากด้วยอาคารมีพื้นที่ขนาดใหญ่ และ มาตรฐานสากลก็มาจากทาง BMW อยู่แล้วว่า จะต้องมีส่วนไหนบ้าง และควรตกแต่งอย่างไร สิ่งที่ต้องคำ�นึงถึงเป็นพิเศษสำ�หรับการตกแต่ง โชว์รูมของ BMW คือทำ�อย่างไรให้มีสไตล์เรียบ แต่ไม่เล่นกับแสงหรือความเงางามที่ฉูดฉาด มากนัก ทั้งนี้เราก็ได้เพิ่มบางส่วนเข้ามาคือ ส่วนของเลาจน์สำ�หรับต้อนรับลูกค้า ที่ลูกค้า เข้ามาแล้วรู้สึกผ่อนคลาย สัมผัสได้ถึง ความเป็นกันเอง และพื้นที่ตรงนี้ก็ยังเป็น Free

Function สำ�หรับการจัดอีเว้นท์หรือปาร์ตี้ เพื่อ ให้ลูกค้าได้สัมผัสรถอย่างใกล้ชิด เพราะเราได้ ออกแบบระบบแสงไว้อย่างครบครัน ในโทนสีที่ บ่งบอกความเป็น BMW คือ Blue หรือแสง สีนำ�เงินนั่นเอง” ทางด้าน คุณธีรวัต อัศวเรืองชัย ผู้ดูแล ด้านสถาปัตยกรรมอีกท่านกล่าวถึงลักษณะ เฉพาะของอาคารที่นอกจากสวยงามด้วยความ เรียบง่ายแล้ว โชว์รูมนี้ยังมีอีกจุดที่จะตรึงทุก สายตาให้หันมาจับจ้อง “ความพิเศษของที่นี่ คือ อาคาร 5 ชั้น ชั้นบนเป็นกระจกที่สามารถ ดิสเพลย์รถ และมองเห็นได้ไกลจากมุมสูง บวก กับพืน้ ทีน่ อ้ี ยูใ่ กล้สะพานขนาดใหญ่ มีการจราจร คับคั่ง ดิสเพลย์นี้จึงเป็นอีกหนึ่งฟังก์ชั่นที่ช่วย เสริมความโดดเด่นให้กับโชว์รูมขึ้นมา และหาก มองเข้ามาจากภายนอกก็จะเห็นรายละเอียดที่ มากกว่าทรงเหลี่ยม คือ มีส่วนที่ใสและทึบ ที่ไม่ เพียงแต่สวยงาม ยังครอบคลุมถึงการใช้งานจริง เช่น ชายคาทีย่ น่ื ออกไปก็ชว่ ยบังแดดได้ดอี กี ด้วย”

นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว อีกหนึ่งความ ภูมิใจของทีมออกแบบ-ตกแต่ง คือ การคำ�นึง ถึงสิ่งแวดล้อมเป็นสำ�คัญ โดยคุณเทพพิทักษ์ ได้เล่าถึงคอนเซ็ปต์ของอาคารนี้ว่าเป็น Green Building เน้นความเป็นสีเขียว เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยภายในอาคารติดตั้งระบบ ประหยัดพลังงาน ไม่ว่าจะเป็นการใช้หลอด LED ที่มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานน้อยมาก ส่วนเครื่องปรับอากาศก็ใช้ระบบ VRV ที่ไม่ เพียงประหยัดพลังงาน แต่ยังปล่อยสาร CFC ในปริมาณที่ต่ำ�มาก ถึงแม้จะต้องเพิ่มในแง่การ ลงทุนมากขึ้น แต่หากมองในระยะยาวแล้วก็ ถือว่าคุ้มค่ากว่ากันมาก คงไม่มากเกินไปที่จะกล่าวว่าโชว์รูม BMW Millennium Auto พระราม 3 เป็นผลงาน ที่มีส่วนผสมกลมกล่อมและตอบทุกโจทย์ ความต้องการได้อย่างลงตัวจริงๆ

“ส่วนของเลาจน์ส�ำ หรับต้อนรับลูกค้า เพือ่ ให้ลกู ค้าเข้ามาแล้วรูส้ กึ ผ่อนคลาย เป็นกันเอง และยังเป็น Free Function สำ�หรับการจัดอีเวนท์หรือปาร์ตี้ เพื่อให้ลูกค้าได้สัมผัสรถอย่างใกล้ชิด เพราะเราได้ออกแบบระบบแสงไว้ อย่างครบครันในโทนสีที่บ่งบอกความเป็น BMW คือ Blue หรือแสง สีนำ�เงินนั่นเอง” 20


MY SPACE + MY DESIGN "Simple and luxurious" were the brief given to the design team. This may sound rather simple and direct for brief to design a car showroom. But to convey the essence of simplicity and luxury is no easy feat if you are designing for BMW. God is in the details, so a legendary architect once said. And the team of four in this project has managed to achieve just that - by arriving at the right formula where form connects seamlessly The working space allows all the staff to work and take care of the customers effificiently. with function. But behind the polished final product lies immaculate planning and execution. First, the design brief needed to be tackled structurally. "Because plenty of space is needed for the car showroom, we need to design so that the distance between columns is as far apart as possible. Then the display would be unblocked - good for customers browsing for cars," said Project Director, Teppitak Doungjun. Once the structure is in place, Executive Director Waroon Limpchalerm took over. For Waroon, understanding the essence of the brand is prerogative to designing good buildings and interior. "BMW has its origin in Germany. Its character is greatly influenced by the Bauhaus movement. Now in Bauhaus design, curves are uncommon. Designs are generally geometrical, like a box. God is on the details: the beauty of Bauhaus depends very much on the right angle, scale and degree of geometry," said Waroon.

