ป.ปลาผาชัน

Page 1

ความโชคดีของชุมชนบ้ านผาชันริ มแม่น� ้ำโขง คือการ มีปลาเป็ นแหล่งอาหารและรายได้ ที่ส�ำคัญ

สภาพภูมิศาสตร์ คืออีกหนึง่ ปั จจัยส�ำคัญที่สง่ ผลต่อวิถีท�ำมาหากินของชุมชนบ้ านผาชันซึง่ มี หินฐานเป็ นหินทรายปรากฎสภาพพื ้นที่เป็ นผาและแก่ง และบางส่วนจะเป็ นพื ้นที่น� ้ำท่วมถึง ซึง่ พื ้นที่น� ้ำท่วมถึงดังกล่าวของแม่น� ้ำโขงจะกลายเป็ นแหล่งวางไข่ เพาะพันธุ์และเติบโตของ ปลาในแม่น� ้ำโขงได้ เป็ นอย่างดี ชาวบ้ านมักจะหาปลาได้ มากเกือบตลอดทังปี ้ ทังยั ้ งเป็ นปลา ที่สดและอร่อย เป็ นที่ต้องการของตลาดและนักบริ โภคปลา

แก่งคือพื ้นที่ราบกว้ างและน� ้ำท่วมถึงได้ (เรี ยกว่า ทาม ในเขตแม่น� ้ำมูน) มีบงุ่ หลุม และซอกหลืบของหินท�ำให้ เป็ นที่ทบั ถม สะสมของตะกอนแม่น� ้ำและ ธาตุอาหาร ที่มากับแม่น� ้ำ อีกทังเป็ ้ นที่หลบภัยและ แหล่งอาศัยของพันธุ์สตั ว์น� ้ำขนาดเล็กทังกุ ้ ้ง หอย ปู ปลา และในหน้ าแล้ งซึง่ เป็ นช่วงที่น� ้ำ ลดลงมาก นอกจากจะเป็ นแหล่งสัตว์น� ้ำ แล้ ว ก็ยงั เป็ นแหล่งปลูกพืชไร่ พืชสวนครัว ได้ ดีของชาวบ้ านได้ อีกด้ วย

มอง

เป็ นเครื่ องมือที่ชาวประมงนิยมกันมากใน ลุม่ น� ้ำโขงตาข่ายของ “มอง” จะมีหลาย ขนาดซึง่ จะท�ำให้ ได้ ปลาต่างชนิดและขนาด ที่ตา่ งกันออกไป วิธีใช้ มอง ก็เพียงหย่อน “มอง” ลงในแม่น� ้ำหรื อเวิน และผูกไว้ ริมผา หรื อผูกให้ ไหลตามเรื อไปกระแสน� ้ำ

ผา คือหน้ าผาหินที่สงู ชันเป็ นแนวยาว ตามล�ำน� ้ำโขง เมื่อถึงหน้ าน� ้ำระดับน� ้ำใน แม่น� ้ำโขงจะขึ ้นสูงมาก และท่วมหน้ าผา รวมทังท่ ้ วมเป็ นพื ้นที่กว้ างขวาง และลึกเข้ าไปถึงพื ้นที่บงุ่ หินภายใน

ช่วงเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ระดับน� ้ำในแม่น� ้ำโขงจะเริ่ มลดต�่ำ แต่ยงั ไม่ลดต�่ำที่สดุ เป็ นระดับน� ้ำที่เหมาะแก่การท�ำประมงแต่วา่ ชาวบ้ าน จับปลากันน้ อย เพราะเมื่อระดับน� ้ำลดลง แม่น� ้ำโขงจะพัดน�ำตะกอน พืชน� ้ำ หรื อสาหร่ายต่าง ๆ จากลุม่ น� ้ำโขงตอนบนมาด้ วย ซึง่ สิง่ เหล่านี ้ จะเป็ นอุปสรรค ต่อการจับปลาของชาวบ้ าน เช่น เมื่อปล่อย “มอง” ลงน� ้ำ สาหร่ายจะไปพันติด มอง ท�ำให้ ปลาไม่เข้ า “มอง” ชาวบ้ านจึงใช้ ชว่ งเวลาดังกล่าวไปเตรี ยมพันธุ์ ข้ าวเพื่อท�ำนาหว่านในฤดูฝนที่ก�ำลังมาถึง ในช่วงเวลาน� ้ำลดต�่ำเช่นนี ้ เป็ นช่วงที่ปลา จะว่ายทวนน� ้ำสูแ่ ม่น� ้ำโขงตอนบนเพื่อไป วางไข่ ท�ำให้ เกิดภูมิปัญญาในการ “ไหลมอง” โดยชาวบ้ านจะล่องเรื อไปตามน� ้ำแล้ วลาก มอง ไปด้ วย ซึง่ จะท�ำให้ สามารถจับปลาได้ มาก เพราะ มอง จะไหลไปตามกระแสน� ้ำ ในขณะที่ ปลาจะว่ายทวนกระแสน� ้ำ

