Holistic bilingual

Page 1


การศึกษาแบบองค์รวม การศึกษาแบบองค์รวม หมายถึง กระบวนการศึกษาเรียนรูถ้ งึ ระดับ จิตตปญั ญา เพือ่ ฝึกฝน ทักษะการเรียนรูใ้ ห้เข้าถึงคุณค่าทีแ่ ท้จริงของทุกสิง่ ที่ เรียน และความเข้าใจในจุดมุง่ หมายแห่งชีวติ ของตนเอง เพือ่ สร้างจิตสํานึกที่ ดีงาม สร้างการเปลีย่ นแปลงทัศนคติ วิธคี ดิ พฤติกรรม ขยายศักยภาพและ สร้างดุ ลยภาพแห่งมนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ ด้วยวิธีการลงมือปฏิบตั ิ และสะท้อน ความหมาย ความรูค้ วามเข้าใจอย่างเชื่อมโยง ถึงประโยชน์ ทเ่ี กิดขึน้ กับทัง้ ตนเอง สัง คมและโลก และที่สํ า คัญ สามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ อ ย่ า ง สร้างสรรค์ ผ่านการกระทําทัง้ ทางกาย วาจา ใจ

1


เอกสารบทความประกอบคาศัพทท “การศัึกษาแบบองครวม” ความนา ระบบการศึกษาทีพ่ ฒ ั นามาแต่อดีตจนถึงปจั จุบนั มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ นกระบวนการบ่มเพาะเด็กและเยาวชน ให้มคี วามรูค้ วามสามารถ พร้อมๆ กับการมีทกั ษะการทํางานและทักษะชีวติ และเพื่อให้ผจู้ บการศึกษาเกิดความพร้อม ทีจ่ ะดํารงชีวติ เผชิญและแก้ปญั หาทีม่ คี วามซับซ้อนในสังคมโลกทุกยุคทุกสมัยเสมอมา อย่างไรก็ดรี ะบบการศึกษาเองก็ได้รบั การท้าทายถึงสติปญั ญาของมนุษย์ว่าได้ทาํ หน้าทีอ่ ย่างมีความหมายและ คุณค่าเพียงพอทีจ่ ะเป็ นส่วนหนึ่งของการแก้ปญั หา มากกว่าทีจ่ ะเป็ นส่วนหนึ่งของปญั หานัน้ เสียเอง ได้มากน้อยเพียงใด เพราะผลจากการพัฒนาการศึกษาทีเ่ น้นความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรืออาจจะเรียกว่าการศึกษาทีเ่ อา วิชาความรูเ้ ป็ นตัวตัง้ และเป็ นเป้าหมายหลักนัน้ ได้นําความเจริญมาสูเ่ ศรษฐกิจการค้า อุตสาหกรรมต่างๆ อย่างรุดหน้า และได้สร้างความเปลีย่ นแปลงวิถกี ารดํารงชีวติ ของมนุ ษย์อย่างใหญ่หลวง จนกระทังเข้ ่ าสู่สงั คมดิจติ อลทีด่ ูเหมือนจะ บันดาลความสุข ความสะดวกสบายให้เราอย่างไม่มที ่สี น้ิ สุด พร้อมๆ กับได้นํามาซึ่งความเสื่อมทรุดของทุกๆ ระบบ นิเวศน์ อย่างรวดเร็ว จนยากที่จะปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งทําให้การบรรลุเป้าหมายที่แท้จริงของชีวิตมนุ ษย์ ยิ่ง ห่างไกลออกไปทุกที หากมองอีกมุมหนึ่งจะพบว่าการศึกษาเช่นว่านัน้ ได้แยก การเรียนรู้ ออกจากชีวติ จิตใจของมนุษย์ ซึง่ หมายถึง ผูม้ ใี จสูง ผูซ้ ง่ึ มีศกั ยภาพพิเศษทีจ่ ะรูจ้ กั ตนเอง และรูท้ นั กิเลสของตนได้ ซึง่ ต้องการการศึกษา (สิกขา) เพื่อพัฒนาฝึ กฝน ให้เติบโตทางด้านจิตตปญั ญา เข้าถึงระบบคุณค่าแท้ มีศรัทธาต่อความดีงาม และมีทกั ษะพาตนพ้นจากกระแสกิเลสใน ใจ สามารถใช้วชิ าความรู้ไปในทางสร้างสรรค์โดยไม่ทําลาย หรือไม่เบียดเบียนมนุ ษย์ด้วยกันเอง ตลอดจนโลกและ สรรพสิง่ ทัง้ มวลได้ หากการศึกษาพัฒนาคุณค่ามนุ ษย์เช่นนี้หายไป มนุ ษย์และโลกจะยังคงตกอยู่ภายใต้ ภัย อันเกิด จากฝีมอื มนุษย์ดว้ ยกันเองทีน่ บั วันจะรุนแรงยิง่ ขึน้ ทุกทีดงั ทีเ่ ป็ นอยู่ในขณะนี้ ในระหว่าห้วงเวลากึ่งหลังของศตวรรษที่ ๒๐ ต่อเนื่องมายังทศวรรษแรกของศตวรรษที่ ๒๑ ทีผ่ ่านมานี้ มี นักการศึกษาและปราชญ์หรือผูร้ จู้ าํ นวนไม่น้อย เริม่ แสวงหาว่าจะมีการศึกษาชนิดใดทีจ่ ะสร้างสมดุลดังกล่าวนัน้ ได้? ซึง่ จะเป็ นการศึกษาเพื่อทางรอดของมนุ ษยชาติและสรรพสิง่ ทัง้ ปวง เราจึงได้เห็นนวัตกรรมทางการศึกษาหลากหลาย รูปแบบ ทีน่ ําพาวิธกี ารเรียนรูอ้ อกนอกกรอบวังวนเดิม ขยายออกไปสูม่ ติ กิ ารเรียนทีก่ ว้างขวางนอกกรอบของตําราหรือ เฉพาะในบริบทห้องเรียน และไปสู่มติ ทิ างลึกทีเ่ ชื่อมโยงสิ่ งที่เรียนอย่างมีความหมายกับชีวติ จิตใจ พลิกเอาคุณค่าที่ แท้จริงขึน้ มาสูก่ ารประยุกต์ใช้ความรูน้ นั ้ อย่างสร้างสรรค์ได้ ทีม่ าหรือแนวคิดของกลุ่มการศึกษาใหม่เหล่านี้ มีสงิ่ หนึ่งทีค่ ล้ายคลึงกัน นันก็ ่ คอื การเรียนทีเ่ อาชีวติ เป็ นตัวตัง้ และเอาวิชาเป็ นสือ่ ประกอบการเรียนเพื่อเข้าถึงคุณค่าของชีวติ และสรรพสิง่ ซึง่ การเรียนรูเ้ ช่นนี้สอดคล้องกับธรรมชาติ การเรียนรู้ของมนุ ษย์อยู่แล้ว ที่ไม่เพียงต้องการอาหารสมองทีป่ ราศจากความหมาย หากยังต้องการอาหารทางจิตต ปญั ญาเพื่อการเติบโตทางด้านจิตใจ สติปญั ญา อันเป็ นที่ตงั ้ ของความรู้ความสามารถที่แท้จริงของมนุ ษย์ และการ เรียนรูแ้ บบนี้ตอ้ งการทักษะพิเศษทีต่ ่างจากการเรียนรูท้ วๆ ั ่ ไป แม้ในสังคมตะวันตกเองก็ได้เกิด School of Thought ทีใ่ ห้ความสําคัญกับคําว่า Mind and Spirit เราจึงพบว่า มีสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่งทัง้ ในยุโรปและอเมริกา ทีห่ นั มาฝึ กฝนและค้นคว้าทดลองอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ในเรื่อง ของการเจริญสติ สมาธิ ทีเ่ รียกว่า Mindfulness Meditation จนบังเกิดผลทีส่ มั ผัสได้จริง และนับวันจะเป็ นทีน่ ิยมกัน 2


อย่างแพร่หลาย ในขณะที่สงั คมตะวันออก ซึ่งถือว่าเป็ นแอ่งวัฒนธรรมความรู้ในเรื่องการศึกษาภาวนาด้านจิตใจและ ปญั ญามาแต่ครัง้ พุทธกาล กลับต้องเหลียวมองและอ่านตําราเหล่านี้ของนักวิชาการตะวันตก ซึง่ มีพฒ ั นาการการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง มาเป็ นลําดับเพื่อเข้าหาการศึกษาทีส่ มดุลนันเอง ่ ความรูห้ รือนวัตกรรมการศึกษาเช่นนัน้ ได้ถูกบัญญัตขิ น้ึ และได้รบั การยอมรับกันอย่างแพร่หลายในโลก เช่น คําว่า Wholistic/Holistic Education หรือ Holistic Learning แปลได้ว่า การศึกษาแบบองค์รวม อย่างไรก็ตาม ใน กรณีศกึ ษาของประเทศไทย ก็ได้มกี ลุ่มการศึกษาเช่นเดียวกันนี้เกิดขึน้ เช่นกันโดยมิได้นัดหมายหรือลอกเลียนแบบ อย่างของทางตะวันตกมา หากแต่เป็ นการเกิดขึน้ จากเหตุปจั จัยทีใ่ กล้เคียงกัน คือการแสวงหาแนวทางการศึกษาใหม่ ที่จะช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครองตอบโจทย์ของการพัฒนาบุตร-ธิดา ให้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรอบด้าน และเป็ นบุคคลแห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ เป็ นพลเมืองทีม่ คี ุณค่าต่อสังคมได้อย่างเต็มภาคภูมิ

