RotaryThailand_Online Thai

Page 1


Program

วันที่ 1

วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน 2560 17:00 ออกจากโรงแรมที่พัก ไปรับประทานอาหารค่ำ�ที่ไชน่าทาวน์ 20:30 กลับโรงแรม

วันที่ 2

วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน 2560 08:30 กล่าวเปิดประชุม โดย อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย 08:35 กล่าวต้อนรับ โดย อผภ.ดร.สุพงษ์ ชยุตสาหกิจ รองประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 08:40 แนะนำ�ผู้เข้าร่วมสัมมนา โดย อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย 09:00-09:30 ข้อมูลปัจจุบันการ สื่อสารของโรตารี โดย ดอนนา คอทเตอร์ เป้าหมาย: ความยั่งยืนมั่นคง

2 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

09:30-10:30 แบบดิจิตัลหรือแบบ สิ่งพิมพ์? อนาคตของนิตยสารประจำ� ภาคพื้นทวีป


ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ เป้าหมาย: อนาคตของนิตยสาร

ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความยั่งยืนมั่งคง

10:30-10:45 พักเบรก 15 นาที

16:15-17:00 หัวข้อ/ข้อคิดการสัมมนาบร 10:45-11:45 อภิปรายการประชุมสภา รณาธิการฯ ปี ๒๕๖๑ โดย ดอนนา คอตเตอร์ นิติบัญญัติโรตารี: จะยกเลิกข้อบังคับการรับ เป้าหมาย: การสัมมนาในอนาคต นิตยสารหรือไม่? ผู้ดำ�เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ เป้าหมาย: อนาคต

-- ปิดการประชุมสำ�หรับวันนี้–

17:45 ออกจากโรงแรมไปรับประทานอาหารค่ำ�

11:45-12:15 ระดมสมอง: ทำ�อย่างไร 18:30-20:00 อาหารค่ำ�กับผู้นำ�อาวุโสโรตารี ให้การบอกรับสมาชิกนิตยสารเป็นสิ่งน่าพึง ประเทศไทย ปรารถนา สุนทรพจน์โดย อดีตประธานโรตารีสากล ผู้ดำ�เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ พิชัย รัตตกุล เป้าหมาย: ปัญหาท้าทาย และอนาคต นิตยสาร 12:15-13:15 รับประทานอาหารกลางวัน 13:15-14:15 วิธีการดีที่สุดของ นิตยสารประจำ�ภาคพื้นทวีป ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความยั่งยืน มั่นคง

วันที่ 3

วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน 08:30 ออกเดินทางไป จ.กาญจนบุรี 9:30-12:00 ปรึกษาหารือ: ทำ�อย่างไร ให้กลุ่มนิตยสารฯ รวมตัวเป็นหนึ่งเดียวกัน ยิ่งขึ้น แนวคิดการเพิ่มสมาชิกนิตยสาร

14:15-15:15 แบบสำ�รวจสมาชิก ผู้ดำ�เนินรายการ: ดอนนา คอตเตอร์ นิตยสาร -- ปิดการประชุม– ผู้ดำ� เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ 12:00 อาหารกลางวันบนแพล่องแม่น้ำ�แคว เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความ ยั่งยืนมั่นคง ทัศนศึกษา พร้อมเครื่องดื่ม 15:15-15:30 พักเบรก 15 นาที 16:00 เยี่ยมเมืองมัลลิกา 15:30-16:15 โรตารีจะสนับสนุน นิตยสารภาคพื้นทวีปมากยิ่งขึ้นอย่างไร?

18:00-20:00 อาหารค่ำ�และลอยกระทง 20:00 เดินทางกลับกรุงเทพฯ


ส า น น์ พิชัย รัตตกุล ประธานโรตารีสากล ปี 2002-03 การต้อนรับที่น่าอบอุ่นมาก ยินดีต้อนรับสู่ดินแดนแห่งรอยยิ้ม ยินดีต้อนรับสู่กรุงเทพฯ ...เมืองเทวดา ในนามของมิตรโรแทเรียนกว่า 8,000 คนทั่ว ประเทศ ผมในฐานะโรแทเรียนคนหนึ่งขอกล่าวต้อนรับ จากใจจริงมายังบรรณาธิการนิตยสารภาคพื้นทวีปทุก ท่าน ท่านได้เดินทางไกลจากบ้านของท่าน จากออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ฟิลิปปินส์และประเทศไทย เพื่อมา “ปรับ” ความรู้ของท่านและสิ่งที่ท่านได้เรียน รู้ก่อนที่จะแบ่งปันประสบการณ์ของท่านให้กันและกัน การเรียนรู้จากกันและกันเพื่อจะสามารถรับภาระมาก ขึ้น มีชีวิตชีวามากขึ้นและยังสามารถทำ�ให้ท่านเป็นนัก สื่อสารที่ดียิ่งขึ้นด้วย ช่วงเวลา 3 วันที่ท่านพักอยู่ที่นี่จะมีความหมายอย่าง มากกับการทำ�งานในอนาคตของท่าน และผมเชื่อมั่นว่า ท่านไม่เพียงแต่จะกลับไปพร้อมกับสิ่งที่ท่านได้เรียนรู้ แต่ยังจะนำ�ความปรารถนาดีของมิตรโรแทเรียนชาวไทย กลับไปด้วย ด้วย

4 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

ขอพระเจ้าคุ้มครองทุกท่านเมื่อถึงเวลาต้องจากกัน


นรเศรษฐ ปัทมานันท์ กรรมการบริหารโรตารีสากล ปี 2005-07 ในโอกาสจั ด สั ม มนาบรรณาธิ ก ารนิ ต ยสาร โรตารีภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ณ กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 เพื่อปรึกษาหารือ เรื่องที่สำ�คัญๆ ตั้งแต่ความมั่นคงยั่งยืน ปัญหาร่วม กัน และอนาคตของนิตยสารภาคพื้นทวีป ผมขอกล่าว ต้อนรับผู้เข้าร่วมการสัมมนาทุกๆ ท่านสู่การสัมมนาที่ สำ�คัญครั้งนี้ ในการเป็นเจ้าภาพเป็นครั้งแรกนี้ ผมหวังว่า พวกเราชาวไทยจะพยายามทำ�งานให้ดีที่สุด เพื่อให้การ ประชุมภาคพื้นทวีปนี้มีประสิทธิผลและสัมฤทธิ์ผลทุก ประการ ขอให้ท่านพำ�นักในประเทศไทยด้วยความสุข

รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ กรรมการบริหารโรตารีสากล ปี 2015-17 ดิฉันขอแสดงความยินดีอย่างจริงใจในการจัด สัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีปเอเชีย/ แปซิฟิก ณ ศูนย์โรตารีในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 ขอต้อนรับผู้เข้าร่วมการสัมมนาครั้ง สำ�คัญในกรุงเทพฯ ทุกท่าน ประสบการณ์และความมุ่งมั่นตั้งใจต่อการสัมมนา ครั้งนี้ของพวกท่าน จะสร้างความแตกต่างให้กับการ ดำ�เนินงานของโรตารีสากลของเราต่อไปอย่างแน่นอน ดิฉันเชื่อมั่นว่า การสัมมนาครั้งนี้จะสร้างผลผลิตข้อคิด ต่างๆที่ล้ำ�ค่าที่จะไปบุกเบิกนวัตกรรมใหม่สำ�หรับ โรแทเรียนและผู้มิใช่โรแทเรียนทั่วโลกต่อไป ขอส่งความปรารถนาดีสำ�หรับการสัมมนาที่จะมี ประโยชน์และช่วงเวลาแห่งความสุขระหว่างการพำ�นัก ในกรุงเทพฯ ประเทศไทยด้วย


