เยาวราช

Page 1




耀華力路

จีน

ฮ่องกง

เ ย า ว ร า ช หากพูดถึง “ไชน่าทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร” สถานที่แรกที่ทกุ คน นึกถึงคงไม่ พ้น “ย่ านเยาวราช” ในเขตสัมพันธวงศ์ ด้ วยภั ต ตาคารอาหาร จีน ห้ างทอง และร้ านวัตถุมงคลจีนที่ตงั ้ เรี ยงรายตลอดเส้ นถนนเยาวราช รวม ถึงตรอกซอยที่กลายเป็ นทัง้ ตลาดขายของแห้ ง ของดอง และของสด เช่ นตลาด เล่ งบ๊ วยเอีย๊ ะและบริเวณใกล้ เคียง ที่ถนนเจริญกรุ งเองมีวัดเล่ งเน่ ยยี่เป็ นศูนย์ รวมจิตใจคนไทยเชือ้ สายจีนในแถบนัน้ และมีซอยเจริญไชย 2 เป็ นแหล่ ง ร้ านกระดาษไหว้ เจ้ ากว่ า 20 เจ้ าด้ วยกัน ย่ านเยาวราชและบริเวณใกล้ เคียงจึง เป็ นแหล่ งรวมสินค้ าจีนชัน้ เยี่ยมแห่ งหนึ่ง และด้ วยประวัตศิ าสตร์ ท่ เี คียงคู่กรุ ง รั ตนโกสินทร์ มาอย่ างยาวนาน ประกอบกับวัฒนธรรมและวิถชี ีวติ ของชาวจีน ย่ านเยาวราชที่เป็ นเอกลักษณ์ และเป็ นที่ยอมรั บของชาวไทย เยาวราชจึงกลาย เป็ นสัญลักษณ์ แห่ งมิตรภาพไทย-จีนที่ดงี ามและยาวนานจวบจนถึงปั จจุบนั เยาวราชได้ รับการขนานนามว่ า “ถิ่นมังกรทอง” โดยมีถนนเยาวราช เป็ น “มังกรทอง”

ไหหล�ำ

ไทย

มณฑลกวางตุ้ง มณฑลฮกเกี้ยน มกราคม-พฤษภาคม

ลมมรสุมจะพัดจาก ทะเลจีนเข้ ามายังอ่ าว ไทย พร้ อมน�ำเรื อ ส�ำเภาจีน ผู้คนและ สินค้ าเข้ ามา ผ้ าไหม เครื่ องปั ้นดินเผา

กร ุงเทพ

พฤษภาคม-กรกฎาคม

สิงคโปร์

กระแสลมจะพัดย้ อนกลับ คนจีนก็จะเดินเรื อส�ำเภากลับไป

คนไทยและคนจีนนั น้ ติดต่ อค้ าขายกันมาตัง้ แต่ ยุคสุ โขทัยด้ วยการค้ าแบบ จิม้ ก้ อง ซึ่งไทยจะน�ำบรรณาการไปมอบให้ แก่ ทางการจีนเพื่อขอความสะดวกในการ ท�ำการค้ า จีนจะถือว่ าเป็ นการสวามิภกั ดิ์ต่อจีนและจะอ�ำนวยความสะดวกให้

เยาวราช เจริญกรุง คลองถม ส�ำเพ็ง พาหุรัด นครเกษม

แผนที่แสดงย่านต่างๆบริเวณเยาวราช

กวางตง้ ุ

ฟูโจว ซัวเถา

แหล่งอาหารจีน

ย่านขาย เครื่องปั๊มน�้ำชั้นน�ำ

ถนนเยาวราช มีลักษณะถูกต้ อง ตามหลัก ท�ำเลหลงตี้ (ท�ำเลมังกรทอง) เพราะถนนโค้ งงอไปมา เหมือนล�ำตัวมังกร

ซินแส

วัดมังกรกลมวาส รุง ถนนเจริญก

วราช

ถนนเยา

ลูกมังกร แต่ ยัง ไม่ สง่ างามเท่ ากับ ถนนเยาวราช

ถนนวานิช 1


คนจีนโพ้นทะเล คนจีนที่อพยพเข้ ามาในประเทศไทยจะมาจาก 2 มณฑล ชายทะเลคือ มณฑลฮกเกีย้ นและมณฑลกวางตุ้ง