ช่วงเดือนมีนาคมและเดือนเมษายน เป็ นช่วงที่ น� ้ำลดลงต�่ำสุด อย่างไรก็ตามล�ำน� ้ำโขงในช่วงที่ ไหลผ่านบ้ านผาชันก็ยงั มีความลึกถึง 70 เมตร และช่วงนี ้ อาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นช่วง “ไฮ” ในการจับปลา ของชาวบ้ าน เนื่องจากระดับน� ้ำที่ลดลงต�่ำมากนี ้ ท�ำให้ กระแสน� ้ำลดความ เชี่ยวกรากลง สาหร่ายที่เป็ นตัวปั ญหาในการจับปลาได้ ถูกพัดพาตามกระแสน� ้ำไปก่อนแล้ ว ชาวบ้ านจึงจับปลา ได้ มาก เพราะ

นอกจากนี ้ยังมีการ “แช่มอง” ซึง่ ชาวบ้ านจะน�ำ มอง ไปผูก ไว้ ริมผาในเวลากลางคืน เพราะ ปลามักจะซ่อนอยูต่ าม ซอกหลืบ หรื อก้ อนหินริ มผา ซึง่ จะจะท�ำให้ มี ปลาติดมองได้ มาก

ช่วงเดือนพฤษภาคม ระดับน� ้ำเริ่ ม สูงขึ ้น ชาวบ้ านยังพอจับปลาได้ โดยมากชาวบ้ านจะเตรี ยมผืนนาส�ำหรับ ท�ำนาบริ เวณที่ราบสูงเพื่อทดแทนในช่วงที่ จับปลาไม่ได้ ในหน้ าน� ้ำหลากเนื่องจากน� ้ำ จะสูงและไหลเชี่ยวมากขึ ้น

ช่วงเดือนมิถนุ ายนถึงสิงหาคม เป็ นช่วงที่ระดับน� ้ำขึ ้นสูงมากจนท่วม ผา แก่งและบุง่ จนมิด (ในเดือนกรกฎาคม) ชาวบ้ านจะไม่สามารถหาปลา หรื ออาหารจากแม่น� ้ำโขงและบุง่ ได้ พื ้นที่ท�ำกินของชาวบ้ านจะขยับมายัง บริ เวณแก่งที่อยูล่ กึ เข้ ามาจากล�ำน� ้ำ และพื ้นที่แก่งมีป่าที่ถกู น� ้ำท่วมถึงบ้ าง ท�ำให้ มีปลาเข้ ามาอยูใ่ นบริ เวณนัน้ เนื่องจากพันธุ์พืชที่อยูใ่ นแก่งจะถูกน� ้ำท่วม และกลายเป็ นอาหารของปลาที่วา่ ยมากับน� ้ำ

เครื่ องมือจับปลาที่ชาวบ้ านใช้ ใน การจับปลาคือ จัน่ ลอบ และช้ อน

จั่น

เป็ นเครื่ องมือจับปลาที่พบเฉพาะใน ชุมชนบ้ านผาชัน ชาวบ้ านจะท�ำขึ ้น มาเอง โดยจะน�ำไม้ ไผ่มาสาน ท�ำเป็ น จัน่ เมื่อต้ องการใช้ งาน ชาวบ้ านจะปั ก “จัน่ ” ไว้ ในน� ้ำ และเมื่อปลาว่ายเข้ าไป ในจัน่ เชือกจะกระตุกดึงคันเกล็ด ลงมา ปิ ดทางออก ท�ำให้ ปลาถูกขังอยูใ่ น “จัน่ ” นัน่ เอง

ช้ อน

ลอบ

เป็ นเครื่ องมือที่ท�ำจากไม้ ไผ่ ไม่มีบานเกล็ดทางเข้ าแคบกว่า จัน่ ชาวบ้ านจะน�ำ ลอบ ไปวาง ไว้ บริ เวณซอกหินที่เป็ น ทางน� ้ำ มีปลาว่ายผ่าน

มีด้ามท�ำจากล�ำไม้ ไผ่ และขึงด้ วยตาข่ายไว้ โดยชาวบ้ านจะยืนอยูร่ ิ มผา ใช้ ช้อนตักปลาในแม่น� ้ำ ช่วงเดือนกันยายนและเดือนตุลาคม จะเป็ นช่วงที่น� ้ำเริ่ ม ลดลงระดับหนึง่ แก่ง แต่ละแห่งจะมี “เวิน” หรื อ วังน� ้ำวน คือเมื่อน� ้ำพัดเข้ ามาใน แก่ง ก็จะวนออก ท�ำให้ ปลาเข้ าติดอยูใ่ น แก่ง ชาวบ้ านจะมีวิธีการจับปลาใน แก่ง อย่างง่าย ๆ คือการน�ำ มอง มาวางไว้ กลาง “เวิน” เมื่อปลาว่ายวนเข้ ามาตามกระแสน� ้ำ ก็จะติด มอง