ส า น น์ อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล ประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย พวกเราชาวคณะศูนย์โรตารีในประเทศไทยและ นิตยสารโรตารีประเทศไทย รู้สึกเป็นเกียรติในการ ต้ อ นรั บ ผู้ เข้ า ร่ ว มการสั ม มนาบรรณาธิ ก ารนิ ต ยสาร ภาคพื้นเอเชีย/แปซิฟิกที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 เราจะสร้างความคุ้นเคยมากยิ่ง ขึ้น มีมิตรภาพมากขึ้น ได้แลกเปลี่ยนข้อคิดกันมากขึ้น แสวงหาความร่วมมือกันและประสบผลสำ�เร็จอย่างดี ตลอดการสัมมนาและต่อๆไป ขอขอบคุณสำ�หรับการอุทิศเวลาอันมีค่าและ แบ่งปันข้อคิดต่างๆ ระหว่างการสัมมนานี้ ผมหวังว่า ทุกท่านจะมีความสุขกับวัฒนธรรมไทย อาหารไทย และเครื่องดื่ม ขอให้พักผ่อนและปลอดภัยระหว่างการ พำ�นักของท่านในประเทศไทย พวกเราหวังว่าท่านจะนำ� ประสบการณ์ของท่านจากการสัมมนาและวัฒนธรรม ไทย ไปแบ่งปันกับมิตรโรแทเรียนในภาค/ประเทศของ ท่านต่อไป ขอส่งความปรารถนาดีมายังทุกท่านและให้ เดินทางกลับโดยปลอดภัยด้วย

6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย โลกยุคดิจิตอลยุคของการติดต่อสื่อสารไร้สาย ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ทำ�ให้เราทุกคนสามารถพูดคุยกัน ได้มากขึ้น ได้ตลอดเวลาตามที่ใจต้องการเสียด้วยซ้ำ� โลกเสมื อ นจริ ง ทำ � ให้ ก ารพบปะกั น มี ค วาม จำ�เป็นน้อยลง แต่ในท้ายที่สุดโลกเสมือนจริงก็มิใช่โลก แห่งความเป็นจริง อาจจะอำ�นวยความสะดวกได้ใน ระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถทดแทนได้ทั้งหมด งานสั ม นาในครั้ ง นี้ จ ะมี ส่ ว นสำ � คั ญ ทำ � ให้ บรรณาธิการในภูมิภาคนี้ ได้มีโอกาสได้รู้จักมักคุ้น พบปะพูดคุยหารือกันในหลายๆ เรื่อง ในฐานะเจ้าภาพของการจัดการประชุมและ บรรณาธิการฯ คิดว่า หัวข้อที่จะมีการพูดคุยหารือ จะ เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นของนิตยสารฯ การประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ ฯลฯ และหวังว่ามิตรภาพที่เกิดขึ้นจะทำ�ให้ทุกฝ่าย ได้เข้าใจกันและกัน และมีความร่วมมือกันมากขึ้น ทางคณะทีมงานจัดการสัมนาในครั้งนี้ หวังใจ ว่าทุกท่านจะได้รับความประทับใจ ในมิตรภาพของการ เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายโรตารี

USA ดอนนา คอตเตอร์ ผู้ประสานงานคณะกรรมการและนิตยสาร ภาคพื้นทวีปฯ โรตารีสากล ดอนนาทำ � งานอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ ผู้ บ ริ ห าร นิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีป 32 ฉบับ พร้อมกับทีมงานนักสื่อสารระดับโลก ดอนนา ให้บริการลูกค้าอย่างต่อเนื่องและอยู่ในทุกสถานการณ์ ของการจัดพิมพ์นิตยสารภาคพื้นทวีปหลายฉบับ ดอนนายังปฏิบัติหน้าที่กับ เดวิด อเล็กซานเดอร์ ผู้ประสานงานคณะกรรมการฝ่ายสื่อสารและประธานฯ แบรด โฮเวิร์ด โดยร่วมมือกับคณะผู้ทำ�งานของคณะ กรรมการด้วย ตลอดจนจัดการประชุมต่างๆ ตลอดปี โรตารี ดอนนาเคยทำ�งานบริการลูกค้าให้กับบริษัท โฆษณาและทำ�หน้าที่ผู้ประสานงานฝ่ายครีเอทีฟด้วย


8 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560



Donna Cotter

(Regional Magazines Manager)

บันทึกการสัมมนา

ผู้ร่วมการสัมมนา ผู้แทนนิตยสารฯ - วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการ (โรตารี ประเทศไทย) ราชิดา ภากาต บรรณาธิการ (โรตารีนิวส์, อินเดีย) เคียวโกะ โนซากิ บรรณาธิการ (โรตารี-โน-โตะโมะ, ญี่ปุ่น) โยชิโอะ ชิมซิ ึ ประธาน (โรตารี-โน-โตะโมะ) จีไฮเอะ ลี บรรณาธิการ (โรตารีเกาหลี) อึนจุง คิม บรรณาธิการบริหาร (โรตารีเกาหลี) อูร์ซุลา “ชิต” ลีเชาโก บรรณาธิการบริหาร (ฟิลิปปินส์ โรตารี) เบนิกโย “พิชอย” เอมีลีโอ รามิเรส ประธาน/ผู้พิมพ์ (ฟิลิปปินส์ โรตารี) เจ.อันโตนิโย “โทนี่” กีล่า ประธานบอร์ดผู้ บริหาร (ฟิลิปปินส์ โรตารี) แฮริสัน จ็อง บรรณาธิการบริหาร (ไต้หวัน โรตารี) และดอนนา ค็อทเตอร์ ผู้ประสานงานนิตยสาร ภาคพื้นทวีป โรตารีสากล ผู้ร่วมสัมมนา สมภพ ธีระสานต์ (อผภ.ภาค 3330) ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา (ผช. บก.ภาค 3350) ชาญ จรรโลงเศวตกุล (ประธานศูนย์โรตารีใน ประเทศไทย) สุพงษ์ ชยุตสหกิจ (รองประธานศูนย์โรตารีใน ประเทศไทย) ดนุชา ภูมถิ าวร (ผูอ้ �ำนวยการ ศูนย์โรตารีฯ) อนุรกั ษ์ นภาวรรณ (อผภ.ภาค 3360) ช�ำนาญ จันทร์เรือง (ผช.ผู้ประสาน งานภาพลักษณ์โรตารี โซน 6 บี) พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ (ผู้แปลภาษา โรตารีประเทศไทย) จันทนี เทียนวิจิตร (ผู้เขียน บทความ โรตารีประเทศไทย) จิตราพร “เล็ก” สันติธรรมเจริญ ผช.บรรณาธิการ (โรตารีประเทศไทย) ล่ามภาษา - รทร. เจ ชุง (เกาหลี) - รทร จุน นากามุโระ (ญี่ปุ่น)

10 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


บันทึกการประชุม - เริ่มการสัมมนาด้วยค�ำกล่าวต้อนรับของเจ้าภาพ นิตยสารโรตารี ประเทศไทย และศูนย์โรตารีในประเทศไทย ต่อด้วยการแนะน�ำผู้ร่วม การสัมมนาทุกคน - อัพเดทการสื่อสารของโรตารีปัจจุบัน เน้นเรื่องส�ำคัญคือ • ความส�ำเร็จในการรณรงค์กลุ่มผู้ปฏิบัติการกลุ่มใหม่ ด้วยการ ช่วยเหลือจากนิตยสารภาคพื้นทวีป • ความคาดหวังการเปลี่ยนแปลงเว็บไซท์ที่ก�ำลังจะมาถึง • การร่วมมือมากขึ้นจากส�ำนักงานใหญ่ เอฟแวนสตัน รวมถึงเรื่อง เนื้อหาในภาษาต่างๆ ที่ใช้ในเว็บ rotary.org • การเฝ้าติดตามที่ดีขึ้น จะมีผลในการเสริมคุณค่าให้แก่นิตยสารภาค พื้นทวีป ในฐานะเป็นหนึ่งช่องทางการสื่อสาร • การเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงนิตยสาร The Rotarian ในไม่ช้านี้ • ความจ�ำเป็นทีต่ อ้ งมีความเข้มข้นในการสร้างภาพนิตยสารเพือ่ ขยาย ภาพลักษณ์โรตารี - อภิปรายนิตยสารแบบดิจิตัลกับแบบกระดาษพิมพ์ และการบังคับใช้ ข้อบังคับบอกรับนิตยสารในอนาคต • ทุกคนยอมรับว่าโลกดิจิตัลก�ำลังเร่งรัดให้สิ่งตีพิมพ์กลายเป็นแบบ ดิจิตัลมากขึ้น และมิใช่แบบ pdf นิ่งๆ เท่านั้น • ข่าวสารในเว็บไซท์ ปรับให้เป็นปัจจุบันได้ง่ายและเร็วกว่าข่าวสาร ที่ตีพิมพ์ด้วยกระดาษ • มิใช่วา่ ทุกคนจะสามารถรับข่าวสารทางออนไลน์หรืออินเตอร์เนทได้ • นิตยสารแบบดิจิตัลและกระดาษพิมพ์จะต้องจัดท�ำไปด้วยกันโดยมี การเชื่อมต่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสิ่งพิมพ์ กระดาษ หรือแจ้งข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมทางเว็บไซท์แก่ผู้อ่าน นิตยสารแบบพิมพ์กระดาษด้วย

