วิถีชีวิตในหน้าแล้ง

Page 1

“ วิถี​ีชีวิตในหน้าเเล้งของชุมชนบ้านผาชัน “ บ้านผาชันเป็นชุมชนริมโขง สภาพพืน้ ทีใ่ นหน้าแล้งและหน้าน�ำ้ ของบ้านผาชัน มีความแตกต่างกันอย่าง มาก ในทุกปีเมื่อถึงหน้าน�้ำหลากชุมชนจะถูกน�้ำท่วม ขณะที่ในหน้าแล้งบ้านผาชันจะแห้งแล้งมาก

น�ำ้ ขนึ ้ ลง ไ มป่ กติ มี สาหร่ายมา ก ท�ำให้ จบั ปลาได้น ้ อย

ปล

งั ตย่ ง แ จบั ริ่มล จงึ น�ำ้ เ ร่าย ้ อย ห น ้ า มีส าได

า ส ว ้ ล แ ก ้ ึ น า ข ม ก ง า ล ม ้ ด ด ล ไ �นำ้ า ล ป จบั

ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์

พฤศจิกายน ตุลาคม กันยายน

น� ้ำเริ่ มลงบ้ าง เล็กน้ อย

ระดับน�้ำ 12 เดือน

มีนาคม เมษายน พฤษภาคม

สิงหาคม

งึ ดุ ถ สงู ส ร ขนึ ้ มต น�ำ้ 00 เ ปลา ั บ 1 ก ให้จ มา ท�ำ ้ อย ได้น

กรกฎาคม

มิถุนายน

ชว่ งน�ำ้ หลาก น�ำ้ ขนึ ้ ส งู มาก

น� ้ำลงต�่ำสุด มี ความสูง 70 เมตร ท�ำให้ จบั ปลาได้ งา่ ย ช่วงที่น� ้ำลงต�่ำ สุด ปลาเริ่ ม วางไข่

ถวั่ ล สิ ง ถ ผกั บ วั่ ฝักย ้ งุ ข้า าว ม วโพ นั เทศ ด

ู ก ว ล า ิเร่มป ถวั่ ฝักย ศ ท เ ั ด น ม พ โ ง ว ิ ส ัถว่ ล กั บ้ งุ ข้า ผ น�ำ้ เริ่มลดล ง เเล้วชว่ งนีด้ นิ จะ อดุ มสมบรู ณ ์จาก ตะกอนแมน่ �ำ้ โขง

ธันวาคม มกราคม พฤศจิกายน ตุลาคม กันยายน

กุมภาพันธ์

ปฏิทินการใช้บุ่ง 12 เดือน กรกฎาคม มิถุนายน

ทงั ้ หม

ะ า ร พ เ ้ ึ น ข ้ ม ำ � ่ ิ ร ู น เ ด ู ่ ฤ น�ำ้ ส า ้ ข เ ะ จ ั ง ก�ำล หลาก

เมษายน

พฤษภาคม

สิงหาคม

ผกั

มีนาคม

ชาวบ้ านจะรี บ เก็บเกี่ยวผล ผลิตก่อน โดนน� ้ำท่วม เก็บผักบุ้ง

ดจ

พืช น�ำ้ ผกั ทว่ เริ่ม ยก มหม โดน เว้น ดเ ผกั เล้ว บ้ งุ

ถ ร มา

เก็บ

งึ ถก ูน �ำ้ ท ว่ ม

บ ็ ก เ ร า ก ี ยงั ม ง า ้ ู ่ บ ย อ ผกั บ้ งุ

หน้ าแล้ งของบ้ านผาชันจะเริ่ มตังแต่ ้ เดือนมกราคม – เมษายน แล้ วระดับน� ้ำจะสูงขึ ้นในเดือนพฤษภาคม และขึ ้นสูงสุดในเดือนสิงหาคม โดยในหน้ าน� ้ำบุง่ จะถูกน� ้ำจากแม่น� ้ำโขง ท่วมทังหมด ้ จนเมื่อน� ้ำลดบุง่ ถึงจะโผล่พ้นน� ้ำ ท�ำให้ ดนิ ที่บงุ่ มีความอุดสมบูรณ์จากดินตะกอนของเเม่น� ้ำที่ถกู น� ้ำน�ำมาทับถมสะสมไว้ ชาวบ้ านจึงใช้ บงุ่ ในการปลูกพืชผักได้