21

The influences of Bauhaus, an early 20th century art and design movement originated in Germany, can be found in this building. "In the showroom, you can spot these tiny design details. If you noticed, the flooring never quite meets the walls. You can spot the edges jutting out. Just about. This principle extends to the display of the cars too, reflecting the German sense of discipline." Colour too is an important element in conveying BMW's brand character. Using the same rationale when designing an art gallery space, Grey and beige were used as backdrop, allowing the cars to take centre stage. "My role as the designer is to 'frame' the products, the cars. Still, we need to consider the usability of the space too. For instance, can customers easily approach the sales advisors - given that the customers need space of their own too. Using the colour scheme and clearly dividing the space into two: one

for exhibition and another for services, we can meet those needs. The result is a spacious showroom that is unmistakably BMW," added Waroon. BMW's distinctive style can also be found in the tiniest of details. "Given the large space we have and BWM's international standard, we have to pay careful attention on how we decorate the showroom," said Interior Designer Watanapong Sukpracha. “My task is to achieve simplicity and luxury without resorting to extravagance. We have added the lounge for our customers for a relaxing and friendly atmosphere. The space is also 'free function', ideal for hosting event or party. Blue light were incorporated in the state-of-the-art lighting system to give that special BMW touch.� Despite the simplicity and luxury, the building is far from bland. "What is special about this five-storey building is that the top floor of this building has a massive glass wall capable of displaying cars


MY SPACE + MY DESIGN

“WE HAVE ADDED THE LOUNGE FOR OUR CUSTOMERS FOR A RELAXING AND FRIENDLY ATMOSPHERE. THE SPACE IS ALSO 'FREE FUNCTION', IDEAL FOR HOSTING EVENT OR PARTY. BLUE LIGHT WERE INCORPORATED IN THE STATE-OFTHE-ART LIGHTING SYSTEM TO GIVE THAT SPECIAL BMW TOUCH.” The offififice space of BMW Millennium Auto Rama III - where form connects seamlessly with function. from high angle and afar," said architect Theerawat Asawareongchai. "Since the building is close to a busy bridge, this is another unique character of the showroom. The building is very resourceful; for example, the canopy can also protect the sunray. The structure is not only functional, but also beautiful." The team is proud of the building's green credentials. Teppitak said the building is designed to be environmentally -friendly. LED, with its low energy use,

22

was used as primary light sources. The VRV air-conditioning system is not only energy efficient, but also emits fewer CFC substances, harmful to the ozone layer. Though the whole Green building costs much more than other conventional building, it is a long-term investment. It is no exaggeration then to say that BMW Millennium Auto Rama III showroom is a beacon of design that answer all the needs.


POSSIBILITY

ARCHITECTURE WITH A VISION PHOTOGRAPHS : SOUNDBOT AND SITE-SPECIFIC COMPANY


POSSIBILITY

นอกจากบ้านแล้ว ชุตยาเวศยังออกแบบโชว์รูมรถยนต์จากตู้คอนเทนเนอร์อีกด้วย

ในช่วงวิกฤตการณ์นำ�ท่วมเมื่อปลายปีที่ผ่านมา ชื่อของ “ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์” สถาปนิกเจ้าของไอเดีย “บ้านสะเทิน นำ�สะเทินบก” กลายเป็นที่รู้จักในหมู่คนไทยมากขึ้น ทัง้ ๆ ทีต่ วั เขาเองนัน้ ได้รบั การยอมรับในระดับ นานาชาติมาก่อนแล้ว ในฐานะสถาปนิก อาจารย์ และนักพัฒนาที่ดิน ผู้สั่งสมการทำ�งานที่สหรัฐฯ มายาวนาน 15 ปี ก่อนจะหอบหิ้วความรู้และ ประสบการณ์มาถ่ายทอดและต่อยอดในบริษัท ไซต์ สเปซิฟิก จำ�กัด “ผมเริ่มรวมกลุ่มกับเพื่อนๆ ทำ�งานในหัวข้อ Design for Disaster เพราะสนใจเรือ่ งโลกร้อน เราก็คุยกันในกลุ่มว่าเราน่าจะทำ�อะไรเรื่องนี้ ก็ได้ออกมาเป็นแนวคิดเรื่อง ‘บ้านสะเทินนำ� สะเทินบก’ ซึ่งเปิดตัวแบบบ้านไปเมื่อปี 2010 บ้านสะเทินนำ�สะเทินบกในที่นี้ก็คือ บ้านที่อยู่ กับดิน พอนำ�ท่วมบ้านก็จะลอยขึ้นมา ข้างใต้ บ้านจะเป็นทุ่นเหล็กเพื่อช่วยในการลอยตัว ซึ่ง เราเริ่มต้นด้วยการทำ�งานกับชุมชนที่นำ�ท่วม (ก่อนหน้านำ�ท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา) คนก็สนใจกัน เพราะเขาก็ตระหนักอยู่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ แบบนีข้ น้ึ หลังนำ�ทว่ มคนก็ยง่ิ สนใจมากขึน้ ไปอีก” รูปร่างหน้าตาของบ้านสะเทินนำ�สะเทินบกนี้ มองภายนอกก็ไม่ต่างจากบ้านทั่วไป เพียงแต่ ใช้โครงสร้างเป็นเหล็กและมีตวั ฐานรากทีอ่ าจจะ ต้องใช้ค่าก่อสร้างแพงกว่าบ้านแบบปกติ 24

ประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ ตอนนีค้ ณ ุ ชุตยาเวศ ยังอยู่ในระหว่างขั้นตอนการทำ�บ้านตัวอย่าง ให้การเคหะแห่งชาติอยู่ แต่สำ�หรับผู้ที่ไม่มี งบประมาณในการสร้างบ้านใหม่ เขาได้น�ำ เสนอ มุมมองทีน่ า่ สนใจสำ�หรับเตรียมการไว้ลว่ งหน้า เพื่อตั้งรับกับเหตุการณ์คาดไม่ถึงในอนาคต อย่างอุทกภัยว่า “ถ้าเราไม่สามารถปรับเปลี่ยน สถาปัตยกรรมได้ เราก็สามารถปรับเปลี่ยนวิถี ชีวิตของเราแทนได้ อย่างภายในบ้านชั้นล่าง แทนที่จะทำ�ครัวราคาแพงแบบทีเ่ จอนำ�ท ว่ มแล้ว บวมทันที ก็ลองเปลีย่ นมาทำ�ครัวก่อปูน เปลี่ยน โต๊ะเป็นโต๊ะไม้จริง พูดง่ายๆ ก็คือ เฟอร์นิเจอร์ ชิ้นไหนที่อยู่ข้างล่างขนย้ายไม่ได้ก็ทำ�ให้มัน อยูก่ บั นำ�ไ ด้ ข้อดีคอื ของไม่เสียหาย แล้วก็สามารถ คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ ทำ�ความสะอาดได้ ถ้านำ�ท ว่ มขึน้ มาแล้วอยูไ่ ม่ได้ บริษัท ไซต์ สเปซิฟิก จำ�กัด ก็ไม่ต้องอยู่ บางคนทีบ่ า้ นใต้ถนุ สูงก็จะไม่เป็นไร บางคนบ้านสองชัน้ ก็ขนของขึน้ ข้างบนนำ�ลด ก็เอาของลงมา ซึ่งชุมชนในต่างจังหวัดหลาย แห่งเขาก็อยูก่ บั นำ�แ บบนี้ เราก็ตอ้ งปรับตัวกัน มากขึ้น” นอกจากนี้ สถาปนิกหนุ่มไฟแรงยังเป็นที่รู้จัก ในระดับสากลจากผลงานบ้านคอนเทนเนอร์ที่มี