- ผู้แทนนิตยสาร เสนอข้อปฏิบัติที่ดีที่สุดส�ำหรับนิตยสารภาคพื้นทวีป • การวางแผน – บางฉบับวางแผนล่วงหน้าหลายเดือนถึงหนึ่งปี ฉบับ อนื่ ๆ อาจวางแผนเพียงสองสามเดือน เพือ่ ปรับปรุงข้อมูลในประเทศ และของโรตารีให้เป็นปัจจุบัน • ญี่ปุ่น ไต้หวัน ไทยและฟิลิปปินส์ปรับเปลี่ยนรูปแบบนิตยสารไป เร็วๆ นี้โดยมีเสียงตอบรับจากสมาชิกได้ผลดี -- การอภิปรายเรื่องแบบส�ำรวจของสมาชิกนิตยสาร • ค�ำถามที่ว่า “ท�ำอย่างไรให้สมาชิกเลือกนิตยสารแบบตีพิมพ์?” พิจารณาว่าให้ใช้แบบส�ำรวจสอบถามผู้อ่านจะได้ค�ำตอบดีที่สุด ส�ำหรับค�ำถามนี้ • ที่อินเดียเคยใช้แบบสอบถาม “Survey Monkey” ราชิดาได้รับ ตวั เลขตอบคุณภาพของสาระเนือ้ หา หัวข้อและการปรับปรุงอืน่ ฯลฯ • นิตยสาร The Rotarian ใช้แบบสอบถามทุกครั้งที่ต้องการข้อมูล หรือความต้องการจากผูอ้ า่ น ในสองสามฉบับหน้าก็จะมีให้ดอู กี แบบ หนึ่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมาก็มีแบบส�ำรวจเกี่ยวกับโฆษณา ในปี 2558 ก็ได้ท�ำการส�ำรวจและมีผลตอบรับโดยรวมที่น่าพอใจ - โรตารีสากลจะสนับสนุนนิตยสารภาคพื้นทวีปให้ดีกว่านี้ได้อย่างไร? • มีบทความระดับโลกมากขึ้น มิได้มีเรื่องจากอเมริกาเท่านั้น • เพิม่ เรือ่ งอืน่ ๆ (เช่น เรือ่ งโตรอนโต มีเรือ่ งเกีย่ วกับเอเชีย/ร้านอาหาร/ ไชน่าทาวน์ ฯลฯ) • การเพิ่มภาษาอื่นๆ ในบทความที่ลงเว็บ rotary.org จะมีประโยชน์ ดีขึ้น

- ข้อคิดจากการสัมมนา • เชิญวิทยากรภายนอกมาพูดเรื่องนิตยสารดิจิตัลกับแบบสิ่งพิมพ์ • ให้แก้ปัญหามากกว่าพูด • รับฟังข้อมูลการแก้ปัญหาที่คล้ายๆ กัน เรื่องไม่รับนิตยสาร - การบอกรับนิตยสารดิจิตัลมีเปอร์เซ็นต์เพียงเล็กน้อย ควรแปลว่า ไม่ช�ำระเงิน หรืออื่นๆ อย่างไร? • อ้างอิง - สภานิติบัญญัติโรตารีและการสร้างผลผลิตที่น่าสนใจ หากว่าข้อบังคับให้รับนิตยสารถูกน�ำไปบรรจุในวาระประชุมสภา นติ บิ ญ ั ญัตปิ ี 2562 คุณดอนนา จะรีบแจ้งให้คณะบรรณาธิการทราบ เมือ่ มีการบรรจุญตั ตินใี้ นวาระประชุมสภาฯ เมือ่ ได้รบั การยืนยันแล้ว • ท�ำอย่างไรให้นิตยสารเป็นที่ต้องการของสมาชิก โดยเฉพาะแบบสิ่ง พิมพ์ ค�ำถามนี้ควรให้สมาชิกผู้อ่านตอบแบบสอบถาม


การต้อนรับและประสิทธิภาพ การสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารี ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ณ กรุงเทพฯ

เมือ่ กลางเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ นมา คุณดอนนา ค็อทเตอร์ ผู้ประสานงานนิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีป และการสื่อสารระดับโลก ได้ส่งอีเมลถึงบรรณาธิการ นิตยสารโรตารีในเอเชียและแปซิฟกิ เชิญไปร่วมประชุม สัมมนาบรรณาธิการฯ ระหว่าง 1-3 พฤศจิกายน 2560 ณ กรุงเทพฯ ในนามของคุณเดวิด อเล็กซานเดอร์ หัวหน้ากลุ่มผู้ติดต่อสื่อสารระดับโลกของโรตารีสากล ซึ่งตั้งใจจะมาร่วมการสัมมนานี้ด้วย แต่ท่านติดภารกิจ ในนาทีสุดท้าย จึงไม่สามารถเดินทางมาได้ บรรณาธิการและประธานบอร์ดจากประเทศ ญีป่ นุ่ อินเดีย ฟิลปิ ปินส์ เกาหลี ไต้หวันและประเทศไทย เจ้าภาพมากกว่า 20 คน มารวมกันทีศ่ นู ย์โรตารีฯ ชัน้ ที่ 32 อาคารโอเชียนทาวเวอร์ 2 เพือ่ เริม่ โปรแกรมตามที่ ก�ำหนดไว้อย่างดียิ่ง

ก่อนทีผ่ เู้ ข้าสัมมนาจะเดินทางมาถึงกรุงเทพฯ บก.บริหาร วานิช โยธาวุธ และกรรมการศูนย์ฯ ได้ เตรียมหัวข้อเนือ้ หาทีจ่ ะยกมาอภิปรายกัน จัดโปรแกรม ทัศนศึกษา โรงแรมที่พักและสิ่งอื่นๆ ไว้อย่างเรียบร้อย ตารางเวลา 3 วันมีความชัดเจน เข้าใจง่าย ท�ำให้ผม สะดวกสบายใจก่อนการเดินทางมาประเทศไทยด้วยซำ �้ จึงขอถือโอกาสนี้ขอบคุณในความกรุณาของเจ้าภาพ ส�ำหรับโรงแรมทีพ่ กั 3 คืนและค่าใช้จา่ ยภาคสนามอืน่ ๆ ผมเชือ่ ว่าแขกทีม่ าทุกๆ ท่านคงมีความรูส้ กึ ขอบคุณเช่น กัน ส�ำหรับการต้อนรับอย่างอบอุ่นในฐานะเจ้าภาพ เป็นอย่างยิ่ง พวกเราหวังว่าจะมีโอกาสตอบแทนท่าน ในอนาคตต่อไปด้วย การสัมมนาเริ่มขึ้นตั้งแต่ภาคเช้าจนถึงช่วง บ่ายของวันที่ 1 พฤศจิกายน โดยผู้ด�ำเนินการประชุม