ทพฒนาการของศัาสตรการเรียนรู้ กว่าจะมาเป็ น “การศัึกษาแบบองครวม” คําว่า การศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Education) ฟงั ดูเหมือนเป็ นคําศัพท์ใหม่ และเป็ นศาสตร์ทพ่ี ฒ ั นาขึน้ จากสังคมตะวันตก หากแต่ได้แฝงความหมายดัง้ เดิมของการพัฒนามนุษย์ตามนัยแห่งพุทธธรรม หรือตามคติและความ เชื่อของสังคมตะวันออกทีเ่ ข้าใจกระบวนการเรียนรูท้ แ่ี ท้จริงของมนุษย์มาก่อนหน้าเป็ นเวลาช้านานไว้ดว้ ย เช่นเรื่องการ พัฒนาด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Development) การเจริญสติ (Mindfulness cultivation) และการปฏิบตั ิภาวนา (Contemplative practices) ซึง่ สถาบัน การศึกษาทางตะวันตกไม่ได้นบั ว่าเป็ นศาสตร์การเรียนรูม้ าก่อน นอกจากนี้ชุดความรู้ท่นี ่ าจะเป็ นพื้นฐานสําคัญๆ อีก ๒-๓ ด้าน ประกอบไปด้วย ความรู้ด้านจิตวิทยาการ เรียนรู้ (Learning psychology) ด้านพัฒนาการของสมอง หรือการเรียนรูท้ อ่ี ยู่บนพืน้ ฐานพัฒนาการของสมอง (Brainbased Learning; BBL) และด้านพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral sciences) เป็ นต้น โดยเฉพาะฐานคิดทางจิตวิทยา เกสตอลต์ (Gestalt Theory) ซึ่งกล่าวถึงการมองสิง่ ต่างๆ อย่างรับรูภ้ าพรวมทัง้ หมดไม่แยกส่วน - ผูร้ เิ ริม่ แนวคิดนี้ ได้แก่ Max Wertheimer, Kurt Koffka, Wolfgang Kohler และ Kurt Lewin อีกความหมายหนึ่งของ Jan Christian Smuts ให้ความหมายว่า ส่วนรวมมีค่ากว่าส่วนย่อยรวมกัน (The whole is more than the sum of the parts) (จาก พจนานุ ก รมศัพท์จิต วิท ยา) ความรู้ยุ ค นี้ ได้เ ปิ ดแนวคิดเชิง ลึก ในกระบวนการเรีย นรู้ของมนุ ษย์ และยัง ผลให้เ กิด พัฒนาการทฤษฎีอ่นื ๆ ตามมาอีกมาก ไม่เพียงเฉพาะในด้านการศึกษาเท่านัน้ ต่อมายังยุคสมัยความรูข้ อง Bloom's Taxonomy of learning (1950s) เป็ นต้นมา ได้ช่วยให้นักการศึกษา สามารถจําแนกระดับการบรรลุผลของการเรียนรู-้ หยังรู ่ ข้ องมนุษย์ (Human cognition) ๖ระดับ ตัง้ แต่ ๑) ขัน้ การเข้าถึง/ เรียนรูเ้ นื้อหาข้อมูล สามารถระบุคาํ หรือนิยาม และตัง้ คําถามได้ ๒) ขัน้ ประมวลความเข้าใจ สามารถทําตามโจทย์และ อธิบายสิง่ ทีท่ าํ ได้ ๓) ขัน้ การประยุกต์จากวิธที ํานัน้ ๆ สู่โจทย์อ่นื ๆ ได้ ๔) ขัน้ วิเคราะห์ จากสิง่ ทีเ่ ข้าใจได้ว่าเพราะเหตุ ใดวิธกี ารนัน้ ๆ จึงใช้ได้ ๕) ขัน้ สังเคราะห์ โดยรวบรวม เรียบเรียง จากแต่ละส่วนของกระบวนการให้เป็ นวิธกี ารใหม่ทด่ี ี หรือมีประโยชน์กว่าเดิม และ ๖) ขัน้ ประเมินผล ผูเ้ รียนสามารถสร้างสรรค์แนวทางใหม่ๆเพื่อการแก้ปญั หา บนพืน้ ฐาน ของเกณฑ์การตัดสินใจทีต่ กผลึกแล้ว จนสามารถเลือกวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ดุ ในการแก้ปญั หาได้ เป็ นต้น นอกจากนัน้ ยังมีการกําหนดเป้าหมายในการประเมินผลให้เป็ นไปตามหลักของการเรียนรู้ ๓ ประการ ได้แก่ ด้านพุทธิปญั ญา (Cognitive domain) ด้านพฤฒิปญั ญาหรือจริยธรรม (Affective domain) และด้านสุขภาวะกาย-ใจ (Psychomotor domain) เพื่อให้ครอบคลุมพัฒนาการทัง้ มวลของผูเ้ รียนอย่างมีความหมายทีแ่ ท้จริง (True meaningful personal development) 3


จะเห็นได้ว่าประเด็นสําคัญที่เป็ นคุณูปการของ Benjamin Bloom ต่ อวงการการศึกษา ซึ่งท้าทายต่ อ ความหมายและศักยภาพที่แท้จริงของมนุ ษย์ นัน่ ก็คอื การที่ Bloom พยายามผลักดันเป้าหมายของการเรียนรู้ของ ผูเ้ รียนให้สงู ขึน้ ไม่ให้หยุดอยู่เพียงระดับการรับรูข้ อ้ มูลดิบ (Empirical facts) และเรียกกลับมาผ่านความทรงจํา (recall informations) โดยปราศจากความรูส้ กึ หรือความคิดคํานึงทีม่ คี วามหมายของผูเ้ รียนเอง ซึง่ เขากล่าวว่าเป็ นเป้าหมาย ระดับตํ่าสุด เพียงระดับทีห่ นึ่ง ใน 6 ระดับ และจุดนี้เองที่พบว่าเป็ นสภาพการจัดการศึกษาทีท่ ํากันเป็ นส่วนใหญ่ ใน ขณะนัน้ ทําให้การศึกษาและครูเป็ นเพียงผูส้ ่งสาร (messenger) เท่านัน้ จึงเป็ นข้อจํากัดของการศึกษาทีใ่ ช้แต่เพียง รูปแบบการจัดในโรงเรียน ชัวโมงเรี ่ ยน สาระวิชาเรียนที่ตายตัวเหมือนกันหมดทัง้ ประเทศ โดยอ้างว่าเพื่อให้เกิด มาตรฐานเดียวกัน การทําเช่นนัน้ จึงไม่อาจสร้างบุ คลิกภาพ ความสามารถ ทักษะต่างๆทีจ่ ําเป็ นของผูเ้ รียนทัง้ ในมิตทิ ่ี กว้างขวางและลึกซึง้ ตามศักยภาพทีแ่ ท้จริงของผูเ้ รียนได้

