Rotary Thailand Magazine 2015-16_nov-dec

Page 1

R

Thailand

นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 32 ฉบับที่ 161 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558 November - December 2015

โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g

“น้ำ�มีวันหมด ใช้ทุกหยดอย่างมีคุณค่า”


วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม อุ ด มการณ์ แ ห่ ง การบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ในการ ด�ำเนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับคุณค่าในการประกอบอาชีพที่ยังคุณ ประโยชน์ และการให้โรแทเรียนทุกคนภูมิใจใน อาชีพของตน เพื่อการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สาม การให้โรแทเรียนทุกคน น�ำเอาอุดมการณ์ แห่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน สี่ การเพิ่มพูนความเข้าใจ ไมตรีจิตและสันติสุข ระหว่างชาติ ด้วยมิตรสัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจ และวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์อย่างเดียวกัน

The Object of Rotary

The Object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster: FIRST The development of acquaintance as an opportunity for service; SECOND High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD The application of the ideal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life; FOURTH The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service.

At a Glance ROTARY

Members:* 1,224,261 Clubs:* 35,187

สถิติถึง 30 กันยายน As of 30 September

ROTARACT Members: 194,028 Clubs: 8,436

ที่มา : the rotarian (December 2015)

INTERACT Members: 429,203 Clubs: 18,661

RCCs

Members: 197,869 Corps : 8,603


พฤศจิกายน 2558

สารประธานโรตารีสากล (อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี/แปล)

เค.อาร์. ราวินดรัน ประธานโรตารีสากล ปี 2558-2559 มิตรโรแทเรียนที่รัก เช้าวันหนึ่งในปลายเดือนมิถุนายน ค.ศ.1991 รถตู้คันหนึ่งวิ่งผ่านถนนย่านธุรกิจ ที่ จ อแจในชั่ ว โมงเร่ ง ด่ ว นของกรุ ง โคลั ม โบ ศรีลังกา ออกไปทางชานเมืองตอนเหนือ เมื่อ ไปถึงศูนย์บัญชาการส่วนหน้าของกระทรวง กลาโหม ยามรักษาความปลอดภัยสั่งให้หยุด รถเพื่อตรวจสอบ มือระเบิดพลีชีพสองคนที่ ขับรถมาก็กดชนวนระเบิดนับพันกิโลกรัมใน รถตู้ให้ระเบิดทันที แรงระเบิดได้ทำ� ลายอาคารพังพินาศ ทั้งหลัง เศษวัสดุกระจัดกระจายไปไกลหลาย ช่วงถนน มีผู้เสียชีวิตจ�ำนวน 21 คนและบาด เจ็บอีก 175 คน ในจ�ำนวนผู้บาดเจ็บเป็นเด็ก นักเรียนหญิงหลายคนซึ่งอยู่ในโรงเรียนที่อยู่ ใกล้กัน แรงระเบิดได้ท�ำลายกระจกหน้าต่างที่ บ้านของผมทุกบานซึ่งอยู่ห่างออกไปมากกว่า หนึง่ กิโลเมตร หลังเสียงระเบิด ภรรยาผมรีบวิง่ ไปที่โรงเรียนของลูกสาวทันที ลูกสาวของเราขณะนั้นอายุเพียง 9 ขวบ เช้าวันนัน้ เธอลืมกล่องดินสอไว้ทบี่ า้ น เธอ

จึงออกไปซือ้ ดินสอทีร่ า้ นเครือ่ งเขียน เมือ่ เกิดระเบิดขึน้ เธอก�ำลังถือกล่องดินสอทีซ่ อื้ มา และเดินออกจากร้านพอดี แรงระเบิดท�ำให้เธอหูอื้อ ฝุ่นปูนหินทรายฟุ้งกระจายไปทั่ว ผูค้ นรอบข้างส่งเสียงหวีดร้อง ได้รบั บาดเจ็บบางคนวิง่ มีคนๆ หนึง่ ช่วยดึงเธอเข้าไปหลบ ในสวนของโรงเรียนทีพ่ งั ยับเยินไปแล้ว เธอรอจนพบภรรยาของผมและน�ำเธอกลับบ้าน ขณะที่พื้นบ้านของเรายังเกลื่อนไปด้วยเศษกระจก ทุกวันนีศ้ รีลงั กามีสนั ติสขุ และเจริญเติบโต มีนกั ท่องเทีย่ วมาเยือนมากกว่าสอง ล้านคนทุกปี สงครามกลางเมืองกลายเป็นความทรงจ�ำในอดีต ประเทศของเรามองเห็น ถึงอนาคตที่สดใส ถึงกระนั้นก็ดี ยังมีอีกหลายประเทศที่ไม่อาจกล่าวได้เช่นนี้ ทุกวันนี้มี หลายประเทศทีม่ กี ารต่อสูข้ ดั แย้งกันมากขึน้ ประชาชนทัว่ โลกมากถึง 59.5 ล้านคนต้อง อพยพย้ายถิ่นฐานจากภัยสงคราม พวกเราในโรตารีเชื่อมั่นว่า แม้ว่าจะมีความขัดแย้งมากมาย แต่การสร้าง สันติสขุ ยังมีความเป็นไปได้ มิใช่เราคิดเอาเอง แต่ดว้ ยประสบการณ์ เราได้เห็นแล้วว่าใน ความขัดแย้งทีแ่ ก้ไขยากอย่างทีส่ ดุ นัน้ เราสามารถแก้ไขได้เมือ่ ประชาชนเห็นว่าการสูร้ บ น�ำมาซึง่ ความสูญเสียมากกว่าการท�ำงานร่วมกัน เราได้เห็นแล้วว่าอะไรจะเกิดขึน้ เมือ่ เรา สร้างสันติสขุ ด้วยหนทางทีเ่ ข้าถึงต้นตอของความขัดแย้ง ดังเช่นผลงานของกลุม่ นักศึกษา ทุนสันติภาพโลกโรตารี ด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิโรตารี นักศึกษาทุนสันติภาพของ โรตารีได้กลายเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการป้องกันและแก้ไขข้อขัดแย้ง เป้าหมายของเราก็คือ พวกเขาจะแสวงหาหนทางใหม่ๆ ทีไ่ ม่เพียงแค่ยตุ สิ งครามเท่านัน้ แต่สามารถหยุดยัง้ มัน ก่อนที่จะเกิดขึ้นได้อีกด้วย ในกลุ่มนักศึกษาทุนสันติภาพของโรตารีหลายร้อยคนที่ส�ำเร็จการศึกษาจาก โครงการนี้ เรามีนกั ศึกษาสองคนมาจากศรีลงั กา มาจากแต่ละฝ่ายทีข่ ดั แย้งกันมาศึกษา ร่วมกัน ในสัปดาห์แรกทั้งสองคนโต้เถียงกันในความถูกต้องของแต่ละฝ่าย แต่ในช่วง สัปดาห์ต่อๆ มาก็เริ่มเข้าใจมุมมองของกันและกันมากขึ้น ทุกวันนี้เขาทั้งสองเป็นเพื่อน รักกัน เมื่อผมได้พบกับคนทั้งสองและได้รับฟังเรื่องราวของเขา ท�ำให้ผมมีความหวังว่า ถ้า 25 ปีของความเจ็บปวดและความขมขื่นจากสงครามยังยุติลงได้ด้วยโรตารี จากนี้ ไป แน่นอนคงไม่มีสิ่งใดที่เกินความสามารถของเรา! เราไม่สามารถใช้ความรุนแรงต่อสู้ความรุนแรง แต่เมื่อเราต่อสู้ด้วยการศึกษา ด้วยความเข้าใจซึง่ กันและกัน และด้วยสันติวธิ ี เราสามารถเป็นของขวัญแก่โลกได้อย่าง แท้จริง

เค.อาร์. ราวินดรัน ประธานโรตารีสากล ปี 2558-59


สารประธานโรตารีสากล

ธันวาคม 2558

(อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี/แปล)

เมือ่ กองทัพแคนาดาเข้าไปปลดปล่อยประเทศเนเธอร์แลนด์ให้เป็นอิสรภาพใน ปี ค.ศ.1945 พวกเขาพบว่าพลเมืองในประเทศนีก้ ำ� ลังขาดแคลนอาหารอย่างหนัก เมือ่ เห็นความทุกข์ยากของพลเมืองโดยเฉพาะเมื่อเห็นใบหน้าเด็กๆ ทหารแคนาดาสี่นายที่ ประจ�ำการอยู่ใกล้ๆ เมืองอาเปิลดูร์นในขณะนั้น ได้ปรึกษากันว่าจะฉลองวันคริสต์มาส เป็นพิเศษกับเด็กๆ ชาวดัทช์ ให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ พวกเขาช่วยกันตระเวนไปเยีย่ มเพือ่ นทหาร รวบรวมแท่งช็อคโกแลต หมากฝรัง่ ลูกอมและหนังสือการ์ตูน ยามว่างพวกเขายังสร้างรถเด็กเล่นจากไม้และลวด เลื่อย เศษไม้เป็นแท่งเพื่อประกอบเป็นของเล่น ทหารคนหนึ่งถึงกับหลบหลีกสารวัตรทหาร ไปขายบุหรี่ปันส่วนของตนในตลาดมืดเพื่อเอาเงินไปซื้อตุ๊กตาผ้า ทหารแต่ละคนต่างก็ คิดถึงครอบครัวที่บ้านของตน จึงได้เปลี่ยนอารมณ์ความรู้สึกให้เป็นพลัง ส่งมอบความ สุขในวันคริสต์มาสให้กับพวกเด็กๆ แทนที่จะเป็นครอบครัวของเขา เมือ่ ถึงวันที่ 1 ธันวาคม ทหารได้รวบรวมของขวัญได้สถี่ งุ ใหญ่ และเฝ้ารอคอย ให้ถงึ วันที่ 25 โดยเร็ว แต่อกี สองวันต่อมาพวกเขาก็ทราบข่าวว่าจะต้องกลับแคนาดาใน วันที่ 6 ธันวาคม ซึ่งเป็นเวลาอีกหลายวันก่อนจะถึงวันคริสต์มาส เมื่อเป็นเช่นนี้ พวก เขาจึงตกลงกันว่าแผนทีด่ ที สี่ ดุ คือน�ำของขวัญทัง้ สีถ่ งุ นัน้ ไปฝากไว้ทสี่ ถานเลีย้ งเด็กก�ำพร้า ในเมืองเพื่อรอมอบให้แก่เด็กๆ ในวันคริสต์มาส คืนสุดท้ายก่อนที่จะเดินทางออกจากเนเธอร์แลนด์ ทหารทั้งสี่นายช่วยกัน แบกถุงของขวัญไปที่สถานเลี้ยงเด็กก�ำพร้า ทหารคนหนึ่งแต่งเป็นซานตาคลอส ติด หนวดปลอมสีขาวและสวมหมวกแดง ขณะเดินทาง พวกเขาก็ประหลาดใจทีไ่ ด้ยนิ เสียง ระฆังโบสถ์และเห็นบ้านเรือนเปิดไฟสว่างไสว ขณะที่วันคริสต์มาสยังมาไม่ถึง ยังขาด อีกสามสัปดาห์ เมื่อทหารใส่รองเท้าบูทเหยียบย�่ำหิมะบนถนนใกล้ถึงสถานเลี้ยงเด็ก ก�ำพร้า มองไปทีห่ น้าต่างเห็นเด็กชายและเด็กหญิงประมาณ 24 คนก�ำลังนัง่ รับประทาน อาหารค�่ำ หลังสงครามยุติไม่นาน อาหารยังคงขาดแคลน เด็กๆ ได้กินอาหารเพียงเล็ก น้อย ทุกคนจึงมีใบหน้าซีดเซียวและผอมโซ “ซานตาคลอส” ยกที่เคาะประตูเคาะแรงๆ สามครั้ง เสียงเด็กๆ ในห้องเงียบ ลงทันทีเหมือนถูกมนต์สะกด บาทหลวงออกมาเปิดประตูอย่างสุภาพ มีสหี น้าตกใจเล็ก น้อยขณะที่เด็กๆ ที่อยู่ด้านหลังพากันส่งเสียงเฮ และวิ่งเข้ามาล้อมรอบทหารที่แต่งตัว เป็นซานตาคลอสซึง่ มาก่อนถึงวันคริสต์มาสสามสัปดาห์ แต่กม็ าได้ถกู จังหวะพอดี เพราะ วันนี้ในเนเธอร์แลนด์เป็นวันฉลองนักบุญนิโคลัส และซานตาคลอสจะมาในคืนวันที่ 5 ธันวาคม ในชั่วโมงนั้น เด็กๆ ส่งเสียงสนุกเฮฮากันขณะเปิดกล่องของขวัญ กินขนม หวาน โอบกอดตุ๊กตา รถเด็กเล่นท�ำด้วยไม้และช็อกโกแลตอันสุดท้ายเป็นของเด็กชาย ตัวเล็กๆ ที่เฝ้ารออย่างอดทน หลังจากเขาขอบคุณซานตาคลอสทหารแล้ว เด็กน้อยคน นั้นก็หันไปพูดกับบาทหลวงเป็นภาษาดัทช์ ด้วยใบหน้าที่เปี่ยมสุข บาทหลวงก็ยิ้มและ ก้มศรีษะเห็นด้วย ทหารคนหนึ่งถามว่า “เด็กพูดว่าอะไรครับคุณพ่อ”

02

เค.อาร์. ราวินดรัน ประธานโรตารีสากล ปี 2558-2559 บาทหลวงหั น มาบอกทหารด้ ว ย น�้ำตาคลอ เขาบอกว่า "พวกเราบอกพ่อแล้ว ว่าคืนนีเ้ ขา (ซานตาคลอส) ต้องมา และมาแล้ว จริงๆ ” ในการส่ ง มอบความสุ ข ให้ แ ก่ โ ลก เราไม่ต้องเสียสละความสุขของเรา เราเพียง แค่ทวีคูณความสุขของเรา ในช่วงเทศกาลให้ ของขวัญนี้ ขอให้เราเพิ่มทวีจ�ำนวนของขวัญที่ เราได้รับมา แบ่งปันของขวัญให้กับผู้อื่น ด้วย การแสดงความห่วงใย ความเมตตา ความเอื้อ อาทรต่อกันทั้งในสโมสรของเราและโดยผ่าน ทางมูลนิธิของเรา เราก็จะกลายเป็นของขวัญ แก่ชาวโลก

เค.อาร์. ราวินดรัน ประธานโรตารีสากล ปี 2558-59

Rotary Thailand 02


พฤศจิกายน 2558

สารประธานทรัสตีฯ (อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี/แปล)

เรย์ คลิงกินสมิท ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี 2558-59 ท่านเคยสงสัยไหมว่า เหตุใดพฤศจิกายน จึงเป็นเดือนแห่งมูลนิธิโรตารี? เป็นเรื่องที่ได้ก�ำหนดไว้เป็นอย่างดีแล้วว่า มูลนิธโิ รตารีเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญเป็นอย่าง มากในเดือนพฤศจิกายน และเราจะต้องพยายาม ท�ำให้ดีที่สุดในการประชาสัมพันธ์โปรแกรมต่างๆ ของมูลนิธิ ตลอดจนการระดมเงินทุนเพือ่ สนับสนุน โปรแกรมเหล่านั้นตลอดทั้งเดือน ถามว่า ท�ำไมจึง ต้องเป็นเดือนพฤศจิกายน ? แนวคิดนี้มีจุดเริ่มต้นในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1956 เมื่อคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล มีมติก�ำหนดให้ช่วงสัปดาห์ของวันที่ 15 ในเดือน พฤศจิกายนของทุกปีเป็นสัปดาห์แห่งมูลนิธิโรตารี มตินี้ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในปี 1961 เมือ่ ผมไปเป็นนักศึกษาโรตารีในแอฟริกาใต้ สโมสร ส่วนใหญ่ในแอฟริกาใต้ได้บรรจุโปรแกรมมูลนิธโิ รตารี ไว้ในช่วงสัปดาห์ดังกล่าว ผมยังคงเห็นการมุ่งเน้น แบบเดียวกันนีเ้ มือ่ ผมเดินทางกลับบ้าน และเข้าเป็น สมาชิกสโมสรโรตารีที่บ้านเกิดในเมืองยูเนียนวิลล์ มลรัฐมิสซูรี สหรัฐอเมริกา 03

ช่วงเวลานั้น สโมสรของเราหลายๆ แห่งได้จัดเลี้ยงอาหารมื้อ ประหยัดในวันประชุมที่ตรงกับสัปดาห์แห่งมูลนิธิโรตารี และบริจาคเงินส่วน ที่ประหยัดได้นั้นให้แก่มูลนิธิ จึงเป็นวิธีที่ดีส�ำหรับการหาทุนให้มูลนิธิในเวลา นั้นที่การบริจาคส่วนใหญ่อาศัยสโมสรบริจาคให้ มิใช่บริจาคโดยตรงจาก โรแทเรียนแต่ละคน ถามว่าท�ำไมคณะกรรมการบริหารจึงได้เลือกสัปดาห์ของ วันที1่ 5 ในเดือนพฤศจิกายน เมือ่ ปี 1956 และต่อมาได้มมี ติให้ขยายเวลาเป็น ตลอดเดือนพฤศจิกายน (เป็นเดือนแห่งมูลนิธฯิ ) เมือ่ ปี 1982 และเริม่ ด�ำเนิน การตั้งแต่ปี 1983-84 ในความคิดของผม มติฯ ครั้งแรกในปี 1956 พิจารณาจากข้อเท็จ จริงที่สโมสรส่วนใหญ่ทางภาคเหนือของสหรัฐ โดยเฉพาะสโมสรขนาดใหญ่ ยังท�ำงานได้ไม่เต็มที่ในช่วงฤดูร้อนเดือนมิถุนายน กรกฎาคมและสิงหาคม ดังนัน้ จึงเป็นเรือ่ งดีทจี่ ะรอและให้เวลาสโมสรได้จดั อบรมสมาชิกในเรือ่ งมูลนิธฯิ และเนือ่ งจากการบริจาคให้แก่มลู นิธฯิ มาจากสโมสร การระดมทุนจ�ำเป็นต้อง ใช้เวลา แต่ยังคงส่งเงินบริจาคให้มูลนิธิฯ ได้ทันในช่วงครึ่งแรกของปีโรตารี เพือ่ การลงทุนต่อไป จึงเป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมส�ำหรับทัง้ สโมสรและมูลนิธฯิ ด้วย ไม่ว่าการคาดคะเนของผมจะถูกต้องหรือไม่ก็ตาม แต่เดือนแห่ง มูลนิธิโรตารีก็ได้ถูกก�ำหนดไว้แล้วซึ่งจะต้องด�ำเนินการต่อๆ ไป และถือเป็น ปัจจัยส�ำคัญในความส�ำเร็จของมูลนิธิฯ ของเรา จึงเป็นเดือนที่สโมสรและ ภาคของเราจะต้องสานต่อประเพณีการอบรมสมาชิกได้รจู้ กั คุณสมบัตทิ ยี่ อด เยี่ยมของโปรแกรมต่างๆ ของมูลนิธิฯ ตลอดจนแสวงหาการบริจาคที่จำ� เป็น เพื่อท�ำให้โลกของเราดีขึ้น มูลนิธิฯ ของเราเป็นองค์กรชั้นน�ำของโลกและได้รับความส�ำเร็จ จากการสนับสนุนของโรแทเรียน มีผู้ที่ได้รับการยกย่องจากโปรแกรมต่างๆ ของมูลนิธิฯ จ�ำนวนมากที่เป็นผลจากการเน้นประเพณีส�ำคัญของโปรแกรม เดือนพฤศจิกายน ดังนั้น เราจึงไม่ควรลดระดับความส�ำคัญของเดือนแห่ง มูลนิธิโรตารี ผมหวังว่าสโมสรของเราทุกสโมสรจะจัดโปรแกรมมูลนิธิตลอด เดือนพฤศจิกายนให้เป็นประเพณีส�ำคัญและประสบผลส�ำเร็จ ผมขอเชิญ ชวนมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ใช้เวลาเข้าร่วมกิจกรรมมูลนิธโิ รตารีของสโมสรและ ของภาคในเดือนนี้ โปรดรักษาประเพณีและร่วมฉลองมูลนิธโิ รตารีดว้ ยกันเถิด

เรย์ คลิงกินสมิท ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี 2558-59


สารประธานทรัสตีฯ

ธันวาคม 2558

(อน.พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ สร.ราชบุรี/แปล)

การประชุมรูปแบบใหม่ของประธานโรตารีสากล การประชุมของประธานโรตารีสากลได้กลายเป็นการประชุม ที่นิยมกันมากของบรรดาโรแทเรียนทั่วโลก โดยจัดโปรแกรมการ ประชุมแตกต่างกันไปทุกปีตามนโยบายของประธานโรตารีสากล แต่ละคน ส�ำหรับในปีโรตารีนี้ ประธานฯ ราวี ได้วางแผนการประชุม ทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะรวม 5 ครัง้ โดยการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้แรง บันดาลใจจากหนึง่ ในหัวข้อมุง่ เน้น 6 ประการทีม่ ลู นิธโิ รตารีกำ� หนด ในแผนวิสัยทัศน์เพื่ออนาคต ดังนี้ คือ • การประชุมเรื่องสันติภาพและการป้องกัน/ยุติข้อขัด แย้ง วันที่ 15-16 มกราคม ณ เมืองออนตาริโอ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา www.peaceconference2016.org • การประชุมเรื่องการป้องกัน/รักษาโรค วันที่ 19-20 กุมภาพันธ์ ณ เมืองคานส์ ฝรั่งเศส www.rotary-conferencecannes2016.org • การประชุ ม เรื่ อ งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และชุ ม ชน วันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ ณ เมืองเคปทาวน์ สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ www.rotarycapetown2016.org • การประชุมเรือ่ งการรูห้ นังสือและเรือ่ งน�ำ้ สุขาภิบาล สุข อนามัยในโรงเรียน วันนี่ 12-13 มีนาคม ณ เมืองกัลกัตตา อินเดีย www.teach.org/presidentialconference • การประชุมเรื่องน�้ำ สุขาภิบาล สุขอนามัยในโรงเรียน วันที่ 18-19 มีนาคม ณ เมืองปาไซย์ซิตี้ ฟิลิปปินส์ www.2016 RotaryPresidentialConferenceManila.org ท่านประธานฯ ราวีกบั ผมจะเข้าร่วมการประชุมทัง้ ห้าครัง้ ดัง กล่าว โดยโรตารีสากลและมูลนิธิโรตารีร่วมกันเป็นสปอนเซอร์ เรา ทั้งสองจึงหวังว่าจะได้รับความสนใจและการสนับสนุนจากบรรดา โรแทเรียนอย่างจริงจัง โดยเฉพาะในการประชุมที่อยู่ใกล้บ้านท่าน การประชุมจ�ำนวน 2 วันนี้ จะเป็นโอกาสดีส�ำหรับผู้น�ำโรตารีและผู้ เชีย่ วชาญจากภายนอกจะได้เข้ามาศึกษาร่วมกันในหัวข้อส�ำคัญๆ ที่