12 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


ที่มีชีวิตชีวาและการเตรียมพร้อมที่ดีของบก.วาณิช เจ้าภาพและ อผภ.สมภพ ธีระสานต์ ภาค 3330 ท�ำให้พวกเราผ่านพ้นปัญหาที่ เกือบทุกคนในนิตยสารภาคพื้นทวีปประสบมา ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง นิตยสารแบบรูปเล่มหรือแบบดิจิตัล ที่จะเป็นปัญหาใหญ่ของเรา ในอนาคตอันใกล้ หรือเป็นหัวข้อการบอกรับสมาชิกนิตยสารหาก มีการยกเลิกข้อบังคับในอนาคตแล้ว พวกเรานิตยสารภาคพืน้ ทวีป จะท�ำอย่างไรดีทสี่ ดุ พวกเรานิตยสารภาคพืน้ ทวีปจะมีวถิ ที างรวม ตัวกันมากกว่านีอ้ ย่างไร นิตยสารภาคพืน้ ทวีปจะสามารถช่วยเพิม่ สมาชิกภาพได้หรือไม่ อนาคตของนิตยสารภาคพืน้ ทวีปเราจะเป็น อย่างไร เราควรจะร่วมงานในนิตยสารของกันและกันอย่างใกล้ชดิ กว่านีไ้ ด้อย่างไร และเราควรเตรียมการส�ำหรับการประชุมสัมมนา บรรณาธิการฯ ระดับโลกที่จะจัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2561 กันอย่างไรบ้าง ฯลฯ ขอเชิญพวกเราทุกคนช่วยกันพูดและออก ความเห็นด้วย บรรยากาศในที่สัมมนาเป็นไปอย่างอิสระ สบายๆ แต่จริงจังในสาระเนื้อหาทุกขั้นตอนการอภิปราย โดยส่วนตัวผม แล้วมีความพอใจมาก ทีม่ โี อกาสได้รว่ มแบ่งปันประสบการณ์หลาก หลายจากผูร้ ว่ มงานทุกประเทศ ได้เรียนรูป้ ระสบการณ์การท�ำงาน ของกันและกันโดยรวม ผมประทับใจในการท�ำงานของศูนย์โรตารีฯ ที่ก�ำหนด ให้สมาชิกโรแทเรียนทุกคนในประเทศไทยช�ำระค่าบ�ำรุงนิตยสาร เพื่อสนับสนุน “นิตยสารโรตารีประเทศไทย รายสองเดือน” ซึ่ง ผมเห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีมากท�ำให้ไม่ต้องกังวลเรื่องการพัฒนา นิตยสารให้เจริญยั่งยืนต่อไป กล่าวโดยรวมแล้ว การสัมมนาครั้ง นี้มีประสิทธิภาพดีอย่างยิ่งและประสบผลส�ำเร็จมาก คล้ายการ จัดอภิปรายในสถาบันการศึกษาและมีช่วงเวลาพักที่เหมาะสม มากกว่าการฟังบรรยายหรือสัมมนาในชัน้ เรียนทัว่ ไปในมุมมองของ ผม ยกเว้นช่วงน�ำเสนอข้อมูลปัจจุบันของโรตารีสากลและข้อคิด

เห็นสาระที่มีประโยชน์มากของคุณดอนนา ค็อทเตอร์ ช่วงเย็นวันพฤหัสบดีที่ ๒ พฤศจิกายน ผู้ร่วมงานทุกคน ได้รบั เชิญไปงานเลีย้ งอาหารมือ้ คำ�่ ทีภ่ ตั ตาคารอาหารทะเล พร้อม กับผู้น�ำอาวุโสของโรตารีประเทศไทย เช่น อดีตกรรมการโรตารี สากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ และท่านเสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ และ อดีตผูว้ า่ การภาคหลายท่าน น่าเสียดายทีเ่ ราพลาดโอกาสพบอดีต ประธานโรตารีสากลทีน่ า่ เคารพ ท่านพิชยั รัตตกุล ซึง่ เดิมท่านตัง้ ใจ จะมาร่วมงานเลี้ยงกับพวกเราด้วย แต่บังเอิญท่านรู้สึกไม่สบาย ท�ำให้ไม่สามารถมาได้ อย่างไรก็ดี ท่านนรเศรษฐ ได้ถ่ายทอดค�ำ กล่าวต้อนรับและความปรารถนาดีอย่างประทับใจของท่านพิชัย รัตตกุล มายังพวกเราและสมาชิกครอบครัวในงานนี้ ท�ำให้พวกเรา ทุกคนรู้สึกดีใจมากและอิ่มอร่อยกับอาหารค�่ำร้อนๆ มื้อนี้อย่างยิ่ง เช้าวันรุง่ ขึน้ ท้องฟ้าสว่างอากาศสดใส พวกเราทุกคนไป พบกันทีต่ กึ โอเชียนทาวเวอร์ 2 เพือ่ เดินทางไปทัศนศึกษาทีจ่ งั หวัด กาญจนบุรี บ้านของท่านอผภ.สมภพ ธีระสานต์ เราเดินทางโดย รถบัสประมาณ 3 ชม.จากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันตก ท่าน บก.วาณิช ท�ำหน้าที่กัปตันน�ำพวกเราร้องเพลงตลอดทาง จนถึง ร้านอาหารแพธาราริมน�้ำแม่แคว พวกเราลงแพอาหารโดยมีเรือ ลากจูงไปตามล�ำนำ�้ เพือ่ รับประทานอาหารเทีย่ งแล้วร�ำวงกัน ด้วย ความสนุกสนานมาก สมาชิกในกลุม่ เราทุกคนล้วนใส่เสือ้ โปโลสีฟา้ ทีค่ ณะผูจ้ ดั งานเตรียมให้พวกเราอย่างเหมาะสมทุกคนทุกประเทศ เป็นของขวัญและเป็นความกรุณาของเจ้าภาพแก่พวกเราทุกคน ต่อจากนั้น เราก็เดินทางไปเยี่ยมโรงพยาบาลประจ�ำ จังหวัดร่วมกิจกรรมซึ่งสโมสรโรตารีในท้องถิ่นจัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ส�ำหรับผู้พิการและเด็กที่เจ็บป่วย แล้วเราเดินทางต่อ


การต้อนรับและประสิทธิภาพ การสัมมนานิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีปเอเซียแปซิฟิก ณ กรุงเทพฯ อน.แฮริสัน จ็อง, บรรณาธิการบริหาร, นิตยสารโรตารีไต้หวัน ไปชมสะพานข้ามแม่น�้ำแควและเมืองโบราณมัลลิกาที่มีชื่อเสียง ระดับโลก ที่ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่สองและเมืองมรดกไทย ตามล�ำดับ ที่เมืองโบราณมัลลิกา เราต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าชุดไทย ทุกคนส�ำหรับผ่านประตู ซึ่งดูสนุกสนานแปลกตาดี สร้างความ เป็นเอกภาพและมิตรภาพเวลาเราถ่ายภาพหมู่ด้วยกัน การฟ้อน ร�ำไทยโบราณนัน้ ยิง่ ใหญ่สวยงามน่าดูนา่ ชมมากทีส่ ดุ และการลอย กระทงในล�ำธารหมูบ่ า้ นก็เป็นทีช่ นื่ ชอบของผูม้ าเยือนทุกคน เรา สนุกสนานกันมากและก่อนปล่อยกระทงลงในล�ำธาร ทุกคนก็ได้ ร่วมอธิษฐานกันด้วย

เตรียมตัวล่วงหน้าอย่างดียิ่ง เป็นการประหยัดเวลาและพลังงาน อย่างมาก และบรรณาธิการผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านล้วนระดับ มืออาชีพ ที่ให้เราได้รับทักษะประสบการณ์ของแต่ละท่าน มา แบ่งปันเรียนรูด้ ว้ ยกัน ผมขอชืน่ ชมยกย่องมิตรสหายทีก่ รุงเทพฯ ทุกท่าน ในทุกความส�ำเร็จของการสัมมนาบรรณาธิการนิตยสาร โรตารีประจ�ำภาคพื้นทวีปเอเชีย/แปซิฟิกครั้งนี้