บุ่งในหน้าน�้ำ

บุ่งในหน้าเเล้ง

วิถีชีวิตในหนึ่งวัน ปลาที่จับได้เยอะ

ตี 3 – 9 โมง : ลงเรือทำ�ประมง

ปลาเสือ

ในหน้ าแล้ งระดับน� ้ำแม่น� ้ำโขงจะลดลง ท�ำให้ เกิดเวิน ซึง่ คือแอ่งน�้ำวน บริเวณนีจ้ ะมีธาตุอาหารอยูม่ าก ท�ำให้ ปลาชุกชุม ชาวบ้ านจะวางหรือ ปลาปากบาน แช่มองไว้ทเี่ วิน เมื่อปลาเข้ ามาในมอง ก็จะยกมองขึ ้น นอกจากนี ้กระแสน� ้ำ ปลาตะเพี ย น จะไม่แรงมาก ปลาจะว่ายทวนน� ้ำไปยังแม่น� ้ำโขงตอนบนเพื่อวางไข่ ตี 3 : ตื่นนอน รวมทังชาวบ้ ้ านยังลากมองดักปลาอยูท่ างตอนบนของแม่น�้ำด้ วย 9 โมง – เที่ยง : ซื้อขายปลา เมื่อชาวบ้ านจับปลาได้ ก็จะน�ำไปขายที่“กองทุนปลา”ของชุมชน ซึง่ จะ รับซื้อปลา 3,000 – 15,000 บาท ต่อวัน กองทุนปลาจะขายปลาให้ พอ่ ค้ าแม่ค้าที่มารับซื ้อปลาถึงที่ เพื่อที่จะน�ำไป ขายต่อที่ตลาดหรื อร้ านอาหารต่อไป โดยมักมีรายได้จากการขายปลา 3,000 – 10,000 บาทต่อวัน หากขายปลาได้ ไม่หมดในวันหนึง่ ๆ ปลา จะถูกแช่เย็นเก็บไว้ เพื่อขายในวันต่อไป อย่างไรก็ตามการรับซื ้อปลาจาก ชาวบ้ าน กองทุนปลาได้ ก�ำหนดขนาดว่าต้ องเป็ นปลาขนาดใหญ่เท่านัน้ ซึง่ โดยมากในช่วงต้นปี ชาวประมงมักจับได้ปลาเขือ่ ปลาชัง ในหน้ า เที่ยง – บ่าย : พักผ่อน แล้ งเดือนมีนาคมและเมษายน มักได้ปลาตุ่น ปลาปากบาน ปลา เมื่อเสร็จจากการซื ้อขายปลา ช่วงเที่ยงและ เนื้ออ่อน ปลาตะเพียน เเละปลาเสือ ฯลฯ บ่ายจัดที่มีแดดแรง ชาวบ้ านก็จะพักผ่อน บ่ า ย 3 6 โมง : ลงบุ ง ่ ด้ วยการตังวงกิ ้ นข้ าว หรื อพูดคุยกัน ซึ่งถือ จนเมื อ ่ บ่ า ยแก่ ใ กล้ เ ย็ น ชาวบ้ า นจะลงบุ ง ่ ในหน้ า แล้ ง นอกจากปลาที จ ่ บ ั เป็ นการหลบร้ อนไปในตัวด้ วย ได้ ในแม่น� ้ำโขงแล้ ว บริเวณแอ่งน� ้ำในบุง่ ยังเป็ นแหล่งจับสัตว์นำ�้ ขนาด เล็กได้ เช่นเดียวกัน บุง่ จึงกลายเป็ นแหล่งหากินสำ�คัญในช่วงหน้าแล้ง

พืชผักหน้าแล้ง

พืชพรรณในบุง่ มีทงที ั ้ ่ปลูกเอง เเละที่ขนึ้ เองตาม ธรรมชาติ เช่น ผักหวานป่ า ผักหนาม เป็ นต้ น หลายพืน้ ที่ในบุ่งมี ดิ น ตะกอนแม่ น�้ ำ สะสมไว้ จะมีการเพาะปลูกพืชหลายชนิดเช่น ปลูกถั่วลิสง ถั่วฝักยาว ข้าวโพด ผักบุ้ง มันสำ�ปะหลัง โดย ชาวบ้ านจะปลูกถั่วและมันไว้บนพื้นที่สูง และ ปลูกข้าวโพดไว้ในที่ต�่ำกว่า เเละถูกน� ้ำท่วมนาน กว่า เพราะข้ าวโพดเป็ นพืชที่ต้องการน� ้ำมากกว่า ซึง่ เขาจะเริ่มปลูกพืชผักเหล่านี ้ตังแต่ ้ เดือนตุลาคมเมือ่ น� ้ำเริ่ มลด และในช่วงหน้าแล้งก็จะเริ่มเก็บเกี่ยว ผลผลิต