04

เรย์ คลิงกินสมิท ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี 2558-59 มูลนิธิโรตารีมุ่งเน้น โดยเราจะเน้นย�้ำแนวทางปฏิบัติ ให้กับโรแทเรียนได้มีส่วนร่วมในโครงการใหม่ๆ ที่มี ประสิทธิผล ผมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ท่านคงจะสนใจเข้าร่วม ประชุมแห่งใดแห่งหนึ่งในเรื่องที่ท่านสนใจ หรือส่งผู้ แทนจากสโมสรไปร่วมประชุมด้วยยิง่ ดี เนือ่ งจากการ ประชุมของประธานโรตารีสากลนัน้ จะช่วยสนับสนุน การประชุมใหญ่โรตารีสากลอย่างดีเยีย่ ม และเป็นข้อ พิสจู น์ทดี่ ยี งิ่ ว่า โรตารีกำ� ลังกระท�ำสิง่ ดีๆ ไปทัว่ ทุกมุม โลก

เรย์ คลิงกินสมิท ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี ปี 2558-59

Rotary Thailand 04


บทบรรณาธิการ R o t a r y Tha i la n d

เดื อ นพฤศจิ ก ายนเป็ น เดื อ นแห่ ง มู ล นิ ธิ โ รตารี ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี เรย์ คลิงกินสมิท ได้เน้นย�้ำให้ ทุกสโมสรจัดโปรแกรมมูลนิธิให้เป็นกิจกรรมประจ�ำเดือน โดยมีเป้าหมายชัดเจน และเชิญชวนสมาชิกเข้าร่วมด้วยความ ยินดี นิตยสารฉบับนีจ้ งึ ลงภาพหน้าปกทีแ่ สดงภาวะขาดน�้ำที่ นับวันจะรุนแรง ด้วยแนวคิด "น�ำ้ มีวนั หมด ใช้ทกุ หยดอย่าง มีคณ ุ ค่า" ทุกคนควรช่วยกันใช้นำ�้ ประหยัด และภาพปกหลัง เป็นภาพกิจกรรมโครงการน�้ำดื่มสะอาดที่สโมสรทั้งสี่ภาค ได้ท�ำโครงการแบบนี้กันอย่างมากมาย ประชากรโลก 1 ใน 5 ก�ำลังประสบภาวะขาดแคลน น�้ำ ภาวะขาดแคลนน�้ำมีผลต่อสุขภาพ การด�ำรงชีวิต ก่อ เกิดปัญหาเศรษฐกิจ กระทั่งมีอันตรายที่จะเกิดสงครามชิง น�้ำ มีความรุนแรงในทวีปแอฟริกา เช่น ไนจีเรีย เอธิโอเปีย และประเทศแถบเอเชียตะวันออกกลาง แม้แต่ประเทศที่ เจริญแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา ก็ยังมีปัญหานี้ ปัญหาอยู่ที่ การวางแผนและการจัดการที่ดี บทความเรื่อง ภัยแล้งใน แคลิฟอร์เนีย แม้จะเจอภัยแล้งรุนแรงต่อเนือ่ งถึง 5 ปี ผูน้ ำ� ที่ มุง่ มัน่ ร่วมแรงร่วมใจกับประชาชนในแคลิฟอร์เนีย ใช้วธิ กี าร ใหม่ๆ ร่วมกันแก้ปญ ั หาอย่างรอบด้าน ก็สามารถเอาชนะภัย แล้งได้ เป็นบทความที่แนะน�ำให้อ่าน ใกล้ถึงวันปีใหม่ เป็นระยะเวลาที่เหมาะสมในการ ทบทวนเป้าหมายและผลงานในรอบครึ่งปีที่ผ่านมา ปก ในของนิตยสารฉบับนี้ได้น�ำเสนอ แผนที่กลยุทธ์ ด้วยภาพ เพียงภาพเดียว ดูง่ายและครอบคลุม ถ้าท่านสามารถจดจ�ำ แผนที่กลยุทธ์นี้ได้ น่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ไม่เพียง

นพ.พรชัย บุญแสง

เป็นประโยชน์ต่อสโมสร ยังเป็นประโยชน์ต่อองค์กรธุรกิจ ของท่าน คอลัมน์มุมมองโรตารีที่ อผภ.ช�ำนาญ จันทร์เรืองได้ กรุณาเขียนให้เป็นประจ�ำ ฉบับนีไ้ ด้เขียนเรือ่ งวิสยั ทัศน์โรตารี ก็เป็นอีกแง่มุมหนึ่งที่ช่วยขยายความแผนที่กลยุทธ์ได้เป็น อย่างดี น่าอ่านมากครับ เดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา ทัง้ สีภ่ าคได้จดั กิจกรรม RYLA ประสบความส�ำเร็จอย่างยอดเยีย่ ม นิตยสารฉบับนีจ้ งึ จัดเต็ม ลงให้ถึงสี่หน้า เชิญพลิกไปดูความยิ่งใหญ่ ความรักความ สามัคคี ความสดใส สนุกสนาน มีชีวิตชีวาของคนรุ่นเยาว์ ที่จะมาเป็นผู้น�ำในอนาคต งานนี้ไม่เพียงแต่เด็กๆ จะได้มี โอกาสพัฒนาตนเอง ยังสร้างความรู้สึกดีๆ ของผู้ปกครองที่ มีตอ่ องค์กรโรตารีของเราอีกด้วย เราภาคภูมใิ จในกิจกรรมที่ เกิดประโยชน์นี้เป็นอย่างยิ่ง ทุกเรื่อง ทุกคอลัมน์ ยังน่าอ่านเหมือนเดิม ลองพลิก เข้าไปพิสจู น์ นักเขียนทุกท่านเขียนด้วยใจรักจริงๆ เขียนด้วย ความเต็มใจ ไม่มีค่าน�้ำหมึกแม้แต่บาทเดียว สุดท้าย กองบรรณาธิการอยากให้เพื่อนสมาชิกช่วย หน่อย ช่วยสรรหาภาพที่มีความหมาย สวยงาม ดูดีมาลงที่ ปกหน้าหรือปกหลัง ถ้าภาคไหนมีการประกวดภาพ สามารถ เอาภาพที่ประกวดส่งมาได้เลย ภาพที่ไม่ได้รางวัลก็ส่งมาได้ ช่วยกันหน่อย เราคอยอยู่ ขอเมอรี่คริสต์มาส และสวัสดีปีใหม่ล่วงหน้า ขอให้ ทุกท่านและครอบครัวมีความสุข สมหวังในทุกสิง่ ปลอดโรค ปลอดภัยตลอดปี 2559 นี้เทอญ นพ. พรชัย บุญแสง

05


Rotary Thailand

โรตารีประเทศไทย นิตยสารรายสองเดือน ส�ำหรับโรแทเรียน

ภาค 3330, 3340, 3350, 3360 คณะกรรมการที่ปรึกษา อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ อผภ.ธีรยุทธ์ วัฒนธีรวุฒิ อผภ.สมศักดิ์ ดุรงค์พันธุ์ อผภ.วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา อผภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ ผวภ.ธีระนันท์ วงศ์หล่อ ผวภ.วิวัฒน์ พิพัฒน์ไชยศิร ิ ผวภ.ไชยไว พูนลาภมงคล ผวภ.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ผวล.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ ผวล.เอกณรงค์ กองพันธ์ ผวล.เจสัน ลิม ผวล.อนุศิษฏ์ ภูวเศรษฐ

(3330) (3340) (3350) (3360) (3360) (3330) (3340) (3350) (3360) (3330) (3340) (3350) (3360)

บรรณาธิการบริหาร อผภ.นพ.พรชัย บุญแสง

(3330)

กองบรรณาธิการ อผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ (3330) อผภ.ประเสริฐ ฟักทองผล (3330) ผวล.จุฑาทิพย์ ธรรมศิริพงษ์ (3330) อน.อาสา ศาลิคุปต (3330) อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล (3340) อผภ.สุชาดา อิทธิจารุกุล (3350) อผภ.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (3360) ดนุชา ภูมิถาวร จิตราพร สันติธรรมเจริญ สถานที่ติดต่อ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซ.วัฒนา ถ.อโศก วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 c/o Rotary Centre in Thailand 75/82-83, 32/Fl., Ocean Tower II, Soi Wattana, Asok Rd., Wattana, Bangkok 10110 Tel: 02-661-6720 Fax: 02-661-6719 Mobile: 085-822-4442 Email : magazine@rotarythailand.org

06

Rotary Thailand 06


พฤศจิกายน - ธันวาคม November - December 2015 ปีที่ 32 ฉบับที่ 161

CONTENTS สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ บทบรรณาธิการ ปฏิทินโรตารี ข่าว การศึกษา และการวิจัยในปัจจุบัน ภัยแล้งในแคลิฟอร์เนีย กิจกรรมโรตารี วิสัยทัศน์โรตารี การประชุมใหญ่โรตารีสากล เรื่องราวดีๆ โรตารีรอบโลก เอียน ไรซ์ลีย์ ประธานโรตารีสากล ปี 2017-18 โครงการอบรมเยาวชนผู้น�ำไรลา มังกรซ่อนกาย หาสรร...หรรษา เที่ยวล่อง...ส่องเมือง ห้องข่าวศูนย์โรตารี โรตารีวาไรตี้

ภาพจากปก โดย SEBASTIEN THIBAULT

07

สารบัญ

1-2 3-4 5 8 9 10-17 18-21 22-26 27 28-29 30 31-34 35-39 40 41 42-43 44


ปฏิ ทิ น โรตารี Rotary Calendar ธันวาคม : เดือนแห่งการป้องกันและรักษาโรค December : Disease Prevention and Treatment Month

5

Intercity Meeting 12

วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ครั้งที่ 3

25

10

พื้นที่ 15-22 ภาค 3330 และคืนเกียรติยศมูลนิธิโรตารี โรงแรมโกลเด้นซิตี้ จ.ราชบุรี

รวมใจเดินวิ่ง ขจัดโปลิโอ ภาค 3350 สวนหลวงพระราม 8

วันรัฐธรรมนูญ

อบรมผู้น�ำ 16 อบรมผูน้ ำ� การอบรมภาค/

มกราคม : เดือนแห่งการบริการด้านอาชีพ January : Vocational Service Month

1 10 9 ศูนย์โรตารีฯ

วันขึ้นปีใหม่

ภาค 3330, 3340 ภาค 3350, 3360

27 ภาค 3350/กรุงเทพฯ

1723 International Assembly ประชุม

ซานดิเอโก้ สหรัฐอเมริกา

การประชุมใหญ่ RI ครั้งต่อไป Next RI Convention

23 Intercity Meeting

ครั้งที่ 4 พื้นที่ 23-29 ภาค 3330 และคืนเกียรติยศ มูลนิธิโรตารี/รร.สองพันบุรี จ.สุพรรณบุรี

30 กิจกรรม

“วันโรตารีไทย 2559” 08

Rotary Thailand

ภาค 3350/สวนลุมพินี

2016 กรุงโซล, เกาหลี ใต้/ 28 พฤษภาคม-1 มิถุนายน (Seoul, South Korea/ May 28-June 1) 2017 เมืองแอตแลนตา, สหรัฐอเมริกา/ 10-14 มิถุนายน (Atlanta, USA/ June 10-14) 2018 เมืองโทรอนโต, แคนาดา (Toronto, Canada) 2019 เมืองฮัมบูร์ก, เยอรมนี (Hamburg, Germany) 2020 เมืองโฮโนลูลู, สหรัฐอเมริกา (Honolulu, USA) 2021 กรุงไทเป, ไต้หวัน (Taipei, Taiwan) 2022 เมืองฮูสตัน, เท็กซัส, สหรัฐอเมริกา (Houston, Texas, USA) 08


ข่าว การศึกษา และการวิจัยในปัจจุบัน อผภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 / แปล

ดนตรี

ดนตรีสามารถบรรเทาอาการปวดภายหลังการผ่าตัดได้ รวมทั้งในเด็กๆ ที่ขอเลือกประเภทการบันเทิงเอง จากงานวิจัย ของ Lurie Children’s Hospital of Chicago มีรายงานตีพิมพ์ ในวารสาร Pediatric Surgery International เมื่อให้เด็กอายุ ระหว่าง 9 ถึง 14 ปี จ�ำนวน 56 คน เลือกฟังเพลง หรือฟังหนังสือ เสียง (audio book) หรืออยู่เงียบๆ หลังจากได้รับการผ่าตัดใหญ่ 48 ชั่วโมง พบว่าเด็ก ที่เลือกฟังดนตรีบำ� บัด จะมีอาการปวดภาย หลังการผ่าตัดลดลงใกล้เคียงกับการได้รับยาแก้ปวด

60% ของประชากรโลก

รายงานจากสหประชาชาติ 60% ของประชากรโลกอาศัย อยู่ในทวีปเอเซีย แม้ว่าประชากรในทวีปอัฟริกาจะมีอัตราการ เติบโตทีร่ วดเร็วขึน้ ก็ตาม สหประชาชาติยงั คาดการณ์วา่ ประชากร ทั่วโลกประมาณ 7,300 ล้านคนในปัจจุบัน จะเพิ่มขึ้นเป็น 8,500 ล้านคนในปี 2030 และ 11,200 ล้านคนในปี 2100 อินเดียจะมี ประชากรสูงสุดในเจ็ดปีข้างหน้าและจะมากกว่าประเทศจีน

ลักษณะคุณธรรม (Moral traits)

ลักษณะคุณธรรม เช่น ความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความซือ่ สัตย์ นับเป็นบุคลิกภาพของบุคคลมากกว่าความมีสติ

09

ปัญญาหรือบุคคลิกภาพทางกาย จากรายงานวิจัยของ School of Management in Psychological Science, มหาวิทยาลัย Yale ได้ทำ� การส�ำรวจผู้ป่วยจ�ำนวน 248 คน ที่มีความเสื่อมของ เส้นประสาท 3 กลุ่ม คือ อัลไซเมอร์ที่สูญเสียความทรงจ�ำ โรค กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Amyotrophic Lateral Sclerosis, ALS) ที่ มีข้อบกพร่องในการเคลื่อนไหว และประสาทเสื่อมในสมองส่วน หน้าที่ท�ำให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกผิดชอบลดลง พบว่าผู้ดูแลผู้ป่วยที่ มีความเมตตา เห็นอกเห็นใจ และซื่อสัตย์มีคุณธรรมจะช่วยแก้ไข เรือ่ งความรูส้ กึ ผิดชอบของผูป้ ว่ ยได้มากกว่าการแก้ไขอาการความ จ�ำเสื่อมและข้อบกพร่องทางร่างกาย

ความอดทน

จากการส�ำรวจความอดทนของผู้คนต่อมุมมองที่ขัดแย้ง กันโดยใช้คำ� ถาม15 ข้อของ General Social Survey (GSS) ซึ่ง ท�ำการศึกษาในกลุม่ ตัวอย่างของประชากรผูใ้ หญ่ในสหรัฐอเมริกา มาตั้งแต่ปี 1972 จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน Social Forces พบ ว่าคนอเมริกนั มีระดับความอดทนสูงขึน้ เรือ่ ยๆ ตัง้ แต่ปที เี่ ริม่ ส�ำรวจ และพบว่าความอดทนมีความสัมพันธ์กับปีที่ส�ำรวจมากกว่าอายุ หรือคนรุ่นเดียวกัน แสดงว่ามุมมองทางวัฒนธรรมจะถูกปรับ เปลี่ยนไปด้วยพลังแห่งประวัติศาสตร์ตามกาลเวลาที่ล่วงเลย


ภัยแล้งในแคลิฟอร์เนีย

ไม่เกี่ยวกับคุณในวันนี้...แต่อีกไม่นานจะเกี่ยว อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สร.บางเขน แปล เขียนโดย CHARLES FISHMAN ภาพประกอบโดย SÉBASTIEN THIBAULT

ในเดือนมิถนุ ายน ท่ามกลางความ แห้งแล้งทีท่ ำ� ลายสถิตเิ ท่าทีเ่ คยเกิดขึน้ ใน รัฐแคลิฟอร์เนีย ผู้ว่าราชการเมืองซาน ฟรานซิสโกแสดงความกล้าหาญตัดสิน ใจเรื่องส�ำคัญเรื่องหนึ่งที่คนอาจไม่ได้ ให้ ค วามสนใจมากนั ก เทศบาลเมื อ ง ซานฟรานซิ ส โกออกเทศบั ญ ญั ติ ฉ บั บ หนึ่งบังคับให้โครงการจัดสรรใหม่ ที่มี ขนาดใหญ่ซึ่งรวมไปถึงบ้านจัดสรรและ อาคารพาณิชย์ต้องติดตั้งระบบน�ำน�้ำ ทิ้งกลับมาใช้ โครงการจัดสรรใหม่ใด ที่มีขนาดใหญ่กว่า ๒๕๐,๐๐๐ ตาราง ฟุ ต จะต้ อ งมี ร ะบบเก็ บ น�้ ำ ฝนและน�้ ำ เทา (น�้ำใช้แล้วที่บำ� บัดได้) ที่จะสามารถ น�ำกลับไปท�ำให้สะอาดและใช้ใหม่ได้ ภายในอาคารนัน้ เพือ่ น�ำไปใช้กบั ชักโครก ห้องน�้ำ น�้ำล้างเครื่องจักร และน�้ำเพื่อ การชลประทานแก่สวนตกแต่ง อาคาร ใหม่ ๆ ที่มีระบบเวียนน�้ำใช้ยังสามารถ น�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นกระบวนการนีไ้ ปจ�ำหน่ายให้ กับอาคารใกล้เคียงหรือโครงการพัฒนา อื่น ๆ ได้ ด้ ว ยเทศบั ญ ญั ติ ฉ บั บ ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง ได้ ผ ่ า นความเห็ น ชอบอย่ า งเป็ น เอกฉั น ท์ จ ากสภาเทศบาล เมืองซาน ฟรานซิ ส โกจึ ง กลายเป็ น เมื อ งแรกใน สหรัฐอเมริกาทีบ่ งั คับติดตัง้ ระบบเวียนน�ำ้ ใช้ ช่วงที่อยู่ในท่ามกลางความแห้งแล้ง 10

เมืองนี้ได้เตรียมตัวเองให้พร้อมรับภัย แล้งที่จะมาเยือนอีกในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และ พ.ศ. ๒๕๙๕ ฤดูร้อนที่ก�ำลังมาถึงนี้จะครบห้า ปีที่แคลิฟอร์เนียต้องอยู่ในสภาพแห้ง แล้ง เดือนเมษายนทีผ่ า่ นมาเป็นครัง้ แรก ในประวัติศาสตร์ที่ผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์ เนีย เจอร์รี่ บราวน์ออกมาตรการเข้ม งวดการใช้น�้ำ ขอให้บ้านเรือนลดการ ใช้น�้ำลง ๒๕ เปอร์เซนต์เมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๖ ในเดือนมิถนุ ายนซึง่ เป็นเดือนแรก ที่บังคับใช้มาตรการนี้ครัวเรือนต่าง ๆ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและท�ำได้ ตามเป้ า หมาย น�้ ำ ใช้ ภ ายในเทศบาล เมืองลดลง ๒๗ เปอร์เซนต์ ทั้ง ๆ ที่เป็น เดือนทีอ่ ากาศร้อนทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ แคลิฟอร์เนีย ในเดือนกรกฎาคมตัวเลข ยิง่ ดีขนึ้ เพราะการ ใช้นำ�้ ลดลง (เมือ่ เทียบ กับปีก่อน) ถึง ๓๑ เปอร์เซนต์ "มันเป็นปัญหาโลกทีจ่ ดั การได้ยาก" บราวน์กล่าว "เราต้องอาศัยวิธกี ารทีแ่ ตก ต่างออกไป" เขาขึ้นไปยืนตรงพื้นหญ้าบนยอด เขาเซียร่าเนวาดาเพื่อท�ำการประกาศ ซึ่งปกติในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีหิมะสูง ๕ ฟุตครึ่ง แต่วันนั้นเขายืน ได้บนพื้นดินเปล่า รัฐแคลิฟอร์เนียปกติ จะได้นำ�้ จากหิมะละลายประมาณหนึง่ ใน