เมือ่ กลับถึงไทเปแล้ว ผมยังรูส้ กึ ตืน่ เต้นกับความทรงจ�ำ ที่น่าประทับใจกับการเดินทางไปกรุงเทพฯ เที่ยวนี้ ผมประทับ ใจกับผู้คนในประเทศไทย โดยเฉพาะผู้ดูแลเราช่วงเวลาสั้นๆ ใน กรุงเทพฯ ในการต้อนรับอย่างมีประสิทธิภาพ เราประทับใจ ในการช่วยเหลือที่น่ารักและสนุกสนาน การสัมมนาก็จัดลุล่วง ไป ด้วยดี พร้อมเอกสารส�ำหรับการอภิปราย ท�ำให้เรามีโอกาส

14 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


การประชุมบรรณาธิการนิตยสาร ภาคพื้นทวีปที่กรุงเทพฯ

ราชิดา ภากาต (บรรณาธิการ)

การประชุมบรรณาธิการนิตยสารภาคพื้นทวีปที่กรุงเทพฯ

รูปเล่มน่าสนใจ มีภาพถ่ายที่สวยงาม และอาจหาวิธีให้มีโฆษณาสินค้า ที่มีชื่อเสียง เช่น นาฬิกาโรเล็กส์ รถยนต์ออดี ฯลฯ เป็นหัวข้อที่น�ำมา การประชุมบรรณาธิการนิตยสารโรตารีโลก ภาคพื้นทวีป อภิปรายกัน เอเชีย/แปซิฟิก ทุกสองปี ที่จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ประเทศไทยในปีนี้มี บรรณาธิการนิตยสารฯ จากฟิลปิ ปินส์ ญีป่ นุ่ เกาหลี ไต้หวันและอินเดีย เจ้าภาพที่ยอดเยี่ยม รวมประเทศไทยเจ้าภาพมาประชุมร่วมกัน โดยคุณ ดอนนา ค็อทเตอร์ สถานที่จัดสัมมนาเป็นสิ่งที่น่าประทับใจที่เป็นศูนย์โรตารีใน ผู้ประสานงาน บก.นิตยสารฯ ภาคพื้นทวีปและคณะกรรมการฝ่าย ประเทศไทย บนถนนแยกจากถนนสุขุมวิทที่มีชื่อเสียงของกรุงเทพฯ สือ่ สารจากโรตารีสากล ท�ำหน้าทีป่ ระธานในทีป่ ระชุมครัง้ นี้ การสัมมนา ทีมงานนิตยสารโรตารีประเทศไทยและศูนย์โรตารีฯ เป็น นีจ้ งึ เป็นเวทีทมี่ ปี ระโยชน์ส�ำหรับบรรณาธิการของแต่ละประเทศได้มา เจ้าภาพที่ยอดเยี่ยมและงานเลี้ยงมือค�่ำส�ำหรับต้อนรับบรรณาธิการ แบ่งปันประสบการณ์การผลิตนิตยสารโรตารีในประเทศของตนให้ทุก ภาคพืน้ ทวีป เป็นอาหารจีนทีด่ ที สี่ ดุ จาก ภัตตาคารสมบูรณ์ซฟี ดู้ ทีม่ ชี อื่ คนทราบ เสียงเป็นเอกลักษณ์ เป็นร้านอาหารหลักส�ำคัญของนักท่องเทีย่ วชาวจีน หัวข้อหนึ่งที่ได้อภิปรายกันถึงอนาคตของรูปเล่มนิตยสาร ที่มากรุงเทพฯ ต้องไปชิมให้ได้ และภัตตาคารแสนยอด ซีฟู้ดก็เป็นอีก ในยุคสมัยเทคโนโลยีดิจิตัล คุณวาณิช โยธาวุธ บก.บริหาร นิตยสาร ร้านหนึ่งที่จัดงานเลี้ยงอาหารค�่ำในคืนวันต่อมา ก็มีอาหารอร่อยมาก โรตารีประเทศไทย ซึ่งมียอดพิมพ์มากกว่า 8,000 เล่ม ส�ำหรับโรตารี 4 ภาคในประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ ก�ำหนดออกเป็น ส�ำหรับการเดินทางไปทัศนศึกษาที่จังหวัดกาญจนบุรี ไปชม รายสองเดือน กล่าวว่า “สถานการณ์ด้านการตลาดนิตยสารขณะนี้น่า สะพานข้ามแม่น�้ำแควที่มีชื่อเสียงระดับโลก ภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดที่ท�ำ กลัวมาก นิตยสารในประเทศหลายเล่มได้หยุดการผลิตและหายไปจาก เงินมากมายถ่ายท�ำที่นี่ ก่อนหน้านั้นเราได้ไปเยี่ยมชมโครงการบ�ำเพ็ญ ตลาดแล้ว” ประโยชน์ส�ำหรับผู้พิการและเด็กในโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดที่น่า แต่อย่างไรก็ดี บรรณาธิการส่วนใหญ่ยังรู้สึกว่านิตยสารใน ยกย่อง เราได้รับประทานอาหารกลางวันบนแพอาหารล่องล�ำน�้ำแคว ภาคพืน้ ทวีปแบบพิมพ์รปู เล่มยังจะต้องคงสถานะภาพเดิมต่อไปในภาค จัดโดยเจ้าภาพโรตารีกาญจนบุรี พวกเรามีโอกาสสนุกสนานเรียนรู้ พืน้ อาเชียนอีกระยะหนึง่ แม้วา่ แบบดิจติ ลั จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ ก็ตาม ซึง่ การร�ำวงแบบไทย ซึ่งเราต้องยอมรับด้วยว่ามีรูปแบบพัฒนาจากระบ�ำ คุณดอนนากล่าวเสริมว่า ต่อไปนีบ้ รรณาธิการจะต้องพิจารณาปรับปรุง พื้นเมืองของคนอินเดียด้วย เสริมคุณค่านิตยสารแบบพิมพ์ให้ดยี งิ่ ขึน้ ขณะเดียวกันก็ขยายการผลิต ทัศนศึกษาวันนีจ้ บลงในตอนคำ�่ ทีเ่ มืองมัลลิกา ทีผ่ เู้ ข้าชมต้อง แบบดิจิตัล ให้หลากหลายไปพร้อมกัน เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดไทยพื้นเมืองที่ต้องเสียค่าเช่าที่รวมกับค่าจัดทัวร์ การประชุมมีการอภิปรายทีห่ ลากหลายในการท�ำให้นติ ยสาร พาเราย้อนยุคกลับไปสู่อดีต และเราอาจจะขอแลกเปลี่ยนเงินเหรียญ น่าสนใจยิ่งขึ้นและมีเนื้อหาเหมาะส�ำหรับโรแทเรียนและครอบครัว มี ย้อนยุคได้จากร้านค้าในหมู่บ้าน


เราสิ้นสุดค�่ำคืนที่น่าประทับใจด้วยการน�ำกระทงดอกไม้น่า รักพร้อมธูปเทียนไปลอยที่แม่น�้ำแคว มีความรู้สึกคล้ายกับเวลาที่เรา ไปเยือนฝัง่ แม่นำ�้ คงคา ทีอ่ นิ เดีย คุณดนุชา ภูมถิ าวร ผูอ้ �ำนวยการศูนย์ โรตารีฯ ผูว้ างแผนการเดินทางครัง้ นี้ บอกกับเราว่า “ขอให้เราส่งความ รู้สึกด้านที่ไม่ดีทั้งหลายให้ลอยไปพร้อมกระทงของเรา เพื่อรอคอยรับ สิ่งที่ดีกว่าเข้ามาแทนที่” แล้วเราจะขออะไรมากกว่านี้อีก? ที่กล่าวมานี้ทั้งหมด เป็นโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์เพื่อ แบ่งปันปัญหาและหาข้อยุติซึ่งกันและกัน มีการเดินทางที่ท�ำให้ทุกคน สนุกสนาน โดยคณะผูจ้ ดั ทีต่ อ้ งเหน็ดเหนือ่ ยคอยจัดการให้เราอย่างสุด ยอด