ตากมัน

ชาวบ้ านนำ�มันมาตากแห้ง ทังนี ้ ้เพื่อให้ ได้ ราคาเพิ่มขึ้น โดยหากขายมันสดจะได้ 2 บาท/กก. ถ้ าเป็ นมันแห้งจะขายได้ 5 - 7 บาท / กก

เลี้ยงสัตว์

ส�ำหรับการปลูกข้ าวนันท� ้ ำไม่ได้ ในหน้ าแล้ ง ชาวบ้ าน จึงนิยมการเลี้ยงสัตว์ในที่นา

6 โมง : กลับเข้าบ้านพักผ่อน

ภูมิปัญญาของชาวบ้านผาชัน

กะปอม

กะปอม หาได้ ง่ายในหน้ าเเล้ ง เพราะมันจะฟั กไข่ช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม เมื่อถึงหน้ าแล้ งมันก็จะโตพอดี เเละใน หน้ าเเล้ งนันพวกเเมลงซึ ้ ่งเป็ นอาหารของกะปอมจะลงมาอยู่ที่พื ้น เพราะใบไม้ มีการผลัดใบ กะปอมจึงต้ องลงมาหากินตามพื ้น โดย กะปอมจะอาศัยตามร่มไม้ ริมแม่น� ้ำโขง ที่มีความชุม่ ชื ้น ในตอนเช้ า กะปอมจะออกมาผึง่ เเดด ชาวบ้ านจึงนิยมออกมาจับกระปอมกัน โดยภูมิปัญญาของชาวบ้ านในการจับกะปอมคือการใช้ ไม้ไผ่ยาว ติดบ่วงเส้นเอ็นไว้ ที่ปลายไม้ และน�ำไปคล้ องหัวกระปอม เมื่อ กระตุกไม้ กะปอมจะติดบ่วงมา บางคนก็เรียกกะปอมโดยการ ผิวปาก มันก็จะเงยคอขึ ้นมาท�ำให้ เราสามารถเอาบ่วงคล้ องได้ งา่ ย บ้ างก็ใช้หนังสติก๊ ยิง ส่วนตอนกลางคืนทีก่ ะปอมนอนอยูก่ ใ็ ช้ไฟฉาย ส่องแล้ วใช้มือจับได้ เลย กะปอมนิยมน�ำมาย่างกิน หรื อน�ำไปท�ำก้อย เเละยำ�

นอกจากวิถชี วี ติ ดังกล่าว ชาวบ้านยังมีการจับสัตว์ทมี่ มี ากในหน้าเเล้งมา ประกอบอาหาร ซึ่งสิ่งเหล่านี้เเสดงถึงภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาอย่าง ยาวนานด้วย

ไข่มดแดง

มดแดงเป็ นสัตว์ทขี่ ยายพันธุ์ในช่วงหน้ าแล้ งเพือ่ ให้ ได้ มจี ำ� นวน มดงานเพิ่มขึ ้น ซึง่ มดงานที่เพิ่มขึ ้นเหล่านี ้ท�ำให้ มดหาอาหารได้ มากขึ ้นในฤดูฝน นางพญามดจึงวางไข่ในช่วงหน้ าแล้ ง และชาวบ้านจะหา รังมดแดงตามต้นไม้ และสอยไข่มดแดงจากรังด้ วยการน�ำ ไม้ไผ่ยาวติดตะกร้าที่ปลายไม้เพื่อรองรับไข่มดแดงที่หล่นลง มา จากการที่ใช้ ไม้ นนกระทุ ั้ ้งหรื อแหย่ที่รังมดแดง โดยหากมีมดแดงตกลงมาปะปนกับไข่มดแดง ชาวบ้ านจะ มีวิธีการแยกไข่มดแดงกับตัวมดแดงด้ วยการใส่แป้งมัน หรือ แป้งสิงคโปร์ลงไปแล้ วตัวมดแดงจะไต่ออกจากตะกร้ าไปเอง เหลือแต่ไข่มดแดงแสนอร่อย ไข่มดแดงนิยมน�ำไปท�ำเป็ นก้อย หมก หรื อน�ำไปใส่ในแกงหน่อไม้ แกงหน่อหวาย แกงเห็ด ไข่เจียว หรื อแม้ แต่น�ำไปท�ำยำ�ไข่มดแดง