สามของแหล่งน�ำ้ ทัง้ หมด แต่ในปี ๒๕๕๘ มีหิมะเพียง ๕ เปอร์เซนต์จากทั้งหมดที่ เคยมี ซึ่งน้อยที่สุดที่เคยมีการบันทึกมา ก่อน หิมะหายไปถึงร้อยละ ๙๕ นับเป็นปี ที่มีหิมะน้อยที่สุดตลอดช่วง ๔ ปีที่อยู่ใน สภาพแห้งแล้งในประวัตศิ าสตร์ของรัฐนี้ ความแห้งแล้งของรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นเรือ่ งทีผ่ ดิ ปกติ ไม่วา่ คุณจะใช้อะไรวัด ก็ตาม และด้วยเหตุที่แคลิฟอร์เนียเป็น รัฐที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในสหรัฐ อเมริกา มีประชากรมากทีส่ ดุ แหล่งผลิต อาหารใหญ่ที่สุด รวมถึงเป็นแหล่งผลิต ผักและผลไม้เป็นจ�ำนวนครึ่งหนึ่งของ ประเทศทีผ่ ลิตได้ ภัยแล้งนีจ้ งึ มีผลกระทบ แผ่ขยายออกไปถึงเมืองซาคราเมนโต และซานดิเอโก แต่หวั ใจของเรือ่ งนีค้ อื ความลุม่ ลึก ในการมองปัญหาที่ส่วนใหญ่มองข้าม กัน แต่ที่แคลิฟอร์เนีย การรับมือภัยแล้ง ท�ำได้ยอดเยี่ยมมาก ผลที่ตามมาคือเศรษฐกิจของรัฐ นี้เติบโตมากขึ้น และเติบโตกว่าอัตรา การเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศ และมากกว่าช่วงที่มีภัยแล้งก่อนหน้านี้ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย น� ำ หน้ า รั ฐ อื่ น ๆ ในการ จ้ า งงาน และดึ ง ดู ด คนย้ า ยเข้ า มาอยู ่ ในรัฐนี้มากกว่าเมื่อสิบปีที่แล้ว ชุมชน เกษตรกรรมถึงแม้จะใช้น�้ำเพียงร้อยละ

Rotary Thailand 10


๘๐ ของเป้าหมายที่รัฐก�ำหนดให้ใช้ใน แต่ละปี ก็ยังสามารถเพิ่มผลผลิตและคง ระดับการจ้างงานได้ ความล� ำ บากที่ เ กิ ด ขึ้ น จากภั ย แล้งนี้ เช่นชุมชนที่ประสบภาวะแหล่ง เก็บน�้ำเหือดแห้ง ที่คนอเมริกันต้องต่อสู้ เพื่ อ หาน�้ ำ ให้ พ อใช้ แ บบวั น ต่ อ วั น ไม่ ต่างกับประเทศก�ำลังพัฒนาบางแห่งที่ ไม่มีระบบบริหารจัดการน�้ำ ซึ่งไม่น่า จะเป็ น ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า แต่ สิ่ ง ที่น่าฉงนก็คือท�ำไมผลกระทบของภัย แล้งจึงมีไม่มากนักในรัฐนี้ อันเป็นรัฐที่

11

มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ ของ ประเทศมาก เหตุผลนั้นคงไม่ใช่เพราะ น�ำ้ ไม่มคี วามส�ำคัญ น�ำ้ ต้องมีความส�ำคัญ แน่ น อน แต่ แ คลิ ฟ อร์ เ นี ย ได้ ว างแผน รับมือภัยแล้งนี้มา ๒๐ ปีแล้ว หากท่ า นติ ด ตามดู อ ย่ า งใกล้ ชิ ด หน่ ว ยงานรั ฐ เองพยายามคิ ด หา ยุทธศาสตร์ที่จะให้ชุมชนต่าง ๆ ช่วย เหลือตนเองได้ การออกเทศบัญญัติให้น�ำน�้ำใช้แล้ว กลับมาใช้ใหม่นนั้ หน่วยงานรัฐบาลท้อง

ถิ่นของซานฟรานซิสโกยอมท�ำในสิ่งที่ ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน หากเรื่องนั้นเป็น เรื่องเกี่ยวกับน�้ำ พวกเขายอมรับความ จริ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เข้ า ใจดี ว ่ า การวางแผน เพือ่ รับมือความแปรปรวนของปริมาณน�ำ้ ต้องจัดการโดยเปลีย่ นแปลงวิธที คี่ นใช้นำ�้ ไม่ใช่ด้วยการรอคอยน�้ำฝน ซานฟรานซิสโกเคยท�ำอย่างนี้มา แล้ว ฤดูแล้งปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๕ เมืองนี้บอบช�้ำรุนแรง และเมื่อ ภัยแล้งหยุดลงในปีนั้น เมืองซานฟราน ซิสโกก็ไม่เคยผ่อนผันการบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับภัยแล้งเลยแม้แต่น้อย ไม่เพียง เท่านั้น เมืองนี้ยังก�ำหนดให้ประชาชน และภาคธุรกิจร่วมมือกันลดการใช้น�้ำ อย่างต่อเนื่องตลอดมา วันนี้ สองในสามของบ้านเรือน ในซานฟรานซิสโกใช้ระบบน�้ำน้อยใน ถังชักโครก ก็ดูออกจะเป็นเรื่องไม่ปกติ ส�ำหรับเมืองที่เก่าแก่และเป็นจุดหมาย ปลายทางของนักเดินทาง ครึ่งหนึ่งของ บ้ า นเรื อ นในซานฟรานซิ ส โกมี เ ครื่ อ ง ซักผ้าแบบประหยัดน�้ำ ตั้งแต่ภัยแล้งที่ เกิดขึ้นครั้งที่แล้ว คนซานฟรานซิสโก สามารถลดการใช้นำ�้ จากเฉลีย่ คนละ ๕๙ แกลลอน (ประมาณ ๒๒๓ ลิตร) ต่อวัน ลงเหลือ ๔๙ แกลลอน (๑๘๕ ลิตร) ต่อ วัน ซึ่งนี่คือตัวเลขการใช้น�้ำครึ่งหนึ่งของ คนอเมริกันโดยเฉลี่ย สก๊ อ ต ไวเนอร์ สมาชิ ก สภา เทศบาลเมืองผูเ้ สนอร่างระบบหมุนเวียน น�้ำใช้ ที่ผ่านการลงมติในเดือนมิถุนายน กล่าวว่า "น�้ำในแคลิฟอร์เนียก็เหมือน กับนิวเคลียร์ เราต่อสู้เรื่องนี้มา ๑๕๐ ปี แล้ว และตอนนี้ถึงเวลาที่จะต้องตัดสิน ใจด้วยความกล้า วิกฤติการณ์เปิดทาง ให้กับโอกาสทางการเมืองที่จะท�ำการ เปลี่ยนแปลงสิ่งที่เราไม่คิดว่าจะท�ำได้


วิธีวางแผนเพื่อรับมือความแปรปรวนของปริมาณน�้ำ ต้องท�ำโดยการเปลี่ยนแปลงวิธีที่คนใช้น�้ำ ไม่ใช่ด้วย การรอคอยน�ำ้ ฝน เมื่อ ๕ หรือ ๑๐ ปีที่แล้ว" ความพยายามของเมื อ งซาน ฟรานซิสโกนั้นอยู่ในสายตาของคนทั่ว รัฐแคลิฟอร์เนีย ที่นี่มีชื่อเสียงมากใน เรื่องระบบประปา เพราะมีโครงสร้าง วิ ศ วกรรมที่ ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น ปริ ม าณน�้ ำ จ�ำนวนมากไหลจากทางเหนือผ่านเข้าสู่ ตอนกลางของรัฐทีเ่ ป็นพืน้ ที่ เกษตรกรรม เซ็นทรัลวัลเลย์ แล้วกระจายตัวแตกแยก ออกมาทางใต้ สิทธิการใช้และกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วกับน�ำ้ ของรัฐแห่งนีก้ ย็ งุ่ ยากสับสน ไม่แพ้กนั เพราะเกษตรกรทีป่ ลูกพืชแบบ เดียวกันอาจได้รบั การแบ่งปันน�ำ้ ต่างกัน และราคาก็ไม่เท่ากัน แต่ ห ลายเมื อ งทางใต้ ข องรั ฐ ได้ ร่วมก�ำหนดจริยธรรมใหม่กันขึ้น อันสืบ เนือ่ งจากความคิดทีเ่ มืองเหล่านีต้ อ้ งต่อสู้ เพื่อให้ได้ "อิสรภาพการใช้น�้ำ" เพราะ การต้องคอยน�ำเข้าน�ำ้ จากทางภาคเหนือ ของแคลิฟอร์เนียและแม่น�้ำโคโลราโด นั้นไม่ท�ำให้พวกเขารู้สึกมีความมั่นคง และไม่รู้ว่าจะพบวิกฤติเมื่อใด ส� ำ นั ก งานประปามหานคร แคลิฟอร์เนียใต้ (MWD) คือหน่วยงาน ที่ครอบคลุมการท�ำงานกว้างจากออกซ์ นาร์ดทีอ่ ยูด่ า้ นเหนือของลอสแองเจลิสไป ถึงชายแดนแม็กซิโกมีความยาวถึง ๒๐๐ ไมล์ จัดสรรน�้ำให้แก่ประชาชนจ�ำนวน ๑๙ ล้ า นคนซึ่ ง เท่ า กั บ ประชากรครึ่ ง หนึ่งของรัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ประชากรในพื้นที่นี้เพิ่มขึ้นมา ๔ ล้านคน แต่ภูมิภาคนี้กลับใช้น�้ำในปี ๒๕๕๘ น้อยกว่าปี ๒๕๓๓ แคลิฟอร์เนีย 12

ใต้มีประชากรเพิ่มขึ้นทั้งที่พอร์ทแลนด์ และลาสเวกัส แต่คนที่นี่ไม่ได้ใช้น�้ำเพิ่ม ขึ้นเลย ทั้งคนที่เพิ่มขึ้นและเศรษฐกิจที่ เติบโตขึน้ ตลอดเวลา ๒๕ ปีทผี่ า่ นมาเป็น ไปได้ด้วยวิธีการประหยัดน�้ำ วิธีการประหยัดน�้ำมักถูกมองว่า จะลดทอนคุณภาพชีวิต เช่น ฝักบัวน�้ำ อ่อน ก๊อกน�้ำผสมลม ซึ่งซ่อนพลังแห่ง คุ ณ ประโยชน์ ไว้ คนแคลิ ฟ อร์ เ นี ย ใต้ ก�ำลังค่อย ๆ สร้างวัฒนธรรมการใช้น�้ำ ของตนเอง แม้ว่าจ�ำนวนการใช้ซ�้ำน�้ำใช้ แล้วจะเพิ่มขึ้นเท่าตัวในรอบ ๒๐ ปี แต่ ก็ยังเป็นเพียงร้อยละ ๑๑ ของการใช้นำ�้ ในเมืองในรัฐนี้ การจัดการน�้ำฝนก็เช่น กัน แคลิฟอร์เนียใต้เพิ่งจะคิดท�ำอะไร กับมัน ระบบระบายน�ำ้ ในเมืองเป็นทาง ผ่านของน�ำ้ ทุกอย่างรวมทัง้ น�ำ้ ฝน ทีป่ กติ จะมีมรสุมปีละสองสามครั้ง แต่ละครั้งมี ปริมาณน�้ำมหาศาล และแทนที่จะเก็บ เพื่อการใช้ประโยชน์ในอนาคต พวกเขา ทิ้งน�ำ้ นั้นลงมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ตอนนี้มีสัญญาณที่บอกว่าคน เริ่ ม เข้ า ใจว่ า โลกเปลี่ ย นแปลงไปแล้ ว และแคลิฟอร์เนียใต้ต้องมีวัฒนธรรมที่ แตกต่างออกไปในการใช้น�้ำ ฤดูใบไม้ ผลิปีนี้ MWD ประกาศใช้ระบบชดเชย แก่บา้ นเรือนทีย่ อมเปลีย่ นสนามหญ้าไป ปลูกพืชที่ทนแล้ง โดยขยายครอบคลุม พื้นที่ทั้งหมด ลาสเวกัสอาสาเป็นเมือง ต้นแบบท�ำโครงการ “หญ้าแลกเงิน” แคลิฟอร์เนียใต้ขานรับโครงการนีโ้ ดยใช้ เงินงบประมาณเพื่อการชดเชยถึง ๓๔๐ ล้านเหรียญสหรัฐ มีบ้านเรือนที่ยอมรื้อ

สนามหญ้าตนเองเป็นจ�ำนวน ๑๗๐ ล้าน ตารางฟุตภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ ซึ่ง พื้นที่ขนาดนี้ ลาสเวกัสต้องใช้เวลานาน ถึง ๑๖ ปี เกษตรกรแคลิฟอร์เนียเป็นอะไร ที่สลับซับซ้อนกว่ามาก การรวมตัวกัน เป็นกลุ่มก้อนท�ำให้เขาปรับตัวได้ตาม วิธีการที่สร้างสรรค์และมีเป้าหมายที่ ชั ด เจนเพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการ แข็งขันการแย่งชิงน�ำ้ แต่พวกเขาก็สร้าง ความเสียหายให้กับแหล่งน�้ำของรัฐใน สมรภูมิการแย่งชิงทรัพยากรน�้ำ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ แทบจะไม่มี เกษตรกรในแคลิฟอร์เนียรู้จักหรือยอม ใช้ระบบชลประทานน�้ำหยด แต่วันนี้ หนึ่ งในสามของพื้ น ที่ เ กษตรกรรมใน แคลิฟอร์เนียพึ่งพาระบบนี้ และพื้นที่ ที่ยังใช้ระบบชลประทานน�้ำท่วมซึ่งเป็น ระบบที่เหวี่ยงแหในการให้น�้ำ ลดลงไป ครึ่งหนึ่งแล้ว การให้ น�้ ำ ตรงจุ ด แก่ พื ช อย่ า ง ระบบน�ำ้ หยดนัน้ หมายความว่าเกษตรกร จะสามารถประหยัดน�้ำได้ ๒๐ - ๓๐ เปอร์เซนต์ พืชได้รบั น�ำ้ มากกว่าระบบอืน่ ท�ำให้ได้ผลิตผลมากกว่า ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๓ - ๒๕๕๓ แคลิฟอร์เนียสามารถ เพิ่มมูลค่าผลิตผลทางเกษตรกรรมกว่า ๔๐ เปอร์ เซนต์ อั น เป็ น ผลส่ ว นหนึ่ ง จากการเปลี่ยนระบบชลประทานและ ส่วนหนึ่งจากการเปลี่ยนไปปลูกพืชที่มี มูลค่าสูงขึน้ เช่นอัลมอนด์และพิสทาซิโอ ซึ่งเป็นพืชผลที่คนสนใจปลูกกันในช่วง ประสบภัยแล้ง

Rotary Thailand 12


แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ปฏิ บั ติ กั น มา ยาวนานในการยอมให้ ใ ครก็ ไ ด้ ที่ เ ป็ น เจ้าของที่ดินขุดเอาน�้ำจากใต้ดินมาใช้ได้ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือต้อง บันทึกว่าเอาน�้ำไปใช้มากน้อยเท่าไหร่ ความจริงที่นี่เป็นที่เดียวที่ไม่มีกฎหมาย บังคับการใช้น�้ำบาดาล เกษตรกรชดเชย การใช้น�้ำที่ขาดไปเนื่องจากมีกฎหมาย ก� ำ หนดการใช้ น�้ ำ ในช่ ว งหน้ า แล้ ง โดย พวกเขาปัม๊ น�ำ้ บาดาลมาใช้คดิ เป็นตัวเลข ประมาณ ๗๐ เปอร์เซนต์ของน�ำ้ ทีข่ าดไป การสู บ น�้ ำ ขึ้ น มาใช้ อ ย่ า งที่ ไ ม่ มี กฎหมายบั ง คั บ ก� ำ ลั ง ท� ำ ลายแหล่ ง น�้ ำ ใต้ดิน มีการน�ำเอาน�้ำใต้ดินไปใช้มาก เกินกว่าความสามารถในการทดแทนทาง ธรรมชาติในอนาคต แม้จะมีการชดเชย จากน�้ำฝนบ้างก็ตาม พื้นที่บางแห่งใน เมืองเซ็นทรัลวัลเลย์มีปัญหาพื้นดินทรุด ตัวลงเดือนละ ๑ นิ้วเพราะการสูบน�ำ้ ไป ใช้ อ่างเก็บน�้ำในเมืองและบ้านเรือนนับ ร้อยหลังคาเรือนก�ำลังขาดน�้ำ เกษตรกรประสบความส� ำ เร็ จ ในการแลกความมั่นคงในการใช้น�้ำใน อนาคตกับผลผลิตทางการเกษตรช่วง หน้ า แล้ ง "พวกเขาหวั ง พึ่ ง การขุ ด หา น�้ำบาดาลโดยขุดลึกลงไปเรื่อย ๆ และ เปลี่ยนที่ขุดไปเรื่อย ๆ โดยคิดว่าน�้ำคง ไม่มีวันหมด" เดวิด ออธ ผู้จัดการทั่วไป ของการอนุรักษ์เมืองคิงส์ริเวอร์กล่าว หน่วยงานนี้ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเซ็นทรัล วัลเลย์ซงึ่ เป็นศูนย์กลางเกษตรกรรมของ แคลิฟอร์เนีย "ผมไม่แน่ใจว่าเราจะยังมี หนทางที่จะเติมน�้ำใต้ดินให้มีเท่าเดิมได้" ทีน่ เี่ ช่นเดียวกับทีอ่ นื่ ทีค่ วามแห้งแล้ง จะกดดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ฤดู ใบไม้ ร ่ ว งปี พ.ศ.๒๕๕๗ มี ก ารผ่ า น กฎหมายส�ำคัญซึง่ จะไม่เพียงควบคุมการ ใช้น�้ำใต้ดิน แต่มีผลถาวรในการปกป้อง

13

แหล่งน�้ำใต้ดินของแคลิฟอร์เนีย โดยจะ ต้องท�ำแผนที่น�้ำใต้ดิน ท�ำการประเมิน วัดปริมาณน�้ำที่มีและชุมชนเกษตรกร ทั้งหมดจะได้รับอนุญาตให้สูบน�้ำขึ้นใช้ ในปริมาณที่สามารถใช้คืนได้ในอนาคต ไม่ว่าจะโดยวิธีธรรมชาติหรือมือมนุษย์ น�้ำใต้ดินทั้งหมดจะต้องได้รับการบริหาร จัดการให้เป็นทรัพยากรทีม่ คี วามยัง่ ยืนถาวร กฎหมายจัดการน�ำ้ อย่างเด็ดขาดนี้ ถือว่าเป็นสิ่งที่น�ำสมัยที่สุดของประเทศ เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ข องการปรั บ เปลี่ ย น นโยบายให้สอดรับกับสถานการณ์วิกฤติ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างทีไ่ ม่เคยคาดหมายสองสาม

ปีที่ผ่านมา ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านี้ การสูบ น�้ำถือเป็นสิทธิส่วนบุคคลของประชาชน ในรั ฐ นี้ ถึ ง แม้ ว ่ า กฎหมายสร้ า งความ สมดุลการสูบน�้ำและกักเก็บน�้ำจะยังไม่ เป็นผลสมบูรณ์จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๘๕ เกษตรกรแคลิฟอร์เนียจะต้องปรับตัว และวิ ธี ป ฏิ บั ติ อี ก ครั้ ง เมื่ อ เวลานั้ น มา ถึง แคลิฟอร์เนียจะต้องเป็นตัวอย่างใน การน�ำน�้ำฝน และน�้ำที่ท่วมขังผ่านวิธี การทีเ่ หมาะสมให้กลับไปสูช่ นั้ หินเก็บน�ำ้ ใต้ดิน


สุดท้ายแล้ว ปัญหาน�้ำก็เป็นเรื่องของท้องถิ่น คนที่อยู่ในชิคาโก หรือดัลลัสอาจเลือกกินมะเขือเทศหรือผักกาดจากแคลิฟอร์เนีย น้อยลง หรือยอมอดไวน์จากแคลิฟอร์เนีย แต่นี่ก็ไม่ใช่วิธีการ ต่อสู้กับภัยแล้ง ปัญหาน�ำ้ อาจเป็นปมปัญหาทีส่ ง่ ผลรุนแรง และบานปลายเกินทีจ่ ะรับมือ ได้ แต่มันก็เป็นปัญหาที่เกิดในท้องถิ่น คนที่อยู่ชิคาโกหรือดัลลัสอาจเลือกกิน มะเขือเทศหรือผักกาดจากแคลิฟอร์เนีย น้อยลง หรือยอมอดไวน์แคลิฟอร์เนีย แต่นี่ก็ไม่ใช่วิธีการต่อสู้กับภัยแล้ง ในขณะทีแ่ คลิฟอร์เนียผจญกับภัย แล้งอย่างสุดแสนสาหัสในประวัตศิ าสตร์ ของรัฐนี้ด้วยความอดทน การปรับตัว ในระยะสั้น ๆ ก็มีข้อจ�ำกัดอยู่เช่นกัน เพราะไม่ มี ใ ครบอกได้ ว ่ า ภั ย แล้ ง นี้ จะจบสิน้ เมือ่ ใด นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นต้นมา แคลิฟอร์เนียเพิ่งจะมีโอกาส ชืน่ ชมความชุม่ ฉ�ำ่ เพียงสีป่ ซี งึ่ ก็มปี ริมาณ ฝนระดับเฉลี่ยเท่านั้น ชาวแคลิฟอร์เนีย อาจใช้ชวี ติ อยูแ่ บบแล้ง ๆ ตลอดไปไม่ได้ แต่พวกเขาต้องปรับตัวให้อยู่ในสภาพ อากาศใหม่ ทุ ก ชุ ม ชนในสหรั ฐ อเมริ ก าคื อ ชุ ม ชนของโลกที่ พั ฒ นาแล้ ว ก็ จ ริ ง อยู ่ เรามีระบบประปา ชลประทานที่ดี แต่ ทุ ก ระบบก็ มี ค วามเสี่ ย งทั้ ง สิ้ น ที่ เ ห็ น ว่าน�้ำยังเป็นปกติอยู่ทุกวันนี้ ชาวบ้าน อาจมองไม่เห็นความไม่มั่นคง แต่เรา ยังคงต้องการให้น�้ำไหลเป็นปกติอย่าง เช่นที่นักวิชาการน�้ำต้องการให้เป็นเช่น นั้นเช่นกัน ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ จะใช้ น�้ ำ จงถาม ค�ำถาม ๓ ข้อคือ หนึ่ง) น�้ำประปาที่เรา