กมลชนก ภิรมณ์ศิริพรรณ รองผู้อ�ำนวยการฯ คุณกุลวดี เดชปรีชาชัย คุณณรงค์ จันทน์ผาติ และคุณจิตราพร สันติธรรมเจริญ ได้ดูแลพวก เรา คอยบริการเครื่องดื่ม ถ่ายรูป ท�ำให้ทุกคนสะดวกสบาย ด้วยรอย ยิ้มที่สุภาพตลอดเวลา และแน่นอนส�ำหรับ คุณวาณิชที่ท�ำหน้าที่เจ้า ภาพและผู้น�ำทัศนศึกษาตลอดทางอย่างดีเยี่ยม ขอให้ทุกท่านระลึกว่า พวกเรารูส้ กึ ประทับใจกับประเทศไทยทีส่ วยงาม ตลอดจนการต้อนรับ ที่อบอุ่นในหัวใจของเราตลอดไป

ขอบคุณจากดวงใจ ราชิดา ภากาต สิง่ ทีย่ งั คงระลึกถึงตลอดไปคือความอบอุน่ สง่างามน่าประทับ บรรณาธิการนิตยสารโรตารีนิวส์ ใจที่ทีมงานของไทยดูแลพวกเรา ทุกสิ่งเป็นไปด้วยดีตั้งแต่แรกเริ่ม นิตยสารประจ�ำภาคพื้นทวีป ประเทศอินเดีย ส�ำหรับตัวดิฉันแล้ว คุณดนุชา เป็นผู้ตอบยืนยันโรงแรมที่พักอย่าง ฉับไวรวดเร็ว เพราะจ�ำเป็นส�ำหรับคนอินเดียเพื่อขอวีซ่ามาเมืองไทย ไม่ว่าจะเป็นที่ศูนย์โรตารีฯ หรือการเดินทางสามชั่วโมงไปกาญจนบุรี คณะเจ้าหน้าที่ศูนย์โรตารีฯ โดยคุณดนุชา ผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ คุณ

16 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


ที่นี่ประเทศไทย

บรรณาธิการและเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของส�ำนักพิมพ์นติ ยสารโรตารีระดับโลก ได้รบั การต้อนรับ แบบเอกลักษณ์ไทยอย่างดียิ่ง ในการประชุมภาคพื้นทวีป (สองปีครั้ง) ณ กรุงเทพฯ เมื่อเดือนก่อน คุณ ดอนนา คอทเตอร์ กรรมการผูป้ ระสานงานนิตยสารภาคพืน้ ทวีป ได้บนิ จากเอฟแวนสตัน อิลลินอยส์ เพือ่ มาด�ำเนินการประชุมสัมมนาที่ศูนย์โรตารีในประเทศไทย ใจกลางกรุงเทพฯ และ ทุกคนเห็นด้วยว่าการ ประชุมมาราธอนทั้งวันประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่งในด้านประสิทธิผลและการสร้างสรรค์ ตลอดจน การเดินทางท่องเที่ยวเชิงธุรกิจในวันรุ่งขึ้น ต่อมาก็เป็นกิจกรรมที่มีการวางแผนไว้ทั้งก่อนและหลังการ สัมมนาอย่างดีเยี่ยม


18 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


โรตารีประเทศไทยจัดอาหารจีนต้อนรับผูแ้ ทนนิตยสารทัง้ 5 ฉบับ รวม 10 คน ได้แก่ โรตารีนิวส์/โรตารีสามาชาร์ (อินเดีย) โรตารี-โน-โตโมะ (ญี่ปุ่น) โรตารีเกาหลี โรตารีฟิลิปปินส์และ โรตารีไต้หวัน ส่วนโรตารีดาวน์อันเดอร์จากออสเตรเลียมิได้มา ประชุมในครั้งนี้ ในมื้ออาหารค�่ำนี้อาหารจีน 10 อย่างต่างทยอย ออกมาเหมือนไม่สิ้นสุด ท�ำให้ผู้มาเยือนได้รับรสชาติอาหารของ ไทย (จีน) และดอนน่าผู้เริ่มคุ้นเคยกับการใช้ตะเกียบเป็นครั้งแรก ขากลับไปที่พัก ผู้มาเยือนได้ไปนั่งรถชมเมืองจัดโดย โรแทเรียนชาวไทย อผภ.สมภพ ธีระสานต์ หนึ่งในสี่บรรณาธิการ โรตารีประเทศไทย ในรถคันทีห่ นึง่ ได้สร้างรอยยิม้ แก่ทกุ คนด้วยมุข ตลกเกี่ยวกับกรุงเทพฯ ตลอดทาง การประชุมวันรุ่งขึ้น บรรดาผู้แทนฯ พยายามก้าวข้าม สิ่งกีดขวางด้านภาษาท�ำให้การประชุมมีชีวิตชีวาขึ้น โรตารีเกาหลี และโรตารีโนะ-โตะ-โมะ (ญี่ปุ่น) ได้ใช้โรแทเรียนล่ามภาษาของตน มาช่วยแปล ซึ่งพวกเขาได้มีแนวคิดเกี่ยวกับอนาคตนิตยสารส่วน ภูมิภาคแบบสิ่งพิมพ์ โดยชี้แจงและแนะน�ำวิธีการท�ำให้นิตยสาร ประจ�ำภูมิภาคน่าสนใจแก่สมาชิกผู้บอกรับ ด้วยการวางแผนแบ่ง ปันบทความและการจัดรูปแบบ สถานที่ประชุมที่กว้างขวาง สะดวกสบาย พร้อมมื้ออาหารกลางวันอาหารไทยแบบกันเองโดย คณะเจ้าหน้าที่ศูนย์ที่น่ารักท�ำให้การประชุมผ่านไปอย่างรวดเร็ว และมีข้อคิดที่ดีต่างๆ ไว้อย่างไม่น่าเบื่อตลอดการประชุมทั้งวัน (ตามเข็มนาฬิกา) (แถวยืน) รทร.จุน (ล่าม) / อผภ.อนุรักษ์ / โยชิโอ (ญี่ปุ่น) / อผภ. ช�ำนาญ / รทร.เจ (ล่าม) / วาณิช (ไทย) / แฮริสัน (ไต้หวัน) / อผภ. สมภพ / อน.ทนงศักดิ์ (ไทย) / อน.พิเชษฐ์ (ผู้แปลนิตยสารไทยฯ) /อผภ.โทนีและพิชอย (ฟิลิปปินส์) (แถวนั่ง) ดนุชา (ไทย) / ราชิดา (อินเดีย) / เคียวโกะ (ญี่ปุ่น) / ดอนน่า / คิม และลี (เกาหลี) / อผภ.ชิต ((ฟิลิปปินส์) / อน.จันทนี และน้องเล็ก (จิตราพร) (ไทย) - คิม หัวหน้าแผนกการเงิน (เกาหลี) / รทร.เจ (ล่าม) / บก.ลี - บก.แฮริสัน (ไต้หวัน) / ผช.บก.ทนงศักดิ์ (ไทย) - ดอนนา คอตเตอร์ น�ำเสนอแบบปกส�ำหรับนิตยสารโรตารีภาค พื้นทวีป - เคียวโกะ บก.โรตารี-โนะ-โตะโมะ (ญี่ปุ่น) / ล่ามญี่ปุ่น รทร.จุน / โยชิโอะ (ญี่ปุ่น)

ขนมกล้วยห่อใบตองปิ้ง

งานเลี้ยงอาหารค�่ำอย่างกันเองที่ภัตตาคารแสนยอด อาหารทะเล มีผู้น�ำโรตารีประเทศไทยมาร่วมงานเลี้ยงด้วย น�ำโดยอดีตกรรมการโรตารีสากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ และ รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ส่วนท่านอดีตประธานโรตารี สากล พิชยั รัตตกุล ไม่สามารถมาร่วมงานเลีย้ งนีไ้ ด้เนือ่ งจาก ป่วยกะทันหัน แต่ทา่ นได้ฝากสานน์ของท่านให้ทา่ นนรเศรษฐ มาอ่านส�ำหรับพวกเรา วันรุ่งขึ้นเป็นงานวันลอยกระทงของจังหวัด กาญจนบุรี ถิ่นของท่าน อผภ.สมภพ มีประชาชนมาลอย กระทงดอกไม้บูชาพระในแม่น�้ำแคว การเดินทางมาจังหวัด กาญจนบุรีจากกรุงเทพฯ ใช้เวลาสามชั่วโมง มีสะพานข้าม แม่น�้ำแควที่มีชื่อเสียงระดับโลก ที่นี่ผู้แทนทุกคนอยู่ในรถบัส ได้รับการต้อนรับขับสู้ดั่งผู้โดยสารชั้นหนึ่งตลอดการเดินทาง โดยคณะท�ำงานของศูนย์โรตารีฯ โดยจัดเรือ่ งน�ำ้ ดืม่ ผลไม้ นำ�้ ผลไม้ อาหารว่างแก่ทกุ คน เปรียบดังว่าใครไม่รบั ประทานจะ ท�ำผิดกฎหมายไทย