ถึงเวลาของ “ผูเ้ รียนเป็ นศัูนยกลาง” ( Child-Centered Learning) เป้าหมายการศึกษาทีต่ ้องประเมินอย่างรอบด้านของ Bloom นี้เอง ที่ช้ใี ห้เห็นหรือเป็ นการเตือนสตินักการ ศึกษาทัง้ หลาย ให้คํานึงถึงเป้าหมายที่แท้จริงของการจัดการศึกษาว่าการจัดการศึกษาควรเป็ นกระบวนการพัฒนา มนุ ษย์ให้เต็มตามศักยภาพ ดังนัน้ ในเวลาต่ อมาจึงได้มีการให้ความสนใจเรื่องของ EQ ควบคู่กบั IQ ซึ่งเป็ น ความก้าวหน้าของศาสตร์ดา้ นจิตวิทยาการเรียนรู้ และมีอทิ ธิพลพอสมควรทีท่ ําให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ขึน้ เช่นผลงานทีเ่ กิดขึน้ ก่อนหน้าหรือไล่เลีย่ กันของแพทย์หญิง Maria Montessori ซึง่ ได้ทดลองใช้กระบวนการทีเ่ ข้าใกล้ การเรียนรูส้ กู่ ารปรับเปลีย่ น วิธคี ดิ จิตใจและพฤติกรรม โดยผ่านปฏิสมั พันธ์อย่างกัลยาณมิตรทีค่ รูมตี ่อผูเ้ รียน เพื่อเยียวยาความบกพร่อง ของจิตใจเด็กที่มาจากครอบครัวชุมชนสลัม และฟื้ นฟู ความพร้อมต่อการเรียนรู้ และการยกระดับ ความเชือ่ มันใน ่ ศัก ดิ์ศ รีแ ห่ง ความเป็ นมนุ ษ ย์ ของเด็ก ๆ ไปในเวลาเดียวกัน ซึ่งประสบความสํา เร็จเป็ น อย่ างดี ยิ่ง และยังคงมีนัก การศึกษารุ่นหลังได้สบื ทอดและพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ขน้ึ เฉพาะเพื่อกระตุ้นความสามารถด้าน การคิดเชิงระบบ ทีม่ ี ประสิทธิภาพจนถึงทุกวันนี้ ผลจากการพัฒนาการจัดการศึกษาต่อๆ มา ทําให้เกิดรูปแบบการจัดการศึกษาที่ เน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง และมีเป้าหมายทีก่ ารพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็ นองค์รวม (Whole child development) มากขึน้ เป็ นที่รู้จกั กันอย่าง แพร่หลายทัวโลก ่ และเกิดเป็ น School of Thought ทีม่ าท้าทายการจัดการศึกษาระบบอุตสาหกรรม (Mass Education System) ทีเ่ น้นวิชาเป็ นตัวตัง้ (Subject-based learning) โดยเฉพาะในประเทศทีก่ ารศึกษาล้าหลัง ไม่ทนั ต่อการพัฒนา ความเจริญในด้านอื่นๆ เช่นด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร และวิทยาศาสตร์ใหม่ และความซับซ้อนของโลกยุคปลาย ศตวรรษที่ ๒๐ นวัตกรรมการศึกษาอื่นๆ ในแนวทางการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพภายในทีซ่ ่อนเร้นอยู่ของมนุ ษย์ เพื่อ ให้ มีขดี ความสามารถในการเผชิญกับภาวะความยากลําบาก เช่นสังคมที่ล่มสลายลงหลังสงครามและการทําลายล้าง ดังเช่นที่เกิดขึน้ อย่างเด่นชัด ในกรณีของการศึกษาแนว Waldorf ของ Rudolf Stiener หรือทีเ่ รียกว่าแนวมานุ ษยปรัชญา (Anthroposophy) รวมทัง้ แนว Reggio Emilia ในประเทศอิตาลีทเ่ี กิดจากความริเริม่ ของพ่อแม่ผปู้ กครองและ ชุมชน โดยการนําของนักการศึกษา ชื่อ Loris Malaguzzi ร่วมมือกันเปิ ดศูนย์การเรียนให้เด็กๆ หลังภาวะสงคราม เพื่อสร้างบุคคลแห่งอนาคต โดยมุ่งสร้างพืน้ ฐานความพร้อมและสมรรถนะในการเรียนรูท้ ม่ี ากกว่า ความรู้ แต่เน้นทีก่ าร สร้างพลเมืองชัน้ นําเพื่อภารกิจการฟื้นฟูสงั คม เป็ นบุคคลผูซ้ ง่ึ มีความพร้อม มีความสามารถใช้จนิ ตนาการและสรรพสิง่ รอบตัวเป็ นสือ่ สร้างการเรียนรูอ้ ย่างลึกซึง้ ด้วยตนเองได้ คุณลักษณะเช่นนี้นอกจากจะช่วยให้เด็กๆ มีความกระตือรือร้น 4


ทีจ่ ะแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองแล้ว ยังช่วยให้พวกเขาเป็ นนักเผชิญปญั หาและชอบทีจ่ ะลงมือร่วมแก้ปญั หานัน้ ๆ ซึ่ง เป็ นคุณลักษณะของบุคคลทีจ่ ะนําพาประเทศให้เกิดความเจริญมันคงในระยะยาว ่ ต่อจากนัน้ มา แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมายหลักทัง้ ๓ และระดับการเรียนรูท้ งั ้ ๖ ระดับของ Bloom ตลอดจนนวัตกรรมการเรียนรู้ทางเลือกอื่นๆ จึงได้รบั การพัฒนาเผยแพร่ไปอย่างกว้างขวางมาเป็ นลําดับใน ประเทศแถบยุโ รปและอเมริก า ผ่ า นการพัฒ นาหลัก สูต ร กระบวนการเรีย นการสอน การวัด และการประเมิน ผล จนกระทังได้ ่ เห็นการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพของผู้เรียนซึง่ เป็ นมาตรฐานสากล อย่างไรก็ตามแม้ว่าพัฒนาการทาง การศึกษาดังกล่าว มีความใส่ใจต่อพัฒนาการเต็มตามศักยภาพในทุกมิติของมนุ ษย์มากขึน้ แต่ทป่ี ลายทางของการ พัฒนาสังคมมนุษย์นนั ้ กลับยังคงเป็ นไปเพื่อการฉกฉวยประโยชน์จากการสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซง่ึ พัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด และมีอทิ ธิพลครอบงําสังคมโลก จนกระทังไม่ ่ อาจพ้นจากสถานการณ์การแก่งแย่งแข่งขัน เบียดเบียนกัน เพื่อแสวงหาอํานาจและความรํ่ารวยอย่างไม่รพู้ อ เช่นเดิม การศึกษาจึงยังเป็ นโจทย์และเป็ นจําเลยในเวลาเดียวกันว่าจะสามารถช่วยสร้างบุคคลเช่นไร จึงจะฟนั ฝ่าวงจร นี้ออกมาได้ การศึกษามาสุดทางหรือยังมีอะไรทีข่ าดหายไป มีอะไรทีย่ งั ไม่ได้สมดุลของการพัฒนาบ้าง

คลื่นลูกใหม่ “ทพกษะการเรียนรู้แห่งศัตวรรษที่ ๒๑” ดังนัน้ จึงไม่น่าแปลกใจทีไ่ ด้เห็นคลื่นลูกใหม่ กล่าวคือ การเคลื่อนย้ายวิสยั ทัศน์ (Paradigm Shift) และการ สถาปนาชุดความคิดใหม่ (New Mind Set) ในวงการการศึกษากันอีกครัง้ จากพัฒนาการการเรียนรู้ ขาเข้า ทีเ่ น้น ความสามารถของสมองในการเรียนรู้ของปจั เจกบุคคล ไปสู่การเรียนรู้ ขาออก ที่เน้นการใช้ความรู้และทักษะเพื่อ สมรรถนะและผลิตภาพในการทํางาน ร่วมคิดร่วมทํา สร้างความเป็ นพลเมืองที่ร่วมรับผิดชอบสังคม วาระแห่งการ เรียนรู้เช่นนี้มไิ ด้เกิดขึ้นเฉพาะวงการการศึกษาโดยลําพัง หากแต่เกิ ดการยอมรับในท่าทีของการบูรณาการมิติการ พัฒนาสังคมทุกด้าน โดยมีปฐมบทอยู่ทก่ี ารพัฒนาคน เมื่อวาระแห่งโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ มาถึง พัฒนาการทีเ่ กิดขึน้ ด้วยความสามารถของมนุ ษย์ ได้ถูกตัง้ คําถาม อีกครัง้ หนึ่ง และแน่ นอน การศึกษาเป็ น เหตุ ปจั จัยหลักของการตอบคําถามนี้อกี เช่นเคย มีกระบวนการ กระแสการ ขับเคลื่อนหนึ่งกระแสสําคัญทีเ่ กิดขึน้ ในปี ค.ศ.๒๐๐๒ นัน่ คือ การจัดสอบ PISA (Program for International Student Assessment) ทีโ่ ด่งดัง โดยองค์กรกลุ่มประเทศการพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) โดยจัดสอบเยาวชนทีร่ ะดับอายุ ๑๕ ปี เท่ า กับ เป็ น การกระตุ้ น ให้เ กิด การประเมิน ผลการจัด การศึก ษาที่เ ลือ กใช้ตัว ชี้ว ัด ที่สํา คัญ สํา หรับ ทัก ษะ ความรู้ ความสามารถ แห่งศตวรรษที ่ ๒๑ ซึง่ ได้ขยายมิตกิ ารเรียนรูจ้ าก ๖ ระดับของ Bloom ไปสูท่ กั ษะการเรียนรูร้ อบด้านและ เต็มศักยภาพของมนุ ษย์ในอีกหลายมิติ แม้ว่าจะชี้นําโดยความต้องการกําลังความสามารถของประชากรแห่งโลกยุค ดิจติ อล ทีจ่ ะขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมโลกต่อไปในศตวรรษนี้ กต็ าม แต่สงิ่ ทีเ่ พิม่ เติมมาอย่างน่ าสนใจ ก็คอื คําว่า ทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที ่ ๒๑ (21st Century Learning Skills) ซึง่ ประกอบด้วย ๓ กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มที่ ๑ ทักษะการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) หรือทักษะการเรียนรู้อย่าง สร้างสรรค์ (Learning to Learn and Innovate, Critical Thinking and Problem Solving, Communication and Collaboration, Creativity and Innovation) กลุ่มที่ ๒ ทักษะแตกฉานภาษาดิจติ อล (Digital literacy Skills) หรือทักษะการใช้ภาษาดิจติ อลอย่างแตกฉาน (Information Literacy, Media Literacy, ICT Literacy)