14

ใช้อยู่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรไปบ้าง? สอง) เราจะท�ำอย่างไรหากเราต้องใช้น�้ำ น้อยลง ๑๐ หรือ ๒๐ หรือ ๓๐ เปอร์เซนต์ ? และ สาม) เราจะสร้างกันชนน�้ำประปา และหลักประกันแก่ลูกค้าน�้ำประปาได้ อย่างไรเราจะสอนพวกเขาให้ใช้น�้ำน้อย ลงอย่างไร และเราจะใช้แหล่งน�้ำมือสอง เช่นการหมุนเวียนน�้ำใช้แล้วกลับมาใช้ ใหม่ และการใช้นำ�้ ฝนได้อย่างไร ถ้ า ตอบค� ำ ถามข้ า งต้ น ได้ อ ย่ า ง มั่นใจ ผู้ตอบก็คงไม่รู้สึกล�ำบากหรือต้อง จ่ายแพงกับค่าน�้ำ แต่หากตอบค�ำถาม ข้างต้นด้วยความรู้สึกหวั่นวิตกเช่นนั้น การถามค�ำถามเหล่านัน้ ตอนนีจ้ ะล�ำบาก และแพงน้อยกว่ารอถามอีก ๖ เดือนหรือ หนึ่งปีข้างหน้า บทเรียนจากภัยแล้งที่หนักหน่วง ที่เกิดขึ้นกับรัฐแคลิฟอร์เนีย ที่ผู้คนไม่ว่า จะอยู่ที่ใด จะเป็นที่แห้งแล้งอย่างตะวัน ตกเฉียงใต้หรือที่อุดมสมบูรณ์อย่างแถบ เกรทเลค ควรจะยกเป็นอุทาหรณ์สอน ใจได้ แ ค ลิ ฟ อ ร ์ เ นี ย จั ด ก า ร กั บ สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ พ อดิ บ พอดี เพราะปัญหาค่อย ๆ เกิดขึ้นในขณะที่ มีเวลาท�ำนโยบายและปรับทัศนคติให้ ทันได้ในช่วงเวลา ๒๐ ปีที่ผ่านมา รัฐนี้ อาจประสบภาวะวิกฤติได้หากภัยแล้ง ยังรุนแรงต่อเนื่องไปอีกปีหรือสองปี แต่ หากไม่เคยได้มกี ารท�ำงานอย่างหนักและ

วางแผนเพือ่ รับมือกับภัยแล้งนี้ ตอนนีร้ ฐั คงพบกับภาวะวิกฤติไปแล้ว ไม่มใี ครในแคลิฟอร์เนียรอคอยฝน คนที่ท�ำงานบนตึกระฟ้าไปจนถึงชาวไร่ ชาวนาทีเ่ ซ็นทรัลวัลเลย์ คนแคลิฟอร์เนีย เตรียมรับมือด้วยวิธีการที่ทันสมัยที่จะ ท�ำให้รัฐแคลิฟอร์เนียสามารถปรับตัว ทันกับสถานการณ์ภัยแล้งที่จะมาเยือน ในครั้งต่อไป หากสนใจประเด็ น เกี่ ย วกั บ น�้ ำ ? สามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้จากหน้า เว็บไซต์เรื่องที่เน้นความส�ำคัญของ โรตารี ที่ www.rotary.org/water หรื อ ร่ ว มแสดงความเห็ น กั น ได้ กั บ กลุ ่ ม ปฏิ บั ติ ก ารโรแทเรี ย นเกี่ ย วกั บ น�้ำและสุขาภิบาลที่เว็บไซต์ www. wasrag.org ประเด็นเกีย่ วกับน�ำ้ ทีม่ ผี ลกระทบต่อ ท่านคืออะไร? สโมสรของท่ า นมี โ ครงการ เกี่ ย วกั บ น�้ ำ หรื อ ไม่ โปรดบอกเล่ า ให้ เราได้ ท ราบที่ อี เ มล rotarian@ rotary.org หรือ facebook.com/ therotarianmagazine.

Rotary Thailand 14


California's drought may not be your drought,

by CHARLES FISHMAN illustrations by SÉBASTIEN THIBAULT

In June, in the middle of the worst drought in California’s settled history, San Francisco did something bold that got almost no attention. The city passed an ordinance requiring all new developments of a certain size – commercial or residential – to install water recycling systems right on-site. Any new development of 250,000 square feet or larger will have to collect rainwater and gray water, clean it, and reuse it in the building or development for toilets, washing machines, and landscaping irrigation. New buildings with the recycling systems also will be able to sell this water to nearby buildings and developments. With that ordinance – which passed the board of supervisors unanimously – San Francisco became the first city in the United States to make on-site water recycling mandatory. In the middle of the drought, the city was getting ready for the next one, the drought that will come in 2022 or 2052. The drought in California entered its fifth year this summer. In April, for the first time in history, California’s governor, Jerry Brown, imposed mandatory water restrictions on the state’s water utilities, requiring residents to reduce their water use by 25 percent over 2013 amounts. In June, the first month in which this mandatory reduction was in

force, residents surpassed that target, lowering municipal water use by 27 percent statewide, even though it was the hottest June in California history. In July, Californians did even better, cutting water use by 31 percent. “It's a different world,” Brown said. “We have to act differently” He made the announcement in a meadow in the Sierra Nevada mountains, where there would normally be 5 1/2 feet of snow on an April day. He was standing on bare ground. California gets one-third of its fresh water each year from melting snow, but in 2015, the snowpack was just 5 percent of the average, the lowest level ever documented. Ninety-five percent of the snow was missing – on top of the four driest years in state history. California’s drought has been extraordinary any way you measure it. And because California has the largest economy in the United States, and has the largest population, and produces the most food – including half the nation’s fruits and vegetables – the drought has affected places far beyond Sacramento and San Diego. But at the heart of this is an insight, largely overlooked: California has done pretty great in this drought. The state’s economy is soaring – it has grown faster than the national economy in every year of the drought. California leads the country in

creating new jobs, and it is attracting new residents faster than at any time in the last decade. Even its agricultural community – which uses 80 percent of the water the state requires each year – is increasing production and sustaining employment. There are pockets of misery in the drought – communities where wells have run dry, where ordinary Americans struggle every day to get enough water, as if they lived in a developing nation without a water system instead of in the richest state in America. But the astonishing thing is how little impact the drought has had on the most important economy in the country. The reason isn’t that water doesn’t matter. Water does matter, and California has spent the last 20 years getting ready for this drought. If you look closely, what’s really happening is that the state is pioneering a whole set of strategies and ideas that communities everywhere should grab hold of for themselves. WITH THE WATER RECYCLING ORDINANCE, San Francisco’s officials were doing something rare when it comes to water: They were acknowledging reality, understanding that the way to plan for the turbulent future of water is by changing how people use it – not by hoping it will rain. San Francisco has done this

but it will be soon enough. 15


before. California’s last devastating drought stretched from 1987 to 1992, and once it ended, the city never relaxed its drought rules. Instead, it embarked on a determined effort to get residents and businesses to use even less water, permanently. Today, two-thirds of all homes in San Francisco have lowflow toilets, extraordinary for a city of that age and density. Half of all homes in San Francisco have waterefficient washing machines. Since the last major drought, San Francisco has cut daily residential water use from 59 gallons per person to 49 gallons per person – less than half the U.S. average. Scott Wiener is the city supervisor who wrote the water recycling law passed in June. “Water is kind of nuclear in California. We’ve been fighting about it for 150 years,” he says. “This is the time to take bold policy steps. A crisis has a way of opening up political opportunities to make policy changes that would have been unthinkable 5 or 10 years before.” San Francisco’s efforts are mirrored across the state. California has a famously convoluted water system – the engineering is complicated, with river-size volumes of water moved from the north down to farmers in the Central Valley and the sprawling metropolises of the south. The state’s system of water rights and water law is equally complex, with farmers growing similar crops entitled to very different quantities of water at very different prices. But in the southern cities in the last decade, a new ethic has taken hold: the idea that the cities need to strive for “water independence,” that relying on water imported from

16

Northern California and from the Colorado River doesn’t make them secure, but dangerously vulnerable. The Metropolitan Water District of Southern California is the vast water agency that stretches from Oxnard, north of Los Angeles, to the Mexican border 200 miles south, supplying water for 19 million people – half the state’s population. Since 1990, the number of people in the MWD has increased by four million, but the district uses less water in 2015 than it did in 1990. Southern California has added enough people to fill Portland and Las Vegas without adding any new water. All the population and economic growth that’s powered the region in the last 25 years has been accomplished while conserving water. Water conservation often gets trivialized – low-flow showerheads, faucet aerators – in ways that disguise its power. But Southern California is just starting to change the water culture. Although use of recycled water in California has doubled in the last 20 years, it still accounts for only an estimated 11 percent of total urban water use in the state. Even when it comes to rain, Southern California is just getting started. The region’s sewers collect all the water that falls on urban areas as rain – often in just a few storms a year, but in huge volumes – and rather than saving it for future use, the system dumps that water into the Pacific. But there are signs that people understand that the world has changed, that the Southern California culture needs to adapt. This spring, the MWD announced a dramatic expansion of a rebate program that encourages residents to remove their turf lawns and replace them with droughttolerant plants. Las Vegas pioneered

such “cash for grass” programs. Southern California’s entire $340 million in rebates was spoken for in a matter of weeks – with homeowners committing to remove 170 million square feet of lawn, the same amount it took Las Vegas 16 years to remove. CALIFORNIA'S FARMERS are a more complicated story. As a group, they have adapted with determination and creativity to increasing competition for water. They also have done real damage to the state’s water resources as they have struggled to survive the current drought. In 1980, almost no farmers in California used micro- or drip-irrigation. Today, one-third of the state’s irrigated acres depend on these techniques, and the amount of land that is floodirrigated – a practice as imprecise as it sounds – has been cut in half. Putting water right where the plants are, as drip irrigation does, means that although farmers apply 20 to 30 percent less water overall, individual plants get more water, and fields with precise irrigation have dramatically higher yields. Between 2000 and 2010, California farmers increased the value of their harvest by 40 percent for a fixed amount of water – in part through smarter irrigation, in part by switching to higher-value crops like the almonds and pistachios that have gotten so much attention during the drought. But California has a long tradition of allowing anyone to pump groundwater from underneath their own land – not only without paying for it but without even recording how much they use. In fact, it is the only state in which groundwater has been largely unregulated. And in the drought, farmers are making up for the

Rotary Thailand 16


water they have lost under carefully regulated formal irrigation systems by pumping from wells – replacing about 70 percent of their missing water. The unregulated pumping is over-drafting California’s aquifers, taking far more water out than will soon be replaced, even when rain does return. In some places in the Central Valley, the land itself is subsiding an inch a month or more because of the pumping, and the wells of towns and hundreds of homes have gone dry. The farmers have been trading successful harvests in the drought for future water security. “People are counting on digging deeper and deeper into the ground, into the ‘water account,’ with the assumption that it will never dry up,” says David Orth, general manager of the Kings River Conservation District, which sits in the middle of the Central Valley, California’s agricultural heartland. “I’m not sure there’s much more room for resiliency.” But here too, the current drought will prove to have been a turning point. In the fall of 2014, the legislature passed a far-reaching law that will not just regulate groundwater – it will permanently protect the state’s aquifers. Every aquifer in California will be mapped and measured, and farmers and communities will be allowed to pump out only the amount of water that will be returned, by nature or with human help. All groundwater will be managed as a permanently sustainable resource. The sweeping groundwater law – considered the most advanced in the nation – is an example of how the crisis has opened the way for policy changes that would have been unimaginable just a few years ago, in

17

a state where pumping groundwater has been considered a matter of personal freedom. Although the final rules balancing pumping and restoration don’t take effect until 2042, California farmers will have to adapt their practices again. California will have to pioneer ways to put rain and floodwater more efficiently back into aquifers. WATER PROBLEMS CAN BE DRAMATIC, they can have far-reaching impact, but ultimately water problems are local. For people who live in Chicago or Dallas, not eating California tomatoes and lettuce, or skipping the California wine, won’t help battle the drought. And while California has weathered the worst drought in its history with remarkable resilience, there is a limit to the state’s shortterm adaptability. There’s no telling how long the drought will last. Since 2001, California has had only four wet years, or even average rainfall years. Californians may not be living in a drought. They may be living in their new climate. Every community in the United States – indeed, in the developed world – has a water system, and every one of those water systems is at risk. But where the water seems to be flowing fine right now, residents may not see the risk, or want to – and that’s as true of water professionals as it is of ordinary people. Any water utility should be asking three basic questions: How is the water supply we rely on changing? How would we cope if our water availability were 10 or 20 or 30 percent less than it is now? What can we do to build a cushion for our water supply and our water customers – can we teach people to use less, or create

a second supply by reusing either wastewater or storm water? If the answers to those questions are reassuring, then asking them is neither painful nor expensive. If the answers are scary, then asking the questions now is much less painful and expensive than it would be after waiting even six months or a year. Those are the blunt lessons from the California drought that people anywhere – whether in arid areas like the Southwest or flush areas like the Great Lakes – should be taking to heart. California has held up so well this time precisely because of all the slow but steady change in water policy and water attitude over the last 20 years. The state could be in crisis if the drought lasts another year or two – but it would have been in crisis already if not for the work already done. And no one in California is waiting around for the rain to return. From the future skyscrapers of San Francisco to the future farmers of the Central Valley, Californians are putting in place innovative practices that will give their state a wider measure of resilience for the next drought. Interested in water issues? Learn more about this area of focus at www.rotary.org/water, or get involved with the Water and Sanitation Rotarian Action Group at www.wasrag.org. What water issues affect your community? Is your club working to address them? Tell us about it at rotarian@rotary.org or at facebook. com/therotarianmagazine.


ภาค 3330‫‏‬ สโมสรโรตารีราชบุรมี อบเงินช่วย เหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย น�้ ำ ท่ ว มและ มอบอาหารเครือ่ งดืม่ เครือ่ งนุง่ ห่ม ให้ แ ก่ ช าวชุ ม ชนโรตารี ร ่ ม รื่ น พัฒนา จ� ำนวน 18 ครอบครัว เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน

สมาชิกสโมสรโรตารีภูเก็ตเซ้าท์ และผูม้ จี ติ อาสาร่วมกันเลีย้ งอาหาร กลางวัน (หมูกระทะ ไอศรีม ขนม เครือ่ งเขียน ของใช้) แก่เด็กติดเชือ้ เอดส์ ณ สถานสงเคราะห์เด็กบ้าน เพื่อชีวิต จ.ภูเก็ต

สโมสรโรตารีคอหงส์จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์รับบริจาคโลหิต โดยร่วมสนับสนุนอาหารอาหารว่างและของที่ระลึกส�ำหรับ ผู้บริจาคโลหิต ที่บริษัท ทรอปิคอลแคนนิ่ง จ�ำกัด มีผู้เข้าร่วมบริจาคโลหิตครั้งนี้ 74 คน รวมโลหิตที่ได้รับ 25,900 ซีซี สมาชิ ก สโมสรโรตารี บ้านโป่งร่วมกับเทศบาล ต� ำ บ ล ก รั บ ใ ห ญ ่ ท� ำ โครงการปลูกป่าเทิดพระ เกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ ปล่อยปลาถวายเป็นพระราช สโมสรโรตารีสนามจันทร์ สร้างสรรค์กิจกรรมดี ๆ ด้วยสองมือเรา กุศล เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ณ พุทธสถาน 150 ไร่ ต.กรับใหญ่ Hands on Project ภายใต้ชอื่ กิจกรรม "สร้างสนามเด็กเล่นโดยใช้การ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี เรียนรูข้ องสมองเป็นฐาน Brain Based Learning (BBL) Playground for Children" ณ โรงเรียนวัดรางปลาหมอ จ.นครปฐม 18 Rotary Thailand 18


ภาค 3340‫‏‬

สโมสรโรตารีพลูตาหลวงจัดโครงการปลูกจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 1 “คิดก่อนทิ้ง Think First By Kids” ให้แก่เด็ก ๆ ในพื้นที่ ณ หน่วยบัญชาการนาวิโยธิน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

สโมสรโรตารีจันทบูรท�ำโครงการเลี้ยงอาหารกลางวัน ณ สถานสงเคราะห์คนชราบ้านจันทบุรี พร้อมทั้งมอบของอุปโภค - บริโภคให้แก่คนชราจ�ำนวนหนึ่ง

สโมสรโรตารีอ�ำนาจเจริญร่วมกับสโมสรโรตารีธนบุรี มอบเครื่องกรองน�ำ้ ดื่มสะอาดให้วัดอ�ำนาจเจริญ

19


ภาค 3350‫‏‬

สโมสรโรตารีบางรักร่วมโครงการฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกให้นักเรียนโรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม สโมสรโรตารีเจริญนครร่วมกับสโมสร โรตารีเชียงราย และสโมสรโรตารีคมู่ ติ ร จากต่างประเทศ (สโมสรโรตารีไทเป หลงหวา, เกาลูน อีส ภาค 3450, ไทเป ดรากอน ภาค 3520, โตชิกิ ตะวันตก ภาค 2550, โอมาการิ ภาค 2540, และ ภาค 2820 ญี่ปุ่น) มอบเตียงคนไข้ให้ แก่โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร ในจังหวัดเชียงราย จ�ำนวน 12 เตียง ในโครงการ GLOBAL GRANT # 1528099 สโมสรโรตารีบางเขนท�ำพิธีมอบประกาศ เกี ย รติ คุ ณ อาชี พ ดี เ ด่ น และมอบเงิ น สนับสนุน 10,000 บาทให้แก่นายสุวรรณ ฉัตร พรหมชาติ "แท็กซีจ่ ติ อาสา หัวใจทอง" เพื่อการท�ำงานช่วยเหลือสังคม และชื่นชม ถึงความมีนำ�้ ใจงาม รับส่งพระสงฆ์ สามเณร แม่ชี คนพิการ คนตาบอด ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ที่ไม่สามารถเดินได้ให้นั่งรถฟรี สโมสรโรตารีกรุงเทพบางล�ำพูและสโมสร โรตารีปทุมวัน ร่วมกันจัดงานส่งเสริมอาชีพ ในนามบริการด้านอาชีพของภาค 3350 จัด อบรมเรื่องการสร้างคุณค่าในอาชีพ และ สอนวิธีการท�ำอาหารเจแก่ผู้ที่สนใจ

20

Rotary Thailand 20


ภาค 3360‫‏‬

สโมสรโรตารีช้างเผือกเชียงใหม่ร่วมงานเปิดโรงพยาบาลฝางและมอบขาเทียมพระราชทานให้กับผู้พิการ รวมทั้งรับฟังแนวทางการจัดหาอาชีพให้ยั่งยืน สโมสรโรตารีเถินดาวน์ทาวน์ ร่วมกับศาสนจักรพระเยซูคริส แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย และสโมสรโรตารีเวียงโกศัย ร่วม กิจกรรมแจกมุ้งป้องกันยุงจ�ำนวน 500 หลัง ที่บ้านแม่ทราย อ.ร้องกวาง จ.แพร่ เพื่อรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก

สโมสรโรตารีแพร่พร้อมด้วย YE และนักปัน่ จักรยานในจังหวัดแพร่ ปั ่ น จั ก รยานเพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ กิจกรรม End POLIO Now ใน วัน Rotary's World Polio Day 24 ตุลาคม ที่ผ่านมา

21

สโมสรโรตารีในจังหวัดล�ำปางและอุตรดิตถ์มอบ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งช่ ว ยคนพิ ก ารทางการเคลื่ อ นไหว มูลค่า 8,369,861 บาท


มุมมองโรตารี

Rotary in Perspective

วิสัยทัศน์โรตารี Rotary Vision

ช�ำนาญ จันทร์เรือง อดีตผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ โรตารีสากล ปี ๒๐๑๑ - ๒๐๑๒

การทีเ่ ราจะพูดถึง Rotary Vision หรือในภาษาไทยว่าวิสยั ทัศน์หรือมโนทัศน์เกี่ยวกับโรตารี ซึ่งหมายถึง การมองภาพอนาคต ของโรตารี แล้วมุ่งสู่จุดหมายปลายทางที่เราต้องการนั้น เราจ�ำเป็น ที่จะต้องรู้จักโรตารีในหลายๆ มุมมอง แน่นอนว่าเราไม่สามารถน�ำ เฉพาะมุมมองใดมุมมองหนึ่งหรือเพียงจุดใดจุดหนึ่งมาวิเคราะห์ได้ เราต้องดูภาพรวมทั้งหมดแล้วน�ำมาบูรณาการ (Integrate) โดย ผมจะกล่าวถึงจุดก�ำเนิดของโรตารี การเปลี่ยนผ่านจากสโมสรแห่ง มิตรภาพสูส่ โมสรแห่งการให้บริการ นิยามหรือความหมายของโรตารี เอกลักษณ์ของโรตารี วัฒนธรรมองค์กร แล้ววิเคราะห์ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และปัญหาอุปสรรค พร้อมกับข้อคิดเห็นโดยอาศัย แนวทางบางส่วนทีท่ า่ น อผภ.สวัสดิ์ ผดุงมาตรวรกุล ได้เคยวิเคราะห์ ไว้นานแล้วแต่ทนั สมัยอยูเ่ สมอน�ำมาเสนอเพือ่ พิจารณาประกอบด้วย แม้วา่ องค์ความรูใ้ นโรตารีจะเป็นการบูรณาการ (Integration) ของศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกันก็ตาม แต่เมื่อวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งแล้ว จะเห็นว่า โรตารีเป็นศาสตร์แห่งมิตรภาพ (Friendship) ที่มิได้แบ่ง แยกหมู่เหล่า สีผิว เป็นการสร้างมิตรภาพระหว่างกัน ทั้งด้านอาชีพ ศาสนา ความเชือ่ วัยวุฒิ คุณวุฒิ ความรูค้ วามสามารถ แม้วา่ ช่วงหนึง่ การเป็นสมาชิกโรตารีจะถูกแบ่งแยกด้วยเรื่องเพศ แต่ต่อมาก็ได้ถูก แก้ไขแล้ว แม้แต่ความเชือ่ ทางการเมืองเองก็ตามทีบ่ างครัง้ อาจถูกกีดกัน หรือถูกห้ามเช่นในประเทศที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ก็ พิสจู น์แล้วว่ามิตรภาพจากโรตารีมคี วามจริงใจ มิได้แทรกแซงต่อการ บริหารการปกครองของชาติใดๆ ปัจจุบนั ไม่วา่ รัสเซีย จีน มองโกเลีย ลาว กัมพูชาต่างก็มีสโมสรโรตารีแล้วหรือแม้แต่ประเทศที่นับถือ ศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัดในตะวันออกกลางที่แต่เดิมปฏิเสธ โรตารี แต่ในปัจจุบันนี้หลายประเทศมีสโมสรโรตารีที่เข้มแข็ง เช่น จอร์แดน คูเวต ซาอุดิอาระเบีย เป็นต้น