การทำ�มาหากินในบุ่ง

พื น้ ที่ บุ ่ ง ที่ บ้านผาชันนี ก้ ว้ างขวางมาก ชาวบ้ านจะ รู้ จกั แบ่งพื้นที่ทำ�กินกัน ซึ่งสืบทอดกันมาตังแต่ ้ สมัย บรรพบุรุษ ชาวบ้ านสามารถทำ�ประมงในบุ่งตามแอ่งน�้ำ ซึง่ พบ สัตว์น� ้ำมากมายอย่างเช่น หอยขม หอบจุ้บ หอยกั้ บกี้ หอยซวย หอยเชอรี่ กุ้งฝอย ปลาบู่ ปลาลิ้น หมา หรื อปลาตะเพียน ปลาสร้อย และปลาน�้ำจืด ขนาดเล็ก หนองในบุง่ จึงเป็ นแหล่งอาหารสำ�คัญ ชาวบ้ านจะ สามารถหาปลาและหอยต่าง ๆ ได้ ด้ วยอุปกรณ์ที่เรี ยกว่า แยงและ แห

บทสัมภาษณ์ ชาวบ้านผาชัน

“บุง่ เป็ นแหล่งน� ้ำที่เกิดจากแม่น� ้ำโขงกัดเซาะ สามารถหาปลาในบุง่ ได้ ข้ าง ๆบุง่ สามารถท�ำการเกษตร เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์มาก เกิดจากตะกอนที่มาถมกันช่วงน� ้ำขึ ้น นอกจากนี ้ปลาในบุง่ ก็จะอุดมสมบูรณ์มาก เพราะช่วงน� ้ำขึ ้นปลาจะ มาวางไข่ในบุง่ ชาวบ้ านก็จะสามารถจับปลาในบุง่ ได้ โดยใช้ อปุ กรณ์ คือ แห ตาข่าย เบ็ด เเละเเยง เป็ นต้ น โดยอาหารทีไ่ ด้ จากบุง่ ชาวบ้ านจะ น�ำมากินกันเอง ส่วนที่ได้ จากเเม่น� ้ำโขงก็จะเอาไปขายให้ กองทุนปลา”

สามารถ เจริญชาติ “ในชุมชนบ้ านผาชัน มีวิถีชีวิตการท�ำมาหากินหลายประเภท เช่น การจับปลาที่บงุ่ ที่แม่น� ้ำโขง การจับสัตว์ตา่ งๆ ทังกระปอม ้ กระปอม คอแดง กิ่งก่า ชาวบ้ านจะจับกระปอมกันมากิน ทีละ 10 - 20 ตัว เพือ่ มาเป็ นวัตถุดบิ ในการท�ำอาหาร เช่น เอามาย่าง ท�ำก้ อย หรือ ลาบ เป็ นต้ น ส่วนเด็กๆ จะ จับกระปอมเพื่อหารายได้ เสริ ม เพราะกระปอมสามารถขายให้ กองทุน ปลาได้ ตวั ละ 2 - 3 บาท”

สมาน คงทน ผู้ใหญ่บ้าน

“ไข่ ม ดแดงเป็ น อาหารประเภทหนึ่ ง ที่ ชาวอีสานทานกันมาก เพราะรสชาติแปลก อร่อย ท�ำอาหารได้ หลายอย่าง ไม่วา่ จะเป็ น ท�ำก้ อย ท�ำย�ำ หรื อกินสดๆก็ได้ นอกจาก นี ้ไข่มดเเดงยังสามารถขายได้ กิโลกรัมละ 200 บาทอีกด้ วย”

คำ�พัน เชิดไชย ผู้อำ�นวยการโรงเรียน “ทีน่ จี่ ะค่อนข้ างมีสภาพพื ้นทีท่ เี่ เห้ งเเล้ งในฤดูเเล้ ง ท�ำให้ เราต้ องมี การปรับตัวเพือ่ ให้ อยูร่ อด เช่นช่วงทีน่ � ้ำมีน้อย ทุกคนก็ต้องประหยัด น� ้ำเพื่อให้ มีใช้ ตลอดหน้ าแล้ ง หรื อ อย่างอาหารการกินเราก็หาที่มี ตามธรรมชาติ ของใช้ ในครัวเรื อนก็ท�ำเอง สมัยนี ้คนเราชอบปรับธรรมชาติให้ เข้ าหาตนเองจึงส่งผลกระทบเกิดปั ญหาสภาวะแวดล้ อมต่างๆ แต่คนที่นี่จะปรับตนเองและ ธรรมชาติให้ กลมกลืนกัน ธรรมชาติ”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.