แล้งนี้...มีกิน

Page 1

แล้งนี้... มีกิน ใครบอกกันว่าความแห้งแล้งมากับความอดอยาก ที่บ้านผาชัน ในฤดูแล้งนี่แหละ... หากินได้หล๊ายหลาย!

ฤดูแล้ง (น�้ำลด) ระดับน� ้ำในแม่น� ้ำโขงนัน้ ขึน้ อยู่กับฤดูกาล ในช่วง ปลายเดือนก.ย.ระดับน� ้ำ ในแม่น� ้ำโขงจะค่อยๆลด ลง และจะลดลงต�่ำสุดใน ช่วงเดือนมี.ค-เม.ย. ถึง แม้ ร ะดับ น� ำ้ จะลดลงต�่ ำ สุดแล้ ว แม่น�ำ้ โขงส่วนที่ ไหลผ่านบ้ านผาชันก็ยงั คง มีความลึกถึง 70 เมตร

ฤดูน�้ำ (น�้ำหลาก) เมื่อเข้ าหน้ าฝนในช่วงเดือนพ.ค. ระดับ น� ้ำในแม่น� ้ำโขงจะเริ่มสูงขึ้น จนเมื่อถึงเดือน มิ.ย. - ก.ค. ระดับน�ำ้ ในแม่น�ำ้ โขงจะสูงถึง 100 เมตร และเมื่อเข้ าเดือนส.ค. - ก.ย. ระดับน� ้ำจะสูงท่วมหน้าผาทีส่ งู ชัน และหลาก เข้ าท่วมพื ้นที่แก่งและบุง่ ภายใน

สภาพพื้นที่บ้านผาชัน ปลามากม ง อ ข า ี่มา

แก่ง

แม่น�้ำโขงที่ไหลผ่าน บ้ านผาชันนันมี ้ ล�ำน� ้ำที่แคบลง ไหลต่อเนื่องมาจากสามพันโบก ซึง่ เป็ น บริ เวณแก่งหินใหญ่ที่กว้ างขวาง และมีแอ่ง

ซอก และหลืบหินอันเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์และ หลบภัยของสัตว์น�้ำน้ อยใหญ่ได้ เป็ นอย่างดี ความสมบูรณ์ของพันธุ์ปลาจึงปรากฏมา ถึงบ้ านผาชันซึง่ อยูใ่ กล้ เคียง รวมทัง้ ล�ำน�้ำที่บีบแคบลงก็ชว่ ยให้ ชาว ประมงบ้ านผาชันจับ ปลาได้ ง่ายขึ้น

ท�ำไมแล้งจัง!

หินฐานที่บ้านผาชันนันเป็ ้ น หินทราย เมื่อสลายจึงได้ ดนิ ทราย ที่ ไ ม่ ส ามารถเก็ บ น�้ ำ หรื อ เก็ บ ความชุ่มชื ้นได้ ดี ท�ำให้ พืชพรรณ "บุ่ง"ที่บ้านผาชันเป็ นหลุม ในพื น้ ที่ ค่อนข้ างเป็ นพื ช ทนแล้ ง หิ น หรื อแอ่ ง หิ น ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งใน ป่ าที่ พ บเป็ น ป่ า เต็ ง รั ง ซึ่ ง เป็ น พืน้ ที่แก่ง(ทาม) เมื่อน�ำ้ โขงไหลเข้ า แก่งหรื อพื ้นที่น� ้ำท่วมถึง ป่ าโปร่ ง ผลัดใบในฤดูร้อน รวม ท่วมแก่งในช่วงฤดูน�้ำหลาก น� ้ำจะ (ทาม)ที่ บ้ านผาชั น นั น้ ทังมี ้ ไผ่และไม้ พ่มุ เล็ก ทังนี ้ ้ส่งผล พัดพาตะกอนแม่ น้� ำ มาทับถมและ เมื่อถึงฤดูน�้ำหลากพื ้นที่ ให้ สภาพแวดล้ อมของบ้ านผาชัน สะสมอยู่ใ นหลุม หรื อ แอ่ ง เหล่ า นัน้ แก่งจะถูกน�ำ้ ท่วมอยูน่ าน โดยเฉพาะในฤดูร้อนนัน้ มีความ บ้ านผาชันมีผาหินสูงชันราว 40-50 เมตร รวมทังสิ ้ ่งที่มากับน�ำ้ ยังมีพันธุ์สัตว์ ดิ น ตะกอน แม่ น� ำ้ ที่ ถูก แล้งและร้อน จากระดับน�ำ้ ผานีจ้ ะทอดยาวตลอดสองฝั่ง น�้ำขนาดเล็ กเช่น ปลาบูเ่ ล็ก หอยขม พัดพามากับน� ้ำจะสะสม แม่น�้ำโขงเป็ นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร และเมือ่ ถึงฤดูน� ้ำลด พื ้นทีบ่ งุ่ หรือหลุม และทับถมอยูใ่ นแก่ง หรื อแอ่งหินนันจะกลายเป็ ้ นแหล่งจับ ส่วนทีจ่ มอยูใ่ ต้นำ�้ เป็ นทีอ่ ยูข่ องปลาและสัตว์นำ�้ สัตว์น�้ำและปลูกพืชได้