22

จุดก�ำเนิดของโรตารี

โรตารีได้ก่อเกิดมาในโลกนี้นับอายุได้ร้อยกว่าปีแล้ว โดย ก�ำหนดให้วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๑๙๐๕ เป็นวันก่อตั้งสโมสรโรตารี แห่งแรกขึ้นในโลก นั่นคือ สโมสรโรตารีชิคาโก ประเด็นที่น่าวิเคราะห์คือแนวความคิดของบุคคลที่ร่วม ก่อตั้ง ตลอดจนวิเคราะห์สภาพและสิ่งแวดล้อมในยุคนั้นว่าอะไรคือ สิ่งบันดาลใจให้คณะบุคคลหนึ่งร่วมอุดมการณ์ในการก่อตั้งสโมสร อีกทัง้ ได้กำ� หนดเป้าหมายไว้ขนาดใดหรือไม่ มีความตัง้ ใจว่าจะท�ำให้ สโมสรโรตารีขยายตัวมากมายดังเช่นทุกวันนี้หรือไม่ ในเบื้องต้นนี้ เรามาวิเคราะห์ถึงสถานภาพและอาชีพของ คณะบุคคลที่ร่วมกันก่อตั้งโรตารีครั้งแรก นั่นคือ พอล พี แฮร์ริส (Paul P. Harris), ซิลเวสเตอร์ ชิล (Silvester Schiele), กัส โลว์ (Gustavus H. Loehr) และ ฮิแรม โชเรย์ (Hiram E. Shorey) ซึ่ง บุคคลทัง้ สีล่ ว้ นต่างสาขาอาชีพ ซิลเวสเตอร์ ชิล เป็นพ่อค้าถ่านหิน กัส โลว์ เป็นวิศวกรเหมืองแร่ ฮิแรม โชเรย์เป็นช่างตัดเสื้อบุรุษ แต่พอล แฮร์ริส เป็นนักกฎหมาย ทั้งนี้ พอล แฮร์ริส มิได้มีอาชีพเป็นเพียงนัก กฎหมายเท่านั้น เขาผ่านประสบการณ์ด้านธุรกิจที่หลากหลาย เช่น เป็นผู้สื่อข่าว นักหนังสือพิมพ์ นักแสดง พนักงานโรงแรม พนักงาน ขายสินค้าและอื่นๆ อีกมากมาย อีกทั้งได้มีโอกาสเดินทางไปตาม สถานที่ต่างๆ ทั้งต่างมลรัฐ และต่างประเทศ ท�ำให้ได้เห็นและเข้าใจ ต่อสภาพสังคมที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่างหลากหลาย ส่วนสถานภาพหรือวิถีชีวิตส่วนตัวได้สะท้อนว่า พอล แฮร์รสิ นัน้ เป็นบุคคลทีข่ าดความอบอุน่ ในครอบครัวโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในวัยเด็ก กล่าวคือบิดามารดาของท่านท�ำธุรกิจไม่ประสพความ ส�ำเร็จ มีความเดือดร้อนทางด้านเศรษฐกิจ และพอล แฮร์ริส เติบ ใหญ่โดยการเลี้ยงดูของคุณปู่และคุณย่า ตัวของพอล แฮร์ริสเองก็

Rotary Thailand 22


ไม่ค่อยมีความสุขกับชีวิตรักหรือชีวิตครอบครัวนัก ตอนหนุ่มๆ ท่าน เคยผิดหวังในเรือ่ งของความรัก แม้ตอ่ มาเมือ่ เป็นโรแทเรียนแล้วจะมี คู่ครองในภายหลังก็ตาม แต่ก็ไม่ได้มีบุตรด้วยกัน ส่วน กัส โลว์ นั้นก็ ครองตัวเป็นโสดจนเสียชีวติ เมือ่ อายุหา้ สิบสามปี อีกสองท่านนัน้ ไม่มี รายงานถึงชีวติ ส่วนตัวหรือชีวติ ครอบครัวแต่อย่างใด เพียงคาดเดาว่า ในตอนเริม่ ก่อตัง้ โรตารีนนั้ กลุม่ บุคคลทัง้ สีท่ า่ นมีชวี ติ ค่อนข้างเอกเทศ และเงียบเหงา การที่พอล แฮร์ริส เป็นนักกฎหมายและเป็นที่ปรึกษา กฎหมายให้กับเพื่อนต่างสาขาอาชีพ จึงมักจะมีการนัดร่วมรับ ประทานอาหารด้วยกัน ได้มีการหยิบยกถึงประสบการณ์ในการ ประกอบวิ ชาชี พ และความส�ำเร็จในผลงานด้านอาชีพตลอดจน อุปสรรคและปัญหาทางด้านอาชีพอีกทัง้ การเอารัดเอาเปรียบของนัก ธุรกิจทีไ่ ร้จรรยาบรรณมาพูดคุยกันในระหว่างรับประทานอาหารด้วย กัน จากจุดนี้ ท�ำให้เกิดแนวคิดร่วมกันในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น โดยผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนหรือ rotate กันเป็นเจ้าภาพจัดเลี้ยง อัน เป็นทีม่ าของชือ่ สโมสรโรตารีโดยมี ซิลเวสเตอร์ ชีล เป็นนายกสโมสร คนแรก กล่าวได้ว่าโรตารีเกิดจากมิตรภาพของบุคคลหลากหลาย อาชีพทีม่ งุ่ ส่งเสริมจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพให้เป็นประโยชน์ตอ่ สังคม และส่วนรวม

การเปลีย่ นผ่านจากสโมสรแห่งมิตรภาพสูส่ โมสรแห่งการ ให้บริการ

จากจุดก�ำเนิดของโรตารีที่เป็นการพบปะกันระหว่างคน หนุ่ม ๔ คน ร่วมกันตั้งสโมสรขึ้นมา ซึ่งเป็นลักษณะที่เน้นไปในเรื่อง ของมิตรภาพ (Friendship) และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางด้าน วิชาชีพในระยะแรก ซึ่งเป็นการรวมตัวกันแบบหลวมๆ ยังไม่มีเป้า หมายในการท�ำกิจกรรมอื่นใด จนต่อมาได้มีการริเริ่มแนวความคิด ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ร่วมกัน โดยสโมสรโรตารีชิคาโกได้ตกลง พร้อมใจกันสร้างส้วมสาธารณะขึน้ เป็นแห่งแรกในอีกสองปีตอ่ มา คือ ปี ๑๙๐๗ ในการร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ครั้งแรก ได้สร้างความ รู้สึกแปลกใหม่ขึ้นแก่สมาชิกและผู้พบเห็น คือ ความรู้สึกปลาบปลื้ม ยินดี ความสุขใจที่ได้เป็นผู้ให้ ความชื่นชมในความเสียสละและการ บ�ำเพ็ญประโยชน์ จึงท�ำให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นของสโมสร คือมี จ�ำนวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้นและได้ผลักดันให้เกิดสโมสรใหม่ขึ้น และ เมื่อมีหลายสโมสรที่มีอุดมการณ์เดียวกัน จึงรวมตัวกันเป็นสมาคม โดยมี พอล แฮร์ริส เป็นประธาน ซึ่งได้พัฒนามาเป็นโรตารีสากลใน ปัจจุบัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่านอกเหนือจากมิตรภาพแล้ว การบ�ำเพ็ญ

23

ประโยชน์เป็นปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้องค์กรโรตารีเจริญเติบโตมาจนถึง ปัจจุบัน เพราะล�ำพังเพียงแต่มิตรภาพอย่างเดียว ไม่สามารถสร้าง ความเจริญเติบโตได้ขนาดนีแ้ ละการบ�ำเพ็ญประโยชน์ได้ขยายตัวจน เกิดเป็นอุดมการณ์ที่เรียกว่า Service Above Self อย่างไรก็ตามมิตรภาพก็เป็นสิ่งที่ยังคงมีความส�ำคัญอยู่ ควบคู่ไปกับการบ�ำเพ็ญประโยชน์และได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดย เฮอร์เบิรท์ เจ เทเลอร์ (Herbert J. Taylor) ได้เสนอบททดสอบ สี่แนวทาง (The Four - Way Test) อันเลื่องชื่อ แม้ว่าบททดสอบ สี่แนวทางนี้จะเกิดจากแนวความคิดทางด้านธุรกิจหรือด้านอาชีพ แต่สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างมิตรภาพให้เติบโตและมี ความยั่งยืนได้

นิยามของโรตารี

“โรตารีคอื องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจากทัว่ โลก ซึง่ บ�ำเพ็ญประโยชน์เพือ่ เพือ่ นมนุษย์ ส่งเสริมมาตรฐานจรรยาบรรณใน ทุกวิชาชีพ พร้อมทั้งช่วยสร้างไมตรีจิตและสันติสุขในโลก” (Rotary is an organization of business and professional person unite worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations and help build goodwill and peace in the world.) ฉะนั้น จากนิยามที่ว่าโรตารีเป็นองค์กรของนักธุรกิจและ วิชาชีพนัน้ ย่อมหมายถึงว่า สมาชิกของสโมสรหรือโรแทเรียนจะต้อง มีอาชีพเป็นของตนเอง หรือนัยหนึง่ ต้องมีรายได้เป็นของตนเอง ทัง้ นี้ เพราะโรแทเรียนทุกคนมีภาระในการช�ำระค่าบ�ำรุงสโมสร ค่าบ�ำรุง ภาค และค่าบ�ำรุงโรตารีสากล ค�ำว่านักธุรกิจและวิชาชีพนั้นหมายความรวมถึงพนักงาน หรือข้าราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ หรือองค์กรต่างๆ ด้วย อาทิ นายธนาคาร นายหน้า เจ้าของร้านค้า ฯลฯ เพราะผู้ท�ำธุรกิจ และผู้รับราชการทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชนและภาครัฐ ล้วน ต้องเป็นนักบริหารจัดการขององค์กรไม่ส่วนใดก็ส่วนหนึ่งหรือเป็น เจ้าของกิจการเอง แต่ทั้งนี้ต้องเป็นกิจการที่มีผลด้านบวกต่อสังคม แต่เดิมนั้นโรตารีสากลก�ำหนดให้แต่ละสโมสรรับสมาชิก หลายๆ อาชีพ โดยเน้นว่าสมาชิกแต่ละคนควรเป็นตัวแทนของแต่ละ สาขาอาชีพ แต่ต่อมาก็ได้มีการแก้ไขข้อบังคับฯ หลายครั้ง อาทิ ได้ อนุญาตให้บางสาขาอาชีพสามารถเป็นสมาชิกได้โดยไม่จำ� กัดจ�ำนวน เช่น อาชีพนักบวช นักการศาสนา นักหนังสือพิมพ์ ผู้สื่อข่าว นักการ ทูต เป็นต้น และล่าสุดก็มีการแก้ไขข้อบังคับฯ ให้สโมสรโรตารีหนึ่ง สามารถมีประเภทอาชีพซ�้ำได้ถึง ๕ คน และสโมสรที่มีสมาชิกเกิน ๕๐ คน ยังเพิ่มได้อกี ๑๐% ซึง่ หากวิเคราะห์โดยละเอียดแล้วจะเห็น


ว่าประเภทอาชีพมิใช่ปัญหาในการรับสมาชิกใหม่แต่อย่างใด

เอกลักษณ์ของโรตารี

เอกลักษณ์พเิ ศษของโรตารี คือ การก�ำหนดวิสยั ทัศน์ในการ บริหารและการให้บริการ โดยเริม่ จากประธานโรตารีสากลแต่ละปีจะ ก�ำหนดคติพจน์ (Theme) ของตนเป็นธงน�ำในการบริหารและการให้ บริการ เช่น Be a Friend, Sow the Seeds of Love, Lead the way ,The Future of Rotary Is in Your Hands และล่าสุดคือ Be a Gift to the World ซึ่งคติพจน์ต่างๆ เหล่านี้ถือได้ว่าเป็นวิสัยทัศน์ ต่อการบริหารและบริการของโรตารีทั่วโลกในแต่ละปี โดยประธาน โรตารีสากลจะส่งผ่านให้กบั ผูว้ า่ การภาคในการอบรมผูว้ า่ การภาครับเลือก (International Assembly) อีกทั้งยังมีการเสนอภารกิจ (Mission) และเป้าหมาย (Objective หรือ Goal) เพื่อน�ำไปปฏิบัติอีกด้วย Vision = คติพจน์ของแต่ละปี Mission = การขยายสโมสร การเพิ่มสมาชิก Objective = เพิม่ สโมสรภาคละ ๑-๒ สโมสร /เพิม่ สมาชิก ให้ได้อย่าง ๑ คนสุทธิหรือ ๑๐% ฯลฯ ส่วนการก�ำหนดกลยุทธ์ (Strategy) นั้น เป็นภารกิจของ แต่ละสโมสรและภาค ซึ่งน�ำโดยนายกแต่ละสโมสรและผู้ว่าการภาค แต่ละภาค สโมสรใดหรือภาคใดไม่มีกลยุทธ์ในการบริหารก็ยากที่ จะท�ำพันธกิจให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ แม้ว่าภายในสโมสรอาจจะมี มิตรภาพในหมูส่ มาชิกทีแ่ น่นแฟ้น มีเปอร์เซ็นต์การประชุมสูง แต่มไิ ด้ ก่อให้เกิดพลังในการให้บริการแล้ว ก็ปราศจากวิญญาณของโรตารี เป็นเพียงการที่หมู่เพื่อนสนิทมาพบปะกันเท่านั้นเอง ส่วนเอกลักษณ์เฉพาะของโรตารี นอกจากจะมีสัญลักษณ์ ฟันเฟือง ๒๔ ซี่ ซึ่งมีความหมายว่าให้บริการ ๒๔ ชั่วโมง องค์กร โรตารียงั มีเอกลักษณ์เฉพาะอีกคือ ทุกสโมสรต้องมีการประชุม มีการ แบ่งหน้าที่ในองค์กร และที่ส�ำคัญดังที่กล่าวมาแล้วคือต้องมีการจัด กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ นอกจากนี้เอกลักษณ์เฉพาะอีกอย่างหนึ่งก็คือ การด�ำรง ต�ำแหน่งใดๆ ของ โรตารีจะมีอายุเพียง ๑ รอบปีบริหารเท่านัน้ ยกเว้น บางต�ำแหน่ง เช่น กรรมการบริหารโรตารีสากล (Board of Director) มีระยะเวลา ๒ ปี เป็นต้น

วัฒนธรรมองค์กร

แม้ ว ่ า เอกลั ก ษณ์ ข องโรตารี จ ะมี ลั ก ษณะเฉพาะที่ เ ป็ น ประเพณีปฏิบัติด้วยระเบียบข้อบังคับเดียวกันก็ตาม แต่ในสโมสร แต่ละแห่งก็จะมีวัฒนธรรมแตกต่างกันไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ ๑) ขนาด ของสโมสรและวิสยั ทัศน์ของผูบ้ ริหาร ๒) ทีต่ งั้ ของสโมสร ๓) ก�ำหนด วัน เวลา ในการประชุมสโมสร ๔) อัตราค่าบ�ำรุง และค่าใช้จ่ายต่างๆ

24

๕) วิธีการด�ำเนินการประชุมประจ�ำสัปดาห์ ๑) ขนาดของสโมสรและวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร หมาย ถึงจ�ำนวนสมาชิกของสโมสรโรตารีหนึ่งๆ ที่มีมากหรือน้อยเพียงใด สโมสรเล็กอาจจะมีสมาชิกต�่ำกว่าสิบ จนถึงสโมสรใหญ่ที่มีสมาชิก จ�ำนวนเป็นร้อยจนถึงหลายร้อยคน ดังนั้น ขนาดของสโมสรมีส่วน สัมพันธ์ในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร ในขณะเดียวกันวิสัยทัศน์และ ภาวะผู้น�ำ (Leadership) ของผู้บริหารสโมสรก็มีส่วนส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนวัฒนธรรมของสโมสรให้เกิดพลัง กล่าวคือหากผู้บริหาร สโมสรขาดวิสยั ทัศน์หรือขาดภาวะผูน้ ำ� ก็ทำ� ให้สโมสรมีแต่ทรงกับทรุด ไม่มกี จิ กรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ใดๆ อดีตประธานโรตารีสากลท่านหนึง่ (ขออภัยผมจ�ำชื่อท่านไม่ได้) ได้เปรียบเปรยผู้บริหารเช่นนี้ว่าเสมือน เป็นสัญลักษณ์ของช้อนและส้อม (Forks and Spoons) คือ มาเพื่อ พบปะและรับประทานอาหารเท่านั้น แต่ถ้าผู้บริหารสโมสรมีวิสัย ทัศน์ มีภาวะผู้น�ำดี จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ผลักดันสมาชิกให้ ท�ำกิจกรรมครบทัง้ ๕ ฝ่ายได้ ก็เป็นสัญลักษณ์ของกุญแจและอุปกรณ์ เครื่องมือ (Keys and Tools) ที่พร้อมลงมือให้บริการชุมชนและ บริการมนุษยชาติ ๒) ที่ตั้งสโมสร บ่งบอกถึงรสนิยมโดยรวมของสมาชิก สโมสร หลายๆ สโมสรใช้สถานที่ห้องประชุมของโรงแรม มีตั้งแต่ โรงแรมระดับห้าดาวถึงไม่มีดาว หลายสโมสรใช้ภัตตาคาร ร้าน อาหาร บ้างก็ใช้อาคารสถานที่ทางศาสนา และบางสโมสรก็มีสถาน ที่เป็นของตนเอง โดยการเช่าหรือจัดซื้อ เช่น ในสหรัฐอเมริกาหรือ ในอาร์เจนตินา เป็นต้น ๓) วันและเวลาในการประชุม บางสโมสรใช้ช่วงเวลา อาหารเช้า เช่น สโมสรในสหรัฐอเมริกาหรือยุโรป (ภาค ๓๓๖๐ ก็มคี อื สโมสรโรตารีเชียงใหม่ดอยสุเทพ) โดยประชุมกันก่อนจะเริ่มท�ำงาน ประจ�ำวัน สโมสรโรตารีในกรุงเทพฯ โดยมากจะประชุมมื้อกลางวัน ส่วนสโมสรในต่างจังหวัดมักประชุมในช่วงค�่ำหรือมื้อเย็น ๔) การก�ำหนดอัตราค่าบ�ำรุง และค่าใช้จา่ ย ในการด�ำรง อยู่ของสโมสรย่อมต้องมีค่าบ�ำรุงและค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะค่าบ�ำรุง ภาคและค่าบ�ำรุงโรตารีสากลทั้งสองอย่างนี้มีอัตราตายตัวเท่ากันทุก สโมสร ส่วนค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ภายในสโมสร เช่น ค่าอาหาร ค่าส�ำนักงาน ค่าเอกสาร ฯลฯ ในส่วนนี้เป็นหน้าที่ที่สมาชิกสโมสรต้องร่วมกัน ก�ำหนดว่าจะเรียกเก็บคนละเท่าใด ๕) วิธีการด�ำเนินการประชุมประจ�ำสัปดาห์ แม้จะมีการ ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับของสโมสรว่าวาระการประชุมจะประกอบไป ด้วยอะไรบ้าง เช่น การสนเทศโรตารี การบรรยายพิเศษ ฯลฯ แต่ วัฒนธรรมของแต่ละสโมสรอาจจะแตกต่างกันในประเด็นปลีกย่อย เช่น พิธีเปิดและปิดการประชุม มีวัฒนธรรมองค์กรที่หลากหลาย บางสโมสรใช้ วิ ธี ก ารปรบมื อ บางสโมสรเคาะฆ้ อ งหรื อ กระดิ่ ง

Rotary Thailand 24


บางสโมสรมีการร้องเพลงชาติ บางสโมสรไม่มี ฯลฯ และเมื่อหลัง เสร็จสิ้นการประชุม เช่น สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือก็มีกิจกรรม ชมรมข้าวต้ม เป็นต้น ส่วนระยะเวลาการประชุมนัน้ ส่วนใหญ่จะอยู่ ระหว่าง ๑ ถึง ๑ ชั่วโมงครึ่ง ถึงแม้จะแตกต่างไปในรายละเอียด แต่ โดยภาพรวมแล้วการประชุมยังคงมุ่งเน้นไปที่มิตรภาพ สร้างความรู้ และมุ่งการบ�ำเพ็ญประโยชน์ เหมือนกันหมด

วิเคราะห์กระบวนการ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ อุปสรรคของโรตารี