POSSIBILITY

การที่จะได้มาซึ่งงาน สถาปัตยกรรม ไอเดีย และการทำ�วิจัยอย่าง แม่นยำ�ถือเป็นเรื่อง สำ�คัญกว่า

รูปลักษณ์เรียบง่ายสวยงาม มีประโยชน์ใช้สอย ที่สำ�คัญยังมีราคาประหยัดเข้ากับปัจจัยทาง เศรษฐกิจในยุคนี้ “บ้านจากตู้คอนเทนเนอร์เป็นการใช้ คอนเทนเนอร์เก่า คือเอาของใช้แล้วมาทำ�ให้ เกิดเป็นประโยชน์ บ้านหลังนี้ได้รับการโหวต ให้เป็นบ้านที่สร้างแรงบันดาลใจมากที่สุดในปี 2010 คนชอบกันมาก เพราะว่าไอเดียมันง่าย เป็นการเอาคอนเทนเนอร์สองหลังมาต่อกัน กลายเป็นบ้าน วิธีคิดและวิธีทำ�เรียบง่าย ลงตัว ช่างเหล็กทัว่ ไปก็ท�ำ ได้ ผมคิดว่างานสถาปัตยกรรม ที่ดีน่าจะซับซ้อน แต่ในขณะเดียวกันมีโซลูชั่น ทีง่ า่ ย เพียงแต่กว่าจะได้อะไรทีง่ า่ ยนัน้ ต้องผ่าน ขั้นตอนที่ยากมาก่อนเท่านั้นเอง” กล่าวได้ว่า ‘สิ่งแวดล้อม’ มีบทบาทสำ�คัญ แฝงอยู่ในงานออกแบบสถาปัตยกรรมของ ชุตยาเวศทุกชิ้น ซึ่งนอกจากเขาจะไม่ได้ปฏิเสธ แล้ว ยังยืนยันแนวคิดนี้ว่า การตระหนักถึง สภาวะแวดล้อมเป็นสิ่งที่จำ�เป็นต้องมีในงาน สถาปัตยกรรมทุกประเภท “เรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งอยู่ในรากความคิด ของเราอยู่แล้ว มันเป็นสิ่งที่ควรจะมีอยู่ในทุก โครงการ ยกตัวอย่างบ้านโดยทั่วไปควรจะโปร่ง มีลมเข้า-ออก แต่บ้านจัดสรรหรือบ้านที่โมเดิร์น มากๆ อาจจะไม่มี ซึ่งผมก็จะไม่ยอมทำ�บ้าน แบบนั้น ถ้าให้พูดถึงงานสถาปัตยกรรมที่ให้ ความสำ�คัญกับด้านสิ่งแวดล้อมเราก็อาจจะพูด ถึงการนำ� 4R มาใช้ในทางสถาปัตยกรรม เริ่ม จาก Reduce คือ การสร้างบ้านเท่าที่เราต้อง การใช้งาน ใช้วัสดุน้อยลงการขนส่งก็น้อยลง เวลาในการออกแบบก็ลดลง เวลาสร้างบ้านสัน้ ลง บ้านขนาดเล็กลงใช้พลังงานน้อยลง พืน้ ทีส่ เี ขียว 25

มากขึ้น, Reuse ลดการบริโภคภายในบ้าน เช่น นำ�นำ�ที่ใช้ล้างจานมารดต้นไม้, Recycle เช่น การแยกขยะภายในบ้าน และ Renewable คือ ใช้วัสดุหรือสิ่งของที่สามารถทดแทนได้เร็ว เช่น ไม้ เพราะปลูกทดแทนได้ แต่กจ็ ะต้องมีการเลือก ตัดไม้อย่างถูกวิธีด้วย” ส่วนที่มาของแนวคิดในการทำ�งานของเขา นั้น ก็มาจากการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์ หลายรูปแบบ หนึ่งในที่มาเหล่านี้ก็คือ การมี โอกาสได้เข้าไปเรียนในสถาบันที่มีชื่อเสียงด้าน สถาปัตยกรรมศาสตร์ชั้นนำ�ระดับโลกอย่าง มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย “การเรียนที่โคลัมเบียจะเน้นเรื่อง ‘ไอเดีย’ ซึ่งเป็นสิ่งสำ�คัญที่สุด ผมเองตอนเรียนก็เน้น ศึกษาสถาปัตยกรรมในแนว Avant-garde หมายถึงการมองสถาปัตยกรรมโดยเป็นการมอง จินตนาการในสังคม มองไปไกลถึงสังคมใน อนาคตว่าจริงๆ แล้วมีศักยภาพในการพัฒนา เป็นอย่างไร ซึ่งอาจจะยังทำ�จริงไม่ได้แต่เราก็ยัง ได้ศึกษาและพิจารณาปัจจัยต่างๆ ถึงความเป็น ไปได้ ทั้งหมดก็ส่งผลมาถึงการทำ�งานของผม และกลายมาเป็นบริษัท ไซต์ สเปซิฟิกที่เห็นอยู่ ทุกวันนี้” จากเด็กชายทีใ่ ฝ่ฝนั อยากเป็นเชฟแล้วผันตัวเอง อย่างมุ่งมั่นมาเป็นสถาปนิกเพราะมีโอกาสได้ คลุกคลีกบั การสร้างบ้านใหม่ของครอบครัวในวัย เด็ก ในวันนีช้ ตุ ยาเวศได้เป็นส่วนหนึง่ ในการปลูก ฝังความรู้และแนวความคิดให้กับเยาวชนใน ฐานะอาจารย์พิเศษคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่ง เจ้าตัวให้ความสำ�คัญและสนุกสนานกับการ แลกเปลี่ยนทัศนคติกับคนรุ่นใหม่เป็นอย่างมาก