5


กลุ่มที่ ๓ ทักษะความพร้อมด้านการงานอาชีพ (Career and Life Skills/Work-Ready/Prepared for Life) หรือทักษะอาชีพและทักษะชีวติ (Flexibility and Adaptability, Initiative and Self- Direction, Social and CrossCultural Interaction, Productivity and Accountability, Leadership and Responsibility) ทักษะการเรียนรูด้ งั กล่าวข้างบนนี้ ต้องเกิด จากการปรับการเรียนเปลีย่ นการสอนทีเ่ น้น Ps & Qs (Problems & Questions) มากกว่า Chalk & Talk และมีขอ้ ค้นพบจากผลการทดลองวิจยั ว่า การเรียนด้วยวิธกี ารของ โครงงาน นัน้ ก่อให้เกิดการฝึกทักษะดังกล่าวทัง้ หมดได้เป็ นอย่างดี ทําให้ ผูเ้ รียนรู้ มีบุคลิกทีม่ วี ุฒภิ าวะแตกต่างจาก ผูถ้ ูกสอน โดย สิน้ เชิง กลายเป็ นพลเมืองโลกยุคใหม่ทนั ที หรือแม้แต่มวี ลีทพ่ี ดู ว่า อัจฉริยะ สร้างได้ เป็ นต้น ความหมายของการศึกษาแบบองค์รวม น่าจะใกล้ความสมบูรณ์ครบถ้วนมากขึน้ อีกระดับหนึ่ง

ลมเปลี่ยนทิ ศั จากการศัึกษาแบบอุตสาหกรรม-สู่-การทพฒนาการเรียนรูค้ รบทุกมิ ติของมนุษย ความพยายามในการพัฒนาการเรียนรู้ท่ีผ่า นมาทัง้ หมด ล้วนเป็ นประโยชน์ มากในฐานะการปูท าง และ เพิม่ เติมการเปิ ดโอกาสการเรียนรูส้ ่มู ติ คิ วามสามารถของมนุ ษย์ทล่ี กึ ซึง้ และรอบด้านยิง่ ๆ ขึน้ ไป ทีส่ าํ คัญคือ เสมือนว่า ได้เกิดการยอมรับระบบการจัดการศึกษาแบบอิงธรรมชาติการเรียนรูข้ องมนุษย์ เพื่อให้ศกั ยภาพของแต่ละบุคคลเติบโต ได้เต็มที่ ความตระหนักในความจริงเรื่องการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์ ทีไ่ ม่อาจใช้รปู แบบการผลิต แบบอุตสาหกรรมได้ แต่ต้องเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ศกั ยภาพของแต่ละบุคคลได้พฒ ั นาเต็มความสามารถทีห่ ลากหลาย ตามธรรมชาติ ความถนัดของแต่ละบุคคลนัน้ เริม่ ปรากฏขึน้ ชัดเจน ดังตัวอย่างนโยบายการปฏิรปู การศึกษาของประเทศ ยักษ์ใหญ่อย่างจีน ปี ๒๐๑๐-๒๐๒๐ ทีน่ ายกรัฐมนตรี หลี่ หลานชิง ประกาศการปรับเปลีย่ นนโยบายการศึกษาเพื่อ ประชากร ๑,๓๐๐ ล้านคน จาก One Nation-One Curriculum ไปสู่ Whole Nation-Different Expertises หรือตัวอย่าง ของประเทศสิงคโปร์ แม้เป็ นประเทศขนาดเล็กจิว๋ แต่มไิ ด้ด้อยไปกว่าประเทศใหญ่ๆ ได้เริม่ ไหวตัว ประกาศนโยบาย ปฏิรปู การศึกษาเมื่อย่างก้าวสูศ่ ตวรรษที่ ๒๑ คือ Teach Less - Learn More และกําหนดหัวใจของการศึกษาคือ ระบบ คุณค่าหลัก (Core Value) หรือในกรณีของประเทศฟิ นแลนด์ ซึง่ ปฏิรูปการศึกษาเพื่อฟื้ นฟูประเทศหลังจากเป็ นอิสระ จากการถูกครอบครองโดยประเทศข้างเคียง ได้แถลงนโยบายของ Quality & Equality ด้วยการสร้างครูทไ่ี ม่เพียงมี ความรู้ แต่เป็ นผูท้ ไ่ี ด้รบั ความไว้วางใจสูง (Trust) โดยมีทกั ษะพิเศษในการสร้างแรงบันดาลใจและเอาใจใส่ผเู้ รียนเป็ น รายบุคคล มีสายตาทีม่ องเห็นและเข้าใจสภาวะการเรียนรูข้ องเด็กแต่ละคน และสามารถสรรหาวิธกี ารและสื่ออุปกรณ์ เพื่อกระตุน้ การเรียนรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียนทุกคนอย่างทัวถึ ่ ง เท่าเทียม จนเชื่อมันได้ ่ ว่าเด็กทุกคนได้รบั การพัฒนาตามศักยภาพ การเรียนรูข้ องตนเองอย่างเต็มที่ จากการหักเหแนวทางการจัดการศึกษาแบบ ลมเปลีย่ นทิศ ดังกล่าว จึงได้เห็นผลลัพธ์ คือคุณภาพการศึกษาของทัง้ ๒-๓ ประเทศ รวมทัง้ ญีป่ นุ่ ฮ่องกง เกาหลีใต้ ก็เช่นกัน ทีไ่ ด้มุ่งเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนพัฒนา สมรรถนะและทักษะการเรียนรูจ้ ากภายในของตนเอง จึงสามารถอยู่ในลําดับต้นๆ ๑-๑๐ ของโลกในเวทีทดสอบ PISA เรื่อยมา การศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Education/Learning) อยู่ในยุคก่อนและหลังการค้นพบทฤษฎีการเรียนรูข้ อง มนุษย์ จะเห็นได้ว่าในระยะปลายศตวรรษที่ ๒๐สู่ต้นศตวรรษที่ ๒๑ นัน้ มีปรากฏการณ์ต่างๆ ของศาสตร์การเรียนรูท้ ่ี น่ าสนใจและลึกซึ้งยิง่ ขึ้นเรื่อยๆ หากลองตัง้ ข้อสังเกตในความลึกซึ้งนัน้ จะพบว่าเป็ นก้าวย่างที่ใกล้จะกลับไปสู่พ้นื ฐานความรูเ้ รื่องการ รูจ้ กั ตนเอง ซึง่ ทางสังคมตะวันออกนัน้ คุน้ เคยอยู่กบั ทักษะของสมาธิภาวนา (Meditation) การเจริญ สติ (Mindful Meditation) จนถึงการวิปสั สนา (Vipassana) ซึง่ ล้วนเป็ นศาสตร์ทช่ี ่วยให้บุคคลสามารถล่วงรูถ้ งึ การรับรู้ ของตนเอง รู้ถึงความคิด อาการคิด ผลจากอาการคิด ความรู้แจ้งในความจริงหลังการรู้นัน้ ๆ ไปจนกระทังถึ ่ งการ ปลดปล่อยจิตใจจากความยึดมันถื ่ อมัน่ และเกิดความรักความเมตตาอันกว้างใหญ่ไพศาล รากฐานทีม่ าของศาสตร์แห่ง 6