เมื่อวิเคราะห์ถึงผลลัพธ์หรือผลผลิตของกระบวนการของ โรตารีแล้วผมพบว่า ในด้านตัวบุคคลหรือโรแทเรียนผูเ้ ป็นสมาชิกของ สโมสรที่ยังคงอยู่กับโรตารีและผ่านกระบวนการของโรตารีที่ได้รับ การพัฒนาแนวคิดต่างๆ นัน้ ได้พสิ จู น์แล้วว่าเป็นบุคคลทีม่ อี ดุ มการณ์ ค่อนข้างสูง มีจดุ ยืน มีมนุษย์สมั พันธ์ทดี่ ี มีภาวะผูน้ ำ� และเป็นผูท้ เี่ สีย สละเห็นแก่ส่วนรวม ส่วนผู้ที่มุ่งหวังประโยชน์ส่วนตนหรือคิดว่าการได้เพื่อน เพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนนัน้ กระบวนการของโรตารีและ เวลาจะเป็นตัวก�ำจัดบุคคลเช่นนั้นออกไปจากองค์กรในที่สุด ผมขออนุญาตอธิบายในเชิงวิชาการว่าในกระบวนการ หรือ process ของโรตารีนั้น เมื่ออาศัยปัจจัยน�ำเข้า ซึ่งมีคนที่เป็น สมาชิกของสโมสรเป็นหลัก และมีกระบวนการบริหารจัดการ ตลอด จนกิจกรรมต่างๆ ของสโมสร ของภาค และนโยบายของโรตารีสากล เมื่อผ่านขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ก็จะได้ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม ส่วนใดที่เป็นส่วนเกิน ซึ่งหมายถึงสมาชิกที่ขาดอุดมการณ์และวิสัย ทัศน์ก็จะถูกก�ำจัดออกไปโดยธรรมชาติ หรือแม้แต่สโมสรที่ด้อย ประสิทธิภาพก็จะอยู่ได้ไม่ยืนยาว อีกทั้งกิจกรรมที่สโมสรร่วมกัน กระท�ำ ก็จะถูกคัดกรองจนเป็นที่ยอดเยี่ยมตามค�ำขวัญที่ว่า “One Profits Most Who Serves Best” ซึ่งแปลเป็นไทยว่า “ผู้ได้กุศล มากที่สุดคือผู้ที่บำ� เพ็ญประโยชน์ดีที่สุด”หรือพูดง่ายๆ ว่า “ยิ่งให้ ยิ่งได้” นั่นเอง ในกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาร้อยกว่าปีของ โรตารีต่อการบริหารจัดการในหลักของการให้บริการนั้น มักจะก่อ เกิดแนวคิดแนวบริหารและกิจกรรมใหม่ๆ ที่เราเรียกว่า นวัตกรรม (Innovation) อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น แนวคิดของอาร์ช คลัมภ์ (Arch Klumph) ในการก่อให้เกิดมูลนิธิโรตารี การก่อเกิดแนวคิด บททดสอบสี่แนวทาง (The Four-Way Test) การก่อตั้งโปรแกรม โปลิโอพลัส (Polio Plus) การสร้างกิจกรรมบริการชุมชนโลก (World Community Service) การจัดหลักสูตรการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง และสันติภาพ (Peace and Conflict Resolution) ซึ่งปัจจุบันเรียก สัน้ ๆว่า Peace Study และทีเ่ ปลีย่ นแปลงมากทีส่ ดุ ก็คอื รูปแบบการ

25

ประชุมที่สามารถประชุมผ่านทางอินเตอร์เน็ตที่เราเรียกว่า E-Club ได้ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นนวัตกรรมตามยุคตามสมัย โรตารี เราไม่ มี ก ารก� ำ หนดดั ช นี วั ด ผลงาน (Keys of Performance Index, KPI) อย่างชัดเจน มีแต่ข้อก� ำหนดหรือ เป้าหมายของประธานโรตารีสากลที่ให้พยายามด�ำเนินกิจกรรม ของสโมสรตลอดจนการให้บริการในระดับหนึ่งเท่านั้น เราจึงต้อง อาศัยวิธีประเมินผลเพื่อเพิ่มศักยภาพของสโมสร โดยวิธีการก�ำหนด สโมสรข้างเคียงที่มีศักยภาพสูงกว่าเป็นเป้าหมายหรือบรรทัดฐาน (Benchmark) เราอาจวิเคราะห์เพื่อประเมินผลของการบริหารหรือการ บริการในระดับสโมสรทีเ่ ป็นรูปธรรมได้ เช่น จ�ำนวนสมาชิกทีเ่ พิม่ ขึน้ จ�ำนวนกิจกรรมการให้บริการ มูลค่าของกิจกรรมทีใ่ ห้บริการ เป็นต้น ส่วนระดับภาคนัน้ อาจวิเคราะห์ถงึ ความส�ำเร็จของจ�ำนวนสโมสรและ โรแทเรียนที่เพิ่มขึ้น จ�ำนวนผู้บริจาคให้กับมูลนิธิ จ�ำนวนสโมสรที่ ได้รับการประกาศยกย่องจากประธานโรตารีสากล (Presidential Citation) เป็นต้น

จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค

โรตารีมีองค์ประกอบทั้งทางด้านรูปธรรมและนามธรรม ที่เป็นรูปธรรมก็คือ ตัวบุคคล สโมสร ภาค คณะกรรมการต่างๆ กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ (Procedure) ส่วนที่เป็นนามธรรมก็คือ มโนทัศน์หรือวิสัยทัศน์ (Vision) นั่นเอง การที่โรตารีจะเจริญเติบโต ในโลกแห่งการให้บริการ (World of Service) ต่อไปได้นั้น จะต้อง วิเคราะห์พนื้ ฐานให้รอบด้านทัง้ องค์ประกอบภายในและสิง่ แวดล้อม ภายนอกกล่าวคือ การวิเคราะห์ภายในซึ่งหมายถึงจุดแข็ง (Strength) และ จุดอ่อน (Weakness) ขององค์กรโรตารีว่าองค์กรของเรามีจุดแข็ง และจุดอ่อนด้านใด มีแนวทางแก้ไขจุดอ่อนขององค์กรได้หรือไม่ ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นสิ่งแวดล้อมของ องค์กรคือการวิเคราะห์โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) นั้นคือการวิเคราะห์เหตุต่างๆ ที่เป็นโอกาสให้โรตารี เจริญเติบโต หรือเหตุใดบ้างที่เป็นอุปสรรคแห่งการเจริญเติบโตใน การบริหารงานขององค์กรโรตารี ตลอดจนกิจกรรมการให้บริการทัง้ หลายของโรตารีในแต่ละระดับ นับจากระดับสโมสร ระดับภาค หรือ ระดับสากล ล้วนมีจุดอ่อน จุดอ่อน (Weakness) ประการแรกคือในด้านของระยะ เวลาของการด�ำรงต�ำแหน่ง เพราะข้อก�ำหนดหรือประเพณีปฏิบัติ ของโรตารีที่ให้คณะกรรมการบริหารของสโมสรหรือของภาคมีอายุ การด�ำรงอยูเ่ พียงครบรอบปีบริหาร เมือ่ ครบวาระก็จะมีการสถาปนา คณะกรรมการบริหารใหม่ ท�ำให้กิจกรรมที่ท�ำอยู่อาจไม่มีความต่อ เนื่องจนไม่สามารถประเมินผลหรือวัดคุณค่าของงานได้


จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สองก็คือ ในการบริหาร ไม่ว่าจะเป็นระดับใดก็ตาม ผู้บริหารของโรตารีไม่มีอ�ำนาจในการให้ คุณให้โทษหรือการสั่งการแบบผู้บังคับบัญชา แต่ในทางกลับกันก็มี จุดแข็ง (Strength) คือสมาชิกเป็นผู้ที่มีความหลากหลายทางอาชีพ ทีส่ ามารถน�ำจุดเด่นของแต่ละคนมาบูรณาการเพือ่ สร้างผลงานให้กบั องค์กรได้อย่างดีเลิศ แต่จะส�ำเร็จได้อย่างแท้จริงต้องมีคณะกรรมการ บริหารที่มีคุณภาพด้วย จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สามก็คือจุดอ่อนที่บาง ท่านเห็นว่าในการคัดเลือกผู้บริหารหรือผู้น�ำไม่เปิดโอกาสให้มีการ หาเสียงหรือเปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละคนลงคะแนนเลือกตัง้ โดยตรง ท�ำให้ไม่ทราบแนวนโยบายการท�ำงานและไม่มีส่วนร่วม แต่อย่างไร ก็ตามในส่วนนี้ผมกลับมองว่าเป็นจุดแข็ง (Strength) คือไม่ท�ำให้ แตกความสามัคคีหรือแบ่งฝักแบ่งฝ่าย เพราะโรตารีเชื่อว่าการที่จะ เป็นผู้น�ำได้นั้นย่อมมาจากผลงานในอดีตของเขาเองที่จะส่งให้เขาได้ รับการรับเลือกมิใช่จากการโฆษณาหาเสียงเพียงชั่วครั้งชั่วคราว แต่ กระนั้นก็ตามปัญหาใหญ่ประการหนึ่งในปัจจุบันของโรตารีไทยเรา ก็คือการขาดผู้ที่อาสาเข้ามาเป็นผู้น�ำ และคณะกรรมการเสนอชื่อผู้ ว่าฯ (Nominating Committee) ก็มักจะมาจากอดีตผู้ว่าการภาค หน้าเก่าๆ ไม่กี่คนที่เป็นซ�้ำแล้วซ�้ำอีก จนดูเหมือนเป็นผู้มีอิทธิพลไป จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สี่ก็คือสมาชิกเรามักไม่ ค่อยยึดกฎระเบียบ ไม่ศึกษาให้ถ่องแท้ หรืออาจจะศึกษาเหมือนกัน แต่แทนที่จะเป็นการศึกษาเอาไว้ใช้งานเหมือนเป็นคู่มือหรือRoad Map แต่กลับเป็นการศึกษาไว้เพื่อคอยจับผิดกันจนสโมสรแตก จุดอ่อน (Weakness) ประการที่ห้าก็คือจุดอ่อนที่เรามัก ไม่ค่อยพูดถึงซึ่งก็คือความไม่โปร่งใสในโครงการต่างๆ ของผู้ที่ไม่มี อุดมการณ์หรือพูดง่ายๆ ก็คอื หาเศษหาเลยกับโครงการนัน่ เอง ซึง่ ใน เรือ่ งนีใ้ นสมัยท่านพิชยั เป็นประธานโรตารีสากลท่านได้เล่าว่าท่านได้ เคยจับได้แถบอาฟริกาและให้ระงับโครงการดังกล่าวเสีย ซึง่ หลังจาก นั้นมูลนิธิโรตารีก็ได้เพิ่มมาตรการการตรวจสอบอย่างเข้มงวดตั้งแต่ ก่อนอนุมตั โิ ครงการจนโครงการเสร็จสิน้ ดังทีเ่ ราจะเห็นได้วา่ ในระยะ หลังมีเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิโรตารีมาติดตามผลทุกปี จุดอ่อน (Weakness) ประการที่หกซึ่งเป็นจุดอ่อนของ โรตารีไทยเราโดยเฉพาะคือการท�ำงานที่ไม่เป็นทีมและปัญหาการ ทะเลาะเบาะแว้งกันในเรื่องไม่เป็นเรื่อง มีการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย แต่

26

อย่างไรก็ตามธรรมชาติคนไทยเราหากมีภัยหรือมีปัญหาร่วมกันเมื่อ ใดก็จะหันหน้ามาสามัคคีกนั ดังจะเห็นได้จากการจัดการประชุมใหญ่ ปี ๒๐๑๒ ที่จัดได้เรียบร้อยและยิ่งใหญ่มาก จุดอ่อน (Weakness) ปลีกย่อยประการหนึ่งเท่าที่ผม สังเกตคือเรื่องขนบธรรมเนียมการจัดที่นั่งในงานพิธีหรืองานเลี้ยง ซึ่งก็เป็นสิ่งดีที่ให้เกียรติผู้มีต�ำแหน่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับภาค ทั้งที่เป็นอยู่และเป็นอดีตผู้ว่าฯ ซึ่งในบางครั้งก็กลายเป็นดูเหมือน ว่าเป็นการแบ่งชั้นหรือกีดกันโรแทเรียนธรรมดาไป ทั้งๆ ที่บางท่าน มีอาวุโสในโรตารีเป็นหลายสิบปี ซึ่งในประเด็นนี้ก็รวมไปถึงการเป็น วิทยากรก็เช่นกันทีม่ กั จะเชิญอดีตผูว้ า่ ฯ เสียเป็นส่วนใหญ่จนบางครัง้ ไม่มีที่ให้โรแทเรียนเก่งๆ หลายคนได้แสดงความรู้ความสามารถ ทีนี้หันกลับมามองปัจจัยภายนอกที่จะส่งผลกระทบต่อ องค์กรโรตารีเราซึ่งก็คือ อุปสรรคหรือภัยคุกคาม (Threat) แน่นอนทีส่ ดุ ก็คอื ภาวะ เศรษฐกิจทีย่ ำ�่ แย่ของโลกทีอ่ าจถือว่าเป็น Great Depression ครัง้ ใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อการเพิ่มและรักษาสมาชิกภาพและกระทบต่อ องค์กรโรตารีโดยรวม ดังจะเห็นได้จากที่โรตารีสากลได้มีการออก มาตรการหลายอย่างเพื่อแก้ไขปัญหานี้ อาทิ การลดค่าใช้จ่ายของ การเดินทางของเจ้าหน้าที่ (ซึ่งรวมตั้งแต่ประธานฯ จนถึงระดับล่าง สุด) ซึ่งที่ผ่านๆ มาระดับประธานฯ หรือกรรมการบริหาร (Director) นั้นเดินทางด้วยชั้นเฟิร์สคลาส บิสสิเนสคลาส พักโรงแรมหลายดาว เป็นต้น โอกาส (Opportunity) โรตารีเราเป็นองค์กรทีไ่ ด้รบั ความ เชือ่ ถือว่าเป็นองค์กรในระดับแนวหน้าของโลกมาอย่างยาวนาน โรตา รีเรามีสมาชิกกว่า ๑.๒ ล้านคน ๒๐๐ กว่าประเทศและเขตภูมศิ าสตร์ สมาชิกของเราได้รับการยอมรับนับถือว่าเป็นผู้มีเกียรติสูงในสังคม ทีเ่ ห็นได้ชดั การเป็นโรแทเรียนในญีป่ นุ่ หรือสหรัฐอเมริกานัน้ เป็นยากมาก ฉะนั้น โอกาสของโรตารีสากลเราในการด�ำรงอยู่ต่อไปอย่างมั่นคง จึงยังคงมีอยู่สูงมาก สรุป จากจุดแข็งและโอกาสที่ผมกล่าวมาข้างต้น ผมคิดว่า โรตารีเรายังคงมั่นคงและยังมีอนาคตที่สดใสอยู่ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยส�ำคัญที่สุดก็คือตัวโรแทเรียนเองที่จะทุ่มเทและ เสียสละให้แก่โรตารีมากน้อยเพียงใด

Rotary Thailand 26


การประชุมใหญ่โรตารีสากล อน.ศรีฟ้า ศิริอุดมเศรษฐ - สร.กรุงเทพรัชดาภิเษก/แปล

การประชุมใหญ่กับศิลปะเกาหลี

การต้อนรับแบบเกาหลี

ย่านต่างๆ ในกรุงโซลมีลักษณะพิเศษที่น่าตื่นตาตื่นใจ มาก เช่น ย่านเมียงดง - (Myeongdong) ซึง่ เป็นแหล่งช้อปปิง้ ย่านฮงแด (Hongdae) แหล่งรวมสถานที่บันเทิง และ กังนัม (Gangnam) ย่านธุรกิจแฟชัน่ ทีม่ คี นเดินหนาแน่น และย่านทีม่ ี เสน่หค์ อื อินซาดง (Insa-dong) ซึง่ เป็นแหล่งใหญ่ของโบราณ วัตถุและศิลปะงานฝีมอื ทีท่ ำ� ด้วยมือทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ สุขใจเวลาที่ คุณอยูใ่ นกรุงโซลเพือ่ เข้าประชุมใหญ่โรตารีสากลระหว่างวันที่ ๒๘ พฤษภาคม – ๑ มิถุนายน อินซาดงเริ่มมีชื่อเสียงเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเมื่อหลัง สงครามเกาหลี แต่รากฐานย้อนหลังไปกว่า ๕๐๐ ปีมันเป็น โรงเรียนรัฐบาลสอนการวาดภาพเป็นสวรรค์ของศิลปินทีเดียว มรดกศิลปะที่ตกทอดกันมาตั้งอยู่กระจัดกระจายบน ถนนสายนี้ มีแกลเลอรี่แสดงผลงานศิลปะ ร้านขายเครื่องปั้น ดินเผาสวยๆ กระดาษท�ำด้วยมือและงานแกะสลักฝีมือแบบ พื้นเมืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีสินค้าที่ไม่ใช่ของแท้แต่เป็นของ ที่ระลึกได้ดี เช่น หน้ากากไม้ กล่องมุกเครื่องประดับ กระเป๋า เย็บปักถักร้อย ธงชาติเกาหลี ตุ๊กตา ตะเกียบ พัด และรองเท้า แตะ ในบริเวณแผงขายอาหาร คุณจะได้เห็นเด็กหนุ่มๆ ท�ำ ขนมกุลทาเร (kkultarae) (ขนมใส่ไส้เกาหลี) ซึ่งท�ำจากน�้ำผึ้ง ปัน่ เป็นสายมาห่อใส่ถวั่ หวาน ในช่วงฤดูรอ้ นอดไม่ได้ทจี่ ะต้อง ชิมไอศกรีมโคน ส่วนในฤดูหนาวผู้คนยืนจะเข้าแถวซื้อขนม ฮอตต๊อก (hotteok) ขนมแป้งทอดขบเคี้ยวใส่น�้ำตาล น�ำ้ ผึ้ง ถั่ว และอบเชย ท�ำร้อนๆ จากกระทะเหล็กแบน ถนนสายหลักจะปิดการจราจรในวันสุดสัปดาห์ ซึ่งคุณ จะได้เห็นการแสดงดนตรีแบบดั้งเดิมหรือการสาธิตศิลปะ

มันอธิบายได้ง่ายๆ ว่าคนเกาหลีเป็นคนมีมิตรภาพ มี น�้ำใจ หรือให้เด่นชัดก็คือมีความปรารถนาอย่างจริงใจที่จะ ท�ำให้แขกผูม้ าเยือนรูส้ กึ อบอุน่ แต่ทยี่ ากจะอธิบายคือแรงผลัก ดันที่อยู่เบื้องหลังความอบอุ่นของพวกเขา จอง (Jeong) คือความรู้สึกของการให้ ความรักเอาใจ ใส่ดูแลแบบเครือญาติ มันหมายถึงความผูกพันใกล้ชิด ความ สัมพันธ์ที่จริงใจ และความอ่อนโยนต่อคนอื่น มันอาจจะเป็น ความรู้สึกระหว่างเพื่อนเก่าหรือกับคนที่คุณเพิ่งพบเห็นก็ได้ หากคุณก�ำลังงงว่ามันคืออะไรก็ไม่ต้องกังวล: คุณจะ เข้าใจมันดีเมื่อคุณไปร่วมประชุมโรตารีสากลปี ๒๐๑๖ ในกรุง โซลระหว่าง ๒๘ พฤษภาคม – ๑ มิถุนายน จอง แบบเกาหลีจะเป็นหัวใจในงานเลีย้ งต้อนรับกลางคืน ซึ่งจะท�ำให้ผู้ที่ไปประชุมได้มีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกโรตารี ในพื้นที่ในบรรยากาศใกล้ชิดมากขึ้น เจ้าภาพได้จัดเตรียม รายการต่างๆ ตั้งแต่แบบง่ายๆ สบาย ๆ ไปจนถึงรายการ บันเทิงพื้นเมืองในยามค�่ำคืน ท่านสามารถซื้อตั๋วเข้าร่วมงาน ได้ที่ www.riconvention.org โอกาสแบบนี้จะท�ำให้การประชุมโรตารีมลี ักษณะพิเศษ นายซังกู ยุน (Sangkoo Yun) ประธานคณะกรรมการจัดงาน กล่าวว่า "ผมลงทะเบียนเข้าประชุมใหญ่ทุกที่ที่ผมไป" เขาได้ ไปเยีย่ มครอบครัวในซิดนีย์ ไปดูหอศิลป์ในลอสแองเจลิส และ ปราสาทใน Malmö ที่สวีเดนและร่วมงานต้อนรับกลางคืนใน อดีต ในแต่ละครั้งเขาได้มีโอกาสพบปะโรแทเรียนจากทั่วโลก ที่เกาหลีคณะกรรมการจัดงานจะจัดงานเลี้ยงต้อนรับ กลางคืนสองสามวันเพื่อให้ผู้คนได้มีส่วนร่วมมากที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้ ยุนได้ให้การสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิง่ กับโรแทเรียน ทีม่ สี โมสรเป็นคูม่ ติ รกับสโมสรเกาหลีให้ลงทะเบียนเข้าประชุม ขอให้คุณสนุกกับการต้อนรับและความรู้สึกแบบ จอง

(เรื่องโดย ซูซี มา)

ลงทะเบียนส�ำหรับการประชุม ไปที่ www.riconvention.org

27


เรื่องราวดีๆ

โรตารีรอบโลก

5

1

อน.อาสา ศาลิคุปต สร.ศรีธรรมาโศกราช / แปล

4

(1) สหรัฐอเมริกา

1 ใน 6 ของอเมริกันชนอ่านหนังสือแทบ ไม่ออก ในมลรัฐมิชิแกนสถิติสูงถึง 1 ใน 3 ในเมือง ดีทรอยท์ประมาณว่าสูงกว่านีอ้ กี ทักษะการอ่านที่ อ่อนด้อยท�ำให้ชาวบ้านไม่สามารถหางานหรือก้าวหน้าในอาชีพได้ โครงการ Global Grant ของมูลนิธโิ รตารีชว่ ยพลิกโฉมปัญหาการไม่รหู้ นังสือนี้ สโมสร โรตารี Grosse Pointe มลรัฐมิชแิ กนและ Essex มลรัฐออนทาริโอ ได้รว่ มกัน ริเริม่ โครงการมูลค่า 37,000 ดอลลาร์ในการสนับสนุนงานของ Pro-Literacy Detroit ซึง่ ได้ชว่ ยผูใ้ หญ่มากกว่า 12,000 คนทีม่ ปี ญ ั หาการอ่านและฝึกอบรม อาจารย์ผู้สอน (tutors) อีกประมาณ 8,000 คน ถึงโครงการนี้จะสิ้นสุดลง ในปี ค.ศ.2013 แต่ผบู้ ริหารองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร Margaret Williamson ซึ่งเป็นอดีตนายกสโมสร Detroit ยังคงพูดคุยเกี่ยวกับโครงการนี้และ โรแทเรียนหลายสิบท่านยังคงเกี่ยวข้องกับโครงการนี้จนถึงทุกวันนี้ ทุนได้ ช่วยสรรหา ฝึกและมอบใบประกาศแก่อาจารย์ผสู้ อน (tutors) 250 คน รวม ทั้งการสอนและทดสอบนักเรียนกว่า 460 คน โรแทเรียนยังรวบรวมหนังสือ 250,000 เล่มแจกจ่ายไปยังองค์กรต่างๆ อีกด้วย