บุ่ง

แก่ง

ผา

ื้นที่เพาะปลูก

บ่งพ

ชาวบ้ านจะมี ก ารแบ่ ง พืน้ ทีใ่ ช้ปลูกพืชในเขตบุง่ โดยจะรู้ กนั ว่าบริ เวณใด เป็ นพื ้นที่ของใคร เพราะ ได้ ใช้ ประโยชน์ ต กทอด มาตัง้ แต่รุ ่ น บรรพบุ รุ ษ และชาวบ้ านจะไม่รุกล�้ำ เข้ าไปในพื ้นที่เพาะปลูก ของคนอื่น

ท�ำกินหน้าแล้ง

เมื่อเข้ าสู่ฤดูแล้ง (ช่วงเดือนก.พ.) ระดับน� ้ำในบุ่งจะไม่สูงมาก โดยมีความลึก ระดับเข่า ท�ำให้ ชาวบ้ านสามารถใช้ “แยง” จับปลาในบุง่ ซึง่ “แยง” เป็ นอุปกรณ์จบั ปลา ที่ใช้ คราดหน้าดินได้ ท�ำให้ สามารถจับสัตว์ หน้าดินเช่น สัตว์ประเภทหอย ได้ ด้วย

จั่น

ไม้ไผ่เฮี่ย

ลอบ

การปลูกพืชในบุ่ง

ท�ำกินหน้าน�้ำ

“ไม้ ไ ผ่ เ ฮี่ ย ” คือ

ชาวบ้ านจะปลูกพืชในบุ​ุ่งในรู ปแบบเดียวกับ เกษตรริมฝั่งโขง นัน่ คือการปลูกพืชต่างๆใน บริ เวณที่น�้ำท่วมถึง ในช่วงฤดูน�้ำลด (ต.ค. - ม.ค.) และจะเก็ บเกี่ยวในช่วงเดือนก.พ. มี.ค. นอกจากนันในบุ ้ ง่ ยังมีพชื อืน่ ทีข่ นึ้ เองตาม ธรรมชาติ เช่นผักหวาน และผักแว่นอีกด้ วย

ในช่วงที่น�้ำเพิ่งลด (ต.ค. - ม.ค.) ระดับ น� ้ำในบุ ่ ง จะยั งคงสูงอยู่พอให้ ชาวประมงสามารถใช้ น ช้อ

สวิ

อุปกรณ์จบั ปลาในแบบเดียวกับที่ใช้ จบั ปลาในแม่น� ้ำ โขง นัน่ คือ “จั่น” และ “ลอบ” เนื่องจากอุปกรณ์จบั งแรงและทนต่อกระแสน�้ำ ปลาทังสองนั ้ นมี ้ ความแข็ ได้ดี และเมือ่ ระดับน� ้ำลดลงอีกชาวประมงจะใช้ มอง ผักบุ้ง สวิง และช้อนเพื่อหาปลา เก ยาว