การภาวนาเช่นนี้ แท้จริงมีมาก่อนพุทธกาล ต่อมาการพัฒนาถึงระดับสูงสุดแห่งความเป็ นมนุ ษย์จงึ บังเกิดขึน้ ในโลก และการสถาปนาพุทธวจนะขึน้ ทีเ่ รียกว่า การสังคายนาพระไตรปิ ฎกนัน้ ทําให้มนุ ษย์ได้รบั มรดกอันมีค่าสูงสุดตกทอด มากว่า ๒๖๐๐ ปี แล้ว จึงกล่าวได้ว่า การเรียนรูท้ ย่ี งิ่ กว่าองค์รวมนัน้ มีมาก่อนยุคแห่งการสถาปนาระบบการศึกษาของ มนุษย์เสียอีก สภาวะของความแจ่มแจ้งแห่งจิตใจนี้เอง ทีเ่ ป็ นตัวแปรสําคัญต่อศักยภาพและความสามารถในการเรียนรูข้ อง มนุ ษ ย์ จากข้อ สัน นิ ษ ฐานนี้ ภายหลัง มีนั ก วิช าการหลายกลุ่ ม ให้ค วามสนใจและทํา การทดลอง เพื่อ ที่จ ะอธิบ าย ความสามารถการเรียนรูร้ ะดับนี้ เช่นการทดลองกับนักศึกษา ๒ กลุ่ม กลุ่มหนึ่งฝึกทําสมาธิภาวนาก่อนเรียนทุกครัง้ กับ อีกกลุ่มหนึ่งไม่ตอ้ งทํา เพื่อเปรียบเทียบกัน ทดลองอย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานานพอควร แล้วทําการวัดประเมินผล การเรียน พบว่ามีผลการเรียนสูงกว่ากันอย่างมีนัยยะสําคัญ ดังนัน้ ปจั จัยภายในของผูเ้ รียนจึงได้รบั ความสนใจและเอา ใจใส่มากขึน้ โดยการจัดสภาพแวดล้อมทัง้ ทางกายภาพ และทางด้านความสัมพันธ์อนั น่ าไว้วางใจระหว่างผู้สอนและ ผูเ้ รียน และการที่ผสู้ อนเอือ้ โอกาสให้ผู้เรียนได้มสี มาธิจดจ่อต่อเนื่องคล้ายการภาวนาด้วยกิจกรรมศิลปะ และการตัง้ คําถามเพื่อกระตุน้ การใคร่ครวญ พินิจพิเคราะห์ถงึ สิง่ ทีร่ บั รูแ้ ละเข้าใจด้วยตนเอง เป็ นต้น และปรากฏว่าการฝึกฝนเช่นนี้ สามารถจัดขึน้ ได้กบั ผูเ้ รียนทุกระดับ ตัง้ แต่เด็กอนุบาลไปจนกระทังนั ่ กศึกษามหาวิทยาลัย ระบบการศึกษายุคปจั จุบนั ในศตวรรษที่ ๒๑ จึงมีแนวโน้มที่จะเลือกหรือแสวงหาการเรียนรูท้ ด่ี ที ส่ี ุดมาเป็ น เป้าหมายของผูเ้ รียนมากขึน้ ทุกที โดยมีแนวทางการขยายความสามารถทางการเรียนรูท้ งั ้ มิตภิ ายใน และเชื่อมโยงกับ มิติภายนอก ซึ่งอันที่จริงคือวิถีทางของ สิกขา ซึ่งศัพท์บาลีคํานี้ได้รบั การแปลงมาใช้ในรูปภาษาสันสกฤตว่า ศึกษา นันเอง ่ โดยทีค่ วามหมายของสิกขาได้กร่อนไป โดยเฉพาะปจั จัยหรือมิตกิ ารเรียนรูด้ า้ นในทีเ่ รียกว่า โยนิโสมนสิการ1 ซึง่ ต้องควบคู่ไปกับปจั จัยหรือมิตกิ ารเรียนรูด้ า้ นนอก ทีเ่ รียกว่า ปรโตโฆสะ ทีส่ าํ คัญคือ กัลยาณมิตร ปจั จัยคู่ทงั ้ สองนี้หาก ประกอบกันอย่างถึงพร้อมเมื่อใด เท่ากับแสงแรกของการรูแ้ จ้งแห่งสัจจะสภาวะบังเกิดขึน้ แล้ว และสามารถดําเนินไปสู่ การบรรลุสภาวะไตรลักษณ์แห่งอุปาทานขันธ์ทงั ้ ห้า เป็ นต้น โดยไม่หวนกลับมาหลงอีกต่อไป นับแต่น้ีไป กระบวนการเรียนรู้ในยุคหลังระบบการศึ กษาแบบเหมารวม หรือเน้นแต่ตําราและจบลงที่การ ทดสอบที่เคยเป็ นมานัน้ จะก้าวไปสู่ระบบการเรียนรู้ท่เี กิดจากการค้นคว้าเจียระไนความสามารถในการเรียนรู้จาก ภายใน ทีอ่ าจใช้ความหมายของกระบวนการโยนิโสมนสิการ คือการพัฒนาจิตใจและปญั ญา ตามหลักของ ศีล สมาธิ ปญั ญา มาอธิบายแนวทางการปฏิบตั เิ รียนรู้ เพื่อตอบสนองความต้องการทีเ่ ป็ นองค์รวมคือมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ โดยบูรณาการทัง้ ความรู้ ทักษะความสามารถ และความมีวุฒภิ าวะ มีคุณธรรม ซึ่งได้มผี ู้พสิ จู น์ให้เห็นด้วยการลงมือทําแล้วว่า สามารถจัดการให้เกิดขึน้ ในระบบการศึกษาได้ ตัง้ แต่ระดับปฐมวัย ไปจนกระทังถึ ่ งอุดมศึกษา เป็ นการปลูกฝงั ความรัก ในเพื่อนมนุษย์และสรรพสิง่ พร้อมๆ กับการรูจ้ กั ศักยภาพของตนเอง รูจ้ กั คุณค่าของชีวติ และใช้ความรูค้ วามสามารถ เพื่อยังประโยชน์ให้กบั ทัง้ ตนเองและผูอ้ ่นื ในเวลาเดียวกัน ระบบการเรียนรูเ้ ช่นนี้เองทีค่ วรจะเรียกว่า การศึกษาแบบองค์รวม

1

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต).(2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย :ระลึกพุทธชยันตี 2600 ปี การตรัสรูธ้ รรม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ผลิธมั ม์. หน้า 621-686. 7


การทพฒนาครู ท่อแม่ ให้เป็ นกพลยาณมิ ตรชพน้ เลิ ศั ผูน้ ําการเรียนรูอ้ ย่างเป็ นองค์รวมนัน้ เป็ นปจั จัยสําคัญทีส่ ุดและจําเป็ นต้องพัฒนาขึน้ ในท่ามกลางกระบวนการ เรียนรูเ้ ช่นนี้ ซึง่ มีคาํ ศัพท์ทใ่ี ช้เรียกอย่างชัดเจน คือ กัลยาณมิตร2 ซึง่ เป็ นผูน้ ําทางจิตวิญญาณการเรียนรู้ เพราะเป็ นผูท้ ่ี จะช่วยให้ผเู้ รียนใช้ปจั จัยทัง้ ภายนอกและภายในได้อย่างสมดุล แม้ว่ากระบวนการเรียนรูจ้ ะมีพลวัตสูงเพียงใด ผูเ้ รียนก็ จะสามารถดําเนินการเรียนรูข้ องตนไปได้อย่างเป็ นอิสระ เพราะกัลยาณมิตรจะคอยชีแ้ นะให้ผู้เรียนใช้ท ั ้งเข็มทิศ และ หางเสือให้เป็ น เพื่อรักษาแนวทางการเรียนรูใ้ ห้อยู่บนกุศลจิต และไปสูส่ มั มาทิฎฐิ กล่า วกัน ว่า ครูคนแรกของเด็ก ตัง้ แต่ แ รกเกิด คือพ่ อแม่ คนต่ อ มาคือครูบ าอาจารย์ใ นสถานศึกษา ดังนัน้ หลักประกันของการเรียนรูแ้ บบองค์รวมว่าจะเกิดได้จริงนัน้ จึงอยู่ทว่ี ่า สถาบันทัง้ สอง คือ พ่อแม่และครูบาอาจารย์นนั ้ มี ความเป็ นกัลยาณมิตรมากน้อยเพียงใด โดยทีท่ งั ้ สองสถาบันจะมีโอกาสฝึกฝนความเป็ นกัลยาณมิตรก็ต่อเมื่อท่านมีบุตร ธิดาหรือมีศษิ ย์อยู่ในสถาบันของท่าน ณ เวลานัน้ ๆ ท่านไม่อาจปฏิเสธบทบาทการดูแลอบรมของท่านได้ แต่ท่าน สามารถเลือกตัดสินใจได้ว่า ท่านจะเป็ นพ่อแม่และครูระดับไหน ถ้าท่านเลือกทีจ่ ะเป็ นถึงระดับกัลยาณมิตร ผลทีเ่ กิดกับ ลูกหรือศิษย์ของท่านก็จะเป็ นผู้ทด่ี ํารงชีวติ ให้เป็ นการเรียนรูอ้ ย่างเป็ นองค์รวม และดําเนินไปสู่เป้าหมายแห่งมนุ ษย์ท่ี สมบูรณ์ได้ดว้ ยตนเอง คุณลักษณะทีค่ วรฝึ กเพื่อการเป็ นกัลยาณมิตร พระพุทธองค์ทรงชีแ้ นะไว้ ๗ ประการ ได้แก่ ๑) ปิ โย น่ ารัก คือเข้าถึงจิตใจ สร้างความรูส้ กึ สนิทสนมเป็ นกันเอง ชวนใจให้ผเู้ รียนอยากไปปรึกษา ไต่ถาม ๒) ครุ น่ าเคารพ คือ มี ความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทําให้เกิดความอบอุ่นใจ เป็ นทีพ่ ง่ึ ได้ และปลอดภัย ๓) ภาวนี โย น่ าเจริญใจ คือ มี ความรูจ้ ริง ทรงภูมปิ ญั ญาแท้จริง และเป็ นผูฝ้ ึ กฝนปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ เป็ นทีน่ ่ ายกย่อง ควรเอาอย่าง ทําให้ศษิ ย์ เอ่ยอ้างและรําลึกถึงด้วยความซาบซึง้ มันใจ ่ และภาคภูมใิ จ ๔) วพตตา รูจ้ กั พูดให้ได้ผล คือพูดเป็ น รูจ้ กั ชีแ้ จงให้เข้าใจ รูว้ ่าเมื่อไรควรพูดอะไร อย่างไร คอยแนะนําว่ากล่าวตักเตือน เป็ นทีป่ รึกษาที่ดี ๕) วจนพกขโม ทนต่อถ้อยคํา คือ พร้อมทีจ่ ะรับฟงั คําปรึกษาซักถามแม้จุกจิก ตลอดจนคําล่วงเกินและคําตักเตือนวิพากษ์วจิ ารณ์ต่างๆ อดทนฟงั ได้ ไม่ เบื่อหน่าย ไม่เสียอารมณ์ ๖) คพมภีรญ พ จะ กะถพง กพตตา แถลงเรื่องลํ้าลึกได้ คือ กล่าวชีแ้ จงเรื่องต่างๆ ทีล่ กึ ซึง้ ซับซ้อน ให้เข้าใจได้ และสอนศิษย์ให้ได้เรียนรูเ้ รื่องราวทีล่ กึ ซึง้ ยิง่ ขึน้ ต่อไป ๗) โน จพฏฐาเน นิ โยชะเย ไม่ชกั นําในอฐาน คือไม่ ชักจูงไปในทางเสือ่ มเสีย หรือเรื่องเหลวไหลไม่สมควร ทัง้ หมดนี้เป็ นแนวทางเพื่อการฝึกหัดพัฒนาให้สถาบันพ่อแม่และครูมคี วามเป็ นกัลยาณมิตรได้อย่างไม่ผดิ ทาง ส่วนจะมีคุณภาพมากน้ อยกว่ากันเพียงใดนัน้ แท้จริงอยู่ท่คี วามเชื่อมันและศรั ่ ทธาว่ามนุ ษย์นัน้ สามารถจะฝึ กฝน ั สติปญญาของตนเองไปสูจ่ ุดสูงสุดแห่งความเป็ นผูร้ ู้ ผูต้ ่นื และเบิกบานได้จริง และเมื่อนัน้ ก็หมายถึงท่านจะเริม่ ต้นฝึ กที่ ตัวท่านเองก่อนเป็ นเบือ้ งต้น จึงจะพบว่าหากท่านล่วงรู้ถงึ พัฒนาการภายในจิตตปญั ญาของท่านเท่าใด ก็จะสามารถ ล่วงรูว้ ถิ กี ารเรียนรูภ้ ายในจิตใจของลูกและศิษย์ได้เท่านัน้ ผลสําเร็จมากน้อยไม่อาจกําหนดได้เสียทีเดียว เพราะศิษย์แต่ ละคนย่อมมีทุนทีส่ ะสมมาไม่เท่ากัน มีโอกาสการรับรูป้ จั จัยต่างๆ ทีแ่ ตกต่างกัน กัลยาณมิตรจึงต้องวางใจว่า การเรียนรู้ ทัง้ หมดเป็ นของผูเ้ รียน แม้ว่ากัลยาณมิตรจะเป็ นทัง้ หมดของการเริม่ เดินทางทีถ่ ูกต้องเสมอก็ตาม

