น้ำ (ใจ) ไม่แห้ง

Page 1

น้การจัำ�ดการน้(ใจ) ไม่ แ ห้ ง ำ�บ้านผาชัน

น�ำ้ เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการด�ำรงชีวติ ท�ำให้มนุษย์

เลือกตังถิ ้ ่นฐานใกล้ กบั แหล่งน� ้ำ แต่บ้านผาชันชุมชน ริ มแม่น�ำ้ โขงเคยประสบปั ญหาขาดแคลนน�ำ้ ในการ อุปโภคบริ โภคภายในหมูบ่ ้ าน และการน�ำน� ้ำเข้ ามาใช้ ในหมู่บ้านมาก่อน ปั จจุบนั จากการร่ วมมือของคนใน ชุมชน ท�ำให้ หมู่บ้านผาชันมีน� ้ำใช้ เพียงพอต่อความ ต้ องการของคนในชุมชนทังฤดู ้ น� ้ำหลากและฤดูน� ้ำลด

ลำ�ดับความเป็นมาของระบบน้ำ� 2524

ประชากรในหมูบ่ ้ านเพิ่มจ�ำนวนขึ ้น อย่างเห็นได้ ชดั ท�ำให้ น� ้ำจากแหล่ง น� ้ำธรรมชาติเดิมที่กระจายอยู่ตาม ธรรมชาติอย่างบ่อทรายเป็ นต้ น ซึง่ ไม่พอต่อการใช้ สอย

2535 - 2547

เกิด ความแห้งแล้ง อย่างหนัก ชาวบ้ านไม่มีน� ้ำใช้่ ไม่สามารถท�ำมาหากิน ได้ วัวควายล้ มตายเป็ นจ�ำนวนมาก

ชาวบ้ านรวมตั ว กั น สร้ าง ฝายวังอีแร้ง 1 บน เขาภูซางด้ วยกระสอบทราย เพื่อกักเก็บน� ้ำไว้ ใช้

2542 - 2548

กรมทรัพยากรน� ้ำหาวิธีแก้ ไขโดยเข้ ามาขุด น� ้ำบาดาลลึกลงไป 60 - 80 เมตร แต่ไม่พบ น� ้ำบาดาล

2543

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ส�ำโรงเข้ ามาขุดบ่อน� ้ำบาดาล ลึกลงไป 50 เมตร แต่ไม่พบ น� ้ำเช่นกันจึงซื ้อเครื่ องสูบน� ้ำ ขนาด 5 แรงม้ ามาสูบน�ำ้ ที่ ห้ วยค�ำ-สีดา เพื่อสูบน� ้ำไปใช้

2548

ชาวบ้ านรวมตัวกันเพื่อแก้ ไข ปั ญหาน� ้ำแล้ ง กองบัญชาการ ทหารสูงสุดเข้ ามาขุดบ่อน� ้ำตื ้น จ�ำนวน 2 บ่อกว้ าง 1 เมตร ลึก 8 เมตร อยู่ทางทิศเหนือของ หมูบ่ ้ าน แต่กบ็ รรเทาภัยแล้ งได้ เพียงระดับหนึง่

2549

ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเข้ ามา พัฒนาพื ้นที่ เพื่อให้ กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัด แต่ชาวบ้ านเล็งเห็นปั ญหาด้ าน การจัดการน� ้ำ ซึง่ เป็ นปั จจัยที่สมควรจะได้ รับ การปรับปรุงเป็ นล�ำดับแรก จึงร่วมกับกองทุน พัฒนาระบบการใช้ น� ้ำก่อน

ชาวบ้ านร่วมแรงร่วมใจกันสร้ าง ฝายวังอีแร้ง 1 โดยสร้ างให้ เป็ นฝายปูน เพราะกระสอบทรายไม่สามารถ ทนแรงน� ้ำที่เชี่ยวกราดได้ ครัง้ นี ้ชาวบ้ านต่างร่วมบริจาคปูน อย่างน้ อยครัวเรื อนละ 1 ลูก และร่วมลงแรงในการก่อสร้ าง โดยไม่พงึ่ หน่วยงานรัฐ

2551

ชาวบ้ า นน� ำ นวัต กรรมแอร์ แ วไปจัด ใน นิทรรศการลูกโลกสีเขียวของปตท. และ ได้ รับการแนะน� ำให้ ไปประกวดรางวัล พระราชทานในโครงการพระราชด�ำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวด้ วยชื่ อ โครงการ “ รู ป แ บ บ ก า ร

นายชริ นทร์ อินทร์ ทองเกิดแนวคิดการสร้ าง เครื่ องเพิ่มแรงดันน� ้ำ แอร์แว หลักการ ท�ำงานคือการเพิ่มแรงดันน� ้ำโดยการต่อท่อ PVC 2 ท่อเข้ ากับสายสูบในแนวตัง้ ช่วยให้ น� ้ำไหลสม�ำ่ เสมอเมือ่ น� ้ำไหลเข้ าไปในท่อ โดย อาศัยอากาศที่อยู่ในท่อดันน� ้ำช่วยปั๊ มน� ้ำลง มาให้ ไหลแรงขึ ้นกว่าเดิม

