2010 11 03nov dec globaloutlook

Page 1

มู ล บทโรตารี

คู ่ มื อ แนะน� ำ โรแทเรี ย น ส� ำ หรั บ สื่ อ สั ง คมออนไลน์

Copyright © 2010 by Rotary International. All rights reserved.


แผนภูมสิ อื่ สังคมออนไลน์

SOCIAL MEDIA BUSINESS SOCIAL MICROBLOGGING SOCIAL MEDIA MICROBLOGGING SOCIAL MEDIA BUSINESS SOCIAL MEDIA BUSINESS SOCIAL MICROBLOGGING SOCIAL MEDIA BUSINESS SOCIAL MICROBLOGGING SOCIAL MEDIA BUSINESS SOCIAL NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKING เว็ บ ไซต์ โ ปรดที ่ จ ั ด เก็ บ BLOGGING NETWORKING SHARING BLOGGING NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKING NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKING BLOGGING NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKIN BLOGGING NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKING เครือข่ายสังคม สื่ อ ผสม (Mulธุ ร กิ จ เครื อ ข่ า ย

ออนไลน์ (Social networking)

เกี่ ย วข้ อ งกั บ อะไรได้ บ ้ า ง

ร้ อ ยละของผู ้ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ เ ข้ า เยี่ ย มชม เว็ บ ไซต์ ชั้ น น� ำ ของโลก*

timedia sharing)

เชื่ อ มต่ อ กั บ เพื่ อ น ครอบครั ว ออนไลน์

บั น ทึ ก ข้ อ ความ ข้ อ ความสั้ น (Blogging)

โพสต์ สื่ อ ผสม วิ ดี โ อ รู ป ถ่ า ย และเพลง

(micro-blogging)

ประกาศ ข่ า วสาร หรื อ บั น ทึ ก อนุ ทิ น รายวั น

(Business networking)

เผยแพร่บันทึก ข้อความสั้น ไป ยังผู้ใช้อื่นหรือ สมาชิก

ไว้ เ พื่ อ แบ่ ง ปั น ค้ น หา (Social bookmarking)

เชื่ อ มต่ อ กั บ เพื่ อ นร่ ว ม อาชี พ

การรวบรวม จั ด เก็ บ แบ่ ง ปั น สารสนเทศ

Facebook 33.4%

YouTube 24.1%

Blogger 11.6%

Twitter 7.1%

LinkedIn 2.5%

Digg 0.8%

Hi5 Kaixin001 Mixi MySpace Orkut QQ/Qzone VKontakte

Dailymotion Flickr Ku6 Megavideo Photobucket Tudou Youku

Ameba Blogfa LiveJournal Mihan Blog Seesaa ypePad WordPress

Digu FriendFeed Identi.ca Jaiku Plurk Tumblr Yammer

APSense Biznik Ecademy Fast Pitch Focus Ryze XING

Delicious DiigoMister Wong Mixx Propeller Reddit StumbleUpon

ข้ อ ได้ เ ปรี ย บ

คุ ณ สามารถโพสต์ รู ป ภาพ และการ สนทนา เข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น เป็ น ปั จ จุ บั น ในที่ เดี ย วกั น ทั้ ง หมด

ทั ศ นสื่ อ ชวนให้ มี ผู ้ เ ข้ า มาชม

คุ ณ สามารถ สร้ า งเว็ บ ไซต์ เ ล็ ก เป็ น ของตั ว เองใน ชั่ ว ไม่ กี่ น าที

การสร้ า ง ข้ อ ความสั้ น ใช้ เวลาไม่ ม าก

การสร้ า งเครื อ ข่ า ยออนไลน์ อาจน� ำ ไปสู ่ ก าร สร้ า งธุ ร กิ จ ใหม่

คุ ณ สามารถเข้ า สู ่ ร ายชื่ อ เว็ บ ไซต์ โปรดของคุ ณ จากทุ ก ที่

ข้ อ เสี ย เปรี ย บ

การตั้ ง ค่ า ความ เป็ น ส่ ว นตั ว อาจซั บ ซ้ อ น

ผู ้ ใ ช้ จ ะต้ อ งมี การตระหนั ก ถึ ง กฎหมาย ลิ ข สิ ท ธิ์ .

ต้ อ งหมั่ น ปรั บ สภาวะบล็ อ กให้ เป็ น ปั จ จุ บั น อยู ่ เสมอ

เรื่ อ งไร้ ส าระที่ ไม่ เ กี่ ย วข้ อ ง หรื อ ”เสี ย ง”ที่ ไ ม่ พึ ง ปรารถนา

ผู ้ ใ ช้ อ าจรู ้ สึ ก กดดั น ที่ ต ้ อ ง เปิ ด เผยข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ

การใช้ แ ท็ ก หรื อ ค� ำ หลั ก อาจจะ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความ สั บ สน

วิ ธี ส นั บ สนุ น โรตารี

เพิ่ ม นิ ต ยสารเดอะ โรแทเรี ย นในโพร ไฟล์ ข องท่ า น

โพสต์ รู ป ภาพ หรื อ วิ ดี โ อ โครงการบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์