2

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต).(2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย : ระลึกพุทธชยันตี 2600 ปี การตรัสรูธ้ รรม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ผลิธมั ม์. หน้า 573-574.

8


Holistic Education

T

he word means the contemplative learning process which fosters the skill of understanding the core value of things they have learnt. With reflective practice, they will comprehend their own goals, create positive thinking, points of views and habits; elevating their potentials towards the highest aspiration of the human spirit. The learners can reflect on the meaning and be able to connect their knowledge with understanding for the benefit of themselves, society and the world. The most important element is they can materialize their knowledge through their deeds, ways of thinking and communications.

9


Supplemental article of the word “Holistic Education� Preface

I

n the past, the purpose of learning was to nurture children and juvenile, taught to them along with working skills and life skills so they can live their lives and deal with complicate problems.

However, the education system was faced with the question that sometimes human intelligence had cause problems instead of helping to solve problems. The education development, which was emphasized by science and technology, had contributed a lot of progress in the area of business and economics and changed our way of living enormously. We can hardly deny that the so-called Digital Society transformed our daily lives into endless luxuries and conveniences. At the same time, it also brought decline in every dimension to our ecosystem until our purpose of life seem far and away. On the other hand, we can say that mainstream education had separated learning from human mind and spirit. Human means noble-minded creature with the special ability to recognize their own selves and desires. Therefore, they need the contemplative form of education (Sikkha or virtue) to develop their intrinsic value adhere to morality, and be able to elude from depravities. They can use their knowledge in creative ways, without harming or exploiting other people, the environment and the world. If the study to develop human value is missing, human being and the world are under threat of danger which appears to be more violent than before. From the second half of the 20th century and the first decade of the 21st century, we saw the movement among educators and philosophers seeking for more equanimity in our learning systems. We see various forms of innovative educations that aim to break through the traditional way of learning and classroom context. The learners will be able to connect the subjects that they had learned with the real meaning of their lives and minds, and elevating their knowledge to the most creative level. These learning systems have one thing in common, that is life-based learning system. Teaching plans are only the tool to help the learners to appreciate lives and things around them. This kind of learning harmonized with the human acquisition of knowledge which requires not only food for thought but also spiritual alignment in order to elevate the minds and intellect; cultivating the real value of life and know how to adapt their knowledge in creative ways.

10


In the western world, there are many schools of thought that raise the importance of Mind and Spirit. Many educational institutes, both in Europe and the United State, have been studying and practicing Mindfulness Meditation in the scientific way until they were able to obtain the fruitful results. This method is now a popular practice around the world. Meanwhile, the Eastern world, which was the cultural basin of the mind and intellectual study since the Buddha’s era, has to look back and read the textbooks written by western scholars who had studied, researched and experimented for equanimity in our learning. The terminologies of an innovative learning system such as Wholistic/Holistic Education or Holistic Learning, which literally means the study as a whole, are defined and accepted worldwide. In Thailand, a group of scholars also work together to find the new path of learning. This phenomenon occurred without any influence or imitation from the western world, though, we can say that it came from the same factors. The motivation in searching for the new way of learning was to help parents raise their children and develop towards the ultimate potential that a human can reach, and become a proud citizen of the 21st century era.

Holistic Education: The Development of a Learning System

T

he word Holistic Education seems like a new vocabulary and a science that was developed in Western society; this word also has the undertone of Buddhist teaching. Buddhism and Eastern beliefs understand the learning process of human beings for a long time and separated this process into three steps. They are spiritual development, mindfulness cultivation, and contemplative practices, the latter was not previously acknowledged as a form of educational science by Western educational institutes. Other important foundations in the learning system are learning psychology to develop the brain or Brain-Based Learning (BBL) and Behavioral Sciences. The Gestalt theory, which was first introduced by Max Wertheimer, Kurt Koffha, Wolfgang Koehler and Kurt Lewin, give the theory that the vision recognize the whole form and not the parts. Jan Christian Smuts also gave the definition that the whole is more than the sum of the parts (Dictionary of psychology: vocabulary). This school of thought opened the process of human learning in greater and deeper degrees, and contributed to various developments in other areas beside education.

11


Bloom’s Taxonomy of Learning (1950’s) classified forms and levels of human cognition into six levels as follow: 1. Knowledge: is able to recall information/content; able to give definition and ask questions; 2. Comprehension: is able to comprehend structure or setting and is able to explain the process; 3. Application: is able to use knowledge and apply it with other subjects; 4. Analysis: is able to understand and analyze the method; 5. Synthesis: is able to collect, organize and use the process to create a new invention; 6. Evaluation: is able to analyze and create the best way to solve problems.

To uncover the true meaningful personal development, the three domains were imposed to evaluate the process; they are the cognitive domain, affective domain, and psychomotor domain. Benjamin Bloom had implemented the essential element within the educational community. Bloom tried to promote higher forms of thinking in education, rather than just empirical facts or recalling information which ranks at the bottom of Bloom’s cognition domain.

Child-Centered Learning loom’s Taxonomy of learning had sent a strong message to all educators. They ought to consider that the purpose of education is to develop a person to the ultimate extent a human could reach.Thus bringing the psychology of learning to the new dimension and impose many new innovative studies such as the importance of E.Q. along with I.Q. One of the good example is The Montessori school of learning which was developed by Dr. Maria Montessori. She stipulated her process of kindred relationship between teachers and children in the low-income area. Her method in reviving learning ability and elevating self-esteem met with great success. Later day educators still inherit and develop educational devices to stimulate systematic thinking.

B

12


Unfortunately, we can hardly deny that the rigid school hours and curriculum that is applied nationwide, has set a single layer of educational standard which turns the role of the pedagogies into the role of messengers. This form of education can not inspire the learner to develop their characters, potential and necessary skill to achieve the highest potential of mankind. As a result, the form of education that puts the child in the center and aims to educate the child as a whole has appeared. These schools of thoughts challenge the mass education system, or subject-based learning, especially in the countries where their education systems fall behind the progress of modern science, and technology of the 20th century. There are various forms of innovative educations which aim to develop human quality and its intrinsic value in order to endure the hardship of post war societies. Two of the prominent case studies are Waldorf education, found by an anthroposophy named Rudolf Steiner, and Reggio Emilia in Italy. The latter was initiated by an educator named Loris Malaguzzi, whom, cooperated with parents and communities in opening the post war child education center. Its philosophy was to lay foundations and learning abilities, not only knowledge. These learning processes aimed to create a new generation who can transform their idea and their surroundings to create their own self-learning systems. This method will not only encourage the children to be more enthusiastic in learning but will also prepare them to face and solve problems. This is the characteristic of the person who will lead the nation to the prosperous future. Bloom’s Taxonomy of learning and other innovative learning systems had been developed and widely used, both in Europe and the United State of America. The curriculum, the teaching process and the evaluation process had been developed till we can see that the quality of the learner has become an international standard. Though this learning process had tried to develop human ability to its highest level, in the end, human still exploited scientific innovation and rapid growth in technology for its benefit. Thus, the wrangling, exploitation, power seeking and greed still persist. Education becomes an accuser and a defendant. Many questions are asked. How can we create a person who can be able to break through this cycle? Is education coming to a dead end? Is there something missing? Are there any unbalances in this process?