จั ด ก า ร น�้ ำ ที่ มี อ ย ่ า ง จ�ำกัดให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด กรณีบา้ นผาชัน”

ระบบแอร์ แวได้ รับความสนใจและ การสนับสนุนจากหน่วยงาราชการ อย่างองค์การบริ หารส่วนต�ำบล และ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั ด้ วย

2552

แอร์ แวได้ รับรางวัลชนะเลิศถ้ วยพระราช -ทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ได้ รับการสนับสนุนด้ านการจัดการน� ำ้ จากโครงการพระ ราชด�ำริ ในการพัฒนาระบบการจัดการน� ้ำของชุมชน โดยมี การสร้ างฝายวังอีแร้ ง 2 ฝายเหนือวังอีแร้ ง 1 ขึ ้นไปและต่อ ท่อ PVC เพื่อส่งน� ้ำมาใช้ สอยและท�ำการเกษตรในหมูบ่ ้ าน

ชุมชนสร้ างฝายย่อย 4 ฝายเพือ่ ใช้ ในการท�ำ นาและปลูกพืชไร่ บนภูเขา โดยได้ รับเงิน สนับสนุนจากโครงการในพระราชด�ำริ

หมู่บ้านผาชัน

เขาภู ซ าง

เป็ น แหล่ ง ต้ น น� ำ้ ที่ ใ ช้ ใ น หมูบ่ ้ านมีจดุ เริ่ มต้ นอยูบ่ ริ เวณเสาเฉลียง

ฝายวังอีแร้ง 1

ใช้ น� ้ำในการอุปโภค บริ โภคใน ชุมชน

ห้วยภูโลง มีต้น

ก� ำเนิ ดมาจากเขาภูซาง ไหลลงสูห่ มูบ่ ้ านผาชัน

ฝายวังอีแร้ง 2 สร้ างขึ ้น

เพื่อแบ่งเบาการใช้ น� ้ำในชุมชน และ แบ่งน� ้ำไปใช้ ในการท�ำการเกษตร ใน หน้ าน� ้ำจะกักเก็บน� ้ำไว้ เพือ่ ใช้ สอยใน หน้ าแล้ ง โดยจะใช้ น� ำ้ เพื่ อ การ อุปโภคบริ โภคเพียงอย่างเดียว ไม่ อนุญาตให้ ทำ� การเกษตรเพือ่ ป้องกัน ปั ญหาน� ้ำไม่พอใช้

หมู่บ้านผาชัน

มี149 ครัวเรื อนมีประชากรทังสิ ้ ้น 570 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ประมงริ มแม่โขง และเกษตรกรรม

บ ่ อ น�้ ำ

บ่ อ น� ำ้ ที่ ก อง บัญชาการทหารสูงสุดขุดให้

ห้ ว ยค� ำ สี ด า ห้ วยภูโลงตอนล่าง

ที่นา

บ้ านผาชันจะท�ำนาเป็ น นาปี เพราะในหน้ าแล้ งมีปริ มาณ น� ้ำไม่เพียงพอ โดยในฤดูฝน การท�ำ นาจะอาศัยน� ้ำจากฝนและน� ้ำที่ส่ง มาจากฝายวังอีแร้ ง 1 ส่วนในหน้ า แล้ งจะปลูกพืชที่ไม่ต้องการน� ้ำมาก เช่น มันส�ำปะหลัง

สภาพดินบ้านผาชัน

แม้ บ้านผาชัน อยูต่ ดิ กับแม่น� ้ำโขง แต่มีหินฐานเป็ นหินทราย และ ผุพงั สลายเป็ นทราย ท�ำให้ บ้านผาชันมีแผ่นดินเป็ น ดินทรายซึง่ ไม่อ้ มุ น� ้ำ และดินขาดความชุม่ ชื ้น

น้ำ�สร้างชุมชน “ ชุมชนเราเปลีย่ นแปลงไปมาก จากอดีต แต่กอ่ นชาวบ้ านมีน� ้ำ ไม่พอใช้ แต่พอมีน�ำ้ กินน�ำ้ ใช้ ชาวบ้ านก็ ส า ม า ร ถ ท� ำ

กิจกรรมอย่าง อื่นได้ เช่นปลูกผักสวน

ครัวหน้ าบ้ านตนเอง ”

ค�ำพัน เชิดไชย

“ สิง่ ที่ขาดไม่ได้ ก็คือการ ร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชน ชุมชน เราคิดถึงการใช้ ชีวิตมากกว่าเรื่ องเงิน ใคร ช่วยได้ เท่าไหร่ก็ชว่ ย ปัจจัย

ทางน�้ำใจมันใช้ ยังไงก็ไม่หมด

บุญมา เจริญชาติ

ROONGAROON 15

“ ดีใจมากครับที่ชมุ ชนมี น� ้ำกินน� ้ำใช้ อยากให้ ป่าอยูก่ บั ชุมชนไปนาน ๆ เพราะ

ถ้าไม่มีป่า ก็ไม่มีน�้ำ เหมือนกัน ”

เด็กชายโอเว่น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.