ลงข่ า วสโมสร ของคุ ณ ใน บล็ อ ก

แจ้ ง เตื อ น กิ จ กรรมของ โรตารี

หาผู ้ ที่ อ ยู ่ ใ น เครื อ ข่ า ยของ คุ ณ เพื่ อ เชิ ญ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม โรตารี

คลิ ก ที่ ปุ ่ ม ร่ ว ม แบ่ ง ปั น กั น เรื่ อ ง ราวข่ า วของ โรตารี ส ากล

เว็บไซต์ชั้น น�ำอื่นๆ

* อ้ า งตามค่ า เฉลี่ ย รอบสามเดื อ นของAlexa.com วั น ที่ 13 กรกฎาคม

ILLUSTRATIONS BY OTTO STEININGER

BLOGGING BLOGGING


ปฏิบตั กิ ารสือ่ สังคมออนไลน์ ข่าวดี สโมสรของโรมานา ประเทศเปรูทำ� ข้อตกลงกับ

สโมสรในประเทศอินเดียเพือ่ จะสร้างโรงพยาบาลส�ำหรับ เด็ก ราวิ,โรแทเรียน ในประเทศอินเดียช่วยกระจายข่าวนี้ โดยผ่านสือ่ สังคมออนไลน์ (1)

(3)

(4)

(6) (5)

(7)

(1) โรมานา โพสต์ ข่าวนีบ้ นหน้า Facebook ของเธอ เพือ่ นสมาชิกในสโมสรของเธอปลาบปลืม้ ยินดี ต่างรอคอยทีจ่ ะไปประชุมในครัง้ ต่อ ไป (2) เธอถ่ายท�ำ วิดโี อใส่ไว้ใน YouTube เกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ ธอพบเห็นในเมืองทีจ่ ะสร้างโรงพยาบาล (3) เธอร่วมเข้ากลุม ่ สาเหตุการ เสียชีวติ ของทารกใน XING และพบปะพูดคุยกับผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ งการหาทุนทีใ่ กล้เข้ามา (4) ในทวิตเตอร์ เธอเขียนข้อความเกีย่ วกับ การหาทุนทีม่ กี ารเชือ่ มโยงไปยังช่องทาง YouTube ของเธอ (5) ผูว้ า่ การภาคเข้ามาเขียนข้อความตอบ สโมสรในภาคของเธอเข้ามาชม วิดโี อใน YouTube ทีก่ ารประชุมครัง้ ต่อไปแล้วเกิดแรงบันดาลใจ (6) การหาทุนประสบความส�ำเร็จ ราโมนารวบรวม ทีอ่ ยูอ่ เี มลของผูเ้ ข้า ร่วมประชุมและส่งไปเชือ่ มโยงกับ blog ทีร่ าวิเริม่ ต้นไว้ (7) ราวิ ยังคงเก็บรักษา blog เอาไว้เพือ่ แสดงความคืบหน้าของโรงพยาบาล เมือ่ โรงพยาบาลส�ำเร็จเสร็จพร้อมแล้ว เขาก็ใช้blog เป็นแหล่งข้อมูลส�ำหรับโครงการต่อไปในสโมสรของเขา


เพื่อบริจาคช่วยกาชาดเพิ่มขึ้นกว่า 396,000,000 ดอลลาร์ในเวลาไม่เกิน สามเดือน

ออกจะเป็ น เรื่ อ งง่ า ยที่ จ ะ เขียนลงใน Facebook, Twitter, และ YouTube ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ ช่วยให้ผู้คนเดินออกจากความมืด มิด – หากแต่ทว่าคุณเพิกเฉยเงิน เป็นล้านๆดอลลาร์ที่องค์กรด้าน มนุ ษ ยธรรมหาทุ น มาโดยใช้ สื่ อ สังคมออนไลน์ และผู้คนนับล้านๆ คนที่ ใช้ บ ริ ก ารเครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ทุกวัน แม้ว่าคุณอาจจะ ไม่ คิ ด ว่ า สื่ อ พวกนี้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการสื่ อ สารที่ แ ท้ จ ริ ง เว็ บ ไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ได้พิสูจน์แล้วว่า มีสมรรถภาพส�ำหรับการท�ำดีใน โลก: ทั้งฟรีและกระจายข่าวสาร การส่งข้อความ เร็วกว่า ไปสู่ผู้คนได้มากกว่าการ ่ นวิธใี นอดีต ติ ด ต่ อ สื่ อ สารแบบอื่ น ๆในอดี ต เปลีย หนังสือพิมพ์โทรเลขโทรศัพท์และ โดย เบ็น พาร์ อีเมล์ยังท�ำได้ไม่เท่านี้