“ผมเชือ่ ในเรือ่ งการทำ�งาน ผมคิดว่าการเรียน กับการฝึกฝนต้องมาด้วยกันเสมอ อย่างผมก็ จะทำ�งานควบคู่ไปกับการสอนตลอดเวลา ตอน ทำ�งานที่นั่น (สหรัฐฯ) ผมต้องแบ่งเวลาไป สอนอยู่หลายแห่ง เพราะการสอนช่วยให้เรา ศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ เราต้องหาข้อมูลที่จะ เข้ามาพัฒนาการเรียนการสอนตลอดเวลา พอ เราพัฒนาความรู้ในเชิงวิชาการแล้ว เราก็ต้อง พัฒนาการฝึกฝนการทำ�งานไปด้วย เพราะมัน จะต้องขนานกันไป ทำ�อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ ผมจึงมีความคิดว่าถ้าคุณไม่สอนคุณก็ต้องเรียน แต่อาจจะไม่ต้องเรียนในห้องเรียน คุณอ่าน หนังสือหรืออะไรก็ได้ แต่ขอให้ตั้งใจจริงเท่านั้น” และในมุมมองของอาจารย์และสถาปนิกที่ให้ ความสำ�คัญกับการทำ�งานเพือ่ สังคมแล้ว กว่าจะ ได้มาซึ่งงาน ‘สถาปัตยกรรม’ คุณภาพนั้น ต้อง มาจากการใช้เวลาวิเคราะห์วิจัยอย่างเป็นระบบ “สิ่งที่สำ�คัญที่สุดของงานสถาปัตยกรรม คือ Process หมายถึงการที่จะได้มาของงาน สถาปัตยกรรมนั้น หลายคนชอบพูดถึงงาน คอนเซ็ปต์ของสถาปัตยกรรม แต่สำ�หรับผม คอนเซ็ปต์เป็นเรื่องที่ไม่สำ�คัญเลย สำ�หรับผม การที่จะได้มาซึ่งงานสถาปัตยกรรม ไอเดียและ การทำ�วิจัยอย่างแม่นยำ�ถือเป็นเรื่องสำ�คัญกว่า เพราะ Process จะค่อยๆ คลี่ให้เราหาเหตุ และผลออกมาที่ละขั้นตอน และในที่สุดก็จะ สามารถพัฒนางานที่ตอบโจทย์ทุกสิ่งได้” ทั้งหมดนี้ก็ยืนยันให้เห็นถึงตัวตนและผลงาน ของชุตยาเวศภายใต้แนวคิดของ ไซต์ สเปซิฟิก ที่ว่า ‘We believe in spirit, not style’ หรือ อีกนัยหนึง่ ก็คอื งานสถาปัตยกรรมทีย่ ง่ั ยืนนัน่ เอง


POSSIBILITY It is uncommon for an architect to become a household name in any country, let alone in Thailand. But during Thailand’s historic floods last year, Chutayaves Sinthuphan became widely known for his “amphibious houses,” a solution he came up with after 15 years of practice in the United States as an architect and land developer. “Wanting to do something to combat climate change, my friends and I came up with the idea of Design for Disaster. That is the origin of our amphibious housing project, which we launched the prototype in 2010,” said Chutayaves, whose architectural practice Site-Specific company has piloted the concept in flood-prone areas. “During dry season, the house will be anchored to the ground, but when floods came, the steel buoys would set the house afloat.” From the outset, amphibious house looks just like any other house. The difference lies in steel structure that underpins the foundation, which can cost 15 times more than the usual construction. Chutayaves and his firm are now in the process of building a prototype for National Housing Authority. If cost is a problem, Chutayaves can offer preventive ideas on how to deal with future natural disasters to those who are interested. “Though we cannot change our architecture, we can change our ways of life,” said Chutayaves. “Instead of assembling wooden kitchen cabinets that would be completely destroyed in floods, perhaps we can try building concrete kitchen stations. We can use table made from solid wood instead of wood composite.

26

The “Amphibious House” will be anchored to the ground during dry season, but when the flflood came, the steel buoys would set the house aflfloat In brief, whatever furniture you can’t take with you during floods, use water resistant ones, which you can clean and restore later.” Chutayaves added that there are people who have learned to adapt and live with seasonal floods. They built their houses high and were able to freely move their belongings when water comes. A rising star, Chutayaves’s other works were also recognised internationally. He was known for his house constructed from containers – the ones you find in ports – which make use of unused materials still in good condition. “Many people find inspiration in the house. It was voted as one of the most inspiring houses in 2012. Maybe it has to do with the simplicity of the idea: two containers combined to make a house. The thinking and the doing fall into place! And every metal welder can do this. Good architecture is complicate, but the outcome should be simple. Behind every

seemingly simple solution often lies complicate process.” The environment is a main concern for Chutayaves. Its influences run through all of his works. Chutayaves believes that innately people do think about the environment and these considerations should be implemented into design. “Take ventilation for example. Air should flow freely within a building. But a lot of modern development does not take that into account. I would never let that happen in my own design,” explained Chutayaves. Environmental architecture consists of “4R”: reduce, reuse, recycle and renewable. From design to construction process, building materials should be reduced. Architects shouldn't allow things to go to waste: such as finding ways to reuse dishwashing water for plants in the gardens. Recycle is fundamental and can start with separating our garbage. And other design elements should be made


POSSIBILITY

Chutayaves and his fifirm are now in the process of building a prototype of the amphibious house for National Housing Authority

Chutayaves’ design for Hakka shop

"I BELIEVE IN WORK. I THINK STUDYING AND TRAINING SHOULD GO TOGETHER, JUST AS I TEACH WHILE ALSO WORK." from renewable materials such as wood that come from sustainable forestry. Most of Chutayaves’s ideas and working methods were formulated at Columbia University’s School of Architecture, Planning and Preservation. “Teaching at Columbia focuses on ‘ideas’ as the most important element in architecture. When I was there, I was drawn to Avant-garde architecture. This means projecting architecture into the future, imagining architecture’s place in tomorrow’s social development. Some of the things may not be possible to realise for now. But the possibilities inform my work and has become Site-Specific,” said Chutayaves, who as a child wanted to become a chef, but changed course

27

since his accidentally involvement in family’s house renovation. Wanting to pass on his knowledge to the next generation, Chutayaves became an adjunct professor at Thammasat University’s Faculty of Architecture and Planning. “I believe in work. I think studying and training should go together, just as I teach while also work. When I was working in the US, I tried to find time to teach at several institutions. Teaching allows us to gain new knowledge, it forces you to constantly strives for improvement. Academic knowledge runs parallel with work. But knowledge is not limited in the classroom. You can be reading any books and incorporate some of the ideas into

your work,” said Chutayaves, whose definition of quality social architecture stems from systematic research and thinking. “Process is very important in architecture and is instrumental in making things happen. People often talk about concepts – I don’t think it is that important. Translating ideas, underpinned by precise research, is more necessary. Process liberates us: showing us the reasons and consequences of our design in every stage. In the end, process gives us solution.” From this interview: Site-Specific Company’s “We believe in spirit, not style” motto became self-explanatory - a vision of sustainable architecture.