นอกจากการจับปลา บริ เวณ แก่งยังมีการปลูก พืชผักสวนครัว ตามบ้ าน ปลูกถัว่ ข้ าวโพดและมัน ตามแก่งที่น� ้ำเริ่ มลดลงบ้ าง

ช่วงเดือนพฤศจิกายน เป็ นช่วงที่ระดับน� ้ำก�ำลังจะ ลด และเข้ าสูฤ่ ดูแล้ งอีกครัง้ ซึง่ ชาว บ้ านก็จะกลับมาใช้ มองและเบ็ด ใน การหาปลาเช่นเดิม เพราะน� ้ำเริ่ มลง กระแสน� ้ำไม่แรงและไม่พดั เอา มอง ไปกับน� ้ำด้ วย

เบ็ดราว

ชาวบ้ านจะผูก “เบ็ดราว” พาดยาว ฝั่งไทย-ลาว เบ็ดราวจะมีเชือกซึง่ ปลาย ผูกขอเบ็ดห้ อยไว้ ชาวบ้ านจะหย่อนเบ็ด ลงไปในล�ำน� ้ำ โดยจะมีหินถ่วง ช่วงเดือนธันวาคม จะกลับ มามีระดับน� ้ำใกล้ เคียงเดือน มกราคม และกุมภาพันธ์ ในช่วงหน้ านี ้ น� ้ำก็จะเริ่ มลดลงแล้ ว ปลาจะมีมากขึ ้น ชาวบ้ านจะใช้ เบ็ดและมองเช่นเดิม เพราะเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ งา่ ยไม่จ�ำเป็ น ต้ องมาดูแลมาก ปล่อยทิ ้งไว้ ก็ได้ ปลา

ช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายน ปลาเขื่อ(ปลาคัง่ ) ปลาตุน่ ปลาเนื ้ออ่อน ปลานาง ปลายาง ปลาบากบาน ปลาโจก ปลาอิตุ ปลากด ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงพฤษจิกายน ปลาปะขก ปลาเนื ้ออ่อน ปลาสะโงะ ปลาคัง ปลาตุน่

ปลาคัง

ปลาปากบาน

ปลาเนื ้ออ่อน

ปลานาง

ปลาตะเพียน

ปลากด

ปลาอิตุ

ปลาโจก

ปลาเอิน

ปลาสะโงะ

ในอดีตเมื่อพ.ศ.2550ที่ผา่ นมา ชุมชนบ้ านผาชัน ประสบปั ญหาราคาปลาที่ต�่ำเพราะถูกกดราคาจากพ่อค้ าคนกลาง ท�ำให้ ชาวบ้ าน รวมตัวกันก่อตัง้ “กองทุนปลา” ขึ ้น และได้ ศกึ ษาราคาปลาจากร้ านค้ านอกชุมชน เพื่อซื ้อขายปลากัน ในราคาที่เป็ นธรรมยิ่งขึ ้น กองทุนปลาจะรับซื ้อปลาจากชาวประมงทุกคนที่น�ำมาขาย ไม่วา่ จะเป็ นชาวประมงที่ถือหุ้น ของกองทุนปลาหรื อไม่ก็ตาม ซึง่ จะรับซื ้อปลาในราคามาตรฐานที่กองทุนปลาตังไว้ ้ แต่ถ้าปลาไม่ถงึ ขนาด จะรับซื ้อในราคาที่ถกู ลงและน�ำปลาไปแปรรูป เช่น น�ำไปท�ำเป็ นปลาร้ า กองทุนปลาจะได้ ก�ำไรจากการซื ้อขายปลาประมาณ 5-10 บาทต่อกิโลกรัม เฉลี่ยแล้ วต่อวันจะรับซื ้อ 3,000 – 10,000 บาท และขายได้ ประมาณ 3,000-15,000 บาท ซึง่ ก�ำไรที่ได้ จากกองทุนปลา จะน�ำไปแบ่งเปอร์ เซ็นต์ ให้ กบั ผู้ถือหุ้น กองทุนปลาทุกคน เมื่อมีกองทุนปลา ชีวิตของชาวประมงบ้ านผาชันเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้น เพราะมีรายได้ ที่มนั่ คงมาก ขึ ้น ชาวบ้ านมัน่ ใจได้ วา่ เมื่อหาปลามาได้ ก็จะขายได้ แน่นอนและได้ ราคาดี แม้ ปลาไม่ได้ ขนาดหรื อไม่สด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.