โอกาสยิง่ ใหญ่ใน สือ่ สังคม ออนไลน์

ในต้นปี 2552 ผู้ใช้ Twitter ช่วยกันระดมหาทุนไปทั่วโลกเพียงวันเดียว เพื่อสนับสนุนการกุศล : Water ซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาก�ำไรมุ่งมั่นที่ จะน�ำน�้ำดื่มที่สะอาดและปลอดภัยให้กับประเทศที่ก�ำลังพัฒนามหกรรม ออฟไลน์หรือที่เรียกว่า Twestival ถูกวางแผนในเวลาไม่ถึงเดือนและ มี ผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 10,000 คนในกว่า 200 เมือง หาเงินได้มากกว่า 250,000 ดอลลาร์ ปีนี้ผู้เข้าร่วม Twestival มากมายใน 45 ประเทศให้ เงินประเดิมรวมกันได้กว่า 450,000 ดอลลาร์เพื่อการกุศลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง กันทั่วโลก เหตุการณ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระดมหาทุนยามเร่งด่วนและ โปรแกรมการบ�ำเพ็ญประโยชน์ระหว่างประเทศ เป็นการแสดงให้เห็นว่า สื่อสังคมออนไลน์มีพลังที่จะระดมการร่วมสนับสนุนด้านมนุษยธรรมได้ ในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อต้นปีนี้เอง ตอนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ท�ำลายเฮติ มีผู้เสีย ชีวิตกว่า 200,000 คนและท�ำให้มีผู้ไร้ที่อยู่อาศัยเป็นล้านคน ผู้ใช้สื่อสังคม ออนไลน์แพร่กระจายข่าวภัยพิบัติและการระดมความช่วยเหลือ หลังนาที ที่เกิดสั่นไหว ภาพชวนตกตะลึงซึ่งเป็นผลพวงจากเหตุแผ่นดินไหวออกมา ท่วมท้น Facebook และ Twitter ไม่นานนักก็ มีการร่วมบริจาคหลั่งไหล เพื่อบรรเทาทุกข์ การร่วมระดมทางสื่อสังคมออนไลน์และการส่งข้อความ

ผู้ใช้เว็บที่ติดอยู่ในความวุ่นวายทางการเมืองยังได้พบว่าการสนับสนุน โดยผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ เมื่อเดือนมิถุนายน 2552 คราวที่ มะฮัมมูด อามะดีนจั๊ด ซึ่งยังด�ำรง ต�ำแหน่งอยู่ ชนะ เมอร์ โฮสเซียน เมาซาวี ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี อิหร่าน สงสัยความถูกต้องของผลการเลือกตั้งว่ามีการเพิ่มเติมเข้าไปใน การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองซึ่งมีอยู่ตามถนนหลายสาย ผู้ประท้วง ที่อยากจะบอกเล่าซึ่งกันและกัน และการแพร่ข้อความของพวกเขาสู่ สายตาชาวโลก ต่างหันมาใช้เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ ชาวอิหร่าน ส่งข้อความเป็นปัจจุบันผ่าน Twitter เกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในบริเวณนั้นและ การโพสต์วิดีโอบน YouTube และภาพถ่ายใน Flickr ทันทีหลังจากไปถ่าย รูปมา ผลปรากฏว่ากลายเป็นอดีตในฉับพลัน นั่นคือสื่อสังคมออนไลน์แพร่ ข่าวเร็วกว่าเครือข่ายข่าวหลัก นาทีที่ท�ำให้เกิดพลังพุ่งสูงสุดในวิกฤตการเลือกตั้งอิหร่านมาจากวิดีโอ YouTube ความยาว40 วินาที แสดงวาระสุดท้ายของชีวิตของ นีดา อัค ฮา ซุลตาน หลังจากที่เธอถูกยิงที่หน้าอกขณะที่แสดงความคิดเห็นต่อต้าน รัฐบาล วิดีโอแพร่ภาพไปกระตุ้นผู้ชมทั่วโลก และต่างมุ่งให้ความสนใจการ นองเลือดในอิหร่านกันทั้งโลก สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเล่าเรื่องวีรบุรุษขณะที่พวกเขา พบกับภยันตราย เมื่อครั้งที่กัปตัน เชสลีย์ “ซัลลี” ซัลเลนเบอร์เกอร์ รักษา ชีวิตผู้โดยสารและลูกเรือ155 คนโดยขับเครื่องบินพาณิชย์ สายการบิน ยูเอส แอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 1549 ซึ่งมีอาการไม่สมบูรณ์ลงสู่แม่น�้ำฮัดสันใน นครนิวยอร์ก ต้นปี 2552 เรื่องราวของ “ปาฏิหาริย์บนฮัดสัน” เผยแพร่ ทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ เจนิส ครัมซ์ ผู้เห็นเหตุการณ์ แพร่ภาพแรก ของการดิ่งลงน�้ำ หลังจากที่จับภาพด้วยไอโฟนของเขาและการโพสต์ไป ยังTwitter ภาพนั้นกลายเป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก เป็นทั้งบันทึกนาทีแรก ของเหตุการณ์ระทึกใจ และเป็นการพิสูจน์ การรับภาพข่าวสารทางสื่อ สังคมออนไลน์ด้วยความรวดเร็วและมีสมรรถภาพ หน่วยงานระหว่างประเทศและหน่วยงานภาครัฐยังได้ค้นพบประโยชน์ ของสื่อสังคมออนไลน์ในยามวิกฤต ปีที่ผ่านมาขณะที่ทั้งโลกตื่นตระหนก เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของไวรัส H1N1 (ไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ 2009) หลายคนกลัวว่ามันจะกลายเป็นโรคระบาดที่เลวร้ายที่สุดนับตั้งแต่เกิดไข้ หวัดสเปนปี 2461 เมื่อครั้งที่มีความวิตกสูงสุด ผู้ใช้ Twitter ส่งข้อความ เป็นหมื่นๆเกี่ยวกับไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ทุกชั่วโมง หน่วย งาน เช่นองค์การอนามัยโลกและศูนย์ควบคุมและการป้องกันโรคแห่ง สหรัฐอเมริกา ตอบรับโดยใช้ Facebook, Flickr, YouTube, MySpace, และpodcast เพื่อเผยแพร่ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับ H1N1 องค์การอนามัยโลก และศูนย์ควบคุมและการป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกายังได้ใช้ HealthMap (www.healthmap.org) -- เครื่องมือที่เป็นที่นิยมซึ่งรวบรวมข้อมูล การระบาดของโรคได้หลายภาษาจากในเว็บรวมทั้งจากเว็บไซต์สื่อสังคม ออนไลน์ – เพื่อชี้ให้เห็นต�ำแหน่งของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ทั่วโลก ถึงแม้ว่าการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สิ้นสุดลงโดยไม่เป็นอันตราย ถึงชีวิตไปมากกว่าเชื้อไวรัสไข้หวัดทั่วๆไป เหตุการณ์แสดงให้เห็นถึงความ ก้าวหน้าไปไกลซึ่งสื่อสังคมออนไลน์เข้ามากระจายข้อมูลข่าวสารในช่วง เวลาส�ำคัญ สื่อสังคมออนไลน์ยังช่วยให้เราได้เรียนรู้ ตอบสนอง ให้ความ รู้ผู้อื่นและระดมทุนได้เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าที่เคย