บ็ ผักส ั่วฝัก ัว วนค ูลกถ สวนคร ป พืช นา ว ีเ ่ยวข้า หว่าน ก มัน กบ็ เกบ็

พืชเกษตรริมโขง

าข้ ดแู ลน ไร่ป หวั ปลูกพืช

ข้าว

็ ด บเห เ ก็

ถั่วลิสง

บม ผักบุง้ เก็ ะ ข ใช้มอง ก า ม เกบ็ มา ได้ปลา จับเขียด ปลูกมนั

การท� ำ เกษตรริ ม โขงนัน้ จะ เริ่ ม ธ.ค. ม.ค. พ.ย. ก.พ. เพาะปลูกในช่วงเดือนต.ค. ซึง่ เป็ นช่วงที่ น�้ำเริ่มลด และเป็ นช่วงก่อนการเกี่ยว ต.ค. มี.ค. ข้าว พืชที่ปลูกส่วนใหญ่เป็ นผักสวนเม.ย. ก.ย. ครัวและพืชไร่ เช่นหอม กระเทียม พริ ก พ.ค. ส.ค. ก.ค. มิ . ย. ถัว่ ฝักยาว ถัว่ ลิสง มันแกว(มันส�ำปะหลัง) า ล าย ว ไถนา บเกี่ยวพืชริ มโขงเสร็ จใน ชาวบ้ านจะเก็ นา ปักด�ำ เดือนก.พ. และเมื่อเข้าฤดูฝน จะเปลีย่ น เก็ บ หน ดและหน่อไม้ ซึง่ ขึ ้นชุกชุมในป่ า ไปเก็บเห็ ่อ ไ ม ้ ในช่วงที่มีความชื้นมากแทน

"แก่ง" พื้นที่เกษตรริมโขง

ถั่ว ลิส งเป็ น พื ช ที่ ต ้ อ งการ น�้ ำ น้ อ ย จึงสามารถปลู ก ได้ ต ลอดปี แ ม้ ใ นช่ ว งฤดู แล้ ง โดยในช่วงที่ท�ำนานัน้ ชาวบ้ านจะปลูกถั่วลิสงบน ภูเขา และเมื่อเก็บเกี่ยวข้ าว จากนาเรี ย บร้ อยแล้ ว จะ ย้ายลงมาท�ำการเพาะปลูก ในที่ต�่ำกว่า เช่นการปลูกถั่ว และมันส�ำปะหลังในที่ราบ

รวั

ไผ่ชนิดหนึง่ ขนาด เล็ ก มี ข น ขึ น้ ที่ ล�ำต้ นไผ่ ชาวบ้ าน จ ะ ใ ช้ ไ ม้ ไ ผ่ เ ฮี่ ย ใ น ก า ร ท� ำ ง า น จักสาน เช่น หวด ข้ าวเหนี ย ว หรื อ มองจับปลา

เพา ด มอง ช้อน บ จนั่ เบ็ ะ ใช้ลอ บั ปลาบริเวณเวิน จ ใ ช้ ม เพร เ า นนำ้ ล เกิดเว ด ิน

"บุ่ง" แหล่งท�ำกินยามแล้ง

เมื่อถึงฤดูน� ้ำลด พื ้นที่บงุ่ นันจะ ้ . มีน�้ำขังอยู่ ท�ำให้ ชาวบ้ านสามารถจับ สัตว์น�้ำต่าง ๆ ในบุง่ มาเป็ นอาหารได้ โดยมี สัตว์น�้ำขนาดเล็ กมากมายหลายชนิด เช่น ปลาพันธุ์เล็ก หอยจุ๊บ หอยทราย หอยซวย หอยกับกี ้ หอยเชอร์ รี่ และกุ้งตัวเล็ก รวมทังแมลงวั ้ ยอ่อน เช่น ลูกแมลงปอ เป็ นต้ น บุง่ จึงเป็ นแหล่งท�ำกินที่ส�ำคัญของ ชาวบ้ านในฤดูแล้ง อย่างไรก็ตาม ในช่วงฤดูน�้ำหลาก (ก.ค. - ก.ย.) ชาวบ้ านจะไม่สามารถใช้ ประโยชน์จากบุง่ ได้ เนื่องจากบุง่ จะถูกน�้ำท่วมจนไม่สามารถ ปลูกพืชหรื อจับสัตว์น� ้ำได้ เลย