UNLOCK

HOW TO WIN AS A TEAM

“การแข่งขัน” อาจเป็นสิ่งที่เราไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ทั้งในโลกของกีฬาและ การทำ�งาน สิ่งที่ทำ�ให้เราไปถึงเป้าหมาย (Goal) อาจไม่ใช่แค่ทักษะของตัวเองหรือ การรูจ้ กั คูแ่ ข่งเท่านัน้ แต่เป็นการรูจ้ กั เพือ่ น ร่วมทีมและร่วมกันต่อสู้เพื่อคว้าชัยชนะ สำ�หรับหลายๆ คน การเล่นเป็นทีมอาจ ไม่ใช่เรื่องง่ายนัก โดยเฉพาะหนุ่มสาว ทำ�งานยุคใหม่ที่เต็มไปด้วยความมั่นใจ Unlock ฉบับนี้เราเลยมีเทคนิคในการ ทำ�งานเป็นทีมมาฝากกัน

28

ชัยชนะร่วมกัน บ่อยครั้งการทำ�งานเป็นทีมไม่ได้ หมายถึงเพียงแค่การแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ความเชื่อมั่นในศักยภาพของเพื่อนร่วมทีมถือ กันภายในห้องประชุม แต่หมายถึงการแบ่งปัน เป็นรากฐานสำ�คัญของการทำ�งานเป็นทีมแต่ก็ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การทำ�งาน เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยากที่สุดเช่นเดียวกัน พื้นฐาน ในระหว่างวัน ซึ่งผู้ร่วมทีมต้องคิดถึงประโยชน์ ความเชื่อที่ว่าเราต่างมีศักยภาพและมีความ สูงสุดของทีมมากกว่าการเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ มุ่งมั่นในการทำ�หน้าที่ของตัวเองอย่างเต็มความ คนเดียวเพื่อเครดิตของตัวเอง สามารถจะช่วยให้เราเชื่อมั่นในเพื่อนร่วมทีมได้ มากขึ้น และในขณะเดียวกันความเชื่อมั่นนี้ก็ 03 เราร่วมมือกันได้แม้จะแตกต่างกัน สามารถเป็นแรงผลักดันเพื่อนร่วมทีมให้พัฒนา ตัวเองได้มากยิง่ ขึน้ นอกจากนัน้ ความรับผิดชอบ ทีมทีม่ ศี กั ยภาพคือทีมทีผ่ รู้ ว่ มทีมมีความสามารถ ต่อหน้าที่ของตัวเองอย่างสม่ำ�เสมอก็ถือเป็นสิ่ง โดดเด่นในด้านต่างๆ แตกต่างกันไป เพื่อช่วย ให้งานสำ�เร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ความ จำ�เป็นที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับเพื่อน แตกต่างนั้นจะฟังดูเป็นเรื่องท้าทายสำ�หรับการ ร่วมทีมที่เราแต่ละคนไม่อาจละเลย ทำ�งานร่วมกัน แต่การยอมรับความแตกต่าง และการสื่อสารที่ดีจะช่วยให้เกิดความร่วมมือ 02 ทีมหมายถึงการแบ่งปัน ในการทำ�งาน นอกจากนัน้ การให้ความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันก็สามารถช่วยลดช่องว่างของ Michael Jordan นักบาสเกตบอลชื่อดัง ความแตกต่างและสร้างความเข้าใจกันได้มากขึน้ เคยกล่าวเอาไว้วา่ ไม่มี I (ฉัน) ในคำ�ว่าว่าทีม (team) แต่มี I ในคำ�ว่า win (ชัยชนะ) ซึง่ นัน่ หมายความว่าการทำ�งานเป็นทีมคือการละทิง้ อีโก้ของตัวเอง แต่นกึ ถึงประโยชน์ของทีมเป็นหลัก เพื่อในท้ายที่สุดแล้วผู้ร่วมทีมทุกคนจะได้รับ

01 เราต่างมีศักยภาพ


UNLOCK

รากฐานที่แท้จริงของ การทำ�งานเป็นทีม เริ่มต้นขึ้นจากตัวเรา และทัศนคติในการ มองเห็นและยอมรับ คุณค่าของตัวเองและ เพื่อนร่วมทีม

04 พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ความเปลี่ยนแปลงสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะในการทำ�งานเป็นทีม ผู้ร่วมทีมที่ดี ควรจะมีความสามารถในการรับมือกับความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และพร้อมปรับตัวหรือ ประนีประนอมกับทิศทางใหม่ๆ ของทีม โดยไม่ บ่นหรือหงุดหงิด ความเชื่อมั่นในความคิดของ ตัวเองถือว่ามีประโยชน์กับทีมแต่ขณะเดียวกันก็ ต้องพร้อมที่จะยืดหยุ่นและยอมรับการตัดสินใจ ของทีมและความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เพื่อให้การ ทำ�งานของทีมดำ�เนินต่อไปได้ การยึดติดกับ ความคิดของตัวเองหรือการโต้เถียงอย่างไร้จดุ จบ ถือเป็นอุปสรรคที่ทำ�ให้การทำ�งานของทีมล่าช้า จนอาจเกิดความเสียหาย

05 ฟังอย่างมืออาชีพ การเป็นผูฟ้ งั ทีด่ เี ป็นสิง่ จำ�เป็นทีช่ ว่ ยให้การทำ�งาน เป็นทีมมีประสิทธิภาพ แม้ทีมจะต้องการความ คิดเห็นจากเพื่อนร่วมทีม แต่ทีมก็ยังต้องการผู้ที่ ยอมรับและเข้าใจความเห็นของคนอื่นเช่นกัน ไม่ใช่คนที่โต้แย้งทุกประเด็นอย่างไม่ลดละ นอกจากนั้นการฟังอย่างมืออาชีพยังหมายถึง ความสามารถในการยอมรับคำ�วิพากษ์วิจารณ์ อย่างเปิดใจ ซึ่งสิ่งที่สำ�คัญที่สุดในการสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพและความสามารถใน การแก้ปัญหาร่วมกันนั้น ผู้ร่วมทีมจะต้องมี ความพร้อมในการรับฟัง ก่อนที่จะแสดง ความคิดเห็น