เครือข่ายสังคมออนไลน์สามารถช่วยให้คณ ุ ติดต่อกับเพือ่ น ๆ ทีห่ า่ งไกลหรือ รวม กับผูอ้ น่ื ในโลกแห่งความเป็นจริง แต่รายละเอียดเล็ก ๆ ทีค่ ณ ุ ให้ไป – สถานทีข่ องคุณ สาเหตุทค่ี ณุ สนับสนุน แม้ภาพยนตร์เรือ่ งโปรดของคุณ – อาจมีผลกระทบอย่างรุนแรง ถ้ามี ขโมย หน่วยป้องกันของรัฐบาล หรือลูกค้าเป้าหมายทีร่ ว่ มใช้เครือข่ายเหล่านี้ หากคุณคิดว่าเพียงแค่คณ ุ กำ�ลังใช้ขอ้ มูลร่วมกันกับเพือ่ น ๆ คุณเข้าใจผิด กว่า ทศวรรษทีผ่ า่ นมาเว็บไซต์เครือข่ายสังคมระมัดระวังและอาจบังเอิญเปิดเผยข้อมูล ส่วนตัว ภัยคุกคามทีใ่ หญ่ทส่ ี ดุ มาจากบุคคลอืน่ ทีร่ ว่ มกันหรือเจาะข้อมูลของคุณใน วิธที ค่ี ณ ุ อาจไม่เข้าใจหรือเห็นชอบด้วย Facebook (www.facebook.com) ทำ�ให้โปรไฟล์ความเป็นส่วนตัวผิดพลาด ได้สงู ในปี 2549 เริม่ มีการเปิดเผยการกระทำ�ของผูใ้ ช้ เช่นพวกกลุม่ ทีเ่ ขาต้องการเข้า ร่วม เพือ่ แจ้งข่าวสูส่ าธารณะ การเปลีย่ นแปลงทันทีทำ�ให้คนลังเลทีจ่ ะติดต่อกับกลุม่ สนับสนุนและองค์กรอืน่ ๆ “ เราสับสนกับเรือ่ งนีจ้ ริงๆ “ มาร์ค ซัคเคอร์เบอร์ก ผูก้ อ่ ตัง้ Facebook, กล่าวคำ�ขอโทษในจดหมายเปิดผนึกของเขา ในปลายปี 2552 บริษทั ฯดำ�เนินคดีฟอ้ งร้อง Beacon technology ซึง่ แกะรอย การซือ้ นอกเว็บไซต์ของผูใ้ ช้บางคนและการเผยแพร่ดำ�เนินธุรกิจการค้าใน Facebook จากนัน้ ปีกอ่ นหน้านี้ Facebook เปลีย่ นการตัง้ ค่าบัญชีของผูค้ นเพือ่ จะให้มคี วาม สามารถใส่สารประโยชน์มากขึน้ ซึง่ กำ�หนดให้พวกเขา ดำ�เนินการเรียกคืนความเป็น ส่วนตัวของพวกเขาได้ บริการติดเครือ่ งดักในโปรแกรมสามารถใส่ขอ้ มูลส่วนบุคคลทีไ่ ม่ปลอดภัยของ คุณในปี 2551 Bebo (www.bebo.com) ยอมให้ผใู้ ช้ในนิวซีแลนด์หลายคนควบคุม บัญชีสว่ นบุคคลอืน่ ๆ เต็มรูปแบบ ยอมให้พวกเขาดู ให้คดั ลอก และปรับเปลีย่ นราย ละเอียดทีย่ งั ไม่ได้รบั การเผยแพร่ตอ่ สาธารณะ หนึง่ ในเว็บไซต์เครือข่ายสังคมใหญ่ทส่ ี ดุ ของประเทศจีน คือ Qzone (www. qzone.qq.com) และ บริการทีเ่ กีย่ วข้อง Tencent QQ อีกหนึง่ ไซต์ได้ประสบกับความดันจาก รัฐบาลทีอ่ าจเป็นอันตรายต่อความเป็นส่วนตัวของผูใ้ ช้ ในปี 2548 เจ้าหน้าทีเ่ รียกร้อง ให้ Shenzhen- based Tencent ทีใ่ ช้เก็บชือ่ จริงของสมาชิกผูก้ อ่ ตัง้ และกลุม่ บริหาร เกือบทัง้ หมด แต่ บริษทั ไม่ได้ทำ�ตาม แต่ถงึ กระนัน้ รัฐบาลจีนก็ยงั ผลักดันอย่างต่อ เนือ่ งทีจ่ ะต่อต้านผูไ้ ม่เปิดเผยนาม ข้อมูลส่วนตัวทีใ่ ช้รว่ มกันบนเครือข่ายสังคม สักวัน หนึง่ อาจปรากฏในรายงานของรัฐบาล บริการสถานทีท่ ใ่ี ช้เป็นภัยคุกคามอีกอย่างหนึง่ เว็บไซต์เช่น Loopt (www.loopt. com) และ foursquare (www.foursquare.com) ช่วยให้คณ ุ ค้นหาตำ�แหน่งของ เพือ่ นผ่าน GPS และข้อมูลนีม้ กั จะมีการบันทึกเผยแพร่ คุณได้เดินเข้าไปในการ ประท้วงหรือการโทรลาป่วยไปทีท่ ำ�งานเพือ่ ทีจ่ ะพาลูกของคุณไปเทีย่ วสวนสัตว์หรือ ไม่ คนแปลกหน้าอาจจะเห็นรายละเอียดเหล่านัน้ ขึน้ อยูก่ บั การตัง้ ค่าความเป็นส่วน ตัวของคุณ PleaseRobMe.com ใช้ขอ้ มูลตำ�แหน่งจาก Twitter (www.twitter. com) เพือ่ แสดงว่ามีผใ้ ู ช้ถอ้ ยทีถอ้ ยอาศัยการรักษาความปลอดภัยของพวกเขาโดย การออกข่าวว่าพวกเขาไม่อยูบ่ า้ น