(2) ฝรั่งเศส

Marine Lorphelin นางสาวฝรั่งเศสปี 2013 กับประชาชนเกือบ 3,200 คน ร่วมกันม้วนแขนเสื้อขึ้นเพื่อบริจาคโลหิตในการรณรงค์เดือน มกราคมซึ่งเป็นหนึ่งในการระดมผู้บริจาคที่ประสบผลส�ำเร็จมากที่สุดเท่าที่ เคยจัดกันในประเทศของเธอ โรแทเรียน โรทาแรคเทอร์ และอาสาสมัครอินเนอร์วลี สากลได้สนับสนุนการริเริม่ งานสี่วันโดยจัดบู๊ธต้อนรับ เตรียมอาหารว่าง และท�ำ หน้าที่อื่นๆ ในสถานที่รับบริจาคโลหิตอันหรูหราคือ ห้องต่างๆ ในPlace du Capitole ณ ศาลากลางเมือง Toulouse อดีตผู้ ว่าการภาคJean-Claude Brocart แห่งสโมสรโรตารี Toulouse Ovalie กล่าว ท่าน PDG.Brocart เป็นผู้ ริเริ่มการรณรงค์ My Blood for Others (โลหิต ฉันเพื่อผู้อื่น) ซึ่งได้รับการดูแลโดยองค์กรบริการโลหิตแห่งชาติฝรั่งเศส EFS ในปี 1998 งานรณรงค์การบริจาคโลหิตนี้ได้กลายเป็นโครงการเอกลักษณ์ ของสโมสรโรตารีในฝรัง่ เศส ซึง่ มีกว่า 400 สโมสร มากกว่า 100 เมืองเข้าร่วม

(3) จีน

สโมสรโรตารี Peninsular Sunrise ในฮ่องกงได้มอบข้าวถุงขนาด 30 ปอนด์แก่ผรู้ อดชีวติ 3,500 รายจากอุทกภัยน�ำ้ ท่วมในมณฑลหูหนาน ประเทศจีน เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2012 สองปีตอ่ มาเกิดภัยพิบตั ลิ กั ษณะเดิมซัดกระหน�ำ่

28

Rotary Thailand

7

มณฑลภาคกลางตอนใต้ ท�ำลายบ้านกว่า 1,800 หลังใน 11 เมืองและมีผู้ประสบ ภัยมากกว่าสองล้านคน องค์กรกาชาดของ เซียงซีถเู่ จีย เขตปกครองตนเองชนชาติมง้ มณฑลหูหนาน ได้ขอ ความช่วยเหลือจากสโมสร นายกสโมสร Alex Hung กล่าวว่า โรแทเรียนเราช่วยได้อยูแ่ ล้ว “เราสามารถซือ้ ผ้านวมได้ 1,750 ผืน” ท่านกล่าว ทางสโมสรยังไปเยี่ยมโรงงานเพื่อให้แน่ใจถึง คุณภาพของผ้าห่มลายดอกสีชมพู สมาชิกสโมสรสี่ท่านลุยไป ถึงแดนทุรกันดารเพือ่ แจกจ่ายผ้าห่มเมือ่ เดือนกันยายน 2014

(4) กาน่า

ในวันพุธทัว่ ๆไป ตลาด Nana Bosoma ในซุนยานิคลาคลั่งไปด้วยคนนับพัน ถึง จะเนืองแน่นด้วยผู้คนแต่บริเวณนั้นก็ยังขาดห้องสุขา จนถึงปี 2013 โรแทเรียนท�ำโครงการสุขอนามัยจากทุน Global Grant ของมูลนิธิโรตารี 21,000 ดอลลาร์ได้ส�ำเร็จ จากนั้นเทศบาล และผู้ดูแลตลาดได้เข้ามาดูแลรักษาห้องสุขาสาธารณะแห่ง นี้ต่อ ท�ำให้เป็นโครงการที่ยั่งยืน Kofi Nyamaah-Koffuor อดีตนายกสโมสรโรตารี Sunyani Central กล่าว โครงการ นี้เป็นส่วนขยายจากความพยายามของโรตารีในปี 2011 ซึ่ง ได้สร้างห้องน�้ำให้โรงเรียนในท้องที่และขุดบ่อน�้ำบาดาลอีก 2 บ่อ สโมสรโรตารี Nanaimo มลรัฐบริตชิ โคลัมเบีย ได้รว่ มเป็น เจ้าภาพอุปถัมภ์กับสโมสร Sunyani Central ในโครงการนี้

(5) สหรัฐอเมริกา

แทนที่จะจัดงานเลี้ยงที่หรูหราและแต่งแฟนซี งาน สถาปนาขึน้ ต�ำแหน่งผูว้ า่ การภาค 6080 (มิสซูร)ี ในปีนี้ Steve 28


WORLD ROUNDUP

2 8

3

Rotary news in brief from around the globe

6

Aklan ซึ่งอยู่ไปทางตะวันตกของ Tacloban หลายร้อยไมล์ก็ต้องการ ความช่วยเหลือเช่นกัน สโมสรโรตารี Calapan ซึง่ อยูบ่ นเกาะทางเหนือ ของ Aklan ได้บริจาคเงินราว 6,500 ดอลลาร์เพือ่ เช่ารถบรรทุกและส่ง สิง่ ของจากกรุงมะนิลา ได้แก่เสือ้ ผ้า ผ้าห่ม ข้าวสาร อาหารกระป๋อง น�ำ้ ผ้าใบ ของเล่น เครื่องเตียง และของใช้ส่วนตัว สมาชิกสโมสร 15 คน เดินทางเที่ยวละ 11 ชั่วโมงโดยประมาณ โดยสารรถและเรือข้ามฟาก เพื่อส่งมอบของ สมาชิกสโมสรโรตารี Metro Kalibo ใน Aklan ได้ จัดที่พักและอาหารแก่กลุ่ม Calapan ในระหว่างการมาเยี่ยม Dulle กลั บ หาอะไรที่ เ ติ ม เต็ ม ทางจิ ต วิญญาณมากกว่า การสถาปนานัน้ ปกติมกั จะ “เป็นทางการ ใส่สทู ผูกไท และนัน่ ก็ไม่ เป็นไร” ดัลล์กล่าว แต่ท่านกลับขอให้ โรแทเรียนรวบรวมอาหารแห้งและเป็นอาสาสมัครให้ธนาคารอาหาร และโรงครัวทัว่ ทัง้ ภาคซึง่ อยูร่ ะหว่างชานเมืองเซ็นต์หลุยส์ทางใต้ไปจรด เมืองแคนซัสซิตี้ “เราตัดสินใจใช้วันเสาร์จาก 9.00 – 13.00 น. ซึ่ง คุณสามารถใส่ขาสัน้ ตอนเทีย่ งเราจะพักกินอาหารกลางวัน และท�ำ พิธีสถาปนา – แบบเป็นกันเองและสนุก” ดัลล์จากสโมสรโรตารี Columbia South กล่าว คนราว 150 คนร่วมกันฉลองที่ธนาคาร อาหารส�ำหรับมลรัฐมิสซูรีตอนกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ ดัลล์ยังเรียกร้องให้สโมสรร่วมงาน “สงครามอาหาร” เป็น เวลาหนึ่งเดือนโดยแบ่งพื้นที่ตอนเหนือสู้กับพื้นที่ตอนใต้ (ตอน เหนือชนะ) โรแทเรียน โรทาแรคเทอร์และครอบครัวรวมทั้งมิตร สหายหลายร้อยคนหาอาหารได้มากกว่า 10,000 ปอนด์รวมทัง้ เงิน ประมาณ 19,000 ดอลลาร์ สมาชิกจาก 33 สโมสรใน 49 สโมสรของ ภาคใช้เวลาเกือบ 1,500 ชั่วโมงในการท�ำภารกิจ เช่นขอรับบริจาค อาหารที่ข้างนอกซูเปอร์มาร์เก็ต (สโมสรโรตารีและโรทาแรคท์ใน เมืองเจฟเฟอร์สันรับผลิตภัณฑ์มา 5,937 ปอนด์) และบรรจุซีเรียล 5,000 ปอนด์ทธี่ นาคารอาหาร Central and Northeast Missouri

(6) ฟิลิปปินส์

ประชาชนประมาณ 6,300 คนเสีย ชีวิตลงเมื่อไต้ฝุ่นไฮยันถล่มฟิลิปปินส์เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2013 สิ่งของจ�ำเป็นถูก ส่งไปช่วยเหลือชาวบ้านบริเวณที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุดแถวๆ Tacloban แต่ประชาชนทีอ่ ยูไ่ กลออกไปเช่นทีเ่ กาะ Banga มณฑล 29

(7) บราซิล

João Del Bianco Neto แห่งสโมสร โรตารี Registro รู้ถึงปัญหาที่ศูนย์การแพทย์ท้อง ถิ่นต้องประสบเมื่อหลายปีก่อนจากเหตุการณ์ คลอดลูกแฝดของเพื่อนที่คลอดก่อนก�ำหนดสองเดือน เขาพบว่าโรง พยาบาลศูนย์ Dr. Leopoldo Bevilacqua ใน Pariquera-Açu ที่ต้อง รับผิดชอบบริการประชาชน 24 เมืองกับประชากรเกือบ 500,000 คน มีเตียงบริการในหน่วยทารกแรกเกิดภาวะวิกฤต (ICUทารกแรกเกิด) ไม่เพียงพอ “เราเป็นละแวกยากจนใกล้เซาเปาโล” เดล บีอังโก นีโต กล่าว “เราต้องการดูแลหญิงมีครรภ์และเด็กให้มากขึ้น” เมื่อเร็วๆ นี้สโมสรของเขา กับคู่มิตรต่างประเทศจากญี่ปุ่น คือสโมสรโรตารี Nakatsugawa ได้ทุน Global Grant ของมูลนิธิโรตารี จัดท�ำโครงการ มอบเตียงไอซียู ตู้อบ และเครื่องเฝ้าติดตามสัญญาณชีพ มีการจัด สัมมนาเกี่ยวกับการดูแลครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีของขวัญ เล็กน้อยมอบแด่ว่าที่คุณแม่อีกด้วย

(8) อินเดีย

ทางรัฐอุตตราขัณฑ์ตอนเหนือ สภาพที่ ทุระกันดารและประชากรที่อยู่กระจัดกระจาย ตามเชิงเขาหิมาลัยท�ำให้การดูแลด้านการแพทย์เป็นเรื่องยาก สโมสร โรตารี Bhavnagar ในรัฐคุชราตที่อยู่ 900 ไมล์ไปทางใต้จึงเข้ามาช่วย เหลือ ในเดือนพฤษภาคม 2014 สโมสรได้ดำ� เนินภารกิจทางแพทย์เป็น เวลาห้าวัน โดยให้การตรวจทางการแพทย์ รวมถึงวัดชีพจร ความดัน โลหิต และระดับน�้ำตาลในเลือด จ่ายยาโดยเภสัชกรที่เป็นโรแทเรียน ปีนสี้ โมสรได้ขยายโครงการให้ใหญ่ขนึ้ ค่ายการแพทย์มคี า่ ใช้จา่ ย 5,000 ดอลลาร์ และสโมสรโรตารี Luton North จากประเทศอังกฤษ ได้ร่วม บริจาคอีก 3,000 ดอลลาร์ ชาวบ้านประมาณ 750 คนได้รับการดูแล และคนไข้ 30 คนได้รับการผ่าตัดต้อกระจก


เอียน ไรซ์ลีย์

Ian Risely ประธานโรตารีสากลปี 2017-18

I

an Riseley (เอียน ไรซ์ลยี )์ จากสโมสรโรตารี Sandringham รัฐวิคตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย ได้รบั เลือกจากคณะกรรมการสรรหา ประธานโรตารีสากล ปี 2017-18 โดยท่านได้เป็นประธานโรตารีสากล นอมินใี นวันที่ 1 ตุลาคม และจะได้รบั เลือกตัง้ อย่างเป็นทางการทีก่ าร ประชุมใหญ่โรตารีสากล กรุงโซล และเป็นประธานโรตารีสากลในวัน ที่ 1 กรกฎาคม 2560 ประธานนอมินี เอียน ไรซ์ลีย์ กล่าวว่าสิ่งที่ส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ อนาคตของโรตารี คือ การเป็นเพือ่ นผูร้ ว่ มโครงการอย่างมีความหมาย กับบริษัทใหญ่ๆ และองค์กรอื่นๆ ท่ า นกล่ า วว่ า “เรามี โ ปรแกรมและบุ ค ลากร ส่ ว นคนอื่ น มี ทรัพยากรอยู่แล้ว การท�ำความดีในโลกเป็นเป้าหมายของทุกคน เรา ต้องเรียนรู้จากประสบการณ์ของโปรแกรมการขจัดโปลิโอเพื่อขยาย ผลการรับรูข้ องสาธารณชนเพือ่ การมีเพือ่ นผูร้ ว่ มโปรแกรมในอนาคต” ไรซ์ลีย์เป็นนักบัญชีและประธานของ Ian Riseley and Co., ซึ่ง มีความเชีย่ วชาญในการให้คำ� แนะน�ำด้านธุรกิจในท้องถิน่ และระหว่าง ประเทศ และมีความสนใจอย่างยิง่ ในการงานระหว่างประเทศ ท่านได้ รับรางวัล AusAID Peacebuilder Award จากรัฐบาลออสเตรเลีย ในปี คศ.2002 จากการท�ำงานที่ประเทศติมอร์-เลสเต้ และยังได้รับ เหรียญ Order of Australia ในปี 2006 จากการบ�ำเพ็ญประโยชน์ แก่ชุมชนในออสเตรเลีย “รัฐบาลมากมายมองโรตารีเป็นผูแ้ ทนของสังคมเมืองทีด่ ี เราควร ท�ำงานร่วมกับรัฐบาลเหล่านัน้ เพือ่ ส่งเสริมสันติภาพและการแก้ไขข้อ ขัดแย้ง เช่นเดียวกับที่เราสนับสนุนการขจัดโปลิโอให้หมดไป” ประธานโรตารีสากลนอมินี เป็นอดีตสมาชิกของ Australian Polio Eradication Private Sector Campaign (โครงการรณรงค์ การขจัดโปลิโอของภาคเอกชนในออสเตรเลีย) และได้รับรางวัลการ บ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อโลกที่ปลอดจากโปลิโอของมูลนิธิโรตารี (The Rotary Foundation’s Service Award for a Polio-Free World) ท่านและคุณจูเลียภรรยาของท่านเป็นพอล แฮริส เฟลโลว์, เมเจอร์โดน เนอร์ และสมาชิกชมรมผู้บริจาคจากผลประโยชน์ (ที่มา Rotary News, 5 ตุลาคม 2015)

30

IAN RISELEY IS SELECTED AS 2017-18 ROTARY PRESIDENT Ian Riseley, an Australian accountant and member of the Rotary Club of Sandringham, is selected as the 2017-18 Rotary president. Ian H.S. Riseley, of the Rotary Club of Sandringham, Victoria, Australia, is the selection of the Nominating Committee for President of Rotary International in 201718. He will become the president-nominee on 1 October if no other candidates challenge him. Riseley says that meaningful partnerships with corporations and other organizations are crucial to Rotary’s future. “We have the programs and personnel and others have available resources,” says Riseley. “Doing good in the world is everyone’s goal. We must learn from the experience of the polio eradication program to maximize our public awareness exposure for future partnerships.” Riseley is a practicing accountant and principal of Ian Riseley and Co., which specializes in advising local and international businesses, and has a strong interest in international affairs. He received the AusAID Peacebuilder Award from the Australian government in 2002 in recognition of his work in Timor-Leste. He also received the Order of Australia medal in 2006 for service to the Australian community. “Governments see Rotary as positive representatives of a civil society,” he says. “We should work with them to advocate for peace and conflict resolution, just as we are advocating for polio eradication.” A member since 1978, Riseley has served Rotary as treasurer, director, trustee, RI Board Executive Committee member, task force member, committee member and chair, and district governor. He is also a former member of the Australian Polio Eradication Private Sector Campaign and a recipient of The Rotary Foundation’s Service Award for a Polio-Free World. He and his wife, Juliet, are Multiple Paul Harris Fellows, Major Donors, and Bequest Society members.

Rotary Thailand 30


20 – 24 ตุลาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ.นครศรีธรรมราช มี ส โมสรโรตารี 9 สโมสรในจั ง หวั ด นครศรีธรรมราชร่วมกันเป็นเจ้าภาพ กิจกรรม ครัง้ นีม้ งุ่ เน้นให้เยาวชนได้แสดงออกถึงศักยภาพ ภาวะผู้น�ำ การแก้ไขปัญหา รวมถึงเสริมสร้าง ความรู้เกี่ยวกับโรตารี เพื่อให้เข้าใจถึงค�ำว่า “บริการผู้อื่นเหนือตนเอง” มีจิตอาสา เสีย สละ และเข้าใจปรับตัวเรียนรู้สถานการณ์วัย รุ่นในปัจจุบัน สุดท้าย ท้ายสุด กับความสุขของ คณะกรรมการจัดงาน หายเหนื่อยเป็นปลิดทิ้ง กับรอยยิ้มใสๆ ความสุขของเด็กๆ ที่เข้าร่วม กิจกรรม

31


13 – 17 ตุลาคม 2558 ณ ศูนย์ราชการุณย์ (เขาล้าน) อ.คลองใหญ่ จ.ตราด มีเยาวชนเข้าร่วมจ�ำนวน 247 คน และ ทหารนาวิกโยธิน กองทัพเรือ เป็นวิทยากรภาย ใต้แนวคิด “กล้าคิด กล้าท�ำ กล้าตัดสินใจ” โดย ใช้กิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ แบ่งกลุ่มเป็นสี ต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมให้เยาวชนได้เรียนรูท้ กั ษะการ พัฒนาตนเองต่อไป

32

Rotary Thailand 32


22 – 25 ตุลาคม 2558 ณ The Pine Resort จ.ปทุมธานี มีเยาวชนเข้าร่วมจ�ำนวน 227 คน จาก 122 โรงเรียน สโมสรอุปถัมภ์จากภาค 3350 จ�ำนวน 66 สโมสร จากภาค 3360 จ�ำนวน 1 สโมสร ตามวัตถุประสงค์ที่ให้เยาวชน "คิดดี พูดดี ท�ำดี" มี ค วามรั ก ความสามั ค คี ตามโอวาทของ ผวภ.ไชยไว พูนลาภมงคล รู้จักการท�ำงานเป็น ทีม การเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน เยาวชนได้ฝึกฝน ในการมีใจ "บริการเหนือตน" เพื่อเตรียม "เป็น ของขวัญแก่ชาวโลก" เป็นอนาคตทีจ่ ะขับเคลือ่ น วงล้อโรตารีสืบไป

33


15 – 18 ตุลาคม 2558 ณ วัดพระธาตุผาเงา อ.เชียงแสน จ.เชียงราย มีเยาวชนเข้าร่วมประมาณ 100 คน พี่เลี้ยงค่าย โรทาแรคท์เตอร์ 30 คน จากสมาคม YMCA เชียงราย 21 คน ในการอบรมครั้งนี้เยาวชนจะได้ฝึกการพัฒนาตนเอง และช่วยสร้างแรงบันดาลใจในด้านต่างๆ โดยใช้กิจกรรม สันทนาการ ซึ่งนอกจากจะได้ความรู้แล้วยังสนุกสนาน กันอย่างเต็มที่อีกด้วย

34

Rotary Thailand 34


มังกรซ่อนกาย

ตอน บันทึกตระกูล 族谱 “จ๊กพ่อ” (จุ๊ผู่ ZuPu) อผภ.ประเสริฐ ฟักทองผล ภาค 3330 เขียน

คนจีนโพ้นทะเลที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยรับอารยะธรรมจีนโบราณมามากมาย และเรียกตัวเองว่า “ตึ่งหลาง” ภาษาจีนกลาง อ่านว่า “ถังเหลิน” คือเป็นคนราชวงศ์ถังนั่นเอง และเข้าใจว่าภาษาจีนฮกเกี่ยนน่าจะมีใช้ตั้งแต่ก่อนราชวงศ์ถังด้วยซ�้ำไป เพราะส่วน ใหญ่จะย้ายมาจาก “เหอหนาน” เมื่อมาถึง “ฮกเกี่ยน” หรือ “ฝุเจี้ยน” ก็อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข เพราะด้านเหนือจะมีทิวเขายาวตลอด เหมือนเป็นก�ำแพงกั้นให้รอดพ้นจากการรุกราน ส่วนด้านใต้ก็ติดทะเลอุดมสมบูรณ์