08 มีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้น แน่นอนว่าความกระตือรือร้นเป็นสิ่งจำ�เป็นใน การทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ ในการทำ�งาน ร่วมกับผูอ้ น่ื ก็เช่นเดียวกัน เพียงแต่วา่ การทำ�งาน เป็นทีม ผู้ร่วมทีมไม่ได้มีเพียงความกระตือรือร้น ในหน้าที่ของตัวเองเท่านั้น แต่ยังต้องมีความ กระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมกับการทำ�งาน ของทีมไม่ว่าจะเป็นการแสดงความคิดเห็นต่างๆ อย่างใส่ใจในที่ประชุม ซึ่งผู้ร่วมทีมต้องเชื่อว่า ทุกคนเป็นส่วนสำ�คัญในการสร้างความสำ�เร็จ ให้แก่ทีม คำ�ถามที่ว่า “ฉันจะทำ�อะไรได้บ้าง เพือ่ ให้ทมี ประสบความสำ�เร็จ” ถือเป็นจุดเริม่ ต้น ที่ดีที่ทำ�ให้​้แต่ละคนทำ�หน้าที่ของตัวเองอย่าง กระตือรือร้น

วยกัน 09 หัไม่วใเราะไปด้ ช่หัวเราะเยาะกัน อารมณ์ขนั อาจไม่ชว่ ยแก้ปญ ั หา ก็ชว่ ยผ่อนคลาย ความตึงเครียดในการทำ�งานและสร้างความ รู้สึกเชิงบวกให้แก่เพื่อนร่วมทีม อารมณ์ขันที่ ถูกทีถ่ กู เวลาจึงเป็นเรือ่ งจำ�เป็นสำ�หรับการทำ�งาน แต่การหัวเราะในจุดอ่อน หรือความผิดพลาดของ เพื่อนร่วมทีมถือเป็นสิ่งต้องห้าม อารมณ์ขันที่ดี คืออารมณ์ขันที่ออกมาจากความปรารถนาดีต่อ เพื่อนร่วมทีม

10 ทีมเริม่ จากตัวเรา

เมื่อพูดถึงการทำ�งานเป็นทีม หลายคนมักนึกถึง คนอื่น ซึ่งอาจหมายรวมไปถึงการโยนปัญหาไป 06 สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ให้คนอื่นในฐานะของเงื่อนไขหรืออุปสรรคของ ความเข้าใจเริ่มต้นขึ้นด้วยการสื่อสารอย่าง การทำ�งานด้วยเช่นกัน แต่รากฐานที่แท้จริงของ สร้างสรรค์ ซึ่งหมายถึงการแสดงความคิดเห็น การทำ�งานเป็นทีมเริ่มต้นขึ้นจากตัวเราและ ของตัวเองอย่างชัดเจน ตรงไปตรงมา และควร ทัศนคติในการมองเห็นและยอมรับคุณค่าของ ให้เกียรติเพือ่ นร่วมทีม ซึง่ แต่ละคนไม่ควรเก็บงำ� ตัวเองและเพือ่ นร่วมทีม ซึง่ แต่ละคนต้องเริม่ ต้น ความคิดเห็นหรือข้อโต้แย้งของตัวเองเอาไว้ จากการรับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด แต่ควรแสดงออกมาด้วยภาษาเชิงบวกอย่างมัน่ ใจ และพร้อมจะปรับตัวเองแทนที่ความพยายาม ด้วยท่าทีที่สุภาพ เปลี่ยนแปลงคนอื่น

07 นักแก้ปัญหา ทีมทีด่ คี อื ทีมทีพ่ ร้อมจะแก้ปญ ั หาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ผู้ร่วมทีมที่ดีคือผู้ที่พยายามแก้ไขปัญหาโดย ไม่กล่าวโทษคนอื่น หรือพยายามหาผู้รับผิด เท่านัน้ แต่พร้อมทีจ่ ะถกเถียงและให้ความร่วมมือ ในการหาทางออกที่ดีที่สุด 29


UNLOCK

REACHING THE GOAL ISN’T ONLY ABOUT KNOWING YOURSELVES AND YOUR COMPETITORS, BUT ALSO GETTING TO KNOW YOUR OWN TEAMMATES TOO. IN THIS ISSUE, UNLOCK WILL GIVE YOU SOME TIPS ON HOW TO EXCEL AS A TEAM. 01

INDIVIDUAL POTENTIAL

Believing in your team member’s potential and keeping in mind that each one is doing their best are the keys to the success of teamwork. Taking your personal responsibility seriously is also crucial to building the confidence among team members.

02

TEAMING AND SHARING

Michael Jordan once said there is no ‘I’ in the word ‘team’ but there is one in ‘victory’. Working as a team means getting rid of your own ego and put the team as a priority in order to win together. Teamwork doesn’t necessarily about brainstorming in the meeting room but also the sharing of information on daily basis rather than keeping the information to yourself for your own personal benefits.

03

DIFFERENCES MATTER

Highly successful team consists of diverse members who have expertise in different areas. Diversity could be a challenging factor for teamwork but accepting those differences and good communications will foster an excellent collaboration in the workplace.

30

04

READY TO TACKLE CHANGES

Changes take place all the time especially when working as a team. Good team player copes well with changes and is ready to compromise with new team direction. Your ideas are important but you have to be flexible and able to accept team’s decisions and those changes in order for the team to move forwards.

05

LISTEN PROFESSIONALLY

A good listener enables team to work effectively. Even though idea sharing is important, but it is also equally important that the team members accept and understand others’ ideas as well. Listen professionally also means willingness to accept constructive criticism.

06

CONSTRUCTIVE COMMUNICATION

Good understanding stems from constructive communication which means expressing your ideas clearly, concisely and respecting your team members. You shouldn’t keep your ideas or arguments to yourself alone. Express it confidently by using positive words and tone of voice.

07

PROBLEM SOLVER

A good team is ready to handle any problems. Good team players work to solve problem rather than blaming others or trying to find faults, however, they are willing to discuss and collaborate for the best solution.

08

ACTIVE ENGAGEMENT

Enthusiasm is crucial to working effectively as a team. Not only that you have to be enthusiastic to take part in team’s activities but you have to wholeheartedly believed that everyone contributes to the team’s success. Asking yourself: ‘what can I do to help the team succeed’ is the first step to working enthusiastically.

09

LAUGHING TOGETHER

Humour probably can’t solve every problem but it will definitely help lessen the tension and create a positive atmosphere among team members. Good timing humour is important for a good working environment. However, don’t forget that laughing at other’s slips-up or faults is unprofessional.

10

TEAM STARTS FROM YOU

When talking about teamwork, many people instantly think of others people which may include passing the buck to them as well. However, the fundamental element of teamwork starts from you. This includes your attitude, your selfesteem and your respect towards your team members. The first step to success starts from taking your own responsibility actively and be ready to change yourself first instead of trying to change others.