เครือข่าย

ผู้มาที่หลังกับเครือข่ายสังคม Google พยายามทีจ่ ะก่อตัง้ ขึน้ -และเอาชนะด้วยสติปญั ญา -- เมือ่ เริม่ ปล่อย Buzz (Buzz www.google. com /) ในช่วงต้นปีน้ ี ข้อมูลของ Gmailของผูใ้ ช้มอี ทิ ธิพลสูง Buzz จึง สร้างเครือข่ายทางสังคมอัตโนมัตบิ น พืน้ ฐานของการติดต่อทาง E – mail เป็นประจำ� และทำ�ให้รายชือ่ เหล่านี้ เผยแพร่ออกไป ไม่วา่ พวกเขาอยู่ สังกัดใคร : เพือ่ นรัก ทนายความหย่า ร้าง หรือนักจิตวิทยา เร็ว ๆ นี้ Google เปลีย่ นการตัง้ ค่าของเครือ โปรดระวัง ข้อความ ข่ายเหล่านีเ้ นือ่ งจากเกิดปฏิกริ ยิ า รุนแรงฉับพลัน ทีค่ ณ ุ แบ่งปัน กลับไปกลับมากับตัวอย่างทีค่ วร ระวังเหล่านี้ ก็คอื โลกกำ�ลังรับทราบ โดย แซ็ค สเทิรน์ วิธกี ารทีเ่ ว็บไซต์ใช้สารสนเทศ “คน กำ�ลังต่อต้านอย่างครุน่ คิดและถกเถียงเกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ รียกว่าเป็นส่วนตัวและสิง่ ทีพ่ วก เขาต้องการ” กล่าวโดย รีเบคก้า เจสคี ผูอ้ ำ�นวยการสือ่ สัมพันธ์ของ Electronic Frontier Foundation (www.eff.org) ยังพอเห็นว่าเครือข่ายสังคมกำ�ลังสดับตลับ ฟังอยูห่ รือไม่