13


New Wave “21st Century Learning Skills�

T

he new wave in educational communities, the paradigm shift and the new mind set, comes as no surprise. The learning system had developed from the passive learning which emphasizes individual learning ability to the active learning which emphasizes on the usage of knowledge and skill to work together for the better outcome and collective responsibility. When we enter the 21st century, the development created by human ability is in question again and certainly the answer is the educational system. In 2002, the Organization of Economic Co-operation and Development (OECD) had organized a PISA (Program for International Student Assessment) test among 15 year old juveniles. This assessment stimulates the evaluation of the learning system that uses the 21st century learning skills, which is the expansion from Bloom’s taxonomy as a key indicator. Though the motivation of this assessment is to evaluate the ability of the world population in this digital era, there are some interesting notions about the 21st century learning skills worth mentioning. They are as follows:

1. The group of learning and innovative skills or learning to learn and innovate, critical thinking and problem solving, communication and collaboration, creativity and innovation; 2. The group of digital literacy skills or information literacy, media literacy, ICT literacy; 3. The group of career and life skills/work-ready/ prepared for life or flexibility and adaptability, initiative and selfdirection, social and cross-cultural interaction, productivity and accountability, leadership and responsibility.

To acquire the above skill, we need to emphasize the problems and questions technique rather than the chalk and talk. The research reveals that the learner will be more creative and bring about their overall skills from the project method. Thus, the maturity of the active learner is apparently different from the passive learner They will become part to this new world era or as it is said Genius can be Created.

14


The Wind of Change From Industrial-based Learning to Holistic Learning

A

ll the endeavors in developing the learning system had set a strong foundation and opened the new concept of learning that complies with the human’s natural instinct to learn. The human’s learning process should not be in the form of industrial mass education, instead it should let each learner developing his/her skill individually. For example, the Chinese Education Reform Policy 2010-2020 declared by Prime Minister Li Lan Xin had changed its policy from One Nation-One Curriculum to Whole Nation-Different Expertise. In Singapore, this small nation, had announced the educational reform as Teach Less-Learn More and core value is the heart of the education system. After their independence, Finland’s education policy was Quality and Equality Not only do the teachers have profound knowledge skills but also trustworthiness. They are trained to be attentive and understand the learning nature of individual students. They will find the method and instruction media to stimulate the learner’s desire and ensure that each student develops to his/her full potential. The changing direction of the learning system or the wind of change can bring the quality of education to these 2-3 nations, including Japan, Hong Kong and South Korea. These countries give the learners the opportunity to develop their abilities and knowledge skill from within. This is the reason why they always rank amongst the top ten in PISA test.

Holistic Education/Learning: the Era of Before and After the Discover of Human Learning Theory y the end of the 20th century and early 21st century, there are many interesting and various educational systems emerged. However, when we study these theories carefully we will notice that it takes a step closer to the science of selfactualization, which is familiar to us in the eastern world. The science of meditation, mindfulness meditation and Vipassana teaches us to recognize one’s self, one’s thinking, the state of thinking and its result; becoming enlightened and finally learning to let go. Your heart will fill with endless love and compassion. The science of meditation had been practiced before the Buddhist era. This science was developed in to the ultimate form and the Buddhist teaching which is called Tri Pitaka was the most precious heritage of mankind for more than 2600 years. Thus, we can say that holistic education had happened long before the establishment of human education system.

B

However, recently some experiments were justifying purity of mind is the most important factor of human learning ability and capability. To learn how the science of 15


meditation works, researchers divided students into two groups, one group practicing meditation regularly before entering the classroom; the other group did not practice. The verification of the experiment showed a remarkable difference of learning recorded between the two groups. The inner factor of the learner, the environment and the relationship between teacher and learner were taken into consideration. The teachers were able to assign an art project and let the students concentrate on the work, like doing meditation in movement, meanwhile teachers can stimulate students by asking questions, guiding them to reconsider, explore and understand the process by themselves. This process of art contemplation can be applied to all levels of practicing, from kindergarten to university students, successfully. The education system in 21st century aims to find the best learning method for the learners by expanding the learning ability and connection between the inner self and the outer self. Actually, this is the way of Sikkha in Pali or Suksa as we know in Sanskrit form. The true meaning of Sikkha is to erode, especially the inner life or Yonisomanasikara3, which must work in harmony with the outer life or Paratokosa4. The other important factor is being Kalayanamitra5 - a Good Friend. When these two factors are aligned, then the first light of truthful knowledge has appeared and will lead to enlightenment. From now on, the industrial-based education will be transformed into a learning method that can bring out the learning potential from within. The method of Yonisomanasikara, along with the use of Sila, Samadhi and Panna to develop mind and wisdom, can explain the path of learning to educate a person as a whole, in other word to be a perfect human. It is proved that the learning system,which integrate the human intellectual ability, skill together with moral concept, can be practiced in every level; from childhood education to university level. The learning system which aims to implant the love in mankind and its environment, actualization of the potential, knowing the value of life and using the knowledge for the benefit of others as well as one’s self should be called Holistic Education.

3

Yonisomanasikara: proper attention; systematic attention; having thorough method in one’s thought; proper consideration; wise consideration; thorough attention; critical reflection; genetically reflection; analytical reflection.

4

Paratokosa: another’s utterance;inducement by anothers;hearing or learning from others.

5

Kalayanamitra: good friendship; good company; association with the virtuous

16


Teachers and Parents as “Good Friends”

T

he leader is the most important role in holistic education and needed improvement. The word Good Friend is a clear definition for this role because the leader ought to inspire the learning spirit, teaching how to balance inner self with outer factors in spite of the learning dynamic. The good friend will advise the learner on how to use the compass and rudder to gain freedom in their education while staying on the right track. It is said that the parent is the child’s first teacher, then the second one is the teacher in the educational institute. Whether holistic learning can be established or not depends on these two pillars. How are they the child’s good friend? They have to have children in their care to practice the role of good friend. They could not deny the roles but can choose what kind of person they want to be. If they choose to be good friends with their children or students, the result is their children/students will embrace the holistic way of learning into their lives and move towards the highest level of the human spirit.

The Buddha had taught the “Seven Path of being a Good Friend” as follow: 1.Piyo: compassion and friendly, the learner feel comfortable to discuss information; 2.Guru: respectable, reliable and protective; 3.Bhavaniyo: admirable person, having true knowledge, be a good role model; 4.Vatta: knowing how to explain and be a good adviser; 5.Vacanakkhamo: having patient to criticism and inquires; 6.Gambhirancakatangkatta: can explain even the most difficult subject; 7.No Catthane Niyoujaye: will not lead the children into harmful way.

These are the guide that will help develop the parents and teachers in to good friends for their children. Anyhow, the quality depends on how much faith do you have in believing that humans can develop to its highest potential. When you start practicing and acquire the intuitive learning by yourself, then you can understand the intuitive learning in your children. The result could not be specific because each person has different perceptions and different backgrounds. Knowledge belongs to the one who learns, though good friends will set him on the right path. 17