ก�ำเนิดชุมชนจีนในสัมพันธวงศ์ ในภายหลังกรุ งธนบุรีถูกสถาปนาเป็ นเมืองหลวง และชาวจีนได้ เข้ ามาอาศัยอยู่ใน บริ เวณที่ เป็ นพระบรมมหาราชวั ง ในปั จจุ บั น บนเกาะรั ตนโกสิ น ทร์ และในต่ อมา พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ ย อ ด ฟ้ า จุ ฬ า โ ล ก ไ ด้ ท ร ง ส ถ า ป น า ก รุ ง รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ขึน้ ในปี พ.ศ.2325 และทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างพระบรมมหาราชวังที่บริเวณชุมชนจีน และพระราชทานที่ดนิ ให้ ชาวจีนย้ ายไปตัง้ ชุมชนใหม่ ท่ ยี ่ านส�ำเพ็ง ช่ วงนัน้ ไทยยังท�ำการค้ า แบบจิม้ ก้ องต่ อจากสมัยธนบุรีจนเป็ นรายได้ หลักของประเทศ กรุ งเทพฯ จึงกลายเป็ นศูนย์ กลาง การค้ าส�ำเภากับประเทศจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งขณะนัน้ รั ฐบาลไทยสนับสนุนให้ ชาวจีนที่ชำ� นาญการค้ าส�ำเภา เข้ ามาตัง้ รกรากในกรุ งเทพฯ ช่ วงปลายรั ชกาล มีบนั ทึกว่ ามี

คนจีนอาศัยอยู่ถึง 25,000 คน

สินค้า 24,562 ตัน ใช้แรงงานจีน 5,000 คน น�ำคนจีนเข้ามา 7,000 คน/ปี

จีนแต้จิ๋ว จีนแคะ (จีนฮักกา) จีนไหหล�ำ จีนฮกเกี้ยน

แหล่งขายทอง ที่ใหญ่ที่สุด

มีมากกว่า 130 ร้าน

จอห์น ครอว์ฟอร์ด

ฑูตชาวอังกฤษ บันทึกไว้ ว่า

รั ชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย กรุ งเทพฯ กลายเป็ นแหล่ งต่ อเรื อ ส�ำเภาที่สำ� คัญ การค้ าส�ำเภามีความรุ่ งเรื องและท�ำรายได้ มหาศาลให้ แก่ ประเทศ ใ น ข ณ ะ นั ้ น ไ ด้ มี น โ ย บ า ย จ้ า ง แ ร ง ง า น จี น ท� ำ ง า น ก่ อ ส ร้ า ง แ ท น ก า ร เ ก ณ ฑ์ แรงงานไพร่ และชาวจีนในเมืองไทย เริ่มมีการรวมกลุ่มท�ำธุรกิจแบบกงสี ซึ่งเป็ นการท�ำธุรกิจใน ครอบครั วคนจีน มีหวั หน้ าครอบครั วเป็ นกงสีดแู ลบัญชีทงั ้ หมด และคนในครอบครั วต้ องท�ำงาน ถึงจะได้ เงินเดือน ใครจะท�ำอะไรต้ องมาขออนุญาตที่กงสีก่อนและรายได้ ต้องเข้ ากงสีทงั ้ หมด ถ้ าขาดทุนกงสีต้องหาวิธีแก้ ปัญหา เหมือนการบริหารทั่วไป แต่ เป็ นการท�ำงานในครอบครั ว เท่ านัน้ ตัวอย่ างบริษัทที่เติบโตขึน้ มาจากระบบกงสีได้ แก่ เครื อเจริญโภคภัณฑ์ ซีพี เป็ นต้ น

เหมือน สวมมงกุฎ ให้มังกร

วงแหวนโอเดียน

จึง เพิ่มพลัง อ�ำนาจให้แก่ท�ำเลเป็นอย่างยิ่ง

วัดไตรมิตรวิทยาราม

พระพุทธรูปทองค�ำ ที่ ใหญ่ที่สุดในโลก เสริมความเป็นมังกรทอง

มังกรทองเยาวราช บนถนนเยาวราช ยังเป็ น แ ห ล่ ง ธุ ร กิ จ ส มุ น ไ พ ร จี น ร้ านขายของเก่ าและวัตถุมงคลจีน ร้ านขายชุดกี่เพ้ า กระดาษไหว้ เจ้ า การเขียนอักษรจีน และอื่นๆ ที่ สะท้ อ นวั ฒ นธรรมอั น งดงามและ เขัมข้ นของชาวจีนอีกด้ วย เนื่ องจากถนนเยาวราช เป็ นถนนที่ว่ ิงทางเดียวจากวงเวียน โ อ เ ดี ย น ไ ป จ น สุ ด ถ น น การที่มีรถวิ่งทางเดียวตลอดเวลา ซึ่ ง เปรี ย บเหมื อ นมั ง กรนั ้น แหวก ว่ ายไปข้ างหน้ า อย่ างไม่ เคยหยุดนิ่ง ซึ่งต�ำราจีนเรี ยกว่ า หรื อท�ำเลมีชีวติ

‘ท�ำเลเป็น’