สังคมออนไลน์ เสีย่ งต่อข้อมูล ส่วนตัว

ปลอดภัยไปกับสือ่ สังคมออนไลน์ เพือ่ ให้ได้ประโยชน์สงู สุดจาก เว็บไซต์สอ่ ื สังคม โดยทีย่ งั คงความ เป็นส่วนตัวของท่าน เก็บเคล็ดลับ เหล่านีไ้ ว้ในใจ : •กลับไปทบทวน การตัง้ ค่าความเป็นส่วนตัวของคุณ เครือข่ายสังคมบางครัง้ ก็เปลีย่ นการ

ตัง้ ค่าและเลือกคุณเอาไว้หรือเอา ออกจากบริการโดยไม่แจ้งให้ทราบ เข้าเยีย่ มชมการตัง้ ค่าหน้าบัญชีของ คุณทุกเดือนเพือ่ ดูการเปลีย่ นแปลง •การป้องกันการเข้าสู่ระบบ บัญชีของคุณ ใช้รหัสผ่านทีไ่ ม่ซำ�้ กัน

เมือ่ คุณลงทะเบียนสำ�หรับบริการใด ๆ ของสือ่ สังคม หากบริการทีส่ ามา รถแฮ็กหรือรหัสผ่านของคุณถูก ขโมย บัญชีออนไลน์ของคุณอืน่ ๆ จะไม่ถกู ละเมิด •ใช้เวลาสักอึดใจดู เงือ่ นไขการ

ให้บริการ กฎเหล่านีร้ ะบุสง่ ิ ทีเ่ ครือ ข่ายทางสังคมสามารถทำ�อะไรกับ ข้อมูลของคุณ เรียนรูเ้ กีย่ วกับการ ปรับปรุงเงือ่ นไขสถานทีส่ ำ�คัญของ บริการที่ www.tosback.org •คิ ด ก่ อ นที่ คุ ณ จะโพสต์

พิจารณาข้อความอย่างรอบคอบ ภาพถ่ายและวิดโี อและผูท้ อ่ ี าจจะ เห็นพวกเขาลูกค้า เพื่อน หรือ รัฐบาล แม้แต่เกมระบบเครือข่าย สังคมและคำ�ถามก็สามารถส่งข้อมูล ของคุณเพือ่ ทำ�การตลาดได้


โลก 2.0 สือ่ สังคมไซต์ตวั โปรด แสดงโดยพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์

เว็บไซต์สอื่ สังคม 4 อันดับแรกทีเ่ ลือก

ARGENTINA ● Facebook ● YouTube ● Taringa ● Blogger AUSTRALIA ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter AUSTRIA ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter BANGLADESH ● Facebook ● Blogger ● YouTube ● Somewhere in

Blog BELGIUM ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Netlog BRAZIL ● Orkut ● YouTube ● Blogger ● Twitter BULGARIA ● Facebook ● YouTube ● Vbox7 ● Blogger CANADA ● Facebook ● YouTube ● Twitter

● Blogger CHILE ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Taringa CHINA ● QQ/Qzone ● Youku ● Tudou ● Ku6 COLOMBIA ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Taringa CZECH REPUBLIC ● Facebook ● YouTube ● Lidé

อ้ า งตามการจั ด อั น ดั บ รายเดื อ นของ Alexa.com วั น ที่ 13 กรกฎาคม พื้ น ที่ สี ข าวหมายถึ ง แหล่ ง ที่ ไ ม่ แ สดงข้ อ มู ล

● Stream.cz DENMARK ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter EGYPT ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter FINLAND ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Suomi24 FRANCE ● Facebook ● YouTube ● Dailymotion

● Blogger GERMANY ● Facebook ● YouTube ● Twitter ● XING INDIA ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Orkut IRAN ● Blogfa ● Mihanblog ● Cloob ● Blogger ITALY ● Facebook ● YouTube ● Blogger

● WordPress JAPAN ● YouTube ● Ameba ● Mixi ● Twitter KOREA ● Facebook ● YouTube ● Cyworld ● Blogger MEXICO ● YouTube ● Facebook ● Blogger ● Taringa MONGOLIA ● YouTube ● Facebook ● Hi5


MICROBLOGGING

MICROBLOGGING

BLOGGING

BLOGGING

SOCIAL NETWORKING

MICROBLOGGING

MICROBLOGGING

MICRO-

● Blogger NORWAY BLOGGING NEPAL ● Facebook ● Facebook ● YouTube ● YouTube ● Blogger ● Blogger ● Twitter ● Twitter PAKISTAN THE NETHERLANDS ● Facebook ● YouTube ● YouTube ● Hyves.nl ● Blogger ● Facebook ● Twitter ● Twitter PERU NEW ZEALAND ● YouTube ● Facebook ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Blogger ● Hi5 ● Twitter PHILIPPINES NIGERIA ● Facebook ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Blogger ● YouTube ● Friendster ● Twitter POLAND