เนื่ องจากบ้ านผาชันมี ความ แห้ ง แล้ ง การ ปลูกข้ าวจึงต้ องอาศัย ฝนและน� ำ้ ช่ ว ง ฤดู น�้ ำ หลากเท่านั้น โดยจะ เป็ น พื ช ที่ ต ้ อ งการน�้ ำ เริ่ มปั ก กล้ า ด� ำ นา ใน น้อยเริ่มปลูกช่วงเดือน เม.ย. - พ.ค. และขุดมัน ช่วงเดือนมิ.ย. และจะ ในเดือน ธ.ค. หัวมันที่ได้ บเกีย่ วได้ ใน สามารถเก็ หลังจากถูกน�ำ้ ท่วมเป็ นเวลานาน จนมีดนิ ตะกอน จะน�ำไปตากแห้ง เพราะ เดือน พ.ย. - ธ.ค. จากแม่น� ้ำโขงมาทับถมอยู่ เมื่อถึงฤดูน�้ำลด ดิน ได้ราคาดีกว่า และส่ง ตะกอนเหล่านัน้ จะกลายเป็ นปุ ๋ ย ธรรมชาติ ที่ ไปแปรรู ป เป็ น อาหาร สัตว์และแป้ง อุดมสมบูรณ์ ท�ำให้ การเกษตรริมโขงได้ผลผลิต

มันส�ำปะหลัง

ปุ๋ยธรรมชาติ

ดี เช่น การปลูกข้ าว ถัว่ ลิสง มันส�ำปะหลัง เป็ นต้ น

ย ้ น้ อ ได าก

อ ที่ว ง ได้ป ่ายท ลาม วนน าก ้ำน ไปวา งไข่

งข น ้ึน

น้ำน ลงตตำ่ สุด เหลือ 70 m

ลอบ

นนำ้ ลง กน้อย ใชเ้ ล เล็ ได้ป

จั่น

ตกปลาในป่า!?

ก ก

"แม่น�้ำโขง" แหล่งประมงบ้านผาชัน

ใช้มองต ึ้น า ก มากข ง่ า เพราะมเล็ ล จ ด้ป หลายแห สี าห ับปลา ไ รา่ ย อง มีเวิน ะ ม นนำ้ ยๆ มสี าห ลงมา เรอื่ ยแหง่ ง รา่ ย ล ลา มา ห ธ.ค. ม.ค. พ.ย. ก.พ. ต.ค. มี.ค. เม.ย. ก.ย. ในช่วงเดือนส.ค. - ก.ย. เป็ นช่วงฤดูพ.ค. ส.ค. น�้ำหลากที่น� ้ำขึ ้นสูงถึง 100 เมตร จน ก.ค. มิ.ย. ท่วมผา และน� ้ำยังท่วมไปถึงเขตป่า ท�ำให้ ู สูง น้ำน ท่ว นนำ้ สฤดูฝ ม ชาวบ้ านมีการผูกเบ็ ดไว้ กบั ต้ นไม้ ในป่ า บ ั 1 ด ะ 0 ร า้ 0m บ เริ่มเข ใช้ม า เพื่อตกปลาที่ว่ายไปอยู่ในป่าอีกด้ วย จั่น าไม ด็ ล ม่ าก ลอบ ช้อ า ดักป น เริม่ จับปล เพรา ง ะน้ำน เชี่ย ว ได้น้อยล