References Bailey, R. (2001). Conscious discipline: 7 basic skills for brain smart classroom management (Rev. ed.). Oviedo, Fla.: Loving Guidance. Bellanca, J. (2010). 21st century skills: Rethinking how students learn. Bloomington, IN: Solution Tree Press. Benham, A. (2010). Infants and toddlers at work: Using Reggio-inspired materials to support brain development. New York: Teachers College Press. Bloom, B. (1956).Taxonomy of educational objectives; the classification of educational goals,. New York: Longmans, Green. David, D., &Sheth, S. (2009). Mindful teaching & teaching mindfulness: A guide for anyone who teaches anything. Somerville MA: Wisdom Publications. Esquith, R. (2007). Teach like your hair's on fire: The methods and madness inside room 56. New York: Viking. Forbes, S. (2003). Holistic education: An analysis of its ideas and nature. Brandon, VT: Foundation for Educational Renewal. Glazer, S. (1999).The heart of learning: Spirituality in education. New York: J.P. Tarcher/Putnam. Hartjen, R. (1994). Empowering the child: Nurturing the hungry mind : Elementary education for the 21st century. Port Tobacco, Md.: Alternative Education Press. Healy, J. (2004). Your child's growing mind: Brain development and learning from birth to adolescence (3rd ed.). New York: Broadway Books. Jackson, L. (1994). Experiential learning: A new approach. San Francisco: Jossey-Bass. Johnson, D., & Johnson, R. (2002).Meaningful assessment: A manageable and cooperative process. Boston: Allyn and Bacon. Johnson, L. (2005). Teaching outside the box: How to grab your students by their brains. San Francisco: Jossey-Bass. Kessler, R. (2000). The soul of education helping students find connection, compassion, and character at school. Alexandria, Va.: Association for Supervision and Curriculum Development. Kroll, K. (2010). Contemplative teaching and learning. San Francisco, Calif.: Jossey-Bass. Lysaker, J. (n.d.). Teacher inquiry in literacy workshops: Forging relationships through Reggioinspired practice. Miller, J. (1988). The holistic curriculum. Toronto, Ont.: OISE Press, Ontario Institute for Studies in Education. Palmer, J. (1998). Environmental education in the 21st century theory, practice, progress and promise. London: Routledge. Palmer, P., & Scribner, M. (2007).The courage to teach guide for reflection and renewal (10th anniversary ed.). San Francisco, CA: Jossey-Bass. Pound, L. (2011). How children learn from Montessori to Vygotsky- educational theories and approaches made easy. Invercargill, N.Z.: Essential Resources. Rogers, C. (1969). Freedom to learn: A view of what education might become. Columbus, Ohio: C.E. Merrill Pub. Rozman, D., & Hills, J. (1977).Meditating with children: The art of concentration and centering (Rev. and expanded. ed.). Boulder Creek, CA: University of the Tree Press. 18


Senge, P. (2000). Schools that learn: A fifth discipline fieldbook for educators, parents, and everyone who cares about education. New York: Doubleday. Senge, P. (2005). Presence: Exploring profound change in people, organizations, and society. New York: Doubleday. Senge, P. (2006). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization (Rev. and updated. ed.). New York: Doubleday/Currency. Stott, M. (1995).Foreign language teaching in Rudolf Steiner schools: Guidelines for class-teachers and language teachers. Stroud: Hawthorn. Strong performers and successful reformers in education lessons from PISA for Japan ([DesLibris ebook]. ed.). (2012). Paris, France: OECD Publishing. Sullivan, E. (1999). Transformative learning: Educational vision for the 21st century. London: Zed Books. The Finland phenomenon [Motion picture on DVD].(2011). 2mminutes.com. Tolle, E., & Tolle, E. (1999).Practicing the power of now essential teachings, meditations, and exercises from the power of now. Novato, Calif.: New World Library ;. Trilling, B., &Fadel, C. (2009).21st century skills: Learning for life in our times. San Francisco: Jossey-Bass. What

is

PISA and Why Does it Matter?(n.d.). Retrieved April 27, 2015, http://asiasociety.org/education/learning-world/what-pisa-and-why-does-it-matter

from

Willingham, D. (2009). Why don't students like school? : A cognitive scientist answers questions about how the mind works and what it means for the classroom. San Francisco, CA: JosseyBass. Zinker, J. (1977). Creative process in Gestalt therapy. New York: Brunner/Mazel.

เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2543). สอนให้เป็นอัจฉริยะ :ตามแนวนีโอฮิวแมนนิส.กรุงเทพฯ : ที.พี.พริน้ ท์. เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2553). นีโอฮิวแมนนิส :เราทัง้ ผองคือพีน้่ องกัน.กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. เกียรติวรรณ อมาตยกุล.(2553). Super Change สร้างคนรุน่ ใหม่ (เพือไป)สร้ ่ างชาติ.กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. เจมส์ เบลลันกา บรรณาธิการ; รอนแบรนต์ บรรณาธิการร่วม : วรพจน์ กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์ ผูแ้ ปล.(2554). ทักษะแห่ง อนาคตใหม่ : การศึกษาเพือศตวรรษที ่ ่ 21.กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส. ญาณโปนิกมหาเถระ, รจนา; ทัศนีย์ หงศ์ลดารมภ์, แปล.(2555). พลังแห่งสติ : ฉบับคัดลอกด้วยลายมือโดย รองศาสตราจารย์ประภา ภัทร นิยม . กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน : องค์ความรูเ้ พือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท้ มี ่ ปี ระสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุษบง ตันติวงศ์. (2550). รูปแบบการศึกษาปฐมวัยตามวิถชี วี ติ ไทยเพือ่ ชีวติ ทีพ่ อเพียง.พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บุษบง ตันติวงศ์. (2552). การศึกษาวอลดอร์ฟ : ปรัชญา หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประเวศ วะสี. (2555). จิตตภาวนากับการเปลีย่ นแปลงขัน้ พื้นฐาน = Meditation and transformation .นครปฐม : ศูนย์จติ ตปญั ญา ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. ปาล์มเมอร์, ปาร์กเกอร์. (2557). หัวใจอุดมศึกษา : เสียงเรียกร้องเพือปรั ่ บเปลีย่ นสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2543). การศึกษาพัฒนาการหรือบูรณาการ.กรุงเทพฯ : มูลนิธพิ ทุ ธธรรม. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). รุง่ อรุณของการศึกษาเบิกฟ้าแห่งการพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น.กรุงเทพ : พิมพ์สวย. 19


พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม.กรุงเทพฯ : เอส.อาร์. พริน้ ติง้ แมสโปรดักส์. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2551). กัลยาณมิตร.กรุงเทพฯ :มูลนิธโิ รงเรียนรุง่ อรุณ. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551).พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ : เอส.อาร์. พริน้ ติง้ แมสโปรดักส์. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต).(2544). พัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทยฯ. กรุงเทพฯ : โครงการวิจยั ระยะยาวใน เด็กไทย (PCTC). พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต).(2555). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย :พุทธธรรมประดิษฐาน 26 ศตวรรษกาล พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ธมั ม์. ยงยุท ธ วงศ์ภิรมย์ศานติ.์ (2555). การพัฒนาจิตตปญั ญาในองค์กร (การปรับกระบวนทัศน์แ ละวัฒนธรรมองค์ก ร) = Spirituality development in organization .กรุงเทพฯ :สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. ราชบัณฑิตยสถาน.(2553). พจนานุกรมศัพท์จิตวิทยาฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน.กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ริคแฮนสัน และ ริชาร์ดแมนดิอสั , เขียน ; ณัชรสยามวาลา, แปล .(2557).สมองแห่งพุทธะ : วิธฝี ึกสมองกับจิตใจให้ตนื ่ รูเ้ พือ่ นาไปสู่ ความสุข ความรักและปญั ญา = Buddha s brain. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ . ลัดดา เหมาะสุวรรณ, บรรณาธิการ.(2547). พัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย. กรุงเทพ ฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . วิจารณ์ พานิช. (2553). ครูเพือศิ ่ ษย์เติมหัวใจให้การศึกษา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ . วิจารณ์พานิช. (2557). สอนเด็กให้เป็นคนดี . กรุงเทพฯ :มูลนิธสิ ยามกัมมาจล. วิจารณ์พานิช.(2556). การสร้างการเรียนรูส้ ศู่ ตวรรษที ่ 21 . กรุงเทพฯ : มูลนิธสิ ยามกัมมาจล. วิจารณ์ พานิช.(2556). ครูเพือศิ ่ ษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพฯ : สยามกัมมาจล. วิจารณ์ พานิช.(2557). การประเมินเพือมอบอ ่ านาจใจการเรียนรู้ . กรุงเทพ : มูลนิธโิ รงเรียนรุง่ อรุณ . วิทยากร เชียงกูล. (2550). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2549/2550 การแก้ปญั หาและการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็ นระบบองค์รวม. กรุงเทพฯ : กลุม่ พัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ. ศูนย์ส่ง เสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม. (2551). การเจริญสติวิปสั สนา = Mindfulness practice and vipassana : โครงการวิจยั เพือพั ่ ฒนาหลักสูตรการอบรมและกระบวนการด้านจิตตปญั ญาศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนา พลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม). สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549) .ระบบการศึกษาของสาธารณรัฐฟินแลนด์. กรุงเทพฯ : สกศ. สุจนิ ดา ขจรรุ่งเรืองศิลป์ และธิดา พิทกั ษ์สนิ สุข. (2543). การเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัยไทย : ตามแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. สุมนอมรวิวฒ ั น์.(2530). การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ.พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ : โครงการตํารา คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับโอเดียนสโตร์. หลี่หลานชิง ; แปล โดย เนาวรัตน์ แย้มแสงสัง ข์. (2552). การศึก ษาเพือ่ ประชากร 1,300 ล้าน : สิบปี ของการปฏิรูปและพัฒนา การศึกษา .กรุงเทพฯ : ไอกรุ๊ป เพรส. อาเธอร์ ซายองค์ เขียน; พินทุสร ติวุตานนท์, แปล ; พจนา จันทรสันติ, บรรณาธิการ.(2556). กระบวนการภาวนาศึกษา เมือ่ ความรู้ แปรเป็นความรัก = Meditation as contemplative inquiry when knowing becomes love .กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา.

20



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.