พ.ศ.2368

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ งเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ด้ วยความที่ทรงสนิทสนมกับชนชาติจนี ท�ำให้ งานศิลปะ จีนเป็ นที่นิยมในไทยตลอดรั ชกาล ช่ วงนัน้ อังกฤษได้ ส่ งร้ อยเอก เฮนรี เบอร์ นี มาท�ำสนธิการค้ ากับไทย ไทยต้ องยกเลิ ก สิ ท ธิ ผู ก ขาดการค้ ากั บ ต่ า งประเทศ ร.3จึงทรงมี นโยบายเพิ่มรายได้ ให้ แก่ รัฐโดยน� ำระบบ เจ้ าภาษีนายอากรมาใช้ และเปิ ดให้ เอกชนประมูลสิทธิ ผูกขาดการจัดเก็บภาษีอากร ซึ่งผู้ประมูลได้ ส่วนใหญ่

พ.ศ. 2398

คือพ่ อค้ าจีนที่ม่ ังคั่ง ช า ว จี น จึ ง ไ ด้ เ ข้ า ม า มี บ ท บ า ท ท า ง เศรษฐกิจ ต่ อมามี การตัง้ ต�ำแหน่ งนาย อ� ำ เภอจี น ดู แ ลชาว จี น ใ น แ ต่ ล ะ ท้ อ ง ถิ่น ที่เ พิ่ม ขึ น้ เรื่ อยๆ

ในรั ชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว สนธิสัญญาเบาวริ งท�ำให้ พระคลังยกเลิกการผูกขาดสินค้ า และเปิ ดการค้ าเสรี ประกอบกับที่ประเทศจีนเกิดภาวะ อดอยากอย่ างหนัก คนจีนจ�ำนวนมากจึงอพยพเข้ ามายัง ประเทศไทย ซึ่งมักประกอบกิจการค้ าขายตามความถนัด และน�ำผักต่ างๆ เข้ ามาปลูกกินด้ วย เช่ นผักคะน้ า กวางตุ้ง ปวยเล้ ง และหัวไชเท้ า ซึ่งคนไทยบริโภคกันทั่วไปในปั จจุบนั

พ.ศ.2542

ชุมชนคนจีนเยาวราชได้ สร้ าง ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา เพื่อแสดงความจงรั กภักดีแด่ พระมหากษัตริย์ไทย มี แผ่ นจารึกพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ฯ และจารึก ภาษาจีนลายพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ ว่ า “เซิ่ง โซ่ ว อู๋ เจียง” (ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน) ประดับซุ้มประตูฯ และขณะก่ อสร้ าง ประธานาธิบดีแห่ งจีน เจียง เจ๋ อ หมิง ได้ มาเยือนประเทศและชุมชน คนจีนเยาวราช และโปรยข้ าวตอกดอกไม้ เป็ นสิริมงคล

พ.ศ. 2414 พ.ศ.2435-2443 ทรงโปรด เ ก ล้ า ฯ ใ ห้ พ ร ะ ยาโชฎึ ก ราชเศรษฐี เจ้ ากรมท่ าซ้ าย และ พุทธศาสนิ กชนชาว จี น ร่ วมกั น สร้ างวั ด เล่ งเน่ ยยี่ขนึ ้

พระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างถนนเยาวราชขึน้ จากบริเวณ คลองโอ่ งอ่ างถึงวัดไตรมิตรฯ เป็ นระยะทาง 1,532 เมตร โดยชื่อ “เยาวราช” แปลว่ าพระราชาที่ทรงพระ เยาว์ หมายถึงรั ชกาลที่ 5 ที่ขนึ ้ ครองราชย์ เมื่อพระ ชนมายุเพียง 15 พรรษา ซึ่งทรงโปรดฯ ให้ ตดั ถนน โดยเลี่ยงไม่ ให้ ตดั ถูกบ้ านเรื อนราษฎร ถนนเยาวราช จึงคดเคีย้ วไปตามบ้ านเรื อน

เขตสัมพันธวงศ์

ถึงแม้ จะไม่ มีตวั เลข แสดงรายได้ เฉพาะของแต่ ละร้ านค้ าในเยาวราชก็ตาม แต่ จากการเก็บภาษีท้องถิ่นของเขตสัมพันธวงศ์ ระบุว่า

รัฐสามารถเก็บภาษีท้องถิ่นของเขตนี้ได้สูงถึง

100,000,000 บาท/ 1.42 ตร.กม.