BLOGGING

SOCIAL NETWORKING

MEDIA SHARING

SOCIAL NETWORKING

MEDIA SHARING

BUS NETW

BLOGGING

S NETW

MICROBLOGGING

BL

BUSINESS NETWORKING

BLOGGING ● YouTube

SOCIAL MEDIA ● YouTube BUSINESS● TwitterSOCIAL ● YouTube NETWORKING SHARING NETWORKING BOOKMARKING ● Facebook ● Facebook ● Blogger ● Blogger ● Nasza-klasa.pl ● Blogger PORTUGAL ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Hi5 ROMANIA ● YouTube ● Facebook ● Hi5 ● Blogger RUSSIA ● VKontakte ● Odnoklassniki. ru ● YouTube ● LiveJournal SAUDI ARABIA

● Blogger ● Netlog SOUTH AFRICA ● Facebook ● YouTube ● Twitter ● Blogger SPAIN ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Tuenti SWEDEN ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter SWITZERLAND ● Facebook

● Twitter TAIWAN ● Wretch.cc ● Facebook ● YouTube ● Pixnet.net THAILAND ● Facebook ● YouTube ● Hi5 ● Blogger TURKEY ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Izlesene UNITED KINGDOM ● Facebook ● YouTube

M SH

UNITED STATES ● Facebook ● YouTube ● Twitter ● Blogger URUGUAY ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Taringa VENEZUELA ● Facebook ● YouTube ● Blogger ● Twitter

S BOOK


อภิธานศัพท์

สือ่ สังคม ออนไลน์

โดย เมแกน เฟอร์ริงเงอร์

ข่าวสาร RI ที่ www.rotary.org follow: การสมัครเป็นสมาชิก ป้อน microblog เช่นใน Twitter ติดตาม Rotary ที่ www.twitter.com/rotary friend (noun): บุคคลที่มีการ ตกลงกันในการเชื่อมต่อกับคุณ บนเครือข่ายสังคม friend/unfriend (verb): เมื่อ ต้องการเพิ่มบุคคลอื่น หรือลบ บางคนจากเครือข่ายสังคม

Ggeotag: เมื่อต้องการเพิ่ม A@:ใน ไมโครบล็อกและเครือข่าย

สังคมออนไลน์ สัญลักษณ์วางไว้ หน้าชื่อผู้ใช้ เพื่อพูดถึง หรือตอบ กลับไปหาผู้ใช้ ยกตัวอย่าง เช่น ในTwitter การเพิ่ม@Rotary ไป ที่จุดเริ่มต้น tweet ของคุณ แสดงว่าคุณกำ�ลังพูดถึง หรือ เกี่ยวกับโรตารีสากล archive: บทความ หรือโพสต์ ที่ เก็บรวมไว้เป็นอดีต โดยปกติแล้ว อยู่ในบล็อก หรือเว็บไซต์ข่าว จัด เรียงตามวันที่หรือประเภท ไปดู ข่าว โรตารีสากล ถาวร RI ที่ www.rotary.org

Bblock: การห้ามไม่ให้ผู้อื่นส่ง

ข้อความ หรือการเข้าดูโปรไฟล์ ของคุณหรือข้อมูลอื่น ๆ บนเครือ ข่ายสังคม blogroll: รายการบล็อกแนะนำ� หรือเว็บเพจ มักจะเกี่ยวกับหัวข้อ คล้ายกันหรือหัวข้ออื่นๆ

Ddashboard: ช่องควบคุมหรือ

แนวกั้น เช่นใน blog ที่ช่วยให้ คุณสามารถจัดการสื่อและการตั้ง ค่าของคุณ

Eembed: เมื่อต้องการแสดงวิดีโอหรือ

รูปถ่ายจากไซต์อื่น โดยเติมแถวรหัสลง ในเว็บเพจของคุณ

Ffeed: ข้อมูลที่ป้อนเข้ามาอย่างต่อเนื่อง เป็นข้อมูลปัจจุบันตลอดเวลาที่จัดส่งมา อย่างสม่ำ�เสมอ สมัครสมาชิกป้อน

ตำ�แหน่งที่ตั้งข้อมูลในรูปแบบ ของ metadata หรือแท็ก ยก ตัวอย่างเช่น บน Flickr คุณอาจ ระบุรูปถ่ายของคุณกับ ตำ�แหน่งที่ตั้งที่คุณถ่ายรูปมา

Hhashtag (#):สัญลักษณ์ที่ช่วยให้

คุณสามารถติดแท็ก หรือการจัด ประเภท โพสต์microblog ของ คุณ บน Twitter ใช้ เครื่องหมาย #Rotary ใน tweets ของคุณ ตามที่ Rotary เกี่ยวข้อง การ ค้นTwitter เพื่อหา #Rotary ยอมให้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ Rotary hits: จำ�นวนครั้งที่ผู้เข้าเยี่ยมชม เว็บไซต์หรือเว็บเพ็จ

Llink (or hyperlink): การอ้างอิง เว็บที่ช่วยให้คุณสามารถนำ�ทาง ไปยังอีกเว็บเพจหนึ่ง โดยการ คลิกที่ข้อความหรือรูปภาพ