GISMO

• SMARTPEN

FROM LIVESCRIBE • LOGITECH SOLAR KEYBOARD FOR IPAD • SUN PARASOLS


GISMO

SMARTPEN FROM LIVESCRIBE

LOGITECH SOLAR KEYBOARD FOR IPAD

SUN PARASOLS

ปากกาดิจติ อลทีส่ ามารถบันทึกสิง่ ทีว่ าดหรือเขียน รวมทั้งเสียงไว้ได้ แถมยังย้อนกลับมาทบทวนได้ ทุกครั้งที่ต้องการ สามารถถ่ายโอนข้อมูลเข้า คอมพิวเตอร์เพื่อส่งอีเมล เฟซบุค หรือกูเกิล ดอคส์ ได้ดว้ ย เหมาะสำ�หรับการฟังเลคเชอร์ บรีฟงาน การประชุม ทีต่ อ้ งการเก็บรายละเอียด ให้ครบถ้วน ปากกา Livescribe มีล�ำ โพงและ ไมโครโฟนในตัว สามารถบันทึกข้อความเสียงได้ 400-800 ชั่วโมง แล้วแต่ความจุ ซึ่งมีให้เลือก ตั้งแต่ 2, 4 และ 8 กิ๊กกะไบท์ วิธีทำ�งานง่าย ไม่ซับซ้อน เพียงมีสมาร์ทเพนหนึ่งด้าม และ สมุดโน้ตชนิดพิเศษสำ�หรับปากกาชนิดนี้ ก็พร้อมใช้งานได้ทันที

คียบ์ อร์ดพลังงานแสงอาทิตย์ส�ำ หรับใช้ท�ำ งาน กับ iPad มีนำ�หนักเบา พกพาสะดวก อีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์อโี คทีน่ า่ สนใจกับ Logitech Wireless Solar Keyboard K750 ทีน่ อกจากจะมีประโยชน์ ด้านการใช้งานที่ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแล้ว ยังมีดไี ซน์เก๋จนสามารถคว้ารางวัลอันทรงเกียรติ Red Dot Award: Product Design 2012 รางวัลที่การันตีผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ อันยอดเยี่ยม ตัวคีย์บอร์ดมีความโดดเด่นด้วย รูปทรงที่ประหยัดพื้นที่ สามารถชาร์จไฟจาก ที่ใดก็ตาม ที่มีแสงผ่านแผงโซลาร์เซลล์ ทำ�ให้ รับกระแสไฟได้จากทั้งแสงไฟในที่ร่มและนอก อาคาร หมดปัญหาเรื่องแบตเตอรีด้วยการ ออกแบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยัง เพรียวบาง ใช้งานง่าย สะดวกสบาย ทำ�ให้ คว้ารางวัลไปได้อย่างไม่ยากเย็นนัก

คงจะดีไม่น้อยหากมีที่บังแดดที่ช่วยให้เราคลาย ร้อน ในขณะเดียวกันยังสามารถแปรรูปพลังงาน แสงอาทิตย์มาเป็นแบตเตอรีส�ำ หรับชาร์จโน้ตบุค๊ มือถือ หรืออุปกรณ์ gadget ต่างๆ รวมถึงชาร์จ แบตเตอรี AA และ AAA ได้อกี ด้วย SunParasols เป็นทีบ่ งั แดดทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ ก่ี ล่าวมาทัง้ หมด ตัวที่ บังแดดเคลือบด้วยฟิลม์ นำ�ห นักเบาบางทีผ่ ลิตจาก Organic Photovoltaics (OPV) วัสดุรีไซเคิล กึ่งโปร่งแสง มีความยืดหยุ่น ปลอดสารพิษ ซึ่ง สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็น พลังงานไฟฟ้า โดย Sun Parasols ได้เปิดตัว ไปแล้วในงาน Milan Design Week นับเป็น ผลิตภัณฑ์อีกชิ้นทีน่ า่ จับตามอง เทคโนโลยีน้ี ได้รบั การพัฒนาโดย Konarka Technologies Inc. บริษัทที่เป็นผู้นำ�ตลาดแผงผลิตพลังงาน แสงอาทิตย์ชนิดพิเศษนี้

Livescribe is a digital pen that can store drawings, notes and voices for a playback. The pen can be synced with computer to send email, Facebook or Google doc. Ideal for your lecture recordings and meetings, Livescribe pen comes with a built-in speaker and microphone that can store 400-800 hours of recordings. There are 2, 4 and 8 GB of memory to choose from. Just Livescribe pen and its special notebook and you are good to go.

For the eco-friendly technology lovers, this solar-power keyboard for iPad that is light and versatile is your answer. What interesting is you can charge the keyboard anywhere with light – even indoors. Not only is Logitech Wireless Solar Keyboard K750 a green product, its ultra sleek modern design is also guaranteed by this year’s prestigious Red Dot Award in Product Design category.

Sun Parasols lets you charge up under the comfort of a cool shade. Developed by Konarka Technologies Inc and first launched at the Milan Design Week, the solar parasols integrate a thin, lightweight film made of Organic Photovoltaics (OPV), which are semi-transparent, flexible, non-toxic films that can transform light into electricity anywhere. Hence, the solar parasol can capture solar energy to charge devices immediately, or even store the energy in a battery pack, including the standard NiMH batteries (AA and AAA).