ตัวเลขดังกล่ าวมีความคงที่เพราะสภาพเศรษฐกิจในพืน้ ที่นัน้ ถึงจุดอิ่มตัวแล้ ว ส�ำหรั บการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่สำ� คัญของพืน้ ที่นี ้ อยู่ในมือของ กลุ่มผู้ประกอบการซึ่งสืบเชือ้ สายจากคนจีนโพ้ นทะเลที่เข้ ามาตัง้ รกรากและเปิ ดกิจการในพืน้ ที่ นอกจากนี ้ ถนนเยาวราชมีร้านทองกว่ า 130 ร้ าน ตัง้ อยู่ เป็ น ย่ านค้ าทองที่ใหญ่ ท่ สี ุดในประเทศไทย และเป็ นตลาดทองรู ปพรรณท�ำมือที่ใหญ่ ท่ สี ุดในโลก มีกระแสเงินหมุนเวียนจากการค้ าทองค�ำวันละหลายสิบล้ านบาท (กว่ า 3พันล้ านบาท/ปี )

ความเข้มแข็งของชุมชนจีน

การเข้ามาของคนจีน

ภาพของชาวจีนที่ลงเรื อส�ำเภาข้ ามทะเลมายังประเทศไทยด้ วยกันและช่ วยเหลือ กันและกัน ได้ ถูกสะท้ อนโดยคุณ ซกเค็ง แซ่ เตียว ลูกหลานรุ่ นที่ 3 ร้ านขายกระดาษไหว้ เจ้ าบนซอยเจริญไชย 2 ซึ่งเล่ าว่ าคนจีนอยู่กันอย่ างพอเพียง พึ่งพาอาศัยและเกือ้ หนุนกัน เสมอ มีความสามัคคี และทุกเย็นก็จะกินข้ าวสังสรรค์ ด้วยกันหน้ าบ้ าน แม้ บรรยากาศนีจ้ ะค่ อยๆ เลือนหายไปตามกาลเวลาและผู้คน โดยเฉพาะ คนรุ่ นหลัง ที่มักประกอบอาชีพอื่นแทนที่จะสืบทอดกิจการต่ อเป็ นช่ องให้ คนนอกเข้ ามา ค้ าขายแทนคนในชุมชน แต่ ยังมีกลุ่มลูกหลานเจริญไชยที่พยายามถ่ ายทอดเรื่ องราววิถี ชีวติ นีต้ ่ อไป เช่ น คณะกรรมการท�ำงานฟื ้ นฟูและอนุรักษ์ ชุมชนเจริญไชย ที่ก่อตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ “บ้ านเก่ าเล่ าเรื่ อง” ขึน้ ไว้ เป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ วถิ ชี ีวติ ชุมชนจีนในเยาวราช และให้ คนในชุมชน ตระหนักในคุณค่ ามรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งสิ่งของที่น�ำมาจัดแสดงทัง้ หมด เป็ นมรดกจากบรรพบุรุษคนจีนที่ได้ ตกทอดมา เป็ นความพยายามหนึ่งที่จะคงวิถชี ีวติ ชุมชนจีนไว้ แม้ ในพืน้ ที่เจริญไชยเองก็กำ� ลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงอยู่กต็ าม

ชาวจีนที่เข้ ามานั บเป็ นชนชาติหนึ่ งที่อาศัยอยู่กับคน ไทยได้ อย่ างกลมกลืน ส่ วนหนึ่งก็ด้วยธรรมชาติของสังคม ไทยที่เปิ ดกว้ างรั บคนต่ างชาติท่ เี ข้ ามา และชาวจีนเองก็มี วัฒนธรรมที่คล้ ายกับคนไทย อีกทัง้ มีคนจีนที่แต่ งงานกับคน ไทยอยู่มาก โดยชาวจีนรุ่ นแรกที่เข้ ามาจากเมืองจีน หากไม่ ได้ ขอเปลี่ยนสัญชาติกจ็ ะเป็ นคนต่ างด้ าว แต่ ลูกที่เกิดในเมือง ไทยจะได้ สัญชาติไทยแต่ มีกำ� เนิดจีน ส่ วนรุ่ นต่ อไปที่เกิดใน เมืองไทยก็จะได้ สัญชาติไทย เชือ้ ชาติไทย เป็ นคนไทยโดย สมบูรณ์ ซึ่งคนกลุ่มนีจ้ ะนิยมใช้ ช่ ือไทย และตัง้ นามสกุลไทย ตามความหมายเดิมของแซ่ ตน หรื อใส่ แซ่ ลงไปในนามสกุล เลย ด้ วยจิตส�ำนึกความเป็ นคนไทยและความภูมใิ จในเชือ้ ชาติ

อ้ างอิง : KTnews. ”คือ้ ตีก่อ?” ไทยจีนถิ่นเก่ า ‘วิถแี ห่ งเยาวราช’ ฉากชีวติ เจือจาง…รางเลือน.. [ออนไลน์ ] <http://news.ktthaigroup.com/> (25/07/13)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.