คอแห้ง คัดจมูก แวะพักถ่ายรูปที่สะพานข้ามแม่น�้ำแคว และแล้วก็เดิน ทางต่อไปยังเมืองมัลลิกา เพื่อไปลอยกระทงดอกไม้ถวายพระ จุดดึงดูดหลักของเมืองมัลลิกา หมู่บ้านที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงศิลปะฝีมือ อาหารกล่องแบบไทยๆ ท้องถิ่น แสดงแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นและมีอาหารค�่ำแบบไทยแท้ ส�ำรับอาหารไทยมือ้ ค�ำ่ ก่อนลอยกระทงดอกไม้ ร่วมกับการแสดงโชว์ ถวายพระ ผูเ้ ข้าชมจะต้องเปลีย่ นชุดพืน้ เมืองเพือ่ ผ่านประตูเข้าเมือง โดย มีเสื้อผ้าเตรียมไว้ให้พร้อมเครื่องประดับ สุภาพสตรีจะมีผู้ช่วยชาวบ้าน มาเลือกเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้ ผู้หญิงผมยาวจะมีผู้ช่วยม้วนเกล้า ผม เช่นเดียวกับคณะท�ำงานศูนย์โรตารีไทย หลังจากการถ่ายภาพและ อาหารค�่ำมื้อใหญ่แล้ว ทุกคนก็เตรียมพร้อมรอคิวไปลอยกระทงดอกไม้ ที่แม่น�้ำแคว ทุกคนได้รับกระทงดอกไม้มีเทียนจุดไว้ตรงกลาง มีค�ำแนะน�ำ ให้ภาวนาขอพรพระพุทธเจ้าก่อนลอยกระทงในแม่น�้ำ ซึ่งทุกคนยินดี ปฏิบัติตาม ทุกสิง่ ทีด่ ตี อ้ งมีวนั สิน้ สุด และต้องอ�ำลาจากกันในทีส่ ดุ คุณดอน นาได้เขียนมาหลังจากนั้นว่า “โปรแกรมและกิจกรรมงานฉลองได้มีการ จัดการอย่างดี เห็นถึงความเหน็ดเหนื่อยจากการเตรียมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่จัดการได้ส�ำเร็จไปอย่างสง่างาม เป็นงานที่ท้าทาย การสร้างสรรค์ บรรยากาศที่ดี เรามีความรู้สึกที่ดีจากความร่วมมือและมิตรภาพที่ดี ณ กรุงเทพฯ” ผู้ร่วมงานจากศูนย์โรตารีฯ บก.บริหาร วาณิช โยธาวุธ อผภ. มือ้ กลางวันบนภัตตาคารลอยน�ำ ้ ล่องทวนน�ำ้ แควไประยะสัน้ ๆ อนุรักษ์ นพวรรณ (ภาค 3360) อผภ.สมภพ ธีระสานต์ และอผภ.วิชัย จนเกือบถึงสะพานข้ามแม่น�้ำแควซึ่งถ่ายท�ำเป็นภาพยนตร์ มณีวัชรเกียรติ (ผู้ประสานงานมูลนิธิโรตารีประจ�ำภาคพื้นทวีป) (ภาค อมตะ อาหารกลางวันมื้อนี้อร่อยรสจัดแบบไทย คณะเจ้า 3330) ภาพโรแทเรียนได้สอนผู้มาเยือนให้ร�ำวงด้วยเพลงลอยกระทง ผูส้ นับสนุนจากศูนย์โรตารีฯ คุณดนุชา คุณกมลชนก คุณกุลวดี ผช.บก. ทุกคนสนุกสนานกันและตื่นเต้นกับงานเลี้ยงอาหารค�่ำที่จะ จิตราพร (เล็ก) และผู้ถ่ายภาพ คุณณรงค์ มาถึงในเวลาค�่ำ ขอบคุณมากจากกรุงมนิลา! หลังอาหารกลางวันสนุกสนานกันบนแพแล้ว อผภ. สมภพ และมิตรโรแทเรียนจากสโมสรในพื้นที่ได้น�ำคณะผู้ แทนนิตยสารฯ ไปเยี่ยมชมโครงการโรตารีส�ำหรับผู้ป่วยเด็ก (ตามเข็มนาฬิกา) ภาพจากโครงการโรตารีกาญจนบุรที ี่ รพ.กาญจนบุรี ในแผนกเด็กโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด โรแทเรียนได้สร้างห้อง ทีมจากฟิลิปปินส์ รูเมเลีย รามิเรส สมุดเล็กๆ ส�ำหรับผู้ป่วยเด็กในโรงพยาบาลมานั่งอ่าน หรือยืม - อผภ.ชิต ลีเจาโก โทนีและแอนเจลา กวีล่า - พิชอย รามิเรส ไปอ่านที่เตียงพยาบาล และโรแทเรียนยังแวะมาเยี่ยมเยียนผู้ - ลี และ คิม จากโรตารีเกาหลี ป่วยเด็กๆ เสมอ เพื่อมาอ่านหนังสือให้ฟัง หรือสอนการฝีมือ - ล่ามเกาหลี รทร.เจ และ อน.พิเชษฐ์ เด็ก เพื่อเรียนรู้กิจกรรมระหว่างรอพักรักษา - อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล นรเศรษฐ และ ดร.เสาวลักษณ์ เราแวะที่ร้านไอศกรีมแห่งหนึ่งเพื่อชดเชยอาการ - บก.บริหาร โรตารีประเทศไทย วาณิช โยธาวุธ

20 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560



ผู้ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม

India * Rotary News

ราชิดา ภากาต บรรณาธิการ “โรตารีนิวส์” และ “โรตารี สัมมาชา”

Japan * Rotary-No

เคียวโกะ โนซากิ บรรณาธิการ “โรตารี-โน-โตโมะ”

Korea * Rotary Kor

ลี จีฮัยยิ บรรณาธิการ นิตยสาร “โรตารีเกาหลี”

22 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


s/Rotary Samachar ราชิดา ภากาต อดีตนักหนังสือพิมพ์ ยาวนานถึง 38 ปี เคยทำ�งานกับหนังสือพิมพ์ชั้นนำ�ของอินเดีย 2 ฉบับ “เดอะฮินดู” และ “เดอะอินเดียนเอ็กส์เพรส” โดยเขียน บทความด้านการสืบสวน สัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง รวม ถึงนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีด้วย ราชิดาทำ�งานกับนิตยสาร “โรตารีนิวส์” และ “โรตารีสัมมาชาร์” ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา เธอได้นำ�การ เปลี่ยนแปลงสู่นิตยสารหลายประการ ซึ่งได้รับการต้อนรับ จากผู้อ่านเป็นอย่างดี

o-Tomo โยชิโอะ ชิมมิสึ ดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการ นิตยสาร “โรตารี-โนะ-โตโมะ” ตั้งแต่กรกฎาคม 2558

เคียวโกะ โนซากิ เพิ่งจะเข้ามารับหน้าที่ บรรณาธิการนิตยสาร “โรตารี-โนะ-โตโมะ” เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2560 นี้

อผภ.โยชิโอะ ชิมมีสึ ประธานกรรมการฯ

rea คิม อุนจุง บรรณาธิการบริหารฯ ดู แ ล/ประสานงานกิ จ กรรมจั ด พิมพ์นิตยสารรวมถึงวางแผนด้าน บทความ บริหารงานและรวบรวม ข่าวสาร ลี จิฮัยยิ ทำ�หน้าที่หลากหลายมาก รวมถึง วางแผนงานนิตยสาร การถ่ายภาพ และงานเขียน บทความในนิตยสาร “โรตารีเกาหลี”