น�้ำน้อยค่อยจับปลา

จับปลาหน้าน�้ำ

น�้ำมา ประมงถอย ฤดูน�้ำหลาก (มิ.ย. – ก.ย.) เป็ น ช่ว งที่ จั บ ปลาได้ ไ ม่ มาก เพราะน�้ ำ มาก รวม ทัง้ ความกว้างใหญ่ของ

แม่น� ำ้ ยิ่ ง ท� ำ ให้ จับ ปลาได้ ยากขึ ้น อีกทังยั ้ งมีสาหร่าย ทีถ่ กู พัดพามากับกระแสน� ้ำ อยู่ม ากและมัก จะเข้ า ไป ติดหรื อพันอยู่กบั อุปกรณ์ จับ ปลา ชาวบ้ า นจึง ไม่ นิยมออกเรือจับปลาด้ วย มองและเบ็ดราวในช่วงนี ้

บ้านผาชันเป็นที่ที่ผีสร้าง มาให้ มันอุดมสมบูรณ์ มันเหลือกินเหลือใช้ - นายสมาน คงทน

ในช่วงฤดูน�้ำหลากจะใช้ มองและเบ็ดราว เหมือนฤดูน�ำ้ ลดไม่ได้ เนื่องจากน�้ำเชี่ยวแรงจะ ท�ำให้ อุปกรณ์เสียหาย สิง่ ที่ใช้ คือ "ลอบ" ใช้ วาง ไว้ ขวางทางน�้ำไหลและทางผ่านของสัตว์น� ้ำ และ "จั่น" เป็ นเครื่ องมือจับปลาที่ชาวบ้ าน ผาชันประดิ ษ ฐ์ ขึ้ น มาเอง มี คันเกล็ดท� ำหน้ าที่ เป็ นประตู ปิ ดลงมาขังปลาไว้ เมื่อมีปลาว่ายเข้ า มาในจัน่

ในช่วงหน้าแล้ง (ม.ค. - เม.ย.) เป็ นช่วงที่ จับปลาได้งา่ ยทีส่ ดุ และมากทีส่ ดุ เพราะ เป็ นช่วงที่น�้ำนิ่งสงบ น� ้ำน้ อยลงเพราะ ระดับน�้ำลดลง ท�ำให้ จบั ปลาได้ งา่ ยขึ ้น อีกทัง้ ยังเป็ นฤดูกาลที่ปลาหลายสาย พันธุ์จะว่ายทวนกระแสน�ำ้ เพื่อไปวางไข่

าว ร ด ็ บ เ

เป็ นการขึงราวเบ็ ดจากหน้ าผาฝั่งไทย ข้ ามฟากไปสูฝ่ ั่งลาว แล้ วหย่อนเบ็ดลงใน แม่น�้ำโขงเพื่อจับปลา จะใช้ ในฤดูน�้ำลด

"เวิน" น�้ำวนแหล่งปลา

มอง

เป็ นตาข่ายที่ใช้ ดกั ปลา ลักษณะคล้ ายแห ปลาย ด้ านหนึง่ จะผูกไว้ กบั หิน และหย่อนลงในแม่น� ้ำให้ ปลามาติด เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ จบั ปลาในช่วงน�้ำลด

โอ๊ย! ของในบุ่งมันกิน บ่ หมด มันหลายหลาก - นางคำค พ นั ขาดม้าย

ช่วงน�้ำลด ในแม่น� ้ำโขงจะเกิดน�้ำวน หรื อ ที่ชาวบ้ านเรี ยกว่า “เวิน” ซึง่ เกิดจากกระแส น� ้ำพัดผ่านหลุมหินใต้ ท้องน� ้ำ และจะหมุนวน ย้ อนกลับเกิดเป็ นน� ้ำวน จะพบปลาที่ “เวิน” เป็ นจ�ำนวนมาก เพราะปลาจะติดอยู่ในวัง น�้ำวนนัน้ ไม่สามารถว่ายออกไปได้

แต่ก่อนแค่เอามีดฟันลงน�้ำ ได้ปลาติดใบมีดมาแล้ว ก็ - นายสว ัสดิ์ อินทร์ทอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.