M metadata: ข้อมูลเช่นแท็ก คำ�

อธิบาย หรือป้ายคำ�อธิบายที่ แนบกับรูปถ่าย วิดีโอ ประกาศ บล็อก หรือสื่ออื่น ๆ multimedia: เนื้อหาออนไลน์ที่ ประกอบด้วยหลายฟอร์มของสื่อ เช่นรูปถ่าย วิดีโอ เสียง และ ข้อความ

Nnotification: ข้อความสั้น

อัตโนมัติ แจ้งให้คุณทราบถึง การกระทำ�ที่คุณหรือเพื่อนได้ทำ� ลงไป ตัวอย่างเช่น บน Facebook คุณอาจได้รับการ

แจ้งเตือนแต่ละครั้งที่มีเพื่อน โพสต์รูปถ่ายปัจจุบันหรือ อัพโหลดรูปภาพ

Ppermalink: ไฮเปอร์ลิงค์ไม่ซ้ำ�ลง

ในรายการของ blog หรือ บทความที่ยังคงทำ�งานแม้ว่าเพจ ที่ถูกย้าย หรือถูกเก็บไว้ที่ Archive plug-in: ซอฟต์แวร์ที่ถูกเพิ่มไป ยังโปรแกรมประยุกต์ในการ ทำ�งานพิเศษ post: บทความ ข้อความ หรือ รายการที่นำ�ไปเผยแพร่บนบล็อก หรือไซต์เครือข่ายสังคม privacy settings: ชุดของ ลักษณะที่คุณควบคุมเพื่อตรวจ สอบว่าเว็บไซต์ใช้ข้อมูลที่คุณใช้ ร่วมกันด้วยวิธีใด profile: การแสดงข้อมูลของผู้ อื่นเฉพาะบุคคลแบบออนไลน์ ใน Facebook คุณต้องเป็นบุคคล ไม่มีธุรกิจหรือองค์กร ต้องมีโพร ไฟล์

Rretweet: ใน Twitter การทำ�ซ้ำ� หรือ การโพสต์ซ้ำ� tweet โดย การพิมพ์ RT @ เพิ่มเข้ากับชื่อผู้ ใช้และข้อความของผู้เขียน ดั้งเดิม.

Sshort URL: การบีบเว็บ

แอดเดรสสำ�หรับใช้ใน microblogging และสื่อสังคม อื่น ๆ เว็บไซต์อย่างเช่น Tiny.cc และ Bit.ly สามารถตัดทอนการ เชื่อมโยงหลายมิติที่ยาวๆ เหลือ ไม่กี่อักขระ status: คำ�อธิบายโดยย่อของคุณ ว่าคุณกำ�ลังทำ�อะไรอยู่ตอนนี้ syndication: วิธีการนำ�เสนอ เนื้อหาออนไลน์จากเว็บไซต์ บล็อกและข่าวสารไปยังผู้ใช้ เว็บไซต์หรือเว็บอื่น Really Simple Syndication (RSS) อนุญาตให้ผู้ใช้สมัครสมาชิก ข่าวสาร และ การป้อน blog

Ttag: เมื่อต้องการเพิ่มคำ�สำ�คัญลง ในที่คั่นหน้า วิดีโอ รูปถ่าย หรือ บล็อกเพื่อช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาสื่อ

ตามหัวข้อ trackback: ในการบล็อก วิธีที่ การเชื่อมโยงการลงรายการบัญชี ไปยังข้อคิดเห็นหรือตอบสนอง เผยแพร่บนบล็อกอื่น tweet: ใน Twitter ข้อความ ขนาด140 อักขระหรือน้อยกว่านี้ เผยแพร่ประกาศไปยังตัวดึง ข้อมูล tweetup: การจัดชุมนุมของผู้ใช้ Twitter เป็นตัวบุคคล

Uusername: ชื่อ หรือ ผู้ใช้ ID ที่ ใช้เพื่อเข้าสู่ระบบเว็บไซต์ และ ระบุตัวคุณเองต่อผู้อื่น ใน Twitter, ของชื่อผู้ใช้ RI คือ Rotary

Vviral: การแพร่กระจายอย่าง

รวดเร็วทั่วอินเทอร์เน็ต วลีที่เป็น ที่นิยม ความคิด รูปถ่าย และ วิดีโอสามารถเดินทางอย่าง รวดเร็วจาก ผู้ใช้ ถึง ผู้ใช้ผ่าน ทางการเชื่อมโยง การเขียนล้อ เลียน และการโพสต์ซ้ำ�

W wall: ใน Facebook ตัวดึง

ข้อมูลของกิจกรรมครั้งล่าสุดของ ผู้ใช้แสดงอยู่ในหน้าโปรไฟล์ของ บุคคลผู้นั้น

8 เชื่อมต่อกับโรตารีสากล และ

มูลนิธิโรตารี ใน FACEBOOK, TWITTER, LINKEDIN และอื่น ๆ เยี่ยมชม WWW.ROTARY.ORG/ SOCIALNETWORKS.

แปลโดย อน.อรอนงค์ ศิ ร ิ พ รมนั ส สร.พลู ต าหลวง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.