คิม อุนจุง หัวหน้าฝ่ายบัญชีและการเงิน


ผู้ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม

Philippines * Philip

อผภ.อูรสุลา คอนซูเอโล ลีชาวโค

บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร “ฟิลิปปินส์โรตารี”

Taiwan * Taiwan R

อน.แฮริสัน จ็อง บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร “ไต้หวันโรตารี”

Thailand * Rotary T

อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร “โรตารีประเทศไทย”

24 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


ppine Rotary “ชิต” แอล.ลี ชาวโค ทำ�งานในหน้าที่ต่างๆ ให้กับนิตยสารฟิลิปปินส์โรตารีตั้งแต่ปี 2547 และรับ ตำ�แหน่ง บรรณาธิการบริหาร เมื่อเดือนมิถุนายน 2560 “ชิต” อดึตผู้ว่าการภาคและอดีตผู้ประสาน งานภาพลั ก ษณ์ โรตารี เ ธอได้ นำ � ประสบการณ์ น าน หลายปีจากอุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์มาสู่นิตยสาร โรตารีฟิลิปปินส์ ปัจจุบันเธอยังเป็นบรรณาธิการ นิตยสารที่มีสีสันรายเดือน “Tatler” ของฟิลิปปินส์ด้วย อผภ.เบนิกโย เอมืลีโอ รามีเรส ประธานกรรมการ บอร์ดสำ�นักพิมพ์นิตยสาร

Rotary “แฮริสัน จ็อง” เริ่มงานกับนิตยสาร “ไต้หวันโรตารี” ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2558 เขาสนุก กับทีมงานของเขาที่มีประสบการณ์สูง มีแนวคิด ใหม่ๆ และพัฒนาสร้างสรรค์แบบมืออาชีพ เพื่อการ ปรับปรุงสิ่งพิมพ์ของโรตารีในไต้หวันต่อไป

Thailand บก.วาณิช โยธาวุธ (สร.แม่สาย ภาค 3360) เหนือ สุดในสยาม ทำ�หน้าที่บรรณาธิการสารสโมสรมานานหลาย ปี และยังเป็นบรรณาธิการสารผู้ว่าการภาค 3360 อีกหลาย สมัย วาณิชทำ�หน้าที่กรรมการฝ่ายศิลป์ของนิตยสารโรตารี ประเทศไทยตั้งแต่ปี 2553 และเป็นบรรณาธิการบริหารใน เดือนกรกฎาคม 2559 โดยมีเป้าหมายที่จะทำ�ให้นิตยสารมี สมดุลทั้งรูปแบบสวยงามและมีประโยชน์สำ�หรับปัญญาชน ขณะเดียวกันก็สร้างแรงจูงใจผู้อ่านนิตยสารโรตารีให้มีส่วน ร่วมกิจกรรมโรตารีด้วย

อผภ.เจ.แอนโตนีโอ กวีล่า ประธานบอร์ด ผู้บริหารนิตยสาร


บรรณาธิการนิตยสารโรตารีประเทศไทย ทั้ง 4 ภาค ภาค 3330 อผภ.สมภพ ธีระสานต์ สโมสรโรตารีกาญจนบุรี เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดกาญจนบุรี ประธานกิตติมศักดิ์สภา อุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี และยังเป็น อาจารย์พิเศษให้แก่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เข้ามาเป็นสมาชิกสโมสรโรตารีกาญจนบุรี เป็นตั้งแต่ปี 2539 ดำ�รงตำ�แหน่งผู้ว่าการ ภาค 3330 เมื่อปี 2555-56 ดำ�รงตำ�แหน่ง งานหลากหลายในภาค ทั้งในด้านการอบรม การส่งเสริมภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ และด้านพัฒนาสมาชิก ภาพ ปัจจุบันทำ�หน้าที่ International Assembly Training Leader ปี 2016 และ 2017 ปีนี้มุ่งมั่นเพื่อสร้างสรรค์งานประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างภาพ ลักษณ์ภาค 3330 มีการตั้งเป้าหมาย การให้ความรู้และสร้างทีมงาน เครือข่ายที่เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ

ดำ�รงตำ�แหน่งนายกสโมสรโรตารีแหลม ฉบัง จังหวัดชลบุรี ในปี 2559-60 และยัง เป็นประธานรุ่นในปีนี้อีกด้วย เพิ่งเข้ามารับตำ�แหน่งผู้ช่วยบรรณาธิการ นิตยสารโรตารีประเทศไทย ปีนี้เป็นปีแรก โดยท่านผู้ว่าการภาคขอให้มาช่วย โดย มี อน.กิจจา เตชะศิริธนะกุล เลขาภาค 3340 จากสโมสรโรตารีมูลริเวอร์ จังหวัด อุบลราชธานี เป็นเรี่ยวแรงสำ�คัญในการ ประสานข้อมูลให้ ปีนี้มีเรื่องโครงการแก้มลิงที่หนองโนนต่ายเป็น โครงการสำ�คัญ และตั้งแต่น้ำ�ท่วมอีสานก็ยุ่งๆ กันไปหมด ปัจจุบันประกอบธุรกิจ นำ�เข้า-ส่งออกสินค้าจากจีน ภาค 3360 อน.ณรัทฐา สีน้ำ�เงิน สโมสรโรตารีแพร่

ภาค 3350 อน.ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา สโมสรโรตารีสาทร สถาปนิก ผู้มากความสามารถทางดนตรี เป็นผู้ประพันธ์เนื้อเพลงโรตารี และจัดทำ�ซีดี เพลง Rotary Theme ประจำ�ปี ตั้งแต่ปี 2544-45 เป็นต้นมาจนถึงปีปัจจุบัน รับงาน ด้านครีเอทีฟ เอนเตอร์เทน และกำ�กับเวที งาน Bangkok RI Convention และ Bangkok Rotary Institute 2 ครั้ง เป็นนายกสโมสรโรตารีสาทร ปี 254546 ได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ เป็นผู้ ช่วยผู้ว่าการภาค 5 ครั้ง ปีนี้นอกจากตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการ เพลงโรตารีประจำ�ปี 2017-18 แล้วยังเป็นกรรมการจัดงานอบรม เยาวชนผู้นำ� RYLA ของภาค 3350 และกรรรมการฝ่ายอื่นๆ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความก้าวหน้ามากมายแต่โรแทเรียน ไทย ทำ�งานอาสาสมัครยังขาดความใส่ใจในการบริหารจัดการ จัด ระเบียบข้อมูลที่ล้ำ�ค่าที่มีอยู่มากมาย 87 ปีของโรตารีประเทศไทย ควรพิจารณาปรับปรุงเรื่องนี้ให้มาก มิฉะนั้นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ๆ ก็จะอยู่แต่ในความทรงจำ�ของแต่ละท่าน เท่านั้น

ภาค 3340 อน.ภัทรวดี อภิวรรณศร สโมสรโรตารีแหลมฉบัง

ที่โรงเรียนกวดวิชาดรุณี

นายกสโมสรโรตารีแพร่ปี 2557-58 ผู้ที่มีส่วนสำ�คัญในการลดอายุเฉลี่ยของ สมาชิกในสโมสร จนได้รับรางวัลสโมสรที่ มีคนรุ่นใหม่ % สูงสุดของภาค 3360 ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งประธานโรทา แรคท์ภาค, ประธานอินเทอร์แรคท์ภาค, กองเลขาภาค, กรรมการ My Rotary Trainer, กรรมการ Public Image และ SAA ภาค 3360 แต่ก็ยังเหลือเวลาให้งาน

จิตราพร สันติธรรมเจริญ ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ที่อยู่นิตยสารโรตารีประเทศไทย : ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83, อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซอยวัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110, ประเทศไทย

26 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

โทร: 02-661-6720 แฟ๊กซ์: 02-661-6719 มือถือ: 085-822-4442 อีเมล: magazine@rotarythailand.org , เว๊บไซต์ www.rotarythailand.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.