32


ROCKWORTH

MILESTONE TOWARDS THE GREEN 33


ROCKWORTH

เป้าหมายของการออกแบบโรงงานร้อกเวิธ (อินเดีย) คือ การสร้างโรงงานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ให้เป็นประโยชน์ได้อย่างมีเอกลักษณ์ สหรัฐอเมริกา ให้เป็นโรงงานและสำ�นักงาน ถ้ามองในแง่พลังงาน โรงงานสีเขียว (Green factory) ไม่ใช่แค่กระแส แต่ถือ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (โรงงานสีเขียว) ระดับเหรียญทองแห่งแรกของอุตสาหกรรม เป็นเรื่องจำ�เป็น เพราะทุกวันนี้เห็นได้ เฟอร์นิเจอร์ในอินเดีย ชัดเจนว่า เรากำ�ลังเจอปัญหาภาวะโลกร้อน โรงงานร้อกเวิธ (อินเดีย) แห่งนี้ได้รับ การออกแบบตามข้อกำ�หนดมาตรฐานโรงงาน ทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและการขาดแคลน ทรัพยากร โดยเฉพาะด้านพลังงานซึง่ นับวัน สีเขียวซึ่งครอบคลุมไปถึงวิธีปฏิบัติที่มีเป้าหมาย ่อ “สร้างโรงงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้ จะหมดไปอย่างรวดเร็ว ถ้าไม่เตรียมพร้อม เพื เป็นประโยชน์ได้อย่างมีเอกลักษณ์” อันสะท้อน หากถึงเวลานั้น ทางเดียวที่เราทำ�ได้อาจ ว่าโรงงานเราเป็น “สีเขียวอย่างแท้จริง” ไม่ใช่เพียงลดปริมาณการใช้ แต่เรา โดยทัง้ หมดล้วนต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบ อาจจะไม่เหลืออะไรไว้ให้ใช้เลยก็เป็นได้ สำ�คัญ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐศาสตร์ เช่น ประหยัดพลังงาน ทัง้ นำ� เพือ่ มิให้วนั นัน้ มาถึง ความห่วงใยต่อสิง่ แวดล้อม นำ�ม ัน และไฟฟ้า ซึ่งเป็นการผสมผสานแนวคิด จึงมิใช่เป็นหน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง หากแต่ การออกแบบและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทุกภาคส่วนต้องรับผิดชอบร่วมกัน โดยเฉพาะ ได้อย่างสมดุล เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จาก สิง่ ทีม่ อี ยูไ่ ด้อย่างคุม้ ค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด อย่างยิ่งในส่วนของการก่อสร้างอาคารต่างๆ ที่ใช้พลังงานอย่างมหาศาล รวมไปถึงการเลือก ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน ไม่ท�ำ ลายธรรมชาติ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้วัสดุตกแต่งภายในสำ�นักงานที่สามารถใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณน้อยทีส่ ดุ แต่ได้รบั ด้วยทุกสรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างมาอย่างมี ดุลยภาพ การที่เราหันกลับมามองและให้ความ ประโยชน์คุ้มค่าที่สุด สำ�คัญกับเรือ่ งทีอ่ ยูอ่ าศัย อาคาร โรงงาน หนึง่ ใน เราเอง บริษัท ร้อกเวิธ จำ�กัด (มหาชน) ปัจจัยสีข่ องชีวติ แม้เป็นก้าวเล็กๆ แต่มคี วามสำ�คัญ ผู้นำ�ด้านเฟอร์นิเจอร์สำ�นักงานครบวงจร ทีจ่ ะนำ�เราไปสูห่ นทางแห่งความยัง่ ยืนในทุกด้าน จัดสร้างโรงงาน ร้อกเวิธ (อินเดีย) ตั้งอยู่ที่ ศรีเมือง เชนไน ที่ได้รับการรับรองจาก IGBC ทัง้ สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม ซึ่งไม่อาจประเมินค่าเป็นตัวเลขได้ (India Green Building Council) ซึ่งเป็น คงไม่ใช่สิ่งที่ยาก หากช่วยกันอย่างจริงจัง สมาชิกและใช้กฎเกณฑ์ในการพิจารณา เพื่อเราทุกคนบนโลกใบนี้ ภายใต้มาตรฐานจาก USGBC (United States Green Building Council) ของ 34

โรงงานสีเขียว (Green Factory) คือ? โรงงานสีเขียว คือ การออกแบบที่ช่วยให้ อาคารสามารถใช้ประโยชน์จากสภาวะ แวดล้อมตามธรรมชาติ อาทิ แสงแดด ลม ดิน นำ� พืชพันธุ์ในท้องถิ่น ฯลฯ ได้ อย่างเต็มที่ (Passive Design) โดยนำ� เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ ภายในอาคารเท่าที่จำ�เป็น (Active Design) โรงงานสีเขียว คือ โรงงานที่คำ�นึงถึงการ ก่อสร้างในสถานที่ ซึ่งมีผลกระทบ ต่อระบบนิเวศน้อย ประหยัดพลังงาน มีคุณภาพอากาศภายในอาคารดี ประหยัด การใช้น�ำ  ใช้วสั ดุกอ่ สร้างและวัสดุตกแต่ง ภายในสำ�นักงานที่สามารถนำ�กลับมาใช้ ใหม่ และส่งผลกระทบต่อชุมชนรอบข้าง น้อย โรงงานสีเขียว คือ โรงงานที่มีการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างรอบด้าน มีการจัดการ ด้านพลังงาน รวมทั้งสุขภาวะที่ดีของผู้อยู่ อาศัยและพนักงาน


ROCKWORTH

Rockworth (India) factory in Sri City, Chennai is the fifirst to be awarded a gold medal 'green factory' and offifice in furniture industry in India.

From an energy saving stance, ‘green factory’ isn’t just another craze but is a must do as it’s already more apparent than ever that we are facing critical worldwide climate change issues. Energy insufficiency problems continue to get only worse. Without a proper precaution, our last resort isn’t going to be just reducing the energy usage but we will be soon forced to halt it because they will be nothing left for us to exploit anymore. To avoid such disastrous scenario, the responsibility towards the environment falls into everyone’s hand. This is especially crucial for those in the business of building constructions that consume enormous amount of energy, not only the infrastructure of the building but also down to the choice of interior furnishing materials that uses minimal natural resources to their maximum potentials. With our environmental-friendly commitment, Rockworth PLC, a leader 35

in one-stop office furniture services, has established Rockworth (India) factory in Sri City, Chennai. The factory is certified by IGBC (India Green Building Council), a member of USGBC (United States Green Building Council), and is the first to be awarded a gold medal ‘green factory’ and office in furniture industry in India. Our Rockworth branch in India was designed to meet the regulations of green factory which also covers the practice of ‘building a uniquely environmentallyfriendly factory’ and involves 3 factors including environment, social and economic aspects. These regulations govern how we use the energy, water, fuel and electricity effectively. It is a balanced integration of design concept and technological advances to make sure that everything is used effectively and productively without harmful effects on the nature and environment. We believe that everything was created to maintain the perfect harmony. By paying closer attention to the houses, buildings, factories…and all the four necessities of life, these little steps will lead on to a sustainability in social, cultural, economic and environmental scenes for the generations to come. Act your part now…for yourself and for the world.

What is a ‘Green Factory’? Green factory makes the most effective use of available natural resources such as sunlight, wind, soil, water, local plants and etc. (Passive Design) with a proper but minimal use of indoor technology (Active Design)

Green factory is built on a location where it has as minimal impact to the ecosystem as possible. It helps saving the energy while maintaining indoor air quality, reduces water usage and uses recyclable construction and interior design materials and takes into account its effects on the neighbouring community.

Green factory is a well-rounded environmentally managed factory with effective energy management which also includes positive wellbeing of its inhabitants and workers.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.