โคลงกลอน 64 ตัว สมัยเฉินหลงห่องเต่ ราชวงศ์ชิง

รากเหง้าและชื่อแซ่

ทะเบียนตระกูล (แซ่หงอ) ล�ำดับสถานะบ่งบอกถึงรุ่น

อาก๊งสอนไว้ว่ามีสองอย่างที่สำ� คัญกว่าตัวเราและต้องรักษาไว้ด้วยชีวิต หนึ่ง ป้ายสกุล หมายถึงต้องรู้ว่า “แซ่” ที่ใช้อยู่มาจากไหน และต้องรักษาชื่อเสียงมิให้เสียหาย สอง ประเทศชาติ หมายถึงเกิดหรืออยู่ที่ไหน ต้องส�ำนึกในบุญคุณแผ่นดิน “หลิ่มจุ้ย เสี่ยวหงวน” (อิ๋นสุ่ย ซือหยวน) หมายถึง ดื่มน�้ำให้ระลึกถึงต้นน�้ำ คนไทยเชือ้ สายจีนโดยเฉพาะคนภูเก็ตถึงแม้จะโดนบังคับให้มชี อื่ ไทยแต่ทกุ คนก็มชี อื่ จีน การตัง้ ชือ่ จีนได้รบั การสืบทอดจากตระกูลอย่าง เป็นระบบแบบโบราณ คือ ส่วนใหญ่จะมีสามค�ำ ค�ำหน้าจะเป็นแซ่ ชื่อกลาง และชื่อจริง แซ่ บ่งบอกถึง มาจากตระกูล ชื่อกลาง บ่งบอกถึง รุ่น หรือ ล�ำดับสถานะ ชื่อจริง เป็นชื่อของเจ้าตัวจริง “หยี่แส่” หรือ “แซ่” คือ สกุล คนจีนทุกคนจะต้องมี “แซ่” และเป็นค�ำที่ต้องเรียกขานอย่างเป็นทางการ“หยี่อู๋น” คือ “ชื่อกลาง” จะรู้ว่ามีสถานะไหนในตระกูล สมัยโบราณค�ำว่าฮ่องเต้สั่งประหารเจ็ดชั่วโคตรก็ไล่จากชื่อกลางนี่แหละ ประหารทีละเป็นหมื่นตายกัน เป็นหมู่บ้านเลยเพราะล�ำดับของตระกูลทุกตระกูลจะต้องรับพระราชทานจากฮ่องเต้ ดังนั้นบัญชีรายชื่อของตระกูลจึงค้นหาไม่ยาก และเรียงกันหมด ดังตัวอย่างของตระกูล “แซ่หงอ” ของคนภูเก็ตที่เก็บไว้ในตู้เซฟเป็นอย่างดี โคลงกลอนทั้งหมด 64 ตัว การแต่งโคลง

35


กลอนทีม่ คี วามหมายทัง้ เนือ้ หาสัมผัสเสียงคล้องจองเรียงกันมาช่างงดงามจริงๆ หมายถึงใช้ได้ถงึ 64 รุน่ ขณะนีแ้ ค่รนุ่ ที่ 20 เวลาประชุม ตระกูลแซ่แทบไม่ต้องแนะน�ำตัว แค่เห็นชื่อก็สามารถบ่งบอกถึงสถานะของคนๆ นั้นได้ ผมเองได้ไปประชุมตระกูล “แซ่โก๊ย” ที่เมือง “หล�ำ่ อั้ว” ใกล้ “เอ่หมึง” (เซี๊ยะเหมิน) มณฑลฮกเกี่ยน (ฝุเจี้ยน) เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2558 ต้องชมคนจีนโบราณที่คิดค้นวิธีการ ปกครองพลเมืองแบบไม่ต้องใช้ทะเบียนบ้านเหมือนปัจจุบันในเรื่อง “ชื่อกลาง” ที่สามารถบ่งบอกสถานะบุคคล คงไม่มีชาติไหนในโลก ที่คิดแบบจีนอีกแล้วกระมัง ยกตัวอย่างเช่น ชื่อ “郭โก๊ย 豐ฮอง 揚หยอง” (โกว guo เฟิ๊ง feng หยาง yang) 郭 โก๊ย คือ แซ่ หรือ หยี่แส่ ใช้เรียกเป็นทางการ เช่น คุณโก๊ย หรือเรียกชื่อเต็ม คุณโก๊ยฮองหยอง 豐 ฮอง คือ ชื่อกลาง (บ่งบอกถึงสถานะ) 揚หยอง คือ ชื่อจริง เพื่อนคนสนิท หรือพ่อแม่ปู่ย่าตายายเท่านั้นที่เรียกขานชื่อจริง เช่นญาติผู้ใหญ่ที่สนิทก็จะเรียก “อาหยอง” อายุน้อยกว่าก็เรียกว่า “หยองโก้” “หยองเจก” “หยองแปะ” แล้วแต่สถานะอะไร ต�ำแหน่งก็จะเรียกอยู่หลังชื่อ แต่สมัยนี้ในเมืองไทย เราเรียกสถานะน�ำหน้าชื่อเลยกลายเป็น “โก้หยอง” หรือ “แปะหยอง” สลับกัน “เงี้ยวหยิ่นฉู่ โบ่หยิ่นชูจู้” “เก้าหยิ่นตั่วจูหลาง โบ่หยิ่นงั่วบิ่นหลาง”

(แมวจ�ำบ้าน แต่ไม่จ�ำเจ้าของ) (หมาจ�ำเจ้าของ แต่ไม่สนคนนอก)

แต่ละตระกูลก็จะไล่เรียงตัวกลางไม่เหมือนกัน เพราะอยูท่ บี่ ทกลอนและความหมายทีต่ า่ งกัน อยูท่ คี่ วามเป็นมาหรือบ่อเกิดของตระกูล นัน้ ๆ ซึง่ แต่ละตระกูลจะต้องส่งบทกลอนหรือทีจ่ ะใช้เป็นชือ่ กลางต่อราชส�ำนักเพือ่ ให้หอ่ งเต่ (ฮ่องเต้) อนุญาตก่อนจึงจะใช้ได้ หลังจาก นัน้ ต้องคัดลอกมาเก็บไว้ทสี่ ำ� นักประจ�ำตระกูล จึงเป็นสาเหตุทที่ ำ� ไมทุกตระกูลจะต้องมีสำ� นักของตัวเองและอัญเชิญเทพหรือ “กิมซิน๊ ” ต้นตระกูลมาบูชาด้วย เพื่อเป็นศูนย์รวมและระลึกถึงต้นตระกูล มักมีงานเลี้ยงประจ�ำปีกันทุกตระกูลเราเรียกว่า “ต๋อง” หรือ “ตึ๋ง” หรือ “ฉื่อตึ๋ง” (บ้านบรรพชน) คือ ส�ำนักประจ�ำตระกูลนั่นเอง เช่น “ฮุนหยองต๋อง” คือส�ำนักตระกูล “แซ่โก๊ย” หรือ “ไท้หงวนต๋อง” คือ “แซ่อ๋องกงซี”ตระกูล “แซ่อ๋อง” เป็นต้น

ป้ายสกุลหน้าบ้าน (เตงโห่)

“เอ้งชวน” เป็นเตงโห่ของคน “แซ่ต๋าน”

36

“ฮุนหยอง” เป็นเตงโห่ของคน “แซ่โก๊ย”

Rotary Thailand 36


“เตงโห่”หลายคนสงสัยว่าคืออะไร “เตงโห่” คือ ชื่อที่มาของตระกูล เช่น ป้ายหน้าบ้านของคนตระกูล “โก๊ย” ก็จะแขวน “เตงโห่” หน้าบ้านว่า “ฮุนหยอง” เป็นที่รู้กันว่าคนบ้านนี้ “แซ่โก๊ย” ป้ายหน้าบ้านของคนตระกูล “อ๋อง” ก็จะแขวน “เตงโห่”ที่หน้าบ้านว่า “ไท้หงวน”ก็เป็นที่รู้กันว่าคนบ้านนี้ “แซ่อ๋อง” แต่ส�ำหรับคนแซ่ต๋าน “เตงโห่” อาจจะไม่เหมือนกัน เพราะอยู่ที่แหล่งที่มา แต่ก็เป็นที่รู้กันว่า “แซ่ต๋าน” หรือบ้านเรามักเขียนว่า “แซ่ตัน” เช่น “เอ้งชวน” “หล่วนแจ้” “กวนซาน”

เทพประจ�ำตระกูล (กีมซิน) ตัง้ แต่ประเทศจีนปฏิวตั กิ ารปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ (พ.ศ.2492) วัฒนธรรมจีนได้เปลีย่ นไปภาษาจีนใหม่เขียนง่ายกว่า วัฒนธรรมหลายอย่างได้ถกู ยกเลิกไปท�ำให้มแี ตกต่างกันมากกับจีนโพ้นทะเล โดยเฉพาะคนบาบ๋าภูเก็ตยังคงหลงเหลือวัฒนธรรมเก่าแก่ อยู่อีกมาก ทั้งยังใช้ภาษาจีนรุ่นเก่าเหมือนประเทศไต้หวันรวมถึงคนจีนในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ “หลางเตี่ยงห่อ เกี๋ยโฮ้หล่อ” ( คนดีซื่อสัตย์ ชีวิตก็ราบรื่น) “เตี่ยงติดเตี่ยงโฮ้” (คนที่ภักดีหรือซื่อสัตย์มักเป็นคนดี) ตระกูลต่างๆ ในภูเก็ตจึงเข้มแข็งเพราะมีการรวมตัวและสืบทอดกันมายาวนาน เกาะกลุ่มกันแน่น พร้อมกับน�ำ “กิ่มซิน” หรือเทพของ ตระกูลมาเป็นประธานเพื่อเป็นศูนย์กลางความศรัทธา เช่น

เทพประจ�ำตระกูล “แซ่ต๋าน” ผ้ออ๊ามปุดจ้อ (บางเหนียว)

เทพประจ�ำตระกูล “แซ่ต๋าน” ต๋านเส้งอ๋อง (อ๊ามแสงธรรม)

เทพประจ�ำตระกูล “แซ่เจี่ย” “อ๋องซุนต่ายส่าย”

“แซ่ตา๋ น” จะมีกมิ่ ซินของเทพ “ต๋านเส้งอ๋อง” อยูท่ อี่ า๊ มแสงธรรม ถนนพังงา ข่ายเจีย้ งเส้งอ๋อง (เส้งอ๋องกอง, ต๋านเส้งอ๋อง,

อุ่ยหุ้ยเส้งอ๋อง, ก่องจี่อ๋อง, ต๋านฮู่เจียงกู๊น, ต๋านเส้งกง, อุ่ยเลี๊อดโฮ่ว) เดิมชื่อ ต๋านหงวนก๊อง หรือ ต๋านหย่งฮั้ว เป็นชาวก่องจิ้วปัจจุบัน อยู่ในมณฑลเหอหนาน เกิดในสมัยราชวงศ์ถัง (พ.ศ.1200) เป็นบุตรแม่ทัพต๋านเจ่ง (เอ่งเอี๋ยวเจียงกุ๊น) เมื่ออายุ 13 ปีได้ติดตามบิดาไป ช่วยราชการที่เมืองฮกเกี้ยน ในสมัยถังเกาจง จนบิดาเสียชีวิตระหว่างท�ำศึก ท่านจึงรับหน้าที่คุมกองทัพเข้ารบกับข้าศึกเพื่อกู้บ้านเมือง ในมณฑลฮกเกี้ยนสู้รบ 7 เดือนจนตีข้าศึกพ่ายไป ต่อมา พ.ศ.1299 ท่านอายุ 29 ปี เริ่มบุกเบิกเมืองเจียงจิ้วที่คนส่วนใหญ่ยากจน ท่าน จึงส่งเสริมให้ชาวบ้านมีการศึกษาและปกครองบ้านเมืองด้วยเมตตาธรรม จนปี พ.ศ.1254 เมื่ออายุ 55 ปีท่านออกรบแล้วเสียชีวิต ชาว เมืองต่างโศกเศร้าเสียใจจึงร่วมกันสร้างรูปเคารพเพือ่ กราบไว้บชู าพร้อมสร้างศาลขึน้ เรียกว่าเจียงกุน๊ เบ่วและข่ายเจีย้ งเส้งอ๋องเบ่วในสมัย ราชวงศ์ซ้อง

37


“แซ่เจี่ย” มีกิ่มซินของเทพ “อ๋องซุนต่ายส่าย” อ๊ามแสงธรรมและอ๊ามบางเหนียว อ๋องสู๊นต่ายส่าย (ต่ายส่ายเอี๋ย, เจี่ยฮู่

หง่วนโส่ย, เขีย่ แบ้เสีย้ วเหรียน, อ๋องสูน๊ หง่วนโส่ย, เต็กเทีย้ นไต่เต่) เป็นคนสมัยราชวงค์ซอ้ งเดิมแซ่เจีย่ ชือ่ เส๊งเหีย่ น คนมักจะเรียกว่าเจีย่ เหี่ยนเกิดตระกูลขุนนางชั้นสูง เมื่ออายุ 13 ปีได้ท่องเที่ยวพร้อมสุนัขล่าเนื้อที่เมืองจวนจิ้ว มณฑลฮกเกี่ยน ใกล้ภูเขาหงส์ซัวและต่อสู้กับ ปีศาจจนเสียชีวิต

กงเต็กจุนอ๋อง

郭氏汾陽

โก๊ยจือยี่ (โก๊วจื่อหยี)

“แซ่โก๊ย” เป็นตระกูลเก่าแก่ตั้งแต่สมัยฮั่นโจวเรื่อยมา จนกระทั่งสมัยราชวงศ์หมิงจึงได้ใช้ “เตงโห่” เป็น “เฟิ่งหยาง”

หรือ “ฮุนหยอง” มีกิ่มซินของ “โก๊ยจือหยี่” และ “โก๊ยเส้งอ๋อง” อยู่ที่ “อ๊ามฮุนหยองต๋อง” หรือ “ฮองซานซี” ถนนตะกั่วทุ่งใกล้ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว วันประชุมสังสรรค์โป๊ยโง๊ยหยี่หยี่ (เดือนแปดยี่สิบสองตามปฏิทินจีน) โก๊ยจื่อหยีถือเป็นบรรพชนของ คนแซ่โก๊ย เป็นขุนพลที่มีชื่อเสียง (ต้าถังหมิงเจี้ยง) สมัยราชวงศ์ถัง เป็นลูกคนที่สองของโก๊วจิ้งจือ (ลูก 11 คน) อยู่ที่เมืองซานซีไท้หยวน โก๊ยเส้งอ๋องเดิมชื่อ โก๊ยหงฝู (กั๊วจงฟู่) เป็นคนซือซานในอ�ำเภอหนานอาน ก�ำเนิดเมื่อปี ค.ศ.923 ในปีแรกของของสมัยถงกวงในช่วง ราชวงศ์ถังสมัยหลัง ชาวบ้านสร้างอ๊ามให้ ณ เขาซือซาน อ�ำเภอหนานอาน จังหวัดจ่วนจิ้ว มณฑลฮกเกี้ยน ประเทศจีน มีอ๊ามชื่อว่าเฟิ่ง ซานซื่อ (ฮองซานซี) ส�ำหรับเซียนท่านหนึ่งนามว่ากวางเจ๋อจุนเซียน (กงเต็กจุนอ๋อง) หรือคนทั่วไปเรียกว่า “โก๊ยเส้งอ๋อง”

38

“เถี่ยนส่องเส้งโบ้” (มาจ้อโป๋) เทพประจ�ำแซ่หลิม

“หลิมฮู้ไท้ซือ” (สามกอง) เทพประจ�ำแซ่หลิม

Rotary Thailand 38


“แซ่หลิม” มีหลายแห่งมักเป็น “อ๊ามหลิมฮู้ไท้ซือ” เช่น “อ๊ามสามกอง” และ “อ๊ามเชิงทะเล” อ๊ามที่อยู่สี่แยกโรงเรียน สตรีภูเก็ต และตามอ๊ามทั่วๆ ไปและอ๊ามมาจ้อโป๋ทุกแห่ง เที้ยนส่องเส้งโบ้ (ม้าจ้อโป๋) แซ่หลิม ชาวเกาะเหมยโจว อ�ำเภอผู่เถียน เมือง หงโหล มณฑลฝู่เจี้ยน ประสูติเมื่อเดือน 3 วันที่ 23 ตรงกับศักราช เจี้ยนหลงปีที่ 1 รัชสมัยพระเจ้าซ่งไทจู่ (พ.ศ.1503-1519) โม่เหนียง เป็นเด็กฉลาดมีพรสวรรค์ความจ�ำดี เป็นลูกศิษย์ของนักพรตชราเสี้ยนทง พระเจ้าเกาจง แห่งราชวงศ์หนานซ่ง พระราชทานพระยศ หนิงหลิงฮุ่ยเจ้าอิ้นฟูเหยิน พระเจ้าหยวนซื่อจู่ราชวงศ์หยวน พระราชทานพระยศ ฮู้กว๋อหมิงจู้เทียนเฟย พระหมิงเฉินจู่ราชวงศ์หมิง พระราชทานพระยศ ฮู้กว๋อปี้ผู้จี้เทียนเฟย พระเจ้าคังซีราชวงศ์ชิง พระราชทานพระยศ เทียนซ่านเซิ้งหมู่ พระเจ้าเฉียนหลงราชวงศ์ชิงจัดให้เข้าในพระราชพิธีสักการะของพระราชส�ำนัก

โป้เซงไต่เต่ “แซ่หงอ” มีเทพ “หงอจิน้ หยิน” หรือ “โป้เซงไต่เต่” เช่น “อ๊ามท่าเรือ” มีเกือบทุกอ๊ามในภูเก็ตโป๊เส้งไต่เต่ (หงอจินหยิน) เกิดสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือประมาณ พ.ศ.1522 ขึ้น 15 ค�ำ่ เดือน 3 จีน ที่เมืองจวนจิ้ว มณฑลฮกเกี่ยน ท่านเป็นผู้เฉลียวฉลาดความจ�ำดี รักสันโดษ เมือ่ อายุ 17 ปีพระส่ายอ๋องโบ้ถา่ ยทอดวิชาให้ 7 วัน 7 คืน ได้มอบต�ำรายารักษาโรคต่างๆ ไ ว้ชว่ ยเหลือชาวบ้าน ท่านใช้ทงั้ คาถา อาคมประกอบยารักษาโรคโดยไม่เห็นแก่สินจ้างรางวัล เมื่ออายุได้ 55 ปีท่านละสังขารโดยพลัดตกลงมาจากภูเขาที่ขึ้นไปเก็บสมุนไพร ตรงกับวันขึ้น 2 ค�่ำเดือน 5 ชาวบ้านมีความอาลัยจึงสร้างศาลและรูปเคารพไว้สักการบูชา (อี้เหลงจิ้นหยิน, หงอจิ้นหยิน, โป้เส้งไต่เต่) ทุกตระกูลแซ่ก็จะมีเทพหรือบรรพบุรุษประจ�ำตระกูล มิสามารถน�ำมาบอกเล่าให้หมดได้

ซิมโฮ้ หลางโอ่โล้ (คนจิตใจดี คนชมยกย่อง)

หลางโฮ้ โฮเกียดโก้ (คนดี ชีวิตบั้นปลายดี)

*ส�ำเนียงภาษาจีนที่เขียนอยู่ในบทความนี้เป็นจีนฮกเกี่ยน

District Member Club

3330 2,683 103

3340 1,527 59

โก๊ย ฮอง หยอง 郭豐揚

At a Glance

3350 2,824 104

3360 1,513 68

รวม 8,547 334

จับตาสมาชิก ข้อมูล : Rotary.org (15 พ.ย. 58) 39


หาสรร

หรรษา

ดนุชา ภูมิถาวร danucha@rotarythailand.org

ไปเกาหลี กันเถอะ

40

Rotary Thailand 40


เที่ยวล่อง ส่องเมือง ตลาดนัด เชื่อว่าทุกคนรู้จัก “ตลาดนัด” อย่างน้อยก็ต้องรู้จักตลาดนัดสวนจตุจักรซึ่งเป็นที่นิยม ของคนไทยและนักท่องเทีย่ ว และในช่วง 10 กว่าปีมานีต้ ลาดนัดก็เป็นทีน่ ยิ มทัง้ ในกรุงและต่าง จังหวัด มีทวี่ า่ งตรงไหนเป็นต้องติดตลาดนัด ซึง่ แต่ละแห่งก็แตกต่างกันไปตามพืน้ ทีแ่ ละลักษณะ ชุมชน ตลาดนัดในมหาวิทยาลัยย่านสุขุมวิทจะคึกคักไปด้วยนักเรียนนิสิต อาจารย์ หนุ่มสาว ออฟฟิศรวมถึงชาวต่างชาติ เน้นของกินส�ำเร็จรูป เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า บางร้านรับบัตร เครดิตด้วยซ�ำ้ ไป

ขณะที่ตลาดนัดในต่างจังหวัดแสดงให้เห็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น การกินอยู่ รวมถึงวิถี ชีวิตของคนในพื้นที่ เป็นซุปเปอร์มาร์เก็ตของชาวบ้าน แถมราคายังถูกกว่ากันอย่างเหลือเชื่อ ยิ่งออกนอกเมืองมากเท่าไหร่ ตลาดนัดก็ยิ่งเป็นที่ “ปล่อยของ” ของชาวบ้านจริงๆ ที่ซื้อมาขาย ไปก็มี แต่มากมายที่ชาวบ้านแปลงสินทรัพย์ให้เป็นเงินทุน ตลาดนัดบ้านดอนคา อ.อูท่ อง จ.สุพรรณบุรี เป็นตลาดนัดบ่ายวันเสาร์ นอกจากจะเป็นทีจ่ บั จ่ายซือ้ หาของกินของใช้สารพัดแล้ว ยังเป็น ที่พบปะของคนในชุมชน ชาวบ้านเก็บหัวปลี ขุดข่า ตะไคร้ เก็บใบโหระพา มะเขือ พริก มาจากบ้านจากไร่ วางตาข่ายดักกุ้งฝอยในนาแล้วติด ปูนามาด้วย ก็นำ� มาขายกันสดๆ ราคาถูกๆ ไม่ต้องผ่านคนกลาง ถ้าคุณยังไม่เคยไปตลาดนัด ลองไปสักครั้งนะคะ เพราะตลาดนัดเป็นมากกว่าตลาดเสียอีก #

41


42

Rotary Thailand 42


43


โรตารี วาไรตี้

44

Rotary Thailand 44


45



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.